วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 1 ปี 2560

Page 1

จังหวัดกำ�แพงเพชร มีอัตร�ก�รว่�งง�นม�กที่สุด ร้อยละ ๒.๑๔

เนื่องจ�กประช�กรส่วนใหญ่มีอ�ชีพทำ�ก�รเกษตร เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชผลพืชไร่ต่�งๆ แล้วนำ�ไปจำ�หน่�ย หลังจ�กนั้นก็จะว่�งง�นเพื่อรอฤดูก�ลที่จะเพ�ะปลูกต่อไป


ศาสตร์แห่งพระราชา

หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร

ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษา ข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบทัง้ จากข้อมูลเบือ้ งต้นจากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่นักวิชาการและราษฎรในพื้นที่ ให้ได้ รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อที่จะพระราชทานความช่วยเหลือได้ อย่างถูกต้องและรวดเร็วตรงตามความต้องการของประชาชน


สารบัญ... Content หน้า

บรรณาธิการ บทสรุป ประชากรและก�ำลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงาน ภาวะการลงทุน การไปท�ำงานต่างประเทศ การท�ำงานของคนต่างด้าว ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน

ก - ข 1 6 9 11 12 13

ข่าวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2560 และแนวโน้มปี 2560

Editor’s Talk บรรณาธิการ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560 จัดท�ำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากรและก�ำลังแรงงาน ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน ภาวะ การลงทุน การไปท�ำงานต่างประเทศ การท�ำงานของคนต่างด้าว ภาวะเศรษฐกิจการเงิน ข่าวเศรษฐกิจและสังคม เอกสารฉบับนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยความเอื้อเฟื้อข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน ภาคเหนือ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�ำนักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ

...........

15

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ขอขอบคุณ ทุกหน่วยงานทีไ่ ด้ให้การเอือ้ เฟือ้ ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ข้อมูลเหล่านีจ้ ะเป็นประโยชน์ทงั้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ นีส้ ามารถสืบค้นข้อมูลได้ทางเว็ปไซต์ www.nlmi-lp.com หากท่ า นมี ข ้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการจั ด ท� ำ ครั้งต่อไปขอได้โปรดติดต่อโดยตรงที่ ศูนย์บริหารข้อมูล ตลาดแรงงานภาคเหนือ ศูนย์ราชการชัน้ 3 ถนนวชิราวุธด�ำเนิน ต�ำบลพระบาท อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง 52000 หรื อ แจ้ ง ทางโทรศั พ ท์ ไ ด้ ที่ ห มายเลข 0-5426-5050 หรือช่องทางสื่อสารโดย e-mail : lm_lpg@live.com และ Facebook : lmi.lampang ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ พฤษภาคม 2560


บทสรุป สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560

ประชากรและก�ำลังแรงงาน ประชากรภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560 ประมาณ 11.41 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยละ 83.17 จ�ำแนก เป็นผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน ร้อยละ 55.88 ประกอบด้วยผู้มีงานท�ำ ร้อยละ 54.80 ผู้ว่างงาน ร้อยละ 0.56 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.52 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2559 พบว่าประชากร ลดลง ร้อยละ 0.36 ผู้มีงานท�ำลดลง ร้อยละ 1.77 เป็นผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกประเภทอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและ การประมงมากทีส่ ดุ ร้อยละ 35.22 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โดยเป็นผู้ท�ำงานภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 41.41 และภาคนอก เกษตรกรรม ร้อยละ 58.59 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มี การศึกษาสูงถึง ร้อยละ 54.96 จ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน ส่วนใหญ่ทำ� งานส่วนตัวโดยไม่มลี กู จ้าง ร้อยละ 35.73 และจ�ำแนก ตามชัว่ โมงการท�ำงานต่อสัปดาห์เป็นผูม้ งี านท�ำระหว่าง 35 - 49 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ ร้อยละ 52.09 และผู้มีงานท�ำตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไป ต่อสัปดาห์ ร้อยละ 20.94 (ผู้มีงานท�ำ 35 - 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 73.03 โดยบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ ที่ ำ� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมง การท�ำงาน)

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ภาวะการว่างงาน ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกัน ของช่วงปีทผี่ า่ นมาร้อยละ 2.60 โดยจังหวัดเชียงใหม่จะมีผวู้ า่ งงาน มากทีส่ ดุ ร้อยละ 17.31 และจังหวัดอุทยั ธานีมผี วู้ า่ งงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.27 ส�ำหรับอัตราการว่างงานเท่ากับ ร้อยละ 1.01 จังหวัดก�ำแพงเพชรมีอัตราการว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 2.14 เนือ่ งจากประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพท�ำการเกษตร เมือ่ เก็บเกีย่ ว ผลผลิตพืชผลพืชไร่ต่างๆ แล้วน�ำไปจ�ำหน่าย หลังจากนั้นก็จะ ว่างงานเพือ่ รอฤดูกาลทีจ่ ะเพาะปลูกต่อไป ขณะเดียวกันจังหวัด อุทัยธานีมีอัตราการว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.11

ภาวะตลาดแรงงาน นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงานจ�ำนวน 10,806 อัตรา ผู้สมัครงานที่ลงทะเบียนจ�ำนวน 7,746 คน และบรรจุงาน ได้จ�ำนวน 9,229 คน ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และ การบรรจุงานลดลงจากไตรมาสเดียวกันของช่วงปีทผี่ า่ นมา โดยลดลง ร้อยละ 30.62 ร้อยละ 57.75 และร้อยละ 33.69 ความต้องการ แรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ที่ได้รับการบรรจุงาน ปรากฏว่า ในไตรมาสนีม้ กี ารบรรจุงานมากกว่าต�ำแหน่งงานว่างเนือ่ งจาก ในช่วงของแต่ละเดือนที่ผ่านมานายจ้างสถานประกอบการ


ไม่ได้แจ้งผลการบรรจุงานตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนด และนายจ้าง สถานประกอบการบางรายอาจจะใช้เวลาในการพิจารณา คุณสมบัติของผู้สมัครงานจึงเกิดความล่าช้าจึงยกยอดมาใน ไตรมาสนี้

ภาวะการลงทุน โรงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2560 จ�ำนวน 106 แห่ง เงินลงทุน 1,285.71 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 1,315 คน จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มโี รงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาต ให้ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 21.70 รองลงมาคือ จังหวัด เชียงใหม่ ร้อยละ 13.21 และจังหวัดล�ำพูน ร้อยละ 10.38 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้รับ อนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 21.70 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทั่วไป ร้อยละ 14.15 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ อโลหะ ร้อยละ 12.26

การไปท�ำงานต่างประเทศ คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�ำงานต่างประเทศไตรมาส ที่ 1 ปี 2560 จ�ำนวน 2,930 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของ ช่วงปีที่ผ่านมาร้อยละ 11.53 และเดินทางโดยบริษัทจัดหางาน จัดส่งสูงสุด ร้อยละ 52.18 ส�ำหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศ ที่มีแรงงานเดินทางไปมากถึงร้อยละ 42.22 และส่วนใหญ่ จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุด ร้อยละ 20.07

การท�ำงานของคนต่างด้าว คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงานคงเหลือ ณ เดือนมีนาคม 2560 จ�ำนวน 140,209 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ เดือนมีนาคม 2559 ลดลงร้อยละ 24.09 คนต่างด้าวมาตรา 9 ประเภทคน ต่างด้าวพิสจู น์สญ ั ชาติได้รบั อนุญาตท�ำงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 67.05 ส่วนใหญ่จังหวัดเชียงใหม่มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานสูงสุด ร้อยละ 57.84 ส�ำหรับจังหวัดอุทัยธานีมีแรงงานต่างด้าวที่ได้ รับอนุญาตท�ำงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.11

ภาวะเศรษฐกิจการเงิน ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 1 ปี 2560 ปรับดีขึ้นจากไตรมาสก่อน ภาคเศรษฐกิจที่ปรับดีขึ้น ได้แก่ ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวขึ้น ทั้งจากการเพิ่มของนักท่องเที่ยวจีน และภูมิภาคอื่น ภาคเกษตรปรับดีขึ้นจากปริมาณฝนดีต่อเนื่อง ท�ำให้ผลผลิตพืชส�ำคัญเพิ่มขึ้นสูงกว่าคาด เช่น ข้าวนาปรัง และ อ้อยโรงงาน ส่งผลให้การผลิตหมวดอาหารในภาคอุตสาหกรรม เช่น ผลผลิตน�้ำตาล การสีข้าวขยายตัว นอกจากนี้ภาคส่งออก ปรับดีขึ้นเช่นเดียวกับการส่งออกของประเทศ โดยการผลิต ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งออกไปตลาดเอเชียกลับมาเพิ่มขึ้น ตามการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ ภาวะการลงทุนยังทรงตัว ภาคอสังหาริมทรัพย์ยงั ไม่ฟน้ื ตัว แต่การน�ำเข้าเครือ่ งจักรเพือ่ ผลิต ส่งออกเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี การใช้จ่ายภาคเอกชนยังไม่ฟื้นตัว ทั้งในหมวดสินค้าในชีวิตประจ�ำวันและสินค้าคงทน แม้ช่วงหลัง ผลผลิตภาคเกษตรจะปรับดีขนึ้ แต่ดว้ ยภาระหนีค้ รัวเรือนยังสูงอยู่ การเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐไตรมาสนี้ชะลอลงบ้าง อย่างไรก็ดี คาดว่าการใช้จ่ายภาครัฐจะทยอยเพิ่มขึ้นจากการเบิกจ่ายงบ กลุม่ จังหวัด ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจของภาคเหนืออยูใ่ นเกณฑ์ดี อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต�่ำ อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นตามราคา น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเป็นส�ำคัญ ด้านยอดคงค้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ ขยายตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน ขณะที่สินเชื่อยังหดตัวจาก การลดลงในเกือบทุกจังหวัด

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ประชากรและก�ำลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�ำลังแรงงานในภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560

ตารางที่ 1 ประชากรจ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน

ประชากรไตรมาสที่ 1 ปี 2560 ประมาณ 11.41 ล้านคน เป็นผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงานรวมประมาณ 6.38 ล้านคน ร้อยละ 55.88 ของจ�ำนวนประชากรรวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน รวมถึงผูม้ อี ายุตำ�่ กว่า 15 ปี ประมาณ 5.03 ล้านคน ร้อยละ 44.12 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงานรวม จ�ำนวน 6,376,421 คน ประกอบด้วย ผูม้ งี านท�ำ ร้อยละ 54.80 ผูว้ า่ งงาน ร้อยละ 0.56 และผูท้ รี่ อฤดูกาล ร้อยละ 0.52

1

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�ำนวน 3,114,205 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�ำงานบ้าน ร้อยละ 7.60 นักเรียน นิสิต นักศึกษา ร้อยละ 6.72 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�ำงานได้ ร้อยละ 12.97 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2559 พบว่าประชากร ลดลง ร้อยละ 0.36 ผู้มีงานท�ำลดลง ร้อยละ 1.77 และผู้ว่างงาน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.60 ส�ำหรับอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 0.97 เป็นร้อยละ 1.01


แผนภูมิที่ 2 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ที่ ที่

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ผู้มีงานท�ำประมาณ 6.25 ล้านคน ท�ำงานในอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุด ร้อยละ 35.22 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขาย

ในร้านค้าและตลาดร้อยละ 18.86 และอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ ร้อยละ 15.23 นอกนั้น ประกอบอาชีพอื่นๆ

แผนภูมิที่ 3 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

2


ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผู้ท�ำงานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.59 ล้านคน ร้อยละ 41.41 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และ การประมง ส�ำหรับผู้ท�ำงานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.66 ล้านคน ร้อยละ 58.59 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้

การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ มากที่สุด ร้อยละ 15.27 รองลงมาคือ การผลิต ร้อยละ 9.75 และการก่อสร้าง ร้อยละ 8.24 นอกนัน้ กระจายอยูใ่ นอุตสาหกรรม อื่นๆ

ตารางที่ 2 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ

ผู ้ มี ง านท� ำ ส่ ว นใหญ่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาไม่ เ กิ น ระดั บ ประถมศึกษาและไม่มีการศึกษาสูงถึง ร้อยละ 54.96 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 27.81 ระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 16.84

อื่นๆ ได้แก่บุคคลที่ส�ำเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ ร้อยละ 0.29 และผู้มีงานท�ำไม่ทราบวุฒิการศึกษาร้อยละ 0.10 ตามล�ำดับ

หมายเหตุ 1. ไม่มกี ารศึกษา หมายถึง บุคคลทีไ่ ม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รบั การศึกษา 2. อืน่ ๆ หมายถึง บุคคลทีส่ ำ�เร็จการศึกษา ทีไ่ ม่สามารถเทียบชัน้ ได้ 3. ผูม้ ีงานทำ�ไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

3

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


แผนภูมิที่ 4 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน

ผู้มีงานท�ำส่วนใหญ่ท�ำงานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ร้อยละ 35.73 รองลงมาคือ ท�ำงานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 42.01 (ในจ�ำนวนนี้เป็นลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 31.10 และลูกจ้างรัฐบาล

ร้อยละ 10.91) ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ร้อยละ 20.35 นายจ้าง ร้อยละ 1.82 ส�ำหรับการรวมกลุ่มมีเพียง ร้อยละ 0.09 ของผู้มีงานท�ำทั้งหมด

หมายเหตุ การรวมกลุม่ * หมายถึง กลุม่ คนทีม่ าร่วมกันท�ำงานโดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พึง่ ตนเอง และช่วยเหลือซึง่ กันและกัน สมาชิกแต่ละคนมีความเท่าเทียมกัน ในการก�ำหนดการท�ำงานทุกขัน้ ตอนไม่วา่ เป็นการลงทุน การขาย งานอืน่ ๆ ของกิจการทีท่ ำ� ตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามทีต่ กลงกัน (การรวมกลุม่ ดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตัง้ ในรูปของสหกรณ์หรือไม่กไ็ ด้)

แผนภูมิที่ 5 ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�ำระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 52.09 และผู้มีงานท�ำตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 20.94 หรือกล่าวได้ว่าผู้มีงานท�ำ ร้อยละ 73.03 ท�ำงานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ท�ำงาน เต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมงการท�ำงาน ขณะทีผ่ ทู้ ำ� งานน้อยกว่า 35 (1-34)

ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�ำงานไม่เต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�ำงาน ร้อยละ 25.67 ของผู้มีงานท�ำทั้งสิ้น ส�ำหรับผู้ที่ไม่ได้ท�ำงานใน สัปดาห์ส�ำรวจ (ระหว่าง 7 วันก่อนวันสัมภาษณ์) แต่เป็นผู้มีงาน ประจ�ำซึง่ ถือว่าสัปดาห์การส�ำรวจไม่มชี วั่ โมงการท�ำงาน (0 ชัว่ โมง) มีเพียง ร้อยละ 1.30

หมายเหตุ 1. ชัว่ โมงท�ำงาน หมายถึง จ�ำนวนชัว่ โมงท�ำงานจริงทัง้ หมดในระหว่าง 7 วันก่อนวันสัมภาษณ์ บุคคลทีม่ อี าชีพมากกว่า 1 อาชีพจะรวมจ�ำนวนชัว่ โมง ท�ำงานทุกอาชีพ 2. 0 ชัว่ โมง หมายถึง ผูท้ ปี่ กติมงี านประจ�ำแต่ในสัปดาห์การส�ำรวจไม่ได้ทำ� งาน อาจเนือ่ งมาจากหยุดพักผ่อน ลาป่วย เป็นต้น

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

4


แผนภูมิที่ 6 ผู้ว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

ภาวะการว่างงาน

จ�ำนวนผูว้ า่ งงานประมาณ 64,129 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2559 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.60 จังหวัดทีม่ ผี วู้ า่ งงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่างงาน

มากที่สุด ร้อยละ 17.31 รองลงมาคือ จังหวัดก�ำแพงเพชร ร้อยละ 14.32 จังหวัดนครสวรรค์ ร้อยละ 9.31 จังหวัดล�ำปาง ร้อยละ 7.44 และจังหวัดล�ำพูน ร้อยละ 6.05 ส�ำหรับจังหวัด อุทัยธานีมีผู้ว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.27

ตารางที่ 3 อัตราการว่างงานจ�ำแนกรายจังหวัด รอยละ

รอยละ

ที่มา : สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ 1. ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจำ�นวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจำ�นวนซึ่ง ได้จากการประมวลผลด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูป 2. อัตราการว่างงาน = ผู้ว่างงาน x 100 ผู้อยู่ในกำ�ลังแรงงาน

5

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


อัตราการว่างงาน

จ�ำนวนอัตราการว่างงานไตรมาสที่ 1 ปี 2560 เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสที่ 1 ปี 2559 เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 0.97 เป็นร้อยละ 1.01 จังหวัดทีม่ อี ตั ราการว่างงาน 5 อันดับแรกได้แก่ จังหวัดก�ำแพงเพชร มีอตั ราการว่างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 2.14 เนือ่ งจากประชากรส่วนใหญ่ มีอาชีพท�ำการเกษตรเมือ่ เก็บเกีย่ วผลผลิตพืชผลพืชไร่ตา่ งๆ แล้วน�ำ

ไปจ�ำหน่าย หลังจากนัน้ ก็จะว่างงานเพือ่ รอฤดูกาลทีจ่ ะเพาะปลูก ต่อไป รองลงมาคือ จังหวัดล�ำพูน และจังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ 1.48 เท่ากัน จังหวัดพิจิตร ร้อยละ 1.40 จังหวัดตาก ร้อยละ 1.32 จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดล�ำปาง ร้อยละ 1.13 เท่ากัน ส�ำหรับ จังหวัดอุทัยธานีมีอัตราการว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.11

ภาวะตลาดแรงงาน แผนภูมิที่ 7 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน

สรุปภาพรวมการเคลือ่ นไหวตลาดแรงงานของส�ำนักงาน จัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560 นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 10,806 อัตรา ผูส้ มัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 7,746 คน และสามารถ บรรจุงานได้ จ�ำนวน 9,229 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ความต้องการแรงงาน ผูส้ มัครงาน และการบรรจุงาน ลดลงโดยลดลงร้อยละ 30.62 ร้อยละ 57.75 และร้อยละ 33.69

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ทีไ่ ด้รบั การบรรจุงาน ปรากฏว่าในไตรมาสนี้มีการบรรจุงานมากกว่าต�ำแหน่งงานว่าง เนือ่ งจากในช่วงของแต่ละเดือนทีผ่ า่ นมานายจ้างสถานประกอบการ ไม่ได้แจ้งผลการบรรจุงานตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนด และนายจ้าง สถานประกอบการบางรายอาจจะใช้เวลาในการพิจารณาคุณสมบัติ ของผูส้ มัครงานจึงเกิดความล่าช้าจึงยกยอดมาในไตรมาสนี้

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

6


แผนภูมิที่ 8 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำแนกตามรายจังหวัด

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 10,806 อัตรา โดยจังหวัดที่มีความต้องการแรงงานมากที่สุด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 1,508 อัตรา ร้อยละ 13.96 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 1,307 อัตรา ร้อยละ 12.10 และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 1,141 อัตรา ร้อยละ 10.56 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพได้แก่ อาชีพงานพื้นฐาน มากที่สุด จ�ำนวน 3,691 อัตรา ร้อยละ 34.16 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�ำนวน 2,495 อัตรา ร้อยละ 23.09 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 2,090 อัตรา ร้อยละ 19.34 จ�ำแนกตามอุตสาหกรรมได้แก่ อุตสาหกรรมการขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์มากที่สุด

จ�ำนวน 3,547 อัตรา ร้อยละ 32.82 รองลงมาคือ การผลิต จ�ำนวน 3,408 อัตรา ร้อยละ 31.54 และกิจกรรมการบริหาร และบริการสนับสนุน จ�ำนวน 725 อัตรา ร้อยละ 6.71 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษาได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จ�ำนวน 3,562 อัตรา ร้อยละ 32.96 รองลงมาคือ ระดับ ปวช. จ�ำนวน 1,821 อัตรา ร้อยละ 16.85 และระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่า จ�ำนวน 1,738 อัตรา ร้อยละ 16.08 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุได้แก่ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 4,911 อัตรา ร้อยละ 45.45 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�ำนวน 2,501 อัตรา ร้อยละ 23.14 และช่วงอายุ 30 - 39 ปี จ�ำนวน 1,750 อัตรา ร้อยละ 16.19

แผนภูมิที่ 9 ผู้สมัครงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

7

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ผูส้ มัครงาน จ�ำนวน 7,746 คน โดยจังหวัดทีม่ ผี สู้ มัครงาน มากทีส่ ดุ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 1,626 คน ร้อยละ 20.99 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 876 คน ร้อยละ 11.31 และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 717 คน ร้อยละ 9.26 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพได้แก่ พนักงานบริการ พนักงาน ขายในร้านค้าและตลาดมากทีส่ ดุ จ�ำนวน 2,251 คน ร้อยละ 29.06 รองลงมาคือ อาชีพงานพื้นฐาน จ�ำนวน 1,980 คน ร้อยละ 25.56 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 1,725 คน ร้อยละ 22.27

จ�ำแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษาได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากทีส่ ดุ จ�ำนวน 3,429 คน ร้อยละ 44.27 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 2,147 คน ร้อยละ 27.72 และ ระดับ ปวส. จ�ำนวน 896 คน ร้อยละ 11.57 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุได้แก่ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี มากที่สุด จ�ำนวน 3,267 คน ร้อยละ 42.18 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�ำนวน 2,000 คน ร้อยละ 25.82 และช่วงอายุ 30 - 39 ปี จ�ำนวน 1,475 คน ร้อยละ 19.04

แผนภูมิที่ 10 การบรรจุงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

การบรรจุงาน จ�ำนวน 9,229 คน โดยจังหวัดที่มี การบรรจุงานมากทีส่ ดุ ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จ�ำนวน 1,810 คน ร้อยละ 19.61 รองลงมาคือ จังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 957 คน ร้อยละ 10.37 และจังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 874 คน ร้อยละ 9.47 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพได้แก่ อาชีพงานพื้นฐาน มากที่สุด จ�ำนวน 3,315 คน ร้อยละ 35.92 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�ำนวน 2,213 คน ร้อยละ 23.98 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 1,792 คน ร้อยละ 19.42 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมได้แก่ อุตสาหกรรม การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์

มากที่สุด จ�ำนวน 3,164 คน ร้อยละ 34.28 รองลงมาคือ การผลิต จ�ำนวน 2,893 คน ร้อยละ 31.35 และกิจกรรม การบริหารและบริการสนับสนุน จ�ำนวน 662 คน ร้อยละ 7.17 จ� ำ แนกประเภทอาชี พ ตามวุ ฒิ ก ารศึ ก ษาได้ แ ก่ ระดับมัธยมศึกษามากที่สุด จ�ำนวน 4,016 คน ร้อยละ 43.52 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 2,280 คน ร้อยละ 24.70 และระดับ ปวส. จ�ำนวน 1,176 คน ร้อยละ 12.74 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุได้แก่ ช่วงอายุ 30-39 ปี มากที่สุด จ�ำนวน 3,176 คน ร้อยละ 34.41 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25-29 ปี จ�ำนวน 2,285 คน ร้อยละ 24.76 และช่วงอายุ 18-24 ปี จ�ำนวน 2,036 คน ร้อยละ 22.06

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

8


ภาวะการลงทุน ตารางที่ 4 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามรายจังหวัด

จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

จังหวัด ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทัยธานี รวม

เงินลงทุน เพิ่ม/ลด ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสที่ 1 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2560 8 8 0.00 90.10 5 6 -16.67 46.65 14 14 0.00 293.65 7 9 -22.22 59.38 2 3 -33.33 7.85 3 3 0.00 36.53 3 2 50.00 51.70 4 3 33.33 174.20 7 2 250.00 78.70 4 11 -63.64 74.28 23 18 27.78 43.70 1 0 100.00 35.00 11 8 37.50 143.08 6 10 -40.00 121.80 0 2 -100.00 0.00 8 3 166.67 29.09 0 1 -100.00 0.00 106 103 2.91 1,285.71

การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 1 ปี 2560 มีโรงงาน ที่ ข ออนุ ญ าตประกอบกิ จ การใหม่ 106 แห่ ง เงิ น ลงทุ น 1,285.71 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 1,315 คน เมื่อเปรียบ เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2559 พบว่าจ�ำนวนโรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.91 ส�ำหรับเงินลงทุน และการจ้างงานลดลง โดยลดลงร้อยละ 71.15 และร้อยละ 51.48 จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้รับ อนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 21.70 รองลงมาคือ

9

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

(ล้านบาท)

การจ้างงาน (คน) เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559 121.34 -25.75 65 69 -5.80 184.63 -74.73 40 82 -51.22 282.46 3.96 179 347 -48.41 268.33 -77.87 250 497 -49.70 45.00 -82.56 11 28 -60.71 12.03 203.66 28 26 7.69 16.30 217.18 50 14 257.14 7.02 2,381.48 57 11 418.18 4.76 1,553.36 120 17 605.88 151.10 -50.84 43 160 -73.13 13.51 223.46 165 97 70.10 0.00 100.00 3 0 100.00 132.84 7.71 179 96 86.46 3,122.72 -96.10 87 1,219 -92.86 23.90 -100.00 0 14 -100.00 50.70 -42.62 38 28 35.71 20.00 -100.00 0 5 -100.00 4,456.64 -71.15 1,315 2,710 -51.48

จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 13.21 และจังหวัดล�ำพูน ร้อยละ 10.38 เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดเชียงใหม่มีมูลค่าการลงทุน มากทีส่ ดุ ร้อยละ 22.84 รองลงมาคือ จังหวัดพิจติ ร ร้อยละ 13.55 และจังหวัดล�ำปาง ร้อยละ 11.13 ส�ำหรับการจ้างงานจังหวัดตาก มีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.01 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดล�ำปาง ร้อยละ 35.61 เท่ากัน และจังหวัดแพร่ ร้อยละ 12.55


ตารางที่ 5 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

ประเภทอุตสาหกรรม

เงินลงทุน (ล้านบาท) การจ้างงาน (คน) เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ร้อยละ ปี 2560 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559

เกษตรกรรม

9

14

-35.71

104.78

222.47

-52.90

106

131

-19.08

อาหาร

12

13

-7.69

171.94

889.67

-80.67

172

813

-78.84

เครื่องดื่ม

0

1

-100.00

0.00

70.80

-100.00

0

73

-100.00

สิ่งทอ

1

0

100.00

1.74

0.00

100.00

51

0

100.00

เครื่องแต่งกาย

1

2

-50.00

5.60

84.00

-93.33

70

203

-65.52

ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

11

10

10.00

27.20

30.28

-10.17

126

60

110.00

เฟอร์นเิ จอร์และเครือ่ งเรือน

23

15

53.33

46.60

29.57

57.59

205

130

57.69

เคมี

1

0

100.00

7.33

0.00

100.00

6

0

100.00

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

5

4

25.00

128.50

55.00

133.64

32

23

39.13

ผลิตภัณฑ์ยาง

1

0

100.00

25.20

0.00

100.00

5

0

100.00

ผลิตภัณฑ์พลาสติก

1

2

-50.00

6.84

67.75

-89.90

100

54

85.19

ผลิตภัณฑ์อโลหะ

13

11

18.18

184.25

2,489.69

-92.60

136

526

-74.14

ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ

4

3

33.33

47.58

43.49

9.40

23

28

-17.86

เครื่องจักรกล

0

1

-100.00

0.00

0.60

-100.00

0

2

-100.00

ไฟฟ้า

0

1

-100.00

0.00

3.84

-100.00

0

295

-100.00

ขนส่ง

9

7

28.57

223.90

137.72

62.58

150

117

28.21

ทั่วไป

15

19

-21.05

304.25

331.76

-8.29

133

255

-47.84

106

103

2.91

1,285.71 4,456.64 -71.15

1,315

2,710

-51.48

รวม ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้ รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 21.70 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมทั่วไป ร้อยละ 14.15 และอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์อโลหะ ร้อยละ 12.26 ส�ำหรับอุตสาหกรรมทั่วไป มีมูลค่าการลงทุนมากที่สุด ร้อยละ 23.66 รองลงมาคือ

อุตสาหกรรมขนส่ง ร้อยละ 17.41 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ อโลหะ ร้อยละ 14.33 และเมื่อพิจารณาตามการจ้างงาน อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนมีการจ้างงานมากที่สุด ร้อยละ 15.59 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมอาหาร ร้อยละ 13.08 และอุตสาหกรรมขนส่ง ร้อยละ 11.41

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

10


การไปท�ำงานต่างประเทศ คนงานไทยทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ไปท�ำงานต่างประเทศไตรมาส ที่ 1 ปี 2560 จ�ำนวน 2,930 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ร้อยละ 11.53 จ�ำแนกตามวิธกี ารเดินทาง การเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่ง จ�ำนวน 1,529 คน ร้อยละ 52.18 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 515 คน ร้อยละ 17.58

การเดินทางโดยนายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน จ�ำนวน 388 คน ร้อยละ 13.24 การเดินทางด้วยตนเอง จ�ำนวน 381 คน ร้อยละ 13.00 และ การเดินทางโดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�ำนวน 117 คน ร้อยละ 3.99 ส�ำหรับ Re-entry ในปีนี้มี จ�ำนวน 3,133 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ปี 2559 จ�ำนวน 323 คน ร้อยละ 11.49

แผนภูมิที่ 11 จ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกวิธีการเดินทาง 5 วิธี 381 คน (ร้อยละ 13.0)

515 คน (ร้อยละ 17.58)

388 คน (ร้อยละ 13.24)

117 คน (ร้อยละ 3.99)

1,529 คน (ร้อยละ 52.18)

แจ้งการเดินทางด้วยตนเอง

กรมการจัดหางานจัดส่ง

นายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน

นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน

บริษัทจัดหางานจัดส่ง

หมายเหตุ การแจ้งการเดินทางกลับไปทำ�งานต่างประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีที่คนหางานเดินทางไปทำ�งานในต่างประเทศแล้วเดินทางกลับ มาพักผ่อนหรือทำ�ธุระชั่วคราวที่ประเทศไทยในระหว่างสัญญาจ้าง แล้วกลับไปทำ�งานกับนายจ้างรายเดิม รวมทั้งกรณีที่ทำ�งานครบกำ�หนด ตามสัญญาจ้างฉบับเดิมแล้วได้ทำ�สัญญาจ้างใหม่กับนายจ้าง ซึ่งอาจเป็นนายจ้างรายเดิมหรือนายจ้างรายใหม่ก็ได้ แล้วจึงเดินทางกลับมา พักผ่อนหรือทำ�ธุระที่ประเทศไทย แล้วเดินทางกลับไปทำ�งานอีก ต้องแจ้งการเดินทางให้กรมการจัดหางานทราบก่อนวันเดินทาง

แผนภูมิที่ 12 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 10 อันดับแรก

11

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


จ�ำแนกตามรายประเทศ ประเทศที่คนงานเดินทางไป ท�ำงานมากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�ำนวน 1,237 คน ร้อยละ 42.22 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

จ�ำนวน 359 คน ร้อยละ 12.25 ประเทศญี่ปุ่น จ�ำนวน 222 คน ร้อยละ 7.58 ประเทศลาว จ�ำนวน 204 คน ร้อยละ 6.96 และ ประเทศอิสราเอล จ�ำนวน 146 คน ร้อยละ 4.98

แผนภูมิที่ 13 จ�ำนวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ

ที่มา : กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ

จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดทีค่ นงานเดินทางไปท�ำงาน ต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 588 คน ร้อยละ 20.07 รองลงมาคือ จังหวัดล�ำปาง

จ�ำนวน 479 คน ร้อยละ 16.35 จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 378 คน ร้อยละ 12.90 จังหวัดตาก จ�ำนวน 189 คน ร้อยละ 6.45 และจังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 170 คน ร้อยละ 5.80

การท�ำงานของคนต่างด้าว แผนภูมิที่ 14 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาต

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

12


คนต่ า งด้ า วที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตท� ำ งานในภาคเหนื อ ณ เดือนมีนาคม 2560 จ�ำนวน 140,209 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนมีนาคม 2559 ลดลงร้อยละ 24.09 จ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน จ�ำแนกเป็น คนต่างด้าว ดังนี้ มาตรา 9 - คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ ร้อยละ 0.002 - คนต่างด้าวประเภททั่วไป ร้อยละ 5.84 - คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติ ร้อยละ 67.05

- คนต่างด้าวประเภทน�ำเข้าตาม MOU ร้อยละ 9.58 มาตรา 12 - คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน ร้อยละ 0.81 มาตรา 13 - คนต่างด้าวชนกลุ่มน้อย ร้อยละ 16.01 มาตรา 14 - คนต่างด้าวทีเ่ ข้ามาท�ำงานในลักษณะ ไป-กลับ หรือตามฤดูกาล ร้อยละ 0.71

แผนภูมิที่ 15 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามรายจังหวัดที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน

ที่มา : ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว

จ�ำแนกตามรายจังหวัด เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงาน ต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงาน 5 อันดับแรกดังนี้ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 57.84 รองลงมาคือ จังหวัดตาก ร้อยละ 15.47 จังหวัดล�ำพูน

ร้อยละ 6.77 จังหวัดเชียงราย ร้อยละ 5.66 และจังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 3.15 ตามล�ำดับ ส�ำหรับจังหวัดอุทยั ธานีมแี รงงานต่างด้าว ทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.11

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 1 ปี 2560 ปรับดีขึ้นจากไตรมาสก่อน ภาคเศรษฐกิจที่ปรับดีขึ้น ได้แก่ ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวขึ้น ทั้งจากการเพิ่มของนักท่องเที่ยวจีน และภูมิภาคอื่น ภาคเกษตรปรับดีขึ้นจากปริมาณฝนดีต่อเนื่อง ท�ำให้ผลผลิตพืชส�ำคัญเพิ่มขึ้นสูงกว่าคาด เช่น ข้าวนาปรัง และ อ้อยโรงงาน ส่งผลให้การผลิตหมวดอาหารในภาคอุตสาหกรรม เช่น ผลผลิตน�ำ้ ตาล การสีขา้ วขยายตัว นอกจากนีภ้ าคส่งออกปรับดีขนึ้ เช่นเดียวกับการส่งออกของประเทศ โดยการผลิตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งออกไปตลาดเอเชียกลับมาเพิ่มขึ้น ตามการ ฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ภาวะการลงทุนยังทรงตัว ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังไม่ฟื้นตัว แต่การน�ำเข้าเครื่องจักรเพื่อ ผลิตส่งออกเพิม่ ขึน้ อย่างไรก็ดี การใช้จา่ ยภาคเอกชนยังไม่ฟน้ื ตัว ทั้งในหมวดสินค้าในชีวิตประจ�ำวันและสินค้าคงทน แม้ช่วงหลัง

13

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผลผลิตภาคเกษตรจะปรับดีขนึ้ แต่ดว้ ยภาระหนีค้ รัวเรือนยังสูงอยู่ การเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐไตรมาสนี้ชะลอลงบ้าง อย่างไรก็ดี คาดว่าการใช้จ่ายภาครัฐจะทยอยเพิ่มขึ้นจากการเบิกจ่ายงบ กลุม่ จังหวัด ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจของภาคเหนืออยูใ่ นเกณฑ์ ดี อัตราการว่างงานอยูใ่ นระดับต�ำ่ อัตราเงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ ตามราคา น�้ำมันเชื้อเพลิงเป็นส�ำคัญ ด้านยอดคงค้างเงินฝากของธนาคาร พาณิชย์ขยายตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน ขณะทีส่ นิ เชือ่ ยังหดตัว จากการลดลงในเกือบทุกจังหวัด รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือ มีดังนี้ ภาคการท่องเทีย่ ว ฟืน้ ตัวได้เร็วจากไตรมาสก่อน ส่วนส�ำคัญ จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติกลับมามากขึ้น โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจีนเข้ามามากช่วงเทศกาลตรุษจีน อานิสงส์จาก มาตรการยกเว้นและลดค่าธรรมเนียมวีซ่า รวมถึงนักท่องเที่ยว


สหรัฐอเมริกาและมาเลเซียเพิม่ ขึน้ โดยเครือ่ งชีด้ า้ นการท่องเทีย่ ว ส�ำคัญที่ปรับดีขึ้น ได้แก่ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติผ่าน ด่านตรวจคนเข้าเมืองและจ�ำนวนเที่ยวบินตรงสู่ท่าอากาศยาน เชียงใหม่ จ�ำนวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานในภาคเหนือ อัตรา การเข้าพักของที่พักแรมรวมถึงภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและ ภัตตาคารมีทิศทางขยายตัวสอดคล้องกับสินเชื่อที่ให้แก่ธุรกิจ โรงแรมและภัตตาคารยังขยายตัว ผลผลิตสินค้าเกษตร เพิม่ ขึน้ สูงกว่าคาดเป็นร้อยละ 27.8 จากผลผลิตพืชส�ำคัญทัง้ ข้าวนาปรัง และอ้อยโรงงาน ผลจากสภาวะ อากาศและปริมาณน�้ำฝนเอื้ออ�ำนวยในช่วงเพาะปลูก ขณะที่ ผลผลิตปศุสัตว์ทั้งสุกรและไก่เนื้อเพิ่มขึ้น เพราะเกษตรกรขยาย การเลี้ยง ด้านราคาสินค้าเกษตรหดตัวเล็กน้อยร้อยละ 1.7 ตามราคาข้าว มันส�ำปะหลัง และข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ปรับลดลงจาก ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เช่นเดียวกับราคาสุกรลดลงเพราะผลผลิตมากกว่า ความต้องการ ยกเว้นราคาอ้อยปรับสูงขึ้นตามราคาน�้ำตาล ในตลาดโลก ภาพรวมผลผลิตเกษตรที่ปรับดีขึ้นมากท�ำให้รายได้ เกษตรกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.5 ผลผลิตอุตสาหกรรม วัตถุดิบจากภาคเกษตรปรับดีขึ้น ข้างต้นช่วยให้ผลผลิตอุตสาหกรรมปรับดีขึ้นเป็นร้อยละ 1.4 โดยเฉพาะในหมวดอาหาร ได้แก่ ผลผลิตน�้ำตาลเพิ่มขึ้นมาก เพราะโรงงานบางแห่งเลือ่ นเปิดหีบอ้อยจากปลายไตรมาสก่อนมา เปิดหีบในต้นไตรมาสนี้ การสีขา้ วและสินค้าเกษตรแปรรูปเพิม่ ขึน้ ตามวัตถุดิบมากกว่าปีก่อน ขณะที่ผลผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ส่งออกประเภทแผงวงจรรวม ตัวเก็บประจุไฟฟ้าและชิ้นส่วน อุปกรณ์ในรถยนต์เพิม่ ขึน้ ตามเศรษฐกิจคูค่ า้ ส�ำคัญฟืน้ ตัวได้ตอ่ เนือ่ ง ด้านการผลิตเครื่องดื่มทรงตัว แม้ว่าจะลดลงในช่วงต้นไตรมาส แต่เดือนสุดท้ายมีการผลิตเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นมาก เพือ่ รอจ�ำหน่ายช่วงสงกรานต์อย่างไรก็ตามการผลิตสินค้าทีล่ ดลง ได้แก่ เซรามิก สิ่งทอ และเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ผลผลิตลดลงภายหลัง เร่งผลิตไปแล้วในไตรมาสก่อนเพื่อส่งออกไปขายในช่วงปลายปี มูลค่าการส่งออก เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.1 ขยายตัวในส่วนของ การส่งออกชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไปญี่ปุ่น มาเลเซีย จีน และเยอรมนี รวมถึงการส่งออกเครื่องจักรและอุปกรณ์ไป สหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามมูลค่าการส่งออกผ่านด่านศุลกากร ชายแดนหดตัวจากสินค้าประเภทข้าวสาร น�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ปศุสตั ว์ และเนื้อสัตว์แช่แข็งไป สปป.ลาว เนื่องจากประเทศปลายทาง คือจีนเข้มงวดการน�ำเข้าสินค้าผ่านช่องทางนี้ ขณะที่การส่งออก สินค้าอุปโภคบริโภคไปสหภาพเมียนมา และการส่งออกไปจีน ตอนใต้ยังขยายตัวได้ ด้านมูลค่าการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 จากการน�ำเข้ากระแสไฟฟ้าจาก สปป.ลาว และการน�ำเข้าวัตถุดบิ และสินค้าขั้นกลางเพื่อใช้ผลิตส�ำหรับการส่งออก

การลงทุนภาคเอกชน ทรงตัว ภาคอสังหาริมทรัพย์ ยังไม่ฟื้น โครงการอสังหาริมทรัพย์ใหม่ๆ ลดลง สอดคล้องกับ การลดลงของยอดคงค้างสินเชื่อที่ให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ อย่างไรก็ดี เครื่องชี้น�ำในส่วนของภาคก่อสร้าง ปรับดีขึ้นเล็กน้อย โดยพื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างกลุ่มอาคาร พาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรมปรับดีขึ้นบ้าง ขณะที่การน�ำเข้า เครื่องจักรและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นในภาคการผลิตโดยเฉพาะกลุ่ม อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งออก การใช้จ่ายงบลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐในส่วนของการ ใช้จ่ายงบลงทุน ลดลงเล็กน้อยร้อยละ 0.3 หลังจากเร่งตัวมาก ในไตรมาสก่อน การเบิกจ่ายลดลงมากในหมวดเงินอุดหนุนให้กบั ท้องถิน่ แต่การเบิกจ่ายในโครงการซ่อมแซมและโครงการก่อสร้าง อาทิ ระบบถนนของกรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท อาคาร ของสถาบันการศึกษา การก่อสร้างในความรับผิดชอบของจังหวัด และโครงการลงทุนขนาดเล็กมีอัตราเบิกจ่ายคืบหน้ามากขึ้น และคาดว่าจะเริ่มมีการเบิกจ่ายงบกลุ่มจังหวัดเพิ่มขึ้น การบริโภคภาคเอกชน ยังไม่ฟื้นตัว โดยดัชนีการบริโภค ภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.2 ส่วนส�ำคัญจากการใช้จา่ ยในหมวดสินค้า ในชีวิตประจ�ำวันและสินค้าหมวดยานยนต์ลดลง ปริมาณการ ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงลดลงตามราคาขายปลีกน�้ำมันปรับเพิ่มขึ้น แม้ว่าช่วงหลังผลผลิตเกษตรและความเชื่อมั่นของผู้บริโภคจะ ปรับดีขนึ้ แต่ยงั ไม่สง่ ผลต่อก�ำลังซือ้ ผูบ้ ริโภคมากนัก รวมทัง้ สถาบัน การเงินเข้มงวดในการพิจารณาสินเชื่อเพื่อการบริโภค เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ อยู่ในเกณฑ์ดีอัตรา การว่างงานอยูใ่ นระดับต�ำ่ และใกล้เคียงไตรมาสก่อนทีร่ อ้ ยละ 1.01 อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไป ปรับเพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 1.24 ตามราคาน�ำ้ มัน ขายปลีกในประเทศเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาหมวดอาหารและ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ประเภทข้าว ไข่ แป้งและผลิตภัณฑ์ จากแป้งชะลอลง ภาคการเงิน ณ สิ้นไตรมาส 1 ปี 2560 ยอดคงค้าง เงินฝากของสาขาธนาคารพาณิชย์ในภาคเหนือมี 654,909 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.6 ใกล้เคียงไตรมาสก่อน โดยเงินฝากทรงตัว อย่างไรก็ดี ประเภทเงินฝากที่ขยายตัวส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ เงินฝากออมทรัพย์เพือ่ ชดเชยเงินฝากประจ�ำทีค่ รบก�ำหนด ด้านยอด คงค้างเงินให้สนิ เชือ่ ลดลงร้อยละ 1.1 คงเหลือ 579,375 ล้านบาท โดยลดลงในเกือบทุกจังหวัดในหลายธุรกิจ ได้แก่ สินเชื่อธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ภาคขนส่ง ธุรกิจการเงิน อุตสาหกรรมการผลิต และภาคเกษตรกรรม อย่างไรก็ดีสินเชื่อ ค้าปลีกค้าส่ง ก่อสร้าง และสินเชื่อครัวเรือน ขยายตัวใกล้เคียงไตรมาสก่อน ส่วนสินเชื่อ ธุรกิจโรงแรม และบริการสุขภาพขยายตัวดีสอดคล้องกับ ภาคเศรษฐกิจจริง ทั้งนี้ สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากปรับลดลงจาก ไตรมาสก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 88.5 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภาคเหนือ

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

14


ข่าวเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2560 และแนวโน้มปี 2560 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2560 ขยายตัว ร้อยละ 3.3 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยเป็นการขยายตัวที่น�ำโดยภาคเศรษฐกิจเอกชน และกระจายตัวเป็นวงกว้างมากขึ้น และเมื่อปรับผลของฤดูกาล ออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2560 ขยายตัวจาก ไตรมาสที่สี่ของปี 2559 ร้อยละ 1.3 ด้านการใช้จ่าย มีปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเร่งขึ้น ของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน การส่งออก สินค้าและบริการ และ การขยายตัวต่อเนื่องของการลงทุนรวม ในขณะที่การใช้จ่ายของ รัฐบาลชะลอตัวลง โดยการใช้จา่ ยภาคครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 3.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการ ขยายตัวของการใช้จา่ ยบริโภคสินค้าคงทนและรายจ่ายภาคบริการ รวมทั้งการปรับตัวดีขึ้นของฐานรายได้ภาคเกษตร สอดคล้องกับ การขยายตัวของปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์นั่ง ปริมาณการ จ�ำหน่ายรถจักรยานยนต์ และดัชนีภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรม และภัตตาคาร (ราคาคงที)่ ร้อยละ 38.8 ร้อยละ 4.4 และร้อยละ 7.1 ตามล�ำดับ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ โดยรวมอยูท่ รี่ ะดับ 64.2 เทียบกับ ระดับ 61.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 7 ไตรมาส การใช้จา่ ยเพือ่ การอุปโภค ของรัฐบาล เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า การลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 1.7 โดยการ ลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 9.7 เร่งขึน้ จากการขยายตัวร้อยละ 8.6 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจทีข่ ยายตัว ร้อยละ 17.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 12.3 ในไตรมาส ก่อนหน้า และการลงทุนของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 5.3 ต่อเนือ่ ง จากการขยายตัวร้อยละ 6.8 ในไตรมาสก่อนหน้า การลงทุน ภาคเอกชนลดลงร้อยละ 1.1 โดยการลงทุนในสิ่งก่อสร้างลดลง ร้ อ ยละ 4.5 และการลงทุ น ในเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก รลดลง ร้อยละ 0.3 สอดคล้องกับอัตราการใช้กำ� ลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม ที่อยู่ในระดับต�่ำ และการลดลงของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ในระดับเศรษฐกิจฐานรากดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ที่ ระดับ 50.8 เทียบกับระดับ 49.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ด้านภาคต่างประเทศ การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 56,220 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 เร่งขึ้นจากการขยายตัว ร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการขยายตัวสูงสุด ในรอบ 17 ไตรมาส ตามการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจ ประเทศคูค่ า้ หลัก และการปรับตัวดีขนึ้ ของราคาสินค้าในตลาดโลก โดยปริมาณการส่งออกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.8 และราคาสินค้าส่งออก เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.7 กลุม่ สินค้าส่งออกทีม่ ลู ค่าขยายตัว เช่น ยางพารา

15

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผลิตภัณฑ์ยาง ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ รถกระบะและ รถบรรทุก ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น กลุ่มสินค้าส่งออกที่มูลค่าลดลง เช่น ข้าว มันส�ำปะหลัง น�้ำตาล รถยนต์นงั่ และชิน้ ส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น การส่งออก ไปยังตลาดสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน และ CLMV ขยายตัว สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศ CLMV แต่การส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลีย ญีป่ นุ่ ตะวันออกกลาง และ อาเซียนลดลง เมื่อหักการส่งออกทองค�ำที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.0 และเมือ่ คิดในรูปของเงินบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.0 การน�ำเข้าสินค้ามีมลู ค่า 47,406 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 เป็นผลจากการ เพิ่มขึ้นของราคาน�ำเข้าร้อยละ 8.0 และปริมาณการน�ำเข้า ร้อยละ 7.3 โดยมูลค่าการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดบิ และสินค้าขัน้ กลาง สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภคเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.2 ร้อยละ 7.2 และร้อยละ 1.2 ตามล�ำดับ สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของ การส่งออกและการขยายตัวต่อเนือ่ งของการใช้จา่ ยภาคครัวเรือน ด้านการผลิต การผลิตสาขาเกษตรกรรม สาขาการค้าส่ง ค้าปลีก สาขาขนส่งและคมนาคม และสาขาโรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวเร่งขึ้น ในขณะที่สาขาอุตสาหกรรม และสาขาก่อสร้าง ชะลอตัว โดยสาขาเกษตรกรรมขยายตัวสูงร้อยละ 7.7 เร่งขึ้น จากการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็น การขยายตัวสูงสุดในรอบ 20 ไตรมาส (นับตั้งแต่ไตรมาสที่สอง ของปี 2555) เนื่องจากผลกระทบจากปัญหาภัยแล้งสิ้นสุดลง โดยผลผลิตพืชเกษตรส�ำคัญที่ขยายตัว ได้แก่ ข้าวเปลือก (ร้อยละ 63.0) ข้าวโพด (ร้อยละ 39.6) ปาล์มน�้ำมัน (ร้อยละ 7.0) และอ้อย (ร้อยละ 7.3) ในขณะที่ผลผลิตพืชเกษตรส�ำคัญ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ ยางพารา และมันส�ำปะหลัง ดัชนีราคา สินค้าเกษตรเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.1 ต่อเนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิม่ ขึน้ ของราคายางแผ่นดิบชัน้ 3 อ้อย ปาล์มน�ำ้ มัน และกุง้ ขาวแวนนาไม ในขณะทีร่ าคาข้าวเปลือก มันส�ำปะหลัง และข้าวโพดลดลง การเพิม่ ขึน้ ของดัชนีผลผลิตและ ดัชนีราคาสินค้าเกษตรส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่ม ขึน้ ต่อเนือ่ งเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 20.1 และเป็นปัจจัยสนับสนุน ให้การใช้จ่ายภาคครัวเรือนปรับตัวดีขึ้น สาขาอุตสาหกรรมขยาย ตัวร้อยละ 1.2 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในไตรมาส ก่อนหน้า สอดคล้องกับการลดลงร้อยละ 2.5 ของดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรมทีม่ สี ดั ส่วนส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 ซึง่ มีสาเหตุ ส�ำคัญมาจากการลดลงของการผลิตรถยนต์รอ้ ยละ 6.0 ในขณะที่


ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุม่ การผลิตเพือ่ บริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ขยายตัวร้อยละ 1.7 ส่วนดัชนี ผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออก มากกว่าร้อยละ 60) เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.4 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ทีข่ ยายตัว เช่น หลอดอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กกล้าขัน้ มูลฐาน และเนือ้ สัตว์และผลิตภัณฑ์ จากเนือ้ สัตว์ เป็นต้น ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมทีล่ ดลง เช่น ยานยนต์ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบส�ำหรับยานยนต์ฯ และ ผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ เป็นต้น อัตราการใช้ก�ำลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 62.57 สาขาการก่อสร้างขยายตัว ร้อยละ 2.8 ชะลอตัว ลงจากการขยายตัวร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการก่อสร้าง ภาครัฐขยายตัว ร้อยละ 8.5 (การก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจ และรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 21.3 และร้อยละ 4.1 ตามล�ำดับ) ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 11.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะทีก่ ารก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 4.5 โดยการก่อสร้าง อาคารส�ำนักงานและอาคารพาณิชย์ และการก่อสร้างอาคาร โรงงานลดลงร้อยละ 4.7 และร้อยละ 11.6 ตามล�ำดับ ในขณะที่ การก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 ดัชนีราคาวัสดุ ก่อสร้างเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส ร้อยละ 2.0 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา และหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ ในขณะที่ดัชนีราคาหมวดซีเมนต์ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต และ หมวดวัสดุกอ่ สร้างอืน่ ๆ ปรับตัวลดลง สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวร้อยละ 5.3 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนีม้ รี ายรับรวมจากการท่องเทีย่ ว 712.5 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ประกอบด้วย (1) รายรับจากนักท่องเทีย่ วต่างประเทศ 481.7 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.9 เร่งขึน้ จากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากรายรับของนักท่องเที่ยว รัสเซีย ยุโรปตะวันออก อเมริกา ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น เป็นส�ำคัญ (2) รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทย 230.8 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.5 ต่อเนือ่ งจากการขยายตัวร้อยละ 8.9 ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เชิงคุณภาพภายในประเทศ อัตราการเข้าพักเฉลี่ยในไตรมาสนี้ อยู่ที่ร้อยละ 73.35 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 72.70 ในช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยอัตราการ ว่างงานยังอยู่ในระดับต�่ำร้อยละ 1.2 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ย ร้อยละ 1.3 บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 13,319 ล้านดอลลาร์ สรอ. (468,147 ล้านบาท) หรือคิดเป็นร้อยละ 12.3 ของ GDP เงินทุนส�ำรอง ระหว่างประเทศ ณ สิน้ เดือนมีนาคม 2560 อยูท่ ี่ 180.9 พันล้านดอลลาร์

สรอ. และหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2560 มีมูลค่าทั้งสิ้น 6,166.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.7 ของ GDP แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2560 เศรษฐกิจไทยปี 2560 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.3 -3.8 ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจาก การขยายตัวร้อยละ 3.2 ในปี 2559 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก (1) การฟื้นตัวของการส่งออกตามการปรับตัวดีขึ้น ของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าและราคาสินค้าในตลาดโลก (2) การขยายตัวของการลงทุนภาครัฐที่อยู่ในเกณฑ์สูง และเร่งขึ้น (3) การปรับตัวดีขึ้นของการผลิตสินค้าเกษตรและ ราคาสินค้าเกษตรที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดี (4) การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว ที่ยังสนับสนุน เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง (5) การปรับตัวดีขนึ้ ของตลาดรถยนต์ในประเทศ อย่างไร ก็ตาม การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยยังมีข้อจ�ำกัดจากอัตรา การใช้กำ� ลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมทีย่ งั อยูใ่ นเกณฑ์ตำ�่ และ มีปัจจัยเสี่ยงจากความผันผวนของการเคลื่อนย้ายเงินทุนและ อัตราแลกเปลีย่ น การด�ำเนินมาตรการกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ และความต่อเนื่องในการฟื้นตัวของราคาน�้ำมันและราคาสินค้า ขั้นปฐมในตลาดโลก ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าจะ ขยายตัวร้อยละ 3.6 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนรวม ขยายตัวร้อยละ 3.0 และร้อยละ 4.4 ตามล�ำดับ อัตราเงินเฟ้อ ทั่วไปอยู่ในช่วงร้อยละ 0.8 - 1.3 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ร้อยละ 8.9 ของ GDP รายละเอียดของการประมาณการเศรษฐกิจในปี 2560 ในด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. การใช้จา่ ยเพือ่ การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 3.0 ใกล้เคียงกับการขยายตัวในปี 2559 และ เป็นการปรับเพิม่ จากการประมาณการร้อยละ 2.8 ในการประมาณ การครัง้ ก่อน ตามแนวโน้มการขยายตัวของฐานรายได้ในภาคเกษตร และภาคการส่งออกทีส่ งู กว่าการประมาณการครัง้ ทีผ่ า่ นมา ซึง่ จะ เป็นปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน ในช่วงที่เหลือของปีอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่การใช้จ่ายเพื่อ การอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 เร่งตัวขึ้น จากร้อยละ 1.7 ในปี 2559 และปรับเพิ่มขึ้นจากการประมาณ การร้อยละ 2.6 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่ม สมมติฐาน สัดส่วนรายจ่ายประจ�ำในกรอบงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมปีงบประมาณ 2560 จากร้อยละ 30 ในการประมาณการ ครั้งก่อนเป็นร้อยละ 56 ในการประมาณการครั้งนี้ 2. การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.4 เร่งขึ้น จากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในปี 2559 และเป็นการปรับลด จากการขยายตัวร้อยละ 5.3 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

16


โดยเป็นผลจากการปรับลดประมาณการการลงทุนภาคเอกชน จากการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในการประมาณการครัง้ ก่อนเป็นการ ขยายตัวร้อยละ 2.0 ในการประมาณการครั้งนี้ เนื่องจากอัตรา การใช้กำ� ลังการผลิตโดยรวมในภาคอุตสาหกรรมยังอยูใ่ นระดับต�ำ่ กว่าที่คาดไว้ อย่างไรก็ดี การลงทุนภาคเอกชนในช่วงที่เหลือ ของปีมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามการปรับตัวดีขึ้นของอุปสงค์ ในประเทศ รวมทั้งการฟื้นตัวของการส่งออกและเศรษฐกิจ ประเทศคู่ค้าที่จะมีความชัดเจนมากขึ้น และเป็นปัจจัยสนับสนุน ให้อุตสาหกรรมส�ำคัญๆ ที่มีอัตราการใช้ก�ำลังการผลิตสูงกว่า ร้อยละ 65 - 70 และโครงการทีข่ อรับและได้รบั อนุมตั กิ ารส่งเสริม การลงทุนในช่วงปี 2557 - 2559 ขยายการลงทุนและเร่งลงทุน เร็วขึ้น ส�ำหรับการลงทุนภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 12.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 9.9 ในปี 2559 และเป็นการปรับลดจาก การขยายตัว ร้อยละ 14.4 ในการประมาณการครัง้ ก่อน สอดคล้อง กับการปรับลดสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ และสมมติฐานสัดส่วนรายจ่ายลงทุนในกรอบงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมปี 2560 จากร้อยละ 80 และร้อยละ 70 ในการประมาณ การครั้งก่อนเป็นร้อยละ 78 และร้อยละ 44 ในการประมาณการ ครั้งนี้ตามล�ำดับ โดยการลงทุนภาครัฐในช่วงที่เหลือของปีมี แนวโน้มเร่งตัวขึ้น ตามความคืบหน้าของการก่อสร้างโครงการ ภายใต้แผนปฏิบัติการคมนาคมขนส่งระยะเร่งด่วนปี 2559 และปี 2560 ซึ่งจะท�ำให้การเบิกจ่ายจากงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ เร่งตัวขึน้ รวมทัง้ การเร่งตัวขึน้ ของการเบิกจ่ายจากกรอบงบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติมปีงบประมาณ 2560 3. มูลค่าการส่งออกสินค้า ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 3.6 ปรับตัวดีขึ้นจากร้อยละ 0.0 ในปี 2559 และเป็นการปรับเพิ่มจากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในการ ประมาณการครัง้ ก่อน เนือ่ งจากการปรับเพิม่ สมมติฐานราคาสินค้า ส่งออกจากร้อยละ 1.2 - 2.2 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 1.5 - 2.5 และเป็นการปรับเพิ่มปริมาณการส่งออก ตามข้อมูลจริงในไตรมาสแรกที่สูงกว่าการคาดการณ์ เมื่อรวมกับ การส่งออกบริการที่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามการขยายตัว ของจ�ำนวน และรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ คาดว่า ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการจะขยายตัวร้อยละ 2.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.1 ในปี 2559 ประเด็นการบริหารเศรษฐกิจในปี 2560 การบริหาร นโยบายเศรษฐกิจในปี 2560 ควรให้ความส�ำคัญกับ (1) การใช้จา่ ยของรัฐบาลและ การด�ำเนินโครงการลงทุน ภาครัฐให้ได้ตามเป้าหมาย ควบคูไ่ ปกับ การด�ำเนินโครงการลงทุน โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญให้เป็นไปตามก�ำหนดระยะเวลาทีว่ างไว้ (2) การสนับสนุนการส่งออก ให้สามารถขยายตัวได้ตาม เป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้รอ้ ยละ 5.0 โดยการสนับสนุนให้การส่งออก

17

ศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

สินค้าขยายตัวเป็นวงกว้างมากขึ้น การติดตามและแก้ปัญหา การใช้นโยบายและมาตรการกีดกันทางการค้าในต่างประเทศ การขยายตลาดส่งออกเชิงรุก และการประสานความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนการส่งออกอย่างครบวงจร (3) การสนับสนุนการขยายตัวของรายได้เกษตรกร และ การดูแลผู้มีรายได้น้อย โดยการเตรียมมาตรการรองรับผลผลิต ทางการเกษตรที่จะออกสู่ตลาดในฤดูการผลิต 2560/2561 การเพิ่มส่วนแบ่งรายได้ของเกษตรกรจากการจ�ำหน่ายผลผลิต ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่เพื่อลดต้นทุน การผลิตและการจัดจ�ำหน่าย ผลผลิตสู่ผู้บริโภคโดยตรงมากขึ้น การปลูกพืชและการใช้วิธีการผลิตที่มีความเหมาะสมกับสภาพ พื้นที่และการผลิตพืชที่มีมูลค่าสูง การจัดท�ำฐานข้อมูลเกษตรกร ยากจนและผู้มีรายได้น้อยเพื่อให้มาตรการช่วยเหลือทางตรง สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) การสร้างความเชื่อมั่นและสนับสนุนการฟื้นตัว ของการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความส�ำคัญกับการเพิม่ ปริมาณ การส่งออกเพื่อลดก�ำลังการผลิตส่วนเกินในภาคอุตสาหกรรม การด�ำเนินการตามแผนการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะโครงการที่ร่วมลงทุนกับภาคเอกชน การกระตุ้นให้ โครงการลงทุนทีไ่ ด้รบั อนุมตั สิ ง่ เสริมการลงทุนในปี 2557 - 2559 มีการลงทุนโดยเร็ว และการด�ำเนินมาตรการเชิงรุกเพื่อชักจูง นักลงทุนในสาขาเป้าหมาย (5) การสนับสนุนการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว โดยการดูแลรักษาความปลอดภัยในพืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญ การส่งเสริม การขายในตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวรายได้สูงและนักท่องเที่ยว ระยะไกล การสนับสนุนการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวจากจีน โดยเฉพาะกลุม่ นักท่องเทีย่ วทีม่ รี ายได้สงู การสนับสนุนการขยายตัว ของนักท่องเทีย่ วจากกลุม่ อาเซียน และการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ในประเทศควบคู่ไปกับการกระจายรายได้ไปสู่แหล่งท่องเที่ยว ในระดับชุมชนและชนบท ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 15 พฤษภาคม 2560


อ�ำนวยการจัดท�ำ

นายสุวรรณ์ ดวงตา ผู้อ�ำนวยการกองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน

คณะผู้จัดท�ำ นางณัชชารีย์ ศิรกิตติวรพงษ์ ว่าที่ ร.ต.หญิงดรุณี จันทร์มล นายภาณุศาสตร์ โฮมภิรมย์ นางสาวมณีวรรณ เสมอใจ นางฮาดีก๊ะห์ จ�ำปาทอง นางพรนิสา เทพวงค์ นายจักรกฤษณ์ ขันทะพงษ์ นายณัฐพร ก่อเกิดวงศ์ นางสาวคัทธิยา ฟูเจริญสุข นายธิติ ศรีมาทา

ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์บริหารข้อมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ เจ้าพนักงานแรงงานช�ำนาญงาน เจ้าพนักงานแรงงานช�ำนาญงาน พนักงานธุรการ ส ๒ พนักงานขับรถยนต์ ส ๒ เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่กรมการจัดหางาน ข้อ ๑. ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม และเสมอภาค ข้อ ๒. ให้บริการด้วยความเต็มใจ รวดเร็ว และประทับใจ ข้อ ๓. มีมนุษยสัมพันธ์ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย ข้อ ๔. พัฒนาตนเองและหน่วยงาน สรรค์สร้างสังคม ข้อ ๕. ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีของหน่วยงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.