สู่อ้อมอกแม่ ปี 78 มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Page 1



พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช


สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี


พระบรมราโชวาท

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกผูสําเร็จการศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 10 กุมภาพันธ พุทธศักราช 2522 ณ สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ เชียงใหม

“ การทีจ่ ะให้งานประสานกันนัน้ มีหลักส�าคัญว่าทุกฝ่ายจะต้องไม่แบ่ง แยกกัน ไม่แย่งประโยชน์ ไม่แย่งความชอบกัน แต่ละฝ่ายแต่ละคน ต้องท�างาน ด้วยความบริสุทธิ์ใจ มุ่งหวังผลส�าเร็จในการงานเป็นใหญ่ยิ่งกว่าสิ่งอื่น ความ บริสุทธิ์ใจและความมุ่งหมายอันเที่ยงตรงเป็นอย่างเดียวกันนั้น จะท�าให้เข้าใจ กันได้ ผู้ใดมีหน้าที่ และความสามารถอย่างไรก็จะท�าตามหน้าที่ และความ สามารถอย่างนัน้ ให้ประสานสอดคล้องกันโดยอัตโนมัติ ความเจริญก้าวหน้าและ ความส�าเร็จก็จะบังเกิดมา”


สู้อ้อมอกแม่

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

4

อิ น ทนิ ล

นกน้อย โผบิน จากพนาป่าไพร บ่ายหน้าคืนรัง หนทางหน้า ต้องฝ่ามารผองภัย อกเต็มความช�้า

จากถิ่นแดนไกล ข้ามภูเขาใหญ่ ปีกช�้ากลับมา เปี่ยมฟ้ามืดด�า หัวใจต้องทุกข์ระก�า ระก�าทรวง

ห้วงฟ้าที่ผ่าน ลูกต้องผ่านข้ามไป หัวใจเจ้าทุกข์ต้องทน อกแม่ชื่นชม คราลูกน้อยจากไป รุ่งของวันใหม่

เขาสูงตระการ บินถลาร่อนไกล ฝ่าแดดลมฝนมาหลายปี หลังจากตรม ขอบฟ้าแจ่มใส ลูกได้บทเรียน ธวัชชัย ชูเหมือน แม่โจ้ ‘51


ส า ร บั ญ

• • • • •

• •

6 7 28 31

• • • • • • • • • • • •

32 33 45 49 53 55 57 58 60 • • 62 • 63 • 65

ประตูบางเขน SOTUS อินทนิล องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ สภานักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาราณียกร (สุนัขผู้เฝ้าแม่โจ้) ประสบการณ์ใหม่กับงานชมรม งานกิจกรรมนักศึกษา ปฏิทินกิจกรรมนักศึกษา การใช้ชีวิตที่ดีในมหาวิทยาลัย แผนผังมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ประวัติความเป็นมาของแม่โจ้–ชุมพร แนะน�าสถานที่ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย กว่าจะมาเป็น...สู่อ้อมอกแม่

67 68 73 74 76 78 79 80 84 5 86 อิ น ทนิ ล 88 สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• • • • • • • • •

สารจากอธิการบดี สารจากคณาจารย์ จากใจ... นายกองค์การนักศึกษา จากใจ... ประธานสภานักศึกษา จากใจ... ประธานฝ่ายสาราณียกร องค์การนักศึกษา จากใจ...นายกสโมสรนักศึกษา ปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประวัติ....มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” ศาลเจ้าพ่อโจ้ พระพิรุณ บิดาเกษตรแม่โจ้ อธิการบดีคนแรก คนลากเกวียนสัญลักษณ์ งานหนักไม่เคยฆ่าคน เพลงชาติแม่โจ้ สระเกษตรสนานสัญลักษณ์แห่ง ความสามัคคี

91 93 97 101 108


สารจากอธิการบดี

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

6

อิ น ทนิ ล

ยินดีต้อนรับนักศึกษาใหม่ ประจ�าปีการศึกษา 2556 เข้าสูร่ วั้ แม่โจ้ : มหาวิทยาลัยแห่งชีวติ (Maejo : University of Life) ปรัชญาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการสร้างและ หล่อหลอมคนของแม่โจ้ให้มีอัตลักษณ์เดียวกันคือ “มุ่งมั่น พัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรมและจริยธรรม เพือ่ ความเจริญรุง่ เรืองวัฒนา ของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน” เป็นแนวทางที่ นักศึกษาใหม่พงึ ทราบและท�าความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดย พึงระลึกเสมอว่า เราคือปัญญาชนที่จะเป็นก�าลังส�าคัญในอนาคตของสังคมไทยต่อไป ดังนั้น นอกจากการใฝ่หาความรู้ด้านวิชาการแล้ว เราควรสั่งสมประสบการณ์ด้านอื่น ๆ ที่จะช่วยเติมเต็มความเป็นวิชาชีพให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้นด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ให้ความส�าคัญต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย พัฒนายุทธศาสตร์ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อ เป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทยในปี 2558 พัฒนา นวัตกรรมด้านกระบวนการเรียนการสอนให้เป็นที่ประจักษ์ รวมทั้งการปรับกลยุทธ์ใน การพั ฒ นาคุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ที่ มี ป ั ญ ญาสร้ า งสรรค์ สู ่ สั ง คมโลก โดยการก� า หนด ยุทธศาสตร์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยอินทรีย์ (Organic) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco) อย่างเต็มรูปแบบ อินทนิล (Queen’s Flower) เป็นไม้สญ ั ลักษณ์ประจ�ามหาวิทยาลัยแม่โจ้เพือ่ แทน ความแข็งแกร่ง อดทนของบรรดาลูกแม่โจ้ เนือ่ งจากอินทนิลเป็นไม้ยนื ต้นทีแ่ ข็งแรง อายุ ยืนยาว เจริญเติบโตได้ทุกสภาพแวดล้อม เฉกเช่น ลูกแม่โจ้ที่มาจากทั่วทุกภาคของ ประเทศ และกระจายกันออกไปเจริญเติบโตก้าวหน้าอยูท่ วั่ ทุกหนแห่ง ขอเป็นก�าลังใจให้ นักศึกษาใหม่ทกุ คนในการก้าวไปข้างหน้าพร้อม ๆ กัน ขอให้มองปัญหาอุปสรรคทุกอย่าง ทีจ่ ะเข้ามาเป็นโจทย์ทจี่ ะช่วยพัฒนาตัวตนของเรา ขอให้พวกเราทุกคนเติบโตอย่างมี “สติ ปัญญา ศรัทธา และความเพียร” เพื่อพัฒนาสู่การเป็นผู้สร้างประโยชน์ให้แก่สังคมใน อนาคตต่อไป ด้วยรักและปรารถนาดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จ�าเนียร ยศราช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้


สารจากคณาจารย์ รองศาสตราจารย์เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาใหม่ทุกท่านที่ได้ผ่านการสอบคัดเลือก เข้ามาสู่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นอินทนิลช่อใหม่ของปี 2556 ต่อจากนีไ้ ปนักศึกษา ใหม่จะพบกับการใช้ชีวิตที่มีคุณค่า มีความหวัง และมีความรับผิดชอบมากขึ้น ต้องใช้ความพยายามพากเพียรในการใฝ่หาความรู้ ทัง้ ในต�าราเรียน การค้นคว้า จากแหล่งเรียนรูม้ ากมาย และการท�ากิจกรรมเพือ่ เป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ รวมทั้งการสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม

รองศาสตราจารย์ เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอให้นักศึกษาใหม่ทุกท่านมีความภูมิใจได้ว่า สถาบันแห่งนี้มุ่งผลิตแต่ บัณฑิตทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ มีคณ ุ ธรรมความดี เพือ่ เป็นบัณฑิตทีด่ มี คี ณ ุ ภาพ สร้างสรรค์ตนเองและสังคมต่อไปได้ในอนาคต ในโอกาสนีข้ ออวยพรให้นกั ศึกษา ใหม่ประสบความส�าเร็จทั้งด้านการเรียนและกิจกรรมในการพัฒนาตนเองและ มีอนาคตที่สดใสต่อไป

7

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถิตย์ วิมล

รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

8

อิ น ทนิ ล

ในนามรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ ขอแสดง ความยินดี กับนักศึกษาใหม่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจ�าปีการศึกษา 2556 ทุกคน สูม่ หาวิทยาลัยแห่งชีวติ ซึง่ เป็นจุดเริม่ ต้นทีน่ กั ศึกษาใหม่ทจี่ ะเข้ามาใช้เวลาในรัว้ อินทนิล ขอเป็นก�าลังใจให้นักศึกษาใหม่ทุกๆ คน ได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนและใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปีที่ 1 นักศึกษาจะอยู่หอพักของมหาวิทยาลัยร่วม กันและขอให้นักศึกษาทุกๆคน ที่มีจุดมุ่งหมายจะเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย แห่งนี้ ขอให้มีความมานะเพียรพยายามในการใฝ่หาความรู้และแสวงหา เก็บ เกี่ยวประสบการณ์ต่างๆ ในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เพื่อที่จะได้น�าไปใช้เป็น รากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดีในสังคมและอนาคตต่อไป ขอเป็นก�าลังใจให้นักศึกษาใหม่ทุกคน ในการก้าวไปข้างหน้าพร้อมกัน เติบโตไปด้วยความมี “สติ ปัญญา ศรัทธา และความเพียร” พร้อมทัง้ เป็นผูส้ ร้าง ประโยชน์ให้แก่มวลประชาสืบไป ด้วยความปรารถนาดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถิตย์ วิมล รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้


สารจากคณาจารย์ รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย ปญญาดี รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาเครือข่าย

ขอแสดงความยินดีและต้อนรับสูอ่ อ้ มอกแม่โจ้ ด้วยความภาคภูมใิ จ ขอให้ทกุ คนได้ใช้โอกาสของการเป็นนักศึกษา เรียนรูแ้ ละบ่มเพาะตนเองให้ เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละความเชีย่ วชาญในหลักสูตรทีศ่ กีึ ษา ให้สมกับการเป็นลูกแม่โจ้ครับ รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย ปัญญาดี รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาเครือข่าย มหาวิทยาลัยแม่โจ้

รองอธิการบดีฝ่ายการต่างประเทศ

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาใหม่ ประจ�าปีการศึกษา 2556 เข้าสู่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีนี้เป็นปีที่พิเศษ เพราะเป็นปีที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ก�าลังจะมี การเฉลิมฉลอง ครบรอบ 80 ปี ขอให้นักศึกษาใหม่ทุกท่านเตรียมตัวให้พร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ชีวิตใหม่ ทั้งในด้านการศึกษา ความเป็นอยู่ การด�ารงชีวิต และ ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผมขอให้นักศึกษาใหม่ทุกคน จงประสบแต่ความสุข ความก้าวหน้า และประสบความส�าเร็จในการศึกษา เป็นบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสังคมต่อไปในอนาคต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ศรีเกี่ยวฝัน รองอธิการบดีฝ่ายการต่างประเทศ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ศรีเกีย่ วฝน 

9

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ อาจารย์ ดร.กรพช ศิริโภคากิจ รองอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินและการคลัง

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

10

อิ น ทนิ ล

ในฐานะอาจารย์มหาวิทยาลัย ครูขอกล่าวแสดงความยินดีและขอต้อนรับ นักศึกษาแม่โจ้ อินทนิลช่อที่ 78 ทุกท่าน สู่รั้วมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อก้าวสู่รั้วมหาวิทยาลัยแล้ว นักศึกษาจ�าเป็นต้องระลึกอยู่เสมอว่าจะ เรียนอย่างไรให้มีความสุขและมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด อันดับ แรก คือใจและกายของเราต้องมีความพร้อมและตัง้ ใจท�าให้มคี วามสุขทีจ่ ะศึกษา หาความรู้อยู่ทุกๆ วัน เปรียบเสมือนแก้วเปล่าใบใหญ่อยู่ตลอดเวลา เพื่อจะเติม ความรู้และค�าแนะน�าต่างๆ ได้ไม่เคยเต็ม และอันดับต่อมา คือความมุ่งมั่นที่จะ ต้องให้เกิดสัมฤทธิผ์ ลเพือ่ ให้การเรียนนัน้ มีประสิทธิผลตามมา และอันดับท้ายสุด คือความเพียรพยายาม ในการทุ่มเทให้กับการศึกษาเล่าเรียนจนบังเกิดความ ส�าเร็จ เพื่อจะเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคมต่อไป ท้ายสุดนี้ ครูขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย องค์พระบรมสารีริกธาตุ ที่ประดิษฐานยังมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวมถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก จงดลบันดาลโปรดช่วยปกปักรักษานักศึกษาใหม่ทุกคนให้โชคดี แคล้วคลาด ปลอดภัย อาจารย์ ดร.กรพช ศิริโภคากิจ รองอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินและการคลัง


สารจากคณาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อดิศร คันธรส รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อดิศร คันธรส รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

นั ก ศึ ก ษาใหม่ จ ากจั ง หวั ด ต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศไทย ได้ เข้ า มาเรี ย นใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ�าเป็นอย่างยิ่งต้องมีการปรับตัวกับเพื่อนใหม่ สถานที่ใหม่ ระบบการเรียนการสอน และการใช้ชวี ติ ในรัว้ มหาวิทยาลัย ทีม่ คี วามแตกต่างจาก การเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อการพัฒนาสู่การเป็นบัณฑิต แม่โจ้ที่สมบูรณ์ เมื่อส�าเร็จการศึกษาแล้ว เป็นผู้มีความพร้อมทางด้านความรู้ ทั ก ษะความสามารถในสาขาที่ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นมี วิ สั ย ทั ศ น์ ก ้ า วไกลทั น ต่ อ การเปลีย่ นแปลงของโลก รวมทัง้ เป็นผูม้ คี วามพร้อมทางด้านคุณธรรมจริยธรรม สามารถออกไปประกอบการงาน สร้ า งงาน ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ต่ อ ประเทศชาติ ครอบครัว และตัวนักศึกษาเอง ขอเป็ น ก� า ลั ง ใจให้ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ในการศึ ก ษาเล่ า เรี ย น และเรี ย นรู ้ ประสบการณ์ในการพัฒนาตนเอง ตลอดช่วงชีวิตนักศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัย แม่โจ้ จนส�าเร็จการศึกษา เป็นบัณฑิตแม่โจ้ ทีส่ มบูรณ์ทงั้ ทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม ทุกๆ คน

11

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ อาจารย์รชฏ เชื้อวิโรจน์

รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

12

อิ น ทนิ ล

ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ แม่โจ้รุ่นที่ 78 ทุกๆ คน การทีน่ กั ศึกษามาจากสถานทีแ่ ละครอบครัวทีต่ า่ งกันย่อมมีความคิดเห็นและแนว ปฏิบัติในการด�าเนินชีวิตที่ไม่เหมือนกันซึ่งเป็นเรื่องธรรมดา แต่เมื่อได้เข้ามา ศึกษาในสถานทีแ่ ห่งนีด้ ว้ ยกันก็ควรจะท�าให้ความแตกต่างนัน้ เป็นส่วนดีและช่วย ให้เรามีความคิดและความรอบคอบในการด�าเนินชีวิตในสังคม อยากให้พวกเรา “เก่ง” ทัง้ ในวิชาชีพและในการท�าความดี จงเป็นผูท้ มี่ คี วามขยันหมัน่ เพียร ความ ซือ่ สัตย์ตอ่ ตนเอง ความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ความประหยัดในการด�ารงชีพ และความอดทนต่อความทุกข์ยากล�าบากทัง้ หลาย นอกจากนีก้ ารทีป่ ระเทศไทย จะเข้าสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 เราทุกคนจะต้องเตรียมความ พร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ต้องปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะเป็นสังคมที่แตกต่างมีคนหลากหลายเชื้อชาติอยู่ ร่วมกัน ดังนัน้ เราจะต้องพัฒนาตนเองให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ และมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต อาจารย์รชฏ เชื้อวิโรจน์ รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ


สารจากคณาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย

ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนักศึกษาใหม่สรู่ วั้ อินทนิลมหาวิทยาลัย แม่โจ้ มหาวิทยาลัยแห่งชีวิตแห่งนี้ ซึ่งจะช่วยหล่อหลอมความเป็นลูกแม่โจ้ แต่ละรุ่นให้มีความรัก ความสามัคคี อดทน สู้งาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และสั ง คม ขอให้ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ทุ ก ท่ า นจงตั้ ง ใจศึ ก ษาเล่ า เรี ย นและน� า เอา ประสบการณ์ต่างๆ ที่เรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ท�ากิจกรรมที่ สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย (แม่โจ้ รุ่น 51)

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สุดท้ายผมขออวยพรให้น้องๆ นักศึกษาใหม่ทุกท่าน จงประสบกับ ความสุขและความส�าเร็จในการศึกษา เพือ่ ทีจ่ ะได้นา� วิชาความรูไ้ ปประกอบอาชีพ และพัฒนาประเทศชาติต่อไป

13

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะสารสนเทศและการสือ่ สาร รองศาสตราจารย์ จักรภพ วงศ์ละคร คณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

14

อิ น ทนิ ล

ขอต้อนรับนักศึกษาผูม้ าใหม่ทกุ คนด้วยความยินดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นสถานศึกษาเก่าแก่ที่สั่งสมประสบการณ์ทั้งด้าน วิชาการและความดีงาม พร้อมที่จะถ่ายทอดสู่คนรุ่นใหม่ให้สานต่อและสืบทอด อารยธรรม ขอให้นักศึกษาใหม่ทุกคนเริ่มต้นการแสวงหา มีความท้าทายรออยู่ มากมายทีค่ วรค่าแก่การเรียนรู้ จงตัง้ ความหวัง มุง่ มัน่ ให้แน่วแน่เพือ่ ใช้ศกั ยภาพที่ มีอยูเ่ รียนรูส้ งิ่ ใหม่ เติมเต็มและต่อยอดความรูเ้ ดิม เพิม่ ศักยภาพในการเรียนรูอ้ ย่าง ไม่สิ้นสุด มหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้เตรียมทรัพยากรไว้อย่างพร้อมสรรพเพียงพอ ต่อการสร้างองค์ความรูอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพ ขออวยพรให้ทกุ คนประสบความส�าเร็จในทีส่ ดุ เป็นบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ค่าของ แผ่นดินในโอกาสต่อไป รองศาสตราจารย์ จักรภพ วงศ์ละคร คณบดีคณะสารสนเทศและการสือ่ สาร


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการประมง และทรัพยากรทางนํา้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จงกล พรมยะ คณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�้า

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จงกล พรมยะ คณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�า้ แม่โจ้รนุ่ 55

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอแสดงความยินดีกบั นักศึกษาใหม่ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลูกแม่โจ้รนุ่ 78 ยินดีตอ้ นรับลูกแม่โจ้รนุ่ 78 กระผมผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จงกล พรมยะ ลูกแม่โจ้ รุน่ 55 ผมก็เคยเป็นน้องใหม่ เช่นเดียวกันกับน้อง ๆ ผมอยากให้นอ้ ง ๆ แม่โจ้รนุ่ 78 คิดเสมอว่าการเข้ามาสูม่ หาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็น ความส�าเร็จของชีวติ ในระดับหนึง่ เท่านัน้ ต่อไปน้องคือ นักศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ น้อง ๆ ต้องฝึกตนเองให้เป็นคนแสวงหาความรู้ และประสบการณ์ ด้านวิชาการที่ เราตัง้ ใจมาเรียนในสาขานัน้ ๆ ให้สามารถประยุกต์ใช้กบั การเรียนอย่างมีความสุข และศึกษาด้านอืน่ ๆ ประกอบด้วย ซึง่ การแสวงหาความรูใ้ นปัจจุบนั ไม่ใช่เพียงใน ห้องเรียนทีอ่ าจารย์สอนเท่านัน้ แต่สามารถศึกษาหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง หรือทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ และสิง่ ทีไ่ ม่ควรพลาดในระหว่างทีอ่ ยูใ่ นรัว้ แม่โจ้ คือการหาประสบการณ์ตา่ งๆ ในชีวติ การเป็นนักศึกษา เช่น การร่วมกิจกรรมในคณะ และมหาวิทยาลัย ช่วยกันท�าประโยชน์เพือ่ ส่วนร่วม เพือ่ สังคม สร้างความศรัทธา จากผูร้ ว่ มงาน เมือ่ เรียนจบก็ทา� งานเต็มความสามารถในหน้าที่ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ท�างานเพือ่ ส่วนรวม ระลึกถึงหน่วยงานเป็นหลักมีความอดทน สูง้ านทุกๆ อย่าง จะ ได้ความศรัทธาจากเพือ่ ร่วมงาน และบุคคลทัว่ ไป สุดท้ายความส�าเร็จสูงสุด คือ เมือ่ เราจากโลกนีไ้ ป ก็จะเหลือเพียงคุณงามความดีไว้ให้คนรุน่ หลังได้ระลึกถึง นัน่ แหละ คือ ความส�าเร็จสูงสุดของชีวติ

15

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ คณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

16

อิ น ทนิ ล

ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ทกุ คนสูร่ วั้ อินทนิล มหาวิทยาลัยแม่โจ้แห่งนี้ ด้วยความยินดียงิ่ และขอร่วมแสดงความยินดีกับท่านผู้ปกครอง คุณครู คณาจารย์ทุกท่านที่ได้เสียสละเวลา ให้การอบรมสั่งสอน เลี้ยงดู บุตรหลาน และลูกศิษย์อันเป็นที่รักยิ่งของท่านทั้งหลายมา ณ ที่นี้ด้วย ผมขอแสดงความยินดีต่อความส�าเร็จขั้นต้นที่พวกเราได้รับการคัดเลือกเข้าเป็น นักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจ�าปีการศึกษา 2556 การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น มีความหลากหลายของสาขาวิชา และ องค์ความรูศ้ าสตร์ใหม่ ตลอดจนนวัตกรรมการเกษตร แต่ละวิชาควรจะเรียนรูแ้ ละบูรณาการ เข้าด้วยกัน ดังนัน้ จะต้องอาศัยความมุง่ มัน่ ความเพียรพยายามเป็นอย่างมาก ตลอดจนการ ปรับตัวเข้ากับสังคมแห่งการเรียนรู้ สิ่งที่อยากให้นักศึกษาตระหนักให้มากที่สุดก็คือ ความ รับผิดชอบ การมีวินัยต่อตนเอง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อผลการเรียน และวิชาความรู้ที่ได้รับ ส่วนด้านการพัฒนาตนเองและเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตนี้ นักศึกษาใหม่ควรที่จะเข้า ร่วมกิจกรรมในหลากหลายชมรม สโมสร ตามทีต่ นเองสนใจและสมัครใจ เพือ่ เป็นการพัฒนา ศักยภาพด้านต่างๆ ทีม่ อี ยูใ่ นตัวเรา โดยผ่านกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันด้วยการท�ากิจกรรม อันหลากหลาย ซึ่งเป็นการเรียนรู้ทั้งตนเองและเรียนรู้ผู้อื่นไปพร้อมๆ กัน สิ่งนี้เองจะเป็น พื้นฐานส�าคัญอย่างหนึ่งของการด�าเนินชีวิตและการท�างานในอนาคต สุดท้ายนี้ ขอเป็นก�าลังใจให้นกั ศึกษาใหม่ทกุ คน ตัง้ ใจเรียนให้สมกับความภาคภูมใิ จ ของครอบครัว ให้สมกับเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเข้าสู่รั้วเขียว ขาว เหลือง ของมหาวิทยาลัย แม่โจ้แห่งนี้ คณาจารย์และบุคลากรของคณะผลิตกรรมการเกษตร จะท�าหน้าที่อย่างดีที่สุด ในการหล่อหลอมให้นกั ศึกษาทุกคนมีความรู้ “เก่งคิด อดทน สูง้ าน พร้อมด้วยคุณธรรม เพือ่ พัฒนาการเกษตรไทยสู่สากล” ให้สมกับความเป็นลูกแม่โจ้อย่างแท้จริง รองศาสตราจารย์ ประวิตร พุทธานนท์ คณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ ไตรแสง คณบดีคณะศิลปศาสตร์

ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกท่านสู่สถาบันอันยิ่งใหญ่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้แห่งนี้ ทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะผลิตบัณฑิตสูส่ งั คมให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการและเรียนรู้การใช้ชีวิต อย่างมีดุลยภาพ

ขอให้นักศึกษาใหม่ทุกท่าน จงจดจ�าระลึกถึงค�าดังกล่าวนี้เสมอ และ เป็นลูกแม่โจ้ที่สมบูรณ์แบบนั้นจะต้องเป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ ที่จะต้อง ออกไปรับใช้สังคม และเป็นความภาคภูมิใจของวงศ์ตระกูล ที่นักศึกษาใหม่ได้ เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้แห่งนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ ไตรแสง คณบดีคณะศิลปศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

การศึกษาในระดับอุดมศึกษาถือว่า เป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิตที่จะไปสู่ โลกที่กว้างใหญ่ไพศาล โลกแห่งการแข่งขันที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น ขอให้ก�าลังใจแด่นักศึกษาใหม่ซึ่งจะต้องเผชิญกับความเป็นนักศึกษาแม่โจ้ ที่มีความภาคภูมิใจกับการเป็นลูกแม่โจ้ที่ต้องมีความอดทน สู้งาน มีคุณธรรม ดังค�ากล่าวทีล่ กู แม่โจ้ได้ตระหนักเสมอว่า “เลิศน�า้ ใจ วินยั ดี เชิดชูประเพณี สามัคคี อาวุโส”

17

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ จรรยาสุภาพ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

18

อิ น ทนิ ล

การเข้ามาเป็นนักศึกษาแม่โจ้ ไม่วา่ โดยตัง้ ใจหรือไม่กต็ าม ขอให้เราภูมใิ จ ในศักยภาพของเราที่ไม่น้อยหน้าใคร แต่อย่าได้ชะล่าใจ จนขาดการเอาใจใส่ ในการเรียน เพราะถือเป็นทางแยกของชีวติ คนทีส่ า� คัญ หากตัง้ ใจเรียน ได้คะแนนดี ฝึกภาษาต่างชาติ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยวางแผนการศึกษาแต่เนิ่นๆ ก็จะมีอนาคตที่ดี ตรงข้ามหากไม่ตั้งใจ แม้จะเข้ามาเรียนได้ ผลลัพธ์จะเป็น ตรงกันข้าม ระหว่างเรียนหากมีปัญหาให้ปรึกษาครูบาอาจารย์ ซึ่งเปรียบเสมือน พ่อแม่อีกคน อย่าตามอย่างเพื่อนหรือพี่ที่มีพฤติกรรมไม่ดี เพราะนั่นไม่ใช่แม่โจ้ ที่แท้จริง ท้ายนี้ ขอให้ทกุ คนประสบผลส�าเร็จในการเรียนตามทีต่ งั้ ใจไว้ และมีอนาคต ที่ดีเป็นที่รักของครอบครัวและสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ จรรยาสุภาพ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี รศ.ดร.ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ คณบดีคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

สุดท้ายนี้ ขออ�านวยพรให้นกั ศึกษาทุกคนประสบความส�าเร็จในการศึกษา จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นลูกแม่โจ้ตลอดไป รศ.ดร.ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ คณบดีคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอแสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่งต่อนักศึกษาใหม่ และขอต้อนรับเข้าสู่รั้ว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึง่ นับว่าเป็นอีกก้าวหนึง่ ทีส่ า� คัญในชีวติ โดยเป็นการก�าหนด เส้นทางอาชีพในอนาคตข้างหน้า สิ่งที่นักศึกษาใหม่ควรระลึกอยู่เสมอคือ ภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในด้านการศึกษาหาความรู้และร่วมกิจกรรมที่เป็น ประโยชน์เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ให้แก่ตนเอง

19

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิง่ แวดล้อม อาจารย์บรรจง สมบูรณ์ชัย คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ขอแสดงความยินดีแก่นักศึกษาใหม่ 2556

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

20

อิ น ทนิ ล

นักศึกษาแม่โจ้ในยุคใหม่ที่มาพร้อมกับการเปิดโลกอาเซียน AEC ตาม ยุคสมัยแห่งสังคมออนไลน์ และโซเชียลมีเดีย การได้เข้ามาสู่รั้วมหาวิทยาลัย เป็นการเปลีย่ นแปลงอีกก้าวของชีวติ ทีจ่ ะต้องปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง เป็นสิ่งที่ส�าคัญ เป็นอีกช่วงชีวิตที่ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ วิถีสังคม อัตลักษณ์ ลูกแม่โจ้ จึงขอให้ทุกคนตั้งใจ มุ่งมั่นเก็บเกี่ยวความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญใน สาขาวิชาของตน เพือ่ เป็นก�าลังและทุน ให้ผา่ นทุกด่านทดสอบของชีวติ นักศึกษา และก้าวสู่ความเป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ในอนาคตกันทุกคน ขอต้อนรับ “อินทนิลช่อใหม่” ด้วยใจจริง อาจารย์บรรจง สมบูรณ์ชยั คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิง่ แวดล้อม


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะบริหารธุรกิจ อ.ดร.ปยวรรณ สิริประเสริฐศิลป คณบดีคณะบริหารธุรกิจ

อ.ดร.ปิยวรรณ สิรปิ ระเสริฐศิลป์ คณบดีคณะบริหารธุรกิจ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

นักศึกษาใหม่ที่รัก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาใหม่ทุกคนที่ ผ่านการสอบคัดเลือกเข้ามาสู่สถาบันอันทรงเกียรติ “มหาวิทยาลัยแม่โจ้” แห่งนี้ นับจากนี้ ต่อไปจะเป็นการเริ่มต้นของการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นไปอีก นักศึกษาจะต้องหมั่นศึกษา หาความรูท้ งั้ ในและนอกต�ารา ได้แก่ ความรูท้ างวิชาการจากคณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละการ เข้าร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัยเพือ่ เป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ในชีวติ เพือ่ นักศึกษา จะได้พัฒนาศักยภาพของตนเองพร้อมทั้งน�าความรู้ความสามารถที่ได้รับไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวมได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น ขอให้นักศึกษาใหม่ “อินทนิลช่อที่ 78” ทุกท่านจงมีความภาคภูมิใจว่า “มหาวิทยาลัยแม่โจ้” มุง่ ผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีความรูค้ วามสามารถในระดับนานาชาติ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพื่อให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นบัณฑิตที่ เก่งและดีไปพร้อมกัน ดังวิสยั ทัศน์ของมหาวิทยาลัยทีว่ า่ “เป็นมหาวิทยาลัยชัน้ น�าทีม่ คี วาม เป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ (To become an international leading university in agricultural excellence)” ท้ายสุดนี้ ขออ�านาจบารมีแห่งพระบรมธาตุดอยสุเทพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายใน จังหวัดเชียงใหม่ อันเป็นที่เคารพนับถือของชาวเชียงใหม่ ตลอดจนพระพิรุณทรงนาค เจ้าพ่อโจ้ เจ้าแม่โจ้และดวงวิญญาณบูรพาจารย์แม่โจ้ทกุ ท่าน อันเป็นทีเ่ คารพนับถือของชาว แม่โจ้ โปรดดลบันดาลให้นกั ศึกษาใหม่ทกุ คนมีสติปญ ั ญาทีเ่ ฉียบแหลม มีความเจริญรุง่ เรือง ทั้งในชีวิตส่วนตัวและการศึกษาเล่าเรียนตลอดจนความสุขสวัสดิ์โดยทั่วกัน และหาก นักศึกษาทุกคนมีความขยันหมั่นเพียร อดทนพยายามและมีความรับผิดชอบที่มากขึ้น ครู หวังว่าจะได้อวยพรทุกคนอีกครั้งในวันพระราชทานปริญญาบัตรค่ะ

21

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พึง่ พร เนียมทรัพย์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

22

อิ น ทนิ ล

ในนามของคณะวิทยาศาสตร์ ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2556 ทุกคนสู่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ; ภายใต้รั้ว “อินทนิล” ด้วยความชื่นชมยินดี และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าในช่วงเวลาของการเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทุกคน จะได้ใช้โอกาสที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่าง ๆ ในการเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ที่ดีงาม เพื่อสร้างตนเองให้เป็นคนที่มีคุณภาพในทุกด้าน กล่าวคือ ให้เป็นคนดี คนเก่ง ที่มีศีลธรรม เพื่อเป็น “ลูกแม่โจ้” ที่ดีรับใช้สังคมสืบต่อไป ขออวยพรให้นกั ศึกษาใหม่ทกุ คนจงมีสติทจี่ ะประพฤติปฏิบตั แิ ต่สงิ่ ทีด่ งี าม อยู่ตลอดเวลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พึ่งพร เนียมทรัพย์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุทุมพร อุประ คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุทุมพร อุประ คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกท่านที่ได้เข้ามาศึกษาใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นสถาบันอันทรงเกียรติ ขอให้นักศึกษาทั้งหลายจงมี ความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ซึ่งมีปรัชญามุ่งมั่น พัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรืองวัฒนาของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน ต่อจากนี้ไปนักศึกษาจะได้พบกับการใช้ชีวิตในรั้วของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็น ช่วงเวลาที่มีค่าที่สุดช่วงหนึ่งของชีวิต การที่จะเป็นนักศึกษาอย่างถึงพร้อมนั้น ท่านทั้งหลายต้องมีความมานะเพียรพยายาม ในการใฝ่หาความรู้ทั้งในห้องเรียน พร้อมทั้งเก็บเกี่ยวประสบการณ์ต่างๆ ในรั้วของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ไม่ว่าจะเป็น ด้านวิชาการ นันทนาการ กีฬา และศิลปวัฒนธรรม เพื่อสิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้าง เสริมประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นรากฐานของการด�ารงชีวิตในสังคม ขอให้นกั ศึกษาทุกคน ตระหนักว่าการเป็นคนเก่งหรือเรียนดี เพียงเท่านัน้ อย่างเดียวไม่อาจท�าให้เราอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข แต่จะต้องประกอบ ไปด้วยสิ่งที่เอื้อต่อการด�าเนินชีวิตอีกหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการมีวินัยในตนเอง การยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น การรู้จักเปิดรับความรู้ใหม่ รู้จักไตร่ตรอง ทุกปัญหาอย่างรอบคอบและมีเหตุผล มีความมานะพยายาม รู้จักมีสัมมาคารวะ มีน�้าใจเอื้อเฟือเผื่อแผ่ สิ่งเหล่านี้จะท�าให้บุคคลรอบข้างรัก และศรัทธาในตัวเรา และเป็นที่ยอมรับของสังคมในที่สุด

23

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ คณบดีคณะพัฒนาการท่องเทีย ่ ว รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา คณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

24

อิ น ทนิ ล

ลูกแม่โจ้ รุ่น 78 ที่รักทุกท่าน คณะพัฒนาการท่องเที่ยว ขอต้อนรับน้องๆ ทุกคนด้วยความจริงใจ และ ถ้ามีโอกาสขอให้ทุกคนเข้ามาเยี่ยม Maejo Welcome Center ที่เปิดรอรับ พวกเราเข้ามาศึกษาเรียนรูป้ ระวัตแิ ละความเป็นมา ตลอดจนต�านานความยิง่ ใหญ่ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่เป็นมหาวิทยาลัยเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย จนครบรอบ 80 ปี ในปีปัจจุบันนี้ ในฐานะรุ่นพี่ (แม่โจ้รุ่น 49) ขอให้คติเตือนใจ ส�าหรับเข้ามาเป็นนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และจะก้าวไปสู่นักพัฒนาสังคม เกษตรกร หรือประเทศชาติ ในอนาคต อันใกล้นี้ ...ถ้าคิดได้ ให้ช่วยคิด ...ถ้าคิดไม่ได้ ให้ช่วยท�า ...ถ้าท�าไม่ได้ ให้ความร่วมมือ ...ถ้าร่วมมือไม่ได้ ให้ก�าลังใจ แม้ให้ก�าลังใจก็ไม่ได้ ให้สงบนิ่ง…. ดังนั้น จงอย่าสกัดกั้น และวิพากษ์วิจารณ์ แบบไม่สร้างสรรค์ในสิ่งที่ตน ไม่อยากท�า และไม่รู้จริง ด้วยความเคารพอย่างจริงใจ รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา คณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว


สารจากคณาจารย์ ผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ อาจารย์ ดร.สมคิด แก้วทิพย์ ผู้อ�านวยการวิทยาลัยบริหารศาสตร์

สมคิด แก้วทิพย์ ผู้อ�านวยการวิทยาลัยบริหารศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาใหม่ ที่ได้เลือกและตั้งใจเข้ามาใช้ชีวิต การศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เข้าใจว่า ก่อนมานักศึกษาได้ครุน่ คิดมานานแล้ว ว่า ที่นี่จะสามารถตอบสนองพัฒนาการของเธอได้....นามเรา “แม่โจ้” ใหญ่โต มานานนัก ดังนั้น..จึงเก่าแก่ ค�าว่า “เก่าแก่” ไม่แน่ใจว่านักศึกษาคิดอย่างไร? ให้หาความหมายเอาเองก็แล้วกันนะครับ แต่ถึงอย่างไร สัจธรรมโดยรวมของ ทุกที่ ทุกองค์กร หรือทุกสถาบัน ก็มีสิ่งที่ดี มีคุณค่า น่ารัก สวยงามแต่ก็อาจมี ความน่าเกลียด น่ากลัว แฝงฝังอยู่ เหล่านีก้ เ็ ป็นธรรมชาติของธรรมชาติ เป็นธรรมดา ที่ในอุทยานมีดอกไม้และขี้หมาอยู่บ้าง หากรักจะชมผีเสื้อแสนสวยโบยบินอยู่ ก็ จ�าต้องยอมรับการมีอยู่ของตัวหนอนอันน่าเกลียดน่ากลัวตัวนั้น “มันมาด้วยกัน” และมันก็ “เป็นเช่นนัน้ เอง” ลูกเอย....แล้วก็ฮมั เพลงเบา ๆ ต่อไป...... “อยูท่ เี่ รียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน” ....ในขณะเดียวกันทุกสังคมมีคนดีและไม่ดีอยู่ เลือกคบเอานะ ส�าคัญที่สุดก็คือคนพาลและบัณฑิตในตัวเราเอง ยิ่งต้องเลือกรบ และคบให้ดี ขอให้มีความสุขและสมหวัง (ไม่แห้ว ไม่เป้อ) ตลอดไป

25

อิ น ทนิ ล


สารจากคณาจารย์ ผูอ้ าํ นวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ผศ.ชูชีพ ชีพอุดม

ผู้อ�านวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

26

อิ น ทนิ ล

ขอแสดงความยินดีอินทนิลช่อที่ 78 ขอต้อนรับลูกแม่โจ้ทุกคนที่มีโอกาสเข้ามาสู่มหาวิทยาลัยแม่โจ้แห่งนี้ สถาบันแม่โจ้เป็นสถานศึกษาทีก่ อ่ ตัง้ มายาวนานถึงปีนกี้ ็ 80 ปี มีประวัตศิ าสตร์ มีวัฒนธรรม มีประเพณี และอัตลักษณ์ความเป็นลูกแม่โจ้ ขอลูกแม่โจ้ทุกคน จงเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ทั้งทักษะชีวิต และวิชาชีพเพื่ออนาคตต่อไป และถ้า ใช้สติปญ ั ญาและอดทน ท่านจะเข้าใจค�าว่า “แม่โจ้” คือสัญลักษณ์ของความเป็น พี่เป็นน้องและเพื่อนแท้ ขอทุกคนจงโชคดีและประสบความส�าเร็จ และพร้อมกัน นี้ขอต้อนรับ ลูกแม่โจ้รุ่นที่ 78 ด้วยความยินดียิ่ง “เราจะเดินเคียงคู่กันเพื่อ พัฒนาการเกษตรของประเทศไทยสู่ประชาคมโลก” ผศ.ชูชีพ ชีพอุดม ผู้อ�านวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ


สารจากคณาจารย์ ผูอ้ าํ นวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

อาจารย์สมพร มีแสงแก้ว

ผู้อ�านวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

อาจารย์สมพร มีแสงแก้ว ผู้อ�านวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร แม่โจ้รุ่นที่ 43

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอต้อนรับและแสดงความยินดีกับ “ลูกแม่โจ้ รุ่นที่ 78” ในการเริ่มต้น เข้ า มาสู ่ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ชี วิ ต แห่ ง นี้ ไม่ ว ่ า จะศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ก็ตาม เราเป็นหนึ่งเดียว เป็นลูกแม่เดียวกัน เป็นรุ่น เดียวกัน ให้มีความรัก สามัคคี ช่วยเหลือกัน ตั้งใจเดินทางให้ไปสู่จุดหมาย ก็คือ การเป็นบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิตที่ถือพร้อมด้วย “การเป็นคนดี และเป็น คนเก่ง” พวกเราจะท�าหน้าทีใ่ นการสนับสนุนให้ “ลูกแม่โจ้ รุน่ ที่ 78” อยูใ่ นสถาบัน อันทรงเกียรติแห่งนี้ภายใต้อ้อมกอดของ “แม่โจ้” ตลอดไป

27

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกองค์การนักศึกษา นายสุรศักดิ์ อัง

นายกองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

28

อิ น ทนิ ล

วันเวลาในรั้วมหาวิทยาลัยช่างรวดเร็วเหลือเกิน เพียงไม่นานพี่ก็ได้เห็น น้องๆ อินทนิลช่อที่ 78 แล้ว ซึ่งถ้าพูดกันอาจจะดูเหมือนนาน แต่หารู้ไม่ว่าการที่ เราอยูใ่ นรัว้ มหาวิทยาลัย มันมีสงิ่ ทีท่ า� ให้เราได้เรียนรู้ ได้คน้ คว้า ได้หาประสบการณ์ ที่แปลกใหม่ให้แก่ชีวิต ดังนั้นวันเวลาจึงเร็วมาก ไม่นานจากวันที่เราเป็นน้อง เรา ก็ต้องเป็นพี่ สิ่งที่พี่อยากจะแนะน�าน้องๆ ในการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย พี่เชื่อ ว่าน้องส่วนใหญ่ต้องจากครอบครัวที่ห่างไกล และอีกไม่นานต้องออกไปยังสู่โลก ภายนอกทีก่ ว้างใหญ่ แล้วต้องใช้ชวี ติ ทีห่ า่ งความดูแลใกล้ชดิ จากครอบครัว เหล่านี้ เป็นแบบทดสอบในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของความเป็นเด็กสู่ภาวะความเป็น ผู้ใหญ่ เราอย่าลืมว่าตอนที่เราเข้ามามหาวิทยาลัย เรายังเป็นเด็กที่อยู่ใกล้ชิดกับ ครอบครัว หรือกับผู้ปกครอง แต่วันเวลาในรั้วมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นวันเวลาเพียง น้อยนิด บางคนแค่ 2 ปี บางคน 4 ปี หรือ 5 ปีตามหลักสูตร เราก็จะกลายเป็น ผูใ้ หญ่ เข้าสูว่ ยั ท�างานโดยไม่รตู้ วั ฉะนัน้ วันเวลาในรัว้ มหาวิทยาลัยนีแ้ หละครับ ที่ จะช่วยสอนเรา ให้เรามีประสบการณ์ มีความเป็นผู้ใหญ่ มีความคิดที่มีเหตุมีผล แต่ก็ขึ้นอยู่ที่ว่าเราจะคว้ามันมาได้มากเท่าไหร่แค่นั้นเอง การรับน้องในรั้วอินทนิลแห่งนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งในการหล่อหลอมความ เป็นลูกแม่โจ้ หล่อหลอมความเป็นหนึง่ เดียว พีเ่ ชือ่ ว่าน้องๆ บางคนก็รบั ได้ น้องๆ บางคน ก็อาจรับไม่ได้กบั การรับน้อง แต่พอี่ ยากให้นอ้ งเปิดใจ ดังทีพ่ กี่ ล่าวไปข้างต้นว่า หลายสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มันมีประสบการณ์มากมาย อยูท่ วี่ า่ เราจะคว้ามันมาได้มากเท่าไหร่? อย่างไรก็ตามในนามองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พี่ขอแสดงความยินดี กับน้องๆ อินทนิลช่อที่ 78 สู่รั้วมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ผ่านการรับน้องมาได้ และพี่ ก็ขอให้น้องๆ มีความสุขในการศึกษาและการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แห่งนี้ครับ นายสุรศักดิ์ อัง นายกองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้


จากใจ... นายกองค์การนักศึกษา นายอนุชา หนูหล้า

นายกองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ในนามตัวแทนของพี่ๆ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขอ แสดงความยินดีกับน้องอินทนิลช่อที่ 78 ทุกคน ที่ได้ผ่านการหล่อหลอมการเป็น ลูกแม่โจ้ในกระบวนการต่างๆ อย่างสมบูรณ์ พี่เชื่อว่าพวกเราคงได้เรียนรู้อะไร มากมายจากกิจกรรมดังกล่าว ขอต้อนรับพวกเราสู่ดินแดนแห่งปรัชญาที่ว่า เลิศน�้าใจ วินัยดี เชิดชูประเพณี สามัคคี อาวุโส ด้วยความยินดียิ่ง

ท้ า ยที่ สุ ด ขออ� า นวยอวยพรให้ น ้ อ งทุ ก คนได้ ใช้ ชี วิ ต ในการศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัยแห่งนี้อย่างมีความสุข และประสบความส�าเร็จตามที่มุ่งหวังโดย ทั่วหน้ากันทุกคนนะครับ

นายอนุชา หนูหล้า นายกองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

น้องครับวันนีเ้ ราหลายคนต้องจากถิน่ ฐานบ้านเกิดมาจากหลายสถานที่ แต่ ไม่ว่าพวกเราจะมาจากที่ไหนวันนี้พวกเราคือลูกแม่โจ้ เราเลือกที่จะมาศึกษาใน มหาวิทยาลัยแห่งชีวิตแห่งนี้ ขอให้พวกเราจงตั้งใจศึกษาเรียนรู้เก็บเกี่ยวเอา ประสบการณ์อย่างเต็มที่ จะได้มากหรือน้อยขึ้นกับความสนใจความสามารถของ แต่ละคน ขอให้เรามีความอดทน ความมุง่ มัน่ ความตัง้ ใจ ท�าในสิง่ ทีต่ นเองเลือกให้ ดีทสี่ ดุ เมือ่ เราจบการศึกษาทีแ่ ม่โจ้แห่งนีเ้ ราจะกลายเป็นบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ อดทน สู้งาน เพื่อออกไปท�าประโยชน์ให้เกิดกับสังคมและประเทศชาติต่อไป

29

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกองค์การนักศึกษา นายวิทยา ชูคต

นายกองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

30

อิ น ทนิ ล

ขอต้อนรับน้องๆ เข้าสูร่ วั้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และขอแสดงความยินดีแก่ น้องๆ ว่าที่ช่ออินทนิลที่ 78 น้องๆ ก�าลังจะได้ใช้ชีวิตใหม่ในมหาวิทยาลัย พบ เพื่อนใหม่ สังคมใหม่ ในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้ การใช้ชีวิตมหาวิทยาลัยนั้น น้องๆ อาจได้พบเจอเหตุการณ์ต่างๆ มากมายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตของน้องๆ น้องๆ ต้องมีความอดทน มีสติ ต่อการด�าเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ดังค�า กล่าวที่ว่า “งานหนักไม่เคยฆ่าคน” ซึ่งก็เปรียบดังปัญหาต่างๆ ที่น้องๆ อาจจะได้พบเจอในชีวิต น้องๆ จะต้องก้าวผ่านปัญหาต่างๆ ไปให้ได้ เพื่อ อนาคตของน้องๆ เอง รวมทั้งความภาคภูมิใจของพ่อแม่ ที่ท่านส่งเสียค่า เล่าเรียนให้เรา การเรียนในมหาวิทยาลัยนัน้ มีทงั้ กิจกรรมและการเรียนทีค่ วบคู่ กันไป น้องๆ จะต้องแบ่งการใช้เวลาให้ถูกต้องเพื่อไม่ให้กระทบต่อการเรียน และกิจกรรม การเลือกคบเพื่อนก็ส�าคัญเช่นกันเพื่อนมีทั้งดีและไม่ดี น้องๆ ควรพิจารณาให้ดีว่าควรเลือกคบเพื่อนประเภทไหน ชีวิตของน้องๆ ก�าลังจะ เปลี่ยนไป ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ แห่งนี้ นายวิทยา ชูคต นายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร


จากใจ... ประธานสภานักศึกษา นายปยณัฐ เศษจันทร ประธานสภานักศึกษา

สวัสดีครับน้องๆ อินทนิลช่อที่ 78 ทุกคน พี่ชื่อโต้ง BIO-TECH ครับ “Welcome to MAEJO UNIVERSITY” อย่าอ่านว่า “เวรกรรม ทู แม่โจ้ ยูนเิ วอร์ซที ”ี้ กันล่ะ รูไ้ หมว่าน้องๆ คิดถูกแล้วทีเ่ ลือกเรียนทีม่ หาวิทยาลัยแม่โจ้ เพราะสถาบันแห่งนีม้ อี ายุยาวนานถึง 80 ปี ใครๆ ก็รจู้ กั แม่โจ้ สมัครงานทีไ่ หน เขาก็รับเด็กที่จบจากแม่โจ้ ขอแค่น้องตั้งใจเรียนหนังสือให้จบนะครับ “อย่าก้มหน้า....เรียนหนังสือแต่อย่างเดียวล่ะ ท�ากิจกรรมร่วมกับเพือ่ นๆ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ในชีวิตด้วยนะ” สู ่ อ ้ อ มอกแม่

นายปิยณัฐ เศษจันทร์ ประธานสภานักศึกษา

31

อิ น ทนิ ล


จากใจ... ประธานฝายสาราณียกร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบรรณาธิการหนังสือสู่อ้อมอกแม่ นายณัฐวัฒน อภิลักษมีวรรณ

ประธานฝ่ายสารสนเทศและสาราณียกร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ ลูกแม่โจ้ รุ่นที่ 78 สู่รั้ว อินทนิลมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต มหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้มีต�านานมากมายและ ประเพณี ที่ สื บ ต่ อ กั น มารุ ่ น ต่ อ รุ ่ น น้ อ งๆ ทุ ก คนได้ ต ่ อ สู ้ เ พื่ อ จะเข้ า เรี ย นยั ง มหาวิทยาลัยต่างๆ แต่การทีไ่ ด้เข้ามาสูม่ หาวิทยาลัยนัน้ มันยังไม่ใช่จดุ สิน้ สุดของ ชีวิต เพราะน้องๆ ยังไม่ได้เริ่มการใช้ชีวิตที่แท้จริงนั้นเอง

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

32

อิ น ทนิ ล

ต่อจากนี้ไปการใช้ชีวิตที่แท้จริงก�าลังจะเริ่มขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัยตลอด 4 ปีเต็ม ชีวิตของคนเรานั้นสามารถเปลี่ยนได้ตลอดเวลาอยู่ที่คุณจะเลือกเดินไป ทางไหนนั้นเอง ขอให้น้องๆจงยอมรับในสิ่งที่ผิดพลาดและเรียนรู้จากมันแล้ว เริ่มที่จะเดินใหม่เพื่อก้าวที่ยิ่งใหญ่ในวันข้างหน้า ตราบใดที่พระอาทิตย์ยังขึ้นใน ทิศตะวันออกก็ยงั มีวนั พรุง่ นีเ้ สมอครับ ต�านานของแม่โจ้เรานัน้ มีชอื่ เสียงทีก่ กึ ก้อง เพราะแม่โจ้สอนให้เราเป็นผู้ที่สู้งาน เสียสละ และเที่ยงตรง โดยมีค�าของท่าน ศาสตราจารย์ ดร. วิภาต บุญศรี วังซ้าย อธิการบดีคนแรกของแม่โจ้เรานั้นยัง อยู่ภายในจิตใจของลูกแม่โจ้ทุกคนว่า “งานหนักไม่เคยฆ่าคน” เพราะค�านี้เลยมี ต�านานกล่าวขานและน�าไปสร้างภาพยนตร์ของแม่โจ้ของเรา สุดท้ายนี้พี่ในฐานะ ลูกแม่โจ้ที่ 76 ขอให้น้องๆ ทุกคนเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการใช้ชีวิตใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแห่งชีวิตให้มากที่สุด เพื่อน�าไปใช้ในการด�าเนิน ชีวิตและน�าพาประเทศชาติต่อไป นายณัฐวัฒน์ อภิลักษมีวรรณ์ (ลูกแม่โจ้รุ่น 76) ประธานฝ่ายสารสนเทศและสาราณียกร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบรรณาธิการหนังสืออ้อมอกแม่


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า นายดลนุชิต กัลยา

นายกสโมสรนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�้า

นายดลนุชิต กัลยา นายกสโมสรนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�้า

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอแสดงความยินดีกบั น้องๆ “อินทนิลช่อที่ 78” ทุกคนนะครับ ในฐานะทีพ่ ี่ เป็นตัวแทนของพี่ๆ นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�้า น้องๆ เข้ามาสูร่ วั้ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ น้องๆ ได้ผา่ นการคัดเลือกมาจาก ทีต่ า่ งๆ ต่างคนต่างทีม่ า ต่างความคิด เมือ่ เราได้มาอยูร่ ว่ มกันในสถาบันแห่งนี้ เรา ก็ควรที่จะมีความสามัคคีกัน รักกัน มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียว เพราะแม่โจ้ของ เราอยู่ได้ด้วย “ความสามัคคี” และพี่ๆ แม่โจ้ทั้งที่ก�าลังศึกษา หรือทั้งที่ส�าเร็จการ ศึกษาแล้ว ก็จะคอยช่วยดูแลน้องๆ ที่เข้ามาใหม่อย่างเต็มที่ เพราะเมื่อเราเข้ามา อยูใ่ นมหาวิทยาลัยแม่โจ้แล้วไม่วา่ เราจะมาจากไหน “เราคือลูกแม่เดียว” พีจ่ ะคอย ให้คา� ปรึกษากับน้อง เมือ่ เราเข้ามาอาจจะมีอปุ สรรคบ้าง ไม่วา่ จะในเรือ่ ง การเรียน การกิน การอยูใ่ นหอในกับเพือ่ นมากๆ หรือการเรียน น้องต้องมีความอดทน ขยัน ตั้งใจเรียน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของ มหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด เพราะแม่โจ้สอนให้ลกู ๆ ทุกคนตระหนักถึงค�าว่า “งาน หนักไม่เคยฆ่าคน” ท้ายนี้พี่ก็ขอเป็นก�าลังใจให้น้องๆ “อินทนิลช่อที่ 78” ทุกคน ขอให้น้องๆ ประสบผลส�าเร็จในชีวิต มีความสุขกับการใช้ชีวิตอยู่ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จงเป็น บัณฑิตทีจ่ บออกไปอย่างมีคณ ุ ภาพ มีคณ ุ ธรรม มีจริยธรรม และเป็นคนดีของสังคม “Glory in life is not in never failing, But rising each time we fail”

33

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ นายณพ พัชรกีรติกุล

นายกสโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

34

อิ น ทนิ ล

ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับน้องๆ ว่าที่อินทนิลช่อที่ 78 ทุกคนเข้าสู่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ครับ....มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง ชีวิต มหาวิทยาลัยแห่งนี้จะสอนให้น้องๆ มีความอดทน สู้ต่องานต่างๆ และรู้จัก ความสามัคคีกัน....ดังนั้นพี่ขอให้น้องๆ ทุกคนเก็บเกี่ยวประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้ จากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ไปปรับปรุงใช้ในอนาคต และพีจ่ ะขอเป็นก�าลังใจให้นอ้ งๆ ทุกคนประสบความส�าเร็จในการใช้ชีวิตภายในรั้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นะครับ ^^ นายณพ พัชรกีรติกุล นายกสโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะพัฒนาการท่องเที่ยว นางสาวจารุวรรณ รักษธรรม

นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

ขอแสดงความยินดีกับความส�าเร็จในสิ่งต่างๆ ที่น้องๆ ผ่านมาได้ ไม่ว่าจะ เป็นการอยู่กับเพื่อนใหม่สามวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่–แพร่– ชุมพร การอยู่หอพักในมหาวิทยาลัย และการรับน้อง ขอชื่นชมน้องนักศึกษาใหม่ ประจ�าปีการศึกษา 2556 ในความพยายามและความอดทนอดกลั้นกับอุปสรรค ต่างที่เผชิญ

ชีวิตคือการเรียนรู้ ดังนั้นหมั่นค้นคว้าหาความรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ ต่อไป ความส�าเร็จที่แท้จริงของชีวิตไม่ได้อยู่ที่การจะได้รับปริญญาบัตรหรือ มีชื่อเสียง แต่อยู่ที่การใฝ่รู้และการศึกษาหาความรู้ใหม่อยู่ตลอด ขออวยพรให้ นักศึกษาใหม่ประจ�าปี 2556 มีความสุข เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานที่ท�า และ ขอให้ประสบความส�าเร็จในชีวิตสมดั่งปรารถนา นางสาวจารุวรรณ รักษ์ธรรม นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

การทีจ่ ะส�าเร็จทางการศึกษาเป็นบัณฑิตนัน้ ต้องอาศัยความพยายามเป็น อย่างมาก การทีน่ อ้ งนักศึกษาใหม่ได้เผชิญกับสิง่ ต่างๆ ในหนึง่ ปีเต็ม ถือว่าเป็นการ ฝึกฝนในรูปแบบหนึง่ ซึง่ เรามัน่ ใจว่าน้องนักศึกษาใหม่ทกุ คนจะประสบความส�าเร็จ ในอนาคต พร้อมทั้งเก็บเกี่ยวประสบการณ์และความรู้ที่เราได้สั่งสมไว้จะเป็น ประโยชน์ทั้งต่อตัวเราเองและผู้อื่น

35

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ นายจักรพงษ ธิซาว

นายกสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

36

อิ น ทนิ ล

ก่อนอืน่ ก็ตอ้ งขอแสดงความยินดีกบั น้องๆ ว่าทีอ่ นิ ทนิล ช่อที่ 78 ทุกคนด้วย นะครับ ในโอกาสที่น้องได้เข้ามาสู่รั้วอินทนิลแห่งนี้ พี่ทุกคนก็พร้อมที่จะต้อนรับ น้องๆ พี่ก็ขอให้น้องๆ ประสบความส�าเร็จทั้งด้านการเรียน การใช้ชีวิต ตลอดจน การท�าหน้าทีเ่ ป็นลูกทีด่ ขี องพ่อแม่ และในโอกาสทีเ่ ราได้ใช้ชวี ติ เป็นนักศึกษา ก็อย่า ลืมเก็บเกี่ยวความรู้ให้ได้มากที่สุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต น้องๆ หลายๆ คนอาจเคยได้ยินประโยคนี้อยู่บ้าง แม่โจ้สอนให้คนสู้งาน และอดทน ก็ขอให้น้องๆ ใช้ชีวิตแบบลูกแม่โจ้ได้อย่างมีความสุข เป็นที่รักของครูบาอาจารย์ รุ่นพี่ รุ่นน้องทุกคน สุดท้ายนี้ พี่ก็ขอให้น้องๆ ใช้ประสบการณ์ ความเป็นลูกแม่โจ้ และชีวิต นักศึกษา ให้เป็นประโยชน์แก่ชีวิต และอนาคตของตัวเอง หากน้องๆ ท้อ เหนื่อย ก็ขอให้นอ้ งสู้ อดทน และพร้อมทีจ่ ะก้าวต่อไป พีข่ อเป็นก�าลังใจให้นอ้ งทุกคนนะครับ นายจักร์พงษ์ ธิซาว นายกสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร นางสาวขนิษฐา บุญน้อย

นายกสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

สุดท้ายนีพ้ ขี่ ออวยพรให้นอ้ งๆ ว่าทีอ่ นิ ทนิลช่อที่ 78 ทุกคนจงประสบความ ส�าเร็จ ก้าวออกจากรั้วมหาวิทยาลัยอย่างภาคภูมิใจ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพเพื่อ ออกไปสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวม นางสาวขนิษฐา บุญน้อย นายกสโมสรนักศึกษาคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ขอต้อนรับน้องๆ ว่าทีอ่ นิ ทนิลช่อที่ 78 ทุกคนเข้าสูร่ วั้ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และถือโอกาสนีแ้ สดงความยินดีกบั น้องๆ ทีใ่ ช้ความเพียรพยายามจนได้เข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย ถือเป็นโอกาสดีเพราะนี่คือการเริ่มต้นท�าสิ่งใหม่ๆ ที่ ยิ่งใหญ่อีกครั้งในชีวิตของน้องๆ พี่ขอให้น้องๆ ใช้ช่วงเวลาอันมีค่านี้เก็บเกี่ยว ประสบการณ์ใหม่ๆ และความทรงจ�าดีๆ ให้ได้มากที่สุด เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ๆ อย่าคิดว่ามันเป็นช่วงเวลาที่ยาวนาน เพราะช่วงเวลาแบบนี้ไม่ได้มีตลอดไป การแบ่งเวลาเป็นสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คนเราถ้าจะดีได้ควรท�ากิจกรรมควบคูก่ บั การเรียน อย่ามุ่งอย่างใดอย่างหนึ่งแต่ควรท�าทั้งสองอย่างควบคู่กันไปอย่างตั้งใจและเต็มที่ ความอดทนและความขยันจะน�าพาน้องของพี่ไปสู่ความส�าเร็จ อ้อมอกแม่แห่งนี้ จะท�าให้นอ้ งพีอ่ บอุน่ แล้วน้องจะได้รวู้ า่ มหาวิทยาลัยแห่งนีม้ ใี ห้นอ้ งมากกว่าค�าว่า มาเรียน

37

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ นางสาววทัญญา จิระเมทา

นายกสโมสรนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

38

อิ น ทนิ ล

“ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีกับน้องๆ ว่าที่อินทนิลช่อที่ 78 ทุกคน กว่าเราจะมาถึงจุดนีไ้ ด้เราทุกคนต้องใช้ความอดทน ความสามัคคีฝา่ ฟันอุปสรรค ปัญหาต่างๆ มาได้ พี่เชื่อว่าน้องๆ ทุกคนได้รับประสบการณ์ที่ดี มิตรภาพจาก เพือ่ นใหม่ ความรักและความปรารถนาดีจากรุน่ พีแ่ ม่โจ้ทหี่ าจากทีไ่ หนไม่ได้ จุดนี้ เป็นเพียงจุดเริ่มต้นที่น้องๆ ผ่านมาได้เท่านั้น จากนี้ต่อไปอีก 4 ปีภายในรั้ว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ น้องๆ จะต้องผ่านอุปสรรคอีกมากมายทั้งในการเรียน การ คบเพื่อน การใช้ชีวิตต่างๆ แต่การที่เราจะผ่านจุดนี้ไปได้นั้น เราต้องใช้ความ อดทนและความพยายามเป็นอย่างมาก พี่อยากจะให้น้องๆ เก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการพักอยู่หอในให้มากๆ ชีวิตในหอในจะหาจากที่ไหนไม่ได้อีก ความสนุกสนาน เฮฮา และเวลาที่เราจะ ได้ความรัก ความช่วยเหลือ และมิตรภาพจากเพื่อนๆ ช่วงเวลานี่แหละที่เราจะ เห็นได้ชดั ทีส่ ดุ น้องๆต้องตัง้ ใจเรียนให้มากๆ การเรียนในมหาวิทยาลัยไม่เหมือน กับการเรียนสมัยมัธยม ไม่มีการตื่นนอนไปเข้าแถวเคารพธงชาติ ไม่มีครูมาคอย คอยจ�า้ จีจ้ า�้ ไชทุกวิชา เราต้องขวนขวายหาความรูเ้ อง ถ้ามัวแต่เรียนๆ เล่นๆ รูต้ วั อีกทีกอ็ าจจะโดนรีไทน์ไม่รตู้ วั ชีวติ ในรัว้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้นยี้ งั อีกยาวไกล พีข่ อ ให้น้องๆ ทุกคนจบมาเป็นลูกแม่โจ้ที่ดี เป็นบัณฑิตที่น่าภูมิใจของพ่อแม่นะคะ” “เลิศน�้าใจ วินัยดี เชิดชู ประเพณี สามัคคี อาวุโส” นางสาววทัญญา จิระเมทา นายกสโมสรนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร์ นางสาวจิฑานันท จันน�้าท่วม

นายกสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์

นางสาวจิฑานันท์ จันน�า้ ท่วม นายกสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

…ในนามผู้แทนของคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ ประจ�าปีการศึกษา 2556 ขอแสดงความยินดี และขอต้อนรับน้องๆ นักศึกษาใหม่ ว่าที่อินทนิล ช่อที่ 78 เข้าสู่รั้วของมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชีวิต ในรั้วมหาวิทยาลัย น้อง ๆ จะได้พบกับประสบการณ์ใหม่ เพื่อนใหม่ สังคมใหม่ ซึ่งในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ให้น้อง ๆ ได้เก็บเกี่ยวทั้งใน ด้านวิชาการและประสบการณ์จากการท�ากิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งน้อง ๆ สามารถที่จะ เรียนรู้และท�ากิจกรรมควบคู่กันไปได้ เพียงแต่ต้องรู้จัก รับผิดชอบ แบ่งเวลา ให้ถูกต้อง และใช้เวลาว่างให้คุ้มค่าที่สุด การเรียนไม่ใช่เรื่องยากส�าหรับคนที่มี ความตัง้ ใจจริง พีเ่ ชือ่ ว่าถ้าเราได้ตงั้ ใจท�าสิง่ ใดไปแล้วสิง่ ทีไ่ ด้รบั กลับมาก็นา่ จะเป็น สิ่งที่ดี ส่วนทางด้านกิจกรรมจะสอนให้น้องได้รู้จักสังคม ฝึกระเบียบวินัย มี มนุษยสัมพันธ์ และปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามบทบาททีไ่ ด้รบั อย่างถูกต้อง ซึง่ จะท�าให้ชวี ติ ในมหาวิทยาลัยของน้อง ๆ มีรสชาติและสมบูรณ์แบบ “การเรียนท�าให้คนมีงานท�า กิจกรรมท�าให้คนท�างานเป็น” พีข่ ออวยพรให้นอ้ ง ๆ นักศึกษาใหม่ทกุ ท่านประสบ ความส�าเร็จในด้านการเรียนและมีความสุขกับการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย แห่งนี้ เพื่อที่จะได้น�าไปสู่การเป็นบัณฑิตที่ดีอย่างที่น้อง ๆ และครอบครัวตั้งใจไว้

39

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม นางสาวศิริพร ไชยวงคสา

นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

40

อิ น ทนิ ล

ขอแสดงความยินดีกบั น้องๆ ลูกแม่โจ้รนุ่ ที่ 78 ด้วยนะค่ะ ทีไ่ ด้ผา่ นพ้นช่วง ระยะเวลาที่ลูกแม่โจ้ทุกคนได้ผ่านกันมา ไม่ว่าน้องจะผ่านมาด้วยดีบ้างหรือร้าย บ้างยังไง แต่หากน้องผ่านมาถึงจุดนี้และได้อ่านบทความของพี่ได้ก็หมายถึงว่า น้องได้ผ่านบททดสอบความอดทน มาได้ในระดับหนึ่งแล้ว พี่ขอให้น้องจดจ�า สิง่ ทีด่ ๆี ฝึกผ่านความอดทนในช่วงระยะเวลานัน้ และสืบต่อไปในช่วงชัน้ ปีที่ 1 ของ น้องขอให้เก็บประสบการณ์และความทรงจ�าดีๆ และไขว่คว้าโอกาสที่ดีเข้ามาใน ชีวิตนับตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป… “ยินดีต้อนรับอินทนิลช่อที่ 78 สู่อ้อมอกแม่เดียวกันค่ะ” นางสาวศิริพร ไชยวงค์สา ลูกแม่โจ้ รุ่นที่ 76 นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

นายสุพจน อุตรศักดิ์

นายกสโมสรนักศึกษา คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

ท้ายนี้อยากให้น้องทุกคนจงโชคดีในการเรียนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอให้ ประสบผลส�าเร็จจบตามหลักสูตรของตนเองที่ตั้งใจ มีความสุข สุขภาพร่างกาย สมบูรณ์แข็งแรง พ่อแม่หวังพึ่งพาเจ้า ชาติหวังก�าลังฝีมือ

ครูเหล่าหวังเจ้าสร้างชื่อ เจ้าคือความหวังทั้งปวง

นายสุพจน์ อุตรศักดิ์ นายกสโมสรนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สวัสดีนอ้ งทุกคน ยินดีตอ้ นรับเข้าสูม่ หาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอรับน้องทุกคนเข้า สู่อ้อมกอดของแม่โจ้ อินทนิลช่อที่ 78 มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยชีวิต แห่งหนึ่ง ที่จะท�าให้น้องอดทน สู้งาน ท�าให้น้องไปสู่เป้าหมายในชีวิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ในรั้วของมหาวิทยาลัยมีอะไรให้น้องเรียนรู้หลากหลาย ทั้งทาง วิชาการ ทางด้านสังคม ตลอดจนประสบการณ์ชีวิตในการเรียนมหาวิทยาลัยนั้น เราต้องมีสติ สมาธิ ในการด�ารงชีวิต เพราะในมหาวิทยาลัยไม่มีใครมาวางกรอบ ให้เราเดิน ไม่มใี ครมาคอยบังคับให้ทา� อย่างนัน้ อย่างนีเ้ หมือนทีบ่ า้ น ท�าให้เราต้อง มีระเบียบวินัยในตนเอง วางแผนชีวิตตนเองโดยไม่มีผู้ปกครองคอยดูแล มีความ รับผิดชอบในตนเอง พี่อยากให้น้องทุกคนอย่าหลงในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย จนลืมไปว่าพ่อกับแม่ของเราท่านส่งเรามาท�าอะไร จงตัง้ ใจเรียน ขยันอ่านหนังสือ เป็นคนดีของสังคม และเป็นคนดีของพ่อแม่ผู้ปกครอง และน�าใบปริญญากลับไป ให้พ่อและแม่ของน้องทุกคนได้ชื่นชมให้หายเหนื่อย

41

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะสารสนเทศและการสื่อสาร นายทวีคูณ ธิมูล

นายกสโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสื่อสาร

ในนามสโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสือ่ สาร และในนามของ รุ่นพี่ ก่อนอื่นขอกล่าวค�าว่า “ยินดีต้อนรับน้องๆ ว่าที่ลูกแม่โจ้รุ่นที่ 78 ทุกคน นะครับ ขอต้อนรับสู่อ้อมอกแม่เดียวกัน นั่นคือ แม่โจ้”

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

42

อิ น ทนิ ล

เมื่อน้องๆ ก้าวเข้าสู่รั้วของมหาวิทยาลัยแม่โจ้พี่ก็หวังว่าน้องๆจะ กอบโกยความรู้จากที่แห่งนี้ได้มากเท่าที่จะมากได้ แม่โจ้จะให้อะไรกับน้องๆ อีกมากมาย ทัง้ ความรู้ การฝึกปฏิบตั ิ และประสบการณ์ตา่ งๆ ขอให้นอ้ งๆ ตัง้ ใจ เรียนดั่งที่น้องๆ ตั้งใจที่จะมาเรียน ณ ที่แห่งนี้ ที่แห่งนี้เป็นมหาวิทยาลัยแห่ง ชีวิต เป็นมหาวิทยาลัยที่คอยให้ประสบการณ์ชีวิตกับเราตลอดเวลา ไม่ว่าจะ เป็นการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน การแสดงความเคารพต่อคณาจารย์ รวมไปถึงรุ่นพี่ และในระยะเวลา ไม่ว่าจะเป็น 2 ปี 4 ปี หรือ 5 ปี ขอให้น้องๆ ใช้ชีวิตใน มหาวิทยาลัยแห่งนี้อย่างมีความสุข เรียนอย่างมีความสุข สนุกกับงานที่ได้รับ มอบหมาย แล้วน้องๆ จะประสบความส�าเร็จในชีวิตครับ นายทวีคูณ ธิมูล นายกสโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสื่อสาร


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา วิทยาลัยบริหารศาสตร์ นายนัฐพล ภาคภูมิ

นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์

ในนามของสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ขอแสดงความยินดี และ ขอต้อนรับน้อง ๆ อินทนิลช่อที่ 78 ทุกคนทีไ่ ด้มาเป็นลูกแม่เดียวกัน

ท้ายนี้ ขอให้น้อง ๆ ทุกคน ประสบผลส�าเร็จการศึกษาตามที่หวังไว้ และ จงภูมิใจว่าเป็นหนึ่งใน “ลูกแม่โจ้” นายนัฐพล ภาคภูมิ นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

การเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยถือว่าเป็นสิ่งส�าคัญในชีวิต โดยต้องมีการปรับตัว หลายอย่าง ทัง้ ด้านการเรียนและการใช้ชวี ติ แม่โจ้จะสอนให้นอ้ งให้รจู้ กั การปรับตัว เพือ่ เป็นคนดีของสังคม อีกทัง้ แม่โจ้ยงั ให้ความรูแ้ ละประสบการณ์ชวี ติ ทีห่ าไม่ได้ใน ต�ารา ดังนัน้ การทีน่ อ้ งได้เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ น้องจงเก็บเกีย่ วความรู้ และประสบการณ์ โดยอาศัยความขยันหมัน่ เพียรและความอดทน อดกลัน้ ชีวติ ของ คนเรา มีทงั้ ทุกข์ มีทงั้ สุข แต่มนั เป็นสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดประสบการณ์ สร้างความเข้มแข็ง ต่อตัวเรา แม้บางครัง้ อาจเหนือ่ ยและอ่อนล้า แต่ขออย่าได้ทอ้ เพราะอนาคตข้างหน้า ยังรออยู่ หากใจสูก้ จ็ ะพบกับอนาคตทีส่ ดใส

43

อิ น ทนิ ล


จากใจ... นายกสโมสรนักศึกษา คณะผลิตกรรมการเกษตร นายพงษศิริ ศรีธิวงศ

นายกสโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

44

อิ น ทนิ ล

ในนามตัวแทนของนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร ผมขอกล่าว ยินดีตอ้ นรับน้องๆ อินทนิลช่อที่ 78 ทุกคนครับ มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันสร้าง ปัญญา สร้างประสบการณ์ สร้างการเรียนรู้ใหม่ๆ ที่ต่างจากโรงเรียนมัธยม ความขยัน อดทน หมั่นเพียร เป็นสิ่งส�าคัญในการด�าเนินชีวิตแห่งการศึกษา ในรั้วมหาวิทยาลัย “แม่โจ้” เป็นมหาวิทยาลัยที่ปลูกสร้างคนดี สร้างบัณฑิตที่ เต็มไปด้วยความสามารถ ล้วนด้วยคุณภาพ โดยเฉพาะทางด้านการเกษตร เราเป็นมหาวิทยาลัยระดับแนวหน้าของเมืองไทย นอกจากนี้ “แม่โจ้” ยังสร้าง บัณฑิต ให้อดทน สู้งาน มีคุณธรรมจริยธรรม ดังค�าพูดที่ว่า “งานหนักไม่เคย ฆ่าคน” “เหนือสุดเหนือ แต่ในจิต ร้อยพ่อ คือเลือดเนื้อ

ใต้สุดใต้ เกษตรไซร้ พันแม่ เชื้อเกษตร

ไขว้แต่ทิศ ไม่ใต้เหนือ มาจุนเจือ เกรดเดียวกัน” ประพันธ์โดย... เกื้อ ศุขรักษ์

นายพงษ์ศิริ ศรีธิวงศ์ นายกสโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร


ปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ MAEJO UNIVERSITY

มุ่งศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเน้นการผลิตบุคลากรในวิชาชีพต่างๆ โดย เฉพาะทางการเกษตร ให้เป็นนักปฏิบตั ิ สูง้ าน คิดเป็น ใฝ่รู้ มีคณ ุ ธรรม และจริยธรรม ตลอดจนรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีงาม เพื่อพัฒนาท้องถิ่น และสังคมของประเทศ

ดอกไม้สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดอกอินทนิล

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

45

อิ น ทนิ ล

ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตราพระพิรุณทรงนาค พระบาทขวาเยื้องไปข้างหน้า พระหัตถ์ขวา ทรงถือพระแสงดาบ

ธงประจํามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ธงสี เขียว ขาว เหลือง

สีเขียว หมายถึง สีขาว หมายถึง สีเหลือง หมายถึง

ความอุดมสมบูรณ์ ความบริสุทธิ์ของจิตใจ รวงข้าวซึ่งเป็นพืชผลทางการเกษตรหลักของไทย

คติพจน์

เลิศน�้าใจ วินัยดี เชิดชูประเพณี สามัคคี อาวุโส

วิสัยทัศน์

เป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�าที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ


46

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อิ น ทนิ ล


47 สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อิ น ทนิ ล


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

48

อิ น ทนิ ล

ภายในงาน 80 ปีแม่โจ้ ประกอบด้วย

1 ประชุมวิชาการ 2 แสดงผลงานศิษย์เก่า/ศิษย์เก่าดีเด่น 3 ประกวดตัดสินพืช/สัตว์ 4 แสดงผลงานนักศึกษา 5 แม่โจ้ 80 ปี 80 คนเด่น 6 การจัดตั้งร้านค้าของหน่วยงานราชการและเอกชน


ประวัติ....

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้พัฒนามาจาก โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมประจ�า ภาคเหนือ กระทรวงธรรมการ เมือ่ วันที่ 7 มิถนุ ายน พ.ศ. 2477 ถือว่าเป็นสถานศึกษา ขัน้ สูงสุดทางเกษตรของประเทศไทยในสมัยนัน้ จึงมีประวัตทิ ยี่ าวนานและเล่าขานกัน มาจนถึงทุกวันนี้เกี่ยวกับเรื่องราวการบุกเบิกพื้นที่ และการต่อสู้กับงานหนัก เพื่อให้ ได้มาซึ่งสถานที่เล่าเรียน และเจริญเติบโตมาถึงทุกวันนี้

ยุคสร้าง “แม่โจ้”

รับผู้ส�าเร็จการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 6 ได้รับประกาศนียบัตรประโยคครูประถม กสิกรรม (ป.ป.ก.) ผู้ส�าเร็จการศึกษารุ่นแรก ได้รับการบรรจุเป็นครูสอนในปี พ.ศ. 2479 จ�านวนสามท่าน ส่วนอาจารย์วิภาต บุญศรี วังซ้าย ที่จบรุ่นแรกเหมือนกัน ได้เข้ารับราชการเป็นพนักงานเกษตรกรรมผู้ช่วยและพนักงานยางที่อ�าเภอหาดใหญ่ และสอบชิงทุนหลวง (ทุนก.พ.ในปัจจุบัน) ไปเรียนต่อปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติฟลิ ปิ ปินส์ เมือ่ จบการศึกษาแล้ว จึงกลับมาสอนและเป็นอาจารย์ ผู้ปกครองที่แม่โจ้เมื่อปี พ.ศ. 2484

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) รัฐมนตรีกระทรวง ธรรมการ ได้มบี ญ ั ชาให้จดั ตัง้ โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมภาคเหนือทีแ่ ม่โจ้ โดย ให้พระช่วงเกษตรศิลปการ เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก ควบคู่กับสถานีทดลองกสิกรรม ภาคพายัพ

49

อิ น ทนิ ล


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

50

อิ น ทนิ ล

• ในปี 2478-2481 มีหลักสูตรมัธยมวิสามัญเกษตรกรรม (มก.) รับเพียง 4 รุน่ • พ.ศ. 2481 จัดตั้งเป็น วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงธรรมการได้โอนโรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรมให้กับกระทรวง เกษตราธิการโดยยุบรวมแห่งอื่น ๆ ที่บางกอกน้อย โนนวัด คอหงศ์ และที่แม่โจ้ แล้ว จัดตั้งเป็นวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แม่โจ้ เพียงแห่งเดียว ในปีเดียวกันนี้แม่โจ้จึงเป็นทั้ง โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม (ป.ป.ก. ปีสดุ ท้าย) มัธยมวิสามัญเกษตรกรรม และ วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตามล�าดับ โดยมีพระช่วงเกษตรศิลปการ เป็นผู้อ�านวยการ • กลางปี พ.ศ. 2481 พระช่วงเกษตรศิลปการได้ยา้ ยไปรับต�าแหน่งอธิบดีกรม เกษตรที่กรุงเทพฯ อาจารย์จรัด สุนทรสิงห์ มารักษาการแทน • พ.ศ. 2482 เป็นโรงเรียนเตรียมวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ย้ายจากแม่โจ้ไปตั้งที่บางเขน แม่โจ้จึงถูกจัดตั้ง เป็นโรงเรียนเตรียมเกษตรศาสตร์ รับผู้ส�าเร็จชั้นมัธยมปลาย ส�าเร็จแล้วเข้าศึกษาต่อ ได้ที่วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน • พ.ศ. 2486 โรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เมื่ อ วิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บ างเขนได้ รั บ การสถาปนาเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ แม่โจ้จึงเปลี่ยนไปเป็น “โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์” เพื่อเตรียมนักเรียนเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย มีศาสตราจารย์ ดร.พนม สมิตานนท์ เป็นผู้อ�านวยการ


ยุคพัฒนา “แม่โจ้” • พ.ศ. 2499 วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ • พ.ศ. 2505 เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง เกษตรกรรม (เทคนิค เกษตร) • พ.ศ. 2518 สถาปนาเป็นสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร และต่อมาได้เปลีย่ น ชื่อเป็น “สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้” โดยมีอาจารย์วิภาต บุญศรี วังซ้าย ด�ารงต�าแหน่งอธิการบดีคนแรก ยุคปัจจุบัน “แม่โจ้” สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “มหาวิทยาลัยแม่โจ้” ใน วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• หลักสูตรตั้งแต่ปี 2482-2487 เป็นหลักสูตร 2 ปี • พ.ศ. 2488 สถานศึกษาการเกษตรแม่โจ้ • พ.ศ. 2490-91 งดรับนักศึกษา 2 ปี เพราะไม่ได้งบประมาณอุดหนุนและ จ�านวนผู้เรียนน้อย • พ.ศ. 2492 จัดตั้งเป็นโรงเรียนเกษตรกรรมแม่โจ้ โอนกิจการของสถานศึกษาการเกษตรแม่โจ้ไปสังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ โดยจัดตั้งเป็นโรงเรียนเกษตรกรรมแม่โจ้

51

อิ น ทนิ ล


52

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อิ น ทนิ ล


ศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” ขณะที่ ศิ ษ ย์ เ ก่ า แม่ โจ้ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ รู ้ ที่ มี ประสบการณ์ทางจิตวิญญาณบางท่าน ระบุวา่ เจ้าแม่ “แม่โจ้” มีชอื่ ว่า พระนาง อุรวดี ดังจะเห็นได้จากมีการสร้างวิหาร ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธชินราชองค์จา� ลอง ณ บริ เวณด้ า นข้ า งส� า นั ก หอสมุ ด และ อาคารคณะบริหารธุรกิจ ชื่อว่า “อุรวดี วิหาร” ศาลเจ้าที่ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2499 นั้น เป็นศาลไม้ขนาดเล็ก มีขนาดเพียง 1x1เมตร สู ง จากพื้ น ถึ ง ปลายหน้ า จั่ ว 53 ประมาณ 1 เมตร หั น หน้ า ศาลออก อิ น ทนิ ล ภายนอกสถาบัน โดยลักษณะตัวศาล มี หลังคาทรงหน้าจั่ว สีเขียว ปันลมสีแดง เสาสอบเข้าหากัน มีขายืน่ ออกมาลักษณะ สอบ มีกาแลภายในศาล มีภาพวาดของ เจ้าแม่ เป็นแผ่นไม้ลงสีแบบเจ้าพระยา ภาพทีป่ รากฏให้เห็นนัน้ เจ้าแม่สวยมาก ส�าหรับบรรยากาศโดยรอบศาลสมัยนั้น ค่อนข้างวังเวงมีความเป็นป่าอยูค่ อ่ นข้าง มาก รูปภาพของเจ้าแม่นนั้ ได้มกี ารอัญเชิญ มาจากกรุงเทพและได้มาท�าพิธีกรรมที่ สถาบันการศึกษาแม่โจ้ ให้เจ้าแม่มาสถิต ที่ รู ป นี้ โดยมี ก ารสร้ า งที่ อ ยู ่ ใ ห้ ท ่ า น รู ป ภาพของเจ้ า แม่ นี้ สั น นิ ษ ฐานว่ า ผู ้ ประกอบพิธีกรรมในครั้งแรกนั้นสามารถ สู ่ อ ้ อ มอกแม่

จากการค้ น คว้ า หาข้ อ มู ล ของ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการศึกษา แม่โจ้ในอดีตไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่า ศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” นัน้ สร้างขึน้ มาเมือ่ ไร แต่มีการสันนิษฐานว่าได้มีการสร้างศาล เจ้าแม่ “แม่โจ้” ตั้งแต่สมัยคุณพระช่วง เกษตรศิลปการ เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยว จิตใจของคณะนักเรียน และครูอาจารย์ ภายในแม่โจ้ ขณะเดียวกันมีการตั้งข้อ สังเกตว่าอาจมีการสร้างศาลเจ้าแม่ขนึ้ มา เนื่ อ งจากในช่ ว งนั้ น นั ก เรี ย นแม่ โ จ้ มี เหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย ศาลดั ง กล่ า วในอดี ต เรี ย กกั น ว่ า “ศาลเจ้าแม่โจ้” เนื่องมาจากคนที่ท�า พิ ธี ก รรมในครั้ ง แรกนั้ น ได้ เ รี ย กว่ า “ศาลเจ้า แม่โจ้” หรือ “ศาล เจ้าแม่โจ้” คนจึงเรียกต่อๆ กันมาว่าเป็น “ศาลเจา แมโจ” ปัจจุบันจึงเรียกว่าศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” นอกจากนีช้ อื่ ของท่านก็มกี ารเรียก กันต่อมาว่าเป็น “เจ้าแม่โจ้” (เดิมท่านชือ่ “ทับทิม”) ซึ่งอาจจะเป็นองค์เดียวกับ เจ้าแม่ทับทิมของจีนซึ่งมีชื่อว่า “ตังโป๋ย เต็งเหนี่ยง” หรือไม่นั้น ไม่สามารถสรุป ได้ แ ละเรี ย กท่ า นว่ า “เจ้ า แม่ โจ้ ” นั้ น เป็นการเรียกชื่อของสถานที่ตั้งอีกทีหนึ่ง


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

มีจิตเห็นภาพของเจ้าแม่ได้โดยภาพที่ เห็นนั้นเป็นภาพในจินตนาการ วันที่ 21 กันยายน 2517 ได้มีการ กระท�าพิธีย้ายหันหน้าศาลกลับเข้ามา ภายในสถาบันเนื่องจากในขณะนั้นได้มี เรื่องราวต่างๆ ที่ไม่เป็นมงคลเกิดขึ้นกับ นักศึกษาอยู่บ่อยๆ และมีผู้ช�านาญการ ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณที่ เ ป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า แม่ โจ้ แนะน�า ให้หนั หน้าศาลเจ้าแม่เข้ามาด้าน ภายในวิทยาลัยเพื่อให้เจ้าแม่ได้ปกป้อง รักษาคนภายในได้และในการสร้างศาล ครั้งแรกนั้นเป็นเพียงการอัญเชิญเจ้าแม่ มาสถิตในศาล ไม่ได้มีการขอให้ท่าน ปกปักรักษาคนทีอ่ าศัยในเขตวิทยาลัย ใน การย้ า ยศาล และหั น หน้ า ศาลเข้ า มา ภายในวิทยาลัยครั้งนี้ได้มีการปรับปรุง สร้างศาลขึ้นใหม่ให้มีลักษณะใหญ่กว่า ศาลเดิมเล็กน้อย ในการประกอบพิธกี รรม ในครัง้ นีไ้ ด้มกี ารประกอบพิธบี วงสรวงขอ ให้เจ้าแม่ท่านปกปักรักษา ดูแลคนใน 54 วิ ท ยาลั ย ด้ ว ย เรื่ อ งราวต่ า งๆ ที่ ไ ม่ ดี อิ น ทนิ ล ไม่ เ ป็ น มงคลก็ ล ดน้ อ ยลงไป และมี หลายครั้งในหลายเหตุการณ์เจ้าแม่ท่าน ก็มาในนิมติ ดลใจให้คนในแม่โจ้ได้พบกับ สิ่งดีงาม สิ่งที่ถูกต้อง เชื่อว่าเป็นเพราะ บารมีของท่าน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2522 ได้ มีการสร้างศาลใหม่ มีขนาดกว้างขึ้นโดย ชมรมศิษย์เก่าแม่โจ้ รุ่น 20 เป็นผู้ด�าเนิน การสร้างถวายให้แก่เจ้าแม่ เพื่อให้ศาล ของเจ้าแม่ดูสง่างาม มีบริเวณสักการะ กว้างขึ้น เป็นอาคารถาวร มีการปรับภูมิ ทัศน์และสภาพแวดล้อมอย่างสวยงาม บริเวณสร้างศาลใหม่ครั้งนี้ได้ย้ายเข้ามา ด้านในประมาณ 4-5 เมตร เพราะกรม

ทางหลวงจะมี ก ารขยายถนนเพิ่ ม เติ ม ส่วนศาลเดิมนัน้ ได้นา� ไปวางไว้ทวี่ ดั แม่โจ้ ส�าหรับพิธีอญ ั เชิญเจ้าแม่ “แม่โจ้” สถิตยัง ศาลหลังนี้ ได้ด�าเนินการในวันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2522 วันที่ 1 สิงหาคม 2549 รศ.ดร.เทพ พงษ์พานิช อธิการบดี ได้เชิญศิษย์เก่า แม่โจ้หารือการสร้างศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” แห่งใหม่ เนือ่ งจากปัจจุบนั สภาพสิง่ แวดล้อม เปลีย่ นแปลงไป มีการขยายถนนของกรม ทางหลวง การปรับทางเท้าของเทศบาล ต�าบลแม่โจ้ มีสิ่งปลูกสร้างอาคารเรียน เนื่องจากนักศึกษาเพิ่มขึ้นจ�านวนหลาย เท่ า ตั ว บริ เ วณสถานที่ ใ ช้ ป ระกอบ พิธีกรรมที่ศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” คับแคบลง ศาลเจ้าแม่แห่งใหม่จงึ ถูกก�าหนด จัดสร้าง ขึ้นด้านทิศใต้ของสถานที่เดิมประมาณ 200 เมตร กลางสระน�้าภายในอุทยาน กล้วยไม้ไทยเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ซึ่งมีความร่มเย็นและกว้างขวาง เหมาะส�าหรับประกอบพิธีกรรม ข้ อ ควรทราบและปฏิ บั ติ ใ นการ สักการะศาลเจ้าแม่ “แม่โจ้” 1. เครื่องสักการะ ประกอบด้วย ธูป (4 ดอก) เทียน ดอกไม้ (สีขาว) 2. อาหาร ได้แก่ อาหารเจ ของ หวาน 3. ผลไม้ตามฤดูกาล 4. ขอพึ่งบารมี ตั้งจิตให้บริสุทธิ์ 5. ของต้องห้าม ได้แก่ ของดอง ของมึนเมาทุกชนิด เนื้อสัตว์ทุกชนิด งด จุดประทัด หมายเหตุ : เมื่ อ มาเข้ า สั ก การะโปรด แต่งกายชุดสุภาพเรียบร้อย


ศาลเจา้ พ่อโจ

ประวัติศาลเจ้าพ่อโจ้

เจ้าพ่อท่านนัน้ โดนประหาร หรือศีรษะถูก ตั ด ออกจากตั ว นั้ น ไม่ ท ราบว่ า เป็ น มหาราชนัน้ ท่านสิน้ ชีวติ โดยไม่มบี าดแผล ใดๆ และในบริเวณสระเกษตรสนานนั้น จะมีอสูรกาย (กึ่งอสูร กึ่งวิญญาณ มี ฤทธิ์มาก ดุ แต่ถ้าหากเราไม่ไปท�าไรเขา เขาก็ จ ะไม่ ท� า อะไรเรา) สิ ง สถิ ต อยู ่ ที่ ต้นโพธิ์เป็นวิญญาณหัวขาดอยู่ 1 ตน 55 อุม้ หัว (จากการทีม่ คี นมองเห็นเขานัน้ และ อิ น ทนิ ล อสูรกายตนนีไ้ ด้มวี มิ านอยูท่ กี่ งิ่ ของต้นโพธิ์ นั้นมีความสุขตามบุญกรรมของเขา จึง อาจปรากฏให้เห็นและมีการเล่าต่อกันมา ว่าเจ้าพ่อท่านถูกตัดศีรษะ แต่ความจริงที่ แน่ชัดนั้นไม่ทราบแน่นอน) สู ่ อ ้ อ มอกแม่

เจ้าพ่อท่านเป็นจตุรงคบาทแห่ง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ท่านมีชอื่ ว่า ออกหลวงโจมใจหาญ ชือ่ เดิมของท่านคือ ขวัญชัยมงคล มีหน้าทีร่ กั ษาเท้าช้างเบือ้ ง ขวาด้านหน้าต�าแหน่งเสมือนเป็นแม่กอง หรือองครักษ์นั้นไม่แน่ชัด ท่านสิ้นชีวิต ระหว่างการออกรบ ในการรบนั้นท่าน ไม่ได้มีบาดแผลที่ร่างกายแต่อย่างใด แต่ เหมือนว่าร่างกายของท่านนั้นบอบช�้า มากจนท่านทนไม่ไหวจึงสิ้นชีวิตที่กลาง สนามรบ และได้มีการน�าศพท่านกลับไป ท�าพิธีกรรม ท่านมีหอกเป็นอาวุธ ท่านมี ช้างเป็นยานพาหนะ เมื่อท่านสิ้นชีวิต ท่านก็เป็นสัมภเวสี คือ กายละเอียดออก จากกายหยาบและล่องลอยมาสถิตอยู่ที่ แม่โจ้นี้ ตามบุพกรรมของท่าน และท่าน ก็เป็นเทพ มีศกั ดิเ์ ป็นเจ้าพ่อ นับถือศีลห้า (ท่านก็คล้ายกับคนธรรมดา คือ บางคน ทีน่ บั ถือศีลก็ยงั ดืม่ เหล้าอยู่ แต่วนั พระนัน้ ท่านไม่รับ) และเจ้าพ่อท่านนั้นท่านมี อิทธิฤทธิ์มาก จากการที่มีคนเชื่อกันว่า

ประวัตก ิ ารสร้างศาลเจ้าพ่อ

ไม่ปรากฏแน่ชัดเช่นเดียวกับศาล เจ้าแม่ ว่ามีการสร้างศาลเจ้าพ่อขึ้นมา เมือ่ ใด ในสมัยใด สันนิษฐานว่ามีการสร้าง ศาลหลังจากการสร้างศาลเจ้าแม่โจ้ ใน


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สมัยก่อนนัน้ ได้มฟี า้ ผ่าหอระฆัง หลังจาก นั้นก็ได้มีคนน�าศาลมีลักษณะเป็นศาล พระภูมิเจ้าที่มาตั้งขึ้นมีลักษณะเป็นศาล เพียงตาเล็กๆ ท�าด้วยสังกะสีโค้งๆ มีเสา เดียว บ้างว่าเป็นศาลปูนและมีการเรียก กั น มาว่ า เจ้ า ที่ ห รื อ เจ้ า พ่ อ นั้ น ไม่ ท ราบ แน่ชัด บริเวณที่อยู่ด้านข้างหอสุมิตรทาง ซ้าย ไม่ใช่ที่ในปัจจุบัน อยู่ที่โคนต้นโชค ข้างหอสุมิตร แต่ต่อมาหลังจากปี พ.ศ. 2517 หลังจากทีห่ นั ศาลเจ้าแม่กลับทิศมา แล้ว จึงได้มีการสร้างศาลเจ้าพ่ออย่าง เป็นทางการ (เมือ่ มีศาลเจ้าแม่แล้วก็นา่ จะ มีศาลเจ้าพ่อด้วย เมื่อผู้ที่จิตสามารถสื่อ กับเจ้าพ่อได้ทราบว่ามี ทางสถาบันก็ได้ ด�าเนินการสร้างศาลและอัญเชิญท่านมา อยู)่ (บ้างก็ไม่ใช่หาข้อสรุปทีแ่ น่ชดั ไม่ได้) และได้สร้างศาลขึ้นในบริเวณที่ใกล้เคียง กับปัจจุบัน 56 ศาลที่สร้างนั้นมีลักษณะเป็นไม้ อิ น ทนิ ล หน้าจัว่ คล้ายทรงไทย ใต้ถนุ สูงถือยอดสูง ประมาณ 1 เมตรกว่า มีเสาสี่เสา ภายใน ศาลมีสีแดงมีชานภายใน มีอาวุธจ�าลอง ของเจ้าพ่อ ดาบ หอก บริเวณที่สร้างศาล เจ้าพ่อนั้นสร้างอยู่บนหินภูเขาสูงก่อเรียง ต่อกันเป็นชั้นๆ (คล้ายกับอยู่บนภูเขา) และมีโซ่ล่ามช้างฝังลงไปอยู่บนหิน เป็น โซ่ที่เจ้าพ่อใช้ล่ามช้างซึ่งเป็นพาหนะของ ท่าน บริเวณของศาลนั้นถูกสร้างขึ้นอยู่ บนเนินดินอีกทีหนึ่ง ซึ่งดินนั้นเป็นกอง ขี้เถ้าจากไฟไหม้ขึ้นที่ตึกอ�านวยการใน อดีต บริเวณใกล้เคียงกับศาลเจ้าพ่อแต่ ก่อนนัน้ ได้มบี อ่ น�า้ ขนาดกว้างลึกประมาณ

1 ฟุต เป็นบ่อซีเมนต์ใส่น�้าไว้เพื่อใช้เป็น บริ เวณแก่สั ตว์ต ่า งๆ ของเจ้า พ่ อด้ว ย เพราะว่าท่านชอบและได้มีการสร้างและ ย้ายเจ้าพ่อขึ้นมาใหม่นั้นเป็นปูน โดย สร้างศาลให้สวยงามและดูโอ่โถงมากขึ้น จากเดิมเพื่อให้เป็นศาลที่ถาวร ศาลที่ สร้างนั้นได้ย้ายออกมาจากบริเวณเดิม เล็กน้อย อาวุธของท่านไม่ได้ท�าให้อีก เพราะว่าท�าให้อีกก็ต้องท�าให้มีขนาดที่ เหมาะสมกับศาลใหม่แต่อนั ตรายจึงไม่ได้ ท�าและถือว่าท�าทานไปแล้วด้วย หลังจากการที่ท�าพิธีกรรมต่างๆ ในการย้ายศาลเสร็จแล้วจากนัน้ หลายวัน ก็เกิดไฟไหม้ทศี่ าลเจ้าพ่อในเวลากลางคืน เนื่องจากมีคนไปสักการะธูปเทียนไม่ได้ มอดดับ ไฟไหม้โต๊ะที่วางของสักการะ และห่ อ กระดาษของเครื่ อ งสั ก การะที่ วางทิ้งไว้ในศาล ความร้อนของไฟท�าให้ ผนั ง ปู น กะเทาะแตกกระเด็ น และเศษ ขี้ เ ถ้ า ก็ ป ลิ ว ถึ ง ด้ า นบนศาลเพดานเป็ น กระเบื้องแผ่นเรียบก็เสียหายท�าให้เป็น คราบทั้งหมด ได้มีการซ่อมบ�ารุงใหม่ ไม่ใช่เหตุอาเพศแต่ประการอย่างใด แต่ เป็นอุบัติเหตุ รู ป ของเจ้ า พ่ อ ที่ อ ยู ่ ภ ายในศาล ปัจจุบนั ได้วาดขึน้ ในภายหลังจากทีม่ กี าร สร้างศาลใหม่ โดยผู้ที่เห็นลักษณะของ เจ้าพ่อ ได้บอกลักษณะให้คนทีว่ าดรูปนัน้ วาดขึ้นมาเป็นรูปสีโปสเตอร์ จากการ สอบถามมาทราบว่า ภาพที่วาดออกมา นั้นหน้าจะดุกว่าความจริงเล็กน้อย


พระพริ ณ ุ พุทธศาสนามีการจ�าแนก และจัดหมวด หมู่นาคไว้นับพันชนิด นาคจึงถูกใช้เป็น สัญลักษณ์หลายประการ แต่สงิ่ ทีเ่ ห็นพ้อง ต้องกันมากทีส่ ดุ คือ ความทีน่ าคเกีย่ วพัน เชื่อมโยงกับน�้า ในฐานะที่เป็นผู้บันดาล ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ใ ห้ ทุ ก ชี วิ ต ศิ ล ปะ อีกทั้งชาวไทยก็ยังยกให้พญานาคเป็น ตัวแทนแห่งน�้า ดูแลแม่น�้าล�าธาร กล่าว กันว่า นาคเป็นผูร้ กั ษาพลังแห่งชีวติ ด้วย เหตุที่นาคมีฤทธิ์ บันดาลให้ฝนตกหรือ ไม่ตกได้ แปลงกายเป็นเมฆฝนก็ได้ จึง 57 ถือกันว่านาคเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น�้า อิ น ทนิ ล ล�าธารทัง้ ปวง จึงท�าให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ใช้รูปพระพิรุณทรงนาค พระบาทขวา เยื้องไปทางด้านหน้า พระหัตถ์ขวาทรง ถือพระแสงดาบ เป็นตราสัญลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ตั้งแต่แรกเริ่ม ถึงแม้ ว่ า ในช่ ว งระยะเวลาตั้ ง แต่ ก ารก่ อ ตั้ ง มหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน มีการใช้รูป แบบตราสัญลักษณ์ในรูปแบบต่างๆ แต่ก็ ยังคงเหมือนเดิมคือ การใช้รูปพระพิรุณ ทรงนาค พระบาทขวาเยื้องไปทางด้าน หน้า พระหัตถ์ขวาทรงถือพระแสงดาบ เหมือนเดิม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ สู ่ อ ้ อ มอกแม่

หลายคนที่เคยผ่านไปมาบริเวณ ตึกคณะพัฒนาการท่องเที่ยว หลายคนก็ คงจะได้พบกับ รูปปันพระพิรุณทรงนาค พระบาทขวาเยื้ อ งไปทางด้ า นหน้ า พระหัตถ์ขวาทรงถือพระแสงดาบ อันเป็น ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ หลายคนคงสงสัยว่า เพราะเหตุใดจึงเป็น เช่นนั้น เนื่องจากในอดีต จนถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยที่ เกีย่ วกับการเกษตร และยังมีชอื่ เสียงทาง ด้ า นการเกษตรเป็ น อย่ า งยิ่ ง ในด้ า น การเกษตรนั้ น น�้ า ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ ส�าหรับการเกษตร จึงท�าให้มหาวิทยาลัย แม่โจ้ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจึงใช้ตราสัญลักษณ์ คือพระพิรุณทรงนาค พระบาทขวาเยื้อง ไปทางด้านหน้า พระหัตถ์ขวาทรงถือ พระแสงดาบ ซึ่งพระพิรุณ เป็นเทพแห่ง ฝน แสดงถึงความร่มเย็นของเกษตร ที่ พระพิรุณประทานความร่มเย็นเป็นสุข อุ ด มสมบู ร ณ์ ปกปั ก รั ก ษาชาวเกษตร ตลอดมา และนาค คนปัจจุบันเชื่อกันว่า นาคเป็นเพียงสัตว์ในต�านาน ในขณะทีค่ น โบราณนั้นเชื่อว่านาคมีอยู่จริง และใน


บิดาเกษตรแม่โจ้ ประวัติโดยสังเขป

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อ�ามาตย์โท พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) เกิดวันที่ 20 กรกฎาคม 2442 ปีกุน ร.ศ. 118 ณ บ้านแซ่ ต�าบลพระประแดง อ�าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บิดาชื่อ ร.อ. หลวงศรีพลแผ้ว ร.น. (ขาว โลจายะ) 58 อิ น ทนิ ล รับราชการกรมทหารเรือ มารดาชือ่ นางทองหยอด โลจายะ พีช่ ายชือ่ หลวงนรการณ์ วิสุทธ์ (นา โลจายะ) ภริยาชื่อ คุณหญิงช่วงเกษตรศิลปการ (ส�าอางค์) สกุลเดิม ไรวา มีบุตร ธิดารวม 6 คน

การศึกษา

1. ระดับประถมศึกษา-เรียนทีว่ ดั ทรงธรรม อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ป.1-ป.3) 2. ระดับมัธยมศึกษา – โรงเรียนมัธยมวิทยาวัดสุทัศน์ (ม.1-ม.2) - โรงเรียนวัดราชบูรณะ(ม.4) - โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (ม.5-ม.6) และ (ม.7-ม.8) สอบได้คะแนนเป็นทีห่ นึง่ ในชัน้ ได้นงั่ โต๊ะพระราชทานหน้าชัน้ เมือ่ จบ การศึกษาระดับ ม.8 ได้เป็นครูฝกึ สอน ณ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเตรียม


การรับราชการ

1. พ.ศ. 2467 เป็นอาจารย์ประจ�ากระทรวงธรรมการ หรือกระทรวง ศึกษาธิการ 2. ย้ายไปเป็นอาจารย์ประจ�าโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม บางสะพาน ใหญ่ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ 3. พ.ศ. 2468 ได้รับพระราชทานยศเป็นรองอ�ามาตย์เอก 4. พ.ศ. 2469 ได้รับพระราชทานเป็นหลวงช่วงเกษตรศิลปการและ อ�ามาตย์โทพระช่วงเกษตรศิลปการตามล�าดับ

สร้างแม่โจ้

อ. พระช่วง ได้เข้าบุกเบิกป่าแม่โจ้ ตั้งสถานีทดลองฯ ปัจจุบันคือศูนย์วิจัย พืชไร่เชียงใหม่ ท�าการปลูกพืชไร่และเลี้ยงสัตว์เพื่อทดลองและเผยแพร่ให้เป็น ตัวอย่างแก่กสิกรภาคนัน้ และด�าเนินโครงการต่อมาเรือ่ ยๆ พัฒนาจนกลายมาเป็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ตัวไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ ทีม่ หาวิทยาลัยฟิลปิ ปินส์สองปี และศึกษาที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา จนจบ ปริญญาโทด้านสัตวบาล

59

อิ น ทนิ ล


ี นแรก อธิการบดค ประวัติโดยสังเขป

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ศาสตราจารย์ ดร. วิภาต บุญศรี วังซ้าย อธิการบดีคนแรกของแม่โจ้ ม.ว.ม. อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เกิดเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2459 ที่บ้านสันกลาง ต.เวียงใน อ.เมือง จังหวัดแพร่ เป็นบุตรคนที่ 7 ของ นายบุญมา และนางบัวเกีย๋ ง วังซ้าย มีพนี่ อ้ งทัง้ หมด 8 คน สมรสกับนางสมจินต์ 60 อิ น ทนิ ล มีบุตร ธิดารวม 4 คน เมื่อวัยเยาว์นั้น ท่านได้เริ่มเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนวัดหลวง อ.เมือง จังหวัดแพร่ ส่วนชั้นมัธยมศึกษานั้นเรียนที่โรงเรียน พิรยิ าลัย จ.แพร่ เนือ่ งจากครอบครัวท่านเป็นผูม้ ฐี านะดีประกอบกับท่านเองก็เรียน หนังสือเก่งเป็นทุนอยู่แล้ว เมื่อจบการศึกษาชั้นมัธยม 6 จากแพร่ ท่านจึงเดินทาง มาจังหวัดเชียงใหม่ และเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2476 ท่านเรียนอยู่ที่โรงเรียนยุพราชได้เพียงปีเดียว ก็ได้มีการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู ประถมกสิกรรมขึน้ ทีแ่ ม่โจ้ ท่านจึงย้ายมาเรียนทีโ่ รงเรียนฝึกหักครูประถมกสิกรรม แม่โจ้ เป็นรุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นรุ่นบุกเบิกและสร้างแม่โจ้ เมื่อจบ จากแม่โจ้ พ.ศ. 2478 ได้เข้าบรรจุท�างานเป็นพนักงานยางที่หาดใหญ่ จ.สงขลา หนึง่ ปี ปีถดั มารัฐบาลได้ประกาศให้มกี ารสอบชิงทุนหลวงไปศึกษาต่อต่างประเทศ ท่านศึกษาในมหาวิทยาลัยฟิลิปินส์ เมือง ลอสบานโยส สาขาเศรษฐศาสตร์ จนจบ ปริญญาตรี เมื่อพ.ศ. 2484 จึงได้กลับมารับราชการเป็นอาจารย์ที่แม่โจ้ โดยรับ ต�าแหน่งเป็นอาจารย์ผู้ปกครอง พ.ศ. 2489 ท่านได้ลงสมัครแข่งขันเป็นผู้แทน


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ราษฎร 2 ครั้ง และได้รับการคัดเลือกในครั้งที่ 2 พอถึงปี 2497 หลวงปราโมทย์ จรรยาวิภาต ซึง่ ด�ารงต�าแหน่งอธิบดีกรมอาชีวศึกษาขณะนัน้ ขอร้องให้ทา่ นไปช่วย แม่โจ้ เพราะเสียดายวิชาความรู้ ความสามารถ อยากให้ไปช่วยปรับปรุงแม่โจ้ ท่าน จึงได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นอาจารย์ใหญ่ชั้นเอก ของโรงเรียนเกษตรกรรมแม่โจ้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2499-2519 เป็นเวลา 20 ปี จนกระทั่งได้เป็นอธิการบดีคนแรกของสถาบัน เทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ถงึ สองสมัยเป็นระยะเวลา 8 ปี ท่านได้สร้างคุณประโยชน์ 61 นานัปการให้กบั สถาบันแห่งนี้ จึงท�าให้ทา่ นเป็นทีเ่ คารพยิง่ ของชาวแม่โจ้สืบต่อมา อิ น ทนิ ล จากอดีตสู่ปัจจุบัน สิ่งที่ควรยกย่องในการท�างานของ ท่าน ศาสตราจารย์ ดร. วิภาต บุญศรี วังซ้าย - ท่านเป็นนักประชาธิปไตยตัวอย่าง - เป็นผู้มีเมตตาธรรม - เป็นผู้มีความคิดและพัฒนางานใหม่ - เป็นนักพัฒนาชนบท - เป็นผู้ส่งเสริมท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมไทย - เป็นนักปกครองที่ดีเยี่ยม - เป็นครูที่ประเสริฐ - เป็นปูชนียบุคคล - เป็นผู้มีความสมถะ ชีวิต การเรียน และการท�างานที่ควรน�ามาเป็นแบบอย่างให้แก่ลูกแม่โจ้


ค น ล า ก เ ก วี ย น

สัญลักษณ์งานหนักไม่เคยฆ่าคน

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

62

อิ น ทนิ ล

อนุสาวรียค์ นลากเกวียน สัญลักษณ์ทแี่ สดงความมานะอดทนของชาว แม่โจ้ที่มีมาตั้งแต่ช่วงต้นของการตั้งสถาบันซึ่งยาวนานกว่า 75 ปี ท่าน ผู้อ่านหลายท่านคงสงสัยว่าสัญลักษณ์ของคนลากเกวียนนั้นมีที่มาอย่างไร? ภาพคนลากเกวียนเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในปี พ.ศ. 2478 โดย นักศึกษารุ่นที่ 1 และ 2 จ�านวนทั้งสิ้น 266 คนได้ท�าการพัฒนาพื้นที่ โดยการ เคลือ่ นย้ายตอไม้ ขอนไม้ กิง่ ไม้ เพือ่ สร้างบ้านผัก แปลงผัก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความต้องการสร้างสนามฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬาที่ลูกแม่โจ้ชื่นชอบและเล่น เป็นกันทุกคน หากอยากดูและอยากเล่นต้องช่วยกันสร้างสนามฟุตบอลให้ เสร็จโดยการขนตอไม้ใหญ่ออกจากพืน้ ทีซ่ งึ่ การขนย้ายนัน้ ต้องผ่านโคลน จึง ต้องใช้เกวียนเป็นเครื่องทุ่นแรง จากรูปคนที่ลากเกวียนทั้ง 4 คนเป็นลูกแม่โจ้รุ่น 2 อันประกอบด้วย คนที่ 1 ซึ่งเป็นคนลากเกวียนที่อยู่หัวแถว ชื่อพี่ มหา คนที่ 2 เป็นคนหมุนล้อ เกวียนให้ขยับ เพื่อให้ล้อเกวียนสามารถเดินหน้าได้ชื่อพี่ สมา คนที่อยู่ด้าน หลังล้อเกวียนคอยบอกสัญญาณให้คนหน้ารู้ว่า ล้อเกวียนติดกับอะไรชื่อพี่ เชษฐา คนที่ 4 รั้งท้ายเกวียนไม่ให้หน้าเกวียนยกหน้ามากหรือต�่าเกินไปชื่อ พี่อนุชา ปัจจุบันอนุสาวรีย์คนลากเกวียนที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ยังคง เด่นสง่า ท้าแดด ลม ฝน เพื่อประกาศกิตติศัพท์ ความอดทน สู้งาน ให้คงอยู่ คู่แม่โจ้ตลอดไป อ้างอิงจาก หนังสืออนุสรณ์แม่โจ้ 70 ป


เพลงชาติ แ ม่ โ จ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

คุณ ไสว บุณยปรัตยุษ (แม่โจ้ รุน่ 2 พ.ศ. 2478/ผูเ้ รียบเรียง) นักเรียนมัธยม วิ ส ามั ญ เกษตรกรรมรุ ่ น 1 ผู ้ ป ระพั น ธ์ เ พลงนี้ ทั้ ง เนื้ อ ร้ อ งและท� า นอง ได้ เ กิ ด จินตนาการแต่งเพลงนี้ขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2478 ในคืนวันขึ้น 15 ค�่า (ตรงกับ วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม 2478/ผู้เรียบเรียง) เมื่อดูหนังสือจนใกล้เที่ยงคืนก็ง่วง นอนลืมตาแทบไม่ขึ้นจึงลุกออกไปยืนแก้ง่วงที่สวนดอกไม้บริเวณหน้าบ้าน ซึ่งอยู่ บริเวณถนนสายเชื่อมฝั่งพระนคร – ธนบุรี (ฝั่งฝึกหัดครู – ฝั่งมัธยมเกษตร) ธรรมชาติรอบข้างปลุกความรู้สึกของคุณไสวให้หายง่วง และเกิดอารมณ์อ่อนไหว ไปกับธรรมชาติ คุณไสวครวญเพลงรักของรามอน นาวาโร่ พระเอกหนังรักหวาน ในเรื่อง Love Song of the Nile และคิดค�านึงอยู่หลายเที่ยว เพลงนี้เป็นเพลง ที่มีลีลาโหยหวนเร้าใจ น่าจะน�ามาเป็นท�านองเพลงเชียร์ของโรงเรียนได้ จึงคิด สรรหาเนื้อเพลงเข้าประกอบท�านอง จึงปะติดปะต่อเนื้อเพลงเข้าใส่ เนื้อเพลงที่คิด 63 อิ น ทนิ ล ได้มีดังนี้

“ แม....โจ ไชโย พวกเรา ใหมเกา พวกเรา ไชโยชวยกันโห เพื่อแมโจของเรา.. ” ในวันต่อมาจึงคิดหาเนือ้ และท�านองเพิม่ เติมเข้าไป คุณไสวเป็นนักเรียนเก่า โรงเรียนอ�านวยศิลป์มาก่อน จึงน�าเพลงเชียร์ของโรงเรียนอ�านวยศิลป์บางตอนมา ดัดแปลงให้เหมาะสมกับแม่โจ้ ได้เนื้อเพลงใหม่ดังนี้


“คณะเราไม่ยอมให้ด้อยถอยลง เขียว ขาว เหลือง เขียว ขาว เหลือง เชื่อเถิด เชื่อเถิด เชื่อเถิด เชื่อเถิด จรรยา วิชา และกีฬาใดๆ

ต�่าเราต้องค�้าชูให้สูงจรุงศรี อยู่ที่ใด ชัยต้องมี สามสีนี้ คือดวงใจ เราไม่ให้ต�่าลง เราก้าวหน้าตรงไป เราต้องประคองเอาไว้ ระดับที่ดี”

(ต้นเสียง) แม่โจ้.. (รับ) ไชโย..(3ครั้ง) แล้วตามด้วย ...สามัคคี...สามัคคี อันดีเลิศ..(อีก 3 ครั้ง) สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ส�าหรับท�านองที่ใช้กับเนื้อที่คิดได้ใหม่นี้ใช้ท�านองเพลงเชียร์ของโรงเรียน อ�านวยศิลป์ในส่วนที่คิดได้ใหม่นี้ และใช้เนื้อท�านองที่คิดได้ครั้งแรกเป็นตอนต้น 64 อิ น ทนิ ล เสียงและร้องน�า ส่วนทีค่ ดิ ได้ตอนหลังใช้เป็นเนือ้ ร้องของลูกคู่ คุณไสวได้นา� เพลงนี้ ไปเสนอแก่นักเรียนฝึกหัดครูรุ่นพี่ ปีที่ 2 (รุ่น 1/ผู้เรียบเรียง) ซึ่งทุกคนก็เห็นดีด้วย ได้น�าเสนอไปยังอาจารย์ใหญ่ คุณพระช่วงเกษตรศิลปการ ท่านมีความเห็นว่า เหมาะสมดี ใช้ได้ เพลงนี้จึงได้ถูกน�าเสนอที่ประชุมนักเรียนในเวลาต่อมา โดย คุณแผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นต้นเสียง และแม่โจ้ได้ใช้เพลงนี้ร้องเชียร์ ในการแข่งขันโอกาสต่าง ๆ ในระยะหลัง ๆ ลูกแม่โจ้รุ่นน้องได้ยกย่องให้เกียรติ เพลงชาติแม่โจ้เป็นเพลงส�าคัญประจ�าโรงเรียนในงานพิธีส�าคัญต่าง ๆ เพลงนี้จะ ถูกขับขานอย่างพร้อมเพรียงกันด้วยความเคารพและความภาคภูมิใจ “น้องกอดเอวพี่ พี่กอดคอน้อง เพื่อนกอดคอเพื่อน” เปล่งเสียงร้องเพลง เพื่อความสามัคคี เคารพและรักใคร่เราชาวแม่โจ้ โยกตัวช้า ๆ ตามจังหวะเพลง พร้อมกับก้มหัวคารวะบทเพลง ในพิธรี นื่ เริงพอจบบทเพลงจะเปล่งเสียงไชโย 3 ครัง้ หากเป็นการไว้อาลัยจะไม่มีการเปล่งเสียงไชโย แต่จะยืนสงบนิ่งไว้อาลัยในการ สูญเสีย


สระเกษตรสนาน

สัญลักษณ์แห่งความสามัคคี

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สระเกษตรสนานนับเป็นสระน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ใี่ ช้ในพิธกี รรมต่างๆ ซึง่ กว่าเราจะได้ สระแห่งนีม้ า เกิดจากการร่วมแรงร่วมใจของรุน่ พีแ่ ม่โจ้ทชี่ ว่ ยกันขุดสระด้วยน�า้ พักน�า้ แรง ของตนเอง จึงถือได้ว่า สระเกษตรสนานนี้เป็นสระแห่งความสามัคคีของเราชาวแม่โจ้ วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม 2479 : เป็นวันสุดท้ายภาคเรียนเทอมกลางท่านอาจารย์ ใหญ่ (คุณพระช่วง เกษตรศิลปการ) ประกาศแก่นักเรียนใน ตอนหนึ่งใจความว่า “ในการปิดภาคเรียนคราวนี้ นักเรียนคงมีเวลาว่างกันเป็นเวลาหลายวัน โดยที่ มิได้ทา� ประโยชน์อะไรให้เกิดขึน้ หากใช้เวลาเพือ่ การเทีย่ วเตร่ในเวียง สิน้ เปลืองเงินทอง ของพ่อแม่ไปไม่ใช่นอ้ ย และโดยใช่เหตุอย่างน่าเสียดาย อีกประการหนึง่ นักเรียนทุกคน 65 เคยท�างานออกก�าลังกายเป็นเวลาและเป็นประจ�า เมือ่ ต้องมาหยุดงานไม่ได้ออกก�าลังกาย อิ น ทนิ ล ติดต่อกันหลายวันอาจเกิดการป่วยไข้ขึ้นได้ ฉะนั้นเพื่อประหยัดเงินทอง และเป็นการ รวมพลังของนักเรียนรุ่นนี้ทั้งหมดให้ร่วมกันพัฒนาโรงเรียนของเราได้อย่างถาวรวัตถุ อย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาก็จะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนและโรงเรียนของเราเป็นอย่าง มาก ทัง้ จะเป็นอนุสรณ์ในความสามัคคีของนักเรียนรุน่ นีใ้ ห้ปรากฏแก่นกั เรียนรุน่ น้อง ๆ ต่อไปตลอดเวลายาวนานด้วย ครูมคี วามปรารถนามานานแล้วทีใ่ คร่จะให้มสี ระว่ายน�า้ ขนาดใหญ่พอที่พวกเราทั้งหมดนี้จะลงไปอาบได้พร้อมกัน ต่อไปนี้เราจะได้ใช้สระนี้ เป็นทีพ่ กั ผ่อนทัง้ จิตใจและร่างกายในยามอากาศร้อนหรือเหน็ดเหนือ่ ยจากการท�างาน เวลาว่างก็ใช้สระนี้ฝึกหรือแข่งขันว่ายน�้า กระโดดน�้า ตลอดการเล่นโปโลตามที่สากล เขานิยมกัน แต่ครูกย็ งั ไม่สามารถจะกระท�าได้เพราะขาดเงิน บัดนี้ ครูได้เห็นว่า ความ ส�าเร็จอันนี้อยู่ที่การรวมพลังความสามัคคีของพวกเราทุกคนซึ่งส�าคัญกว่าเงิน เพราะ พลังของพวกเธอเป็นพลังที่สามารถสร้างได้แม้แต่สร้างบ้านสร้างเมือง” ในมติของทีป่ ระชุมนัน้ มีการเสนอสร้างสระบริเวณพ้นทีว่ า่ งหลังบ้านพักนักเรียน ฝึกหัดครูออกไปทางล�าห้วยแม่โจ้ บริเวณหน้าโรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรฯ โดยจะ ขุดสระขนาดกว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร ความลึกของสระแบ่งเป็น 2 ตอนคือ ตอน


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ใช้กระโดดตามความยาว 20 เมตร ขุดลึก 3 เมตร ตอนที่ 2 อีก 40 เมตร ขุดลึก 2 เมตร เนื้อดินที่ขุดขึ้นมาเป็นคันรอบสระสูง 1.50 เมตร เช้ามืดของวันที่ 22 ธันวาคม 2479 : เป็นวันก�าหนดฤกษ์ทุกบ้าน (บ้านพัก) ต่างลงมือขุดกันอย่างขมีขมัน เต็มไปด้วยความสนุกสนาน รื่นเริงกันทั่วไปหมด ทุก คนยึดหลักการท�างานจากอาจารย์ใหญ่ทเี่ คยย�า้ แล้วย�า้ อีกกับพวกเธอเสมอ ๆ ว่า “จง ท�างานให้เหมือนเล่น แต่อย่าท�างานเป็นเล่น” ตลอดการท�างานอาจารย์ใหญ่มาคอย ดูแลอยู่ไม่ห่าง ยิ่งขุดดินก็ยิ่งแข็งเพราะเจอกับชั้นหินกรวด แต่ทุกคนก็ไม่ท้อตั้งหน้า ตั้งตาขุดต่อไป การท�างานด�าเนินไปเรื่อยๆ จนมาถึงคืน วันที่ 28 ธันวาคม 2479 : ทุกสิ่งทุกอย่างก็เสร็จสิ้นสมบูรณ์ โดยใช้เวลาเพียง 7 วัน วันที่ 29 ธันวาคม 2479 : โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมมีพิธีเปิดสระน�้า และมีการตั้งชื่อให้กับสระที่ทุกคนช่วยกันเนรมิตขึ้น ซึ่งมีชื่อเสนอขึ้นมากมาย แต่ใน ทีส่ ดุ นักเรียนต่างยกมือยอมรับชือ่ เกษตรสนาน ของคุณละมัย เพศยนิกร นักเรียน ฝึกหัดครูประถมกสิกรรมปีที่ 2 จากพระนครศรีอยุธยาเป็นผูเ้ สนอให้เป็นชือ่ สระ ดังนัน้ สระที่ร่วมแรงร่วมใจกันขุดสระด้วยความเหน็ดเหนื่อยและสนุกสนานเพียง 7 วัน จึง มีชอื่ ว่า “สระเกษตรสนาน” ตัง้ แต่วนั ที่ 29 ธันวาคม 2479 เป็นต้นมา คุณพระช่วงได้กล่าวในพิธคี วามว่า ท่านดีใจและปลืม้ ใจมากทีส่ ระเกษตรสนาน เกิดขึ้นตามความปรารถนาของพวกเรา โดยก�าเนิดมาจากความสามัคคีของพวกเรา ทุกคนตลอดนักเรียนและครูอาจารย์ราวกับเนรมิต เพราะใช้เวลาเพียง 7 วัน ท่านเชื่อ 66 ว่าสระนีเ้ ป็นสระศักดิส์ ทิ ธิท์ จี่ ะให้ความชุม่ ฉ�่าเย็นใจเย็นกาย อันจะเป็นการกระตุน้ และ อิ น ทนิ ล เสริมสร้างก�าลังกาย ก�าลังสามัคคีให้ประสพแต่ความดีทรี่ ว่ มกันแสดงออกในครัง้ นี้ ซึง่ จะเป็นเยี่ยงอย่างอันดีเด่นแก่บรรดาศิษย์แม่โจ้รุ่นหลัง ๆ ตลอดชั่วกาลนาน พวกเรา ต่างดีอกดีใจ ร้องไชโยลั่นสนั่นหวั่นไหว แล้วเสียงโหยหวนของเพลง “แม่..โจ้ ไชโย พวกเรา ใหม่เก่า พวกเราไชโย ช่วยกันโห่ เพื่อแม่โจ้ของเรา” ก็ถูกครวญขึ้นโดย คุณแผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา แล้วทุกคนก็เปล่งเสียงร้องขึ้นพร้อม ๆ กัน จาก นั้นทุกคนต่างกระโดดลงเล่นสระน�้ากันอย่างสนุกสนาน ด้วยความเชื่อว่าสระเกษตรสนานเป็นสระศักดิ์สิทธิ์ที่จะใช้ในการพิธีล้าง อาถรรพ์ การลงทัณฑ์ ระหว่างนักเรียนด้วยกันตามธรรมนูญแม่โจ้ ตลอดจนพิธชี บุ ตัว ของลูกแม่โจ้ และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน


ป ร ะ ตู บ า ง เ ข น

สาเหตุที่ให้ชื่อว่า บางเขน นั้นก็ เพราะว่า ครั้นเมื่อสถาบันของเรายังไม่ ได้ เ ป็ น มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ ขณะนั้ น สถาบั น ของเรา ได้ เ ปิ ด สอนเพี ย ง หลักสูตรอนุปริญญาหรือที่เรียกกันโดย ทั่วๆ ไปว่า ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้น สูง (ปวส.) เท่านั้น เมื่อนักศึกษาแม่โจ้ ได้ศึกษาจบแล้วมีวัตถุประสงค์ที่จะไป เรียนต่อระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ซึ่งตอนนั้นเปิดรับสมัครที่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์บางเขน พี่ ๆ ที่จบจาก

แม่โจ้จะออกเดินทางจากประตูนี้ในวัน รับประกาศนียบัตรเพื่อไปศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน จึง ได้ตั้งชื่อนี้ว่า ประตูบางเขน ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ประตู เ ข้ า – ออก ภายใน มหาวิ ท ยาลั ย มี ห ลายประตู ด ้ ว ยกั น แต่ละประตูจะมีชอื่ เรียกต่าง ๆ แต่จะพบ ว่ามีประตูหนึง่ ทีท่ า� ให้หลายคนสงสัยว่า ท�าไมถึงได้ตั้งชื่อ ประตูนี้ว่า “ประตู บางเขน”

67 เราจะเห็นได้ว่า แต่เดิมที่เรายัง อิ น ทนิ ล ไม่เป็นมหาวิทยาลัย ต้องขวนขวายทีจ่ ะ ศึ ก ษาต่ อ ไปเพื่ อ ให้ จ บปริ ญ ญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน แต่ ปั จ จุ บั น สถาบั น ของเราได้ ก ลายเป็ น มหาวิทยาลัยแล้ว เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ปริญญาตรี จนถึงปริญญาเอก รวมทั้ง เทคโนโลยีที่สะดวก ทันสมัย แตกต่าง จากสมัยก่อน ๆ มาก เราจึงควรน�าเอา ความเพียรพยายามของรุน่ พี่ ๆ มาเป็น แบบอย่าง เพือ่ ความส�าเร็จของตัวเราเอง


SOTUS Spirit Order เลิศนํ้าใจ วินัยดี

Tradition Unity Seniority เชิดชูประเพณี สามัคคี อาวุโส

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

หลายคนมีความสงสัยว่า ท�าไมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถึงได้นา� ระบบ SOTUS มา ใช้ในการรับน้อง จะเห็นได้ว่า การที่เราเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ซึ่งต่าง คนก็ต่างมาจากที่ต่างกัน ร้อยพ่อ พันแม่ การที่เราจะสร้างความรักใคร่กลมเกลียว ความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียว จึงเป็นไปได้ยาก ทั้งนี้การที่ใช้ระบบ SOTUS ใน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเป็นสิ่งที่จะช่วยสร้างให้เราทุกคนให้มีความอดทน เข้มแข็ง ซื่อสัตย์ มีความเป็นสุภาพชน มีสัมมาคาราวะ เกิดความเป็นลูกแม่โจ้ ที่เต็มไปด้วย ความรักและความสามัคคี ซึ่งไม่สามารถหาจากมหาวิทยาลัยไหนได้ ค�าว่า SOTUS มาจากอักษรตัวหน้าของ 5 ค�ารวมกัน คือ S - Spirit เลิศน�้าใจ O - Order วินัยดี T - Tradition เชิดชูประเพณี U - Unity สามัคคี S - Seniority อาวุโส 68 ตามวัตถุประสงค์ของผูท้ นี่ า� ระบบ SOTUS เข้ามาใช้พฒ ั นาความคิด และสร้าง อิ น ทนิ ล ค่านิยมของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีลักษณะดังนี้ S-Spirit (เลิศน�้าใจ) มีวัตถุประสงค์คือ ต้องการให้บุคคลในสังคมแม่โจ้ มี ลักษณะเป็นผู้ที่มีน�้าใจงดงาม มีความเอื้อเฟือเผื่อแผ่ มีน�้าใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเสียสละ โดยเฉพาะระหว่างรุ่นพี่ รุ่นน้อง และระหว่างเพื่อนด้วยกัน มีความ ปรารถนาดีต่อกัน รู้จักเป็นผู้ให้ และเป็นผู้รับ ที่มีน�้าใจกว้างขวาง เป็นที่ยอมรับของ บุคคลทั่วไป ซึ่งคุณธรรมข้อนี้ จะเป็นพื้นฐาน ก่อให้เกิดความเคารพรัก ความย�าเกรง อย่างสนิทใจ เกิดความสามัคคี ซึ่งกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดคุณธรรมข้อนี้จะต้องเป็น กิจกรรมทีเ่ หมาะสม มีการเตรียมและจัดท�าอย่างมีหลักการ และสนองวัตถุประสงค์ได้ อย่างชัดเจน และมีความต่อเนื่อง O-Order มีระเบียบ (วินยั ดี) วัตถุประสงค์คอื ความพยายามในการหล่อหลอม หรือสร้างทัศนะคติให้นักศึกษาแม่โจ้ มีลักษณะเป็นผู้มีระเบียบวินัย รู้จักการส�ารวม รู้จักกาลเทศะ รู้จักสถานที่ รู้จักปฏิบัติตัวให้เหมาะสมกับระเบียบวินัย หรือกฎเกณฑ์ ของสังคมนั้น ๆ เป็นผู้รู้จักสิทธิตามภาระหน้าที่ของตนเอง คณาจารย์รุ่นเก่า ๆ ได้ มองเห็นว่า นักศึกษาแม่โจ้นั้น มาจากภูมิล�าเนาที่ต่างกันเกือบทั่วประเทศ หากขาด


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ระเบียบวินยั แล้ว ก็จะก่อให้เกิดปัญหา ทะเลาะวิวาท ความไม่สงบเรียบร้อย ก่อให้เกิด ความแตกแยก จึงได้มอบหมายให้มกี ารฝึกหัดปกครองกันเอง มีการวางระเบียบวินยั กฎเกณฑ์ในการปกครอง (ซึ่งเรียกว่า บทบัญญัติ) ภายใต้การแนะน�าดูแล และก�ากับ ของอาจารย์ฝ่ายปกครอง การปลูกฝังหรือการสร้างทัศนะคติเรื่องระเบียบวินัยนี้ เกิดขึ้นได้ คณาจารย์และรุ่นพี่จะต้องปฏิบัติตัว เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักศึกษารุ่นน้อง ถ้าหากรุน่ พีย่ งั ท�าตัวฝ่าฝืนกฎระเบียบและวินยั ต่าง ๆ ทีพ่ วกตนได้วางไว้และจะน�าไป บังคับรุ่นน้องให้มีระเบียบวินัย คงเป็นเรื่องยากและท�าให้รุ่นน้องมองว่า รุ่นพี่ยัง ไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติ แล้วจะน�าไปบังคับรุ่นน้องได้อย่างไร T-Tradition (เชิดชูประเพณี) วัตถุประสงค์ข้อนี้คือ กิจกรรมวิธีการที่เคย ท�ามา เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการจรรโลงพัฒนาและสร้างสรรค์ ก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ สังคม ส่วนรวมแก่บคุ คลอืน่ และตนเองแล้ว ก็ควรทีจ่ ะสืบทอดและอนุรกั ษ์ ไว้หรือด�าเนินต่อไป ในขณะเดียวกันต้องพิจารณาถึงการเปลีย่ นแปลงของสภาวะสังคม และสิง่ แวดล้อมด้วยว่า กิจกรรมนัน้ ๆ เป็นทีย่ อมรับและเหมาะสมก็พร้อมทีจ่ ะปรับปรุง เปลีย่ นแปลง ให้เหมาะสมและดีขนึ้ เพือ่ ให้ประโยชน์แก่สงั คมนัน้ ๆ วัฒนธรรมประเพณี ใดไม่เหมาะสมดีงาม และไม่เหมาะสมแก่สภาวการณ์มักจะหดหายไป และจะไม่เป็น ที่ยอมรับของสังคมภายนอก ก็จะประณามและดูถูกดูแคลน ซึ่งสมาชิกในสังคมของ 69 เราก็จะโดดเดี่ยว และจะไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมภายนอก อิ น ทนิ ล U-Unity (สามัคคี) วัตถุประสงค์ข้อนี้คือ ต้องการสร้างทัศนคติและค่านิยม ในเรือ่ งความสมัครสมานสามัคคีเป็นน�า้ หนึง่ ใจเดียวกันของนักศึกษาแม่โจ้ ตามข้อเท็จ จริงแล้ว คุณสมบัติเรื่องความสามัคคีของนักศึกษาแม่โจ้หรือศิษย์เก่าแม่โจ้นั้นเป็น คุณสมบัติเด่นที่บุคคลเฉพาะทั่วไป ทุกวงการรู้จัก และยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ความสามัคคีนี้เป็นคุณธรรมที่ก่อให้เกิดพลังในการพัฒนาและสร้างสรรค์ ถ้าน�ามา ปฏิบัติในทางที่ถูกต้องและเหมาะสม จะเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมอย่างยิ่ง S–Seniority (อาวุโส) การสร้างระบบอาวุโสให้เป็นทีย่ อมรับด้วยสุจริตใจหรือ ความจริงนั้นเป็นเรื่องยาก ถ้าจะหมายถึงผู้ที่มาก่อนเป็นความอาวุโสดูเป็นเรื่องง่าย แต่ไม่มคี วามหมาย ไม่มกี ารผูกพัน ในความหมายทีแ่ ท้จริงของค�าว่า อาวุโส ในระบบ SOTUS ทีด่ ี ทีแ่ ม่โจ้ตอ้ งการนัน้ คือ การยอมรับความอาวุโสของรุน่ พี่ หรือผูท้ มี่ าเรียน ในแม่โจ้ก่อน ด้วยความเต็มใจ ด้วยความเกรงใจ หรืออาจจะเคารพนับถือกันด้วย ดังนั้นรุน่ พี่หรือความอาวุโสจะเกิดขึ้น ต้องกระท�าตัวให้เป็นที่ยอมรับของรุ่นน้อง หรือ ผูท้ มี่ าใหม่ คนเราจะยอมรับนับถือเกรงใจกันก็คอื คุณงามความดี หรือมีนา�้ ใจทีง่ ดงาม ของแต่ละคนนั้นเอง


สละซึ่งกายจิตได้ เรียนเด่นเล่นควรมี น�้าใจยิ่งต้องมี ร่วมกิจกรรมเช้า

S - Spirit

เป็นดี คละเคล้า เป็นหนึ่ง แบ่งบ้าง ตามกาล ฯ

O - Order

หมู่ชนคนหลากล้น ต่างมาร่วมรวมกัน วินัยจึ่งส�าคัญ เรียนเล่น บ มิยื้อ

สารพัน สร้างชื่อ มากอยู่ นอกล้น กฎเกณฑ์ ฯ

เจตนาพาสืบทอด ต่างชนคนต่างมี สานสืบประเพณี หลากรุ่นร่วมสรรค์สร้าง

สิ่งดี แผกบ้าง คือหนึ่ง ต่อเนื่อง เนิ่นนาน ฯ

สามัคคีถือเทิดไว้ เลือดหมูจักด�ารง บ้านเมืองยิ่งด�ารง ผองพวกรักร่วมไว้

มั่นคง สืบได้ อยู่ยั่ง ยืนนา ดุจแม้น ฟันเฟือง ฯ

T - Tradition

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

70

อิ น ทนิ ล

U - Unity

S – Seniority

ต่างคนเรียนต่างชั้น เปรียบหนึ่งเป็นน้องพี่ พี่แนะสิ่งใดดี เจ้าประพฤติสมดั่งน้อง

ต่างปี ร่วมพ้อง ใดผิด พี่นี้ คอยเคียง ฯ

อ้างอิงจาก วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


71 สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อิ น ทนิ ล


72

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

อิ น ทนิ ล


อิ น ท นิ ล เมื่อเข้าสู่ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ลม ร้อนพัดโชยมา น้อง ๆ ที่ก้าวเข้ามาสู่ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ จะมองเห็ น ทั ศ นี ย ภาพของต้ น อิ น ทนิ ล ที่ ผ ลิ ด อก ออกมาสวยงามบริเวณรอบ ๆ มหาวิทยาลัย

ส ภ า พ แว ด ล ้ อ ม ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ข อ ง ประเทศไทยเช่นเดียวกับลูกแม่โจ้ที่มา จากทุกหนทุกแห่ง กระจายกันเจริญ เติบโต ก้าวหน้าอยู่ทั่วทุกภาค ดอกของอินทนิลทีม่ ลี กั ษณะชูชอ่ เกาะกันเป็นกลุ่มแน่น เปรียบเสมือน ความรัก ความสามัคคี ความถนอมกลม เกลียวเป็นน�้าหนึ่งใจเดียวของลูกแม่โจ้ และประโยชน์ ข องต้ น อิ น ทนิ ล อี ก มากมายเปรียบได้ดงั่ คุณค่าของลูกแม่โจ้ ที่ ไ ด้ ส ร้ า งประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศชาติ มากมาย

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ต้นอินทนิล ลักษณะทั่วไปเป็น ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 10–15 เมตร ล�าต้นเปล่าตรง เรือนยอด เป็นพุ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปไข่แกมขอบ ขนาน ปลายใบมน มีดอกย่อยขนาด 73 ใหญ่ กลีบดอกสีชมพู สีม่วงแกมชมพู อิ น ทนิ ล หรือสีม่วง ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมจากลั ก ษณะของต้ น อิ น ทนิ ล ที่ มิถุนายน ผลเป็นผลแห้ง มีขนาดใหญ่ สอดคล้องกับความเป็นจริงของลูกแม่โจ้ อินทนิลมีหลายชื่อด้วยกันเช่น บางงอ ทีม่ ามาแต่ชา้ นานจึงท�าให้เราใช้อนิ ทนิล บะซะ บาเอ อินทนิล เป็นสัญลักษณ์คู่แม่โจ้มาจนถึงปัจจุบัน ต้นอินทนิลเป็นสัญลักษณ์ประจ�า ตราบใดที่ต้นอินทนิลยังคงเจริญเติบโต มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ ที่ แ ทนถึ ง ความ ออกดอกอวดสี สั น สวยงาม อวดแก่ แข็ ง แกร่ ง ทรหดอดทน เนื่ อ งจาก สายตาผู้ที่พบเห็น ก็คงเช่นเดียวกับ อิ น ทนิ ล เป็ น ไม้ ยื น ต้ น ที่ แข็ ง แรงอายุ ลูกแม่โจ้ทจี่ ะยังมีความรัก ความสามัคคี ยาวนาน และเจริ ญ เติ บ โตได้ ใ นทุ ก กลมเกลียวตลอดไป


องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้

(Maejo University Student Organization M.U.S.O.) หนทางการพัฒนาตนเองและสังคม

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

74

กิจกรรมนักศึกษา (Student Activities) ถือเป็นสิง่ หนึง่ ทีส่ ถาบันอุดมศึกษา ต่างๆ ให้ความส�าคัญในฐานที่เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ ส่งเสริม ประสบการณ์ทางวิชาการ ส่งเสริมพลานามัย ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพอันพึงประสงค์ของนักศึกษา และเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาได้ปฎิสมั พันธ์ กับสังคมการเรียนรูร้ ว่ มกับสังคมสูค่ วามเป็นบัณฑิตทีม่ คี วามเจริญงอกงาม ทัง้ ด้าน สติปญ ั ญา ร่างกายและจิตใจ และมีศกั ยภาพการเป็นบัณฑิตทีถ่ งึ พร้อมด้วยความ รู้คู่คุณธรรม (Wisdom and Goodness)

อิ น ทนิ ล

มีหน้าที่

- บริหารงานทั้งหมดของกิจกรรมนักศึกษา - รักษาความสงบเรียบร้อยโดยทั่วไปของมหาวิทยาลัย - พิจารณาความเห็นชอบ ให้ความร่วมมือ สนับสนุน ส่งเสริมและดูแล กิจกรรมขององค์กรในสังกัด คือ สโมสรนักศึกษาคณะชมรมต่างๆ


สังคม

- ให้การร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมในมหาวิทยาลัยและกิจกรรมเพื่อ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

- ออกระเบียบปฏิบัติงาน ก�าหนดนโยบาย จัดท�าแผนงาน โครงการ และ งบประมาณประจ�าปี - เข้าร่วมการประชุมและชีแ้ จงการด�าเนินงานต่างๆ ต่อสภานักศึกษาและ 75 ที่ประชุมองค์กรนักศึกษา - เป็นตัวแทนและผูน้ า� นักศึกษาในการแสดงความคิดเห็น รับฟังความคิด อิ น ทนิ ล เห็นข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อประโยชน์และชื่อเสียงเกียรติภูมิของนักศึกษา มหาวิทยาลัยและสังคมส่วนรวม องค์การนักศึกษามีนายกองค์การนักศึกษามาจากการเลือกตัง้ ของนักศึกษา ทั้งหมดเป็นผู้น�าองค์กร โดยมีการแบ่งสายงานการบังคับบัญชาให้รองนายก ประธานฝ่ายต่างๆ และคณะกรรมการฝ่าย มีอาจารย์ที่ปรึกษาและกองกิจการ นักศึกษาเป็นผู้อ�านวยการในการปฎิบัติหน้าที่

องคการนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้

ศูนย์กจิ การนักศึกษา อาคารอ�านวย ยศสุข มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 63 หมู่ 4 ต�าบลหนองหาร อ�าเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 053-875380 E-mail : stuormju@hotmail.com Website : www.muso.mju.ac.th


สภานักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ Maejo University Student Council

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สภานักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ เดิมชื่อ สภานักศึกษาแม่โจ้ จัดตั้งขึ้นเป็นครั้ง แรกเมื่อปี 2527 ภายใต้ข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร ว่าด้วยกิจกรรมนักศึกษา ปี 2523 หมวดที่ 3 ข้อที่ 9 และหมวดที่ 4 ข้อที่ 10 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มีผู้ด�ารง ต�าแหน่งประธานสภานักศึกษาทั้งสิ้น 26 คน ปัจจุบนั ปีการศึกษา 2556 สภานักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีสมาชิกสภานักศึกษา ที่ เ ป็ น คณะกรรมาธิ ก ารสามั ญ จ� า นวน 44 คน มี ส มาชิ ก สภานั ก ศึ ก ษาที่ เ ป็ น คณะ กรรมาธิการวิสามัญจ�านวน 78 คน การด�าเนินงานของสภานักศึกษามีอาจารย์ทปี่ รึกษาคือ 76 นายพิทกั ษ์ ราชจันทร์ หัวหน้างานศิษย์เก่าสัมพันธ์ นางอ�าพร เวียตตัน เจ้าหน้าที่บริหาร อิ น ทนิ ล งานทั่วไป สังกัดส�านักงานอธิการบดี กองกิจการนักศึกษา งานกิจกรรมนักศึกษา เป็นผู้ให้ค�าปรึกษาทั่วไปแก่สภา นักศึกษา ซึ่งในส่วนคณะกรรมการด�าเนินงานส่วนกลางประกอบด้วยคณะกรรมาธิการ สามัญและคณะ กรรมาธิการวิสามัญ สภานักศึกษาจ�านวน 11 คน มีผู้ด�ารงต�าแหน่ง คณะกรรมการด�าเนินงาน ดังนี้ 7. ศิษย์เก่าสัมพันธ์ 1. ประธานสภานักศึกษา 2. รองประธานสภานักศึกษา คนที่ 1 8. พัสดุ 3. รองประธานสภานักศึกษา คนที่ 2 9. ประกันคุณภาพการศึกษา 10. วิเทศสัมพันธ์ 4. เลขานุการสภานักศึกษา 11. นโยบายและแผนการด�าเนินงาน 5. เหรัญญิกสภานักศึกษา 6. กิจการพิเศษ และสภานักศึกษา ได้มีการแบ่งส่วนการบริหารออกเป็น 5 ฝ่าย คือ ฝ่าย พิจารณาโครงการและงบประมาณ ฝ่ายตรวจสอบการเงิน ฝ่ายวิเคราะห์และประเมินผล โครงการ ฝ่ายเสียงสภาและสารสนเทศ และฝ่ายสวัสดิการของนักศึกษา โดยแต่ละฝ่าย มีประธานและคณะกรรมการฝ่ายตามความเหมาะสมซึ่งมีการปฏิบัติตาม ลักษณะการ ด�าเนินกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยดังนี้


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

1. ฝ่ายพิจารณาโครงการและงบประมาณ ท�าหน้าที่พิจารณาโครงการต่าง ๆ ที่ เสนอโดยสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา ชมรม ซึ่งฝ่ายพิจารณา โครงการนั้นอาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ได้ และพิจารณา หรือตัดงบประมาณในโครงการต่าง ๆ ทีเ่ สนอโดยสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา สโมสร นักศึกษา และชมรม ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้การด�าเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์แก่นกั ศึกษามากทีส่ ดุ โดยพิจารณาควบคุมให้อยู่ในระเบี ย บข้ อบั งคั บมหาวิ ทยาลั ย แม่ โจ้ ว ่ า ด้ ว ยกิ จ กรรม นักศึกษาปี พ.ศ. 2543 และพิจารณาควบคุมให้อยู่ในระเบียบการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่าย ในการส่งเสริม กิจกรรมนักศึกษา พ.ศ. 2553 2. ฝ่ายตรวจสอบการเงิน ท�าหน้าที่ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินของสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา ชมรม ติดตามผลการด�าเนินงานขององค์การนักศึกษา อย่างใกล้ชิด ออกหนังสือเชิญองค์การนักศึกษา สโมสรนักศึกษา ชมรม เข้าประชุมเมื่อ มีปญ ั หาเกีย่ วกับการเงิน ติดตามการเก็บเงินของสภานักศึกษา องค์การนักศึกษา สโมสร นักศึกษา ชมรม ให้ถูกต้องไม่ซ�้าซ้อน ออกหนังสือแจ้งองค์กรนักศึกษาที่มีปัญหาเรื่อง การเงินกับทุกองค์กรที่กล่าว มา 3. ฝ่ า ยวิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น ผลโครงการ ท� า หน้ า ที่ วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จาก แบบสอบถาม หาแนวทางในการแก้ปัญหา ติดตามและประเมินผลว่ากิจกรรมที่องค์กร ต่าง ๆ ของนักศึกษา ทีจ่ ดั ท�าขึน้ นัน้ ประสบผลส�าเร็จตามวัตถุประสงค์หรือมีขอ้ บกพร่อง ประการใด ชี้แจงข้อผิดพลาดและปัญหาที่เกิดขึ้นในการท�ากิจกรรมของนักศึกษา วิเคราะห์และประเมินผลการด�าเนินงานขององค์กรนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย และท�า หน้าที่ในการวิเคราะห์ผลการด�าเนินงาน แบบสอบถามของสภานักศึกษา 4. ฝ่ายเสียงสภาและสารสนเทศ ท�าหน้าที่ในการประมวลปัญหา และเสนอข้อ เสนอแนะของนักศึกษาออกในรูปของสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น จัดท�าหนังสือพิมพ์เสียงสภา 77 สารสภา วารสาร ฯลฯ จัดท�า สื่อวีดีทัศน์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เป็นสื่อ กลางในการสร้างความเข้าใจระหว่างผู้บริหารและนักศึกษา เผยแพร่ข่าวสารของ อิ น ทนิ ล มหาวิทยาลัย กิจกรรมของนักศึกษา สาระน่ารูท้ เี่ ป็นประโยชน์แก่นกั ศึกษา และผูท้ สี่ นใจ 5. ฝ่ายสวัสดิการของนักศึกษา ท�าหน้าที่ รักษาสิทธิผลประโยชน์ของนักศึกษา ในด้านสวัสดิการที่ได้รับจากมหาวิทยาลัย สถานประกอบการต่าง ๆ รับเรื่องร้องเรียน และปัญหาต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การร้องเรียนจากนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แล้วพิจารณา ท�าหนังสือเสนอต่อผูบ้ ริหารหรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องเพือ่ รับทราบและ แก้ไข รักษาสิทธิประโยชน์ ในด้านการซือ้ สินค้า อาหาร การถ่ายเอกสารแก่นกั ศึกษาในราคาทีย่ ตุ ธิ รรมตามราคาจริง ของสถานประกอบการ และเสนอปัญหาที่นักศึกษาไม่ได้รับความเป็นธรรมในด้าน สวัสดิการต่าง ๆ จากสถานประกอบการ หน่วยงานในมหาวิทยาลัย บุคลากร อาจารย์ รุ ่ น พี่ หรื อ การตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง เพื่ อ ความยุ ติ ธ รรมแก่ นั ก ศึ ก ษาตามแนวทาง ประชาธิปไตย

สภานักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้

ศูนย์กิจการนักศึกษา อาคารอ�านวย ยศสุข มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชั้น 2 โทร. 0 5387 5383 E-mail: s_spa2552@hotmail.com


สาราณียกร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ฝ่ายสาราณียกร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นฝ่ายหนึ่งของ องค์การนักศึกษาที่มีบทบาทส�าคัญในการน�าเสนอข่าวสาร บทความ สาระความรู้ ที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา โดยนักศึกษาและเพื่อนักศึกษาแม่โจ้ โดยฝ่าย สาราณียกรมีโครงการสร้างการท�างานอยู่สองส่วน คือ 1. ฝายสาราณียกร มีประธานฝ่ายเป็นผูด้ แู ล มีหน้าทีก่ า� หนดนโยบายการ จัดท�าหนังสือพิมพ์และโครงการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้นมีหน้าที่จัดการอ�านวย 78 ความสะดวกด้านการจัดท�าหนังสือพิมพ์ อิ น ทนิ ล 2. ส�านักงานหนังสือพิมพแม่โจ้คนั ทรีน่ วิ ส เป็นส่วนทีม่ หี น้าทีใ่ นการผลิต หนังสือพิมพ์แม่โจ้คันทรี่นิวส์และหนังสือสู่อ้อมอกแม่ โดยรับนโยบายมาจากฝ่าย สาราณี ย กรอี ก ต่ อ หนึ่ ง และการท� า งานจะเป็ น อิ ส ระจากการควบคุ ม โดยมี บรรณาธิการเป็นผู้รับผิดชอบ การท�างานในฝ่ายสาราณียกรค่อนข้างจะมีวัฒนธรรมการท�างานที่เป็นของ ตนเอง ทุกคนทีเ่ ข้ามาท�างานจะมีอสิ ระในการคิด การเขียน การแสดงความคิดเห็น โดยอยู่ในกรอบของความจริงที่เกิดขึ้น และมีรุ่นพี่คอยสอนและแนะน�าถึงกรรมวิธี การท�าหนังสือพิมพ์ วารสาร อย่างใกล้ชิด มีการฝึกงาน/ดูงานนอกสถานที่ เป็น ระยะเพื่อฝึกทักษะการเขียนข่าว บทความ นอกจากการฝึกเขียนแล้วทางฝ่ายยัง มีการสอนการถ่ายภาพเพื่อประกอบในหนังสือพิมพ์ วารสาร โดยรุ่นพี่ที่มีความ ช�านาญ และคณาจารย์ที่ปรึกษา การท�างานในฝ่ายสาราณียกรย่อมหลีกเลี่ยงการกระทบกับบุคคลอื่นไม่ได้ เพราะการท�างานเราต้องเสนอความจริง ดังค�าขวัญของสาราณียกรที่ว่า “ทุกภาพ ทุกตัวอักษรสะท้อนความเป็นจริง” เพราะฉะนั้นผู้ที่จะเข้าเป็นสมาชิกต้องมีจิตใจ ที่กล้าแกร่ง อดทนต่อความกดดัน ที่ถั่งโถมเข้ามาได้


ประสบการณ์ใหม่กบ ั งานชมรม

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นอีกมหาวิทยาลัยหนึ่งที่เน้นทางด้านกิจกรรมควบคู่ กับการเรียนการสอน จนได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต การท�ากิจกรรมนั้น เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่เป็นการค้นหาคุณค่าชีวิตของตนเอง ค้นหาตามความถนัด 79 ค้นหาความรูป้ ระสบการณ์ชวี ติ ใหม่ๆ ทีส่ ามารถน�าไปใช้ในชีวติ ประจ�าวันในอนาคต อิ น ทนิ ล ได้ และกิจกรรมอีกกิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจก็คือกิจกรรมในรูปแบบของชมรม ซึ่ง เป็นกิจกรรมที่สามารถฝึกให้น้องๆ เป็นคนที่มีความอดทน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ท�าให้ได้รจู้ กั เพือ่ นมากมายหลากหลายสาขา ได้พบปะผูค้ นในระดับต่างๆ รูจ้ กั การ วางตัวให้ถกู กาลเทศะ รูจ้ กั การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ท�าให้เราได้เปิดมุมมอง ที่กว้างขึ้น และอะไรอีกมากมายที่ไม่มีในห้องเรียน เคยมีหลายคนบอกว่า การท�า กิจกรรมนั้นมันขึ้นอยู่ที่ตัวเราต่างหาก ถ้าลองคิดในทางที่ดี จะเห็นว่าการท�า กิจกรรมนัน้ จะท�าให้เรารูจ้ กั การบริหารเวลามากขึน้ รูจ้ กั แบ่งเวลา ว่าเวลาไหนควร ท�าอะไร การท�ากิจกรรมนั้นไม่มีใครที่สามารถจะมาบังคับเราได้ เพียงแต่ทุกคน ต้องรู้จักหน้าที่ของตนเอง และท�าหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ส�าหรับชมรมต่างๆ ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ของเรา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ชมรมหลักและชมรมอิสระ ซึง่ ทัง้ 2 ประเภทนีจ้ ะจัดตัง้ ขึน้ ภายใต้การก�ากับดูแลของ องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และจะมีสภานักศึกษาคอยท�าหน้าที่ในการ ตรวจสอบการด�าเนินงานอีกขึ้นหนึ่ง


งานกิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมนักศึกษาเป็นเครื่องมือที่ส�าคัญยิ่งในการเพิ่มพูนประสบการณ์ที่มีค่า ซึ่ง จะก่อให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพ และค่านิยมของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบาย ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาอย่างหลากหลาย และเพื่อเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้ฝึกฝนประสบการณ์ในการบริหารงาน การรับผิดชอบตนเองและการท�างาน ร่ ว มกั น แบบประชาธิ ป ไตย ทั้ ง นี้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ในรู ป แบบขององค์ ก ารนั ก ศึ ก ษา สภานักศึกษา สโมสรนักศึกษา ชมรมนักศึกษา โดยมีอาจารย์ทปี่ รึกษาเป็นผูใ้ ห้คา� ปรึกษา และแนะน�าในการด�าเนินกิจกรรม ซึ่งได้มีการแบ่งลักษณะของกิจกรรมนักศึกษาได้ ตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. สู ่ อ ้ อ มอกแม่

80

อิ น ทนิ ล

กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม กิจกรรมบ�าเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมนันทนาการ


ปัจจุบันภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้มีองค์การนักศึกษา สภานักศึกษา สโมสร นักศึกษา ชมรมนักศึกษา ที่ได้รับการจัดตั้งอย่างเป็นทางการจ�านวนองค์กรดังนี้

ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร 1. ชมรมพืชไร่แม่โจ้ 2. ชมรมพืชสวนประดับแม่โจ้ 3. ชมรมพืชผักแม่โจ้ 4. ชมรมไม้ผลแม่โจ้ 5. ชมรมพืชศาสตร์แม่โจ้ 6. ชมรมอารักขาพืชแม่โจ้ 7. ชมรมปฐพีศาสตร์แม่โจ้ 8. ชมรมส่งเสริมการเกษตรแม่โจ้ 9. ชมรมเกษตรเคมีแม่โจ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

องค์กรหลัก 1. สภานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2. สภานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 3. สภานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 4. องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 5. องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 7. ศูนย์ประสานงานบัณฑิต 8. สโมสรนักศึกษาคณะผลิตกรรมการเกษตร 9. สโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ 10. สโมสรนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ 11. สโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสื่อสาร 12. สโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม 13. สโมสรนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี 14. สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ 15. สโมสรนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์ 16. สโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ 17. สโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว 18. สโมสรนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน�้า 19. สโมสรนักศึกษาคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร

81

อิ น ทนิ ล


10. ชมรมพลังงานทดแทนแม่โจ้ 11. ชมรมวิทยาการสมุนไพรแม่โจ้ ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ 1. ชมรมเศรษฐศาสตร์แม่โจ้ 2. ชมรมเศรษฐศาสตร์สหกรณ์แม่โจ้ 3. ชมรมเศรษฐศาสตร์เกษตรทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมแม่โจ้ ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสื่อสาร 1. ชมรมสื่อสารดิจิทัส ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบสิ่งแวดล้อม 1. ชมรมภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแม่โจ้ 2. ชมรมภูมิศาสตร์แม่โจ้ 3. ชมรมภูมิสถาปัตยกรรมแม่โจ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี 1. ชมรมสุกรแม่โจ้ 2. ชมรมสัตวศาสตร์แม่โจ้ 82 3. ชมรมสัตว์ปีกแม่โจ้ อิ น ทนิ ล 4. ชมรมโคนม โคเนื้อ แม่โจ้ ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ 1. ชมรมคณิตศาสตร์แม่โจ้ 2. ชมรมเคมีแม่โจ้ 3. ชมรมวัสดุศาสตร์แม่โจ้ 4. ชมรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ แม่โจ้ 5. ชมรมเทคโนโลยีชีวภาพแม่โจ้ 6. ชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศแม่โจ้ ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ 1. ชมรมการจัดการแม่โจ้ 2. ชมรมการตลาดแม่โจ้


3. ชมรมการบัญชีแม่โจ้ 4. ชมรมเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ ชมรมวิ ช าการสั ง กั ด สโมสรนั ก ศึ ก ษาคณะเทคโนโลยี ก ารประมงและ ทรัพยากรทางน�้า 1. ชมรมประมงแม่โจ้ 2. ชมรมเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าแม่โจ้ ชมรมวิชาการสังกัดสโมสรนักศึกษาคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร 1. ชมรมวิศวกรรมแม่โจ้ 2. ชมรมอุตสาหกรรมเกษตรแม่โจ้ 3. ชมรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวแม่โจ้ 4. ชมรมวัสดุศาสตร์ (อุตสาหกรรมการยาง) แม่โจ้

ชมรมอิสระแม่โจ้ สังกัดองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1. ชมรมกลุ่มนกเสรีเพื่อโรงเรียนในชนบท 2. ชมรม TO ME NAMBER ONE แม่โจ้ 3. ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4. ชมรมอาสาพัฒนาแม่โจ้ 5. ชมรมสร้างเสริมสุขภาพแม่โจ้ 6. ชมรม CSL (Campus Student Link) แม่โจ้ 7. ชมรมชาวหอพักแม่โจ้ 8. ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 9. ชมรมดนตรีสากล THE COWBOY MAEJO

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ชมรมด้านศิลปวัฒนธรรมและศาสนา 1. ชมรมพุทธศาสตร์แม่โจ้ 2. ชมรมคริสเตียนแม่โจ้ 3. ชมรมมุสลิมแม่โจ้ 4. ชมรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย 5. ชมรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอีสานแม่โจ้ 6. ชมรมชาวปักษ์ใต้แม่โจ้ 7. ชมรม V-STAR (ดวงดาวแห่งความดี)

83

อิ น ทนิ ล


ปฏิทินกิจกรรมนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2556 วัน/เดือน

กิจกรรม

เดือนมกราคม วันที่ 5 วันที่ 12

ท�าบุญประจ�าปีองค์กรนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจ�าปี 2556 โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจ�าปี 2556

เดือนกุมภาพันธ วันที่ 17 วันที่ 19 วันที่ 20-28

โครงการเสวนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กับพี่บัณฑิต องค์การนักศึกษา พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ 35 ประจ�าปีการศึกษา 2554-2555 สอบปลายภาคเรียนที่ 2 / 2555

เดือนมีนาคม วันที่ 1-4 วันที่ 8-11 วันที่ 11-17

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

84

อิ น ทนิ ล

สอบปลายภาคเรียนที่ 2 / 2555 โครงการค่ายอาสาพัฒนา ภาวะผู้น�าสัมพันธ์ โครงการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ กิจกรรมองค์กร นักศึกษาต่างสถาบัน ประจ�าปี 2556

เดือนเมษายน วันที่ 6-10 วันที่ 26

โครงการ The Small Farm พิธีด�าหัวผู้อาวุโสนายกสภามหาวิทยาลัยอธิการบดีและนายกสมาคม ศิษย์เก่าประจ�าปี 2556

เดือนพฤษภาคม วันที่ 15-16 วันที่ 16-17 วันที่ 27-28 วันที่ 29 วันที่ 30 วันที่ 31

สัมมนากิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใหม่ ประจ�าปี 2556 (ฝ่าย ปกครอง องค์การนักศึกษา) โครงการเตรียมความพร้อม ต้อนรับน้องใหม่ อินทนิลช่อที่ 78 โครงการต้อนรับน้องใหม่สู่บ้านหลังที่ 2 (แม่โจ้เชียงใหม่,แพร่) โครงการต้อนรับน้องใหม่สู่บ้านหลังที่ 2 (แม่โจ้-ชุมพร) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ประจ�าปี 2556 โครงการต้อนรับน้องใหม่สู่รั้วอินทนิล ช่อที่ 78

เดือนมิถนุ ายน วันที่ 1 วันที่ 2

โครงการตักบาตร ประเพณีรับน้องแม่โจ้ โครงการเดินฐานปรัชญาลูกแม่โจ้


วัน/เดือน วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 วันที่ 22 วันที่ 27

กิจกรรม โครงการแม่โจ้ร่วมใจ พัฒนา-รักษาสิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย แม่โจ้ ประจ�าปี 2556 โครงการแม่โจ้รว่ มใจ พัฒนา-รักษาสิง่ แวดล้อมชุมชนรอบมหาวิทยาลัย แม่โจ้ ประจ�าปี 2556 โครงการกีฬาฮาเฮ เชื่อมความสัมพันธ์น้อง-พี่ โครงการประเพณีเดิน-วิ่ง การกุศลแม่โจ้ - สันทราย โครงการแสดงความยินดี ต้อนรับน้องใหม่สู่รั้วอินทนิล โครงการบายศรีสู่ขวัญ รับขวัญลูกแม่โจ้ รุ่นที่ 78 โครงการเดินฐานการเรียนรู้ เดินตามรอยคุณพระช่วง โครงการไหว้ครู ประจ�าปี 2556

เดือนกรกฎาคม วันที่ 11 วันที่ 12 วันที่ 16-19 วันที่ 29-31

โครงการเปิดโลกกิจกรรม โครงการประกวด ดาว-เดือน-ดาวเทียม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการ อนม.สัมพันธ์ ปลูกนักกิจกรรมช่อที่ 78 สอบกลางภาคเรียนที่ 1 / 2556

วันที่ 1-4 วันที่ 12 วันที่ 19

สอบกลางภาคเรียนที่ 1 / 2556 กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ โครงการ Maejo Tournament.

เดือนกันยายน วันที่ 30

สอบปลายภาคเรียนที่ 1 / 2556

เดือนตุลาคม วันที่ 1-3 วันที่ 18-22

สอบปลายภาคเรียนที่ 1 / 2556 โครงการสร้างฐานการเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน

เดือนพฤศจิกายน วันที่ 4-15 วันที่ 18

โครงการกีฬาแม่โจ้สัมพันธ์ ครั้งที่ 40 โครงการเลือกตั้งผู้น�าองค์กรนักศึกษา ประจ�าปี 2556

เดือนธันวาคม วันที่ 4-10

งาน 80 ปีแม่โจ้ฝากความดีไว้ในแผ่นดิน

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

เดือนสิงหาคม

85

อิ น ทนิ ล


การใช้ชีวิตที่ดีในมหาวิทยาลัย

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

การก้าวข้ามจากชีวติ นักเรียนมัธยมฯ เตรียมความพร้อม และลงมือปฏิบตั ขิ ณะใช้ มาสูช่ วี ติ นักศึกษาในรัว้ มหาวิทยาลัย ถือได้ ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ว่าเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ส�าคัญ เป็นจุด เปลี่ ย นของเวลาที่ พ ร้ อ มจะน� า ชี วิ ต ของ ประการแรก : วางแผนการ นักศึกษาแต่ละคนให้ไปสู่ความส�าเร็จหรือ ใช้เวลาให้มีประสิทธิภาพ ล้มเหลวในอนาคตได้ การเรียนการสอนในรัว้ มหาวิทยาลัย ช่วงเวลาที่นิสิตนักศึกษาทุกคนจะ นั้ น จะมี อิ ส ระกว่ า การเรี ย นในระดั บ ต้ อ งปรั บ ตั ว มากที่ สุ ด ในการเรี ย นใน มัธยมศึกษา นอกจากนีน้ ักศึกษายังมีอิสระ มหาวิทยาลัย หลายคนคงนึกถึงช่วงเวลา ในการเลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้ ท�าให้ใน 86 อิ น ทนิ ล ในปีแรกทีไ่ ด้กา้ วเข้าสูร่ วั้ มหาวิทยาลัย หรือ แต่ละวันนักศึกษาจะมีเวลาว่างจากการเรียน ที่เรียกว่า “เฟรชชี่” ที่เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่ มาก แต่เวลาที่ว่างมากขึ้นนี้อาจกลายเป็น ถือได้ว่า นักศึกษาซึ่งมาจากต่างที่ ต่าง “กับดัก” ที่ล่อให้นกั ศึกษาทีไ่ ม่ได้วางแผน สถานศึกษา จะได้รับประสบการณ์ใหม่ การใช้เวลาอย่างดีอาจประสบปัญหาใน พร้ อ ม ๆ กั บ วิ ถี ก ารด� า เนิ น ชี วิ ต ที่ การเรียน และชีวิตส่วนตัวได้ ดังนั้นหาก เปลีย่ นแปลงไปในทุกด้าน ซึง่ บางเรือ่ งอาจ นักศึกษามีการวางแผนการใช้เวลาอย่างมี เป็นสิ่งที่แตกต่างไปจากการเรียนในระดับ ประสิทธิภาพแล้ว เวลาเหล่านั้นจะกลาย มัธยมศึกษาอย่างสิ้นเชิง ขณะที่บางเรื่อง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ดี ในการเก็ บ สะสม อาจไม่แตกต่างมากนัก แต่เป็นการเรียนรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย เช่น ที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น มากขึ้ น นั ก ศึ ก ษาที่ การร่วมกิจกรรมกับชมรมต่าง ๆ ที่เป็น ปรารถนาความส�าเร็จในการใช้ชีวิตในรั้ว ความชอบ ความถนั ด ของนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยนั้น จึงควรท�าความเข้าใจกับ การท�างานพิเศษเพื่อหารายได้ การเรียน ความเปลี่ยนแปลง ที่ก�าลังจะเกิดขึ้นและ หลั ก สู ต รพิ เ ศษเพื่ อ ประโยชน์ ใ นอนาคต พยายามปรับตัวใหม่ให้เหมาะสม ในทีน่ จี้ งึ รวมถึ ง การท� า กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ ขอเสนอแนวทาง 3 ประการที่นักศึกษาพึง ต่อสังคม


ประการที่สอง : เรียนรู้ผ่าน กิจกรรมนอกหลักสูตร

ประการที่ ส าม : เลื อ กคบ เพื่อนดี

ก า ร เ ลื อ ก ค บ เ พื่ อ น ใ น ร ะ ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย จะมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ อนาคต ทีม่ า : http://kbusociety.eduzones.com เรียบเรียงโดย หนูมะลิ โดยตรงของนักศึกษา มากกว่าเพื่อนใน

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

เวลาว่างนอกเหนือจากการเข้าชั้น เรียนนั้น นักศึกษาควรตระหนักว่า เป็นดั่ง โอกาสทองในการเตรียมตัวเพือ่ การท�างาน ในอนาคต ดั ง นั้ น จึ ง ควรจะเก็ บ เกี่ ย ว ประสบการณ์จากการท�ากิจกรรมในขณะ เรียนให้มากที่สุดเท่าที่จะท�าได้ เพราะสิ่งนี้ ถือเป็นโอกาสอันดีทจี่ ะช่วยพัฒนาชีวติ ของ นั ก ศึ ก ษาให้ ค รบทุ ก ด้ า น ซึ่ ง เป็ น การ แสวงหาความรู้นอกเหนือจากต�าราเรียน เพียงด้านเดียว การท�ากิจกรรมต่าง ๆ จะ ช่วยพัฒนาทักษะในการท�างานร่วมกับผูอ้ นื่ ท�าให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ที่หลาก หลาย ซึง่ เป็นการสร้างความได้เปรียบกว่า นักศึกษาที่มุ่งเรียนเพียงอย่างเดียว ที่อาจ เป็นคนเก่งทีร่ ทู้ ฤษฎีตา่ ง ๆ จ�านวนมาก แต่ ขาดความเข้าใจในทางปฏิบัติ ซึ่งเมื่อเข้าสู่ โลกการท�างานอาจไม่สามารถประยุกต์ใช้ ความรูท้ ไี่ ด้เรียนมา ได้ให้มปี ระสิทธิผลทีด่ ไี ด้

ระดั บ มั ธ ยมฯ เพราะอยู ่ ใ นวั ย ที่ เ ตรี ย ม ปรั บตั ว เป็ นผู ้ ใหญ่ เ พื่ อ เข้ า สู ่ ชีวิ ตท� า งาน ดังนัน้ การเลือกคบเพือ่ นในช่วงการเรียนใน มหาวิทยาลัยจึงมีความส�าคัญ หากเลือกคบ เพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมท�าให้เราได้รับอิทธิพลเชิงลบมาด้วย และอาจน�าไปสูก่ ารใช้เวลาอย่างไม่เหมาะสม ไม่เกิดประโยชน์สูงสุด ย่อมเป็นการเสีย โอกาสในชีวติ ไปอย่างน่าเสียดาย นักศึกษา ควรรู้จักคบเพื่อนที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผล ด้านบวกต่อตนเอง คอยช่วยเหลือสนับสนุน ซึง่ กันและกัน คอยเป็นก�าลังใจในการเรียน และการพัฒนาชีวิตด้านต่าง ๆ ทั้งจากการ ท�ากิจกรรมร่วมกัน การศึกษาหาความรูแ้ ละ ร่วมฝ่าฟันอุปสรรคในการเรียนไปด้วยกัน ท�าสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ทัง้ ด้านการเรียนและ กิจกรรมต่าง ๆ ท�าสิ่งดี ๆ ที่เป็นประโยชน์ ทัง้ ต่อตนเอง มหาวิทยาลัยและสังคมต่อไป นักศึกษาทีด่ ยี อ่ มรูจ้ กั เลือกกระท�าใน สิง่ ทีเ่ หมาะสมในช่วงเวลาต่าง ๆ ในชีวติ ซึง่ นับว่าเป็นประตูบานส�าคัญที่จะเปิดไปสู่ เส้นทางทีจ่ ะประสบความส�าเร็จที่ ยัง่ ยืนใน อนาคต

87

อิ น ทนิ ล


แผนผัง มหาวิทยาลัยแม่โจ้

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

88

อิ น ทนิ ล

1. ประตูหลักทางเข้า - ออกมหาวิทยาลัย 2. หอเกียรติยศ 3. อาคารเรียนรวมสุวรรณวาจกกสิกิจ 4. อาคารเรียนรวม 5. อาคารศูนย์กล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ 6. อาคารพืชสวนประดับ 7. อาคารศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ 8. อาคารประเสริฐ ณ นคร 9. อาคารภูมิทัศน์ 10. คณะวิทยาศาสตร์ 11. หอสมุด 12. คณะธุรกิจการเกษตร 13. ศูนย์กีฬากาญจนาภิเษก รัชกาลที่ 9 14. คณะผลิตกรรมการเกษตร 15. อาคารปฏิบัติการและฝึกอบรมทางดินและปุ๋ยชั้นสูง 16. ส�านักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร 17. ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติ 18. โรงซ่อมเครื่องจักรคณะวิศวกรรมฯ 19. อาคารเทคโนโลยีทางอาหาร 20. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร 21. อาคารประมง 22. สนามอินทนิล 23. บ้านพักข้าราชการ 24. อาคารพืชไร่ 25. หอประชุมชูติวัตร

26. โดมอุทยานเกษตรบุญศรี วังซ้าย 27. กองกิจการนักศึกษา 28. อนุสาวรีย์พระช่วงฯ 29. อาคารช่วงเกษตรศิลป 30. โดมแผ่พืชน์ 31. ส�านักงานอธิการบดี 32. อาคารหอพักนักศึกษา 33. ศูนย์อาหารเทิดกสิกร 34. อาคารพักข้าราชการ 35. อาคารเรือนธรรม 36. สระเกษตรสนาน 37. สมาคมศิษย์เก่าแม่โจ้ 38. แปลงพืชผัก 39. อาคารประทีปเสน 40. อาคารวุฒากาศ 41. ลานกิจกรรมนานาชาติแม่โจ้ 42. อาคารปฏิบัติการรวมทางพืช 43. สระเก็บน�้าประปา 44 คณะสารสนเทศและการสื่อสาร 45 อาคารจุฬาภรณ์ 46 คณะเศรษฐศาสตร์ 47 อาคารอ�านวยยศสุข 48 สระว่ายน�้าอุบลรัตนราชกัญญา 49 วิทยาลัยบริหารศาสตร์ 50 คาวบอยมอลล์


มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

89

อิ น ทนิ ล


มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

90

อิ น ทนิ ล


มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ปีพ.ศ. 2538 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ดา� เนินการขยายพืน้ ทีก่ ารศึกษาของมหาวิทยาลัย ไปยังภูมิภาค ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2538 โดยให้มหาวิทยาลัย/ สถาบัน 10 แห่ง ขยายวิทยาเขต/ขยายพื้นที่การสอนไปยังภูมิภาคในพื้นที่ 11 จังหวัด คือ จังหวัดหนองคาย พะเยา จันทบุรี แพร่ ตรัง ชุมพร สุราษฎร์ธานี สกลนคร กาญจนบุรี ราชบุรี และปราจีนบุรี ในครั้งนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เสนอโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัย 91 แม่โจ้ - แพร่ เพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา อิ น ทนิ ล โดยการกระจายโอกาสทางการศึกษาไปยังจังหวัดแพร่และจังหวัดใกล้เคียง ต่อมาได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการอ�านวยการจัดงานฉลองสิรริ าชสมบัติ ครบ 50 ปี ให้เป็น โครงการเฉลิมพระเกียรติ “ตามหนังสือที่ นร (สส) 1201/65 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2538 จึงเรียกโครงการนี้ว่า โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ” เป็นส่วนราชการหนึ่งสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในแรกเริ่มการพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้แต่งตั้งผู้บริหารทั้งภาครัฐ เอกชนและบุคคลที่มีชื่อเสียงในจังหวัด


แพร่ เป็นคณะกรรมการบริการโครงการจัดตัง้ และระดมสมองในการด�าเนินแผนงานแม่บท ด้านวิชาการ และว่าจ้างบริษัทเซาท์เทอร์นเอ็นจิเนียร์จ�านวนเงิน 2.14 ล้านบาท ศึกษา และวางแผนแม่บททางกายภาพในปี พ.ศ. 2538 และเสนอต่อทบวงมหาวิทยาลัย แต่ เนือ่ งจากภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจ ท�าให้ตอ้ งมีการปรับแผนแม่บทให้มคี วามสอดคล้อง กับนโยบายภาวะเศรษฐกิจของประเทศ และศักยภาพของมหาวิทยาลัยเองโดยให้มีการ พัฒนาเป็นวิทยาเขตขนาดเล็ก แต่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการศึกษาระดับ อุดมศึกษาให้เป็นเลิศทางวิชาการและเป็นศูนย์กลางของการแก้ปัญหาในท้องถิ่น เมื่อได้ รับการเห็นชอบจากทบวงมหาวิทยาลัย จึงได้จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในปี 2542 ในชื่อว่า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เปิดการเรียนการสอนใน 2 หลักสูตรคือ

หลักสูตร 2 ปี ประกอบด้วย

1. เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ 2 ปี (บธ.บ.) 2. เกษตรป่าไม้ (วท.บ.) 3. การบัญชี 2 ปี (บช.บ.)

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

92

อิ น ทนิ ล

หลักสูตร 4 ปี ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ.) เทคโนโลยีชีวภาพ (วท.บ.) การตลาด (บธ.บ.) รัฐศาสตร์ (ร.ศ.) เศรษฐศาสตร์ (ศศ.บ.) เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (วท.บ.) การบัญชี 4 ปี (บช.บ.) เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ 4 ปี (บธ.บ.) การจัดการชุมชน (ศศ.บ.) พัฒนาการท่องเที่ยว (ศศ.บ.) เทคโนโลยีการผลิตพืช (วท.บ.)


ประวัติความเปนมาของแม่โจ้ - ชุมพร สถานที่ตั้ง : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร เลขที่ 99 หมู่ที่ 5 บ้านแหลมสันติ ต.ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร พื้นที่ : ประมาณ 2005-3-45 ไร่ พื้นที่ยาวขนานกับอ่าวไทยประมาณ 4 กม.

ความเปนมา

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ด�าเนินการจัดตั้งหน่วยงาน ภายใต้ชื่อ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร โดยประกาศสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลงวันที่ 21 มีนาคม 2547 มีฐานะเทียบเท่า ส่วนราชการระดับคณะและให้จดั การเรียนการสอนเป็นแบบวิทยาเขต โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา วิจัย บริการทางวิชาการ และทะนุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม ภายในขอบเขตและศักยภาพของสถาบันการศึกษาของรัฐไปยังพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ณ ชายฝัง่ ทะเล ต�าบลละแม อ�าเภอละแม จังหวัดชุมพร ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนและจัดหาโดย อดีตรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์จังหวัดชุมพร (นายประมวล กุลมาตย์) 93 ประกอบกับความต้องการของชาวชุมพร ที่อยากให้มีสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งทาง อิ น ทนิ ล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร ได้ดา� เนินการภายใต้พนั ธกิจของมหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทั่งปัจจุบัน ได้ผลิตบัณฑิตรุ่นแรกได้ส�าเร็จ ในปีการศึกษา 2545 และขยายการ ศึกษาเพิ่มเป็น 4 หลักสูตร โดยสรุปประวัติและความเป็นมาของหน่วยงานได้ดังนี้ • ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายบุญนาค สายสว่าง) ได้ลงนามในค�าสั่งจังหวัด ชุมพรที่ 18/2523 ลงวันที่ 7 มกราคม 2523 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้ง สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตชุมพร • ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายบุญนาค สายสว่าง) ได้มีหนังสือที่ ชพ 2/1379 ลงวันที่ 23 มกราคม 2523 ขอให้สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ใน ขณะนัน้ ) พิจารณาจัดตัง้ สถาบันอุดม ศึกษาทางการเกษตรในพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติเขต อ�าเภอละแม จังหวัดชุมพร • สภาสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร (เดิม) ได้พิจารณาในการประชุมเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2523 รับหลักการและแต่งตัง้ กรรมการชุดหนึง่ เพือ่ ก�าหนดแผนด�าเนินงานกับ คณะกรรมการจังหวัดชุมพร อย่างไรก็ดีสภาสถาบันฯ มีความเห็นโดยสรุปว่า การจัดตั้ง เป็นวิทยาเขตนั้นคงต้องอาศัยเวลาและงบประมาณสนับสนุน และที่ส�าคัญจะต้องได้รับ


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ความเห็นชอบจากทบวงมหาวิทยาลัยให้บรรจุไว้ในแผนการศึกษาตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ในระยะแรกของการจัดตั้งให้ ด�าเนินงานเป็น ศูนย์ไร่ฝกึ นักศึกษาและการศึกษาต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เป็นสถานทีฝ่ กึ งานของ นักศึกษาในการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นและงานวิจัยทางการเกษตรของท้องถิ่น • วันที่ 27 มิถนุ ายน 2523 นายวิภาต บุญศรี วังซ้าย อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยี การเกษตร ได้มีหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ที่ ทม 1301/ 1065 เรื่องการจัดตั้ง สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตชุมพร โดยแจ้งว่าสภาสถาบันฯ ในขณะนั้นได้มี มติรับหลักการ • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อนุมัติให้สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เข้าใช้พื้นที่ป่าไม้เคี่ยมในท้องที่ต�าบลละแม อ�าเภอละแม จังหวัดชุมพร พื้นที่ 1,750 ไร่ ซึ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติตามกฎกระทรวงฉบับที่ 137 (พ.ศ. 2505) ออกตามความใน พระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พุทธศักราช 2481 เพื่อจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร (ราชกิจจานุเบกษา เล่าที่ 104 ตอนที่ 97 วันที่ 26 พฤษภาคม 2530) • วันที่ 29 ตุลาคม 2543 ได้มีประกาศสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องการแบ่ง หน่วยงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นการภายใน โดยให้แบ่งหน่วยงายในส�านักงาน อธิการบดี เพิ่มเติมเป็นการภายใน ได้แก่โครงการจัดตั้งส�านักสหวิชาการละแม และให้มี งานเลขานุการในโครงการจัดตั้งส�านักสหวิชาการละแม • เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2546 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้รับหนังสือจากส�านักงาน ธนารักษ์พื้นที่ฝ่ายจัดประโยชน์ตามหนังสือที่ กค 0309.68/22732 โดยได้รับรายการ 94 ที่ดินตามกระทรวง ฉบับที่ 1,201 (พ.ศ.2530 )ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวน อิ น ทนิ ล แห่งชาติ พ.ศ. 2507 เพิกถอนป่าไม้เคีย่ มจังหวัดชุมพรประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104 ตอนที่ 97 วันที่ 26 พฤษภาคม 2530 เพื่อจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร (โครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร) จ�านวน 6 แปลง รวมเนื้อที่ ประมาณ 2005-3-45 ไร่ ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุไว้เป็นแปลงหมายเลขทะเบียน สิ่งปลูกสร้างต่างของโครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพและ ประสิทธิภาพของโครงการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้เสนอขอจัดตัง้ เป็น “ส�านักสหวิชาการ” ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ต่อทบวงมหาวิทยาลัย ได้อนุมัติให้จัดตั้ง “ส�านักสหวิชาการ” เป็นการภายใน • วันที่ 21 มีนาคม 2547 สภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2547 พิจารณาเห็นสมควรให้สา� นักสหวิชาการละแม จังหวัดชุมพร มีฐานะเทียบเท่าส่วนราชการ


ระดับคณะและให้จดั การเรียนการสอนเป็นแบบวิทยาเขต โดยเห็นชอบให้ใช้ชอื่ “โครงการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร” เป็นหน่วยงานภายในมีฐานะเป็นส่วนราชการระดับคณะ และให้จัดการบริหารงานเป็นแบบวิทยาเขต เพื่อสนองวัตถุประสงค์ของโครงการ อันจะ เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการพัฒนาท้องถิน่ ภาคใต้ตอนบน ซึง่ จะมีการด�าเนินการให้เป็น ไปตามมติดังกล่าวต่อไป • มติที่ประชุมกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 16/2549 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2549 ได้มมี ติให้ตดั ค�าว่า “โครงการ” น�าหน้าชือ่ หน่วยงานออกคือ โครงการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้ใช้เป็น “มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร” ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร เป็นหน่วยงานทีเ่ ทียบเท่าคณะ สังกัดส�านักงาน อธิการบดี โดยมีรองอธิการบดีฝ่ายสารสนเทศและการสื่อสาร ปฏิบัติราชการแทน อธิการบดี และมีผู้อ�านวยการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร เป็นผู้บริหาร และมีหน่วยงาน ประสานงานเป็นหน่วยงานตั้งอยู่ในส�านักงานอธิการบดีโดยมีภารกิจประจ�าที่พื้นที่ของ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ�านวน 2005-3-45 ไร่ ที่อ�าเภอละแม จังหวัดชุมพร

การศึกษา ระดับปริญญาตรี 5 หลักสูตร ได้แก่

บุคลากรปัจจุบัน ทั้งสิ้น 34 คน ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว

แผนการผลิตบัณฑิต

จ�านวน จ�านวน จ�านวน

2 26 6

คน คน คน

สืบเนื่องจากสภาพทางภูมิศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งตั้งอยู่ริมทะเลและตั้งอยู่ใน สภาพสังคมที่เป็นเกษตรกรรมและการประมง มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการ พัฒนาการท่องเทีย่ วทีม่ คี วามหลากหลาย แต่เดิมจึงได้กา� หนดแนวทางจัดการศึกษาและ พัฒนาทางวิชาการเป็น 4 กลุ่มวิชา ได้แก่

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการชุมชน (สมทบ) บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป และสาขาการตลาด วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประมง (เพาะเลี้ยงสัตว์น�้า) ปกติและสมทบ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช จ�านวนนักศึกษา 539 คน แผนการรับนักศึกษาประจ�าปี จ�านวน 360 คน

95

อิ น ทนิ ล


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

1. กลุ่มวิชาการท่องเที่ยว 2. กลุ่มวิชาด้านบริหารธุรกิจ 3. กลุ่มวิชาด้านการประมง 4. กลุ่มวิชาด้านพืชศาสตร์ โดยทีท่ งั้ 4 กลุม่ วิชาด�าเนินการจัดการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี มีเป้าหมาย ในการรับนักศึกษาปีละประมาณ 300 – 400 คน และมีการรับนักศึกษาในหลักสูตร 4 ปี ต่อเนือ่ งตามความเหมาะสมในแต่ละปี คาดว่าในปีการศึกษา 2551 จะมีนกั ศึกษาครบทุก ชั้นปีประมาณ 874 คน โดยที่ทุกหลักสูตรการศึกษายังคงใช้หลักสูตรที่ผ่านความเห็น ชอบจากสภามหาวิ ท ยาลั ย และเปิ ด การเรี ย นที่ เชี ย งใหม่ ทั้ ง นี้ เ พราะปั จ จุ บั น ทาง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เพิ่งจะได้รับการจัดสรรอัตราก�าลังจากมหาวิทยาลัย คงต้อง ใช้เวลาในการพัฒนาบุคลากรสักระยะหนึ่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร มุง่ เน้นถึงความส�าคัญของสภาพแวดล้อม และความ สวยงามของธรรมชาติ ดังนั้น การศึกษาภาคปฏิบัติ จะให้ความส�าคัญต่อการอนุรักษ์ และการลงมือปฏิบตั จิ ริง โดยในแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร จะด�าเนิน การพัฒนาหลักสูตร โดยการปรับปรุงจากหลักสูตรเดิมทีใ่ ช้อยู่ เพือ่ ให้สอดคล้องกับบริบท ของสังคม และความเหมาะสมของภูมิภาค คาดว่าจะเปิดในปี 2553 ซึ่งได้แก่ 1. หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทางทะเล (พัฒนาจากสาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว) 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (พัฒนาจากสาขาวิชาการตลาดและการจัดการทั่วไป) 96 3. หลักสูตรวิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาการเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ ชายฝัง่ (พัฒนาจาก อิ น ทนิ ล สาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาพืชอุตสาหกรรมและพลังงาน (พัฒนาจาก สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช) นอกจากนีจ้ ะเตรียมความพร้อมในการเปิดหลักสูตรใหม่ ซึง่ จะเป็นการต่อยอดความ เชี่ยวชาญของหน่วยงานในระยะต่อไป อีก 3 หลักสูตร ที่คาดว่าจะเปิดสอนในอนาคต ประมาณแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะที่ 10 (พ.ศ. 2555-2559) ได้แก่ 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการท่องเทีย่ วและโรงแรม (เพือ่ รองรับธุรกิจ กอล์ฟ โรงแรม) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาการเดินเรือประมง หรือสาขาการจัดการ ทรัพยากรสัตว์น�้าทางทะเล 3. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมพลังงาน หรือสาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล


สถานที่ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

สวัสดีค่ะน้องๆ อินทนิลช่อใหม่ ช่อที่ 78 ที่น่ารักทุกๆ คนพี่ๆ ก็จะมีอะไรมา แนะน�าให้นอ้ งได้ทราบและได้รจู้ กั กันอย่างทัว่ ถึงกันเลย และสิง่ ทีจ่ ะได้แนะน�าให้นอ้ งๆ ได้รู้จักกับสถานที่ในรอบรั้วมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตของพวกเราชาวแม่โจ้นั่นเอง 97 อาคารเทิดกสิกรหรือโรงอาหาร ภายในอาคารจะแบ่งออกเป็น อิ น ทนิ ล 2 ชั้นด้วยกันโดยชั้นที่ 1 จะเป็นที่ส�าหรับจ�าหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม ราคาก็ถูก สะอาด และชั้ น ที่ 2 ก็ จ ะมี ศู น ย์ ห นั ง สื อ จะมี อุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นและอื่ น ๆ แล้ ว ยั ง มี ศู น ย์ คอมพิวเตอร์ทเี่ หมาะส�าหรับนักศึกษา ทีจ่ ะมาค้นงานหรือว่าเช็คเมลล์กต็ ามความชอบ มีร้านถ่ายเอกสารที่สะดวก และมีร้านเสริมสวยที่คอยให้บริการแก่นักศึกษาอีก อาคารเรียนรวม (70 ปี) เป็นอาคารเรียนทีม่ หี อ้ งเรียนมากทีส่ ดุ ก็วา่ ได้ มีทั้งห้องแอร์และห้องพัดลมแล้วยังมีห้องคอมพิวเตอร์ตั้ง 3 ห้องใหญ่ๆ ให้บริการ นักศึกษาตั้งแต่ 08.00 น. - 20.00 น. อีกด้วย อาคารเรียนรวม (สุวรรณวาจกสิกิจ) เป็นอาคารเรียนที่มีห้อง slope ด้วยกัน 2 ห้อง แต่เป็นห้องแอร์เลยทีเดียว แต่ส่วนมากเราจะเรียกกันว่าห้อง sleep ซะมากกว่า แล้วยังมีห้องเรียนที่เป็นพัดลมอีกประมาณ 2 - 3 ห้อง อาคาร 60 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ ที่พวกเราชาวแม่โจ้เรียก กันว่าตึกดินสอนัน่ เองเพราะรูปทรงของอาคารมีพลู กั ษณะคล้ายดินสอ มีหอ้ งเรียนอยู่ หลายห้องและส่วนมากจะใช้หอ้ งในการประชุม สัมมนา แสดงกล้วยไม้และเป็นอาคาร ที่สวยงามมาก


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

98

อิ น ทนิ ล

อาคารช่วงเกษตรศิลป เป็นอาคารเรียนหลังแรกของสถาบันเราและ ปัจจุบนั ยังมีหอ้ งเรียนอยู่ แล้วเป็นตึกของคณะพัฒนาการท่องเทีย่ วอีก บริเวณตึกต้าน หน้าจะเป็นอนุสาวรีย์พระพิรุณทรงนาค และบริเวณตึกด้านหลังจะเป็นอนุสาวรีย์ คุณพระช่วงเกษตรศิลปะการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นสถานที่ออกก�าลังกายส�าหรับทุกๆ เพศ ทุกๆ วัย เป็น สถานที่ใช้แข่งกีฬาและประชุมเชียร์ส�าหรับชาวแม่โจ้เราอีก อุทยานเกษตรวังซ้าย เมื่อเราพูดถึงสนามวังช้ายเราจะสังเกตได้จาก หอนาฬิกาที่ตั้งอยู่บริเวณนั้นเด่นเป็นสง่า และเป็นที่ออกก�าลังกายในยามเช้าและ ยามเย็น มีบรรยากาศที่ร่มรื่นมีต้นไม้เป็นที่ให้ร่มเงามากมาย หอพัก ในมหาวิทยาลัยของเรานี้จะมีห้องพักอยู่ 10 หอพักโดยจะมีหอพัก ชายอยู่ 5 หอพักด้วยกัน และหอพักหญิงจะมี 5 หอพัก หอพักนี้จะให้นักศึกษาปี 1 พักเท่านั้น ในหอพักมีที่นอน โต๊ะอ่านหนังสือ ตู้เสื้อผ้า แถมยังมีเครื่องท�าน�้าร้อน น�้าเย็นคอยให้บริการตลอดเวลา ศูนย์กีฬากาญจนาภิเษก รัชกาลที่ 9 จะแบ่งเป็น 2 โซน ด้วยกัน ประกอบไปด้วยโซนทีห่ นึง่ เรียกว่า โซนเอ โซนเอจะเป็นสถานทีใ่ ช้พระราชทานปริญญา บัตรปัจจุบัน และใช้ในการประชุมใหญ่ ศูนย์กีฬาโซนที่สองเรียกว่า โซนบี บริเวณโซน บีจะเป็นห้องบรรยายในวิชาพลานามัย และยังมีห้องลีลาศ ห้องออกก�าลังกายอีกด้วยอาคารแผ่พืชน์ เดิมเคยเป็น สถานที่พระราชทานปริญญาบัตรและยังเป็นสถานที่ประชุมหรือชุมนุมกันของแต่ละ สาขา


โรงประชุมชูติวัตร เป็นโรงประชุมและท�ากิจกรรมที่ส�าคัญของแม่โจ้ ใคร

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ที่ผ่านบริเวณนั้นถ้าเป็นลูกแม่โจ้ก็คงรู้ดีว่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไร (อยากรู้ต้องมา เรียนเองนะ) 99 เรือนธรรม เป็นอาคารที่นับว่าไกลก็ว่าได้เพราะว่าเป็นสถานที่ที่ต้องการ อิ น ทนิ ล ความสงบ บรรยากาศในเรือนธรรมเหมาะส�าหรับการนอนหลับเป็นอย่างมาก (แต่ไม่ ควรนอนนะ) มีต้นไม้เยอะ ร่มรื่น เราจะมีกิจกรรมอยู่ที่เรียนธรรมคือการตักบาตรใน ตอนเช้าวันพฤหัสบดี และท�าวัตรเย็นทุกๆ วัน น้องๆ คนไหนที่ต้องการความสงบก็ สามารถไปได้ทุกเวลา อาคารอิงคศรีกสิการ เป็นอาคารทีเ่ ชือ่ มต่อกับส�านักอธิการบดี ส�าหรับ ใครที่มีข่าวสารที่จะมาประชาสัมพันธ์ผ่านเครื่องวิทยุของมหาวิทยาลัย 95.5 อาคารเทพศาสตร์สถิตย์ ปัจจุบันนี้อาคารหลังนี้ได้เป็นศูนย์ภาษา และส�านักพิมพ์ของมหาวิทยาลัย หอสมุดวิภาต บุญศรี วังซ้าย ตั้งอยู่ใกล้กับอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ ดร. บุญศรี วังซ้าย เป็นที่รวบรวมหนังสือให้กับนักศึกษาทุกคน ยังไงอย่าลืมไปใช้ บริการนะ ธุดงคสถานล้านนา เป็นสถานที่ใช้จัดพิธีทางสงฆ์ และยี่เป็งสันทราย ถวายพุทธบูชา เป็นที่เงียบสงบและเป็นเขตอภัยทาน มีภิกษุจ�าพรรษา


ห้วยโจ้ เป็นอ่างเก็บน�า้ ขนาดเล็ก บรรยากาศดีมาก เหมาะส�าหรับการพักผ่อน

หย่อนใจ

ดาวบนดิน (อุทยานเกษตรและฟาร์มมหาวิทยาลัย) บริเวณทีใ่ ช้ในการชมวิว

ในตอนค�า่ สามารถมองเห็นแสงไฟและบ้านเรือนทัว่ เมืองเชียงใหม่ และประมาณเดือน พฤศจิกายนยังมีดอกเบญจมาศบานให้ชมด้วย เรียกว่า งานดอกไม้บานที่บ้านโปง อาคารอ� า นวย ยศสุ ข ถือได้ว่าเป็นอาคารที่ส� าคัญมากส� าหรับ นักกิจกรรมโดยแบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นแรกจะเป็นกองกิจการนักศึกษา ห้องพยาบาล ห้องดนตรีแม่โจ้แบนด์ ฯลฯ ส่วนชั้นสองจะเป็นห้ององค์การนักศึกษา ห้องสภา นักศึกษา ห้องกองทุนให้กู้ยืม ลานกิจกรรม อนม. ฯลฯ สมาคมศิษย์เก่า เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่ช่วงเวลาใกล้สอบจะเห็นว่ามีคน ไปนั่งกันเยอะเป็นพิเศษ อากาศดีและอยู่ใกล้หอพักด้วย

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

100

อิ น ทนิ ล

หมายเหตุ สถานที่ดังกล่าวข้างต้นเป็นการแนะน�าโดยย่อ ยังมีสถานที่ต่างๆ ที่น่าสนใจอีกมากมาย


เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• แม่โจ้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2539 (อดีตคือ สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้ ตั้งแต่ปี 2518-2539) • ลูกแม่โจ้รบั น้องรวมทัง้ มหาวิทยาลัยเด็กเอ็นฯ และต่อเนือ่ ง(สองปี)ไม่รบั น้องแยกคณะ • แม่โจ้เคยเป็นร.ร.เตรียมม.เกษตรฯ (ตั้งแต่ปี 2477-2518) • แม่โจ้มีประตูหนึ่งเรียกว่า “ประตูบางเขน” เนื่องจากสมัยก่อนแม่โจ้สอนเฉพาะระดับ ฝึกหัดครู เมือ่ รับประกาศนียบัตรจากหอประชุม(โดม)แล้วจะเดินแถวออกทางประตูนี้ ซึง่ มากกว่า 90% จะไปเรียนต่อที่ ม.เกษตร บางเขน จึงเรียกประตูนวี้ า่ “ประตูบางเขน” นั่นเอง • ถ้าเรียนแม่โจ้ เวลาไปต่างจังหวัด ให้ใส่เสื้อที่มีสัญลักษณ์แม่โจ้เข้าไว้ คุณอาจได้กิน ข้าวหรือเครื่องดื่มฟรี เพราะจะมีศิษย์เก่ามาเลี้ยง • ใกล้หอ 5 มีเครื่องบ�าบัดน�้าเสียขนาดใหญ่ จะเปิดประมาณ 7 โมงเช้า เสียงเครื่องจักร ตีนา�้ จะปลุกให้ทกุ คนตืน่ ไปเรียน (บางทีเปิดตอนตี 3 ก็ม)ี ปัจจุบนั ยกเลิกใช้งานไปแล้ว • เพลงชาติแม่โจ้ค�าร้องและท�านองคล้ายกับเพลงร.ร.อ�านวยศิลป์ เพราะคนแต่งเป็น ศิษย์เก่าอ�านวยศิลป์ แล้วมาเรียนทีแ่ ม่โจ้ ประมาณปี 2478-79 เหงาๆ นึกถึงพระนคร เลยฮัมเพลงร.ร.เก่า พอดีรุ่นพี่ได้ยินเลยเอาแต่งเป็นเพลงประจ�าแม่โจ้ • น.ศ.ปีแรกต้องอยู่หอในทุกคน จะได้ “ดูแล”ง่ายๆ และทั่วถึง • น.ศ.ที่อยู่หอ ห้ามรีดผ้าในห้อง ต้องออกมายืนต่อคิวกันรีดที่บันได (เป็นมาตรการ ป้องกันไฟไหม้) • มองแว๊บเดียว สามารถรู้ได้ว่าผู้หญิงคนไหนเรียน ด้านบริหาร หรือ ด้านเกษตร (เป็น ที่มาของนิยาม สวยถึก และบึกบึน) • ละครสถาปัตย์ เป็นคณะแรกที่ท�าละคร และขึ้นชื่อเรื่องความฮา ขนาดแสดงที่มหาลัย ห่างจากเมืองสิบสามกิโล ยังมีคนแห่มาดู • แม่โจ้ไม่มีห้องเชียร์ทุกรูปแบบ มีแต่โดม เข้ากันไปทั้งปีเข้าพร้อมกันทุกคณะ • แม่โจ้กว้างใหญ่ไพศาล แต่สว่ นมากเป็นฟาร์ม และมีปา่ เป็นของตัวเอง ชือ่ ว่า ป่าบ้านโปง • ผัก ผลไม้ ฟรีตามฤดูกาล แต่ระวังยามล่ะ • คติของเด็กโจ้คือ “งานหนักไม่เคยฆ่าคน” และทุกคนก็ยังจ�าขึ้นใจ • เคยเจอเด็กเกษตรฯ นั่งคุยกันสี่คน ทุกคนคุยกันด้วยภาษาถิ่นของตัวเอง ทั้งเหนือ อีสาน กลาง ใต้ • มีกฎของแม่โจ้อยู่ข้อนึงว่า “ห้ามใส่ชุดแม่โจ้เข้าเมือง” เป็นกฎที่สืบทอดกันมา มากกว่า 70 ปี แต่นอ้ ยคนนักทีจ่ ะรูเ้ หตุผล (มันเป็นกุศโลบายของรุน่ พีส่ มัยก่อน เพือ่ ป้องกัน การตีกันกับโรงเรียน วิทยาลัย อื่นๆ นั่นเอง แต่ปัจจุบันไม่มีเหตุการณ์แบบนั้นแล้ว)

101

อิ น ทนิ ล


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• มีเอกลักษณ์ซึ่งเป็นของลูกแม่โจ้มาตั้งแต่สมัยแรกเริ่ม คือ “คาวบอย” เพราะเป็น สัญลักษณ์ของการเกษตรและสัตวศาสตร์ ทุกปีจะมีงานคาวบอยไนท์ ลูกแม่โจ้ทุกคน จะแต่งชุดคาวบอยเข้าร่วมงาน ไม่เว้นแม้แต่อธิการบดี • บางสาขาสามารถใส่ชุดคาวบอยเข้าเรียนได้ (แต่ต้องสุภาพและดูเรียบร้อย) • น่าแปลกที่บางคนใส่เสื้อลายสก๊อตแล้วเหมือนคาวบอยจริงๆ แต่บางคนใส่แล้วกลับ เหมือนคนงานตัดอ้อย !? • ช่วงรับน้อง 7 วัน ทุกคนคิดว่ามัน โหด หิน เขีย้ ว ไม่ไหวแล้ว ฯลฯ แต่เมือ่ ผ่านมันมาได้ จะมีเรือ่ งคุยยันชัว่ ลูกชัว่ หลาน ศิษย์เก่าเจอกันครัง้ ใด ก็จะคุยกันแต่เรือ่ งรับน้องนีแ่ หละ • การรับน้องไม่มีอะไรน่ากลัวและอันตรายจนเกินขอบเขต มีคณะอาจารย์ดูแลทุก กิจกรรม (แต่อาจารย์มากกว่า 90% จบจากแม่โจ้เองแหละ) โดยเฉพาะ อธิการบดี แทบทุกคนของแม่โจ้ เป็นศิษย์เก่าแม่โจ้ นั่นเอง • มีคนชอบถามกันเยอะว่า รับน้องทีน่ โี่ หดมัย้ เป็นยังไงบ้าง เขาให้ทา� อะไร มีใครตายไหม (ถ้าตายคงไม่มานั่งพิมพ์ อยู่นี่หรอก) อยากรู้จัง..ถ้าอยากรู้ ก็ต้องเข้ามาเรียนที่นี่เอง • ติดต่องาน หรือขอรับข้อมูล ที่กระทรวงเกษตรฯ กรมที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมป่าไม้ แหล่งอุทยาน ฯลฯ โดยใส่ชุดที่มีสัญลักษณ์แม่โจ้เข้าไป จะได้รับการดูแล เป็นพิเศษ! (รุ่นพี่เยอะมาก เดินไปทางไหนก็เจอ) และอาจโดนให้ร้องเพลงแม่โจ้ หรือ ท�ากิจกรรมใดๆ (เช็ครุน่ ) ก่อนทีจ่ ะได้ขอ้ มูล และตบท้ายด้วยการพาไปเลีย้ งข้าวอย่างดี • เชียร์ลีดเดอร์สวยๆ ส่วนใหญ่เป็นกระเทย • สีที่ขายดีในมหาวิทยาลัยแม่โจ้คือ สีด�ากะสีกรมท่า ไม่ว่าจะเป็นรองเท้า ถุงเท้า เสื้อ กางเกง หรือแม้กระทั่ง กางเกงใน!!! 102 • ช่วงงานเกษตรแม่โจ้ เป็นช่วงนาทีทองบริเวณแปลงเกษตรแม่โจ้มาก เพราะก่อนวันงาน อิ น ทนิ ล หนึง่ เดือน นักศึกษาคณะพืชผักจะช่วยกันเร่งดอกออกผลผลิต เพือ่ รอเหล่าแม่บา้ นลง ไปจับจ่ายผลผลิต • พวกศิลปินจากกรุงเทพฯ ทั้งแนว ร๊อค ปอป อินดี้ เพื่อชีวิต หรือ ลูกทุ่ง ชอบมาเล่น คอนเสิร์ตแม่โจ้ เพราะผู้คนสนุกสนานกับการแสดง และสาวๆ แม่โจ้น่ารัก • ศูนย์กฬี ากาญจนภิเษก เคยมีศลิ ปินแนวอินดีช้ อื่ ดังมาเปิดการแสดงถึงสิบกว่าราย เช่น Lemon Soup, Tattoo Colour, กิ-วงนีซ, Morning Surfers, Red Twenty, ภูมจิ ติ , Slur, Sqweez Animal, Slot Machine, จุย จุย ส์ ฯลฯ บางคนเรียกเหตุการณ์ครัง้ นัน้ ว่า “งานแฟตขนาดย่อม ที่แม่โจ้” ซึ่งศิลปินที่มาแสดงในงานนี้ลูกชายอธิการบดี คนก่อนเป็นคนติดต่อให้มาเล่นที่นี่ • บิว -กัลยาณี เจียมสกุล (แม่โจ้รุ่น 68) นักร้องลูกทุ่งชื่อดัง เคยเป็นนักร้องน�าวงดนตรี ลูกทุ่งของมหาวิทยาลัย วง “แม่โจ้แบนด์” และคว้ารางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทาน การประกวดร้องเพลงระดับอุดมศึกษาชิงแชมป์ประเทศไทยปี 2546 • ว่าน-ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง (แม่โจ้รุ่น 60 คณะบริหารธุรกิจฯ) นักแสดง/พิธีกร ก็เป็นศิษย์ เก่าของแม่โจ้


สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• พี่อู๊ด (พงษ์พิพัฒน์ ราชจันทร์-แม่โจ้รุ่น 60) หัวหน้าศิษย์สัมพันธ์ กองแนะแนวสหกิจ ศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์และผูป้ ระพันธ์เพลงให้กบั แม่โจ้ในวาระพิเศษต่างๆ หน้าตา ละม้ายคล้าย Christian Bale!!! (ดาราชาวอังกฤษชือ่ ดัง ผูร้ บั เป็น Batman ภาคล่าสุด) • พี่ปุ้ย (ว่าที่ร้อยตรี จิระชัย ยมเกิด-แม่โจ้รุ่น 65) อดีตนายกองค์กรนักศึกษาแม่โจ้ (ปัจจุบนั เป็น นักวิชาการด้านกิจกรรมนักศึกษา สโมสรนักศึกษาวิทยาลัยบริหารศาสตร์) หน้าตาเหมือน Jude Law!!! (ใครอยากรูว้ า่ เหมือนจริงรึเปล่า ไปพบพีเ่ ค้าได้ทตี่ กึ เทพ พงษ์พานิช (ตึกรัฐศาสตร์)) • แม่โจ้เคยเป็นเจ้าภาพงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 หรือ “แม่โจ้ เกมส” เมื่อปี 2539 • ละครโทรทัศน์ เรือ่ ง “เมือ่ ดอกรักบาน” ได้มกี ารถ่ายท�าหลายๆ ฉากในมหาวิทยาลัย แม่โจ้ เช่น ป่าบ้านโปง, อาคารพระช่วง (คณะการท่องเทีย่ ว), แปลงเกษตร ฯลฯ เพราะ ตามบทประพันธ์ พระเอกและพระรองในเรื่อง (กานต์กับตะวัน) เรียนที่แม่โจ้นั่นเอง • วรรณกรรมเรื่อง “ร้อยปา” จากบทประพันธ์ของ อรชร และพันธุ์ บางกอก เรื่องราว ของ เสือ กลิ่นสัก พระเอกของเรื่องที่ต่อสู้กับความอยุติธรรมเพื่อความถูกต้อง เนื้อ เรือ่ งมีฉากและพูดถึง เสือ กลิน่ สัก เมือ่ ครัง้ ไปเรียนทีแ่ ม่โจ้ดว้ ย และทีน่ เี่ องทีท่ า� ให้เสือ กลิ่นสัก ได้เจอเพื่อน มิตรแท้ น�้าใจ และความหมายของลูกผู้ชาย (จนท�าให้ใครหลาย คนในยุคนัน้ อ่านนิยายเรือ่ งนีแ้ ล้วติดใจ อยากไปเรียนแม่โจ้กนั ) เพราะพันธุ์ บางกอก ก็เป็นศิษย์เก่าแม่โจ้ด้วยนั่นเอง • เวอร์ชนั่ ภาพยนตร์ ของเรือ่ ง “ร้อยปา” ก็มฉี ากการถ่ายท�าใน แม่โจ้ ด้วยเช่นกัน โดย เวอร์ชนั่ แรกนัน้ ปี 2507 น�าแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา และ เพชรา เชาวราษฏร์ และอีก เวอร์ชนั่ ในปี 2528 น�าแสดงโดย บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์ และ ใหม่ เจริญปุระ (รุน่ เดอะทัง้ นัน้ !!!) • ปลายปี 2528 องค์การนักศึกษาแม่โจ้ จัดงานฉายภาพยนตร์ “ร้อยปา” ต้องฉายสาม รอบ ไม่งั้นโรงแตก • ปี 2543 นักศึกษา ไบโอเทค โดนมหาลัยห้ามท�าเสื้อสาขา (เสื้อเขียว) เพราะมหาลัย กลัวการแตกแยกซึ่งปัจจุบันคณะวิทย์มีเสื้อสาขาแล้ว 7 สี • เด็กสาขาการตลาด จะเป็นที่รู้กันในนาม “14” และ “ละอ่อนกาด” • ในปัจจุบัน http://mk14.board.ob.tc คือแหล่งรวมพลของเด็กการตลาดแม่โจ้ทุกรุ่น • ครูแอ๊ด ภานุทัต อภิชนาธง ศิลปินพื้นเมือง นักร้องวงเดอะสะล้อ และครูสะล้อ ซอ ซึง อันดับต้นของภาคเหนือ (ที่เห็นออกรายการคุณพระช่วยบ่อยๆ) มาสอนดนตรี พื้นเมืองกับเด็กชมรมศิลปวัฒนธรรมเสียเลย แถมให้แต่งเพลงมหาวิทยาลัยที่เป็น เพลงค�าเมืองเพลงแรกด้วย ใช้คุ้มจริงๆ • http://www.mjuzone.com เว็บบอร์ดนักศึกษา ม.แม่โจ้ ทุกๆ คน ไม่ว่าจะเป็น ศิษย์เก่า และปัจจุบัน • ละคอนสถาปัตย์ฯ จะถูกโปรโมตทุกปีในสถานทีๆ่ มีคนพลุกพล่านส่วนใหญ่จะมาเเบบ ไม่ทันตั้งตัว ท�าเอาคนบริเวณนั้นตั้งตัวไม่ทันเลย

103

อิ น ทนิ ล


• เคยมีนักข่าวเอา ฮ. มาบินท�าข่าวรับน้องเหนือมหาวิทยาลัย ในวันที่ 7 แต่ก็อยู่ได้ ไม่นานเพราะแม่โจ้มี ปตอ.ปกป้องอาณาจักร • ใครที่มีแฟนตอนอยู่หอในจะต้องรู้จัก ลานพักผ่อนหน้าเครื่องบ�าบัดน�้าเสียข้างหอ 5 (สวน LOVE) เป็นอย่างดี เเละต้องคุน้ เคยกับป้าย หาม/ห้ามผูช้ ายเข้าหลังเวลา 21.00 น. เพราะจุดนี้จะเป็นจุดจากลา • หากเปรียบแม่โจ้เป็นอาณาจักร เเละนักศึกษาเป็นทหาร แม่โจ้จะเป็นอาณาจักรที่ เกรียงไกร และมีเหล่าทหารที่เเข็งเเกร่ง

ความเชื่อ

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• ลูกแม่โจ้ทกุ คน ยึดถือค�ากล่าวทีว่ า่ “เลิศน�า้ ใจ วินยั ดี เชิดชูประเพณี สามัคคี อาวุโส” • นักศึกษาปีสดุ ท้ายแทบทุกคนต้องเคยมาบน “ศาลเจ้าแม่โจ้” เพือ่ ขอให้จบการศึกษา ทันเพื่อน • มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ประจ�ามหาวิทยาลัย 3 แห่ง คือ “ศาลเจ้าแม่โจ้” “ศาลเจ้า พ่อโจ้” และ “องคพระพิรณ ุ ” นอกนัน้ จะเป็นอนุสาวรียบ์ คุ คลส�าคัญของแม่โจ้ในอดีต คือ อ�ามาตย์โท พระช่วงเกษตรศิลปะการ (ช่วง โลจายะ), ศาสตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย • ลูกแม่โจ้ ไม่ข้ามรั้วมหาวิทยาลัย เดี๋ยวจะเรียนไม่จบกัน • เวลาเข้าโดมห้ามเงยหน้า ไม่งั้นจะเห็นอะไรๆ ที่ไม่ควรเห็น • เชื่อว่า...ใครเข้าแม่โจ้ ถ้าไม่มีแฟนก็จะได้แฟน ถ้ามีแฟนก็จะเปลี่ยนแฟน • ช่วงหลังสอบมิดเทอม 1 สัปดาห์ จะเป็น “เทศกาลดอกซากุระ” หรือช่วงดรอปวิชา 104 ที่เรียนแล้วคิดว่าไม่รอด (ใบดรอปมีสีชมพู) ที่ให้ดรอปเป็นสัปดาห์สุดท้าย อิ น ทนิ ล • ใบดรอปจะไม่มีการแตะต้องของกัน หรือส่งต่อให้กัน (ฝากเอาก็ไม่รับฝาก) เพราะมี ความเชื่อว่าแตะแล้วจะต้องได้ใช้เอง

ของกิน • ผลไม้ที่อยู่ในมหาวิทยาลัยห้ามกินเพราะจะโดนหักคะแนน กินได้แต่ขอให้เนียนพอ • ร้านนมข้างๆ โรงอาหาร จะฮอตช่วงเปิดเรียนใหม่ๆ สั่งนมครั้งนึงต้องรอถึง 30-40 นาที และจะเงียบเหงามากในช่วงท้ายๆ เทอมสอง (ไม่มีคนเลย) • ที่ทานอาหารที่ฮิตที่สุดของแม่โจ้ คือ ศูนย์อาหารใต้สะพานลอยและโซนเหลือง หน้า มหา’ลัยนั่นเอง • เย็นตาโฟเจ๊ไฝ และร้านลุงเคใต้สะพานลอย (เปิดถึงตี 4) เป็นที่พึ่งของนักศึกษาใน ช่วงดึก (โดยเฉพาะหลังร้านเครื่องดื่มปิด) • ส้มต�าหลังมอ (มี 2 ร้านเลือกได้ตามชอบ) ดังมากขนาดเคยมีคนเห็น แอน ทองประสม และเคน ธีระเดช ไปทานมาแล้ว (จริง ไม่จริงไม่รู้) รับประกันความอร่อย • มาม่าถือเป็นอาหารหลักในหอพัก


ครั้งหนึ่งของชาวแม่โจ้ ที่ได้ถวายงานต่อสมเด็จพระเทพ ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี... ทรงมีรับสั่งเมื่อครั้งเสด็จฯ ไป..มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ว่า...อยากมาเรียนแม่โจ้....ซึ่งได้สร้างความ ปลาบปลื้มแก่...ชาวแม่โจ้ อย่างหาที่สุดมิได้.. และในวันที่ 21 มิถนุ ายน 2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีกา� หนดเสด็จฯ มาเยีย่ มชมมหาวิทยาลัยแม่โจ้อกี ครัง้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จงึ เห็นควร ให้มีการรวบรวมองค์ความรู้ด้านการเกษตรทั้งหมดไว้ จัดแสดงในพื้นที่ขนาด 35 ไร่ ให้กลายเป็น “ศูนย์เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมเกษตรล้านนา” ขึน้ (หลังอาคารเรียน คณะวิศวกรรม และอุตสาหกรรมเกษตร) โดยจัดเป็นโครงการ เพื่อรวบรวมศาสตร์แห่งการเกษตร แม่โจ้ ถวายให้พระองค์ท่านทอดพระเนตร...ชื่อว่า โครงการ “แม่โจ้....ภูมิปญญา เกษตร” บนพื้นที่ 35 ไร่ ประกอบไปด้วย บ้านแบบพื้นเมือง โรงเลี้ยงสัตว์ บ่อปลา พื้นที่เพาะปลูก รวมถึงโรงประชุมเพือ่ ใช้สา� หรับจัดแสดงนิทรรศการผลงานวิจยั เด่นของ มหาวิทยาลัย พื้นที่โดยรอบลงต้นไม้ใหญ่เพื่อเตรียมปลูกหญ้าบางส่วน นอกจากนี้ยัง มีแปลงปลูกข้าวและพืชสวนครัว ซึ่งล้วนเป็นผลงานวิจัยของแม่โจ้ที่เป็นประโยชน์ นี่คือ “แม่โจ้....ภูมิปญญาเกษตร” ให้กลายเป็น “ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตร ล้านนา” แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย

• คณะผลิตกรรมการเกษตร 1. สาขาพืชศาสตร์ 2. สาขาวิชากีฏวิทยา 3. สาขาวิชาอารักขาพืช 4. สาขาวิชาโรคพืชวิทยา 5. สาขาวิชาพืชสวนประดับ 6. สาขาวิชาพืชผัก 7. สาขาวิชาพืชไร่ 8. สาขาวิชาไม้ผล 9. สาขาวิชาปฐพีศาสตร์ 10. สาขาวิชาเกษตรเคมี 11. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร

12. สาขาวิชาส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตร 13. สาขาวิชาพลังงานทดแทน 14. สาขาวิทยาการสมุนไพร • คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยี 1. สาขาสัตวศาสตร์ 2. สาขาวิชาการผลิตสัตว์ปีก 3. สาขาวิชาโคนมและโคเนื้อ 4. สาขาวิชาการผลิตสุกร 5. สาขาวิชาอาหารสัตว์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

คณะ/วิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ แบ่งการเรียนการสอน เปน 11 คณะ 1 วิทยาลัย

105

อิ น ทนิ ล


• คณะวิทยาศาสตร 1. ภาควิชาฟิสิกส์ 2. ภาควิชาเคมี 3. ภาควิชาชีววิทยา 4. ภาควิชาคณิตศาสตร์ 5. ภาควิชาสถิติ 6. ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ 7. ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ 9. สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีสิ่งทอ

• คณะบริหารธุรกิจ 1. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางธุรกิจ 3. สาขาวิชาการเงิน 4. สาขาวิชาการบัญชี 5. สาขาวิชาการจัดการทั่วไป 6. สาขาวิชาการตลาด • คณะศิลปศาสตร 1. สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ 2. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

• คณะเทคโนโลยีการประมงและ ทรัพยากรทางน้�า 1. สาขาวิชาการประมง 2. สาขาวิชาการประมง (เพาะเลี้ยงสัตว์น้�า) 3. สาขาวิชาการประมง • คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร (การจัดการประมง) 1. สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 106 • คณะสารสนเทศและการสื่อสาร 2. สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร อิ น ทนิ ล 1. สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีหลัง การเก็บเกี่ยว • วิทยาลัยบริหารศาสตร 4. สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ 1. สาขาวิชารัฐศาสตร์ (อุตสาหกรรมการยาง) 2. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 5. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ 3. สาขาวิชาการจัดการชุมชน เทคโนโลยีการอาหาร 4. สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น (สมทบ) • คณะพัฒนาการท่องเที่ยว 1. สาขาวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยว • คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ การออกแบบสิ่งแวดล้อม 1. สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ 3. สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

• คณะเศรษฐศาสตร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ 3. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม


ฟาร์มบ้านเฮา

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

ณ ดินแดนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เลืองชื่อด้านเกษตรกรรม และดินแดนนี้มี พื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นฟาร์มCowboy ซึ่งผู้อพยพมาใหม่ยังไม่รู้จัก ฟาร์มCowboyนี้ เป็นพื้นที่ที่สวยงามน่าท่องเที่ยว และนี่เองก็มีต�านานอันยิ่งใหญ่และยาวนาน ด้วย การนั้นกระผมได้ไป หาข้อมูลต�านานจากท่านผู้รู้ อาจารย์มิ่งขวัญ แดงสุวรรณ นักวิชาการ สังกัดส�านักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มาให้ผู้อพยพมาใหม่ได้รับรู้ รับทราบกัน ส�านักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้มีระบบการจัดการแบบรัฐวิสาหกิจ ส�านัก ฟาร์มนี้มีจุดเริ่มต้นมาจากราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ให้จัดตั้ง ส�านักฟาร์มมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2549 โดยให้รวมโครงการพัฒนา บ้านโปง ส�านักฟาร์มนี้จะเป็นการท�างานร่วมกันระหว่างทางมหาวิทยาลัยกับทาง ชุมชนบ้านโปง เพราะแต่เดิมพืน้ ทีน่ เี้ ป็นพืน้ ทีท่ ชี่ นชาวไทยใหญ่ได้อพยพเข้ามาอยู่ ในพื้นที่ 180 ปีที่ผ่านมา โดยชาวไทยใหญ่ได้อาศัยอยู่ร่วมกันแบบระบบเครือญาติ และมีวิถีชีวิตอยู่กับป่า มีการตั้งกฎเกณฑ์ในชุมชน เช่น การตัดไม้ในป่ามาใช้ต้อง ผ่านการพิจารณาจากกรรมการหมูบ่ า้ นก่อน แต่ในตอนนีห้ า้ มไม่ให้ตดั ไม้มาใช้แล้ว เพื่อเป็นการอนุรักษ์และรักษาป่า หลังจากการจัดตัง้ ส�านักฟาร์มตามพระราชด�าริ และคณะพัฒนาการท่องเทีย่ ว ได้มาท�าวิจัยในพื้นที่บ้านโปง จึงได้มีการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และ 107 ส่งผลให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนไป จากการเก็บเห็ด เก็บของป่า กลายเป็น อิ น ทนิ ล การท�าไร่ ไถนาโดยมีรายได้เสริมจากการเป็นไกด์น�าเที่ยวให้นักท่องเที่ยว แต่ใน ที่นี้เป็นการเที่ยวเชิงนิเวศ หรือเที่ยวเชิงอนุรักษ์

ฟาร์มนี้มีอะไรบ้าง • • • • • • • • •

การผลิตไม้ผล พืชผัก และยางพารา การฝึกงานนักศึกษาและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการเกษตร การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ การผลิตเบญจมาศตัดดอกเพื่อการค้า แหล่งเรียนรู้การผลิตพืชสมุนไพร การท่องเที่ยวเกษตรเชิงนิเวศ การให้บริการค่ายลูกเสือและเนตรนารี การผลิตพันธุ์ไม้รับรองพันธุ์ สวนพฤกษศาสตร์กล้วยไม้ ร้อยปีสมเด็จย่า


กว่าจะมาเปน...สู่อ้อมอกแม่ ผู้จัดทํา :

ส�านักงานแม่โจ้คันทรีนิวส์ โทรศัพท์ 053-875381

เจ้าของ :

องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คณะที่ปรึกษา :

สู ่ อ ้ อ มอกแม่

108

อิ น ทนิ ล

ผศ.ดร.สถิตย์ ผศ.ดร.อภินันท์ อ.อุดมวิทย์ นายกิตติพงษ์ นายสุกิจ นางสาวกาญจนา

นายกองค์การนักศึกษา :

วิมล สุวรรณรักษ์ นักดนตรี ทิพยะ ติดชัย ชิดทอง

นายสุรศักดิ์ อัง

รองนายกฝายมวลชนสัมพันธ์ : นายณัฐพงษ์ โสภณ ประธานฝายสารสนเทศ : และสาราณียกร

นายณัฐวัฒน์ อภิลักษมีวรรณ์

บรรณาธิการ :

นายณัฐวัฒน์ อภิลักษมีวรรณ์

กองบรรณาธิการ :

นางสาวศุภรักษ์ เอี่ยมรัตน์ นายชาวินา สาครินทร์ นางสาวเบญจมาศ ตันติชวลิต นางสาวจุฑาทิพย์ วรรณภิระ

เว็บไซต์ :

WWW.SUMO.MJU.AC.TH




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.