วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 4 ปี 2559 (ตุลาคม - ธันวาคม)

Page 1



ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

Editor ..... บรรณาธิการ สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559 (ตุลาคม - ธันวาคม) จัดทําขึ้นเพื่อใหทราบถึงขอมูลประชากร และกําลังแรงงาน (ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจ การเงิน การไปทํางานตางประเทศ การทํางานของคนตางดาว เอกสารฉบับนี้สําเร็จไดดวยความเอื้อเฟอขอมูลจากสํานักงาน สถิตแิ หงชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กองบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ สํานักบริหารแรงงานตางดาว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ขอขอบคุณ ทุกหนวยงานที่ไดใหการเอื้อเฟอขอมูล และหวังเปนอยางยิ่งวา ขอมูลเหลานี้จะเปนประโยชนทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้สามารถสืบคนขอมูลไดทางเว็ปไซต www.nlmi-lp.com หากทานมีขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการจัดทําครั้งตอไป ขอไดโปรดติดตอโดยตรงที่ ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงาน ภาคเหนือ ศูนยราชการชัน้ 3 ถนนวชิราวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง 52000 หรือแจงทางโทรศัพท ไดที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ e-mail : lm_lpg@live.com

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ มีนาคม 2560

สารบัญ หนา

ก-ข 1 5 8 9 11 13 14

บรรณาธิการ บทสรุปผูบ ริหาร ประชากรและกําลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงาน ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน การไปทํางานตางประเทศ การทํางานของคนตางดาว ขาวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาสทีส่ ขี่ องป 2559 ทัง้ ป 2559 และแนวโนมป 2560


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

บทสรุปผูบริหาร สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559 (ตุลาคม – ธันวาคม) ประชากรและกําลังแรงงาน ประชากรภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559 ประมาณ 11.42 ลานคน เปนประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไปรอยละ 83.09 จําแนกเปนผูอ ยูใ นกําลังแรงงาน รอยละ 55.89 ประกอบดวย ผูมีงานทํา รอยละ 55.15 ผูวางงาน รอยละ 0.55 และผูที่ รอฤดูกาล รอยละ 0.19 เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของชวงป 2558 พบวาประชากรลดลง รอยละ 0.36 ผูมีงาน ทําลดลง รอยละ 2.97 เปนผูมีงานทําจําแนกประเภทอาชีพ ผูป ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี ม อื ในดานการเกษตรและ การประมงมากทีส่ ดุ รอยละ 40.09 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมโดยเปน ผูทํางานภาคเกษตรกรรม รอยละ 44.63 และภาคนอก เกษตรกรรม รอยละ 55.37 จําแนกตามระดับการศึกษา ที่สําเร็จสวนใหญสําเร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษา และไมมกี ารศึกษาสูงถึง รอยละ 54.89 จําแนกตามสถานภาพ การทํางานสวนใหญทาํ งานสวนตัวโดยไมมลี กู จาง รอยละ 37.72 และจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาหเปนผูมีงานทํา ระหวาง 35 - 49 ชั่วโมงตอสัปดาห รอยละ 58.29 และ ผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห รอยละ 24.87 (ผูมีงานทํา 35 - 50 ชั่วโมงตอสัปดาห รอยละ 83.16 โดยบุคคลเหลานีเ้ ปนผูท ที่ าํ งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมงการทํางาน)

ภาวะการวางงาน ผูวางงานเพิ่มขึ้น รอยละ 32.04 โดยจังหวัดเชียงใหมจะมีผูวางงานมากที่สุด รอยละ 20.12 และจังหวัดอุทัยธานีมีผูวางงานนอยที่สุด รอยละ 0.05 สําหรับอัตราการวางงานเทากับ รอยละ 0.99 จังหวัด กําแพงเพชรมีอัตราการวางงานมากที่สุด รอยละ 2.24 ขณะเดียวกันจังหวัดอุทัยธานีมีอัตราการวางงานนอยที่สุด รอยละ 0.02 ทั้งนี้จังหวัดเชียงรายไมมีผูวางงานในไตรมาสนี้

ภาวะตลาดแรงงาน

นายจางแจงความตองการแรงงานจํานวน 10,174 อัตรา ผูสมัครงานที่ลงทะเบียนจํานวน 5,237 คน และ บรรจุงาน ไดจํานวน 8,082 คน ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงานลดลงจากไตรมาสเดียวกันของ ป 2558 โดยลดลงรอยละ 32.61 รอยละ 66.37 และรอยละ 41.96

ภาวะการลงทุน

โรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 4 ป 2559 จํานวน 139 แหง เงินลงทุน 12,905.32 ลานบาท และเกิดการจางงาน 2,398 คน จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับ อนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุด รอยละ 23.74 รองลง มาคือ จังหวัดเชียงใหม รอยละ 17.27 และจังหวัดเพชรบูรณ รอยละ 14.39 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรม เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือนเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ได รับอนุญาตประกอบกิจการมากทีส่ ดุ รอยละ 20.86 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมอาหาร รอยละ 15.83 และอุตสาหกรรมทัว่ ไป รอยละ 14.39


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 4 ป 2559 ปรับดีขึ้นจากไตรมาสกอน โดยการลงทุนภาครัฐ เรงตัวตามการกอสรางสาธารณูปโภคพืน้ ฐานและการเบิกจาย ในโครงการกระตุนเศรษฐกิจการสงออกปรับดีขึ้นในสินคา ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสไปตลาดเอเชีย การลงทุนภาคเอกชน ปรับดีขนึ้ บางในอุตสาหกรรมผลิตเพือ่ สงออกทีน่ าํ เขาเครือ่ งจักร เพิ่มขึ้นเพื่อผลิตสินคาชนิดใหม สวนภาคอสังหาริมทรัพย ยังซบเซา ภาคการทองเที่ยวแมจะไดรับผลกระทบจาก การเลือ่ นจัดกิจกรรมบางประเภทออกไป แตกส็ ามารถฟน ตัว ไดเร็วในชวงเดือนธันวาคม ผลผลิตเกษตรกลับมาเพิ่มขึ้น ตามภาวะแลงคลี่คลาย ผลผลิตพืชหลัก เชน ขาวเพิ่มขึ้น แตราคาพืชหลักตกตํา่ ทําใหกาํ ลังซือ้ ครัวเรือนเกษตรยังออนแอ สอดคลองกับการบริโภคภาคเอกชนที่ยอดขายสินคาในชีวิต ประจําวันและสินคาคงทนยังฟนตัวชา สําหรับเสถียรภาพ เศรษฐกิจของภาคเหนืออยูในเกณฑดี อัตราการวางงาน อยูในระดับตํ่าและทรงตัวจากไตรมาสกอน แตพบวา จํานวนผูขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงานปรับเพิ่มขึ้น สวนอัตราเงินเฟอเพิ่มขึ้นจากราคานํ้ามันเชื้อเพลิงและราคา อาหารสด ดานยอดคงคางเงินฝากของธนาคารพาณิชย ชะลอลง ขณะที่สินเชื่อหดตัวโดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ ตอนลาง

การไปทํางานตางประเทศ

คนงานไทยที่ไดรับอนุญาตไปทํางานตางประเทศ ไตรมาสที่ 4 ป 2559 จํานวน 3,211 คน ลดลงจากไตรมาสเดียวกัน ของป 2558 รอยละ 5.52 เดินทางโดยบริษัทจัดหางาน จัดสงสูงสุด รอยละ 59.83 สําหรับประเทศไตหวันเปน ประเทศที่มีแรงงานเดินทางไปมากถึง รอยละ 48.80 และ จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเดินทางไป มากที่สุด รอยละ 22.33

การทํางานของคนตางดาว

คนตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ ณ เดือน ธันวาคม 2559 จํานวน 135,037 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2558 ลดลงรอยละ 25.94 คนตางดาว มาตรา 9 ประเภทคนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาต ทํางานมากที่สุด รอยละ 70.48 สําหรับจังหวัดเชียงใหม มีแรงงานตางดาวที่เขามาทํางานสูงสุด รอยละ 54.95


1

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ประชากรและกําลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรและกําลังแรงงานภาคเหนือ

โครงสรางประชากรและกําลังแรงงานในภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ อัตราการวางงาน = ผูวางงาน*100/กําลังแรงงานรวม = รอยละ 0.99

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน

ประชากรไตรมาสที่ 4 ป 2559 (ตุลาคม - ธันวาคม) ประมาณ 11.42 ลานคน เปนผูอยูในกําลังแรงงานรวมประมาณ 6.38 ลานคน รอยละ 55.89 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด และผูไมอยูใน กําลังแรงงานรวมถึงผูม อี ายุตาํ่ กวา 15 ป ประมาณ 5.04 ลานคน รอยละ 44.11 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ ยูใ นกําลังแรงงานรวม จํานวน 6,383,314 คน ประกอบดวย ผูมีงานทํา รอยละ 55.15 ผูวางงาน รอยละ 0.55 และผูที่รอฤดูกาล รอยละ 0.19

ผูไมอยูในกําลังแรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป) จํานวน 3,106,532 คน ประกอบดวย แมบาน ทํางานบาน รอยละ 7.90 นักเรียน นิสิต นักศึกษา รอยละ 6.54 และอื่นๆ เชน เด็ก คนชรา ผูปวย ผูพิการจนไมสามารถทํางานได รอยละ 12.77 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 2558 พบวาประชากร ลดลง รอยละ 0.36 ผูมีงานทําลดลง รอยละ 2.97 และผูวางงาน เพิ่มขึ้น รอยละ 32.04 สําหรับอัตราการวางงานเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 0.73 เปนรอยละ 0.99


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

2

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ

ผูม งี านทําประมาณ 6.30 ลานคน ทํางานในอาชีพผูป ฏิบตั งิ าน ที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุด รอยละ 40.09 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาด

รอยละ 18.41 และอาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขายและ การใหบริการ รอยละ 11.90 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม


3

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผูท าํ งานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.81 ลานคน รอยละ 44.63 ไดแก อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การปาไมและการประมง สําหรับ ผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.49 ลานคน รอยละ 55.37

จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนตมากที่สุด รอยละ 15.73 รองลงมาคือ การผลิต รอยละ 9.87 และการกอสราง รอยละ 6.56 นอกนั้นกระจายอยูในอุตสาหกรรมอื่นๆ

ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูม งี านทําสวนใหญสาํ เร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษา และไมมกี ารศึกษาสูงถึง รอยละ 54.89 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา รอยละ 28.29 ระดับอุดมศึกษา รอยละ 16.56 อื่นๆ ไดแกบุคคลที่

สําเร็จการศึกษาทีไ่ มสามารถเทียบชัน้ ได รอยละ 0.18 และผูม งี านทํา ไมทราบวุฒิการศึกษารอยละ 0.08 ตามลําดับ

หมายเหตุ 1. ไมมีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไมเคยเขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่สําเร็จการศึกษา ที่ไมสามารถ เทียบชั้นได 3. ผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไมพบตัวผูใหสัมภาษณ/คนใหขอมูลไมรูขอมูล

แผนภูมิที่ 2 ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

4

ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน ผูม งี านทําสวนใหญทาํ งานสวนตัวโดยไมมลี กู จาง รอยละ 37.72 รองลงมาคือ ทํางานในฐานะลูกจาง รอยละ 37.58 (ในจํานวนนี้เปน ลูกจางเอกชน รอยละ 27.50 และลูกจางรัฐบาล รอยละ 10.08)

ชวยธุรกิจในครัวเรือนโดยไมไดรับคาจาง รอยละ 22.78 นายจาง รอยละ 1.88 สําหรับการรวมกลุม มีเพียง รอยละ 0.04 ของผูม งี านทํา ทั้งหมด

หมายเหตุ การรวมกลุม* หมายถึง กลุมคนที่มารวมกันทํางานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพึ่งตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแตละคนมีความเทาเทียมกัน ในการกําหนดการทํางานทุกขัน้ ตอนไมวา เปนการลงทุน การขาย งานอืน่ ๆ ของกิจการทีท่ าํ ตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามทีต่ กลงกัน (การรวมกลุม ดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณหรือไมก็ได)

แผนภูมิที่ 3 จํานวนและรอยละของผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูมีงานทําระหวาง 35-49 ชั่วโมงตอสัปดาห รอยละ 58.29 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห รอยละ 24.87 หรือกลาวไดวาผูมีงานทํา รอยละ 83.16 ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมง ขึ้นไปตอสัปดาห และอาจจัดวาบุคคลเหลานี้เปนผูทํางานเต็มที่

ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน ขณะที่ผูทํางานนอยกวา 35 (1-34) ชั่วโมง ต อ สั ป ดาห เ ป น ผู  ทํ า งานไม เ ต็ ม ที่ ใ นเรื่ อ งชั่ ว โมงการทํ า งาน รอยละ 16.20 ของผูมีงานทําทั้งสิ้น สําหรับผูมีงานทําประจําแต ไมไดทาํ งานในสัปดาหแหงการสํารวจ (0 ชัว่ โมง) มีเพียง รอยละ 0.64

แผนภูมิที่ 4 จํานวนผูวางงานจําแนกตามรายจังหวัด


5

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ภาวะการวางงาน

จํานวนผูว า งงานประมาณ 63,016 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ป 2558 เพิม่ ขึน้ รอยละ 32.04 จังหวัดทีม่ ผี วู า งงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดเชียงใหมซงึ่ เปนจังหวัดทีม่ ผี วู า งงานมากทีส่ ดุ

รอยละ 20.12 รองลงมาคือ จังหวัดกําแพงเพชร รอยละ 15.06 จังหวัดพิษณุโลก รอยละ 14.86 จังหวัดสุโขทัย รอยละ 12.49 และ จังหวัดนครสวรรค รอยละ 10.83 สําหรับจังหวัดอุทยั ธานีมผี วู า งงาน นอยทีส่ ดุ รอยละ 0.05

แผนภูมิที่ 5 อัตราการวางงานจําแนกรายจังหวัด

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแตละจํานวนอาจไมเทากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของขอมูลแตละจํานวนซึ่งไดจาก การประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

อัตราการวางงาน

จํานวนอัตราการวางงานไตรมาสที่ 4 ป 2559 เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสเดียวกันของชวงปที่ผานมา เพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.73 เปนรอยละ 0.99 จังหวัดที่มีอัตราการวางงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดกําแพงเพชรมีอตั ราการวางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 2.24 รองลงมา

คือ จังหวัดสุโขทัย รอยละ 2.22 จังหวัดพิษณุโลก รอยละ 1.88 จังหวัดพิจติ ร รอยละ 1.47 และจังหวัดนครสวรรค รอยละ 1.27 สําหรับ จังหวัดอุทัยธานีมีอัตราการวางงานนอยที่สุด รอยละ 0.02 ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายไมมผี วู า งงานในไตรมาสนี้

ภาวะตลาดแรงงาน แผนภูมิที่ 6 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของสํานักงาน จัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559 (ตุลาคม - ธันวาคม) นายจางแจงความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จํานวน 10,174 อัตรา ผูส มัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 5,237 คน และสามารถ

6

บรรจุงานได จํานวน 8,082 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 2558 ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงานลดลง โดยลดลงรอยละ 32.61 รอยละ 66.37 และรอยละ 41.96

แผนภูมิที่ 7 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จําแนกตามรายจังหวัด

ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จํานวน 10,174 อัตรา โดยจังหวัดที่มีความตองการแรงงานมากที่สุดไดแก จังหวัดลําพูน จํานวน 1,576 อัตรา รอยละ 15.49 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 1,112 อัตรา รอยละ 10.93 และจังหวัดเชียงราย จํานวน 1,043 อัตรา รอยละ 10.25 จําแนกตามประเภทอาชีพไดแก อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จํานวน 3,474 อัตรา รอยละ 34.15 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 2,400 อัตรา รอยละ 23.59 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 1,681 อัตรา รอยละ 16.52 จําแนกตามอุตสาหกรรมไดแก อุตสาหกรรมการผลิตมากทีส่ ดุ จํานวน 3,252 อัตรา รอยละ 31.96 รองลงมาคือ การขายสงและ

การขายปลีก การซอมยานยนต และจักรยานยนต จํานวน 3,082 อัตรา รอยละ 30.29 และกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน จํานวน 726 อัตรา รอยละ 7.14 จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒกิ ารศึกษาไดแก ระดับมัธยมศึกษา มากทีส่ ดุ จํานวน 3,399 อัตรา รอยละ 33.41 รองลงมาคือ ระดับ ประถมศึกษาและตํา่ กวา จํานวน 1,945 อัตรา รอยละ 19.12 และระดับ ปริญญาตรี จํานวน 1,501 อัตรา รอยละ 14.75 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 18 - 24 ป มากทีส่ ดุ จํานวน 4,890 อัตรา รอยละ 48.06 รองลงมาคือ ชวงอายุ 25 - 29 ป จํานวน 2,374 อัตรา รอยละ 23.33 และชวงอายุ 30 - 39 ป จํานวน 1,654 อัตรา รอยละ 16.26

แผนภูมิที่ 8 ผูสมัครงานจําแนกตามรายจังหวัด


7

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผูสมัครงาน จํานวน 5,237 คน โดยจังหวัดที่มีผูสมัครงาน มากที่สุดไดแก จังหวัดเชียงราย จํานวน 1,281 คน รอยละ 24.46 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 756 คน รอยละ 14.44 และ จังหวัดลําพูน จํานวน 370 คน รอยละ 7.07 จําแนกตามประเภทอาชีพไดแก พนักงานบริการ พนักงานขาย ในรานคาและตลาดมากที่สุด จํานวน 1,502 คน รอยละ 28.68 รองลงมาคือ อาชีพงานพื้นฐาน จํานวน 1,205 คน รอยละ 23.01 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 999 คน รอยละ 19.08

จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒกิ ารศึกษาไดแก ระดับมัธยมศึกษา มากทีส่ ดุ จํานวน 2,126 คน รอยละ 40.60 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จํานวน 1,618 คน รอยละ 30.90 และระดับประถมศึกษาและ ตํ่ากวา จํานวน 558 คน รอยละ 10.65 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 18 - 24 ป มากที่สุด จํานวน 2,364 คน รอยละ 45.14 รองลงมาคือ ชวงอายุ 25 - 29 ป จํานวน 1,232 คน รอยละ 23.52 และชวงอายุ 30 - 39 ป จํานวน 983 คน รอยละ 18.77

แผนภูมิที่ 9 การบรรจุงานจําแนกตามรายจังหวัด

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

การบรรจุงาน จํานวน 8,082 คน โดยจังหวัดที่มีการบรรจุ งานมากทีส่ ดุ ไดแก จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 1,634 คน รอยละ 20.22 รองลงมาคือ จังหวัดลําพูน จํานวน 1,145 คน รอยละ 14.17 และ จังหวัดเชียงราย จํานวน 1,125 คน รอยละ 13.92 จําแนกตามประเภทอาชีพไดแก อาชีพงานพื้นฐานมากที่สุด จํานวน 2,899 คน รอยละ 35.87 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 1,741 คน รอยละ 21.54 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 1,355 คน รอยละ 16.77 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมไดแก อุตสาหกรรมการผลิต มากที่สุด จํานวน 2,789 คน รอยละ 34.51 รองลงมาคือ การขายสง และการขายปลีก การซอมยานยนต และจักรยานยนต จํานวน 2,254 คน

รอยละ 27.89 และกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน จํานวน 618 คน รอยละ 7.65 จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒกิ ารศึกษาไดแก ระดับมัธยมศึกษา มากที่สุด จํานวน 3,315 คน รอยละ 41.02 รองลงมาคือ ระดับ ปริญญาตรี จํานวน 2,155 คน รอยละ 26.66 และระดับ ปวส. จํานวน 1,019 คน รอยละ 12.61 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 30 - 39 ป มากที่สุด จํานวน 2,798 คน รอยละ 34.62 รองลงมาคือ ชวงอายุ 25 - 29 ป จํานวน 2,155 คน รอยละ 26.66 และชวงอายุ 18 - 24 ป จํานวน 1,885 คน รอยละ 23.32


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

8

ภาวะการลงทุน ตารางที่ 5 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการจําแนกตามรายจังหวัด

การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2559 มีโรงงานที่ ขออนุญาตประกอบกิจการใหม 139 แหง เงินลงทุน 12,905.32 ลานบาท และเกิดการจางงาน 2,398 คน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 2558 พบวาโรงงานอุตสาหกรรม และการจางงานลดลงโดยลดลง รอยละ 12.03 และรอยละ 64.09 สําหรับเงินลงทุนเพิ่มขึ้น รอยละ 58.74

จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมโี รงงานทีไ่ ดรบั อนุญาต ใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 23.74 รองลงมาคือ จังหวัด เชียงใหม รอยละ 17.27 และจังหวัดเพชรบูรณ รอยละ 14.39 เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดนครสวรรคมีมูลคาการลงทุน มากที่สุดรอยละ 80.91 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม รอยละ 8.17 และจังหวัดเชียงราย รอยละ 2.53 สําหรับการจางงานจังหวัดตาก มีการจางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 34.45 รองลงมาคือ จังหวัดนครสวรรค รอยละ 15.72 และจังหวัดเชียงใหม รอยละ 14.10


9

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ตารางที่ 6 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรม เฟอรนเิ จอรและเครือ่ งเรือนเปนประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ดรบั อนุญาต ประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 20.86 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม อาหาร รอยละ 15.83 และอุตสาหกรรมทั่วไป รอยละ 14.39 สําหรับ อุตสาหกรรมอาหารมีมลู คาการลงทุนมากทีส่ ดุ รอยละ 83.67 รองลงมา

คือ อุตสาหกรรมขนสง รอยละ 4.69 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ อโลหะ รอยละ 3.51 และเมือ่ พิจารณาตามการจางงานอุตสาหกรรม อาหารมีการจางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 25.65 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม เครือ่ งหนัง รอยละ 12.43 และอุตสาหกรรมไฟฟา รอยละ 12.34

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 4 ป 2559 ปรับดีขนึ้ จากไตรมาสกอน โดยการลงทุนภาครัฐ เรงตัวตามการกอสราง สาธารณูปโภคพื้นฐานและการเบิกจายในโครงการกระตุนเศรษฐกิจ การสงออกปรับดีขึ้นในสินคาชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสไปตลาดเอเชีย การลงทุนภาคเอกชนปรับดีขึ้นบางในอุตสาหกรรมผลิตเพื่อสงออก ทีน่ าํ เขาเครือ่ งจักรเพิม่ ขึน้ เพือ่ ผลิตสินคาชนิดใหม สวนภาคอสังหาริมทรัพย ยังซบเซา ภาคการทองเที่ยวแมจะไดรับผลกระทบจากการเลื่อน จัดกิจกรรมบางประเภทออกไป แตกส็ ามารถฟน ตัวไดเร็วในชวงเดือน ธันวาคม ผลผลิตเกษตรกลับมาเพิม่ ขึน้ ตามภาวะแลงคลีค่ ลาย ผลผลิต พืชหลัก เชน ขาวเพิม่ ขึน้ แตราคาพืชหลักตกตํา่ ทําใหกาํ ลังซือ้ ครัวเรือน เกษตรยังออนแอสอดคลองกับการบริโภคภาคเอกชนทีย่ อดขายสินคา ในชีวิตประจําวันและสินคาคงทนยังฟนตัวชา สําหรับเสถียรภาพ เศรษฐกิจของภาคเหนืออยูในเกณฑดี อัตราการวางงานอยูในระดับ ตํ่าและทรงตัวจากไตรมาสกอน แตพบวาจํานวนผูขอรับประโยชน ทดแทนกรณีวางงานปรับเพิ่มขึ้น สวนอัตราเงินเฟอเพิ่มขึ้นจาก

ราคานํ้ามันเชื้อเพลิงและราคาอาหารสด ดานยอดคงคางเงินฝาก ของธนาคารพาณิชยชะลอลง ขณะที่สินเชื่อหดตัวโดยเฉพาะในพื้นที่ ภาคเหนือตอนลาง รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือ มีดังนี้ การใชจายลงทุนภาครัฐ เรงตัวขึ้นรอยละ 14.5 โดยเม็ดเงิน กระจายตัวทัง้ ภาคเหนือตอนบนและตอนลาง จากการเบิกจายโครงการ กอสรางและซอมแซมโครงสรางพืน้ ฐานระบบถนนของกรมทางหลวง


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ และกรมทางหลวงชนบท อาคารของโรงพยาบาล และสถาบันการศึกษา ในจังหวัดตางๆ รวมถึงการซอมสรางและจัดซือ้ ครุภณ ั ฑจากมาตรการ โครงการลงทุนขนาดเล็ก ขณะที่โครงการยกระดับศักยภาพหมูบาน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากมีเม็ดเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ มากขึ้นตามโครงการที่มีความคืบหนาไปมาก มูลคาการสงออก ปรับดีขึ้นเปนรอยละ 0.7 จากที่หดตัว ในไตรมาสกอน โดยเฉพาะการสงออกสินคาชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ไปญี่ปุน มาเลเซีย และฮองกงขยายตัวดี ประกอบกับการสงออก ชายแดนไปจีนตอนใตในสินคากลุมขาวสารและผลิตภัณฑยางพารา เพิ่มขึ้น ดานการสงออกสินคาอุปโภคบริโภคไปเมียนมาชะลอลงบาง จากเหตุการณความไมสงบตามแนวเสนทางที่ใชขนสงสินคาแตเปน ปจจัยชัว่ คราว ขณะทีก่ ารสงออกสินคาไปลาวลดลงตอเนือ่ ง โดยเฉพาะ การสงออกขาวสาร นํ้ามันเชื้อเพลิง ปศุสัตวและเนื้อสัตวแชแข็ง ดาน มูลคาการนําเขา ขยายตัวรอยละ 25.1 จากการนําเขากระแสไฟฟา จากลาว และการนําเขาวัตถุดบิ และสินคาขัน้ กลางเพือ่ ใชผลิตสงออก ผลผลิตอุตสาหกรรม ปรับดีขึ้นสอดคลองกับการสงออก โดยหดตัวลดลงเหลือรอยละ 0.1 สินคาที่ผลิตเพิ่มขึ้นไดแก การผลิต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงออกปรับดีขึ้นในประเภทแผงวงจรรวม ตัวเก็บประจุไฟฟา ชิน้ สวนในฮารดดิสกไดรฟ เลนสสาํ หรับกลองถายรูป และกลองในรถยนต จากอุปสงคในตางประเทศมีทิศทางดีขึ้น และการปรับตัวของธุรกิจโดยการผลิตสินคาชนิดใหมที่สอดคลอง กับความตองการของตลาด หลังจากไดลงทุนเครื่องจักรในชวง กอนหนา การผลิตสิง่ ทอและเสือ้ ผาสําเร็จรูปเพือ่ สงออกไปขายในชวง เทศกาลคริสตมาสและปใหม การสีขา วเพิม่ ขึน้ ตามปริมาณ ขาวเปลือก รวมถึงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลเรงผลิตเพื่อรองรับเทศกาลในชวง สิ้นป อยางไรก็ตามชวงปลายไตรมาสผลผลิตนํ้าตาลลดลงมากจาก โรงงานนํา้ ตาลบางแหงเลือ่ นกําหนดการเปดหีบออยออกไป แตคาดวา เปนปจจัยชั่วคราว การลงทุนภาคเอกชน หดตัวนอยลงเหลือรอยละ 3.1 การลงทุนในภาคการผลิตปรับดีขนึ้ บางตามยอดนําเขาเครือ่ งจักรและ อุปกรณของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จ.ลําพูน แตภาพรวมยังไมฟน ตัวชัดเจนเพราะหลายอุตสาหกรรมมีกาํ ลังการผลิต เหลืออยู ขณะที่ภาคอสังหาริมทรัพยซบเซาเชนเดิม อยางไรก็ดี เครือ่ งชีก้ ารลงทุนประเภทพืน้ ทีไ่ ดรบั อนุญาตกอสรางมีทศิ ทางดีขนึ้ บาง ขณะที่ยอดขายวัสดุกอสรางปรับดีขึ้น แตสวนใหญมาจากโครงการ ลงทุนภาครัฐ ภาคการทองเที่ยว แมวาจะไดรับผลกระทบจากการเลื่อน จัดกิจกรรมบางประเภทออกไป และการปราบปรามทัวรผดิ กฎหมาย บาง แตก็สามารถฟนตัวไดเร็วในชวงเดือนธันวาคม ทําใหจํานวน นักทองเทีย่ วตางชาติผา นดานตรวจคนเขาเมือง ณ ทาอากาศยานเชียงใหม ทั้งไตรมาสปรับลดลงเพียงเล็กนอย โดยนักทองเที่ยวจีนกลุม FIT

10

เริม่ กลับเขามา ขณะทีน่ กั ทองเทีย่ วกลุม ยุโรปและสหรัฐอเมริกาเพิม่ ขึน้ ดานนักทองเทีย่ วชาวไทยเดินทางเขามามากขึน้ ในชวงสิน้ ปในจังหวัด แหลงทองเทีย่ วสําคัญ หลายเครือ่ งชีส้ าํ คัญเพิม่ ขึน้ ไดแก จํานวนผูโ ดยสาร ผานทาอากาศยานในภาคเหนือ และอัตราการเขาพักของที่พักแรม ดานรายไดเกษตรกร หดตัวนอยลงเหลือรอยละ 2.8 จากผลผลิตสินคาเกษตรกลับมาเพิม่ ขึน้ รอยละ 1.2 จากภาวะแลงคลีค่ ลาย ทําใหผลผลิตพืชสําคัญเพิม่ ขึน้ ทัง้ ขาวนาปและหอมแดง ยกเวนผลผลิต ออยโรงงานลดลงจากภาวะแหงแลงในชวงเพาะปลูก สวนผลผลิต ปศุสัตวทั้งสุกร ไกเนื้อ และไขไกขยายตัวตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ราคาสินคาเกษตรยังตกตํ่าโดยลดลงรอยละ 3.8 โดยเฉพาะราคาขาว และขาวโพดเลี้ยงสัตวตามปริมาณผลผลิตที่มากขึ้นกดดันใหราคา รับซื้อลดลง เชนเดียวกันราคาปศุสัตวทั้งสุกรและไกเนื้อยังลดลง เนื่องจากผลผลิตมากกวาความตองการของตลาด การบริโภคภาคเอกชน ยังคงหดตัวรอยละ 1.4 สวนสําคัญ จากการลดลงของสินคาคงทนในหมวดยานยนตที่ฐานสูงในปกอน ปริมาณการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงลดลงตามแนวโนมราคาขายปลีกนํา้ มัน เพิ่มขึ้น รวมถึงการใชจายในหมวดสินคาในชีวิตประจําวันลดลง เล็กนอย โดยหลักมาจากสินคากลุม เบียร สุรา และบุหรีล่ ดลงตอเนือ่ ง โดยปจจัยฉุดรัง้ การบริโภคภาคเอกชนมาจากกําลังซือ้ โดยเฉพาะกําลัง ซือ้ ครัวเรือนเกษตรที่ฟนตัวชาหนี้ครัวเรือนยังอยูในระดับสูง สถาบัน การเงินเขมงวดในการพิจารณาสินเชือ่ เพือ่ การบริโภคเชนเดิม รวมทัง้ ชวงนี้มีการเลื่อนจัดกิจกรรมบางประเภทออกไป เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ โดยรวมอยูใ นเกณฑดี พิจารณา จากอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่าและ ทรงตัวจากไตรมาสกอนที่ รอยละ 1.0 แตพบวาจํานวนผูมาขอรับสิทธิประโยชนจากการถูก เลิกจางเพิ่มขึ้น อัตราเงินเฟอทั่วไปปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอยรอยละ 0.77 จากราคานํา้ มันขายปลีกในประเทศทยอยปรับเพิม่ ขึน้ และราคาอาหารสด ประเภทไขไก ผักและผลไม ภาคการเงิน ณ สิน้ ไตรมาส 4 ป 2559 สาขาธนาคารพาณิชย ในภาคเหนือมียอดคงคางเงินฝาก 637,943 ลานบาท เพิม่ ขึน้ ในอัตรา ชะลอลงรอยละ 2.5 แตเมือ่ เทียบกับไตรมาสกอน ยอดคงคางเงินฝาก ปรับเพิ่มขึ้นจากเงินฝากของสวนราชการและการออกผลิตภัณฑ เงินฝากเพื่อชดเชยสวนที่ครบกําหนด ดานยอดคงคางเงินใหสินเชื่อ 584,528 ลานบาท หดตัวเล็กนอยรอยละ 0.7 โดยเฉพาะในภาคเหนือ ตอนลาง สวนสําคัญจากการหดตัวในสินเชือ่ ธุรกิจการเงิน อุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย และขนสง ขณะที่สินเชื่อคาปลีกคาสง เกษตรกรรม และสินเชือ่ อุปโภคสวนบุคคลขยายตัวชะลอลง อยางไรก็ดสี นิ เชือ่ ธุรกิจ โรงแรม กอสราง และสุขภาพขยายตัวดี ทั้งนี้สัดสวนสินเชื่อตอเงิน ฝากปรับลดลง มาอยูที่รอยละ 91.6 ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ


11

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

การไปทํางานตางประเทศ คนงานไทยทีไ่ ดรบั อนุญาตใหไปทํางานตางประเทศไตรมาสที่ 4 ป 2559 จํานวน 3,211 คน เพิม่ ขึน้ จาก ไตรมาสที่ 4 ป 2558 รอยละ 5.52 จําแนกตามวิธกี ารเดินทาง การเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดสง จํานวน 1,921 คน รอยละ 59.83 รองลงมาไดแก การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดสง จํานวน 642 คน รอยละ 19.99 การเดินทาง

ดวยตนเอง จํานวน 318 คน รอยละ 9.90 การเดินทางโดยนายจาง พาลูกจางไปทํางาน จํานวน 171 คน รอยละ 5.33 และ การเดินทาง โดยนายจางสงลูกจางไปฝกงาน จํานวน 159 คน รอยละ 4.95 เฉพาะ Re-entry ในไตรมาสนีม้ จี าํ นวน 2,145 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 4 ของปที่ผานมา จํานวน 36 คน รอยละ 1.65

แผนภูมิที่ 10 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง 5 วิธี

หมายเหตุ การแจงการเดินทางกลับไปทํางานตางประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีท่ีคนหางานเดินทางไปทํางานในตางประเทศแลวเดินทางกลับมาพักผอน หรือทําธุระชั่วคราวที่ประเทศไทยในระหวางสัญญาจาง แลวกลับไปทํางานกับนายจางรายเดิม รวมทั้งกรณีที่ทํางานครบกําหนดตามสัญญาจาง ฉบับเดิมแลวไดทาํ สัญญาจางใหมกบั นายจาง ซึง่ อาจเปนนายจางรายเดิมหรือนายจางรายใหมกไ็ ด แลวจึงเดินทางกลับมาพักผอนหรือทําธุระทีป่ ระเทศไทย แลวเดินทางกลับไปทํางานอีก ตองแจงการเดินทางใหกรมการจัดหางานทราบกอนวันเดินทาง


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

12

แผนภูมิที่ 11 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก

จําแนกตามรายประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปทํางาน มากที่สุด 5 อันดับแรกไดแก ประเทศไตหวัน จํานวน 1,567 คน รอยละ 48.80 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จํานวน 373

คน รอยละ 11.62 ประเทศอิสราเอล จํานวน 256 คน รอยละ 7.97 ประเทศญีป่ นุ จํานวน 245 คน รอยละ 7.63 และประเทศแอฟริกาใต จํานวน 149 คน รอยละ 4.64

แผนภูมิที่ 12 จํานวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปทํางานตางประเทศ

จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปทํางาน ตางประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก จังหวัดเชียงราย จํานวน 717 คน รอยละ 22.33 รองลงมาคือ จังหวัดสุโขทัย จํานวน 430 คน

รอยละ 13.39 จังหวัดลําปาง จํานวน 413 คน รอยละ 12.86 จังหวัด กําแพงเพชร จํานวน 237 คน รอยละ 7.38 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 178 คน รอยละ 5.54


13

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

การทํางานของคนตางดาว แผนภูมิที่ 13 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาต

คนตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในภาคเหนือ ณ เดือน ธันวาคม 2559 จํานวน 135,037 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือน ธันวาคม 2558 ลดลง รอยละ 25.94 จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน จําแนกเปน คนตางดาว ดังนี้ มาตรา 9 - คนตางดาวประเภทตลอดชีพ รอยละ 0.002 - คนตางดาวประเภททั่วไป รอยละ 6.12

- คนตางดาวพิสูจนสัญชาติ รอยละ 70.48 - คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU รอยละ 10.19 มาตรา 12 - คนตางดาวประเภทสงเสริมการลงทุน รอยละ 0.83 มาตรา 13 - คนตางดาวชนกลุมนอย รอยละ 12.06 มาตรา 14 - คนตางดาวที่เขามาทํางานในลักษณะ ไป-กลับ หรือตามฤดูกาล รอยละ 0.32

แผนภูมิที่ 14 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามรายจังหวัดที่ไดรับอนุญาตทํางาน

ที่มา : สํานักบริหารแรงงานตางดาว

จําแนกตามรายจังหวัด เมือ่ พิจารณาเปนรายจังหวัดแรงงาน ตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางาน 5 อันดับแรกดังนี้ จังหวัดเชียงใหม รอยละ 54.95 รองลงมาคือ จังหวัดตาก รอยละ 15.78 จังหวัดเชียงราย

รอยละ 7.00 จังหวัดลําพูน รอยละ 6.49 และจังหวัดเพชรบูรณ รอยละ 3.83 ตามลําดับ สําหรับจังหวัดอุทัยธานีมีแรงงานตางดาว ที่ไดรับอนุญาตทํางานนอยที่สุด รอยละ 0.11


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

14

ขาวเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สี่ของป 2559 ทั้งป 2559 และแนวโนมป 2560 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แถลงตัวเลขผลิตภัณฑมวลรวม ในประเทศ (GDP) ในไตรมาสที่สี่ ของป 2559 ทัง้ ป 2559 และแนวโนมป 2560 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เศรษฐกิ จ ไทยในไตรมาสที่ สี่ ข องป 2559 ขยายตั ว รอยละ 3.0 ตอเนือ่ งจากการขยายตัวรอยละ 3.2 ในไตรมาสกอนหนา และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแลว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สี่ ขยายตัวจาก ไตรมาสที่สามของป 2559 รอยละ 0.4 รวมทั้งป 2559 เศรษฐกิจไทยขยายตัวรอยละ 3.2 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ การขยายตัวรอยละ 2.9 ในป 2558 ดานการใชจาย การสงออกสินคา การใชจายของรัฐบาล และการลงทุนรวมขยายตัวเรงขึ้น ในขณะที่การใชจายภาคครัวเรือน ขยายตัวตอเนื่อง และการสงออกบริการชะลอตัว โดยการใชจาย ภาคครัวเรือนขยายตัวรอยละ 2.5 ตอเนื่องจากการขยายตัว รอยละ 3.0 ในไตรมาสกอนหนา โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการเริ่ม ปรับตัวดีขนึ้ ของฐานรายไดภาคเกษตร และมาตรการกระตุน เศรษฐกิจ ของภาครัฐ สอดคลองกับการขยายตัวของดัชนีภาษีมูลคาเพิ่ม หมวดโรงแรมและภัตตาคาร (ราคาคงที่) รอยละ 9.6 และการเพิ่มขึ้น

ของการนําเขาสินคาหมวดสิ่งทอเครื่องนุงหม ปริมาณการจําหนาย รถจักรยานยนต ปริมาณการจําหนายนํา้ มันเบนซินและแกสโซฮอล และ ปริมาณการจําหนายนํ้ามันดีเซลรอยละ 7.7 รอยละ 7.0 รอยละ 5.4 และ รอยละ 0.7 ตามมลําดับ ในขณะที่ปริมาณการจําหนายรถยนต นัง่ ลดลงรอยละ 10.3 ความเชือ่ มัน่ ของผูบ ริโภคเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจ โดยรวม ในเดือนธันวาคมอยูที่ระดับ 62.5 เทียบกับระดับ 62.3 ในไตรมาสกอนหนา การใชจายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาล เพิ่มขึ้น รอยละ 1.5 ปรับตัวดีขนึ้ จากการลดลงรอยละ 5.2 ในไตรมาสกอนหนา สอดคลองกับมาตรการเรงรัด การเบิกจายงบประมาณของภาครัฐ ซึ่งสงผลใหอัตราการเบิกจายในไตรมาสนี้อยูที่รอยละ 32.1 สูงกวา เปาหมายทีร่ อ ยละ 30.0 การลงทุนรวมขยายตัวรอยละ 1.8 ปรับตัวดี ขึน้ จากการขยายตัวรอยละ 1.0 ในไตรมาสทีส่ าม โดยการลงทุนภาครัฐ ขยายตัวรอยละ 8.6 เรงขึ้นจากรอยละ 5.8 ในไตรมาสกอนหนา เปนผลมาจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจและการลงทุนของรัฐบาล ทีข่ ยายตัวรอยละ 12.3 และรอยละ 6.8 ตามลําดับ ในขณะทีก่ ารลงทุน ภาคเอกชนลดลงรอยละ 0.4 โดยการลงทุนในสิ่งกอสรางลดลง รอยละ 0.5 และการลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรลดลงรอยละ 0.4 เนื่องจากการสงออกยังอยูในระยะแรกของการฟนตัว และกําลัง


15

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

การผลิตสวนเกินยังอยูใ นเกณฑสงู ในขณะทีค่ วามเชือ่ มัน่ ของนักลงทุน อยูในเกณฑดี โดยดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยูที่ระดับ 49.7 เพิ่มขึน้ จากระดับ 49.2 ใน ไตรมาสกอนหนา สูงสุดในรอบ 4 ไตรมาส และมูลคาการขอรับการสงเสริมการลงทุนผานคณะกรรมการสงเสริม การลงทุน (BOI) เพิ่มขึ้นรอยละ 245.2 ดานภาคตางประเทศ การสงออกสินคามีมูลคา 54,596 ลานดอลลาร สรอ. เพิม่ ขึน้ รอยละ 3.6 เรงขึน้ อยางชาๆ จากการขยายตัว รอยละ 0.4 ในไตรมาสกอนหนา ตามการฟนตัวอยางตอเนื่อง ของเศรษฐกิจ ประเทศคูคาหลักและการปรับตัวดีขึ้นของราคาสินคา ในตลาดโลก โดยราคาและปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 2.0 และรอยละ 1.6 ตามลําดับ กลุมสินคาที่มูลคาการสงออกขยายตัว เชน ชิ้นสวนและอุปกรณยานยนต ยางพารา เครื่องจักรและอุปกรณ เคมีภัณฑ ปโตรเคมี และกุง ปู กั้ง และล็อบสเตอร เปนตน กลุมสินคา ที่มูลคาการสงออกลดลง เชน ขาว มันสําปะหลัง นํ้าตาล รถยนตนั่ง เครื่องปรับอากาศ และผลิตภัณฑปโตรเลียม เปนตน การสงออกไป ยังตลาดสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป (15) จีน ญี่ปุน และอาเซียน (9) ขยายตัว แตการสงออกไปยังตลาดออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง ลดลง เมือ่ หักการสงออกทองคําทีย่ งั ไมขนึ้ รูปออกแลว มูลคาการสงออก เพิม่ ขึน้ รอยละ 3.1 เมือ่ คิดในรูปของเงินบาท การสงออกสินคามีมลู คา

1,932 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 2.3 การนําเขาสินคามีมูลคา 47,963 ลานดอลลาร สรอ. เพิ่มขึ้นรอยละ 6.7 (เพิ่มขึ้นเปนครั้งแรก ในรอบ 14 ไตรมาส) เปนผลจากการเพิม่ ขึน้ ของราคานําเขารอยละ 3.3 และปริมาณการนําเขารอยละ 3.2 โดยมูลคาการนําเขาสินคา วัตถุดบิ และสินคาอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นรอยละ 9.2 และรอยละ 7.1 ตามลําดับ สอดคลองกับการปรับตัวดีขนึ้ ของการผลิตภาคอุตสาหกรรม การสงออก และการขยายตัวตอเนื่องของการใชจายภาคครัวเรือน ดานการผลิต การผลิตสาขาเกษตร สาขาอุตสาหกรรม และสาขาการคาสงและคาปลีกขยายตัว เรงขึน้ ในขณะทีส่ าขาโรงแรม และภัตตาคารชะลอตัว โดยสาขาเกษตรกรรมขยายตัวรอยละ 3.2 เรงขึ้นจาก การขยายตัวรอยละ 0.9 ในไตรมาสกอนหนา ภายหลัง สถานการณภัยแลงสิ้นสุดลงโดยผลผลิตพืชเกษตร สําคัญที่ขยายตัว

ไดแก ขาวเปลือก (รอยละ 7.9) ปาลมนํ้ามัน (รอยละ 10.2) และ ยางพารา (รอยละ 1.1) ดัชนีราคาสินคาเกษตรเพิ่มขึ้นรอยละ 3.8 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาออย ราคายางแผนดิบชั้น 3 ราคาปาลม นํ้ามัน และราคากุงขาวแวนนาไม อยางไรก็ตามราคาขาวเปลือกและ ราคามันสําปะหลังลดลง การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตและดัชนีราคา สินคาเกษตรสงผลใหดชั นีรายไดเกษตรกรเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ งเปนไตรมาส ทีส่ ามรอยละ 9.1 สาขาอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 2.1 เรงขึน้ อยาง ชาๆ จากการขยายตัวรอยละ 1.6 ใน ไตรมาสกอนหนา ตามการปรับ ตัวดีขนึ้ ของการสงออกและอุปสงคในประเทศทีข่ ยายตัวตอเนือ่ ง โดย ดัชนีอุตสาหกรรมที่มีสัดสวนการสงออกมากกวารอยละ 60 เพิ่มขึ้น รอยละ 2.7 และอุตสาหกรรมที่มีสัดสวนการสงออกนอยกวา รอยละ 30 เพิ่มขึ้นรอยละ 2.5 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 1.5 และ รอยละ 0.6 ในไตรมาสที่สามตามลําดับ ในขณะที่อุตสาหกรรม ที่มีสัดสวนการสงออกระหวางรอยละ 30-60 ลดลงรอยละ 1.7 ตามการลดลงของการผลิตรถยนต กลุมอุตสาหกรรมที่ขยายตัว เชน หลอดอิเล็กทรอนิกสและสวนประกอบอิเล็กทรอนิกส เหล็กและ ผลิตภัณฑ เหล็กกลาขัน้ มูลฐาน และผลิตภัณฑทไี่ ดจากการกลัน่ นํา้ มัน ปโตรเลียม เปนตน กลุม อุตสาหกรรมทีล่ ดลง เชน ยานยนต สวนประกอบ และอุปกรณประกอบสําหรับยานยนต เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล

รวมทั้งนํ้าดื่มบรรจุขวด และเฟอรนิเจอร เปนตน อัตราการใชกําลัง การผลิตเฉลี่ยอยูที่รอยละ 65.11 สาขาการกอสรางขยายตัว รอยละ 6.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 5.2 ในไตรมาส กอนหนา เปนผลจากการขยายตัวของการกอสรางของภาครัฐรอยละ 11.7 (โดยการกอสรางของรัฐบาลขยายตัวรอยละ 2.7 และการกอสราง รัฐวิสาหกิจขยายตัวรอยละ 44.0) ในขณะที่การกอสรางภาคเอกชน ลดลงรอยละ 0.5 สาขาโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวรอยละ 4.8 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 13.5 ในไตรมาสกอนหนา โดยมีรายรับ รวมจากการทองเที่ยว 631.9 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 5.0 ประกอบดวย (1) รายรับจากนักทองเที่ยวตางประเทศ 403.9 พันลานบาท (เพิ่มขึ้นรอยละ 2.9) ทั้งนี้ รายรับจากนักทองเที่ยว ตางประเทศสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก รายรับจากนักทองเที่ยว


ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ จีน รัสเซีย มาเลเซีย อเมริกา และออสเตรเลีย และ (2) รายรับ จากนักทองเที่ยวชาวไทย 228.0 พันลานบาท (เพิ่มขึ้นรอยละ 8.9) โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากมาตรการสงเสริมการทองเที่ยว ภายในประเทศ อัตราการเขาพักเฉลีย่ ในไตรมาสนีอ้ ยูท รี่ อ ยละ 65.50 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ยังอยูในเกณฑดี โดยอัตราการ วางงานยังอยูใ นระดับตํา่ รอยละ 1.0 อัตราเงินเฟอทัว่ ไปเฉลีย่ รอยละ 0.7 บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 9,789 ลานดอลลาร สรอ. (346,789 ลานบาท) หรือคิดเปนรอยละ 9.4 ของ GDP เงินทุนสํารองระหวางประเทศ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2559 อยูที่ 171.9 พันลานดอลลาร สรอ. และหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2559 มีมูลคาทั้งสิ้น 5,921,722.1 ลานบาท คิดเปนรอยละ 42.2 ของ GDP เศรษฐกิจไทยโดยรวมทั้งป 2559 ขยายตัวรอยละ 3.2 ปรับตัวดีขนึ้ จากการขยายตัวรอยละ 2.9 ในป 2558 โดยการขยายตัว ของเศรษฐกิจเริ่มกระจายตัวไปสูเศรษฐกิจภาคเอกชนมากขึ้น โดยเฉพาะในชวงครึง่ หลังของปซงึ่ การผลิตภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และการสงออกสินคาปรับตัวดีขึ้น ในดานการใชจาย การบริโภค ของครัวเรือน การลงทุนภาคเอกชน และการสงออกสินคาเพิ่มขึ้น รอยละ 3.1 รอยละ 0.4 และรอยละ 0.0 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ การเพิม่ ขึน้ รอยละ 2.2 การลดลงรอยละ 2.2 และการลดลงรอยละ 5.6 ในป 2558 ตามลําดับ การลงทุนภาครัฐขยายตัวรอยละ 9.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัว รอยละ 29.3 ในปกอ นหนา ในดานการผลิต การผลิตภาคเกษตรกลับมาขยายตัวรอยละ 0.6 ปรับตัวดีขึ้นจาก การลดลงรอยละ 5.7 ในปกอ นหนา การคาสงคาปลีก สาขาการขนสง และสื่อสารขยายตัวเรงขึ้นเปนรอยละ 5.0 และรอยละ 5.5 จาก การขยายตัวรอยละ 3.9 และรอยละ 5.1 ในป 2558 สาขาอุตสาหกรรม ขยายตัวรอยละ 1.4 ใกลเคียงกับปกอนหนา ในขณะที่สาขาโรงแรม และภัตตาคารชะลอตัวลงสอดคลองกับการสงออกบริการรวมทัง้ ป 2559 ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) อยูท ี่ 14,360.6 ลานลานบาท (406.9 พันลานดอลลาร สรอ.) รายไดตอหัวเฉลี่ยของคนไทยอยูที่ 212,892.3 บาทตอคนตอป (6,032.7 ดอลลาร สรอ. ตอหัวตอป) เพิ่มขึ้นจาก 203,356.1 บาทตอคน ตอป (5,937.0 ดอลลาร สรอ.

16

ตอหัวตอป) ในป 2558 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ยังอยูใ นเกณฑดี อัตราเงินเฟอทัว่ ไป เฉลีย่ รอยละ 0.2 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลรอยละ 11.4 ของ GDP แนวโนมเศรษฐกิจไทย ป 2560 เศรษฐกิจไทยป 2560 มีแนวโนมขยายตัวรอยละ 3.0 - 4.0 ปรับตัวดีขึ้นอยางตอเนื่องจาก ป 2559 โดยมีปจจัยสนับสนุนจาก (1) แนวโนมการกลับมาขยายตัว ของภาคการสงออกซึง่ จะเปนปจจัยสนับสนุนใหการผลิตภาคอุตสาหกรรม และการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเรงขึ้น (2) การฟนตัวและขยายตัว เรงขึน้ ของการผลิตภาคเกษตรซึง่ จะเปนปจจัยสนับสนุนใหฐานรายได และการใชจา ยของครัวเรือนในภาคเกษตรปรับตัวดีขนึ้ (3) การลงทุน ภาครัฐยังอยูในเกณฑสูงและมีแนวโนมเรงตัวขึ้น ตามความคืบหนา ของโครงการสําคัญๆ ทีจ่ ะเขาสูช ว งการกอสรางมากขึน้ (4) การจัดทํา งบประมาณรายจายเพิ่มเติมวงเงิน 190,000 ลานบาท และ (5) แรงขับเคลื่อนจากภาคการทองเที่ยวยังอยูในเกณฑดี ทั้งนี้ คาดวามูลคาการสงออกสินคาจะขยายตัวรอยละ 2.9 การบริโภค ภาคเอกชน และการลงทุนรวมขยายตัวรอยละ 2.8 และรอยละ 5.3 ตามลําดับ อัตราเงินเฟอทั่วไปอยูในชวงรอยละ 1.2 - 2.2 และ บัญชีเดินสะพัดเกินดุลรอยละ 9.4 ของ GDP รายละเอียดของการประมาณการเศรษฐกิจในป 2560 ในดานตางๆ มีดังนี้ 1. การใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดวา จะขยายตัวรอยละ 2.8 ตอเนื่องจากการขยายตัวรอยละ 3.1 ในป 2559 และเปนการปรับเพิ่มจากการขยายตัวรอยละ 2.7 ในการประมาณการ ครัง้ กอนสอดคลองกับแนวโนมการฟน ตัวทีช่ ดั เจน มากขึ้ น ของฐานรายได ค รั ว เรื อ นในภาคเกษตรและครั ว เรื อ น ในภาคการสงออก ในขณะที่การใชจายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดวาจะขยายตัวรอยละ 2.6 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 1.6 ในป 2559 และเปนการปรับเพิ่มจากการขยายตัวรอยละ 2.1 ในการประมาณการครั้งกอนสอดคลองกับการจัดทํางบประมาณ รายจายเพิ่มเติมของภาครัฐ


17

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ 3. มูลคาการสงออกสินคา ในรูปเงินดอลลาร สรอ. คาดวา จะขยายตัวรอยละ 2.9 ปรับตัวดีขึ้น จากรอยละ 0.0 ในป 2559 และ เปนการปรับเพิ่มจากการขยายตัวรอยละ 2.4 ในการประมาณการ ครัง้ กอน เนือ่ งจากการปรับเพิม่ สมมติฐานราคาสงออกตามราคานํา้ มัน ทีป่ รับตัวสูงขึน้ เมือ่ รวมกับการสงออกบริการ ทีย่ ังมีแนวโนมขยายตัว ไดอยางตอเนือ่ ง คาดวาจะทําใหปริมาณการสงออกสินคาและบริการ ขยายตัวรอยละ 2.6 เทียบกับการเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 ในป 2559

2. การลงทุนรวม คาดวาจะขยายตัวรอยละ 5.3 เรงขึ้น จากการขยายตัวรอยละ 2.8 ในป 2559 โดยการลงทุนภาคเอกชน คาดวาจะขยายตัวรอยละ 2.5 ปรับตัวดีขนึ้ จากการขยายตัวรอยละ 0.4 ในป 2559 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนสําคัญจาก (1) แนวโนม การปรับตัวดีขึ้นของภาคการสงออกซึ่งคาดวาจะทําใหกําลังการผลิต สวนเกินเริ่มปรับตัวลดลงอยางชาๆ และกระตุนความตองการลงทุน ใหมเพิม่ มากขึน้ (2) ความเชือ่ มัน่ ของนักลงทุนตอเศรษฐกิจไทยยังอยู ในเกณฑดีและนักลงทุนมีความเชื่อมั่นตอแนวโนมการฟนตัวของ เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมากขึ้นและ (3) ความคืบหนาของ โครงการลงทุนภาครัฐที่จะมีความชัดเจนและเริ่มเขาสูกระบวนการ กอสรางมากขึน้ ในขณะทีก่ ารลงทุนภาครัฐคาดวาจะขยายตัวในเกณฑ สูงรอยละ 14.4 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 9.9 ในป 2559 และ เปนการปรับเพิ่มจากการขยายตัว รอยละ 11.2 ในการประมาณการ ครัง้ กอน เนือ่ งจากไดรบั ปจจัยสนับสนุนจากงบประมาณรายจายเพิม่ เติม ปงบประมาณ 2560 วงเงิน 190,000 ลานบาท และแนวโนม ความคืบหนาของโครงการลงทุนภาครัฐที่จะทําใหมีการเบิกจาย จากกรอบงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจในป 2560 มากขึ้น โดยเฉพาะ แผนปฏิบัติการดานคมนาคมขนสงระยะเรงดวน ป 2559 ซึ่งขณะนี้ มีโครงการทีเ่ ริม่ กอสรางแลวจํานวน 4 โครงการ วงเงินรวม 45,472 ลานบาท และโครงการทีอ่ ยูใ นระหวางการประกวดราคาอีก 11 โครงการ วงเงิน รวม 532,651 ลานบาท และโครงการภายใตแผนปฏิบัติการ ดานคมนาคมขนสงระยะเรงดวนป 2560 ซึ่งคาดวาจะสามารถ เริ่มกอสรางไดในชวงครึ่งแรกของป 2560 จํานวน 5 โครงการ วงเงิน 54,800 ลานบาท และจะเริ่มประกวดราคาไดอีก 15 โครงการ วงเงิน 468,565 ลานบาท

ประเด็นการบริหารเศรษฐกิจในป 2560 การบริหารนโยบาย เศรษฐกิจในป 2560 ควรใหความสําคัญกับ (1) การขับเคลื่อน การใชจา ยของรัฐบาลและการลงทุนภาครัฐ โดยการเบิกจายรายจาย ลงทุนจากงบประมาณรายจายประจําป และงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ไมตาํ่ กวารอยละ 80 งบประมาณรายจายเพิม่ เติมไมตาํ่ กวารอยละ 65 งบเหลือ่ มปไมตาํ่ กวารอยละ 75 ควบคูไ ปกับการดําเนินโครงการลงทุน โครงสรางพืน้ ฐานดานคมนาคมขนสง การพัฒนาพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก และพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (2) การสนับสนุน การสงออกใหสามารถขยายตัวไดอยางเต็มศักยภาพ เพือ่ สนับสนุน การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชน โดยใหความสําคัญกับการติดตามและระมัดระวังมาตรการกีดกัน ทางการคาในตางประเทศ การขยายตลาดสงออกเชิงรุก การทําตลาด ที่สอดคลองกับกลุมเปาหมาย การสงเสริมการคาชายแดนและ การเชื่อมโยงประเทศ CLMV และการสรางมูลคาเพิ่มใหสินคา และบริการดวยนวัตกรรม (3) การสนับสนุนการขยายตัวของการผลิต ภาคเกษตรและรายไดเกษตรกร โดยเพิม่ ประสิทธิภาพและลดขัน้ ตอน ทางการตลาดของสินคาเกษตรเพือ่ ใหรายไดจากการจําหนายผลผลิต เปนของเกษตรกรมากขึ้น การสงเสริมการเกษตรแปลงใหญ การลด ตนทุนการผลิต การปลูกพืชและการใชวธิ กี ารผลิตทีม่ คี วามเหมาะสม กับสภาพพื้นที่ และการปรับเปลี่ยนไปสูการผลิตพืชที่มีมูลคาสูงขึ้น (4) การสรางความเชือ่ มัน่ และสนับสนุน การขยายตัวของการลงทุน ภาคเอกชน โดยเรงรัดการสงออกเพื่อลดกําลังการผลิตสวนเกิน การชักจูงนักลงทุนในสาขาเปาหมาย การพัฒนาอุตสาหกรรม และบริการสําหรับอนาคต การประชาสัมพันธแผนและความคืบหนา ของโครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและพื้นที่เศรษฐกิจของภาครัฐ การอํานวยความสะดวกนักลงทุนทีย่ า ยฐานการผลิตเขามายังประเทศไทย และการเรงรัดการลงทุนทีข่ อรับและไดรบั อนุมตั กิ ารสงเสริมการลงทุน ไปแลว และ (5) การสนับสนุนการขยายตัวของภาคการทองเที่ยว โดยดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่สําคัญๆ และการดึงดูด กลุมนักทองเที่ยวรายไดและศักยภาพการใชจายสูง การสงเสริม และเชือ่ มโยงการทองเทีย่ วกับประเทศในภูมิภาค การใหความสําคัญ กับนักทองเที่ยวโดยเฉพาะกลุมที่มีศักยภาพและมีแนวโนมเติบโตสูง การสรางตลาดการทองเที่ยวใหม และการสนับสนุนการทองเที่ยว ในประเทศ ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.