รายงานสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ปี 2558

Page 1


การท�ำการงานสร้างเกียรติยศชื่อเสียงและความเจริญก้าวหน้า นอกจากจะต้องใช้วิชาความรู้ท่ีดีแล้ว แต่ละคน ยังต้องมีจิตใจที่มั่นคงในความสุจริตและมุ่งมั่นต่อความส�ำเร็จเป็นรากฐานรองรับ กับต้องอาศัยกุศโลบายหรือวิธีการอัน แยบคายในการประพฤติปฏิบัติเข้าประกอบอีกหลายประการ. ประการแรก ได้แก่ การสร้างศรัทธาความเชื่อถือในงานที่ กระท�ำ ซึง่ เป็นพละก�ำลังส่งเสริมให้เกิดความพอใจและความเพียรพยายามอย่างส�ำคัญ ในอันทีจ่ ะท�ำการงานให้บรรลุผลเลิศ. ประการที่สอง ได้แก่ การไม่ประมาทปัญหา ความรู้ ความฉลาดสามารถทั้งของตนเองทั้งของผู้อื่น ซึ่งเป็นเครื่องช่วยให้ ท�ำงานได้ก้าวหน้ากว้างไกล. ประการที่สาม ได้แก่ การตามรักษาความจริงใจ ทั้งต่อผู้อื่นทั้งต่อตัวเอง ซึ่งเป็นเครื่องท�ำให้ ไว้วางใจร่วมมือกันและท�ำให้งานส�ำเร็จได้โดยราบรืน. ประการทีส่ ี่ ได้แก่ การก�ำจัดจิตใจทีต่ ำ�่ ทราม รวมทัง้ สร้างเสริมความคิด จิตใจทีส่ ะอาดเข้มแข็ง ซึง่ จะช่วยให้ฝกั ใฝ่แต่ในการทีจ่ ะปฏิบตั ดิ ใี ห้เกิดความก้าวหน้า. ประการทีห่ า้ ได้แก่ การรูจ้ กั สงบใจ ซึ่งเป็นเครื่องช่วยให้ยั้งคิดได้ในเมื่อมีเหตุท�ำให้เกิดความหวั่นไหวฟุ้งซ่านและสามารถพิจารณาแก้ไขปัญหาได้โดยถูกต้อง. คุณสมบัติหรือคุณธรรมที่กล่าวแล้ว ทั้งที่เป็นส่วนรากฐาน ทั้งที่เป็นส่วนวิธีการ ต่างเป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันและเกื้อกูล ส่งเสริมกันอยูท่ งั้ หมด จะอาศัยเพียงข้อหนึง่ ข้อใดหรือเพียงบางส่วนบางข้อมิได้ เพราะจะไม่ชว่ ยให้เกิดผล หรือได้ผลน้อย. ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องพยายามอบรมสร้างเสริมให้บริบรู ณ์ขนึ้ แต่ละข้อ. และทุกข้อ. เมือ่ คุณสมบัตดิ งั กล่าวประชุมพร้อมกันขึน้ แล้ว จึงจะบันดาลผลเลิศให้เกิดขึ้นสมบูรณ์บริบูรณ์เป็นประโยชน์ช่วยตัว ช่วยผู้อื่นได้อย่างแท้จริง. พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๒๖


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ค�ำน�ำ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือปี 2558 จัดท�ำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากร และก�ำลังแรงงาน ข้อมูลตลาดแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และ การบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน การไปท�ำงานต่างประเทศ การท�ำงาน ของคนต่างด้าว และผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานของ 17 จังหวัดภาคเหนือ เอกสารฉบับนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยการสนับสนุนข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศูนย์เศรษฐกิจ การลงทุนภาคที่ 1 ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน ภาคเหนือ ส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบ บริการจัดหางาน และส�ำนักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ขอขอบคุณทุกหน่วยงานที่ได้ให้การสนับสนุน ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้ หากท่านมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการจัดท�ำครั้งต่อไปขอได้โปรดติดต่อโดยตรงที่ศูนย์ข่าวสาร ตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ศูนย์ราชการชัน้ 3 ถ.วชิราวุธด�ำเนิน ต.พระบาท อ.เมืองล�ำปาง จ.ล�ำปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง มีนาคม 2559


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

สารบัญ

หน้า

ค�ำน�ำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร

ก–ข

ประชากรและก�ำลังแรงงาน • ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ • ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ • ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน • ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ • ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน

1 2 4 4 5 5 6

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ • ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน

6 7

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ • จ�ำแนกตามรายจังหวัด • จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • โครงการที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนปี 2557

8 8 9 10

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

11

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ • จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง • จ�ำแนกตามรายประเทศ • จ�ำแนกตามรายจังหวัด

14 14 15 15

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ • จ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน • จ�ำแนกตามรายจังหวัด

16 16 17

ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ

17

บทวิเคราะห์ ตลาดแรงงานไทยเคลื่อนย้ายจากชนบทสู่เมือง

18


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

สารบัญตาราง

หน้า ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของประชากร จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน 1 ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ 2 ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 2 ตารางที่ 4 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ 4 ตารางที่ 5 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน 4 ตารางที่ 6 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ 5 ตารางที่ 7 จ�ำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน จ�ำแนกตามรายจังหวัด 6 ตารางที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 7 เปรียบเทียบปี 2557 กับปี 2558 ตารางที่ 9 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 8 จ�ำแนกตามรายจังหวัด ตารางที่ 10 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และจ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 9 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 11 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�ำแนกตามรายจังหวัด 10 ตารางที่ 12 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 10 ตารางที่ 13 จ�ำนวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทาง 15 ไปท�ำงานต่างประเทศ ตารางที่ 14 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงานเปรียบเทียบ 16 ณ ธันวาคม 2557 และ ณ ธันวาคม 2558 ตารางที่ 15 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2558 17

สารบัญแผนภูมิ

หน้า แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�ำลังแรงงานภาคเหนือปี 2558 1 แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 6 แผนภูมิที่ 3 จ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง 14 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 10 อันดับแรก 15 แผนภูมิที่ 5 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2557 16 และ ณ ธันวาคม 2558 แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2558 17 แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงาน ปี 2558 17


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือปี 2558 สรุปได้ดังนี้ ประชากรและก�ำลังแรงงาน

ประชากรภาคเหนือปี 2558 ประมาณ 11.48 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไปประมาณ 9.48 ล้านคน ร้อยละ 82.60 จ�ำแนกเป็นผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงานประมาณ 6.49 ล้านคน ร้อยละ 56.51 ประกอบด้วยผูม้ งี านท�ำประมาณ 6.40 ล้านคน ร้อยละ 55.74 ผูว้ า่ งงานประมาณ 49,699 คน ร้อยละ 0.43 และผูท้ รี่ อฤดูกาลประมาณ 39,656 คน ร้อยละ 0.35 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2557 พบว่า ประชากรลดลงร้อยละ 0.33 ผูม้ งี านท�ำลดลงร้อยละ 1.41 เป็นผูม้ งี านท�ำจ�ำแนก ประเภทอาชีพผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี มี อื ในด้านการเกษตรและการประมงมากทีส่ ดุ ร้อยละ 40.48 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โดยเป็นผูท้ ำ� งานภาคเกษตรกรรมร้อยละ 45.23 และภาคนอกเกษตรกรรมร้อยละ 54.77 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาทีส่ ำ� เร็จ ส่วนใหญ่เป็นผูส้ ำ� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มกี ารศึกษาสูงถึงร้อยละ 56.74 จ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน คือท�ำงานส่วนตัวโดยไม่มลี กู จ้าง ร้อยละ 37.19 และจ�ำแนกตามชัว่ โมง การท�ำงานต่อสัปดาห์เป็นผูม้ งี านท�ำระหว่าง 35-49 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์รอ้ ยละ 54.49 และผูม้ งี านท�ำตัง้ แต่ 50 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 25.23 หรือกล่าวได้วา่ ผูม้ งี านท�ำ ร้อยละ 79.72 เป็นผูท้ ที่ ำ� งานตัง้ แต่ 35 ชัว่ โมงขึน้ ไปต่อสัปดาห์ โดยบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ ที่ ำ� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมงการท�ำงาน ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน ผูว้ า่ งงานประมาณ 49,699 คน อัตราการว่างงานร้อยละ 0.77 จังหวัดสุโขทัย มีอตั ราการว่างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 1.12 ส�ำหรับจังหวัดอุทยั ธานีมอี ตั ราการว่างงาน น้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.28

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

การบริการจัดหางานในประเทศของส�ำนักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือสรุปได้ดังนี้ ความต้องการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�ำนวน 67,146 อัตรา เพิ่มขึ้น จากปี 2557 ร้อยละ 10.45 จังหวัดล�ำพูนมีความต้องการแรงงานมากที่สุดร้อยละ 15.55 ส�ำหรับจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุด ร้อยละ 1.29 ผู้สมัครงาน ลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 71,420 คน เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 2.35 จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้สมัครงานมากที่สุด ร้อยละ 18.36 และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงานน้อยที่สุด ร้อยละ 1.61 การบรรจุงาน ผูส้ มัครงานทีไ่ ด้รบั การบรรจุงาน จ�ำนวน 66,595 คน เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 ร้อยละ 10.69 จังหวัดเชียงใหม่ มีผไู้ ด้รบั การบรรจุงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 12.77 และจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนมีผบู้ รรจุงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 1.16

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมปี 2557 จ�ำนวน 799 แห่ง เงินลงทุน 27,237.15 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 9,288 คน จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 24.53 รองลงมา คือ จังหวัดล�ำปางร้อยละ 10.51 และจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 10.39


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมทัว่ ไปเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตประกอบกิจการ มากที่สดุ ร้อยละ 20.90 รองลงมาคือ เฟอร์นิเจอร์และเครือ่ งเรือนร้อยละ 18.90 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 13.89 โครงการทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้การส่งเสริมการลงทุนกับศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 จ�ำนวน 104 โครงการ เงินลงทุน 24,951.70 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 9,744 คน อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน 3 อันดับแรก คือ หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร จ�ำนวน 34 โครงการ รองลงมาคือ หมวดกิจการบริการและสาธารณูปโภค จ�ำนวน 29 โครงการ และหมวดอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า จ�ำนวน 19 โครงการ

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

ภาวะเศรษฐกิจปี 2557 ภาพรวมชะลอลงจากปีก่อน โดยเฉพาะในช่วงครึ่งแรกของปี เครื่องยนต์หลักที่ขับเคลื่อน เศรษฐกิจต่างทยอยอ่อนแรง เริ่มจากการใช้จ่ายภาคประชาชนชะลอตัวหลังจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ สิน้ สุดลง รายได้เกษตรกรลดลงตามผลผลิตการเกษตร โดยพืชหลักหลายชนิดประสบภัยแล้งและราคาตกต�ำ ่ รวมทัง้ ได้รบั เงิน จากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวล่าช้า ขณะที่ความไม่สงบทางการเมืองยืดเยื้อ ท�ำให้ผู้บริโภคระมัดระวังในการใช้จ่ายมากขึ้น ภาคการท่องเที่ยวก็สะดุดลง เนื่องจากหลายประเทศประกาศเตือนนักท่องเที่ยวของตนที่เดินทางมาประเทศไทย รวมทั้ง ผู้ประกอบการชะลอการลงทุนออกไปเพื่อรอประเมินสถานการณ์เศรษฐกิจและการเมือง การใช้จ่ายลงทุนของภาครัฐก็มี ข้อจ�ำกัดเพราะสถานการณ์ทางการเมืองและ การประกาศยุบสภาของรัฐบาล มีเพียงภาคการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นเพียง เครื่องยนต์หลักที่พอจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือ

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำนวน 13,608 คน ลดลงจากปี 2557 ร้อยละ 3.97 โดยเดินทาง โดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง ร้อยละ 59.94 ส�ำหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศที่มีแรงงานเดินทางไปมากถึง ร้อยละ 34.83 และจังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุด ร้อยละ 16.12

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ

คนงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน 182,328 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 102.92 คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาตท�ำงานมากที่สุดร้อยละ 81.17 รองลงมาคือ คนต่างด้าวประเภทชนกลุม่ น้อย ร้อยละ 9.96 และคนต่างด้าวประเภทน�ำเข้าตาม MOU ร้อยละ 4.18 ตามล�ำดับ ส�ำหรับจังหวัดเชียงใหม่มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานสูงสุด ร้อยละ 56.19

ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ

สาเหตุที่ผู้ประกันตนออกจากงานปี 2558 จ�ำนวน 80,627 คน จ�ำแนกเป็นถูกเลิกจ้าง จ�ำนวน 6,915 คน ร้อยละ 8.77 และจากการลาออกจากงาน จ�ำนวน 73,712 คน ร้อยละ 91.72 ทั้งนี้ผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน ทั้งหมด 73,712 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�ำนวน 50,272 คน คิดเป็นอัตราการบรรจุ ร้อยละ 68.20 ของจ�ำนวนผู้ประกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนฯ


1

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ประชากรและก�ำลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�ำลังแรงงานภาคเหนือปี 2558

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของประชากร จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป

9,469,938

82.24

9,479,819

82.60

9,881

0.10

1. ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน

6,569,984

57.06

6,486,320

56.51

-83,664

-1.27

1.1 ก�ำลังแรงงานปัจจุบัน 1.1.1 ผู้มีงานท�ำ 1.1.2 ผู้ว่างงาน 1.2 ผู้ที่รอฤดูกาล

6,535,602 6,488,706 46,897 34,382

56.76 56.35 0.41 0.30

6,446,665 6,396,966 49,699 39,656

56.17 55.74 0.43 0.35

-88,937 -91,740 2,802 5,274

-1.36 -1.41 5.97 15.34

2. ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน

2,899,954

25.18

2,993,498

26.08

93,544

3.23

2.1 ท�ำงานบ้าน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่น ๆ ผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี

820,330 750,847 1,328,777 2,045,126

7.12 6.52 11.54 17.76

853,136 758,578 1,381,784 1,997,506

7.43 6.61 12.04 17.40

32,806 7,731 53,007 -47,620

4.00 1.03 3.99 -2.33

ประชากรรวม

11,515,064

100.00

11,477,325

100.00

-37,739

-0.33

อัตราการว่างงาน

0.71

0.77

ประชากรปี 2558 ประมาณ 11.48 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก�ำลังแรงงานประมาณ 6.49 ล้านคน ร้อยละ 56.51 ของจ�ำนวนประชากร รวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงานรวมถึงผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี ประมาณ 4.99 ล้านคน ร้อยละ 43.48 ของจ�ำนวนประชากรรวมทั้งหมด ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน จ�ำนวน 6,486,320 คน ประกอบด้วยผู้มีงานท�ำร้อยละ 55.74 ผู้ว่างงานร้อยละ 0.43 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.35 ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�ำนวน 2,993,498 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�ำงานบ้านร้อยละ 7.43 นักเรียน นิสิต นักศึกษาร้อยละ 6.61 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�ำงานได้ร้อยละ 12.04 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่า ประชากรลดลงร้อยละ 0.33 ผู้มีงานท�ำลดลงร้อยละ 1.41 และผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.97 อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.71 เป็นร้อยละ 0.77


2

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ คนงานซึ่งมิได้จ�ำแนกไว้ในหมวดอื่น รวม

ปี 2557 ปี 2558 จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 151,106 2.33 152,128 2.38 260,198 4.01 278,230 4.35 168,783 2.60 177,892 2.78 169,497 2.61 176,666 2.76 1,060,009 16.34 1,117,368 17.47 2,793,145 43.05 2,589,239 40.48 807,426 12.44 776,292 12.14 337,673 5.20 354,549 5.54 740,871 11.42 773,557 12.09 0 0.00 45 0.00 6,488,706 100.00 6,396,966 99.98

อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 1,022 0.68 18,032 6.93 9,109 5.40 7,169 4.23 57,359 5.41 -203,906 -7.30 -31,134 -3.86 16,876 5.00 32,686 4.41 45 100.00 -91,740 -1.41

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ

ผู้มีงานท�ำประมาณ 6.40 ล้านคน ท�ำงานในอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง มากที่สุด ร้อยละ 40.5 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาดร้อยละ 17.48 และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝีมอื และธุรกิจการค้า ที่เกี่ยวข้องร้อยละ 12.16 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาโดยรวมลดลงร้อยละ 1.41 ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม

1. ภาคเกษตรกรรม

ปี 2557 ปี 2558 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 3,104,990 47.85 2,893,315 45.23 -211,675 -6.82

- เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง

3,104,990

47.85

2,893,315

45.23

-211,675

-6.82

2. นอกภาคเกษตรกรรม

3,383,716

52.15

3,503,651

54.77

119,935

3.54

- การท�ำเหมืองแร่ และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน�้ำ และระบบปรับอากาศ - การจัดหาน�้ำ การจัดการ การบ�ำบัดน�้ำเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การก่อสร้าง - การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ - การขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า - กิจกรรมโรงแรม และการบริการด้านอาหาร - ข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ - กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินค้า และบริการ ที่ท�ำขึ้นเองเพื่อใช้ในครัวเรือน - กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศ - ไม่ทราบ

16,374 648,792 18,782 12,761 470,961 899,363 82,470 324,413 12,987 63,084 10,913 24,429 44,227 270,128 197,495 112,375 42,708 101,217 29,121

0.25 10.00 0.29 0.20 7.26 13.86 1.27 5.00 0.20 0.97 0.17 0.38 0.68 4.16 3.04 1.73 0.66 1.56 0.45

20,013 642,580 18,448 11,253 462,983 950,202 89,131 355,529 12,280 71,191 13,168 28,616 50,065 274,249 201,115 118,533 43,260 107,662 32,221

0.31 10.05 0.29 0.18 7.24 14.85 1.39 5.56 0.19 1.11 0.21 0.45 0.78 4.29 3.14 1.85 0.68 1.68 0.50

3,639 -6,212 -334 -1,508 -7,978 50,839 6,661 31,116 -707 8,107 2,255 4,187 5,838 4,121 3,620 6,158 552 6,445 3,100

22.22 -0.96 -1.78 -11.82 -1.69 5.65 8.08 9.59 -5.44 12.85 20.66 17.14 13.20 1.53 1.83 5.48 1.29 6.37 10.65

1,116 0

0.02 0.00

1,152 0

0.02 0.00

36 0

3.23 0.00

รวม

6,488,706

-91,740

-1.41

100.00 6,396,966 100.00


3

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ประชากรและก�ำลังแรงงาน (ระดับประเทศหรือทั่วราชอาณาจักร) (หน่วย : พันคน) 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559* ผู้มีงานท�ำ 26.69 27.64 29.46 30.62 30.84 31.14 32.38 32.15 32.09 32.57 32.32 33.16 32.13 30.83 31.91 32.10 33.06 33.84 34.91 34.22 35.69 36.25 37.02 37.70 38.04 38.46 38.93 38.91 38.07 38.15 38.13

จากอดีตเมื่อ 30 ปีที่แล้วนับตั้งแต่ 2529 ประเทศไทยเรามีผู้มีงาน ประมาณ 26.69 ล้านคน และในปัจจุบันมีผู้มีงานท�ำ ประมาณ 38.15 ล้านคน เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 11.46 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 42.94 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559* ภาคเกษตรกร 16.53 17.78 19.57 20.39 19.72 18.81 19.70 18.25 17.95 16.92 16.12 16.69 16.47 13.99 14.73 13.61 14.04 13.88 13.91 13.62 14.17 14.31 14.70 14.69 14.55 14.88 15.43 15.41 12.73 12.27 12.26 ภาคนอก เกษตรกร

10.16 9.86 9.89 10.23 11.12 12.33 12.68 13.90 14.14 15.65 16.11 16.47 15.66 16.84 17.18 18.49 19.02 19.96 21.00 20.60 21.52 21.94 22.32 23.01 23.49 23.58 23.50 23.50 25.34 25.88 25.87

ผู้มีงานในปี 2529 ประมาณ 26.69 ล้านคน ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ประมาณ 16.53 ล้านคน ร้อยละ 38.07 นอกภาคเกษตรกรรม ประมาณ 10.16 ล้านคน ร้อยละ 61.93 ปัจจุบนั นีป้ ระชาชนประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม ประมาณ 25.88 ล้านคน ร้อยละ 67.72 และในภาคเกษตร ประมาณ 12.27 ล้านคน ร้อยละ 32.28 ลดลงจากปี 2529 ประมาณ 4.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25.80 และนอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้นจากปี 2529 ประมาณ 15.72 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 154.72 สิ่งที่น่าสังเกต คือ ผู้มีงานท�ำนอกภาคเกษตรกรรม ในอดีตมีมากกว่าผูม้ งี านท�ำนอกภาคเกษตรกรรม แต่ปจั จุบนั กลับตรงกันข้ามคือ นอกภาคเกษตรกรรมมีมากว่าในภาคเกษตรกรรม ถึง ประมาณ 13.60 ล้านคน ทั้งนี้จุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญ คือ ในปี 2542 คือ มีแรงงานนอกภาคเกษตร จ�ำนวน 16.84 ล้านคน มากกว่า แรงงานในภาคเกษตร ประมาณ 2.85 ล้านคน ทั้งนี้ ก่อนหน้านั้นคือในปี 2539 ผู้มีงานท�ำในภาคเกษตรกรรม และนอกภาคเกษตรกรรม มีจ�ำนวนเท่ากันและมี การปรับตัวขึ้นลงใกล้เคียงกันในปี 2541


4

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผู้ท�ำงานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.89 ล้านคน ร้อยละ 45.23 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และประมง ส�ำหรับ ผู้ท�ำงานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.50 ล้านคน ร้อยละ 54.77 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุดร้อยละ 14.85 รองลงมาคือ การผลิตร้อยละ 10.05 และการก่อสร้างร้อยละ 7.24 นอกนั้น กระจายอยู่ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ไม่มีการศึกษา ต�่ำกว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไม่ทราบ รวม

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

453,178 2,053,952 1,313,844 913,844 841,329 669,497 170,599 1,233 897,838 511,864 260,392 125,582 11,567 3,154

6.98 31.65 20.25 14.08 12.97 10.32 2.63 0.02 13.84 7.89 4.01 1.94 0.18 0.05

435,119 1,924,407 1,270,341 873,032 893,391 721,994 169,853 1,544 977,856 590,539 265,892 121,425 16,969 5,879

6.80 30.08 19.86 13.65 12.97 11.29 2.66 0.02 15.29 9.23 4.16 1.90 0.27 0.09

-18,059 -129,545 -43,503 -40,812 52,062 52,497 -746 311 80,018 78,675 5,500 -4,157 5,402 2,725

-3.98 -6.31 -3.31 -4.47 6.19 7.84 -0.44 25.22 8.91 15.37 2.11 -3.31 46.70 86.40

6,488,706

100.00

6,396,966

100.00

-91,740

-1.41

หมายเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อืน่ ๆ หมายถึง บุคคลที่ส�ำเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มงี านท�ำไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ

ผู้มีงานท�ำส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มีการศึกษาสูงถึงร้อยละ 56.74 รองลงมาคือ ระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 15.29 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 12.97 ตารางที่ 5 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน สถานภาพการท�ำงาน นายจ้าง ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน ท�ำงานส่วนตัว ช่วยธุรกิจครัวเรือน การรวมกลุ่ม* รวม

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

140,548 605,943 1,750,531 2,389,235 1,600,590 1,858

2.17 9.34 26.98 36.82 24.67 0.03

136,835 614,363 1,790,796 2,379,099 1,473,266 2,606

2.14 9.60 27.99 37.19 23.03 0.04

-3,713 8,420 40,265 -10,136 -127,324 748

-2.64 1.39 2.30 -0.42 -7.95 40.26

6,488,706

100.00

6,396,966

100.00

-91,740

-1.41

หมายเหตุ การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�ำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคน มีความเท่าเทียมกัน ในการก�ำหนดการท�ำงานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�ำตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)


5

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน

ผู้มีงานท�ำส่วนใหญ่ท�ำงานในฐานะลูกจ้างร้อยละ 37.19 (จ�ำแนกเป็นลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 27.99 และลูกจ้างรัฐบาล ร้อยละ 9.60) รองลงมาคือ ท�ำงานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้างมากที่สุดร้อยละ 37.19 ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ร้อยละ 23.03 นายจ้าง ร้อยละ 2.14 และการรวมกลุ่มมีเพียงร้อยละ 0.04 ของผู้มีงานท�ำทั้งหมด แผนภูมิเปรียบเทียบ ลูกจ้างรัฐบาล และลูกจ้างเอกชน ภาคเหนือ ปี 2549-2558

ตารางที่ 6 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ ชั่วโมงการท�ำงาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

50,662 31,595 165,726 459,143 380,068 786,006 2,739,089 1,876,416

0.78 0.49 2.55 7.08 5.86 12.11 42.21 28.92

69,924 42,350 198,241 575,070 411,641 761,685 2,724,005 1,614,050

1.09 0.66 3.10 8.99 6.43 11.91 42.58 25.23

19,262 10,755 32,515 115,927 31,573 -24,321 -15,084 -262,366

38.02 34.04 19.62 25.25 8.31 -3.09 -0.55 -13.98

6,488,706

100.00

6,396,966

100.00

-91,740

-1.41

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�ำระหว่าง 40-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 54.49 และผู้มีงานท�ำตั้งแต่ 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 25.23 หรือกล่าว ได้วา่ ผู้มีงานท�ำ ร้อยละ 79.72 ท�ำงานตัง้ แต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ �ำงานเต็มทีใ่ นเรื่องชั่วโมงการท�ำงาน ขณะที่ผู้ท�ำงานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�ำงานไม่เต็มที่ร้อยละ 19.18 ของผู้มีงานท�ำทั้งสิ้น ส�ำหรับผู้มีงานท�ำประจ�ำ แต่ไม่ได้ท�ำงานในสัปดาห์แห่งการส�ำรวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงร้อยละ 1.09


6

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ตารางที่ 7 จ�ำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน จ�ำแนกตามรายจังหวัด รายจังหวัด เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี ก�ำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ รวม

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ผู้ว่างงาน (คน)

อัตราการว่างงาน

ผู้ว่างงาน (คน)

อัตราการว่างงาน

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

11,366 1,910 3,331 1,905 908 1,417 855 1,563 1,244 6,105 566 5,451 1,719 3,519 2,394 1,971 671

1.14 0.70 0.77 0.83 0.36 0.54 0.36 0.23 1.10 1.10 0.35 1.23 0.65 0.95 0.49 0.66 0.13

10,070 2,448 3,351 2,561 1,361 2,492 983 2,263 452 3,185 440 3,174 2,161 6,399 4,302 2,210 1,845

0.99 0.93 0.80 1.12 0.55 0.98 0.44 0.34 0.40 0.58 0.28 0.74 0.81 1.77 0.87 0.75 0.38

-1,296 538 20 656 453 1,075 128 700 -792 -2,920 -126 -2,277 442 2,880 1,908 239 1,174

-11.40 28.17 0.60 34.44 49.89 75.86 14.97 44.79 -63.67 -47.83 -22.26 -41.77 25.71 81.84 79.70 12.13 174.96

46,897

0.71

49,699

0.77

2,802

5.97

ที่มา : ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติ ผลรวมของแต่ละจ�ำนวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�ำนวนซึ่งได้จากการ ประมวลผลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป

ภาวะการว่างงานและอัตราการว่างงาน

จ�ำนวนผู้ว่างงานประมาณ 49,699 คน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5.97 และอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.71 เป็นร้อยละ 0.77 จังหวัดสุโขทัยมีอัตราการว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 1.77 รองลงมาคือ จังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ 1.12 และจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 0.99 ส�ำหรับจังหวัดอุทัยธานีมีอัตราการว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.28

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ แผนภูมิที่ 2 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบปี 2557 และปี 2558

สรุปภาพรวมการเคลือ่ นไหวตลาดแรงงานของส�ำนักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือปี 2558 ได้แก่ จังหวัดก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 67,146 อัตรา ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 70,637 คน และสามารถ บรรจุงานได้ จ�ำนวน 65,633 คน


7

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ตารางที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบปี 2557 กับปี 2558 ความต้องการแรงงาน (อัตรา)

การเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลง

การบรรจุงาน (คน)

ปี 2557

ปี 2558

จ�ำนวน ร้อยละ

ปี 2557

ปี 2558

จ�ำนวน

ร้อยละ

ปี 2557

ปี 2558

จ�ำนวน

ร้อยละ

ก�ำแพงเพชร

2,687

3,740

1,053

39.19

3,932

3,223

-709

-18.03

2,317

2,157

-160

-6.91

เชียงราย

5,197

2,747

-2,450

-47.14

7,292

5,821

-1,471

-20.17

5,305

2,828

-2,477

-46.69

เชียงใหม่

7,962

6,996

-966

-12.13

13,280

13,114

-166

-1.25

7,498

6,761

-737

-9.83

ตาก

1,139

3,740

2,601

228.36

2,619

3,223

604

23.06

1,005

2,157

1,152

114.63

นครสวรรค์

5,733

5,113

-620

-10.81

5,103

6,625

1,522

29.83

5,313

6,408

1,095

20.61

น่าน

3,339

2,339

-1,000

-29.95

1,848

2,434

586

31.71

2,697

2,002

-695

-25.77

พะเยา

1,336

3,130

1,794

134.28

2,549

2,516

-33

-1.29

1,300

2,959

1,659

127.62

พิจิตร

3,056

2,248

-808

-26.44

2,854

2,914

60

2.10

1,830

1,786

-44

-2.40

พิษณุโลก

5,308

6,272

964

18.16

6,598

8,639

2,041

30.93

7,446

9,041

1,595

21.42

เพชรบูรณ์

3,333

3,117

-216

-6.48

3,647

3,699

52

1.43

3,098

2,913

-185

-5.97

แพร่

3,693

3,662

-31

-0.84

2,080

2,206

126

6.06

3,122

3,080

-42

-1.35

แม่ฮ่องสอน

693

883

190

27.42

723

1,151

428

59.20

606

770

164

27.06

ล�ำปาง

3,852

4,170

318

8.26

4,467

4,570

103

2.31

3,102

3,721

619

19.95

ล�ำพูน

6,709

10,631

3,922

58.46

4,553

4,713

160

3.51

6,919

9,713

2,794

40.38

สุโขทัย

3,207

3,174

-33

-1.03

2,601

2,481

-120

-4.61

3,145

3,106

-39

-1.24

อุตรดิตถ์

1,403

2,697

1,294

92.23

2,279

2,024

-255

-11.19

2,022

3,550

1,528

75.57

อุทัยธานี

2,146

2,487

341

15.89

2,588

1,284

-1,304

-50.39

2,012

2,681

669

33.25

รวม

60,793

67,146

6,353

10.45

69,013

70,637

1,624

2.35

58,737

65,633

6,896

11.74

จังหวัด

ผู้สมัครงาน (คน)

การเปลี่ยนแปลง

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�ำนวน 67,146 อัตรา โดย จังหวัดที่มีความต้องการแรงงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 10,631 อัตรา ร้อยละ 15.55 จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 6,996 อัตรา ร้อยละ 10.23 จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 6,272 อัตรา ร้อยละ 9.18 จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 6,272 อัตรา ร้อยละ 9.34 และจังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 4,170 อัตรา ร้อยละ 6.10 จังหวัดที่มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�ำนวน 883 อัตรา ร้อยละ 1.29 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 ความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.45 ผูส้ มัครงาน ผูส้ มัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 70,637 คน จังหวัดทีม่ ผี สู้ มัครงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 13,114 คน ร้อยละ 18.36 จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 8,639 คน ร้อยละ 12.23 จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 6,625 คน ร้อยละ 9.38 จังหวัด เชียงราย จ�ำนวน 5,821 คน ร้อยละ 8.24 และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 4,713 คน ร้อยละ 6.67 จังหวัดที่มีผู้สมัครงานน้อยที่สุดคือจังหวัด แม่ฮ่องสอน จ�ำนวน 1,151 คน ร้อยละ 1.61 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 ผู้สมัครงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.35 การบรรจุงาน ผู้สมัครงานที่ได้รับการบรรจุงาน จ�ำนวน 65,633 คน จังหวัดที่ได้รับการบรรจุ 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 9,713 คน ร้อยละ 14.59 จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 9,041 คน ร้อยละ 13.58 จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 6,761 คน ร้อยละ 10.15 จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 6,408 คน ร้อยละ 9.62 และจังหวัดล�ำปาง 3,721 คน ร้อยละ 5.59 จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้สมัครงานที่ได้รับการ บรรจุงานน้อยที่สุด จ�ำนวน 770 คน ร้อยละ 1.16 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 การบรรจุงานมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.74


8

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ตารางที่ 9 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และจ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�ำแนกตามรายจังหวัด จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

เงินลงทุน (ล้านบาท)

การจ้างงาน (คน)

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ก�ำแพงเพชร

36

57

58.33

1,485.26

3,354.24

125.84

765

588

-23.14

เชียงราย

61

46

-24.59

3,360.80

1,035.53

-69.19

909

497

-45.32

เชียงใหม่

79

83

5.06

3,060.64

2,910.10

-4.92

1,528

1,474

-3.53

ตาก

47

53

12.77

2,182.88

792.22

-63.71

1,277

1,676

31.25

นครสวรรค์

42

72

71.43

2,285.17

1,842.39

-19.38

424

690

62.74

น่าน

50

10

-80.00

10,215.96

49.56

-99.51

738

63

-91.46

พะเยา

22

11

-50.00

684.32

136.24

-80.09

304

75

-75.33

พิจิตร

49

30

-38.78

1,881.80

337.20

-82.08

403

167

-58.56

พิษณุโลก

64

28

-56.25

3,585.39

932.32

-74.00

2,270

361

-84.10

เพชรบูรณ์

42

30

-28.57

2,304.43

263.57

-88.56

301

182

-39.53

แพร่

160

196

22.50

365.72

1,637.26

347.68

937

1,468

56.67

แม่ฮ่องสอน

3

5

66.67

2.56

34.57

1,250.39

24

38

58.33

ล�ำปาง

92

84

-8.70

5,084.70

9,626.85

89.33

1,918

725

-62.20

ล�ำพูน

27

26

-3.70

1,545.26

1,336.18

-13.53

566

703

24.20

สุโขทัย

38

36

-5.26

1,131.48

1,117.14

-1.27

411

251

-38.93

อุตรดิตถ์

25

24

-4.00

264.53

212.66

-19.61

219

151

-31.05

อุทัยธานี

9

8

-11.11

223.04

1,619.12

625.93

81

179

120.99

846

799

-5.56

39,663.94

27,237.15

-31.33

13,075

9,288

-28.96

จังหวัด

รวม

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

การลงทุนในภาคเหนือปี 2557 มีโรงงานทีข่ ออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 799 แห่ง เงินลงทุน 27,237.15 ล้านบาท และการจ้างงาน 9,288 คน เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าจ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานลดลงโดยลดลงร้อยละ 5.56 ร้อยละ 31.33 และ ร้อยละ 28.96 ตามล�ำดับ จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 24.53 รองลงมาคือ จังหวัดล�ำปาง ร้อยละ 10.51 และจังหวัดเชียงใหม่รอ้ ยละ 10.39 เมือ่ พิจารณาตามการลงทุนจังหวัดล�ำปางมีมลู ค่าการลงทุนมากทีส่ ดุ ร้อยละ 35.34 รองลงมา คือ จังหวัดก�ำแพงเพชรร้อยละ 12.31 และจังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 10.68 ส�ำหรับการจ้างงานจังหวัดตากมีการจ้างงานมากที่สุดร้อยละ 18.04 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 15.87 และจังหวัดแพร่ร้อยละ 15.81


9

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ตารางที่ 10 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และจ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

เงินลงทุน (ล้านบาท)

การจ้างงาน (คน)

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

เกษตรกรรม

201

111

-44.78

6,687.87

2,639.68

-60.53

1,827

1,002

-45.16

อาหาร

37

47

27.03

1,269.73

652.23

-48.63

1,496

392

-73.80

เครื่องดื่ม

6

7

16.67

171.46

115.87

-32.42

82

95

15.85

สิ่งทอ

2

9

350.00

6.18

115.54

1,769.58

188

719

282.45

เครื่องแต่งกาย

12

7

-41.67

92.32

14.60

-84.19

986

581

-41.08

เครื่องหนัง

1

2

100.00

3.22

14.31

344.41

130

90

-30.77

ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

54

88

62.96

200.79

366.93

82.74

470

742

57.87

เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน

180

151

-16.11

148.19

125.73

-15.16

1,216

1,043

-14.23

กระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ

1

0

-100.00

0.00

0.00

0.00

80

0

-100.00

เคมี

12

11

-8.33

342.70

490.66

43.17

146

175

19.86

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

12

11

-8.33

207.23

300.24

44.88

88

133

51.14

ผลิตภัณฑ์ยาง

4

2

100.00

2,890.61

6.37

100.00

518

22

100.00

ผลิตภัณฑ์พลาสติก

12

9

-25.00

100.74

165.31

64.10

170

145

-14.71

ผลิตภัณฑ์อโลหะ

94

83

-11.70

1,158.01

1,516.22

30.93

1,008

998

-0.99

ผลิตภัณฑ์โลหะ

0

1

100.00

0.00

11.55

100.00

0

12

100.00

ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ

49

29

-40.82

519.89

590.07

13.50

534

443

-17.04

เครื่องจักรกล

12

10

-16.67

68.48

56.64

-17.29

361

96

-73.41

ไฟฟ้า

3

0

-100.00

373.50

0.00

-100.00

290

0

-100.00

ขนส่ง

45

54

20.00

1,580.82

2,590.95

63.90

852

1042

22.30

ทั่วไป

109

167

53.21

23,842.20 17,464.25

-26.75

2,633

1,558

-40.83

846

799

-5.56

39,663.94 27,237.15

-31.33

13,075

9,288

-28.96

ประเภทอุตสาหกรรม

รวม

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมทั่วไปเป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 20.90 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนร้อยละ 18.90 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 13.89 ส�ำหรับ อุตสาหกรรมทั่วไปมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดร้อยละ 64.12 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 9.69 และอุตสาหกรรมขนส่ง ร้อยละ 9.51 และเมือ่ พิจารณาตามการจ้างงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 16.77 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ และเครื่องเรือนร้อยละ 11.23 และอุตสาหกรรมขนส่งร้อยละ 11.22


10

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ตารางที่ 11 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัด ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

จ�ำนวนโครงการ ปี 2556 ปี 2557 4 2 9 7 29 21 1 1 1 1 14 4 0 0 0 4 3 4 9 0 4 3 0 0 3 4 16 18 3 2 4 0 4 1 72 104

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 100.00 28.57 38.10 0.00 0.00 250.00 0.00 -100.00 -25.00 100.00 33.33 0.00 -25.00 -11.11 50.00 100.00 300.00 44.44

เงินลงทุน (ล้านบาท) ปี 2556 ปี 2557 1,628.00 1,490.00 1,081.20 946.10 533.70 996.10 40.00 532.20 36.00 15.30 5,160.80 392.40 0.00 0.00 0.00 1,875.00 209.30 900.50 6,458.30 0.00 290.70 100.30 0.00 0.00 130.20 165.30 2,273.10 3,658.90 2,550.00 341.70 2,461.00 0.00 2,099.40 79.20 11,493.00 24,951.70

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 9.26 14.28 -46.42 -92.48 135.29 1,215.19 0.00 -100.00 -76.76 100.00 189.83 0.00 -21.23 -37.87 646.27 100.00 2,550.76 117.10

การจ้างงาน (คน) ปี 2556 ปี 2557 124 74 2,702 631 1,228 822 32 16 20 17 1,719 246 0 0 0 175 24 784 272 0 45 258 0 0 41 74 3,084 3,977 123 56 185 0 145 30 7,160 9,744

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 67.57 328.21 49.39 100.00 17.65 598.78 0.00 -100.00 -96.94 100.00 -82.56 0.00 -44.59 -22.45 119.64 100.00 383.33 36.09

ตารางที่ 12 โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม หมวดอุตสาหกรรม

จ�ำนวนโครงการ

เพิ่ม/ลด ปี 2556 ปี 2557 ร้อยละ

เงินลงทุน (ล้านบาท) ปี 2556

การจ้างงาน (คน)

ปี 2557

เพิ่ม/ลด ร้อยละ

ปี 2556

เพิ่ม/ลด ปี 2557 ร้อยละ

10,255.50 252.00 309.30 134.40 1,281.30 80.00 12,639.20

เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร เหมืองแร่ เซรามิกและโลหะขั้นมูลฐาน อุตสาหกรรมเบา ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ กระดาษและพลาสติก กิจการบริการและสาธารณูปโภค

27 2 6 7 18 3 9

34 4 10 6 19 2 29

25.93 4,664.40 100.00 33.90 66.67 240.30 -14.29 448.40 5.56 2,869.60 88.20 -33.33 222.22 3,148.20

119.87 643.36 28.71 -70.03 -55.35 -9.30 301.47

1,981 69 1,032 197 3,590 107 184

4,484 311 1,361 331 2,509 70 678

126.35 350.72 31.88 68.02 -30.11 -34.58 268.48

รวม

72

104

44.44 11,493.00 24,951.70 117.10

7,160

9,744

36.09

โครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้การส่งเสริมการลงทุนปี 2557 มีจำ� นวนทัง้ หมด 104 โครงการ เงินลงทุน 24,951.70 ล้านบาท การจ้างงาน 9,744 คน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556 พบว่าจ�ำนวนโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.44 มูลค่า การลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 117.10 และ การจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.09


11

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนใน 3 อันดับแรกได้แก่ 1. หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร จ�ำนวน 34 โครงการ มูลค่าการลงทุน 10,255.50 ล้านบาท การจ้างงาน 4,484 คน ได้แก่ กิจการผลิต Block Rubber กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ กิจการขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงปศุสัตว์ (เป็ด) กิจการผลิต Sealed Vegetable Juice/Fruit Juice กิจการผลิต Silo & Crop Drying กิจการผลิต Dried Fruit/Vegetable กิจการผลิตน�้ำมันหรือ ไขมันจากพืชหรือสัตว์ กิจการผลิตแอลกอฮอล์ หรือเชือ้ เพลิงจากผลผลิตการเกษตร รวมทัง้ เศษหรือขยะหรือของเสีย กิจการปลูกป่า (ยูคาลิปตัส) กิจการผลิต Wood Pellet กิจการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ หรือสารปรับปรุงดิน กิจการคัดคุณภาพและบรรจุ เก็บรักษา พืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย กิจการผลิต Pig Raising กิจการขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงสัตว์ (ไก่) กิจการผลิต Instant Noodle กิจการผลิต Frozen Fruit/Vegetable กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร กิจการผลิตแป้งจากพืช หรือ เดกตริน หรือโมดิไฟด์สตาร์ช กิจการผลิต Chicken Raising กิจการฆ่าและช�ำแหละสัตว์ (ไก่) สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก�ำแพงเพชร เพชรบูรณ์ เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ น่าน ล�ำปาง สุโขทัย แพร่ อุตรดิตถ์ ล�ำพูน และอุทัยธานี นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับ การอนุมตั ใิ ห้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศไทย เกาะเคลย์แมนร่วมกับไอซ์แลนด์ ไทยร่วมกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง เนเธอร์แลนด์ และร่วมทุนไทยกับญี่ปุ่น 2. กิจการบริการและสาธารณูปโภค จ�ำนวน 29 โครงการ มูลค่าการลงทุน 12,639.20 ล้านบาท การจ้างงาน 678 คน ได้แก่ กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำ (Solar Rooftop) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำ (Solar Power) กิจการผลิต Electricity Power from Solar Rooftop กิจการ Scientific Laboratory (Environment) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำจาก (ไบโอแมส) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำจาก (ไบโอแก๊ส) กิจการ Regional Operating Headquarter (ROH) กิจการ International Procurement Office (IPO) กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำจาก (พลังงานลม) กิจการผลิต Loading/Unloading Facility, water Transportation(oil) กิจการ Trade and Investment Support Office กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้า หรือไอน�้ำจากพลังงาน เชื้อเพลิงขยะ กิจการผลิต Product Design กิจการ Tele Sales and Marketing Serviced 20 WORKSTATINO สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่ จังหวัดนครสวรรค์ พิษณุโลก ก�ำแพงเพชร แพร่ ล�ำพูน อุทัยธานี เพชรบูรณ์ เชียงราย อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ และตาก นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับ การอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศไทย ญี่ปุ่น ร่วมลงทุนไทยกับญี่ปุ่น และเดนมาร์ก 3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า จ�ำนวน 19 โครงการ มูลค่าการลงทุน 1,281.30 ล้านบาท การจ้างงาน 2,509 คน ได้แก่ กิจการผลิต Semiconductor Device กิจการผลิต Electronic Part กิจการผลิต Software กิจการผลิต LED Lighting กิจการผลิต PCBA (Printed Circuit Board Assembly) กิจการผลิต Diode Rectifier กิจการผลิต Switching Power Supply กิจการผลิต Connector สถานที่ตั้งโครงการอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ และล�ำพูน นักลงทุนต่างชาติที่ได้รับการอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุนได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น เกาหลี อเมริกา ไทย แคนาดา ฮ่องกงร่วมกับสิงคโปร์ สิงคโปร์ ร่วมทุนฮ่องกงและไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน เดนมาร์ก และสวิตเซอร์แลนด์ ที่มา : ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

บทสรุปผู้บริหาร ผลการส�ำรวจข้อมูลการคาดการณ์ภาวะและแนวโน้มธุรกิจ จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักธุรกิจและ องค์กรธุรกิจต่างๆ ใน ภาคเหนือ ช่วงไตรมาส 4/2558 รวม 61 ราย ประกอบด้วยธุรกิจใน จ.เชียงใหม่ 37 ราย ล�ำพูน 6 ราย ล�ำปาง 3 ราย เชียงราย 5 ราย นครสวรรค์ 6 ราย และพิษณุโลก 4 ราย สรุปได้ดังนี้ ภาวะธุรกิจภาคเหนือ ไตรมาส 4/2558 ภาพรวมธุรกิจส่วนใหญ่ยงั ไม่ดนี กั เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ น ธุรกิจด้านการบริโภค ส่วนใหญ่ยอดขายลดลง แม้จะพบว่ามียอดขายในกลุ่มธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์เพิ่มขึ้นบ้างแต่เป็นเพียงปัจจัยชั่วคราว เพราะผู้บริโภคเร่ง ตัดสินใจซื้อก่อนปรับขึ้นราคาตามอัตราภาษีสรรพสามิตใหม่ ส่วนภาพรวมก�ำลังซื้อของผู้บริโภคยังชะลอตัวอยู่ สะท้อนจากยอดขายของธุรกิจ จ�ำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคห้างสรรพสินค้า และรถจักรยานยนต์ ยังคงลดลง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากรายได้ภาคเกษตรที่ลดลง ตามภาวะแล้ง และแนวโน้มราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ ภาคธุรกิจมีความเห็นว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐยังไม่สามารถช่วยเพิ่มก�ำลังซื้อได้ชัดเจน ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยอดขายยังคงซบเซา มาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์มีส่วนช่วยได้บ้างแต่ไม่มากนัก เนื่องจากก�ำลังซื้อยังคง เดิม ขณะที่สถาบันการเงินเข้มงวดการพิจารณาสินเชื่อ


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

12

ด้านการผลิตเพือ่ ส่งออก ในภาพรวมยังลดลง โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ตามเศรษฐกิจโลกและจีนทีช่ ะลอตัว ยกเว้นการส่งออกสินค้าบางประเภทที่มีแนวโน้มดี ได้แก่ สินค้าเกษตรแปรรูปและอาหารซึ่งเป็นสินค้าจ�ำเป็น สินค้าหัตถกรรมประเภท เครื่องประดับเงินที่ได้รับค�ำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นเพื่อเตรียมจ�ำหน่ายช่วงคริสต์มาส และชุดกีฬาทางน�้ำซึ่งมีลักษณะเป็น niche market ส�ำหรับธุรกิจ โรงแรมในจังหวัดท่องเที่ยวส�ำคัญมีแนวโน้มดีต่อเนื่อง เนื่องจากเข้าสู่ช่วง high season นักท่องเที่ยวจีนยังคงเข้ามาต่อเนื่อง แนวโน้มไตรมาส 1/2559 กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าคงทนอาจมียอดขายลดลง ผลจากผู้บริโภคบางส่วนได้เร่งใช้จ่าย ไปแล้วในช่วงปลายปีก่อน ขณะที่ปัจจัยด้านรายได้เกษตรกรยังมีแนวโน้มไม่ดีนัก เช่นเดียวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างยอดขายอาจ ยังไม่ฟื้นตัวในระยะสั้น ด้านธุรกิจที่คาดว่ามีแนวโน้มดีเป็นธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยวในจังหวัดท่องเที่ยวส�ำคัญ ที่เห็นสัญญาณการจอง ห้องพักล่วงหน้าเต็มในช่วงตรุษจีน รวมทั้งธุรกิจส่งออกในรายที่สามารถเพิ่มยอดขายได้ในช่วงที่ผ่านมา คาดว่าจะขยายตัวได้ต่อเนื่อง รายงานแนวโน้มธุรกิจภาคเหนือ ไตรมาส 4 ปี 2558 ภาคอุตสาหกรรม ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ไตรมาส 4/2558 ธุรกิจส่วนใหญ่สง่ ออกลดลง โดยเฉพาะการผลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์พนื้ ฐานทีเ่ ป็น supply chain ของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เป็น brand หลักในตลาด เนื่องจากอุปสงค์ โลกและเศรษฐกิจจีนชะลอตัวท�ำให้ค่าสั่งซื้อลดลง ด้านการผลิต แผงวงจรประเภทอุปกรณ์สื่อสาร ยานยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่งออกได้ลดลงเช่นกัน บางรายมีปัญหาลูกค้าชะลอการรับสินค้าออกไปจาก แผนที่วางไว้เดิม ท�ำให้ผลประกอบการอยู่เพียงจุดคุ้มทุน และบางรายมี stock เพิ่มขึ้นมาก แต่โรงงานไม่สามารถลดก�ำลังผลิตตามได้ เพราะ ต้นทุนต่อหน่วยจะสูงขึ้นมาก อย่างไรก็ดี มีธุรกิจบางรายที่ส่งออกได้เพิ่มขึ้น แต่เป็นผลจากนโยบายบริษัทแม่ที่ต้องการให้โรงงานในไทยเป็นฐานการผลิตหลัก จึงโอนย้ายการผลิตและค�ำสั่งซื้อทั้งหมดเข้ามา แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่าภาพรวมธุรกิจส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จะยังไม่ดีนัก ตามอุปสงค์ในตลาดโลกที่ยังคงชะลอตัว สินค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร ไตรมาส 4/2558 มีแนวโน้มค�ำสั่งซื้อดี และไม่ค่อยได้รับผลกระทบจาก การชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลกเพราะเป็นสินค้าจ�ำเป็น ธุรกิจส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปประเภทข้าวโพดหวานยอดขายเพิ่มขึ้น ลูกค้าในต่างประเทศมีความต้องการซื้อ ต่อเนื่อง ส่งผลให้ stock ลดลงจากปีก่อน ขณะที่ราคาขายเริ่มปรับขึ้นบ้าง ด้านธุรกิจส่งออกอาหารประเภทซอสและเครื่องปรุงรส ยอดขาย เพิ่มขึ้นเล็กน้อย มีค�ำสั่งซื้อเต็มก�ำลังการผลิตรวมทั้งอยู่ระหว่างปรับปรุงและติดตั้งเครื่องจักรเพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิต ธุรกิจส่งออกถั่วแระและ อาหารแช่แข็ง ยอดขาย เพิ่มขึ้น เนื่องจากตลาดญี่ปุ่นมีความต้องการบริโภคมากกว่าที่ผลิตได้เอง ประกอบกับสินค้าจากจีนยังไม่ได้มาตรฐาน ตามที่ลูกค้าต้องการ จึงหันกลับมาซื้อสินค้าจากไทยมากขึ้น แนวโน้มไตรมาส 1/2559 ธุรกิจทุกรายมีแนวโน้มค�ำสั่งซื้อดีต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม มีธุรกิจบางรายกังวลว่าภาวะแล้งจะกระทบต่อผลผลิตพืช ท�ำให้ขาดแคลนวัตถุดิบ สินค้าหัตถกรรม ไตรมาส 4/2558 เครือ่ งประดับเงิน ยอดส่งออกเพิม่ ขึน้ มาก จากลูกค้าต่างประเทศทีส่ งั่ ซือ้ สินค้าเพือ่ เตรียมจ�ำหน่าย ในช่วงเทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่ ของตกแต่งบ้านที่ท�ำจากไม้ ยอดขายทรงตัว ตลาดจีนลดลงมากสะท้อนจากไม่มีค�ำสั่งซื้อใหม่เข้ามาเลย ด้านตลาดยุโรปทรงตัว แต่ตลาดสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มขยายตัวโดยเฉพาะกลุม่ discount store ทีม่ คี ำ� สัง่ ซือ้ เพิม่ ขึน้ มากเป็นพิเศษ ของทีร่ ะลึกที่ ท�ำจากผ้าและกระดาษสา ยอดขายลดลง ลูกค้าของธุรกิจส่วนใหญ่เป็นร้านจ�ำหน่ายของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติในกรุงเทพมหานคร ยอดขายลดลงต่อเนื่องตั้งแต่เหตุการณ์ระเบิดที่ราชประสงค์ แต่เริ่มปรับดีขึ้นบ้างในช่วงเดือน พ.ย.-ธ.ค. 2558 อย่างไรก็ตามเป็นช่วงที่ต้อง เปลี่ยนสินค้าเป็นรุ่นใหม่ จึงไม่สามารถเพิ่มยอดขายได้เต็มที่ ด้านแนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่าธุรกิจส่งออกเครื่องประดับเงินจะมี ยอดขายเพิ่มขึ้น ผลจากขยายช่องทางจ�ำหน่าย รวมทั้งเจาะตลาดใหม่ๆ เช่น เพิ่มการขายผ่าน website ให้มากขึ้น ออกแบบสินค้าที่ทันสมัย และราคาถูกลง เพื่อเจาะตลาดล่างในอินเดียที่คนรุ่นใหม่นิยมเลือกซื้อเครื่องประดับประเภทเงินชุบทอง ของตกแต่งบ้านที่ท�ำจากไม้คาดว่า ยอดขายจะยังคงทรงตัวเช่นเดิมส่วน ของทีร่ ะลึกทีท่ ำ� จากผ้าและกระดาษสา คาดว่ายอดขายดีขนึ้ ผลจากสินค้ารุน่ ใหม่เริม่ ออกสูต่ ลาด ต้อนรับ เทศกาลตรุษจีนที่จะมีนักท่องเที่ยวชาวจีนเข้ามามากเป็นพิเศษ เซรามิกส�ำหรับโรงแรม/สปา และตุ๊กตาพอร์สเลน ไตรมาส 4/2558 ยอดขายลดลง ลูกค้ากลุ่มโรงแรมแม้จะมีค�ำสั่งซื้อมาต่อเนื่อง จนถึงสิ้นปี แต่ปริมาณน้อยกว่าปีก่อน ขณะที่ลูกค้าจีนที่ซื้อสินค้าไปขายผ่าน website ในจีนและมีค�ำสั่งซื้อขยายตัวมาหลายปี ในปีนี้เริ่มลด ค�ำสั่งซื้อลง แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายยังคงลดลง ชุดกีฬาทางน�้ำ ไตรมาส 4/2558 ยอดส่งออกเพิ่มขึ้น ตามการส่งออกไปออสเตรเลีย ยุโรป อเมริกา และแคนาดา รวมทั้งบริษัทแม่ ขยายโรงงานในไทยให้เป็นฐานการผลิตหลัก แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายเพิ่มขึ้น ทั้งจากลูกค้าเดิมและสามารถหาลูกค้าใหม่ ได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งรับจ้างผลิตให้กับแบรนด์อื่นเพิ่มขึ้น ปศุสัตว์และอาหารสัตว์การผลิตสุกร ไตรมาส 4/2558 ยอดขายลดลง ธุรกิจได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ไก่เนื้อล้นตลาด ท�ำให้ ราคาเนือ้ สุกรซึง่ เป็นสินค้าทดแทนกันลดลงตามไปด้วย แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายจะยังคงได้รบั ผลกระทบต่อเนือ่ ง อาหารสัตว์


13

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ไตรมาส 4/2558 ยอดขายเพิ่มขึ้น ตลาดอาหารสัตว์ในภาคเหนือยังเติบโต ปริมาณการเลี้ยงสัตว์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยยอดขายเติบโตทั้งใน กลุ่มอาหารสุกรและไก่ แนวโน้ม ไตรมาส 1/2559 คาดว่าจะเติบโตได้ต่อเนื่อง ธุรกิจมีแผนเพิ่มการส่งเสริมการขายเพื่อขยายส่วนแบ่งตลาด และเพิ่ม contract farming ให้มากขึ้น การค้าและการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ไตรมาส 4/2558 ส่วนใหญ่ยอดขายไม่ดีนัก ประเภทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จ.เชียงใหม่ ยอดขาย ทรงตัว ผู้ประกอบการเห็นว่าก�ำลังซื้อของผู้บริโภคลดลง แต่ไม่ได้เร่งท�ำ promotion เนื่องจากช่วงก่อนหน้าได้เร่งท�ำไปมากและ margin ลดลงจนเริม่ เห็นว่าไม่คมุ้ ค่า ด้านการค้าส่งสินค้าอุปโภคบริโภค ทีม่ ลี กู ค้าหลักอยูใ่ นพืน้ ทีต่ า่ งอ�ำเภอใน จ.เชียงใหม่ ยอดขายลดลงมาก ส่วนหนึง่ จาก รายได้ภาคเกษตรที่ลดลงท�ำให้ก�ำลังซื้อลดลง รวมทั้งการแข่งขันจาก modern trade ที่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ห้างสรรพสินค้าและค้าปลีก จ.นครสวรรค์ ยอดขายลดลงตามรายได้ภาคเกษตรกรที่ลด ส่งผลให้ความมั่นใจของผู้บริโภคลดลง แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขาย จะยังไม่ฟื้นตัวชัดเจน แต่อาจได้รับผลดีจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐบ้าง ธุรกิจจ�ำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า จ.ล�ำปาง ไตรมาส 4/2558 ยอดขายลดลง แม้จะปรับตัวดีขึ้นบ้างจากไตรมาสก่อนหน้า โดยสินค้าที่มี ยอดขายดีขึ้นบ้างเป็นหมวดโทรศัพท์มือถือ ขณะที่เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนทรงตัว แนวโน้มในไตรมาส 1/2559 ยอดขายน่าจะดีขึ้นเล็กน้อย ผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐน่าจะเห็นผลชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งการปรับตัวของธุรกิจที่จะเพิ่มช่องทางขายผ่าน sub dealer ให้มากขึ้น ธุรกิจตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์ไตรมาส 4/2558 ยอดขายปรับดีขึ้นบ้าง ผลจากผู้บริโภคเร่งตัดสินใจซื้อก่อนการปรับอัตราภาษี สรรพสามิตใหม่ในต้นปี 2559 โดยเฉพาะในกลุม่ รถยนต์กระบะและ SUV มียอดขายเพิม่ ขึน้ แต่คาดว่าเป็นปัจจัยชัว่ คราว แนวโน้มไตรมาส 1/2559 ตลาดอาจกลับไปซบเซา อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการบางราย มีความเห็นว่ายอดขายอาจไม่ลดลงมาก เพราะภาวะปัจจุบนั น่าจะเป็นจุดต�ำ่ สุดแล้ว ธุรกิจจ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ ไตรมาส 4/2558 ยอดขายลดลง กลุ่มเกษตรกรและแรงงานได้รับผลกระทบจากรายได้เกษตรที่ ลดลงและภาพรวมเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ขณะที่สถาบันการเงินเข้มงวดการให้สินเชื่ออย่างต่อเนื่อง แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขาย ยังคงลดลง เนื่องจากแนวโน้มภาคเกษตรยังไม่ดีนัก ภาคการท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมและที่พัก ไตรมาส 4/2558 ในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญดีต่อเนื่อง เพราะเข้าสู่ฤดูท่องเที่ยวโรงแรม 3-5 ดาว จ.เชียงใหม่ อัตราการเข้าพักอยู่ในระดับสูง นักท่องเที่ยวชาวจีนยังเป็นกลุ่มหลักที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว ขณะที่นักท่องเที่ยวยุโรปเริ่มกลับเข้ามาบ้าง โรงแรมระดับ 4-5 ดาว จ.เชียงราย อัตราการเข้าพักเพิ่มขึ้นผลจาก trend นักท่องเที่ยวนิยมเข้ามาพักและจัดประชุมสัมมนาใน จ.เชียงราย มากขึ้น รวมทั้งมีนักท่องเที่ยวจากยุโรป ทั้งจากสวิตเซอร์แลนด์ เยอรมัน และฝรั่งเศส เข้ามาต่อเนื่อง เกสท์เฮาส์ จ.เชียงใหม่ ที่ตั้งอยู่แหล่ง ท่องเที่ยวมีลูกค้าเพิ่มขึ้นทั้งชาวจีน ออสเตรเลีย รวมทั้งชาวไทยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม โรงแรม 4 ดาว จ.พิษณุโลก ที่มีลูกค้าหลักเป็นชาวไทย มียอดขายลดลง เนือ่ งจากภาคเอกชนส่วนใหญ่ปรับลดค่าใช้จา่ ยด้านการประชุมสัมมนา ตามภาพรวมเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว ด้านแนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่าในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ภาพรวมการท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มดีเพราะยังอยู่ในช่วง high season ของการท่องเที่ยว สะท้อน จากยอดจองห้องพักของโรงแรมใน จ.เชียงใหม่ หลายแห่งมียอดจองเต็มในช่วงเทศกาลตรุษจีน ร้านอาหารขันโตก จ.เชียงใหม่ ยอดขายเพิ่มขึ้นตามภาคการท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มดี รวมทั้งการเปิดบริการศูนย์ประชุมแห่งใหม่ที่ได้ ยอดจองจัดงานแต่งงานต่อเนื่องทั้งเดือน พ.ย. 2558 แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายเพิ่มขึ้น ตามแนวโน้มนักท่องเที่ยวจีนที่ยังคง นิยมเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว จ.เชียงใหม่ ภาคอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ไตรมาส 4/2558 บ้านจัดสรร จ.เชียงใหม่ และ จ.พิษณุโลก ยอดขายลดลง ลูกค้ายังคงไม่มั่นใจในการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจท�ำให้ชะลอการตัดสินใจซื้อ รวมทั้งสถาบันการเงินเข้มงวดสินเชื่อ คอนโดมิเนียม ตลาดยังคงซบเซา และมียอดคงค้างอยู่มาก ท�ำให้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ชะลอการลงทุน จึงไม่มีโครงการใหม่เข้ามาเพิ่ม ส่วนผลของมาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์ของภาครัฐ ผู้ประกอบการเห็นว่าช่วยให้ผู้ซื้อรายเดิมเร่งโอน แต่ไม่มากพอที่จะจูงใจให้เกิด demand ใหม่ๆ เนื่องจากก�ำลังซื้อยังคงเดิม ผู้ประกอบการ บางรายปรับลดราคาลงและจัด promotion แต่ไม่คอ่ ยได้ผลนัก แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายจะยังคงไม่ฟน้ื ตัว เนือ่ งจากผูบ้ ริโภค ไม่มั่นใจต่อแนวโน้มเศรษฐกิจ และสถาบันการเงินยังคงเข้มงวดการพิจารณาสินเชื่อ ธุรกิจจ�ำหน่ายวัสดุกอ่ สร้าง ไตรมาส 4/2558 ภาพรวมตลาดยังไม่ดนี กั จ.เชียงใหม่ สะท้อนได้จากยอดขายผลิตภัณฑ์คอนกรีตประเภท พื้นส�ำเร็จรูปส�ำหรับที่อยู่อาศัย และ post-tensioned slab ส�ำหรับอาคารสูงที่ลดลง ผลจากตลาดอสังหาริมทรัพย์ค่อนข้างซบเซา ท�ำให้ นักลงทุนส่วนใหญ่ชะลอการเปิดโครงการใหม่ อย่างไรก็ดโี ครงการก่อสร้างของภาครัฐยังคงเป็นแรงขับเคลือ่ นส�ำคัญ แต่โครงการบางส่วนก็เกิด ความล่าช้า เพราะต้องพิจารณาทบทวนราคากลางใหม่ตามราคาน�้ำมันที่ลดลง รวมทั้งภาครัฐมีความระมัดระวังในเรื่องการประมูลและจัดจ้าง


14

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

จ.นครสวรรค์ธุรกิจจ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างมียอดขายลดลง โดยเฉพาะงานภาคเอกชน ส่วนตลาดชาวบ้านมีการก่อสร้าง ต่อเติมเพียงเล็กน้อย จ.เชียงราย ยอดขายลดลงเช่นกัน โดยเฉพาะในกลุม่ ขายปลีกภาคชาวบ้าน ตามรายได้ภาคเกษตรทีล่ ดลง ขณะทีก่ ารส่งออกลดลงเล็กน้อย ด้านงาน โครงการภาครัฐมีเพียงงานปรับปรุงและซ่อมแซมเป็นส่วนใหญ่แนวโน้มไตรมาส 1/2559 คาดว่ายอดขายจะยังไม่ฟน้ื ตัว ตามธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่ยังมีแนวโน้มซบเซา ภาคการลงทุน ไตรมาส 4/2558 ธุรกิจส่วนใหญ่ไม่มีการขยายการลงทุนในช่วงนี้ เนื่องจากภาพรวมอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศยังไม่ดีนัก ยกเว้น ธุรกิจรายใหญ่ที่มียอดขายเพิ่มขึ้นเท่านั้นที่ขยายการลงทุน เช่น ธุรกิจส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร มีการปรับปรุงสายการผลิต ปรับขยายพื้นที่ภายในโรงงาน น�ำเข้าเครื่องจักร ธุรกิจโรงแรมบางรายลงทุนปรับปรุงร้านอาหารเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว บางรายลงทุนสร้าง ห้องพักเพิม่ ธุรกิจชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ บางรายน�ำเข้าเครือ่ งจักรแม่เพือ่ รองรับสายการผลิตใหม่สว่ นแนวโน้มไตรมาส 1/2559 ธุรกิจส่วนใหญ่ยัง ไม่มีแผนขยายการลงทุนเช่นเดียวกัน ต้นทุนและการปรับราคา ต้นทุนของธุรกิจในไตรมาส 4/2558 ส่วนใหญ่ทรงตัว และคาดว่าในไตรมาส 1/2559 จะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากปัจจุบันมากนัก ด้านความสามารถในการปรับราคาแตกต่างกันไปในแต่ละธุรกิจ ธุรกิจที่สามารถปรับขึ้นราคาขายได้ ได้แก่ธุรกิจโรงแรม ปรับราคาได้ตาม ความต้องการที่มีต่อเนื่อง ธุรกิจที่สามารถปรับขึ้นราคาขายได้บางส่วน ได้แก่ธุรกิจสินค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร ส่วนธุรกิจที่ไม่สามารถปรับ ราคาขายได้ ได้แก่ การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพราะแนวโน้มราคาจะลดลงตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ประกอบกับอุปสงค์ใน ตลาดโลกชะลอตัว ขณะที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์บางราย ต้องพยายามจูงใจให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อโดยเจรจาให้ส่วนลดมากขึ้น แรงงาน ธุรกิจบางส่วนขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะฝีมือและความช�ำนาญเฉพาะด้าน เช่น ธุรกิจส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป ตัวแทนจ�ำหน่าย รถจักรยานยนต์ และธุรกิจจ�ำหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้า มีปญ ั หาพนักงาน turnover สูง ธุรกิจต้องการแรงงานช่างฝีมอื เพิม่ แต่แรงงานคุณภาพหายาก โดยเฉพาะแรงงานรุน่ ใหม่ไม่มคี วามอดทนในการท�ำงานธุรกิจโรงแรม ส่วนใหญ่ขาดแคลนพนักงานในช่วง high season ปรับตัวโดยจ้างแรงงาน ชั่วคราว (casualemployment) ในช่วงที่มีงานเข้ามามาก รวมทั้งขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะด้านภาษาต่างประเทศ ปรับตัวโดยจัดหลักสูตร พัฒนาความรู้ด้านภาษาให้แก่พนักงานในองค์กร 15 มกราคม 2559 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ แผนภูมิที่ 3 จ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง นายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน 699 คน

นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน 643 คน

การเดินทางด้วยตนเอง 1,929 คน

กรมการจัดหางานจัดส่ง 2,180 คน

บริษัทจัดหางานจัดส่ง 8,157 คน

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้ไปท�ำงานต่างประเทศปี 2558 จ�ำนวน 13,608 คน ลดลงจากปี 2557 ร้อยละ 3.97 จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 8,157 คน ร้อยละ 59.94 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 2,180 คน ร้อยละ 16.02 การเดินทางด้วยตนเอง จ�ำนวน 1,929 คน ร้อยละ 14.18 การเดินทางโดย นายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน จ�ำนวน 699 คน ร้อยละ 5.14 และ การเดินทางโดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�ำนวน 643 คน ร้อยละ 4.73


15

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 10 อันดับแรก จ�ำนวน (คน)

วัน

ไต้ห

สา

ณ ธาร

าหล

ก รัฐเ

โปร

สิงค

ุ่น

ญี่ป

าหร

รัฐอ

สห

ส์

ิเรต

ม บั เอ

เอล

คูเว

า อิสร

ใต้

า ฟริก

แอ

เซีย

ล มาเ

าร์

กาต

ประเทศ

จ�ำแนกตามรายประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปท�ำงานมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�ำนวน 8,324 คน ร้อยละ 34.83 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�ำนวน 2,882 คน ร้อยละ 12.56 ประเทศสิงคโปร์ จ�ำนวน 1,354 คน ร้อยละ 5.66 ประเทศญีป่ นุ่ จ�ำนวน 1,119 คน ร้อยละ 4.68 และประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จ�ำนวน 971 คน ร้อยละ 4.06 ตารางที่ 13 จ�ำนวนและร้อยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จังหวัด ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

ปี 2557

ปี 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

891 2,916 712 914 699 443 677 339 730 663 370 23 2,010 312 1,807 554 111

6.29 20.58 5.02 6.45 4.93 3.13 4.78 2.39 5.15 4.68 2.61 0.16 14.18 2.20 12.75 3.91 0.78

1,604 3,853 1,375 1,617 1,095 704 1,100 953 1,423 1,247 541 63 3,816 443 2,836 1,035 197

6.71 16.12 5.75 6.77 4.58 2.95 4.60 3.99 5.95 5.22 2.26 0.26 15.97 1.85 11.87 4.33 0.82

713 937 663 703 396 261 423 614 693 584 171 40 1,806 131 1,029 481 86

80.02 32.13 93.12 76.91 56.65 58.92 62.48 181.12 94.93 88.08 46.22 173.91 89.85 41.99 56.95 86.82 77.48

14,171

100.00

23,902

100.00

9,731

68.67

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดทีค่ นงานเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 3,853 คน ร้อยละ 16.12 จังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 3,816 คน ร้อยละ 15.16 จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 2,836 คน ร้อยละ 11.87 จังหวัดตาก จ�ำนวน 1,617 คน ร้อยละ 6.77 และจังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 1,604 คน ร้อยละ 6.71


16

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ แผนภูมิที่ 5 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2557 และ ณ ธันวาคม 2558 จ�ำนวน (คน)

ั่วไป

ดชีพ

ชาต

ตลอ

ิเดิม

ัญ ูจน์ส

ข้า น�ำเ

พิส

OU

OI

ุน B

M

สริม

ส่งเ

งท ารล

ประเภท

อ้ ย

ลุ่มน

ก ชน

คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานในภาคเหนือ ณ เดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน 182,328 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2557 โดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.92 จ�ำแนกตามประเภททีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงาน คนต่างด้าวพิสจู น์สญั ชาติได้รบั อนุญาตท�ำงานมากทีส่ ดุ จ�ำนวน 148,001 คน ร้อยละ 81.17 รองลงมาคือ คนต่างด้าวประเภทชนกลุ่มน้อย จ�ำนวน 18,162 คน ร้อยละ 9.96 น�ำเข้าตาม MOU จ�ำนวน 7,622 คน ร้อยละ 4.18 คนต่างด้าว ประเภททั่วไป จ�ำนวน 7,489 คน ร้อยละ 4.11 คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน BOI จ�ำนวน 1,051 คน ร้อยละ 0.58 และคนต่างด้าว ประเภทตลอดชีพ จ�ำนวน 3 คน ร้อยละ 0.002 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2557 ประเภทคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตเกือบ ทุกประเภทเพิ่มขึ้น ยกเว้นคนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ และคนต่างด้าวประเภทน�ำเข้าตาม MOU ลดลงร้อยละ 88.00 และร้อยละ 68.73 ตารางที่ 14 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงานเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2557 และ ณ ธันวาคม 2558 ตลอดชีพ จังหวัด

ธ.ค. 57

ธ.ค. 58

ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี

0 0 21 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 1 0 0

รวม

25

ทั่วไป ธ.ค. 57

พิสูจน์สัญชาติ ธ.ค. 58

ชนกลุ่มน้อย

ธ.ค. 58

ธ.ค. 57

ธ.ค. 58

ธ.ค. 57

ธ.ค. 58

ธ.ค. 57

ธ.ค. 58

จ�ำนวน ร้อยละ (คน)

3 3,116 7,704 518 8 8 52 0 11 0 2 919 134 1,078 16 8 7

3 2,801 12,334 592 19 6 47 3 40 0 1 1,056 154 1,063 26 10 7

4,159 12,923 95,571 31,292 10,497 242 990 512 2,835 1,519 701 1,966 2,624 9,520 839 531 437

4,338 8,579 102,456 31,436 8,111 461 1,045 517 3,838 3,830 663 2,177 3,479 9,636 725 554 483

4.30 179 -4,344 -33.61 6,885 7.20 0.46 144 -2,386 -22.73 219 90.50 5.56 55 0.98 5 1,003 35.38 2,311 152.14 -5.42 -38 211 10.73 855 32.58 1.22 116 -114 -13.59 4.33 23 10.53 46

ธ.ค. 57

ธ.ค. 58

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 0 0 0 0

185 174 3,928 772 769 8,811 3,914 4,580 63,996 369 396 26,887 167 189 10,060 119 97 93 644 108 96 302 108 117 114 282 2,450 1,496 1 3 666 1 12 938 99 109 250 240 2,196 193 222 7,827 560 94 94 391 67 66 388 53 41

4,088 4,843 84,657 26,550 7,359 319 673 356 3,090 2,121 646 1,022 3,043 7,906 455 450 423

73 43 160 215 19,501 336 3,465 3,854 544 262 39 22 217 198 41 102 381 235 20 1,708 12 18 0 0 42 44 39 14 149 168 27 66 0 1

0 9 435 53 0 0 0 0 25 0 0 0 0 408 0 0 0

0 6 549 44 0 0 0 0 45 0 0 0 0 406 1 0 0

3

6,586 7,489 131,659 148,001 24,374 7,622

930

1,051 13,584 18,162 177,158 182,328 5,170

ที่มา : ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว

ธ.ค. 57

รวมคนต่างด้าวทั้งสิ้น (คน)

อัตราการ เปลี่ยนแปลง

ส่งเสริม การลงทุน BOI

น�ำเข้าตาม MOU

2.92


17

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

จ�ำแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 102,456 คน ร้อยละ 56.19 รองลงมาคือ จังหวัดตาก จ�ำนวน 31,436 คน ร้อยละ 17.24 จังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 9,636 คน ร้อยละ 5.28 จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 8,579 คน ร้อยละ 4.71 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 8,111 คน ร้อยละ 4.45 ตามล�ำดับ

ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ ตารางที่ 15 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2558 ปี

สาเหตุ

เลิกจ้าง 2558 ลาออก รวม เลิกจ้าง 2557 ลาออก รวม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

522 5,488 6,010 1,019 5,526 6,545

466 6,509 6,975 505 5,908 6,413

498 5,836 6,334 388 5,764 6,152

516 6,507 7,023 502 6,371 6,873

420 7,408 7,828 622 6,546 7,168

541 7,419 7,960 489 7,732 8,221

795 6,082 6,877 417 6,030 6,447

656 5,789 6,445 469 5,161 5,630

605 5,603 6,208 379 5,651 6,030

657 5,508 6,165 460 5,990 6,450

721 6,493 7,214 430 5,778 6,208

518 5,070 5,588 417 4,448 4,865

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตนปี 2558

แผนภูมิที่ 7 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงานปี 2558

รวม ทั้งหมด (คน) 6,915 73,712 80,627 6,097 70,905 77,002


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

18

สถิติผู้ประกันตนที่ถูกเลิกจ้างและลาออกจากงานปี 2558 มีจ�ำนวน 80,627 คน จ�ำแนกสาเหตุจากการเลิกจ้าง จ�ำนวน 6,915 คน ร้อยละ 8.77 และจากการลาออกจากงาน จ�ำนวน 73,712 คน ร้อยละ 91.72 ส�ำหรับผูป้ ระกันตนทีข่ นึ้ ทะเบียนกรณีวา่ งงาน จ�ำนวน 73,712 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�ำนวน 50,272 คน หรือคิดเป็นอัตราการบรรจุงานร้อยละ 68.20 ของจ�ำนวนผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนฯ

ตลาดแรงงานไทยเคลื่อนย้ายจากชนบทสู่เมือง ประชากรและก�ำลังแรงงาน (ระดับประเทศหรือทั่วราชอาณาจักร) (หน่วย : พันคน) 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559*

ผู้มีงานท�ำ 26.69 27.64 29.46 30.62 30.84 31.14 32.38 32.15 32.09 32.57 32.32 33.16 32.13 30.83 31.91 32.10 33.06 33.84 34.91 34.22 35.69 36.25 37.02 37.70 38.04 38.46 38.93 38.91 38.07 38.15 38.13 ภาคเกษตรกร 16.53 17.78 19.57 20.39 19.72 18.81 19.70 18.25 17.95 16.92 16.12 16.69 16.47 13.99 14.73 13.61 14.04 13.88 13.91 13.62 14.17 14.31 14.70 14.69 14.55 14.88 15.43 15.41 12.73 12.27 12.26 ภาคนอก 10.16 9.86 9.89 10.23 11.12 12.33 12.68 13.90 14.14 15.65 16.11 16.47 15.66 16.84 17.18 18.49 19.02 19.96 21.00 20.60 21.52 21.94 22.32 23.01 23.49 23.58 23.50 23.50 25.34 25.88 25.87 เกษตรกร

ข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ 30 ปีที่แล้วหรือในปี 2529 ประเทศไทยเรามีผู้มีงาน ประมาณ 26.69 ล้านคน และในปัจจุบัน มีผู้มีงานท�ำประมาณ 38.15 ล้านคน เพิ่มขึ้น 11.46 ล้านคน (ร้อยละ 42.94) และมีแนวโน้มที่จะมีผู้มีงานท�ำมากขึ้นทั้งนี้เนื่องจากประชากร เพิ่มขึ้นจาก 52.23 ล้านคนเป็น 67.21 ล้านคนเท่ากับเพิ่มขึ้น 14.98 ล้านคน (ร้อยละ 22.75) ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นต่อไปและเนื่องจาก ประเทศไทยมีภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้นหรือพูดง่ายๆ ว่าประเทศไทยมีความเจริญมากขึ้น (ข้อมูลปี 2559 เป็นการประมาณการ)

ประเทศไทยเราหลายสิบหลายร้อยปีหรืออาจเป็นพันๆ ปีทผี่ า่ นมาประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมเป็นหลักซึง่ ตลาดแรงงาน ใหญ่ก็คือทุ่งนาและป่าเขาในชนบท จากข้อมูลที่น�ำมาเสนอมีผู้มีงานท�ำในปี 2529 ประมาณ 26.69 ล้านคน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้าน เกษตรกรรม ประมาณ 16.53 ล้านคน (ร้อยละ 61.93) ซึง่ มากกว่าประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม (อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ) จ�ำนวน 6.37 ล้านคนหรือมากกว่าร้อยละ 62.70 โดยนอกภาคเกษตรกรรมมีประมาณ 10.16 ล้านคน (ร้อยละ 38.07) ถึง ซึง่ ตลาดแรงงานใหญ่ก็ คือในเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพฯ และปริมณฑลหรือในอ�ำเภอเมืองจังหวัดต่างๆ ซึ่งมีตลาดแรงงานใหม่ๆ นอกจากการท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวนรองรับ


19

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

จากกราฟจะเห็นว่าในปัจจุบนั นีต้ า่ งจากในอดีตทีผ่ า่ นมาประเทศไทยเราเปลีย่ นจากประชาชนประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม (อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ) เป็นหลัก จากข้อมูลทีน่ ำ� มาเสนอมีผมู้ งี านท�ำในปี 2558 ประมาณ 38.15 ล้านคน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 25.88 ล้านคน (ร้อยละ 67.72) ซึ่งมากกว่าประกอบอาชีพใน ภาคเกษตรกรรม 13.61 ล้านคนหรือมากกว่าเท่าตัว (ร้อยละ 110.92) โดยในภาคเกษตรกรรมมีประมาณ 12.22 ล้านคน (ร้อยละ 32.28) ตารางเปรียบเทียบผู้มีงานท�ำปี 2529 กับปี 2558 จ�ำนวน รายการ 2529 2558 ผลต่าง ร้อยละ

รวม ในภาคเกษตร นอกภาคเกษตร ผลต่าง ร้อยละ 26.69 16.53 10.16 6.37 62.70 38.15 11.46

12.27 4.26

25.88 15.72

42.94

25.77

154.72

13.61 110.92

ร้อยละ รายการ 2529 2558 ผลต่าง

รวม 100

ในภาคเกษตร

นอกภาคเกษตร

ผลต่าง

61.93

38.07

23.86

100

32.28 -29.65

67.72 29.65

35.44

สิง่ ทีน่ า่ สังเกตคือจากข้อมูลดังกล่าวจะพบว่าในช่วง 30 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2529) ทัง้ ๆ ทีม่ ผี มู้ งี านท�ำมากขึน้ แต่ประชาชนทีป่ ระกอบอาชีพ ในภาคเกษตรกรรมเป็นหลักกลับลดลงถึง 4.26 ล้านคน (ร้อยละ 25.77) และมีประชาชนที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก เพิ่มขึ้นจากปี 2529 เกินกว่าเท่าตัวคือประมาณ 15.72 ล้านคน (ร้อยละ 154.72)

ตลาดแรงงานไทยเคลื่อนย้ายจากชนบทสู่เมือง จากประสบการณ์กว่า 20 ปีที่ผ่านมาในการท�ำงานโดยเฉพาะจากโครงการแนะแนว อาชีพซึ่งต้องลงไปปฏิบัติงานในหมู่บ้านจะพบแต่ผู้สูงวัยและเด็กเล็กแทบจะไม่พบคนหนุ่มสาว สอบถามจากผู้สูงวัยก็ได้ค�ำตอบตรงกันว่า คนหนุ่มสาวพากันไปหางานท�ำในเมือง (เด็กโตไปโรงเรียน) เช่นท�ำงานโรงงาน ห้างสรรพสินค้า ร้านค้า โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น ถึงหน้าเทศกาลส�ำคัญเช่นเทศกาลสงกรานต์ เทศกาลปีใหม่หรือตรุษจีนจึงจะมีโอกาสกลับบ้าน จุดเปลีย่ นทีส่ ำ� คัญทีม่ ขี อ้ มูลทีช่ ดั เจนเกิดขึน้ ในปี 2542 คือมีแรงงานนอกภาคเกษตร (อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ) จ�ำนวน 16.84 ล้านคน มากกว่าแรงงานในภาคเกษตรจ�ำนวน 2.49 ล้านคน (ร้อยละ 17.80) ซึง่ ในปี 2542 มีแรงงานในภาคเกษตรจ�ำนวน 13.99 ล้านคน ทั้งนี้ ก่อนหน้านั้นคือในปี 2539 ผู้มีงานท�ำในภาคเกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรมมีจ�ำนวนเท่ากันคือประมาณ 16.1 ล้านคน และมีการ ปรับตัวขึ้นในปี 2540 – 2541 และมีการเพิ่มขึ้นเรื่อยมานับตั้งแต่ปี 2542 จนถึงปัจจุบันนี้ ศึกษาและวิเคราะห์โดย นายฤชุชัย โปธา หัวหน้าศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดลำ�ปาง 24 มีนาคม 2559



ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ศูนย์ราชการจังหวัดล�ำปาง ชั้ น 3 ถ.วชิ ราวุ ธด�ำเนิน ต.พระบาท อ.เมืองล�ำปาง จ.ล�ำปาง 52000 โทร. 0 5426 5050 โทรสาร. 0 5426 5071 www.nlmi-lp.com E-mail : lm_lpg@live.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.