วารสารวิทยาการจัดการ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2

Page 1

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ว า ร ส า ร วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วารสารวิ ช าการด้ า นบริ ห ารธุ ร กิ จ การจั ด การ เศรษฐศาสตร์ และนิ เ ทศศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” เป็นวารสาร Journal of “วารสารวิทยาการจัดการ วิชาการที่อยู่ในฐานข้อูลศูนย์ดัชีการ้างอิงวารสารไทย (TCI)

MANAGEMENT SCIENCE

ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2556 Volume 8 No.2 July - December 2013

CHIANGRAI RAJABHAT UNIVERSITY

Chiangrai Rajabhat University

ราคา

90 บาท


ชื่อภาพ แห่ส่างลอง ศิศปิน สุทธิเกียรติ  ใสสอาด ขอบคุณศิศปินแศะสำานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ที่เอื้อเฟื้อภาพสำาหรับจัดำาปกประจำาฉบับ


วารสารวิมหาวิ ท ยาการจั ด การ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย ที่ปรึกษา

ปที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556) ISSN 1906-2397 ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศพล อารีนิจ

ศาสตราจารย์ ดร. อนุรักษ์ ปญญานุวัฒน์

รองศาสตราจารย์สมเดช มุงเมือง

ศาสตราจารย์ ดร.มนัส สุวรรณ

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณบดีคณะวิทยาการจัดการ

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล

ผูชวยบรรณาธิการ อาจารย์ปวีณา ลี้ตระกูล

กองบรรณาธิการ ดร.เสริมศิริ นิลดํา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดร.ซิมมี่ อุปรา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

รองศาสตราจารย์ ดร.กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลี ขันธุวาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรุณสิริ ใจมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ศาสตราจารย์ ดร.สําเนาว์ ขจรศิลป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา แก้วเทพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.สมสุข หินวิมาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Professor Dr. Chandrakant Puri SNDT Women’s University, India.

ฝายจัดการและธุรการ อาจารย์เบญวรรณ เบญจกรณ์ นางสุรีรัตน์ ศรีทะแก้ว

กําหนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน, กรกฎาคม-ธันวาคม)

อัตราคาบอกรับสมาชิก

ปละ 180 บาท เล่มละ 90 บาท สถานที่พิมพ บริษัท นันทพันธ์ พริ้นติ้ง จำากัด 33/4-5 หมู่ 6 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100

ติดตอสงบทความที่ตีพิมพหรือบอกรับวารสารไดที่ กองบรรณาธิการ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู่ 9 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร.0-5377-6016 โทรสาร 0-5377-6057 E-mail address : jms-cru@hotmail.com และ journal.mscru@gmail.com “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางในการเผยแพร่ “บทความวิชาการ” และ “บทความวิจัย” ทางด้านบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ หรือสาขาอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) แล้ว ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความทีป่ รากฏในวารสารฉบับนีเ้ ปนของผูเ้ ขียนแต่ละท่าน ไม่ถอื ว่าเปนทัศนะและ ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ


Journal of Management Science

Chiang Rai Rajabhat University

Published by

Vol. 8 No.2 (July - December 2013) ISSN 1906-2397 Editorial Advisory Board

Asst. Prof. Dr. Thosapol Arreenich

Prof. Dr. Anurak Panyanuwat

Assoc. Prof. Somdej Mungmuang

Prof.Dr. Manat Suwan Chiang Mai Rajabhat University Prof. Dr. Samnao Kajornsin Kasetsart University Prof. Dr.Wallapa Dhephasdin na Ayudhaya Dhurakij Pundit University Assoc.Prof. Dr. Kanjana Kaewthep Chulalongkorn University Assoc.Prof. Dr. Somsuk Hinviman Thammasart University Asst.Prof. Dr. Duang-Kamol Chartprasert Chulalongkorn University Professor Dr. Chandrakant Puri SNDT Women’s University, India.

President of Chiang Rai Rajabhat University Dean of the Faculty of Management Science

Editors-in-Chief

Asst.Prof. Dr.Komsan Rattanasimakul

Editors-in

Paweena Leetrakun

Editors

Dr. Sermsiri Nindum

Chiang Rai Rajabhat University

Dr.Kwanfa Sriprapan Chiang Mai University

Dr.Simmee Oupra

Chiang Rai Rajabhat University

Dr.Nitta Roonkasam Pranakorn Rajabhat University Assoc.Prof. Dr. Kullapapruk Piewthongngam Khon Kaen University Asst.Prof. Walee Khanthuwan Khon Kaen University Asst.Prof. Dr.Viirunsiri Jaima Chiang Rai Rajabhat University

Chiang Mai University

Management

Benchawan Benchakorn Sureerat Sritakaew

Issue Date

Two issues per year (January-June, July-December)

Subscription Rate

Member: 180 Baht a year Retail: 90 Baht per issue Nantapun Printing Co.Ltd. 33/4-5 Moo 6, Muang District Chiang Mai 50100

Place of publication

To submit articles for publication or subscribing to the Journal , contact the following address. “Journal of Management Science, Chiang Rai Rajabhat University”, Faculty of Management Science, Chiang Rai Rajabhat University, 80 Moo 9, Bandu, Maung District, Chiang Rai, THAILAND 57100

Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-66057 E-mail address : jms-cru@hotmail.com และ journal.mscru@gmail.com

“Journal of Management Science, Chiang Rai Rajabhat University” is an academic journal in the field of business administration, economic, communication arts or related fields. Every published article is peer reviewed. Views and opinions expressed in the journal do not necessarily reflect those of the editors.


รายนามคณะผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาบทความประจ� ำ “วารสารวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย” (รายนามเรียงตามตัวอักษร)

สาขาบริหารธุรกิจ การจัดการ และเศรษฐศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี สันติพลวุฒิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤชนนท์ บึงไกร

สำ�นักวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ดร.กาญจนา ศรีพฤทธิ์เกียรติ

ดร.เสงี่ยม บุญพัฒน์

รองศาสตราจารย์ อภินันท์ จันตะนี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สาขาวิชานิเทศศาสตร์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา แก้วเทพ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์

วิทยาลัยการพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รองศาสตราจารย์ ดร.พีระ จิรโสภณ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง

ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.รวี ลงกานี

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา ยืนยง

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ก่อพงษ์ พลโยราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูกลิ่น อุนวิจิตร

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์

คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา เจรียงประเสริฐ

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.บุญฑวรรณ วิงวอน

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภาพรรณ ไชยยานนท์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลี ขันธุวาร

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.สินธุ์ สโรบล

วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

รองศาสตราจารย์ ดร.สมสุข หินวิมาน

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)


บทน� ำ “วารสารวิท ยาการจัด การ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ เชี ย งราย” ปี ที่ 8 ฉบับ ที่ 2 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2556 ได้คดั เลือกบทความวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ ปั จจุบนั ในหลายสาขาวิชา ซึ่ งข้อค้นพบจากงานดังกล่าวน่ าจะมีประโยชน์ต่อผูท้ ่ีมีส่วน เกี่ยวข้องน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ไม่มากก็นอ้ ย ปัจจุบนั ธุรกิจครอบครัวแบบดั้งเดิมต้องเผชิญกับการก้าวเข้ามาของธุรกิจข้ามชาติ ซึ่ งท�ำให้ธุรกิ จครอบครัวจ�ำเป็ นต้องอาศัยทั้ง “ศาสตร์ และศิลป์ ” ในการบริ หารจัดการ เพื่อให้ธุรกิจสื บทอดและด�ำรงอยูต่ ่อไปได้ บทความแรกของฉบับนี้เริ่ มด้วย บทความวิจยั เรื่ อง “อิ ทธิ พลโครงสร้ างของสภาพแวดล้อมธุ รกิ จ ภาวะผูป้ ระกอบการ และปั จจัย ข้อก�ำหนดที่ มีผลต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิ จครอบครัวในเขตภาคเหนื อตอนบนของ ประเทศไทย” เพื่อตอบค�ำถามถึงการปรับตัวดังกล่าว ในปี พ.ศ.2558 ประเทศไทยก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ซึ่ ง ถือเป็ น “ความท้าทาย” ของผูป้ ระกอบการในไทยในเรื่ องทั้งขนาดตลาดที่ใหญ่ข้ ึนและ การแข่งขันทางการตลาดที่เพิม่ ความรุ นแรง ซึ่งปัญหาดังกล่าวท�ำให้ผเู ้ ขียนบทความวิชาการ เรื่ อง “การวิเคราะห์โซ่ อุปทานและความได้เปรี ยบทางการแข่งขันด้านการส่ งออกของ ผลไม้สดไทยไปยังตลาดสหภาพเมี ยนมาร์ ” สนใจจะศึ กษาและวิเคราะห์ โซ่ อุปทาน เพื่อประโยชน์ต่อการน�ำไปวางแผนกลยุทธ์ในการส่ งออกต่อไป หัวข้อการศึกษาเกี่ยวกับ “โซ่ อุปทาน” ยังเป็ นหัวข้อส�ำคัญในบทความต่อมา ผูเ้ ขี ย นบทความวิจ ัย ที่ ส ามเรื่ อ ง “การศึ ก ษาความเสี่ ย งของการรั บ รู ้ ข องผูบ้ ริ โ ภคใน โซ่อปุ ทานอาหาร : กรณี ศึกษาห้างค้าปลีกสมัยใหม่”ได้นำ� ประเด็นพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค ปั จจุบนั ที่ได้เปลี่ยนจากตลาดสดมาสู่ ซูเปอร์ มาร์ เก็ตมาศึกษาว่า ผูบ้ ริ โภครับรู ้ความเสี่ ยง ในการซื้อผักผลไม้ที่หา้ งค้าปลีก เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การปรับปรุ งให้สอดคล้องความต้องการ ของผูบ้ ริ โภคตลอดห่วงโซ่อุปทาน ปัจจุบนั สถานการณ์ตดิ เชื้อและการแพร่ กระจายของเชื้อ HIV ในคนประจ�ำเรื อไทย ทวีความรุ นแรงมากขึ้น หากไม่มีแนวทางแก้ไขที่ถกู ต้องและเหมาะสมก็จะท�ำให้ผลกระทบ เกิดขึ้นในวงกว้าง บทความวิจยั ที่สี่ เรื่ อง“การใช้แบบจ�ำลอง KAP กับการศึกษาพฤติกรรม และทัศนคติการป้ องกันการติดเชื้อ เอช ไอ วี/เอดส์ของคนประจ�ำเรื อไทย” จึงสนใจที่จะ หาค�ำตอบเพื่อน�ำไปสรุ ปเป็ นแนวทางการวางแผนปฏิบตั ิการต่อไป

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


สารสนเทศนับว่ามีบทบาทต่อการด�ำเนิ นชี วิตของคนในปั จจุบนั โดยเฉพาะ ยุคสังคมข่าวสารที่สารสนเทศก้าวเข้ามามีบทบาทอย่างหลากหลายในแทบจะทุกวงการ ดังนั้นการศึกษาใช้สารสนเทศ จึงมีประโยชน์ต่อการช่วยให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและ เหมาะสม ผูเ้ ขียนบทความวิจยั ที่หา้ เรื่ อง “การใช้สารสนเทศของคณาจารย์วทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ” มุ่งตอบค�ำถามในประเด็นดังกล่าว บทความต่ อมาเป็ นบทความวิจยั เรื่ อง “รู ปแบบและกระบวนการลดภาวะ ความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน” ผูเ้ ขียนมีความสนใจ ศึ กษาปั ญหาความยากจนและความเหลื่ อมล�้ำในพื้นที่ ภาคเหนื อ ซึ่ งเป็ นพื้นที่ สูงและ มีความหลากหลายของชนหลายกลุ่ม เพื่อน�ำรู ปแบบมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา และยกระดับคุณภาพชีวติ ต่อไป ส�ำหรับบทความสุ ดท้ายเป็ นบทแนะน�ำหนังสื อ เรื่ อง “The Data Journalism Handbook : How Journalists Can Use Data to Improve the News” ในยุคสังคมสารสนเทศ ซึ่ งนอกจากจะเป็ นยุคที่ขอ้ มูลถูกส่ งผ่านอย่างรวดเร็ วแล้ว ข้อมูลยังมีความสลับซับซ้อน มากขึ้น วารสารศาสตร์ เชิงข้อมูลจึงเป็ นกระบวนการที่จะช่วยสร้างคุณค่าเพิ่มให้กบั งาน วารสารศาสตร์ ด้วยการท�ำให้ขอ้ มูลและเรื่ องราวที่ยงุ่ ยากสลับซับซ้อนสามารถถ่ายทอด ออกมาให้ผอู ้ า่ นเข้าใจง่ายและมองเห็นบริ บทของเรื่ องราวที่เกิดขึ้น ซ่ ึงเป็ นหนังสื อที่ผเู ้ ขียน ได้แนะน�ำวิธีการท�ำงานกับ “ข้อมูล” ดังกล่าว

พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ

คมสัน รัตนะสิ มากูล บรรณาธิการ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)


สารบั ญ รายนามคณะผูท้ รงคุณวุฒิพิจารณาบทความประจ�ำกองบรรณาธิการ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” บทน�ำ อิ ทธิ พลเชิ งโครงสร้ างของสภาพแวดล้อมธุ รกิ จ ภาวะผูป้ ระกอบการและ ปั จจัยก�ำหนดที่มีผลต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิ จครอบครัวในเขตภาคเหนื อ ตอนบนของประเทศไทย บุญชนิต วิงวอน, ธนกร น้ อยทองเล็ก และ มนตรี พิริยะกุล การวิเคราะห์โซ่อปุ ทานและความได้เปรี ยบทางการแข่งขันด้านการส่งออกของ ผลไม้สดไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ สุรีรัตน์ ศรี ทะแก้ ว และ สุเทพ นิ่มสาย การศึกษาความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคในโซ่อปุ ทานอาหาร : กรณีศึกษา ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ชยากร พุทธก�ำเนิด และ ภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรั กษ์ การใช้แบบจ�ำลอง KAP กับการศึ กษาพฤติ กรรมและทัศนคติ การป้ องกัน การติดเชื้อ เอช ไอ วี / เอดส์ ของคนประจ�ำเรื อไทย ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์ การใช้สารสนเทศของคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตภาคเหนือ นฤมล เกรี ยงเกษม รูปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถงึ โอกาสในสังคมชนบท ภาคเหนือตอนบน เพชร ชัยศร บทแนะน�ำหนังสื อ The Data Journalism Handbook: How Journalists Can Use Data to Improve the News แนะน�ำหนังสื อโดย ดร.นิษฐา หรุ่ นเกษม หลักเกณฑ์และการเตรี ยมต้นฉบับส�ำหรับการเสนอบทความเพื่อเผยแพร่ ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” แบบฟอร์มน�ำส่ งบทความวิชาการ / บทความวิจยั (Submission form) เพื่อตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” ใบสมัครสมาชิก ง

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)

ก ข 1

36 62 84 103 121 142 146 152 157


อิทธิพลเชิงโครงสร้ างของสภาพแวดล้ อมธุรกิจ ภาวะผู้ประกอบการ และปัจจัยก�ำหนดทีม่ ผี ลต่ อการด�ำเนินงาน ของธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย Structural Effect of Business Environment Entrepreneurship and Determinant toward the Family Business Performance in Upper Northern Region of Thailand บุญชนิต วิงวอน* ธนกร น้ อยทองเล็ก** มนตรี พิริยะกุล***

บทคัดย่ อ งานวิ จ ัย นี้ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ (1) เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพแวดล้อ มธุ ร กิ จ ภาวะ ผูป้ ระกอบการ นวัตกรรม ธรรมนูญครอบครัว เครื อข่ายธุรกิจและผลการด�ำเนินงานธุรกิจ ครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย (2) ศึกษาอิทธิพลเชิงโครงสร้างของ สภาพแวดล้อมธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการและปั จจัยก�ำหนดที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของ ธุรกิจครอบครัว (3) ศึกษาผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทย และ (4) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงานของผูป้ ระกอบการ ธุ รกิจครอบครัวในเขตภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย เป็ นการวิจยั แบบผสมผสาน ประชากร คือ ผูป้ ระกอบการธุ รกิ จครอบครัว จ�ำนวน 412 คน คิดเป็ นร้ อยละ 82.40 เครื่ องมือวิจยั คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติพรรณนาวิเคราะห์คา่ ร้อยละ * ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง (2557) ** ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาบริ หารศาสตร์ (การบริ หารองค์การภาครัฐและเอกชน) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (2553) ปั จจุบนั เป็ นอาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง *** ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง (2549) ปัจจุบนั เป็ น รองศาสตราจารย์ ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาสถิติ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

1


ค่าเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง ค่าความเชื่อถือได้ ค่าความแตกต่าง สถิติอนุมานวิเคราะห์อิทธิพลเชิงโครงสร้างความสัมพันธ์ดว้ ยโปรแกรม AMOS 7.0 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิ งยืนยัน พบว่าโมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ใน การวิจยั มีความสอดคล้องกับทฤษฎี โดยตัวแปรสังเกตได้ มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .568-.987 มี ค่าความผันแปรเฉลี่ ยที่ สกัดได้มีค่าระหว่าง .506-.879 และ ค่าความเชื่ อถื อได้อยู่ระหว่าง .596-.998 โมเดลอิ ทธิ พลเชิ งโครงสร้ างความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ χ2=36.36, χ2/df =1.28, df=28.47, GFI=.973, CFI=.977, RMR=.043, RMSEA=.034 โดยให้ความคิดเห็ นด้านธรรมนู ญครอบครัว มากที่สุด รองลงมา คือ ผลการด�ำเนิ นงาน ภาวะผูป้ ระกอบการ สภาพแวดล้อมธุ รกิ จ เครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ และนวัต กรรมเป็ นล�ำ ดับ สุ ด ท้า ย ส่ ว นอิ ท ธิ พ ลเชิ ง โครงสร้ า งพบว่ า ภาวะผูป้ ระกอบการมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ธรรมนู ญ ครอบครั ว มากที่ สุ ด รองลงมาธรรมนู ญ ครอบครัว มีอิทธิ พลทางตรงต่อผลการด�ำเนินงาน และสภาพแวดล้อมมีอิทธิ พลทางตรง ต่อภาวะผูป้ ระกอบการและอิทธิพลทางอ้อมต่อปัจจัยก�ำหนด ได้แก่ นวัตกรรม ธรรมนูญ ครอบครัวและเครื อข่ายธุรกิจ โดยที่ปัจจัยก�ำหนดมีอิทธิ พลทางตรงต่อผลการด�ำเนินงาน ของธุ รกิ จ ผลการด�ำเนิ นงานของธุ รกิ จครอบครัวขึ้นอยู่กบั ปั จจัยสภาพแวดล้อมธุ รกิ จ ภาวะผูป้ ระกอบการ ปัจจัยก�ำหนด ได้แก่ นวัตกรรม ธรรมนูญครอบครัวและเครื อข่ายธุรกิจ ค�ำส�ำคัญ : สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการ ปัจจัยก�ำหนดและผลการด�ำเนินงาน

Abstract The purpose of this research were (1) to study business environment, entrepreneurship, innovation, family constitution, business network and family business performance in upper northern region of Thailand, (2) to study the structural effect of business environment, entrepreneurship and determinant toward the family business performance and (3) to study business performance of family business in upper Northern region of Thailand, and (4) to analyze problems and obstacles in business performance of family business in upper Northern region of Thailand. It was mixed methodology research with sampling group and received 412 responded questionnaires representing 82.40 percents. The research tools were questionnaire and in-depth interview. The 2

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


descriptive statistics was applied to analyze percentage, average, standard deviation, skewness, kurtosis, reliability, deviation and inferential statistics to analyze the effect of structural relationship with AMOS 7.0 program. The confirmatory factor analysis revealed that the applied variable measurement model was conformed to the theory by observed variables had solution values between .568-.987, with average variance value between .506-.879 and reliability value between .596-.998. The structural casual relationship model conformed to empirical data χ 2=36.36, χ 2/df =1.28, df=28.47, GFI= .973, CFI=.977, RMR=.043, RMSEA=.034 by family constitution had the highest value and followed by business performance, entrepreneurship, business environment business network and innovation. While the structural effect revealed that entrepreneurship had most effect toward family constitution, and followed by family constitution had direct effect toward business performance and business environment had direct positive effect toward entrepreneurship and indirect effect toward hypothesis factors, i.e. innovation, family constitution and business network. It also revealed that determinant had direct effect toward family business performance. The business performance of family business was relied on business environment, entrepreneurship and determinants of innovation, family constitution and business network. Keywords : Business Environment / Entrepreneurship / Determinant and Business Performance

บทน�ำ

กระแสโลกาภิ ว ตั น์ มี ผ ลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงขององค์ก ารยุค ใหม่ อย่างรวดเร็ ว และมีความสลับซับซ้อนมากยิง่ ขึ้น ส่ งผลให้เกิดสภาวะการแข่งขันที่รุนแรง ภายใต้ระบบการค้าและการลงทุนเสรี โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากประเทศที่มีการพัฒนาแล้ว ส่งผลให้ประเทศที่กำ� ลังพัฒนาต้องมีการเตรี ยมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (Asian Economic Community: AEC) ผลกระทบต่อธุรกิจทั้งเชิงบวกและเชิงลบ (สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย, 2555) ส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการต้องมีการปรับปรุ ง ศักยภาพ และคุณภาพของผลผลิตหรื อสิ นค้าและบริ การของแต่ละประเทศเข้าสู่ มาตรฐาน มากยิง่ ขึ้น (Habbershon and William, 1999; Salvato, 2002) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

3


ธุรกิจครอบครัว (family business) ถือว่าเป็ นพื้นฐานของธุรกิจทัว่ โลกเป็ นธุรกิจ ระดับจุลภาคที่สร้างมูลค่าเพิม่ ด้านเศรษฐกิจให้กบั ทุกประเทศทัว่ โลก (Beckhard and Dyer, 1986; Lank, 1994) เป็ นวิสาหกิจขนาดย่อมรู ปแบบหนึ่งที่มีคุณลักษณะที่ขบั เคลื่อนโดย เจ้าของธุ รกิ จ เป้ าหมายคื อ ผลส�ำเร็ จอันเป็ นผลมาจากการวางกลยุทธ์ที่ส่ งผลต่อการ ด�ำเนินงานของครอบครัว (Anderson and Reeb, 2003; Carney, 2005; Chua, Chrisman and Sharma, 1999) ปั จจุบนั ธุ รกิ จครอบครัวมีมากถึงร้อยละ 80 ของธุ รกิ จทั้งหมดที่สร้าง รายได้ของผลิตมวลรวมในประเทศ (gross domestic product: GDP) ในประเทศไทยมากถึง ร้อยละ 49 (สถาบันวิทยาการหอการค้า, 2555) เป็ นแหล่งรองรับการจ้างงานขนาดใหญ่และ กระจายอยูท่ ว่ั ประเทศ เพราะธุรกิจครอบครัวได้เกิดอยูใ่ นทุกชุมชนที่มีประชากรอาศัยอยู่ กันเป็ นจ�ำนวนมากสามารถจัดตั้งได้ง่าย มีความสะดวกและกิจการครอบครัวมักจะใช้เงิน ลงทุนไม่มากนัก (บุญฑวรรณ วิงวอน, 2550) การเปลี่ยนแปลงของโลก ส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการธุ รกิจครอบครัวแบบดั้งเดิม ต้องท�ำการปรับเปลี่ยนแนวคิด วิธีการหรื อพัฒนาอย่างเร่ งด่วน เนื่องจากความผันผวนของ สภาพแวดล้อมภายนอก (Zahra, 1991) ต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์ มีการน�ำนวัตกรรม เข้ามาขับเคลื่อน เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันผ่านการระดมทรัพยากรที่มีอยูท่ ้ งั ภายในและภายนอกองค์กร ปัจจัยเหล่านี้มีความเกี่ยวเนื่องกับสมาชิกจ�ำนวนมากในองค์การ ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั ผูบ้ ริ หารหรื อผูน้ ำ� คนใดคนหนึ่ ง แต่ความส�ำเร็ จขององค์การไม่สามารถ เกิดขึ้นได้โดยบุคคลหนึ่งๆ บุคคลใดเช่นเดียวกัน (Casey, 1996, p. 5) ธุรกิจครอบครัวต้องอาศัยทั้ง “ศาสตร์และศิลป์ ” ในการบริ หารจัดการ เพือ่ ส่ งต่อ ความส�ำเร็ จจากคนรุ่ นหนึ่งสู่ คนอีกรุ่ นหนึ่งในการที่จะท�ำให้ธุรกิจก้าวหน้าได้อย่างยัง่ ยืน เป้ าหมายธุ รกิจครอบครัวจึงไม่ใช่เพียงเรื่ องของยอดขาย ก�ำไรที่เพิ่มขึ้นหรื อความคุม้ ค่า แต่กลับอยูท่ ี่องค์ประกอบส�ำคัญ 2 ประเด็นที่แยกออกจากกันไม่ได้ คือ การเติบโตและ ความยัง่ ยืน (อ�ำพล นววงศ์เสถียร, 2551) ผ่านความสมดุลระหว่าง ค�ำว่า“ธุ รกิจ” และ “ครอบครัว” ที่ตอ้ งผสมผสานกันอย่างลงตัว ด้วยความรักและความผูกพัน การมีส่วนร่ วม ความสามัคคีและมีความรู ้สึกเป็ นเจ้าของกิจการและสมาชิกในครอบครัวตลอดเวลาหรื อ ที่เรี ยกกันว่าความใส่ ใจในการเป็ นภาวะผูป้ ระกอบการ อย่า งไรก็ ต าม ยัง มี ปั ญ หาการด�ำ เนิ น งานโดยรวมของธุ ร กิ จ ครอบครั ว ใน ประเทศไทย คือ การไม่สามารถในการแข่งขันด้านราคา เนื่องจากบางกิจการไม่ได้ดำ� เนิน การผลิตด้วยตนเอง (สรรค์ชยั เตียวประเสริ ฐกุล, 2550) ความไม่สามารถแข่งขันในด้าน ความรู ้ อันเป็ นผลมาจากผูป้ ระกอบการไม่มีการถอดบทเรี ยนที่ประสบความส�ำเร็ จหรื อ 4

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ถอดประสบการณ์ของตนเอง เมื่อเปรี ยบเทียบกับกลุม่ ธุรกิจที่มีขนาดใหญ่ ขนาดกลางและ ขนาดย่อ มที่ มี ค วามแตกต่ า งในเรื่ อ งของการพัฒ นาผลการด�ำ เนิ น งานขององค์ก าร (ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย, 2554) เนื่ องจากความแตกต่างของศักยภาพธุ รกิ จ ครอบครัวหรื อความพร้อมของธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ นด้านบุคลากร ด้านเงินทุน ด้านอุปกรณ์ เครื่ องมือ ด้านความรู ้ ประสบการณ์ตรงของผูป้ ระกอบการและด้านเทคโนโลยี ตลอดจน การสนับ สนุ น ส่ ง เสริ ม การวิ จ ัย ค้น คว้า ทั้ง จากองค์ก ารส่ ว นกลางของภาครั ฐ และ มหาวิทยาลัยต่างๆ (แก้วตา โรหิ ตรัตนะ, 2549; Aharoni, 1994) ระบบความคิดที่แตกต่าง กันระหว่างคนภายในครอบครัว (Short, Payne, Brigham, Lumpkin and Broberg, 2009, pp. 9-12) ปั ญหาช่ องว่างระหว่างรุ่ นในการท�ำงาน (รุ่ นแรก รุ่ นที่สอง และรุ่ นที่สาม) โดยเฉพาะรู ปแบบการท�ำงานทีใ่ นอดีตเน้นแรงงานเป็ นหลักในการผลิต แต่ในปัจจุบนั มีการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหรื อนวัตกรรมเข้ามาเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในองค์การ แต่รุ่นแรก ไม่ยอมรับสิ่ งใหม่ๆ เครื อข่ายธุรกิจไม่หลากหลาย ขาดบุคคลที่มีศกั ยภาพ ในการสื บทอด กิจการ (ภัทริ กา มณี พนั ธ์, 2554) โดยไม่มีการน�ำธรรมนูญครอบครัวมาใช้ในการจัดการ ธุ รกิ จครอบครั ว รวมถึ งสภาพแวดล้อมที่ มีการเปลี่ ยนแปลงและภาวะผูป้ ระกอบการ ในแต่ละรู ปแบบของผูป้ ระกอบการย่อมส่ งผลต่อความสัมพันธ์ท้ งั เชิงบวกและเชิงลบต่อ ผลการด�ำเนินงาน (Burke and Litwin, 1992, p. 533) ปั ญหาเหล่ านี้ ทำ� ให้ธุรกิ จครอบครั วเติ บโตได้อย่างล่ าช้า ยิ่งสมาชิ กภายใน ครอบครัวเติบโตเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเท่าไหร่ ปั ญหาก็เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น (Longenecker, Moore, Petty and Palich, 2006, pp. 95-97) ส่ งผลให้ธุรกิจครอบครัวขนาดใหญ่หลายราย ต้องล้มหายตายจากกันไปในช่วงรุ่ นที่สาม คงเหลือเพียงไม่กี่รายที่สามารถรักษา พัฒนา และต่อยอดกิจการให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง (Poutziousris, 2000; Wang and Poutziousris, 2000; Ibrahim, 2001) จากสภาพปั ญหาของธุรกิจครอบครัวดังกล่าวมาข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงมี ความสนใจที่จะท�ำการวิจยั ในประเด็นสภาพแวดล้อมธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการและปัจจัย ก�ำหนดของธุรกิจครอบครัวที่ได้นำ� เสนอมาข้างต้น เพื่อประยุกต์ใช้กระบวนการวิจยั ไป แสวงหาค�ำตอบในครั้งนี้

วัตถุประสงค์ การวิจยั

วัตถุประสงค์ของงานวิจยั ครั้งนี้ เพือ่ ศึกษาอิทธิพลเชิงโครงสร้างของสภาพแวดล้อม ธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการและปั จจัยก�ำหนดที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ดังนี้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

5


1. เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมธุ รกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการ นวัตกรรม ธรรมนูญ ครอบครัว เครื อข่ายธุรกิจและผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทย 2. เพือ่ ศึกษาอิทธิพลเชิงโครงสร้างของสภาพแวดล้อมธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการ และปั จจัยก�ำหนดที่มีผลต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิจครอบครัวในเขตภาคเหนื อตอนบน ของประเทศไทย 3. เพือ่ ศึกษาผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทย 4. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงานของผูป้ ระกอบการธุรกิจ ครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

ขอบเขตการวิจยั

การวิจยั นี้ จ�ำแนกขอบเขต 3 ด้าน คือ เนื้อหา มุ่งเน้นการศึกษาสภาพแวดล้อม ธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการและปั จจัยก�ำหนดที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว ในเขตภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย โดยใช้สมการโครงสร้ างในการวิเคราะห์ ประชากร คือ ผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทย จ�ำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชี ยงราย จังหวัดเชี ยงใหม่ จังหวัดน่ าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดล�ำปาง และจังหวัดล�ำพูน ยกเว้นจังหวัดแม่ฮ่องสอน (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, 2555) ระยะเวลา จ�ำนวน 3 ปี เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 ถึงเดือน มกราคม พ.ศ. 2557

ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของ ธุรกิจครอบครัว สรุ ปได้ดงั นี้ 1. ทฤษฎีผลการด�ำเนินงาน (Performance Theory) การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับผลการด�ำเนิ นงานมีรากฐานมาจากการศึกษา ทฤษฎีองค์การและการบริ หารกลยุทธ์ (Murphy, Trailer and Hill, 1996) ผลการด�ำเนินงาน ของธุ ร กิ จ ครอบครั ว มี ต ัว แปรที่ มี ค วามสลับ ซับ ซ้ อ นและสามารถวัด ได้ห ลายมิ ติ (multi-dimensions) การประเมินผลการด�ำเนินงานจึงมีหลายวิธี ขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของ การน�ำไปใช้ จ�ำแนกได้ 3 มุมมอง ดังนี้ (Ford and Schellenberg, 1982) 6

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


มุมมองแรก คือ การประเมินผลการด�ำเนินงานที่มงุ่ เน้นเป้ าหมาย (goal approach) องค์การถูกจัดตั้งขึ้นมาด้วยเจตนาที่จะบรรลุเป้ าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ งเป็ นการเฉพาะ องค์การจะพยายามด�ำเนินการเพื่อไปสู่ความส�ำเร็ จตามเป้ าหมายนั้น (Etzioni, 1964) มุมมองที่สอง คือ การประเมินผลการด�ำเนินงานจากระบบการจัดการทรัพยากร (systems resource approach) มุมมองนี้ ใช้ตวั แบบเชิงระบบ อธิ บายกระบวนการท�ำงาน ขององค์ก ารว่า มี ค วามเชื่ อ มโยงกัน อย่า งชัด เจนในการจัด หา แปรรู ป แต่ มี ข อ้ จ�ำ กัด ด้า นทรั พ ยากรและมี ค วามต้อ งการพึ่ ง พาการแลกเปลี่ ย นทรั พ ยากรที่ จ �ำ เป็ นกับ สภาพแวดล้อมภายนอก การประเมินจากการบริ หาร การจัดหาทรัพยากร คือ การประเมิน ความสามารถที่องค์การจัดหาทรัพยากรที่หาได้ยากและมีคุณค่า (Yuchtman and Seashore Stanley, 1967) ทั้งสองมุมมองใช้เกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนิ นงานเพียงหนึ่ งเกณฑ์ ขึ้นอยูก่ บั ข้อตกลงร่ วมกันแม้วา่ จะใช้ตวั วัดหลายมิติกต็ าม (multi-dimensional) มุมมองที่สาม คือ ฐานคติที่ว่าองค์การก่อตั้งเพื่อตอบสนองความต้องการของ ผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ยหลายกลุ่ม (multiple constituencies) และมีความต้องการที่แตกต่างกัน ผลการด�ำเนิ นงานต้องมี เกณฑ์การประเมิ นหลายด้าน ผลลัพธ์ของแต่ละด้านอาจจะมี ความแตกต่างในแต่ละทิศทาง (Connolly, Conlon and Deutsch, 1980) ในทางปฏิบตั ิ เมื่อน�ำเอาวิธีการประเมินผลการด�ำเนินงานทั้งสามมุมมองไปใช้ อาจจะพบกับปัญหาที่เป็ น จุดอ่อน เช่น การก�ำหนดเป้ าหมายอาจจะได้รับอิทธิพลมาจากกลุ่มบุคคลในองค์การที่อาจ มีความเห็นที่แตกต่างกัน (Yuchtman and Seashore Stanley, 1967) เกิดขัดแย้งกันเอง ในองค์การ และเป้ าหมายเหล่านี้ ก็ไม่สามารถน�ำไปเปรี ยบเทียบกันระหว่างองค์การได้ (Murphy, et al., 1996) ในการประเมินผลการด�ำเนินงานจากการจัดการทรัพยากร แม้วา่ จะ สามารถ แก้ปัญหาจากมุมมองแรกด้านการก�ำหนดเป้ าหมายทัว่ ไป อาจครอบคลุมหลายมิติ แต่เป็ นการก�ำหนดมาจากกลุม่ ผูท้ มี่ สี ่วนได้เสียเพียงกลุม่ เดียวไม่สอดคล้องกับการทีอ่ งค์การ เป็ นแบบระบบเปิ ดที่ แ ต่ ล ะกลุ่ ม ที่ มี ส่ ว นได้เ สี ย มี ค วามต้อ งการที่ แ ตกต่ า งกัน โดยที่ ผลการด�ำเนิ นงานสามารถสนองความต้องการของผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ยในภาพกว้างและมี ความครอบคลุม 2. ทฤษฎีฐานทรัพยากร (Resource-Based View Theory) ภาวะการประกอบการเป็ นพฤติกรรมทีม่ คี วามจ�ำเป็ นต้องบริ หารจัดการทรัพยากร เพื่อน�ำมาใช้สร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ (Romanelli, 1987) เนื่องจากเป็ น ความพยายามจัดหาทรัพยากรหรื อใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด มาด�ำเนินการให้สอดคล้อง กับโอกาสที่มีอยูภ่ ายในแต่ละสถานการณ์ ธุรกิจจะมีความได้เปรี ยบทางการแข่งขันอันเป็ น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

7


ผลมาจากการมีทรัพยากรที่หลากหลาย (Wernerfelt,1984, p.172) เป็ นทรัพยากรที่องค์การ สามารถครอบครองและน�ำไปสู่ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนของ ธุ รกิจ ภายใต้การมุ่งเน้นทรัพยากรที่องค์การมีอยูว่ ่ามีคุณค่า (value) และหายาก (rare) ไม่สามารถทดแทนได้ง่าย (difficult to substitute) และยากที่คู่แข่งจะลอกเลียนแบบได้ (difficult to imitate) (Barney, 1991, p. 99) ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นองค์การอาจมีท้งั ทรัพยากรที่มีตวั ตน (tangible) เช่น เงินลงทุน วัตถุดิบ เครื่ องมือเครื่ องจักร เทคโนโลยีและทรัพยากรที่ไม่มีตวั ตน (intangible) เช่น สายสัมพันธ์ของบุคลากร เครื่ องหมายการค้า นวัตกรรม ความรู ้ ทักษะความช�ำนาญ เครื อข่ายกิจการ ชื่อเสี ยงขององค์การ ข้อมูลข่าวสาร รวมถึงธรรมนูญองค์การ สิ่ งหนึ่งที่ ควบคู่มากับทรัพยากร คือ ความสามารถ (capability) เพราะความสามารถเป็ นสิ่ งที่ยากจะ ท�ำการวิเคราะห์และถูกมองว่าเป็ นทรัพยากรที่ไม่มีตวั ตน ส่วนส�ำคัญของความสามารถ คือ ทักษะของแต่ละบุคคล กลุม่ หรื อแต่ละองค์การทีม่ คี วามสัมพันธ์ตอ่ กัน ส่งผลต่อความส�ำเร็จ ในระยะยาว (Grant, 1991, pp.114-135)

การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง

การวิจยั ครั้งนี้มีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและสรุ ปเป็ นตัวแปรหลักได้ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้ อมธุรกิจ (Business Environment) Bovee, Thill, Wood and Dovel (1992, p. 72) ได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อมธุรกิจว่า เป็ นปั จจัยทั้งภายในและภายนอกที่ มีอิทธิ พลและส่ งผลกระทบต่อการปฏิ บตั ิ งานของ องค์การ แนวคิดของ Robbins and Barnwell (1995, p. 241) สรุ ปว่าสภาพแวดล้อมธุรกิจ หมายถึง สิ่งต่างๆที่อยูร่ อบๆองค์การหรื ออาจอยูแ่ วดล้อมหน่วยงาน ส่วนมุมมองของโจนส์ (Johns, 1995, pp. 4-5) ได้ให้ความหมายว่าเป็ นกลุม่ ของทรัพยากรที่อยูร่ อบๆองค์การ ดังนั้น ผูป้ ระกอบการยุคใหม่จะต้องท�ำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในเพื่อ ใช้ในการตัดสิ นใจและวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Shane and Venkataraman, 2000) ซึ่งถือเป็ น งานส�ำคัญในล�ำดับแรกของการจัดการธุรกิจขนาดย่อมหรื อธุรกิจครอบครัว งานวิจยั ของ Cruz and Nordqvist (2012) สรุ ปว่า การรับรู ้ถึงสภาพแวดล้อมในการแข่งขันและแนวทาง การเป็ นผูป้ ระกอบการมีความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันไปในธุรกิจครอบครัว ผูป้ ระกอบการของธุรกิจยุคใหม่ที่ตอ้ งติดตามสถานการณ์อยูเ่ สมอ เพื่อจะได้มี ข้อมูลที่ทนั สมัยประกอบการตัดสิ นใจ (Cruz and Nordqvist, 2012) ทั้งนี้เพราะการวิเคราะห์ 8

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


หรื อวินิจฉัยเพื่อท�ำความเข้าใจกับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกมากเพียงใด ย่อ มจะส่ ง ผลให้ก ารด�ำ เนิ น งานของธุ ร กิ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น สภาพแวดล้อมธุรกิจจ�ำแนกได้ 3 ส่ วน (Day and Fahey, 1990) ได้แก่ (1) สภาพแวดล้อม ที่เป็ นพลวัตร (2) สภาพแวดล้อมที่เป็ นปรปักษ์ และ (3) สภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน ปัจจัย ที่ได้กล่าวมานี้ มีผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อภาวะผูป้ ระกอบการ (Antonic and Hisrish, 2000; Hornsby, Kuratko and Montagno, 1999) ดังสมมติฐานต่อไปนี้ H1: สภาพแวดล้อมธุรกิจมีอิทธิพลต่อภาวะผูป้ ระกอบการ 2. ภาวะผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) Miller (1983, pp. 770-791) ได้ช้ ีให้เห็นว่าภาวะผูป้ ระกอบการมีบทบาทส�ำคัญ 3 รู ปแบบคือ (1) น�ำเสนอนวัตกรรมใหม่เสมอ รวมถึงนวัตกรรมทั้งด้านผลิตภัณฑ์และ กระบวนการท�ำงาน (2) การบริ หารความเสี่ ยง และ (3) การบริ หารงานในเชิงรุ ก โดยอาศัย ความสามารถในการวิ เ คราะห์ ส ภาพแวดล้อ มปั จ จุ บ ัน อัน น�ำ ไปสู่ ก ารใช้ก ลยุท ธ์ ที่ หลากหลายเพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน มีการพัฒนาความรู ้ใหม่ๆ ด้วยการ บู ร ณาการองค์ป ระกอบที่ เ กี่ ย วข้อ ง เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ กับ ความรู ้ เ ดิ ม ที่ เ กิ ด จากการสั่ ง สม ประสบการณ์ การเรี ยนรู ้จากพันธมิตรในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับสากล ภาวะผูป้ ระกอบการมุ่งเน้นไปที่กระบวนการ พฤติกรรมที่เกิดจากการกระท�ำใน ความรู ้สึกหรื อความรับผิดชอบแบบผูป้ ระกอบการ (วิทูร เจียมจิตต์ตรง, 2553, หน้า 45; Drucker, 1985, pp. 67-72) ดังแนวคิดของ Bygrave and Hofer (1991) สรุ ปว่าภาวะ ผูป้ ระกอบการเกี่ยวข้องกับหน้าที่งานและกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการให้ได้มาซึ่ ง โอกาสตลอดจนการสร้างสรรค์องค์การให้ดำ� เนินการธุรกิจตามโอกาส และข้อสังเกตของ Shane and Venkataraman (2000, p. 217) สรุ ปว่า ภาวะผูป้ ระกอบการเป็ นภาวะหรื อ เหตุการณ์ที่เกิดการบรรจบกันของปรากฏการณ์ 2 ลักษณะ คือ (1) การพบหรื อประสบ โอกาสทางธุรกิจทีส่ ามารถสร้างก�ำไร และ (2) ความพร้อมในการด�ำเนินภาวะผูป้ ระกอบการ จะขาดอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ได้ ดังนั้น ภาวะผูป้ ระกอบการจึงต้องอาศัยการมีนวัตกรรมเพือ่ สร้างความได้เปรี ยบทางการแข่งขันและยังท�ำให้ผลการด�ำเนินงานประสบผลส�ำเร็ จตาม เป้ าหมายก่อให้เกิดความพึงพอใจกับผูท้ ี่มีส่วนได้ส่วนเสี ย (Amit and Schoemaker, 1993, pp. 91-106; Dierickx and Cool, 1989, pp. 1504-1511) รวมถึงแนวคิดของ Porter (1985) สรุ ปว่า ความได้เปรี ยบในการแข่งขันเป็ นคุณค่าของการด�ำเนิ นธุรกิจที่สามารถสร้างขึ้น ส�ำหรับลูกค้า ด้วยผลิตภัณฑ์หรื อนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจกับลูกค้าก่อน จึงท�ำให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็ จ ดังสมมติฐานที่ 2 และสมมติฐานที่ 5 ต่อไปนี้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

9


H2: ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลต่อนวัตกรรม H5: นวัตกรรมมีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงาน ปั จจัยก�ำหนดประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ (1) นวัตกรรม (2) ธรรมนูญ ครอบครัว และ (3) เครื อข่ายธุรกิจ (Nybakk, Vennesland, Hansen and Lunnan, (2008, pp. 1-26) และมีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว (Ghew and Ibrahim, 2013) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 3. นวัตกรรม (Innovation) ธุรกิจยุคปัจจุบนั มีการปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงทางด้านกระบวนการด�ำเนินงาน ตามสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อก่อให้เกิ ดสิ่ งใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิ มด้วยนวัตกรรม (McKeown, 2008) ก่อให้เกิดสิ่ งใหม่ที่มีความแตกต่างและเป็ นประโยชน์ข้ นึ มา (McKeown, 2008) อีกทั้งแนวคิดของ Laundy (2006) ได้สรุ ปว่านวัตกรรมเป็ นการกระท�ำในสิ่ งที่ แตกต่างจากสิ่ งเดิมที่มีอยูห่ รื อเคยประพฤติปฏิบตั ิอยู่ นวัตกรรมได้ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ หลายรู ปแบบ ไม่วา่ จะเป็ นการพัฒนาและปรับปรุ งกระบวนการผลิตและการด�ำเนิ นงาน ตลอดจนวิธีการจัดส่ งผลิตภัณฑ์จนถึงมือผูบ้ ริ โภคขั้นสุ ดท้าย (OECD, 2005) และแนวคิด ของ Gibbons (1997) ได้ห นุ น เสริ ม ไว้ว่ า นวัต กรรม คื อ การที่ อ งค์ก ารมี ก ารน�ำ ความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้จนเป็ นผลส�ำเร็ จและแผ่กว้างออกไปจนกลายเป็ น ระเบียบวิธีปฏิบตั ิแก่บุคคลทัว่ ไป นวัตกรรมจ�ำแนกตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการน�ำไปใช้มี 3 ลักษณะ คือ (1) เน้นเป้ าหมายของนวัตกรรม แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรมกระบวนการ (2) เน้นระดับของการเปลี่ยนแปลง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ นวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลัน (radical innovation) นวัตกรรมในลักษณะค่อยเป็ นค่อยไป (incremental innovation) และ (3) เน้นขอบเขตของผลกระทบ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ นวัต กรรมเทคโนโลยี แ ละนวัต กรรมการจัด การ (administrative innovation) (Gopalakrishnan and Damanpour, 1997, pp. 15-20; Bessant and Tidd, 2011, pp. 69-72; Schilling, 2008) ส�ำหรับนวัตกรรมที่ทำ� ให้การแข่งขันทางธุรกิจประสบผลส�ำเร็ จตามที่ต้ งั เป้ าหมาย จ�ำแนกได้ 4 ประเภท (Johne, 1999, pp. 6-11 ) คือ (1) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และ บริ การ (2) นวัตกรรมกระบวนการ (3) นวัตกรรมการตลาด และ (4) นวัตกรรมการจัดการ (ภานุ ลิมมานนท์, 2546) เนื่องจากนวัตกรรมเป็ นตัวชี้วดั ธุรกิจครอบครัว (Hyvarinen, 1990, pp. 64-74) โดยภาวะผูป้ ระกอบการมีความเชื่อมโยงกับเครื อข่ายธุรกิจในการเพิม่ สมรรถนะ ของธุรกิจให้สูงขึ้น (Stree and Cameron, 2007) ดังสมมติฐานต่อไปนี้ 10

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


H4: ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลต่อเครื อข่ายธุรกิจ 4. เครือข่ ายธุรกิจ (Business Networking) การสร้างเครื อข่ายธุรกิจเป็ นทรัพยากรที่ไม่มตี วั ตน แต่มคี วามส�ำคัญเป็ นอย่างมาก เพราะเป็ นความร่ วมมือระหว่างผูป้ ระกอบการธุ รกิจกับองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชนหรื อ ชุมชนทั้งภายในและภายนอก รวมถึงผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียของธุรกิจ (รักกิจ ศรี สริ นทร์, 2553; Stree and Cameron, 2007) เพือ่ ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงการท�ำงานอันจะน�ำไปสู่โอกาสทาง ธุ รกิ จใหม่ๆ ร่ วมกัน เครื อข่ายหรื อความร่ วมมื อดังกล่าวอาจก่ อให้เกิ ดการลดต้นทุน (Chetty, Blankenburg, 2004) สนับสนุนด้านโอกาสทางการตลาด ด้านการค้าหรื อการลงทุน การพัฒนาศักยภาพทางธุ รกิจด้านต่างๆ และทักษะความสามารถ หรื อสมรรถนะธุ รกิจ (Zhou, Wu and Luo, 2007) สามารถน�ำไปสู่การเรี ยนรู ้ร่วมกัน ความไว้วางใจและความ สมัค รสมานสามัค คี เพื่ อ ต่ อ ยอดในการวางรากฐานที่ แ ข็ง แรงในการท�ำ ธุ ร กิ จ ของ ผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัวในอนาคต (Franco and Haase, 2009) ส่งผลให้ธุรกิจประสบ ความส�ำเร็ จ สัมพันธภาพของเครื อข่ายเป็ นเรื่ องของความไว้วางใจ (trustworthy) การใส่ ใจ (attending) ความสนใจ (interest) สายสัมพันธ์ (relationship) การให้ความส�ำคัญและ ให้เกียรติต่อคู่คา้ น�ำมาซึ่งความสามารถในการแข่งขันระดับโลก เครื อข่ายธุ รกิจสามารถช่วยให้ผปู ้ ระกอบการได้รับผลประโยชน์ที่หลากหลาย อาทิ ช่วยขยายธุ รกิจ ช่วยให้ได้รับข้อมูลส�ำคัญทางธุ รกิจ ช่วยแนะน�ำลูกค้าเพิ่มขึ้นและ สร้างมิตรภาพกับลูกค้า ช่วยแก้ปัญหา ช่วยพัฒนาธุ รกิจ ช่วยให้รู้จกั คนส�ำคัญในวงการ ธุ รกิ จและสามารถเข้าถึงได้โดยตรง สามารถซื้ อสิ นค้าได้ในราคาที่ถูกลง สามารถใช้ อิทธิ พลของเครื อข่ายในวงการ ช่วยให้ทราบราคาต�่ำสุ ดของสิ นค้า เพื่อจะได้เข้าประมูล ได้ง่าย (Gao and Kotey, 2007; Lee and Anderson, 2007) ทั้งนี้ แนวคิดของ Lee and Anderson (2007) สรุ ปว่าระดับความสัมพันธ์ของเครื อข่ายจะมีมากน้อยลดหลัน่ กันไป ไม่วา่ จะเป็ นเพื่อน เพื่อนสนิท ญาติ หุน้ ส่ วนธุรกิจ เพื่อนของเพื่อน ญาติห่างๆ ทีมงานเก่า และเจ้านายเก่า ซึ่งแตกต่างจากแนวคิดของ Moy and Luk (2005) ที่เรี ยงล�ำดับจากวงกว้าง มาก่อน อาทิ ทีมงานเก่า ญาติ เพื่อนนักเรี ยนและคนบ้านเดี ยวกัน อีกทั้งงานวิจยั ของ บุญฑวรรณ วิงวอน และมนตรี พิริยะกุล (2553) สรุ ปว่าการสร้างเครื อข่ายความสัมพันธ์ เสมือนญาติกบั ลูกค้า หรื อคูค่ า้ ที่มีผลต่อการเป็ นสื่ อกลางเชื่อมโยงภาวะผูป้ ระกอบการและ ภาวะผูน้ ำ� ไปสู่ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจอย่างน่าพอใจและเครื อข่ายธุรกิจส่ งผลกระทบ ต่อผลการด�ำเนินงานเพือ่ สร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน (Ambler, Styles and Xiucun. (1999); Lianxi Zhou, Wei-ping Wu and Xueming Luo, 2007) ดังสมมติฐานต่อไปนี้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

11


H3: ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลต่อธรรมนูญครอบครัว H7: เครื อข่ายธุรกิจมีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงาน 5. ธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution) ธรรมนู ญธุ รกิ จครอบครั วเป็ นสิ่ งที่ มีความส�ำคัญส�ำหรั บผูป้ ระกอบธุ รกิ จใน ปั จจุบนั เป็ นการวางแผนผูท้ ี่จะมาสื บทอดธุรกิจ เพราะถือว่าเป็ นมรดกตกทอดที่มีค่าที่สุด ในการด�ำเนินธุรกิจครอบครัว ผ่านระบบความเชื่อ (Schein, 1985) ความสัมพันธ์อย่างเป็ น ปึ กแผ่น (Coffee and Jones, 1998) อันเป็ นการได้สร้างระบบธุรกิจของครอบครัวที่ถกู ต้อง (Denison, Lief and Ward, 2004) เพื่อให้ก่อเกิดความยัง่ ยืนในธุรกิจและช่วยลดปั ญหาของ คนรุ่ น หลัง ที่ เ ข้า มาสื บทอดกิ จการได้อ ย่างดี ที่สุด โดยอาศัยสู ต รลับ ความส�ำ เร็ จ คื อ (1) หัวหน้าธุรกิจครอบครัวในแต่ละบ้านควรวางแผนและลงมือด�ำเนินการมาก่อนล่วงหน้า เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้อมคือ การจัดตั้งธรรมนูญครอบครัว (family constitution) (เอกชัย อภิศกั ดิ์กลุ , 2554) เป็ นทุนของครอบครัวที่สำ� คัญและเป็ นรากฐานส�ำคัญของการ สร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันให้กบั ธุ รกิจครอบครัว (Deal and Kennedy, 1982) นอกจากนี้มิติของ Dyer (1986, p. 21) ได้จำ� แนกธรรมนูญของธุรกิจครอบครัว 3 รู ปแบบ ดังนี้ (1) รู ปแบบธุรกิจ (2) รู ปแบบครอบครัวและ (3) รู ปแบบการปกครอง เป็ นต้น นอกจากนี้ ผูก้ ่อตั้งต้องได้รับการยอมรับให้เป็ นผูน้ ำ� โดยไม่มีขอ้ โต้แย้ง และ ผูบ้ ริ หารรายอื่นๆให้การสนับสนุนการตัดสิ นใจของผูก้ ่อตั้งโดยอัตโนมัติ (Ward, 2005) การใช้ธรรมนูญครอบครัวเป็ นหลักยึดในการบริ หารเพือ่ ให้รุ่นหลาน เขยหรื อสะใภ้สามารถ เข้าท�ำงานได้ ผ่านการสร้างระบบธรรมนูญที่ให้คนภายนอกได้เข้ามามีส่วนร่ วม โดยสมาชิก เป็ นผูแ้ ต่งตั้งและยอมรับซึ่งกันและกัน (พลอย มัลลิกะมาส, 2554) ดังสมมติฐานต่อไปนี้ H6: ธรรมนูญครอบครัวมีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงาน 6. ผลการด�ำเนินงาน (Performance) Burke and Litwin (1992, p. 533) น�ำเสนอว่า ผลการด�ำเนินงานเป็ นผลลัพธ์หรื อ ผลที่เป็ นตัวชี้วดั ความส�ำเร็ จ ประกอบด้วยความสามารถในการผลิต (productivity) ก�ำไร (profit) คุณภาพการบริ การ (service quality) และความพึงพอใจของลูกค้าหรื อพนักงาน (customer or employee satisfaction) ยังมีตวั ชี้วดั อื่นๆ เช่น ความปลอดภัยในการท�ำงาน การให้รางวัลและค่าตอบแทนที่มีความเป็ นธรรม งานที่มีคุณค่าและสภาพแวดล้อมใน การท�ำงานที่เหมาะสม การสร้างสมดุลระหว่างคุณภาพชีวติ กับการท�ำงาน (quality of work life) เพือ่ เป็ นการรักษา การจูงใจและการสร้างความผูกพันของพนักงานต่อธุรกิจครอบครัว (Beer and Walton, 1990) 12

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ผลการด�ำเนินการของธุรกิจครอบครัว นิยมวัดผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (return of assets: ROA) การเติบโตของยอดขาย และความส�ำเร็ จของผลิตภัณฑ์ใหม่ (Narver and Slater,1990; Slater and Narver, 1995) ส่ วนแบ่งทางการตลาด และผลการด�ำเนินงานใน ภาพรวม (Jaworski and Kohli, 1993) การลดความผิดพลาดในการท�ำงานและมาตรฐาน ในกระบวนการท�ำงาน เพือ่ ลดต้นทุนและปรับปรุ งประสิ ทธิภาพในการท�ำงาน (Majchrzak, 1988) ความส�ำเร็ จของธุรกิจครอบครัว เช่น ความส�ำเร็ จของผลิตภัณฑ์ใหม่ จะสะท้อนถึง ความสามารถในการปรับตัวของธุรกิจครอบครัวที่สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมและความทันเวลาได้ (Baker and Sinkula, 1999, p. 414) ดังกรอบ แนวคิดต่อไปนี้

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

สมมติฐานการวิจยั H1 : สภาพแวดล้อมธุรกิจมีอิทธิพลทางตรงต่อภาวะผูป้ ระกอบการ H2 : ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมทางธุรกิจ H3 : ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อธรรมนูญครอบครัว H4 : ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อเครื อข่ายธุรกิจ H5 : นวัตกรรมทางธุรกิจมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว H6 : ธรรมนูญครอบครัวมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว H7 : เครื อข่ายธุรกิจมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

13


วิธีดำ� เนินงานวิจยั

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากร คือ ผูป้ ระกอบการ 8 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดล�ำปาง และจังหวัดล�ำพูน ยกเว้นจังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�ำนวน 23,561 ราย (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า, 2555) จ�ำแนกตาม สัดส่ วน ตามเกณฑ์ของ Comrey and Lee (1992) ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 500 ราย ผูว้ จิ ยั ได้ติดต่อไปรษณี ย ์ จังหวัดล�ำปาง เพื่อขอเช่าตูจ้ ดหมาย (ปณ. 26) การจัดส่ งแบบสอบถาม ด�ำเนินการได้ 2 วิธี คือ วิธีที่หนึ่ง ส่งแบบสอบถามทางไปรษณี ยด์ ว้ ยการใส่ ซองติดแสตมป์ ไป-กลับตามที่ อยู่ของผูป้ ระกอบการแต่ ละจังหวัด และวิธีที่สองผูว้ ิจยั ได้ดำ� เนิ นการ เก็บข้อมูลด้วยตนเอง เพือ่ ให้ครบตามจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ได้กำ� หนดไว้ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน พ.ศ. 2556 และสรุ ปข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัวทั้งหมด ได้แบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์และรวบรวมได้ จาํ นวน 412 ราย คิดเป็ นร้อยละ 82.40 โดยใช้สถิติพรรณนาเพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งทางตรง และทางอ้อมที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว ด้วยโปรแกรม AMOS 2. เครื่องมือวิจยั การวิจยั ครั้ งนี้ เป็ นแบบผสมผสาน โดยใช้ก ารวิจยั เชิ งปริ มาณและคุ ณภาพ เชิงปริ มาณใช้เครื่ องมือวิจยั คือ แบบสอบถาม พัฒนามาจากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 6 ปัจจัย คือ (1) สภาพแวดล้อมธุรกิจ ดัดแปลงมาจากมาตรวัดของ Barney (1991); Covin and Slevin (1991); Pitts and Lei (1996); Löfsten and Lindelöf (2005); Perez-Luno et al.(2011); Brewer and Selden (2000); Voordeckers, Gils and Jeroen Van den Heuvel. (2004); Yusuf (2002); Scheepers (2007); (2) ภาวะผูป้ ระกอบการ ดัดแปลงมาจากมาตรวัดของ Miller (1983); Barney (1991); Murphy, et al,(1996); Shane (2000); (3) ปั จจัยก�ำหนด จ�ำแนก 3 ประเด็นคือ (3.1)นวัตกรรม ดัดแปลงมาจากมาตรวัดของ Laundy (2006); McKeown (2008); O’Sullivan and Dooley (2009); (3.2) เครื อข่ายธุรกิจ ดัดแปลงมาจากมาตรวัดของ Gao and Kotey (2007); Lee and Anderson (2007) (3.3) ธรรมนูญครอบครัว ดัดแปลง มาจากมาตรวัด ของ Barnes (1969); Dyer (1986); Mark and Eric (2003); Longenecker,Moore,and Petty (2006) และ (4) ผลการด�ำเนินงาน ดัดแปลงมาจากมาตรวัด ของ Christian, et al. (2002); In won, et al. (2005); Wheelen and Hunger (2002) ส่ วนวิจยั เชิ งคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์ขอ้ มูลเชิ งลึกกับผูป้ ระกอบการ จังหวัดละ 2 คน จ�ำนวน 14

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


8 จังหวัด ด้านปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อผลการด�ำเนินงานของผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัว จ�ำนวน 16 รายในเขตภาคเหนื อตอนบนของประเทศไทยเพื่อให้ได้ขอ้ มูล 2 ลักษณะ หลังจากนั้นน�ำมายืนยันข้อมูลซึ่งกันและกัน แบบสอบถามมี 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผูป้ ระกอบการธุ รกิจ ครอบครัว ตอนที่ 2 ปั จจัยที่มีผลต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิ จครอบครัว โดยมีตวั แปร ที่เกี่ ยวข้องจ�ำนวน 6 ด้าน คือ (1) ด้านสภาพแวดล้อมธุ รกิ จ (2) ภาวะผูป้ ระกอบการ (3) ปัจจัยก�ำหนดมี 3 องค์ประกอบ คือ (3.1) เครื อข่ายธุรกิจ (3.2) ธรรมนูญครอบครัว และ (3.3) นวัตกรรม และ (4) ผลการด�ำเนิ นงานของธุ รกิจครอบครัว ตอนที่ 3 ปั ญหาและ อุปสรรคเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว และตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว ตรวจสอบเครื่ องมือเพือ่ หาความเชื่อถือได้ (reliability) ค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ (alpha coefficient) ของครอนบาค จ�ำนวน 6 ปั จจัยย่อย คือ มาตรวัดรวมด้านภาวะผูป้ ระกอบการ มีค่าเท่ากับ 0.975 สภาพแวดล้อมธุรกิจ มีค่าเท่ากับ 0.975 เครื อข่ายธุรกิจ มีค่าเท่ากับ 0.975 ธรรมนูญครอบครัว มีค่าเท่ากับ 0.975 เครื อข่าย ธุรกิจ มีคา่ เท่ากับ 0.975 ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว มีคา่ เท่ากับ 0.975 ข้อค�ำถาม ใช้มาตรวัดแบบลิเกิรต์ 7 ระดับ (7-point Likert scale) คือ 1 หมายถึง น้อยที่สุด และ 7 หมายถึง มากที่สุด (Likert, 1970)

สรุปผลการวิจยั

ส่ วนที่ 1 บริ บทของธุรกิจครอบครัว ผลการวิจยั พบว่าผูป้ ระกอบการส่ วนใหญ่เป็ นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุ อยูใ่ นช่วง 52-60 ปี มากที่สุด รองลงมาอายุอยูใ่ นช่วง 41-50 ปี และน้อยที่สุด คือ อายุต่ำ� กว่า 30 ปี สถานภาพสมรสมากที่สุดการศึกษาจบปริ ญญาตรี มากที่สุด รองลงมาการศึกษาต�่ำกว่า ปริ ญ ญาตรี แ ละปริ ญ ญาโทตามล�ำ ดับ ประเภทธุ ร กิ จ เป็ นเจ้า ของคนเดี ย วมากที่ สุ ด รองลงมาประเภทบริ ษทั จ�ำกัด มีระยะเวลาในการประกอบธุ รกิจ 10 ปี ขึ้นไปมากที่สุด รองลงมาระยะเวลา 7-10 ปี ส่ วนระยะเวลา 4-6 ปี และระยะเวลา 1-3 ปี อยูใ่ นสัดส่ วนที่ ใกล้เ คี ย งกัน และธุ ร กิ จ ครอบครั ว ส่ ว นใหญ่ จ ัด อยู่ใ นประเภทบริ ก าร รองลงมาคื อ อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม รุ่ นทายาทของธุรกิจครอบครัวพบว่า เป็ นรุ่ นที่ 1 (รุ่ นก่อตั้ง/ อาวุโส/ปกครอง) มากที่สุด รองลงมา คือ รุ่ นที่ 2 (รุ่ นเยาว์/รุ่ นลูก) และรุ่ นที่ 3 (รุ่ นเขย/ รุ่ นสะใภ้/รุ่ นญาติ) มีจำ� นวนพนักงานด�ำเนิ นกิจการธุ รกิจ 1-10 คน มากที่สุด รองลงมา มีจำ� นวนพนักงาน 11-50 คน ตามล�ำดับ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

15


ผลการวิเคราะห์ สถิ ติพ้ืนฐาน สรุ ปมาตรวัดตัวแปรสังเกตได้ของธรรมนู ญ ครอบครัว อยูใ่ นระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 6.23) รองลงมา คือ ผลการดําเนินงาน ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย = 5.92) นวัตกรรมอยูใ่ นระดับน้อยที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.84) ภาพรวมแสดง ค่าเฉลี่ย ค่าความเบ้ และค่าความโด่งของตัวแปร พบว่ามาตรวัดตัวแปรสังเกตของธุรกิจ ครอบครั ว ในกลุ่มของธรรมนู ญครอบครั ว อยู่ในระดับมากที่ สุด (ค่าเฉลี่ ย = 6.23) รองลงมาคือผลการดําเนินงานอยูใ่ นระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 5.92) และภาวะผูป้ ระกอบการ อยูใ่ นระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 5.72) ส่วนกลุม่ ของนวัตกรรมอยูใ่ นระดับค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.84) ส่ วนที่ 2 การวิเคราะห์หาการผันแปรร่ วมของตัวแปร 2.1 การวิจยั นี้ มีตวั แปรที่เกี่ยวข้อง 6 ประเด็น คือ (1) สภาพแวดล้อมธุ รกิ จ (2) ภาวะผูป้ ระกอบการ (3) ปัจจัยก�ำหนด มีตวั แปร 3 ด้าน คือ (3.1) นวัตกรรม (3.2) ธรรมนูญ ครอบครัว (3.3) เครื อข่ายธุรกิจ และ (4) ผลการดําเนินงาน พบว่าความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรทุกคู่มีความสัมพันธ์ระหว่าง 0.071-0.697 เป็ นค่าของความสัมพันธ์ตอ้ งไม่เกิน 0.7 สรุ ปได้วา่ ทุกตัวแปรทุกที่นำ� มาวิเคราะห์ครั้งนี้ไม่เกิดปัญหาการมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน สูงเกินไป หรื อไม่เกิดความผันแปรร่ วม (Multi collinearity) 2.2 ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกและค่าความน่าเชื่อถือได้ของข้อค�ำถามในแต่ละตัวแปร สังเกตได้ พบว่าตัวแปรสังเกตของสภาพแวดล้อมธุรกิจ และตัวแปรภายในนวัตกรรม และ ตัว แปรภายในองค์ป ระกอบมี ค่ า อ�ำ นาจจ�ำ แนกรายข้อ อยู่ใ นช่ ว ง 0.506-0.578 และ ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปรมีค่า=0.975 ตัวแปรสังเกตของธรรมนูญครอบครัวและตัวแปร ภายในองค์ประกอบมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้ออยูใ่ นช่วง 0.524- 0.611 องค์ประกอบมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกรายข้ออยูใ่ นช่วง 0.453-0.711 ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปรมีคา่ =0.975 ตัวแปร สังเกตของภาวะผูป้ ระกอบการ ตัวแปรภายในองค์ประกอบมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ อยู่ใ นช่ ว ง 0.620-0.711 ค่ า สัม ประสิ ท ธิ์ ของตัว แปรมี ค่ า =0.975 ตัว แปรสัง เกตของ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของตัวแปรมีค่า=0.975 ตัวแปรสังเกตของเครื อข่ายธุรกิจ ตัวแปรภายใน องค์ประกอบมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้ออยูใ่ นช่วง 0.515-0.705 ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปร มีค่า=0.975 ส่ วนตัวแปรสังเกตของผลการด�ำเนิ นงาน ตัวแปรภายในองค์ประกอบมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกรายข้ออยูใ่ นช่วง 0.503-0.666 ค่าสัมประสิ ทธิ์ของตัวแปรมีค่า=0.975 2.3 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis :EFA) พบว่าสภาพแวดล้อมมีคา่ ความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 0.600 ค่าความเชื่อถือ (CR หรื อ ρc) 0.880 ภาวะผูป้ ระกอบการมีค่าความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 16

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


0.726 ค่าความเชื่อถือ (CR หรื อ ρc) 0.913 นวัตกรรมมีค่าความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 0.705 ค่าความเชื่อถือ(CR หรื อ ρc) 0.905 ธรรมนูญครอบครัว มีค่า ความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 0.787 ค่าความเชื่อถือ (CR หรื อ ρc) 0.948 เครื อข่ายธุรกิจ มีค่าความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 0.841 ค่าความเชื่อถือ(CR หรื อ ρc) 0.955 และผลการด�ำเนินงานมีค่าความผันแปรที่สกัดได้เฉลี่ย (AVE หรื อ ρν) 0.698 ค่าความเชื่อถือ(CR หรื อρc) 0.902 สรุ ป ว่ า ตัว แปรแต่ ล ะกลุ่ ม ตัว แปร มี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ ตามค่ า น�้ำหนัก ของ องค์ประกอบส่ วนใหญ่มากกว่า 0.700 ค่า AVE หรื อ pv อยูร่ ะหว่าง 0.6000–0.841 และค่า CR หรื อ pc สูงอยูร่ ะหว่าง 0.880-0.995 ดังนั้น ตัวแปรแต่กลุ่มมีน้ ำ� หนักองค์ประกอบสูง มีค่าความผันแปรที่สกัดได้ใกล้เคียงและมีความเชื่อถือได้สูง 2.4 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันในขั้นที่ 2 (Confirm Factor Analysis: CFA) ตารางที่ 1 ค่าสถิติวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลมาตรวัด (โมเดลทางเลือก) โมเดล χ2 χ2/df df P-Value GFI CFI RMR RMSEA หมายเหตุ ทางเลือก Envi Entre Invtn Fconst Busnet Perf

0.054 0.736 1.205 0.641 0.225 0.745

1.267 0.736 1.205 0.321 0.225 0.745

1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000

0.060 0.391 0.057 0.057 0.635 0.338

0.991 0.999 0.991 0.999 1.000 1.000

0.994 1.000 0.994 1.000 1.000 1.000

0.030 0.003 0.010 0.002 0.002 0.003

0.035 0.000 0.023 0.000 0.000 0.000

Accept Accept Accept Accept Accept Accept

ตารางที่ 1 ค่าอัตราส่วนของไคสแควร์ กับ Degree of Freedom (χ 2/ df) น้อยกว่า 2 ค่าสถิติทดสอบ p-Value ไม่มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ค่า GFI และค่า CFI มีค่ามากกว่า 0.90 ค่า RMR และค่าสถิติ RMSEA มีค่าน้อยกว่า 0.05 จึงพบว่า โมเดลโครงสร้างสอดคล้องกับ โมเดลเชิงประจักษ์มีความสอดคล้องกลมกลืนกัน (Model fit)

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

17


2.5 ผลการทดสอบโมเดลโครงสร้างและโมเดลเชิงประจักษ์

รู ปที่ 1 โมเดลเชิงประจักษ์ของธุรกิจครอบครัว ตารางที่ 2 ค่าความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ของธุรกิจครอบครัว ตัวแปร

χ2

χ2/ df

Df

Family Business Model 36.361 1.277 28.47

p-Value GFI CFI RMR RMSEA แปลผล 0.63

0.973 0.977 0.043

0.034

Accept

ตารางที่ 2 พบว่าความสอดคล้องของโมเดลมาตรวัดทุกโมเดลมีความสอดคล้อง กันกับโมเดลเชิงประจักษ์ สรุ ปได้วา่ โมเดลมาตรวัดของธุรกิจครอบครัว มีความสอดคล้อง กลมกลืนกับโมเดลทางทฤษฎีที่กำ� หนดไว้ในระดับที่ยอมรับได้ ผลการทดสอบโมเดลมาตรวัดและโมเดลทางทฤษฎี ค่าสถิติของอัตราส่ วนของ ไคสแควร์ กับ Degree of Freedom (χ 2/ df) เท่ากับ 1.277 ค่าสถิติทดสอบ p-Value เท่ากับ 0.65 ค่ า สถิ ติ ข องวัด ระดับ ความกลมกลื น (GFI) เท่ า กับ 0.973 ค่ า สถิ ติ ว ดั ระดับ ความกลมกลืนเปรี ยบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.977 ค่าสถิติวดั ความคลาดเคลื่อนของโมเดล ในรู ป ของรากของค่ าเฉลี่ ย ก�ำลัง สองของเศษเหลื อ ในรู ป คะแนนมาตรฐานวัดระดับ ความกลมกลืน (RMR) เท่ากับ 0.043 ค่าความคลาดเคลื่อนของโมเดลในรู ปของรากของ ค่าเฉลี่ยก�ำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.034 และ เมื่อน�ำค่าสถิติที่ได้ไปเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ในการพิจารณาที่กำ� หนดว่า ค่าอัตราส่ วนของ ไคสแควร์ กับ Degree of Freedom (χ 2/ df) ควรน้อยกว่า 2 ค่าสถิติทดสอบ p-Value ต้อง ไม่มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ค่า GFI และค่า CFI ควรมีค่ามากกว่า 0.90 ขึ้นไป ส่ วนค่าสถิติของ RMR และค่าสถิติ RMSEA ควรมีคา่ น้อยกว่า 0.05 จึงท�ำให้โมเดลมาตรวัดมีความสอดคล้อง 18

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


กลมกลืนกัน (Model fit) กับโมเดลทางทฤษฎี (Tabachnick and Fidell, 2007) สรุ ปได้วา่ โมเดล มาตรวัดผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวมีความสอดคล้องกลมกลืนกับโมเดล ทางทฤษฎีที่กำ� หนดไว้ในระดับที่ยอมรับได้ ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าสมมติฐานทีต่ ้งั ไว้สนับสนุนดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานการวิจยั

Coef

t-stat

สรุปผล

H:1 สภาพแวดล้อมธุรกิจมีอิทธิพลทางตรง ต่อภาวะผูป้ ระกอบการ

0.6203 8.7502 *** สนับสนุน

H:2 ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรง ต่อนวัตกรรมทางธุรกิจ

0.2912 4.1546 *** สนับสนุน

H:3 ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรง ต่อธรรมนูญครอบครัว

0.6852 9.4793 *** สนับสนุน

H:4 ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรง ต่อเครื อข่ายธุรกิจ

0.8013 4.6932 *** สนับสนุน

H:5 นวัตกรรมทางธุรกิจมีอิทธิพลทางตรง ต่อผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว

0.2164

H:6 ธรรมนูญครอบครัวมีอิทธิพลทางตรง ต่อผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว

0.5443 5.0038 *** สนับสนุน

H:7 เครื อข่ายธุรกิจมีอิทธิพลทางตรงต่อ ผลการด�ำเนินงานธุรกิจครอบครัว

0.1434 2.3822 *** สนับสนุน

1.5072 **

สนับสนุน

หมายเหตุ t-stat ≥ 1.96 แสดงว่าสมมติฐานมีนยั ส�ำคัญทางสถิติมากที่ระดับ 0.05** t-stat ≥ 2.59 แสดงว่าสมมติฐานมีนยั ส�ำคัญทางสถิติมากที่ระดับ 0.10*** ดังนั้น จากตารางผลการทดสอบสมมติฐานของตัวแปรทั้งหมดที่ได้กำ� หนดไว้ พบว่าสนับสนุนทุกเส้นทาง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

19


สรุปและอภิปรายผล

ผลการวิจยั พบว่าผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัวส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย อายุอยูใ่ น ช่วง 52-60 ปี มากที่สุด สถานภาพสมรส การศึกษาจบปริ ญญาตรี สอดคล้องกับมุมมองของ Megginson and Byrd (2003, pp. 28-29) สรุ ปว่าเป็ นช่วงอายุที่มีความพร้อมทั้งด้านฐานะ ทางเศรษฐกิจและด้านวิถีชีวติ ในการจัดการธุรกิจของตนเอง สัมพันธ์กบั แนวคิดของ Dyer (1994) สรุ ปว่าผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัวมีประสบการณ์ มีองค์ความรู ้เฉพาะที่ผา่ นการ ถ่ายทอดค่านิยมทางธุรกิจ ด้วยการแบ่งปันความรู ้ให้กบั คนในครอบครัว อันเป็ นผลมาจาก การที่ได้เข้าไปมีส่วนรับรู ้ หรื อส่วนร่ วมในกิจกรรมทางธุรกิจของครอบครัวตั้งแต่ยงั เยาว์วยั ส่ วนใหญ่เป็ นธุ รกิจเจ้าของคนเดียว มีการประกอบธุ รกิจ 10 ปี ขึ้นไป เป็ นธุ รกิจบริ การ มากที่สุด ทายาทของธุรกิจรุ่ นที่ 1 (รุ่ นก่อตั้ง/อาวุโส/ปกครอง) มากที่สุด มีจำ� นวนสมาชิก 1-10 คน ผลการวิจยั สอดคล้องกับแนวคิดของ Sonfield and Lussier (2004, pp. 189-202) ที่นำ� เสนอว่าธุรกิจครอบครัวมีสภาพคล่อง จัดตั้งได้ง่ายเมื่อมีประสบการณ์ มีความสามารถ มีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก และสอดคล้องกับการศึกษาของ Moscetello (1990) ที่ หนุ นเสริ มว่าธุ รกิ จครอบครัวมีการร่ วมแรงร่ วมใจในการท�ำงานของสมาชิ ก ยึดมัน่ ใน ค�ำสัญญาทางธุรกิจถือว่าเป็ นความได้เปรี ยบ ในการแข่งขันของธุรกิจครอบครัวที่เหนือกว่า ธุรกิจอื่นๆ ความคิดเห็นของผูป้ ระกอบการพบว่า ธรรมนูญครอบครัวอยูใ่ นระดับมากที่สุด เหตุที่เป็ นเช่นนี้ เพราะเป็ นทุนของครอบครัวที่มีความส�ำคัญ เป็ นรากฐานส�ำคัญของการ สร้ า งความได้เ ปรี ย บในการแข่ ง ขัน ให้กับ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ที่ มี ค วามเหนื อ กว่า ธุ ร กิ จ โดยทัว่ ไป ดังแนวคิดของ Deal and Kennedy (1982) ที่ สรุ ปว่าธรรมนู ญครอบครั ว เสมือนหนึ่งวัฒนธรรมทีแ่ ข็งแกร่ งขององค์การและมีอทิ ธิพลในเชิงบวกต่อผลการด�ำเนินงาน นับวันจะมี มิติที่สลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้ นต่ อธุ รกิ จครอบครั ว รวมถึ งมี อิทธิ พลต่ อการ ขับเคลื่อนธุรกิจครอบครัว (Chajnacki, 2007; Collie, 2002; Davis, 2005; Hernandez and Dewick, 2003; Herrera, 2007; Reed, 2001) ธุรกิจที่มีผลการด�ำเนินงาน ที่ดีจะมีการน�ำ ธรรมนู ญครอบครั ว มาเป็ นแนวทางในการบริ หารจัดการ ส่ งผลให้ธุรกิ จส่ วนใหญ่ ประสบความส�ำเร็ จ (Barney, 1986) ธรรมนูญครอบครัวมีข้ ึนเพื่อสร้างความเป็ นรู ปธรรม ให้กบั สมาชิ ก เป็ นแนวทางปฏิบตั ิที่จะช่ วยหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจเกิ ดขึ้นภายใน ครอบครัว โดยมีความสัมพันธ์กบั ผลงานวิจยั ของ Tanriverdi and Zehir (2006); Wu (2004) สรุ ปว่าธรรมนูญเป็ นกฎ ระเบียบร่ วมกันเพือ่ ถือปฏิบตั ิผา่ นความไว้วางใจในการท�ำงานของ ธุรกิจครอบครัว 20

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รองลงมา ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อผลการดาํ เนินงานและภาวะผูป้ ระกอบการ อยูใ่ นระดับมากเช่นเดียวกัน เนื่องจากผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวเป็ นขั้นตอน สุดท้ายของการปฏิบตั ิงาน โดยเป็ นการประเมินความส�ำเร็จหรื อความล้มเหลวขององค์การ (Pasanen, 2003; Jaworski and Kohli, 1993) ผลการวิจยั สัมพันธ์กบั แนวคิดของ Burke and Litwin (1992, p. 533) ที่กล่าวว่า ผลการด�ำเนินงานเป็ นผลลัพธ์ หรื อตัวชี้วดั ความส�ำเร็ จ ของธุ รกิ จ อาทิ ความสามารถในการผลิต ก�ำไร คุณภาพการบริ การ ความส�ำเร็ จของ ผลิตภัณฑ์ใหม่ (Baker and Sinkula, 1999, p. 414) ความพึงพอใจของลูกค้าหรื อพนักงาน ทั้งนี้เพื่อเป็ นการรักษาลูกค้าเดิม เน้นการจูงใจและการสร้างความผูกพันของพนักงานต่อ ธุ รกิจ (Beer and Walton, 1990) ผ่านกลไกภาวะผูป้ ระกอบการที่ผจู ้ ดั การต้องเป็ นผูท้ ี่ น�ำเสนอสิ่ งใหม่ เพื่อท�ำการเปลี่ยนแปลงตลาด ด้วยการน�ำเอาทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจ�ำกัด มาบูรณาการให้เป็ นสิ่งใหม่ (Cunningham and Lischeron, 1991) ดังมิตขิ อง Schumpeter (1934, p.120) ที่ได้นำ� เสนอว่าภาวะผูป้ ระกอบการ ด�ำเนินการได้ 5 วิธีการ ได้แก่ (1) การน�ำเสนอ สิ นค้าที่มีคุณภาพใหม่ (2) การใช้วธิ ีการผลิตแบบใหม่ (3) การเปิ ดตลาดใหม่ (4) การค้นหา แหล่ ง ซื้ อ หรื อ ค้น หาวัต ถุ ดิ บ ชนิ ด ใหม่ และ (5) การก่ อ ตั้ง กิ จ การใหม่ รวมถึ ง เป็ น ผูป้ ระกอบการเป็ นผูร้ ังสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ของวงการค้าทั้งในและต่างประเทศ เพือ่ เป็ นผูน้ ำ� ของตลาดระดับสากล (Frederick, Kuratko and Hodgetts, 2007, p.321) สัมพันธ์ กับแนวคิดของ Miller (1983, pp. 770-791) ที่ได้สรุ ปว่า ภาวะผูป้ ระกอบการต้องมี (1) น�ำเสนอนวัตกรรมใหม่เสมอ รวมถึงนวัตกรรมทั้งด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการ ท�ำงาน (2) การบริ หารความเสี่ ยง และ (3) มีการด�ำเนินงานในเชิงรุ ก โดยอาศัยความสามารถ ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพือ่ น�ำไปสู่การประยุกต์ใช้กลยุทธ์ที่หลากหลาย เพือ่ สร้าง ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน ล�ำดับต่อมา คือ สภาพแวดล้อมธุรกิจ มีความคิดเห็นระดับมาก เพราะเป็ นปั จจัย ทั้งภายนอกและภายในองค์การที่มีผลกระทบต่อการจัดการธุรกิจครอบครัว ดังแนวคิดของ Robbins and Barnwell (1998, p. 241) กล่าวว่าผูป้ ระกอบการต้องน�ำสภาพแวดล้อมธุรกิจ มาประกอบการพิจารณาเพือ่ ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ธุรกิจ เป้ าหมายเพือ่ สนับสนุนให้ธุรกิจ ครอบครัวมีศกั ยภาพในการแข่งขันมากยิง่ ขึ้น โดยสภาพแวดล้อมทั้ง 3 ประการนี้ ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เป็ นพลวัตร สภาพแวดล้อมที่เป็ นปรปักษ์และสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน เช่น ด้านสภาพภูมิศาสตร์ ด้านปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Minnitti and Bygrave, 1999, p. 89) แหล่งเงินทุน ความสามารถในการเผชิญกับความเสี่ ยง และความไม่แน่นอนที่อาจมีผลทั้ง เชิงบวกและเชิงลบต่อธุรกิจ (Boyd and Gumpert, 1983, p. 67) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

21


ส่ วนนวัตกรรมและเครื อข่ายธุ รกิจอยูใ่ นระดับสุ ดท้าย คือ ระดับค่อนข้างมาก เนื่ องจากเป็ นธุ รกิ จครอบครั วส่ วนใหญ่เป็ นธุ รกิ จขนาดย่อม ผูป้ ระกอบการมักจะให้ ความสนใจนวัตกรรมอยูใ่ นระดับต�่ำ แต่กลับไปมุ่งเน้นการแข่งขันในด้านราคา เพราะเห็น ผลลัพธ์เร็ วกว่าการประยุกต์ใช้นวัตกรรม (Porter, 1985) ยกเว้นธุรกิจครอบครัวขนาดใหญ่ ที่ใช้นวัตกรรมเป็ นเครื่ องมือที่สำ� คัญของผูป้ ระกอบการเพื่อสร้ างศักยภาพการแข่งขัน เชิงธุรกิจและความมัง่ คัง่ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยูห่ รื อจากการสร้างขึ้นใหม่ รวมทั้งเป็ นการ พัฒนาขึ้นจากความรู ้ใหม่ ดังแนวคิดของ Drucker (1985); Lemon and Sahota (2004); Schilling (2008); Schumpeter (1982); Zhao (2005); Jatuliavičinė, et al (2004); Jucevičius (2008) ได้น�ำ เสนอร่ ว มกัน ว่ า ผูป้ ระกอบการมี ค วามสั ม พัน ธ์ กับ นวัต กรรมโดยมี ผูป้ ระกอบการที่แสวงหาโอกาส (Short, et al.,2011) นวัตกรรมท�ำให้ธุรกิจส่ วนใหญ่ ประสบความส�ำเร็ จ (Zhao, 2005, p. 65; Kriaucioniene, 2008) นวัตกรรมเป็ นเครื่ องมือที่ เฉพาะเจาะจงของภาวะผูป้ ระกอบการ โดยที่ ผูป้ ระกอบการใช้ป ระโยชน์ จ ากการ เปลี่ยนแปลง เป็ นโอกาสส�ำหรับธุรกิจที่แตกต่างกันหรื อบริ การ (Zhao, 2005) ผ่านการมี เครื อข่ายธุรกิจและสังคม เป็ นกลไกการสร้างภูมิความรู ้ที่หลากหลาย เครื อข่ายและสมาชิก เครื อข่ายเป็ นหัวใจที่ทำ� ให้ประสบความส�ำเร็จ เป็ นเรื่ องของสัมพันธภาพ ที่สมาชิกเครื อข่าย มีต่อกัน ทั้งในด้านของระบบเศรษฐกิจ สังคม เครื อญาติ การเมือง กิจกรรมและโครงการ โดยพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ในการท�ำงาน องค์การธุรกิจหรื อทางสังคม ได้แก่ การไปมาหาสู่เยีย่ มเยือนกัน การปรึ กษาหารื อกัน การแลกเปลีย่ นการค้า สัญญาความร่ วมมือ ในการท�ำงานและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สิ่ งเหล่านี้เป็ นสิ่ งส�ำคัญในการสร้างเครื อข่าย (Macpherson and Holt, 2007) งานวิจยั ของ Franco and Haase (2009) ได้ระบุวา่ การมุ่งหาโอกาสทางธุรกิจ เป็ นผลจากกระบวนการในการเรี ยนรู ้ ผ่านการปฏิ สัมพันธ์กบั เครื อข่ายธุ รกิ จ อันเป็ น ความสัมพันธ์ที่ดียง่ิ ขึ้นเรื่ อยๆ จนท้ายที่สุดกลายเป็ นพันธมิตรในการท�ำงานที่ก่อให้เกิด ก�ำไรสู งสุ ด มีการท�ำงานร่ วมกันและแบ่งผลประโยชน์ร่วมกัน ฉะนั้นเครื อข่ายสามารถ สร้างสมาชิกใหม่ๆ หรื อหุน้ ส่ วนธุรกิจใหม่ เกิดมูลค่าเพิม่ สูงสุ ดและท�ำให้ธุรกิจครอบครัว มีความได้เปรี ยบในการแข่งขันอย่างยัง่ ยืน ผลการศึกษาอิทธิพลเชิงโครงสร้างของสภาพแวดล้อม ภาวะผูป้ ระกอบการและ ปั จจัยก�ำหนดที่ มีผลต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิ จครอบครั ว พบว่าทุกปั จจัยมี อิทธิ พล ทางบวกต่อผลการด�ำเนินงาน สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ Zellweger and Nason (2008) ที่สรุ ปว่า ยอดขายเป็ นตัวชี้วดั ที่เหมาะสมในการวัดผลการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัว 22

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ต่อมาแนวคิดของ Neubaum, Dibrell and Craig (2012) ได้สรุ ปว่า มาตรวัดผลการปฏิบตั ิ งานของธุรกิจครอบครัว จ�ำแนกได้ 9 มิติ คือ การเติบโตของกิจการ อายุของธุรกิจครอบครัว จ�ำนวนการจ้างงาน สิ นทรัพย์โดยรวม ลูกค้าที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการ การแข่งขันของ ผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ย การค�ำนึงถึง การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม มีความตระหนักใน สภาพแวดล้อม ประยุกต์ใช้ภาวะผูป้ ระกอบการ เครื อข่ายธุรกิจ นวัตกรรม และธรรมนูญ ครอบครัว ผ่านกลไกของผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ยมาร่ วมพิจารณาในการด�ำเนิ นงาน รวมถึง ความตระหนักถึงพนักงาน เพราะองค์ประกอบเหล่านี้ มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็ จของ ธุรกิจครอบครัว โดยเฉพาะปั จจัยสภาพแวดล้อมมี อิทธิ พลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่ อภาวะ ผูป้ ระกอบการเพราะผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัว ต้องมีการน�ำบริ บทของสภาพแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกมาท�ำการวิเคราะห์ก่อนที่จะก�ำหนดกลยุทธ์ บางครั้งเป็ นปั จจัยที่ เอื้ออ�ำนวยหรื อเกื้อหนุนให้เกิดการประกอบการใหม่ (Bygrave and Zacharakis, 2007; Minnitti and Bygrave, 2001, p. 16) สภาพแวดล้อมที่เป็ นพลวัตจะมีการเปลี่ยนแปลง ตามปั จ จัย ภายนอก (external factor changes) ที่ ก่ อ ให้เ กิ ด โอกาส เอื้ อ อ�ำ นวยให้ ผูป้ ระกอบการน�ำมาเพื่อพิจารณาในการประกอบธุ รกิ จ โดยมีการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญ 4 ประการ คือ (1) ด้านเทคโนโลยี (2) ด้านการเมืองและกฎระเบียบต่างๆ (3) ด้านสังคม และประชากรศาสตร์และ (4) แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในสังคมสมัยใหม่ (Baron and Shane, 2008) สามารถสนับสนุนหรื อกระตุน้ ให้เกิดหรื อเกิดการผุดขึ้นมาของธุรกิจได้เช่นเดียวกัน ผลการวิจยั นี้สมั พันธ์กบั งานศึกษาของ Hornsby, Kuratko and Montagno (2002) ที่สรุ ปว่าสภาพแวดล้อมธุรกิจมีอทิ ธิพลต่อภาวะผูป้ ระกอบการ เมื่อเกิดอุปสรรคการแข่งขัน ในธุ รกิจอยูใ่ นภาวการณ์ระดับสู ง เช่น ราคาต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น ความต้องการ หรื อ รสนิ ย มของลู ก ค้า ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว หรื อ เทคโนโลยี เ ปลี่ ย นแปลง อย่างรวดเร็ ว ส่ งผลให้ธุรกิ จครอบครัวต้องมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในระยะยาว (Shan, 2000) ด้ว ยการปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารท�ำ งานให้ เ หมาะสมกับ สภาพแวดล้อ ม ผูป้ ระกอบการต้องมีการกล้าเสี่ ยงบนพื้นฐานของข้อมูล แต่ตอ้ งมีความระมัดระวังมากขึ้น (Zahra, 1991 and Scheepers, 2007) ดังงานศึกษาของบุญฑวรรณ วิงวอน (2550); Bovee, Thill, Wood and Dovel (1992, p. 72) ที่กล่าวว่าสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก มีอิทธิพลและส่ งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานขององค์การ ภาวะผูป้ ระกอบการมีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยก�ำหนด 3 ด้าน อันเป็ นผลมาจาก ภาวะผูป้ ระกอบการเป็ นพฤติกรรมการด�ำเนินงานที่ตอ้ งอาศัยความรับผิดชอบในระดับสูง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

23


ผ่านการจัดการความเสี่ ยง และสร้างความแตกต่างเพือ่ ให้ธุรกิจครอบครัวเข้าถึงนวัตกรรม และโอกาสทางธุรกิจ ดังแนวคิดของ Hisrich, Peter and Shedperd (2010); Convin and Slevin (1989); Shane (2000); Miller (1983); Barney (1991); Murphy, et al, (1996); Peteraf (1993); Alvarez and Busenitz (2001) ที่สรุ ปว่าผูป้ ระกอบการเน้นการบูรณาการ ทรัพยากรทั้งภายในและภายนอก ผ่านภาวะผูป้ ระกอบการเพือ่ ให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็จ และสร้างผลก�ำไรจากการสร้างทรัพยากร เพือ่ ให้ธุรกิจเกิดมูลค่าเพิม่ ด้วยการอ้อมผ่านปัจจัย ก�ำหนด อาทิ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมการจัดการ ปั จจัยก�ำหนดมีอิทธิ พลทางตรงต่อการด�ำเนิ นงานของธุ รกิจครอบครัวเป็ นผล มาจากการใช้เครื อข่ายทั้งภายในและภายนอกในการท�ำงาน บนพื้นฐานของธรรมนู ญ ครอบครัว คือ การบริ หารจัดการอย่างเป็ นธรรม มีความไว้วางใจ มีความซื่อสัตย์ ด้วยการ ก�ำหนดกฎ ระเบียบ ร่ วมกันเพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานแบบมีส่วนร่ วม มีความ สามัคคีปรองดองระหว่างพี่นอ้ งและสมาชิกในครอบครัวดังแนวคิดของ Longenecker, Moore and Petty (2006); Dyer (1986); Barnes (1969); Mark and Eric (2003); Dension, Lief, Ward and Neale (2004); ดนัย เทียนพุฒ (2553) ที่สรุ ปว่าธรรมนูญครอบครัว มีอทิ ธิพล ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผลการด�ำเนินงาน โดยมีตวั ชี้วดั ความส�ำเร็จคือ ผลก�ำไร ยอดขาย ธุรกิจที่เพิ่มขึ้น ส่ วนแบ่งการตลาดที่เติบโตขึ้น มีความเป็ นผูน้ ำ� ด้านการตลาดและเงินทุน หรื อมูลค่าหุน้ ที่สูงขึ้น (Kaplan and Norton, 1996; Wheelen and Hunger, 2002) Chajnacki (2007); Collie (2002); Davis (2005); Hernandaz (2000); Herrera (2003); Reed (2001); Tanriverdi and Zehir, (2006); Wu (2004) ได้สรุ ปว่า การก่อให้เกิด นวัตกรรมองค์การส่งผลให้การด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น ดังนั้น การเตรี ยมการที่ดีของผูป้ ระกอบการธุรกิจครอบครัว ย่อมส่ งผลต่อความส�ำเร็ จอย่างยัง่ ยืน ผ่านความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างสมาชิกครอบครัว การร่ วมแรงร่ วมใจและเกื้อกูลกับสมาชิก ในการท�ำงาน การเป็ นเจ้าของร่ วมกันและการยึดมัน่ ค�ำสัญญาในการท�ำธุรกิจ สิ่ งเหล่านี้ เป็ นจุดแข็งของธุรกิจครอบครัวที่แตกต่างจากธุรกิจโดยทัว่ ไป สรุ ปได้วา่ อิทธิพลเชิงโครงสร้างของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการ และปัจจัยก�ำหนดที่มีส่วนเกี่ยวข้อง คือ นวัตกรรม ธรรมนูญครอบครัวและเครื อข่ายธุรกิจ มีผลต่อการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่ ง ผลการวิจยั เชิงปริ มาณสอดคล้องกับผลการวิจยั เชิงคุณภาพและเป็ นไปตามสมมติฐานที่ ตั้งไว้ทุกประการ 24

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ผลการด�ำเนิ นงานของธุ รกิจครอบครัวขึ้นอยูก่ บั ทุกปั จจัยสภาพแวดล้อมธุ รกิจ ภาวะผูป้ ระกอบการ ปัจจัยก�ำหนด ได้แก่ นวัตกรรม ธรรมนูญครอบครัวและเครื อข่ายธุรกิจ และผลการวิ จ ัย ยัง มี ค วามสอดคล้อ งกับ ทฤษฎี ผ ลการประกอบการของ Ford and Schellenberg (1982, pp. 49-58); Yuchtman and Seashore Stanley (1967, pp. 891-933); Barney (2002, pp. 25-37) ได้นำ� เสนอว่าผลการด�ำเนิ นงานขององค์การจ�ำแนกได้ท้ งั เชิ งประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล โดยเน้นถึงการจัดการที่ วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ ระหว่างปั จจัยน�ำเข้าและปั จจัยน�ำออก สามารถปรับตัวให้สอดรับกับสภาพแวดล้อมทั้ง ภายในและภายนอกองค์การเพื่อให้ธุรกิจครอบครัวด�ำรงอยูไ่ ด้อย่างสมดุล สรุ ปปัญหาและอุปสรรคของการด�ำเนินงานของธุรกิจครอบครัวจ�ำแนกหมวดหมู่ ได้ 7 ประเด็น ดังนี้ (1) ด้านตัวตนของผูป้ ระกอบการ โดยเฉพาะด้านอารมณ์ (2) ด้าน การด�ำเนินงาน เมื่อเกิดปัญหาสมาชิกภายในครอบครัวมักจะกล่าวโทษกันและตักเตือนกัน ไม่ได้ เนื่ องจากเป็ นพี่นอ้ งหรื อเครื อญาติกนั ท�ำให้เสี ยระบบในการท�ำงาน (3) ไม่สนใจ ที่จะน�ำนวัตกรรมเข้ามาประยุกต์ใช้กบั กิจการ (4) คู่แข่งขันมีมาก เนื่ องจากกิจการมีการ ลงทุนน้อย (5) ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีอิทธิ พลต่อการด�ำเนิ นงาน (6) ลูกหลาน ไม่สนใจที่จะสื บทอดหรื อต่อยอดธุรกิจ และ (7) ขาดการสร้างทายาทธุรกิจครอบครัว

ข้ อเสนอแนะ

1. ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย หน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะส�ำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าและสมาคมหอการค้า ควรมี ก ารส่ ง เสริ ม ด้ว ยการอบรมให้ ค วามรู ้ ด้า นนวัต กรรมในทุ ก รู ป แบบ เพื่ อ ให้ ผูป้ ระกอบการน�ำมาประยุกต์ใช้ เนื่องจากเป็ นผลที่อ่อนด้อยของงานวิจยั ครั้งนี้ เพื่อเตรี ยม ความพร้อมให้ทายาทรุ่ นที่ 3 และ 4 ส�ำหรับสื บทอดกิจการเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน 2. ข้ อเสนอแนะเชิงวิชาการ ผูท้ ี่สนใจจะต่อยอดงานวิจยั นี้ ควรจะน�ำกรอบแนวคิดของสมการโครงสร้าง ตามสมมติฐานวิจยั ไปท�ำการวิจยั เพิม่ เติมกับกลุ่มตัวอย่างในประเทศอื่นๆ เพือ่ เปรี ยบเทียบ กับ สภาพแวดล้อ มและวัฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกัน ผลที่ ไ ด้อ าจจะมี ค วามเหมื อ นหรื อ ความแตกต่างกันที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิ ชย์ได้

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

25


กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร. ธนกร น้อยทองเล็ก อาจารย์ที่ปรึ กษา รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี พิริยะกุล ที่ปรึ กษาร่ วมที่ให้ ค�ำชี้แนะ ตลอดจนรองศาสตราจารย์ ดร.บุญฑวรรณ วิงวอน และดร.ชัยยุทธ เลิ ศพาชิ น ให้คำ� แนะน�ำและสนับสนุ น สุ ดท้ายขอขอบคุ ณ ผูท้ รงคุณวุฒิทุกท่านที่ตรวจทานบทความวิจยั ครั้งนี้มีความสมบูรณ์

รายการอ้ างอิง แก้วตา โรหิ ตรัตนะ. (2549) TQM กับความส� ำเร็ จของวิสาหกิจขนาดย่ อม. ธุรกิจกับ ผลิตภาพ. กรุ งเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2550). รายงานการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ .ี กรุ งเทพฯ : ฝ่ ายก�ำกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ค้นเมื่อ [2555 มีนาคม 12]. บุญฑวรรณ วิงวอน. (2554). การเป็ นผู้ประกอบการเชิงกลยุทธ์ . กรุ งเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ รามค�ำแหง. สรรค์ชยั เตียวประเสริ ฐกุล. (2550). ธุรกิจครอบครัวไม่ใช่ เรื่องเล่นๆ. (ออนไลน์). Available: http://www.brandage. com/Modules/Desktop Modules/Article/ ค้นเมื่อ [2555 มีนาคม 26]. อําพล นววงศ์เสถียร. (2551). ปั จจัยที่ มีผลต่อการเติ บโตที่ ยงั่ ยืนของธุ รกิ จครอบครั ว ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิต สถาบันบัณฑิต พัฒนบริ หารศาสตร์. Aharoni, Y. (1994). How Small Firms Can Achieve Competitiveness in an Interdependent World, in Agmon, T. and Drobnick, R. (eds.). Small Firms in Global Competition. New York: Oxford University Press: 9-18. Alvarez, S. A . , & Busenitz, L. W. (2001). The entrepreneurship of resource-based theory, Family Business Review, 2 (2): 167-180. Ambler, T. , Styles, C. , & Xiucun, W. (1999), "The Effect Of Channel Relationships And Guanxi on The Performance of Inter-Province Export Ventures In The People's Republic Of China," International Journal Of Research In Marketing.16: 75-87.

26

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Amit, R. , & Schoemaker, P. J. (1993). "Strategic assets and organizational rent ". Strategic Management Journal. 14(1): 33-46. Anderson, R. C. , & Reeb, D. M. (2003). Founding-family ownership and firm performance: evidence from the S&P500. Journal of Finance 58, 1301–1328. Baron, R. A. , & Shane, S. A. (2008). Entrepreneurship: A Process Perspective. (2nd ed.). Ohio: Thomson South-Western. Bovee, C. L. , Thill, J. V. , Wood, M. B. , & Dovel, G. P. (1992). Management. New York: McGraw-Hill. Beckhard, R. , & Dyer, G. W. (1986). SMR forum: Managing change in the family firmIssues and strategies. Sloan Management Review, 24: 59-65. Bessant, J. , & Tidd, J. (2011). Innovation and Entrepreneurship. (2rd ed.). New York: John Wiley & Son. Bygrave, W. D. , & Hofer, C. W. (1991). Theorizing about Entrepreneurship: Entrepreneurship Theory and Practice, 16(2): 13-68. Bygrave, W. D. , & Zacharakis, A. (2007). Entrepreneurship, New York: John Wiley & Son. Barney, J. B. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage, Journal of Management, 17(1): 99-120 http://dx.doi.org/10.1177/014920639101700108 Burke, W. , & Litwin, G. (1992). "A casual model of organizational performance and change," Journal of Management, 18(3): 28-46. Beer, M. , & Walton, E. (1990). Developing competitive organization: Intervention and strategies. American Psychologist, 45(2): 154-161. Baker, W. E. , & Sinkula, J. M. (1999). The synergistic effect of market orientation and learning orientation on organizational performance, Journal of the Academy of marketing Science, 27(4): 411-427. Boyd, D. , & Gumpert, D. (1983), “Coping with entrepreneurial stress,” Harvard business review, (61): 44-64. Brewer, G. A. , & Selden. S. C. (2000). "Why Elephants Gallop: Assessing and Predicting Organizational Performance in Federal Agencies." Journal of Public Administration Research and Theory. 10(4): 685-711. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

27


Chajnacki, G. (2007). Characteristics of learning organizations and multi-dimensional organizational performance indicators: A survey of large, publicly-owned companies. Dissertation for the Degree of Doctor of Education. The Pennsylvania State University. Collie, S. (2002). The learning organization and teaching improvement in academic department. A Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy. University of Virginia. Covin, J. G. , & Slevin, D. P. (1991). A conceptual model of entrepreneurship as fir behavior. Entrepreneurship Theory and Practice, 16(1): l7-20. Carney, M. (2005). Corporate government and competitive advantage in family-controlled firms. Entrepreneurship Theory and Practice, 29, 249-265. Chua, J. H. , Chrisman, J. J. , & Sharma, P. (1999). Defining the family business by behavior. Entrepreneurship Theory and Practice, 23(4), 19-39. Casey. J. (1996). Struggle Allows Ownership: A Conversation with Principal Jeff Nelson. Democracy & Education. Spring-Summer. Chetty, S. , & Blankenburg, H. D (2000), “Internationalisation of small to medium-sized manufacturing firms: A network approach,” International Business Review, 9 (1): 77-93. Connolly, T. , Conlon, E. , & Deutsch, S. (1980). Organizational effectiveness: A multipleconstituency approach. Academy of Management Review, 5(2): 211-217. Comrey, A. L. , & Lee, H. B. (1992). A first Course in Factor Analysis. Hillsdale, New Jersey: Erlbaum. Cruz, C. , & Nordqvist, M. (2012). Entrepreneurial orientation in family firms: A generational perspective. Small Business Economics, 38(1): 33-49. Cunningham, J. B. , & Lischeron, J. (1991). “Defining entrepreneurship”, Journal of Small Business Management, 29: 45-61. Christian, Z. ,Steve. A. , & Emanuela, C. (2004). International business cycles: What are the facts? .Journal of Monetary Economics, 51(2): 257–276. Davis, D. (2005). The learning organization and its dimensions as key factors in firm performance. A Dissertation for the Degree of Doctor of Philosophy in Urban Studies. University of Wisconsin- Madison. 28

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Day, G., & Fahey, L. (1988). "Valuing market strategies," Journal of Marketing, 52(2): 45–57. Drucker, P. F. (1985). Innovation and entrepreneurship: Practice and principles, Harvard Business Review, 76(6): 149-157. Dierickx, I. , & Cool, K. (1989). "Asset stock accumulation and sustainability of competitive advantage." Management Science, 35: 1504-1511. Deal, T. E. , & Kennedy, A. A. (1982). Corporate Cultures: The Rites and Rituals of Corporate Lives. Reading, Massachusetts: Addison-Wesley. Dyer, W. G. (1986). Cultural Change in Family Firms. San Francisco, CA: Jossey Bass. Dyer, W. G. (2003). The family: The missing variable in organizational research. Entrepreneurship Theory and Practice, 27(4): 401–416. Dension, D. , Lief, C. , & Ward J. L .(2004); Culture in Family-Owned Enterprises: Recognizing and Leveraging Unique Strengths. Family Business Review. 61-68. Etzioni, A. (1964). Modern Organisation. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Franco, M. , & Haase, H. (2009), “Entrepreneurial orientation from learning alliances: A study towards business performance”, Small Business Review. Frederick H. H, Kuratko, D. F. , & Hodgetts, R. M. (2007). Entrepreneurship: Theory, Process and Practice. Melbourne: Nelson Australia. Ford, J. , & Schellenberg, D. (1982). Conceptual issues of linkage in the assessment of organizational performance. The Academy of Management Review, 1: 49-58. Goffee, R. , & Jones, G. (1998). The Character of the Corporation: How Your Company’s Culture can Make or Break Your Business. New York: Harper Business. Gao, K. , & Kotey, B. (2010). Chinese Values and SME Strategy in the Chinese Economic Transition: How Close Are They to the West?, 2008 International Council for Small Business World Conference (Online): Available: http:// www.smu.ca/events/icsb/proceedings/chald2f.html. [2013 February 8]. Gibbons, M. (2011). Innovation and the Developing System of Knowledge Production, Brighton: Folkonomy. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

29


Gopalakrishnan, S. , & Damanpour, F. (1997). A review of innovation research in economics. Sociology and Technology Management, 259(1): 15-28. Grant, R. M. (1991). The Resource-Based Theory of Competitive Advantage: Implications for Strategy Formulation. California Management Review, Spring, 33 (3): p114-135. Hernandez, I. , & Dewick, P. (2003). Structural change and the nature of innovative activity: Legal form and firm performance. Innovation: Management, Policy & Practice, 5( 2-3): 257-269. Herrera, D. A. (2007). A Validation of a Learning Organization as a Driver of Performance Improvement. Doctoral dissertation, Casella University. Habbershon, T. G. , & William, M. L. (1999). A resource-base framework for assessing the strategic advantages of family firms. Family Business Review, 12(1): 1-22. Hornsby, J. S. , Kuratko, D. F. , & Montagno, R. V. (1999). Perception of internal factors for corporate entrepreneurship: A comparison of Canadian and U.S. managers. Entrepreneurship Theory and Practice, 24(2): 9–24. Hisrich, R. D. , Peters, M. P. ,& Shepherd, D. A. ,(2010). "Entrepreneurship". New York: Mc Grew-Hill. In won, K.. , Kun. C. L. , & Sangjae. L. (2005). KMPI: measuring knowledge management performance, Information & Management, 2(2): 469–482. Ibrahim, A. B. (2001). Strategic Decision Making in Small Family. Proceedings of the 12th FBN Conference. Lausanne September. Johne, A. (1999). "Successful market innovation", European Journal of Innovation Management, 2(1): 6-11. John C. N. , & Stanley F. S. (1990). Journal of Marketing, 54(4): 20-35 Jaworski, B. , & Kohli, A. (1993). Market orientation: Antecedents and consequences. Journal of Marketing, 57(7): 53-70. Jucevičius, G. (2008) . "The Innovation Culture in Modern Lithuanian Organizations: Values, Attitudes and Practices." Social Sciences. 1(63): 38-45. Jatuliavičinė, G., & Kučinskienė, M. (2006). Globalization drivers and their impact on Lithuanian economic growth and development. Ekonomika, 73, 24-29. 30

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Kaplan, R. S. , & Norton, D. P. (1996). Using the balanced scorecard as a strategic management system. Harvard Business Review, (1): 75-85. Kriaucioniene, R. (2008): Transition via R&D: emerging forms and strategies of corporate R&D in the catch up countries (Lithuanian case). Paper presented in the IV Globelics Conference at Mexico City, September: 22-24. Laundy, P. (2006). “An Innovation Discipline Model.” Retrieved 22 July 2009,[Online] Available: http://www. bpminstitute.org/articles/article/article/an-innovationdiscipline-model.html.[2013, May 12]. Lee, E Y-C. & Anderson, A.R. (2007). ‘The role of guanxi in Chinese entrepreneurship’, Journal of Asia Entrepreneurship and Sustainability, Dec., http://findarticles. com/p/articles/mi_qa5499/is_200712/ai_n21301842 Lemon, M. , & Sahota, P. S. (2004). Organizational culture as a knowledge repository for increased innovative capacity. Technovation, 24(6): 483-499. Likert, R .N.(1970). “A Technique for the Measurement of Attitude”. Attitude Measurement. Chicago: Ronald McNally & Company. Löfsten, H. , & Lindelöf, P. (2005). Environmental hostility, strategic orientation and the importance of management accounting–empirical analysis of new technologybased firms. Technovation-An international journal of technical innovation and entrepreneurship, Elsevier Science, 25(7): 725-738. Longenecker, J . G. , Moore, C. W. , Petty, J. W. ,& Palich, L. E. (2006). Small Business Management. (13th ed.).Ohio: Thomson South-Western. Macpherson, A. , & Holt, R. (2007). Knowledge, learning and SME growth: A systematic review of the evidence. Research Policy, 36(2): 172-192. Margarietha, J. S. (2007).“Entrepreneurial intensity: influence of antecedents to corporate entrepreneurship in firms operating in South Africa”. University of Stellenbosh. Mark, A. A. , & Eric, W. (2003); Competitiveness of Family Businesses: Distinguishing Family Orientation and Business Orientation. Journal of Economic Literature,14-18. Megginson, L. C., Byrd, M. J. , & Megginson, W. L. (2003). Small business management: An entrepreneur’s guidebook. (4th ed.). New York: McGraw-Hill. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

31


Minniti, M. , & Bvgrave, W. D. (2001). A dynamic model of entrepreneurial learning: Entrepreneurship Theory and Practice, 25(3): 5-16. Miller, D. (1983). The correlates of entrepreneurship in three types of firms. Management Science, 770-791. Murphy, G. B. , Trailer, J. W. , & Hill, R. C. (1996). Measuring performance in entrepreneurship research. Journal of Business Research, 36(1): 15-23. McKeown, M. (2008). The Truth About Innovation. London: Prentice Hall. Moscetello, L. (1990). “The Pitcairn’s want you,” Family Business Magazine, February. Moy, J. , & Luk, V. (2005). An exploration study: Entrepreneur’s self-efficacy, Social network (Guanxi) and HR practices in relation to firm effectiveness and intention to grow for SMEs in Hong Kong. Department of Management, School of Business Hong Kong Baptist University. Majchrzak, A. (1988). The Human Side of Factory Automation: Managerial and Human Resource Strategies For Making Automation Succeed. California: Jossey Bass. Neubaum, D. O. , Dibrell, C. , & Craig, J. B. (2012). Balancing natural environmental concerns of internal and external stakeholders in family and non-family business. Journal of Family Business Strategy, 3(1): 28-37. OECD. (2005). Measuring Globalization: OECD Economic Globalization Indicators. Paris. O’Sullivan, D. , & Dooley, L. (2009), “Applying Innovation,” Sage Publications, Inc. Pasanen, M. (2003). "Multiple entrepreneurship among successful SMEs in peripheral locations", Journal of Small Business and Enterprise Development, 10(4): 418-425. Peteraf, M. A. (1993). "The cornerstones of competitive advantage: A resource-based view." Strategic Management Journal, 14 (3): 179-191. Pitts, R. A. , & Lei, D. (1996). Building and sustaining competitive advantage. Strategic management. West Publishing Company, College & School Division, (2nd ed.): 1996-409.

32

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Perez-Luno, A. , Wiklund, J. , & Cabrera, R. V. (2011). Journal of Business Venturing. [Online] Available: http://www.worldscientific.com/doi/ref/10.1142/ S1363919613500047 [2013, May 10]. Porter, M. E. (1985). Competitive Advantage. New York: McGraw-Hill. Poutziouris, P. (2000). Venture Capital and Small-Medium Sized Family Companies: An Analysis from the Demand perspective. Academic Research Forum Proceedings. 11th Annual World Conference. London. Reed, D.J. (2001). Stalking the Elusive Business Case for Corporate Sustainability. World Resources Institute, Washington, DC. Salvato, C. A. (2002). Values and competitive advantage: The cultural determinants of dynamic capabilities in family firms. Proceedings of the Family Business Network Annual World Conference, Helsinki, Finland. Shane, S. , & Venkataraman, S. (2000). The promise of entrepreneurship as a field of research. The Academy of Management Review, 25 (1): 217. Short, J. C. , Payne, G. T. , Brigham, K. H. , Lumpkin, G. T. , & Broberg, J. C. (2009). Family firms and entrepreneurial orientation in publicly traded firms: A comparative analysis of the S&P500. Family Business Review, 22: 9-24. Short, et al., (2011) .Family Business and Market Orientation Construct Validation and Comparative Analysis. Family Business Review. 24(3): 233-251. Schilling , M. A. (2008). Strategic Management of Technological Innovation. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill. Schein, E. H. (1985). Organizational Culture and Leadership: A Dynamic View. California: Jossey-Bass Publishers. Schumpeter, J.A. (1934). The Theory of Economic Development. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press. Slater, S. , & Narver, J. (1995). “Market orientation and the learning organization”, Journal of Marketing, 59(3): 63–74. Sonfield, M. C. , & Lussier, R. N. (2004). “First, second and third generation family firms: A comparison”, Family Business Review, 17 (1): 189-202.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

33


Street, C. T. , & Cameron, Ann-Frances. (2007). External relationships and the small business: A review of small business alliance and networking research. Journal of Small Business Management, 45(2): 239-266. Scheepers, M. J. (2007). Entrepreneurial intensity: the influence of antecedents to corporate entrepreneurship in firms operating in South Africa. University of Stellenbosch. Tanriverdi, H. , & Zehir, C. (2006). Impact of learning organization applications and market dynamism on organizations innovativeness and market performance. The Business Review Cambridge, 2(12): 238. Tabachnick, B.G. , & Fidell, L.S. (2007). Using multivariate statistics. Using Multivariate Statistics, (5th ed.). New York: Pearson. Voordeckers, W. , Gils, A. V. , & Jeroen Van den Heuvel. (2004). Board Composition in Small and Medium Sized Family Firms. [Online]. Available https:// uhdspace.uhasselt.be/dspace/bitstream/1942/1529/1/Board%20composition.pdf (2013, May 13). Wang, Y. , & Poutziouris, P. (2003). Michael Stone Ltd; Balancing family tradition with entrepreneurial growth. The Growing Business Handbook. London: 137-145. Wernerfelt, B., (1984). A resource-based view of the firm. Strategic Management Journal, 5(2): 171-180 Wheelen, L.T. , & Hunger, D. J. (2002). Environmental Scanning and Industry Analysis In Strategic Management and Business Policy, (8th ed.). New Jersey: Prentice-Hall. Wingwon, B. (2008). Small Business Management. Lampang: Management Science Faculty, Lampang Rajabhat University. Wingwon, B. , & Piriyakul, M. (2010). Determinant of Entrepreneurship, Leadership, Techonology and Guanxi of Small and Medium Enterprises in Northern Region of Thailand, National Conference, National Higher Educational Academic Research Networking Annual Conference 2010, Khon Kaen University, 27th May 2010 at Kosa Hotel, Khon Kaen Province.

34

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Wingwon, B. (2012). Effects of entrepreneurship, Organization capability, Strategic decision making and Innovation toward the competitive advantage of SMEs enterprises. Journal of Management and Sustainability, 2(1): 124-132. Yuchtman, E. , & Seashore Stanley, E. (1967). A system resource approach to organizational effectiveness. American Sociological Review, 32(6): 891-903. Yusuf, A. (2002). "Environmental uncertainty, the entrepreneurial orientation of business ventures and performance". International Journal of Commerce and Management, 12(3/4): 83-103. Zahra, S. (1991). "Predictors and financial outcomes of corporate entrepreneurship: An explorative study". Journal of Business Venturing, 6, 259-285. Zellweger, T. M. , & Nason, R. S. (2008). A stakeholder perspective on family firm performance. Family Business Review, 21(3): 203-216. Zimmerer, T. W. , & Scarborough, N. M. (2002). Essentials of Entrepreneurship and Small Business Management (3rd ed.). New Jersey: Prentice-Hall. Zhao, L. (2005). Estimating Market Values for Non-Publicly-Traded U.S. Life Insurers. A Dissertation for the Doctor of Philosophy, The University of Texas at Austin. Zhou, L. , Wu, .Wei-ping. , & Luo, X. (2007). "Internationalization and the performance of born-global SMEs: The mediating role of social networks." Journal of International Business Studies, 38(4): 673-690.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

35


การวิเคราะห์ โซ่ อุปทานและความได้ เปรียบทางการแข่ งขัน ด้ านการส่ งออกของผลไม้ สดไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ * Supply Chain Analysis and Competitive Advantage on Thai Fresh Fruit Export to Myanmar Market สุรีรัตน์ ศรี ทะแก้ ว** สุเทพ นิ่มสาย***

บทคัดย่ อ การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบโซ่อุปทานผลไม้สด ของไทย และศึกษาถึงโอกาสและอุปสรรคทางธุรกิจในการส่ งออกผลไม้สดไปยังตลาด สหภาพเมียนมาร์ เพือ่ สร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันทางการตลาด ซึ่งผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การ สังเกตและสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจงกับผูท้ ี่อยูใ่ นโซ่อุปทาน ตั้งแต่ตน้ น�้ำจนถึงปลายน�้ำ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การวิเคราะห์ห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply Chain Analysis) เพือ่ ให้เห็นภาพของผูท้ ี่อยูใ่ นโซ่อุปทานผลไม้สดของไทยได้อย่างชัดเจน และในการวิเคราะห์โอกาส อุปสรรคและการคาดการณ์ผลกระทบทางธุ รกิ จที่เกิ ดขึ้น ผูว้ ิ จ ัย ใช้วิ ธี วิ เ คราะห์ เ ชิ ง คุ ณ ภาพโดยใช้เ ครื่ อ งมื อ การวิ เ คราะห์ ศ กั ยภาพการแข่ ง ขัน การวางแผนกลยุทธ์เชิงปฏิบตั ิการได้แก่ การวิเคราะห์โซ่คุณค่า (Value Chain Analysis) ร่ วมกับการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) และ แบบจ�ำลองเพชรแห่ งความได้เปรี ยบ (Diamond Model) ผลการศึกษาพบว่า โซ่อุปทาน ผลไม้สดของไทยเพื่อการส่ งออกสู่ ตลาดสหภาพเมียนมาร์ ยงั ไม่มีประสิ ทธิ ภาพมากนัก โดยเฉพาะความเชื่อมโยงของระบบการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานระหว่างภาครัฐ * บทความนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งจากวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “โอกาสทางธุ รกิจและแนวทางการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ การจัดการโซ่อุปทานผลไม้สดของไทยเพื่อการส่ งออกสู่ตลาดสหภาพเมียนมาร์” ** บริ หารธุ รกิ จมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาการจัดการโลจิ สติ กส์ และซัพพลายเชน ส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (2556) *** Ph.D. Food Economics and Marketing (Food Supply Chain Management), University of Reading, United Kingdom. (2012) ปัจจุบนั เป็ นอาจารย์ประจ�ำ ส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

36

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


และเอกชน รวมไปถึงหน่วยงานสนับสนุน แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีโอกาสทางการค้าเกิดขึ้น เนื่ องจากผูบ้ ริ โภคในสหภาพเมียนมาร์ น้ นั มีพฤติกรรมชอบบริ โภคผลไม้ของไทย จึงมี แนวโน้มและทิศทางในการส่ งออกที่ดี โดยเฉพาะหากมีการก้าวเข้าสู่ การเป็ นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน จะส่งผลให้ขนาดของตลาดเพิม่ ขึ้น และผูป้ ระกอบการไทยสามารถเข้าไป เป็ นส่ วนหนึ่ งของผูไ้ ด้ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน โดยมีภาครัฐคอยให้ ความช่ ว ยเหลื อ ในการลดอุ ป สรรคและข้อ จ�ำ กัด ต่ า ง ๆ รวมถึ ง ควรสนับ สนุ น ด้า น โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ค�ำส� ำคัญ : วิเคราะห์โซ่ อุปทาน/วิเคราะห์ความได้เปรี ยบทางการแข่งขัน/การส่ งออก ผลไม้สดไทย

Abstract The aims of this research were to study not only the supply chain system, but also the obstacles faced in exporting the Thai fresh fruits to Myanmar market for creating the business opportunities and challenges in the fresh fruit marketing. An in-depth interview was used in this research by random sampling method with the concerned people working in the supply chain’s business. The supply chain process started from the upstream until the downstream. The sample groups comprised the fresh fruit producers involving in public and private sectors. This study applied the supply chain analysis to clearly have the perspective of the fresh fruit producers in the Myanmar market. Moreover, the qualitative analyses; Value Chain Analysis, SWOT Analysis, and Diamond Model, were used to describe the business opportunities, treats, and effects into the fresh fruit market. The findings showed that the supply chain of Thai fresh fruit export in Myanmar market was somewhat inefficient, especially in the linkage between logistic management system and supply chain belonging to the public sectors, private sectors, and supporting organizations. However, the trading opportunities were generally occurred in the market since the Myanmar consumer’s behaviors probably like to eat Thai fresh fruit. Consequently, the exporting trend was in a positive direction. This will be benefit a lot in Asian Economic Community (AEC). The marketing sizes will be expanded unlimitedly. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

37


The Thai entrepreneurs are able to take the advantages from being the AEC. The government should find the best way to eliminate all limitations and other conditions for the fresh fruit export. The contributions should include the international logistics though. Keywords : Competitive Advantage Analysis /Supply Chain Analysis /Thai Fresh Fruit Export

ทีม่ าและความส� ำคัญของปัญหา

ไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรมมาตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ด้วยท�ำเลภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกจึงท�ำให้ไทยกลายเป็ นประเทศเกษตรกรรมที่มี ผลผลิตทางการเกษตรอุดมสมบูรณ์และหลากหลายชนิ ด ในบางฤดูผลผลิตล้นตลาดจน เกษตรกรระบายผลผลิ ต ไม่ ท ัน และบางฤดู ผ ลผลิ ต ก็ ข าดตลาดไม่ เ พี ย งพอส�ำ หรั บ การจ�ำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังมีปัญหาการแข่งขันกันเองของพ่อค้าคนกลาง/ ผูป้ ระกอบการเพื่อท�ำการกระจายสิ นค้าไปสู่ผบู ้ ริ โภคซึ่งขาดระบบการจัดการที่ดี ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) จึงกลายเป็ น "ความท้าทาย" ของผูป้ ระกอบการไทยในเรื่ องของตลาดที่มี ขนาดใหญ่ข้ ึนและการแข่งขันทางการตลาดที่ทวีความรุ นแรงขึ้นเช่นกัน ขณะเดียวกันก็ ถื อเป็ น "โอกาส" ที่ มีมากขึ้ นจากประตูการค้าที่ เปิ ดกว้าง โดยเฉพาะเส้นทางการค้า ทางภาคเหนือของไทยที่ผา่ นสหภาพเมียนมาร์จนถึงประเทศจีน ซึ่ งจีนถือว่าเป็ นประเทศ คู่คา้ ที่สำ� คัญของไทย ทั้งยังเป็ นตลาดใหญ่ที่สุดในเอเชียเนื่องจากมีประชากรจ�ำนวนมาก และจากการส�ำรวจพบว่าประชากรจีนมีพฤติกรรมชอบบริ โภคผลไม้ไทยค่อนข้างสูง โดย ผลไม้ที่นิยมบริ โภคคือ ทุเรี ยน และมังคุด อีกทั้งประชากรในสหภาพเมียนมาร์เองบางส่วน ก็เป็ นคนจีนที่เข้ามาลงทุนในสหภาพเมียนมาร์ ดังนั้นตลาดสหภาพเมียนมาร์จึงเป็ นตลาด ที่น่าสนใจ เพราะนอกจากจะมีประชากรจีนและชาวเมียนมาร์ที่ชอบบริ โภคผลไม้ไทยแล้ว สหภาพเมียนมาร์ยงั เป็ นเส้นทางขนส่งสิ นค้าไปสู่ประเทศจีนได้อีกด้วย จากเหตุผลดังกล่าว ท�ำให้ผวู ้ จิ ยั มีความสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์โซ่อปุ ทานและความได้เปรี ยบทางการแข่งขัน ด้านการส่ งออกผลไม้สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ อันจะส่ งผลให้เกษตรกร และผูป้ ระกอบการส่ งออกสามารถวางแผนในการด�ำเนิ นธุรกิจได้ ทั้งยังทราบถึงโอกาส ทางการตลาด และหน่วยงานภาครัฐหรื อเอกชนที่เกี่ยวข้องสามารถน�ำไปวางแผนกลยุทธ์ ในการส่ งออกเพื่อรองรับการขยายตลาดในอนาคต 38

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


แนวคิด ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง

แนวคิดห่ วงโซ่ คุณค่ า (Value Chain Concept) ห่ วงโซ่ คุณค่า เป็ นกรอบในการวิเคราะห์ถึงจุดอ่อนจุดแข็งขององค์ประกอบ ภายในขององค์กรภายใต้กิจกรรมขององค์กร โดยแบ่งกิจกรรมภายในองค์กรออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. กิจกรรมพื้นฐาน เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตหรื อสร้างสรรค์สินค้า หรื อบริ การ การตลาดและการขนส่ งสิ นค้าหรื อบริ การไปยังผูบ้ ริ โภค ประกอบด้วย 1.1 โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ได้รับการขนส่ ง การจัดเก็บ และแจกจ่ายวัตถุดิบ 1.2 โลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การจัดเก็บ รวบรวม จัดจ�ำหน่ายสิ นค้า และบริ การไปยังลูกค้า 1.3 การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) เป็ นการชักจูงลูกค้าให้ ตัดสิ นใจซื้อ 1.4 การบริ การหลังการขาย (After-Sales Services) การบริ การในขณะที่ขาย ตลอดจนการบริ การหลังการขาย 2. กิจกรรมสนับสนุน เป็ นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุนกิจกรรมหลักให้ ด�ำเนินไปอย่างราบรื่ น ประกอบด้วย 2.1 การจัดซื้อ-จัดหา (Procurement) เป็ นกิจกรรมในการจัดซื้อ จัดหาปั จจัย น�ำเข้า เพื่อใช้ในกิจกรรมหลัก 2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Development) การพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อช่วยในการเพิ่มคุณค่าให้กบั สิ นค้าและบริ การ 2.3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) เป็ นการ บริ หารทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่การวิเคราะห์ความต้องการ สรรหาและคัดเลือกประเมินผล พัฒนา ฝึ กอบรม ระบบเงินเดือนค่าจ้าง และแรงงานสัมพันธ์ 2.4 โครงสร้ างพื้นฐานองค์กร (Firm Infrastructure) ได้แก่ ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริ หารจัดการองค์กร วสันต์ กาญจนมุกดา (2549) โซ่คุณค่า หมายถึง การเชื่อมโยงของมูลค่าเกิดขึ้น ของกิ จกรรมในการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การในการสร้างสรรค์จากวัตถุดิบพื้นฐานสู่ การ ควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็ จ และขายให้กบั ผูบ้ ริ โภค

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

39


อักษรศรี พานิ ชสาส์น (2552) ได้กล่าวในงานวิจยั ว่า แนววิเคราะห์โซ่ คุณค่า (Value Chain Analysis) เป็ นวิธีการที่ใช้อธิ บายและน�ำเสนอถึงคุณค่า (Value) ซึ่ งถูก สร้ างสรรค์ในรู ปของสิ นค้า/ผลิตภัณฑ์หรื อการบริ การที่ได้รับการแปรรู ปจากวัตถุดิบ ขั้น ต้น จนกระทั่ง ถึ ง การส่ ง มอบสิ น ค้า /ผลิ ต ภัณ ฑ์ใ ห้ ก ับ ผูใ้ ช้ค นสุ ด ท้า ย โดยทั่ว ไป ลักษณะเฉพาะของโซ่คุณค่าของ แต่ละสิ นค้า/ผลิตภัณฑ์จะแตกต่างกันออกไปตามลักษณะ เฉพาะของสิ นค้าหรื อผลิตภัณฑ์น้ นั ๆ จากแนวคิดห่ วงโซ่ คุณค่าข้างต้น กล่าวได้วา่ การท�ำการวิเคราะห์ห่วงโซ่ คุณค่า (Value Chain Analysis) คือท�ำให้ผทู ้ ี่นำ� เครื่ องมือนี้ไปใช้ได้รู้วา่ คุณค่าที่ถกู เพิม่ ในผลิตภัณฑ์ หรื อการบริ การนั้นอยูต่ รงส่ วนไหนขององค์กรหรื ออุตสาหกรรม แนวคิดแบบจ�ำลองเพชรแห่ งความได้ เปรียบ (Diamond Model) Diamond Model (Porter M. E., 1985) คือ เครื่ องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ หรื อกรอบแนวคิดส�ำหรั บการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของ เครื อข่ายวิสาหกิจ โดยเป็ นการพิจารณาและประเมินสภาวการณ์ปัจจุบนั ของปัจจัยแวดล้อม ทางธุรกิจทีส่ ำ� คัญ 4 ด้าน ทีจ่ ะมีผลกระทบต่อความสามารถในการเพิม่ ผลผลิต (Productivity) ของบริ ษทั ที่อยูใ่ นเครื อข่ายวิสาหกิจ อันจะน�ำไปสู่การเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของเครื อข่ายวิสาหกิจนั้น ๆ โดยรวมในท้ายที่สุดปัจจัยเหล่านั้นมีลกั ษณะที่จะเป็ นการเอื้อ หรื อจะเป็ นอุปสรรคต่อการปรับปรุ งหรื อพัฒนาผลผลิตของธุ รกิจในเครื อข่ายวิสาหกิจ นั้น ๆ หรื อไม่ อย่างไร และมากน้อยเพียงใด รวมไปถึงบทบาทของภาครัฐที่จะมีผลต่อ ปั จจัยแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งปัจจัย 4 ด้านที่นำ� มาวิเคราะห์ประกอบด้วย 1. เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต (Input Factor Conditions) เป็ นการวิเคราะห์ดา้ นปั จจัยการผลิต (Factor of Production) คือ ปั จจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการผลิตและบริ การในเรื่ องนั้น ๆ ได้แก่ ปั จจัยด้านทรัพยากรมนุ ษย์ ทักษะการผลิต ทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน รวมไปถึงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Economic Structure) เช่น ระบบไฟฟ้ า ระบบประปา ระบบการสื่ อสาร และการคมนาคม เป็ นต้น และปัจจัยทีส่ ่งเสริ มในระบบมหภาค เช่น มาตรการทางการเงิน (เช่น อัตราแลกเปลีย่ น อัตราดอกเบี้ย) การคลัง กฎหมาย (เช่น พรบ. ส่ งเสริ มการลงทุนฯ) ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ เป็ นต้น 2. เงื่อนไขด้านอุปสงค์ (Demand Conditions) เป็ นการวิเคราะห์ภาวะอุปสงค์ คือ การมีความต้องการภายในประเทศที่เพียงพอ และมี ค วามต้อ งการของผูบ้ ริ โ ภคต่ า งประเทศที่ จ ะกระตุ น้ ให้เ กิ ด ขึ้ น กลุ่ ม เป้ าหมาย 40

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ขนาดตลาด สัดส่ วนในตลาด และศักยภาพของตลาด โดยพิจารณาจากปั จจัยดังนี้ เช่น ทัศนคติ ของผูบ้ ริ โภค ระดับความต้องการของผูบ้ ริ โภคที่ มีต่อสิ นค้า ภาพลักษณ์ ของ ตราสิ นค้า เป็ นต้น 3. บริ บทด้านการแข่งขันและกลยุทธ์ของธุรกิจ (Strategy and Rivalry Context) เป็ นการพิจารณากลยุทธ์ของบริ ษทั และคู่แข่งทางการตลาด โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ในธุ รกิ จ เช่น จ�ำนวนของผูป้ ระกอบการในตลาด การแข่งขันด้านราคาและการตลาด เครื อข่ายการค้าของบริ ษทั เงินลงทุน กลยุทธ์ทางการค้าของคูแ่ ข่ง ลักษณะของการแข่งขัน ที่มีผลกระทบต่อบริ ษทั และการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ เป็ นต้น 4. อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้อ งและสนับ สนุ น กัน (Related and Supporting Industries) เป็ นการวิเคราะห์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และอุตสาหกรรมสนับสนุนว่ามีการ ส่ งเสริ มความสามารถในการแข่งขันภายในตลาดในประเทศ ได้แก่ การมีอยูข่ องธุ รกิจ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ Supplier และบริ ษทั ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการเชื่อมโยงกันใน ห่วงโซ่อุปทาน ระดับของความร่ วมมือระหว่างบริ ษทั เช่น แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ ปั จจัยทั้ง 4 ข้างต้น จะเป็ นสิ่ งก�ำหนดที่ทำ� ให้เกิดความได้เปรี ยบด้านการแข่งขัน หรื อที่เรี ยกว่า Diamond of National Competitive โดยในทัศนะของ Porter นั้นปั จจัยทั้ง 4 ประการ จะหมุนเวียนกันไปมาโดยจะเริ่ มต้นปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งก่อน แล้วจะผลักดันให้ เกิดปั จจัยอื่น ๆ ตามมาและการที่ประเทศจะได้เปรี ยบด้านการแข่งขันอย่างยาวนานและ ยัง่ ยืนนั้น ควรจะต้องมีปัจจัยเกื้อหนุนทั้ง 4 ประการอย่างครบถ้วน ไม่ควรได้เปรี ยบเพียง ปั จจัยใดปั จจัยหนึ่งเท่านั้น

วิธีการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ ท�ำการศึกษาผลไม้เศรษฐกิจส�ำคัญของไทย คือ ทุเรี ยน และ มังคุด ที่ทำ� การส่ งออกไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ โดยใช้วิธีการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative) ซึ่งมุ่งเน้นศึกษาผูท้ ี่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการส่ งออกผลไม้สด ของไทย ได้แก่ เกษตรกรชาวสวนผลไม้ (ต้นน�้ำ) ในแต่ละภาคของประเทศไทย (โดยวิธี Purposive Sampling) จ�ำนวน 22 ราย ผูป้ ระกอบการส่ งออก-น�ำเข้า/ผูข้ ายผลไม้ในตลาด สหภาพเมียนมาร์ (กลางน�้ำ) (โดยวิธี Snowball Sampling) จ�ำนวน 5 ราย และผูบ้ ริ โภคใน ตลาดสหภาพเมียนมาร์ (ปลายน�้ำ) ซึ่งแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มได้แก่ 1) ผูบ้ ริ โภครายย่อย คือ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

41


ซื้ อเพื่อบริ โภค ซึ่ งซื้ อในปริ มาณน้อย (โดยวิธี Purposive Sampling) จ�ำนวน 20 ราย 2) พ่อค้าผูร้ ับซื้ อ คือซื้ อเพื่อขายต่อ ซึ่ งซื้ อในปริ มาณมาก (โดยวิธี Snowball Sampling) จ�ำนวน 7 ราย รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง โดยผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การสังเกต และสัมภาษณ์ เชิ งลึ กแบบเจาะจงกับผูท้ ี่ อยู่ในโซ่ อุปทานดังกล่าว ซึ่ งใช้การวิเคราะห์ ห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply Chain Analysis) เพือ่ ให้เห็นภาพผูท้ ี่อยูใ่ นโซ่อปุ ทานผลไม้สดของ ไทยได้อย่างชัดเจน โดยในการศึกษาโซ่อุปทานนั้นได้ประยุกต์การวิเคราะห์ตามแนวทาง ของ Kaplinsky and Morris (2000) และในการวิเคราะห์ศกั ยภาพการแข่งขันการวางแผน กลยุทธ์เชิ งปฏิบตั ิการได้แก่ การวิเคราะห์โซ่ คุณค่า (Value Chain Analysis) ร่ วมกับ การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) และแบบจ�ำลอง เพชรแห่งความได้เปรี ยบ (Diamond Model)

ผลการศึกษา

จากการศึกษารู ปแบบห่ วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Analysis) ผลไม้สดของ ไทยเพือ่ การส่ งออกสู่ตลาดสหภาพเมียนมาร์ สามารถจ�ำแนกการด�ำเนินงานของผูท้ ี่มีส่วน เกี่ยวข้องในโซ่อุปทานผลไม้สดตามล�ำดับการไหลของสิ นค้า ของหน่วยงานและองค์กร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทาน อาทิ เกษตรกร ผูร้ วบรวมผลผลิต (ล้ง) บริ ษทั ขนส่ งและ ตัวแทนผูส้ ่ งออกของไทย สหกรณ์ นายหน้า ตัวแทนน�ำเข้าผลไม้จากสหภาพเมียนมาร์ พ่อค้าปลีก พ่อค้าส่ ง และผูบ้ ริ โภคในสหภาพเมียนมาร์ โดยจากการศึกษาสามารถเขียน แผนภาพห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Mapping) อุตสาหกรรมส่ งออกผลไม้สดเพื่อการ ส่ งออกของไทยได้ดงั นี้ เกษตรกร/ผูป้ ลูก โรงคัดบรรจุ/ โรงงานแปรรู ป

กลุ่ม/สหกรณ์

ผูร้ วบรวม/พ่อค้าส่ ง

พ่อค้าปลีก ผูบ้ ริ โภคในประเทศ

ผูป้ ระกอบการส่ งออก

ผูน้ าํ เข้าในสหภาพเมียนมาร์

ผูร้ วบรวม/พ่อค้าส่ ง

พ่อค้าปลีก

ผูบ้ ริ โภคในประเทศ

ผูค้ า้ ส่ ง/ค้าปลีกในสหภาพเมียนมาร์

ตลาดการค้าชายแดน

ผูบ้ ริ โภคในสหภาพเมียนมาร์

ตลาดจีน

รู ปที่ 1 Supply Chain Mapping ของอุตสาหกรรมส่งออกผลไม้สดของไทยเพือ่ การส่งออก สู่สหภาพเมียนมาร์ 42

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


จากรู ปที่ 1 แสดงให้เห็นถึงลักษณะส�ำคัญของการมีส่วนร่ วมของผูท้ ี่อยูใ่ นแต่ละ ภาคส่ วนของโซ่ อุปทานผลไม้สดไทย ซึ่ งสามารถอธิ บายถึ งโซ่ อุปทานผลไม้สดใน ภาพรวมของไทยและความเชื่อมโยงของโซ่อุปทานในตลาดสหภาพเมียนมาร์ เพือ่ ให้เห็น ถึงลักษณะการกระจายสินค้าตั้งแต่เกษตรกรผูผ้ ลิตจนถึงผูบ้ ริ โภคในตลาดสหภาพเมียนมาร์ อย่างมีประสิ ทธิภาพซึ่งส่ งผลต่อระดับของประโยชน์ที่แต่ละภาคส่ วนจะได้รับ จากการศึกษาและส�ำรวจพฤติกรรมตลาดและผูบ้ ริ โภคผลไม้ในสหภาพเมียนมาร์ พบว่าในด้านพฤติกรรมตลาดนั้น ผูป้ ระกอบการส่ วนใหญ่ยงั นิยมขายผลไม้ไทย โดยจะ น�ำเข้าผ่านด่านชายแดนที่สำ� คัญต่าง ๆ อาทิ ด่านแม่สาย จังหวัดเชียงราย ด่านแม่สอด จังหวัด ตาก เป็ นต้น ซึ่งเป็ นการน�ำเข้าเพื่อการจ�ำหน่ายภายในประเทศและน�ำเข้าเพื่อส่ งออกไปยัง ประเทศจีน (ที่มีชายแดนติดกับสหภาพเมียนมาร์) นอกจากนี้จากการศึกษาและส�ำรวจตลาด ยังพบว่า ปั จจุบนั ผลไม้จากประเทศจี นได้เข้ามามี บทบาทในตลาดผลไม้ของสหภาพ เมี ยนมาร์ มากขึ้ น อี กทั้งปั จจุ บนั รั ฐบาลสหภาพเมี ยนมาร์ ได้มีนโยบายลดการน�ำเข้า ผลไม้สดจากต่างประเทศ โดยมีนโยบายส่ งเสริ มการบริ โภคผลไม้ภายในประเทศ แต่จาก การสัมภาษณ์ผปู ้ ระกอบการ พบว่า ผูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่ยงั นิยมบริ โภคและให้ความเชื่อมัน่ ต่อผลไม้ไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทุเรี ยน และมังคุด ในการศึกษาถึงพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคและ ทัศนคติของชาวเมียนมาร์ที่มีต่อผลไม้ไทยนั้น พบว่า ผูบ้ ริ โภคในตลาดสหภาพเมียนมาร์ สามารถแบ่งออกเป็ นผูบ้ ริ โภคในตลาดบน และตลาดล่าง โดยผูบ้ ริ โภคในตลาดบนนั้น จะเน้นที่คุณภาพของผลไม้ และตลาดล่างจะเน้นที่ราคาของผลไม้เป็ นหลัก ซึ่งพฤติกรรม การบริ โภคของคนสหภาพเมียนมาร์ยงั สะท้อนหรื อเป็ นการแสดงถึงฐานะทางสังคมอีกด้วย ในการนี้จากการส�ำรวจและการสัมภาษณ์ผบู ้ ริ โภคชาวเมียนมาร์ พบว่า ผูบ้ ริ โภคมีความเชื่อ ว่าทานผลไม้ไทย โดยเฉพาะทุเรี ยนไทยนั้นเป็ นการแสดงถึงฐานะที่ดี ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็ นผล มาจากการที่ผบู ้ ริ โภคชาวเมียนมาร์ ได้รับข้อมูลจากสื่ อไทย เช่น ทีวีไทย และข้อมูลจาก ชาวเมียนมาร์ ที่มาท�ำงานในประเทศไทยแล้วได้มีการน�ำข้อมูลผลไม้ไทยไปเผยแพร่ ใน เมียนมาร์ แต่อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ โภคชาวเมียนมาร์ ในตลาดล่างซึ่ งเน้นราคาของผลไม้ เป็ นหลักยังเป็ นลูกค้ากลุ่มใหญ่ของตลาดผลไม้สดในสหภาพเมียนมาร์ ผลการศึกษาเพื่อน�ำไปสู่ กลยุทธ์ในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการจัดการโซ่อุปทาน ของอุตสาหกรรมการส่ งออกผลไม้สดไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

43


ส่ วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ โซ่ คุณค่ าของผลไม้ สดไทย (Value Chain Analysis) จากการสั ม ภาษณ์ ผูท้ ี่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งในโซ่ อุ ป ทานผลไม้ส ดของไทยเพื่ อ การส่ งออก สามารถน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ถึงกิ จกรรมในการจัดการโซ่ คุณค่าของ อุตสาหกรรมต้นน�้ำตามแนวคิดโซ่คุณค่า (Value Chain Analysis) ดังนี้ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) มีรายละเอียด ดังนี้ 1. โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) แหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการปลูก ผลไม้เศรษฐกิ จนั้น เกษตรกรจะขอกูย้ ืมเงิ นจากสหกรณ์ /ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ (ธกส.) เพื่อลงทุนในการเพาะปลูก โดยซื้ อวัตถุดิบที่ใช้ในการเพาะปลูกจาก ร้านจ�ำหน่ายสิ นค้าเกษตรทัว่ ไปหรื อซื้อผ่านสหกรณ์/ ธกส. ซึ่งอาจซื้อได้ในราคาที่ถกู กว่า ร้านทัว่ ไป โดยจุดแข็งคือ เกษตรกรมีความรู ้ ความช�ำนาญและทักษะในการเพาะปลูก ผลไม้เป็ นอย่างดี แต่จดุ อ่อนคือ เกษตรกรยังไม่มคี วามรู ้หรื อข้อมูลทีถ่ กู ต้องเหมาะสมในการ ให้ปุ๋ยหรื อยาฆ่าแมลง 2. โลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) ในการกระจายสิ นค้ามีผทู ้ ำ� หน้าที่ ในการจัดเก็บ รวบรวม จ�ำหน่ ายสิ นค้าและบริ การไปยังลูกค้าหลายภาคส่ วน ดังนี้ คือ 1) ผูป้ ระกอบการ/ล้ง (ผูร้ วบรวมผลผลิตจากเกษตรกร) โดยทัว่ ไปจะมีหน้าที่ในการรวบรวม ผลผลิตจากเกษตรกรโดยตรง หรื ออาจจะมีนายหน้าในแต่ละหมู่บา้ นติดต่อกับเกษตรกร โดยตรง ล้งจะกระจายผลผลิตไปยังผูค้ า้ ส่ งในตลาดกรุ งเทพฯ ผูค้ า้ ต่างจังหวัด โดยที่ลง้ จะ ด�ำเนินการคัดแยก คัดเกรดเพื่อบริ โภคภายในประเทศหรื อการส่ งออก จัดเรี ยงลงตะกร้า และส่ งมอบเองทั้งหมด 2) นายหน้า (Broker/Supplier) ปั จจุบนั มี 2 ประเภทหลักๆ คือ นายที่เป็ นคนท้องถิ่นหรื อตัวแทนจากบริ ษทั หรื อผูร้ ับซื้ อเพื่อส่ งออก และนายหน้าที่เป็ น บริ ษทั ต่างชาติที่ทำ� การรับซื้ อผลผลิตและส่ งออกไปยังต่างประเทศซึ่ งนายหน้าส่ วนใหญ่ นิ ยมใช้สัญญาซื้ อขายล่วงหน้าในรู ปแบบการท�ำสัญญากับสวน (Contract Farming) ซึ่ ง ส่งผลให้มีผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ดี 3) สหกรณ์ หรื อกลุม่ เกษตร จากการศึกษาและส�ำรวจด้านการตลาดผลไม้สดในภาคตะวันออกของไทย พบว่า ปั จจุบนั สหกรณ์การเกษตรได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการช่วยเหลือเกษตรกร ทั้ง ด้า นการจัด การโซ่ อุ ป ทานและการตลาดผลไม้ส ด โดยสหกรณ์ ต่ า งๆ มี รู ป แบบ การด�ำเนินการแตกต่างกันขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของผูน้ ำ� และสมาชิกของกลุ่ม รวมถึงข้อจ�ำกัด ด้านการด�ำเนิ นงานต่างๆ ทั้งนี้ ยงั พบว่า สหกรณ์ส่วนใหญ่จะท�ำหน้าที่เหมือนตัวกลาง ในการส่ งเสริ มการตลาดเท่านั้น แต่บางแห่งจะมีการน�ำหลักการจัดการด้านการตลาด และ การจัดการโซ่อุปทานเข้ามาใช้ในการด�ำเนินการ รวมถึงความร่ วมมือกับห้างสรรพสิ นค้า ผูป้ ระกอบการส่ งออก หรื อโรงงานคัดบรรจุเพื่อส่ งต่อให้กบั ผูค้ า้ ส่ งออกต่อไป 44

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


3. การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) ด้วยทุเรี ยนและมังคุดถือว่าเป็ น ผลไม้เศรษฐกิ จที่ส�ำคัญของไทย เป็ นที่ยอมรับของผูบ้ ริ โภคทั้งในและต่างประเทศว่า มี คุณภาพและรสชาติ ดี ส่ งผลให้มีแนวโน้มในการส่ งออกไปต่างประเทศสู งมาก จึ ง เป็ นการขายแบบไม่มีการส่ งเสริ มการขายหรื อโฆษณาใด ๆ ซึ่ งนี้ คือจุ ดอ่อนที่ ส�ำคัญ ผลไม้ไทย ไทยจึงควรสร้างเอกลักษณ์และตราสิ นค้าของผลไม้ไทยให้มีความโดดเด่น เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคจดจ�ำได้ง่าย 4. การบริ การหลังการขาย (After-Sales Services) โดยทัว่ ไปในการส่ งออก ผลไม้ไทยไปต่างประเทศ มีเพียงผูป้ ระกอบการบางราย (รายใหญ่) เท่านั้นที่จะท�ำการ ตรวจสอบกับทางผูน้ ำ� เข้าหรื อพ่อค้าส่ งในเมียนมาร์ ถึงคุณภาพของผลไม้ที่ได้รับ เช่ น คุ ณภาพของผลไม้ตรงตามความต้องการหรื อไม่ เกิ ดความเสี ยหายต่อผลไม้ระหว่าง การขนส่ งหรื อไม่ เป็ นต้น ซึ่งจุดอ่อนคือ ผูป้ ระกอบการไม่มีการรับหรื อส�ำรวจ feedback จากผูน้ ำ� เข้า/พ่อค้า กิจกรรมสนับสนุน มีรายละเอียด ดังนี้ 1. การจัดซื้อ-จัดหา (Procurement) เกษตรกรจะจัดซื้อวัตถุดิบและอุปกรณ์ต่างๆ ในการเพาะปลูกจากเกษตรกรด้วยกันหรื อร้านจ�ำหน่ายสิ นค้าเกษตรทัว่ ไป บางครั้งอาจซื้อ จากสหกรณ์/ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์เนื่องจากได้ราคาที่ถกู กว่า จากการศึกษา พบว่า จุดแข็งคือ เกษตรกรเน้นจัดซื้อวัตถุดิบ (ปุ๋ ย สารเคมีที่จำ� เป็ น) ที่เคยใช้มาก่อนเท่านั้น จุดอ่อนคือ เกษตรกรไม่ยอมใช้วตั ถุดิบชนิดอื่น (ยีห่ อ้ ใหม่) ที่อาจท�ำให้ได้ผลผลิตมากขึ้น และมีคุณภาพ 2. การพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Development) มีเพียงเกษตรกรบางกลุ่ม ที่ มี ก ารใช้เ ทคโนโลยีเ ข้า มาช่ ว ยในการเพาะปลู ก และดู แ ลผลผลิ ต เช่ น เทคนิ ค การ ตัดแต่งดอก เทคนิ คในการเร่ ง/กระตุน้ ผลผลิต เป็ นต้น เกษตรกรบางกลุ่มได้รับข้อมูล ความรู ้จากสหกรณ์/หรื อส�ำนักงานเกษตรจังหวัดที่ให้คำ� แนะน�ำในการเพาะปลูก ดูแลล�ำต้น เพื่อเพิ่มผลผลิตและผลผลิตได้คุณภาพ รวมทั้งการลดต้นทุนการผลิต พบว่าจุดแข็งคือ เกษตรกรบางกลุ่มที่ได้รับความรู ้เหล่านั้นน�ำความรู ้ที่ได้มาพัฒนาผลผลิตของต้น จุดอ่อน คือ เกษตรกรบางกลุ่มเข้าไม่ถึงหรื อไม่ได้รับข้อมูลความเหล่านั้น 3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) แรงงานในการ ดูแลสวนและเก็บเกี่ยวหายาก ในบางช่วงขาดแคลนแรงงาน เช่น ฤดูการท�ำนา ทั้งยังมีปัญหา ค่าตอบแทนที่ เพิ่มสู งขึ้ น โดยจะจ้างแรงงานจากในหมู่บา้ นใกล้เคี ยงหรื อคนต่ างถิ่ น (ส่ ว นน้อ ย) ซึ่ งพบจุ ด แข็ง คื อ แรงงานในการเก็ บ เกี่ ย วไม่ จ �ำ เป็ นต้อ งมี ค วามรู ้ ใ น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

45


การเพาะปลูกและการเก็บเกี่ยวมากนัก จึงสามารถเปลี่ยนแรงงานใหม่ได้ ส่ วนจุดอ่อนนั้น แรงงานมีจำ� นวนน้อย หายากและค่าจ้างแพง 4. โครงสร้ างพื้นฐานองค์กร (Firm Infrastructurd) ด้านการเงิ น เกษตรกร ส่ ว นใหญ่ จ ะกู้เ งิ น จากสหกรณ์ /ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) ในการ ซื้อต้นกล้าและวัตถุดิบในการเพาะปลูกต่างๆ เช่น ต้นกล้า ปุ๋ ย ยาฆ่าแมลง สารเคมีที่จำ� เป็ น ฯลฯ โดยเกษตรกรจะจ่ายเงินกูแ้ ละดอกเบี้ยคืนให้สหกรณ์เมื่อน�ำผลผลิตไปขายให้สหกรณ์ หรื อขายผ่านพ่อค้าคนกลาง/ผูร้ วบรวมได้ (ในบางครั้งอาจกูจ้ ากผูร้ วบรวมรายใหญ่ และ จ่ายคืนด้วยวิธีการหักจากยอดที่ขายได้) จุดแข็ง พบว่า ผลไม้สามารถขายได้แน่นอน มีผซู ้ ้ือ/ แหล่งรับซื้ อที่มนั่ คง จุดอ่อนคือ เกษตรกรต้องน�ำทรัพย์สินมาค�้ำประกันและเสี ยดอกเบี้ย ให้กบั ผูใ้ ห้กู้ ในด้านระบบข้อมูล เกษตรกรได้รับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ในการเพาะปลูกจาก สหกรณ์ที่เข้าร่ วม หรื อจากผูป้ ระกอบการส่ งออกรายใหญ่ท่ีเข้ามาท�ำสัญญา Contract Farming หรื อจากภาครัฐ เช่น ส�ำนักงานเกษตรจังหวัด แต่เกษตรกรยังไม่ได้ขอ้ มูลข่าวสาร ด้านราคาที่ครบถ้วน รวมถึงข้อมูลความต้องการของตลาด และด้านการจัดการทัว่ ไป เกษตรกรไม่มีการรวมกลุ่มหรื อสร้างเครื อข่ายในการเรี ยกร้องสิ ทธิ ประโยชน์ต่างๆ จาก พ่อค้าคนกลาง/ผูร้ วบรวม/สหกรณ์หรื อจากภาครัฐ มีเพียงเกษตรกรบางกลุม่ เท่านั้นที่มีการ รวมกลุ่มแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู ้ต่อกัน จากข้อมูลข้างต้น สามารถสรุ ปเป็ นแผนภาพการวิเคราะห์โซ่คุณค่าเพือ่ เพิม่ มูลค่า ให้กบั ผลไม้ไทยได้ดงั นี้ 1. เกษตรกรควรรวมกลุ่ม/เครื อข่าย ทั�งกลุ่มผูป้ ลูกและกลุ่มผูร้ ับซื�อ เพื�อต่อรองราคา และมีประโยชน์ร่วมกัน 2. เกษตรกรควรหาความรู ้ในการพัฒนาคุณภาพของผลผลิตให้ได้มาตรฐาน เพื�อการส่ งออกที�มากขึ�น 3. เกษตรกรต้องพัฒนาและปรับปรุ งพันธุ์ในการเพาะปลูก เพื�อลดความเสี ยหายระหว่างการผลิต 4. เกษตรกรมีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการตลาด

ระดับ กลางนํ�า

1. ผูป้ ระกอบการให้ความสําคัญกับมาตรฐานความปลอดภัย รวมถึงการตรวจสอบย้อนกลับ เช่น GMP / Q 2. ผูป้ ระกอบการควรทําการสํารวจพฤติกรรมของตลาดและผูบ้ ริ โภค 3. ผูป้ ระกอบการควรเข้าไปมีบทบาทหรื อมีส่วนร่ วมในการค้าสมัยใหม่ (ห้างสรรพสิ นค้า) 4. ผูป้ ระกอบการให้ความร่ วมมือระหว่างโซ่อุปทาน และนําเทคโนโลยีดา้ นโลจิสติกส์มาใช้ 5. เร่ งพัฒนาศักยภาพระบบขนส่ งสิ นค้าเกษตรกรแบบครบวงจร 6. สร้างภาพลักษณ์หรื อเพิ�มมูลค่า เช่น สร้างตราสิ นค้าไทยให้มีความโดดเด่นและจดจําง่าย

ระดับ ปลายนํ�า

1. ความสอดคล้องของ Product flow, Information flow, Relationship flow 2. ความพึงพอใจของลูกค้า และจงรักภักดีต่อสิ นค้า 3. สร้างคุณค่าของผลไม้ไทย

มูลค่าเพิ�ม

ระดับ ต้นนํ�า

รู ปที่ 2 การวิเคราะห์โซ่คุณค่าผลไม้สดไทยเพื่อหาแนวทางในการเพิม่ มูลค่า 46

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ส่ วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของอุตสาหกรรมการส่ งออกผลไม้ สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ จากการศึกษาโซ่อปุ ทานผลไม้สดของไทย รวมถึงแนวโน้มพฤติกรรมธุรกิจและ ผูบ้ ริ โภคในตลาดสหภาพเมียนมาร์พบว่า ประเทศไทยยังต้องให้ความส�ำคัญกับการน�ำการ จัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมส่ งออกผลไม้สดในเชิงยุทธศาสตร์ เพือ่ มาใช้ในการเสริ มสร้ างโอกาสทางการค้าและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของโซ่ อุปทานในการ ส่ งออกผลไม้ของไทย ในส่ วนนี้ จึงใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis เพื่อประเมินหา แนวทางการแก้ไขในด้านที่เป็ นจุดอ่อนและอุปสรรคของโซ่อุปทาน โดยสามารถสรุ ปใน แต่ละด้านดังนี้ ตารางที่ 1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของ โซ่อุปทานการส่ งออกผลไม้สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ 1. จุดแข็ง (Strengths)

ทุเรียน มังคุด

ต้นน�้ำ 1. ภูมิประเทศและภูมิอากาศของประเทศไทยเหมาะสม ส�ำหรับปลูกผลไม้เมืองร้อนที่สำ� คัญทางเศรษฐกิจของ ตลาดโลก ท�ำให้ผลผลิตผลไม้เมืองร้อนของประเทศไทย นั้น มีคุณภาพและปริ มาณที่ดีกว่าประเทศอื่นในอาเซียน ทั้งในและนอกฤดูกาล

2. เกษตรกรที่ ท ำ� การเพาะปลู ก ผลไม้ใ นไทยมี ค วามรู ้ ประสบการณ์ แ ละความช�ำ นาญในการจัด การดู แ ล สวนผลไม้เป็ นอย่างดี เนื่ องจากเกษตรกรส่ วนใหญ่ ท�ำเกษตรแบบรุ่ นสู่รุ่นมานานท�ำให้มที กั ษะความช�ำนาญ ค่อนข้างสูง

3. มีระบบการคัดแยกคุณภาพและการบรรจุภณ ั ฑ์ที่อยูใ่ น เกณฑ์ดี จึงสามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลไม้ได้ และง่าย ต่อการขนส่ งในปริ มาณมาก

4. มี วิธี ห รื อ เทคโนโลยีก ารเก็บ เกี่ ย วผลผลิ ต ที่ ดี ท�ำ ให้ ผลไม้มีความเสี ยหายจากการเก็บเกี่ยวต�่ำ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

47


ตารางที่ 1 (ต่อ) 1. จุดแข็ง (Strengths) 5. มี ก ารจัด ตั้ง กลุ่ ม สหกรณ์ ห รื อ กลุ่ ม เกษตรกร ท�ำ ให้ สามารถช่วยเพิ่มอ�ำนาจในการต่อรอง

6. ผลไม้ไทยได้รับมาตรฐานและการยอมรับของผูบ้ ริ โภค ทั้งในและต่างประเทศว่ามีคุณภาพดี

กลางน�้ำ 1. เส้นทางขนส่ งภายในประเทศถื อว่ามี ศกั ยภาพอยู่ใน เกณฑ์ที่ดี ท�ำให้การขนส่ งท�ำได้ง่ายอีกทั้งยังท�ำให้เกิด การเสี ยหายจากการขนส่ งของผลไม้ต่ำ�

2. ผูบ้ ริ โภคทั้งในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการ ที่สูง

3. ผูบ้ ริ โภคมีความเชื่อมัน่ ในผลไม้ไทย

2. มีโรงงานแปรรู ปที่หลากหลาย ท�ำให้สามารถเพิม่ มูลค่า ของผลไม้ได้และยังเป็ นที่รองรับของผลไม้ที่มีเกรดต�่ำ กว่าเกรดที่สามารถส่ งออกได้ 3. มีพอ่ ค้าคนกลางมารับซื้ อสิ นค้าจากสวนโดยตรงท�ำให้ เกษตรกรสะดวกในการขายผลไม้อีกทั้งการเก็บเกี่ ยว ส่ วนมากทางพ่อค้าจะเป็ นคนจัดหาคนงานมาท�ำการ เก็บเกี่ยวด้วยตนเอง 4. ทางภาครัฐมีการก�ำหนดเกณฑ์คุณภาพของผลไม้ที่จะ ส่ งออกมาให้แก่ เกษตรกรและมี การเผยแพร่ วิธีปลูก ผลไม้ให้มีคุณภาพเพือ่ การส่งออกท�ำให้เกษตรกรได้รับ ข้อมูลส�ำหรับการวางแผนด้านการจัดการได้ดียงิ่ ขึ้น ปลายน�้ำ 1. ผูบ้ ริ โภคสามารถเข้าถึงผลไม้ได้ง่าย

48

ทุเรียน มังคุด

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ตารางที่ 1 (ต่อ) 2. จุดอ่ อน (weakness)

ทุเรียน มังคุด

ต้นน�้ำ 1. เกษตรกรส่ วนใหญ่ไม่ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการเกษตร อย่ า งเพี ย งพอ โดยเฉพาะในเรื่ องพฤติ ก รรมและ ความต้องการของผูบ้ ริ โภค

2. พื้นที่ทางการเกษตรของผลไม้บางชนิด มีจำ� นวนลดลง ในทุกปี

3. เกษตรกรไม่มีการพัฒนาหรื อวางแผนการเพาะปลูก อย่างเป็ นระบบ

4. มี ความซ�้ำซ้อนในการปลูกผลไม้ชนิ ดเดี ยวกันท�ำให้ ผลไม้มีมากและราคาถูกกว่าที่ควรจะเป็ น

7. เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่อยูใ่ กล้กนั หากเกิดภัย พิบตั ิทางธรรมชาติหรื อโรคระบาดของผลไม้จะท�ำให้ สูญเสี ยอย่างมาก

8. ผลไม้บ างชนิ ด นั้น ต้อ งใช้ส ารเคมี ใ นการเก็ บ รั ก ษา เกิดค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น

5. ปัจจุบนั เกษตรกรส่ วนใหญ่ยงั ไม่ได้มีการน�ำเทคโนโลยี มาใช้มากนัก 6. ปั ญหาการขาดแคลนแรงงาน

9. ใช้ ร ะยะเวลาในการปลู ก จนถึ ง ระยะเก็ บ เกี่ ย วใช้ ระยะเวลานาน 10. ผลไม้บางชนิดมีโรคร้ายแรงที่อาจท�ำให้ผลผลิตเสี ยหาย อย่างมาก 11. ต้นทุน ปัจจัยการผลิตที่จำ� เป็ นมีราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

12. เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ย งั ขาดความรู ้ ค วามสามารถใน การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานอย่างมีประสิทธิภาพ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

49


ตารางที่ 1 (ต่อ) 2. จุดอ่ อน (weakness) (ต่อ)

50

ทุเรียน มังคุด

กลางน�้ำ 1. พ่ อ ค้า คนกลางยัง ขาดความรู ้ แ ละความเข้า ใจใน พฤติ กรรมการเลื อกซื้ อและทัศนคติ ของผูบ้ ริ โภคใน ตลาดต่างประเทศต่อผลไม้ของไทย

2. รัฐบาลไม่มีการก�ำหนดราคากลางของผลไม้

3. ขาดแคลนแรงงาน (โดยเฉพาะฤดูกาลเพาะปลูก คนงาน จะกลับไปท�ำการเกษตรที่บา้ น)

4. ไม่มีการควบคุมปริ มาณหรื อพื้นที่การผลิตท�ำให้ผลไม้ ล้นตลาดหรื อขาดตลาดในบางปี

5. การขนส่ งทางบกโดยรถบรรทุกนั้นมีค่าใช้จ่ายที่สูง

6. ปั ญหาข้อจ�ำกัดด้านการให้บริ การของด่านชายแดนทั้ง ในประเทศและด่านคู่คา้

7. การวิจยั เพื่อพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ในผลไม้เศรษฐกิ จยังมี ไม่มากนัก

8. ขาดความรู ้ความสามารถในการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานอย่างมีประสิ ทธิภาพ

9. โอกาสที่ผลผลิตจะเน่าเสี ยก่อนถึงมือผูบ้ ริ โภคมีมากขึ้น (จากปั จจัยต่าง ๆ)

ปลายน�้ำ 1. ผลไม้นอกฤดูกาลยังไม่มีเสถียรภาพด้านปริ มาณและ ราคาจึงมีผลต่อการวางแผนด้านการตลาด

2. ผลไม้จากต่างประเทศ อาทิ ประเทศจีนเข้ามาแข่งขันใน ตลาดเป็ นอย่างมากในปัจจุบนั

3. ราคาผลไม้จ ากสวนจนถึ ง ผูบ้ ริ โ ภคมี ค วามแตกต่ า ง กันมาก

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ตารางที่ 1 (ต่อ) ทุเรียน มังคุด

2. จุดอ่ อน (weakness) (ต่อ) 4. ปั ญหาด้านการจัดการโลจิสติกส์ขาออก

5. มีการปลอมปนของผลไม้เกรดไม่ดีมาในผลไม้เกรดดี

 

3. โอกาส (Opportunities) ต้นน�้ำ 1. เกษตรกรในสหภาพเมียนมาร์ ยงั ขาดความรู ้และทักษะ ในการเพาะปลูก

2. พื้นที่เพาะปลูกและคุณภาพของดินในสหภาพเมียนมาร์ มีขอ้ จ�ำกัดในการเพาะปลูกผลไม้ ทั้งยังมีอยูอ่ ย่างจ�ำกัด อีกด้วย

กลางน�้ำ 1. ในการส่งออกผลไม้สู่สหภาพเมียนมาร์มีโอกาสมากขึ้น ในการส่ งออกต่อไปยังผูบ้ ริ โภคประเทศจี นและเพื่อ บริ โภคในเมียนมาร์

2. ปัจจุบนั มีเส้นทางการค้าที่เชื่อมต่อสู่ประเทศเพื่อนบ้าน หลายเส้นทาง

3. ตลาดหลัก ในการส่ ง ออกผลไม้ข องไทยคื อ จี น โดย เส้นทางขนส่งทางถนนต้องผ่านสหภาพเมียนมาร์จึงเป็ น โอกาสทางการค้าที่น่าสนใจ

ปลายน�้ำ 1. ผูบ้ ริ โภคในตลาดเมียนมาร์ มีความเชื่ อมัน่ ในคุณภาพ ผลไม้ของไทย

2. การค้าสมัยใหม่อาทิ Supermarket เริ่ มมีบทบาทมากขึ้น ในเมืองเศรษฐกิจหรื อเมืองการค้าที่สำ� คัญในเมียนมาร์ จึงถือเป็ นโอกาสที่ดีในการขยายตลาดผลไม้สู่ สหภาพ เมียนมาร์

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

51


ตารางที่ 1 (ต่อ) 3. โอกาส (Opportunities) (ต่อ)

ทุเรียน มังคุด

3. ผูบ้ ริ โภคจากสหภาพเมียนมาร์ได้รับข้อมูลข่าวสารจาก สื่ อโดยเฉพาะทีวไี ทย และวิทยุไทย รวมถึงชาวเมียนมาร์ ที่มาท�ำงานในประเทศไทยท�ำให้สินค้าไทยเป็ นที่นิยม ในระดับหนึ่ง

4. จากข้อ มูลการส่ ง ออกผลไม้พบว่าผลไม้ส่วนใหญ่ มี แนวโน้ม ต้อ งการของผูบ้ ริ โ ภคในทั้ง ตลาดภายใน ประเทศและตลาด re-export ของสหภาพเมี ยนมาร์ เพิ่มขึ้น

5. เมื่ อเปิ ดประชาคมอาเซี ยน (AEC) มี โอกาสที่ ตลาด ผูบ้ ริ โภคจะขยายตัวมากขึ้น โดยมีกรอบการค้าเสรี เป็ น ตัวสนับสนุนการค้า

2. ขาดการเพิ่มมูลค่าของไทย เช่น ตราสิ นค้า

กลางน�้ำ 1. ถนนที่ใช้เชื่ อมต่อในการค้าชายแดนของไทยระหว่าง และสหภาพเมียนมาร์ยงั ไม่ได้มาตรฐานท�ำให้ผลไม้เสี ย หายใช้เวลาในการขนส่ งนานขึ้น

2. ปั ญหาข้อจ�ำกัดด้านการให้บริ การของด่านชายแดนทั้ง ในประเทศและด่ านคู่ คา้ ที่ ปัจจุ บนั ระบบการจัดการ โลจิ ส ติ ก ส์ ย ัง ขาดความเป็ นสากล (มาตรฐาน ความปลอดภัย การเรี ยกเก็บค่าคุม้ ครอง)

4. อุปสรรค (Threats) ต้นน�้ำ 1. รัฐบาลของสหภาพเมียนมาร์มีนโยบายและโครงการใน การพัฒ นา ส่ ง เสริ มการผลิ ต และการตลาดผลไม้ เศรษฐกิจในเชิงพาณิ ชย์มากขึ้น

52

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ตารางที่ 1 (ต่อ) ทุเรียน มังคุด

4. อุปสรรค (Threats) (ต่อ) 3. สหภาพเมียนมาร์ มีมาตรการในการจ�ำกัดปริ มาณน�ำเข้า สินค้าเพือ่ แก้ไขปัญหาการขาดดุลการค้าท�ำให้มลู ค่าและ ปริ มาณการส่ งออกไม่แน่นอน

4. การเปิ ดเสรี ทางด้านการค้าและการลงทุนอาจส่ งผลให้ ชาวต่ า งชาติ เ ข้า มาเปิ ดจุ ด รั บ ซื้ อ ในประเทศ ท�ำ ให้ เกษตรกรมีช่องทางจ�ำหน่ ายมากขึ้น แต่ส่งผลเสี ยต่อ ผูป้ ระกอบการจุดรับซื้อที่มีอยูแ่ ล้วในประเทศไทย

5. มีการแข่งขันจากประเทศคู่แข่ง เช่น ผลไม้จากจีน

ปลายน�้ำ 1. ผลไม้ที่นำ� เข้าจากจี นมีราคาถูกกว่าผลไม้ท่ีนำ� เข้าจาก ประเทศไทย

2. ข้ อ มู ล พฤติ ก รรมผู ้บ ริ โภคในสหภาพเมี ย นมาร์ ยังไม่ชดั เจนมากนัก

3. สหภาพเมี ยนมาร์ มีการกี ดกันทางการค้าที่ ไม่ ใช่ ภาษี (NTB) เช่น นโยบายส่ งเสริ มการบริ โภคผลไม้ภายใน ประเทศ

สามารถสรุ ปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคข้างต้นได้ว่า โซ่อุปทานผลไม้สดของไทยยังไม่มีประสิ ทธิภาพมากนัก โดยเฉพาะความเชื่อมโยงระบบ การจัดการโลจิ สติกส์ และโซ่ อุปทานระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงหน่ วยงาน สนับสนุนแต่ในขณะเดียวกันก็มีโอกาสการค้าเกิดขึ้น โดยเฉพาะขนาดของตลาดที่เพิม่ ขึ้น ส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการไทยสามารถเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของผูไ้ ด้ประโยชน์จากการเป็ น ประชาคมอาเซียน โดยมีภาครัฐคอยให้ความช่วยเหลือในด้านการลดอุปสรรคและข้อจ�ำกัด ดังกล่าว

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

53


ส่ วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ ศักยภาพเพือ่ สร้ างความสามารถในการแข่ งขันของ อุตสาหกรรมการส่ งออกผลไม้ สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ โดยใช้ Diamond Model ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ทำ� การสัมภาษณ์ผทู ้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องในโซ่ อุปทาน ผลไม้สดของไทยในการส่ งออก เพื่อรวบรวมความคิ ดเห็ นมาประกอบการวิเคราะห์ ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน เพือ่ ให้เห็นถึงโอกาสความได้เปรี ยบและแนวทาง การปรับตัวของผูท้ ี่อยูใ่ นแต่ละภาคส่ วนของโซ่อุปทาน รวมถึงนโยบายและบทบาทของ ภาครัฐในการช่วยเหลือ ซึ่ งในการประเมินความสามารถครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ใช้แบบจ�ำลอง การวิเคราะห์ Diamond Model ของ Micheal E.Porter โดยกรอบการวิเคราะห์แบบจ�ำลอง Diamond Model ที่นำ� มาใช้ในครั้งนี้เพือ่ ประเมินหาสภาวการณ์ปัจจุบนั ของปัจจัยแวดล้อม ที่สำ� คัญของอุตสาหกรรมส่งออกผลไม้สดของไทย ซึ่งใช้เกณฑ์การวิเคราะห์องค์ประกอบ 5 ด้าน ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านปัจจัยการผลิต (Factor Condition) 2) องค์ประกอบด้านอุปสงค์ (Demand Conditions) 3) อุตสาหกรรมเชื่อมโยงและการสนับสนุน (Related and Supporting Industries) 4) บริ บทของการแข่งขันและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Context for Firm strategy and Rivalry) 5) นโยบายจากภาครัฐ (Government Policy) จากการวิเคราะห์ ความได้เปรี ยบในการแข่งขันในครั้ งนี้ เป็ นการวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบอุตสาหกรรมส่ งออกผลไม้สดของไทยในตลาดสหภาพเมียนมาร์ โดยเป็ น ผลการศึกษาที่ได้จากการลงพื้นที่สำ� รวจ เก็บข้อมูล และทบทวนวรรณกรรม ซึ่งสามารถ สรุ ปตามองค์ประกอบต่าง ๆได้ดงั นี้

54

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

55

อุตสาหกรรมต่ อเนื�อง และสนับสนุน

ยุทธศาสตร์ , โครงสร้ าง และบริบทการแข่ งขัน

ปัจจัยด้ านอุปสงค์

รัฐบาล

+ มีนโยบายด้านการส่ งเสริ มการค้าระหว่างประเทศ + มีการลดภาษีนาํ เข้า-ส่ งออกระหว่างประเทศ + มีความร่ วมมือในระดับประเทศด้านการนําเข้า-ส่ งออกผลไม้ + มีการส่ งเสริ มและสนับสนุนผูป้ ระกอบการในการส่ งออก ผลไม้ไทย + มีการส่ งเสริ มการวิจยั เพื�อพัฒนาการลงทุนด้านระบบโลจิสติกส์ + มีนโยบายการกําหนดมาตรฐานส่ งออกผลผลิตที�ชดั เจนและมีคุณภาพ เป็ นที�น่าเชื�อถือของตลาดต่างประเทศ + มีการสนับสนุนการพัฒนาแรงงานและการทําการวิจยั เพื�อพัฒนา (Research &Development) - นโยบายการประกันราคาผลผลิตทางการเกษตรของภาครัฐมีความ ผกผันอย่างรวดเร็ วและไม่ต่อเนื�อง - ข้อจํากัดในการเชื�อมโยงและประสานงานของหน่วยงานรัฐบาล

+ จากข้อมูลการส่ งออกที�ผ่านมา ทําให้ทราบว่าสหภาพเมียนมาร์ และจี นเป็ นตลาดหลักที�มีแนวโน้มการ ส่ งออกผลไม้สดจากไทยเพิ�มขึ�นทุกปี + รายได้ต่อประชากร (GDP Per Capita) มีทิศทางเพิ�มขึ�น แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มในการขยายตัวของความ ต้องการซื�อภายในประเทศ + ผูบ้ ริ โภคในสหภาพเมียนมาร์และจีนนิยมบริ โภคผลไม้ไทย แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มในการขยายตัวของ ความต้องการซื�อของตลาดต่างประเทศ - ตลาดการซื�อขายในแห่งสหภาพเมียนมาร์ มีขนาดเล็กและมีอตั ราการเติบโตน้อยและกําลังซื�อน้อย

+ สหภาพเมียนมาร์มีการนําเข้าผลไม้สดของไทยอย่างต่อเนื�อง + ผูน้ าํ เข้าผลไม้สดจากไทยของสหภาพเมียนมาร์ มีศกั ยภาพในการ ส่ งต่อผลไม้สดไปยังประเทศจีน + ประเทศไทยมีเส้นทางการส่ งออกสิ นค้าไปยังประเทศเพื�อนบ้าน หลายเส้นทาง - เส้นทางการโทรคมนาคมทางการค้าชายแดนไม่ได้มาตรฐาน - ข้อจํากัดด้านสิ� งอํานวยความสะดวกทางการค้า และประสิ ทธิ ภาพ ในการจัดการระบบห่ วงโซ่อุปทานแบบครบวงจรตั�งแต่อุตสาหกรรม ต้นนํ�า กลางนํ�า และปลายนํ�า - ขาดปั จจัยอํานวยความสะดวกสําหรับอุตสาหกรรมปลายนํ�า

ปัจจัยด้ านการผลิต

+ ภูมิประเทศและภูมิอากาศในประเทศไทยเหมาะแก่การปลูกผลไม้ ทํา ให้ได้ผลผลิตที�มีคุณภาพทั�งในและนอกฤดูกาล + เกษตรกรมีความรู ้และความเชี� ยวชาญในการเพาะปลูก ซึ� งเป็ นทักษะ การทําการเกษตรที�มีมานาน มีการถ่ายทอดความรู ้แบบรุ่ นสู่รุ่น + การคัดแยกคุณภาพและการบรรจุภณั ฑ์มีมาตรฐานเป็ นที�ยอมรับสากล + มีเทคโนโลยีในการเก็บเกี�ยวผลผลิตที�ดี + ความร่ วมมือของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ส่งผลให้เกิ ดการพัฒนา คุณภาพการดําเนินงาน และเกิดการแลกเปลี�ยนความรู ้ดา้ นการผลิตอย่าง ต่อเนื�อง + เส้นทางการคมนาคมขนส่ งที�สะดวกช่วยลดความเสี ยหายขณะขนส่ ง - พื�นที�ทาํ การเพาะปลูกลดลงทุกปี ส่ งผลต่อการลดจํานวนของผลผลิต - โรคร้ายที�เกิดขึ�นในการปลูกทุเรี ยน ทําให้เกิดความเสี ยหายในผลผลิต - ราคาปุ๋ ยและสารเคมีที�จาํ เป็ นมีราคาสูงขึ�น ทําให้ตน้ ทุนการผลิตสูงขึ�น - ระยะเวลาในการปลูกจนถึงระยะเก็บเกี�ยวของทุเรี ยนใช้เวลานาน - การวิจยั เพื�อพัฒนาและการเพิ�มคุณภาพของผลผลิตยังมีนอ้ ย

+ มีความร่ วมมือและการลงทุนจากประเทศต่างๆ นําเทคโนโลยี ใหม่เข้ามา + มีการกําหนดนโยบายสนับสนุ นด้านสิ นค้าทางการเกษตรที� มี ความชัดเจนและอยูใ่ นทิศทางเดียวกัน โอกาส + สร้างกฎเกณฑ์สาํ หรับพ่อค้าคนกลางและกําหนด มาตรฐานของคุณภาพสิ นค้าให้อยูใ่ นระดับสากล - การแข่ ง ขัน กับ ต่ า งประเทศมี แ นวโน้ม ที� สู ง ขึ� น เนื� อ งจากการ แข่งขันของธุรกิจภายในประเทศมีศกั ยภาพตํ�า - ตลาดมีโอกาสแข่งขันสูงจากการเปิ ดประชาคมอาเซียน

รู ปที่ 3 ผลสรุ ปการวิเคราะห์แบบจ�ำลองเพชรของโซ่อุปทานผลไม้ไทยเพื่อการส่ งออกสู่ตลาดสหภาพเมียนมาร์


ทั้งนี้ จากการศึ กษาโอกาสและอุปสรรคผลไม้สดของไทยในตลาดสหภาพ เมียนมาร์ และการวิเคราะห์ศกั ยภาพเพือ่ สร้างความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม การส่ งออกผลไม้สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ โดยใช้ Diamond Model ดังที่ กล่าวข้างต้น ท�ำให้สามารถสรุ ปถึงแนวโน้มและโอกาสในการส่ งออกผลไม้สดไทยได้วา่ ทุเรี ยนของไทยถือเป็ นผลไม้ที่อยูใ่ นเกณฑ์ที่มีโอกาสและทิศทางการส่ งออกที่ดี สามารถ แข่งขันกับต่างประเทศได้สูง แต่สำ� หรับมังคุดของไทยนั้น ถึงแม้แนวโน้มในการส่ งออก ไปสู่ ตลาดสหภาพเมียนมาร์ จะลดลงอย่างต่อเนื่ อง แต่แนวโน้มในการส่ งออกไปสู่ ตลาด ประเทศจีนกลับเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็ นสัญญาณที่ดีในการส่ งออกมังคุดสดของไทย ดังรู ปที่ 4

รู ปที่ 4 การวิเคราะห์ศกั ยภาพการส่ งออกผลไม้สดของไทยในตลาดสหภาพเมียนมาร์

สรุป และข้ อเสนอแนะจากการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ ได้ทำ� การศึกษารู ปแบบโซ่อปุ ทานผลไม้สดของไทยในการสร้าง ความได้เปรี ยบทางการแข่งขันเพือ่ ท�ำการส่งออกผลไม้สดของไทยสู่ตลาดสหภาพเมียนมาร์ โดยสามารถสรุ ปแนวทางของผูเ้ กี่ยวข้องในแต่ละโซ่อุปทาน ได้ดงั นี้ ระดับ ต้ น น�้ำ ในระดับ ต้น น�้ำ พบว่า แนวทางในการสร้ า งความสามารถใน การแข่งขันนั้น ควรส่ งเสริ มการรวมกลุ่มของเกษตรกร/ผูป้ ลูกให้มีความเข้มแข็ง เพื่อ การแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู ้ในการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพผลผลิต สร้างอ�ำนาจต่อรองใน ราคาขาย ทั้งยังช่วยลดต้นทุนการผลิต และควรส่ งเสริ มให้เกษตรกร/ผูป้ ลูกมีความรู ้เรื่ อง 56

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ความต้องการของตลาดมากขึ้น เพื่อให้ผปู ้ ลูกสามารถคาดการณ์การผลิตให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดเพื่อป้ องกันปั ญหาเดิ ม ๆ ที่ เกิ ดจากการผลิ ตจนล้นตลาดหรื อ ขาดตลาดในบางปี ภาครัฐหรื อหน่วยงานสนับสนุนควรเข้ามาให้ความช่วยเหลือด้านการ ปรับปรุ งพัฒนาพันธุ์และการลดต้นทุนในการเพาะปลูก ทั้งเกษตรกร/ผูป้ ลูกเองควรให้ ความสนใจในการพัฒนาและปรับปรุ งคุณภาพของผลผลิตให้ได้คณ ุ ภาพตรงตามมาตรฐาน การส่งออกและควรก�ำหนดราคากลางในการซื้อขายให้เหมาะสมคุณภาพและความต้องการ ของตลาด ระดับกลางน�ำ้ พ่อค้าคนกลาง/ผูร้ วบรวม/สหกรณ์/ผูป้ ระกอบการส่ งออก-น�ำเข้า ซึ่ งเป็ นระดับกลางน�้ำนั้น ควรเร่ งสร้างมาตรฐานความปลอดภัย รวมถึงการพัฒนาระบบ ตรวจสอบการย้อนกลับไปยังเกษตรกรเพื่อสร้างความเชื่ อถือต่อลูกค้า/ผูบ้ ริ โภคอีกทั้ง ควรเร่ งพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพความสามารถด้าน Logistics ทั้งระบบเพือ่ ยกระดับคุณภาพ มาตรฐานและเป็ นการช่ วยลดต้นทุนการขนส่ ง และผูป้ ระกอบการพัฒนาภาพลักษณ์ สร้างมูลค่าของผลไม้ให้ผบู ้ ริ โภคมีความพึงพอใจ จดจ�ำได้ง่ายเพื่อรักษาลูกค้ารายเก่าและ สร้างฐานลูกค้ารายใหม่ท้ งั ยังต้องเร่ งปรับปรุ ง/เพิ่มมูลค่าให้กบั ผลไม้ไทยเพื่อหนี ตลาด สิ นค้าที่สามารถท�ำราคาได้ต่ำ� กว่าแต่ดอ้ ยมาตรฐานมากกว่า เช่น ผลไม้จากจีน และควร ท�ำการตลาดเชิงรุ กเพื่อรักษาฐานหรื อส่ วนแบ่งการตลาดทั้งในและต่างประเทศเพื่อรักษา ความสามารถในการแข่งขัน โดยท�ำการส�ำรวจความต้องการของตลาดธุรกิจและผูบ้ ริ โภค ระดับปลายน�ำ้ ระดับปลายน�้ำซึ่งประกอบด้วย ผูน้ ำ� เข้าในสหภาพเมียนมาร์และ ผูบ้ ริ โภคชาวเมียนมาร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้ ประเทศไทยควร ป้ องกันจุดอ่อนของผลไม้อนั เนื่องมาจากการบรรจุและการขนส่งที่ไม่มีประสิ ทธิภาพส่งผล เสี ยหายให้กบั ผลไม้ ควรสนับสนุ นให้มีการแปรรู ปหรื อเพิ่มมูลค่ าแบบใหม่ แต่ ตอ้ ง สอดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคแต่ละประเทศ และที่สำ� คัญต้องท�ำการส�ำรวจ ความต้องการของผูบ้ ริ โภคในแต่ ละตลาดเพื่อที่ จะสามารถวางแผนในการผลิ ตและ การส่ งออกได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและตอบสนองความต้องการ (Demand) ของผูบ้ ริ โภค และควรก�ำหนดราคากับคุณภาพของผลไม้ให้เหมาะสมกัน ที่สำ� คัญควรมีการสนับสนุน จากภาครัฐในการขยายตัวการส่ งออกสู่ตลาดประเทศที่ 3 และในการศึกษาถึงโอกาสทางธุรกิจ และศักยภาพในการแข่งขันเพือ่ การส่งออก ผลไม้สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมี ยนมาร์ รวมถึ งศึ กษานโยบายและมาตรการ ทางการค้าของรัฐบาลและข้อตกลงทางการค้าที่เกี่ยวข้องพบว่า โซ่อุปทานผลไม้สดของ ไทยยัง ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากนัก โดยเฉพาะความเชื่ อ มโยงของระบบการจัด การ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

57


โลจิ สติ กส์ และการจัดการโซ่ อุปทานระหว่างภาครั ฐและเอกชนรวมไปถึ งหน่ วยงาน สนับสนุน แต่ในขณะเดียวกันก็มีโอกาสการค้าเกิดขึ้น เนื่องจากผูบ้ ริ โภคในตลาดสหภาพ เมียนมาร์ซ่ ึงมีผบู ้ ริ โภคชาวจีนรวมอยูด่ ว้ ยนั้นมีพฤติกรรมชอบบริ โภคผลไม้ของไทย จึงมี แนวโน้มและทิศทางในการส่ งออกที่ดีข้ ึน ถึงแม้รัฐบาลเมียนมาร์จะมีความพยายามในการ พัฒนาการเพาะปลูก เช่น การเอาคนไทยที่มีความรู ้ในการเพาะปลูกมังคุดเข้าไปท�ำการ เพาะปลูกให้ แต่ผลผลิตที่ได้กย็ งั ไม่ดีและไม่ได้มาตรฐานอย่างมังคุดของไทย อย่างไรก็ตาม หากมีการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนในปี พ.ศ. 2558 จะส่ งผลให้ขนาดของตลาด เพิ่มขึ้นผูป้ ระกอบการไทยสามารถเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของผูไ้ ด้ประโยชน์จากการเป็ น ประชาคมอาเซี ยนนี้ โดยมี ภาครั ฐคอยให้ความช่ วยเหลื อในด้านการลดอุปสรรคและ ข้อจ�ำกัดต่าง ๆ รวมถึงควรสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ

ข้ อเสนอแนะ

จากข้อ สรุ ป และข้อ ค้น พบของการศึ ก ษาการจัด การโซ่ อุ ป ทานการส่ ง ออก ผลไม้สดของไทยไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์น้ นั ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะในการปรับตัวของ ผูท้ ี่อยูใ่ นห่วงโซ่อุปทานแต่ละภาคส่ วน ดังนี้ 1. เกษตรกร/ผูป้ ลูก : เกษตรกรต้องเตรี ยมความพร้ อมในด้านการผลิ ตและ การตลาดแบบมีมาตรฐานมากขึ้น โดยเฉพาะระบบ GAP เพื่อให้ผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานและมีความปลอดภัยตาม Demand ของลูกค้า 2. พ่อค้าคนกลาง/ผูร้ วบรวม : ต้องเข้าใจในระบบการจัดการโซ่อปุ ทานเพือ่ ที่จะ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างเหมาะสม โดยควรสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกบั ภาคีและเครื อข่ายในโซ่อุปทานแบบยัง่ ยืน 3. ผูป้ ระกอบการขนส่ ง : ควรร่ วมกันพัฒนาในระบบโซ่ อุปทานให้ทำ� งาน ร่ วมกันทั้งระบบ อาจจัดตั้งเป็ นกลุ่มอุตสาหกรรมส่ งออกทุเรี ยนของไทย และควรพัฒนา และสร้างนวัตกรรมเพื่ออ�ำนวยความสะดวกและลดต้นทุนด้าน Logistics เช่น เทคโนโลยี ในการสื่ อสาร ระบบการขนส่ ง ระบบการจัดเก็บ บรรจุภณั ฑ์ 4. ผูป้ ระกอบการส่ งออก : ต้องมีการวางแผนการผลิตและการตลาดเพื่อพัฒนา ห่ วงโซ่ คุณค่าในโซ่ อุปทานให้สอดคล้องกับ Demand โดยต้องค�ำถึง Product Flow, Information Flow และ Relationship Flow 5. ภาครัฐ : ร่ วมพัฒนากับภาคีและเครื อข่ายทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาทั้งระบบ Logistics and Supply chain 58

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รายการอ้ างอิง กรมการค้าต่างประเทศ. (2556). รายงานสถิติการค้ าชายแดนไทยกับพม่ า. สื บค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2556, จาก http://bordertrade.dft.go.th/DFT/Report/4.7.2.Detail. asp?Country_Code=MM กรมการค้าระหว่างประเทศ. (2556). สถานการณ์การค้าชายแดนไทย-เมียนมาร์ . สื บค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2556, จาก http://bts.dft.go.th/btsc/files/Border%20Trade%20 Service%20Center/2.The%20%20trade/2.Myanmar/2555/10_The_trade_Myanmar_2555_Janbary-October.PDF กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2555). การใช้ ประโยชน์ ทางการค้ าของไทยบนเส้ นทาง R3A (เชียงราย-พม่ า-จีน). สื บค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2556, จาก http://www.dtn. moc.go.th/vtl_upload_file/1279786152796/การใช้ประโยชน์บนเส้นทาง R3A.pdf กรมวิชาการเกษตร. (2552ก). ทุเรียน. สื บค้นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2556, จาก http://it.doa.go.th/ vichakan/news.php?newsid=7 กรมวิชาการเกษตร. (2552ข). มังคุด. สื บค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2556, จาก http://it.doa.go.th/ vichakan/news.php?newsid=41 กรมส่ งเสริ มการเกษตร. (2556). ทุเรียน. สื บค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2556, จาก http://www. doae.go.th/library/html/putsetakit/durian.pdf กรมศุลกากร. (2556). สถิตกิ ารน�ำเข้ า-ส่ งออก. สื บค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2556, จาก http:// www.customs.go.th/ กระทรวงพาณิชย์. (2556). ข้อมูลประเทศสหภาพเมียนมาร์ . สื บค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.apecthai.org/apec/th/profile1.php?continentid=2&country=b8 ทวีศกั ดิ์ เทพพิทกั ษ์. (2550). การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: เอ๊กซเปอร์เน็ท. ธนาคารเพื่อการส่ งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย. (2555). ความท้ าทายและโอกาสของ ไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สื บค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2556, จาก http:// isdc.rsu.ac.th/kmweblog.php?page=detail&id=26 วสันต์ กาญจนมุดา. (2549). สายโซ่ คุณค่ากับความอยู่รอดของธุรกิจ.วารสารเศรษฐศาสตร์ และบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1(ก.ค.-ธ.ค. 49) หน้า 23-29, สืบค้นเมือ่ 7 มีนาคม 2556, จาก http://opac.psu.ac.th/BibDetail.aspx?bibno=302931

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

59


สุ เทพ นิ่ มสาย และคณะ. (2555). โอกาสและอุปสรรคของผลไม้ ไทยในอาเซี ยน: กรณี การน�ำเข้ า-ส่ งออกระหว่ างไทยสหภาพเมียนมาร์ และสปป.ลาว. รายงานฉบับ สมบูรณ์. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . ส�ำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี. (2553). สรุปสถานการณ์ ผลิตทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ปี 2552 จังหวัดจันทบุรี. สื บค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2556, จาก http://www. chanthaburi.doae.go.th/report1/harvest_53/report%202552%20.pdf ส�ำนักงานมาตรฐานสิ นค้าเกษตรและอาหารแห่ งชาติ. (2554). ขั้นตอนการส่ งออกผลไม้ หรือทุเรียนไปจีน. สื บค้นเมื่อ 22 เมษายน 2556, จาก http://www.acfs.go.th/ acfsboards/detail.php?id=336 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์. (2549). การจัดการ โลจิสติกส์ และห่ วงโซ่ อุปทานของทุเรียนภาคตะวันออก กรณีศึกษาห่ วงโซ่ การ ผลิตในช่ วงการรวบรวมและกระจายสิ นค้ า. สื บค้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556, จาก http://www.oae.go.th/ewtadmin/ewt/oae_baer/download/article/ article_20100819131011.pdf ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์. (2550). ระบบโลจิสติกส์ และห่ วงโซ่ อุปทานผลไม้ สดภาคตะวันออก. สื บค้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556, จาก http://www.oae.go.th/ewtadmin/ewt/oae_baer/download/ article/ article_20100819132336.pdf ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2555, มิถุนายน). สถิติ การค้าสินค้าเกษตรไทยกับต่างประเทศ ปี 2554. หน้า 26-28. สืบค้นเมือ่ 2 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.oae.go.th/download/journal/trade-eco54.pdf ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2556, มีนาคม). สถิตกิ ารค้ า สิ นค้ าเกษตรไทยกับต่ างประเทศ ปี 2555. หน้า 27-28. สื บค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.oae.go.th/download/journal/statistics55.pdf ส�ำนักงานเศรษฐกิ จการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2556, มีนาคม). สถิติ การเกษตรของประเทศไทย ปี 2555. หน้า 55-62. สื บค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.oae.go.th/download/download_journal/yearbook55.pdf ส�ำนักงานเศรษฐกิ จการเกษตร. (2554). สถานการณ์ ตลาดผลไม้ ไทยในประเทศและ ต่ างประเทศในฤดูกาลผลิต ปี พ.ศ. 2554. สื บค้นเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2554, จาก http://webhost.cpd.go.th/ 60

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ส�ำนักงานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2550). คู่มือการค้ าการลงทุนใน สหภาพเมียนมาร์ . สื บค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.sme.go.th/ Documents/2553/tt/research/invest-Myanmar.pdf องค์กรสหประชาชาติ. (2555). General map: Myanmar. สื บคืนเมื่อ 2 พฤษภาคม 2556, จาก http://www.un.org/depts/Cartographic/map/profile/myanmar.pdf อักษรศรี พานิชสาส์น. (2552). แนววิเคราะห์ โซ่ คุณค่ า: กรณีศึกษายางแปรภาพไปตลาด จีนและประเทศเพือ่ นบ้ าน. สื บค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2556, จาก http://tpso.moc. go.th/userfiles/10_TPSO_Rev-Final_Reference_v2.pdf Global Trade Atlas. (2013). Trade Statistics. Retrieved March 22, 2013, from http:// www.gtis.com/GTA International Trade Centre. (2013). Export impacted for good. Retrieved May 2, 2013, from http://www.intracen.org/ Kaplinsky.R. and Morris M., (2001). A handbook for value chain research. Working Paper Prepared for the IDRC, Brighton, UK, Institute for Development Studies. Lambert.D., Stock, R. J., Ellram& M. L., (2004). การจัดการโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ . กรุ งเทพฯ: ท็อป จ�ำกัด Porter M. E. (1985). Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance. The Free Press, NewYork.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

61


การศึกษาความเสี่ ยงจากการรับรู้ ของผู้บริโภคในโซ่ อุปทานอาหาร :กรณีศึกษา ห้ างค้ าปลีกสมัยใหม่ The Study of Consumer Risks in Food Supply Chain: :The Case of Modern Trade ชยากร พุทธก�ำเนิด* ภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรั กษ์ **

บทคัดย่ อ ปั จจุบนั การเข้ามาของห้างค้าปลีกสมัยใหม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ซึ่ งการ ทราบถึงความต้องการของผูบ้ ริ โภคมีความส�ำคัญเป็ นอย่างยิ่งเพื่อให้เกิดความสามารถ ในการแข่งขันตลอดทั้งโซ่อปุ ทาน เนื่องจากผูบ้ ริ โภคมีพฤติกรรมการบริ โภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การวิจยั นี้เป็ นการศึกษาถึงความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคและความพึงพอใจในการ ซื้อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ เป็ นงานวิจยั เชิงบุกเบิก โดยการใช้รูปแบบการวิจยั เชิ ง ปริ ม าณเพื่ อ หาค�ำ ตอบการวิ จ ัย กลุ่ ม ตัว อย่า งคื อ ผูบ้ ริ โ ภคที่ เ คยซื้ อ ผัก ผลไม้ส ดที่ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่จำ� นวน 400 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วเิ คราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย แจกแจงความถี่ การวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหา ค่าที ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า ผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยที่สุดใน ปั จจัยด้านการเงินประกอบด้วย ความเหมาะสมของราคาและการรับประกันยินดีคืนเงิน และปั จจัยด้านเวลาประกอบด้วยระยะเวลาการรอช�ำระเงินและความสะดวกสบายของ ที่จอดรถ ปั จจัยเหล่านี้ เป็ นความเสี่ ยงจากการรับรู ้ ของผูบ้ ริ โภคในการเลือกใช้บริ การ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ และลักษณะส่ วนบุคคลของผูบ้ ริ โภคได้แก่ อายุ สถานภาพ ระดับ การศึกษา และอาชีพ ที่แตกต่างกันจะมีความพึงพอใจในการซื้ อผักผลไม้ที่ห้างค้าปลีก สมัยใหม่แตกต่างกัน * บริ หารธุ รกิ จมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาการจัดการโลจิ สติ กส์ และซัพพลายเชน ส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (2556) ** Ph.D. Business Technology Management, RMIT University, Melbourne, Australia. (2011) ปั จจุบนั เป็ นอาจารย์ประจ�ำ ส�ำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

62

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ค�ำส� ำคัญ : โซ่อุปทาน/ห้างค้าปลีกสมัยใหม่/ความพึงพอใจ/ความเสี่ ยง/ความเสี่ ยงจากการ รับรู ้

Abstract Nowadays, the modern trade expansion has been growing continuously, knowing satisfaction of the superior consumer is vital importance to achieve competitiveness along the supply chain. This research study about fresh vegetables and fruits and consumer risks perception with consumer satisfaction in fresh vegetables and fruits retail in modern trade store due to the changes in consumers behavior. This is an exploratory research, the samples in this research consist of 400 consumers who purchase fresh vegetables and fruits in modern trade store. Data collections of this research were from questionnaires. Percentage, mean, standard deviation, frequency, Independence t-test, F-test (One-Way Analysis of Variance) and Chi square ,these statistical analysis were used in this research. The results of this study showed the that consumer perceived minimum (lowest) satisfaction in financial factor on appropriate price and refund guaranteed, and time factor on time to wait for payment and parking lot. These two factors were determined as high risk perception on choosing modern trade store by consumers. Differences of consumers on demographic information based on age, marital status, education and career, which led to different satisfaction level on purchasing of fresh vegetables in retail and fruits in modern trade retail stores. Keywords : Supply chain/Modern trade/Satisfaction/Risk/Risk perception

ทีม่ าและความส� ำคัญ

ปัจจุบนั การค้าปลีกสมัยใหม่มีบทบาทมากขึ้นในสังคมไทย (สุพรรณี อินทร์แก้ว, 2553) อีกทั้งการเข้ามาของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ของต่างชาติและการขยายสาขาที่มากขึ้น ท�ำให้พฤติ กรรมผูบ้ ริ โภคเริ่ มเปลี่ยน(กานต์ ศรี กุลนาถ, 2548)โดยเฉพาะในส่ วนของ ภาคอาหาร(กีรติ ตัณฑวิบูลย์วงศ์, วราภรณ์ อินสว่าง และปิ ยมาภรณ์ จิตรัตน์, 2549) โดยที่ รู ปแบบการซื้ ออาหารเปลี่ยนจากซื้ ออาหารจากตลาดสดทุกวัน เปลี่ยนเป็ นซื้ ออาหาร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

63


ครั้งละมากๆ เนื่องจากปั จจุบนั ผูห้ ญิงต้องท�ำงานนอกบ้านมากขึ้น สถานที่ซ้ื อเริ่ มเปลี่ยน จากซื้ อที่ตลาดสดเป็ นซื้ อที่ซุปเปอร์มาเก็ต (Supermarket) เนื่องจากมีความสะดวกสบาย และสะอาดกว่า ที่สำ� คัญคือราคาไม่แพงกว่ามาก การเปลี่ยนแปลงนี้จึงมีส่วนผลักดันให้เกิด ซุปเปอร์ มาเก็ต (Supermarket) และห้างสรรพสิ นค้า (Department Store) เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ ว (สุ พรรณี อินทร์ แก้ว, 2553) จะเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค มีบทบาทและมีความส�ำคัญต่อธุรกิจค้าปลีกเป็ นอย่างมาก (สันติธร ภูริภกั ดี, ม.ป.ป) ท�ำให้ ธุ ร กิ จ ค้า ปลี ก ต้อ งการที่ จ ะตอบสนองให้ ผูบ้ ริ โ ภคมี ค วามพึ ง พอใจสู ง ที่ สุ ด (อารี ย ์ แผ้วสกุลพันธ์, 2552) มี การผลิ ตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริ โภค ซึ่ งระดับ ความพึงพอใจ (Satisfaction) ความอ่อนไหว (Sensitivities) การรับรู ้ความเสี่ ยง (Risks perception) ของผูบ้ ริ โภค มีผลต่อการเลือกใช้บริ การห้างค้าปลีก (Akpinar et al., 2010) เมื่อพิจารณาจากการบริ โภคสิ นค้าอาหารของคนไทยในปี พ.ศ.2555 ดังภาพที่ 1 จะพบว่า ผลไม้และผักเป็ นสินค้าอาหารที่ผบู ้ ริ โภคมีการบริ โภคคิดเป็ นน�้ำหนักกิโลกรัมต่อประชากร 1 คน มากที่สุดเป็ นสองล�ำดับแรก (Sukanya Sirikeratikul, 2013) และสิ นค้าเกษตร เป็ นสิ นค้าที่เน่าเสี ยง่าย มีอายุการเก็บรักษาสั้น จึงเป็ นสิ นค้าที่ตอ้ งดูความต้องการของลูกค้า เป็ นส่ วนส�ำคัญ (Demand Driven)

ภาพที่ 1 ปริ มาณการบริ โภคสิ นค้าอาหารของคนไทยปี พ.ศ. 2555 ที่มา : Sukanya Sirikeratikul (2013) จากที่กล่าวมา ท�ำให้ผวู ้ จิ ยั สนใจที่จะศึกษาความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคในแต่ละ ปัจจัยความเสี่ ยงที่เกิดจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภค ที่มีผลต่อการซื้อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีก สมัยใหม่ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจยั นั้นจะท�ำให้ทราบถึงความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค 64

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ว่ามีความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคด้านใดบ้างในการซื้อผักผลไม้สดที่ห้างค้าปลีก สมัยใหม่ ท�ำให้ทราบถึงความต้องการของลูกค้า และหาสิ นค้าหรื อปรับปรุ งแก้ไขให้ตรง กับความต้องการของลูกค้า ซึ่ งจะได้ประโยชน์ตลอดห่ วงโซ่ อุปทาน ตั้งแต่ห้างค้าปลีก สมัยใหม่ ผูก้ ระจายสิ นค้า หรื อผูจ้ ดั หาวัตถุดิบ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้กบั ธุรกิจได้

วัตถุประสงค์ ของการวิจยั

1. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคในแต่ละมิติความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของ ผูบ้ ริ โภคต่อการซื้อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ 2. เพื่อศึกษาลักษณะส่ วนบุคคลของผูบ้ ริ โภคที่มีผลต่อการซื้ อผักผลไม้สดที่ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในแต่ละมิติความเสี่ ยง

การทบทวนวรรณกรรม

ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความส�ำเร็ จทางการตลาด คือความสามารถในการนิยาม ความต้องการของผูบ้ ริ โภคและการก�ำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อตอบสนองต่ อ ความต้องการของผูบ้ ริ โภคนั้นโดยตรง (ธีรพล ภูรัต, 2545) ซึ่งการทราบถึงปัจจัยความเสี่ ยง หรื อองค์ประกอบของความเสี่ ยงและระดับความรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคจะมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมผูบ้ ริ โภค และจะเป็ นส่ วนช่วยให้หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่สามารถน�ำมาพัฒนาด้าน การตลาดได้ (Akpinar et al., 2010) ความรู ้สึกนึกคิด ของผูบ้ ริ โภคเป็ นสิ่ งที่เจ้าของธุรกิจ ต้องการที่ จะทราบเพื่อน�ำมาก�ำหนดนโยบายของบริ ษทั ตน ซึ่ งความรู ้ สึกนึ กคิ ดของ ผูบ้ ริ โภคได้รับอิทธิ พลจากลักษณะของผูซ้ ้ื อและกระบวนการตัดสิ นใจของผูซ้ ้ื อ (สวรส อมรแก้ว, 2555; Akpinar et al., 2010) ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคนั้นเกิดจากการที่ผบู ้ ริ โภค มีการประเมินผลว่าสิ่ งที่เค้าได้รับจากการซื้ อสิ นค้านั้นหรื อได้รับบริ การแล้วกับสิ่ งที่เค้า คาดหวังนั้นเป็ นอย่างไร ถ้าดีกว่าที่คาดหวัง ผูบ้ ริ โภคก็จะเกิดความรู ้สึกพึงพอใจและจาก ความพึงพอใจนั้นจะท�ำให้ผบู ้ ริ โภคลดความลังเลในการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การนั้นลงได้ และ เกิดการมาซื้อสิ นค้าซ�้ำอีก (Hawkins & Mothersbaugh, 2012) ซึ่งสอดคล้องกับชัยสมพล ชาวประเสริ ฐ (2546) ที่กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้าเกิดจากประสบการณ์จากการ ใช้บริ การแล้วประทับใจเกินกว่าความคาดหวังที่ต้ งั ไว้ เพราะฉะนั้นธุรกิจจึงมุ่งเน้นไปที่ ระดับความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค (ศิรินภา สระทองหน, 2555) เนื่องจากว่าความพึงพอใจ ของลูกค้าสามารถเปลี่ยนการซื้ อได้ทนั ทีที่เมื่อเจอสิ นค้าหรื อข้อเสนอที่ดีกว่าท�ำให้เกิด Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

65


ความพึงพอใจได้มากกว่า ความพึงพอใจของลูกค้าจะสร้างความผูกพันของลูกค้ามากกว่า การเลือกซื้อด้วยความชอบแบบเป็ นเหตุเป็ นผล ผลจากความพึงพอใจนี้จะน�ำไปสู่ความภักดี (Kotler, 2000; ชัยสมพล ชาวประเสริ ฐ, 2546) ซึ่ งสอดคล้องกับ ปราณี คูเจริ ญไพศาล (2542) กล่าวว่า การที่ผบู ้ ริ โภคไปซื้ ออาหารเป็ นประจ�ำที่ร้านค้า แสดงว่าผูบ้ ริ โภคได้รับ ความพึงพอใจในการบริ การของร้านค้านั้นในระดับหนึ่ ง ในการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การ แต่ละครั้งของผูบ้ ริ โภคจะมีการตัดสิ นใจก่อนการซื้อหรื อใช้บริ การ เพือ่ ลดความเสี่ ยงที่จะ เกิดขึ้น เช่นการหาข้อมูลของผลิตภัณฑ์ก่อนการซื้ อ หรื อการเปรี ยบเทียบราคาสิ นค้าใน แต่ละสถานที่ หรื อเวลาที่เสี ยไปในการใช้บริ การ ซึ่งมาร์เก็ตเธียร์(2546) ได้ให้ความหมาย ของค�ำว่า ความเสี่ ยงในการรับรู ้ (Perceived Risk) ของผูบ้ ริ โภค คือความไม่แน่ ใจใน ผลที่จะเกิ ดขึ้นจากการตัดสิ นใจซื้ อเป็ นปั จจัยภายในซึ่ งเป็ นสิ่ งหน่ วงการตัดสิ นใจของ ผูบ้ ริ โภคเป็ นสภาวะที่ผบู ้ ริ โภครับรู ้หรื อรู ้สึกขึ้นมาหรื อเชื่อว่ามีความเสี่ ยงหากตัดสิ นใจซื้อ หรื อรู ้สึกว่าจะเกิดผลเสี ยหายมากหากตัดสิ นใจผิดพลาดเป็ นเหตุให้ชะลอการตัดสิ นใจเพือ่ หาข้อมูลมากขึ้น ซึ่งศุภร เสรี รัตน์ (2544) และมาร์เก็ตเธียร์ (2546) ได้แบ่งความรู ้สึกเสี่ ยง หรื อความเสี่ ยงที่ผบู ้ ริ โภครับรู ้น้ ีได้เป็ น 5 ความเสี่ ยง คือ ความเสี่ ยงด้านกายภาพ ความเสี่ ยง ทางการเงิน ความเสี่ ยงในหน้าที่หรื อความสามารถของผลิตภัณฑ์ ความเสี่ ยงทางสังคม และ ความเสี่ ยงทางจิตวิทยา แต่ Berry (2011) ได้ให้นิยามความเสี่ ยงในด้านเวลาเพิ่มขึ้นมาจาก ความเสี่ ยงในการรับรู ้ 5 ด้านจากที่กล่าวมาข้างต้น และMitchell (1998) ยังได้รวบรวมงาน วิจยั ต่างๆที่เกี่ยวกับลักษณะของร้านค้า (Store) ในมิติของการรับรู ้ความเสี่ ยงของผูบ้ ริ โภค ผูว้ จิ ยั จึงได้ทำ� การเลือกมิติความเสี่ ยงที่เหมาะสมกับงานวิจยั ในครั้งนี้โดยได้แบ่งเป็ น 4 ด้าน คือ มิติของการรับรู ้ความเสี่ ยงด้านกายภาพ ความเสี่ ยงด้านการเงิน ความเสี่ ยงด้านเวลา และ ความเสี่ ยงด้านจิตสังคม ซึ่งสามารถก�ำหนดเป็ นกรอบการวิจยั ได้ดงั ภาพที่ 2 Suppliers Distributors

Physical risk

Retailers

Financial risk

Supply chain

End-customers

Psychosocial risk Time risk

ภาพที่ 2 กรอบการวิจยั ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม 66

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)

Customer Satisfaction


ระเบียบวิธีการศึกษา

การวิจยั นี้เป็ นการวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research) และงานวิจยั เชิงบุกเบิก (Exploratory Research) โดยศึกษาเฉพาะในส่ วนของผูบ้ ริ โภคที่เคยซื้ อผักผลไม้สดที่ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ด้วยแบบสอบถามออนไลน์โดยการก�ำหนดให้ผบู ้ ริ โภคที่เคยซื้อผัก ผลไม้สดในห้างค้าปลี กสมัยใหม่เท่านั้นจึ งสามารถตอบแบบสอบถามได้ แต่ หากว่า ผูบ้ ริ โภคไม่เคยซื้ อผักผลไม้สดในห้างค้าปลีกสมัยใหม่การตอบแบบสอบถามนั้นจะยุติ ทันที เนื่ องจากไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ครั้งนี้ และมุ่งศึกษาถึงความพึงพอใจของ ผูบ้ ริ โภค ผูว้ ิจยั ได้ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็ น 2 วิธี คือ (1) ข้อมูลทุติยภูมิเป็ น ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลจากหนังสื อ เอกสาร งานวิจยั ต่างๆรวมถึงข้อมูลทาง อินเทอร์ เน็ต เพื่อช่วยในการก�ำหนดกรอบการวิจยั และสร้างแบบสอบถาม (2) ข้อมูล ปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากการเก็บแบบสอบถาม แบบสอบถามที่สร้างขึ้นมีการตรวจสอบ ความน่าเชื่อถือของแบบสอบถาม โดยน�ำไปทดสอบเบื้องต้น (Pretest) กับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คนซึ่ งกลุ่มตัวอย่างที่นำ� มาทดสอบเบื้องต้นนั้นเป็ นกลุ่มตัวอย่างที่เป็ นกลุ่ม ประชากรเดียวกัน แต่ไม่ได้เป็ นกลุ่มตัวอย่างเดียวกันกับกลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ครั้งนี้ โดย หาค่าสัมประสิ ทธิ์แอลฟ่ าของครอนบัค (Cronbach Alpha-Coefficient) ซึ่งความเชื่อมัน่ จาก การทดสอบแบบสอบถาม โดยรวมเท่ากับ 0.8789 โดยสามารถจ�ำแนกได้เป็ น ความเสี่ ยงด้านกายภาพ 0.7330 ความเสี่ ยงด้านการเงิน 0.7811 ความเสี่ ยงด้านเวลา 0.8097 ความเสี่ ยงด้านจิตสังคม 0.8701 จะเห็นว่าความเชื่อมัน่ จากการทดสอบแบบสอบถามโดยรวมและความเชื่อมัน่ จากการตอบแบบสอบถามโดยแยกเป็ นแต่ละมิติความเสี่ ยงนั้น มีค่ามากกว่า 0.7 แสดงว่า แบบสอบถามนี้สามารถน�ำไปใช้ในการศึกษาได้ (Hair, 2010) จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจยั ไม่สามารถระบุจำ� นวนประชากรที่แน่ นอนได้ จึงใช้ตารางการสุ่ มตัวอย่างของ ยามาเน(สมชาย,2554) ก�ำหนดค่าความเชื่อมัน่ ที่ 95% และค่าความผิดพลาดไม่เกิน 5% ขนาดตัวอย่างที่ไม่ทราบจ�ำนวนประชากร จะได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ค่าร้อยละ Independent t-test , F-test (One-Way Analysis of Variance) และ Chi square test

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

67


สรุปและการอภิปรายผล

ส�ำหรับผลการวิจยั ผูว้ จิ ยั ได้แสดงผลการวิจยั และอภิปรายผลออกเป็ น 2 ส่ วน คือ การวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านลักษณะส่ วนบุคคลของผูบ้ ริ โภค การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อทดสอบ สมมติฐานและความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคในแต่ละมิติความเสี่ ยง โดยในส่ วนแรกผูว้ ิจยั กล่าวถึง การวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านลักษณะส่ วนบุคคลของผูบ้ ริ โภค มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ภาพที่ 3 แสดงเพศของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 3 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คนพบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ เป็ นผูห้ ญิง คิดเป็ นร้อยละ 67

ภาพที่ 4 แสดงอายุของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 4 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ อายุระหว่าง 21-30 ปี คิดเป็ นร้อยละ 55

68

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ภาพที่ 5 แสดงสถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 5 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ มีสถานภาพโสด คิดเป็ นร้อยละ 65

ภาพที่ 6 แสดงระดับการศึกษาของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 6 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ มีการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 60

ภาพที่ 7 แสดงอาชีพของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 7 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ มีอาชีพพนักงานบริ ษทั เอกชน คิดเป็ นร้อยละ 46

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

69


ภาพที่ 8 แสดงรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผูต้ อบแบบสอบถาม ภาพที่ 8 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ มีรายได้มากกว่า 30,000 บาท คิดเป็ นร้อยละ 24

ภาพที่ 9 แสดงห้างค้าปลีกสมัยใหม่ที่ผบู ้ ริ โภคเคยใช้บริ การ ภาพที่ 9 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าบิ๊กซี และเทสโก้โลตัสเป็ น ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ที่ผบู ้ ริ โภคเคยไปใช้บริ การมากที่สุด

ภาพที่ 10 แสดงห้างค้าปลีกสมัยใหม่ที่ผบู ้ ริ โภคเคยซื้อผักผลไม้สด ภาพที่ 10 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่าบิ๊กซีเป็ นห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ที่ผบู ้ ริ โภคเคยซื้อผักผลไม้มากที่สุด รองลงมาคือเทสโก้โลตัส 70

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ภาพที่ 11 แสดงความถี่ต่อเดือนในการซื้อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ ภาพที่ 11 จากการส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 คน พบว่า ความถี่ในการซื้อผักผลไม้สด ที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ส่วนใหญ่นอ้ ยกว่า 2 ครั้งต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 38 ตารางที่ 1 แสดงผลการทดสอบความแตกต่างของความพึงพอใจในการใช้บริ การห้างค้าปลีก สมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับเพศ ความพึงพอใจในแต่ละมิติ ความเสี่ยงกับเพศ ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

t -0.465 -1.183 -0.469 -0.852

t-test for Equality of Means df Sig. (2-tailed) 398 0.642 398 0.238 398 0.639 398 0.395

จากตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับเพศโดยใช้การทดสอบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างประชากรสองกลุ่ม โดยตัวอย่างทั้งสองกลุ่มเป็ นอิสระจากกัน (Independent Sample t-test) สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ ความพึงพอใจในการใช้บริ การ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดในมิติความเสี่ ยงด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) มากกว่า 0.05 หมายความว่า ผูบ้ ริ โภคที่มีเพศแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการ ซื้ อ ผัก ผลไม้ส ดในมิ ติ ความเสี่ ย งด้านกายภาพ ด้านการเงิ น ด้า นเวลา ด้า นจิ ต สังคม ไม่แตกต่างกัน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

71


ตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบความแตกต่างของความพึงพอใจในการใช้บริ การห้างค้าปลีก สมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับอายุ ความพึงพอใจในแต่ละ แหล่งความแปรปรวน มิตคิ วามเสี่ยงกับอายุ ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

ระหว่างกลุม่ ระหว่างกลุม่ ระหว่างกลุม่ ระหว่างกลุม่

SS

df

MS

F

Sig.

1.347 0.821 1.725 3.22

4 4 4 4

0.337 1.044 0.384 0.205 0.58 0.677 0.431 1 0.408 0.805 3.271 0.012

ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดกับอายุโดยใช้การทดสอบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้สถิติ F-test (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95% สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ ผูบ้ ริ โภค ที่มีอายุแตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการซื้อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ในมิติดา้ น กายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลาไม่แตกต่าง เนื่ องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) มากกว่า 0.05 แต่มิติดา้ นจิตสังคมแตกต่าง เนื่ องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) น้อยกว่า 0.05 ตารางที่ 3 แสดงผลการทดสอบความแตกต่ างของความพึงพอใจในการใช้บริ การ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับสถานภาพ

72

ความพึงพอใจในแต่ละมิติ ความเสี่ยงกับสถานภาพ

แหล่ งความ แปรปรวน

SS

df

MS

F

Sig.

ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม

0.285 0.161 3.105 1.316

2 2 2 2

0.143 0.081 1.553 0.658

0.441 0.228 3.647 2.636

0.644 0.796 0.027 0.073

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ตารางที่ 3 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลี กสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดกับสถานภาพโดยใช้การ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้สถิติ F-test (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95% สามารถวิเคราะห์ได้ ดังนี้ ผูบ้ ริ โภคทีม่ สี ถานภาพทีแ่ ตกต่างกันมีความพึงพอใจในการซื้อผักผลไม้สดทีห่ า้ งค้าปลีก สมัยใหม่ในมิติดา้ นกายภาพ ด้านการเงิน ด้านจิตสังคมไม่แตกต่าง เนื่องจาก มีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติ (Significant) มากกว่า 0.05 แต่มิติดา้ นเวลาแตกต่าง เนื่องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) น้อยกว่า 0.05 ตารางที่ 4 แสดงผลการทดสอบความแตกต่ างของความพึงพอใจในการใช้บริ การ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับระดับการศึกษา ความพึงพอใจในแต่ละมิติ ความเสี่ยงกับระดับการศึกษา

แหล่ งความ แปรปรวน

SS

df

MS

ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม

5.85 5.617 6.499 3.83

3 3 3 3

1.95 1.872 2.166 1.277

F

Sig.

6.283 0 5.493 0.001 5.179 0.002 5.234 0.001

ตารางที่ 4 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดกับระดับการศึกษาโดยใช้ การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุม่ ตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุม่ โดยใช้สถิติ F-test (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95% สามารถวิเคราะห์ได้ ดังนี้ ผูบ้ ริ โภคที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการซื้อผักผลไม้สดที่ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่มิติดา้ นกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคมแตกต่าง เนื่องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) น้อยกว่า 0.05

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

73


ตารางที่ 5 แสดงผลการทดสอบความแตกต่ า งของความพึ ง พอใจในการใช้บ ริ ก าร ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับอาชีพ ความพึงพอใจในแต่ละมิติ ความเสี่ยงกับอาชีพ

แหล่ งความ แปรปรวน

SS

df

MS

F

Sig.

ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม

4.734 0.997 1.621 2

4 4 4 4

1.184 0.249 0.405 0.5

3.769 0.705 0.939 2.006

0.005 0.589 0.441 0.093

ตารางที่ 5 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดกับอาชีพโดยใช้การทดสอบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้สถิติ F-test (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95% สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ ผูบ้ ริ โภค ที่มีอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการซื้ อผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ในมิติ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคมไม่แตกต่าง เนื่องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) มากกว่า 0.05 แต่มิติดา้ นกายภาพแตกต่าง เนื่ องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) น้อยกว่า 0.05 ตารางที่ 6 แสดงผลการทดสอบความแตกต่ า งของความพึ ง พอใจในการใช้บ ริ ก าร ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้อผักผลไม้สดกับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ความพึงพอใจในแต่ละมิติ แหล่ งความ ความเสี่ยงกับรายได้เฉลีย่ ต่อเดือน แปรปรวน ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม

74

ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)

SS

df

MS

F

Sig.

1.39 1.596 3.303 0.22

5 5 5 5

0.278 0.319 0.661 0.044

0.86 0.905 1.542 0.173

0.508 0.478 0.176 0.973


ตารางที่ 6 แสดงผลการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ในการใช้บริ การห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในการซื้ อผักผลไม้สดกับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนโดย ใช้การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้สถิติ F-test (One-Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเชื่อมัน่ ที่ 95% สามารถวิเคราะห์ ได้ดงั นี้ ผูบ้ ริ โภคที่ มีรายได้เฉลี่ ยต่ อเดื อนแตกต่ างกัน มี ความพึงพอใจในการซื้ อผัก ผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ในมิติดา้ นกายภาพ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านจิตสังคม ไม่แตกต่าง เนื่องจาก มีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (Significant) มากกว่า 0.05 ลักษณะส่วนบุคคลจะส่งผลถึงพฤติกรรมการใช้บริ การหรื อการตัดสิ นใจซื้อของ ผูบ้ ริ โภค (Solomon et al.,2012; Mooij, 2011) ดังที่วสิ ุ ทธิ์ กาญจนวัญดี (2555) ได้กล่าวไว้ ว่า การตัดสิ นใจต่างๆของผูซ้ ้ือได้รับอิทธิพลจากลักษณะส่ วนบุคคลด้านต่างๆ ได้แก่ อายุ (Age) วงจรชี วิตครอบครัว (Family Life Cycle) อาชี พ (Occupation) สถานภาพทาง เศรษฐกิจ (Economic) การศึกษา (Education) และค่านิยมและรู ปแบบการด�ำรงชีวติ ซึ่ ง ลักษณะส่ วนบุคคลที่แตกต่างกันจะมีผลต่อพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค จากผลการวิจยั พบว่า อายุ ระดับการศึ กษา อาชี พ สถานภาพมี ผลต่ อความพึงพอใจในการซื้ อผักผลไม้สดจาก ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ท่ีแตกต่างกันเนื่องจากคนที่มีอายุมากกว่าจะมีประสบการณ์ในการซื้อ ที่มากกว่า ท�ำให้เกิดการไตร่ ตรองก่อนที่จะซื้อมากกว่าคนที่อายุนอ้ ยกว่า (Mitchell,1998; Solomon et al.,2012) ระดับการศึกษามีผลต่อความพึงพอใจในการซื้ อผักผลไม้สดจาก ห้า งค้า ปลี ก สมัย ใหม่ ที่ แ ตกต่ า งกัน โดยที่ ร ะดับ การศึ ก ษาที่ สู ง กว่ า มี ค วามต้อ งการ การบริ โภคหรื อบริ การที่ มีคุณภาพมากกว่าผูท้ ี่ มีระดับการศึกษาต�่ำกว่า อาชี พมีผลต่อ ความพึงพอใจในการซื้ อผักผลไม้สดจากห้างค้าปลีกสมัยใหม่ที่แตกต่างกันเนื่ องมาจาก อาชีพที่แตกต่างกันจะต้องการสิ นค้าและบริ การที่แตกต่างกัน (วิสุทธิ์ กาญจนขวัญดี, 2555) สถานภาพมีผลต่อความพึงพอใจที่แตกต่างกัน ซึ่ งมีผลมาจากทัศนคติและพฤติกรรมการ บริ โภค (Akpinar et al., 2010) ท�ำให้เกิ ดเป็ นความพึงพอใจที่ แตกต่ างกัน จากผล การวิเคราะห์พบว่าเพศและรายได้เฉลีย่ ต่อเดือนทีแ่ ตกต่างกันมีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน ซึ่ งสอดคล้องกับ ศิรินภา สระทองหน (2555) ที่กล่าวว่า เพศและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่ า งกัน มี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การใช้บ ริ ก ารของร้ า นวัต สัน และความพึ ง พอใจต่ อ ผลิตภัณฑ์และบริ การที่ได้รับไม่แตกต่างกัน

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

75


ตารางที่ 7 ตารางแสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค ในแต่ละมิติความเสี่ ยง

76

คุณลักษณะของห้ างค้าปลีกสมัยใหม่

Mean

S.D.

ความเสี่ยงด้านกายภาพ คุณภาพของผักผลไม้สด ความหลากหลายของผักผลไม้สด ความหลากหลายของตราสินค้า ขนาดของห้าง ความสะอาดของห้าง ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเหมาะสมของราคา การลดราคาหรื อจัดโปรโมชัน่ ของผักผลไม้สด การรับประกันยินดีคนื เงิน แสดงป้ ายราคาสินค้า สามารถช�ำระเงินโดยบัตรเครดิตได้ การรับประกันราคา ความเสี่ยงด้านเวลา ระยะเวลาการรอช�ำระเงิน ความสะดวกสบายของที่จอดรถ ที่ต้งั ของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ การจัดวางสินค้าภายในห้าง ความเสี่ยงด้านจิตสังคม ภาพลักษณ์ของห้าง คุณภาพการให้บริ การของพนักงาน บรรยากาศของห้าง การเปิ ดเสียงเพลงเบาๆของห้าง

3.68 3.73 3.68 3.43 3.72 3.83 3.41 3.09 3.33 3.13 3.72 3.85 3.36 3.43 3.2 3.32 3.58 3.65 3.57 3.78 3.47 3.68 3.63

0.57 0.73 0.74 0.73 0.7 0.78 0.59 0.74 0.81 0.96 0.81 0.8 0.77 0.66 0.89 0.94 0.75 0.74 0.5 0.63 0.7 0.64 0.66

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


คุณลักษณะของห้ างค้าปลีกสมัยใหม่

Mean

S.D.

จ�ำนวนพนักงาน ความสนใจลูกค้าของพนักงาน ลักษณะของพนักงาน ลักษณะของห้าง

3.41 3.23 3.68 3.72

0.73 0.77 0.64 0.7

จากตารางที่ 7 ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคทีซ่ ้ือผักผลไม้สดทีห่ า้ งค้าปลีกสมัยใหม่ นั้น ผูว้ ิจยั ได้ทำ� การศึกษาใน 4 มิติความเสี่ ยง คือ ความเสี่ ยงด้านกายภาพ ความเสี่ ยง ด้านการเงิ น ความเสี่ ยงด้านเวลา และความเสี่ ยงด้านจิ ตสังคม พบว่า ผูบ้ ริ โภคที่ ซ้ื อ ผักผลไม้สดที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่น้ นั มีความพึงพอใจน้อยที่สุดในด้านการเงิน ซึ่ง Akpinar et al.(2010) ได้ศึกษาถึงความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคในมิติดา้ นการเงินซึ่งผลที่ได้เป็ นไปใน ทิศทางเดียวกัน รองลงมาคือด้านเวลา ด้านจิตสังคม และด้านกายภาพ ตามล�ำดับ ในมิติ ความเสี่ ยงด้านการเงินนั้นผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยที่สุดล�ำดับแรกคือ ความเหมาะสม ของราคา รองลงมาคือการรับประกันยินดีคืนเงิน ในมิติดา้ นเวลาผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจ น้อยที่สุดล�ำดับแรกคือ ระยะเวลาการรอช�ำระเงิน รองลงมาคือความสะดวกสบายของ ที่จอดรถ ในมิติดา้ นจิตสังคมผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยที่สุดล�ำดับแรกคือ ความสนใจ ลู ก ค้า ของพนัก งาน รองลงมาคื อ จ�ำ นวนพนัก งาน ในมิ ติ ด้า นกายภาพผู บ้ ริ โ ภคมี ความพึ ง พอใจน้อ ยที่ สุ ด ล�ำดับแรกคื อ ความหลากหลายของตราสิ น ค้า รองลงมาคื อ ความหลากหลายของผักผลไม้สด ซึ่งสามารถอภิปรายได้ดงั นี้ 1) ปั จจัยความเสี่ ยงด้านการเงิน จากการวิจยั พบว่า ความเสี่ ยงด้านการเงินเป็ นความเสี่ ยงที่มากที่สุด ซึ่งความเสี่ ยง ที่มากที่สุดจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคด้านการเงิน ได้แก่ ความเหมาะสมของราคา และ การรั บ ประกัน ยิ น ดี คื น เงิ น ซึ่ งสอดคล้อ งกับ Akpinar et al.(2010) ที่ ก ล่ า วว่ า ความเหมาะสมของราคา เป็ นความเสี่ ยงที่มากที่สุดเนื่ องจากผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจ น้อยที่สุด แต่ไม่สอดคล้องในเรื่ องความเสี่ ยงรองลงมาของ Akpinar et al.(2010) คือ การติดป้ ายแสดงราคา แต่กม็ ีความสอดคล้องกับ สวรส อมรแก้ว (2555) ที่กล่าวว่า ผูบ้ ริ โภค เลือกซื้ ออาหารที่ราคาถูกกว่าเนื่ องจากสภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั ท�ำให้ผบู ้ ริ โภคหันมา สนใจกับเรื่ องของราคา สอดคล้องกับทฤษฎีของ ศุภร เสรี รัตน์ (2544) และ มาร์เก็ตเธียร์ (2546) ที่กล่าวว่าความเสี่ ยงทางด้านการเงินนั้น ท�ำให้ผบู ้ ริ โภคชะลอการซื้อ หรื อหาข้อมูล เพิ่มเติมเพื่อให้แน่ใจว่าราคานี้เป็ นราคาที่ถกู กว่าผูข้ ายรายอื่น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

77


2) ปั จจัยความเสี่ ยงด้านเวลา จากการวิจยั พบว่า ความเสี่ ยงที่มากที่สุดรองลงมาจากความเสี่ ยงด้านการเงิน ก็คือความเสี่ ยงด้านเวลา ซึ่งความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคด้านเวลา ได้แก่ระยะเวลา การรอช�ำระเงิน และความสะดวกสบายของที่จอดรถ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ Akpinar et al. (2010) ที่กล่าวว่า ระยะเวลาการรอช�ำระเงิน เป็ นความเสี่ ยงที่มากที่สุดเนื่ องจาก ผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยที่สุด รองลงมาคือความสะดวกสบายของที่จอดรถ และยัง สอดคล้องกับ พรทสร โขบุญญากุล (2552) ที่กล่าวว่า ผูบ้ ริ โภคมีการรับรู ้ความเสี่ ยง ในระดับมาก ในเรื่ องการช�ำระเงินมีความล่าช้า อาจเป็ นเพราะความเร่ งรี บในชีวติ ประจ�ำวัน ท�ำให้ผบู ้ ริ โภคต้องการความรวดเร็วและสะดวกสบายในการช�ำระเงิน และยังสอดคล้องกับ สุ รชาติ ลิ้มวารี (2547) ที่กล่าวว่า ผูบ้ ริ โภคมีทศั นคติไม่ดีในเรื่ องความเร็ วของการช�ำระเงิน การไม่ได้รับบริ การที่รวดเร็ วจะท�ำให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความรู ้สึกเสี ยดายเวลา เกิดความรับรู ้ ความเสี่ ยงในบริ การที่ได้รับ และผูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่เดินทางมาด้วยรถยนต์ ผูบ้ ริ โภคจึงให้ ความส�ำคัญกับที่จอดรถ จากการวิจยั พบว่า การหาที่จอดรถโดยใช้เวลานานเป็ นความเสี่ ยง ระดับปานกลาง เนื่ องจากผูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่ทำ� งานประจ�ำ ท�ำให้การซื้ อสิ นค้าจะซื้ อ ในช่วงหลังเลิกงาน ซึ่ งที่จอดรถจะไม่เพียงพอ ดังนั้นไฮเปอร์ มาเก็ตควรจัดให้มีสถานที่ จอดรถเพิ่มมากขึ้นในช่วงตอนเย็น เพื่อเป็ นการลดความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภค อีกทั้งยังสอดคล้องกับทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของห้างค้าปลีกในไทย (สุพรรณี อินทร์แก้ว, 2553) ที่กล่าวว่า ผูบ้ ริ โภคที่มีรายได้สูงจะมีความต้องการในด้านความสะดวกในการบริ การ มากขึ้น โดยเฉพาะที่จอดรถที่จะต้องมีให้เพียงพอกับความต้องการของผูบ้ ริ โภค 3) ปั จจัยความเสี่ ยงด้านจิตสังคม จากการวิจยั พบว่า ความเสี่ ยงที่มากที่สุดจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคด้านจิตสังคม ได้แก่ ความสนใจลูกค้าของพนักงาน และจ�ำนวนพนักงาน ซึ่ งไม่สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Akpinar et al.(2010) ที่กล่าวว่า การเปิ ดเพลงในห้าง เป็ นความเสี่ ยงที่มากที่สุดเนื่องจาก ผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยที่สุด แต่สอดคล้องกันในเรื่ องของความสนใจของพนักงาน กับการสื่อสารกับลูกค้า และยังสอดคล้องกับ พรทสร โขบุญญากุล (2552) ทีก่ ล่าวว่า ผูบ้ ริ โภค มีความเสี่ ยงในระดับปานกลางในเรื่ องพนักงานแสดงกิริยาไม่สุภาพและบริ การไม่ดี และ ยังสอดคล้องกับ ปราณี คูเจริ ญไพศาล (2542) และ เตวิช โสภณปฏิมา (2554) ซึ่งได้สรุ ป ในทิศทางเดียวกันว่า ท่าทางและท่าทีของพนักงานบริ การที่แสดงต่อลูกค้า เป็ นปั จจัยที่ ท�ำให้เกิดความพอใจของลูกค้าและการเป็ นลูกค้าประจ�ำ

78

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


4) ปั จจัยความเสี่ ยงด้านกายภาพ จากการวิจยั พบว่า ความเสี่ ยงที่มากที่สุดจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคด้านกายภาพ ได้แ ก่ ความหลากหลายของตราสิ น ค้า และความหลากหลายของผัก ผลไม้ส ด ซึ่ ง ไม่สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Akpinar et al. (2010) ที่กล่าวว่า ขนาดของห้างเป็ นความเสี่ ยง ทีม่ ากทีส่ ุดเนื่องจากผูบ้ ริ โภคมีความพึงพอใจน้อยทีส่ ุด แต่สอดคล้องในเรื่ องความหลากหลาย ของตราสิ นค้าซึ่ งเป็ นความเสี่ ยงรองลงมาจากเรื่ องขนาดของห้าง และยังสอดคล้องกับ สวรส อมรแก้ว (2555) กล่าวไว้วา่ เมือ่ ผูบ้ ริ โภคเกิดการรับรู ้ความเสี่ยง แล้วจะต้องตัดสินใจ ผูบ้ ริ โภคนั้นจะค�ำนึ งถึ งความน่ าเชื่ อถื อและภาพลักษณ์ ของตรา ซึ่ งเมื่ อผูบ้ ริ โภคเกิ ด การรับรู ้ความเสี่ ยง ผูบ้ ริ โภคจะเกิดการชะลอการซื้อ หรื อชะลอเพือ่ หาข้อมูลเพิม่ เติมที่ช่วย ในการตัดสิ นใจ หรื ออาจไปหาข้อมูลจากผูจ้ ำ� หน่ายรายอื่น ท�ำให้เกิดการเสี ยโอกาสการขาย เพราะฉะนั้นนักการตลาดจึงพยายามที่จะก�ำจัดการรับรู ้ความเสี่ ยงของผูบ้ ริ โภคให้หมดไป โดยพยายามสร้างความมัน่ ใจหรื อท�ำให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความพึงพอใจเกินกว่าที่คาดหวังไว้ ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคเป็ นสิ่ งที่มีบทบาทและมีความส�ำคัญต่อธุรกิจค้าปลีก เป็ นอย่างมาก (สันติธร ภูริภกั ดี,ม.ป.ป) ท�ำให้ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคเป็ นกิจกรรม ที่สำ� คัญของกระบวนการตลาด (ธนิต โสรัตน์, 2550 ; Akpmar et al., 2010) การทราบ ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคจะท�ำให้เกิดความสามารถที่เหนื อกว่าในการแข่งขัน (ธนิ ต โสรัตน์, 2550) ดังนั้นเพือ่ ให้หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่มีความสามารถที่เหนือกว่า จะต้องมีการ ปรับปรุ งในเรื่ องของการสร้างความพึงพอใจทางด้านการเงินและเวลาที่มากขึ้น เพื่อลด ความเสี่ ย งจากการรั บ รู ้ ข องผูบ้ ริ โ ภค ในด้า นการเงิ น นั้น ให้มี ก ารปรั บ ปรุ ง ทางด้า น ความเหมาะสมของราคา ส่ วนในด้านเวลาให้มีการปรับปรุ งทางด้านระยะเวลาการรอ ช�ำระเงิน ในยุคปี พ.ศ. 2547 - ปั จจุบนั เป็ นยุคที่อำ� นาจต่อรองสู งสุ ดอยูท่ ี่กิจการค้าปลีก ข้ามชาติ โดยที่ผบู ้ ริ โภคให้การยอมรับข้อเสนอที่หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่เสนอให้ ทั้งราคาที่ ถู ก กว่า หรื อ ความสะดวกสบายต่ า งๆ ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบกับ ผูค้ า้ ส่ ง หรื อ ผูจ้ ัด หาสิ น ค้า เป็ นอย่างมาก ถ้าไม่มีการพัฒนาและปรับตัวให้สอดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริ โภค อาจต้องเลิกกิจการหรื อออกไปจากโซ่ อุปทาน (ส�ำนักส่ งเสริ มและพัฒนาธุ รกิจ, 2552) เนื่ อ งจากความพึ ง พอใจของลู ก ค้า เกิ ด จากประสบการณ์ จ ากการใช้บ ริ ก ารและเกิ ด ความประทับใจเกินกว่าความคาดหวังที่ต้ งั ไว้ (ชัยสมพล ชาวประเสริ ฐ, 2546) ซึ่งจะท�ำให้ ผูบ้ ริ โภคลดความลังเลในการซื้อสิ นค้าและบริ การลง ท�ำให้เกิดการมาซื้อซ�้ำอีก (Hawkins & Mothersbaugh, 2012) ซึ่ งสอดคล้องกับทฤษฎีข้ นั ตอนในการซื้ อและการประเมินผล หลังการซื้ อ กล่าวว่า ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคเป็ นขั้นตอนการประเมินผลหลังจาก การซื้ อ และความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคจะเป็ นตัวเสริ มที่ทำ� ให้เกิดทัศนคติทางบวก และ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

79


เกิ ดการกลับมาซื้ อซ�้ำอีก หรื อการที่ผูบ้ ริ โภคไม่เกิดความพึงพอใจก็จะน�ำไปสู่ ทศั นคติ ทางลบและโอกาสที่ ผูบ้ ริ โภคจะกลับมาซื้ อซ�้ำอี กก็จะมี น้อยลง (ธี รพล ภูรัต, 2545) ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคจึ งเป็ นสิ่ งที่ มีบทบาทและมี ความส�ำคัญต่ อธุ รกิ จค้าปลี ก เป็ นอย่างมาก (สันติธร ภูริภกั ดี, ม.ป.ป) และเป็ นกิจกรรมที่สำ� คัญของกระบวนการตลาด (ธนิต โสรัตน์, 2550 ; Akpinar et al., 2010) เนื่องจากผูบ้ ริ โภคเป็ นบุคคลหรื อส่ วนหนึ่ง ของโซ่อปุ ทาน ดังเช่น Mentzer et al.(2001, อ้างอิงใน สื บชาติ อันทะไชย, 2552) ได้อธิบาย ความหมายของโซ่ อุปทานว่า โซ่ อุปทานประกอบด้วยองค์กรหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ การไหลของสิ นค้า บริ การ ข้อมูล หรื อการเงิน ตั้งแต่ตน้ น�้ำ ไปสู่ ปลายน�้ำ ซึ่ งการทราบ ความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคจะท�ำให้เกิดความสามารถที่เหนื อกว่าในการแข่งขัน(ธนิ ต โสรัตน์, 2550) ดังนั้นเพือ่ ให้หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่มีความสามารถที่เหนือกว่า จะต้องมีการ ปรั บปรุ งในเรื่ องของการสร้ างความพึงพอใจทางด้านการเงิ นและเวลาที่ มากขึ้น เพื่อ ลดความเสี่ ยงจากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภค ดังเช่นทฤษฎีวา่ ด้วยการหลีกเลีย่ งความเสี่ ยง ที่กล่าว ไว้วา่ การตัดสิ นใจเลือกซื้ อของผูบ้ ริ โภคนั้นเกิดจากผูบ้ ริ โภคได้ใช้ความพยายามอย่างดี ที่สุดแล้วเพื่อให้มีความเสี่ ยงเกิดขึ้นน้อยที่สุด (ศุภร เสรี รัตน์, 2544)

ข้ อเสนอแนะ

จากการวิ จ ัย ครั้ งนี้ เป็ นการศึ ก ษาถึ ง ความเสี่ ย งจากการรั บ รู ้ ข องผูบ้ ริ โ ภค เป็ นการศึกษาในส่ วนของปลายน�้ำของโซ่ อุปทานผักผลไม้สด กรณี ศึกษาห้างค้าปลีก สมัยใหม่ ซึ่ งก็คือผูบ้ ริ โภคล�ำดับสุ ดท้าย ท�ำให้เข้าใจเกี่ยวกับความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค เป็ นความเสี่ ยงของห้างค้าปลีกสมัยใหม่จากการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคที่ทำ� ให้เกิดการชะลอ การซื้ อ เนื่ องจากข้อจ�ำกัดและขอบเขตของการศึ กษา ท�ำให้การศึ กษานี้ ยงั มี จุดอ่ อน หลายด้าน ทั้งในส่ วนของต้นน�้ำหรื อเกษตรกร ในส่ วนของกลางน�้ำหรื อผูจ้ ดั ส่ งสิ นค้าหรื อ ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ซึ่ งการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคตจะท�ำให้สามารถเห็นภาพได้ชดั เจน มากขึ้น โดยมีขอ้ เสนอแนะดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเพิ่มเติมในส่ วนของกระบวนการท�ำงานของห้างค้าปลีกสมัยใหม่และ ผูจ้ ดั ส่ งสิ นค้า พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการพัฒนาทั้งโซ่อุปทานอาหาร เพือ่ ให้สอดคล้อง กับความต้องการของผูบ้ ริ โภค 2. ศึกษากระบวนการปัจจุบนั ของทั้งโซ่อุปทานและเปรี ยบเทียบกับแนวทางใน การพัฒนาทั้งโซ่อุปทาน ให้เห็นถึงข้อดีของการพัฒนาตลอดทั้งโซ่อุปทาน 3. ศึกษาถึงแนวทางการสร้ างความสัมพันธ์กบั ผูจ้ ดั ส่ งสิ นค้า เพื่อตอบสนอง ความต้องการของผูบ้ ริ โภคให้ได้สูงสุ ด 80

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รายการอ้ างอิง กานต์ ศรี กลุ นาถ. (2548). การวิเคราะห์ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานขององค์กร กรณีศึกษา บริ ษัท สยามแม็คโครจ�ำกัด (มหาชน). สารนิ พนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กีรติ ตัณฑวิบูลย์วงศ์, วราภรณ์ อินสว่าง และปิ ยมาภรณ์ จิตรัตน์. (2549). การปรับตัวของ ธุรกิจค้าปลีกในรูปแบบของซูเปอร์ มาเก็ต กรณีศึกษาท็อปซูเปอร์ มาร์ เก็ต. ค้นคว้า อิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชัยสมพล ชาวประเสริ ฐ. (2546). การตลาดบริการ. กรุ งเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . เตวิช โสภณปฏิมา. (2554). การพัฒนาแบบจ�ำลองเชิงสาเหตุทมี่ อี ทิ ธิพลต่ อความจงรักภักดี ของผู้ใช้ บริการธนาคารพาณิชย์ในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตร มหาบัณฑิต.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ธนิ ต โสรัตน์. (2550). SUPPLY CHAIN กลยุทธ์ ในการสร้ างความพอใจให้ กบั ลูกค้ า. สื บค้นเมื่อ 18 เมษายน 2556, จาก http://www.tanitsorat.com/view.php?id=45 ธี รพล ภูรัต. (2545). การโฆษณาและพฤติกรรมผู้บริ โภค. พิมพ์ครั้ งที่ 7. กรุ งเทพฯ: ธนาเพลส แอนด์ กราฟฟิ ค ปราณี คูเจริ ญไพศาล. (2542). ปัจจัยการซื้อซ�้ำ(Repeat Purchase Factors) ในฐานะ ตัวบ่ งชี้(Indicators) ระดับความพึงพอใจของผู้บริโภคในการซื้อสิ นค้ าประเภท อาหาร: กรณี ศึ ก ษาของผูบ้ ริ โ ภคในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั พรทสร โขบุญญากุล. (2552). การรั บรู้ ความเสี่ ยงของผู้บริ โภคในการซื้อสิ นค้ าอุปโภค บริ โ ภคในไฮเปอร์ มาร์ เก็ ต . สารนิ พ นธ์ บ ริ หารธุ ร กิ จ มหาบัณ ฑิ ต สาขา วิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ มาร์เก็ตเธี ยร์. (2546). Perceived Risk. สื บค้นเมื่อ 26 เมษายน 2556, จาก http://www. marketeer.co.th/inside_detail.php?inside_id=2209 วิสุทธิ์ กาญจนขวัญดี. (2555). ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดและคุณค่ าตราสิ นค้ าทีม่ ผี ล ต่ อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ น�้ำมันพืชบรรจุขวด ตรา “กุ๊ก” ของผู้บริ โภค ในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

81


ศิรินภา สระทองหน. (2555). ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อพฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้บริโภค ต่ อการใช้ บริการร้ านวัตสั น ในเขตกรุ งเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริ หารธุรกิจ มหาบัณทิต สาขาวิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2554). หนังสื อระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และ สั งคมศาสตร์ บทที่ 6 การสุ่ มตัวอย่ าง. สื บค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2556, จาก http:// www.udru.ac.th/website/attachments/elearning/01/07.pdf สวรส อมรแก้ว. (2555). ปัจจัยด้ านการรับรู้ ความเสี่ ยงที่มีอทิ ธิพลต่ อพฤติกรรมการซื้อ สิ นค้าอาหารจากตลาดสดในกรุงเทพมหานครของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์บริ หาร ธุรกิจมหาบัณทิต สาขาวิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สันติธร ภูริภกั ดี. (ม.ป.ป.). ความเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคธุรกิจค้าปลีก. สื บค้น เมื่อ 18 เมษายน 2556, จาก http://ba.bu.ac.th/ejournal/MK/MK5_1/MK5_1.html ส�ำนักส่ งเสริ มและพัฒนาธุรกิจ. (2552). โครงการศึกษาวิจัยการพัฒนาระบบโซ่ อุปทาน (Supply chain) ธุรกิจค้ าปลีก. สื บค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2556, จาก http://www. dbd.go.th สุ พรรณี อินทร์แก้ว. (2553). การบริหารการค้ าปลีก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: ธนาเพรส. สุ รชาติ ลิ้มวารี . (2547). ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคจากการจัดรายการ ส่ งเสริมการขาย และการให้ บริการของห้ างเทสโก้โลตัสในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิ พ นธ์ บ ริ หารธุ ร กิ จ มหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการตลาด. มหาวิ ท ยาลัย ศรี นคริ นทรวิโรฒ อารี ย ์ แผ้วสกุลพันธ์. (2552). ความรู้เบือ้ งต้นเกีย่ วกับการจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน. สืบค้นเมือ่ 23 เมษายน 2556, จาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/311893 Akpinar ,G.M., Ozkan,B., Sayin,C. & Ceylan,F.R. (2010). Consumer risk perceptions towards food supply chain preferences: The case of the supermarket. Journal of Food, Agriculture & Environment Vol.8 : 256-260 Berry, J. (2011). Consumer Behavior and Decision Making. Retrieved 22 July 2013, from http://extension.psu.edu/business/start-farming/news/2011/consumerbehavior-and-decision-making Hair, J. F. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective. 7th ed. New Jersey: Prentice Hall.

82

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Hawkins, D.I & Mothersbaugh, D.L. (2012). Consumer behavior (12th ed.). New York, NY: McGraw-Hill/Irwin. Kotler, P. (2000). Marketing management. 10th ed. New Jersey: Simon & Schuster. Mentzer, J. T., DeWitt, W., Keebler, J. S., Min, S., Nix, N. W., Smith, C. D. and Zacharia, Z. G. (2001). Defining supply chain management. Journal of Business Logistics, 22(2), 1-25. อ้างถึงในสื บชาติ อันทะไชย. (2552). การบริหารการตลาด. สื บค้น เมื่ อ 26 กันยายน 2556, จาก http://www.udru.ac.th/website/attachments/ elearning/07/18.pdf Mitchell,V-W. (1998). A role for consumer risk perceptions in grocery retailing. British Food Journal 100/4 : 171-183 Mooij,M.D. (2011). Consumer Behavior and Culture Consequences for Global Marketing and Advertising(2nd Edition). United States of America: SAGE Publication Inc. Solomon,M.R., Marshall,G.W. & Stuart,E.W. (2012). Marketing REAL PEOPLE REAL CHOICES. 7th ed. New Jersey:Pearson Education Sukanya Sirikeratikul (2013, Jan 23). Global agricultural information network (Report Number: TH3011). USDA Foreign Agricultural Service. Retrieved May10, 2013, from gain.fas.usda.gov/Recent GAIN Publications/Retail Foods_ Bangkok_Thailand_1-23-2013.pdf

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

83


การใช้ แบบจ�ำลอง KAP กับการศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติการป้ องกัน การติดเชื้อ เอช ไอ วี / เอดส์ ของคนประจ�ำเรือไทย* The KAP Model and A Study of Behavior and Attitude on Prevention HIV/AIDS Infection in Thai Seafarers ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์ **

บทคัดย่ อ ตลอดหลายปี ที่ผา่ นมา การค้าระหว่างประเทศเติบโตขึ้นอย่างมากโดยส่ วนใหญ่ หรื อร้อยละ 95 ใช้การขนส่ งทางทะเลเป็ นหลัก ซึ่งต้องใช้คนประจ�ำเรื อที่มีความรู ้ ทักษะ เฉพาะด้าน ความอดทนและมีประสบการณ์สูง ซึ่ งปั จจุบนั นี้ ประเทศไทยประสบปั ญหา การขาดแคลนคนประจ�ำ เรื อ อย่า งรุ น แรง แต่ มี ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ ส�ำ คัญ ยิ่ง ต่ อ การพัฒ นา คนประจ�ำเรื อไทยคือสถานการณ์การติดเชื้อ HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อไทยซึ่งนับวัน จะทวีความรุ นแรงเพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้ งนี้ คือการตรวจสอบว่า แบบจ�ำลอง KAP มีความเหมาะสมกับรู ปแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานและการด�ำเนินชีวติ บนเรื อสิ นค้าของคนประจ�ำเรื อหรื อไม่ และระบุ ปัจจัยที่ มีอิทธิ พลต่อพฤติ กรรมและ แรงจูงใจของคนประจ�ำเรื อในการป้ องกันการติ ดเชื้ อ HIV ในคนประจ�ำเรื อ รวมทั้ง เพื่อศึกษาก�ำหนดแนวทางการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มเป้ าหมาย การศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิโดยสังเคราะห์งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องและ ข้อมูลปฐมภูมิ โดยแจกแบบสอบถามกับคนประจ�ำเรื อไทย 500 คนได้รับตอบกลับมา 350 คนคิ ด เป็ นอัต ราการตอบกลับ คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 70 ผลการศึ ก ษาพบว่า ตัว แปรใน แบบจ�ำลอง KAP มีความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ส�ำคัญและแบบจ�ำลองนี้ สามารถน�ำมา * ผูว้ ิจยั ใคร่ ขอขอบคุณส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่ มอบทุนสนับสนุ นการวิจยั ในครั้งนี้ รวมทั้งผูท้ รงคุณวุฒิของ สกอ. ที่ให้ขอ้ เสนอแนะที่มีคุณค่ายิง่ ขอขอบคุณคณบดีคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่สนับสนุนเรื่ องสถานที่วจิ ยั และทีมงานของศูนย์วจิ ยั โลจิสติกส์และการจัดการทุกท่าน ** DBA in Business Administration, University of South Australia (2004) ปัจจุบนั เป็ นอาจารย์ประจ�ำคณะ โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา

84

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ประยุกต์ใช้กบั กลุ่มคนประจ�ำเรื อไทยได้ โดยผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นว่าคนประจ�ำเรื อ ไทยส่ วนใหญ่ยงั ขาดความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS ซึ่ งจะส่ งผลต่อทัศนคติและ การปฏิบตั ิตวั เมื่อต้องระวังและป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS โดยการศึกษาครั้งนี้ได้สรุ ป แนวทางและแผนปฏิ บ ัติ ก ารเพื่ อ กระตุ ้น ส่ ง เสริ ม หรื อ ปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของ คนประจ�ำเรื อในลักษณะควบคุมตนเอง (Self-Controlling) ค�ำส� ำคัญ : คนประจ�ำเรื อ, การติดเชื้อเอชไอวี, แบบจ�ำลอง KAP, พฤติกรรม, ประเทศไทย

Abstract Recent years ago, international trade has rapidly been growing and expanding. More than 95 percent by cargo weight is carried by sea-going. Seamen play a significant role to support to maritime transport. This career needs professionally specific skills with patient and many experiences. Thailand labor market has been seriously confronting with seaman shortage. The evident shows that many Thai seamen are infected to HIV/AIDS and transmitted the infection to their wives. The objective of this study is to examine how the KAP model fits to pattern of working of Thai seamen. It identifies factors influence to modify and change the seamen’s behaviors to prevent them from HIV infection. Further, the paper defines an approach to prevent HIV infection focusing on encouraging, support and change seaman’s behavior. To achieve the objective, the paper synthesizes secondary related to seaman’s behavior and HIV/AIDS. It also collects primary data through questionnaire and interview methods. The questionnaire was distributed to 500 seamen and 350 questionnaires were returned with rate of return was 70 percent. The result found that variables in KAP model had statistically relationships. It also suggests that the model fit with Thai seamen’s behavioral study. It reveals that seamen lack knowledge and understanding related to HIV/AIDS. As the result, it influences to their attitude and behavior for preventing HIV infection. It also recommends an approach and action plan to encourage, support for modifying or changing seamen’s behavior in pattern of self-controlling. Keywords : Seaman, HIV, KAP, Behavior, Thailand Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

85


บทน�ำ

ตลอดระยะเวลาหลายปี ที่ผ่านมาการค้าระหว่างประเทศของไทยมีการเติบโต อย่างต่อเนื่องโดยส่ วนใหญ่ร้อยละ 95 ใช้การขนส่ งสิ นค้าทางทะเลเป็ นหลัก ซึ่ งสะท้อน ให้เห็นว่าธุ รกิจพาณิ ชย์นาวีได้เข้ามามีบทบาทอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ หนึ่งในองค์ประกอบหลักที่สำ� คัญของการขนส่งทางทะเลคือการใช้คนประจ�ำเรื อ ที่มีความรู ้ ทักษะเฉพาะด้าน ความอดทนและมีประสบการณ์สูง ทั้งนี้ผลการศึกษา พบว่าคนประจ�ำเรื อเหล่านี้มีวงชีวิตในการปฏิบตั ิงานบนเรื อ สิ นค้าระหว่าง 5-7 ปี เท่านั้น เนื่องจากข้อจ�ำกัดเกี่ยวกับการอยูไ่ กลบ้าน ไม่อดทนต่อภาวะ คลื่นลมทะเล เป็ นต้น ดังนั้นจะพบได้วา่ การพัฒนาคนประจ�ำเรื อไทยมีตน้ ทุนค่อนข้างสูง ระยะเวลาการปฏิบตั ิงานของคนเหล่านี้ไม่นานเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเพือ่ นบ้าน ท�ำให้ เกิดการไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานของตลาดแรงงานในอุตสาหกรรมนี้ ในปัจจุบนั มีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาและการเติบโตของ อาชีพคนประจ�ำเรื อไทยคือสถานการณ์การติดเชื้อและการแพร่ กระจายของเชื้อ HIV/AIDS ที่ เ กิ ด กับ คนประจ�ำ เรื อ ซึ่ งนับ วัน จะทวี ค วามรุ น แรงเพิ่ ม มากขึ้ น (United Nations Development Programme, 2006) เนื่องจากการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งเดินทางไปรอบโลกท�ำให้ คนประจ�ำเรื อกลายเป็ นพาหะน�ำโรคชั้นดีที่เคลื่อนที่ไปในทุกเมืองหรื อประเทศที่เรื อไปถึง เมื่อเรื อถึงยังเมืองท่า การขึ้นบกไปเที่ยวผับบาร์ กลายเป็ นจุดเสี่ ยงต่อการติดเชื้อ HIV ซึ่ ง สามารถแพร่ กระจายไปสู่เพื่อนร่ วมงาน ครอบครัวหรื อคนใกล้ชิดได้ ตัวเลขคนประจ�ำเรื อที่ติดเชื้อ HIV/AIDS ทัว่ โลกมีประมาณ 9 แสนคนในปี 2545 และเพิ่มเป็ น 1.8 ล้านคนในปี 2547 จนถึง 2550 และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น เรื่ อย ๆ (United Nations Development Programme, 2006) นอกจากนี้ขอ้ มูลส�ำนักระบาด วิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีรายงานสถานการณ์ผปู ้ ่ วยเอดส์และผูต้ ิดเชื้อ ที่มีอาการในประเทศไทยล่าสุ ด (30 พฤศจิกายน 2556) ส�ำนักระบาดวิทยารายงานว่า มีจำ� นวนผูป้ ่ วยเอดส์ เสี ยชีวติ แล้ว ทั้งสิ้ น จ�ำนวน 307,114 ราย แม้วา่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะพยายามท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้ปัญหาโรคเอดส์หมดไปจากประเทศไทยโดยเร็ ว แต่จนถึง ขณะนี้ ปรากฏว่าปัญหาโรคเอดส์ยงั คงเป็ นปัญหาใหญ่ที่คร่ าชีวติ คนไทยไปเป็ นจ�ำนวนมาก โดยจ�ำนวนนี้ มีสัดส่ วนของคนประจ�ำเรื อไทยประมาณ 15,000 คน (United Nations Development Programme, 2006) ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือเพื่อศึกษารู ปแบบของพฤติ กรรม ในการปฏิบตั ิงานและการใช้ชีวิตของคนประจ�ำเรื อไทย โดยได้ประยุกต์ใช้แบบจ�ำลอง 86

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Knowledge-Attitude-Practice; KAP เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อท�ำความเข้าใจพฤติกรรมของ คนประจ�ำเรื อ รวมทั้งศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการน�ำเอาโปรแกรมการป้ องกันการติดเชื้อ HIV มาประยุกต์ใช้กบั คนประจ�ำเรื อ โดยผลการศึกษาที่ได้รับครั้งนี้ จะน�ำไปใช้ในการ ก�ำหนดแนวทางและกลยุทธ์ในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ในคนประจ�ำเรื อไทยโดย มุ่งเน้นการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วน

ทบทวนวรรณกรรม

แม้วา่ จะมีการน�ำเอาหลายแบบจ�ำลองมาประยุกต์ใช้กบั มนุษย์ในสาขาอาชีพต่างๆ (Fisher, J.D., Kimble, D.L., Misovich, S.J. and Weinstein, B., 1998, Singh, I.N. and Malaviya, A.N., 1994) แต่ยงั ไม่ปรากฏว่ามีการน�ำมาประยุกต์ใช้กบั คนประจ�ำเรื อ โดย เฉพาะคนประจ�ำเรื อไทย ดังนั้นการประยุกต์ใช้แบบจ�ำลองต่างๆจะช่วยให้ผวู ้ จิ ยั สามารถ เข้าใจพฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างเป็ นระบบ ซึ่ งจะท�ำให้การก�ำหนดแนวทาง ในการแก้ไขปั ญหาและการหาแนวทางป้ องกันกระท�ำได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและด�ำเนิน การปรับแก้ไขพฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมายที่ตน้ เหตุ ผลการศึกษา (Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. 1989) สรุ ปได้วา่ คนประจ�ำเรื อไทยยังขาดความรู ้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ เกี่ ยวกับ HIV/AIDS ทั้งในระดับนายประจ�ำเรื อและระดับลูกเรื อ โดยเฉพาะในระดับ นายประจ�ำเรื อ ซึ่ งจะมี ระดับการศึ กษาที่ สูงกว่าโดยส่ วนใหญ่ จบการศึ กษาในระดับ ปริ ญญาตรี แต่ผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นถึงการขาดความรู ้และส่ วนใหญ่ที่ไม่มีความรู ้ อย่างแท้จริ งเกี่ยวกับ HIV/AIDS นอกจากนี้การทบทวนวรรณกรรม (Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. 1989, United Nations Development Programme, 2006) ระบุได้วา่ คนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่ มีพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการติดเชื้อ HIV/AIDS เนื่องจากคนเหล่านี้ขาดการเข้าถึงข้อมูลและ ขาดความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS อันเกิดจากหลายองค์ประกอบ อาทิ นายจ้าง หรื อบริ ษทั สายการเดินเรื อ ตัวคนประจ�ำเรื อเองและนายประจ�ำเรื ออาวุโส เป็ นต้น ทั้งนี้ Kelly, J.A. and Amirkhanian, Y.A. (2003) ได้เสนอแบบจ�ำลอง KAP (KnowledgeAttitude-Practice) ซึ่ งใช้ทำ� ความเข้าใจเกี่ยวกับรู ปแบบของพฤติกรรมของมนุษย์และใช้ ในการก�ำหนดโปรแกรมปรับเปลี่ยนหรื อดัดแปลงพฤติกรรมตามที่ตอ้ งการ ขณะที่ Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. (1989) ได้เคยมีการประยุกต์ใช้ แบบจ�ำ ลอง KAP ในด้า นพฤติ ก รรมศาสตร์ อ ย่า งกว้า งขวางโดยระบุ ว่า ความเข้า ใจ หลักพฤติ กรรมภายใต้แบบจ�ำลองนี้ จะช่ วยให้การก�ำหนดแนวทางและมาตรการใน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

87


การกระตุ ้น และการควบคุ ม พฤติ ก รรมเสี่ ย งที่ มี ต่ อ การติ ด เชื้ อ HIV/AIDS ในกลุ่ ม คนประจ�ำเรื อกระท�ำได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล โดยแบบจ�ำลอง KAP จะ ประกอบด้วย ความรู ้ความเข้าใจ (K) ทัศนคติที่เป็ นบวก/ลบต่อ HIV/AIDS (A) และ การปฏิบตั ิตวั (P) เพื่อระวังและการป้ องกันการติดเชื้อHIV/AIDS

รู ปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ในแบบจ�ำลอง KAP รู ปที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ในแบบจ�ำลอง KAP โดย กล่าวคือความรู ้ (K) ส่ งผลให้เกิดทัศนคติ (A) ซึ่งส่ งผลให้เกิดการปฏิบตั ิ (P)โดยมีทศั นคติ เป็ นตัว กลางระหว่างความรู ้ กับการปฏิ บตั ิ คื อ ทัศนคติ จะเกิ ดจากความรู ้ ที่ มีอยู่และ การปฏิบตั ิจะแสดงออกไปตามทัศนคติน้ นั ซึ่ งอาจจะกล่าวได้ว่าความรู ้ ทัศนคติ และ พฤติกรรม มีความสัมพันธ์กนั หลายแบบทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเชื่อได้วา่ ทัศนคติ ที่ดีจะท�ำให้มีคนประจ�ำเรื อมีพฤติกรรมในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ซึ่ งต้องสื บเนื่ อง มาจากคนประจ�ำเรื อนั้นมีความรู ้และทัศนคติที่ดีที่จะช่วยน�ำเอาความรู ้เกี่ยวกับการระวัง และการป้ องกันการติ ดเชื้ อ HIV ไปใช้ หรื อกล่าวได้ว่าความรู ้ ทัศนคติ พฤติ กรรม มีผลต่อเนื่ องกัน เช่นทัศนคติมีผลต่อพฤติกรรมและพฤติกรรมมีผลมาจากทัศนคติ ซึ่ ง ทั้งหมดจะมีพ้ืนฐานมาจากความรู ้ การทบทวนวรรณกรรม (Benora, S.K., Khelendra, R.K., Choudhury, B.N., et al. 1992, Kuruvila, M. Venugopalan, P.P., Sridhar, K.S. and Kumar, S. 1997, Lagarde, E., Pison, G. and Enel, C., 1996) เกี่ยวกับแบบจ�ำลองของ KAP เข้ามาใช้ร่วมกับแบบจ�ำลอง อืน่ ๆ ด้วย โดย Singh (Singh, I.N. and Malaviya, A.N., 1994) กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู ้ ทัศนคติและการปฏิบตั ิตนไว้ 4 รู ปแบบ ซึ่ งเป็ นประโยชน์ในการก�ำหนดแผน ปฏิบตั ิการเพื่อก�ำหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังนี้คือ

รู ปที่ 2 โมเดล KAP รู ปแบบที่ 1 88

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รู ปที่ 2 แสดงโมเดล KAP รู ปแบบที่ 1 อธิบายว่าความรู ้ (K) ส่ งผลให้เกิดทัศนคติ (A) ซึ่งส่ งผลให้เกิดการปฏิบตั ิ (P) โดยมีทศั นคติเป็ นตัวกลางระหว่างความรู ้กบั การปฏิบตั ิ คือ ทัศนคติจะเกิดจากความรู ้ที่มีอยูแ่ ละการปฏิบตั ิจะแสดงออกไปตามทัศนคติน้ นั

รู ปที่ 3 โมเดล KAP รู ปแบบที่ 2 รู ปที่ 3 แสดงโมเดล KAP รู ปแบบที่ 2 อธิบายว่า ความรู ้ (K) และทัศนคติ (A) มีความสัมพันธ์ซ่ ึงกันและกันและท�ำให้เกิดการปฏิบตั ิ (P) ตามมา

รู ปที่ 4 โมเดล KAP รู ปแบบที่ 3 รู ปที่ 4 แสดงโมเดล KAP รู ปแบบที่ 3 อธิบายว่า ความรู ้ (K) และทัศนคติ (A) ต่างก็ทำ� ให้เกิดการปฏิบตั ิ (P) โดยที่ความรู ้และทัศนคติไม่จำ� เป็ นต้องสัมพันธ์กนั

รู ปที่ 5 โมเดล KAP รู ปแบบที่ 4 Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

89


รู ปที่ 5 แสดงโมเดล KAP รู ปแบบที่ 4 อธิบายว่า ความรู ้ (K) มีผลต่อการปฏิบตั ิ (P) ทั้งทางตรงและทางอ้อม มีทศั นคติ (A) เป็ นตัวกลางท�ำให้เกิดการปฏิบตั ิตามความรู ้น้ นั หรื อความรู ้มีผลต่อทัศนคติก่อน แล้วการปฏิบตั ิที่เกิดขึ้นเป็ นไปตามทัศนคติน้ นั สรุ ปได้ว่า ความรู ้ ทัศนคติ และพฤติกรรม มีความสัมพันธ์กนั หลายแบบทั้ง ทางตรงและทางอ้อม เชื่อว่า ทัศนคติที่ดีจะท�ำให้มีพฤติกรรมที่ดีซ่ ึ งจะส่ งผลให้บุคคลที่ ได้รับบริ การมีความรู ้ สึกหรื อทัศนคติที่ดีดว้ ยเช่ นกัน หรื อสรุ ปได้ว่า ความรู ้ ทัศนคติ พฤติกรรม มีผลต่อเนื่ องกัน เช่น ทัศนคติมีผลต่อพฤติกรรมและพฤติกรรมมีผลมาจาก ทัศนคติ ซึ่งทั้งหมดจะมีพ้นื ฐานมาจากความรู ้และความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมหรื อหน้าที่ ความรับผิดชอบ ผลลัพธ์จากแบบจ�ำลอง KAP สามารถน�ำมาใช้ในการก�ำหนดแนวทางการป้ องกัน การติดเชื้อ HIV/AIDS ในกลุ่มคนประจ�ำเรื อนั้น แบบจ�ำลอง KAP (Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. 1989, Dehne, K.L. et al., 2004) แสดงให้เห็นว่าแทนที่จะเข้าไปห้ามปราม คนประจ�ำเรื อไม่ให้เที่ยวผูห้ ญิงหรื อมีเพศสัมพันธ์กบั ผูห้ ญิงอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของตนเอง ซึ่ งกระท�ำได้ยากส�ำหรั บผูท้ ี่ ทำ� อาชี พนี้ แต่ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องควรเข้าไปปรั บแก้พฤติ กรรม ที่ ต ้น ทางคื อ การให้ห รื อ การจัด ข้อ มู ล HIV/AIDS และสร้ า งกระบวนการเรี ย นรู ้ ใ ห้ คนประจ�ำเรื อไทยในการเข้าถึงข้อมูลหรื อแหล่งข้อมูล HIV/AIDS รวมทั้งจัดให้มี กลไก ในการเสริ มพฤติกรรมการรับรู ้ขอ้ มูลที่เหมาะสม เช่นการติดป้ ายโปสเตอร์เกี่ยวกับ HIV/ AIDS การจัดกิจกรรมหรื อการแข่งขันในการป้ องกันการติดเชื้ อ HIV อย่างจริ งจังและ ต่อเนื่อง เป็ นต้น ผลที่ตามมาคือ จะท�ำให้คนประจ�ำเรื อเกิดทัศนคติที่เป็ นบวกต่อการป้ องกัน ตนเองจากการติดเชื้อ HIV ซึ่ งจะกระตุน้ ให้เกิดแรงจูงใจในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV โดยเฉพาะถ้ามีกลไกในการเสริ มแรงจูงใจที่ดีและเหมาะสม เช่น ได้รับการกระตุน้ จาก ครอบครัวหรื อแกนน�ำบนเรื อก็จะยิง่ ท�ำให้คนประจ�ำเรื อระวังตนเองจากสถานการณ์เสี่ ยง ต่อการติดเชื้อ HIV หรื อมีการปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV เช่นการ สวมถุงยางอนามัยหรื อการไม่ดื่มแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์มากยิง่ ขึ้น การทบทวนวรรณกรรม (Benora, S.K., Khelendra, R.K., Choudhury, B.N., et al. 1992, Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. 1989, Kuruvila, M. Venugopalan, P.P., Sridhar, K.S. and Kumar, S. 1997, Lagarde, E., Pison, G. and Enel, C., 1996.) น�ำไปสู่ ข้อสรุ ปที่วา่ คนประจ�ำเรื อที่มีความรู ้ (K) และความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS จะมีทศั นคติ (A) และค่านิยมที่เป็ นบวกต่อการระวังและการป้ องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV ซึ่ งจะ น�ำไปสู่ การมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปฏิบตั ิตวั (P) เพื่อระวังและการป้ องกันการติด 90

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


เชื้อ HIV/AIDS ในทางตรงกันข้าม คนประจ�ำเรื อที่ไม่มีความรู ้ (K) และขาดความเข้าใจ เกี่ยวกับ HIV/AIDS จะมีทศั นคติ (A) และค่านิ ยมที่ไม่ดีหรื อเป็ นลบต่อการระวังและ การป้ องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV ซึ่งจะน�ำไปสู่การมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการ ปฏิบตั ิตวั (P) เพื่อระวังและการป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS โดยผลการศึกษาสะท้อน ให้เห็นว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะหาแนวทางหรื อมาตรการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มคนเรื อ โดยด�ำเนินการที่ตน้ เหตุ มิใช่ปลายเหตุ หรื อกล่าวได้วา่ แทนที่เราจะไปปรับ แก้ไขที่ พฤติ กรรมหรื อการปฏิบตั ิ ตวั ของคนเรื อ เราควรจะต้องป้ องกันโดยให้ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ ยวกับ HIV/AIDS แก่ คนประจ�ำเรื อ ท�ำให้บุคคลเหล่านี้ สามารถเข้าถึ ง แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ HIV/AIDS ได้แม้ว่าเรื อจะอยูท่ ี่ใดๆบนโลกใบนี้ ถ้าบุคคลเหล่านี้ มีความรู ้ความเข้าใจแล้ว ก็จะเกิดทัศนคติที่เป็ นบวกในการระวังและป้ องกันการติดเชื้อ HIV

ระเบียบวิธีวจิ ยั

การศึกษาซึ่งการศึกษาครั้งนี้ได้ประยุกต์ใช้แบบจ�ำลอง KAP เพือ่ ศึกษาพฤติกรรม และทัศ นคติ ข องคนประจ�ำ เรื อ ไทยที่ มี ต่ อ การระวัง การป้ องกัน การติ ด เชื้ อ และการ แพร่ กระจายเชื้อ HIV/AIDS รวมทั้งก�ำหนดแนวทางในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ใน คนประจ�ำเรื อโดยพัฒนาขึ้นจากแบบจ�ำลอง KAP โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้กรอบแนวคิด โดยพัฒนามาจากแบบจ�ำลอง KAP (ตามรู ปที่ 2-1) โดยพิจารณาว่าการที่คนประจ�ำเรื อไทย จะมี ก ารปฏิ บ ัติ ต ัว ในการระวัง และการป้ องกัน การติ ด เชื้ อ HIV/AIDS ที่ ดี แ ละมี ประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยูก่ บั ว่าคนประจ�ำเรื อเหล่านั้นมีทศั นคติและเจตคติเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV และการป้ องกันการเป็ นโรคเอดส์อย่างไร ทั้งนี้กลุม่ ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั คือคนประจ�ำเรื อไทยทั้งระดับลูกเรื อและระดับ นายประจ�ำเรื อ ในฝ่ ายเดินเรื อและฝ่ ายช่างกลเรื อจ�ำนวน 170,997 คน (กรมการขนส่ ง ทางน�้ำและพาณิ ชย์นาวี 2550) ทั้งนี้ เพื่อให้มีระดับความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จดั เก็บได้ และภายใต้งบประมาณ นักวิจยั ได้กำ� หนดกลุ่มตัวอย่างที่นำ� มาใช้คือคนประจ�ำเรื อไทยทั้ง ระดับลูกเรื อและระดับนายประจ�ำเรื อ ทั้งสองฝ่ ายโดยสุ่ มตามสะดวกมาจากผูเ้ ดินทางมา อบรมจ�ำนวน 350 คน (9, 13) โดยใช้คนประจ�ำเรื อระดับนายประจ�ำเรื อจ�ำนวน 190 คน และคนประจ�ำเรื อระดับลูกเรื อจ�ำนวน 160 คน แหล่งที่จะเก็บข้อมูลได้มาจากคนประจ�ำเรื อ ที่มาฝึ กอบรมที่ศูนย์ฝึกพาณิ ชย์นาวี ตามท่าเรื อหรื อบริ ษทั สายการเดินเรื อเป็ นต้น ขณะที่ การศึกษาครั้งนี้ได้กำ� หนดค�ำถามส�ำหรับการวิจยั คือ รู ปแบบของพฤติกรรมการปฏิบตั ิงาน และการด�ำเนินชีวติ ขณะอยูบ่ นเรื อสิ นค้าของคนประจ�ำเรื อมีความสัมพันธ์กนั อย่างไร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

91


การศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้ก ำ� หนดสมมุ ติ ฐ านโดยพิ จ ารณาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง 3 ตัวแปรคือ ความรู ้ความเข้าใจ (K) เกี่ยวกับ HIV/AIDS ทัศนคติ (A) และการปฏิบตั ิตวั (P) ของคนประจ�ำเรื อในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ดังนี้คือ

รู ปที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ในแบบจ�ำลอง KAP H1 = ความรู ้ความเข้าใจ (K) เกี่ยวกับ HIV/AIDS และทัศนคติ (A) เกี่ยวกับ การระวังและการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ของคนประจ�ำเรื อไทยเป็ นอิสระต่อกัน H2 = ทัศนคติ (A) เกี่ ยวกับการระวังและการป้ องกันการติ ดเชื้ อ HIV และ การปฏิบตั ิตวั เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ HIV ของคนประจ�ำเรื อไทยเป็ นอิสระต่อกัน H3 = ความรู ้ความเข้าใจ (K) เกี่ยวกับ HIV/AIDS และการปฏิบตั ิตวั เพื่อป้ องกัน การติดเชื้อ HIV ของคนประจ�ำเรื อไทยเป็ นอิสระต่อกัน การศึกษาครั้งนี้จะท�ำการเก็บข้อมูลทั้งจากแหล่งข้อมูลทุตยิ ภูมโิ ดยผูว้ จิ ยั จะท�ำการ ทบทวนวรรณกรรมศึกษาและศึกษาข้อมูลจากการรวบรวมสถิติ ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพโดยสื บค้นงานวิจยั ต่างๆทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ และแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยเก็บข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถามและค�ำถามที่จะใช้ใน การสัมภาษณ์จากบุคคล หน่วยงานหรื อสถาบันต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่กำ� ลังท�ำการ ศึ กษาเพื่อใช้เป็ นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ ผลการศึ กษา โดยการส�ำรวจและแจก แบบสอบถามให้กบั คนประจ�ำเรื อไทยกลุ่มเป้ าหมายตามเรื อสิ นค้าที่เข้าเทียบท่าหรื อจอด ผูกทุ่นอยูก่ ลางน�้ำไม่ว่าจะเป็ นที่ท่าเรื อกรุ งเทพ ท่าเรื อแหลมฉบังหรื อท่าเรื อมาบตาพุด เป็ นต้น เครื่ องมือวิจยั เช่นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ได้รับการตรวจสอบในเรื่ องของ ความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยมีค่า Cronbach Alpha ที่ 0.89 อีกทั้ง การศึกษาครั้งนี้ ได้ผา่ นการพิจารณาและได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการจริ ยธรรม และการวิจยั ในสัตว์และมนุษย์ มหาวิทยาลัยบูรพาแล้ว ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จะถูกน�ำมาตรวจสอบความเรี ยบร้อยและความสมบูรณ์ ก่ อ นที่ จ ะน�ำ เข้า สู่ ก ระบวนการประมวลผล โดยข้อ มู ล ที่ ไ ด้รั บ จากการส�ำ รวจโดย 92

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


แบบสอบถาม จะถูกน�ำมาประมวลผลโดยใช้โปรแกรมประมวลผลด้วยวิธีทางสถิติ (SPSS for Window version 10.0.5) และมีการใช้การวิเคราะห์ทางสถิติตา่ งๆเช่น สถิติเชิงพรรณนา และการวัดสหสัมพันธ์โดยวิธีเพียร์สนั ไคร สแควร์ เป็ นต้น

ผลการศึกษา

เพื่อให้การศึกษาครั้งนี้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ การศึกษาครั้งนี้ ได้แจก แบบสอบถามตามบริ ษทั สายการเดินเรื อ ศูนย์ฝึกพาณิ ชย์นาวีและตามท่าเรื อต่างๆระหว่าง เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554 จ�ำนวน 500 ชุดและได้รับการตอบกลับจ�ำนวน 350 ชุดคิดเป็ น อัตราการตอบกลับเท่ากับ 0.70 โดยสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลพืน้ ฐาน

ร้ อยละ

อายุ น้อยกว่า 20 ปี 20-25 ปี 26-30 ปี 31-35 ปี มากกว่า 35 ปี

รวม

14 52 24 10 100 80 20 100

รวม

11 83 6 100

รวม สถานภาพ โสด สมรส ระดับการศึกษา ต�่ำกว่าปริ ญญาตรี ปริ ญญาตรี สูงกว่าปริ ญญาตรี

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

93


ข้อมูลพืน้ ฐาน

รายได้ น้อยกว่า 10,000 บาท 10,001 – 20,000 บาท 20,001 – 30,000 บาท มากกว่า 30,000 บาท ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน น้อยกว่า 1 ปี 1-3 ปี 3-5 ปี 5-7 ปี มากกว่า 7 ปี

ร้ อยละ

รวม

5 27 45 23 100

13 40 13 20 13 รวม 100 ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลประชากรศาสตร์ ของกลุ่มตัวอย่างที่ทำ� การส�ำรวจ โดย พบว่าอายุของกลุ่มตัวอย่างที่ทำ� การเก็บแบบสอบถามส่ วนใหญ่หรื อร้ อยละ 52 มีอายุ อยูร่ ะหว่าง 25-30 ปี รองลงมาจะมีอายุอยูร่ ะหว่าง 30-35 ปี 20-25 ปี และ มากกว่า 35 ปี ใน อัตราร้อยละ 24 ร้อยละ 14 และร้อยละ 10 ตามล�ำดับ ทั้งนี้ จากผลการส�ำรวจแสดงให้ เห็ นว่าช่ วงอายุของคนประจ�ำเรื อไทยมี การกระจายตัว แต่คนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่จะ เป็ นกลุ่มคนที่มีช่วงอายุ 25-35 ปี ซึ่งเป็ นกลุ่มวัยท�ำงานเป็ นส่ วนใหญ่ เมื่อพิจารณาถึงสถานภาพของกลุ่มตัวอย่างที่ทำ� การศึกษา โดยผลการส�ำรวจ พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 80 มีสถานภาพโสด อัตราร้อยละ 20 มีสถานภาพ สมรสและเมื่อพิจารณาระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่ทำ� การศึกษา การส�ำรวจพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ในอัตราร้อยละ 83 รองลงมาต�่ำกว่า ปริ ญญาตรี ในอัตราร้อยละ 11 และสูงกว่าปริ ญญาตรี ในอัตราร้อยละ 6 ตามล�ำดับ ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าคนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริ ญญาตรี ส�ำหรับระดับรายได้ของกลุ่มตัวอย่างที่ทำ� การเก็บแบบสอบถาม โดยการส�ำรวจ พบว่ารายได้ของกลุม่ คนประจ�ำเรื อส่วนใหญ่หรื ออัตราร้อยละ 45 อยูท่ ี่ 20,000-30,000 บาท รองลงมาอัตราร้อยละ 27 รายได้อยูท่ ี่ 10,000-20,000 บาท อัตราร้อยละ 23 รายได้อยูท่ ี่ มากกว่า 30,000 บาท และอัตราร้อยละ 5 รายได้อยูท่ ี่ ต�่ำกว่า 10,000 บาท ตามล�ำดับ จาก ผลการส�ำรวจพบว่าผูท้ ี่ประกอบอาชีพคนประจ�ำเรื อส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนค่อนข้างสูง 94

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


เมื่อพิจารณาระยะเวลาการปฏิบตั ิงานบนเรื อของกลุ่มตัวอย่าง โดยการส�ำรวจ พบว่าระยะเวลาการท�ำงานบนเรื อส่ วนใหญ่หรื ออัตราร้อยละ 40 มีระยะเวลาการท�ำงาน บนเรื อ 1-3 ปี รองลงมาอัตราร้อยละ 20 มีระยะเวลาในการท�ำงานบนเรื อ 5-7 ปี อัตรา ร้อยละ 13 มีระยะเวลาการท�ำงานบนเรื อประมาณ มากกว่า 7 ปี 5-7 ปี และ น้อยกว่า 1 ปี การส�ำ รวจพบว่า การปฏิ บ ตั ิ ง านบนเรื อ ของกลุ่ม ตัว อย่า งโดยส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ใ นช่ ว ง ระยะเวลา 1-3 ปี ตารางที่ 2 ผลการส�ำรวจความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อไทย (n = 350 ชุด) ความรู้เบือ้ งต้นในการติดเชือ้ HIV/AIDS 1. การใช้ถุงยางอนามัยสามารถป้ องกันการติด เอดส์ได้ 2. การมีคนู่ อนคนเดียวที่ไม่มีเชื้อเอดส์ป้องกัน เอดส์ได้ 3. ยุงเป็ นพาหะของเชื้อเอดส์ 4. การกินอาหารร่ วมกันติดเชื้อเอดส์ได้ 5. คนที่มีสุขภาพแข็งแรงดี อาจเป็ นผูต้ ิดเชื้ อ เอดส์ได้ 6. ท่านคิดว่ามียายับยั้งเชื้อเอดส์ (ต้านไวรัส)ได้

ความรู้ (ร้ อยละ) ตอบ ตอบไม่ ไม่ทราบ รวม ถูกต้อง ถูกต้อง ค�ำตอบ 89.00

11.00

-

100.00

82.00

18.00

-

100.00

91.00 80.00 89.00

11.00 9.00

9.00 9.00 2.00

100.00 100.00 100.00

31.00

31.00

38.00 100.00

ตารางที่ 2 แสดงผลการส�ำรวจความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS พบว่าคน ประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 77 สามารถตอบค�ำถามได้ถูกต้อง รองลงมาร้อยละ 13 ตอบไม่ถกู ต้อง และร้อยละ 10 ไม่แน่ใจ จากผลการส�ำรวจนี้แสดงให้เห็นว่าคนประจ�ำเรื อ ส่ วนใหญ่มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ ยวกับ HIV/AIDS ในระดับหนึ่ ง ขณะที่กลุ่มตัวอย่าง อีกกลุ่มหนึ่งไม่รู้หรื อไม่เคยรู ้เนื้อหาเกี่ยวกับ HIV/AIDS มาก่อน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

95


ตารางที่ 3 การส�ำรวจทัศนคติ การป้ องกันการติ ดเชื้ อ HIV/AIDS ของกลุ่มตัวอย่าง (n = 350 ชุด) ค�ำตอบ (ร้ อยละ) ใช่ ไม่ ใช่ ไม่ แน่ ใจ รวม 1. ท่านคิดว่าการใช้ถงุ ยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ 45.00 48.00 7.00 100.00 เป็ นสิ่ งที่ไม่น่าพึงพอใจ 2. ถ้า เพื่ อ นคุ ณ ติ ด เชื้ อ HIV ไม่ ค วรที่ จ ะรั ก ษา 48.00 35.00 17.00 100.00 สัมพันธภาพกับเพื่อนคนนั้น 3. ท่านเคยมี เพศสัมพันธ์กบั หญิ งที่ ไม่ใช่ คู่นอน 66.00 31.00 3.00 100.00 ประจ�ำ (เช่น หญิงขายบริ การ ผูห้ ญิงที่เพิ่งรู ้จกั เป็ นต้น) 4. ท่านใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ 14.00 77.00 9.00 100.00 กับหญิงที่ไม่ใช่คู่นอนประจ�ำ 5. ท่านเคยได้สอบถามคู่นอนเกี่ยวกับสถานการณ์ 40.00 37.00 23.00 100.00 การติดเชื้อ HIVในปั จจุบนั 6. ท่านเคยดื่ มสุ ราหรื อเครื่ องดื่ มที่มีแอลกอฮอล์ 60.00 31.00 9.00 100.00 ก่อนมีเพศสัมพันธ์ 7. ท่ า นเคยได้รั บ การตรวจรั ก ษากามโรคหรื อ 40.00 43.00 17.00 100.00 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในช่วง 1 ปี ที่ผา่ นมา (การตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อ HIV การตรวจเลือด โดยสมัครใจ) 8. ท่านเคยใช้เข็มฉี ดยาเสพติดร่ วมกับบุคคลอื่น - 97.00 3.00 100.00 ทัศนคติทเี่ กีย่ วข้ องกับการติดเชื้อ HIV/AIDS

ตารางที่ 3 แสดงผลการส�ำรวจทัศนคติและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้ องกัน การติดเชื้อ HIV/AIDS ของกลุม่ คนประจ�ำเรื อ ผลส�ำรวจพบว่าคนประจ�ำเรื อส่วนใหญ่หรื อ ร้อยละ 48 มีทศั นคติไม่ดีกบั การสวมถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ขณะที่ร้อยละ 45 คิดว่าการสวมถุงยางอนามัยจะส่ งผลกระทบต่อการมีเพศสัมพันธ์ ขณะที่ส่วนใหญ่หรื อ ร้ อยละ 48 มี ทศั นคติ ที่เป็ นลบกับเพื่อนที่ ติดเชื้ อ และส่ วนใหญ่หรื อร้ อยละ 66 เคยมี 96

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


เพศสัมพันธ์กบั ผูห้ ญิงอื่นที่ไม่ใช่ภรรยา โดยคนกลุ่มนี้ ระบุวา่ ไม่เคยใช้ถุงยางอนามัยกับ ผูห้ ญิ งเหล่ านั้น ซึ่ งสะท้อนให้เห็ นถึ งการมี พฤติ กรรมการป้ องกันตนเองที่ เสี่ ยงและ คนประจ�ำเรื อร้อยละ 40 ไม่เคยสอบถามคู่นอนว่ามีเชื้อ HIV หรื อไม่ นอกจากนี้ยงั พบว่า คนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่ระบุวา่ มีพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์ ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในแบบจ�ำลอง KAP ตัวแปร

จ�ำนวนตัวอย่าง

K*A P*A P*K

350 350 350

Pearson Chi-Square 15.596a 17.236a 26.455a

df 4 8 10

Asymp. Sig. (2-sided) 0.004 0.028 0.003

ตารางที่ 4 แสดงการทดสอบสมมุติฐานระหว่างตัวแปรต่างๆในแบบจ�ำลอง IMB โดยผลการทดสอบพบว่าตัวแปร K และ A มีค่า Asymp. Sig. ของ Pearson Chi-Square เท่ากับ 0.004 โดยมีค่า Chi-Square เท่ากับ 15.596 ที่องศาอิสระ 4 ได้ค่า P (Chi-Square12 > 15.596 = 0.004) ซึ่งน้อยกว่า 0.05 จึงสรุ ปได้วา่ ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 นัน่ คือ ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตวั เพือ่ ป้ องกันการติดเชื้อ HIV และทัศนคติเกี่ยวกับการระวัง และการป้ องกันการติดเชื้ อ HIV ของคนประจ�ำเรื อไม่เป็ นอิสระต่อกันหรื อกล่าวได้ว่า ตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ส�ำคัญ นอกจากนี้พบว่าตัวแปร P และ A มีค่า Asymp. Sig. ของ Pearson Chi-Square เท่ากับ 0.028 โดยมีค่า Chi-Square เท่ากับ 17.236 ที่องศาอิสระ 8 ได้ค่า P (Chi-Square8 > 17.236 = 0.028) ซึ่ งน้อยกว่า 0.05 จึ งสรุ ปได้ว่าปฏิ เสธ H0 และยอมรั บ H1 นั่นคื อ การปฏิบตั ิตวั เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ HIV และทัศนคติเกี่ยวกับการระวังและการป้ องกัน การติดเชื้อ HIV ของคนประจ�ำเรื อไทยไม่เป็ นอิสระต่อกันหรื อกล่าวได้วา่ ตัวแปรทั้งสอง มีความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ส�ำคัญ ขณะที่การทดสอบตัวแปร P และ K พบว่าค่า Asymp. Sig. ของ Pearson Chi-Square เท่ากับ 0.003 โดยมีค่า Chi-Square เท่ากับ 26.455 ที่องศา อิสระ 10 ได้ค่า P (Chi-Square12 > 26.455 = 0.003) ซึ่งน้อยกว่า 0.05 จึงสรุ ปได้วา่ ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 นัน่ คือ การปฏิบตั ิตวั เพือ่ ป้ องกันการติดเชื้อ HIV และความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อไทยไม่เป็ นอิสระต่อกันหรื อกล่าวได้ว่าตัวแปร ทั้งสองมีความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ส�ำคัญ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

97


ผลการศึกษา

ผลการศึกษาพบว่าคนประจ�ำเรื อส่วนใหญ่หรื อร้อยละ 90 เป็ นกลุม่ คนที่มีช่วงอายุ 25-35 ปี ซึ่งเป็ นกลุ่มวัยท�ำงาน โดยส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 80 มีสถานภาพโสดและร้อยละ 20 มีสถานภาพสมรส ทั้งนี้พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 83 จบการศึกษาระดับ ปริ ญญาตรี ส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 45 มีรายได้ระหว่าง 20,000-30,000 บาท นอกจากนี้ ผลการศึกษายังพบว่าคนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 86 มีระยะเวลาการท�ำงานบนเรื อ น้อยกว่า 7 ปี แม้วา่ อาชีพคนประจ�ำเรื อไทยจะมีความได้เปรี ยบกว่าพนักงานของบริ ษทั ขนส่ งแบบอื่นๆในแง่ของรายได้และโอกาสเดิ นทางไปต่างประเทศ แต่ก็พบว่าอาชี พ คนประจ�ำเรื อก็มีขอ้ เสี ยเปรี ยบด้วยเช่นกัน อาทิ ต้องจากบ้านและครอบครัว การอดทนต่อ คลื่นลมในทะเล ความมัน่ คงในหน้าที่การท�ำงานที่ตอ้ งท�ำงานเป็ นสัญญาจ้าง เป็ นต้น อย่างไรก็ตามเนื่ องจากการปฏิบตั ิงานบนเรื อสิ นค้าเป็ นระยะเวลายาวนานและมีปัจจัย แวดล้อมที่ อาจจะเร้ าหรื อกระตุ น้ ให้มีพฤติ กรรมเบี่ ยงเบนจากพฤติ กรรมการใช้ชีวิต ตามปกติ เมื่อเรื อเทียบท่า คนประจ�ำเรื อเหล่านี้จะมีการปลดปล่อยโดยขึ้นไปดื่มแอลกอฮอล์ หรื อเที่ยวผูห้ ญิงซึ่งมีความเสี่ ยงต่อการติดเชื้อ HIV ได้ ผลการทดสอบสมมุติฐานภายใต้แบบจ�ำลอง KAP พบว่าตัวแปรทั้งสามตัวไม่เป็ น อิ สระต่ อกันหรื อกล่ าวได้ว่าตัวแปรทั้งสามมี ความสัมพันธ์ ก ันอย่างมี นัยส�ำคัญ โดย แบบจ�ำลองดังกล่าวประกอบด้วย ความรู ้ (K) ทัศนคติ (A) และการปฏิบตั ิตวั (P) เพือ่ ระวัง และการป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS โดยผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นว่าคนประจ�ำเรื อ ไทยส่วนใหญ่ยงั ขาดความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS ซึ่งจะส่งผลต่อทัศนคติและการ ปฏิบตั ิตวั เมื่อต้องระวังและป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS จากการสอบถามความรู ้ทวั่ ไป เกี่ ยวกับ HIV/AIDS พบว่าคนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่สามารถตอบได้อย่างถูกต้องแต่ก็มี คนประจ�ำเรื อจ�ำนวนไม่น้อยที่ไม่รู้หรื อไม่แน่ ใจ สิ่ งเหล่านี้ แสดงให้เห็ นถึงระดับของ ความรู ้ในเรื่ อง HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อที่มีอยูอ่ ย่างจ�ำกัดและไม่ถกู ต้องเกี่ยวกับ HIV/ AIDS เมื่ อ พิ จ ารณาประเด็น เกี่ ย วกับทัศนคติ ของคนประจ�ำ เรื อที่ มี ต่ อการป้ องกัน การติดเชื้อ HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อพบว่าแม้วา่ คนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่มีทศั นคติที่ดี ต่อการระวังและการป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS แต่อย่างไรก็ตามก็ยงั มีบางส่ วนที่มี ทัศนคติที่ไม่ดีต่อการติดเชื้ อและการแพร่ กระจายเชื้ อ รวมทั้งการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันกับ เพือ่ นร่ วมงานที่ติดเชื้อ HIV/AIDS โดยคนประจ�ำเรื อบางส่ วนคิดว่าการสัมผัสกับผูต้ ิดเชื้อ HIV หรื อเป็ นโรคเอดส์เป็ นสิ่ งที่น่ารังเกียจ รวมทั้งคิดว่าผูต้ ิดเชื้อ HIV/AIDS ไม่สามารถ 98

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ใช้ชีวติ เช่นคนปกติทว่ั ไป ซึ่งทัศนคติดงั กล่าวเป็ นความเข้าใจที่ผดิ พลาดหรื อคลาดเคลื่อน จากความเป็ นจริ ง ขณะที่การปฏิบตั ิตวั ของคนประจ�ำเรื อเพื่อป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS ของ คนประจ�ำเรื อนั้น พบว่าแม้ว่าคนประจ�ำเรื อส่ วนใหญ่ จะมี การป้ องกันตนเองโดยใช้ ถุงยางอนามัยและไม่มีการส�ำส่ อนทางเพศกับผูข้ ายบริ การทางเพศ แต่ก็มีคนประจ�ำเรื อ บางส่ วนที่ยงั ไม่นิยมใช้ถุงยางอนามัยและยังมีพฤติกรรมเสี่ ยงในการใช้ชีวติ บนเรื อสิ นค้า เช่นใช้เข็มฉีดยาร่ วมกันกับผูอ้ ื่น การเที่ยวผูห้ ญิงโดยดื่มแอลกอฮอล์ก่อนมีเพศสัมพันธ์โดย ไม่ใส่ ถุงยางอนามัย เป็ นต้น กล่าวโดยสรุ ปได้วา่ คนประจ�ำเรื อที่มีความรู ้ (K) และความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/ AIDS จะมีทศั นคติ (A) และค่านิยมที่เป็ นบวกต่อการระวังและการป้ องกันตนเองจากการ ติดเชื้อ HIV ซึ่งจะน�ำไปสู่การมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปฏิบตั ิตวั (P) เพื่อระวังและ การป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS ในทางตรงกันข้าม คนประจ�ำเรื อที่ไม่มีความรู ้ (K) และ ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS จะมีทศั นคติ (A) และค่านิยมที่ไม่ดีหรื อเป็ นลบต่อการ ระวัง และการป้ องกัน ตนเองจากการติ ด เชื้ อ HIV ซึ่ งจะน�ำ ไปสู่ ก ารมี พ ฤติ ก รรมที่ ไม่เหมาะสมในการปฏิบตั ิตวั (P) เพื่อระวังและการป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS

บทสรุปและข้ อเสนอแนะ

การศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้ ต อบค�ำ ถามว่ า ท�ำ ไมพฤติ ก รรมการปฏิ บ ัติ ง านและ การด�ำเนินชีวิตขณะอยูบ่ นเรื อสิ นค้าของคนประจ�ำเรื อจึงมีความเสี่ ยงต่อการติดเชื้อ HIV และความเสี่ ยงเหล่านี้ จะยิ่งเพิ่มมากขึ้นถ้าคนประจ�ำเรื อยังขาดความรู ้ ความเข้าใจและ การเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับ HIV/AIDS โดยผลการศึกษาได้นำ� เอาแบบจ�ำลอง KAP มาใช้ อธิ บายพฤติ กรรมการใช้ชีวิตและการท�ำงานบนเรื อสิ นค้าของคนประจ�ำเรื อ โดยผล การศึกษาน�ำไปสู่ขอ้ สรุ ปที่วา่ แบบจ�ำลอง KAP เป็ นแบบจ�ำลองที่เหมาะสมอย่างยิง่ ในการ ที่จะใช้อธิ บายพฤติกรรมของคนประจ�ำเรื อในการสร้างความระวังและการป้ องกันการ ติดเชื้อ HIV ในกลุ่มคนประจ�ำเรื อ โดยผลลัพธ์ที่ได้รับจากการศึกษาแบบจ�ำลองดังกล่าว สามารถน�ำมาใช้ในการก�ำหนดแนวนโยบายหรื อแผนในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ใน กลุ่มเป้ าหมายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการใช้ชีวิตและ การท�ำงานของคนประจ�ำเรื อไทย นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอแนะนโยบายและ แนวทางในการป้ องกัน การติ ด เชื้ อ HIV ในคนประจ�ำ เรื อส�ำ หรั บ แต่ ล ะองค์ก รหรื อ หน่วยงาน โดยแผนหรื อแนวทางดังกล่าวจะต้องเน้นความสมัครใจและการมีส่วนร่ วมจาก Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

99


ทุกภาคส่ วน รวมทั้งได้เสนอแนะแนวทางความร่ วมมือของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ ยวข้องในการ ป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS ในกลุ่มคนงานประจ�ำเรื อไทย ควรมีลกั ษณะใด และควรจะ น�ำแนวทางความร่ วมมือที่ออกแบบไว้โดยเน้นความสมัครใจและการมีส่วนร่ วมของผูท้ ี่มี ส่ วนเกี่ยวข้องในการป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS ในกลุ่มคนประจ�ำเรื อไทย ผลการศึกษาข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะหาแนวทาง ป้ องกันการติดเชื้ อ HIV ในกลุ่มคนเรื อ โดยด�ำเนิ นการที่ตน้ เหตุ มิใช่ ปลายเหตุ หรื อ กล่าวได้วา่ แทนที่เราจะไปปรับแก้ไขที่พฤติกรรมหรื อการปฏิบตั ิตวั ของคนเรื อ เราควรจะ ต้องป้ องกันโดยให้ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS แก่คนประจ�ำเรื อ ท�ำให้บุคคล เหล่านี้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ HIV/AIDS ถ้าบุคคลเหล่านี้มีความรู ้ความเข้าใจ แล้ว ก็จะเกิดทัศนคติที่เป็ นบวกในการระวังและป้ องกันการติดเชื้อ HIV อย่างไรก็ตามใน ขั้นตอนนี้ ควรจัดให้มีกระบวนการในการเสริ มสร้างทัศนคติที่เข้มแข็งและเหมาะสมอย่าง ต่อเนื่องและจริ งจัง โดยผ่านการกระตุน้ จากแกนน�ำบนเรื อ ครอบครัวหรื อเพื่อนร่ วมงาน ซึ่งจะท�ำให้คนเรื อเหล่านี้มีการปฏิบตั ิตวั ได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการปฏิบตั ิงานบนเรื อ สิ นค้า โดยบริ ษทั และแกนน�ำจ�ำเป็ นต้องเข้ามาช่วยสนับสนุนในขั้นตอนนี้โดยจัดอุปกรณ์ หรื อกิจกรรมที่หกั เหความสนใจเรื่ องเพศเช่น การแข่งขันหรื อการเล่นกีฬาเป็ นต้น ขณะที่การวิเคราะห์แบบจ�ำลอง KAP แสดงให้เห็นว่าการก�ำหนดแนวทางหรื อ มาตรการในการปรับแก้พฤติกรรมหรื อการปฏิบตั ิตวั ของคนประจ�ำเรื อในการป้ องกัน การติดเชื้อ HIV ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิ ภาพนั้น ควรจะต้องแก้ที่ตน้ เหตุคือการให้ ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ HIV/AIDS แก่คนประจ�ำเรื ออย่างจริ งจังและต่อเนื่ อง ทั้งนี้ การให้ความรู ้อาจจะมาจากแหล่งต่างๆ อาทิ การศึกษา การฝึ กอบรมในห้องหรื อผ่านระบบ E-Learning หรื อการท�ำเวิร์คชอป เป็ นต้น โดยปั จจุบนั ได้มีการพัฒนาแผ่นซอร์ ฟแวร์ ที่สามารถใช้ฝึกอบรมได้อย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจากถ้าคนประจ�ำเรื อมีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ HIV/AIDS แล้วจะท�ำให้คนประจ�ำเรื อเหล่านั้นมีทศั นคติที่ดีหรื อเป็ นบวกกับ การระวังและการป้ องกันตนเองจากการติดเชื้ อ HIV และถ้าคนประจ�ำเรื อมีทศั นคติที่ดี ต่อการป้ องกันตนเอง ก็จะท�ำให้เขาเหล่านั้นมีการปฏิบตั ิตนที่ถกู ต้องและเหมาะสม อย่างไร ก็ตามความส�ำเร็ จของการประยุกต์ใช้แบบจ�ำลองนี้ จะขึ้ นกับองค์ประกอบอื่ นๆ อาทิ ปั จจัยเสริ มจากครอบครัว บริ ษทั สายการเดินเรื อ หัวหน้างานและแกนน�ำบนเรื อ เป็ นต้น ผลการศึกษาสรุ ปได้วา่ แบบจ�ำลอง KAP สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กบั พฤติกรรม คนประจ�ำ เรื อ ไทยได้ โดยการศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้ก ำ� หนดแนวทางและแผนปฏิ บ ัติ ก าร เพื่ อ กระตุ น้ ส่ ง เสริ ม หรื อ ปรั บเปลี่ ย นพฤติ กรรมของคนประจ�ำ เรื อ โดยประยุก ต์ใ ช้ 100

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


แบบจ�ำลอง KAP ภายใต้แบบจ�ำลองนี้ ควรมุ่งเน้นในการกระตุน้ ส่ งเสริ มและปรับเปลี่ยน พฤติกรรม โดยเน้นในเรื่ องของการจัดข้อมูล ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตวั เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS ของคนประจ�ำเรื อ (K) เพื่อให้คนประจ�ำเรื อมีทศั นคติ และแรงจูงใจเกี่ ยวกับการระวังและการป้ องกันการติ ดเชื้ อ HIV (A) ซึ่ งผูว้ ิจยั เชื่ อว่า จะกระตุน้ ให้คนประจ�ำเรื อมีการระวังตัวและมีการปฏิบตั ิตวั เพื่อป้ องกันการติดเชื้อ HIV (P) เพิ่มมากขึ้น แนวทางการปรับพฤติกรรมของคนประจ�ำเรื อนั้นควรมีการจัดกิจกรรมโดยเน้น การมีส่วนร่ วมจากภาคีผมู ้ ีส่วนเกี่ยวข้องอาทิ ครอบครัว นายจ้าง หัวหน้างาน เป็ นต้นเพื่อ เข้าไปกระตุน้ และส่ งเสริ มพฤติกรรมในแต่ละช่วงอย่างจริ งจังและอย่างต่อเนื่ อง โดยจะ มุ่งเน้นการเสริ มสร้างพฤติกรรมของคนประจ�ำเรื ออย่างยัง่ ยืน ทั้งนี้ ควรพิจารณาน�ำเอา แนวทางการป้ องกันการติดเชื้อ HIV ในคนประจ�ำเรื อไปทดลองใช้กบั กลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุมว่าเกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลหรื อไม่อย่างไร ก่อนน�ำไปใช้ในวงกว้าง โดยผลส�ำเร็ จของแนวทางการป้ องกันในลักษณะนี้ ข้ ึ นอยู่กบั กิ จกรรมที่ ดำ� เนิ นการว่า สามารถกระตุน้ และมีการจูงใจให้คนประจ�ำเรื อมีการควบคุมตนเอง (Self-Controlling) และเน้นการมีส่วนร่ วมจากภาคีที่เกี่ยวข้องได้มากน้อยเพียงใด

รายการอ้ างอิง Benora, S.K., Khelendra, R.K., Choudhury, B.N., et al. (1992), AIDS. Survey of knowledge, attitude and beliefs of undergraduate students of Delhi University, Indian Community Med, 17:155-159. Cornejo, M., Jerez, R. and Casanova, D. (1989). Merchant seamen: a risk population for HIV infection? International Conference on AIDS. Int Conf AIDS. Jun 4-9; 5: 1016 Dehne, K.L. et al., The HIV/AIDS epidemic in eastern Europe: recent patterns and trends and their implications for policy-making, AIDS, 13(7):741–749. Fisher, J.D., Kimble, D.L., Misovich, S.J. and Weinstein, B., (1998). Dynamics of HIV risk behavior in HIV-infected men who have sex with men. AIDS and Behavior 2, pp. 101–113.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

101


Kelly, J.A. and Amirkhanian, Y.A., (2003), The newest epidemic: a review of HIV/ AIDS in Central and Eastern Europe, International Journal of STD and AIDS, 14:361–371. Ku, L., Sonenstein, F.L. and Pleck, J.H. (1992), Patterns of HIV risk and preventive behaviors among teenage men, Public Health Reports, 107: 131–138. Kuruvila, M. Venugopalan, P.P., Sridhar, K.S. and Kumar, S. (1997), K A P study on HIV / AIDS among first year MBBS students. Indian J Dermatol Venereol Leprol; 63:225-8 Lagarde, E., Pison, G. and Enel, C., (1996). Knowledge, attitudes and perception of AIDS in rural Senegal: Relationship to sexual behavior and behavior change. AIDS 10, pp. 327–334. Sekaran, U., (2000), “Research Methods for Business”, 3 edn., John Wiley & Sons, Inc. USA. Singh, I.N. and Malaviya, A.N., (1994). Long distance truck drivers in India: HIV infection and their possible role in disseminating HIV into rural areas. International Journal of STD and AIDS 5, pp. 137–138. UNAIDS, (1998), UNAIDS Joint United Nations Programme on HIV/AIDS. AIDS Epidemic Update.File: December update. PDF, http://www.unaids.org. United Nations Development Programme, (2006), HIV/AIDS in Eastern Europe and the Commonwealth of Independent States. Reversing the Epidemic: Facts and Policy Options, 2004, accessed July 25. Zikmund, W.G. (1997), Business Research Methods, 5th edn., The Dryden Press, USA.

102

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


การใช้ สารสนเทศของคณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ Information Use by Instructors of the Management Science Faculties at Rajabhat Universities in the Northern Region นฤมล เกรี ยงเกษม*

บทคัดย่ อ การวิจยั นี้เป็ นการวิจยั เชิงส�ำรวจ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาสภาพและปัญหาในการ ใช้สารสนเทศของคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนื อ ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต ภาคเหนือ จ�ำนวน 406 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือ แบบสอบถาม โดยส่งทางไปรษณีย ์ และได้รับกลับคืนมา จ�ำนวน 314 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 77.34 สถิติท่ีใช้ในการวิจยั คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า คณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือส่วนใหญ่มีวตั ถุประสงค์ในการ ใช้สารสนเทศเพื่อการสอน ใช้เนื้ อหาสารสนเทศด้านวิทยาการจัดการโดยรวมในระดับ ปานกลาง โดยใช้เรื่ องเกี่ ยวกับการบริ หารจัดการทัว่ ไปมากเป็ นอันดับแรก ส่ วนด้าน สารสนเทศทัว่ ไปใช้โดยรวมในระดับปานกลางโดยใช้เรื่ องที่อยูใ่ นกลุ่มสังคมศาสตร์มาก อัน ดับ แรก รู ป ลัก ษณ์ ข องสารสนเทศที่ ใ ช้ม ากเป็ นอัน ดับ แรกคื อ สื่ อ ดิ จิ ท ัล ประเภท อินเทอร์เน็ต แหล่งสารสนเทศที่ใช้มากอันดับแรกคือแหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ระบบ ออนไลน์ ใช้สารสนเทศที่มีอายุ 1-5 ปี มากเป็ นอันดับแรก และใช้สารสนเทศมากกว่า เดือนละ 5 ครั้ง บริ การของห้องสมุดในสถาบันที่สงั กัดที่ใช้มากเป็ นอันดับแรก คือ บริ การ ยืม -คื น ทรั พ ยากรสารสนเทศ การเข้าถึ ง สารสนเทศใช้วิธี ก ารสื บ ค้น ด้วยตนเองจาก ฐานข้อมูลสารสนเทศมากเป็ นอันดับแรก การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์โดยรวมใช้ในระดับ ปานกลาง โดยใช้ฐานข้อมูลด้านการวิจยั ของไทยมากเป็ นอันดับแรก ลักษณะการค้นและ ใช้งาน คือ ค้นหาจากหัวเรื่ อง ชื่อเรื่ อง ชื่อผูเ้ ขียน และค�ำค้น และเลือกพิมพ์เฉพาะข้อมูลที่ * ศิ ลปศาสตรมหาบัณฑิ ต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, (2556). ปั จจุบนั เป็ นบรรณารักษ์ สังกัดส�ำนักวิทยบริ การและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

103


ต้องการ ส่ วนปัญหาการใช้หอ้ งสมุดในสถาบันที่สงั กัดจ�ำแนกเป็ น 5 ด้าน ปัญหาเด่นที่พบ คื อ ด้านทรั พยากรสารสนเทศ เรื่ องความพอเพียงและความทันสมัย ด้านพื้นที่ และ สภาพแวดล้อม เรื่ องบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่การบริ การ ด้านอุปกรณ์และ เครื่ องมืออ�ำนวยความสะดวกในการค้นหาสารสนเทศ เรื่ องสมรรถนะและประสิ ทธิ ภาพ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ด้านการบริ การเรื่ องช่วงเวลาเปิ ดบริ การ และด้านบุคลากรเรื่ อง จิตบริ การของผูใ้ ห้บริ การ ค�ำส� ำคัญ : การใช้สารสนเทศ, อาจารย์คณะวิทยาการจัดการ, คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ

Abstract The purposes of this survey research were to study (1) the status of information use and (2) problems encountered in obtaining and using information by the instructors of the Management Science Faculties at Rajabhat Universities in the Northern Region. The population consisted of 406 instructors of Management Science Faculties in the Northern Region. Questionnaires were used for collecting data. The research questionnaires were sent via post and 314 (77.34%) were returned. Frequencies, percentage, mean, and standard deviation were used to analyse data. The research found that (1) The instructors of the Management Science Faculties at Rajabhat Universities in the Northern Region mainly used information for the purpose of teaching. Management Science was the topic searched for at the moderate level and general administration was the main subtopic of interest. Meanwhile, General Science was also the topic searched for at moderate level and subtopics in the Social Sciences were the main interest. Online was the digital format mainly used and the Internet was the main source of information used. Information mainly used was 1-5 years old. Frequency of information use was at least 5 times per month. The library services mainly used were circulation services. Self-access was the main method used for database retrieval. The online database mainly used was the Thailand research database by using subject, title, author, and keyword. When they found the information needed print-out copies were generally made. (2) Among 5 categories of the problems the most significant problems was availability of sufficient and up to date resources, the library atmospheric 104

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


environment, inefficient equipment and tools to access information, library opening hours and the service mind of the library staff. Keywords : Information use, Management Science instructors, Management Science Faculty, Rajabhat Universities

บทน�ำ

อาจารย์มหาวิทยาลัย เป็ นบุคลากรหลักที่มีบทบาทหน้าที่สำ� คัญในการด�ำเนิ น ภารกิจ 4 ประการของมหาวิทยาลัย คือ การจัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การให้บริ การ ทางวิชาการแก่ สังคม และการท�ำนุ บำ� รุ งศิ ลปวัฒนธรรม (ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึ กษา. 2556) ในการปฏิ บตั ิ ภารกิ จเหล่านั้น อาจารย์ตอ้ งมี การศึ กษาค้นคว้า สารสนเทศและความรู ้ใหม่ๆ เพื่อให้การด�ำเนิ นภารกิจต่างๆ นั้นมีประสิ ทธิ ภาพยิ่งขึ้น นอกเหนื อจากองค์ความรู ้ เพื่อการท�ำงานแล้วอาจารย์จะต้องมี ความรู ้ ด้านอื่ นๆ เพื่อ พัฒนาตนและใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจ�ำวัน อาจารย์ยงั ต้องมีการศึกษาเพิม่ เติมเพือ่ พัฒนา หรื อเพิม่ พูนความรู ้ของตนเอง มีความรอบรู ้ในสิ่ งที่อยูร่ อบตัว รู ้ทนั ต่อเหตุการณ์บา้ นเมือง ต่างๆ ซึ่ งในปั จจุบนั เป็ นยุคที่สารสนเทศเกิดขึ้นอย่างมากมาย หลายรู ปแบบ และมีอยูใ่ น แหล่งต่างๆ ที่หลากหลายแต่สารสนเทศที่เผยแพร่ เหล่านั้นประสบปัญหาว่า มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือหรื อไม่ ดังนั้นการศึกษาการใช้สารสนเทศจึงเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่มี คุณลักษณะถูกต้องส�ำหรับบุคคลที่เหมาะสม มีอยู่ในแหล่งที่เหมาะสม และในเวลาที่ เหมาะสม ดังค�ำกล่าวที่วา่ “Getting the right information to the right person at the right place at the right time” (McKnight. 2013) สารสนเทศ มีบทบาทต่อการด�ำเนินชีวติ ของมนุษย์ในยุคปัจจุบนั ตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 20 เป็ นต้นมา ความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทำ� ให้เกิดความรู ้ ใหม่ๆ มากมาย เป็ นผลให้เกิดสังคมข้อมูลข่าวสาร (Information Age) สารสนเทศจึงมี บทบาทต่อสังคมหลากหลาย ทั้งด้านการพัฒนาประเทศ การศึกษา เศรษฐกิ จ การค้า การเมือง การอุตสาหกรรม การสื่ อสาร ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาซึ่ งเป็ น พื้นฐานของการพัฒนาด้านอื่นๆ ปั จจุบนั สารสนเทศมีอยู่เป็ นจ�ำนวนมาก หลากหลาย รู ปแบบ มีอยูท่ ุกที่ จนเกิดการทะลักทลายของสารสนเทศ ท�ำให้เกิดปั ญหาสารสนเทศ ขาดความน่ าเชื่ อถือ เพราะสารสนเทศที่เผยแพร่ น้ ันมาจากแหล่งที่หลากหลาย ดังนั้น จึ งมี ท้ งั ที่ เชื่ อถื อได้และเชื่ อถื อไม่ได้ ซึ่ งผูใ้ ช้สารสนเทศจะต้องพิจารณาความถูกต้อง น่ าเชื่ อถือ ของสารสนเทศที่ ได้รับก่อนที่ จะน�ำสารสนเทศนั้นไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ที่ตอ้ งการ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

105


มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็ นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิ การ ในปั จจุบนั (พ.ศ. 2556) มีมหาวิทยาลัยราชภัฏ จ�ำนวน 40 แห่ง กระจายอยู่ ทัว่ ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏแต่ละแห่งมีสถานะเป็ นนิติบุคคล มีการแบ่งส่ วนราชการ ที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ประกอบด้วยส�ำนักงานอธิการบดี ส�ำนักงาน วิทยาเขต บัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน ส�ำนัก และวิทยาลัย จ�ำนวนการแบ่งส่ วนราชการของ มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีจำ� นวนไม่เท่ากัน ขึ้นอยูก่ บั ความจ�ำเป็ นและความเหมาะสมของ แต่ละแห่ง บุคลากรหลักที่ดำ� เนินงานตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยราชภัฏ คือ บุคลากร สายวิชาการและสายสนับสนุน โดย อาจารย์ ซึ่ งเป็ นบุคลากรสายวิชาการมีบทบาทและ หน้าที่หลัก คือ การอบรม สัง่ สอน และถ่ายทอดวิชาความรู ้ทางวิชาการและความรู ้ดา้ นอืน่ ๆ ดังนั้นอาจารย์จึงต้องมีการเตรี ยมการสอน ผลิตสื่ อการสอน เอกสารการสอน หรื อต�ำรา อาจารย์ตอ้ งมีความรู ้ความเชี่ยวชาญหรื อมีองค์ความรู ้ในวิชาที่สอนและความรู ้อนื่ ๆ เพือ่ การ พัฒนาตนเองและสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ เพื่อเพิ่มพูนความรู ้และวิทยฐานะ เช่น บทความ ต�ำรา การน�ำเสนอความรู ้ต่อที่ประชุมวิชาการหรื อวิชาชีพ ฯลฯ จะต้องมีการวิจยั เพื่ อ สร้ า งองค์ค วามรู ้ ใ หม่ รวมทั้ง ต้อ งปฏิ บ ตั ิ ห น้า ที่ บ ริ ห ารในหน่ ว ยงานต่ า งๆ ของ มหาวิ ท ยาลัย อาจารย์จึ ง ต้อ งค้น คว้า หาความรู ้ ด้า นการบริ ห ารจัด การ การวางแผน การจัดท�ำโครงการ เป็ นต้น ดังนั้น อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงต้องมีการใช้สารสนเทศ เพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ตามภารกิจหลักและภารกิจด้านอื่นๆ ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

แนวคิดและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง

การใช้ สารสนเทศ การใช้ ส ารสนเทศ เป็ นการกระท�ำ ที่ เ ป็ นผลสื บเนื่ อ งจากการที่ บุ ค คล มีความต้องการสารสนเทศ จึงน�ำไปสู่พฤติกรรมสารสนเทศ ครอบคลุมถึงพฤติกรรมการ แสวงหาสารสนเทศ การใช้สารสนเทศ และการประเมินสารสนเทศ การใช้สารสนเทศ อาจเกิดขึ้นทันทีหลังจากที่บุคคลนั้นได้รับสารสนเทศหรื ออาจจะเป็ นการเก็บรวบรวม สารสนเทศไว้เพื่อใช้ภายหลัง ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั สถานการณ์วา่ สารสนเทศนั้นมีความส�ำคัญ หรื อเร่ งด่วนอย่างไร การใช้สารสนเทศจะสิ้ นสุ ดลงเมื่อสารสนเทศนั้นสามารถตอบสนอง ความต้องการและน�ำไปใช้งานหรื อน�ำไปแก้ปัญหาได้ตามจุดมุง่ หมาย (ประภาวดี สืบสนธิ์. 2533 : 832) การศึกษาผูใ้ ช้ เป็ นวิธีการหนึ่ งที่จะท�ำให้ทราบถึงลักษณะหรื อสภาพการใช้ สารสนเทศ เป็ นการศึ กษาที่ เน้นตัวผูใ้ ช้ในแง่ มุมต่างๆ เช่ น ลักษณะของผูใ้ ช้บริ การ สารสนเทศ พฤติ ก รรมการใช้ส ารสนเทศ หรื อ พฤติ ก รรมการแสวงหาสารสนเทศ ความต้องการใช้สารสนเทศ เป็ นต้น ส�ำหรับตัวแปรเกี่ยวกับผูใ้ ช้ที่มกั ศึกษากัน เช่น ความถี่ 106

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ในการใช้สารสนเทศ เหตุผลในการใช้สารสนเทศ ประเภทของการบริ การสารสนเทศที่ใช้ ทัศ นคติ แ ละความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ การใช้ส ถาบัน บริ ก ารสารสนเทศ เป็ นต้น (อารี ย ์ ชื่นวัฒนา. 2551 : 82) นอกจากนี้ วิลสัน (Wilson) ได้อธิบายความเกี่ยวข้องระหว่างแนวคิด ต่ างๆ ที่ อยู่ภายในกรอบของการศึ กษาผูใ้ ช้ไว้ว่า พฤติ กรรมการแสวงหาสารสนเทศ ของผูใ้ ช้เริ่ มจากการที่ผใู ้ ช้รู้ว่าตนต้องการสารสนเทศ ผูใ้ ช้อาจแสวงหาสารสนเทศจาก ระบบสารสนเทศหรื อจากระบบอื่นๆ หรื อผูใ้ ช้อาจจะแสวงหาสารสนเทศจากบุคคลอื่น ซึ่ งถื อเป็ นการแลกเปลี่ ยนสารสนเทศ ในการแสวงหาสารสนเทศดังกล่ าว ผูใ้ ช้อาจ ประสบความล้มเหลว แต่ถา้ ผูใ้ ช้ได้รับสารสนเทศผูใ้ ช้จะน�ำมาประเมินว่าสารสนเทศนั้น เกี่ยวข้องกับความต้องการมากน้อยเพียงใด ซึ่งอาจพบว่าสนองตอบหรื อไม่สนองตอบก็ได้ นอกจากนี้ วิลสันยังได้ให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับการศึกษาผูใ้ ช้ไว้ว่า ผูใ้ ช้แต่ละคนอยู่ในบริ บท ที่หลากหลาย ดังนั้นการศึกษาผูใ้ ช้ควรแยกแยะและท�ำความเข้าใจบริ บทเหล่านี้ให้ชดั เจน ก่อนการวางแผนการวิจยั บางบริ บทผูใ้ ช้อยูใ่ นฐานะผูต้ ิดต่อสื่ อสาร ผูแ้ สวงหาสารสนเทศ ผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศอย่างเป็ นทางการ ผูร้ ับบริ การสารสนเทศ และผูใ้ ช้สารสนเทศ (อารี ย ์ ชื่นวัฒนา. 2551 : 82-83) การใช้สารสนเทศ ในการวิจยั นี้ หมายถึง กิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการน�ำสารสนเทศ มาใช้ ได้แก่ วัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศ เนื้อหาของสารสนเทศที่ใช้ รู ปลักษณ์ของ สารสนเทศที่ใช้ แหล่งสารสนเทศที่ใช้ ความทันสมัยของสารสนเทศที่ใช้ ลักษณะการใช้ สารสนเทศด้านความถี่และระยะเวลาในการใช้สารสนเทศ การใช้บริ การสารสนเทศของ ห้องสมุดในสถาบันที่สงั กัด การเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุดในสถาบันที่สงั กัด การใช้ ฐานข้อมูลออนไลน์ และปั ญหาจากการใช้หอ้ งสมุดในสถาบันที่สงั กัด งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง งานวิ จ ัย ที่ ไ ด้ท ำ� การศึ ก ษาเกี่ ย วกับ การใช้ การแสวงหา และปั ญ หาการใช้ สารสนเทศของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ผลการศึกษามีดงั นี้ จิตราภรณ์ เพ็งดี (2546 : 82-87) ศึกษาพฤติกรรมการใช้สารสนเทศของอาจารย์ และนัก ศึ ก ษาสถาบัน ราชภัฏ นครสวรรค์ ผลการศึ ก ษา พบว่า อาจารย์ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ สารสนเทศเพื่อประกอบการเรี ยนการสอน เพื่อบริ การวิชาการแก่สงั คม และเพื่อส่ งเสริ ม วิชาชีพและวิทยฐานะ เนื้อหาของสารสนเทศที่ใช้ได้แก่ ด้านศิลปะ/บันเทิง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ สารสนเทศที่ใช้มาก คือ หนังสื อพิมพ์ ต�ำราทาง วิชาการ เอกสาร หนังสื อความรู ้ทวั่ ไปที่เป็ นภาษาไทย อาจารย์ส่วนใหญ่ใช้วธิ ีการแสวงหา สารสนเทศจากห้องสมุด และศูนย์บริ การเอกสารต่างๆ และมีการใช้หอ้ งสมุดของสถาบัน มากที่สุด ส่ วนแหล่งสารสนเทศภายนอกสถาบัน คือ หน่วยงานรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ส่ วน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

107


ปั ญหาในการเข้าถึงสารสนเทศในภาพรวมพบว่า ผูใ้ ช้บริ การมีปัญหา คือ ไม่ทราบวิธี ค้นคืนข้อมูลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ รองลงมา คือ เวลาที่แหล่งสารสนเทศเปิ ดให้บริ การ ไม่เพียงพอ Kingkaew Patitungkho and Deshpande (2005) ศึกษาพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏในกรุ งเทพมหานคร พบว่า อาจารย์คน้ หา สารสนเทศโดยการปรึ กษาผูม้ ีความรู ้/ผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา มีวตั ถุประสงค์ในการ ค้นหาสารสนเทศเพื่อเตรี ยมการสอนมากที่สุด รองลงมา คือ เพื่อติดตามข่าวสารทันสมัย และเพือ่ การเขียนหรื อการน�ำเสนอรายงาน ตามล�ำดับ สารสนเทศที่ใช้มากที่สุด คือ หนังสื อ รองลงมา คือ วารสาร หนังสื อพิมพ์ และนิทรรศการ ตามล�ำดับ อาจารย์คน้ หาสารสนเทศ ของห้องสมุดผ่านอินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลที่มีการใช้มากที่สุด คือ ฐานข้อมูล ERIC ปั ญหา ที่ พบมากที่ สุดในการค้นหาสารสนเทศ คือ ไม่มีสารสนเทศที่ ตอ้ งการ รองลงมา คือ ไม่มีเวลาในการค้นหาสารสนเทศ และสารสนเทศไม่สมบูรณ์ ตามล�ำดับ เอก ชิตพันธ์ และ เชาวลิต คงแก้ว (2540 : 265-282) ศึกษาการใช้สารสนเทศ เพือ่ การสอน การผลิต ผลงานทางวิชาการ และการวิจยั ของอาจารย์สถาบันราชภัฏเพชรบุรี ผลการศึ ก ษา พบว่า อาจารย์มี ว ตั ถุ ป ระสงค์ใ นการใช้บ ริ ก ารส�ำ นัก วิ ท ยบริ ก ารเพื่ อ เตรี ยมการสอน มีความถี่ในการเข้าใช้ไม่แน่นอน เหตุผลที่ใช้เพราะต้องการค้นคว้าเรื่ องใด เรื่ องหนึ่ ง ค้นหาทรัพยากรสารสนเทศโดยวิธีการค้นหาจากชั้นวางหรื อสถานที่จดั เก็บ ทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้สูงสุ ด 3 อันดับแรก คือ หนังสื อภาษาไทย หนังสื ออ้างอิงภาษา ต่างประเทศ และหนังสื ออ้างอิงภาษาไทย ปั ญหาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่พบสูงสุ ด 3 ล�ำดับแรก คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่ตอ้ งการไม่มีให้บริ การ ทรัพยากรสารสนเทศ มี เนื้ อหาไม่ทนั สมัย และทรั พยากรสารสนเทศมี จำ� นวนไม่เพียงพอต่อความต้องการ ส่ วนการเปรี ยบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการสอน การผลิตผลงานทางวิชาการและ การวิจยั ตามตัวแปรอิสระ ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ต�ำแหน่งทางวิชาการ ต�ำแหน่ง ทางการบริ ห าร คณะที่ สัง กัด และระยะเวลาปฏิ บ ตั ิ งาน ณ สถาบัน ราชภัฏ เพชรบุ รี โดยภาพรวมและรายด้านไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อนันศักดิ์ พวงอก (2547 : 25-31) ศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อ การสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษ ผลการศึกษาพบว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ มีวตั ถุประสงค์ในการแสวงหาสารสนเทศเพือ่ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รองลงมา ได้แก่ เพื่อการผลิ ตผลงานทางวิชาการ และเพื่อการวิจยั อาจารย์ส่วนใหญ่ แสวงหา สารสนเทศในห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ห้องสมุด สถาบันการศึกษาอื่นๆ นอกจังหวัดศรี สะเกษ แหล่งสารสนเทศที่เป็ นทางการที่อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษแสวงหา คือ หนังสื อและต�ำรา รองลงมาได้แก่ อินเทอร์เน็ต 108

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


และวารสารวิชาการ/นิตยสาร อาจารย์ส่วนใหญ่มวี ธิ ีในการสืบค้นคือ ส�ำรวจจากชั้นหนังสือ รองลงมา คือ สื บค้นจากชื่ อผูแ้ ต่งที่ เคยมี ผลงานในด้านที่ ตนสอน และสื บค้นโดยใช้ โปรแกรมค้นหา เช่น Google, Yahoo, Hotbot เนื้อหาของสารสนเทศ 3 อันดับแรกที่อาจารย์ แสวงหามากที่สุดได้แก่ ความรู ้ทวั่ ไป รองลงมาได้แก่ การศึกษา และคอมพิวเตอร์ อาจารย์ แสวงหาสารสนเทศที่มีอายุอยูร่ ะหว่าง 1-5 ปี มากที่สุด รองลงมาคือ สารสนเทศที่มีอายุ 6-10 ปี และอายุต่ำ� กว่า 1 ปี ส่วนปัญหาในการแสวงหาและความต้องการสารสนเทศ พบว่า ด้านสถานที่ คือ สถานที่คบั แคบ รองลงมา คือ สถานที่ที่จะใช้บริ การอยูไ่ กล และสถานที่ ที่จะใช้บริ การมีนอ้ ย ด้านแหล่งสารสนเทศ พบว่า มีปัญหาเกี่ยวกับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตที่ ล่มบ่อย รองลงมาคือ ระบบการจัดเก็บหนังสื อบนชั้นไม่ดี และมีแหล่งสารสนเทศให้ศึกษา น้อย ด้านวิธีการแสวงหาหรื อวิธีการสื บค้น พบว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ประสบปัญหาเนื่องจาก อุปกรณ์ในการสื บค้นมีจำ� นวนน้อย รองลงมา คือ ไม่เชี่ยวชาญในระบบสื บค้น และไม่มี การแนะน�ำวิธีการสื บค้น

กรอบแนวคิดการวิจยั ดังนี้

การศึกดษาครั กรอบแนวคิ การวิจยั ้ งนี้ ได้กำ� หนดตัวแปรที่ใช้ในการวิจยั และกรอบแนวคิดของการวิจยั การศึกษาครั้งนี้ได้กาํ หนดตัวแปรที่ใช้ในการวิจยั และกรอบแนวคิดของการวิจยั ดังนี้

คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตภาคเหนื อ 8 แห่ง

สภาพการใช้ สารสนเทศ 1. วัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศ 2. เนื้อหาของสารสนเทศที่ใช้ 3. รู ปลักษณ์ของสารสนเทศที่ใช้ 4. แหล่งสารสนเทศที่ใช้ 5. ลักษณะการใช้สารสนเทศ 6. ความทันสมัยของสารสนเทศที่ใช้ 7. การใช้บริ การสารสนเทศของห้องสมุด ในสถาบันที่สงั กัด 8. การเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุด ในสถาบันที่สงั กัด 9. การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์

ปัญหาการใช้ สารสนเทศจากห้ องสมุด ในสถาบันที่สังกัด 1. ด้านทรัพยากรสารสนเทศ 2. ด้านพื้นที่และสภาพแวดล้อม 3. ด้านอุปกรณ์ เครื่ องมืออํานวย ความสะดวกในการค้นหาสารสนเทศ 4. ด้านการบริ การ 5. ด้านบุคลากรที่ให้บริ การ

วิธีการวิจยั

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University

ประชากรทีใ่ ช้ ในการวิจยั คือ คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการของมหาวิ ทยาลั ยราชภั ในเขตภาคเหนื อ 2013) Vol.8 No. 2 ฏ(July - December ที่ทาํ หน้าที่สอนในภาคเรี ยนที่ 3 ปี การศึกษา 2554 และภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โดยไม่นบั รวมอาจารย์ที่อยู่ ระหว่างลาศึกษาต่อ ลาคลอดบุตร ลาบวช และไปช่วยราชการ จํานวน 406 คน ซึ่ งได้ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

109


วิธีการวิจยั

ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการของมหาวิทยาลัย ราชภัฏในเขตภาคเหนือ ที่ทำ� หน้าที่สอนในภาคเรี ยนที่ 3 ปี การศึกษา 2554 และภาคเรี ยน ที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โดยไม่นบั รวมอาจารย์ที่อยูร่ ะหว่างลาศึกษาต่อ ลาคลอดบุตร ลาบวช และไปช่วยราชการ จ�ำนวน 406 คน ซึ่งได้ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ของแต่ละสถาบัน เช่น บัญชีรายชื่ออาจารย์ของคณะวิทยาการจัดการ เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ เป็ นต้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 1 จ�ำนวนอาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนื อ ภาคเรี ยนที่ 3 ปี การศึกษา 2554 (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2555) ล�ำดับที่

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

จ�ำนวนอาจารย์ (คน)

1 2 3 4 5 6 7 8

ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ นครสวรรค์ พิบลู สงคราม เพชรบูรณ์ ล�ำปาง อุตรดิตถ์

43 47 68 56 50 44 49 49

รวม

406

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั เป็ นแบบสอบถามซึ่งสร้างขึ้นโดยก�ำหนดประเด็นที่จะ ศึกษา 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สภาพการใช้ สารสนเทศของคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ และ ตอนที่ 3 ปั ญหาและข้อเสนอแนะการใช้สารสนเทศจากห้องสมุดในสถาบันที่ สังกัด โดยได้ขอความอนุเคราะห์จากผูเ้ ชี่ยวชาญที่เป็ นผูใ้ ช้สารสนเทศและผูท้ ี่มีความรู ้ทางด้าน สารสนเทศศาสตร์ จ�ำ นวน 3 ราย ตรวจสอบคุ ณ ภาพด้า นความตรงของเครื่ อ งมื อ ความสอดคล้องของค�ำถามกับวัตถุประสงค์การวิจยั ความครอบคลุมด้านเนื้ อหา และ ความถูกต้องด้านการใช้ภาษา และน�ำแบบสอบถามที่ปรับแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ 110

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


จ�ำนวน 4 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสี มา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ�ำนวน 28 คน จากนั้น น�ำแบบสอบถามที่ได้รับมาหาค่าความเชื่อมัน่ โดยใช้สัมประสิ ทธิ์ แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมัน่ โดยรวมเท่ากับ .90 วิธกี ารวิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรู ปทางสถิติดา้ นสังคมศาสตร์ และ ใช้ค่าสถิติ คือ 1. ข้อค�ำถามแบบตรวจสอบรายการ วิเคราะห์ค่าความถี่และค่าร้อยละ ทั้งนี้ ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลของข้อค�ำถามที่เลือกตอบได้มากกว่า 1 ตัวเลือกนั้นจะรายงานเฉพาะ จ�ำนวนผูต้ อบแบบสอบถามเทียบกับจ�ำนวนทั้งหมด ในท�ำนองเดียวกันจะรายงานของแต่ละ มหาวิทยาลัยโดยเทียบจากคณาจารย์ที่ตอบแบบสอบถาม 2. ข้อค�ำถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบน มาตรฐานส�ำหรับ 3. ข้อค�ำถามแบบปลายเปิ ดและการแสดงความคิดเห็น จัดกลุ่มและประมวลผล แล้ววิเคราะห์ค่าความถี่ วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล โดยการส่ งและรับคืนแบบสอบถามทางไปรษณี ย ์ ส�ำหรับคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ จ�ำนวน 7 แห่ง และ แจกและเก็บแบบสอบถามด้วยตนเองส�ำหรับคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย ทั้งนี้ เนื่ องจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายอยูใ่ กล้จึงเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง โดยได้เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2555 ได้รับแบบสอบถามกลับคืนทั้งหมด จ�ำนวน 314 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 77.34

ผลการวิจยั

ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีตำ� แหน่งเป็ นอาจารย์ จ�ำนวน 236 คน (ร้อยละ 75.16) รองลงมาเป็ นผู ้ช่ ว ยศาสตราจารย์ จ�ำ นวน 71 คน (ร้ อ ยละ 22.61) และ รองศาสตราจารย์ จ�ำ นวน 7 คน (ร้ อ ยละ 2.23) ผูต้ อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ มี วุฒิการศึกษาสู งสุ ดในระดับปริ ญญาโท จ�ำนวน 270 คน (ร้อยละ 85.99) รองลงมา คือ ปริ ญญาเอก จ�ำนวน 44 คน (ร้ อยละ 14.01) เป็ นคณาจารย์กลุ่มวิชาการจัดการและ การบริ หารธุรกิจ จ�ำนวน 97 คน (ร้อยละ 30.89) รองลงมา คือ กลุ่มวิชาการเงิน การบัญชี และการธนาคาร จ�ำนวน 69 คน (ร้ อยละ 21.97) และนิ เทศศาสตร์ จ�ำนวน 41 คน มีประสบการณ์การสอนในคณะวิทยาการจัดการ 1 – 10 ปี จ�ำนวน 179 คน (ร้อยละ 57.01) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

111


รองลงมา คือ 11 – 20 ปี จ�ำนวน 103 คน (ร้อยละ 32.80) และ 21 – 30 ปี จ�ำนวน 17 คน (ร้อยละ 5.41) ผลการศึ ก ษาจะน�ำ เสนอเฉพาะผลการวิ จ ัย สภาพการใช้แ ละปั ญ หาการใช้ สารสนเทศจากห้ อ งสมุ ด ในสถาบัน ที่ สั ง กัด ของคณาจารย์ค ณะวิ ท ยาการจัด การ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือโดยสรุ ปมีดงั นี้ 1. คณาจารย์ส่วนใหญ่มีวตั ถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศเพือ่ การสอน (ร้อยละ 96.18) รองลงมา คือ เพื่อเพิ่มพูนความรู ้ทางวิชาการ (ร้อยละ 78.98) และเพื่อท�ำวิจยั และ ติดตามข่าวสารทัว่ ไป (ร้อยละ 77.07) 2. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้เนื้อหาสารสนเทศทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านวิทยาการจัดการ และด้านวิทยาการทัว่ ไปในระดับปานกลาง โดยด้านวิทยาการจัดการใช้เนื้อหาเรื่ องการ บริ หารจัดการทัว่ ไปมากเป็ นอันดับแรก (เฉลี่ย 3.66) รองลงมา คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และคมนาคม (เฉลี่ย 3.42) และการจัดการการตลาด (เฉลี่ย 3.40) ด้านวิทยาการทัว่ ไป ใช้ เนื้อหาในกลุม่ สังคมศาสตร์มากเป็ นอันดับแรก (เฉลีย่ 3.74) รองลงมา คือ กลุม่ มนุษยศาสตร์ (เฉลี่ย 3.03) และกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เฉลี่ย 2.74) 3. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้สารสนเทศรู ปลักษณ์สื่อดิจิทลั ประเภทอินเทอร์ เน็ต มากที่สุด (ร้อยละ 93.31) รองลงมาคือ สื่ อสิ่ งพิมพ์ในรู ปหนังสื อ/ต�ำราทางวิชาการ (ร้อยละ 91.08) 4. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิ กส์ประเภทออนไลน์ มากที่สุด (ร้อยละ 99.68) รองลงมา คือ แหล่งสารสนเทศสื่ อมวลชนประเภทหนังสื อพิมพ์ (ร้อยละ 84.08) 5. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้สารสนเทศที่มีอายุ 1 –5 ปี (ร้อยละ 59.87) มากเป็ น อันดับแรก รองลงมา คือ ตั้งแต่ 6 เดือน -1 ปี (ร้อยละ 49.36) และไม่เกิน 6 เดือน (ร้อยละ 42.68) 6. คณาจารย์ส่วนใหญ่มกี ารใช้สารสนเทศมากกว่าเดือนละ 5 ครั้ง (ร้อยละ 67.85) รองลงมา คือ เดือนละ 1-2 ครั้ง (ร้อยละ 16.72) และเดือนละ 3-4 ครั้ง (ร้อยละ 15.43) และ ระยะเวลาในการใช้สารสนเทศโดยเฉลี่ย 1-2 ชัว่ โมงต่อครั้ง (ร้อยละ 48.09) รองลงมาคือ ใช้ 3-4 ชัว่ โมงต่อครั้ง (ร้อยละ 30.25) และน้อยกว่า 1 ชัว่ โมง (ร้อยละ 12.74) 7. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้บริ การยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดใน สถาบันที่สังกัดมากเป็ นอันดับแรก (ร้อยละ 86.75) รองลงมา คือ บริ การอ่านภายใน ห้องสมุด (ร้อยละ 62.25) และบริ การอินเทอร์เน็ต/ฐานข้อมูลออนไลน์ (ร้อยละ 61.92) 112

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


8. คณาจารย์ส่วนใหญ่มีวิธีการเข้าถึ งสารสนเทศโดยการสื บค้นด้วยตนเอง มากที่สุด โดยสื บค้นจากฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศเป็ นอันดับแรก (ร้อยละ 74.02) รองลงมา คือ ส�ำรวจเลือกดูจากชั้นให้บริ การ (ร้อยละ 48.73) และติดต่อขอสารสนเทศทาง โทรศัพท์/ไปรษณี ย/์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 9.24) 9. คณาจารย์ส่วนใหญ่ใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ในระดับปานกลาง โดยฐานข้อมูล ที่มีการใช้มากเป็ นอันดับแรก คือ ฐานข้อมูลด้านการวิจยั ของไทย เช่น TDC (ThaiLIS) (เฉลี่ย 4.05) รองลงมา คือ ด้านการจัดการ เช่น AB/INFORM Complete (เฉลี่ย 3.33) และ ด้านรวมหลายสาขาวิชา เช่น Academic Search (เฉลี่ย 3.15) ใช้วธิ ีการค้นหาโดยใช้คำ� ค้นหา จากหัวเรื่ อง/ชื่ อเรื่ อง/ชื่ อผูเ้ ขียน/ค�ำค้น (ร้ อยละ 92.04) และมี ลกั ษณะการใช้งาน คือ เลื อกพิมพ์เฉพาะข้อมูลที่ ตอ้ งการมากเป็ นอันดับแรก (ร้ อยละ 74.02) รองลงมา คื อ การบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์หรื อสื่ อบันทึก (ร้อยละ 64.01) และการอ่าน จากหน้าจอคอมพิวเตอร์อย่างเดียว (ร้อยละ 62.10) 10. ปั ญ หาการใช้ส ารสนเทศจากห้ อ งสมุ ด ในสถาบัน ที่ สั ง กัด คณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนื อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปั ญหาการใช้สารสนเทศจากห้องสมุดในสถาบันที่สงั กัดที่กำ� หนดให้ 5 ด้าน สรุ ปได้ดงั นี้ 10.1 ด้านทรั พยากรสารสนเทศ โดยรวมมี ปัญหาในระดับปานกลาง โดยมี ปัญหาเรื่ องความพอเพียงในเชิ งปริ มาณ/จ�ำนวนของทรั พยากรสารสนเทศมาก เป็ นอันดับแรก (เฉลี่ย 3.05) รองลงมาคือ ความสอดคล้องกับความต้องการ (เฉลี่ย 3.00) และความทันสมัยของเนื้อหา (เฉลี่ย 2.96) 10.2 ด้านพื้นที่และสภาพแวดล้อม โดยรวมมีปัญหาในระดับน้อย โดยมี ปั ญหาเรื่ องการจัดพื้นที่จดั เก็บทรัพยากรสารสนเทศและต�ำแหน่ งการจัดจุดให้บริ การ สารสนเทศ มากเป็ นอันดับแรก (เฉลี่ ย 2.55) รองลงมาคื อ การจัดพื้นที่ น่ังอ่านและ ความเพียงพอของพื้นที่บริ การ (เฉลีย่ 2.54) และบรรยากาศ/สภาพแวดล้อมของพื้นที่บริ การ (เฉลี่ย 2.51) 10.3 ด้านอุปกรณ์ เครื่ องมืออ�ำนวยความสะดวกในการค้นหาสารสนเทศ โดยรวมมี ปัญหาในระดับปานกลาง โดยมี ปัญหาเรื่ องสมรรถนะ/ประสิ ทธิ ภาพของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ มากเป็ นอันดับแรก (เฉลี่ย 2.82) รองลงมาคือ คุณภาพ/ศักยภาพของ โสตทัศนูปกรณ์ (เฉลี่ย 2.80) และความสะดวกด้านช่วงเวลาในการใช้เครื่ องมือเพื่อการ เข้าถึงสารสนเทศผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต (เฉลี่ย 2.77) 10.4 ด้านการบริ การ โดยรวมมีปัญหาในระดับน้อย โดยมีปัญหาเรื่ อง ช่วงเวลาเปิ ดบริ การมากเป็ นอันดับแรก (เฉลี่ย 2.65) รองลงมา คือ บริ การสารสนเทศที่ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

113


ห้องสมุดจัดให้บริ การ (เฉลี่ย 2.60) และการบริ การที่ทนั ต่อความต้องการ สะดวก และ รวดเร็ ว (เฉลี่ย 2.58) 10.5 ด้านบุคลากรที่ให้บริ การ โดยรวมมีปัญหาในระดับน้อย โดยมีปัญหา เรื่ องความกระตือรื อร้นในการให้บริ การมากเป็ นอันดับแรก (เฉลี่ย 2.55) รองลงมาคือ จิตบริ การของบุคคลผูใ้ ห้บริ การและความมีมนุษยสัมพันธ์ (เฉลี่ย 2.48) และทักษะความรู ้ ความสามารถของบุคคลผูใ้ ห้บริ การ (เฉลี่ย 2.59)

อภิปรายผล

จากผลการวิจยั มีประเด็นที่ได้นำ� มาอภิปรายผล ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ ในการใช้ สารสนเทศ คือ เพื่อการสอน จากแนวคิดของวิลสัน ที่ได้อธิบายกรอบการศึกษาผูใ้ ช้ไว้วา่ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของผูใ้ ช้เริ่ มจาก การที่ ผูใ้ ช้รู้ว่าตนต้องการสารสนเทศเพื่อวัตถุ ประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ ง ดังนั้นเพื่อ ตอบสนองความต้องการดังกล่าวจึงท�ำให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศในแหล่งหรื อรู ปแบบ ต่างๆ ผลการวิจยั นี้สะท้อนข้อเท็จจริ งที่วา่ หน้าที่ความรับผิดชอบหลักของคณาจารย์ทุกคน คือการสอนหรื อให้ความรู ้แก่นกั ศึกษา ในการปฏิบตั ิหน้าที่การสอนนั้นจ�ำเป็ นอย่างยิง่ ที่ อาจารย์จะต้องเตรี ยมการสอน จัดท�ำสื่ อการสอน คณาจารย์จึงต้องใช้สารสนเทศเพื่อ ประกอบการสอนมากกว่าวัตถุประสงค์อื่น และสอดคล้องกับงานวิจยั ของจิตราภรณ์ เพ็งดี (2546 : 83) Kingkaew Patitungkho and Deshpande (2005) ที่พบว่า วัตถุประสงค์ในการ ใช้สารสนเทศของอาจารย์ส่วนใหญ่ คือ เพื่อการสอนหรื อเตรี ยมการสอน 2) เนื้อ หาของสารสนเทศที่ใ ช้ ด้า นวิท ยาการจัด การมี ก ารใช้เ นื้ อ หาเรื่ อ ง การบริ หารจัดการทัว่ ไป มากเป็ นอันดับแรก ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า เรื่ องการบริ หารจัดการ ทัว่ ไปเป็ นวิชาพื้นฐาน รวมทั้งเป็ นเพราะคณาจารย์ส่วนใหญ่สงั กัดกลุ่มวิชาการจัดการและ การบริ หารธุรกิจ (ร้อยละ 30.89) จึงส่งผลท�ำให้มีการใช้เนื้อหาเรื่ องการบริ หารจัดการทัว่ ไป มากกว่าเรื่ องอื่นๆ ส�ำหรับเนื้อหาด้านวิทยาการทัว่ ไปมีการใช้เนื้อหากลุม่ สังคมศาสตร์มาก เป็ นอันดับแรก ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่าสารสนเทศกลุ่มสังคมศาสตร์ ครอบคลุมเนื้ อหา หลากหลายเรื่ อง เช่ น การศึ กษา กฎหมาย การพาณิ ชย์ รั ฐศาสตร์ การบริ หารรั ฐกิ จ เศรษฐศาสตร์ มานุษยวิทยา สังคมวิทยา ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ฯลฯ ซึ่ งเป็ น เนื้อหาหลักของสาขาวิชาที่เปิ ดสอนในคณะวิทยาการจัดการ เช่น เนื้อหาเรื่ องการพาณิ ชย์ และเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งเนื้ อหาในกลุ่ มสังคมศาสตร์ สามารถน�ำมาบูรณาการหรื อ เชื่อมโยงกับการสอนวิชาต่างๆ ของคณะวิทยาการจัดการได้ 114

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


3) รู ปลักษณ์ และแหล่ งของสารสนเทศที่ใช้ มี การใช้สารสนเทศรู ปลักษณ์ สื่ อดิจิทลั จากอินเทอร์เน็ตมากที่สุดซึ่งสัมพันธ์การใช้แหล่งสารสนเทศที่พบว่า คณาจารย์ ใช้แหล่ งสารสนเทศอิ เล็กทรอนิ กส์ ในระบบออนไลน์มากที่ สุด ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะ ในปั จจุ บนั เป็ นที่ ยอมรั บกันว่าอิ นเทอร์ เน็ ตเป็ นแหล่ งข้อมูลออนไลน์ที่ใหญ่ ที่สุดที่ มี ความรู ้ ทุ ก สาขาวิ ช า และการค้น อิ น เทอร์ เ น็ ต สามารถค้น ได้ต ลอดเวลาโดยผ่ า น เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของตนเองที่บา้ น และผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งจัดสรรไว้ให้ใช้ใน ที่ทำ� งานและในห้องสมุดจึงท�ำให้ใช้ได้สะดวก ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงท�ำให้คณาจารย์มีการ ใช้สารสนเทศจากอินเทอร์เน็ตมากกว่าสื่ อสารสนเทศรู ปแบบอื่น ผลการวิจยั นี้สอดคล้อง กับการวิจยั ของ ทรงวิทย์ เจริ ญกิ จธนลาภ (2552 : 105) ที่ พบว่า คณาจารย์มีการใช้ อินเทอร์เน็ตและฐานข้อมูลออนไลน์มากที่สุด 4) ความทันสมัยของสารสนเทศทีใ่ ช้ ความถี่ และระยะเวลาในการใช้ สารสนเทศ มีการใช้สารสนเทศที่มีอายุ 1-5 ปี มากเป็ นอันดับแรก ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะศาสตร์ในบาง สาขาวิชาของคณะวิทยาการจัดการมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เช่น การบริ หารจัดการ บริ หารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ ดังนั้นคณาจารย์จึงต้องใช้สารสนเทศใหม่ๆ ที่มีความทันสมัย และทันต่อเหตุการณ์ ผลการวิจยั นี้สอดคล้องกับการวิจยั ของ จันทิรา เทียนพาลี (2543 : 79) อนันศักดิ์ พวงอก (2547 : 27) และทรงวิทย์ เจริ ญกิจธนลาภ (2552 : 105) ที่พบว่า ช่วงอายุ ของสารสนเทศที่อาจารย์มีการใช้มาก คือ ช่วงอายุระหว่าง 1-5 ปี ส่ วนความถี่ในการใช้ สารสนเทศ พบว่า มีการใช้สารสนเทศมากกว่าเดือนละ 5 ครั้ง ทั้งนี้เนื่องจากคณาจารย์มี ภารกิจหลักคือการสอนซึ่ งมีความจ�ำเป็ นต้องศึกษาค้นคว้าเพื่อเตรี ยมการสอน นอกจากนี้ คณาจารย์บางส่ วนต้องศึกษาค้นคว้าเพื่อใช้สารสนเทศในการเขียนต�ำรา การท�ำวิจยั เพื่อ เพิ่มพูนความรู ้หรื อแม้กระทัง่ เพื่อความบันเทิงส่ วนตัว ดังนั้นคณาจารย์จึงมีความถี่ในการ ใช้สารสนเทศค่อนข้างมาก ส�ำหรับระยะเวลาในการใช้สารสนเทศแต่ละครั้งโดยเฉลี่ย 1-2 ชัว่ โมงต่อครั้งนั้นสอดคล้องตามหลักทางจิตวิทยาที่พบว่า สมองของมนุษย์จะมีสมาธิจดจ่อ ต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งประมาณ 25-35 นาทีเท่านั้น (K.P. http://www.nowpublic.com/health/ reading-skills-university-students. 2013) 5) การใช้ บริ การและการเข้ าถึงสารสนเทศของห้ องสมุดในสถาบันที่สังกัด คณาจารย์ใช้บริ การยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ มากเป็ นอันดับแรก ทั้งนี้ เป็ นเพราะใน แต่ละวันคณาจารย์ตอ้ งปฏิบตั ิภารกิจการสอนเป็ นหลักจึงไม่มีเวลามานัง่ อ่านในห้องสมุด จึงต้องยืมทรัพยากรสารสนเทศไปใช้ที่ทำ� งานหรื อที่บา้ น สอดคล้องกับผลการศึกษาของ อาภรณ์ อ่อนนวล (2548 : 121) ที่พบว่า บริ การห้องสมุดของสถานศึกษาที่สงั กัดที่อาจารย์ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

115


ใช้สูงสุ ด คือ บริ การยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ส่ วนวิธีการเข้าถึงสารสนเทศของห้อง สมุดในสถาบันที่ สังกัด พบว่า มี การสื บค้นด้วยตนเองโดยการสื บค้นจากฐานข้อมูล สารสนเทศมากเป็ นอันดับแรก ทั้งนี้ เพราะปั จจุบนั ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต ภาคเหนือทุกแห่งได้ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ การค้นหาข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของ ห้องสมุดจะต้องค้นผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ กอปรกับมหาวิทยาลัยมีฐานข้อมูลสารสนเทศ ต่างๆ ที่ผใู ้ ช้สามารถค้นและใช้สารสนเทศเต็มจากฐานข้อมูลได้ ดังนั้นการสื บค้นข้อมูล ด้วยตนเองจึงเป็ นวิธีที่สะดวกและได้สารสนเทศที่ตอ้ งการ ซึ่งผลการศึกษานี้แตกต่างจาก ผลการศึกษาของ อนันศักดิ์ พวงอก (2547 : 27) ที่พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรี สะเกษส่ วนใหญ่มีวธิ ีในการสื บค้นสารสนเทศในห้องสมุด คือ ส�ำรวจจากชั้นหนังสื อ และ เอก ชิตพันธ์ และ เชาวลิต คงแก้ว (2540 : 265) พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรีคน้ หาทรัพยากรสารสนเทศโดยวิธีการค้นหาจากชั้นวางหรื อสถานที่จดั เก็บ ซึ่ ง การวิจยั เหล่านี้ เป็ นการศึกษาในช่วงที่หอ้ งสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏอาจจะยังไม่มีระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ 6) การใช้ ฐานข้ อมูลออนไลน์ วิธีการค้ นหา และลักษณะการใช้ งานฐานข้ อมูล ออนไลน์ คณาจารย์มีการใช้ฐานข้อมูลด้านการวิจยั ของไทยมากเป็ นอันดับแรก ทั้งนี้อาจ เป็ นเพราะฐานข้อมูลด้านการวิจยั ของไทยมีฐานข้อมูลหลักที่สำ� คัญ คือ ฐานข้อมูล ThaiLis ส่ วนใหญ่เป็ นข้อมูลวิทยานิพนธ์ งานวิจยั และบทความทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา ต่างๆ ทัว่ ประเทศไทย สามารถดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็มได้ และไม่เสี ยค่าใช้จ่าย (ส�ำนักงานบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา. 2556) ส�ำหรับฐานข้อมูล ด้านการจัดการ เช่ น EmeRald Management ฐานข้อมูลด้านการศึ กษา เช่ น ERIC ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ACM Digital Library และด้านรวมหลายสาขาวิชา เช่ น EBSCO เป็ นฐานข้อมูลที่ เป็ นภาษาต่างประเทศบางฐานข้อมูลให้บริ การเฉพาะ บทคัดย่อหรื อเอกสารตัวอย่างเท่านั้น หากต้องการเอกสารฉบับเต็มจะต้องเสี ยค่าใช้จ่าย ในการดาวน์โหลดข้อมูลซึ่ งมีราคาค่อนข้างสู ง นอกจากนี้ฐานข้อมูลเหล่านี้จะต้องสื บค้น ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตภายในมหาวิทยาลัยเท่านั้นไม่สามารถที่ จะสื บค้นใน แห่ งอื่นๆ ได้ (ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ส�ำนักงานบริ หารเทคโนโลยี สารสนเทศเพือ่ พัฒนาการศึกษา. 2556) จึงเป็ นข้อจ�ำกัดในการใช้ ส�ำหรับวิธีการค้นหาและ ลัก ษณะการใช้ง านฐานข้อ มูลออนไลน์ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ค ำ� ค้น หาจากหัวเรื่ อง/ชื่ อเรื่ อง/ ชื่อผูเ้ ขียน/ค�ำค้น ทั้งนี้เป็ นการค้นหาสารสนเทศที่เป็ นพื้นฐานและผูใ้ ช้ส่วนใหญ่มีทกั ษะ การค้นสารสนเทศด้วยการใช้คำ� ค้นจากชื่อเรื่ อง ชื่อผูเ้ ขียน ค�ำค้นและหัวเรื่ อง ส่ วนลักษณะ 116

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


การใช้งานที่เลือกพิมพ์เฉพาะข้อมูลที่ตอ้ งการ ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะสามารถเก็บข้อมูลไว้ใช้ ในโอกาสต่อไปได้ 7) ปัญหาการใช้ สารสนเทศจากห้ องสมุดในสถาบันทีส่ ังกัด คณาจารย์พบปัญหา ในการใช้สารสนเทศจากห้องสมุดในสถาบันที่สงั กัดที่กำ� หนดไว้ 5 ด้าน โดยปั ญหาที่พบ สู งสุ ดในแต่ละด้านมีดงั นี้ ด้ านทรั พยากรสารสนเทศ คือ ความพอเพียงในเชิ งปริ มาณ/ จ�ำนวนของทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะมหาวิทยาลัยราชภัฏเป็ นมหาวิทยาลัย ที่มีพฒั นาการมาจากวิทยาลัยครู และเมื่อพัฒนาเป็ นมหาวิทยาลัยราชภัฏจึงมีการเปิ ดสอน สาขาวิชาอื่นๆ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูใ่ นห้องสมุดอาจยังมีทรัพยากรสารสนเทศทาง สาขาวิ ช าของคณะวิ ท ยาการจัด การค่ อ นข้า งน้อ ย สอดคล้อ งกับ ผลการศึ ก ษาของ เอก ชิตพันธ์ และ เชาวลิต คงแก้ว (2540 : 282) ที่พบว่าปั ญหาในการใช้สารสนเทศของ คณาจารย์ คือ สารสนเทศที่ตอ้ งการใช้มีนอ้ ยและไม่เพียงพอต่อความต้องการ ด้ านพืน้ ที่ และสภาพแวดล้ อม คือ การจัดพื้นที่จดั เก็บทรัพยากรสารสนเทศและต�ำแหน่งการจัดจุด ให้บริ การสารสนเทศ ทั้งนี้เป็ นเพราะมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือเป็ นมหาวิทยาลัย เก่าแก่ที่จดั ตั้งมานานและอาคารห้องสมุดได้สร้างมานาน ทรัพยากรสารสนเทศมีจำ� นวน มากขึ้น กอปรกับแนวคิดการจัดห้องสมุดแบบใหม่ให้เป็ นห้องสมุดมีชีวติ ท�ำให้หอ้ งสมุด ต้องแบ่งพื้นที่สำ� หรับอุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่ การจัดพื้นที่หอ้ งสมุดใหม่โดยปรับปรุ ง จากอาคารเก่าที่ไม่ได้ออกแบบให้เหมาะสมจึงท�ำให้เป็ นปัญหา สอดคล้องกับผลการศึกษา ของ รุ่ งทิวา ศรี วโิ รจน์ (2550 : 74) ที่พบปัญหาการใช้แหล่งสารสนเทศคือ การจัดเก็บและ ให้บริ การสารสนเทศไม่เป็ นระบบ ด้ านอุปกรณ์ เครื่ องมืออ�ำนวยความสะดวกในการค้ นหา สารสนเทศ คือ สมรรถนะ/ประสิ ทธิภาพของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เป็ นเพราะอุปกรณ์ เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงและล้าสมัยอย่างรวดเร็ ว อายุการใช้งานได้ดีของอุปกรณ์ เทคโนโลยีส่วนใหญ่เพียง 5 ปี จึงต้องมีการเปลี่ยนทุก 5 ปี รวมทั้งความเร็ วของเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ตในภูมิภาคอาจมีความเร็ วต�่ำกว่าส่ วนกลาง จึงท�ำให้การสื บค้นสารสนเทศ เกิ ด ความล่ า ช้า ไม่ ท ัน ต่ อ ความต้อ งการ สอดคล้อ งกับ ผลการศึ ก ษาของ ดวงใจ ติรประเสริ ฐสิ น (2544 : 207) ที่พบว่า อาจารย์พบปั ญหาในการใช้แหล่งสารสนเทศ อิเล็กทรอนิ กส์ คือ ใช้เวลานานในการเชื่ อมต่อระบบข่ายงานคอมพิวเตอร์ ไปยังแหล่ง สารสนเทศที่ ตอ้ งการเนื่ องจากระบบเครื อข่ายมักขัดข้องบ่อยและเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่จดั ไว้ให้บริ การมีประสิ ทธิภาพต�่ำ ด้ านการบริ การ คือ ช่วงเวลาเปิ ดบริ การ ทั้งนี้อาจเป็ น เพราะคณาจารย์มีหน้าที่สอนเป็ นหน้าที่หลักและในเวลาราชการเป็ นเวลาที่อาจารย์ปฏิบตั ิ หน้าที่สอน เมื่ออาจารย์มีเวลาว่างจากการสอน จะตรงกับเวลาที่หอ้ งสมุดปิ ดให้บริ การแล้ว Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

117


ด้ านบุคลากร คือ ความกระตือรื อร้นในการให้บริ การ ทั้งนี้เป็ นเพราะเป็ นความคาดหวัง ของผูใ้ ช้ทุกคนที่ตอ้ งการจะได้รับการบริ การที่ดีและน่ าประทับใจจากผูใ้ ห้บริ การ โดย ผูใ้ ห้บริ การจะต้องมี ความกระตื อรื อร้ น เอาใจใส่ ในการให้บริ การ เต็มใจให้บริ การ มีอธั ยาศัยดี และสามารถให้ความช่วยเหลือในการค้นหาสารสนเทศได้

ข้ อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ เป็ นข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ห้องสมุดในสังกัดสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยทัว่ ไป ดังนี้ 1.1 การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศควรให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน และในบางเรื่ องจ�ำเป็ นต้องจัดหาเล่มใหม่เพือ่ ติดตามเนื้อหาที่เป็ นปัจจุบนั และทันสมัย และ ควรจัดหาทรัพยากรสารสนเทศแต่ละสาขาวิชาและแต่ละประเภทในสัดส่ วนที่เหมาะสม และเพียงพอต่อการใช้งาน รวมทั้งควรจัดหาหนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ให้มากขึ้นเพื่อให้ใช้ สะดวกและใช้ได้ทุกเวลาที่ตอ้ งการ และเพื่อให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงเป็ นห้องสมุด สมัยใหม่ 1.2 การจัดห้องสมุดในสังกัดให้มบี รรยากาศเป็ นห้องสมุดมีชวี ติ โดยค�ำนึงถึง ผูใ้ ช้เป็ นส�ำคัญและมีการบริ การเป็ นแบบเบ็ดเสร็ จที่อำ� นวยความสะดวกให้แก่ผูใ้ ช้ใน การบริ การทุกอย่างในจุดเดียว 1.3 การวางแผนปรั บ ปรุ ง สมรรถนะและประสิ ท ธิ ภ าพของอุ ป กรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเมื่อครบอายุการใช้งาน รวมทั้งการวางแผนการ เปลี่ ย นระบบทั้ง ฮาร์ ด แวร์ แ ละซอฟต์แ วร์ ค วรด�ำ เนิ น การทุ ก 5 ปี เพื่ อ ให้ท นั ต่ อ การ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารและในช่ วงการเปลี่ยนต้องไม่ กระทบต่อระบบและการให้บริ การสารสนเทศ 1.4 การพัฒนาบุคลากรผูใ้ ห้บริ การเพือ่ สร้างจิตส�ำนึกในการให้บริ การ และ พัฒนาทักษะการให้บริ การสารสนเทศ 2. ข้ อเสนอแนะเพือ่ การวิจยั ในครั้งต่ อไป มีดงั นี้ 2.1 ควรท�ำวิจยั เกี่ ยวกับการใช้สารสนเทศของคณาจารย์คณะวิทยาการ จัดการของมหาวิทยาลัยอื่น หรื อคณาจารย์คณะอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต ภาคเหนื อหรื อสถาบันอุดมศึกษาอื่น เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปปรับปรุ งและ พัฒนาการให้บริ การสารสนเทศที่มีประสิ ทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการใช้ของผูใ้ ช้ และทันสมัย 118

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


2.2 ควรศึ ก ษาวิ จ ัย เกี่ ย วกับ ผูใ้ ช้แ ละการบริ ก ารสารสนเทศของแหล่ ง สารสนเทศต่างๆ ในมหาวิทยาลัยเพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะของผูใ้ ช้ ความต้องการ สภาพการบริ หารงาน การบริ การ และปัญหาในการด�ำเนินการแหล่งสารสนเทศต่างๆ ใน มหาวิทยาลัย เช่น ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ ศูนย์วฒั นธรรมและข้อมูลท้องถิ่น เป็ นต้น

รายการอ้ างอิง จันทิรา เทียนพาลี. (2543). ความต้องการใช้ สารนิเทศและพฤติกรรมการแสวงหาสารนิเทศ ของอาจารย์ผ้สู อนในภาควิชาเกีย่ วกับการท่ องเทีย่ วในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. จิตราภรณ์ เพ็งดี. (2546). พฤติกรรมการใช้ สารนิเทศของอาจารย์ และนักศึกษาสถาบัน ราชภัฏนครสวรรค์ . นครสวรรค์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบัน ราชภัฏนครสวรรค์. ดวงใจ ติรประเสริ ฐสิ น. (2544). การใช้ สารสนเทศเพือ่ การสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี. วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ทรงวิทย์ เจริ ญกิ จธนลาภ. (2552). สภาพการใช้ ความต้ องการ และปั ญหาในการใช้ สารสนเทศเพื่อ การสอนของ คณาจารย์ ม หาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคล สุ วรรณภูม.ิ การศึกษาอิสระการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. รุ่ งทิวา ศรี วโิ รจน์. (2550). ความต้ องการและการใช้ สารสนเทศเพือ่ การสอนของอาจารย์ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิ พนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. มาตรฐานการด�ำเนินการตามภารกิจของสถาบัน อุดมศึกษา. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.mua.go.th/users/he-commission/doc/law/Government% 20system.pdf. 2556. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ส�ำนักงานบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ พัฒ นาการศึ ก ษา. การบริ ก ารฐานข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ การสื บ ค้ น . Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

119


(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.uni.net.th/UniNet/referencedb_info.php. 2556. อาภรณ์ อ่อนนวล. (2548). การใช้ สารสนเทศของอาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัย ธรรมาธิราช. K.P., Moruthane. Reading Skills for University Students. (Online). Available : http://www.nowpublic.com/health/reading-skills-university-students. 2013. KingKaew Patitungkho and Deshpande, N. J. Information Seeking Behaviour of Faculty Members of Rajabhat Universities in Bangkok. (Online). Available : http://www.webology.org/2005/v2n4/a20.html. 2012. McKnight, Susan. The Changing Nature of Academic Libraries in the Digital Age. (Online). Available : http://www.ub.edu/bid/19mcknig.htm#Nota4. 2013.

120

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รู ปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถงึ โอกาส ในสั งคมชนบทภาคเหนือตอนบน Patterns and Procedures for Poverty Reduction of the Disadvantaged People in the Rural Societies of Upper Northern Region เพชร ชัยศร*

บทคัดย่ อ งานศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาภาวะความยากจน ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะ ความยากจน รู ปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจน และก�ำหนดยุทธศาสตร์การน�ำ รู ปแบบและกระบวนการไปใช้ลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบท ภาคเหนือตอนบน การศึกษาเชิงปริ มาณ มีประชากรเป็ นผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสที่เสนอรายชื่อ สมัครเป็ นสมาชิกสถาบันการเงินชุมชน ต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 14 หมู่บา้ น รวม 1,892 ราย กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 400 ราย เครื่ องมือที่ใช้เป็ น แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไปและปั จจัยที่ส่งผลต่อความยากจน ส่ วนการศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้การสนทนากลุ่มและจัดเวทีชุมชนระดมความคิดเห็น ประเมินยุทธศาสตร์ดว้ ยเทคนิค SWOT Analysis จากกลุ่มผูน้ ำ� ชุมชนที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความรู ้ ประสบการณ์และ บทเรี ยนในการแก้ไขปั ญหาความยากจน จ�ำนวน 15 ราย การวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ ความถี่ การวิเคราะห์การถดถอยพหุ คูณ (Multiple Regression Analysis) และ เชิงพรรณนา ผลการศึกษาสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ภาวะความยากจน เกิดจากมีสภาพครอบครัวใหญ่ มีปัญหาความเหลื่อมล�้ำ ทางชาติพนั ธุ์ ข้อจ�ำกัดทางการศึกษา ที่ไม่สามารถสอบแข่งขันอย่างเท่าเทียม มีปัญหา สุ ขภาพ เช่นเป็ นโรคเรื้ อรัง ขาดการวางแผนชีวติ มีอาชีพเกษตรกรรายได้ต่ำ � หรื อรับจ้าง * ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริ หารศาสตร์ (2547) ปั จจุบนั เป็ นพนักงาน ธุรกิจธนาคารชุมชน (หัวหน้าศูนย์ภาคเหนือตอนบน) ส�ำนักโครงการธนาคารชุมชน ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

121


หมุนเวียน แรงงานขาดทักษะ ไม่มีรายได้จากอาชีพเสริ ม ไม่มีแหล่งน�้ำกิน น�้ำใช้ เช่าที่ดิน เพื่ อ อาศัย หรื อ ท�ำ การเกษตร เข้า ไม่ ถึ ง บริ ก ารของรั ฐ ในการช่ ว ยเหลื อ แหล่ ง เงิ น ทุ น เป็ นเพราะขาดหลักค�้ำประกันและที่ ดินท�ำกิ นไม่มีเอกสารสิ ทธิ์ เป็ นหนี้ ดอกเบี้ ยแพง การขาดสวัสดิการทางสังคม มีความรู ้สึกกลัวการถูกคุกคามความปลอดภัย 2. ปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจน พบว่า ปั จจัยทางสังคม 3 ปั จจัย ได้แก่ การสะสมทุน ไม่มีทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ ขาดการประหยัดอดออม ไม่มีทรัพย์สิน ถาวร หรื อ มี แ ต่ มู ล ค่ า ต�่ำ ไม่ มี ก ารจัด ตั้ง กลุ่ ม /องค์ก รการเงิ น ในชุ ม ชน สิ ท ธิ โ อกาส ทางการเมือง เศรษฐกิจและสั งคม การเข้าไม่ถึงแหล่งทุนของรัฐ ขาดโอกาสในการรับรู ้ ข่ า วสาร ไม่ มี ไ ฟฟ้ า ประปาใช้ใ นชี วิ ต ประจ�ำ วัน การถู ก คุ ก คาม เอารั ด เอาเปรี ย บ ความไม่ปลอดภัย ขาดสวัสดิการทางสังคม ภาระทางการเงิน มีภาระหนี้ นอกระบบการ กู้เงิ นไปใช้จ่ายผิดประเภท ไม่ มีรายได้พิเศษหรื ออาชี พเสริ ม การขาดโอกาสในการ มีส่วนร่ วม หรื อเป็ นสมาชิกกลุ่ม ส่ งผลต่อรายได้ซ่ ึงเป็ นตัววัดภาวะความยากจนมากที่สุด 3. รู ปแบบการลดภาวะความยากจน ให้มีจดั ตั้งองค์กรการเงินที่สมาชิกในชุมชน เป็ นเจ้าของและมีการด�ำเนินกิจกรรมทางการเงินเกี่ยวกับการออม การระดมหุน้ การรับฝาก และการให้สินเชื่อ อบรมการใช้ชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและ ลด ละ เลิก มีการ ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่ อง เพิ่มมูลค่าผลผลิต ลดค่าใช้จ่าย และค่อยปรั บเปลี่ยนแนวคิด พฤติ ก รรม ผ่านกระบวนการกล่ อ มเกลาทางสังคม จัดท�ำกิ จกรรมหลังอบรม สร้ าง ความสัมพันธ์ สร้างเครื อข่าย เปิ ดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่ วม 4. ก�ำหนดยุทธศาสตร์การน�ำรู ปแบบและกระบวนการไปใช้ลดภาวะความยากจน ได้จากการวิเคราะห์ศกั ยภาพคณะกรรมการเป็ นตัวแทนจัดการทางการเงิน ด้วยเทคนิ ค SWOT Analysis มาวิ เ คราะห์ พบว่า องค์ก ร สถาบัน การเงิ น และหน่ ว ยงานต่ า งๆ ให้ความสนใจและให้การสนับสนุน ปั จจัยภายใน จุดแข็งคือ เจ้าหน้าที่ ทีมงาน มีความรู ้ ด้านบัญชี ควรจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์เชิงรุ ก (Growth Strategy) ส่ งเสริ มความรู ้การใช้ชีวติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริ มความรู ้ อบรมอาชีพ เสริ มสร้างความเข้มแข็งองค์กร การเงินชุมชนและกลุ่มสมาชิกภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ ค�ำส�ำคัญ : การลดภาวะความยากจน, ผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคม, รู ปแบบและกระบวนการ, การกล่อมเกลาทางสังคม

122

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


Abstract The purpose of this study, based on the qualitative and quantitative research, aimed to explore the disadvantaged people’s poverty, factors affecting their poverty, and patterns and procedures for their poverty reduction, as well as to find out the on-going strategies for the implications of the patterns and procedures for the disadvantaged people’s poverty reduction in the rural societies of the upper northern region. For data collection, a questionnaire was conducted with 400 out of the 1,892 respondents from 14 villages were randomly sampled. These included members of community funds located in Muang Na Sub-district, Chiang Dao District, Chiang Mai Province. In addition to the SWOT analysis, a group discussion was carried out for 15 community leaders specializing in their local wisdom, and effective poverty management. Also, the descriptive data were statistically analyzed through using percentage, frequency distribution, and multiple regression analysis. The findings of the study were as follows: 1. The disadvantaged people’s poverty was caused by the outnumber of family, ethnical divides, the limitations of educational competition, health deterioration, no effective life planning management, agriculturists’ fewer amounts of their monthly incomes, their lack of skill competence, no part-time job - taken allowances, no utilization of water resources for their drinking and public utilities, the leasing of land properties for their farming, no accessibility of fund services, no evidences for mortgage securities, no certificates of ownership, debts with its expensive rates of interests, no social welfares, and their life and safety menace; 2. In terms of the 3 social factors affecting the disadvantaged people’s poverty, it was stated that non-gross profits, no savings, no permanent assets with its underestimated prices, and no establishment for community funds were influenced on their cost savings, whereas their no accessibility of fund services, no opportunities in their information services, no electricity and waterworks services, life menace, and no social welfares were all induced in terms of the disadvantaged people’s political, economic, and social opportunities. Also, their outnumber of private debts spent for non-targeted purposes, no part-time allowances, no participation in their membership caused the disadvantaged people’s financial situations; Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

123


3. In terms of the disadvantaged people’s patterns for their poverty reduction, it was stated that the establishment of ownership-authorized community funds with their effective savings management, stock-raising, depositing and crediting services, trainings on the implications of the philosophy of economic sufficiency and allurement-decreasing, the continuation of effective poverty management, their productivity with reduction of life-earning expenses, socialization-based paradigm shifts, and additional after-project activities served for their participation and networking collaboration with their other participants were all implemented for their poverty reduction and management; 4. In terms of the on-going strategies for the SWOT analysis and implications of the patterns and procedures for the disadvantaged people’s poverty reduction in the rural societies of upper northern region, it was also suggested that other different and financial institutions’ funds were not only sponsored, but the involved accounting management-specialized participants’ and staff’s growth strategy was also promoted for their practical implications of the philosophy of economic sufficiency, as well as their career training services, and their better understandings of community strengthening development in cooperation with their community fund members. Keywords : Poverty Reduction, Disadvantaged People in Societies, Patters and Procedures, and Socialization

บทน�ำ

หลังยุคการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม การพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ ส่งผลกระทบ ในวงกว้างทั้งระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โลกได้ให้ความส�ำคัญกับการแข่งขัน ทางด้านเทคโนโลยีและเศรษฐกิจระบบทุนนิยมเป็ นตัวเร่ งให้เกิดการผลิตขนานใหญ่ทำ� ให้ มีช่องว่าง (GAP) ระหว่างรายได้เพิ่มมากยิง่ ขึ้น ทรัพยากรถูกน�ำมาใช้อย่างมหาศาล (Sen. 2001) ในขณะที่รายงานขององค์การสหประชาชาติพบว่ามีผหู ้ ิวโหยได้เสี ยชีวติ ไปประมาณ วันละ 25,000 คนสาเหตุมาจาก สภาพแวดล้อมวิกฤติส่งผลถึงผลผลิตภาคการเกษตร การแสวงหาผลประโยชน์อย่างไม่ยตุ ิธรรมจากทรัพยากรที่มีอยูจ่ ำ� กัด แนวทางการแก้ไข ปัญหาความยากจนประเทศก�ำลังพัฒนามีแนวทางเป็ นไปในทิศทางเดียวกันคือการรวมตัว เป็ นองค์กรขนาดเล็ก (Micro enterprise) การพัฒนาประเทศไทยในช่วงแรกของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) ได้อญั เชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจ 124

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


พอเพียง” มาเป็ นปรัชญาน�ำทางในการพัฒนาและบริ หารประเทศ ควบคู่ไปกับกระบวน ทรรศน์การพัฒนาแบบบูรณาการเป็ นองค์รวมที่มี “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” และใน แผนพัฒนากลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน (พ.ศ. 2557-2560) ส�ำนักบริ หารยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัดภาคเหนื อ ที่ตอ้ งการให้เป็ นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน สู่ สากล โดดเด่นวัฒนธรรมล้านนา สังคมน่าอยูท่ ุกถิ่น เน้นการพัฒนาที่ยง่ั ยืน ด�ำรงความเป็ นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติโดยฟื้ นฟูและบริ หารจัดการทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน สร้างความมัน่ คง ปลอดภัยในพื้นที่ชายแดนและความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ (http://www.osmnorth-n1.moi.go.th. 2554) สถานการณ์ความยากจนและ ความเหลื่ อมล�้ำในพื้นที่ ภาคเหนื อตอนบนมี ลกั ษณะพื้นที่ เป็ นภูเขา และเทื อกเขาสู ง ประกอบด้วยกลุ่มชนหลายกลุ่มด้วยกัน ผูศ้ ึกษาจึงสนใจปั ญหาผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสที่ตำ� บล เมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีลกั ษณะชุมชนหลากหลายวัฒนธรรม พื้นที่ ติดเขตชายแดนประชากรยังมีการศึกษาอยูต่ ่ำ� กว่าเกณฑ์ ปัญหาถือครองที่ดินและการอพยพ แรงงานสูง (http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=500402. 2555.) โดย เริ่ ม จากการสร้ า งความรู ้ ค วามเข้า ใจเกี่ ย วกับ ความยากจนและหาแนวทางลดปั ญ หา มีผเู ้ ชี่ยวชาญ นักวิชาการ ให้ขอ้ แนะน�ำ หารู ปแบบมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยมีคน เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา เพื่อปรับใช้เพิ่มมูลค่า สร้างรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวติ

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา

1. เพือ่ ศึกษาภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือ ตอนบน 2. เพื่อศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคม ชนบท ภาคเหนือตอนบน 3. เพือ่ หารู ปแบบและกระบวนการ ลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาส ในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน 4. เพือ่ หายุทธศาสตร์การน�ำรู ปแบบและกระบวนการไปใช้ลดภาวะความยากจน ของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ

1. เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสไปใช้หารู ปแบบและ กระบวนการลดความยากจนที่เหมาะสม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

125


2. เพื่อน�ำปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสไปพัฒนา ยุทธศาสตร์เสนอให้กบั หน่วยงานรับผิดชอบ และที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้ได้รูปแบบและกระบวนการ ลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึง โอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน 4. เพื่ อ สามารถก�ำ หนดยุท ธศาสตร์ ก ารน�ำ รู ป แบบและกระบวนการไปใช้ ลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน

นิยามศัพท์ เฉพาะ

ภาวะความยากจน หมายถึง รายได้ทไี่ ด้รบั ผลจากตัวชี้วดั สภาพความยากจน ได้แก่ ความจ�ำเป็ นพื้นฐานเพื่อการยังชี พ ภาระทางการเงิ น ลักษณะด�ำรงชี พ การสะสมทุน สิ ทธิโอกาสทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งวัดจากรายได้ การออม และหนี้สิน การลดภาวะความยากจน หมายถึง การท�ำให้เกิดโอกาสและพัฒนาให้สามารถ ด�ำรงชีพอยูไ่ ด้ตามความจ�ำเป็ นพื้นฐาน รู ปแบบ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การจัดตั้งองค์กรรองรับ การก�ำหนดยุทธศาสตร์ นำ� รู ปแบบไปใช้ การฝึ กอบรม การจัดกิจกรรมปฏิบตั ิหลังอบรม การสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน สังคมชนบท หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกัน มีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกันประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ นส�ำคัญ มีระเบียบสังคม มีความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ผสมกลมกลืนกัน ตั้งบ้านเรื อนเป็ นกลุ่ม หรื อกระจายตามลักษณะภูมิประเทศ

กรอบแนวคิดทฤษฎี

ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. ทฤษฎีทางสั งคมศาสตร์ 1.1 ทฤษฎีดอ้ ยวัฒนธรรม วัฒนธรรมของคนยากจนมี ลกั ษณะโดดเด่ น มี ลกั ษณะเฉพาะของ วัฒนธรรมหนึ่ งภายใต้ระบบครอบครั วและสายเลือดพันธุ กรรมตามกฎของเมนเดลที่ บรรพบุ รุ ษ โดยการสร้ า งวัฒ นธรรมของตัว เองขึ้ น เป็ นปั จ จัย ต่ า งๆ ได้แ ก่ 1) ที่ ต้ ัง 2) ความเป็ นเมื อ งหรื อชนบท 3) โครงสร้ า งของครอบครั ว 4) ระบบเครื อญาติ 5) ความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว สามีและภรรยา บุตรและผูป้ กครอง 6) แบบแผน 126

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


การใช้จ่ายและการบริ โภค 7) ระบบค่านิ ยม 8) กาลเวลา 9) ความรู ้สึกผูกพันกับชุมชน ที่ตวั เองอยูอ่ าศัย 1.2 ทฤษฎีภาระหน้าที่ แนวคิดตามทฤษฎีน้ ี คือ ความยากจนมีสาเหตุจากมีหน้าที่การท�ำงาน ของคนในอาชีพต่างๆซึ่ งมีผลตอบแทนจากการประกอบอาชีพแตกต่างกันไปตามความ ส�ำคัญของหน้าที่ในแต่ละอาชีพถูกก�ำหนดความส�ำคัญและการจูงใจให้ค่าตอบแทนโดย โครงสร้างของสังคม กลุ่มอาชี พที่มีอำ� นาจในการต่อรองในสังคมมาก ได้แก่ กลุ่มคน ชนชั้นปกครอง ชนชั้นผูบ้ ริ หาร นักวิชาการผูม้ ีความรู ้ความสามารถ มีอำ� นาจในสังคม มากกว่าชนชั้นที่ ถูกปกครองอันได้แก่ ชนชั้นกรรมาชี พ คนไม่มีความรู ้ แรงงานฝี มื อ ผูด้ อ้ ยโอกาส กลุ่มคนต่างๆ นี้ จะถูกสังคมก�ำหนดค่าตอบแทนแตกต่างกัน กลุ่มที่ ได้ ค่ า ตอบแทนต�่ำ ก็ จ ะเกิ ด เป็ นสาเหตุ ค วามยากจนจากหน้า ที่ แ ละการประกอบอาชี พ นักวิชาการทฤษฎีหน้าที่นิยม จะเห็นว่าความยากจนไม่มีสาเหตุจากครอบครัว แต่มีสาเหตุ จากโครงสร้างของสังคมเป็ นส�ำคัญ 2. แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ องทางสั งคมศาสตร์ 2.1 แนวความคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศที่กำ� ลังพัฒนา (Developing countries) ประชาชนส่ วนมากที่ รายได้ตอ่ คนค่อนข้างต�่ำ เพราะขาดแคลนทุนและทรัพยากร มีการออมจ�ำกัด มีความแตกต่าง ระหว่างความมัง่ คัง่ กับความยากจนชัดเจน การผลิตส่ วนมากเป็ นการผลิตขั้นปฐม และ มี การประกอบอาชี พเกษตรกรรมเป็ นส่ วนใหญ่ การให้ประเทศหลุ ดพ้นจากวัฏจักร ความยากจน (Vicious circles) จะต้องมีการกระตุน้ และก่อเกิดสถาบัน วัด การวิจยั และ สาธารณสุ ข ส่ งเสริ มการอบรม และส่ งเสริ มการลงทุน โดยรัฐบาลควรด�ำเนิ นโครงการ น�ำร่ อง เพื่อเป็ นปั จจัยพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับระบบเครื อญาติ ความสัม พัน ธ์ ข องหมู่ บ ้า นชนบทไทยภายใต้ร ะบบเครื อ ญาติ ว่า มี ลักษณะส�ำคัญ 5 ประการ คือหมู่บา้ นเป็ นองค์รวมที่เป็ นเอกภาพไม่มีการขัดแย้ง ไม่มี ความแตกต่างในเรื่ องของอ�ำนาจ ให้ความส�ำคัญกับความมีอาวุโส ความมีคุณธรรมเป็ น ด้านหลัก ส่วนในด้านความมัน่ คงเป็ นด้านรอง สังคมหมูบ่ า้ นมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านต่างๆ เช่น ในด้านการผลิต การป้ องกันหมู่บา้ นและการให้สวัสดิการทางด้านการ รักษาพยาบาล เป็ นต้น โครงสร้างอ�ำนาจเป็ นการกระจายอ�ำนาจตามกลุม่ เครื อญาติและเป็ น แนวนอน นอกจากนั้นยังเชื่อว่าสังคมชนบทในปั จจุบนั ที่กำ� ลังถูกแทรกแซงจากภายนอก Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

127


จะท�ำให้ความส�ำคัญของระบบเครื อญาติลดลงและหมดความส�ำคัญไปในที่สุดและได้สรุ ป สาเหตุของการลดความส�ำคัญของระบบเครื อญาติ คือ การถูกแทรกแซงจากภายนอก โดย อ�ำนาจรัฐและระบบทุนนิ ยม ประชาชนในหมู่บา้ นจะมาพึ่งบริ การจากรัฐและการเข้าไป ของระบบทุ น นิ ย ม จะเข้า ไปท�ำ ลายการช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กัน ด้ว ยแบบที่ เ รี ยกว่ า การแลกเปลี่ ยนเป็ นระบบเงิ นตราส�ำหรั บความสัมพันธ์ของโครงสร้ างอ�ำนาจดั้งเดิ ม ในระบบเครื อญาติ ในการควบคุมทางสังคมโดยใช้ความอาวุโสและความมีคุณธรรม เป็ นหลัก ก็จะลดน้อยลง เมื่ออ�ำนาจรัฐเข้าแทรกแซง ท�ำให้ความสัมพันธ์ด้ งั เดิมของระบบ เครื อญาติ ถู ก ท�ำ ลายไป ส� ำ หรั บ ระบบทุ น นิ ย มได้เ ข้า ไปมี ส่ ว นร่ ว มในการท�ำ ลาย ความมีคุณธรรม โดยการสถาปนาความมัง่ คัง่ ขึ้นมาแทน 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับระบบอุปถัมภ์ ประเด็น ความสัม พัน ธ์ แ บบอุ ป ถัม ภ์อ อกเป็ นสองนัย คื อ นัย แรก ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์เป็ นความสัมพันธ์ช่วยเหลือเกื้ อกูลกันระหว่างคนสองกลุ่ม ผูอ้ ุปถัมภ์จะให้ความคุม้ ครอง ช่วยเหลือ เมื่อผูใ้ ต้อุปถัมภ์ได้รับความเดือดร้อน ขณะที่ ผูอ้ ยูใ่ ต้อุปถัมภ์จะต้องให้ความซื่ อสัตย์และจงรักภักดี นัยสองระบบอุปถัมภ์แสดงให้เห็น ถึงการเอารัดเอาเปรี ยบของเจ้านายที่มีต่อลูกน้อง หมายถึง เจ้านายจะต้องให้ส่ิ งที่เป็ นธรรม แก่ลกู น้อง เช่น ยกย่อง การคุม้ ครอง ทั้งนี้ผทู ้ ี่เป็ นลูกน้องกลับไม่รู้สึกว่าถูกขูดรี ด แต่กลับ รู ้สึกว่าตนเองได้รับความช่วยเหลือ จ�ำเป็ นต้องตอบแทน

กรอบแนวคิดของการศึกษา

กรอบแนวคิดในการศึกษา กระแสโลกาภิวตั น์ ส่ งผลต่อนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ในขณะที่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและความขาดแคลนในการ ด�ำรงชี วิต ส่ งผลต่อโครงสร้างทางสังคมไทยแสดงให้เห็น ภาวะความยากจนในสังคม ชนบทเป็ นประเด็นปั ญหา การศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจน น�ำไปสู่ แนวคิด วิธีการลดภาวะความยากจน ผ่านกระบวนการศึ กษาโดยการควบคุ มของผูเ้ ชี่ ยวชาญ นัก วิช าการ พัฒ นารู ป แบบและกระบวนการลดปั ญ หาภาวะความยากจนและจัด ท�ำ ยุทธศาสตร์แก้ไขปั ญหาความยากจน ให้สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสม

วิธีการศึกษา

การศึกษาประกอบด้วย ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง พื้นที่ศึกษา หน่วยที่ใช้ในการ วิเคราะห์ การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้การผสมผสานทั้ง 128

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


วิธีเชิงปริ มาณและคุณภาพ ใช้แบบสอบถาม การสนทนากลุ่มและจัดเวทีชุมชน เพื่อระดม ความคิดเห็นในการหารู ปแบบและก�ำหนดยุทธศาสตร์การลดภาวะความยากจนในสังคม ชนบท ด้วยเทคนิค SWOT Analysis มีข้ นั ตอนด�ำเนินการ ดังนี้

ตอนที่ 1 การศึ กษาภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถึงโอกาสในสั งคมชนบท ภาคเหนือตอนบน

1.1 การศึกษาบริบท/ปัญหาของชุมชนและผลกระทบต่ อภาวะความยากจนของ คนในชุมชน กลุม่ เป้ าหมาย ประกอบด้วย ผูน้ ำ� ชุมชนที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น จ�ำนวน 15 คน ประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บา้ น ผูน้ ำ� ชุมชน ประธานสถาบันการเงินชุมชนเทศบาล สอบถามข้อมูลทัว่ ไปของชุมชนและบริ บททางสังคม ด�ำเนิ นการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กลุ่ม เปิ ดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและหาข้อสรุ ปในเวทีสนทนา เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม ใช้การจดบันทึก การสนทนา และบันทึกเสี ยง วิเคราะห์เนื้ อหาตามประเด็นที่ศึกษาแล้วน�ำเสนอข้อมูล โดยวิธีการพรรณนา 1.2 การศึกษาภาวะความขาดแคลนในการด�ำรงชีวติ และแนวทางการลดภาวะ ความยากจนกลุ่มเป้ าหมาย มีผทู ้ รงคุณวุฒิจำ� นวน 20 คนประกอบด้วย นักวิชาการที่มี ผลงานเกี่ยวกับการแก้ไขปั ญหาความยากจน จ�ำนวน 1 คน ผูน้ ำ� ชุมชนที่เป็ นภูมิปัญญา ท้องถิน่ เป็ นผูท้ ี่มคี วามรู ้ ประสบการณ์และบทเรี ยนในการแก้ไขปัญหาความยากจน จ�ำนวน 15 คน เจ้าหน้าที่การเงิน/เจ้าหน้าที่บญั ชีและพนักงานธุรกิจธนาคารชุมชนจ�ำนวน 4 คน ด�ำเนินการประชุมกระบวนการ การสร้างความรู ้ แนวทางการพัฒนา และหนทางการปฏิบตั ิ A-I-C เก็บรวบรวมข้อมูลใช้การจดบันทึกการสนทนา และบันทึกเสี ยง การวิเคราะห์ขอ้ มูล วิเคราะห์เนื้อหาตามประเด็นที่ศึกษาแล้วน�ำเสนอข้อมูลโดยวิธีการพรรณนา

ตอนที่ 2 ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่ อภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถึงโอกาสใน สั งคมชนบทภาคเหนือตอนบน

ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสที่เสนอรายชื่อ สมัครเป็ นสมาชิกสถาบันการเงินชุมชน ต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 14 หมู่บา้ น รวม 1,892 ราย กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ประชาชน ผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสที่เสนอรายชื่อสมัครเป็ นสมาชิกสถาบันการเงินชุมชน ที่ผา่ นการคัดกรอง และรับรองจากกลุ่มผูน้ ำ� ชุมชนทั้ง 14 หมู่บา้ น ของต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัด Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

129


เชียงใหม่ จ�ำนวน 400 ราย เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เป็ นแบบสอบถาม จ�ำนวน 2 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป ลักษณะแบบสอบถาม จ�ำนวน 24 ข้อ ตอนที่ 2 ปั จจัย ที่ส่งผลต่อภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบท จ�ำนวน 40 ข้อ ใช้ตอบ แบบสอบถาม พร้อมทั้งแจ้งรายละเอียดในการตอบแบบสอบถาม ทั้งนี้ได้ขอความร่ วมมือ สถาบันการเงินชุมชนเมืองนะส่งเจ้าหน้าที่ มาช่วยในการสอบถามโดยการสื่ อภาษาท้องถิ่น การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไป ใช้วิธีการลงบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมส�ำเร็ จรู ป วิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ส่ วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจนของ ผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือ ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยวิธีการวิเคราะห์แบบเพิ่มหรื อลดตัวแปรเป็ นขั้นๆ (Stepwise Multiple Regression Analysis) โดยท�ำการทดสอบข้อมูลตามข้อตกลงเบื้องต้นของ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคณ ู ได้แก่ 1. ทดสอบตัวแปรตามมีการแจกแจงเป็ นปกติ (Normality) โดยใช้สถิ ติทดสอบ Kolmogorov - Smirnov ซึ่ งพิจารณาดูการมี นัยส�ำคัญทางสถิ ติ 2. ทดสอบตัวแปรตามและตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์กนั เชิงเส้นตรง (Linearity) โดย พิจารณาดูการมีนยั ส�ำคัญทางสถิติของค่าอัตราส่ วนเอฟ (F) 3. ทดสอบตัวแปรตามมีความ เป็ นเอกพันธ์ของความคลาดเคลื่ อนในทุ กค่าของตัวแปรอิ สระ (Homoscedasticity) น�ำข้อมูลที่ผา่ นการวิเคราะห์ทางสถิติมาน�ำเสนอในรู ปตารางและอภิปรายผล

ตอนที่ 3 การหารู ปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถงึ โอกาสในสั งคมชนบทภาคเหนือตอนบน

กลุ่มเป้ าหมาย ผูท้ รงคุณวุฒิจำ� นวน 20 คนประกอบด้วย นักวิชาการ ผูน้ ำ� ชุมชน ที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น เจ้าหน้าที่การเงิน/เจ้าหน้าที่บญั ชี และพนักงานธุรกิจธนาคารชุมชน เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบบันทึก การประชุมเชิงปฏิบตั ิการประเด็น เนื้อหาและข้อเสนอแนะที่นำ� มาวิเคราะห์หาทางแก้ไข ก�ำหนดจากปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะ ความยากจน 3 ปั จจัย ได้แก่ การสะสมทุน สิ ทธิโอกาสทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ภาระทางการเงิน เพื่อหาแนวทางลดภาวะความยากจน ตามช่วงชั้นของการพัฒนาแบบ พึ่งพาออกเป็ น 3 ระดับ ก�ำหนดกิจกรรมเพื่อการพัฒนารู ปแบบและกระบวนการลดภาวะ ความยากจน โดยมีรองนายกเทศมนตรี เทศบาลต�ำบลเมืองนะเป็ นผูด้ ำ� เนิ นการสนทนา (Moderator) วิเคราะห์เนื้ อหาตามประเด็นที่ศึกษาแล้วน�ำเสนอข้อมูลโดยวิธีเสนอเป็ น รู ปแบบ และกระบวนการ

130

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ตอนที่ 4 ก�ำหนดยุทธศาสตร์ การน�ำรู ปแบบและกระบวนการไปใช้ ลดภาวะ ความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถงึ โอกาสในสั งคมชนบทภาคเหนือตอนบน

4.1 การวิเคราะห์ศกั ยภาพหน่วยงานที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบในขั้นตอนการจัดตั้ง สถาบันการเงินชุมชนและการก�ำหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มเป้ าหมายในการศึกษา ประกอบด้วย ผูน้ ำ� ชุมชนที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น จ�ำนวน 15 คน ใช้แบบสอบถามจ�ำนวน 15 ชุดประเด็นสภาพปั จจัยภายในที่สำ� คัญ อาศัยตัวแบบ 7-S เป็ นแนวทางในการก�ำหนด ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ Staff, Style, Skill, Structure, Strategy, System, SharedValue เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ว่าสภาพภายในจะส่ งผลทางบวก ซึ่ งเป็ นจุ ดแข็ง (Strengths) หรื อส่ งผลในทางลบ ซึ่ งเป็ นจุดอ่อน (Weaknesses) ประเด็นสภาพแวดล้อม ภายนอกที่ส�ำคัญ อาศัยตัวแบบ ISTEP (ได้แก่ International, Society, Technology, Economy, Policy) เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ ว่า สภาพภายนอก จะส่ งผลทางบวก ซึ่งเป็ นโอกาส (Opportunities) หรื อส่งผลทางลบ ซึ่งเป็ นภัยคุกคาม (Threats) การวิเคราะห์ ศักยภาพหน่วยงานที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความยากจนด้วยเทคนิค SWOT Analysis and TOWS Matrix วิเคราะห์เนื้ อหาตามประเด็นที่ศึกษาแล้วน�ำเสนอ ข้อ มู ล โดยวิธี แ สดงค่ า ในตารางและการจัด ท�ำ แมทริ ก ซ์ ส รุ ป ผลการวิเ คราะห์ ปั จ จัย เชิงกลยุทธ์ (Generating a Strategic Factors Analysis Summary (SFAS) Matrix) 4.2 การก�ำหนดยุทธศาสตร์ การน�ำรู ปแบบและกระบวนการไปใช้ลดภาวะ ความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนื อตอนบน กลุ่มเป้ าหมาย ผูท้ รงคุณวุฒิจำ� นวน 20 คน ประกอบด้วย นักวิชาการที่มีผลงานเกี่ยวกับการแก้ไขปั ญหา ความยากจน จ�ำนวน 1 คน ผูน้ ำ� ชุมชนที่เป็ นภูมปิ ัญญาท้องถิน่ เป็ นผูท้ ี่มคี วามรู ้ประสบการณ์ และบทเรี ย นในการแก้ไ ขปั ญ หาความยากจน จ�ำ นวน 15 คน เจ้า หน้า ที่ ก ารเงิ น / เจ้าหน้าที่ บญ ั ชี และพนักงานธุ รกิ จธนาคารชุ มชนจ�ำนวน 4 คน เครื่ องมื อที่ ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ศกั ยภาพหน่วยงานที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ แก้ไขปั ญหาความยากจนด้วยเทคนิค SWOT Analysis 1. การวิเคราะห์วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และแผนงานโครงการ ท�ำยุทธศาสตร์ นำ� รู ปแบบมาใช้ลดภาวะความยากจน ของผูเ้ ข้าไม่ถงึ โอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน 2. การสรุ ปข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการน�ำยุทธศาสตร์ ลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึง โอกาสในสังคมชนบทภาคเหนื อตอนบนไปใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล มีการประชุ ม เชิงปฏิบตั ิการวิเคราะห์เนื้อหาตามประเด็นที่ศึกษาแล้วน�ำเสนอข้อมูลโดยวิธีการพรรณนา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

131


การประเมิ น ความสอดคล้อ งของยุท ธศาสตร์ แ ละแผนงานโครงการและ การประเมินความเหมาะสม ความเป็ นไปได้และความเป็ นประโยชน์ของยุทธศาสตร์และ แผนงานโครงการลดปั ญหาภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบท ภาคเหนือตอนบน โดยผูท้ รงคุณวุฒิ 3 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique)

ผลการศึกษา

1. ภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถึงโอกาสในสั งคมชนบทภาคเหนือตอนบน บริ บท/ปั ญหาของชุมชน มีสภาพครอบครัวใหญ่ มีปัญหาความเหลื่อมล�้ำทางชาติพนั ธุ์ ข้อจ�ำกัดทางการศึกษา ที่ไม่สามารถสอบแข่งขันอย่างเท่าเทียม มีปัญหาสุ ขภาพ เช่ น เป็ นโรคเรื้ อรัง ขาดการวางแผนชี วิต มีอาชี พเกษตรกร หรื อรับจ้างหมุนเวียน แรงงาน ทักษะต�่ำ การมีประสิ ทธิภาพการท�ำงานไม่ดี ไม่มีรายได้จากอาชีพเสริ ม ไม่มีแหล่งน�้ำกิน น�้ำใช้ เช่าที่ดินเพือ่ อาศัยหรื อท�ำการเกษตร เป็ นหนี้ดอกเบี้ยแพงการเข้าไม่ถึงบริ การของรัฐ ในการช่ ว ยเหลื อ แหล่ ง เงิ น ทุ น เป็ นเพราะขาดหลัก ค�้ำ ประกัน และที่ ดิ น ท�ำ กิ น ไม่ มี เอกสารสิ ทธิ์ ปัญหาทางเศรษฐกิจ มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยว มีตน้ ทุนการผลิตสูง ราคาผลผลิต ตกต�่ำ การคมนาคมไม่สะดวก มีภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรื อนสู ง ขาดสวัสดิการทางสังคม มี ค วามรู ้ สึ ก กลัว การถู ก คุ ก คามความปลอดภัย แนวโน้ม ของการเปลี่ ย นแปลงภาวะ ความยากจน เพื่อการแก้ไขปั ญหาการจัดเตรี ยมความพร้อมในการผลิต เช่น เตรี ยมดิน เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ ย ยา และเลื อกปลูกพืชที่ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ใช้น้ ำ� อย่างประหยัด การขุด สระเก็บ น�้ำ ควบคุ ม การใช้จ่ า ยเท่ า ที่ จ ำ� เป็ น เช่ น ค่ า อาหารและยารั ก ษาโรค พยายามเข้าร่ วมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือกัน เช่น ตั้งกลุ่มอาชี พ กลุ่มออมทรัพย์ พยายามลด การตัดไม้และปลูกป่ าทดแทนตามค�ำแนะน�ำของหน่ วยงานราชการเพื่อสร้างแหล่งน�้ำ ไว้ใช้ในอนาคต ลด ละ เลิกอบายมุข ยึดแนวพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ปั จจัยที่ส่งผลต่ อภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถึงโอกาสในสั งคมชนบท ภาคเหนือตอนบน พบว่า Adjusted R2 = .137 หรื อ 13.7% แสดงว่า ปั จจัยที่ส่งผลต่อภาวะ ความยากจน (รายได้) มี 3 ปัจจัย คือ การสะสมทุน (X4) สิ ทธิโอกาสทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (X5) ภาระทางการเงิน (X2) ส่ งผลต่อ ภาวะความยากจน(รายได้) (Y1) ได้เท่ากับ 13.7% และสามารถเขี ย นสมการพยากรณ์ ได้ด ัง นี้ สมการพยากรณ์ ใ นรู ป คะแนน ดิบ Y = 3.243 + .334 X4 + .297X5 + .326 X2 สมการในรู ปคะแนนมาตรฐาน คือ = .245 X4 + .166X5 + .153X2 ปั จจัยทางสังคมมี 3 ปั จจัย ได้แก่ การสะสมทุน สิ ทธิ โอกาส

132

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ทางการเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสัง คม ภาระทางการเงิ น ที่ ส่ ง ผลต่ อ รายได้ หรื อ ภาวะ ความยากจน โดยที่ปัจจัยสะสมทุน ประกอบด้วยการไม่มีทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ ขาดการประหยัด อดออมไม่ มี ท รั พ ย์สิ น ถาวร หรื อมี แ ต่ มู ล ค่ า ต�่ำ ในชุ ม ชน ไม่ มี แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ไม่มีการจัดตั้งกลุ่ม / องค์กรการเงินในชุมชน ขาดโอกาสในการ มีส่วนร่ วม หรื อเป็ นสมาชิกกลุ่ม ส่ งผลต่อรายได้ซ่ ึงเป็ นตัววัดภาวะความยากจนมากที่สุด 3. รู ป แบบการลดภาวะความยากจนของผู้ เ ข้ า ไม่ ถึ ง โอกาสในสั ง คมชนบท ภาคเหนือตอนบน ขั้นตอนการหารู ปแบบการลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาส ในสังคมชนบท ภาคเหนื อตอนบนแบ่งช่วงชั้นการพึ่งพา ออกเป็ น 3 ระดับ พึ่งตนเอง สร้างรายได้ ระดับครัวเรื อนสามารถแก้ไขได้ดว้ ยตนเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ได้แก่ การปรับทัศนคติ การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง การท�ำบัญชีรับ – จ่าย (บัญชีครัวเรื อน) ทั้งนี้ สามารถเรี ยนรู ้ได้เองจากสื่ อส่ งเสริ ม โทรทัศน์ วิทยุ หนังสื อทัว่ ไป หรื อติดต่อขอข้อมูล ได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พึง่ พากันในชุมชน สร้างโอกาส เร่ งรัดพัฒนาอบรม จัดตั้งกลุม่ ภายใต้ค วามรั บ ผิ ด ชอบและเป็ นแผนปฏิ บ ัติ ก ารของหมู่ บ ้า น ชุ ม ชนมี ก ารจัด การ ด้านกระบวนการเรี ยนรู ้ และรั บการช่ วยเหลือจากหน่ วยงานภายนอกที่ สนับสนุ นตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ลักษณะกลุ่ม องค์กร เครื อข่าย มีการพิจารณาเพือ่ กระจายโอกาสให้กลุ่มต่างๆ ในชุ มชน เข้ามามี ส่วนร่ วม เช่ น กลุ่มสตรี เด็ก คนจน ผูป้ ระสบปัญหาต่างๆเหมาะส�ำหรับการพัฒนาต่อเนื่องจากการพึ่งตนเอง มีรายได้เพียงพอ แต่กอ็ าจเป็ นกลุม่ เสี่ ยงความยากจน หรื อมีภาระทางสังคมสูง การสร้างกลุม่ เสมือนการสร้าง ภูมิคุม้ กันแต่ตอ้ งใช้ทุนทางสังคมและอาศัยความร่ วมมื อของชุ มชนเป็ นส�ำคัญ พึ่งพา โครงสร้ างทางสังคมภาครัฐเป็ นส่วนใหญ่การแข่งขันเสรี ในกระแสโลกาภิวตั น์ ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง ระดับครัวเรื อน ชุมชน ต�ำบล ไม่สามารถด�ำเนินการได้ข้ ึนอยูก่ บั นโยบายการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

133


ภาพที่ 1 ขั้นตอนการหารู ปแบบการลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคม ชนบท ภาคเหนือตอนบน การลดภาวะความยากจนตามช่ วงชั้นการพึง่ พา 3 ระดับ

ขั้นตอนการหารูปแบบการลดภาวะความยากจนของผู้เข้ าไม่ ถงึ โอกาสในสั งคม ชนบทภาคเหนือตอนบน

ให้ดำ� เนิ นการจัดตั้งองค์กรการเงิ นที่ สมาชิ กในชุ มชนเป็ นเจ้าของและมี การ ด�ำเนินกิจกรรมทางการเงินเกี่ยวกับการออม การระดมหุน้ การรับฝาก และการให้สินเชื่อ เพือ่ สนับสนุนการประกอบอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวติ หรื อเพือ่ แก้ปัญหาและสนับสนุน ด้านการเงินในระบบของสมาชิกในชุมชนด้วยกันเอง 1. จัดอบรมการใช้ชีวติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและลด ละ เลิก จัดหลักสูตร อบรมอาชีพให้กบั ผูส้ นใจและสมัครเป็ นสมาชิก อบรมเป็ นรุ่ นๆ เพือ่ จัดให้มีการขับเคลื่อน

134

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


อย่างต่อเนื่ อง เพิ่มมูลค่าผลผลิต ลดค่าใช้จ่าย และค่อยปรับเปลี่ยนแนวคิด พฤติกรรม ผ่านกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม 2. จัดท�ำกิจกรรมหลังอบรม บันทึกการท�ำความดีเป็ นเสมือนการท่องจ�ำ เตือนสติ ให้ใช้ชีวติ ไม่ประมาทและมีแผนการใช้ชีวติ ปลูกต้นไม้รักษาสิ่ งแวดล้อม ฟื้ นฟูธรรมชาติ รักษาแหล่งน�้ำ 3. สร้างความสัมพันธ์ สร้างเครื อข่าย เปิ ดโอกาสให้สมาชิก ที่ตอ้ งการมีส่วนร่ วม ทั้งที่ยากจน หรื อไม่ยากจนเข้าท�ำกิจกรรมร่ วมกันเพื่อให้เกิดความรู ้สึกถึงการพึ่งพากัน ลดความแปลกแยก(ถ้ามี ) สร้ างโอกาสให้มีการอภัย ช่ วยเหลื อกัน สังคมจึ งจะน่ าอยู่ แบบยัง่ ยืน ภาพที่ 2 รู ปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคม ชนบทภาคเหนือตอนบน

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

135


4. การก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ ลดภาวะความยากจนของผู้ เ ข้ า ไม่ ถึ ง โอกาส ในสั ง คมชนบทภาคเหนื อ ตอนบน เป็ นการวิเ คราะห์ ศ กั ยภาพหน่ ว ยงานที่ ท ำ� หน้า ที่ รับผิดชอบในขั้นตอนการจัดตั้งองค์กรการเงิน และการก�ำหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา เพื่อเป็ นแนวทางปฏิ บตั ิ ไปปรั บใช้ในการบริ หารจัดการ ผลการประเมิ นและก�ำหนด ค่ า คะแนนวิ เ คราะห์ มี ค่ า คะแนนถ่ ว งน�้ำ หนัก สู ง สุ ด อยู่ร ะหว่ า งจุ ด แข็ง และโอกาส (2.31+2.38) สรุ ปได้วา่ สภาวะแวดล้อมการจัดตั้งสถาบันการเงินได้รับการสนับสนุนจาก เทศบาล สถาบันการเงินและหน่วยงานต่างๆ ให้การสนับสนุนอยูใ่ นสถานการณ์ดาวรุ่ ง เป็ นการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์เชิงรุ กหรื อกลยุทธ์เพือ่ ความเจริ ญก้าวหน้า (Growth Strategy) ซึ่ งปั จจัยเชิงบวกหรื อปั จจัยภายในที่เป็ นจุดแข็งคือ เจ้าหน้าที่ ทีมงาน มีความรู ้ดา้ นบัญชี การเงินซึ่ งเป็ นความส�ำคัญของการจัดตั้งสถาบันการเงิน รองลงมาเป็ นความพร้อมและ ทุ่มเทสู ง มีลกั ษณะความเป็ นผูน้ ำ � เสี ยสละ อดทนของคณะกรรมการ และการแบ่งงาน รั บผิดชอบชัดเจนในส่ วนของการจัดตั้งสถาบันทั้งได้ผ่านการอบรมมาพอสมควรมี เป้ าหมายให้คนมีคุณภาพชีวติ ที่ดี พึ่งพาตนเองได้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 ยุทธศาสตร์ การส่ งเสริ มความรู ้การใช้ชีวิตตามแนวเศรษฐกิ จพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การส่ งเสริ มความรู ้ อบรมอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ เสริ มสร้างความเข้มแข็งองค์กรการเงินชุมชนและกลุม่ สมาชิก การประเมินยุทธศาสตร์โดย ผูเ้ ชี่ ย วชาญ มี ค วามเป็ นไปได้ เหมาะสมและสอดคล้อ งกับ สภาพแวดล้อ มสามารถ น�ำมาใช้ได้ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยูแ่ ละมีโอกาสประสบความส�ำเร็ จ ภาพที่ 3 Matrix ที่ได้จากผลการประเมินและก�ำหนดค่าคะแนนการวิเคราะห์ศกั ยภาพ หน่วยงานที่ทำ� หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความยากจน

136

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


สรุปผลการศึกษา

ภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน พบว่า ความมัน่ คงและปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน สิ ทธิและความเสมอภาคการเป็ นชนเผ่าหรื อ ชนกลุ่มชาติพนั ธุ์ เป็ นภาวะที่สำ� คัญที่สุดและยังเป็ นประเด็นในการเรี ยกร้องมาโดยตลอด ตราบใดที่ความเสมอภาคและสิ ทธิยงั ไม่เท่าเทียมกัน ก็ส่งผลต่อการเข้าถึงสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน รายได้ที่ไม่แน่ นอนและไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย บริ บทสังคมเป็ นเสมือน โครงครอบที่กำ� หนดโอกาส ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะความยากจนทางสังคมมี 3 ปัจจัย ได้แก่ การสะสมทุน สิ ทธิโอกาสทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ภาระทางการเงิน ที่ส่งผลต่อ รายได้ หรื อภาวะความยากจน ปั จจัยต่างๆที่ส่งผลกระทบกับรายได้ ค่าใช้จ่าย และอยูใ่ น ความสนใจที่ตอ้ งการความช่วยเหลือ จะถูกหยิบยกมาเป็ นประเด็นน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหา รู ปแบบการและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผูเ้ ข้าไม่ถึงโอกาสในสังคมชนบท ภาคเหนือตอนบน ให้ดำ� เนินการจัดตั้งองค์กรการเงินที่สมาชิกในชุมชนเป็ นเจ้าของและ มีการด�ำเนิ นกิจกรรมทางการเงินเกี่ยวกับการออม การระดมหุ น้ การรับฝากและการให้ สิ นเชื่อ เพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิตหรื อเพื่อแก้ปัญหาและ สนับสนุ นด้านการเงิ นในระบบของสมาชิ กในชุ มชนด้วยกันเอง จัดอบรมการใช้ชีวิต ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและลด ละ เลิก จัดหลักสูตรอบรมอาชีพให้กบั ผูส้ นใจและสมัคร เป็ นสมาชิก อบรมเป็ นรุ่ นๆ เพื่อจัดให้มีการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง แบบค่อยเป็ นค่อยไป และค่อยปรับเปลี่ยนแนวคิด พฤติกรรมผ่านกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม จัดท�ำ กิ จกรรมหลังอบรม บันทึกการท�ำความดี เป็ นเสมือนการท่องจ�ำ เตือนสติ ให้ใช้ชีวิต ไม่ประมาทและมีแผนการใช้ชีวิต ปลูกต้นไม้รักษาสิ่ งแวดล้อม ฟื้ นฟูธรรมชาติ รักษา แหล่งน�้ำ สร้างความสัมพันธ์ สร้างเครื อข่าย เปิ ดโอกาสให้สมาชิก ที่ตอ้ งการมีส่วนร่ วม ทั้งที่ยากจน หรื อไม่ยากจนเข้าท�ำกิจกรรมร่ วมกันเพื่อ ให้เกิดความรู ้สึกถึงการพึ่งพากัน ลดความแปลกแยก(ถ้ามี) สร้างโอกาสให้มีการอภัย ช่วยเหลือกัน ยกระดับคุณภาพชีวิต เกษตรกรรายย่อย เป็ นการสร้ างภูมิคุม้ กันที่ เกิ ดจากพลังชุ มชนร่ วมมื อสร้ างเครื่ องมื อ เปลี่ยนวิถีชุมชน น�ำไปสู่ สังคมกรณ์ เป็ นกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ปลูกฝังระเบียบวินยั ผ่านกิจกรรมที่ชุมชนคัดเลือกเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสอดคล้องกับ ผลงานศึ ก ษาของชัช รี นฤทุ ม และคณะ (2551 : บทคัด ย่อ ) ได้ศึ ก ษาสถานภาพ และความต้องการแก้ไขปั ญหาความยากจนพบว่าแนวทางการแก้ปัญหาซึ่ งเสนอแนะโดย เกษตรกรได้แก่ การแก้ปัญหาด้วยตนเอง คือ การลดค่าใช้จ่ายในครัวเรื อนที่ไม่จำ� เป็ น จะช่ วยบรรเทาปั ญหาค่าครองชี พสู งได้ การลดปั จจัยการผลิ ตโดยการใช้ปุ๋ยอิ นทรี ย ์ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

137


(ปุ๋ ยคอก) จะช่วยลดการใช้สารเคมี การรวมกลุ่มจะช่วยสร้างในการต่อรอง เพื่อแก้ปัญหา ราคาผลผลิ ตที่ ไม่ แน่ นอน ส�ำหรั บการขาดแคลนความรู ้ และทักษะในการท�ำเกษตร การรวมกลุ่มเพื่อของบประมาณสนับสนุ นในการจัดฝึ กอบรมและศึ กษาดู งานให้แก่ เกษตรกรจะช่วยเพิม่ พูนความรู ้และทักษะด้านการเกษตรเกี่ยวกับปัญหาทางการเกษตรอืน่ ๆ สอดคล้องกับอเนก เธียรถาวร (2532: 514-516) อ้างอิงใน ชั้นทอง มีโพธิ์ (2549 : 28) ได้กล่าวถึง การพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นกระบวนการซึ่ งท�ำให้เกิดการเพิ่มขึ้นในระดับรายได้ ที่ จริ งที่ เฉลี่ ยต่ อบุ คคล (Per Capita Real Income) ในระยะยาวยกระดับ มาตรฐาน ความเป็ นอยู่ของประชาชนส่ วนใหญ่ ที่มีการวัดการพัฒนาเศรษฐกิจจากองค์ประกอบ 2 ด้าน คือความเจริ ญทางเศรษฐกิ จ และความกิ นดี อยู่ดีของประชาชนการให้ประเทศ หลุดพ้นจาก วัฏจักรความยากจน (Vicious Circles) จะต้องมีการกระตุน้ และก่อเกิดสถาบัน วัด การศึกษาและสาธารณสุ ข ส่ งเสริ มการอบรมและส่ งเสริ มการลงทุน และแนวทาง การแก้ไขปัญหาความยากจนโดย รัฐบาลควรด�ำเนินโครงการน�ำร่ อง เพือ่ เป็ นปัจจัยพื้นฐาน ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การก�ำหนดยุทธศาสตร์ ลดภาวะความยากจน สร้างความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ประโยชน์ของการรวมกลุม่ โดยการจัดให้มีการท�ำเวทีประชาคม เรี ยนรู ้ปัญหา และหาทาง แก้ไขโดยกระบวนการมี ส่วนร่ วม ด�ำเนิ นตามแนวทางการเข้าใจ เข้าถึ ง และพัฒนา สนับสนุนการจัดตั้งองค์กรการเงินชุมชน โดยการระดมหุน้ และการขอรับการสนับสนุน จากหน่ วยงานของรัฐในการให้ความรู ้ เพื่อให้สามารถพัฒนาไปสู่ การเป็ นองค์การเงิน ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน อย่างเป็ นกระบวนการตรวจสอบได้ส่งเสริ มความรู ้ ด้านการบริ หารจัดการ เพือ่ พัฒนาศักยภาพด้านความรู ้ ทักษะของสมาชิกกลุ่มในการเสนอ ร่ างกฎ ระเบียบสถาบัน การจัดท�ำบัญชี การท�ำสิ นเชื่อระหว่างกลุม่ สมาชิก การตลาดจัดหา สิ นค้าให้กบั สมาชิ ก การรับซื้ อผลผลิตของสมาชิ ก การจัดการภายในตลอดจนการจัด สวัสดิการชุมชน เป็ นต้น ส่งเสริ มสิ นค้าชุมชน โดยการเปิ ดร้านค้าชุมชนเป็ นช่องทางในการจ�ำหน่ายสิ นค้า จากผูผ้ ลิตถึงมือผูบ้ ริ โภคโดยควบคุมคุณภาพผลผลิต และราคาที่เป็ นธรรม สร้างตราสิ นค้า สร้ างมูลค่ าเพิ่มโดยฝี มื อของสมาชิ กในชุ มชน เสริ มสร้ างความเข้มแข็ง และอ�ำนาจ การต่อรองโดยการพัฒนาเครื อข่าย พึ่งพากันระหว่างกลุ่มองค์กรการเงินชุมชนด้วยกัน ท�ำข้อตกลงเป็ นภาคี สนับสนุ นช่วยเหลือกัน ทั้งทางด้านความรู ้ การบริ หาร การตลาด จัดท�ำแผนระยะยาว เพื่อให้มีการศึกษา และขับเคลื่อนแนวทางการส่ งเสริ มองค์กรการเงิน ชุมชนเป็ นสถาบันการเงินชุมชนที่สามารถจัดการเงินทุนในชุมชนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยให้มีหน่ วยงานรั บผิดชอบชัดเจน ประชาสัมพันธ์สร้ างความน่ าเชื่ อถื อให้ชุมชน เกิ ด ความเชื่ อ มัน่ ไว้ว างใจในการจัด การเงิ น ทุ น ชุ ม ชน โดยชุ ม ชน เพื่ อ แก้ไ ขภาวะ 138

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ความยากจนในระดับฐานรากที่ชุมชนสามารถด�ำเนินการได้เอง ควรเสนอให้ทอ้ งถิ่นจัด บรรจุ รูปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนเป็ นพันธกิ จให้ชดั เจน และระบุ ผูร้ ับผิดชอบในการจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชนเป็ นภารกิจหลักของการพัฒนาในส่ วนงาน สอดรั บ กั บ แนวทางแก้ ไ ขนโยบายรั ฐ ให้ ก ารสนั บ สนุ น สิ นเชื่ อ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน กองทุนหมู่บา้ น และจัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน โครงการธนาคารชุมชน

ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบายพัฒนาองค์ กรการเงินชุ มชน

จากสภาพปั ญหาทางสังคม และเศรษฐกิ จ ที่ กระทบกับภาวะความยากจน ของชุมชน เกิดจากปั จจัยที่ส่งผลต่อรายได้ และค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีวติ ของตนเองและ สมาชิ กในครอบครัวที่ ตอ้ งรั บผิดชอบ และเมื่อมีเงิ นไม่พอใช้ การลงทุนจึ งต้องอาศัย แหล่งเงินกูเ้ พื่อใช้เป็ นค่าใช้จ่ายในครัวเรื อน และการผลิต ระบบการเงินในชุมชนจึงเป็ น สิ่ งส�ำคัญ เชื่ อว่าหากมีการจัดการอย่างเป็ นระบบ และได้รับการช่ วยเหลืออย่างถูกวิธี น่าจะเป็ นหนทางออกอีกทางหนึ่งของการแก้ไขปัญหาความยากจนในสังคมชนบท ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงมีขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนาดังนี้ 1. สร้ างความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ ยวกับประโยชน์ของการรวมกลุ่ม โดยการจัด ให้มีการท�ำเวทีประชาคม เรี ยนรู ้ปัญหา และหาทางแก้ไขโดยกระบวนการมีส่วนร่ วม ด�ำเนินตามแนวทางการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา 2. สนับสนุนการจัดตั้งองค์กรการเงินชุมชน โดยการระดมหุ น้ และการขอรับ การสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐในการให้ความรู ้ เพื่อให้สามารถพัฒนาไปสู่การเป็ น องค์การเงินของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน อย่างเป็ นกระบวนการตรวจสอบได้ 3. ส่ ง เสริ ม ความรู ้ ด้า นการบริ ห ารจัด การ เพื่ อ พัฒ นาศัก ยภาพด้า นความรู ้ ทักษะของสมาชิกกลุ่มในการเสนอร่ างกฎ ระเบียบสถาบัน การจัดท�ำบัญชี การท�ำสิ นเชื่อ ระหว่างกลุ่มสมาชิก การตลาดจัดหาสิ นค้าให้กบั สมาชิก การรับซื้ อผลผลิตของสมาชิก การจัดการภายในตลอดจนการจัดสวัสดิการชุมชน เป็ นต้น 4. ส่งเสริ มสินค้าชุมชน โดยการเปิ ดร้านค้าชุมชนเป็ นช่องทางในการจ�ำหน่ายสินค้า จากผูผ้ ลิตถึงมือผูบ้ ริ โภคโดยควบคุมคุณภาพผลผลิต และราคาที่เป็ นธรรม สร้างตราสิ นค้า สร้างมูลค่าเพิ่มโดยฝี มือของสมาชิกในชุมชน 5. เสริ มสร้ างความเข้มแข็ง และอ�ำนาจการต่อรองโดยการพัฒนาเครื อข่าย พึ่งพากันระหว่างกลุ่ มองค์กรการเงิ นชุ มชนด้วยกัน ท�ำข้อตกลงเป็ นภาคี สนับสนุ น ช่วยเหลือกัน ทั้งทางด้านความรู ้ การบริ หาร การตลาด Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

139


6. จัดท�ำแผนระยะยาว เพื่อให้มีการศึกษา และขับเคลื่อนแนวทางการส่ งเสริ ม องค์กรการเงินชุมชนเป็ นสถาบันการเงินชุมชนที่สามารถจัดการเงินทุนในชุมชนได้อย่าง มีประสิ ทธิภาพ โดยให้มีหน่วยงานรับผิดชอบชัดเจน 7. ประชาสัมพันธ์สร้างความน่าเชื่อถือให้ชุมชนเกิดความเชื่อมัน่ ไว้วางใจใน การจัดการเงินทุนชุมชน โดยชุมชน เพือ่ แก้ไขภาวะความยากจนในระดับฐานรากที่ชุมชน สามารถด�ำเนินการได้เอง 8. ควรผลักดันให้น�ำรู ปแบบและกระบวนการไปก�ำหนดเป็ นนโยบายตาม ความเหมาะสมทั้ง ระดับ ท้อ งถิ่ น พัฒ นาไปสู่ ร ะดับ ชาติ พัฒ นาควบคู่ กับ เทคโนโลยี มีหน่วยงานรับผิดชอบอย่างจริ งจัง

ข้ อเสนอแนะการศึกษาครั้งต่ อไป

ส�ำหรับการศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบและกระบวนการในการลดภาวะความยากจน ในสังคมชนบท มีขอ้ เสนอแนะส�ำหรับการศึกษาครั้งต่อไป ดังต่อไปนี้ 1. ควรมีการศึกษา กระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) เพือ่ การแก้ไข ปั ญหาความยากจน โดยการสร้างสังคมให้มีคุณธรรม มีการจัดสรรทรัพยากรที่เป็ นธรรม และสร้างความเข้าใจในเรื่ องค่านิ ยมให้ถูกต้อง ควรศึกษาว่าท�ำอย่างไรคนในสังคมจะมี คุณลักษณะที่ดีและเหมาะสม มีความรู ้ คู่คุณธรรม 2. ควรมีการศึกษากระบวนการสร้ างชุ มชนเข้มแข็งโดยสร้ างคนรุ่ นใหม่ท่ีมี ความรู ้ ความเข้าใจทางวิชาการเข้ามามีส่วนร่ วม และขับเคลื่อนสังคมระดับฐานราก ยกเลิก ระบบอุปถัมภ์ในสังคมที่ให้การตอบแทนแบบผิดๆ จึงได้คนไม่มีความรู ้ความสามารถ เข้ามาท�ำงานในองค์กรท้องถิ่นจนกระทบต่อการพัฒนาสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน 3. ควรศึกษารู ปแบบและกระบวนการการพัฒนาทางสังคม ที่แตกต่าง และ หลากหลาย มีมุมมองในทุกมิติไม่จำ� กัดอยูก่ บั รายได้ เช่นการพัฒนาความเจริ ญทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม คุณธรรม ที่ส่งผลต่อชีวติ ความเป็ นอยูท่ ี่ดีลดภาวะความยากจน 4. ควรมี การศึกษา การพัฒนารู ปแบบการท�ำระบบ บัญชี -การเงิ น สามารถ น�ำไปใช้ได้ทวั่ ไป ไม่ซบั ซ้อน ป้ องกันไม่ให้เกิดความเสี ยหาย หรื อลดความเสี่ ยงในการ จัดการโดยชุมชน ให้ดีข้ ึน 5. ควรมีการศึกษาหาความเหมาะสมส�ำหรับหน่ วยงาน หรื อองค์กรสามารถ น�ำรู ปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนไปใช้ เป็ นขั้นตอนชัดเจน

140

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


รายการอ้ างอิง กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่ น. (2555). ข้อมูลทัว่ ไปต�ำบลเมื องนะ. (ออนไลน์) แหล่งที่มา : http://www.thaitambon.com/tambon/ttambon.asp?ID=500402, สื บค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2555. ชัชรี นฤทุม และคณะ.(2551). วิธีการวิเคราะห์ กลไกระบบการผลิตเพือ่ จ�ำแนกประเภท เกษตรกร. กรุ ง เทพฯ โครงการศึ ก ษาเพื่ อ การพัฒ นาระบบเกษตรกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : บทคัดย่อ ชั้นทอง มีโพธิ์. (2549). ยุทธศาสตร์ การแก้ ไขปัญหาความยากจนโดยการพึง่ ตนเองของ ประชาชนทีม่ รี ายได้ตำ่� กว่าเกณฑ์ จปฐ.ต�ำบลหนองพิกลุ อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : หน้า 28 ส�ำนักบริ หารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ. (2555). (ออนไลน์) แหล่งที่มา : http:// www.osmnorth-n1.moi.go.th, สื บค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2555. อุดม ทุมโฆสิ ต.( 2536). ลักษณะและสาเหตุปัญหาความยากจนของครอบครัวชนบท. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาพัฒนาบริ หารศาสตร์ดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาการบริ หารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์, หน้า 217. Balog Thomas. (2524). สาเหตุความยากจน. แปลจาก The Cause of Poverty. โดยประกอบ ทองมา.กรุ งเทพฯ :ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, (1981: 5) Sen., A. (2001). Policy Approaches on Poverty. London : Oxford University Press, World Bank. (2000). World Development Report 2000/2001. Attacking Poverty: Oxford University Press,

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

141


บทแนะน�ำหนังสื อ: The Data Journalism Handbook: How Journalists Can Use Data to Improve the News* แนะน�ำหนังสื อโดย ดร.นิษฐา หรุ่ นเกษม สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วารสารศาสตร์เชิงข้อมูล หรื อ Data Journalism เป็ นกระบวนการที่จะช่วยสร้าง คุณค่าเพิม่ ให้กบั งานวารสารศาสตร์ ด้วยการท�ำให้ขอ้ มูลและเรื่ องราวที่ยงุ่ ยากสลับซับซ้อน สามารถถ่ายทอดออกมาให้ผอู ้ ่านเข้าใจได้ง่าย และมองเห็นปริ บทของเรื่ องราวที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังช่วยท�ำให้นกั วารสารศาสตร์ ได้เห็นถึงมุมมองใหม่ๆหรื อประเด็นใหม่ๆ ที่จะ น�ำเสนออีกด้วย แต่นกั วารสารศาสตร์จะท�ำงานกับค�ำว่า “ข้อมูล” หรื อ“Data” ได้อย่างไร หนังสื อ “คู่มือการท�ำงานวารสารศาสตร์ เชิงข้อมูล” นี้ เกิดขึ้นเพื่อตอบค�ำถาม ดังกล่าว คู่มือนี้เสร็ จสิ้ นลง โดยการอุทิศตัวของกลุ่มนักวารสารศาสตร์จาก The European Journalism Centre และ the Open Knowledge Foundation ในกรุ งลอนดอน และกลุ่ม นักวารสารศาสตร์จากทัว่ โลก หนังสื อเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ท้ งั กับนักวารสารศาสตร์ นักข่าวพลเมือง และ ผูส้ นใจท�ำงานกับ “ข้อมูล” เนื่องจาก น�ำเสนอให้เห็นว่า วารสารศาสตร์เชิงข้อมูลคืออะไร ท�ำไมถึงมีความส�ำคัญ และกระบวนการวารสารศาสตร์เชิงข้อมูลเป็ นอย่างไร “คู่มือการท�ำงานวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล” ในเล่มนี้มี 6 บท กล่าวคือ บทแรก: บทน�ำ ส�ำหรั บบทแรกนี้ เป็ นการปูภาพรวมว่าวารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลคื อข้ออะไร มีความส�ำคัญอย่างไร พร้อมด้วยทัศนะของนักวารสารศาสตร์ชื่อดังจากส�ำนักข่าวต่างๆ ว่า วารสารศาสตร์เชิงข้อมูลมีความส�ำคัญและจ�ำเป็ นอย่างไรต่อการท�ำงาน ยกตัวอย่างของนิยาม เช่น วารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูล คื อ การเล่าเรื่ องด้วยการวิเคราะห์ การกลัน่ กรอง ชุดข้อมูลจ�ำนวนมาก ผ่านวิธีการและรู ปแบบที่หลากหลาย ด้วยจุดมุ่งหมายในการน�ำเสนอ เรื่ องราวใหม่ๆ * Jonathan Gray, Liliana Bounegru, Lucy Chambers. The Data Journalism Handbook: How Journalists Can Use Data to Improve the News. O’REILLy. 2012.

142

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


หรื อวารสารศาสตร์ เชิงข้อมูล คือ การใช้เครื่ องมือทางคอมพิวเตอร์ ในการช่วย ค้นหาข้อมูลและรายงานข่าวนั้น ทั้งนี้ วารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลมีความส�ำคัญ คือ ช่วยเพิ่มทักษะใหม่ๆให้กบั นักวารสารศาสตร์ ทั้งทักษะในการค้นหาข้อมูล การท�ำความเข้าใจข้อมูล และการ แปลงข้อมูลในรู ปแบบตัวอักษรให้เป็ นภาพหรื อกราฟิ กจากแหล่งข้อมูลดิจิตอล ข้อที่ควรค�ำนึ ง คือ วารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลไม่ได้เข้ามาแทนที่การท�ำข่าวใน รู ปแบบดั้งเดิม แต่เมื่อแหล่งข้อมูลต่างๆล้วนหาได้จากทางอินเตอร์ เน็ท วารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลจึงจ�ำเป็ นต้องวิวฒั น์และปรับตัวไปตามประเภทของแหล่งข้อมูลนั้นๆ อีกทั้ง นักวารสารศาสตร์ จำ� เป็ นต้องรู ้วิธีการสื บค้นข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ และวิธีการน�ำเสนอ เรื่ องราวนั้นๆจากข้อมูลที่ได้รับมาในรู ปแบบที่เข้าใจได้ บททีส่ อง: เล่ าเรื่องในห้ องข่ าว ในบทนี้ จะอธิ บายบทบาทของข้อมูลและบทบาทของวารสารศาสตร์ เชิงข้อมูล ผ่านการท�ำงานของ ABC, BBC, Chicago Tribune, Guardian, Texas Tribune และ Seit Online ยกตัวอย่างเช่นเบื้องหลังการท�ำงานด้านวารสารศาสตร์เชิงข้อมูลของ Guardian Datablog ที่ Simon Rogers ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นช่องทางส�ำหรับการเผยแพร่ ชุดข้อมูล หรื อเบื้องหลังข่าวที่นำ� เสนอผ่านทางหน้าหนังสื อพิมพ์ โดยใช้ Google spreadsheets เป็ น เครื่ องมือในการเผยแพร่ ออนไลน์ การน�ำเสนอข้อมูลประกอบภาพ และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ข้อ มู ล ที่ น่ า สนใจในบทนี้ คื อ การเรี ยนรู ้ ถึ ง บทบาทของตัว ช่ ว ยที่ ส� ำ คัญ ต่อกระบวนการค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งก็คือ Hacker แต่คำ� ว่า “Hacker” ส�ำหรับ วารสารศาสตร์ เ ชิ ง ข้อ มู ล นี้ ไม่ ไ ด้ห มายถึ ง นั ก โจรกรรมข้อ มู ล ข่ า วสาร แต่ เ ป็ น หน่วยสนับสนุนในการช่วยถอดรหัสข้อมูลหรื อช่วยค้นหาข้อมูล เพื่อให้การท�ำงานของ นักวารสารศาสตร์ง่ายขึ้นและประหยัดเวลามากขึ้น บททีส่ าม: กรณีศึกษา น�ำเสนอข้อมูลเชิงลึกจากกรณี ตวั อย่างโครงการวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล ตั้งแต่ การพัฒนาแอพลิเคชัน่ เพื่อการท�ำงานกับข้อมูล โครงการท�ำข่าวสื บสวนสอบสวนที่ใช้ ระยะเวลาในการค้นหาเก็บรวบรวมข้อมูลจนกระทัง่ การน�ำเสนอข้อมูลต่อสาธารณชน เป็ นเวลากว่า 9 เดือน ผูอ้ ่านบทนี้ จะได้เรี ยนรู ้ จากแต่ละกรณี ศึกษาว่า กระบวนการวารสารศาสตร์ เชิงข้อมูลมีประโยชน์ต่อการท�ำงานข่าวในประเด็นต่างๆที่หลากหลายได้อย่างไร ตัวอย่าง เช่น กรณี ตวั อย่างการท�ำงานของหนังสื อพิมพ์ Financial Times กับ BIJ (the Bureau of Investigative Journalism) เพือ่ ด�ำเนินงานร่ วมกันในการสื บสวนข้อมูลว่ามีใครบ้างที่ได้รับ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

143


ประโยชน์จากการลงทุนของกองทุนยูโร และกองทุนนี้ได้ใช้เงินไปในทางที่เกิดประโยชน์ จริ งหรื อไม่ กระบวนการวารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลของโครงการนี้ ได้แก่ การค้นหาว่า หน่ วยงานใดเป็ นผูเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลที่ ตอ้ งการ และข้อมูลนี้ ถูกเก็บไว้ในรู ปแบบใด จากนั้นดาวน์โหลดข้อมูลทุกไฟล์จากแหล่งข้อมูลในข้างต้น ท�ำชุดข้อมูลทั้งหมดให้เป็ น มาตรฐานเดี ยวกัน ตรวจสอบข้อมูลในรอบแรกและตรวจสอบซ�้ำว่าเครื่ องมือที่ใช้น้ นั เก็บข้อมูลมาได้ถูกต้องครบถ้วนหรื อไม่ สร้างฐานข้อมูล SQL เพื่อการวิเคราะห์ขอ้ มูล จากประเด็นที่ตอ้ งการ ตรวจสอบฐานข้อมูลซ�้ำอีกครั้งหนึ่งและวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้รับก่อน เผยแพร่ สู่สาธารณะ บททีส่ ี่ : การได้ มาซึ่งข้ อมูล เมื่อ “ข้อมูล” หรื อ “Data” ส�ำหรับกระบวนการวารสารศาสตร์เชิงข้อมูลเป็ นได้ ทั้งแหล่งข้อมูลของเรื่ องราวต่างๆ และเป็ นเครื่ องมือในการบอกเล่าเรื่ องราวต่างๆ ในบทนี้ จึงได้อธิบายถึงวิธีการได้มาซึ่งข้อมูล โดยเฉพาะแหล่งข้อมูลออนไลน์ ส�ำหรั บข้อมูลที่ ได้มานี้ อาจมี ที่มาหลากหลาย กล่ าวคื อ แหล่ งข้อมูลบุ คคล แหล่งข้อมูลออนไลน์ แหล่งข้อมูลเอกสาร ทั้งนี้อาจเป็ นข้อมูลจากหน่วยงานหรื อองค์กร ต่างๆที่ส่งมาให้โดยตรง เช่น ข่าวแจก หรื ออาจใช้เครื่ องมือหรื อแอพลิเคชัน่ ต่างๆ เพือ่ ค้นหา ข้อมูลจากเว็บไซต์ของหน่วยงานราชการ นอกจากนักวารสารศาสตร์ จะใช้วิธีการในข้างต้นเพื่อค้นหาและเก็บรวบรวม ข้อมูลแล้ว ยังมี อีกวิธีการหนึ่ งโดยการให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ วม หรื อที่ เรี ยกว่า “Crowdsourcing” กรณีตวั อย่างที่น่าสนใจเป็ นของโครงการ “price of war” ประเทศฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 2011 ที่ใช้วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้จ่ายด้านน�้ำประปา โดยขอความร่ วมมือ ให้ประชาชนผูใ้ ช้น้ ำ� เป็ นผูส้ แกนใบเรี ยกเก็บเงินค่าน�้ำประปาและอัพโหลดข้อมูลผ่าน เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลโดยเฉพาะ บททีห่ ้ า: การท�ำความเข้ าใจข้ อมูล ค�ำส�ำคัญที่ปรากฏขึ้นมาเมื่ออ่านบทนี้ คือ ค�ำว่า “การรู ้เท่าทันข้อมูล” หรื อ “Data Literacy” ค�ำว่า “การรู ้ เท่าทันข้อมูล” นี้ มีความหมายครอบคลุมถึง การรู ้ เท่าทันข้อมูล ในเชิงสถิติ การมีความรู ้และความเข้าใจว่าจะท�ำงานกับชุดข้อมูลจ�ำนวนมากได้อย่างไร มีความรู ้และความเข้าใจถึงที่มาและปริ บทของทั้งแหล่งข้อมูลและข้อมูล รวมถึงมีความรู ้ ว่าจะเชื่อมต่อข้อมูลในแต่ละชุดที่มีอยูอ่ ย่างมากมายได้อย่างไร และจะแปลความหมายของ ข้อมูลนั้นๆอย่างไร 144

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ส�ำหรับค�ำถามส�ำคัญส�ำหรับนักวารสารศาสตร์เพือ่ ให้รู้เท่าทันข้อมูลมี 3 ข้อ ได้แก่ ข้อมูลนั้นๆถูกเก็บรวบรวมมาอย่างไร มีอะไรในข้อมูลนั้นๆให้เราได้เรี ยนรู ้ และข้อมูล เหล่านี้เชื่อถือได้หรื อไม่ บททีห่ ก: การน�ำเสนอข้ อมูล บทสุ ดท้ายนี้จะว่าด้วยเรื่ องของการน�ำเสนอข้อมูลสู่ สาธารณะในรู ปแบบต่างๆ พร้อมค�ำแนะน�ำหรื อ “Tip” ทั้งในเรื่ องของการสร้างแอพลิเคชัน่ ข่าวและในการน�ำเสนอ ข้อมูลผ่านภาพหรื อ Visualization ยกตัว อย่ า งเช่ น ค�ำ แนะน�ำ ประการหนึ่ งในการสร้ า งแอพลิ เ คชั่น ข่ า วที่ มี ความคล้ายคลึงกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ทางการตลาด นัน่ คือ ก่อนสร้างแอพลิเคชัน่ ข่าว จะต้องรู ้ก่อนว่าผูอ้ ่านคือใคร และต้องการรู ้ในเรื่ องอะไร เป็ นต้น ส�ำหรับผูส้ นใจกระบวนการวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล สามารถติดตามข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลออนไลน์อื่นๆ ได้ที่ #datadrivenjournalism (http://datadrivenjournalism.net/) เว็บไซต์สำ� หรับผูส้ นใจในวารสารศาสตร์ เชิงข้อมูล ด�ำเนิ นการโดย European Journalism Centre(EJC) เว็บไซต์น้ ี มีขอ้ มูลหลากหลายประเภทให้อ่านและฝึ กปฏิบตั ิ ตัวอย่างเช่ น เครื่ องมื อที่ ใช้ส�ำหรั บวารสารศาสตร์ เชิ งข้อมูลโปรแกรมการสอนพิเศษ บทสั ม ภาษณ์ แ ละกรณี ต ัว อย่ า งต่ า งๆ รวมถึ ง กิ จ กรรมพิ เ ศษที่ เ กี่ ย วข้อ ง ตลอดจน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์และ mailing list #The Open Knowledge Foundation (http://okfn.org/) The Open Knowledge Foundation (OKF) เป็ นองค์กรที่ ไม่แสวงหาก�ำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2004 ภายในเว็บไซต์มีการน�ำเสนอข้อมูลเปิ ด (open data and open content) ในทุกรู ปแบบ รวมถึงข้อมูลจากภาครัฐบาล กองทุน และอื่นๆ ในปี ค.ศ.2011 เว็บไซต์ของ OKFได้เผยแพร่ “Data Journalism Handbook” ซึ่ งเป็ นแหล่งข้อมูลส�ำคัญ ของการเขียนบทความเรื่ องนี้โดยผูอ้ ่านไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายใดๆ # European Journalism Centre (EJC) (http://ejc.net/) The European Journalism Centre (EJC) เป็ นองค์กรอิสระที่ไม่แสวงหาก�ำไร มี บ ทบาทส� ำ คัญ ในการพัฒ นามาตรฐานในการปฏิ บ ัติ ง านของนัก วารสารศาสตร์ ด้วยความช่วยเหลือด้านการจัดโครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการต่างๆ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

145


หลักเกณฑ์และการเตรียมต้นฉบับส�ำหรับการเสนอบทความเพือ่ เผยแพร่ ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” นโยบายการจัดพิมพ์ วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็ นวารสารวิชาการที่พมิ พ์ ออกเผยแพร่ ปีการศึกษาละ 2 เล่ม (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม) คณะ วิทยาการจัดการจัดพิมพ์ข้ ึนเพือ่ เป็ นสื่ อกลางในการแสดงความคิดเห็นและเผยแพร่ ผลงาน ทางวิชาการในสาขาการบริ หารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ หรื อสาขา อื่นที่มีความเกี่ยวข้อง

เรื่องเสนอเพือ่ ตีพมิ พ์ ผลงานทางวิชาการที่รับตีพิมพ์มี 2 ลักษณะคือ เป็ นบทความวิชาการ (article) หรื อบทความวิจยั (research article) บทความที่เสนอเพือ่ ตีพมิ พ์จะต้องไม่เคยตีพมิ พ์เผยแพร่ ในวารสารใดมาก่อน และไม่อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความที่นำ� เสนอ เพือ่ ตีพมิ พ์จะต้องผ่านการกลัน่ กรองและพิจารณาจากผูท้ รงคุณวุฒิ (Peer Review) ในสาขา ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของบทความนั้นๆ ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย โดยกองบรรณาธิการสงวนสิ ทธิ์ ในการแก้ไขบทความตามความเหมาะสม

ลักษณะของบทความ เป็ นบทความวิชาการหรื อบทความวิจยั ที่มีเนื้ อหาเกี่ยวกับการค้นคว้า การวิจยั การวิเคราะห์วจิ ารณ์หรื อเสนอแนวคิดใหม่ดา้ นบริ หารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และ นิเทศศาสตร์ ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

146

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


บทความวิ ช าการ หมายถึ ง งานเขี ย นที่ น�ำ เสนอองค์ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นสาขา บริ หารธุ รกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิ เทศศาสตร์ ที่มีการวิเคราะห์หรื อวิจารณ์ ประเด็นต่างๆ ตามหลักวิชาการ โดยผูเ้ ขียนสามารถแสดงทัศนะทางวิชาการของตนเอง อย่างชัดเจน บทความวิจ ัย หมายถึ ง รายงานผลการศึ ก ษาค้น คว้า วิจ ัย ด้า นบริ ห ารธุ ร กิ จ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ที่ได้ทำ� การศึกษาโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ด้วยระเบียบวิธีวจิ ยั ที่ถกู ต้องจนได้องค์ความรู ้ใหม่

การเตรียมต้ นฉบับ บทความวิชาการหรื อบทความวิจยั อาจน�ำเสนอเป็ นภาษาไทยหรื อภาษาอังกฤษ ก็ได้ ให้พิมพ์ตน้ ฉบับด้วยกระดาษ เอ 4 หน้าเดียว โดยใช้ฟอนท์ Angsana New ขนาด 14 (ส�ำหรับชื่อเรื่ องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้ใช้ฟอนท์ Angsana New ขนาด 18 ส่ วน หัวข้อต่างๆ ให้ใช้ Angsana New ขนาด 16) ความยาวประมาณ 15-20 หน้า โดยบทความ ทุกประเภทต้องมีส่วนประกอบ ดังนี้

1. ชื่อเรื่ อง (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

2. ชื่อผูเ้ ขียน (ครบทุกคน กรณี ที่เขียนหลายคน ให้เขียนบรรทัดถัดจากชื่อเรื่ อง ภาษาอังกฤษ โดยให้เขียนไว้ชิดด้านขวาของหน้า ให้ทำ� ตัวเอียง ตัวอักษร ขนาด 14) 3. วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุ ด สาขาวิชาและสถาบันที่สำ� เร็ จการศึกษา และต�ำแหน่ง ทางวิชาการ (ถ้ามี)

4. สถานที่ทำ� งานปัจจุบนั หรื อหน่วยงานที่สงั กัด (เช่น สาขาวิชา/ภาควิชา คณะ)

(ข้อ 3 และข้อ 4 ให้ผเู ้ ขียนท�ำเชิงอรรถไว้ทา้ ยชื่อผูเ้ ขียนในหน้าแรกของบทความ)

5. บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยในท้ายบทคัดย่อภาษาไทยให้ใส่ ค�ำส� ำคัญ ของเรื่ อง และท้ายบทคัดย่อภาษาอังกฤษให้ใส่ Keywords ด้วย บทความวิชาการหรื อบทความวิจยั ต้องมี ส่วนประกอบเพิ่มเติ ม คื อ ต้องมี บทคัด ย่อ (abstract) ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ โดยบทคัด ย่อ แต่ ล ะภาษาต้อ งมี ความยาวอย่างละไม่เกิ นครึ่ งหน้ากระดาษ เอ 4 โครงสร้ างของบทความวิชาการควร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

147


ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหาบทความ บทสรุ ปและรายการเอกสารอ้างอิง ส่วนบทความวิจยั ควรประกอบด้วยบทน�ำ แนวคิ ดและทฤษฎี วิธีการศึ กษา ผลการศึ กษา อภิ ปรายผล ข้อเสนอแนะและรายการเอกสารอ้างอิง ภาพประกอบและตารางควรมีเฉพาะที่จำ� เป็ น ให้มีหมายเลขก�ำกับภาพและตาราง ตามล�ำดับ ภาพจะต้องชัดเจน แสดงเนื้อหาส�ำคัญของเรื่ อง ค�ำอธิบายและตารางให้อธิบาย ด้วยข้อความกะทัดรัดและชัดเจน การใช้ภาษาในบทความ การเขียนควรใช้ภาษาที่ถูกต้อง เข้าใจง่ายและกะทัดรัด โดยค�ำศัพท์ให้อา้ งอิงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน การใช้คำ� ศัพท์บญั ญัติทาง วิชาการควรใช้ควบคู่กบั ศัพท์ภาษาอังกฤษ กรณี ที่เป็ นชื่ อเฉพาะหรื อค�ำแปลจากภาษา ต่างประเทศที่ปรากฏครั้งแรกในบทความ ควรพิมพ์ภาษาเดิมของชื่ อนั้นๆ ก�ำกับไว้ใน วงเล็บ และควรรักษาความสม�่ำเสมอในการใช้คำ� ศัพท์ การใช้ตวั ย่อโดยตลอดบทความ

การอ้ างอิงและการเขียนเอกสารอ้ างอิง กรณี ผเู ้ ขียนต้องระบุแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่ องให้ใช้วธิ ีการอ้างอิงในส่ วน ของเนื้อเรื่ องแบบนาม-ปี (author-date in text citation) โดยระบุชื่อผูแ้ ต่งที่อา้ งถึง(ถ้าเป็ น คนไทยระบุท้ งั ชื่อและนามสกุล) พร้อมปี ที่พิมพ์เอกสารไว้ขา้ งหน้าหรื อข้างหลังข้อความ ที่ตอ้ งการอ้างอิงเพื่อบอกแหล่งที่มาของข้อความนั้นและควรระบุเลขหน้าของเอกสารที่ อ้างอิง กรณี ที่อา้ งมาแบบค�ำต่อค�ำต้องระบุเลขหน้าของเอกสารที่อา้ งอิงทุกครั้ง และให้มี รายการเอกสารอ้างอิงส่ วนท้ายเรื่ อง (reference) โดยการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมด ที่ผเู ้ ขียนอ้างอิงในการเขียนบทความให้จดั เรี ยงรายการตามล�ำดับตัวอักษรผูแ้ ต่ง ภายใต้ หัวข้อรายการเอกสารอ้างอิงส�ำหรับบทความภาษาไทย และให้ใช้คำ� ว่า Reference ส�ำหรับ บทความที่นำ� เสนอเป็ นภาษาอังกฤษ โดยให้ใช้รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA (American Psychology Association) ดังตัวอย่างการเขียน ดังนี้

1. หนังสื อ ชื่ อผูแ้ ต่ง. (ปี ที่ พิมพ์). ชื่ อเรื่ อง. ครั้ งที่ พิมพ์ (กรณี ถา้ พิมพ์มากกว่าครั้ งที่ 1). สถานที่พิมพ์ : ส�ำนักพิมพ์. 148

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ประชาสั งคม . กรุ งเทพฯ : สายธาร. Millo, Nancy. (2002). Bioanalytical Chemistry. New Jersey : John Wiley & Sons. (กรณี หนังสื อที่มีผ้ แู ต่ งมากกว่ า 3 คน) ธนิ ต สุ ว รรณเมนะ และคณะ.(2546). คู่ มื อ เตรี ย มสอบ สตง.ปี 2546. กรุ งเทพมหานคร : สถาบันติวนิติธนิต. Longley, Paul A. and others. (2005). Geographic Information Systems and Science. 2nd ed. Southern Gate, Chichester : Johe Wiley & Sons. (กรณี ผ้ แู ต่ งที่ เป็ นสถาบันหรื อสิ่ งพิมพ์ ที่ออกในนามหน่ วยงานราชการ องค์ การ สมาคม บริ ษทั ห้ างร้ าน ฯลฯ) กรมศิลปากร. (2547). สตรีส�ำคัญในประวัตศิ าสตร์ ไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมฯ. United Nations Development Programme. (2004). Thailand ‘s Response to HIV/AIDS : Progress and Challenges. Bangkok : United Nations Development Programme. (กรณี หนังสื อแปล) ออเร็ นจ, คาโรไลน์. (2545). 25 ข้ อทีไ่ ม่ ควรผิดพลาดส� ำหรับครู ยุคใหม่ , แปลจาก 25 Biggest Mistakes Teachers Make and How to Avoid Them โดย คัดคนางค์ มณี ศรี . กรุ งเทพมหานคร : เบรนเน็ท.

2.บทความในวารสาร หนังสื อพิมพ์และหนังสื อเล่ ม 2.1 บทความในวารสาร ชื่อ-นามสกุลผูเ้ ขียนบทความ.(ปี ที่พิมพ์). “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร. ปี ที่หรื อ เล่มที่ : เลขหน้า. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

149


จักรพงษ์ วรรณชนะ.(2549). “สารคดี-กิจกรรมเยาวชน : โครงการสร้างสรรค์ ศิลป์ เพื่อเยาวชนผูป้ ระสบภัยสึ นามิ,” สกุลไทย. 52,267: 80-81,97. 2.2 บทความ ข่ าว หรื อคอลัมน์ จากหนังสื อพิมพ์ ชื่อผูเ้ ขียน. “ชื่อบทความหรื อชื่อหัวข้อในคอลัมน์,” ชื่อหนังสือพิมพ์. วันที่/เดือน/ ปี : เลขหน้า. สุ จิตต์ วงษ์เทศ. “กระทะปฏิวตั ิอาหารไทย,” มติชน. 22 กันยายน 2548 : 34 2.3 บทความในหนังสื อรวมเล่ ม ชื่อผูเ้ ขียน. (ปี ที่พิมพ์). “ชื่อบทความ,” ใน ชื่อหนังสื อ. บรรณาธิ การ โดย ชื่อ บรรณาธิการ. เลขหน้า. สถานที่พิมพ์ : ส�ำนักพิมพ์. ส. บุบผานุวง. (2548) “สองเอื้อยน้อง,” ใน พลิกแผ่นดิน ปลิน้ แผ่นฟ้า วรรณกรรม ลาว รางวัลซีไรท์ , บรรณาธิการ โดย วีระพงษ์ มีสถาน. หน้า 22-33. กรุ งเทพมหานคร : มติชน.

3. เอกสารทีไ่ ม่เป็ นเล่ม เช่ น เอกสารประกอบค�ำสอน แผ่นพับ ให้ ระบุคำ� บอกเล่าลักษณะ ของสิ่ งพิมพ์ น้ันไว้ หลังชื่อเรื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (2547). รายงานการประเมินตนเอง ระบบมาตรฐาน สากลของประเทศไทย.(แผ่นพับ). เชียงราย : มหาวิทยาลัยฯ.

4. ข้ อมูลออนไลน์ หรือสารนิเทศบนอินเตอร์ เน็ต ชื่อผูแ้ ต่ง นามสกุล.(ปี ที่สืบค้น). ชื่อเรื่อง. (ประเภทของสื่ อที่เข้าถึง). แหล่งที่มา หรื อ Available: ชื่อของแหล่งที่มา/ชื่อแหล่งย่อย. สื บค้นเมื่อ (วันเดือน ปี ที่สืบค้น) สุ ชาดา สี แสง.(2548). อาหารพืน้ เมืองไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://ittm. dtam.moph.go.th/data_articles/thai_food/ สื บค้นเมื่อ 1 กันยายน 2550. 150

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


การส่ งต้ นฉบับ

ให้ส่งต้นฉบับบทความ จ�ำนวน 2 ชุด พร้อมแผ่นซีดีที่มีไฟล์ตน้ ฉบับบทความไป ที่ กองบรรณาธิการ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 80 หมู่ 9 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 (ให้ผเู ้ ขียน แนบชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์และอีเมลแอดเดรสที่กองบรรณาธิการสามารถติดต่อได้สะดวก มาด้วย)

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

151


แบบฟอร์ มน�ำส่ งบทความวิชาการ / บทความวิจยั (Submission form) เพือ่ ตีพมิ พ์ ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” 1. ข้าพเจ้า นาย/นาง/นางสาว ............................................................................................. Mr. / Mrs./ Miss............................................................................................................. 2. มีความประสงค์ขอส่ ง (would like to submit) บทความวิชาการ (Academic article) บทความวิจยั (Research article) บทปริ ทศั น์หนังสื อ (Book review) 3. ชื่อบทความ ชื่อเรื่ องภาษาไทย (Title of article in Thai).............................................................. ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ชื่อเรื่ องภาษาอังกฤษ (Title of article in English)................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 4. โดยเจ้าของผลงานมีดงั นี้ 4.1 ผูเ้ ขียนชื่อแรก / เจ้าของผลงาน (First author) ภาษาไทย (Name in Thai)....................................................................................... ภาษาอังกฤษ (Name in English)............................................................................. วุฒิการศึกษาสูงสุ ด (Higher Qualification)............................................................. 152

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


สถานภาพ (Status)................................................................................................... อาจารย์ Lecturer นักวิชาการ Academia / นักวิจยั Researcher ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) Academic status (if applicable) สังกัด (Current institution/university) ................................................................... นิสิต / นักศึกษา (Student) ระดับ (Level of Degree)...................................... สถาบันการศึกษา (Institution/university) ......................................................

4.2 ผูเ้ ขียนร่ วม คนที่ 1 (Co-author) (ถ้ามี) ภาษาไทย (Name in Thai)....................................................................................... ภาษาอังกฤษ (Name in English)............................................................................. วุฒิการศึกษาสูงสุ ด (Higher Qualification)............................................................. สถานภาพ (Status)................................................................................................... อาจารย์ Lecturer นักวิชาการ Academia / นักวิจยั Researcher ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) Academic status (if applicable) สังกัด (Current institution/university) ................................................................... นิสิต / นักศึกษา (Student) ระดับ (Level of Degree)...................................... สถาบันการศึกษา (Institution/university) ...................................................... 4.3 ผูเ้ ขียนร่ วม คนที่ 2 (Co-author) (ถ้ามี) ภาษาไทย (Name in Thai)....................................................................................... ภาษาอังกฤษ (Name in English)............................................................................. วุฒิการศึกษาสูงสุ ด (Higher Qualification)............................................................. สถานภาพ (Status)................................................................................................... อาจารย์ Lecturer นักวิชาการ Academia / นักวิจยั Researcher Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

153


ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) Academic status (if applicable) สังกัด (Current institution/university) ................................................................... นิสิต / นักศึกษา (Student) ระดับ (Level of Degree)...................................... สถาบันการศึกษา (Institution/university) ...................................................... 5. สถานที่ติดต่อของผูส้ ่ งบทความ (ซึ่งกองบรรณาธิการสามารถติดต่อได้สะดวก) ที่อยู่ (Contact Info).......................แขวง/ต�ำบล (Sub district)......................................... เขต/อ�ำเภอ (District).......................................จังหวัด (Province).................................. รหัสไปรษณี ย ์ (Postal code)..................................... โทรศัพท์ (Telephone).................................................................................................... โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile)............................................................................................ Email : ........................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ I hereby acknowledge that this manuscript ( ) เป็ นผลงานของข้าพเจ้าแต่เพียงผูเ้ ดียว (is my original work) ( ) เป็ นผลงานของข้าพเจ้าและผูร้ ่ วมงานตามที่ระบุในบทความจริ ง (is the original work of authors as indicated above) โดยบทความนี้ ไม่ เคยตี พิมพ์ที่ใดมาก่ อน และไม่อยู่ระหว่างการเสนอชื่ อเพื่อ พิจารณาตีพมิ พ์ในวารสารใดมาก่อน ข้าพเจ้ายินดีให้กองบรรณาธิการคัดเลือกผูท้ รงคุณวุฒิ เพือ่ พิจารณาต้นฉบับของข้าพเจ้าโดยอิสระ และยินยอมให้กองบรรณาธิการสามารถตรวจ แก้ไขต้นฉบับบทความดังกล่าวได้ตามสมควร (This manuscript has never been previously published of submitted elsewhere for publication. I acknowledge that the editorial board reserves the full right to select appropriate peer reviewers to review my manuscript and to edit it for publication guidelines.)

154

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2556)


ลงชื่อ (Signature)

(.................................................................................) ผูเ้ ขียนบทความ วันที่.........เดือน.....................................พ.ศ.............

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.8 No. 2 (July - December 2013)

155



...................................... หมายเลขสมาชิก (ส�ำหรับเจ้าหน้าที่)

ใบสมัครสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ข้าพเจ้ามีความประสงค์ขอสมัครเป็นสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย โดยสมัครเป็ นสมาชิกรายปี เป็ นระยะเวลา...............ปี เริ่ มตั้งแต่ฉบับที่ ..................... เดือน...........................พ.ศ..........ถึงฉบับที่.........เดือน............................พ.ศ...................... ให้ออกใบเสร็จรับเงินในนาม..................................................................................... โดยจัดส่ งวารสารมาที่ ชื่อ(บุคคลหรื อหน่วยงาน)....................................................... ที่อยู.่ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ โทรศัพท์............................................................โทรสาร.................................................... พร้อมกันนี้ขา้ พเจ้าได้ส่งธนาณัติ เป็ นจ�ำนวนเงิน................................................บาท (..........................................................................................................................) โดยสัง่ จ่าย นางสุ รีรัตน์ ศรี ทะแก้ว ปณ. บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100

วารสารวิทยาการจัดการ อัตราสมาชิก

ลงชื่อ............................................................... วันที่......... เดือน.......................... ปี ................

มีกำ�หนดออกเป็นราย 6 เดือน คือ เดือนมกราคม-มิถุนายน และ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ฉบับละ 90 บาท / ปีละ 180 บาท




Chiangrai Rajabhat University อิทธิพลเชิงโครงสร้างของสภาพแวดล้อมธุรกิจ ภาวะผู้ประกอบการ และปัจจัยก�าหนดที่มี ผลต่อการด�าเนินงานของธุรกิจครอบครัวในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย Structural Effect of Business Environment Entrepreneurship and Determinant toward the Family Business Performance in Upper Northern Region of Thailand บุญชนิต วิงวอน, ธนกร น้อยทองเล็ก และ มนตรี พิริยะกุล การวิเคราะห์โซ่อปุ ทานและความได้เปรียบทางการแข่งขันด้านการส่งออกของผลไม้สดไทย ไปยังตลาดสหภาพเมียนมาร์ Supply Chain Analysis and Competitive Advantage on Thai Fresh Fruit Export to Myanmar Market สุรีรัตน์ ศรีทะแก้ว และ สุเทพ นิ่มสาย การศึกษาความเสี่ยงจากการรับรู้ของผู้บริโภคในโซ่อุปทานอาหาร: กรณีศึกษา ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ The Study of Consumer Risks in Food Supply Chain: The Case of Modern Trade ชยากร พุทธก�าเนิด และ ภูมิพัฒณ์ มิ่งมาลัยรักษ์ การใช้แบบจ�าลอง KAP กับการศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติการป้องกัน การติดเชื้อ เอช ไอ วี / เอดส์ ของคนประจ�าเรือไทย The KAP Model and A Study of Behavior and Attitude on Prevention HIV/AIDS Infection in Thai Seafarers ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์ การใช้สารสนเทศของคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคเหนือ Information Use by Instructors of the Management Science Faculties at Rajabhat Universities in the Northern Region นฤมล เกรียงเกษม รูปแบบและกระบวนการลดภาวะความยากจนของผู้เข้าไม่ถึงโอกาส ในสังคมชนบทภาคเหนือตอนบน Patterns and Procedures for Poverty Reduction of the Disadvantaged People in the Rural Societies of Upper Northern Region เพชร ชัยศร บทแนะน�ำหนังสือ เรื่อง “The Data Journalism Handbook: How Journalists Can Use Data to Improve the News” แนะน�ำโดย ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู่ 9 ตำาบลบ้านดู่ อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 Chiangrai Rajabhat University 80 Moo 9 T.Bandoo A.Muang Chiangrai Thailand 57100 Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-6057

ราคา 90 บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.