ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ค�ำน�ำ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558 (เดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน) จัดท�าขึ้น เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากรและก�าลังแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจการเงิน การไปท�างานต่างประเทศ การท�างานของ คนต่างด้าว และผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานของ 17 จังหวัดภาคเหนือ เอกสารฉบับนี้ส�าเร็จได้ ด้วยการสนับสนุนข้อมูลจากส�านักงานสถิติแห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ ส�านักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้หาก ท่ า นมี ข ้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการจั ด ท� า ครั้ ง ต่ อ ไปขอได้ โ ปรดติ ด ต่ อ โดยตรงที่ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ศูนย์ราชการชั้น 3 ถนนวชิราวุธด�าเนิน ต�าบลพระบาท อ�าเภอเมืองล�าปาง จังหวัดล�าปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง สิงหาคม 2558
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
สำรบัญ
หน้า
ค�ำน�ำ สำรบัญ บทสรุปผู้บริหำร
ก – ข
ประชำกรและก�ำลังแรงงำน • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน • ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ • ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน
1 2 3 3 4 4 5
ภำวะตลำดแรงงำนภำคเหนือครึ่งปีแรก 2558 • ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน
5 6
ภำวะกำรลงทุนภำคเหนือ • จ�าแนกตามรายจังหวัด • จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
6 7 7
ภำวะเศรษฐกิจและกำรเงินภำคเหนือ
8
กำรไปท�ำงำนต่ำงประเทศภำคเหนือ • จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง • จ�าแนกตามรายประเทศ • จ�าแนกตามรายจังหวัด
9 9 10 10
กำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำวภำคเหนือ • จ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างาน • จ�าแนกตามรายจังหวัด
10 11 11
ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่ำงงำนภำคเหนือ
12
งำนวิจัย : กำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อกำรศึกษำต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำ ปีที่ 3 และระดับมัธยมศึกษำปีที่ 6
13
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
สำรบัญตำรำง
หน้า ตำรำงที่ 1 จ�านวนและร้อยละของประชากร จ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน 1 ตำรำงที่ 2 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอาชีพ 2 ตำรำงที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 2 ตำรำงที่ 4 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ 3 ตำรำงที่ 5 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน 3 ตำรำงที่ 6 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ 4 ตำรำงที่ 7 จ�านวนผู้ว่างงาน และอัตราการว่างงาน จ�าแนกตามรายจังหวัด 4 ตำรำงที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 5 เปรียบเทียบครึ่งปีแรก 2557 กับครึ่งปีแรก 2558 ตำรำงที่ 9 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 6 จ�าแนกตามรายจังหวัด ตำรำงที่ 10 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 7 จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ตำรำงที่ 11 จ�านวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทาง 10 ไปท�างานต่างประเทศ ตำรำงที่ 12 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างานเปรียบเทียบ 11 ณ มิถุนายน 2557 และ ณ มิถุนายน 2558 ตำรำงที่ 13 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนครึ่งปีแรก 2558 12
สำรบัญแผนภูมิ
หน้า แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558 1 แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 5 แผนภูมิที่ 3 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง 9 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก 9 แผนภูมิที่ 5 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ มิถุนายน 2557 10 และ ณ มิถุนายน 2558 แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนครึ่งปีแรก 2558 12 แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงานครึ่งปีแรก 2558 13
ก
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
บทสรุปผู้บริหำร สถำนกำรณ์ตลำดแรงงำนภำคเหนือครึ่งปีแรก 2558 สรุปได้ดังนี้ ประชำกรและก�ำลังแรงงำน
ประชากรภาคเหนือครึง่ ปีแรก 2558 ประมาณ 11.48 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไปประมาณ 9.48 ล้านคน ร้อยละ 82.54 จ�าแนกเป็นผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงานประมาณ 6.44 ล้านคน ร้อยละ 56.10 ประกอบด้วยผูม้ งี านท�าประมาณ 6.32 ล้านคน ร้อยละ 55.07 ผูว้ า่ งงานประมาณ 48,355 คน ร้อยละ 0.42 และ ผูท้ รี่ อฤดูกาลประมาณ 70,852 คน ร้อยละ 0.62 เมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ ปีแรก 2557 พบว่าประชากรลดลงร้อยละ 0.35 ผูม้ งี านท�าลดลงร้อยละ 2.11 เป็นผูม้ งี านท�า จ�าแนกประเภทอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุดร้อยละ 38.08 จ�าแนกตามประเภท อุตสาหกรรมโดยเป็นผู้ท�างานภาคเกษตรกรรมร้อยละ 43.64 และภาคนอกเกษตรกรรมร้อยละ 56.36 จ�าแนกตามระดับ การศึกษาที่ส�าเร็จส่วนใหญ่ส�าเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มีการศึกษาสูงถึงร้อยละ 56.67 จ�าแนกตาม สถานภาพการท�างานคือส่วนใหญ่ทา� งานในฐานะลูกจ้างร้อยละ 39.04 แยกเป็นลูกจ้างเอกชนร้อยละ 29.47 และลูกจ้างรัฐบาล ร้อยละ 9.57 และจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์เป็นผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 54.50 และผูม้ งี านท�าตัง้ แต่ 50 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์รอ้ ยละ 26.37 (ผูม้ งี านท�า 35 - 50 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 80.87 โดยบุคคลเหล่านี้ เป็นผู้ที่ท�างานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน) ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน ผู้ว่างงานประมาณ 48,355 คน อัตราการว่างงานร้อยละ 0.75 จังหวัดน่าน มีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 1.76 ส�าหรับจังหวัดอุทัยธานีมีอัตราการว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.12
ภำวะตลำดแรงงำนภำคเหนือ
การบริการจัดหางานในประเทศของส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558 สรุปได้ดังนี้ ควำมต้องกำรแรงงำน สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�านวน 33,349 อัตรา เพิ่มขึ้นจาก ครึ่งปีแรก 2557 ร้อยละ 17.63 จังหวัดล�าพูนมีความต้องการแรงงานมากที่สุดร้อยละ 13.23 ส�าหรับจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุดร้อยละ 1.57 ผู้สมัครงำน ลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 38,631 คน เพิ่มขึ้นจากครึ่งปีแรก 2557 ร้อยละ 1.74 จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้สมัครงานมากที่สุดร้อยละ 19.25 และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงานน้อยที่สุดร้อยละ 1.65 กำรบรรจุงำน ผูส้ มัครงานทีไ่ ด้รบั การบรรจุงาน จ�านวน 32,444 คน เพิม่ ขึน้ จากครึง่ ปีแรก 2557 ร้อยละ 25.10 จังหวัดล�าพูนมีผไู้ ด้รบั การบรรจุงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 12.87 และจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนมีผบู้ รรจุงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 1.39
ภำวะกำรลงทุนภำคเหนือ
โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมครึ่งปีแรก 2558 จ�านวน 287 แห่ง เงินลงทุน 11,228.56 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 4,023 คน จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 21.60 รองลงมา คือ จังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 11.15 และจังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 9.06
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ข
จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน เป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้ รับอนุญาตประกอบกิจการมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.51 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทัว่ ไปร้อยละ 16.72 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรม ร้อยละ 15.33
ภำวะเศรษฐกิจและกำรเงินภำคเหนือ
ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือ เดือนมิถนุ ายน 2558 ยังชะลอลงต่อเนือ่ งจากเดือนก่อนแม้ภาคท่องเทีย่ ว การใช้จา่ ย ลงทุนของภาครัฐ และการส่งออกผ่านด่านชายแดนยังเป็นแรงส่งที่ส�าคัญต่อเศรษฐกิจภาคเหนือ แต่อุปสงค์ทั้งการบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนซบเซาต่อเนือ่ ง ผลกระทบจากภัยแล้งท�าให้ผลผลิตข้าวนาปรังลดลง นอกจากนีก้ ารผลิตอุตสาหกรรม ลดลงจากเครือ่ งดืม่ ทีเ่ ร่งผลิตในช่วงก่อนหน้ารวมทัง้ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ทมี่ แี นวโน้มลดลงตามการส่งออก ส�าหรับเสถียรภาพ เศรษฐกิจในภาคเหนือโดยรวมยังอยูใ่ นเกณฑ์ดโี ดยอัตราเงินเฟ้อปรับตัวขึน้ เล็กน้อยจากเดือนก่อน ตามราคาน�า้ มันและอาหารสด ด้านอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับต�า่ โดยการจ้างงานภาคเกษตรลดลง แต่ชดเชยจากการจ้างงานภาคค้าปลีกค้าส่งและ การก่อสร้าง ส่วนเงินฝากและเงินให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์เดือนพฤษภาคมปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อน
กำรไปท�ำงำนต่ำงประเทศภำคเหนือ
คนงานไทยทีไ่ ด้รบั อนุญาตไปท�างานต่างประเทศครึง่ ปีแรก 2558 จ�านวน 6,355 คน ลดลงจากครึง่ ปีแรก 2557 ร้อยละ 2.00 โดยเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่งสูงสุด ร้อยละ 63.26 ส�าหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศที่มีแรงงานเดินทาง ไปมากถึงร้อยละ 52.97 และจังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุดร้อยละ 20.11
กำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำวภำคเหนือ
คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานคงเหลือ ณ เดือนมิถุนายน 2558 จ�านวน 170,863 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนมิถุนายน 2557 ลดลงร้อยละ 13.66 คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุดร้อยละ 71.95 ส�าหรับ จังหวัดเชียงใหม่มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�างานสูงสุดร้อยละ 54.98
ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีว่ำงงำนภำคเหนือ
สาเหตุที่ผู้ประกันตนออกจากงานครึ่งปีแรก 2558 จ�านวน 42,130 คน จ�าแนกเป็นผู้ถูกเลิกจ้าง จ�านวน 2,963 คน ร้อยละ 7.03 และจากการลาออกจากงาน จ�านวน 39,167 คน ร้อยละ 92.97 ทั้งนี้ผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน ทั้งหมด 42,284 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 25,438 คน คิดเป็นอัตราการบรรจุร้อยละ 60.16 ของจ�านวนผู้ประกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนฯ
1
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ประชำกรและก�ำลังแรงงำน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558
ตารางที่ 1 จ�านวนและร้อยละของประชากร จ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน สถำนภำพแรงงำน
ครึ่งปีแรก 2557
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป 1. ผู้อยู่ในก�าลังแรงงาน
9,466,621 6,565,798
82.15 56.97
9,478,413 6,442,912
82.54 56.10
11,792 -122,886
0.12 -1.87
1.1 ก�าลังแรงงานปัจจุบัน 1.1.1 ผู้มีงานท�า 1.1.2 ผู้ว่างงาน 1.2 ผู้ที่รอฤดูกาล 2. ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน
6,510,215 6,460,210 50,005 55,583 2,900,823
56.49 56.06 0.43 0.48 25.17
6,372,060 6,323,705 48,355 70,852 5,041,034
55.49 55.07 0.42 0.62 43.90
-138,155 -136,505 -1,650 15,269 2,140,211
-2.12 -2.11 -3.30 27.47 73.78
2.1 ท�างานบ้าน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่น ๆ ผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี
816,410 747,300 1,337,113 2,057,380
7.08 6.48 11.60 17.85
897,229 732,161 1,406,112 2,005,532
7.81 6.38 12.24 17.46
80,819 -15,139 68,999 -51,848
9.90 -2.03 5.16 -2.52
ประชากรรวม อัตราการว่างงาน
11,524,001
100.00 0.76
11,483,946
100.00 0.75
-40,055
-0.35
ประชากรครึ่งปีแรก 2558 (มกราคม - มิถุนายน) ประมาณ 11.48 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก�าลังแรงงานประมาณ 6.44 ล้านคน ร้อยละ 56.10 ของจ�านวนประชากรรวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงานรวมถึงผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี ประมาณ 5.04 ล้านคน ร้อยละ 43.90 ของประชากรรวมทั้งหมด ผู้อยู่ในก�าลังแรงงาน จ�านวน 6,442,912 คน ประกอบด้วยผู้มีงานท�าร้อยละ 55.07 ผู้ว่างงานร้อยละ 0.42 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.62 ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�านวน 5,041,034 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�างานบ้าน ร้อยละ 7.81 นักเรียน นิสิต นักศึกษาร้อยละ 6.38 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�างานได้ ร้อยละ 12.24 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 พบว่าประชากรลดลงร้อยละ 0.35 ผู้มีงานท�าลดลงร้อยละ 2.11 และผู้ว่างงานลดลงร้อยละ 3.30 อัตราการว่างงานลดลงจาก ร้อยละ 0.76 เป็นร้อยละ 0.75
2
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ตารางที่ 2 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอำชีพ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ คนงานซึ่งมิได้จ�าแนกไว้ในหมวดอื่น รวม
ครึ่งปีแรก 2557 ครึ่งปีแรก 2558 อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 154,740 2.40 149,519 2.36 -5,221 -3.37 260,281 4.03 279,241 4.42 18,960 7.28 170,583 2.64 174,645 2.76 4,062 2.38 167,678 2.60 168,335 2.66 657 0.39 1,086,930 16.82 1,137,386 17.99 50,456 4.64 2,634,536 40.78 2,408,361 38.08 -226,175 -8.59 837,071 12.96 846,054 13.38 8,983 1.07 354,935 5.49 346,554 5.48 -8,381 -2.36 793,455 12.28 813,521 12.86 20,066 2.53 0 0.00 90 0.00 90 100.00 6,460,210 100.00 6,323,705 100.00 -136,505 -2.11
ผู้มีงำนท�ำจ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ
ผู้มีงานท�าประมาณ 6.32 ล้านคน ท�างานในอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุด ร้อยละ 38.08 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานในร้านค้าและตลาด ร้อยละ 17.99 และผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้า ที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 13.38 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 โดยรวมลดลงร้อยละ 2.11 ตารางที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสำหกรรม
ครึ่งปีแรก 2557 ครึ่งปีแรก 2558 อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ
1. ภาคเกษตรกรรม
2,992,512
46.32
2,759,618
43.64
-232,894
-7.78
- เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง
2,992,512
46.32
2,759,618
43.64
-232,894
-7.78
2. นอกภาคเกษตรกรรม
3,467,699
53.68
3,564,087
56.36
96,388
2.78
- การท�าเหมืองแร่ และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน�้า และระบบปรับอากาศ - การจัดหาน�้า การจัดการ การบ�าบัดน�้าเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การก่อสร้าง - การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ - การขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า - กิจกรรมโรงแรม และการบริการด้านอาหาร - ข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ - กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินค้า และบริการ ที่ท�าขึ้นเองเพื่อใช้ในครัวเรือน - กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศ - ไม่ทราบ
19,027 657,556 17,950 9,350 507,494 919,792 84,027 335,260 13,343 62,903 13,256 27,733 41,755 270,246 191,091 118,835 47,498 101,915 27,675
0.29 10.18 0.28 0.14 7.86 14.24 1.30 5.19 0.21 0.97 0.21 0.43 0.65 4.18 2.96 1.84 0.74 1.58 0.43
21,047 647,633 18,962 14,332 515,412 969,541 98,010 340,711 11,853 69,896 12,454 25,587 51,955 274,342 197,433 114,743 44,224 102,135 33,218
0.33 10.24 0.30 0.23 8.15 15.33 1.55 5.39 0.19 1.11 0.20 0.40 0.82 4.34 3.12 1.81 0.70 1.62 0.53
2,020 -9,923 1,012 4,982 7,918 49,749 13,983 5,451 -1,490 6,993 -802 -2,146 10,200 4,096 6,342 -4,092 -3,274 220 5,543
10.62 -1.51 5.64 53.28 1.56 5.41 16.64 1.63 -11.17 11.12 -6.05 -7.74 24.43 1.52 3.32 -3.44 -6.89 0.22 20.03
994 0
0.02 0.00
601 0
0.01 0.00
-393 0
-39.54 0.00
รวม
6,460,210
-136,505
-2.11
100.00 6,323,705 100.00
3
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ผู้มีงำนท�ำจ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม
ผู้ท�างานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.76 ล้านคน ร้อยละ 43.64 ได้แก่อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง ส�าหรับ ผู้ท�างานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.56 ล้านคน ร้อยละ 56.36 จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุด ร้อยละ 15.33 รองลงมาคือ การผลิต ร้อยละ 10.24 และการก่อสร้าง ร้อยละ 8.15 นอกนั้น กระจายอยู่ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ ระดับกำรศึกษำที่ส�ำเร็จ ไม่มีการศึกษา ต�่ากว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษำตอนปลำย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษำ - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไม่ทราบ รวม
ครึ่งปีแรก 2557
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
452,179 2,029,585 1,325,471 911,729 822,471 656,905 164,545 1,021 903,048 505,508 268,708 128,832 13,404 2,322
7.00 31.42 20.52 14.11 12.73 10.17 2.55 0.02 13.98 7.82 4.16 1.99 0.21 0.04
447,881 1,905,759 1,230,123 882,286 878,873 707,346 169,943 1,584 964,040 593,661 252,930 117,449 11,751 2,991
7.08 30.14 19.45 13.95 13.90 11.19 2.69 0.03 15.24 9.39 4.00 1.86 0.19 0.05
-4,298 -123,826 -95,348 -29,443 56,402 50,441 5,398 563 60,992 88,153 -15,778 -11,383 -1,653 669
-0.95 -6.10 -7.19 -3.23 6.86 7.68 3.28 55.14 6.75 17.44 -5.87 -8.84 -12.33 28.81
6,460,210
100.00
6,323,705
100.00
-136,505
-2.11
หมำยเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่ส�าเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มงี านท�าไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล
ผู้มีงำนท�ำจ�ำแนกตำมระดับกำรศึกษำที่ส�ำเร็จ
ผูม้ งี านท�าส่วนใหญ่สา� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มกี ารศึกษาสูงถึง ร้อยละ 56.67 ระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 15.24 และระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 13.95 ตารางที่ 5 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน สถำนภำพกำรท�ำงำน นายจ้าง ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน ท�างานส่วนตัว ช่วยธุรกิจครัวเรือน การรวมกลุ่ม* รวม
ครึ่งปีแรก 2557
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
147,904 611,257 1,833,457 2,322,669 1,543,046 1,877
2.29 9.46 28.38 35.95 23.89 0.03
135,234 605,346 1,863,409 2,328,943 1,389,103 1,671
2.14 9.57 29.47 36.83 21.97 0.03
-12,670 -5,911 29,952 6,274 -153,943 -206
-8.57 -0.97 1.63 0.27 -9.98 -10.97
6,460,210
100.00
6,323,705
100.00
-136,505
-2.11
หมำยเหตุ การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�างานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความเท่าเทียมกัน ในการก�าหนดการท�างานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�าตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)
4
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ผู้มีงำนท�ำจ�ำแนกตำมสถำนภำพกำรท�ำงำน
ผู้มีงานท�าส่วนใหญ่ท�างานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 39.04 ในจ�านวนนี้เป็นลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 29.47 และลูกจ้างรัฐบาล ร้อยละ 9.57 รองลงมาคือ ท�างานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ร้อยละ 36.83 ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ร้อยละ 21.97 นายจ้าง ร้อยละ 2.14 ส�าหรับการรวมกลุ่มมีเพียง ร้อยละ 0.03 ของผู้มีงานท�าทั้งหมด ตารางที่ 6 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�า จ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์ ครึ่งปีแรก 2557
ชั่วโมงกำรท�ำงำน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
72,043 35,381 190,823 515,992 430,553 766,098 2,679,304 1,770,017 6,460,210
1.12 0.55 2.95 7.99 6.66 11.86 41.47 27.40 100.00
122,064 31,804 168,806 518,808 368,232 737,520 2,708,936 1,667,536 6,323,705
1.93 0.50 2.67 8.20 5.82 11.66 42.84 26.37 100.00
50,021 -3,577 -22,017 2,816 -62,321 -28,578 29,632 -102,481 -136,505
69.43 -10.11 -11.54 0.55 -14.47 -3.73 1.11 -5.79 -2.11
ผู้มีงำนท�ำจ�ำแนกตำมชั่วโมงกำรท�ำงำนต่อสัปดำห์
ผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 54.50 และผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ร้อยละ 26.37 หรือกล่าว ได้ว่าผู้มีงานท�าร้อยละ 80.87 ท�างานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ท�างานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน ขณะที่ผู้ท�างานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�างานไม่เต็มที่ร้อยละ 17.19 ของผู้มีงานท�าทั้งสิ้น ส�าหรับผู้มีงานท�าประจ�าแต่ ไม่ได้ท�างานในสัปดาห์แห่งการส�ารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงร้อยละ 1.93 ตารางที่ 7 จ�านวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน จ�าแนกตามรายจังหวัด รำยจังหวัด เชียงใหม่ ล�าพูน ล�าปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี ก�าแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ รวม
ครึ่งปีแรก 2557
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
ผู้ว่ำงงำน (คน)
อัตรำกำรว่ำงงำน
ผู้ว่ำงงำน (คน)
อัตรำกำรว่ำงงำน
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
14,394 2,260 3,269 2,030 1,138 2,132 681 1,798 2,200 5,457 299 4,360 1,159 2,836 3,278 1,880 834 50,005
1.44 0.83 0.76 0.91 0.46 0.82 0.29 0.27 1.96 0.98 0.19 0.98 0.44 0.77 0.66 0.62 0.16 0.76
12,238 2,696 2,103 2,358 1,860 4,362 1,243 3,086 513 2,020 190 4,263 611 2,553 4,612 2,655 991 48,355
1.21 1.02 0.52 1.06 0.75 1.76 0.56 0.46 0.46 0.37 0.12 0.98 0.23 0.71 0.94 0.93 0.20 0.75
-2,156 436 -1,166 328 722 2,230 562 1,288 -1,687 -3,437 -109 -97 -548 -283 1,334 775 157 -1,650
-14.98 19.29 -35.67 16.16 63.44 104.60 82.53 71.64 -76.68 -62.98 -36.45 -2.22 -47.28 -9.98 40.70 41.22 18.82 -3.30
ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ หมำยเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจ�านวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�านวนซึ่งได้จาก การประมวลผลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป
5
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ภำวะกำรว่ำงงำนและอัตรำกำรว่ำงงำน
จ�านวนผู้ว่างงานประมาณ 48,355 คน ลดลงจากครึ่งปีแรก 2557 ร้อยละ 3.30 และอัตราการว่างงานลดลงจากร้อยละ 0.76 เป็นร้อยละ 0.75 จังหวัดที่มีอัตราการว่างงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดน่านมีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 1.76 รองลงมาคือ จังหวัด เชียงใหม่ ร้อยละ 1.21 จังหวัดอุตรดิตถ์ร้อยละ 1.06 จังหวัดล�าพูนร้อยละ 1.02 และจังหวัดก�าแพงเพชรร้อยละ 0.98 ส�าหรับจังหวัดอุทัยธานี มีอัตราการว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.12
ภำวะตลำดแรงงำนภำคเหนือ แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน การบรรจุงาน
ควำมต้องกำรแรงงำน
ผู้สมัครงำน
กำรบรรจุงำน
สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558 ได้แก่ จังหวัดก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 33,349 อัตรา ผูส้ มัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 38,631 คน และสามารถ บรรจุงานได้ จ�านวน 32,444 คน ตารางที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบครึ่งปีแรก 2557 กับครึ่งปีแรก 2558 ควำมต้องกำรแรงงำน (อัตรำ) ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 ก�าแพงเพชร 1,212 1,523 เชียงราย 1,665 1,115 เชียงใหม่ 3,937 4,044 ตาก 412 2,072 นครสวรรค์ 2,570 3,251 น่าน 1,857 1,346 พะเยา 553 1,475 พิจติ ร 1,672 1,405 พิษณุโลก 1,739 2,639 เพชรบูรณ์ 1,664 1,504 แพร่ 2360 2,011 แม่ฮอ่ งสอน 321 524 ล�าปาง 2,184 1,714 ล�าพูน 2,518 4,412 สุโขทัย 1,472 1,676 อุตรดิตถ์ 683 1,517 อุทยั ธานี 1,531 1,121 รวม 28,350 33,349 จังหวัด
กำรเปลี่ยนแปลง ผู้สมัครงำน (คน) จ�ำนวน ร้อยละ ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 311 25.66 2,051 2,176 -550 -33.03 4,133 3,051 107 2.72 7,238 7,437 1,660 402.91 1,394 1,741 681 26.50 2,742 3,051 -511 -27.52 1,147 1,342 922 166.73 1,572 1,676 -267 -15.97 1,554 1,601 900 51.75 3,335 3,759 -160 -9.62 2,065 1,916 -349 -14.79 1,275 1,291 203 63.24 366 636 -470 -21.52 2,361 2,223 1,894 75.22 2,408 2,569 204 13.86 1,589 1,384 834 122.11 1,203 1,149 -410 -26.78 1,538 1,629 4,999 17.63 37,971 38,631
ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน
กำรเปลี่ยนแปลง กำรบรรจุงำน (คน) จ�ำนวน ร้อยละ ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 125 6.09 996 1,445 -1,082 -26.18 1,721 1,125 199 2.75 3,815 3,877 347 24.89 356 1,129 309 11.27 2,343 3,150 195 17.00 1,498 1,192 104 6.62 425 1,312 47 3.02 874 1,118 424 12.71 2,345 4,107 -149 -7.22 1,600 1,523 16 1.25 2,032 1,700 270 73.77 288 450 -138 -5.84 1,772 1,470 161 6.69 2,570 4,175 -205 -12.90 1,438 1,509 -54 -4.49 837 1,884 91 5.92 1,025 1,278 660 1.74 25,935 32,444
กำรเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน ร้อยละ 449 45.08 -596 -34.63 62 1.63 773 217.13 807 34.44 -306 -20.43 887 208.71 244 27.92 1,762 75.14 -77 -4.81 -332 -16.34 162 56.25 -302 -17.04 1,605 62.45 71 4.94 1,047 125.09 253 24.68 6,509 25.10
6
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ควำมต้องกำรแรงงำน (ต�ำแหน่งงำนว่ำง) สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�านวน 33,349 อัตรา โดยจังหวัดทีม่ คี วามต้องการแรงงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 4,412 อัตรา ร้อยละ 13.23 จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 4,044 อัตรา ร้อยละ 12.13 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 3,251 อัตรา ร้อยละ 9.75 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 2,639 อัตรา ร้อยละ 7.91 และจังหวัดตาก จ�านวน 2,072 อัตรา ร้อยละ 6.21 จังหวัดที่มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�านวน 524 อัตรา ร้อยละ 1.57 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 ความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.63 ผู้สมัครงำน ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 38,631 คน จังหวัดที่มีผู้สมัครงาน 5 อันดับแรกได้แก่จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 7,437 คน ร้อยละ 19.25 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 3,759 คน ร้อยละ 9.73 จังหวัดเชียงราย และจังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 3,051 คน เท่ากัน ร้อยละ 7.90 จังหวัดล�าพูน จ�านวน 2,569 คน ร้อยละ 6.65 และจังหวัดล�าปาง จ�านวน 2,223 คน ร้อยละ 5.75 จังหวัดทีม่ ผี สู้ มัครงาน น้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�านวน 636 คน ร้อยละ 1.65 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 ผู้สมัครงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.74 กำรบรรจุงำน ผู้สมัครงานได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 32,444 คน จังหวัดที่ได้รับการบรรจุงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 4,175 คน ร้อยละ 12.87 จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 4,107 คน ร้อยละ 12.66 จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 3,877 คน ร้อยละ 11.95 จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 3,150 คน ร้อยละ 9.71 และจังหวัดอุตรดิตถ์ จ�านวน 1,884 คน ร้อยละ 5.81 จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงาน ที่ได้รับการบรรจุงานน้อยที่สุด จ�านวน 450 คน ร้อยละ 1.39 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 การบรรจุงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.10
ภำวะกำรลงทุนภำคเหนือ ตารางที่ 9 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามรายจังหวัด จังหวัด
จ�ำนวนโรงงำน (แห่ง)
เงินลงทุน (ล้ำนบำท) กำรจ้ำงงำน (คน) เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 ร้อยละ ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 ร้อยละ ครึง่ ปีแรก 2557 ครึง่ ปีแรก 2558 ร้อยละ
ก�าแพงเพชร
23
22
-4.35
2,194.79
924.02
-57.90
244
190
-22.13
เชียงราย
18
14
-22.22
325.27
362.90
11.57
216
155
-28.24
เชียงใหม่
32
32
0.00
1,196.39
794.36
-33.60
681
255
-62.56
ตาก
23
19
-17.39
227.87
523.37
129.68
815
915
12.27
นครสวรรค์
23
26
13.04
701.97
696.24
-0.82
198
294
48.48
น่าน
5
3
-40.00
22.60
8.42
-62.74
31
22
-29.03
พะเยา
6
4
-33.33
93.73
152.50
62.70
49
73
48.98
พิจิตร
16
11
-31.25
106.89
94.60
-11.50
94
73
-22.34
พิษณุโลก
13
15
15.38
836.47
182.92
-78.13
245
193
-21.22
เพชรบูรณ์
10
9
-10.00
77.55
5,873.33
7,473.60
45
497
1,004.44
แพร่
58
62
6.90
510.80
109.93
-78.48
529
415
-21.55
แม่ฮ่องสอน
3
4
33.33
7.17
106.06
1,379.22
24
21
-12.50
ล�าปาง
19
17
-10.53
272.91
114.23
-58.14
189
113
-40.21
ล�าพูน
7
15
114.29
139.91
884.30
532.05
206
537
160.68
สุโขทัย
11
20
81.82
668.46
266.73
-60.10
75
170
126.67
อุตรดิตถ์
10
13
30.00
102.97
127.55
23.87
74
90
21.62
อุทัยธานี
3
1
-66.67
1,467.89
7.10
-99.52
90
10
-88.89
280
287
2.50
8,953.64
11,228.56
25.41
3,805
4,023
5.73
รวม
7
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
การลงทุนในภาคเหนือครึ่งปีแรก 2558 มีโรงงานที่ขออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 287 แห่ง เงินลงทุน 11,228.56 ล้านบาท และ การจ้างงาน 4,023 คน เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีแรก 2557 พบว่าโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.50 เงินลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.41 และการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.73 จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดแพร่มโี รงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ ร้อยละ 21.60 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 11.15 และจังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 9.06 เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดเพชรบูรณ์มีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดร้อยละ 52.31 รองลงมาคือ จังหวัดก�าแพงเพชรร้อยละ 8.23 และจังหวัดล�าพูน ร้อยละ 7.88 ส�าหรับการจ้างงานจังหวัดตากมีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 22.74 รองลงมาคือ จังหวัดล�าพูนร้อยละ 13.35 และจังหวัดเพชรบูรณ์ร้อยละ 12.35 ตารางที่ 10 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�ำนวนโรงงำน (แห่ง)
ประเภทอุตสำหกรรม เกษตรกรรม อาหาร เครื่องดื่ม สิ่งทอ เครื่องแต่งกาย ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน เคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์อโลหะ ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ เครื่องจักรกล ไฟฟ้า ขนส่ง ทั่วไป รวม
เพิ่ม/ลด ครึ่งปีแรก ครึ่งปีแรก ร้อยละ 2557 2558
48 17 2 6 4 20 36 5 6 0 3 36 12 7 0 21 57
44 23 4 1 2 30 56 2 4 2 4 30 9 5 1 22 48
280
287
เงินลงทุน (ล้ำนบำท)
เพิ่ม/ลด ครึ่งปีแรก ครึ่งปีแรก ร้อยละ 2557 2558
-8.33 1,107.01 1,281.46 15.76 35.29 180.44 6,070.56 3264.31 100.00 8.00 189.09 2263.63 -83.33 87.34 6.48 -92.58 -50.00 11.40 75.42 561.58 50.00 44.04 63.45 44.07 55.56 31.77 117.83 270.88 -60.00 158.80 45.20 -71.54 -33.33 169.40 84.95 -49.85 100.00 0.00 491.15 100.00 33.33 47.50 15.66 -67.03 -16.67 356.16 339.47 -4.69 -25.00 129.27 130.25 0.76 -28.57 48.17 124.77 159.02 100.00 0.00 143.20 100.00 4.76 894.40 1,593.57 78.17 -15.79 5,679.94 456.05 -91.97 2.50
8,953.64 11,228.56
25.41
กำรจ้ำงงำน (คน)
เพิ่ม/ลด ครึ่งปีแรก ครึ่งปีแรก ร้อยละ 2557 2558
427 138 14 526 432 154 267 116 78 0 64 292 205 70 0 330 692
506 635 221 150 328 219 438 19 22 317 40 233 96 82 113 255 349
18.50 360.14 1478.57 -71.48 -24.07 42.21 64.04 -83.62 -71.79 100.00 -37.50 -20.21 -53.17 17.14 100.00 -22.73 -49.57
3,805
4,023
5.73
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์และเครือ่ งเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตประกอบ กิจการมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.51 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทัว่ ไปร้อยละ 16.72 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 15.33 ส�าหรับอุตสาหกรรม อาหารมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดร้อยละ 54.06 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมขนส่งร้อยละ 14.19 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 11.41 และเมือ่ พิจารณาตามการจ้างงานอุตสาหกรรมอาหารมีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 15.78 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 12.58 และอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนร้อยละ 10.89
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
8
ภำวะเศรษฐกิจและกำรเงินภำคเหนือ ภำวะเศรษฐกิจกำรเงินภำคเหนือ เดือนมิถุนำยน 2558 ยังชะลอลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนแม้ภาคท่องเที่ยว การใช้จ่ายลงทุนของ ภาครัฐ และการส่งออกผ่านด่านชายแดนยังเป็นแรงส่งทีส่ า� คัญต่อเศรษฐกิจภาคเหนือ แต่อปุ สงค์ทงั้ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนซบเซา ต่อเนื่อง ผลกระทบจากภัยแล้งท�าให้ผลผลิตข้าวนาปรังลดลง นอกจากนี้การผลิตอุตสาหกรรมลดลงจากเครื่องดื่มที่เร่งผลิตในช่วงก่อนหน้า รวมทัง้ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ทมี่ แี นวโน้มลดลงตามการส่งออก ส�าหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจในภาคเหนือโดยรวมยังอยูใ่ นเกณฑ์ดโี ดยอัตราเงินเฟ้อ ปรับตัวขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนตามราคาน�้ามันและอาหารสด ด้านอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับต�่า โดยการจ้างงานภาคเกษตรลดลง แต่ชดเชยจากการจ้างงานภาคค้าปลีกค้าส่งและการก่อสร้าง ส่วนเงินฝากและเงินให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์เดือนพฤษภาคมปรับเพิ่มขึ้น เล็กน้อยจากเดือนก่อน รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือมีดังนี้ ปัจจัยบวกที่เป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือส่วนส�าคัญมาจากภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่อง ดัชนีชี้วัดการท่องเที่ยว ขยายตัวดีทงั้ จ�านวนผูโ้ ดยสารผ่านท่าอากาศยาน อัตราการเข้าพัก ราคาห้องพักเฉลีย่ และการจัดเก็บภาษีมลู ค่าเพิม่ ประเภทโรงแรมและภัตตาคาร นอกจากนีย้ อดขายสินค้าจ�าเป็นยังขยายตัวจากการใช้จา่ ยของนักท่องเทีย่ วต่างชาติ โดยเฉพาะคนจีน รวมทัง้ คนไทยทีเ่ ดินทางมาประชุมสัมมนา และจัดกิจกรรมของหน่วยงานราชการและเอกชนตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ การใช้จ่ายภาครัฐในงบลงทุนขยายตัวต่อเนื่องเพิ่มขึ้นร้อยละ 35.5 จากการปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ชลประทาน และการก่อสร้างอาคารของสถานศึกษาและโรงพยาบาล ด้านมูลค่าการส่งออกลดลงเล็กน้อยในเดือนนี้ร้อยละ 0.2 ตามการส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์สอดคล้องกับการผลิตที่หดตัว ส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจประเทศคู่ค้ายังฟื้นตัวไม่เต็มที่และสูญเสียส่วนแบ่งตลาดให้คู่แข่งขัน อย่างไรก็ดีความต้องการสินค้า อุปโภคบริโภคผ่านด่านชายแดนยังขยายตัว แม้ชะลอลงบ้างจากที่เร่งส่งออกในเดือนก่อน ด้านมูลค่าการน�าเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 จากการ น�าเข้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส�าหรับการส่งออก ขณะที่อุปสงค์ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนยังซบเซาต่อเนื่อง โดยดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนลดลงร้อยละ 1.0 ตามการหดตัวของสินค้าหมวดรถยนต์และจักรยานยนต์ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับลดลงต่อเนื่อง และสถาบันการเงินยังระมัดระวังในการ พิจารณาสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ขณะที่หมวดสินค้าจ�าเป็นขยายตัว ส่วนหนึ่งได้อานิสงส์จากการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว และหมวดเชื้อเพลิงโดย เฉพาะน�้ามันยังเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ลดลงต่อเนื่องเป็นร้อยละ 8.6 ส่วนใหญ่จากภาคการก่อสร้างโดยเฉพาะอสังหาริมทรัพย์ เนือ่ งจากอุปสงค์ ภายในประเทศยังซบเซา สะท้อนจากเครื่องชี้ที่ลดลงทั้งพื้นที่รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาล การน�าเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ ปริมาณการ จดทะเบียนรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ และปริมาณการจ�าหน่ายวัสดุก่อสร้างโดยเฉพาะภาคเอกชน ทั้งนี้ มูลค่าเงินลงทุนที่ได้รับอนุมัติ การส่งเสริมจาก BOI ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนผลผลิตลดลงทั้งสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตร โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงมากที่ร้อยละ 16.8 จากทั้งการผลิต เพื่อการบริโภคในประเทศ ได้แก่ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งได้เร่งผลิตไปมากในช่วงก่อนหน้า และการสีข้าวลดลงตามวัตถุดิบที่ได้รับ ผลกระทบจากภัยแล้ง และการผลิตเพื่อส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เซรามิก และเฟอร์นิเจอร์ไม้ลดลง เนื่องจากสูญเสียส่วนแบ่งทาง การตลาดให้กับคู่แข่งขัน และบางส่วนไม่สามารถปรับปรุงสินค้าได้ทันกับความต้องการของตลาด อย่างไรก็ดีการแปรรูปผักสดและผลไม้แช่แข็ง ยังขยายตัวดี รายได้เกษตรกร ลดลงร้อยละ 17.0 จากทั้งปริมาณผลผลิตและราคา โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรลดลง ร้อยละ 16.7 ขณะที่ดัชนี ราคาสินค้าเกษตร ลดลงเล็กน้อยร้อยละ 0.4 เนื่องจากผลผลิตข้าวนาปรัง สับปะรดและลิ้นจี่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง เป็นสาเหตุให้ราคา พืชส�าคัญทั้ง 3 ชนิด ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ส่วนการผลิตปศุสัตว์ทั้งสุกร ไก่เนื้อ และไข่ไก่ แม้มีปริมาณเพิ่มขึ้นแต่ราคากลับลดลง เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อปรับตัวขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนตามราคาน�้ามันเชื้อเพลิงและ ราคาอาหารสดประเภท เนื้อสัตว์ ไข่ไก่ ผักสด ปลาและสัตว์น�้า ด้านอัตราการว่างงานปรับลดลงจากระยะเดียวกันปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 0.8 จากการลดลงของการจ้างงานในภาคเกษตรสอดคล้องกับ การผลิตในภาคเกษตรทีล่ ดลง ขณะทีก่ ารจ้างงานในภาคค้าปลีกค้าส่งและการก่อสร้าง เพิ่มขึ้น
9
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ภาคการเงิน เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 มียอดคงค้าง 612,726 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนยอดคงค้างลดลงจากการถอนเงินฝากที่ครบก�าหนดไปลงทุนในตราสารหนี้ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า ประกอบกับการ ถอนเงินฝากของส่วนราชการเพื่อน�าไปใช้ในโครงการต่างๆ ด้านเงินให้สินเชื่อมียอดคงค้าง 602,913 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 ตามสินเชื่อ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและสหกรณ์ออมทรัพย์ ขณะทีธ่ รุ กิจส่วนใหญ่ยงั ไม่ขอสินเชือ่ เพือ่ ลงทุนใหม่ ส่วนหนึง่ รอความชัดเจนของการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากใกล้เคียงกับเดือนก่อนอยู่ที่ร้อยละ 98.4 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ
กำรไปท�ำงำนต่ำงประเทศภำคเหนือ แผนภูมิที่ 3 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง นายจ้างพาลูกจ้างไปท�างาน 401 คน
นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน 289 คน
การเดินทางด้วยตนเอง 787 คน บริษัทจัดหางานจัดส่ง 4,020 คน
กรมการจัดหางานจัดส่ง 858 คน
คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้ไปท�างานต่างประเทศครึ่งปีแรก 2558 จ�านวน 6,355 คน ลดลงจากครึ่งปีแรก 2557 ร้อยละ 2.00 จ�ำแนกตำมวิธีกำรเดินทำง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 4,020 คน ร้อยละ 63.26 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 858 คน ร้อยละ 13.50 การเดินทางด้วยตนเอง จ�านวน 787 คน ร้อยละ 12.38 การเดินทางโดยนายจ้าง พาลูกจ้างไปท�างาน จ�านวน 401 คน ร้อยละ 6.31 และการเดินทางโดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�านวน 289 คน ร้อยละ 4.55 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก
10
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
จ�ำแนกตำมรำยประเทศ ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�านวน 3,366 คน ร้อยละ 52.97 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�านวน 554 คน ร้อยละ 8.72 ประเทศญี่ปุ่น จ�านวน 402 คน ร้อยละ 6.33 ประเทศอิสราเอล จ�านวน 240 คน ร้อยละ 3.78 และประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จ�านวน 201 คน ร้อยละ 3.16 ตารางที่ 11 จ�านวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�างานต่างประเทศ จังหวัด ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม
ครึ่งปีแรก 2557
ครึ่งปีแรก 2558
อัตรำกำรเปลี่ยนแปลง
จ�ำนวน (คน) 386 1,384 353 443 291 193 284 174 311 306 179 10 903 140 828 248 52
ร้อยละ 5.95 21.34 5.44 6.83 4.49 2.98 4.38 2.68 4.80 4.72 2.76 0.15 13.92 2.16 12.77 3.82 0.80
จ�ำนวน (คน) 442 1,278 321 369 314 170 295 162 358 326 119 13 913 130 787 300 58
ร้อยละ 6.96 20.11 5.05 5.81 4.94 2.68 4.64 2.55 5.63 5.13 1.87 0.20 14.37 2.05 12.38 4.72 0.91
จ�ำนวน (คน) 56 -106 -32 -74 23 -23 11 -12 47 20 -60 3 10 -10 -41 52 6
ร้อยละ 14.51 -7.66 -9.07 -16.70 7.90 -11.92 3.87 -6.90 15.11 6.54 -33.52 30.00 1.11 -7.14 -4.95 20.97 11.54
6,485
100.00
6,355
100.00
-130
-2.00
ที่มา : ส�านักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดทีค่ นงานเดินทางไปท�างานต่างประเทศมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�านวน 1,278 คน ร้อยละ 20.11 จังหวัดล�าปาง จ�านวน 913 คน ร้อยละ 14.37 จังหวัดสุโขทัย จ�านวน 787 คน ร้อยละ 12.38 จังหวัดก�าแพงเพชร จ�านวน 442 คน ร้อยละ 6.96 และจังหวัดตาก จ�านวน 369 คน ร้อยละ 5.81
กำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำวภำคเหนือ แผนภูมิที่ 5 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ มิถุนายน 2557 และ ณ มิถุนายน 2558
11
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานในภาคเหนือ ณ เดือนมิถุนายน 2558 จ�านวน 170,863 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนมิถุนายน 2557 โดยรวมลดลงร้อยละ 13.66 จ�ำแนกตำมประเภทที่ได้รับอนุญำตท�ำงำน คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุด จ�านวน 122,938 คน ร้อยละ 71.95 รองลงมาคือ คนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU จ�านวน 25,660 คน ร้อยละ 15.02 ชนกลุ่มน้อย จ�านวน 14,895 คน ร้อยละ 8.72 คนต่างด้าวประเภททั่วไป จ�านวน 6,383 คน ร้อยละ 3.74 คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน BOI จ�านวน 962 คน ร้อยละ 0.56 และ คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ จ�านวน 25 คน ร้อยละ 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนมิถุนายน 2557 ประเภทคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต เกือบทุกประเภทเพิ่มขึ้น ยกเว้นคนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU ลดลงร้อยละ 57.02 ตารางที่ 12 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�างานเปรียบเทียบ ณ มิถุนายน 2557 และ ณ มิถุนายน 2558 ตลอดชีพ จังหวัด
ทั่วไป
มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. 57 58 57 58
พิสูจน์สัญชำติ มิ.ย. 57
มิ.ย. 58
น�ำเข้ำตำม MOU
ส่งเสริม กำรลงทุน BOI
ชนกลุ่มน้อย
มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. มิ.ย. 57 58 57 58 57 58
รวมคนต่ำงด้ำวทั้งสิ้น (คน) มิ.ย. 57
มิ.ย. 58
3,897 16,591 88,230 63,664 4,675 289 883 629 2,678 1,198 844 1,969 2,365 8,122 850 555 451
อัตรำกำร เปลี่ยนแปลง จ�ำนวน ร้อยละ (คน)
ก�าแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี
0 0 21 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 1 0 0
0 0 21 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 1 0 0
123 159 3,723 592 683 9,112 3,401 3,962 60,622 297 363 25,708 116 146 4,263 71 60 190 83 90 604 99 93 427 204 232 2,163 1 4 1,184 18 1 805 103 78 895 212 170 2,002 147 197 6,562 44 77 642 56 49 473 36 19 409
3,964 43 52 4,969 4,514 183 60,067 16,928 20,243 27,045 37,170 3,066 6,863 287 477 62 20 28 652 154 180 356 102 41 2,904 261 346 2,614 13 788 560 11 11 993 0 0 2,394 44 49 8,225 6 15 470 135 170 422 19 10 378 1 1
0 7 421 47 0 0 0 0 23 0 0 0 0 392 0 0 0
0 7 481 43 0 0 0 0 22 0 0 0 0 409 0 0 0
4,176 279 8,532 -8,059 93,949 5,719 31,126 -32,538 7,499 2,824 157 -132 961 78 491 -138 3,518 840 3,406 2,208 577 -267 2,206 237 2,725 360 9,899 1,777 744 -106 490 -65 407 -44
7.16 -48.57 6.48 -51.11 60.41 -45.67 8.83 -21.94 31.37 184.31 -31.64 12.04 15.22 21.88 -12.47 -11.71 -9.76
รวม
25
25
5,603 6,383 119,784 122,938 59,708 25,660
890
962 11,880 14,895 197,890 170,863 -27,027
-13.66
8 2,366 6,837 442 9 8 42 1 27 0 7 971 107 1,015 28 7 5
1 2,690 9,175 609 13 7 39 1 14 0 2 1,135 112 1,053 26 9 9
ที่มา : ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 93,949 คน ร้อยละ 54.98 รองลงมาคือ จังหวัดตาก จ�านวน 31,126 คน ร้อยละ 18.22 จังหวัดล�าพูน จ�านวน 9,899 คน ร้อยละ 5.79 จังหวัดเชียงราย จ�านวน 8,532 คน ร้อยละ 4.99 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 7,499 คน ร้อยละ 4.39 ตามล�าดับ
12
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีว่ำงงำนภำคเหนือ ตารางที่ 13 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนครึ่งปีแรก 2558 สำเหตุ
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
รวม ทั้งหมด (คน)
เลิกจ้าง
522
466
498
516
420
541
-
-
-
-
-
-
2,963
2558 ลาออก 5,488
6,509
5,836
6,507
7,408
7,419
-
-
-
-
-
-
39,167
6,010 6,975 6,334 7,023 7,828 7,960
-
-
-
-
-
-
42,130
ปี
รวม
เลิกจ้าง 1,019
505
388
502
622
489
-
-
-
-
-
-
3,525
2557 ลาออก 5,526
5,908
5,764
6,371
6,546
7,732
-
-
-
-
-
-
37,847
รวม
6,413
6,152
6,873
7,168
8,221
-
-
-
-
-
-
41,372
6,545
ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน
แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนครึ่งปีแรก 2558
13
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงานครึ่งปีแรก 2558
สถิติผู้ประกันตนที่ถูกเลิกจ้างและลาออกจากงานครึ่งปีแรก 2558 มีจ�านวน 42,130 คน จ�าแนกสาเหตุจากการเลิกจ้าง จ�านวน 2,963 คน ร้อยละ 7.03 และจากการลาออกจากงาน จ�านวน 39,167 คน ร้อยละ 92.97 ส�าหรับผูป้ ระกันตนทีข่ นึ้ ทะเบียนกรณีวา่ งงาน จ�านวน 42,284 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�านวน 25,438 คน หรือคิดเป็นอัตราการบรรจุงานร้อยละ 60.16 ของจ�านวนผู้ประกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนฯ
งำนวิจัย : กำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อกำรศึกษำต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษำปีท่ี 3 และระดับมัธยมศึกษำปีที่ 6 สถำนกำรณ์ตลำดแรงงำนของประเทศไทยในปัจจุบัน มีปัญหาความไม่สอดคล้องระหว่างอุปสงค์กับอุปทานของตลาดแรงงาน กล่าวคือ บางสาขาการผลิตมีอุปสงค์แรงงานมากกว่าอุปทานแรงงาน บางสาขามีอุปทานแรงงานมากกว่าอุปสงค์แรงงาน กรณีดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดทั้งปัญหาการว่างงานและการขาดแคลนแรงงานในเวลาเดียวกัน รวมตลอดถึงปัญหาการท�างานต�่ากว่าระดับวุฒิการศึกษาด้วย กรณีดงั กล่าวหากไม่ได้รบั การแก้ไขจะท�าให้ศกั ยภาพในการแข่งขันของประเทศไทยลดลง จนถึงขัน้ ทีไ่ ม่อาจแข่งขันได้ในอนาคต ซึง่ สาเหตุใหญ่ ส่วนหนึ่งของปัญหาน่าจะมีผลมาจากการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาที่จะศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ซึ่งอาจถือได้ว่า เป็นจุดเริ่มต้นของปัญหา ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงที่ชัดเจนว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 มีการเตรียมความพร้อมเพื่อ การศึกษาต่ออย่างไรหรือไม่ และมีปจั จัยอะไรเข้ามาเกีย่ วข้องกับการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาทีจ่ ะศึกษาต่อของนักเรียนบ้าง กรมการจัดหางาน โดยกองวิจยั ตลาดแรงงาน จึงได้ทา� การศึกษาวิจยั ในเรือ่ งนีข้ นึ้ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นข้อมูลแก่หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการก�าหนดแนวทางและมาตรการ แก้ไขปัญหาดังกล่าว วิจัยศึกษาวิจัยเรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาปรับปรุงระบบการแนะแนวอาชีพของกรมการจัดหางาน โดยเป็นการวิจัยเชิงส�ารวจ (Survey Research)
ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง
14
สรุปผลกำรศึกษำดังนี้ 1. พบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80.09) จะศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 (สายสามัญ) และมี ร้อยละ 19.91 จะศึกษาต่อในระดับ ปวช. ในด้านการก�าหนดเป้าหมายในชีวติ พบว่า มีเป้าหมายทีจ่ ะรับราชการหรือท�างานในรัฐวิสาหกิจมากทีส่ ดุ ร้อยละ 36.03 อย่างไรก็ตาม มีจ�านวนถึงร้อยละ 31.18 ที่ยังไม่ได้ก�าหนดเป้าหมายในชีวิต เมื่อพิจารณาแยกกลุ่มระหว่างกลุ่มที่จะศึกษาต่อ ในสายสามัญกับกลุ่มที่จะศึกษาต่อในสายอาชีวศึกษา พบว่า นักเรียนที่จะเลือกศึกษาต่อในสายสามัญมีเป้าหมายที่จะรับราชการหรือท�างาน รัฐวิสาหกิจมากที่สุด ส่วนนักเรียนที่เลือกศึกษาต่อสายอาชีวศึกษา มีเป้าหมายเพื่อท�างานในบริษัทเอกชนและประกอบธุรกิจส่วนตัวมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ยังไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมเพื่อการศึกษาต่อเท่าที่ควร กล่าวคือ ส่วนใหญ่ไม่เคย ทดสอบ IQ และไม่เคยทดสอบ EQ รวมทั้งไม่เคยทดสอบความถนัดทางอาชีพ และไม่ได้รับการแนะแนวการศึกษาและอาชีพส�าหรับปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 คือ เพศ เกรดเฉลี่ยสะสม อาชีพของผู้ปกครอง รายได้ของ ผู้ปกครอง หนี้สินของครอบครัว การทดสอบ IQ และ การทดสอบความถนัดทางอาชีพ 2. พบว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ส่วนใหญ่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี โดยมีเพียงร้อยละ 9.87 ที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส. (สายอาชีวศึกษา) โดยภาพรวมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท ี่ 6 มีเป้าหมายทีจ่ ะรับราชการหรือท�างานรัฐวิสาหกิจ รองลงมาคือ ประกอบ ธุรกิจส่วนตัว และร้อยละ 15.61 ยังไม่ได้ก�าหนดเป้าหมายเมื่อพิจารณาแยกกลุ่มระหว่างกลุ่มที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส. (สายอาชีวศึกษา) กับกลุ่มที่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี พบว่า นักเรียนที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส. (สายอาชีวศึกษา) มีเป้าหมายเพื่อประกอบธุรกิจส่วนตัว มากที่สุด ส่วนนักเรียนที่จะเรียนต่อในระดับปริญญาตรีมีเป้าหมายที่จะรับราชการหรือท�างานรัฐวิสาหกิจมากที่สุดในประเด็นการเตรียม ความพร้อมเพือ่ การศึกษาต่อ พบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท ี่ 6 ส่วนใหญ่เคยทดสอบ IQ และ EQ รวมทัง้ เคยทดสอบความถนัดทางอาชีพ และเคยได้รับการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ส�าหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 คือ เกรดเฉลีย่ สะสมจ�านวนพีน่ อ้ งร่วมบิดามารดา อาชีพของผูป้ กครอง รายได้ของผูป้ กครอง การทดสอบ EQ การทดสอบความถนัดทางอาชีพ และการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ จำกผลกำรวิจัยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยที่ส�ำคัญ คือ ประกำรแรก ภาครัฐควรก�าหนดนโยบายและมาตรการทีช่ ดั เจนในการบริหารการศึกษาของประเทศ ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน เพราะจากผลการวิจยั พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ตอ้ งการทีจ่ ะศึกษาต่อในสายสามัญหรือศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีมากกว่า ที่จะศึกษาต่อในสายอาชีวศึกษา ซึ่งจะท�าให้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานระดับอาชีวศึกษายังคงอยู่และจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในอนาคต ประกำรที่สอง ควรที่จะมีการแนะแนวการศึกษาและอาชีพแก่นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นอย่างทั่วถึง โดยเน้นให้นักเรียน ได้รู้จักตนเองอย่างแท้จริงด้วยการจัดให้มีกิจกรรมการทดสอบ IQ และ EQ การทดสอบความถนัดทางอาชีพและการแนะแนวการศึกษา และอาชีพ เพราะนักเรียนในระดับนี้อยู่ในช่วง“หัวเลี้ยวหัวต่อ” ในการตัดสินใจด�าเนินชีวิตในภายภาคหน้าว่าจะเลือกไปทางใด ซึ่งผลการวิจัย พบว่ามีจ�านวนมากที่ยังไม่ได้ก�าหนดเป้าหมายในชีวิต หรือก�าหนดเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของตลาดแรงงานส่วนหนึ่ง อาจมีสาเหตุมาจากการไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้จักโลกของอาชีพ รวมตลอดถึงข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพ และทิศทางของตลาดแรงงาน ประกำรทีส่ ำม หากมีขอ้ ตกลง ความร่วมมือระหว่างกรมการจัดหางานกับส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) และ หน่วยงานต่างๆ ที่มีหน้าที่ควบคุม ก�ากับ ดูแล สถานศึกษาระดับโรงเรียนในสังกัด ก�าหนดให้การแนะแนวการศึกษาและอาชีพแก่นักเรียน ทุกคนเป็นตัวชี้วัดความส�าเร็จของผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณของโรงเรียน ก็จะท�าให้บรรลุผลส�าเร็จโดยเร็วขึ้น นอกจากการท�า ข้อตกลงความร่วมมือดังกล่าวแล้ว อาจเสนอรัฐบาลพิจารณาก�าหนดเป็นมติคณะรัฐมนตรี หรือก�าหนดไว้ในบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วย การศึกษาของชาติให้สถานศึกษาทุกแห่ง ต้องด�าเนินการให้นกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคนได้รบั การเตรียมความพร้อมเพือ่ การศึกษา ต่อตามกระบวนการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ก็จะท�าให้สามารถหวังผลในความส�าเร็จได้มากขึ้นและจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน และประเทศชาติโดยส่วนรวม ประกำรทีส่ ี่ การแนะแนวการศึกษาและอาชีพแก่นกั เรียนทัง้ ระดับมัธยมศึกษาปีท ี่ 3 และมัธยมศึกษาปีท ี่ 6 นัน้ นอกจากการทดสอบ ความพร้อมทางอาชีพแล้ว ควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับตลาดแรงงานแก่นักเรียนให้มากที่สุดเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจสภาพที่แท้จริงของ ตลาดแรงงานและสามารถเลือกเรียนในสาขาวิชาที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ที่มา : กองวิจัยตลาดแรงงาน
พิมพ์ที่ :
บริษัท นันทพันธ์พริ้นติ้ง จ�ำกัด 33/4-5 หมู่ 6 ต.แม่เหียะ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์ 053-804908-9 โทรสำร 053-804958