การทําการงานสรางเกียรติยศชื่อเสียงและความเจริญกาวหนา นอกจากจะตองใชวิชาความรูที่ ดีแลว แตละคนยังตองมีจติ ใจทีม่ นั่ คงในความสุจริตและมุง มัน่ ตอความสําเร็จเปนรากฐานรองรับ กับตอง อาศัยกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบคายในการประพฤติปฏิบัติเขาประกอบอีกหลายประการ ประการแรก ไดแก การสรางศรัทธาความเชื่อถือในงานที่กระทํา ซึ่งเปนพละกําลังสงเสริมใหเกิด ความพอใจและความเพียรพยายามอยางสําคัญ ในอันที่จะทําการงานใหบรรลุผลเลิศ ประการทีส่ อง ไดแก การไมประมาทปญญาความรู ความฉลาดสามารถทัง้ ของตนเองทัง้ ของผูอ นื่ ซึ่งเปนเครื่องชวยทํางานไดกาวหนากวางไกล ประการทีส่ าม ไดแก การตามรักษาความจริงใจ ทัง้ ตอผูอ นื่ ทัง้ ตอตัวเอง ซึง่ เปนเครือ่ งทําใหไววางใจ รวมมือกัน และทําใหงานสําเร็จไดโดยราบรื่น ประการที่สี่ ไดแก การกําจัดจิตใจที่ต่ําทราม รวมทั้งสรางเสริมความคิดจิตใจที่สะอาดเขมแข็ง ซึ่งจะชวยใหฝกใฝแตในการที่จะปฏิบัติ ใหเกิดความกาวหนา ประการทีห่ า ไดแก การรูจ กั สงบใจ ซึง่ เปนเครือ่ งชวยใหยงั้ คิดไดในเมือ่ มีเหตุทาํ ใหเกิดความหวัน่ ไหว ฟุงซาน และสามารถพิจารณาแกไขปญหาไดโดยถูกตอง คุณสมบัตหิ รือคุณธรรมทีก่ ลาวแลว ทัง้ ทีเ่ ปนสวนรากฐาน ทัง้ ทีเ่ ปนสวนวิธกี าร ตางเปนเหตุเปนผล อาศัยกัน และเกื้อกูลสงเสริมกันอยูทั้งหมด จะอาศัยเพียงขอหนึ่งขอใด หรือเพียงบางสวนบางขอมิได เพราะจะไมชวยใหเกิดผลหรือไดผลนอย. ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองพยายามอบรมสรางเสริมใหบริบูรณ ขึ้นแตละขอ และทุกขอ. เมื่อคุณสมบัติดังกลาวประชุมพรอมกันขึ้นแลว จึงจะบันดาลผลเลิศใหเกิดขึ้น สมบูรณบริบูรณ เปนประโยชนชวยตัวชวยผูอื่นไดอยางแทจริง พระบรมราโชวาทเนื่องในโอกาสวันขาราชการพลเรือน ปพุทธศักราช ๒๕๒๖ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๒๖
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
คํานํา สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปแรก 2557 (เดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน) จัดทําขึ้นเพื่อใหทราบถึงขอมูลประชากรและกําลังแรงงาน ความตองการแรงงาน ภาวะเศรษฐกิจ ดานการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจการเงิน การเดินทางไปทํางานตางประเทศ และการทํางานของ คนตางดาว เอกสารฉบับนี้สําเร็จไดดวยการสนับสนุนขอมูลจากสํานักงานสถิติแหงชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ สํานักบริหารแรงงานตางดาว กองแผนงานและ สารสนเทศ กองพัฒนาและระบบบริการจัดหางาน ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ขอขอบคุณทุกหนวยงานที่ไดใหการสนับสนุน ขอมูล และหวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลเหลานี้จะเปนประโยชนทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้ หากทานมีขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการจัดทําครั้งตอไปขอไดโปรดติดตอโดยตรงที่ ศูนยขา วสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ศูนยราชการชัน้ 3 ถ.วชิราวุธดําเนิน ต.พระบาท อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52000 หรือแจงทางโทรศัพทไดท่ีหมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง กันยายน 2557
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร
ก–ข
ประชากรและกําลังแรงงาน • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ • ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน • ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห • ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน
1 2 3 3 3 4 4
สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปแรก 2557 • ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน
5 5
ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน • จําแนกตามรายจังหวัด • จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน
6 6 6 8
ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือ
8
แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ • จําแนกตามวิธีการเดินทาง • จําแนกตามรายประเทศ • จําแนกตามรายจังหวัด
8 9 9 10
แรงงานตางดาว • จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน • จําแนกตามรายจังหวัด
10 10 11
ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงาน
11
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ตารางที่ 11 ตารางที่ 12 ตารางที่ 13 ตารางที่ 14 ตารางที่ 15
จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห จํานวนผูวางงาน และอัตราการวางงานจําแนกตามรายจังหวัด ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน เปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามรายจังหวัด จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทาง ไปทํางานตางประเทศ จํานวนคนตางดาวจําแนกตามรายจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานครึ่งปแรก 2557
สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานครึ่งปแรก 2557 แผนภูมิที่ 2 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบ ครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 แผนภูมิที่ 3 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก แผนภูมิที่ 5 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 แผนภูมิที่ 6 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานครึ่งปแรก 2557 แผนภูมิที่ 7 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงาน และการบรรจุงาน ครึ่งปแรก 2557
หนา 1 2 2 3 3 4 4 5 6 7 7 7 9 10 11
หนา 1 5 8 9 10 11 11
ก
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
บทสรุปสําหรับผูบริหาร สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปแรก 2557 สรุปไดดังนี้ ประชากรและกําลังแรงงาน
ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําและการวางงานของประชากรครึ่งปแรก 2557 (มกราคม-มิถุนายน) ขอมูล ของสํานักงานสถิตแิ หงชาติ ภาคเหนือมีประชากรประมาณ 11.52 ลานคน เปนประชากรอายุ 15 ปขนึ้ ไปประมาณ 9.47 ลานคน รอยละ 82.15 จําแนกเปนผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 6.57 ลานคน รอยละ 56.97 ประกอบดวยผูมีงานทําประมาณ 6.46 ลานคน รอยละ 56.06 ผูว า งงานประมาณ 50,005 คน รอยละ 0.43 และผูท รี่ อฤดูกาลประมาณ 55,583 คน รอยละ 0.48 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 ผูมีงานทําลดลงรอยละ 10.62 เปนผูมีงานทําจําแนกประเภทอาชีพซึ่งทํางาน ในอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุดรอยละ 40.78 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมโดย เปนผูทํางานภาคเกษตรกรรม รอยละ 46.32 และภาคนอกเกษตรกรรมรอยละ 53.68 จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ สวนใหญสําเร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษาและไมมีการศึกษาสูงถึงรอยละ 58.94 จําแนกตามสถานภาพการทํางาน สวนใหญทํางานในฐานะลูกจางรอยละ 37.84 และจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาหเปนผูมีงานทําระหวาง 35-49 ชั่วโมงตอสัปดาหรอยละ 53.33 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาหรอยละ 27.40 หรือกลาวไดวาผูมีงานทํา ประมาณรอยละ 80.73 ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมงตอสัปดาหซึ่งถือวาเปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน ผูวางงานประมาณ 50,005 คน อัตราการวางงาน รอยละ 0.76 จังหวัด แมฮองสอนมีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 1.96 สําหรับจังหวัดเพชรบูรณมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.16
สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปแรก 2557
ขอมูลบริการจัดหางานในประเทศของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือสรุปไดดังนี้ ความตองการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 28,350 อัตรา ลดลงจาก ครึ่งปแรก 2556 รอยละ 35.36 จังหวัดเชียงใหมมีความตองการแรงงานมากที่สุดรอยละ 13.89 สําหรับจังหวัดแมฮองสอน มีความตองการแรงงานนอยที่สุดรอยละ 1.13 ผูสมัครงาน ลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 37,971 คน ลดลงจากครึ่งปแรก 2556 รอยละ 43.43 จังหวัดเชียงใหม มีผูสมัครงานมากที่สุดรอยละ 19.06 การบรรจุงาน ผูสมัครงานที่ไดรับการบรรจุงาน จํานวน 25,935 คน ลดลงจากครึ่งปแรก 2556 รอยละ 18.16 จังหวัดเชียงใหมมีผูไดรับการบรรจุงานมากที่สุดรอยละ 14.71
ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน
โรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมครึ่งปแรก 2557 จํานวน 280 แหง เงินลงทุน 8,953.64 ลานบาท และกอใหเกิดการจางงาน 3,805 คน จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตให ประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 20.71 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 11.43 จังหวัดกําแพงเพชร จังหวัดตาก และ จังหวัดนครสวรรครอ ยละ 8.21 เทากัน จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมทัว่ ไปเปนประเภทอุตสาหกรรม
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ข
ที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 20.36 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมรอยละ 17.14 อุตสาหกรรม เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑอโลหะรอยละ 12.86 เทากัน โครงการทีไ่ ดรบั อนุญาตใหการสงเสริมการลงทุนกับศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 จํานวน 49 โครงการ เงินลงทุน 2,773 ลานบาท และเกิดการจางงาน 1,809 คน อุตสาหกรรมที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน 3 อันดับแรก คือ อุตสาหกรรมการเกษตรและผลิตผลจากการเกษตร จํานวน 20 โครงการ รองลงมาคือ กิจการบริการและสาธารณูปโภค จํานวน 13 โครงการ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา จํานวน 6 โครงการ
ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน
ภาวะเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 2 ป 2557 ทรงตัวจากไตรมาสกอน โดยอุปสงคปรับดีขึ้นเล็กนอยภายหลังสถานการณ ทางการเมืองและแนวนโยบายภาครัฐมีความชัดเจนมากขึ้นในชวงปลายไตรมาส ประกอบกับชาวนามีกําลังซื้อเพิ่มขึ้น ภายหลังไดรบั เงินจากโครงการรับจํานําขาว และมีสญ ั ญาณการฟน ตัวของการใชจา ยและการลงทุนภาคเอกชนซึง่ หดตัวนอยลง แตมีแรงกดดันจากผูบริโภคยังระมัดระวังการใชจาย และภาระหนี้ครัวเรือนอยูในระดับสูง ดานการสงออกขยายตัวดีตาม การฟนตัวของเศรษฐกิจตางประเทศ ขณะที่การใชจายภาครัฐทําไดจํากัดเนื่องจากผลกระทบจากการเมืองในชวงกอนหนา ดานอุปทานชะลอลง โดยการผลิตสินคาเกษตรหดตัวตามผลผลิตขาวนาปรังและออยโรงงาน เนื่องจากไดรับผลกระทบ จากภัยแลง ประกอบกับราคาพืชเกษตรสําคัญลดลง ทําใหรายไดเกษตรกรลดลงมาก ขณะที่ภาคการทองเที่ยวชะลอลงจาก ผลกระทบสถานการณทางการเมือง อยางไรก็ดีการผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นตามการผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสจาก ความตองการของตลาดตางประเทศเปนสําคัญ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจของภาคเหนืออยูในเกณฑดี จากอัตราเงินเฟอ และ การวางงานอยูในระดับตํ่า สวนเงินฝากและเงินใหสินเชื่อชะลอลง
แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ
แรงงานไทยที่ไดรับอนุญาตไปทํางานตางประเทศ จํานวน 6,485 คน ลดลงจากครึ่งปแรก 2556 รอยละ 19.41 เดินทางโดยบริษทั จัดหางานจัดสงมากทีส่ ดุ รอยละ 63.19 ประเทศไตหวันเปนประเทศทีม่ แี รงงานเดินทางไปมากทีส่ ดุ รอยละ 55.02 และจังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุดรอยละ 21.34
แรงงานตางดาว
แรงงานตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางานคงเหลือครึง่ ปแรก 2557 จํานวน 197,890 คน จําแนกเปนคนตางดาวเขาเมือง ถูกกฎหมายรอยละ 94.0 และคนตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายรอยละ 6.0 ของแรงงานทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางาน เมื่อเปรียบเทียบ กับครึ่งปแรก 2556 ลดลงรอยละ 0.70 คนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุดรอยละ 60.53 รองลงมาคือ คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU รอยละ 30.17 และคนตางดาวประเภทชนกลุมนอยรอยละ 6.0 ตามลําดับ สําหรับ จังหวัดเชียงใหมมีแรงงานตางดาวที่เขามาทํางานสูงสุดรอยละ 44.59
ผูประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงาน
สถิตผิ ปู ระกันตนทีม่ าขึน้ ทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวา งงานครึง่ ปแรก 2557 จํานวน 41,372 คน ถูกเลิกจาง จํานวน 3,525 คน รอยละ 8.52 และลาออกจากงาน จํานวน 37,847 คน รอยละ 91.48 ทั้งนี้ผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียน ที่ถูกเลิกจางและออกจากงานไดรับการบรรจุงาน จํานวน 19,505 คน รอยละ 47.15
1
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ประชากรและกําลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานครึ่งปแรก 2557
ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
ผูมีอายุ 15 ป ขึ้นไป
10,171,165
82.96
9,466,621
82.15
-704,544
-6.93
1. ผูอยูในกําลังแรงงาน
7,308,862
59.61
6,565,798
56.97
-743,064
-10.17
1.1 กําลังแรงงานปจจุบัน
7,263,077
59.24
6,510,215
56.49
-752,862
-10.37
1.1.1 ผูมีงานทํา
7,227,905
58.95
6,460,210
56.06
-767,695
-10.62
1.1.2 ผูวางงาน
35,172
0.29
50,005
0.43
14,833
42.17
1.2 ผูที่รอฤดูกาล
45,785
0.37
55,583
0.48
9,798
21.40
2. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน
2,862,303
23.34
2,900,823
25.17
38,520
1.35
2.1 ทํางานบาน
819,517
6.68
816,410
7.08
-3,107
-0.38
2.2 เรียนหนังสือ
821,043
6.70
747,300
6.48
-73,743
-8.98
2.3 อื่น ๆ
1,221,744
9.96
1,337,113
11.60
115,369
9.44
ผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป
2,089,753
17.04
2,057,380
17.85
-32,373
-1.55
ประชากรรวม
12,260,918
100.00
11,524,001
100.00
-736,917
-6.01
อัตราการวางงาน
0.65
0.76
ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําและการวางงานของประชากรครึ่งปแรก 2557 (เดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน) โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวามีประชากรประมาณ 11.52 ลานคน เปนผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 6.57 ลานคน รอยละ 56.97 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด และ ผูไมอยูในกําลังแรงงานรวมถึงผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป ประมาณ 4.96 ลานคน รอยละ 43.02 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอยูในกําลังแรงงาน จํานวน 6,565,798 คน ประกอบดวยผูมีงานทํา รอยละ 56.06 ผูวางงาน รอยละ 0.43 และผูที่รอฤดูกาล รอยละ 0.48 ผูไมอยูในกําลังแรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป) จํานวน 2,900,823 คน รอยละ 25.17 ประกอบดวย แมบาน ทํางานบาน รอยละ 7.08 นักเรียน นิสิต นักศึกษา รอยละ 6.48 และอื่นๆ เชน เด็ก คนชรา ผูปวย ผูพิการจนไมสามารถทํางานได รอยละ 11.60 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 พบวาประชากรลดลงรอยละ 6.01 ผูมีงานทําลดลงรอยละ 10.62 และผูวางงานเพิ่มขึ้นรอยละ 42.17 อัตราการวางงานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.65 เปนรอยละ 0.76
2
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ
143,054
1.98
154,740
2.40
11,686
8.17
ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ
306,282
4.24
260,281
4.03
-46,001
-15.02
ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ
170,977
2.37
170,583
2.64
-394
-0.23
เสมียน
212,347
2.94
167,678
2.60
-44,669
-21.04
พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาด
1,154,497
15.97
1,086,930
16.82
-67,567
-5.85
ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมง
3,020,273
41.79
2,634,536
40.78
-385,737
-12.77
ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ
886,087
12.26
837,071
12.96
-49,016
-5.53
ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ
383,611
5.31
354,935
5.49
-28,676
-7.48
อาชีพขัน้ พืน้ ฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ
950,694
13.15
793,455
12.28
-157,239
-16.54
82
0.001
0
0.000
-82
-100.00
7,227,905
100.00
6,460,210
100.00
-767,695
-10.62
คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น รวม
ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ
ผูมีงานทําประมาณ 6.46 ลานคน ทํางานในอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุด รอยละ 40.78 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานในรานคาและตลาด รอยละ 16.82 และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ รอยละ 12.96 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 พบวาโดยรวมทุกอาชีพมีจํานวนลดลงรอยละ 10.62 ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
3,429,185
47.44
2,992,512
46.32
-436,673
-12.73
3,429,185
47.44
2,992,512
46.32
-436,673
-12.73
3,798,717
52.56
3,467,699
53.68
-331,018
-8.71
- การทําเหมืองแร และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟา กาซ ไอนํ้า และระบบปรับอากาศ - การจัดหานํ้า การจัดการ การบําบัดนํ้าเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การกอสราง - การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนต - การขนสง และสถานที่เก็บสินคา - กิจกรรมโรงแรม และการบริการดานอาหาร - ขอมูลขาวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การปองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการดานอื่นๆ - กิจกรรมการจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินคา และบริการ ที่ทําขึ้นเองเพื่อใชในครัวเรือน - กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ - ไมทราบ
15,543 707,312 16,164 10,241 593,875 995,518 86,474 334,083 16,397 71,143 11,828 18,640 38,807 333,310 237,420 131,098 43,569 95,682 40,021
0.22 9.79 0.22 0.14 8.22 13.77 1.20 4.62 0.23 0.98 0.16 0.26 0.54 4.61 3.28 1.81 0.60 1.32 0.55
19,027 657,556 17,950 9,350 507,494 919,792 84,027 335,260 13,343 62,903 13,256 27,733 41,755 270,246 191,091 118,835 47,498 101,915 27,675
0.29 10.18 0.28 0.14 7.86 14.24 1.30 5.19 0.21 0.97 0.21 0.43 0.65 4.18 2.96 1.84 0.74 1.58 0.43
3,484 -49,756 1,786 -891 -86,381 -75,726 -2,447 1,177 -3,054 -8,240 1,428 9,093 2,948 -63,064 -46,329 -12,263 3,929 6,233 -12,346
22.42 -7.03 11.05 -8.70 -14.55 -7.61 -2.83 0.35 -18.63 -11.58 12.07 48.78 7.60 -18.92 -19.51 -9.35 9.02 6.51 -30.85
1,510 82
0.02 0.001
994 0
0.02 0.000
-516 -82
-34.17 -100.00
รวม
7,227,905
100.00
6,460,210
100.00
-767,695
-10.62
1. ภาคเกษตรกรรม - เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 2. นอกภาคเกษตรกรรม
3
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
ผูทํางานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.99 ลานคน รอยละ 46.32 ไดแก อุตสาหกรรมเกษตรกรรมการปาไมและการประมง สําหรับผูทํางาน นอกภาคเกษตรกรรม ประมาณ 3.47 ลานคน รอยละ 53.68 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และ รถจักรยานยนตมากทีส่ ดุ รอยละ 14.24 รองลงมาคือ การผลิต รอยละ 10.18 และการกอสราง รอยละ 7.86 นอกนัน้ กระจายอยูใ นอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ ระดับการศึกษาที่สําเร็จ ไมมีการศึกษา ตํ่ากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไมทราบ รวม หมายเหตุ
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
513,976 2,174,266 1,511,671 1,072,900 914,115 725,371 187,437 1,307 1,031,460 553,422 337,313 140,725 5,008 4,510 7,227,905
7.11 30.08 20.91 14.84 12.65 10.04 2.59 0.02 14.27 7.66 4.67 1.95 0.07 0.06
452,179 2,029,585 1,325,471 911,729 822,471 656,905 164,545 1,021 903,048 505,508 268,708 128,832 13,404 2,322
7.00 31.42 20.52 14.11 12.73 10.17 2.55 0.02 13.98 7.82 4.16 1.99 0.21 0.04
-61,797 -144,681 -186,200 -161,171 -91,644 -68,466 -22,892 -286 -128,412 -47,914 -68,605 -11,893 8,396 -2,188
-12.02 -6.65 -12.32 -15.02 -10.03 -9.44 -12.21 -21.88 -12.45 -8.66 -20.34 -8.45 167.65 -48.51
100.00
6,460,210
100.00
-767,695
-10.62
1. ไมมีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไมเคยเขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่สําเร็จการศึกษาที่ไมสามารถเทียบชั้นได 3. ผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไมพบตัวผูใหสัมภาษณ/คนใหขอมูลไมรูขอมูล
ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ
ผูมีงานทําสวนใหญสําเร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษาและไมมีการศึกษาสูงถึงรอยละ 58.94 ระดับมัธยมศึกษารอยละ 26.84 และ ระดับอุดมศึกษารอยละ 13.98 ที่เหลือเปนการศึกษาอื่นๆ และเปนผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน สถานภาพการทํางาน นายจาง ลูกจางรัฐบาล ลูกจางเอกชน ทํางานสวนตัว ชวยธุรกิจในครัวเรือน การรวมกลุม* รวม หมายเหตุ
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
148,236 712,325 2,057,364 2,433,621 1,868,565 7,796
2.05 9.86 28.46 33.67 25.85 0.11
147,904 611,257 1,833,457 2,322,669 1,543,046 1,877
2.29 9.46 28.38 35.95 23.89 0.03
-332 -101,068 -223,907 -110,952 -325,519 -5,919
-0.22 -14.19 -10.88 -4.56 -17.42 -75.92
7,227,905
100.00
6,460,210
100.00
-767,695
-10.62
การรวมกลุม* หมายถึง กลุมคนที่มารวมกันทํางานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพึ่งตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแตละคน มีความเทาเทียมกัน ในการกําหนดการทํางานทุกขั้นตอนไมวาเปนการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ทําตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุมดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณหรือไมก็ได)
ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน
ผูม งี านทําสวนใหญทาํ งานในฐานะลูกจางรอยละ 37.84 ในจํานวนนีเ้ ปนลูกจางเอกชนรอยละ 28.38 และลูกจางรัฐบาลรอยละ 9.46 รองลงมาคือ ทํางานสวนตัวโดยไมมีลูกจางรอยละ 35.95 ชวยธุรกิจในครัวเรือนโดยไมไดรับคาจางรอยละ 23.89 นายจางรอยละ 2.29 สวนการรวมกลุมมีเพียง รอยละ 0.03 ของผูมีงานทําทั้งหมด
4
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห ครึ่งปแรก 2556
ชั่วโมงการทํางาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
จํานวน (คน)
รอยละ
66,389 20,921 124,409 547,342 444,591 839,236 2,793,571 2,391,446
0.92 0.29 1.72 7.57 6.15 11.61 38.65 33.09
72,043 35,381 190,823 515,992 430,553 766,098 2,679,304 1,770,017
1.12 0.55 2.95 7.99 6.66 11.86 41.47 27.40
5,654 14,460 66,414 -31,350 -14,038 -73,138 -114,267 -621,429
8.52 69.12 53.38 -5.73 -3.16 -8.71 -4.09 -25.99
7,227,905
100.00
6,460,210
100.00
-767,695
-10.62
ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห
ผูมีงานทําระหวาง 35-49 ชั่วโมงตอสัปดาหประมาณรอยละ 53.33 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาหประมาณรอยละ 27.40 หรือกลาวไดวาผูมีงานทําประมาณรอยละ 80.73 ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห และอาจจัดวาบุคคลเหลานี้เปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่อง ชั่วโมงการทํางาน ขณะที่ผูทํางานนอยกวา 35 (1-34) ชั่วโมงตอสัปดาหเปนผูทํางานไมเต็มที่มีประมาณรอยละ 18.15 ของผูมีงานทําทั้งสิ้น สําหรับ ผูมีงานทําประจําแตไมไดทํางานในสัปดาหแหงการสํารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงรอยละ 1.12 ตารางที่ 7 จํานวนผูวางงานและอัตราการวางงาน จําแนกตามรายจังหวัด รายจังหวัด เชียงใหม ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ รวม
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
อัตราการเปลี่ยนแปลง
ผูวางงาน (คน)
อัตราการวางงาน
ผูวางงาน (คน)
อัตราการวางงาน
จํานวน (คน)
รอยละ
5,738 1,221 2,304 3,272 1,833 320 455 2,300 743 2,435 845 2,328 2,015 3,312 3,403 1,673 974
0.60 0.43 0.48 1.22 0.60 0.10 0.15 0.31 0.48 0.36 0.44 0.52 0.65 0.85 0.68 0.47 0.16
14,394 2,260 3,269 2,030 1,138 2,132 681 1,798 2,200 5,457 299 4,360 1,159 2,836 3,278 1,880 834
1.44 0.83 0.76 0.91 0.46 0.82 0.29 0.27 1.96 0.98 0.19 0.98 0.44 0.77 0.66 0.62 0.16
8,656 1,039 965 -1,242 -695 1,812 226 -502 1,457 3,022 -546 2,032 -856 -476 -125 207 -140
150.85 85.09 41.88 -37.96 -37.92 566.25 49.67 -21.83 196.10 124.11 -64.62 87.29 -42.48 -14.37 -3.67 12.37 -14.37
35,172
0.48
50,005
0.76
14,833
42.17
ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติ ผลรวมของแตละจํานวนอาจไมเทากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของขอมูลแตละจํานวนซึ่งไดจากการ ประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป
ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน
จํานวนผูวางงานประมาณ 50,005 คน เพิ่มขึ้นจากครึ่งปแรก 2556 รอยละ 42.17 และอัตราการวางงานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.48 เปน รอยละ 0.76 จังหวัดแมฮองสอนมีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 1.96 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 1.44 จังหวัดนครสวรรค และ จังหวัดกําแพงเพชรรอยละ 0.98 เทากัน สําหรับจังหวัดเพชรบูรณมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.16
5
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปแรก 2557 กรมการจัดหางาน สรุปภาพรวมการเคลือ่ นไหวตลาดแรงงานของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ครึง่ ปแรก 2557 ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ และอุทัยธานี นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 28,350 อัตรา ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 37,971 คน และสามารถบรรจุงานได จํานวน 25,935 คน แผนภูมิที่ 2 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 จํานวน (อัตรา/คน)
ครึ่งปแรก 2556
80,000
ครึ่งปแรก 2557
67,119
70,000 60,000 50,000
43,861
40,000
37,971
31,690
28,350
30,000
25,935
20,000 10,000 0
ความตองการแรงงาน
ผูสมัครงาน
การบรรจุงาน
ตารางที่ 8 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 จังหวัด
ความตองการแรงงาน (อัตรา) ครึ่งปแรก 56 ครึง่ ปแรก 57
การเปลี่ยนแปลง จํานวน
รอยละ
ผูสมัครงาน (คน) ครึ่งปแรก 56 ครึง่ ปแรก 57
การเปลี่ยนแปลง จํานวน
รอยละ
การบรรจุงาน (คน) ครึ่งปแรก 56 ครึง่ ปแรก 57
การเปลี่ยนแปลง จํานวน
รอยละ
กําแพงเพชร
1,819
1,212
-607
-33.37
2,710
2,051
-659
-24.32
1,161
996
-165
-14.21
เชียงราย
3,816
1,665
-2,151
-56.37
7,635
4,133
-3,502
-45.87
2,880
1,721
-1,159
-40.24
เชียงใหม
7,243
3,937
-3,306
-45.64
10,936
7,238
-3,698
-33.81
6,270
3,815
-2,455
-39.15
ตาก
620
412
-208
-33.55
2,385
1,394
-991
-41.55
727
356
-371
-51.03
นครสวรรค
2,747
2,570
-177
-6.44
6,884
2,742
-4,142
-60.17
2,449
2,343
-106
-4.33
นาน
1,003
1,857
854
85.14
3,189
1,147
-2,042
-64.03
1,552
1,498
-54
-3.48
พะเยา
1,090
553
-537
-49.27
2,952
1,572
-1,380
-46.75
1,293
425
-868
-67.13
พิจิตร
1,176
1,672
496
42.18
2,953
1,554
-1,399
-47.38
590
874
284
48.14
พิษณุโลก
1,860
1,739
-121
-6.51
3,534
3,335
-199
-5.63
3,193
2,345
-848
-26.56
เพชรบูรณ
8,082
1,664
-6,418
-79.41
2,300
2,065
-235
-10.22
1,589
1,600
11
0.69
แพร
3,749
2,360
-1,389
-37.05
3,883
1,275
-2,608
-67.16
1,981
2,032
51
2.57
แมฮองสอน
330
321
-9
-2.73
893
366
-527
-59.01
200
288
88
44.00
ลําปาง
3,259
2,184
-1,075
-32.99
5,393
2,361
-3,032
-56.22
1,359
1,772
413
30.39
ลําพูน
3,409
2,518
-891
-26.14
5,253
2,408
-2,845
-54.16
2,583
2,570
-13
-0.50
สุโขทัย
1,195
1,472
277
23.18
2,527
1,589
-938
-37.12
1,826
1,438
-388
-21.25
อุตรดิตถ
1,943
683
-1,260
-64.85
1,808
1,203
-605
-33.46
1,250
837
-413
-33.04
อุทัยธานี
520
1,531
1,011
194.42
1,884
1,538
-346
-18.37
787
1,025
238
30.24
43,861
28,350
-15,511
-35.36
67,119
37,971
-29,148
-43.43
31,690
25,935
-5,755
-18.16
รวม
ที่มา : กองแผนงานและสารสนเทศ และกองพัฒนาและระบบบริการจัดหางาน ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) สถานประกอบการ/นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 28,350 อัตรา โดยจังหวัดที่มี ความตองการแรงงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดเชียงใหม จํานวน 3,937 อัตรา รอยละ 13.89 จังหวัดนครสวรรค จํานวน 2,570 อัตรา รอยละ 9.07 จังหวัดลําพูน จํานวน 2,518 อัตรา รอยละ 8.88 จังหวัดแพร จํานวน 2,360 อัตรา รอยละ 8.32 และจังหวัดลําปาง จํานวน 2,184 อัตรา รอยละ 7.70 จังหวัดที่มีความตองการแรงงานนอยที่สุดคือ จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 321 อัตรา รอยละ 1.13 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 ความตองการ แรงงานลดลง รอยละ 35.36
6
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ผูสมัครงาน ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 37,971 คน จังหวัดที่มีผูสมัครงาน 5 อันดับแรกไดแกจังหวัดเชียงใหม จํานวน 7,238 คน รอยละ 19.06 จังหวัดเชียงราย จํานวน 4,133 คน รอยละ 10.88 จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 3,335 คน รอยละ 8.78 จังหวัดนครสวรรค จํานวน 2,742 คน รอยละ 7.22 และจังหวัดลําพูน จํานวน 2,408 คน รอยละ 6.34 จังหวัดทีม่ ผี สู มัครงานนอยทีส่ ดุ คือ จังหวัดแมฮอ งสอน จํานวน 366 คน รอยละ 0.96 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 ผูสมัครงานลดลง รอยละ 43.43 การบรรจุงาน ผูสมัครงานไดรับการบรรจุงาน จํานวน 25,935 คน จังหวัดที่ไดรับการบรรจุงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดเชียงใหม จํานวน 3,815 คน รอยละ 14.71 จังหวัดลําพูน จํานวน 2,570 คน รอยละ 9.91 จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 2,345 คน รอยละ 9.04 จังหวัดนครสวรรค จํานวน 2,343 คน รอยละ 9.03 และจังหวัดแพร จํานวน 2,032 คน รอยละ 7.83 จังหวัดแมฮองสอนมีผูสมัครงานที่ไดรับการบรรจุงานนอยที่สุด จํานวน 288 คน รอยละ 1.11 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 การบรรจุงานลดลงรอยละ 18.16
ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน ตารางที่ 9 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม
จํานวนโรงงาน (แหง) ครึ่งปแรก 2556 ครึ่งปแรก 2557 16 23 22 18 37 32 24 23 29 23 17 5 13 6 29 16 33 13 24 10 74 58 2 3 59 19 14 7 19 11 14 10 2 3 428 280
เพิ่ม/ลด รอยละ 43.75 -18.18 -13.51 -4.17 -20.69 -70.59 -53.85 -44.83 -60.61 -58.33 -21.62 50.00 -67.80 -50.00 -42.11 -28.57 50.00 -34.58
เงินลงทุน (ลานบาท) ครึ่งปแรก 2556 ครึ่งปแรก 2557 533.04 2,194.79 538.00 325.27 1,577.20 1,196.39 204.43 227.87 2,143.37 701.97 154.79 22.60 500.00 93.73 754.69 106.89 812.40 836.47 2,077.87 77.55 50.87 510.80 1.16 7.17 4,556.23 272.91 849.46 139.91 416.59 668.46 181.65 102.97 84.71 1,467.89 15,436.46 8,953.64
เพิ่ม/ลด รอยละ 311.75 -39.54 -24.14 11.47 -67.25 -85.40 -81.25 -85.84 2.96 -96.27 904.13 518.10 -94.01 -83.53 60.46 -43.31 1,632.84 -42.00
การจางงาน (คน) ครึ่งปแรก 2556 268 158 717 757 379 104 229 245 282 180 421 9 1,581 278 250 147 32 6,037
ครึ่งปแรก 2557 244 216 681 815 198 31 49 94 245 45 529 24 189 206 75 74 90 3,805
เพิ่ม/ลด รอยละ -8.96 36.71 -5.02 7.66 -47.76 -70.19 -78.60 -61.63 -13.12 -75.00 25.65 116.67 -88.05 -25.90 -70.00 -49.66 181.25 -36.97
การลงทุนในภาคเหนือครึ่งปแรก 2557 มีโรงงานที่ขออนุญาตประกอบกิจการใหม 280 แหง เงินลงทุน 8,953.64 ลานบาท และการจางงาน 3,805 คน เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 พบวาโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานลดลงโดยลดลงรอยละ 34.58 รอยละ 42.0 และรอยละ 36.97 ตามลําดับ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 20.71 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 11.43 จังหวัดกําแพงเพชร จังหวัดตาก และจังหวัดนครสวรรครอยละ 8.21 เทากัน เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดกําแพงเพชรมีมูลคาการลงทุน มากที่สุดรอยละ 24.51 รองลงมาคือ จังหวัดอุทัยธานีรอยละ 16.39 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 13.36 สําหรับการจางงานจังหวัดตากมีการจางงาน มากที่สุดรอยละ 21.42 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 17.90 และจังหวัดแพรรอยละ 13.90 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมทั่วไปเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 20.36 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมรอยละ 17.14 อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑอโลหะรอยละ 12.86 เทากัน สําหรับอุตสาหกรรมทั่วไปมีมูลคาการลงทุนมากที่สุดรอยละ 63.44 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมรอยละ 12.36 และอุตสาหกรรมขนสง รอยละ 9.99 และเมื่อพิจารณาตามการจางงานอุตสาหกรรมทั่วไปมีการจางงานมากที่สุดรอยละ 18.19 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมสิ่งทอรอยละ 13.82 และอุตสาหกรรมเครื่องแตงกายรอยละ 11.35
7
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ตารางที่ 10 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนโรงงาน (แหง) ครึ่งปแรก ครึ่งปแรก 2556 2557 100 48 17 17 1 2 0 6 6 4 1 0 33 20 91 36 8 5 6 6 4 3 53 36 31 12 4 7 22 21 51 57 428 280
ประเภทอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อาหาร เครื่องดื่ม สิ่งทอ เครื่องแตงกาย เครื่องหนัง ไมและผลิตภัณฑจากไม เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน เคมี ผลิตภัณฑปโตรเลียม ผลิตภัณฑพลาสติก ผลิตภัณฑอโลหะ ผลิตภัณฑซอมแซมโลหะ เครื่องจักรกล ขนสง ทั่วไป รวม
เพิ่ม/ลด รอยละ -52.00 0.00 100.00 100.00 -33.33 -100.00 -39.39 -60.44 -37.50 0.00 -25.00 -32.08 -61.29 75.00 -4.55 11.76 -34.58
เงินลงทุน (ลานบาท) ครึ่งปแรก ครึ่งปแรก 2556 2557 3,931.05 1,107.01 530.30 180.44 21.30 8.00 0.00 87.34 42.07 11.40 3.22 0.00 57.73 44.04 84.11 31.77 313.75 158.80 128.32 169.40 28.02 47.50 839.36 356.16 294.43 129.27 23.50 48.17 365.03 894.40 8,774.27 5,679.94 15,436.46 8,953.64
เพิ่ม/ลด รอยละ -71.84 -65.97 100.00 100.00 -72.90 -100.00 -23.71 -62.23 -49.39 32.01 69.52 -57.57 -56.09 104.98 145.02 -35.27 -42.00
การจางงาน (คน) ครึ่งปแรก ครึ่งปแรก 2556 2557 993 427 441 138 45 14 0 526 473 432 130 0 279 154 614 267 123 116 48 78 36 64 667 292 325 205 51 70 552 330 1,260 692 6,037 3,805
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตารางที่ 11 โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน ครึ่งปแรก (ม.ค. - มิ.ย.) 2556 จํานวนโครงการ เงินลงทุน (ลานบาท) การจางงาน (คน)
42 7,980 6,343
2557
อัตราการ เปลี่ยนแปลง
49 2,773 1,809
7 -5,207 -4,534
รอยละ 16.67 -65.25 -71.48
ตารางที่ 12 โครงการที่ไดรับการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามรายจังหวัด จังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม
จํานวนโครงการ
เงินลงทุน (ลานบาท)
การจางงาน (คน)
2 5 11 0 6 0 0 0 3 3 4 0 5 9 0 0 1
228.00 312.40 490.10 0.00 380.80 0.00 0.00 0.00 209.30 315.10 121.90 0.00 312.90 357.50 0.00 0.00 45.00
52 1,111 198 0 76 0 0 0 16 55 25 0 42 231 0 0 3
49
2,773.00
1,809
เพิ่ม/ลด รอยละ -57.00 -68.71 100.00 100.00 -8.67 -100.00 -44.80 -56.51 -5.69 62.50 77.78 -56.22 -36.92 37.25 -40.22 -45.08 -36.97
8
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนใน 17 จังหวัดภาคเหนือ ในชวงครึ่งปแรก (ม.ค.-มิ.ย.) จํานวน 49 โครงการ (จําแนกเปน โครงการที่ไดรับอนุมัติจากภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด จํานวน 34 โครงการ และภาคเหนือตอนลาง 9 จังหวัด จํานวน 15 โครงการ) เงินลงทุน 2,773 ลานบาท และเกิดการจางงาน 1,809 คน เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 พบวาจํานวนโครงการเพิ่มขึ้นรอยละ 16.67 มูลคาการลงทุน ลดลงรอยละ 65.25 และการจางงานลดลง รอยละ 71.48 อุตสาหกรรมที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนใน 3 อันดับแรกไดแก 1. อุตสาหกรรมการเกษตรและผลิตผลจากการเกษตร จํานวน 20 โครงการ มูลคาการลงทุน 1,901.3 ลานบาท ไดแก กิจกรรมผลิตนํ้ามัน ปาลมดิบ และเมล็ดในปาลมอบแหง กิจการปลูกปา กิจการผลิตอาหารสัตว กิจการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะ กิจการผลิตนํ้าพืช ผัก ผลไม บรรจุภาชนะผนึก กิจการผลิตพืชผักผลไมอบแหง กิจการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัด กิจการผลิตสวนผสมอาหารสัตว กิจการขยายพันธุสัตว (ลูกเปด) และกิจการอบพืชและ ไซโล สถานที่ตั้งโครงการอยูที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําปาง ลําพูน แพร กําแพงเพชร เพชรบูรณ นครสวรรค และจังหวัดพิษณุโลก 2. กิจการบริการและสาธารณูปโภค จํานวน 13 โครงการ มีมูลคาการลงทุน 457.6 ลานบาท ไดแก กิจการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) กิจการผลิตพลังงานไฟฟาหรือไอนํ้า และกิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร เปนตน สถานที่ตั้งโครงการอยูที่ จังหวัดกําแพงเพชร นครสวรรค แพร อุทัยธานี ลําพูน ลําปาง และพิษณุโลก 3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา จํานวน 6 โครงการ มีมูลคาการลงทุน 57.3 ลานบาท ไดแก กิจการผลิตอุปกรณให แสงสวาง LED กิจการผลิตชิ้นสวนสําหรับอุปกรณโทรคมนาคม และกิจการซอฟตแวร สถานที่ตั้งโครงการอยูที่จังหวัดลําพูน และจังหวัดเชียงใหม นักลงทุนตางชาติทไี่ ดรบั การอนุมตั ิใหการสงเสริม ไดแก ประเทศฮองกง สหรัฐอเมริกา เนเธอรแลนด สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝรัง่ เศส ไตหวัน ญี่ปุน เกาหลี เดนมารก และแคนาดา ที่มา : ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม
ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 2 ป 2557 ทรงตัวจากไตรมาสกอน โดยอุปสงคปรับดีขึ้นเล็กนอยภายหลังสถานการณทางการเมืองและ แนวนโยบายภาครัฐมีความชัดเจนมากขึ้นในชวงปลายไตรมาส ประกอบกับชาวนามีกําลังซื้อเพิ่มขึ้นภายหลังไดรับเงินจากโครงการรับจํานําขาว และมี สัญญาณการฟนตัวของการใชจายและการลงทุนภาคเอกชนซึ่งหดตัวนอยลง แตมีแรงกดดันจากผูบริโภคยังระมัดระวังการใชจาย และภาระหนี้ครัวเรือน อยูในระดับสูง ดานการสงออกขยายตัวดีตามการฟนตัวของเศรษฐกิจตางประเทศ ขณะที่การใชจายภาครัฐทําไดจํากัดเนื่องจากผลกระทบจากการเมือง ในชวงกอนหนา ดานอุปทานชะลอลง โดยการผลิตสินคาเกษตรหดตัวตามผลผลิตขาวนาปรังและออยโรงงาน เนื่องจากไดรับผลกระทบจากภัยแลง ประกอบกับราคาพืชเกษตรสําคัญลดลง ทําใหรายไดเกษตรกรลดลงมาก ขณะทีภ่ าคการทองเทีย่ วชะลอลงจากผลกระทบสถานการณทางการเมือง อยางไร ก็ดกี ารผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ ตามการผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสจากความตองการของตลาดตางประเทศเปนสําคัญ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจของ ภาคเหนืออยูในเกณฑดี จากอัตราเงินเฟอ และการวางงานอยูในระดับตํ่าสวนเงินฝาก และเงินใหสินเชื่อชะลอลง ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ
แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ แผนภูมิที่ 3 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง นายจางพาลูกจางไปทํางาน 320 คน
นายจางสงลูกจางไปฝกงาน 350 คน
การแจงเดินทางดวยตนเอง 955 คน
กรมการจัดหางานจัดสง 762 คน
บริษัทจัดหางานจัดสง 4,098 คน
9
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
ขอมูลของสํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ กรมการจัดหางานครึ่งปแรก 2557 ที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จํานวน 6,485 คน ลดลงจากครึ่งปแรก 2556 รอยละ 19.41 จําแนกตามวิธีการเดินทาง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดสง จํานวน 4,098 คน รอยละ 63.19 รองลงมาไดแก การแจงเดินทาง ดวยตนเอง จํานวน 955 คน รอยละ 14.73 การเดินทางโดยกรมการจัดหางานจัดสง จํานวน 762 คน รอยละ 11.75 การแจงเดินทางดวยตนเอง จํานวน 1,204 คน รอยละ 14.96 การเดินทางโดยนายจางสงลูกจางไปฝกงาน จํานวน 350 คน รอยละ 5.40 และการเดินทางโดยนายจางพาลูกจางไปทํางาน จํานวน 320 คน รอยละ 4.93 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก จํานวน (คน)
วัน
ไตห
ี
หล
ุน
ญี่ป
สาธ
ารณ
กา รัฐเ
อล
าเ อิสร
าร
กาต
า
รัฐอ
สห
หรับ
ทส
ิเร เอม
ลาว
ใต
แอ
า ฟริก
ด
ลน ิวซแี
น
ปร
โ สิงค
ประเทศ
จําแนกตามรายประเทศ ประเทศทีแ่ รงงานไทยเดินทางไปทํางานมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรก ไดแก ประเทศไตหวัน จํานวน 3,568 คน รอยละ 55.02 ประเทศญี่ปุน จํานวน 459 คน รอยละ 7.08 ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จํานวน 443 คน รอยละ 6.83 ประเทศอิสราเอล 220 คน รอยละ 3.39 และ ประเทศกาตาร 161 คน รอยละ 2.48 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 พบวาแรงงานไทยเดินทางไปทํางานตางประเทศลดลง ยกเวนประเทศไตหวัน ประเทศญี่ปุน และประเทศกาตารที่เดินทางไปทํางานเพิ่มขึ้นเล็กนอย ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปทํางานตางประเทศ จังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม
ครึ่งปแรก 2556 จํานวน (คน) รอยละ 499 6.20 1,317 16.37 417 5.18 609 7.57 301 3.74 255 3.17 404 5.02 219 2.72 450 5.59 408 5.07 193 2.40 21 0.26 1,420 17.65 191 2.37 1,011 12.56 282 3.50 50 0.62 8,047 100.00
ครึ่งปแรก 2557 จํานวน (คน) รอยละ 386 5.95 1,384 21.34 353 5.44 443 6.83 291 4.49 193 2.98 284 4.38 174 2.68 311 4.80 306 4.72 179 2.76 10 0.15 903 13.92 140 2.16 828 12.77 248 3.82 52 0.80 6,485 100.00
อัตราการเปลี่ยนแปลง จํานวน (คน) รอยละ -113 67 -64 -166 -10 -62 -120 -45 -139 -102 -14 -11 -517 -51 -183 -34 2 -1,562
-22.65 5.09 -15.35 -27.26 -3.32 -24.31 -29.70 -20.55 -30.89 -25.00 -7.25 -52.38 -36.41 -26.70 -18.10 -12.06 4.00 -19.41
10
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดทีค่ นงานเดินทางไปทํางานตางประเทศมากที่สดุ 5 อันดับแรก ไดแก จังหวัดเชียงราย 1,384 คน รอยละ 21.34 จังหวัดลําปาง 903 คน รอยละ 13.92 จังหวัดสุโขทัย 828 คน รอยละ 12.77 จังหวัดตาก 443 คน รอยละ 6.83 และจังหวัดกําแพงเพชร 386 คน รอยละ 5.95
แรงงานตางดาว แผนภูมิที่ 5 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 จํานวน (คน)
ชีพ
ด ตลอ
ป
ทั่วไ
ูจน
พิส
าติ
ช สัญ
OI
U
O มM
า ตา
ข นาํ เ
ก สริม
ารล
สงเ
B งทุน
ชน
ย
ประเภท
นอ
กลุม
ขอมูลของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือครึง่ ปแรก 2557 แรงงานตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางานในภาคเหนือคงเหลือ จํานวน 197,890 คน จําแนกเปนคนตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมาย จํานวน 186,010 คน รอยละ 94.0 ของแรงงานที่ไดรับอนุญาตทํางาน และคนตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมาย จํานวน 11,880 คน รอยละ 6.0 ของแรงงานที่ไดรับอนุญาตทํางาน เมื่อเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 ลดลงรอยละ 0.70 จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน คนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุด จํานวน 119,784 คน รอยละ 60.53 รองลงมาคือ คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU จํานวน 59,708 คน รอยละ 30.17 และคนตางดาวประเภทชนกลุม นอย จํานวน 11,880 คน รอยละ 6.0 เปรียบเทียบกับครึ่งปแรก 2556 ประเภทคนตางดาวที่ไดรับอนุญาตเกือบทุกประเภทลดลง ยกเวนคนตางดาวประเภทตลอดชีพ และคนตางดาวประเภท นําเขาตาม MOU เพิ่มขึ้น ตารางที่ 14 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามรายจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบครึ่งปแรก 2556 และครึ่งปแรก 2557 คนตางดาวถูกกฎหมาย (คน)
คนตางดาวผิดกฎหมาย (คน)
รวมคนตางดาวทั้งสิ้น (คน)
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
ครึ่งปแรก 2556
ครึ่งปแรก 2557
เพิ่ม/ลด รอยละ
เชียงใหม ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ
71,041 6,182 2,038 367 633 407 992 11,216 78 4,297 367 3,733 53,205 623 1,537 1,405 2,652
81,393 7,107 2,258 548 837 281 841 14,225 998 4,666 446 3,889 63,222 822 2,651 628 1,198
26,607 1,073 1,177 43 66 39 98 6,923 887 44 11 39 649 33 37 24 769
6,837 1,015 107 7 7 8 42 2,366 971 9 5 8 442 28 27 1 0
97,648 7,255 3,215 410 699 446 1,090 18,139 965 4,341 378 3,772 53,854 656 1,574 1,429 3,421
88,230 8,122 2,365 555 844 289 883 16,591 1,969 4,675 451 3,897 63,664 850 2,678 629 1,198
-9.64 11.95 -26.44 35.37 20.74 -35.20 -18.99 -8.53 104.04 7.69 19.31 3.31 18.22 29.57 70.14 -55.98 -64.98
รวม
160,773
186,010
38,519
11,880
199,292
197,890
-0.70
จังหวัด
ที่มา : สํานักบริหารแรงงานตางดาว
11
ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง
จําแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเปนรายจังหวัดแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหมจํานวน 88,230 คน รอยละ 44.59 รองลงมาคือ จังหวัดตากจํานวน 63,664 คน รอยละ 32.17 จังหวัดเชียงรายจํานวน 16,591 คน รอยละ 8.38 จังหวัดลําพูนจํานวน 8,122 คน รอยละ 4.10 และจังหวัดนครสวรรคจํานวน 4,675 คน รอยละ 2.36 ตามลําดับ
ผูประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงาน ตารางที่ 15 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานครึ่งปแรก 2557 (ม.ค. - มิ.ย.) ป 2557
2556
สาเหตุ เลิกจาง ลาออก รวม เลิกจาง ลาออก
ม.ค. 1,019 5,526 6,545 * *
ก.พ. 505 5,908 6,413 * *
มี.ค. 388 5,764 6,152 * *
เม.ย. 502 6,371 6,873 * *
พ.ค. 622 6,546 7,168 * *
มิ.ย. 489 7,732 8,221 * *
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
จํานวน (คน) 3,525 37,847 41,372
รวม
หมายเหตุ ไมมีขอมูลการเลิกจาง และลาออกชวงครึ่งปแรก 2556 เนื่องจากระบบไมสามารถใชงานได ที่มา : กองพัฒนาและระบบบริการจัดหางาน แผนภูมิที่ 6 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานครึ่งปแรก 2557 (ม.ค. - มิ.ย.) 489 622 502 388 505 1,019
แผนภูมิที่ 7 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานและการบรรจุงานครึ่งปแรก 2557 (ม.ค. - มิ.ย.)
สถิติผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานครึ่งปแรก 2557 มีจํานวน 41,372 คน จําแนกสาเหตุจากการเลิกจาง จํานวน 3,525 คน รอยละ 8.52 และจากการลาออกจากงาน จํานวน 37,847 คน รอยละ 91.48 ทั้งนี้ผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนสาเหตุถูกเลิกจาง และออกจากงานไดรับการบรรจุงาน จํานวน 19,505 คน รอยละ 47.15