มหัศจรรย์พระครูบาเจ้าศรีวิชัย

Page 1

รวบรวมและเรียบเรียงโดย ภิกษุ อานันท พุทธธัมโม



มหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย เพื่อเปนอนุสรณรําลึกถึงจอมจักรพรรดิอโศกมหาราช องคศาสนูปถัมภกที่ย่ิงใหญท่ีสุดผูประกาศ “ธรรม” ทั่วอินเดียและสูนานาอารยประเทศ...

ยอดเสาอโศกราชสีห ๔ ตัวแผสหี นาทไปทัว่ ทัง้ ๔ ทิศ เปนสัญลักษณ การประกาศธรรมของจอมจักรพรรดิอโศกมหาราชเปนยุคแหงความเจริญ รุงเรืองที่สุด ปจจุบันเปนตราประจําแผนดินของประเทศอินเดียโดยเฉพาะ อยางยิ่งของเดิมเคยมีธรรมจักรที่ชํารุดไปแลวซึ่งมีกําเกวียน ๒๔ ซี่ อยูบน หัวราชสีห เปนสัญลักษณธงชาติประเทศอินเดีย

รวบรวมโดยภิกษุอานันท พุทธธัมโม


ประวั ติ พ ระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย สิ ริ วิ ช โย รวบรวมและเรียบเรียงโดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม เจาของ :

วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา

ISBN :

978-974-7569-86-5

พิมพครั้งที่ ๑ : จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม พิมพในงานฉลองพิพิธภัณฑพระครูบาเจาศรีวิชัย พ.ศ. ๒๕๓๗ พิมพครั้งที่ ๒ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม พิมพในงานฝงลูกนิมิตวัดพระธาตุแสงแกวมงคล พ.ศ. ๒๕๓๘ พิมพครั้งที่ ๓-๔ จํานวน ๑,๕๐๐ เลม วัดบานปาง อ.ลี้ จ.ลําพูน พ.ศ. ๒๕๔๒ พิมพครั้งที่ ๕ จํานวน ๑๕,๐๐๐ เลม ชมรมพุทธศาสนาแหงประเทศไทยของการไฟฟาฝายผลิต พ.ศ. ๒๕๔๒ พิมพครั้งที่ ๖ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม งานครบรอบวันกําเนิดพระครูบาเจาศรีวิชัย ๑๒๕ ป พ.ศ. ๒๕๔๖ พิมพครั้งที่ ๗ จํานวน ๕,๕๐๐ เลม งานทอดกฐินวัดพระธาตุแสงแกวมงคล พ.ศ. ๒๕๔๖ พิมพครั้งที่ ๘ จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม เพือ่ เปนอนุสรณราํ ลึกถึงจอมจักรพรรดิอโศกมหาราชองคศาสนูปถัมภก ทีย่ งิ่ ใหญทสี่ ดุ ผูป ระกาศ “ธรรม” ทัว่ อินเดีย และสูน านาอารยประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔ พิมพครั้งที่ ๙ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม สมาคมชาวลําพูน จัดพิมพเพื่อเผยแผ พ.ศ. ๒๕๕๗ สนใจหนังสือติดตอไดที่ : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา และ สมาคมชาวลําพูน ๑/๘๑๖ ซ.พหลโยธิน ๖๐ ถ.พหลโยธิน ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐

หนังสือเลมนี้ จัดพิมพเพื่อเผยแผเปนธรรมทาน หากทานไดรับหนังสือนี้ ขอไดโปรดตั้งใจศึกษาใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งแกตนเองและผูอื่น ดวยเทอญ พิมพที่ : โรงพิมพนันทพันธ ๓๓/๔-๕ หมู ๖ ถ.เชียงใหม-หางดง ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๑๐๐ โทร./แฟกซ ๐๕๓-๘๐๔๙๕๖, ๐๕๓-๘๐๔๙๐๘-๙ www.nuntapun.com


ไหวสานบพระเจา จอมขวัญ แมนมิ่งสีลธัมมอัน เอกอาง อินทเฟอนหยาดฟาปนบุญโปรด เมืองเอ ศรีวิชัยไปราง สถิตลานนาเวียง


วัดบานปางแมตืนที่ลี้นี้ คือปฐพีศุภประเสริฐเลิศลํ้า เปนอูแกวพระครูบาศรีวิชัย นําธรรมทิพยมางําใจธรณี ปางเอยโอโออเนจอนาถ ปางดับธาตุลับหลามหาสถาน เย็นยะเยือกหนาวฝงฟาจักรวาล ลานนาลับหนาพระครูบาศรีวิชัย

อังคาร กัลยาณพงษ วันเสารที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๑


ตราประจําตัวพระครูบาเจาศรีวิชัย มี ๕ ภาษาคือ ภาษาไทย ภาษาไทยลานนา ภาษาพมา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และมีรูปเสือเปนสัญลักษณนามปเกิด ทางของนักบุญเปนทางแหงความเสียสละ ความบริสุทธิ์ เปนทางประเสริฐที่สุด และยอมมีอุปสรรคขวากหนามขวางกั้นเปนธรรมดา จงกาวดําเนินไปดวยความอดทน และสุขุม ทางของนักบุญก็จะทอดสูดวงใจของทานทุกคน (ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) โฮงหลวงวัดบานปาง ตําบลศรีวิชัย อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน วันพุธที่ ๖ เดือนธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๖


กิตติคุณประกาศ ในการพิมพครั้งที่ ๑

หนั ง สื อ มหั ศ จรรย พ ระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย สิ ริ วิ ช โย นั ก บุ ญ แหงลานนาไทยสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีไดรับอภินันทนาการจาก คุณนายพรพรรณ พรประภา สรางหนังสือเปนธรรมทาน เพือ่ อุทศิ กุ ศ ลแด คุ ณ พ อ ถาวร คุ ณ แม อุ ส า พรประภา คุ ณ พ อ กิ จ จา กอนันทเกียรติ คุณแมอางิ้ง แซตั้ง คุณดําริห กอนันทเกียรติ และเจาบุญนายคุณ เจากรรมนายเวร เทวาอารักษ และทานผูอ าํ นวยการ รจิตตรี วงษสวรรค ไดสรางหนังสือเปนธรรมทาน เพือ่ อุทศิ กุศล แด คุณพออํานวย คุณแมจนั ทราทิพย สุวรรณปาล และคุณพอหมอ อาฮวด คุณแมอารีย แซเตีย สรางหนังสือเปนธรรมทานเพื่ออุทิศ กุศลแดพออุยโจ แมอุยดี สมศรี พอปวยคุง คุณแมเฮียง แซเตีย ขอขอบพระคุณศาสตราจารยเกียรติคณ ุ มณี พยอมยงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูส นับสนุนขอมูลอางอิงประวัตศิ าสตรพระพุทธ ศาสนาในลานนาไทย ขอขอบพระคุณทานประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา อาจารยวิมล ปงเมืองเหล็ก ที่กรุณาชี้แนะใหขอมูลสําคัญ ขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารยวิลักษณ ศรีปาซาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตพายัพ จังหวัด เชียงใหม ที่กรุณาชี้แนะตรวจทาน ขอบพระคุณดร.สัณหวัชคุณทิพยวรรณ ไชยวงค ไดชวยตรวจทาน


ขอบพระคุ ณ พระวิ ชั ย ธั ม มชโย ที่ ช  ว ยบั น ทึ ก ข อ มู ล ขอบพระคุณอาจารยทองทวี พรประภา ทีก่ รุณาชวยชีแ้ นะรูปแบบ การจัดวางระบบหนังสือ ขอบพระคุณทานอุบาสกกวงเมง ทานอุบาสิกาปติอร แซเลา ผูเปนกําลังใจสนับสนุน ขอบพระคุณคุณอรุณี เดชุรัตน ผูเปนกําลังใจสนับสนุน ขอบพระคุณคุณพิทักษ - คุณอังศุมาลิน บุญทา ที่ชวย ตรวจสอบตรวจทาน ขอบพระคุณอาจารยสมชาติ - คุณหมอนงคราญ มีทรัพย ฝายประสานงานและสนับสนุน และขอบคุณคุณครูเยาวเรศ สุรรี ตั น พรอมคณะครู และ นักเรียนโรงเรียนเชียงคําวิทยาคมที่ชวยในงานดานการพิมพ สุดทายนี้ขอขอบพระคุณผูมีสวนรวมเกี่ยวของทุกทานที่ให ความชวยเหลืออํานวยความสะดวกในการจัดทําหนังสือเปนอยางดี ซึ่งความดีและคุณคาประโยชนอันพึงมีจากหนังสือเลมนี้ขอมอบแด คุณพอคุณแมผูใหกําเนิด และผูท่ีไดอุมชูเลี้ยงดูมาตลอดถึงคณาจารย พรอมผูมีอุปการคุณทุกทาน (ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) พ.ศ. ๒๕๓๗


ธรรมชาติแหงนิพพาน

อรุณรุงเบิกฟาสวางไสว ไรซึ่งเจตนา ดอกบัวพุทธชาติเบงบานสะพรั่ง ไรเสียงขับขาน มวลหมูแมลงภูแมลงผึ้งกระพือปกเสียงดังอื้ออึง แทรกตัวในเกสรอันงดงามดูดดื่มความหอมหวาน ผสานธรรมชาติเปนหนึ่งเดียวกับนิพพาน ไรเสียง ไรตัวตน ไรคําบรรยาย ไรที่มา ไรที่ไป ไมมีที่สิ้นสุด... และไรซึ่งเจตนา

(ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) กระทอมหญาคา ยอดเขาคิชฌกูฎ พุทธสถานอินเดียนอย วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๖.๓๐ น.


คํานํา

ในการพิมพครั้งที่ ๘ มหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ที่ไดจัดพิมพแจกเปน ธรรมทานขึ้นในครั้งที่ ๘ นี้ ไดพยายามปรับปรุงเพิ่มเติมขอมูลที่พบใหม พอสมควร เพือ่ ใหไดมองเห็นภาพเหตุการณและปณิธานเปาหมายอันสูงสง เปนการเปดเผยในสวนรายละเอียดทีจ่ ะตองบันทึกในสิง่ สําคัญ เชน วิถชี วี ติ วัฒนธรรมประเพณีทไี่ ดเพียรพยายามศึกษาคนความาอยางทุม เททีส่ ดุ เปน เวลารวม ๓๐ ป ใหผูที่มีความเคารพเลื่อมใสจะไดรูไดเพิ่มศรัทธาและสติ ปญญาไดดื่มดํ่าซาบซึ้ง ซึมซับประทับใจและเจริญตามฮีตรอยบาทวิถีของ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั จะไดสบื สานเปนเนือ้ นาบุญอันประเสริฐ เปนทีพ่ งึ่ อัน สงบรมเย็นของสาธุชนทั้งหลายตอไป จุดมุง หมายในการศึกษาเรือ่ งของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั หรือครูบาเจาศีลธรรม ก็คือการไดเรียนรูสัจธรรมจากวิถีชีวิตของทานที่ไดกลั่นกรอง หลอหลอมพิสจู นใหเห็นความจริงของสัจธรรมไดอยางชัดเจนตัง้ แตเริม่ ตน ตราบจนสิ้นอวสาน ชีวิตของทานโดดเดนเปยมดวยคุณธรรมอันเรืองรอง ประดุจเพชรนํา้ เอกอลังการลํา้ คายิง่ เปลงประกายงดงามตลอดกาล โดยเฉพาะ อยางยิ่งคําสอนอันเปนสัจธรรมขององคพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนสิ่งมุง ชีต้ รงสูค วามเปนจริงใหมองเห็นภาพองครวมของทุกสรรพสิง่ ไมยกเวนอะไร ทั้งสิ้นเปนอนิจจังไมจีรังยั่งยืน คละเคลาดวยสิ่งที่เปนอุปสรรคปญหาทุกข ยากลําบากนานัปการ ทายที่สุดแลวทุกๆ สิ่งในทุกๆ เหตุการณก็ตองสู บทสรุปที่ความวางความสงบ นี่คือความจริงอยางยิ่งของสัจธรรมของชีวิต


และโลกที่พระพุทธองคไดทรงเปดเผยเปนครั้งแรกในโลก เหนือความ เปนมหาบุรุษสุดยอดอัจฉริยะนับตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน ที่เหนือกวานั้นคือ การเปดดวงตาดวงใจใหชาวโลกไดเห็นแสงสวางแจมแจงวาสิ่งทั้งหลาย ตองมีเกิดมีดับเปนเรื่องธรรมดา การไมหลงปรุงแตง ดับความฟุงซานให สยบศิโรราบเปนความสงบสุข และทรงเนนยํา้ มิใหประมาท กระตุน ใหเกิด สติ ป  ญ ญามองให เ ห็ น ชี วิ ต และโลกเป น ของว า ง เป น อนั ต ตาสุ ญ ญตา ทรงชี้ทางใหทุกชีวิตไดดําเนินสูทางโมกขธรรม อยูเหนือกระแสโลกโดย ประการทั้งปวง อันเปนเปาหมายสูจุดสูงสุดของทุกชีวิต คือความวาง ความสงบคื อ นิ พ พาน ได ท รงประทานมรดกภู มิ ป  ญ ญาอั น เลอเลิ ศ นี้ มิไดจําเพาะเจาะจง ใหเปนของสากลตลอดทุกกาลเวลา เปนสิ่งบมเพาะ จิตใจใหเปนภูมิคุมกันและเปนธรรมโอสถเพื่อเปนประโยชนอันใหญหลวง สําหรับทุกชีวติ เปนศาสตรอนั สูงสุดของชีวติ ทีจ่ ะตองศึกษาใหแจมแจงรอบรู เปนปจจัยสําคัญสูการพัฒนาชีวิตไดอยางวิเศษยิ่ง เมือ่ เขาใจถึงสัจธรรมก็คอื การรูค วามจริงของชีวติ และการรูส จั ธรรม ของชีวติ นัน้ ซึง่ หมายถึงการไดเห็นไดพบพระพุทธองคในจิตใจของเรานัน่ เอง ดังทีพ่ ระพุทธองคไดตรัสไววา “ผูใ ดเห็นธรรม ผูน นั้ ชือ่ วาไดเห็นเราตถาคต” เปนการหมุนวงจรชีวิตสูทางสายกลางคือธรรมจักรเปนสิ่งขับเคลื่อนดวย วงลอแหงอริยมรรค ๘ ประการ หากเราใชสติพิจารณาดูใหเขาใจวา เรือ่ งของพุทธศาสนา คือศาสตรแหงความรูค วามเขาใจถึงความจริงของชีวติ เปนองคความรูสุดยอดสูการดําเนินชีวิตอยูรวมสังคมและโลกกวางโดย ไมถูกอิทธิพลใดครอบงํา จะตองลบลางคานิยมการโฆษณาชวนเชื่อที่ให คนติดกับดักกงขังความหลงงมงายอันเปนหมอกมานปดบังดวงตา จะตอง รูเ ทาทันและทําลายภูผาอันมหึมาแหงอหังการความถือตัวสําคัญตน แยงชิง


ยึดติดอยูกับลาภยศ ความทะเยอทะยาน มักใหญใฝสูง ใสหัวโขน ขมขู เคี่ยวเข็ญ ลวงหลอกกันและกันไปวันๆ อยางไรสาระ และตองเบิกตามอง โลกใหสุดขอบจักรวาล มิใชวิ่งไลตามกระแสโลก มัวเมา ลุมหลง งมงาย ตกเปนเหยือ่ ตัณหากามารมณ ความละโมบโลภลนพนประมาณ เปนพันธะ ภาระทีต่ อ งทนแบกโลกแบกปญหา อีกทัง้ เปนพิษภัยสิง่ แสลงอันใหญหลวง ตอความสงบสุขของชีวิต หลักคําสอนทีเ่ ปนสัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา พระพุทธองค ไดทรงชีท้ างชีวติ ใหดาํ เนินตามอริยมรรค ๘ ประการ คือใหรจู กั การมองโลก รูจักคิดดําริใหถูกทาง มิใหจิตฟุงซาน ใหรูจักกาลเทศะ การเจรจาพาทีที่ ไมเปนพิษภัยอันตราย ใหรูจักหลักการทํางาน การมีสัมมาอาชีพ กระตุน ใหเกิดจิตสํานึกตื่นตัวทําความเพียรพยายาม ไมใหหลงลืมตนพรอมที่จะ เสียสละและปลอยวาง และใหมีเปาหมายชีวิตที่ชัดเจน คือทุกลมหายใจ ทุกกาวยางมุงสูความสงบรมเย็น ไมยึดติดทั้งความสุขหรือความทุกข อยูอยางอิสรเสรี ดําเนินชีวิตตามทางสายกลาง มิใหเครงเครียดจนเกินไป มิใหเกียจคราน เห็นแกตัว การเอารัดเอาเปรียบ จะตองอุทิศเสียสละ ประโยชนตนเองเพื่อผสานประโยชนอันสูงสุดของผูอื่นอยูเสมอ ดังพระจริยาวัตรของพระพุทธองค จะทรงลดพระองคเปนหนึง่ เดียว กับทุกชีวิต ไมทรงถือพระองควาวิเศษเหนือใครอื่น จะไมมีการแยกแยะ ดวยการสําคัญตนระหวางความเปนเขา เปนเรา มิตรหรือศัตรู จะทรงมี นํ้าพระทัยใสบริสุทธิ์ ไมวาจะเจอเหตุการณดีรายประการใด จะถูกดา ถูกประณาม ถูกทําลายทํารายรุนแรงอยางไร บางครัง้ ถึงขนาดพระอานนท พุทธอุปฏฐากอดทนตอเหตุการณไมได จึงกราบทูลขอรองใหเสด็จไปจาก ทีน่ เ่ี ถิด พระพุทธองคจะไมหนีปญ  หาและไมเปนเปานิง่ ใหใครโจมตี เพราะ


มิไดเอาเรื่องยุงๆ อันไรสาระมาใสในใจ ทรงอยูเหนือความขัดแยง ขัดใจ ไมเกีย่ วเกาะของแวะกับการนินทาและสรรเสริญ ทรงมัน่ คงอยูใ นขันติธรรม และเมตตาธรรมอยางเสมอภาค มีพระมหากรุณาเปดใจกวางอยูเสมอ พระครูบาเจาศรีวิชัยก็ถือไดวาทานเปนแบบอยางที่ชัดเจนถึง การดําเนินอยูบนวิถีทางอันประเสริฐ ตามรอยพระพุทธบาทองคสัมมา สัมพุทธเจา ดวยความเขาใจเขาถึงดวยความศรัทธาในพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ และหลักไตรลักษณ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สุญญตาอันเปนสัจธรรมความจริง ความเสมอภาค ความสมดุล ความยุตธิ รรม อยางยิ่งของทุกสรรพสิ่ง จงพิจารณาดูเถิดวาเมื่อเขาสูจุดหัวใจของสิ่งมีชีวิตจนถึงที่สุดแลว สายธารแหงเมตตาอันใสเย็นบริสุทธิ์จะพลั่งพรูออกมาเปนนํ้าใจเอื้ออาทร ดวยความกรุณาการุณตอเพื่อนรวมโลก และลมหายใจจะละเอียดบริสุทธิ์ อารมณจะแจมใสสดชื่นสูความมีชีวิตชีวามีราศีผุดผอง แมจะตองเจอ อุปสรรคปญหาใดๆ หรือเผชิญตอโรครายความเจ็บปวด ปวยมากสักปานใด จะเผชิญหนาตอมัจจุราช ก็จะมองเห็นทุกสิ่งทุกเรื่องเปนของธรรมดา เปนมิตรทีซ่ อ่ื สัตยแสนดี ทีจ่ ะตองตอนรับปฎิสณ ั ฐานดวยความเขาจิตเขาใจ และดวยหัวใจอันสงบ ไมตื่นเตน ตื่นตระหนก หวาดกลัวอะไรทั้งสิ้น ทําจิตใจใหเปนหนึ่งเดียว คือปลอยวางอยูทุกขณะจิต มองใหเห็นชีวิตและ โลกเปนของวางอยูเสมอ เพราะนี่แหละคืออานิสงส คือประโยชนอันสูงสุด ของบทศึกษาการดําเนินชีวิตและเปาหมายสุดยอด คืออยูดวยลมหายใจ สะอาดบริสุทธิ์ มีหัวใจสงบสุขผสานกับธรรมชาติเรียบงาย ใหเปนไปตาม ลีลารอยพระพุทธบาทองคพระสัมมาสัมพุทธเจาจากกระแสสัจธรรมสูชีวิต


สูค วามวาง สูพ ระนิพพาน สูค วามสงบรมเย็นสุดยอด เปนเปาหมายในการ ดําเนินชีวิต เพราะสุขใดๆ ก็ตามไมเทียบเทาความสงบในใจเราเอง ขอมอบบรรณาการมหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย เปน รางวัลชีวิตแดทุกทานเพื่อนําไปศึกษาแลวจะเปนที่ประจักษแกจิตใจ จะได ดื่ ม ดํ่ า ซึ ม ซั บ อมฤตธรรมของพระพุ ท ธองค ด ว ยธรรมรสที่ เ ย็ น สดชื่ น สุดซาบซึ้ง จะเปนนํ้าทิพยหลอเลี้ยงกายใจใหสงางามมีพลังเปนทวีตรีคูณ จิตใจจะเจริญงอกงามดวยกุศลเพิ่มพูนบุญบารมีใหเต็มบริบูรณ จะทําให มองเห็นแตบรรยากาศของความเขาใจชีวิตเขาใจโลก เกิดการเผื่อแผ แบงปนจากใจอันบริสุทธิ์ จิตใจจะสดชื่นงดงามเบงบานที่สุด ใบหนาจะ อิ่มเอิบเบิกบานเปนใบหนาผูมีบุญ ผิวพรรณผองใสเสมอเหมือนกันหมด ดวยเมตตาและไมตรี เพราะเมตตาธรรมเปนเครื่องคํ้าจุนโลก

(ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) พ.ศ. ๒๕๕๔


คํานิยม ในการพิมพครั้งที่ ๖ เนื่องในโอกาสนอมรําลึกถึงพระคุณของทานพระครูบาเจาศรีวิชัย นักบุญแหงลานนา ทานภิกษุอานันท พุทธธัมโม ไดจัดพิมพหนังสือเพื่อ แจกเปนธรรมทานของ วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอ ดอกคําใต จังหวัดพะเยา ในการจั ด พิ ม พ ห นั ง สื อ แจกเป น วิ ท ยาทานนี้ นั บ ว า เป น การ แสดงออกซึง่ ความกตัญูกตเวที และระลึกถึงคุณปู การทีท่ า นพระครูบาเจา ศรีวิชัย ไดทําตอประชาชนชาวลานนาเปนอยางยิ่ง จึงขอแสดงความชื่นชม ยินดี ตอทานภิกษุอานันท พุทธธัมโม และผูมีสวนรวมในการจัดพิมพ หนังสือเลมนี้ดวย ขออํ า นาจคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย โปรดคุ  ม ครองให ทุ ก ท า นที่ มี สวนรวมในการจัดพิมพหนังสือครั้งนี้ จงมีความเจริญรุงเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป

(นางอุไรวรรณ เทียนทอง) รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม ๑๙ เมษายน ๒๕๔๖


คํานิยม ในการพิมพครั้งที่ ๖ พระเถระทีม่ ชี อ่ื อุโฆษของลานนาไทยในสมัยรัตนโกสินทรไมมใี คร เดนดังและนั่งอยูในหัวใจมหาชนทุกยุคทุกสมัยเสมอเหมือนทานครูบา ศรีวชิ ยั ผูฝ ก ใฝในบุญกุศลเรียกทานวา “ธุเจาตนบุญ” คนเครงในศีลในธรรม จะเรียกทานวา “ธุเจาศีลธรรม” หรือ “ครูบาศีลธรรม” บางก็เรียกทานตาม ถิ่นกําเนิดวา “ครูบาบานปาง” บางกลุมเรียกทานวา “ครูบาสะหรีวิจัย” ตําแหนงครูบาเปนชื่อปรากฏในทําเนียบของอาณาจักรลานนา โบราณเริ่มแต สาธุ สิทธิ ครูบาสวามี สมเด็จและอาชญาธรรม ครูบานิยม เรียกพระเถระทีเ่ ครงศีลเครงธรรมและมีอายุพรรษาบางครัง้ เรียกพระภิกษุ หนุมที่ประชาชนนับถือวา “ครูบา” ก็มีแลวแตความนิยมของสาธุชน ครูบาเจาศรีวิชัยเปนคําเรียกที่ประชาชน มอบถวายแดทานดวย ศรั ท ธาและความรั ก ซึ่ ง เทิ ด ทู น ท า นไว ใ นหั ว ใจตลอดมา ครู บ าเจ า มี ศักยานุภาพบารมีธรรมเปนเอนกประการ ขาพเจาไดยินคําบอกเลาจากพระอาวุโสเลาใหฟงดังตอไปนี้ ดานสมาธิธรรม ครัง้ แรกทานเปนสามเณรไปบําเพ็ญสมาธิอยูใ น ปาชาจนเปนที่เลื่องลือวาทานไมกลัวผีสางนางไม ทําใหประชาชนเลื่อมใส ศรัทธาพากันไปทําบุญและ หอมลอมทาน จากจํานวนนอยเพิ่มขึ้นเปน จํานวนมาก เรียกทานวา “สามเณรตนบุญ” เมื่อทานอุปสมบทเปน พระภิกษุบารมีธรรมของทานก็แกรงกลายิ่งขึ้น ประชาชนทั่วภาคเหนือ ชาวเขาเผาตางๆ พากันมากราบไหวและถวายขาวของเนืองแนนทุกวัน


ดานจิตวิทยา เมื่อมีใครมาขอใหครูบาเจาไปนั่งหนัก (นั่งเปน ประธาน) บูรณะปฎิสังขรณถาวรวัตถุ ครูบาจะใชจิตวิทยาโดยใหประชาชน กลุ  ม นั้ น มากราบไหว ว อนขอเป น หลายครั้ ง จนกระทั่ ง พวกเขามี จิ ต ใจ หลอหลอมพรอมเพรียงทั้งวัดและบานจึงรับนิมนตไปทําการ หลักฐาน สําคัญทีป่ รากฏคือ เหตุการณกอ นทีจ่ ะทําหนทางขึน้ สูด อยสุเทพ ณ เชิงดอย หวยแกวตนทางทีจ่ ะขึน้ สูด อย ครูบาไดบอกแกบริวารและคณะศรัทธาทีม่ า รวมกันมากมายวา “เฮาจะขอภาวนาถามเทวดาดูกอนวาเปนจะหื้อแปง (หือ้ แปง=ใหทาํ ) กาวาบหอื้ แปง” ใหประชาชนทีม่ าแวดลอมอยูร อคอยดวย ความกระวนกระวายใจยิ่งกระตุนใหทุกคนมีศรัทธามีกําลังใจที่ตองการจะ ทําเปนอยางยิง่ จึงพากันภาวนาชวยครูบาขอเทพเจาทัง้ หลายโปรดชวยครูบา เถิดเปนอยางนี้เกือบทุกคนไป ในวันที่ ๓ หลังจากครูบาบริกรรมภาวนา แลวจึงบอกใหศรัทธาทั้งหลายทราบวา “เทวดาเปนอนุญาตหื้อแปงแลว” เสียงกระหึ่มแหงการโหรองและเสียงสาธุการดังขึ้นทั่ว และประชาชนก็ บอกเลากันตอๆ ไปวาครูบาเจาจะสรางหนทางขึน้ ดอยสุเทพแลวทําใหผคู น ตามหมูบาน ตําบล อําเภอ พากันหอบขาวหอบของเครื่องมือเครื่องใช ในการทําหนทางมาชวยกันอยางมืดฟามัวดิน ในวันเริ่มการทําหนทาง ครูบาไดใหเจาแกวนวรัฐ เจาผูครองนคร เชียงใหมเปนผูลงจอบแรกตามดวยหลวงศรีประกาศ ซึ่งทานทั้งสองนี้เปน ผูใหญของบานเมือง ทําใหทุกคนเห็นวาคนสําคัญยังทําการสรางถนนเรา ผูเปนไพรฟาประชาชนจะไมทําไดอยางไร นับไดวา ครูบาเจาศรีวิชัยเปน นักจิตวิทยาเยี่ยมยอดของโลกก็วาได


ดานทานะบารมี ครูบาใหนําขาวของเครื่องใชท่ีคนมาบริจาค ไปมอบใหแกวัดนอยใหญ มอบอาหารใหแกนักโทษในเรือนจํา เจาคุณ พระเทพวรสิทธาจารย (ดวงคํา ธรรมทินเถระ) อดีตเจาคณะจังหวัดเชียงใหม ไดเลาใหขาพเจาฟงวา “ขณะที่ครูบาสรางพระวิหารวัดสวนดอกนั้นเปน เวลาที่พระอุบาลีคุณูปมาจารย (สิริจันทเถระ) กําลังสรางพระวิหารวัด เจดียหลวงทานไดส่ังใหศรัทธาที่เปนบริวารนําเอาอุปกรณการกอสราง ตางๆ เชน กระปองใชขนปูนและเครือ่ งมือการชาง ปูนซีเมนต ฯลฯ ไปชวย เปนจํานวนมากและสิง่ อืน่ ๆ ทีผ่ คู นนํามาถวาย ครูบาจะไมสะสมเก็บไวเปน ของตนเลยมีแตบริจาคใหแกคนยากคนจนหากรวมเงินและวัตถุเครื่องใช ต า งๆ ที่ ส ร า งถาวร วั ต ถุ ใ นภาคเหนื อ นั บ เป น ราคาป จ จุ บั น ต อ งใช งบประมาณเปนหมื่นลาน จึงนับไดวาทานะบารมีของทานเปนที่นา มหัศจรรย ดานการปกครอง ในสมัยที่ครูบากําลังรุงเรืองดวยชื่อเสียงนั้น ปรากฏวามีชาววัดและชาวบานเขามาเปนบริวารของทานแมกระทั่งนําเอา วัดมาถวายเปนเหตุใหคณะสงฆบานเมืองหวาดระแวงแคลงใจวาจะเปน กบฏจึงนําครูบาลงไปกรุงเทพฯกักไวท่ีวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ซึง่ เปนวัดทีพ่ ระธรรมโกษาจารยเจาคณะมณฆลพายัพเปนเจาอาวาสอยูใ น สมัยนั้น เจาหนาที่ไดทําการสอบสวนก็ไมมีมูลเหตุแหงการทํากบฏตอ แผนดินแตอยางใด จึงอนุญาตใหครูบากลับขึ้นมาภาคเหนือไดดังเดิม สาเหตุ ท่ี ค รู บ ามี บ ริ ว ารมากมี ผู  ค นเคารพเลื่ อ มใสก็ ด  ว ยอํ า นาจแห ง พรหมวิหารธรรม คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อยูในตัวของทานเปน อัปมัญญาคือ พรหมวิหารยิ่งใหญหาประมาณมิได


ดานความรักเมตตามหานิยม เหรียญครูบาศรีวชิ ยั ทีท่ าํ รุน แรก พ.ศ. ๒๔๘๒ มีราคาเปนลานในปจจุบันมีการทําเหรียญไมรูก่ีสํานักตอ สํานักในทางเมตตามหานิยมคุม กันภัยพิบตั ทิ ง้ั หลายประชาชนนิยมชมชอบ บูชากันไวทกุ บานทุกเรือนหรือเกือบทุกคนทีเ่ ปนชาวพุทธในปจจุบนั เพราะ ตองการการคุมครองจากบารมีของทานใหมีชีวิตอยูโดยสวัสดี ความยิ่งใหญของครูบาศีลธรรม เมื่อทานถึงแกมรณภาพแลว ศรัทธาประชาชนไดทํากูหรือเจดียท่ีบรรจุกระดูกทานไวหลายแหงเชน วัดจามเทวี วัดบานปาง วัดสวนดอกเชียงใหมฯลฯ เปนตน อนุสาวรียเปน ที่รูจักของประชาชนทั่วโลก คืออนุสาวรียครูบาศรีวิชัยที่ประดิษฐานไว ตนทางขึ้นสูดอยสุเทพเปนที่เคารพกราบไหวของผูคนไมขาดสาย นับเปน อนุสาวรียนักบุญผูยิ่งใหญที่สามารถเขาไปนั่งอยูในหัวใจคนทุกรูปทุกนาม พระอานันท พุทธธัมโม ซึ่งผูคนกลาวกันวาเปนวิญญาณครูบา ศรีวิชัยมาเกิดเพราะทานนิยมชมชอบศรัทธาตอครูบายิ่งนักอุทิศตนสราง อนุสาวรียและพิพิธภัณฑสมณบริขารและเครื่องใชของครูบาศรีวิชัยไวที่ วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน ซึ่งประชาชนผูสนใจทางประวัติศาสตร โบราณคดีและนักศึกษาไดใชเปนแหลงขอมูลอยางสําคัญ นอกจากที่ กลาวมานี้แลวพระอานันท ยังบูรณปฏิสังขรณถาวรวัตถุที่ครูบาเจาศรีวิชัย สรางไวใหคืนคงอยูในสภาพเดิมหลายที่หลายแหงนาอนุโมทนา การศึกษา การสัมภาษณใหไดขอมูลเกี่ยวกับครูบาเจาศรีวิชัยมา จัดทําเปนเอกสารหนังสือที่ทานไดอานอยูนี้อาจจะผิดแผกไปจากขอเขียน ของคนอืน่ บาง เนือ่ งจากเปนขอมูลการบอกเลาของผูท ม่ี ปี ระสบการณเกีย่ วกับ ครูบา จึงขอใหทานอานดวยศรัทธาและความรักยินดีโสมนัสตอผูจัดทํา


ดวยศรัทธา เคารพนบนอบที่ขาพเจามีตอครูบาอยางสูงสุด และ ดวยความนิยมในพระอานันท พุทธธัมโม ที่ทําการบุญกุศลอยางเสียสละ มีฉันทะในการกระทําประโยชนตอสวนรวม ขาพเจาจึงเขียนคํานิยมนี้เพื่อ เปนการถวายสักการะและใหกําลังใจ

ดวยความเคารพและสักการะ ศาสตราจารยเกียรติคุณ มณี พยอมยงค ๓๐ เมษายน ๒๕๔๖


บูชาครูบาเจาศรีวิชัย ครูบาเจาศรีวิชัยเปนชีวิตตัวอยางที่ดีงามเปนพระที่คนใหความ เคารพกราบไหวไดอยางแนบสนิทใจ แมจะมรณภาพไปนานแลว แตคุณ ความดีที่ครูบาฯ ไดทําไว มิไดสูญหายตามองคทานไปดวย ยังคงอยูใน หัวใจของศรัทธาสาธุชนเรือ่ ยมา ครูบาฯ เปนพระทีซ่ อื่ ตรงตอธรรมและวินยั ของพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา สมัยที่ครูบาฯ ยังมีชีวิตอยู ทานดําเนิน ชีวติ ดวยความเปนผูม กั นอย มีสนั โดษไมคลุกคลีหมูค ณะ ไมทะยานอยากได ลาภ ยศ และชื่อเสียง จิตไมตกเปนทาสของโลกธรรม รูเทาทันกิเลส อันเปนเหยื่อของโลกเปนกับดักของมาร ปลอยวางจิตเปนอุเบกขาในคราว มีมารมาราวีทา นมีศลี เปนเกราะปองกันภัย มีสติระลึกรูเ ทาทันกลอุบายของ มาร ใชขนั ติธรรมและเมตตาธรรมสยบมาร ทําใหผา นพนอุปสรรคของชีวติ ไปดวยดี ครูบาฯ เปนพระทีท่ รงไวซงึ่ ปญญา ไดนาํ ศิษยรว มบูรณะสังคายนา พระไตรปฎกฉบับลานนาขึ้นใหมเปนหมวดหมู แลวไดจารลงในใบลานมี มากถึง ๕,๔๐๘ ผูก ทําไวเพื่อใหลูกหลานในรุนหลังๆไดศึกษาเลาเรียน ครูบาฯ เปนพระทีท่ รงไวซงึ่ ความเพียร เมือ่ มรสุมชีวิตสงบ ทานได อุทศิ กําลังกายกําลังใจบูรณะปฏิสงั ขรณวดั ตางๆ ทัว่ ลานนา ไดไมนอ ยกวา ๑๐๗ วัด การสรางสมอบรมวิริยะบารมีของครูบาฯ มิไดหยุดเพียงเทานี้ ทานยังไดนําศรัทธาสาธุชน รวมกันสรางทางขึ้นดอยสุเทพ เพื่อใหผูคนได ขึ้นมากราบไหวบูชาพระบรมธาตุดอยสุเทพไดสะดวกเรื่อยมาตราบเทา ทุกวันนี้


ครูบาฯ เปนเสมือนตนไมใหญแหงลานนา แผบารมีปกปอง คุมครองชาวลานนาใหมีชีวิตอยูดวยความสงบสุขรมเย็น ใหเปนอยูดวย ความมักนอย อยูดวยความสันโดษ อยูดวยความมีสาระและทําตนใหเปน ผูใหส่ิงดีๆ แกสังคมที่เราอยูอาศัย จะเปนการบูชาคุณที่ถูกตรง เดินตาม รอยของครูบาเจาศรีวิชัยอยางแทจริง ดร.สนอง วรอุไร พ.ศ. ๒๕๔๖


ธรณีแหงชีวิต บิดามารดาไดใหกําเนิดชีวิตลูก เปนพระคุณใหญยิ่งกวาทองฟามหาสมุทร ลูกมิรูจะดํารงตนเชนไรใหคูควรแกลูกกตัญู จึงไดมุงชีวิตสูพรหมจรรยในบวรพระพุทธศาสนา ยึดมั่นองคไตรรัตนหมั่นพิจารณาอสุภะในกายใหเห็นแจง ดวงธรรมนําชีวิตสูทางสวางกุศลลํ้า ลูกขอบูชาและอุทิศอานิสงสแดบิดามารดา ทั้งกุศลที่ลูกอุทิศชีวิตเทิดทูนนักบุญแหงลานนา โดยการสรางอนุสรณสถานพิพิธภัณฑพระครูบาเจาศรีวิชัย รวบรวมสิ่งของซึ่งกระจัดกระจายไปหลายที่ใหอยูในแหงเดียว ลูกไดสรางสถูปมณฑปปราสาทครอบอัฐิธาตุเจาตนบุญ กับไดสรางเสาศิลาจารึกสถานที่กําเนิด อีกทั้งไดลิขิตชีวประวัติพระครูบาเจาผูเปนหนอเนื้อเชื้อโพธิญาณ โอ ! ชีวิตนี้ไดรองรับสิ่งที่เปนกุศลประเสริฐแท ลูกขออุทิศแดบิดามารดาและผูไดเลี้ยงดูพรอมผูมีพระคุณทุกทานเทอญ. (ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) ณ โฮงหลวงวัดบานปาง ตําบลศรีวิชัย อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ เวลา ๒๔.๓๐ น.


อารัมภบท ชีวประวัติของพระครูบาเจาศีลธรรมหรือพระครูบาเจาศรีวิชัย คือ แบบอยางของบุคคลที่ดําเนินตามวิถีชีวิตทางพุทธธรรม ดวยความศรัทธา และสติปญญาเฉียบแหลมอันแนวแนหนักแนนมั่นคง ตั้งแตเริ่มแรกที่เกิด ความประทับใจในการไดสัมผัสเห็นพระธุดงคนุงหมผากาสาวพัสตร ที่ได จาริกทองเที่ยวมาสูบานปางโดยมีเพียงอัฏฐบริขารเปนเครื่องอยูคูชีพ อัน เปนวิถีของสมณะผูประพฤติพรหมจรรย ที่พระพุทธองคก็ทรงปฏิบัติเปน แบบอยางใหชาวโลกไดเห็นความสําคัญของชีวิต วาจริงๆ แลวชีวิตนั้น เรียบงาย ไมมอี ะไรสลับซับซอนจนยุง เหยิง แคเพียงใชสติมองใหเห็นความ จริงของชีวิต ละเวนซึ่งความอยากไดใครมี ในลาภ ยศ สรรเสริญ ทรัพยสิน ศฤงคาร แตกระแสสังคมโลกทุกวันนีผ้ คู นหลงใหลไดปลืม้ ดวยอิทธิพลของ ความอยากได อยากมี อยากเปน จนบางครัง้ ถึงขนาดเขนฆาทําลายกันและ กันโดยหลงลืมไปวาแทจริงแลวเปาหมายในชีวิตนั้นตองการอะไร เมื่อมนุษยโลกใชพลังงานเผาผลาญกันอยางมโหฬาร จนหา แสงสวางนําทางชีวิตอยางแทจริงไมเจอ พระพุทธองคก็ไดอุบัติข้ึนมาเปน แสงสวางอันโอฬาร เปนที่พ่ึงอันรมเย็น เปนเหมือนสายฝนชโลมโลกให ชุมชื่น ดั่งสายธารทิพยอันเย็นฉํ่าบริสุทธิ์ หลอเลี้ยงสรรพชีวิตทั้งหลาย ทั้งหมดทั้งมวล บนผืนแผนดิน แผไพศาลเขาไปถึงทุกอณูของดวงใจ ดวย ชี้ทางอริยมรรคเปนทางสายกลางเปนสิ่งประเสริฐสุดยอดอยางเสมอภาค ของชีวิต เพื่อใหทุกผูคนไดดําเนินตามองคมรรค ๘ ประการคือ ความเห็น ชอบ๑ ความดําริชอบ๑ การพูดจาชอบ๑ การงานที่ชอบ๑ มีอาชีพชอบ๑


ความเพียรชอบ๑ การมีสติระลึกชอบ๑ ความมุง มัน่ ตัง้ ใจในสิง่ ทีช่ อบ๑ โดย ชีว้ า นีค้ อื หลักธรรมนูญของชีวติ สําหรับทุกคนอยางไมมกี ารจํากัดกาลเวลา ถือวาองคแหงอริยมรรคนีเ้ ปนอริยสัจเปนมรดกของชีวติ มิไดแยกกันอยูเ ลย การศึกษาชีวติ ก็คอื การศึกษาอริยสัจ การดําเนินตามทางแหงอริยสัจก็คอื การดําเนินตามทางอริยมรรค โดยมีชีวิตเปนผูกาวเดินไปตามสายธาร แหงธรรม นําชีวิตดื่มดํ่าซึมซับเปนหนึ่งเดียวกับสัจธรรม เปนหนึ่งเดียวกับ พระพุทธองค เปนกัลยาณมิตรอยางเสมอภาคกับมวลมนุษยชาติ ไมมีการ แบงแยกวาเปนเราเปนเขาหลอมรวมชีวิตจิตใจเปนหนึ่งเดียวไมมีการ แยกแยะความรูสึกแตกตางของสีสันบนเสนทางสายกลาง บนพื้นฐานของ เมตตาธรรมอันปราศจากขอบเขตโดยไมมปี ระมาณ ชีวติ ของเราทัง้ หลายก็ จะมีพลังพลานุภาพอันมหาศาล เปนสนามแมเหล็กเปนศูนยรวมของ ทุกสรรพสิ่ง เฉกเชนพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ทานไดพิสูจนใหเห็นอยาง ชัดเจนบนเสนทางแหงอริยมรรค เจริญตามรอยพระยุคลบาทของพระพุทธ องคตั้งแตเริ่มตน จนถึงนาทีสุดทายของ ลมหายใจ ยืนยันพิสูจนใหเห็น ชีวิตของพระครูบาเจาศรีวิชัย สงบสงางามสะอาดบริสุทธิ์ เรืองรองดวยศีล สมาธิ และสติปญญาอันผุดผองบริบูรณ เปนสรณะที่พึ่งเปนเนื้อนาบุญของ ชาวโลก เปนหนึ่งในองครัตนตรัยที่งดงามเปลงประกายรัศมีแหงศีลธรรม คุณงามความดี จนเปนทีน่ า ศึกษาติดตามรอยบาทวิถแี ละความมหัศจรรย ของนักบุญอมตะแหงลานนาไทย ในเนื้อหาสาระที่ไดพยายามกลั่นกรอง จากหัวใจรักเทิดทูน เคารพ และศรัทธา ดวยชีวิตและจิตใจ (ภิกษุอานันท พุทธธัมโม)





สารบัญ หนา มหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย.................................................. ๑ ถิ่นกําเนิดและตนตระกูล.......................................................... ๓ มหัศจรรยกําเนิดอินตาเฟอน.................................................... ๗ มหัศจรรยการอุบัติของนักบุญและนักปราชญ............................ ๑๒ วิถีชีวิตในเยาววัย.................................................................... ๑๔ วิถีธรรมนําสูรมกาสาวพัสตร.................................................... ๑๙ สรางวัดบานปางหนทางสูบารมี............................................... ๒๗ จริยวัตรสวนตัวของพระครูบาเจาศรีวิชัย................................... ๒๘ สองพระผูทรงบารมี................................................................ ๓๕ อุปสรรคไมมี บารมีไมแกรงกลา.............................................. ๔๐ ตองอธิกรณและถูกเนรเทศ..................................................... ๔๗ ยืนหยัดยึดมั่นในปฏิปทา........................................................ ๕๙ โยมแมวอนใหลาสิกขา............................................................ ๖๓ งานสรงนํ้าพระธาตุหริภุญชัย และเหตุการณของนักบุญ............. ๖๙ ความเศราสลดของศรัทธามหาชน........................................... ๗๖ เขาเฝาสมเด็จพระสังฆราชเจา.................................................. ๘๑ ขาวจังหวัดเชียงใหมของหนังสือพิมพบางกอกไทม..................... ๘๔ อิทธิพลของหนังสือพิมพ......................................................... ๘๗ สมเด็จพระสังฆราชเจาทรงเปนประธานตัดสินคดี..................... ๙๐


สําเนาพระดํารัสสั่งคําวินิจฉัย.................................................. ๙๔ งานบูรณะองคพระบรมธาตุหริภุญชัย..................................... ๑๐๑ งานปอยหลวงวัดบานปาง..................................................... ๑๐๕ บุคลิกลักษณะสัดสวนของพระครูบาเจาฯ................................ ๑๐๘ บูรณะวัดพระเจาตนหลวงทุงเอี้ยง (วัดศรีโคมคํา).................... ๑๑๕ บันทึกของพระครูศรีวิราช วชิรปญญา.................................... ๑๒๔ งานบูรณะวัดพระสิงหและวัดสวนดอก................................... ๑๔๑ งานสรางทางขึ้นดอยสุเทพ.................................................... ๑๕๔ บัญชีการสรางทางขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ................................. ๑๖๓ เหตุการณครั้งสําคัญที่วัดพระสิงห.......................................... ๑๖๗ คําแถลงการณฉบับที่ ๒........................................................ ๑๗๖ คําแถลงการณฉบับที่ ๓........................................................ ๑๗๘ คํามั่นที่พระศรีวิชัยตองรับรองไวตอคณะสงฆ.......................... ๑๘๐ สงบนิ่งพิสูจนความจริงและวาจาสิทธิ์..................................... ๑๘๕ การสรางสะพานศรีวิชัย.........................................................๑๙๒ สัจธรรมบั้นปลายแหงชีวิต.................................................... ๑๙๔ วาระสุดทายของนักบุญอมตะลานนาไทย............................... ๒๐๐ ปจฉิมบท............................................................................. ๒๐๙ บรรณานุกรม....................................................................... ๒๒๗ ภาคผนวก ก.ผลงานการบูรณะ.............................................. ๒๓๑ ภาคผนวก ข.รายนามเจาอาวาสวัดบานปาง............................๒๓๘ ภาคผนวก ค.สถานที่บรรจุอัฐิพระครูบาเจาศรีวิชัย.................. ๒๓๙


ภาคผนวก ง. คําไหวปาระมี ๓๐ ทัศ...................................... ๒๔๑ • คําไหวปาระมี ๙ ชั้น...................................................... ๒๔๓ • คํานมัสการพระครูบาเจาศรีวิชัย...................................... ๒๔๔ • เบิกฟาพุทธธรรม........................................................... ๒๔๕ • ตามรอยพระบาทองคบรมศาสดา.................................... ๒๔๕ • นอมวันทาบูชาพระครูบาเจา............................................๒๔๖ • เพงฌานสูองคไตรรัตน....................................................๒๔๖ • ตามรอยผูนํา.................................................................. ๒๔๖ • บาทวิถีของมนุษย...........................................................๒๔๗ • คาถาถอนพิษ.................................................................๒๔๗ • มหาวิทยาลัยชีวิต............................................................๒๔๘ • เสียงกระซิบสูดวงใจ........................................................ ๒๔๙ ภาคผนวก จ. รวมภาพประกอบ............................................ ๒๕๓ • มหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย........................................ ๒๕๔ ภาคผนวก ฉ. ประวัติภิกษุอานันท พุทธธัมโม........................ ๓๐๐ • อันเนื่องจากนิมิต การบูชาพระครูบาเจาศรีวิชัย................ ๓๐๓ • หลักหัวใจพรหมจรรย.................................................... ๓๑๑ • รายนามผูรวมบริจาค..................................................... ๓๑๓


มหัศจรรยพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย นักบุญแหงลานนาไทย พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย นักบุญแหงลานนาไทยนามเดิม ที่บิดามารดาตั้งใหวา “อินตาเฟอน” แตนักเขียนแตงชีวประวัติขนานนาม วา “อายฟารอง” ใหพอ งกับเหตุการณอนั ระทึกใจ พอเขาสูร ม กาสาวพัสตร เปนสามเณร พระครูบาขัตติยะ พระอุปช ฌายไดตงั้ สมญานามวา “สามเณร ศรีวชิ ยั ” เมื่อเขาสูพิธีการอุปสมบท พระครูบาสมณะผูเปนพระอุปชฌายได ตั้งฉายาวา “สิริวิชโย ภิกขุ” สวนตัวของทานจะเขียน สมญานามของทาน


วา “พระชัยยา ภิกขุ” “พระศรีวชิ ยั ชนะ” แตศษิ ยผใู กลชดิ จะเรียกนามทาน วา “ครูบาหลวง” คนทัว่ ไปในยุคนัน้ จะเรียกกันหลายอยางบางก็วา “ตุเ จา ศรีวชิ ยั ” บางก็วา “ตุเ จาตนบุญบานปาง” แตคนสวนใหญในดินแดนลานนา จะขนานนามดวยความเคารพยกยองวา “พระครูบาเจาศีลธรรม” มา ภายหลั ง ที่ ป ระวั ติ ไ ด เ ผยแพร เ ป น หนั ง สื อ จึ ง นิ ย มยกย อ งนามท า นว า “พระครูบาเจาศรีวชิ ยั นักบุญแหงลานนาไทย” เรือ่ งราวของทานเกิดขึน้ ในระหวางปพทุ ธศักราช ๒๔๒๑-๒๔๘๑ ตรง กับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ถึง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ และ ตรงกับยุคสมัย สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจา องคที่ ๑๐ แหงกรุงรัตนโกสินทร สวนเจาผูครอง นครลานนา เจาผูครองนครเชียงใหม คือ พระเจาอินทวิชยานนท เจาอินทวโรรส สุรยิ วงษ เจาแกวนวรัตน เจาผูค รองนครลําพูน คือ เจาดาราดิเรกรัตนไพโรจน เจาอินทยงยศโชติ เจาจักรคําขจรศักดิ์ และเจาเหมพินทุไพจิตร เจาผูครองเมืองพะเยา คือ เจาหลวงประเทศอุดรทิศ เกียรติคณ ุ บุญบารมีแผไพศาลทัว่ ลานนาไทย นอกจากปฏิปทาจริยา วัตรเปนทีศ่ รัทธาของมหาชนในมณฑลพายัพ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ไดสราง และบู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ ศ าสนสถานสํ า คั ญ เป น ที่ เ คารพสั ก การะของ พุทธศาสนิกชนในภาคเหนือและผูคนทั่วประเทศ ตลอดจนเปนสถานที่ อันนาภาคภูมิใจ และเปนมรดกทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมมาจน ตราบทุกวันนี้.....


ถิ่ น กํ า เนิ ด และต น ตระกู ล ถิ่นกําเนิดเกิดที่ หมูบานบานปาง เดิมเรียกตําบลแมตืน ปจจุบันคือ ตํ า บลศรี วิ ชั ย อํ า เภอลี้ จั ง หวั ด ลํ า พู น ห า งจากอํ า เภอเมื อ งลํ า พู น ๖๖ กิโลเมตร และ อําเภอลี้ ๓๙ กิโลเมตร เหตุที่ชื่อบานปาง คือหมายถึง ทีพ่ กั ชัว่ คราวเปนบริเวณทีต่ ง้ั ปางคลองชางซึง่ สืบเนือ่ งมาจากตนตระกูลทวด ของพระครูบาเจาศรีวิชัยเปนตนตระกูลคลองชางและนักรบ ดังนี้ หมื่นผาบ + นางมอย

นายอาย + นางนอย

นายควาย + นางอุสา นายอินไหว (เกิดขณะแผนดินไหว) นางอวน นายอินตาเฟอน (พระครูบาเจาศรีวิชัย) นางแวน นายทา


ตนตระกูลคือ หมื่นผาบ ภรรยา ชื่อนางมอย เปนชาวกะเหรี่ยง (ยางแดง) แตเดิมอยูอยางชาวเขาคืออยูตามภูเขาสูงอาศัยการทําพืชไร รอนเรหาของปาแลกสิง่ ของกับชาวพืน้ เมือง โดยเฉพาะหมืน่ ผาบ (นามเดิม ไมไดระบุ) เปนผูม คี วามเขมแข็ง อดทน และความสามารถในการคลองชาง เจาหลวงดาราดิเรกรัตนไพโรจน (เจาดาวเรือง) เจาผูค รองนครลําพูน องคที่ ๗ ชักชวนใหเปนผูรับใชใกลชิดตั้งถิ่นฐานบานเรือนอยูบานสันปายางหลวง และไดรว มออกรบทัพจับศึกบาน ศึกเมือง บางครัง้ ตองคมอาวุธเปอ นเลือด ของฝายตรงกันขามจนเลือดเปอนเสื้อผาแหงเกรอะกรัง (จากคําบอกเลา ของลูกหลาน) ดวยความกลาหาญชาญชัยจึงไดรบั พระกรุณาจากเจาผูค รอง นครลําพูน แตงตั้งนามเปน “หมื่นผาบ” หมายถึง ผูสามารถในการปราบ ศัตรูเปนจํานวนหมืน่ และการคลองชางอยูใ นระดับหมอคลองชาง ยามวาง จากศึกสงครามก็เขาปาคลองชางใหกับเจาผูครองนครลําพูนเพื่อฝกเปน พาหนะในการทําศึกและใชงานทั่วไป สถานที่ท่ีหมื่นผาบคลองชางเปน บริเวณทีต่ งั้ ของบานปางเพราะเขตนัน้ เปนหุบเขาชางปา จึงมีเปนโขลงใหญ ทําใหหมืน่ ผาบมาตัง้ ปางคลองชางเปนประจํา จนเกิดความรักความคุน เคย กับบรรยากาศและภูมิประเทศ ตอมาหมื่นผาบไดขออนุญาตเจาผูครองนครลําพูนมาตั้งหลักแหลง อยูที่บริเวณปางคลองชาง มีลําหวยไหลผานเปนที่มาของชื่อหวยแมปาง ชักชวนครอบครัว ลูกหลาน เพื่อนสนิทชิดเชื้อมาอยูรวมกัน และเปนการ ดูแลรักษาเมืองในเขตแขวงเมืองลี้ จํานวนสมาชิกทีต่ ดิ ตามมีนายอายผูเ ปน บุตรเขย ภรรยาชื่อนางนอยพรอมครอบครัว สมัยนั้นอยูกันสิบครัวเรือน และปลูกกระตอบเล็กๆ ใชไมไผเปนพื้นบานและสานเปนฝาเรือน หลังคา มุงดวยหญาคาและใบตองเหียง (ตระกูลไมรงั ) มีความสงบสุขอยูท า มกลาง


ธรรมชาติและปาเขาลําเนาไพร ดํารงชีพโดยการทําพืชไรและหาของปาเพือ่ เลี้ยงครอบครัว พื้นที่นาอยูหนาวัดบานปางในปจจุบันมีเพียงไมกี่สิบไร เปนผืนนาที่มีมากที่สุดในหมูบาน เดิมที่นาบริเวณนี้เปนบึงโคลนเรียกวา “ปอดแฮด” (โคลนตมที่แรดนอน) สมัยนั้นปาดงแหงนี้มีสิงสาราสัตว นอยใหญชุกชุม บางวันมีเสือดําแอบคาบสุนัขไปกินจนเปนที่หวาดกลัว ของเด็กๆ เชื่อกันวาในยุคสมัยเดียวกันนี้วิถีชีวิตความเปนอยู การครองชีพ แตละบานแตละเมืองอยูในสภาพเดียวกัน เวลานัน้ การพัฒนาบานเมืองไมเจริญกาวหนาประกอบกับบรรยากาศ ของภัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ ยังสอเคาวาจะเกิดขึ้นอีก ดังนั้นความเปนอยู ของคนทัว่ ไปจึงคอนขางอัตคัด ขัดสน เสือ้ ผาเครือ่ งนุง หมก็หายาก ใสเสือ้ ผา ปะแลวปะอีก มีคนยากจนขอทานอยูทุกแหงหน คราวเจ็บไขก็อาศัย ยาพื้นบานที่เปนรากไมสมุนไพรนํามาตม บางขนานก็บดเปนผงหรือฝน กับหินมาดื่มกินเพื่อเยียวยารักษาโรค ยามพระอาทิตยลับขอบฟาก็ใชขี้ชัน ตําใสกระบอกไมไผจุดใหแสงสวางเวลาคํ่าคืน บางทีถูกนํ้ามันชันที่จุดไฟ ตกใสตามตัวแขงขาไดรับความเจ็บปวดเปนประจํา บางครั้งก็เอาขุยไผ (ตนไผที่แกจัดมีดอกเรียกวาขุยไผ ลักษณะคลายเมล็ดขาว แตเม็ดเล็ก) มาตํากินแทนขาว บางครัง้ ขุดหัวเผือก หัวกลอยหัน่ บางๆ นําไปแชนาํ้ ทีไ่ หล ใหพิษเจือจางนํามาหมักแลวนึ่งกินแทนขาว พระครูบาเจาศรีวิชัยไดพูดวา เติบโตขึ้นมาไดโดยอาศัยการกินเผือก กินกลอย บริเวณที่เรียกกันวา “ปอดแฮด” ตอมาไดถูกแผวถางใหเปนที่นา ซึ่งมีเนื้อที่จํากัด ที่แถบนี้เปน ของหมื่นผาบและนางมอยผูเปนปูทวด ยาทวดของพระครูบาเจาศรีวิชัย เนื่องจากแหลงที่อาศัยเปนที่ดอนที่ราบที่ทํานามีไมคอยมาก ชาวบานมี ที่นาเพียงครอบครัวละไรสองไร บางก็มีเพียงแคที่ทําสวน เล็กๆ นอยๆ


หลังจากหมื่นผาบเสียชีวิต คนในหมูบานปางไดรําลึกถึงคุณงาม ความดีของหมื่นผาบที่บุกเบิกสรางบานปาง ไดตั้งศาลขึ้น ณ บานเดิมของ หมื่นผาบหางจากสถานที่กําเนิดพระครูบาเจาศรีวิชัยเพียงเล็กนอยและจัด พิธปี ระเพณีไหวสา เซนบวงสรวงดวงวิญญาณดวยอาหารคาวหวาน ดอกไม ธูปเทียนโดยกําหนดเดือน ๖ เหนือขึ้น ๙ คํ่า (เดือน ๔ ใต) ชาวบานปาง ทั้ ง ผู  ใ หญ แ ละเด็ ก พากั น มาแผ ว ถางป า ดงที่ เชื่ อ กั น ว า เป น ที่ ส ถิ ต ของ ดวงวิญญาณหมื่นผาบเพื่อแสดงความกตัญูตอบรรพบุรุษพรอมขอพร เพื่อใหอยูเย็นเปนสุข ตรงกับหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาวาความ กตัญูกตเวที ความออนนอมถอมตน การไหว การกราบเปนอุดมมงคล อันประเสริฐ บิดาของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั นามวา นายควายเปนบุตรของนายอาย นางนอยผูเ ปนบุตรของหมืน่ ผาบ มารดานามวา นางอุสา เปนบุตรสาวของ พอหนานจัยยาอยูแขวงเมืองลี้ นายควายไดใหพอแม ผูเฒา ผูแกสูขอ นางอุสาอยูกินเปนสามีภรรยาจนเกิดบุตรชายหญิง ทั้งหมด ๕ คนคือ ๑. นายอินไหว (เกิดขณะแผนดินไหว และตายตอนอายุ ๑๘ ป) ๒. นางอวน ๓. นายอินตาเฟอน (พระครูบาเจาศรีวิชัย) ๔. นางแวน ๕. นายทา


มหัศจรรยกําเนิดอินตาเฟอน ท า มกลางธรรมชาติ ป  า เขายอมเปนที่เกิดของชางเผือก แกวมงคล ดังเชน พุทธศักราช ๒๔๒๑ บรรยากาศของบานปาง ซึ่งมีบานอยูเพียง ๑๐ ครัวเรือน ทามกลางหุบเขาปาดงลอมรอบ แต ฟาไดประกาศิตใหผูมาก ด ว ยบุ ญ บารมี บั ง เกิ ด พร อ ม เหตุการณมหัศจรรยของดินฟา อากาศ คือ แผนดินไหว พายุฝน ฟ า ร อ งคะนองกึ ก ก อ งจน เป น ตํ า นานเล า ขานถึ ง ความ นาอัศจรรยใจจนถึงทุกวันนี้ พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย เปนบุตรคนที่ ๓ ของนายควายและ นางอุสา กําเนิดภายในกระทอมนอยทามกลางหุบเขา กลางหมูบ า นมีตน ดอกจําปปา ตนใหญออกดอก บานขาวสะพรัง่ สงกลิน่ หอมฟุง ขจรทัว่ ไปใน หมูบาน เด็ก ๆ วิ่งเลนใตรมเงา โดยเฉพาะพระครูบาเจา ชอบบรรยากาศ รมเงาใตตน จําปมาก คืนหนึง่ นางอุสาฝนวาเดินเขาปาลึกเห็นตนโพธิใ์ หญ แผก่ิงกานสาขารมกวางเปนปริมณฑลมีนกใหญนอย นานาพันธุ เชน นกแกว โพระดก ขุนทอง พิราบ นกยูง ดุเหวา สาริกา กระจาบ นกเขา


นกเอีย้ ง และนกกระปูด อาศัยอยูต ามกิง่ กินเมล็ดโพธิ์ รองสงเสียงเจือ้ ยแจว ไพเราะจับใจ สวนใตตน โพธิ์ มีสตั วใหญนอ ย เชน ชาง กวาง ละมัง่ กระตาย เกง แรด เสือ สิงห กระทิง และมวลหมูสัตวปาทั้งหลายรวมตัวกันโดย ไมมีการเบียดเบียน เปนบรรยากาศอันนาประทับใจเหมือนโลกทั้งโลกมา รวมอยู ณ จุดนี้บรรยากาศอบอวลดวยความรัก ความเมตตา เมื่ออรุณรุง นางอุสา เลาความฝนใหนายควายฟงและเขาใจวาเปนนิมิตที่ดี นับแตนั้น นางอุสาก็รูสึกวามีการตั้งครรภบุตรคนที่ ๓ ขึ้นมาแลว พอครบกําหนดคลอดขณะนางอุสาเจ็บครรภจวนใหกําเนิดนักบุญ ผูย งิ่ ใหญแหงลานนาไทย เวลานัน้ พระอาทิตยคลอยตํา่ ลง นายควายพรอม ญาติพี่นองและแมหมอตําแยตางชวยกันเตรียมการกอไฟตมนํ้า ทําเตา อยูไฟ จุดใตจุดไฟ เอาเชือกมัดขื่อสําหรับดึงออกแรงเบงคลอด และชวย ประคับประคองนางอุสาใหบรรเทาความเจ็บปวด หาฟูกสําหรับนอนพิง มี การจัดเตรียมผิวไมไผ สําหรับตัดสายสะดือ เพื่อปองกันบาดทะยัก เตรียม กระดงใหทารกนอน ผาออม เบาะนอน มะนาวสําหรับดมกันกลิ่นอื่นที่ ทําใหผดิ เดือน ถือกันวาถากินผิดยังมียาแกได แตถา ผิดกลิน่ อาจทําใหเปน บา ผิดเดือน สมัยโบราณแมผูใหกําเนิดเต็มไปดวยการเสี่ยงชีวิตเพราะมี การตายระหวางคลอดคอนขางสูง (หากมีการตายระหวางคลอด สัปเหรอ จะเอาตะปูขนาด ๓ นิว้ ตอกหนาผากผูต าย เพือ่ สะกดวิญญาณไมใหเฮีย้ น และตัดพืน้ เรือน ตรงทีผ่ ตู ายนอนจะนําศพไปฝงในวันนัน้ ) มีการนําหัวไพร มาตมกินเพือ่ ขับนํา้ คาวปลา นําใบเปลาตมผสมนํา้ อาบในระหวางการอยูไ ฟ หลังคลอดบุตรเปนเวลา ๑ เดือน แมจะกินแตขา วจีก่ บั นํา้ พริกดําและหนอไม หนอไพรตมเพื่อไมใหกินผิดเดือน สวนทารกที่เกิดใหมญาติจะนําขาวเจา ใบมะนาว มาด (ดินประสิว) และนํ้าซาวขาวมาบดรวมกันเพื่อโปะบน กระหมอมบาง ๆ ของทารกเพื่อสรางภูมิตานทานในการปองกันไขหวัด


สวนรกนําไปฝงไวที่ใตพื้นบันได (คงหมายถึงวาไมใหลูกเปนคนลืมถิ่น กําเนิด และกําพืดตนเอง) ทันใดนั้นทองฟาที่สวางโลงกลับวิปริต มืดครึ้ม มีกอนเมฆสีทองกอ ตัวเปนประกายลอยสูก ลางหมูบ า นปางแลวพายุกพ็ ดั กระหนํา่ พาสายฝนตก จากฟากฟาเสียงฟารองสนัน่ หวัน่ ไหว อสุนบี าตฟาดเปรีย้ งปราง ทันใดนัน้ แผนดินก็ส่ันไหวทําใหกระทอมนอยหลังนั้นโอนเอนปานจะเอียงลม ใน วินาทีน้ันทารกเพศชายก็คลอดออกมาพรอมกับเสียงรองที่ดังกวาเด็ก ธรรมดาทั่วไป และเปนที่นาอัศจรรยยิ่ง พายุ เสียงฟารอง สายฝนหายไป แผนดินหยุดไหว ทองฟาสวางไสว ทุกคนตางตะลึงในเหตุการณถงึ กับนิง่ อึง้ ขณะนัน้ เปนเวลาพลบคํา่ ตรงกับวันอังคารที่ ๑๑ เดือนมิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๒๑ ปขาล เดือน ๙ เหนือ (เดือน ๗ ใต) ขึ้น ๑๑ คํ่า เวลา ๑๘–๑๙ นาฬกา อาศัยปรากฏการณนามหัศจรรย ถือเปนนิมิตอันเปนมงคล พรอมกับตั้งนามทารกนอยวา “อินตาเฟอน” อินตาเฟอน เปนภาษาคําเมืองลานนา หมายถึง การกําเนิดเปน ปาฏิหาริยเปนปรากฏการณใหสะเทือนสะทานถึงองคอมรินทรบนสรวง สวรรค ตามหลักพระพุทธพจนตรัสวา ถาพระโพธิสัตวที่อุบัติขึ้นมาบนโลก เพือ่ สืบสานบวรพระพุทธศาสนาในยุคกึง่ กลางพุทธกาล ซึง่ โลกกําลังจะเกิด กลียุคเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ ผูนําก็กระหายการเขนฆาใครเปนเจาโลก ไมคํานึงถึงหายนะภัยอันใหญหลวง ผูคนอดอยากขาวยากหมากแพง เดือดรอนไปทุกหยอมหญา ทามกลางหายนะภัย นักบุญแหงลานนาไทย นามวา “พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย” ก็อุบัติขึ้นเพื่อฟนฟูจิตใจมหาชน ในยุคนัน้ ตามปณิธานจากหลักฐานของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ทีไ่ ดจารึกจาร ลงทายพระไตรปฎกฉบับลานนาที่สรางขึ้นทุกผูกวา “ตนขาพระศรีวิชัย


๑๐

สิรวิ ชิ โย เกิดปเปกยี (ปขาล) พุทธศักราช ๒๔๒๐ (หมายเหตุ เมือ่ ตรวจสอบ ศักราชจะตรงกับ ๒๔๒๑) ปรารถนาขอหื้อขา ฯ ไดตรัสรูปญญาสัพพัญู โพธิญาณเจาจิ่มเทอญ” (หมายถึงการตั้งปณิธานเปนพระโพธิสัตวสราง บารมีธรรมมาหลายภพหลายชาติเพื่อชวยเหลือเกื้อกูลสัตวโลก) ขณะเป น ทารกสมั ย นั้ น วั ฒ นธรรมล า นนาที่ ไ ด รั บ การสื บ ทอด พระพุทธศาสนาเปนเวลายาวนานและเคยเจริญยิ่งตั้งแต อดีตจนเปน ความเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตตั้งแตเกิดจนตาย อยางเชน เพลงเหกลอมลูก ใหนอนหรือเวลาลูกรองไหก็จะเปนการหลอหลอมถายทอดธรรมะตั้งแต นอนแบเบาะถาถอดรหัสทางธรรมแลวจะไดความหมาย ดังนี้

อื่ อ อื อ จากํ า กล อ มลู ก ของชาวล า นนาไทย • สิกจุงจาอี่หลาจุงจอย (โลชิงชา) หมายถึง จะขับกลอมใหลกู รูซ งึ้ ถึงวัฏจักรการเวียนวายตายเกิด • ขึ้นดอยนอยขึ้นดอยหลวง หมายถึง ชีวิตทั้งชีวิตเต็มไปดวยความเหน็ดเหนื่อย • เก็บผักกวงใสซาตางลุม เก็บผักกุมใสซาตางบน หมายถึง สิง่ ทัง้ หลายไรสาระแกนสารทุกสิง่ ทีเ่ ปนปรากฏการณ เพียงแคภาพลวงตา • ลูกแกวสองตนกับคนๆ หนึ่ง หมายถึง ชีวิตคนเราขึ้นอยูกับบุญและบาปที่ทํามา • ตี๋อืดซึ่งหื้อแมสาวฟง หมายถึง ดังจะขอบอกกลาวใหฟง


๑๑

• เคาะขี้ดังหื้อแมสาวจูบ หมายถึง สังขารรางกายเปนของโสโครก • แปงตูบนอยหื้อแมสาวนอน หมายถึง อันเรือนรางดุจศาลาที่พักชั่วคราว • ขี้ยองขอนหื้อแมสาวไหว หมายถึง ขีผ้ ง้ึ คือเครือ่ งหมายของมวลดอกไมและสติปญ  ญาจุด เปนประกายใหแสงสวางที่พึ่งของชีวิต • เก็บดอกไมหื้อแมสาวเหน็บ หมายถึง ตองเทิดทูนบูชาคุณธรรมความดีงาม • เห็บขบหู หมายถึง ความเจ็บไขมาเตือนอยูเสมอ • ปูหนีบขาง หมายถึง ความเกิด ความดับเปนของอยูคูกับชีวิตตั้งแตเกิด • จางไลแตง (ชางไลแทง) หมายถึง ความแกชรา พยาธิ และความตายไลตามพิฆาต • แมงแดงขบเขี้ยว หมายถึง รอบตัวเต็มไปดวยภัยอันตราย • ปูเงี้ยวไลฟน (เงี้ยวคือไทใหญหรือไต) หมายถึง มัจจุราช คือ ศัตรูของชีวิต • ตกขุมมันตี๋ฆองมอง ๆ หมายถึง ทุ ก ชี วิ ต ต อ งตายทั บ ถมแผ น ดิ น เหลื อ แต ค วามดี ความชั่วใหโลกกลาวขาน


๑๒

มหัศจรรยการอุบัติของนักบุญและนักปราชญ เรื่ อ งราวความมหั ศ จรรย ค ราวประสู ติ ส มเด็ จ พระมหาสมณเจ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และปรากฏการณอนั ประหลาดคราวพระครูบาเจา ศรีวิชัยกําเนิดชางละมายคลายคลึงกันมาก เหมือนฟาไดประทานใหทาน ทั้งสองอุบัติขึ้นมาเพื่อฟนฟูพระพุทธศาสนาในยุคกึ่งกลางพุทธกาล คือ พระครูบาเจาศรีวิชัย ไดกําเนิดทามกลางความวิปริตของดินฟาอากาศ คือ เกิดขณะแผนดินไหว พายุลมฝน ฟาผา ฟารองคะนองคํารามกึกกอง เกิด แสงฉายแลบ แปลบปลาบเขามาสูก ระทอมนอยทีอ่ ยูท า มกลางหุบเขา เปน ที่อัศจรรยเมื่อคลอดออกจากครรภมารดา ความวิปริตของดินฟาอากาศก็


๑๓

สงบลง เปนเหตุใหบดิ ามารดาถือเอาศุภนิมติ มหัศจรรยอนั เปนมงคลขนาน นามวา “ อินตาเฟอน ” ซึ่งเขาใจวา การกําเนิดของทานสะทานสะเทือน ถึงองคอมรินทร สวนสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วันที่ พระองคประสูตไิ มไดมที ที า วาฝนจะตกแตพอเวลาใกลประสูตเิ มฆไดตง้ั เคา และฝนตกลงมาหาใหญจนนํ้าขังทวมพระตําหนักหลังพระที่น่ังจักรพรรดิ พิมานในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเปนตําหนักที่ประสูติ จนเปนเหตุให พระบรมราชชนกนาถ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ พระราชทานนามพระราชกุมารวา “พระองคเจามนุษยนาคมานพ” เพราะ ถือปรากฏการณท่ีฝนตกหนักขณะประสูติ โดยทรงวิจารณวาฝนตกคลาย คราวทีพ่ ระพุทธเจาตรัสรูใ หม ๆ แลวเสด็จประทับ ณ โคนไมอชั ปาลนิโครธ ฝนตกพรํา ๗ วัน ๗ คืน ไดมีพญานาคขดเวียนรอบเปนชั้น ๆ รองรับ พระวรกายของพระพุทธองค แลวแผพงั พานเหนือพระเศียรเพือ่ บังฝน เมือ่ ฝนหายแลวก็จาํ แลงเปนมานพหนุม นอยไปยืนเฉพาะพระพักตรพระพุทธองค พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั พระบรมชนกนาถ จึงไดพระราชทาน นามอันมีความหมายวา พระราชบุตรจะเปนองคคํ้าชูศาสนธรรมของ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาเหมือนพญานาคแผพงั พาน บังฝนเหนือ พระเศียรพระพุทธองค เพราะเหตุน้ีบาทวิถีของความเปนนักปราชญของสมเด็จพระมหา สมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดคลายคลึงกับบาทวิถีของนักบุญ อมตะแหงลานนาไทยพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ถาศึกษาถึงชีวิตของ สองทานจะเห็นไดวา เกีย่ วพันกันตัง้ แตเริม่ ตนจนจบ เพราะตางเปนรมโพธิ์ แกว ถือกําเนิดจากเมล็ดพันธุพระโพธิญาณจากพระบรมศาสดาสัมมาสัม พุทธเจาเปนหนอเนื้อเชื้อนาบุญ มาดวยกัน


๑๔

วิถีชีวิตในเยาววัย ในเยาววยั เปนเด็กเลีย้ งงาย รางกายสมบูรณ ไมเลนซุกซน ไมคอ ยพูด มีสัมมาคารวะ ออนโยน ออนนอมถอมตน อยูในโอวาทคําสั่งสอนของ บิดามารดา ผูเฒาผูแก ชอบฟงการเลาประสบการณของผูใหญที่ตอสูชีวิต ฟนฝาอุปสรรค การคลองชางปา การคาขายโดยกองคาราวานในแดนไกล วัว หรือมาจาฝูงทีน่ าํ จะมีโปงลางหรือผางลางอยูบ นหลังเสียงดังโปงตะลุม ๆ เปนสัญญาณนํากองคาราวานไปตามเสนทางลัดเลาะตามปาเขา บางครั้ง ลัดเลาะตามหนาผาเจอทางคับขัน มีหมูโ จรมิจฉาชีพคอยแยงชิงจีป้ ลน เพือ่ ใหเด็กตื่นตัวเกิดความสนใจในการสูชีวิต เปนการปลูกฝงอุปนิสัยการตอสู สรางฐานะ โดยเฉพาะแมอยุ (ยา, ยาย) จะเลาเรือ่ งธรรมนิทานชาดกเกีย่ วกับ การสรางบุญบารมี การเสียสละอุทิศตน เพื่อชนหมูมากของพระโพธิสัตว แตละพระองคเปนคาว จอย ซอ (ทํานองโคลง ฉันท กาพย กลอน) แบบ ลานนาไทยเปนการหลอหลอมปลูกฝงศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรม สู จิตใจลูกหลาน ในฤดูหนาวนิยมนัง่ ลอมวงกอไฟผิง ในบรรยากาศดังกลาว มีการเลานิทานเรื่องตาง ๆ และเผาขาวหลาม คั่วเมล็ดมะขาม เด็ก ๆ ที่ นัง่ ผิงไฟเปนประจําทําใหแกมแดง ผิวหนังแหง เปนบรรยากาศทีม่ คี วามสุข ตามวิถีของชาวชนบท ทามกลางธรรมชาติปาเขา ยามคํ่าคืนมีเสียงจิ้งหรีด เรไรขับขานเปนเสียงดนตรีธรรมชาติกลอมโลกในยามราตรีทามกลาง บรรยากาศอันอบอวล บางคืนอาจมีเสือดําแอบคาบเอาสุนัขไปกิน จะ ไดยินเสียงสุนัขรองอยางเจ็บปวด คืนพระจันทรเต็มดวง แสงจันทรนวล


๑๕

สองหลา นั่งนับดาวที่ชานเรือนคุยเรื่องอดีตและอนาคตเปนที่สนุกสนาน และเกิดคํากลอนสะทอนวิงวอนขอพรพระจันทร “จันทรเอยจันทรเจา ขอขาวขอแกง ขอแหวนทองแดงใหนองขาใส ขอชางขอมาใหนองขาขี่ ขอเกาอี้ใหนองขานั่ง ขอเตียงตั่งใหนองขานอน ขอละครใหนองขาดู ขอยายชูใหนองขาเถิด ขอยายเกิดเลี้ยงตัวขาเอง” กลางวันมีปยุ เมฆสีขาวบนทองฟา เด็ก ๆ จะชอบดูเพราะเหมือนกับ ขบวนแหตระการตาอันยิง่ ใหญของทวยเทพ ชวงวัยรุน พระครูบาศรีวชิ ยั ชอบ ดีดซึง (ลักษณะคลาย กีตารแตขนาดเล็กกวา) บรรเลงเพลงทามกลาง ทุงนาปาเขา เชน เพลงปราสาทไหว ฤาษีหลงถํ้า ลองนํ้าแมปง ซอพมา เสเลเมา เพลงพมา เชียงใหมจะปุ และละมาย ไมชอบเที่ยวเตร เปนคนพูด นอย ทํางานอยางมุง มัน่ เอาจริงเอาจัง เขมแข็งอดทนตอความยากลําบาก สุภาพออนโยนมีสมั มาคารวะ จิตใจกวางขวาง เห็นอกเห็นใจผูอ น่ื มีไมตรีจติ ไมหยิ่งผยอง ชอบเลี้ยงวัวควายอยูตามทุงนาปาเขา บางวันหาฟน หาขี้ชัน เตรียมสําหรับจุดประทีปในยามคํ่าคืน แบงเบาภาระมารดาหลายอยาง เชน ตักนํ้า ตําขาว เพาะปลูกตนฝายสําหรับทอผา ไถนาดํานาเคียงขาง กับนายอินไหวผูเปนพี่ชาย ปลูกผักตําลึงขึ้นรั้วบาน หาเห็ดหาหนอไม ยอดไมมาปรุงเปนอาหาร ไมชอบยิงนกตกปลา ชอบสีสันกลิ่นอายของไม ปานานาพันธุ บางวันเที่ยวปาเขาที่มีนํ้าตกไหลเย็น มีสัตวปา เชน เกง กวาง หมูปา ลงมากินนํา้ คาง ชะนีกนิ ยอดไมหมูผ งึ้ หลวงเรงทํางานเพือ่ หา นํ้าหวานใหลูกออนอยางไมเห็นแกความเหน็ดเหนื่อย เสียงไกปาขันเจื้อย แจวรับกับเสียงนกปาทามกลาง ธารนํา้ ไหล ทําใหหนุม อินตาเฟอนรักปา และธรรมชาติเจอผลหมากรากไมของปา เชน มะไฟ ลิน้ จีป่ า มะแฟน กลวย ฤาษี นําใสถุงมาเลี้ยงทุกคนในครอบครัว


๑๖

วันหนึ่งเหตุการณอันเศราสลดเกิดขึ้นขณะที่เขาปากับพี่ชายเจอ เหตุการณที่ไมคาดคิด นายอินไหวเหยียบงูกะปะ และถูกฉกพิษแลนไป ทัว่ ตัว ไมสามารถรักษาไดจงึ เสียชีวติ ในวัยเพียง ๑๘ ป ทําพิธศี พตามประสา ชาวชนบทโดยทั่วไปสมัย เมื่อรวมรอยปกอน พิธีศพนิยมฝง ขั้นตอนการ มัดศพโดยใชไมไผเจ็ดซีเ่ อาเชือกปอถักเปนเฝอกตัง้ ศพบนแครซง่ึ เปนไมไผ ผาซีกขนาดใหศพนอนไดมีไมคานหามอยูสองขางสําหรับสี่คนหามจะเก็บ ศพไว ๑-๒ คืนระหวางเก็บศพไวจะนําไมไผผาซีกทําเปนโครงสามเหลี่ยม คลุมดวยผาดํานําไปครอบศพ เรียกวาแมวครอบ ตามความเชื่อโบราณ กลาววา ถาแมวกระโดดขามศพถือวาเปนอัปมงคล จะเกิดเหตุรายซํ้าสอง ขึ้น มีโคมไฟจุดไวบนหัวนอนของศพตลอดทั้งวันทั้งคืน ซึ่งหมายถึงเปน ประทีปแหงปญญาใหเกิดความสลดสังเวชในชีวิต มิใหประมาทเรงทํา ความดี เพราะความตายจะมาถึงเมือ่ ไรไมมใี ครรู ไมมพี ธิ สี งฆแตมเี พือ่ นบาน นั่งคุยเปนเพื่อน นําสะลอ ซอ ซึง มาดีด สี ตี เปา เลานิทานประโลม โลกย เชน เรือ่ งเซีย่ งเมีย่ งคํา่ พญา กะตํา้ ปาคํา่ ตุ (คลายเรือ่ งศรีธนญชัยของ ภาคกลาง) เรื่องผีโปกกะโลง (ผีตามอย) พอถึงกําหนดยกแมวครอบออก หามศพไปปาชาระหวางทางผมของศพถูกปลอยรุงรังเปนภาพที่นากลัว ประเพณีหามศพโดยใชแครยงั คงมีใหเห็นในประเทศอินเดีย โดยการ หามศพไปทีแ่ มนา้ํ คงคา เพือ่ อาบนํา้ ชําระบาปเปนครัง้ สุดทายใหกบั ผูต าย แลวนําไปเผาขางฝง แมนา้ํ คงคาถือวาเปนแมนาํ้ ศักดิส์ ทิ ธิไ์ หลขึน้ ทางทิศเหนือ ไมนิยมนําศพไวหลายวัน แมแตผูนําสูงสุดของประเทศ ถาถึงแกกรรมก็จะ นําไปทําพิธเี ผาในวันนัน้ ไมมกี ารประดับประดาศพ ไมมโี ลงศพ และไมมี การแหศพ ซึ่งเปนธรรมเนียมถือปฏิบัติมาเปนพัน ๆ ป สวนธรรมเนียม ของลานนาไทย นํา้ มะพราวซึง่ ถือวาเปนนํา้ ไหลขึน้ สูเ บือ้ งบนดุจศีลคือความ สะอาดเปนนํ้าบริสุทธิ์ลางหนาศพ (วัตถุประสงคคือ ลางบาป ชําระมลทิน)


๑๗

ผูท่ีทําหนาที่นําศพไปฝงคือสัปเหรอจะถือตุงสะพายถุงขาวดวนนําหนา การฝงศพผูหญิงใหนอนหงาย ศพผูชายใหนอนควํ่าโดยมีไมไผขัดแตะอยู ในหลุมเพือ่ กันศพขึน้ อืดกันการขุดคุย ของสุนขั และสัตวปา ถาเปนศพทารก จะนําไปทิ้งในปาชามีสุนัขและแรงมากิน สมัยนั้นนกแรง อีกามีมากมาจิก ซากศพที่ถูกทิ้งไวในปา ในยุคตนพุทธกาลพระภิกษุนิยมไปชักบังสุกุลจาก ผาหอศพมาซัก ตัดเย็บเปนไตรจีวร เรียกวาผาบังสุกุลและถือโอกาส พิจารณาอสุภะ ซากศพ ปลงเปนธรรมสังเวช ปจจุบันมีพิธีการเกี่ยวกับ พิธงี านศพ เชน การใสหบี โลง ประดับประดาดวยดอกไม พวงหรีด ในงานมี การลมวัวลมควาย กินเลีย้ งจัดงาน สิน้ เปลืองคาใชจา ยจนเปนทีม่ าของคําวา “คนตายขายคนเปน” ทุกวันนีม้ รี ะบบสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหเกิดจากการรวมกลุม ของ สมาชิกในหมูบ า น เพือ่ รวบรวมเงินชวยเหลืองานศพจึงแบงเบาภาระไดมาก ขอแทรกขอคิดเกี่ยวกับการจัดพิธีศพในสมัยนี้ นิยมทําเปนปราสาท เปนการไมสมควรเพราะศพที่อยูบนปราสาทหรือมณฑปตองเปนศพ ของกษัตริยเจาเมือง ผูปกครองประเทศ ศพทั่วไปทําเชนนั้นถือวาเปน การตีตวั เสมอสถาบันชัน้ สูง นาจะใชวธิ กี ารทีเ่ หมาะสมกับฐานะของสามัญชน ประดับดอกไมเล็กนอยแสดงถึงความกตัญูและปรารถนาดีหรือใหเห็นวา ผูท ลี่ ว งลับเหลือสิง่ สุดทายทีเ่ ปนคุณงามความดีเปนแบบอยางแกคนรุน หลัง ไมควรยุงยาก สิ้นเปลือง สูญเสียและทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และ ไมจาํ เปนตองมีพวงหรีด ไมดอกไมประดับ ทีน่ าํ มาประดับตกแตง บางงาน มีการละเลนรืน่ เริง นุง นอยหมนอย รองรําทําเพลง ฉายวีดโิ อ (วีดทิ ศั น) ลามก และเลี้ยงสุราและเลนการพนันเปนคานิยมที่ผิดซึ่งเปนสิ่งที่ไมถูกตองตาม หลักของศีลธรรม บางครั้งกอเหตุทะเลาะวิวาท ขาดสติทําใหเกิดอุบัติเหตุ


๑๘

เกิดโศกนาฏกรรม จึงฝากขอคิดทั้งฝายสงฆและผูรูควรพิจารณาพิธีการ ใหชอบดวยสติและปญญา ตามเหตุผลควรพิจารณาแยกแยะใหออกจาก งานบุญ งานกุศลโดยเฉพาะงานพิธีศพจะตองเปนเรื่องใหเกิดความสลด สังเวช เห็นความเปนจริงของสัจธรรม และการแสดงความกตัญูกตเวทีก็ ควรจะเนนกันขณะเมือ่ ผูม อี ปุ การะคุณยังมีชวี ติ จะตองแสดงนํา้ ใจอันงดงาม ดูแลใหความเคารพและปฏิบัติอุปฏฐากบํารุงบิดา มารดายามสุขยามทุกข เอาใจใสเสมอตนเสมอปลาย มิใชทําการสักการบูชากราบไหว เมื่อทาน ไมมีลมหายใจแลว นั้นก็ไมมีความหมายอะไร เพราะคนตายไมรับรูแลว ควรนําเงินเหลานัน้ มาสรางกุศลใหกบั คนทีย่ งั มีชวี ติ อยูน า จะเปนประโยชน และเปนการสรางสมบุญบารมีใหเพิม่ พูนขึน้ ไดรบั อานิสงสผลบุญทัง้ คนเปน และคนตาย

ศาลหมื่นผาบ


๑๙

วิถีธรรมนําสูรมกาสาวพัสตร หลังจากการเสียชีวติ ของนายอินไหว ความโศกเศราของอินตาเฟอน ยังเกาะแนนฝงในใจเพราะเปนเหตุการณแหงความพลัดพรากอยางกระทันหัน ที่เผชิญเปนครั้งแรก ตลอดเวลาที่ชวยบิดามารดาทํางานก็ทําเคียงบา เคียงไหลกับพี่ชาย เริ่มเห็นสัจธรรมแหงชีวิตที่ตองตายพรากจากกัน เปน ความทุกขสุมอยูในหัวใจ ขณะนั้นอายุ ๑๗ ป เปนโอกาสสําคัญที่วิถีชีวิต ของอินตาเฟอนอยูใ นหวงของความสลดสังเวช ก็มเี หตุบนั ดาลใหพระครูบา ขัตติยะหรือที่ทุกคนทั่วไปเรียกทานวา “ครูบาแขงแคะ” เพราะทานเดินขา กระเผลก เปนชาวอําเภอปาซาง เดินธุดงค ผานมาบานปางพักอยูบริเวณ วัดราง (อยูเ ชิงเขาเหนือวัดบานปางในปจจุบนั ) ชาวบานปางตางดีใจจึงพา กันมาทําบุญทําทานขอนิมนต พระครูบาขัตติยะอยูป ระจําโปรดศรัทธาชาว บานปาง เมือ่ ทานรับคํานิมนต ชาวบานตางชวยกันสรางกุฏิ ศาลาชัว่ คราว เปนที่ประกอบศาสนพิธีตรงที่วัดราง ซึ่งมีพระพุทธรูปโบราณอายุเกาแก กวา ๖๐๐ ปมาแลว ๑ องค อินตาเฟอนพอรูขาววามีพระธุดงคมาสูหมูบานเทานั้นก็รูสึกปติ เกิดขึ้นทั่วตัวที่ไดเห็นและสัมผัสผูทรงศีล ผูนุงหมผากาสาวพัสตรอยูใน อากัปกิรยิ าอาการอันสงบสํารวม เกิดศรัทธาปสาทะอยางแรงกลา จึงปรึกษา บิดามารดาถึงเจตนาทีใ่ ครบรรพชา และขอใหพาไปฝากตัวกับพระครูบาขัตยิ ะ พรอมนายอินปนเพื่อนบาน เพื่อเปนศิษยในอาวาสที่พ่ึงสรางขึ้นใหมให ชวยสัง่ สอนและศึกษาอักษรลานนา ซึง่ เปนภาษาทีส่ บื ทอดและวิวฒ ั นาการ มาจากภาษาบาลี แ ละสั น สกฤต เป น ภาษาพื้ น เมื อ งของชาวอิ น เดี ย ที่


๒๐

พระพุทธเจาใชเปนสื่อในการเทศนาสั่งสอนยุคตนพุทธกาลจนปรินิพพาน จนถึงพุทธศักราช ๕๐๐ มีการบันทึกพระโอวาทของพระพุทธเจาเปนอักษร ลงในใบลานเปนครัง้ แรก คราวสังคายนาพระไตรปฎกครัง้ ที่ ๕ ณ ประเทศ ศรีลังกา โดยมีพระเจาปรากรมพาหุมหาราชเปนพระมหากษัตริยและองค ศาสนูปถัมภ จารึกเปนภาษาบาลี สวนทางลานนาไทย ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ ยุคของพระญามังรายมหาราชไดปริวรรตภาษาบาลี – สันสกฤต เปนภาษาลานนา (คําเมือง) ใชในสมัยของพระองค พอมาถึงยุคพระเจา ติโลกราช พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไดเจริญรุงเรืองทําใหมีการ สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๘ ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด สราง ตามรูปแบบศิลปกรรมพระเจดียมหาโพธิ์วิหารพุทธคยา ซึ่งเปนสถานที่ ตรัสรูในประเทศอินเดีย) โดยมีพระธรรมทินมหาเถร เปนประธานสงฆ พระเจาติโลกราชแหงราชวงศมงั รายองคที่ ๙ เปนองคศาสนูปถัมภ ในป พ.ศ. ๒๐๒๐ การทําสังคายนาที่นครเชียงใหมใชเวลา ๗ เดือน หลังจากนั้นได จารึกเปนอักษรลงในใบลานใชภาษาลานนาไทย ยุคกอนหนานี้ซึ่งเปนยุคทองของอาณาจักรลานนาไทยมีความเจริญ รุง เรืองทีส่ ดุ มีการสงเสริมการศึกษาเรียนรูพ ทุ ธธรรมคัมภีรถ งึ ขนาดมีภาษา ทองถิ่นที่เปนเอกลักษณที่เรียกวา “คําเมือง” เปนภาษาลานนาที่ได วิวัฒนาการมาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาเปนภาษาทางราชการและ เปนภาษาทีใ่ ชกนั ทัว่ ไปในอาณาจักรลานนาไทย แมกระทัง่ คนในประเทศลาว กัมพูชา พมา มอญ สิบสองปนนา เชียงรุง เชียงตุง ยูนนานและลังกา เรียก ภาษาลานนา “คําเมือง” วาเปน “ภาษาธรรม” ทานเจาพระคุณพุทธทาส อินทปญโญ แหงสวนโมกขพลาราม นักปราชญแหงยุคก็ช่ืนชมลักษณะ พิเศษของภาษาลานนาที่สามารถสื่อถึงประเทศใกลเคียงดังที่กลาวมาแลว ไดอยางนาอัศจรรย โดยเฉพาะอยางยิ่งสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จ พระสั ง ฆราชองค ท่ี ๑๙ ได ใ ห ผู  เขี ย นอ า นพระไตรป ฎ กฉบั บ ล า นนา


๒๑

ใหฟง ในพระตําหนัก และไดชนื่ ชมในความปรีชาสามารถของนักปราชญใน ยุคนั้น ที่ไดรวมกันทําสังคายนาพระไตรปฎกพรอมดวยการจารจารึกเปน ภาษาลานนา นั่นเปนการแสดงใหเห็นวาแมนบุคคลสําคัญระดับสูง ยังให ความสนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งที่รัฐอัสสัม อยูทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศอินเดียมีชนกลุม นอยเปนชาวไทอาหม ซึง่ มีกษัตริยเ ปนราชวงศ มีปราสาทราชวัง การปกครองบริหารมีวิถีชีวิตวัฒนธรรมมีภาษาเขียน ภาษาพูดเหมือนชาวไทลานนามาก ภาษาคําเมืองลานนาไดถือกําเนิดเมื่อประมาณ ๑,๘๐๐ ปมาแลว (พ.ศ.๗๒๐) โดยมหาโยนะกะเถระ และมหาขนานสรวงแหงไทนานเจา กอนที่พอขุนรามคําแหงมหาราชจะประดิษฐอักษรไทยตั้ง ๑,๐๐๐ กวาป พอมาถึงยุคนีเ้ ปนทีน่ า สลดสังเวชใจเปนอยางยิง่ ลูกหลานชาวลานนาไมรจู กั ภาษาคําเมืองอานไมไดเขียนไมเปน คงเหลือแต “คําอู” (คําพูด) เปนรองรอย แหงอดีต ทีเ่ ปนเชนนีเ้ พราะอิทธิพลของคนไทยภาคกลางไดกลืนวัฒนธรรม และอาณาจักรลานนาซึ่งมีศูนยกลางอยูที่นครพิงคเชียงใหม และตกเปน เมืองขึ้นถูกอิทธิพลของพมาครอบงํากวา ๒๐๐ ป (พ.ศ.๒๑๐๑ – ๒๓๒๙) จึงทําใหอาณาจักรลานนาทีเ่ คยเจริญรุง เรืองมาเปนเวลานานตองมาลาหลัง ออนแอ ซึ่งจะตองใชเวลาในการฟนฟูอีกยาวนาน ถาในอนาคตขางหนาหากมีการฟนฟูอัตลักษณวัฒนธรรมลานนา ไทย ภาษาคําเมือง และการปกครองที่เคยเจริญรุงเรืองเปนอาณาจักรที่ ยิ่งใหญมีมหาราชปกครองเปนเอกราชมาหลายยุคหลายสมัย เชน พระญา เจื๋องฟาธรรมมิกราช พระญามังรายมหาราช พระเจาติโลกราช เปนตน ใหมกี ารแบงอํานาจการปกครองเหมือนเมืองพัทยา ปจจุบนั ใครอยากเห็น คนรุน ใหมรอื้ ฟน ภาษาลานนาไทยใหเขาไปสูร ะบบการศึกษาเพือ่ ใหลกู หลาน ไดตระหนักถึงความยิง่ ใหญ เปนอัตลักษณโดดเดนปรากฏอยูส บื ไป แตเปน


๒๒

สิ่งที่นาภาคภูมิใจที่ความเปนอัตลักษณอันเรืองรองของอาณาจักรลานนา จางหายจากทีน่ กี่ ไ็ ปปรากฏเดนชัดทีป่ ระเทศจีนในเมืองใหญๆ หลายเมือง เชน มณฑลกวางสี ยูนนาน ตาลี่ เตอหง และทีเ่ สฉวน เมือ่ ครัง้ พณฯ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีเปนแขกของรัฐบาลจีนไดไปเยี่ยมมณฑล เสฉวนก็พดู สือ่ สารกันดวยภาษาลานนาเปนทีถ่ กู อกถูกใจมวนใจกนั เหมือน อยูในผืนแผนดินเดียวกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งจากการสืบคนของสมเด็จ พระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยานิวัฒนาฯ ไดตั้งทีมงานสํารวจเชื้อสายคนไท ในประเทศจีนที่ปรากฏเปนคํากลาวรายงาน คําถวายพระพรตอนรับเปน ภาษาคําเมืองลานนาในเมืองใหญหลายเมืองในประเทศจีนที่มีความเปน เอกลักษณของตนเองที่สืบทอดมาเปนเวลายาวนานตราบทุกวันนี้ บรรยากาศพุทธศาสนาในอาณาจักรลานนา ถือวาสืบทอดสายตรง มาจากดินแดนชมพูทวีปประเทศอินเดียแดนพุทธภูมิ ในยุคทองของ จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช ไดประทานมรดกอันสําคัญลํ้าคาแกมวล มนุษยชาติ ที่พระพุทธองคไดทรงคนพบเปนสัจธรรมความจริงอยางยิ่ง ของชีวิตที่ไดเปดเผยสูชาวโลก ไดเผยแพรเขามาสูแดนสุวรรณภูมิเมื่อ ๒,๐๐๐ กวาปมาแลว จนเปนสายธารแหงศรัทธา สายธรรมที่ซึมซับดื่มดํ่า เขาไปในวิถชี วี ติ ประจําชาติ คูบ า นคูเ มืองมาทุกยุคทุกสมัย เปนความเจริญ รุงเรืองทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมลานนาในอดีตเปนเวลานานมี บัณฑิต นักปราชญ ผูทรงศีลทรงธรรมเกิดขึ้นอยางตอเนื่องการศึกษา ถูกจดจําถายทอดกันมาถือวาเปนวิทยาการศาสตรชั้นสูงในยุคนั้น พระครูบาขัตติยะไดถายทอดการเรียนรูพระธรรมวินัยและคําสอน จากชาดกพรอมใหการศึกษาอักขระภาษาลานนาจนศิษยทั้งสองเรียนรู พระคัมภีรและพระวินัยเสขิยวัตร ขอปฏิบัติทองบทสวดมนตและคําขอ บรรพชา ขณะนั้นอินตาเฟอนอายุ ๑๘ ป และนายอินปนอายุ ๑๗ ป ทาง


๒๓

ครูบาขัตติยะ บิดามารดาพรอมญาติพน่ี อ งจึงจัดพิธดี าปอยลูกแกว (ใหเปน เจานาค) เปนงานปอยแรกของบานปางและอารามใหมแหงนี้ พระครูบาขัตติยะ ผูเปนพระอุปชฌายจึงไดตั้งสมญานามสามเณรอินตาเฟอนวา “สามเณร ศรีวิชัย” และ สามเณรอินปนวา “สามเณรธัมมชัย” (สมัยนั้นนิยมตั้ง สมญานามใหผูบรรพชาเปนสามเณรดวย) สามเณรทั้งสองก็ไดตั้งใจรับ การอบรมสั่งสอนนิสัยพระธรรมวินัยเพิ่มเติมจากพระครูบาขัตติยะ และ ปฏิบัติอุปฏฐากพระอุปชฌายดวยความเคารพ ถึงพุทธศักราช ๒๔๔๒ อายุของสามเณรศรีวชิ ยั ยาง ๒๑ ป พระครูบา ขัตติยะโยมบิดามารดาพรอมทั้งญาติพ่ีนองจัดงานอุปสมบทซึ่งจัดพิธีตาม โบราณจารย มิไดจัดงานมหรสพ รื่นเริง เลี้ยงสุราฆาสัตวตัดชีวิต ในงาน พิธบี รรพชาอุปสมบทของชาวลานนาจะมีการทําขนมปาดหรือกวนขาวทิพย โดยใชขาวเหนียว นํ้าออย นมเนย ถั่วงา หอดวยใบตองหรือใสถวยชาม เลีย้ งแขกทีม่ าในงาน (ในประเทศอินเดียทัว่ ไปยังนิยมเอาอาหารใสใบตอง ใหแกลูกคาและใชมือเปบกิน) สวนเครื่องบวชนอกจากอัฏฐบริขารมีบาตร จีวร สบง สังฆาฏิดา ยเข็ม หินลับมีด ทีก่ รองนํา้ มีดโกนผม ตองมีลกู ประคํา พัดใบลาน ไมเทา และหมวกสําลีสีเหลืองทรงกลมปลายแหลมสําหรับ พระเณร (ในดินแดนลานนาไทย เวลาฤดูหนาวมีหมอกเหมย และอากาศ หนาวเย็นจึงจําเปนตองมีหมวก) ระหวางการจัดงานบรรดาญาติ ผูมารวม อนุโมทนาบริจาคปจจัยและของใชตาง ๆ ชวยกันหาเครื่องสักการบูชา คือ หมากสุม พลูสุม มะพราวสุม เอามะพราวออนปอกเปลือกนอกออกแตง เปนสุม ปลายแหลม กลาวกันวาเปนสัญลักษณแทนคานํา้ นมมารดาใหเกิด จิตสํานึกความกตัญูตอ บิดามารดา เปนเครือ่ งบูชาพระอุปช ฌาย พระคูส วด และสงฆหัตถบาตรรวมทั้งตนผึ้งโดยเอาตนกลวยขนาดยอมมีใบติดแลว เอาขี้ผึ้งทําเปนรูปรวงผึ้งปนติดไมเล็กๆ เสียบรอบตนกลวย เปนสื่อแหง


๒๔

การรวมมวลเกสรดอกไม คือเทิดทูนบูชาคุณธรรมความดีงามเปนเครื่อง สักการบูชาพระรัตนตรัย พิธีการอุปสมบทสามเณรศรีวิชัย ณ พัทธสีมาวัดบานโฮงหลวง จังหวัดลําพูน โดยมีครูบาสมณะเปนพระอุปช ฌาย ไดรบั ฉายานามวา “สิริ วิชโย ภิกขุ” ตั้งแตบัดนั้น พระครูบาเจาศรีวิชัย ก็นับถือพระครูบาสมณะ เปนพระอาจารยองคทสี่ อง เมือ่ อุปสมบทแลวเดินทางกลับไปพํานักอาราม บานปางอยูป ฏิบตั อิ ปุ ฏ ฐาก พระครูบาขัตติยะไดหนึง่ พรรษา พระครูบาขัตติยะ มองเห็นแววความมุงมั่นตั้งใจจริงจึงไดพาพระศรีวิชัยไปศึกษากัมมัฏฐาน และวิชาความรูศาสตรตาง ๆ กับพระครูบาอุปละวัดดอยแต อําเภอแมทา จังหวัดลําพูน ในสมัยนั้นพระครูอุปละถือวาเปนผูมีจริยวัตรขอปฏิบัติท่ีเครงครัด มีความรูเ ฉลียวฉลาดทางพุทธศาสตรเปนผูค งแกเรียนเจนจบถึงขัน้ ปรมัตถ มีอภิญญาเปนเลิศเปนที่เลื่องลือวาเปนพระกัมมัฏฐานสายปาอรัญวาสี ปฏิบัติเครงครัดในธุดงควัตร ทรงคุณวิเศษโดดเดนที่สุดองคหนึ่งใน ถิ่นลานนาเวลานั้น กลาวกันวาทานสามารถสื่อสารสรรพสําเนียงของ สรรพสัตวดว ยศัพทภาษาธรรมชาติไดอยางลึกซึง้ ดุจทานปรมาจารยมลิ าเรปะ ชาวธิเบตทีไ่ ดบรรลุฌานขัน้ สูงสุดแลว เทีย่ วไปตามปาเขาลําเนาไพรมีปรกติ เอามือปองหูฟง เสียงสัจธรรมจากธรรมชาติแลวถอดรหัสเปนธรรมมาแสดง ธรรมคีตาไดไพเราะจับใจ เปนที่เคารพยกยองอยางสูงของชาวธิเบต รอง จากพระสัมมาสัมพุทธเจา สวนพระครูบาอุปละก็เชนกัน ถือไดวาทานเปน ที่ ย อมรั บ ว า เป น ผู  มี ภู มิ ส ติ ป  ญ ญาแตกฉานรอบรู  ค วามจริ ง สั จ ธรรม ของพระพุทธเจา จนผสานชีวิตกับธรรมชาติเปนหนึ่งเดียวกับสรรพสิ่ง มีวถิ ชี วี ติ สันโดษอยูบ นภูเขาปาดงพงไพรสถานทีอ่ นั วิเวกสงบบําเพ็ญบารมี ถือกัมมัฏฐานสายปาอรัญวาสี


๒๕

พระครูบาอุปละ ไดเมตตาถายทอดขอวัตรปฏิบัติสูตรศาสตรตาม พระธรรมวินยั ใหแกพระศรีวชิ ยั ไดเรียนรูจ นสําเร็จ ใชเวลาเพียงหนึง่ พรรษา จึงกราบลาพระครูบาอุปละมาพํานักวัดบานปางตั้งจิตอธิษฐานทบทวน ภูมิธรรมและขอปฏิบัติพระวินัยอยางเครงครัดเสมอตนเสมอปลาย และ นับถือพระครูบาอุปละเปนครูบาอาจารยผสู ง่ั สอนกัมมัฏฐาน หลักบําเพ็ญ ภาวนาสูวิปสสนาญาณเปนองคสุดทาย พุทธศักราช ๒๔๔๔ พระครูบาขัตติยะ ไดจาริกออกจากบานปาง ไปยังถิ่นอื่นและไมกลับมาอีกเลย ขณะนั้นพระครูบาเจาศรีวิชัยอายุ ๒๓ ป พรรษาที่ ๓ เปนผูทรงศีลาจารวัตรงดงามและพรรษามากกวาเพื่อนภิกษุ สามเณรจึงรับชวงเปนเจาอาวาส ในปเดียวกันนั้นเองพระครูบาเจาฯ พิจารณาเห็นวาการบําเพ็ญสมณธรรมอยูใ นวัดใกลบา นไมไดรบั ความสงบ เทาที่ควร จึงพาพระอินปน สามเณรและชาวบาน ผูใกลชิดเสาะหาสถาน ทีเ่ หมาะแกสมณะวิสยั แหงแรกไปทีม่ อ นพระปา (ดอยเตีย้ ๆ) ทางทิศตะวันตก ของบานปาง พากันแผวถางและตั้งจิตอธิษฐาน พิจารณาดูแตยังไมมีนิมิต อะไร จึงลงความเห็นวาเปนสถานทีไ่ มเหมาะสมทีจ่ ะสรางวัด จึงพากันเลือก หาสถานที่ใหม ซึ่งอยูบนเนินเขาที่เปนวัดปจจุบัน แลวตั้งจิตสัตยาธิษฐาน กับองคพระศรีรัตนตรัยและเหลาทวยเทพทั้งหลายวาการสรางวัดใหมขึ้น ณ สถานที่แหงนี้จะนําความเจริญรุงเรือง นําความสุขสวัสดี ขอใหเกิด ศุภนิมติ อันดีงามปรากฏในคืนนีด้ ว ยเถิด ในคืนนัน้ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ฝน เห็นพระจันทรเต็มดวงเปลงรัศมีงดงามเปนทีส่ าํ ราญเบิกบานใจมาก ทาน เพงมองดูแสงสวางจา จนตาพราทําใหสะดุงตื่น จึงถือเปนศุภนิมิตอันเปน มงคล วันตอมาจึงพาพระภิกษุสามเณรและญาติโยมไปขออนุญาตเจาคณะ หมวดเพื่อสรางพระอารามแหงใหมก็ไดรับความเห็นชอบใหสรางได


๒๖

รูปปนพระครูบาอุปละวัดดอยแต

เศษอิฐบริเวณวัดรางวัดบานปาง

บริเวณวัดรางที่พระครูบาขัตติยะ บรรพชาใหแกนายอินตาเฟอน เปนสามเณรศรีวิชัย

พระอุโบสถวัดบานโฮงหลวง สถานที่ พระครูบาสมณะทําพิธีอุปสมบท ใหพระครูบาเจาศรีวิชัย


๒๗

สรางวัดบานปางหนทางสูบารมี การสรางวัด เริ่มใน พ.ศ. ๒๔๔๔ พระศรีวิชัย สิริวิชโย อายุ ๒๓ ป พรรษา ๓ ได ขอใหนายควายโยมบิดาแผวถางเบิกเปนปฐมฤกษเพื่อให เกิดสิริมงคล จากนั้นพระเณรและศรัทธาชาวบานตางชวยกันปรับสถานที่ บนเนินเขาใหเรียบและขยายอาณาเขตออกไปบางก็นําหินมาซอนกอเปน กําแพงเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส กําหนดอาณาเขตบริเวณชัน้ นอก สราง กุฏิ วิหาร ศาลาบาตร รวมกันทําดวยจิตใจเบิกบาน เพราะตางชื่นชมใน บุญบารมีของพระครูบาเจา ฯ วาเปนผูทรงวัตรปฏิบัติเครงครัด การสราง ไดสําเร็จเสร็จเปนบางสวน จึงยายไปอยูบนอรัญวาสีอาวาสแหงใหมและ ตั้งนามวัดวา “วัดจอมสะหรีทรายมูลบุญเรือง” แตชาวบานคงเรียกวา “วัดบานปาง” เนื้อที่ทั้งหมด ๑๖๐ ไร แตกําหนดในเขตกําแพงมี ๒๐ ไร กําแพงหินทีก่ อ ลอมรอบมี ๔ ชัน้ ถารวมกําแพงแกวรอบพระธาตุเปน ๕ ชัน้ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั สรางวัดใหมขนึ้ ทานไดจนิ ตนาการใหคลายกับ บรรยากาศครัง้ พุทธกาล คือ จัดใหเปนอรัญวาสี (วัดปา) กําแพงใชหนิ เปน กอน ๆ กอซอนเรียงรายเปนระเบียบ ไมสิ้นเปลืองโดยไมใชปูนซีเมนตกอ ซอนเขากัน ไมทําลายธรรมชาติแตใหธรรมชาติผุดเดน คนทั้งหลายเห็น พลังแหงความบริสุทธิ์เกิดพลังศรัทธาทําใหวัดปาวัดดอยหางไกลเมืองอยู ในชนบทเจริญอยางรวดเร็ว มีพระสงฆสามเณรมาอยูพ าํ นักเปนจํานวนมาก สมัยนั้นถือเปนวัดหลวงแหงหนึ่งในจังหวัดลําพูน ขาวปลาอาหารสิ่งของ ป จ จั ย สี่ ไ ม ข าดแคลน แถมยาจกวณิ พ กและขอทานต า งมาพึ่ ง บารมี พระครูบาเจาศรีวชิ ยั รอบบริเวณเต็มไปดวยศรัทธาสาธุชนนอมถวายสิง่ ของ เครื่องสักการบูชา เพื่อบูชาศีลาจารวัตรของพระครูบาเจา ฯ ทานปลูก


๒๘

ตนมะมวงไวทั่วบริเวณวัดเหมือนสวนอัมพวัน อีกดานหนึ่งปลูกตนไผ เหมือนเวฬุวนั วนารามและรอบวัดเปนไมรงั ทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติลกั ษณะ ใบและดอกคลายตนสาละเหมือนสวนลุมพินีสถานที่ประสูติและปาสาละ วันสถานที่ดับขันธปรินิพพาน มีตนตาลทั่วบริเวณวัดซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวโยง คลายสมัยพุทธกาล ทานเปนผูท รงศีลทรงธรรมฉลาดและนิง่ อยางพระอริยเจา การแสดงธรรมของทานซึง้ ถึงภายในใจของสาธุชนทุกหมูเ หลา ใครมีโอกาส ใกลชิดพระครูบาเจาฯ ตางรูสึกวาทานไดสถิตอยูในดวงใจ เทิดทูนดุจพบ ผูวิเศษศักดิ์สิทธิ์ เกิดความรูสึกปราโมทย มิเสื่อมคลาย พระครูบาศรีวิชัย สิริวิชโย เปนผูทรงศีลปฏิบัติธุดงควัตร ๑๓ บําเพ็ญสมถะและวิปส สนากัมมัฏฐานอยางเครงครัด มุง มัน่ ประพฤติธรรม เจริญตามรอยพระพุทธบาทพระบรมศาสดา อบรมสัง่ สอนพระเณร เด็กวัด และศรัทธาญาติโยมสาธุชนเกิดความเคารพเลือ่ มใสพระรัตนตรัยอยูใ นศีล ในธรรมรวมกันทํานุบํารุงบวรพุทธศาสนามิไดทิ้งจารีตประเพณีอันดีงาม จริ ย วั ต รส ว นตั ว ของพระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย เวลา ๐๑.๐๐ น. เวลา ๐๕.๐๐ น. เวลา ๐๖.๓๐ น. เวลา ๐๘.๐๐ น.

ปฏิบัติธรรมพิจารณากัมมัฏฐาน – เดินจงกรม ปลุ ก พระเณรทํ า วั ต รสวดมนต เจริ ญ จิ ต ภาวนา แผเมตตา ทําความสะอาดทั่วบริเวณลานวัด นํ า พระสงฆ อ อกโปรดบิ ณ ฑบาต เสร็ จ แล ว ฉั น ภัตตาหาร (มื้อเดียว) หลังจากนั้นอนุโมทนากถา ทานบริจาคของผูมีจิตศรัทธาจากทุกสารทิศ


๒๙

เวลา ๑๒.๐๐ น. เวลา ๑๘.๐๐ น. เวลา ๒๑.๐๐ น.

เดินจงกรม นําพระสงฆสามเณรทําวัตรเย็น เสร็จแลวทานเดิน จงกรมเปนการสวนตัว จําวัตร (หรือบางคืนทาน จะนั่งสนทนาธรรมอบรม สั่งสอนพระเณร) อาหารที่ ท  า นงดประจํ า วั น

วันอาทิตย วันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร วันเสาร

ไมฉันหมากฟก หมากแฟง ไมฉันหมากเตา หมากแตง (แตงโม, แตงกวา) ไมฉันหมากเขือ ไมฉันกอมกอ (แมงลัก) ไมฉันกลวย ไมฉันเตา (สาหรายชนิดหนึ่ง) ไมฉันบอน นอกจากนี้ ท  า นจะไม ฉั น ของเหล า นี้ คื อ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ผักบุงทั้งสอง (ผักบุงปลิง, ผักบุงธรรมดา) ผักปลอด, ผักเปลว ผักหมากขี้กา ผักจิก ผักเหือด, ผักฮี้


๓๐

พระครูบาเจา ฯ กลาววา ถาภิกษุสามเณรงดฉันตามนี้การบําเพ็ญ กัมมัฏฐานเจริญกาวหนา ผิวพรรณ วรรณะเปลงปลั่ง ธาตุทั้งสี่เปนปกติ ถาคฤหัสถ (ชาวบาน) งดกินไดตามนี้การถือคาถาวิชชาอาคม ดีนัก บางครั้งวันพระ ๘ คํ่า ไมฉันอาหาร ไมฉันขาวและอาหารที่สุกกับไฟ ฉันแตผลหมากรากไมเปนเวลา ๑๕ วันบาง ๔–๕ เดือนบาง สาเหตุที่ ไมฉันเนื้อเริ่มอายุได ๒๖ ป ทานฉันจิ้นสมหมู (แหนมหมู) เปนเหตุให อุจจาระรวงและอาเจียนอยางหนัก หมดเรีย่ วแรงเกือบมรณภาพ เมือ่ หาย ปกติดลี องฉันเนือ้ หมูกเ็ กิดอาการเชนเดิมอีก ตัง้ แตนน้ั ทานตัง้ จิตอธิษฐาน ไมฉันเนื้อทุกชนิด และปรารภกับสานุศิษยวา “เราคงเบื่อเนื้อหมูเหมือน พระพุทธเจาเปนแนแท” อาหารทีท่ า นชอบคือ แกงยอดปลีตาล ปลีมะพราว หนอหวาย นํ้าพริกเห็ดหลม ที่ฉันเปนประจําคือ นํ้าผึ้ง ผลไม คือทุเรียน โดยเถาแกโหงวเปนผูจ ดั ถวาย นอกจากนัน้ เปนผลไมทเ่ี กิดขึน้ ตามฤดูกาล ทานเปนบุคคลทีม่ ลี กั ษณะบุคลิกนิสยั ซือ่ ตรง มุง มัน่ อยางแนวแนใน การอุทิศตนบําเพ็ญเพียรตามขอวัตรธรรมวินัยอยางเครงครัด เสมอตน เสมอปลาย ไมยดึ ติดในลาภยศชือ่ เสียงและบริษทั บริวาร ทรงไวซง่ึ อุเบกขา บารมีธรรมทําใจใหเปนหนึ่งอยูในสุญญตาวิหารธรรมเปนนิจ ผูคนทราบ กิตติศัพท กิตติคุณ ความเปนเนื้อนาบุญอันประเสริฐเปนที่ปรากฏกลาว ขานลํ่าลือกันทั่วสารทิศถือเปน “ตุเจาตนบุญของวัดบานปาง” ศรัทธา สาธุชนมา กราบไหวทําบุญทั้งจากที่ใกลและไกล ตลอดจนชาวปาชาวเขา ก็ซาบซึง้ ในปฏิปทาพากันมาทําบุญ ทานอนุโมทนากถาในทานบริจาคของ ชนทุกหมูเหลาโดยไมมีความรังเกียจหรือเลือกที่รักมักที่ชังในจตุปจจัย ไทยทานทั้งหลาย วัดบานปางจึงเหมือนทานํ้าอันใหญท่ีรองรับสายธาร ศรัทธาจากทั้งที่ใกลไกล ทั้งภิกษุสามเณร ตลอดจนยาจก วณิพกขอทาน มาพึ่งบารมี ทานใหความอนุเคราะหดูแลอยางทั่วถึง เชาวันหนึ่งในขณะที่


๓๑

ทานกวาดลานวัดมีชาวกะเหรี่ยงมาเปนคณะหาบขาวของ เครื่องไทยทาน ขึ้นมาถึงบริเวณวัดพบพระครูบาเจาศรีวิชัยกําลังกวาดใบไมจึงไดถาม พระครูบาเจา ฯ วา “ตุเ จาๆ ครูบามันอยูไ หน?” ทานจึงชีไ้ ปทีศ่ าลากวานตาน (ศาลาบําเพ็ญบุญ) แลวบอกวา “ปูนครูบามันอยูปูน (ครูบาอยูโนน)” แลว ก็กวาดลานวัดไปเรือ่ ย ๆ จนถึงเวลาทําบุญตักบาตรตอนเชา พระครูบาเจา ฯ พรอมทั้งพระภิกษุ สามเณร มารับบิณฑบาตอนุโมทนาทานพรอมกันใน ศาลากวานตาน ซึ่งมีศรัทธามารอคอยอยางเนืองแนน ไวยาวัจกรนําไหว พระสมาทานศีล โอกาสคําถวายทานทําบุญตักบาตร พระครูบาเจา ฯ พระสงฆนั่งบนอาสนะ รับบิณฑบาตจากศรัทธาสาธุชน พอมาถึงหัวหนา คณะกะเหรี่ยง ยืนขึ้นมองหนาพระครูบาเจาฯ แลวทักดวยเสียงดังวา “เมื่อ ตะกีน้ กี้ ต็ เุ จาตนนีล้ ะนาเฮาถึงวาแมนแนแลว” พระครูบาเจาฯ ก็อมยิม้ เปน นัยวายอมรับ ทานเปนคนสุภาพออนโยนไมยึดถือทะนงตนอํานาจกิเลส ตัณหาจึงไมอาจเกาะกินหัวใจของทาน ทานไดอุทิศกายใจเปนพุทธบูชา ปฏิบัติธรรมพระวินัยอยางเครงครัด บาทวิถีนักบุญไดประทับรอยแหง ความเปนนักบุญอมตะแหงลานนาไทยโดยเพิม่ คุณคาแหงชีวติ ดวยทศบารมี ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจาบําเพ็ญเนกขัมบารมี อยูที่วัดจอมสะหลี ทรายมูลบุญเรือง บานปาง


๓๒

พระประธานวัดบานปางสราง จําลองพระเจาเกาตือ้ วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม

บันไดนาคดานทิศเหนือและเสือคูซึ่งเปนสัญลักษณปเกิด ของพระครูบาเจาศรีวิชัย


๓๓

กําแพงหินแบบธรรมชาติของวัด บานปางกอดวยหินเปนธรรมชาติ ไมใชปูนซีเมนต

โฮงหลวง (กุฏิใหญ) โบราณ มีเสา ๘๒ ตน หนาบันกลางมีรูปหัวเสือประจําปเกิดพระครูบาเจา ฯ


๓๔

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ถายที่หองนอนโฮงหลวง (กุฏิใหญ)

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ถายรวมกับชาวกะเหรี่ยง ณ โฮงหลวงบานปาง


๓๕

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจาองคที่ ๑๐

สองพระผูทรงบารมี วิถีชีวิตในทางธรรมของพระครูบาเจาศรีวิชัยมีความเกี่ยวพันกับ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึ่งพระองคไดรับ การสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราชแหงกรุงรัตนโกสินทรองคที่ ๑๐ กอนหนานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรง ปกครองทั้งราชอาณาจักรและศาสนจักรเปนเวลา ๑๐ ป ตําแหนงสมเด็จ พระสังฆราชวางอยู ๑๐ ป จึงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา


๓๖

วชิรญาณวโรรส พระเจานองยาเธอ ดํารงตําแหนงสมเด็จพระสังฆราช ในสมัยนั้นฝรั่งเศส ลาอาณานิคมถึงดินแดนสยาม พระสังฆราชเจา พระองคนี้ทรงมีบทบาทสําคัญในชวงหัวเลี้ยวหัวตอ ขณะที่ฝายลาเมือง ขึ้นหาเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงกลัดกลุม พระหทัยหนักทีส่ ดุ ก็มากราบทูลขอขอชีแ้ นะทางออกกับสมเด็จ พระสังฆราชเจาทรงถวายพระพรใหกําลังพระทัย ดวยขอธรรมะเปน พระราชกุศโลบายอเนกนานัปการ ใหทรงคลายขัตยิ ะมานะตอความหยาบ กระดางของฝายตรงขามดวยการปฏิสนั ฐานอยางสุขมุ คัมภีรภาพ อดกลัน้ อดทน และใหอภัย ทัง้ นีถ้ อื วาเปนพระปรีชาชาญฉลาดของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ ทรงปูพ้ืนฐานดานภาษาอังกฤษแก พระราชโอรสและบุตรขาราชบริพาร จึงมีความสามารถในการโตตอบ ตอรอง แกไขปญหาของแผนดิน ยุค ร.๕ ยังไมมีสงครามโลก ฝรั่งเศส ๑ ใน ๕ ชาติมหาอํานาจที่กําลังลาอาณานิคม ไดเรียกรองขอนคร จําปาศักดิ์ เสียมราฐ พระตะบอง ศรีโสภณ คืนจากไทย ระหวางการเจรจา ฝรั่งเศสไดยื่นขอเรียกรองเพิ่มจะเอาพระแกวมรกตดวย คณะผูแทนฝายไทยไมยอมเจรจา ลุกขึ้นจากที่ประชุมทันที จน ฝรัง่ เศสยอมถอนเงือ่ นไขนีอ้ อกไป การเจรจาเรือ่ งพืน้ ทีจ่ งึ เดินหนาตอไปได พระพุทธรัตนมหามณี พระเจาแกวมรกตมรดกอันสําคัญลํา้ คายิง่ จึงยังสถิต ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ใจกลางพระบรมมหาราชวัง คูพระมหานคร สยามประเทศ เปนศูนยรวมของคนจากทั่วโลกไดชื่นชมความงดงาม อลังการของพระพุทธรัตนมหามณี พระเจาแกวมรกตคูกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และผืนแผนดินธรรมแผนดินทอง แมจะเหลือ เพียงแครปู ขวาน ซึง่ เปนความภาคภูมใิ จของชาวไทยทีม่ ไิ ดตกเปนเมืองขึน้ ของการลาอาณานิคมเหมือนประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปน ผู  ป ระสิ ท ธิ์ ป ระสาทให ศ าสนธรรมคํ า สอนของพระพุ ท ธเจ า จั ด เป น


๓๗

หมวดหมูพ ระธรรมวินยั สําหรับการศึกษาเปนธรรมชัน้ ตรี ธรรมชัน้ โท และ ธรรมชั้นเอก ทรงมีพระปรีชาญาณสามารถวิเคราะหพุทธวัจนะ หรือ ขอความแหงอรรถกถาที่สุขุมลุมลึกแฝงในรูปอุปมาอุปมัย แมดวยนัยยะ แหงปรมัติ ทรงกลาวินิจฉัยวิจารณธรรมยากยิ่งที่ปุถุชนธรรมดาจะทําได ทรงมีพระวิรยิ ะวิจารณญาณเปนอยางยิง่ ใครทรงเห็นคณะสงฆไทยมีระบบ ระเบียบจึงมีการจัดตัง้ สมณศักดิถ์ วายแกพระเถระ เพือ่ ปกครองตามลําดับขัน้ ตัง้ แตเจาคณะหมวด แขวงเมือง และมณฑล ตามลําดับชั้น นับวาพระองค ทรงปลูกฝงหลักวิชาการเปนบรรทัดฐาน แกคณะสงฆไทย ใหศกึ ษาประพฤติ ปฏิบตั อิ ยางเปนระบบสะดวกแกการศึกษา พระธรรมวินยั เปนขัน้ ตอนตาม อุปนิสัยและภูมิปญญา ถือเปนหลักปฏิบัติอยางเปนทางการมาถึงทุกวันนี้ ณ จุดเริ่มตนตรงนี้ท่ีทําใหพระสงฆเกิดยึดติดยศฐานันดรตําแหนง สมณศักดิ์ขึ้นมา และมีการจัดระบบการปกครองกันขึ้นมาใหม ซึ่งนําสูการ แบงแยกทําใหเกิดทิฏฐิมานะ (ดังคําพังเพยวาทิฏฐิพระ มานะเจา) ซึง่ กอน หนานั้นก็เกิดการแตกแยกเปน “ธรรมยุตกับมหานิกาย” พอมาถึงขั้นตรา เปนกฎพระราชบัญญัติ ร.ศ. ๑๒๑ ขึ้นมาอีก พระครูบาเจาศรีวิชัยเปนพระ สงฆฝา ยอรัญวาสีในดินแดนลานนา ไดมองเห็นอยางถองแทแตทา นไมได พูดอะไรมาก จึงไดกลาวไวสั้นๆ แตกินความหมายลึกซึ้ง เมื่อถูกคณะสงฆ ตั้งโจทยซักถามวา “ทําไมครูบาถึงไมปฏิบัติตามแบบอยางคณะสงฆ?” พระครูบาเจาศรีวิชัยตอบแบบยอนกลับวา “แลวทานทั้งหลายทํากัน อยางไร?” คณะสงฆผูใหญตอบวา “ก็ตองถือตามระเบียบการปกครอง ตามพระราชบัญญัต”ิ พระครูบาเจาฯ จึงไดตอบโจทยดว ยนํา้ เสียงเปนปรกติ วา “นั่นคือลูกของอาชญา! ไมใชลูกศิษยของพระพุทธเจา!” เหตุน้ีแหละคือที่มาของเรื่องทําใหเกิดเหตุการณต้ังขอกลาวหาที่ พระครูบาเจาศรีวิชัยตองเอาชีวิตเปนเดิมพันดวยความบริสุทธิ์ใจตอสูโดย สุขุมคัมภีรภาพ แมจะถูกตั้งขอกลาวหาใสรายรุนแรง จนถึงขั้นนําไปกัก บริเวณเยีย่ งนักโทษสักกีค่ รัง้ กีห่ น ทานก็สงบนิง่ มิไดฝา ฝนหรือวิตกทุกขรอ น


๓๘

แตประการใด ในสายตาของคณะสงฆก็มองเห็นกันไปวาพระครูบาเจาฯ ดือ้ ดึงแข็งกระดาง แตหารูไ มวา พระครูบาเจาศรีวชิ ยั กาวขามไปไกลกวานัน้ คือการอยูเหนือหมอกมานมายาสิ่งหลอกลวงวิ่งตามกระแสโลก จึงเดิน สวนทางกันในความตางที่ดูเหมือนจะคลายกันนี้ ถาจะหาคําตอบเรื่องนี้ โดยไมเขาขางฝายใด ก็ตองยอนสูเหตุการณในครั้งพุทธกาลที่พระเทวทัต เสนอขอบังคับตอพระพุทธองคใหคณะสงฆปฏิบัติก็ลวนแตเปนสิ่งดีเพิ่ม ขอเขมงวดขึน้ แตพระพุทธองคทรงเห็นตางจากพระเทวทัตเพราะพระธรรม พระวินัยที่ทรงบัญญัติข้ึนแลวนั้นเปนสิ่งที่เบาบางบริสุทธิ์ เหนืออารมณ เหนือเหตุผล เหนือความขัดแยงและเหนือโลกธรรม อนึ่ง กอนที่พระพุทธองคจะดับขันธปรินิพพาน พระอานนทไดมี ปริวติ กหวงใยวาคณะสงฆจะอยูก นั อยางไร จึงไดกราบทูลประทานอนุญาต ขอใหพระพุทธองคไดโปรดกรุณาแตงตั้งผูที่เหมาะสมที่จะบริหารการคณะ สงฆสาวกสืบทอดตอไป พระพุทธองคทรงมองเห็นทะลุผานเรื่องอัตตา ตัวตน ไดทําลายภูผาแหงความสําคัญตนพังทลาย ราบเรียบ เกลี้ยงเกลา เบาบางบริสุทธิ์ ปราศจากพันธะผูกพัน ยึดถือสิ่งใดๆ ในโลก จึงทรงตอบ วา “ใหสงฆดูแลกันเองเถิด ความมีกัลยาณจิตนั่นแหละคือทั้งหมดของ พรหมจรรยท่ีเราตถาคตประทานใหสงฆอยูดวยกัน ถาภิกษุรูปใดอาพาธ เจ็บปวยก็ใหชวยกันดูแลรักษาพยาบาลซึ่งกันและกัน ก็เหมือนไดดูแล อุปฏฐากเราตถาคต และการไดทําบุญใหทานกับหมูสงฆโดยมิไดจําเพาะ เจาะจง ก็เทากับการไดถวายทานแดพระตถาคต พระพุทธองคไดทรง ประทานความเสมอภาคแดพระสงฆสาวกมาตั้งแตเริ่มตนจนถึงทุกวันนี้ ไมวาใครผูนั้นจะเปนโจร เปนคนชนิดไหน มาจากฐานะ อาชีพอะไร จะมี ภูมิรูภูมิหลังแตกตางกันอยางไร เมื่อเขามาสูในธรรมวินัยแลวก็ถือวา เปนพุทธบุตรเปนสงฆสาวกถวนเหมือนกันหมด ดวยนํ้าพระทัยสูงสงดวย


๓๙

พระปญญาบารมี ดวยพระมหากรุณาธิคุณอันใหญหลวง ทรงมองโลก มองทุกชีวิตเปนเพื่อนเปนเหมือนลูกรักในอุทร แมใครจะคิดรายทําลาย รายแรงอยางไร เชนพระเทวทัต พระพุทธองคทรงตรัสไววา ‘เรารักราหุล อยางไร เราก็รกั หวงใยพระเทวทัตฉันนัน้ หรือถามีใครเอาเลือ่ ยทีม่ ดี า มสอง ขางมาตัดที่ลําตัวเขาถึงหนัง ถึงเนื้อ เอ็นและกระดูก ถาใครยังมีความโกรธ มีจติ อาฆาตพยาบาทเกิดขึน้ ผูน นั้ หาชือ่ วาเปนศิษยของพระตถาคตไม เมือ่ ถูกใสรา ย ถูกทําลาย จงมีจติ เปย มดวยขันติธรรม เมตตาธรรม เปดใจกวาง ไรกังวล หมนหมอง จงบมเพาะความสุขสงบใหเจริญงอกงามในจิตใจ เพราะความสุขอื่นหมื่นแสน ไมมาตรแมนความสงบ การเขาไปสงบ ระงับ ดับการปรุงแตงฟุง ซานเสียได เปนการทําทีส่ ดุ ของปญหาทุกอยางทุกประการ เปนความโดดเดนของพระพุทธศาสนา และเปนทางสายเอก ทีพ่ ระพุทธองค ทรงประทานอมฤตธรรมที่วิเศษสําหรับความสุขสงบสุดยอดของทุกชีวิต เพราะฉะนั้น พระครูบาเจาศรีวิชัยจึงไดดําเนินตามทางอริยมรรค อริยผล โดยเอาชีวิตจิตวิญญาณตลอดทั้งชีวิต ทอดเปนดุจสะพานอัน แข็งแกรงดวยมโนธรรมอันแนวแนเปย มดวยความบริสทุ ธิแ์ ละเมตตาธรรม ใหชีวิตทั้งหลายขามฟากจากสงสารสูความสงบสุขของชีวิต พิสูจนยืนหยัด บนเสนทางโมกขธรรม แมจะตองเผชิญกับการทาทายตอเหตุการณรอ นแรง สักกี่ครั้งกี่หนจะเห็นไดวาพระครูบาเจาศรีวิชัยจะมั่นคงดวยขันติธรรมเปน เลิศ แมจะอยูใ นสถานการณเชนไร หัวใจของทานจะสะอาดบริสทุ ธิ์ สงบสุข ดื่ ม ดํ่ า รสแห ง ศานติ จนรั ง สี แ ห ง บารมี ธ รรม มี ท านบารมี ศี ล บารมี รวมบารมีท้ังหมด ๓๐ ทัศเปลงปลั่งเปนประกายสวางไสวในดวงใจของ พระครูบาเจาศรีวิชัยดุจพระจันทรในคืนวันเพ็ญ สองสวางสดใสเหนือ ทองฟานภาลัยในยามรัตติกาลงดงามตลอดทุกทิวาราตรีชั่วกัลปวสาน


๔๐

อุปสรรคไมมี บารมีไมแกรงกลา พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ไมไดใสใจกับความมีช่ือเสียง เกียรติคณ ุ จะมีแตจะอุทศิ ตนทุม เทสุดหัวใจบําเพ็ญเนกขัมมะบารมี มิไดยดึ ติดในลาภสักการะและตําแหนงยศถาบรรดาศักดิ์ แมความสุขสะดวกสบาย ทานก็ไมยึดติด มีแตการเสียสละทํานุบํารุงฟนฟูพระพุทธศาสนาที่เสื่อม ทรุดลงใหกลับเจริญรุง เรือง จะจาริกทองไปตามทางทุรกันดารขึน้ เขาลงหวย ไปตามทางปาชางทางเสือเสี่ยงภัยอันตราย ฟนฝาความยากลําบากขนาด ไหนทานก็จะตองเจริญตามรอยพุทธบาทองคพระบรมศาสดา จาริก ภิกขาจารไปโปรดเมตตาผูคนทุกชนชั้นใหเกิดแรงแหงศรัทธาและเลื่อมใส ในพระรัตนตรัย ดวยตัวทานเองเปนตนแบบผูท รงศีลทรงธรรม ขอวัตรปฏิบตั ิ เครงครัด สงบ สํารวม พรอมมโนปณิธานอันสูงสงมุงสูพระโพธิญาณที่จะ เปนพระพุทธเจาอีกองคในอนาคต เพื่อเกื้อกูลประโยชนสุขอันใหญหลวง จึงทําใหพระครูบาเจาศรีวิชัยมีพลานุภาพเปนที่เคารพศรัทธา เปน เนือ้ นาบุญ เปนศูนยรวมมหาชนทุกเชือ้ ชาติ ภาษาไปทัว่ สารทิศ ทัง้ นีเ้ พราะ หัวใจของทานเปดกวาง ไมเห็นแกตัว ไมมีการโฆษณาโออวดคุณวิเศษแต ประการใด เพราะการประพฤติธรรมถือเปนหนาที่ที่ตองอุทิศทั้งกายและ ใจโดยไมคาํ นึงถึงความยากลําบาก การทวนกระแสกิเลส แมชวี ติ เลือดเนือ้ จะแตกดับก็ยอมอุทิศได ดังนั้นผูเคารพเลื่อมใสทั้งฆราวาสและบรรพชิต พระภิกษุ สามเณร ตางวัด ตําบล อําเภอ จังหวัด เมือ่ ทราบถึงศีลาธิคณ ุ ของทานก็พากันมาฝากตัวเปนสานุศษิ ย เพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ทานเมตตาสัง่ สอน


๔๑

อบรมใหปฏิบัติสมถะและวิปสสนากัมมัฏฐาน ชี้แนะชี้นําสั่งสอนตาม พระธรรมวินัยใหสาธุชนทั่วไปไดบําเพ็ญทาน รักษาศีล เจริญภาวนา เหมาะสมกับอุปนิสัยแกบรรดาสานุศิษยที่มีอินทรียตางระดับก็จะไดรับ ความอนุเคราะหโดยทั่วกัน ขณะทีก่ ติ ติศพั ทของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั โชติชว งอยูน น้ั เหตุรา ยก็เปน เงาเขามาสูวิถีชีวิตประดุจพระอาทิตยถูกเมฆหมอกหรือกลุมควันบดบัง พอดีขณะนัน้ มีกลุ บุตรผูม ศี รัทธาปสาทะอันแรงกลาตอพระพุทธศาสนาใคร บรรพชา อุปสมบท เปนพุทธบุตรสืบศาสนทายาทขอเปนศิษยทา นพระครู บาเจาศรีวิชัยไดมองเห็นอุปนิสัยจึงรับเขาสูพระธรรมวินัย จึงไดทําหนังสือ ไปขออนุญาตกับนายอําเภอลี้ และเจาคณะแขวงลี้พรอมกับนิมนตมาเปน พระอุปช ฌายดว ยก็ไดรบั การตอบรับเพียงวาใหเตรียมการใหพรอมแลวจะ สงใบอนุญาตใหภายหลัง แตใจจริงของทานทั้งสองคิดหาเหตุสรางเรื่อง ทําลายพระครูบาเจาศรีวิชัยอยูเบื้องลึก และชาวบานปางก็รอใบอนุญาต จนแลวจนเลา ทางอําเภอก็ไมสงใบอนุญาตมาให ทั้ง ๆ ที่ไดปฏิบัติตาม ระเบียบพระราชบัญญัติคณะสงฆทุกประการ เวลาก็จวนเขาพรรษา ทาน เห็นวากุศลเจตนาศรัทธาของกุลบุตรทีต่ ง้ั ไวดแี ลวจะเสียไป เพราะเพียงชัว่ ขณะจิตแหงความดีหรือความชัว่ ก็ทาํ ใหไปสูส คุ ติหรืออบายภูมไิ ด จึงไดเกิด เมตตาจิตสงสารคิดอนุเคราะหกุลบุตร เมื่อพิจารณาเห็นวาตั้งแตครั้ง พุทธกาล การบรรพชา อุปสมบท ตามหลักพระธรรมวินัยไมตองขอตอ นายอําเภอหรือเจาคณะอําเภอ (ขณะนั้นมียศชางขุนนางพระ) เวลานั้นพรรษาของพระครูบาเจาศรีวิชัยได ๑๐ พรรษา จัดวาเปน พระเถระผูท รงศีลทรงธรรมตามหลักพระธรรมวินยั สามารถเปนพระอุปช ฌายได จึงประกอบพิธบี รรพชา อุปสมบทแกกลุ บุตร บวชพระภิกษุ ๒ รูป สามเณร


๔๒

๘ รูป โดยยึดหลักพระธรรมวินยั เปนบรรทัดฐานและเจตนารมณอนั บริสทุ ธิ์ เมื่อพระครูมหารัตนากร (พระมหาอินทร) เจาคณะแขวงลี้และเจาหนาน บุญเติง นายอําเภอลี้ทั้ง ๒ ทาน ทราบจึงโกรธเปนฟนเปนไฟ รวมกันตั้ง ขอคดีกลาวหาอาญาจับผิดทานวาเปนพระอุปช ฌายเถือ่ น ทางเจาคณะแขวง และนายอําเภอจึงมีหมายจับใหตาํ รวจควบคุมตัวทานแบบนักโทษมาคุมขัง พิจารณาคดีทวี่ ดั ลีห้ ลวงซึง่ เปนวัดของเจาคณะแขวงลี้ ขาวแพรออกไปอยาง รวดเร็ว สวนมากเกิดความเห็นอกเห็นใจพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตอการกระทํา ของทางบานเมืองและคณะสงฆทไี่ มเปนธรรมใชอาํ นาจอาชญากับผูท รงศีล ทรงธรรม เหตุการณในขณะนั้นจึงเกิดปฏิกิริยาถือปนผาหนาไม หอก ดาบ มายังวัดลีห้ ลวงเปนจํานวนมากเยาะเยยถากถางผูท รงอํานาจจนลวงเลยถึง วันที่ ๔ มหาชนเพิม่ มากขึน้ กลัวกอการจลาจลแยงชิงตัวทางอําเภอลีเ้ ห็นวา ไมสามารถควบคุมสถานการณได จึงสงตัวพระครูบาเจาศรีวิชัยไปใหทาง จังหวัดตัดสินพิจารณาคดีที่วัดมหาวัน พระครูญาณมงคลเจาคณะจังหวัด เปนประธานตั้งกรรมการคณะสงฆขึ้นพิจารณาคดีเปนการดวน ผลการ ตั ด สิ น พระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย ไม มี ค วามผิ ด ตามพระธรรมวิ นั ย จึ ง พ น ขอกลาวหา ขณะนั้นพระครูบาเจา ฯ อายุ ๓๐ ป หลังจากเหตุการณราย ครัง้ นัน้ ผานไปไมนาน เหตุการณวปิ โยคก็ผา นเขามาอีก โยมพอพระครูบาเจา ศรีวิชัย ไดลมปวยอยางกะทันหันและถึงแกกรรมยังความเศราโศกแก ครอบครัวเปนอยางยิง่ พระครูบาเจาศรีวชิ ัย จึงไดแสดงธรรมสังเวชใหเห็น ความเปนอนิจจังความไมเที่ยงของชีวิตสังขารปลอบประโลมโยมมารดา และญาติพ่ีนองใหคลายเศราโศกใหมองเห็นสัจธรรมของชีวิตเปนอนัตตา สุญญตาเปราะบางไรตัวตน อันเปนธรรมดาของโลกและทําพิธีศพตาม ประเพณีในทองถิ่นพอสมควรมิไดทําอะไรใหเปนการเอิกเกริกเกินพอดี


๔๓

หลังจากนั้นอีก ๓ ป พระครูมหารัตนากร (พระมหาอินทร) เจาคณะ แขวงลี้และเจาหนานบุญเติงนายอําเภอลี้ ถือโอกาสใชอํานาจอาชญา พระราชบัญญัติท่ีไดรับแตงตั้งขึ้นใหมในปลายรัชกาลที่ ๕ ปฏิบัติการกับ พระครูบาเจาศรีวิชัย ซึ่งทานถือวาอํานาจที่ไดรับเปนสิ่งที่ถูกตองและตอง ยอมรับแตพระครูบาเจา ฯ กลับเห็นวาพระธรรมวินัยเปนสิ่งที่บริสุทธิ์และ สูงสุดไมมีอะไรมาเปรียบไดถือวาการบวชเปนการอุทิศแดพระบรมศาสดา เลื่อมใสในพระวินัย ไมไดบวชเพื่อแสวงหาลาภสักการะความมีอํานาจ บาตรใหญ จึงมุงแตประพฤติตามพระธรรมวินัยอยางทุมเทชีวิตจิตใจ ทุกลมหายใจตามคําพูดทีเ่ คยปรารภวา “เฉพาะพระธรรมวินยั ทีต่ อ งปฏิบตั ิ ก็ตอ งอาศัยเวลาและความเพียรพยายามอีกมาก ยังไมสาํ เร็จไดดงั ปรารถนา นี่จะเอาขอปฏิบัติการทางโลกมายุงใหเปนภาระเพิ่มขึ้นอีก ทําใหการ ประพฤติธรรมเนิ่นชายากนานโดยไมใชเรื่อง” แตเพื่อพระธรรมวินัยทาน ยอมสละชีวิตโดยไมสะทกสะทานตอสิ่งกีดขวางไมวาจะโดยประการใด เพราะเหตุนี้จึงทําใหพระครูบาเจาศรีวิชัยกับพระครูมหารัตนากรเจาคณะ แขวงลี้ และเจาหนานบุญเติงนายอําเภอลี้เปนคูปรับกันมาโดยตลอด กอนถูกกลาวหาครั้งที่ ๒ พระครูมหารัตนากร เจาคณะแขวงลี้ มี หนังสือถึงพระครูบาเจาศรีวชิ ยั หัวหมวดวัดบานปางใหนาํ พระลูกวัดทัง้ หมด และเจาอาวาสทีอ่ ยูใ นหมวดวัดบานปางไปรวมประชุมทีว่ ดั ลีห้ ลวง เพือ่ รับฟง คําชีแ้ จงถึงกฎระเบียบพระราชบัญญัตทิ เ่ี พิม่ ขึน้ มาใหมอกี ทานไมไดไปตาม คําสั่งเพราะตองเดินเทาเปนระยะทางกวา ๓๙ กิโลเมตร ตองผานปาดง พงทึบทางทุรกันดาร ทานจึงไมไดสนใจเรือ่ งอืน่ ทุม เทเวลาโดยการปฏิบตั ิ ธรรมบําเพ็ญเพียรภาวนา สวนพระอธิการ หัววัดทัง้ หลายในตําบลบานปาง รูว า พระครูบาเจา ฯ ไมไปตางก็นงิ่ ไมไดไปประชุมตามคําสัง่ เมือ่ เหตุการณ เปนเชนนี้ เจาคณะแขวงลีจ้ งึ มีหนังสือรายงานถึงพระครูญาณมงคลเจาคณะ


๔๔

บริเวณที่พระครูบาเจา ฯ ถูกกักขัง ในวัดพระธาตุหริภุญชัย เปนเวลา ๑ ป

จังหวัดลําพูนและตัง้ ขอกลาวหาพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ทําความผิดตอราชการ ไมปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑบา นเมือง และขอนายตํารวจพรอมหนังสือจากเจาคณะ จังหวัดลําพูน ลงไปจับตัวเอาพระครูบาเจาศรีวชิ ยั เขามาเมืองลําพูน เมือ่ เจาหนาทีค่ วบคุมตัวทานมาถึงวัดมหาวัน พระครูญาณมงคลเจาคณะจังหวัด ตัง้ กรรมการพระผูใ หญประชุมปรึกษาการลงโทษจึงพรอมกันลงมติใหปลด พระครูบาเจาศรีวิชัยออกจากการเปนเจาอาวาสใหเปนเพียงพระลูกวัด ไมใหเปนพระอุปชฌายและกําหนดโทษวาถาไมยอมรับการตัดสินจะถูก กักขัง ๒ ป ถายอมรับจะลดโทษใหถกู ขังเพียง ๑ ป ทานยอมรับการลงโทษ โดยดุษณีภาพและถูกกักขังบริเวณในมุมกําแพงชั้นในของพระบรมธาตุ หริภุญชัยทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเปนเวลา ๑ ป วัดพระธาตุหริภุญชัยที่ เคยเงียบเหงา องคพระธาตุถูกเครือเขาเถาวัลยพันเกี่ยวเกือบเปนวัดราง กลับคึกคักดวยประชาชนพากันไปทําบุญกับพระครูบาเจาศรีวิชัยอยาง


๔๕

เนืองแนน ทําใหพระเณรในวัดและเจาหนาที่ผูควบคุมมีอาหารคาวหวาน จนเหลือกินเหลือใช พอครบกําหนด จึงถือวาพระครูบาเจาศรีวิชัยพน ขอกลาวหาไดรับอนุญาตกลับสูวัดบานปาง (พระครูบาเจาฯ อายุ ๓๓ ป) เมื่อกลับถึงวัดบานปางตั้งจิตอธิษฐาน บําเพ็ญสมณธรรมเจริญจิต ภาวนาแผเมตตาโดยไมมีประมาณ สรางบุญบารมีบนพื้นฐานที่ทาน พิจารณาเห็นชอบตามพระธรรมวินัย มิไดหวั่นไหวตอราชภัย มนุษยภัย การที่ทานตองอธิกรณถึง ๒ ครั้ง มิไดนอยใจในชะตาชีวิตและคําตําหนิ เสื่อมเสียตอผูหนึ่งผูใด กลับเห็นเปนเรื่องดีทําใหเห็นสัจธรรมคืออนิจจัง ทุกขัง อนัตตาชัดเจนยิ่งขึ้นเปนปจจัยแกองคมรรค ใหคลายความสําคัญ มั่นหมายดวยตัณหา อุปทานใหบรรเทาเบาบางลง เปนการชําระกาย วาจา ใจ ใหสะอาดบริสทุ ธิ์ สงบ ประพฤติพรหมจรรยใหงดงามเปนอานิสงส อันประเสริฐลํ้ายิ่งมิไดคิดวาใครจะเปนอุปสรรคแตประการใด หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจของทั้งสองฝายพระครูบาเจาศรีวิชัย ได จัดแจงแตงเครื่องไทยทาน ขาวตอก ดอกไม ถวายเจาคณะพระครูเพื่อขอ อโหสิกรรมที่ตองเปนภาระในการสะสางคดีพาสานุศิษยไปทําบุญดวยจิต อันบริสุทธิ์ มิไดมีจิตขุนมัวและมิใชเปนการประจบประแจงเอาใจใคร ศรัทธามหาชนก็ยิ่งเพิ่มความเคารพเลื่อมใสในอุเบกขาธรรมบารมีธรรม ของทานดวยความศรัทธาปสาทะอยางแรงกลาพากันนอมนมัสการบารมี ธรรมทําบุญทําทานกันอยางเนืองแนน มีทง้ั ภิกษุ สามเณร ศรัทธามหาชน ทั้งไทย จีน ชาวเขาเผาตาง ๆ เชน มง ขมุ กะเหรี่ยง มูเซอ ตางเดิน ทางมาจากที่ใกลท่ีไกลเฝาปรนนิบัติพระครูบาเจาฯ ผูเปนเนื้อนาบุญของ สาธุชนทุกหมูเหลาทั้งกลางวันกลางคืน


๔๖

วัดลี้หลวง สถานกักบริเวณพระครูบาเจาฯ ที่ถูกกลาวหา ครั้งแรก ๓ วัน เปนวัดที่พระครูมหารัตนากร เจาคณะแขวงลี้เปนเจาอาวาส

วัดมหาวัน ที่พํานักของเจาคณะจังหวัดลําพูน


๔๗

ตองอธิกรณและถูกเนรเทศ หลังจากนัน้ อีก ๙ ป พระครูมหารัตนากร เจาคณะแขวงลี้ ไดมหี มาย มาถึงพระครูบาเจาศรีวิชัย ใหสํารวจอารามจดบัญชีพระภิกษุสามเณร หัววัดตาง ๆ ในตําบลบานปาง สงใหเจาคณะแขวงลี้ตามกําหนดนัด เมื่อ ไดรบั หมายแจงแลวพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตอบปฏิเสธทันทีวา “ขาพเจาไมมี อํานาจสํารวจอารามและจดบัญชีตามคําสั่งของเจาพระครูไดเพราะเหตุวา ไดถูกปลดออกจากเจาอาวาสและหัวหมวดแลว ในเรื่องนี้ขออนุญาตกับ เจาพระครูกอน” พอคําสั่งแรกผานไปก็มีคําสั่งที่สองเมื่อคราวพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ขึน้ เถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ปนพระมหากษัตริย์ องคท่ี ๖ แหงราชวงศจักรี พระครูมหารัตนากรเจาคณะแขวงลี้ไดมีคําสั่ง แจกตามหัววัดทั้งหลาย ซึ่งอยูในความปกครองทุกตําบล ใหทําซุมประตู จุดประทีปโคมไฟประดับดวย ชอตุง ธงทิว ตีฆอง กลอง ระฆัง กังสดาล เปนการสมโภชพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีขึ้นเสวยราชสมบัติ ทานได รับหมายฉบับนัน้ แลวพิจารณาเห็นวาการทีใ่ หทาํ ซุม ประตูวดั ประดับตกแตง ชอตุง ธงทิวและจุดประทีปโคมไฟที่ประตูวัดนั้นเห็นวาวัดบานปางเปน อรัญวาสีวัดปาวัดดอย จักทํารูปลักษณะใดไมสามารถเขาใจการตกแตง ซึ่งเกี่ยวดวยราชการ เมื่อเปนพระสงฆซึ่งตามพระวินัยบัญญัติพระพุทธองค ทรงประทาน เปนเวลา ๒,๐๐๐ กวาป ใหสาวกบําเพ็ญสมณธรรมยึดหลักสันโดษสํารวม อินทรีย ยินดีในเสนาสนะตามมีตามได พึงรักษาสมณสารูป การยินดีใน วัตถุกาม ความทะเยอทะยานอยางฆราวาสวิสยั ตลอดถึงความมักใหญ ใฝสงู ยึดติดในอํานาจลาภยศเปนสิง่ ทีส่ มณศากยะบุตร ไมควรเขาของแวะเพราะ


๔๘

เปนเหตุแหงตัณหากามคุณกิเลสทีท่ าํ ใหสตั วโลกหลงอยูใ นวังวนวัฏสงสาร (การเวียนวายตายเกิด) เมื่อพิจารณาโดยรอบคอบตามหลักพระธรรมวินัย แลว พระครูบาเจาศรีวิชัยพรอมพระสงฆภายในวัดบานปาง มิไดทําตาม หมายที่มคี ําสั่งมา แมเห็นวาเปนการกระทําทีฝ่ า ฝนระเบียบของสังคมตาม ราชการทีส่ ง่ั มาโดยตรง แตกม็ องเห็นสมควรตามหลักแหงพระธรรมวินยั ที่ จะถวายพระพรสมโภชใหทรงพระเจริญ จึงพรอมกับพระสงฆในวัดบานปาง ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานประพฤติ ธ รรมรั ก ษาศี ล เจริ ญ จิ ต ภาวนา สวดสาธยาย พระพุ ท ธมนต ทุ ก เช า คํ่ า ถวายพระพรชั ย แด อ งค พ ระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัวใหเปนผูปกครองประเทศชาติและศาสนาใหเจริญพัฒนา สถาพร และขออานุภาพแหงศีลธรรมกัมมัฏฐานที่ไดปฏิบัติมาตั้งแตอดีต มาถึงปจจุบนั อภิบาลคํา้ ชูองคประมุขใหทรงพระเจริญพระชนมายุยง่ิ ยืนนาน ปราศจากซึ่งโรคภัยทั้งมวลและศัตรูหมูมารรายภัยพิบัติบานเมืองจงมลาย หายสิ้น ขอใหประเทศชาติบานเมืองประชาชนอยูรมเย็นเปนสุขตลอดกาล การกระทํ า เช น นี้ ถื อ ว า เป น การสมโภชอั น พร อ มบริ บู ร ณ ยิ่ ง นั ก แทน การกระทําอันเอิกเกริกเยี่ยงสามัญชนทั่วไป จึงไมทําซุมประตู จุดประทีป โคมไฟตามคําสั่งเจาคณะแขวงและนายอําเภอลี้ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั เปนผูท รงศีลทรงธรรมดวยความบริสทุ ธิม์ คี วาม อุตสาหะ วิริยะ อดทนขมอินทรียบําเพ็ญเพียรบารมี เจริญจิตภาวนา สมาทานไตรสิกขา พรอมกับบําเพ็ญทานบารมีดวยคุณธรรมแหงพรหม วิหาร ๔ ประการ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เปนที่เลื่อมใสของ ศรัทธามหาชนทั้งในเมืองและชนบททุกเชื้อชาติ ภาษา เชน จีน ไทย กะเหรีย่ ง อาขา ขมุ มูเซอ และลัวะ ทีไ่ มเคยเชือ่ ถือในศาสนธรรมมากอน นับถือแตภตู ผีปศ าจเปนมิจฉาทิฏฐิ คนเสเพล เสพสุรายาเมา อันธพาลหรือ คนทีไ่ มสนใจเรือ่ งทําบุญทําทาน ไมรเู รือ่ งศีลธรรม พอไดทราบปฏิปทาของ


๔๙

พระครูบาเจาศรีวิชัยก็มีจิตใจออนโยน หันมาเคารพเลื่อมใสศรัทธานับถือ บูชาพระครูบาเจาฯ พากันมากราบไหวทําบุญทําทานไมเวนแตละวัน มากเกินคณานับ บางพวกอยูในที่มืดตางก็พากันสงสัยวิพากษวิจารณไป ตาง ๆ นานา บางคนก็วาพระองคนี้มีคาถาเวทมนตรสะกดจิตผูคนใหอยู ในอํานาจ บางคนปลอยขาวลือวาพระอินทรเอาดาบศรีกัญชัยฝกทองคํา (ดาบกายสิทธิ์) มาไวที่หิ้งบูชาจึงถือตัวสําคัญตนไมขึ้นกับการปกครองของ เจาคณะแขวงและนายอําเภอขัดขืนอํานาจรัฐบาล บางก็วพิ ากษวจิ ารณดว ย ความสงสัยวาคนปาคนดง ไมรูเรื่องศาสนาเคยทําแตปาณาติบาตเสพสุรา ยาเมาถือมิจฉาทิฏฐิผสี างเทวดาเปนใหญกลับใจมาเคารพนับถือพระรัตนตรัย เปนที่นาอัศจรรย ทีเ่ ปนอยางนีก้ เ็ ขาหลักสัจธรรมวาพระครูบาเจาศรีวชิ ยั บําเพ็ญวัตรอยู ในอรัญวาสี (วัดปา) มั่นคงอยูในพรหมวิหารธรรมไมคิดวาใครเปนศัตรู ทุกผูทุกคนอยูรวมกันเปนเพื่อนรวมโลกที่ตองวนเวียนในวัฏสงสารตองได รับเมตตาธรรมเอือ้ อาทรแกกนั และกัน พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ประพฤติธรรม สงบสํารวมสงางามดวยเนกขัมบารมีอยางนาเทิดทูนบูชาเปนเนือ้ นาบุญอัน ประเสริฐเมือ่ รูข า วปฏิปทาทําใหผคู นจํานวนมากเปลีย่ นชีวติ จากทีม่ ดื สนิท มาสูทางสวาง ดวยคุณธรรมโดยอาศัยเมตตาจิตจากดวงใจบริสุทธิ์ของ พระครูบาเจาฯ ไดเพาะหวานกุศลจิตจนเปนทีซ่ าบซึง้ ตรึงใจอยางกวางขวาง ในทํานองทีเ่ คยเกิดขึน้ กับพระบรมศาสดาผูเ ปนนาถะของไตรโลกคราวเมือ่ พระองคปลีกองคจากพระสงฆทด่ี อ้ื รัน้ ไมอยูใ นพระโอวาท เสด็จประทับอยู ในปาเลไลยอันไกลโพนเพียงพระองคเดียว ก็มีสัตวปา เชน ลิง ชาง ซึ่งไมรู ภาษามนุษยมาอยูอุปฏฐากพระพุทธองคดวยการหานํ้า หาผลไมมาถวาย ตลอดเวลาดูประหนึง่ วาสัตวเหลานัน้ จักรูภ าษารับรูส อ่ื แหงเมตตาธรรมอัน สูงสงจากพระพุทธองคดว ยพุทธานุภาพและบารมีธรรมทีท่ รงบําเพ็ญบารมี


๕๐

ไวแตอดีต เพือ่ ชวยเหลือโปรดสัตวโลกใหพน จากโอฆะ วัฏสงสาร (หวงแหง ตัณหากามคุณ ความยึดติด ยึดมั่นถือมั่น) จากคําโจษขานตางๆ นานาประกอบกับเหตุการณลวงแลวผูคนเพิ่ม ความเคารพเลือ่ มใสตางนอมนําสิง่ ของเครือ่ งสักการะมาถวายบูชาศีลธรรม กัมมัฏฐานทั่วทุกสารทิศ แมวัดอยูทามกลางหุบเขาไกลกันดารตองขึ้นเขา ลงหวยแตดวยหัวใจของศรัทธาสาธุชนมอบเปนสังฆบูชาแดพระครูบาเจา ศรีวิชัยหรือที่คนสวนมากขนานนามอยางเทิดทูนบูชาวา “พระครูบาเจา ศีลธรรม” ระหวางที่ขาพเจามาสรางพิพิธภัณฑของพระครูบาเจาศรีวิชัย วัดบานปางผูคนที่เคยกราบไหวและรวมงานสรางวัด สรางถนนขึ้นสู พระธาตุดอยสุเทพ ไดทําบุญทําทานรับศีลรับพรจากพระครูบาเจาฯ ตาง เลาถึงความประทับใจทีไ่ ดรว มอนุโมทนาในบารมีธรรมในครัง้ นัน้ แมเวลา ผานไปเปนเวลานานพระผูเปนเนื้อนาบุญอันประเสริฐยังเปนภาพสถิตใน หัวใจของมหาชนดวยความเคารพนับถือดุจดั่งเทพเจาแหงความเมตตา สัจธรรมของโลกที่มีอยูคูกันประการหนึ่ง สุข ทุกข นินทา สรรเสริญ ที่สามัญชนไมสามารถแยกไดดังเชน พระครูบาเจาศรีวิชัย อันเกียรติคุณ คุณงามความดีของทาน ก็ใชวาคนทั้งบานทั้งเมืองจะมองเห็นทั่ว แม องคพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ยอดอัจฉริยะยิ่งกวามนุษยทั้งหลาย ก็มผี คู ดิ รายคิดลบลางทําลายพระพุทธองค กรณีของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ก็ เปนพระอริยะสงฆผูทรงศีลทรงธรรมปรารถนาพุทธภูมิตองบําเพ็ญบารมี แหงโพธิสัตวมุงสูโพธิญาณ ซึ่งตองสรางบารมีธรรมยิ่งสูงสงเทาใดก็ตองยิ่ง เผชิญตอการทดสอบจิตใจผจญมารครั้งแลวครั้งเลา ถาไมเปนเชนนี้ ความเปนนักบุญอมตะของพระครูบาเจาศรีวิชัยคงไมสถิตอยูตราตรึงใน หัวใจของเราตราบทุกวันนี้ หรือถาไมมคี วามทุกข กิเลสตัณหาพระพุทธองค ก็ไมอุบัติข้ึนมาในโลก เพราะฉะนั้นสัจธรรมของสิ่งทั้งหลายในโลกซึ่ง


๕๑

แฝงเรนอยูใ น ความดี – ราย ทัง้ คุณ – โทษ ความมืด – สวาง ความโง – ฉลาด ตางอยูในกฎแหงไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กระทั่ง มองเห็นอนิจจัง ความไมเที่ยง มูลเหตุแหงความทุกขกิเลสตัณหาอุปาทาน เปนบอเกิดพระพุทธเจาและพระอริยะเจาทั้งหลายใหไดอุบัติขึ้นมาในโลก เมือ่ ความจริงแหงสัจธรรมเปนเชนนีพ้ ระครูบาศรีวชิ ยั จึงตัง้ มัน่ บําเพ็ญ สมณธรรมอยางเครงครัด อุทิศชีวิตทุกลมหายใจถวายแดพระรัตนตรัย ไมแยแสตอการถูกกลั่นแกลงใด ๆ ถาสังเกตชีวิตของแตละคนตางก็ตอง ฟนฝาอุปสรรคความยากลําบากผานเหตุการณดีรายนับครั้งไมถวนหรือ คนดีจะตองกลาพิสจู นตนเอง จะตกทุกขไดยากลําบากอยางไรก็จะไมหวัน่ ไหว และคนดีแมจะตกในกระแสนํา้ เชีย่ วก็จะไมไหล จะตกอยูท า มกลางไฟใหญ ก็ไมไหม เปนสัจธรรมของโลกที่โบราณจารยกลาววา “มารไมมี บารมี ไมแกกลา” หรือ “ทะเลจะงามก็ตอเมื่อมีคลื่น ชีวิตจะเขมแข็งและราบรื่น ตองผานความทุกขยากอุปสรรคนานาประการมากอน” เมือ่ พระครูบาเจาฯ ไมไดสํารวจบัญชีพระเณรและการทําซุมประตู พอเรื่องรูไปถึงเจาคณะแขวงลี้ และนายอําเภอลี้ทั้งสองโกรธเปนฟนเปนไฟหาเรื่องความชั่วรายปายสีใส ใหถึงที่สุด เพื่อทําลายพระครูบาเจาศรีวิชัยโดยตั้งขอหาเปนกบฏตอ บานเมืองและแข็งกระดางตอคณะสงฆ ดังนัน้ พระครูมหารัตนากรเจาคณะ แขวงและเจาหนานบุญเติง นายอําเภอลี้ จึงตั้งขอหาความผิด ๘ ประการ ฟองมายังพระครูญาณมงคลเจาคณะจังหวัดลําพูน อธิกรณขอกลาวหา ๘ ประการ คือ ๑. พระศรีวิชัยตั้งตัวเปนพระอุปชฌายเอง ๒. พระศรีวิชัยไมอยูในบังคับบัญชาของเจาคณะแขวงลี้ ๓. พระศรีวิชัยไมไดรวมประชุมตามคําสั่งของเจาคณะแขวงลี้และ ยุยงใหวัดตาง ๆ ประพฤติตาม


๕๒

๔. พระศรีวชิ ยั ไมประพฤติตนใหเปนไปตามคําสัง่ คณะสงฆ เปนตน ไมตีกลองจุดประทีปโคมไฟในวันเปลี่ยนแผนดิน สมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวเถลิงถวัลยราชสมบัติถือวาเปนกบฏ ๕. พระศรีวิชัยลวงทัณฑที่ใหไวกับเจาคณะเมือง ๖. พระศรีวิชัยไมสํารวจบัญชีรายชื่อพระเณรใหกับเจาคณะแขวงลี้ ๗. พระศรีวิชัยมีเวทมนตรลอลวงประชาชน ๘. พระศรีวิชัยมีดาบศรีกัญชัยฝกทองคํา (ดาบกายสิทธิ์) ตกจาก สวรรคสูแทนบูชา เจาคณะแขวงลีแ้ ละนายอําเภอไดนาํ หลักฐานการฟองรองดวยอาศัย กฎพระราชบัญญัติคณะสงฆ ร.ศ. ๑๒๑ และกฎหมาย พอสงเรื่องไปถึง เจาคณะจังหวัดลําพูนอีกครัง้ คราวนีเ้ ปนผลใหเจาคณะจังหวัดออกประกาศ เปนคําสั่งดวนถึงพระครูบาเจาศรีวิชัย ดังนี้ วันที่ ๑๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๒ เจาคณะจังหวัดถึงพระศรีวิชัย วัดบานปาง เนื่องจากไมฟงคําบัญชาของฉันและเจาคณะแขวงลี้กับขัดขืน ตอระเบียบราชการบานเมือง การสํารวจพระอารามกับการอืน่ ๆ หลาย ประการ บัดนี้พระสงฆทั้งหลายเห็นวาทานไมควรอยูวัดนี้ตอไป เพราะฉะนั้นนับตั้งแตวันรับคําสั่งนี้กับไดปรึกษาโทษเปนตนไป ใหทานออกไปใหพนเขตจังหวัดลําพูนภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแตวัน ประกาศนี้ ลงนาม พระครูญาณมงคล


๕๓

และยังมีคาํ สัง่ พิเศษประทับลงไปยังหัววัดตาง ๆ ในเขตจังหวัด ลําพูนวา พระครูญาณมงคล เจาคณะจังหวัดลําพูนประกาศมายังหัววัด ทั้งหลายในเขตเมืองลําพูนทุกแขวงทุกตําบลใหทราบโดยทั่วกันวา พระศรีวิชัย วัดบานปางมีความผิดถูกขับไลออกจากจังหวัดลําพูน ถาพระศรีวิชัยไปขออยูวัดวาอารามใดในเขตลําพูนอยาใหอยูเปน อันขาด ลงนาม พระครูญาณมงคล

เมือ่ เจาคณะแขวงลีแ้ ละนายอําเภอลีไ้ ดรบั หมายประกาศ ๒ ฉบับ ของ เจาคณะจังหวัดลําพูนแลว จึงไดพากันไปถึงวัดบานปาง ครั้นแลวก็เรียก พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ใหมาหาแลวอานหมายประกาศใหพระครูบาเจาฯ ฟง แลวยื่นหมายฉบับนั้นพรอมประกาศวา “บัดนี้ทางเจาคณะจังหวัดทานมี คําสั่งใหทานหนีออกไปจากเขตเมืองลําพูน ภายใน ๑๕ วัน ขอใหทาน ปฏิบัติตามนี้” หลังจากฟงคําประกาศจากเจาคณะแขวงและนายอําเภอลี้ แลวพระครูบาเจาฯ หาไดสะทกสะทานหวั่นไหว เพราะสถานที่พํานัก บําเพ็ญปฏิบัติธรรมอยูเปนพุทธจักร อันเปนอาณาจักรควรแกผูทรงศีล ทรงธรรม อาศัยสืบสายพระธรรมวินยั ของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา แลวทานตั้งคําถามวา “ภันเต ขาแดทานพระคุณเจา มาขับไลขาเจาหนีใน ครัง้ นีม้ คี วามผิดดวยพุทธบัญญัตลิ ว งละเมิด พระราชอาญาแหงองคพระศรี


๕๔

สัพพัญูพระพุทธเจาขอหนึ่งขอใด ขาเจายังไมรูสึกตัว ขอพระคุณเจาได โปรดเทศนาชีแ้ จงใหขา เจาไดแจมแจงตามความเปนจริงดวยเถิด” พระครู มหารัตนากร (พระมหาอินทร) เจาคณะแขวงลีต้ อบอยางจนแตมวา “เราไมรู เทศนาชีแ้ จงใหทา นฟงได เพราะเวลานีบ้ า นเมืองไดมีอาญาออกมาแลวให เนรเทศทานหนีพน จากเมืองลําพูนดวยการกระทําผิดใหเดือดรอนบานเมือง คือเปนพระอุปชฌายโดยไมไดรับอนุญาตจากผูใด ใชอํานาจสวนตัวและ การกระทําที่เปนการลวงอาณาจักรขัดขวางตอราชการบานเมือง” พระครูบาเจาฯ โตตอบชี้แจงเหตุผลดวยอารมณเยือกเย็นวา “เพียง แตไมไดรับอนุญาตจากเจาคณะแขวงและนายอําเภอ เทานั้นแลวมาจับผิด เอาวาเปนเรื่องลวงละเมิดและการอนุเคราะหใหบรรพชาอุปสมบทกุลบุตร นั้นถาศึกษากันตั้งแตครั้งอริยะประเพณีโบราณวาถากุลบุตรขอบรรพชา อุ ป สมบทเป น ภิ ก ษุ ห รื อ สามเณรก็ มี แ ต ไ ปขอพระเถราจารย ผู  ท รงศี ล ทรงธรรมที่มีอายุพรรษา ๑๐ ปขึ้นไป เพื่อเปนพระอุปชฌาย และกุลบุตร เปนผูท่ีบิดามารดาอนุญาต และไมมีบุคลิกที่พระวินัยตองหามก็เปนอัน อนุญาตใหบรรพชากรรมไดมิใชหรือ ตามเหตุผลที่ชี้แจงมานี้ ขาเจาได กระทําผิดสิกขาบท พระวินัยแหงพุทธบัญญัติขอหนึ่งขอใดที่มาขับไลให ขาเจาหนีขอพระคุณเจาโปรดเทศนาใหขา เจาทราบดวย ขาเจาไดปฏิบตั ติ าม ใหถูกตองตามหลักพระธรรมวินยั ” พระครูมหารัตนากร (พระมหาอินทร) เจาคณะแขวงไมรูวาจะจับผิดตอพระธรรมวินัยที่เปนพุทธบัญญัติมากลาว ชี้แจงไดอยางไร เพราะจนตอเหตุผลก็นิ่งอึ้ง ดวยมองวาพระครูบาเจาฯ ไมได ทําผิดตอพระวินัยบัญญัติ สวนเรื่องฉลองสมโภชพระมหากษัตริยองคใหม ก็ไดชี้แจงวาพรอมกับพระสงฆในวัดบานปางประพฤติธรรมและเจริญ พระพุทธมนตถวายพระพรชัยมงคลเปนการถวายพระพรแลว เจาคณะแขวงลี้


๕๕

กับนายอําเภอลีไ้ มอาจโตตอบหรือชี้แจงเรื่องใหกระจางจึงไดกลับออกจาก วัดบานปางดวยความผิดหวังในการใชอาํ นาจทางโลกียวิสยั กับพระครูบาเจาฯ สวนพระครูบาเจาฯ ไมไดคิดวาเปนผูมีชัยแตถือวาไดอธิษฐานจิต อุทิศแดพระธรรมวินัยจึงตั้งอยูในพรหมวิหารธรรมมิไดตั้งตนเปนใหญ เพราะเห็นโดยตลอดวาชีวิตเปนของไมเที่ยง สังขารทั้งหลายเปนทุกข ไมไดเปนตัวเปนตน การหลงยึดถืออะไรเปนตัวเปนตนทําใหเวียนวายตายเกิด ในวัฏสงสาร ทรมานอยูเปนอเนกชาติ มีทางเดียวที่นําตนพนวัฏจักรคือ การมอบกายถวายชีวติ บูชาตอพระรัตนตรัยดวยการปฏิบตั ศิ ลี ธรรม บําเพ็ญ กัมมัฏฐานเจริญตามรอยบาทพระพุทธองค ขัดเกลาจิตอันหมกมุนอยูกับ ความโลภ โกรธ หลง ตัณหาราคะ ความอยากที่กอใหเกิดอุปาทานใน เบญจขันธ ใหบรรเทาเบาบางไมใสใจตออํานาจลาภยศชือ่ เสียง เคยปรารภ กับสานุศิษยอยูเนือง ๆ วา “ทุกวันนี้การที่เราสรางกุศล บําเพ็ญบุญบารมี เราไมปรารถนาเอามนุษยสมบัติ ไมปรารถนาจะเปนพระอินทรพระพรหม ขอกุศลทีไ่ ดสรางมาแลวทัง้ หมดขอใหไดเปนพระพุทธเจาโปรดสัตวโลกองค หนึ่งในวันขางหนาเทานั้น” การที่ตั้งความมุงมั่นดวยกุศลเชนนี้เพราะการ ไดมองเห็นคนทั้งหลายตองติดจมอยูในหวงแหงสงสารทนทรมานอยูกับ การเวียนวายตายเกิดดวยอํานาจแหงตัณหาอุปทาน จึงมีความเอ็นดูสัตว โลกดวยเมตตาธรรม สรางบารมีแหงพระโพธิสัตวเพื่อเปนพระพุทธเจา ยอมเปนหลักธรรมดาของการดําเนินสูวิถีชีวิตอันสูงสงตองมีการเสียสละ อันยากยิ่งกวา สามัญชนโดยทั่วไป ขอไดโปรดเขาใจดวยวาการตั้งปณิธานเพื่อพุทธภูมิ คือการดําเนิน ตามจริยาวัตรของพระโพธิสตั วซงึ่ ในดวงใจมีแตความเอ็นดูและกรุณา ผูเ คย ฟงธรรมจากชาดกในพระไตรปฎกกลาวถึงจริยาวัตรของพระโพธิสัตวเจา


๕๖

ทุกพระองคตอ งเสียสละพระองคเพือ่ เกือ้ กูลความสุขแกเพือ่ นรวมโลกอยาง ยิง่ ยวด แมดว ยชีวติ เลือดเนือ้ โดยไมเห็นแกความเจ็บปวดเหนือ่ ยยากลําบาก ถึงความตายจะปลิดชีพสักกี่ภพกี่ชาติเปนรอย ๆ ชาติก็ตาม ตราบใดไมได บรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ พระโพธิสัตวเจาจะดําเนินโดยพระบาทอัน หนักแนนมั่นคง พรอมดวยดวงใจอันเปยมดวยประกายแหงฉัพพรรณรังสี อันโอฬาร เปนพละพลังอันมหาศาลในการที่นําพระองคผานอุปสรรค นานัปการ ความยากลําบาก ทัง้ หลายเปนเหมือนปทุมชาติรองรับพระบาท เพือ่ หนุนสงทางดําเนินสูพ ระโพธิญาณ ตัวอยางพระสิทธัตถะมหาโพธิสตั วเจา เมือ่ พระองคทรงบําเพ็ญเพียรบารมีอยูย งั ไมบรรลุอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พระองคทรงเสียสละความสุขสวนพระองคและครอบครัว ทรงมองเห็นสัตว โลกต อ งตกทุ ก ข อ ยู  ใ นห ว งวั ฏ สงสาร จึ ง มี พ ระมหากรุ ณ าที่ ช  ว ยเหลื อ สรรพสัตวทั้งหลายใหพนจากหวงทะเลแหงความทุกข จึงสละพระองค ออกจากปราสาทราชวังออกผนวชเปนนักบวชแสวงหาโมกขธรรม บําเพ็ญ พรตอยูใ นปาในเขา ฟนฝาความยากลําบากจนพระวรกายผายผอมจนแทบ จะเอาชีวิตไมรอด แมดวงหทัยถูกเสียดแทงดวยอารมณแหงโลกียวิสัย ดวยอํานาจอันยิ่งใหญแหงบารมีธรรมที่ทรงบําเพ็ญเปนพระโพธิสัตวมา หลายภพหลายอสงไขยจึงไดบรรลุพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เห็น แจมแจงในไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลวทรงตัดสายโซแหง ตัณหาอุปาทานทีท่ าํ ใหสตั วโลกตองลอยควางอยูท า มกลางทะเลแหงวัฏฏสงสาร นําพระองคสูแสงสวางแหงพระนิพพานคือความสงบรมเย็นของชีวิต ทานผูอานอยาเขาใจผิดวาการเปรียบเทียบเชนนี้เปนการนําเอา พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตีเสมอกับพระพุทธเจาความจริงพระครูบาเจาฯ อยูใ น ฐานะปรารถนามุ  ง ปณิ ธ านขอให ไ ด เ ป น พระพุ ท ธเจ า อี ก องค ห นึ่ ง ซึ่ ง ตองบําเพ็ญจริยาวัตรของพระโพธิสัตวอีกหลายอสงไขยกวาจะไดเปน


๕๗

พระพุทธเจา ที่ยกเอาคุณสมบัตินี้มาเปรียบเทียบเพื่อใหผูอานไมเกิดอคติ หรือเกิดอกุศลเจตนา แตจะเพิ่มศรัทธาอันแรงกลาอนุโมทนาสาธุการ ในมโนธรรมบํ า เพ็ ญ วั ต รด ว ยปณิ ธ านอั น หนั ก แน น ไม ห วั่ น ไหวของ พระครูบาเจาศรีวิชัย ยอนสูเรื่องของพระครูบาเจาฯ ในระหวางที่ถูกเจาคณะแขวงลี้และ นายอําเภอลี้มีหนังสือใหเนรเทศ เมื่อทั้งเจาคณะแขวงลี้และนายอําเภอลี้ ตองเผชิญหนากับพระครูบาเจาฯ ซึ่งเปนผูทรงศีลทรงธรรมไดโตตอบ โดยหลักธรรมวินัยจนเจาคณะแขวงไมรูจับผิดดวยประการใดจึงไดพากัน ออกจากวัดบานปาง ครั้นอีกไมนานเจาคณะจังหวัดลําพูนไดไปปรึกษา หารือกับเจาจักรคําขจรศักดิ์เจาผูครองนครลําพูนใหออกหนังสือจาก เจาเมืองใจความวา “ใหพระศรีวชิ ยั รวบรวมพระภิกษุและสามเณรทัง้ หลาย ซึง่ เปนศิษยานุศษิ ยของพระศรีวชิ ยั ในหมวดวัดบานปางใหเขามาหาเจาคณะ จังหวัดลําพูนเปนการดวนโดยลงทายหนังสือวาพรอมใหความเปนธรรม ลงนามเจาจักรคําขจรศักดิ”์ และมีหนังสือของเจาคณะจังหวัดลําพูนกํากับ มาดวย เมื่อพระครูบาเจาศรีวิชัยไดรับจดหมายทั้งสองฉบับแลว จึงเรียก พระเณรมาประชุมพรอมกันที่บริเวณวัดบานปางจํานวนหารอยกวารูป ได ชี้แจงแกบรรดาพระภิกษุสามเณรวา บัดนี้เจาคณะจังหวัดและเจาผูครอง นครลําพูนไดมีหนังสือมาใหเรานําทานซึ่งไดปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ตามแบบอยางอริยะประเพณี ที่เราไดนําทานทั้งหลายมาบําเพ็ญกุศลอยู ทุกวันคํา่ เชาเปนกิจวัตรดวยการสรางกุศลเปนหลักเพือ่ ขัดเกลาราคะตัณหา กิเลส มายาใหบรรเทาลง อยางไรก็ตามการกระทําความดีสรางกุศลสั่งสม บารมีธรรมในโลกนีม้ ใิ ชมแี ตเพียงเราผูเ ดียว การดําเนินตามรอยพระพุทธบาท


๕๘

ของพระพุทธองคยังมีเพื่อนรวมวัฏสงสารอีกจํานวนมาก ในระหวางการ ดําเนินสูว ถิ แี หงพุทธธรรมไปพรอมกันนัน้ ยอมเปนธรรมดาของนานาจิตตัง แลวแตอนิ ทรียข องแตละรูปนามไดสงั่ สมอบรมมาทางไหนมากนอยเพียงใด บางทีกส็ ง่ั สมบุญบารมี บางทีสง่ั สมบาป ถาสัง่ สมบุญมารวมกันก็ยอ มเขาใจ ในทางที่ดีสงเสริมความดีย่ิงขึ้นไป แตในบางอยางก็ยังเขาใจผิดยังมี การขัดแยงหรือตอบโตกันบางตองใชสติปญญาเปนเครื่องพิสูจนบางคราว ตองใชเวลาเปนเครื่องพิสูจนตองยอมทนทรมานดวยความลําบากและ อดทนถึงจะดําเนินตามทางอันประเสริฐเพื่อจุดยืนอันสูงสงตามบาทวิถี สมณะศากยบุตร โดยการสั่งสมอบรม กาย วาจา ใจ เพื่อขัดเกลาตัณหา ราคะ กิเลสมายา อาศัยหลักไตรลักษณพจิ ารณาสรรพสิง่ ใหเห็นเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จงหมัน่ ตรวจสอบพิจารณาตนเองมองใหเห็นสัจธรรมในชีวติ สังขาร รูปนาม ขันธ ๕ ตามสภาวธรรมมองชีวิตใหเห็นความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาอยูเนือง ๆ ความโลภ โกรธ หลง มัวเมา อยากในรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ ความใครกระหายในลาภ ยศ ชื่อเสียง ให บ รรเทาเบาบางลงในขั น ธสั น ดาน จนกระทั่ ง คลายความกํ า หนั ด ความหื่นกระหาย ไมมีความสําคัญวาเปนตัวตนคนสัตวไมมีการแบงแยก เปนเราเปนเขา พวกเขาพวกเราดวยประการนี้แสงสวางแหงพระธรรมก็ สองสวางเขาสูดวงใจ พระพุทธองคก็สถิตอยูในดวงจิต ยิ่งดวงจิตเพงพินิจ ธรรมเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โดยมีกุศลเปนมูลราก บัวแดงแหง พุทธชาติก็เบงบานสะพรั่งเต็มที่ บัวยิ่งบานยิ่งมีมาก พระพุทธองคย่ิงทรง พอพระทัย


๕๙

ยืนหยัดยึดมั่นในปฏิปทา พระครูบาเจาศรีวิชัย ไดประจักษตอทางอันประเสริฐ ดําเนินตาม อริยมรรควิถีมิหวั่นไหวตอโลกธรรมมีดวงจิตมุงมั่นอุทิศชีวิตเสียสละอยาง แทจริงมัน่ คงอยูใ นศีลสัตย ยึดหลักกัมมัฏฐานเปนทางสายเอกและแนะนํา ผูค นใหเกิดความศรัทธา เคารพเลือ่ มใส ใหปฏิบตั ชิ อบตามธรรมโดยตลอด บัดนี้จะตองพิสูจนตัวทานเพื่อใหโลกจารึกเจริญรอยบาทของนักบุญให ชนรุน หลังไดดาํ เนินรอยตาม จึงประกาศทามกลางศิษยานุศษิ ยและศรัทธา สาธุชนดวยดวงใจทีเ่ ปย มดวยมโนธรรมวา “เวลานีท้ า นเจาคณะจังหวัดและ เจาเมืองลําพูนมีบญ ั ชาใหเรานําทานทัง้ หลายเขาไปในเมืองลําพูน การครัง้ นี้ เปนการใหญหลวงเพราะขัดตอขอบังคับของเจาคณะแขวงหลายอยาง ถา เขาไปถึงเจาคณะจังหวัดในเมืองลําพูนแลวจะมีเหตุการณรายดีเกิดขึ้น อยางไรเรายังมองไมเห็น สวนตัวเราไมไดวติ กกังวลถึงตองเผชิญเหตุการณ รายดีดว ยอํานาจทีไ่ มใชธรรมขอหนึง่ ขอใดเราไมมคี วามครัน่ ครามหวัน่ ไหว ขอถือเอาคุณศีลธรรมกัมมัฏฐานเจาและคุณพระศรีรัตนตรัยเปนที่พึ่ง เจริญตามรอยบาทพระพุทธองคดวยหลักศีลธรรมมุงตรงตอพุทธจักร ประการเดียว เมือ่ ทานทัง้ หลายจะดําเนินตามเราเขาไปไมเปนไร หากทาน ทั้งหลายกลัวราชภัย มนุษยภัย พากันไปพํานักอยูแหงหนตําบลใดหรือ พากันเขาไปหาเจาคณะแขวง ยอมปฏิบัติตามระเบียบการปกครองตาม ยุคสมัยของราชการเราก็ไมไดหาม ถาทานทั้งหลายเห็นวาการติดตามเรา เป น ความถู ก ต อ งชอบธรรมแน น อนแล ว ถ า มี อั น เป น ไปจนถึ ง กั บ เรา มรณภาพเพราะเหตุนี้ ทานทัง้ หลายยังมีจติ มัน่ คงอยูใ นศีลธรรมกัมมัฏฐาน


๖๐

อยูตราบใดทานทั้งหลายก็จะบรรลุถึงศานติสุขในเบื้องหนาเปนเที่ยงแท อยางไมตองสงสัย ตามที่เรากลาวมาแลวนี้ทานทั้งหลายผูหนึ่งผูใดมี ความคิดเห็นเปนประการใดขอใหชี้แจงความถูกตอง ณ บัดนี้” ในทามกลางอาวาสวัดบานปาง ซึ่งเปยมดวยผูมีจิตศรัทธาเลื่อมใส ในกิจวัตรอันงดงามพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย หรืออีกนามหนึ่งซึ่งเขา ถวายสมญานามพระคุณเจาผูเ ปนเนือ้ นาบุญวา “พระครูบาเจาศีลธรรม” ตางพรอมใจถวายความเคารพและจงรักภักดีเปนหนึ่งเดียวในบรรดา ผูชุมนุมพระภิกษุจํานวน ๓๐๐ รูป กับสามเณรหลายรอยรูป เมื่อไดฟง ถอยคําแถลงและคําโอวาทจาก “พระครูบาเจาศีลธรรม” ตางก็ไมยอ ทอ ที่ถือมั่นตามความคิดของพระครูบาเจาศรีวิชัย ไมมีขอขัดแยงและสงสัยวา พระครูบาเจาฯ จะนําไปสูท างผิดพลาด ตางก็ลงความเห็นวาแมเกิดเหตุการณ ดีรายประการใด ขอเทิดทูนบูชาสักการะรวมกันใหการสนับสนุนและ ติดตามเดินทางไปกับพระครูบาเจาฯ จนถึงทีส่ ดุ การประชุมในวันนัน้ เปน อันยุตลิ งดวยการเห็นพลังแหงศรัทธามหาชนไดแสดงออกอยางแรงกลาตอ ความถูกตองชอบธรรมพรอมที่รวมกันพิทักษธรรมเปนนํ้าหนึ่งใจเดียว จุดประกายศรัทธารวมเปนพลังภราดรภาพตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบันนี้ ครัน้ ถึงกลางคืนเวลาปจฉิมยาม ขณะจําวัตรนอนหลับพระครูบาเจาฯ นิมิตเห็นปราสาทหลังหนึ่งทั้งสูงใหญ ดูแลวสูงเทียมเมฆไดเกิดลมครืนอยู เหนือแผนดิน มีคนจํานวนมากตางพากันชวยยกปราสาทหลังนั้นใหต้ัง เหมือนเดิม ก็ยกไมข้ึน พอดีพระครูบาเจาฯ เขาไปยกเพียงผูเดียวก็ยก ปราสาทใหกลับเปนปกติอยางเดิม พอตื่นนอนพระครูบาเจาฯ ไดลางหนา ชําระกายแลวรําลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย ประพฤติธรรมเปนกิจวัตรเสร็จ ก็พิจารณานิมิตดวยวิจารณญาณ แลวนํามาเลาในที่ประชุมที่มีทั้งพระสงฆ


๖๑

และคฤหัสถ ผูเ ฒาผูแ กทง้ั หลายฟงผูค นจํานวนมากซึง่ มาปรนนิบตั อิ ปุ ฏ ฐาก และที่รอทําบุญตักบาตรใหรับฟง ตางก็พากันชื่นชมยินดีแสดงความเห็น พรอมกันวาเปนศุภนิมิตอันเปนมงคลประเสริฐโดยแท จึงลงความเห็นกัน วา พระครูบาเจาศรีวิชัยมีบุญสมภารอันยิ่งใหญ จะไดสืบสานอายุบวร พระพุทธศาสนาในยุคที่กําลังเสื่อมโทรมใหกลับเจริญรุงเรืองตอไป ตาม อายุกาลพระพุทธศาสนาหาพันพระพรรษาอยางแนแท ตางก็กลาวถอยคํา อันเปนพรเพื่อเปนสิริมงคลแกพระครูบาเจาศรีวิชัยโดยทั่วกัน อยูม าถึงอีกวันหนึง่ มีเหตุการณประหลาดคือมีฝงู กาประมาณ ๓๐ ตัว รวมฝูงกันมาเกาะอยูตามกําแพงหินดานหลังของศาลาบาตร (ศาลา บําเพ็ญบุญ) พากันสงเสียงรองกา ๆ ทัว่ บริเวณวัดจนถึงเวลา ๐๙.๐๐ น. ก็มี พญาแรงตัวหนึ่งบินรอนอยูบนนภากาศหนาอารามวัดบานปาง พอฝูงกา เห็นก็พากันกระพือปกไลพญาแรงและตอสูกันอยางเอาเปนเอาตายและ พายแพแกพญาแรง จึงพากันมาจับกิ่งไมรองเสียงดังลั่นอยางผูพายแพ แลวหยุดเปนเวลากวาครึ่งชั่วโมงแลวก็บินขึ้นสูกับพญาแรงอีก ๒ – ๓ ครั้ง ก็สูพญาแรงไมได จึงพากันแตกหนีกระเจิงไปหมด สวนพญาแรงตัวนั้น ก็บนิ ลับหายไปในอากาศไมรวู า ไปทางทิศไหนนับวาเปนเหตุการณประหลาด เปนปรากฏการณ ครัง้ สําคัญทีเ่ กีย่ วของกับวิถชี วี ติ ของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั โดยไมตองอรรถาธิบาย เปนการสอแสดงความหมายใหเห็นวาธรรมยอม ชนะอธรรม ความดียอมชนะความชั่ว แตจิตพระอริยะเจาที่ฝกฝนมาดีแลว ยอมอยูเ หนือความดีความชัว่ เหนือการเปนผูช นะหรือผูป ราชัย เพราะไมได สําคัญตน มิไดสําคัญมั่นหมายในสิ่งใด ๆ ดวยตัณหาอุปาทาน


ถายเมื่อออกโปรดบิณฑบาตชาวเมืองพะเยา คราวไปบูรณะพระเจาตนหลวง ทุงเอี้ยง เมื่ออายุ ๔๕ ป


๖๓

โยมแมวอนใหลาสิกขา โยมมารดา (นางอุสา) ของพระครูบาเจาฯ เมือ่ ทราบวาลูกถูกกลาวหา ครัง้ ที่ ๓ จึงขอพบพระลูกชายเพือ่ ใหลาสิกขาบท ออกมาชวยกันทํามาหากิน ตามประสายากจนมีความสุขใจมากกวาเปนพระสงฆทมี่ แี ตผอู นื่ กลัน่ แกลง หากเปนเชนนี้หัวใจแมแทบจะแตกสลาย เหมือนสุมดวยกองไฟรอนในอก สุดแสนจะหวงหาอาลัยในตัวทาน ตอจากนี้ลมหายใจของแมคงไมพบซึ่ง ความสุขในชีวติ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตัง้ สติเปนอุเบกขาธรรมแผเมตตาและ เพงสายตาไปที่โยมแมอยางออนโยนแลวกลาววา “โยมแมอยานอยใจไป เลยเพราะเรื่องทํานองนี้เปนธรรมดาของโลก ดวยเหตุนี้เอง พระพุทธองค ใหถือเอาเปนกัมมัฏฐานเปนอารมณแหงการปฏิบัติธรรม เอาความทุกข ยากลําบากปญหาอุปสรรคเปนปจจัยแกบทเรียนชีวิตใหเห็นแจงสรรพสิ่ง ทั้งหลายเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ความเกิดก็เปนทุกข ความแกก็เปน ทุกข ความเจ็บความตายและความพลัดพรากก็เปนทุกข นีแ่ หละคือสัจธรรม และความเสมอภาคของคนและสัตวไมวา เปนกษัตริย สามัญชน เศรษฐีหรือ ยากจน โงหรือฉลาด สรรพสัตวทั้งหลายยอมมีสภาวะแหงความเสมอภาค เชนกัน สวนใครสั่งสมกุศลและอกุศลที่ไดอบรมมาในอเนกชาติ ครั้งกอน แลวแตวาสนาบารมี กรณีเราแมลกู เกิดมาในชาตินี้ในภาวะอนาถายากจน ไดเสวยทุกขเวทนาถูกโทษกรรมเพียงนี้เปนความทุกขเล็กนอยเบาบางยัง ไมเทากับทุกขเวทนาในนรกและอบายภูมซิ ง่ึ ตองไดรบั ความทุกขทรมานอีก หลายเทานัก


๖๔

การไดรับความทุกข ในชาติ น้ี เ พราะไม ไ ด ใ ห ทาน ถือศีล บําเพ็ญเพียร ภาวนาและไมไดเขามาบวช ในพระพุทธศาสนาเกิดมา ในชาติ น้ี ตั ว เราและบิ ด า มารดาจึงไดรับทุกขเวทนา เปนคนอนาถายากไรการที่ จะให เราลาสิ ก ขาบทเป น ฆราวาสออกไปเลี้ ย งบิ ด า มารดาอย า งคนทั่ ว ไปก็ เหมือนกับวาเรามิไดรกั บิดา มารดาและจักไดชอ่ื วาโปรด บิดามารดาใหไดซึ่งบรมสุข ไม ไ ด เ ลยที่ เราอุ ต ส า ห รั บ ทุกขโทษและมิไดยอ ทอในทางประพฤติปฏิบตั สิ กิ ขาวินยั บําเพ็ญทานถือศีล สรางปญญาบารมี อุเบกขาบารมี ขันติบารมี ยอมอุทิศตนไมคํานึงถึง ความสุขสบายยอมตายในพระพุทธจักรไมไดเคลือบแคลงแหนงหนาย ตอสิง่ ใดการเทิดทูนบูชาคุณพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนที่พึ่ง เพราะความรักมารดาบิดาเพื่อจักเปนการสงเคราะหมารดาบิดา ใหมสี ว นกุศลเสวยบรมสุขในอนาคตตราบถึงยอดอมตะ พระนิพพานธรรม อันเปนที่สิ้นสุดแหงความทุกขพนจากโอฆะวัฏสงสาร การทําอยางนี้จึงได ชื่อวาเปนการแสดงความรักและความกตัญูอยางประเสริฐ ขอมารดาจง ตั้งจิตอธิษฐานอนุโมทนาสาธุการในบุญบารมีท่ีเราไดบําเพ็ญมาดวยเถิด


๖๕

แลวมารดาบิดาจะไดรับอานิสงสแหงการบรรพชาของเราในครั้งนี้ตาม กุศลเจตนา เมือ่ ถึงวันเดินทางไปลําพูนตามคําสัง่ เจาคณะลําพูนซึง่ พระครูบาเจา ศรีวิชัย พรอมดวยพระภิกษุ ๓๐๐ รูป สามเณรอีกรอยกวารูปรวมฆราวาส ชายหญิงจํานวน ๑,๐๐๐ คน โดยพระครูบาเจาศรีวิชัยนั่งบนเสลี่ยงศรัทธา สาธุชนพากันหามพรอมดวยขบวน ฆอง กลอง แหนําหนาและตามหลัง บางหามเครือ่ งไทยทานประดับดวยดอกไมอนั สวยงามมีทงั้ สาด หมอน มีด พรา ภาชนะเครื่องใชไมสอย ฝายสงฆและสามเณรนุงผายอมดวยนํ้าฝาด เปนปริมณฑล ลูกประคําคลองคอถือพัดใบลานและไมเทาเดินไปดวย อาการสํารวม (ลักษณะการเชนนีเ้ ปนธรรมเนียมของนิกายเขินและเชียงใหม ซึง่ นอกจากจะมีเครือ่ งอัฏฐบริขารแลว มีหมวกยัดสําลีทรงกลมปลายแหลม มีลูกประคําพัดใบลานและไมเทา เปนธรรมเนียมการบวชพระในดินแดน ลานนา) เมื่อขบวนพระครูบาเจาศรีวิชัยผานหมูบานศรัทธาสาธุชนแตละ หมูบ า นตกแตงเครือ่ งไทยทานนอมถวายสักการบูชาตลอดทางใชเวลาเดิน ทาง ๔ วัน เมื่อมาถึงเมืองลําพูนศรัทธาชาวบานตางพากันชื่นชมบุญบารมี ของพระครูบาเจาฯ จัดเครื่องดนตรีแหรวมขบวนจนกระทั่งถึงหนาวัด พระธาตุหริภญ ุ ชัย พระครูบาเจาฯ ใหหยุดพักและตกแตงเครือ่ งสักการบูชา เครือ่ งไทยทานนอมถวายบูชาองคพระบรมธาตุเจาแหงเมืองลําพูน พอขบวน ไปถึงประตูโขงชัน้ นอกตํารวจทําการตรวจคนอาวุธมีดสัน้ มีดยาว ทีช่ าวบาน นํามาเพือ่ ทําครัวและใชสอยระหวางทางก็ถกู เก็บไปหมดแมแตมดี โกนผมของ พระเณรก็รบิ ไปหมดเพราะเกรงจะกอความวุน วายแยงชิงตัวพระครูบาเจาฯ สวนพระครูบาเจาศรีวิชัยเตรียมพรอมเผชิญตอเหตุการณในครั้งนั้น อันหมายถึงการที่ตองเผชิญหนาตอสัจธรรมครั้งสําคัญ โดยถือคติวา “ถา


๖๖

มารบมี บารมีกบ็ แ กกลา” (อุปสรรคไมมี พลังสูค วามสําเร็จก็จะไมเกิด) จึงตั้งจิตอยูในอุเบกขาธรรมและเมตตาธรรมเปนกัลยาณมิตรตอผูคน และสัตวในวัฏสงสารวาเปนเพือ่ นเกิดแกเจ็บตาย ทุกชีวติ ในโลกนีเ้ หมือน เปนพี่นองกัน ตองใหความเคารพยําเกรงดวยไมตรีจิต เอื้ออาทรตอ ผูตกทุกขไดยาก โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่อยูในหวงวังวนสังสารวัฏแลวตั้งจิต อธิษฐานระลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัยเปนที่เคารพเทิดทูนบูชา เจาหนาที่ ตํารวจจึงอนุญาตใหเขาไปได พระครูบาเจาฯ ใหสานุศษิ ยนาํ เครือ่ งสักการะ และไทยทานทั้งหมดนอมถวายบูชาพระบรมธาตุเจาหริภุญชัย จากนั้น มีคําสั่งจากปลัดมณฑลประจําเมืองลําพูนเปนประธานในเหตุการณครั้งนี้ ออกคําสั่งใหเจาหนาที่ตํารวจปดประตูขังพระครูบาเจาศรีวิชัยและภิกษุ สามเณรไวในบริเวณวัดชัน้ ในและใหเจาหนาที่รักษาเวรยามทั้ง ๔ ดาน มี การตรวจรักษาการทัง้ กลางวันและกลางคืน รุง เชาศรัทธาสาธุชนนําอาหาร คาวหวานมาถวายแตตํารวจไมยอมใหใครเขา–ออก ทําใหพระภิกษุ สามเณรมีความอิดโรยและหิวประกอบกันเปนที่นาสงสารและเปนที่สังเวช แกศรัทธาสาธุชนผูเคารพเลื่อมใสอยางยิ่ง ขณะนั้นมีชายผูหนึ่งชื่อ “สางสา” เชื้อสายไทใหญมีอาชีพคาขาย ทนดูเหตุการณอันปาเถื่อนที่กระทําตอผูทรงศีลทรงธรรมซึ่งเปนหนึ่งใน สถาบันของชาติไมไดจึงเกิดศรัทธาแรงกลานําชาวบานบุกเขาไปอยาง อาจหาญไมกลัวตอคมดาบและอาวุธปน เมื่อเห็น “สางสา” เดินเขาไปได ศรัทธาสาธุชนทั้งหลายก็ตามเขาไป ตํารวจไมอาจกั้นได ทั้งนี้เจาหนาที่ ตํารวจยังมีมโนธรรมจึงทําใหทั้งสองฝายไมเกิดเรื่องรุนแรง เปนอานุภาพ การสั่งสมอบรมบุญบารมีอยางเสมอตนเสมอปลายของพระครูบาเจาฯ มุง หวังจรรโลงพระธรรมวินยั แตไมยอมกมหัวใหกบั อํานาจ ลาภ เกียรติยศ


๖๗

ชื่อเสียง ยิ่งไมสําคัญตัวคิดรายตอใครและไมคิดวาใครเปนศัตรูคูปรปกษ เห็นทุกคน ทุกรูป ทุกนาม เปนเพือ่ นเกิดแกเจ็บตาย ดวงจิตแผเมตตาไปยัง สรรพสัตวทงั้ หลายทุกภพทุกภูมติ ลอดทัว่ สากลจักรวาลใหอนุโมทนาในบุญ ที่ทานบําเพ็ญเพียรโดยตลอด ทําใหการถูกกลาวหา กลั่นแกลง กลับ เปนการเพิ่มศรัทธามหาชนมากยิ่งขึ้นเปรียบประหนึ่งพระครูบาเจาฯ เปน หวงนทีที่กวางใหญและอุดมสมบูรณ ศรัทธามหาชนเดินทางมาจากทุกทั่ว สารทิศทั้งจากใกลไกลตางก็อยากมาเห็นรวมบุญบารมีกับพระครูบาเจาฯ ใหเปนมงคลชีวติ สังเกตไดจากบุคคลทีร่ ว มเหตุการณในสมัยพระครูบาเจาฯ กลาวถึงและสรรเสริญอยางภาคภูมใิ จประดุจพบผูว เิ ศษ บางทีสงั เกตผูเ ปน ลูกหลานของผูมารวมอนุโมทนาในบุญกุศลกับพระครูบาเจาฯ แสดงออก ถึงความเปนสวนหนึง่ ของทายาททีไ่ ดรว มสัมพันธในบารมีธรรมเหมือนอยู ในเหตุการณนั้นเชนกัน เมื่ออานประวัติของพระครูบาเจาฯ มาถึงตรงนี้ขอใหสาธุชนยอมรับ สัจธรรมอันเปนธรรมดาของโลกไมปลอยจิตคิดเปนอกุศลตอฝายตรงขาม ที่ปฏิบัติตอพระครูบาเจาฯ ความพยายามมุงมั่นของบุคคลแตละคนกวา บรรลุเปาหมายสูงสุดตองเพียรพยายามฟนฝาอุปสรรคครั้งแลวครั้งเลาซึ่ง เปนเครื่องพิสูจนความตั้งใจจริง ทําจริง บริสุทธิ์จริง มีความเพียรพยายาม อันแรงกลามุงการกระทําในสิ่งที่เปนปณิธานแมเจออุปสรรคกีดขวาง ถืออุปสรรคหรือบุคคลที่เปนคูปรปกษเปนอาจารยใหญที่ใหบททดสอบ ใหเรียนรูส งิ่ ทีว่ เิ ศษทีส่ ดุ ตองมีจติ ใจเขมแข็งควบคุมสติใหนงิ่ ในทุกเหตุการณ นัน่ คือ อานิสงสบทพิสจู นของชีวติ หรือถาเปรียบคําโบราณทานวา “แพเปนพระ ชนะเปนมาร”


๖๘

ในกรณีของพระครูบาเจาศรีวิชัยเปนพระอริยะเจาผูถือกําเนิดเพื่อ สรางบารมีเปนพระพุทธเจาองคหนึง่ หมายถึงการเปนพระโพธิสตั วจะสราง บารมีขึ้นมาองคเดียวไดอยางไร เพราะฉะนั้นตองมีการทดสอบจิตใจอยู ตลอดเวลา และนักบุญผูมีสมญานามวาพระครูบาเจาศรีวิชัยมีความ หนักแนนมัน่ คงไมหวัน่ ไหวตอพายุลมฝนความรอนความหนาวใครจะทําดี ยกยองอยางไรจิตใจของพระครูบาเจาฯ ตั้งมั่นอยูในอุเบกขาธรรมแมผจญ กับเหตุรา ยอันเปนคําสัง่ จากเบือ้ งบนไมถอื เปนอุปสรรคขัดขวางวิถที างแหง นักบุญแตทาํ ใหพระครูบาเจาศรีวชิ ยั แข็งแกรงขึน้ ยิง่ ถูกตัง้ ขอหากลัน่ แกลง กักกัน บุญสมภารบารมีย่ิงแกกลาแผไปโดยไมมีประมาณ บาทวิถีของ นักบุญทีป่ ระทับรอยบริสทุ ธิ์ ประเสริฐสุด ผูเ ปนรมโพธิร์ ม ไทรไดประทับใน หัวใจของสาธุชนทั้งหลายจนถึงทุกวันนี้ตองขอขอบคุณฝายตรงขามและ แผเมตตาใหพบวิถที างอันประเสริฐใหมเี มตตา ไมตรี สันติภาพ อยูใ นหัวใจ มองเห็นเพือ่ นรวมโลกดวยจิตเมตตาและเกือ้ กูลกันโดยยึดหลักอหิงสาธรรม (ความไมเบียดเบียน) คือเครื่องคํ้าจุนโลก อยูรวมกันดวยความสงบสุข พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ไดรับการยกยองวาเปนนักบุญแหง ลานนาไทยตองเดินทางไปตามวิถีแหงนักบุญแมตองเดินไปสูที่คุมขัง ใหไดรับความไมสะดวกโดยประการใดก็ตามทานไมวิตกทุกขรอนและ จะไมวิงวอนขอความเห็นอกเห็นใจ เพราะหัวใจบรรจุไวเต็มเปยมดวย คุณพระศรีรตั นตรัยเปนประกายอันโชติชว งชัชวาลอลังการดุจพระจันทรใน วันเพ็ญแผรังสีโอฬารเหนือทองฟานภาลัยอันไพศาล


๖๙

งานสรงนํ้าพระธาตุหริภุญชัย และเหตุการณของนักบุญ ณ วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย โบราณสถานเกาแกกวา ๑,๔๐๐ ปของเมือง ลําพูนเปนดินแดนพุทธศาสนาที่เจริญรุงเรืองมาแตอดีตมีประเพณีสรงนํ้า พระธาตุในวันเพ็ญ เดือน ๘ เหนือ (ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ ใต) ชาวลานนา ตั้งแตระดับกษัตริย สมณะ พราหมณ ฤาษี และชาวบานถือเปนประเพณี สรงนํา้ พระธาตุเปนประจํา มีการแหนา้ํ สรงพระธาตุจากบอนํา้ ทิพยศกั ดิส์ ทิ ธิ์ บนดอยขมอยอดดอยที่สูงที่สุดในจังหวัดลําพูน โดยแหเปนขบวนรอบ เมืองหริภุญชัย (ลําพูน) มีการแหเครื่องไทยทานไทยธรรมของชาวบาน ผูคนแตงเสื้อผาดวยชุดสวยงาม ผูหญิงประแปง เกลาผม ทัดดอกไม ชางฟอนเล็บสวมเล็บมือที่ทําดวยทองเหลืองอันงอโคง ฟอนรํานําเครื่อง ไทยทานดวยทาทางทีอ่ อ นชอยดวยความปตปิ ราโมทยเปนจังหวะเยือ้ งยาง ที่งดงามเหมือนนกยูงรําแพน พรอมเอี้ยวกายซายขวาและมืออันออนชอย รายรําตามจังหวะฆองกลองดุจขบวนเทพยดาจากสรวงสวรรค ขบวนฟอนรํา มากมายหลายหมูคณะจากหัววัดมุงหนาสูขวงแกวอารามอันเปนที่รองรับ ประดิษฐานองคพระบรมธาตุเจาหริภุญชัยที่เกาแกและศักดิ์สิทธิ์ ถือเปน องคแทนพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ทั้งพระสงฆและฆราวาสมี กรวยใบตอง ใสขาวตอกดอกไม ธูปเทียน พนมมือไหวเวียนทักษิณาวัตร (เดินเวียนขวา) เปนการแสดงความเคารพบูชาอันสูงสุดทีร่ บั วัฒนธรรมมา จากประเทศอินเดีย ๓ รอบ รอบบริเวณวัดมีรา นขายอาหารคาวหวานเครือ่ งดืม่ มากมายมีการละเลนการแสดงเปนที่บันเทิง หลังจากการทํางานหนักมา


๗๐

ตลอดเมื่อไดทําบุญแลวเปนการพักผอนหยอนใจการจัดงานนิยมจัด ๓ วัน ๗ วัน โดยเฉพาะในดินแดนลานนาโดยทั่วไปจะมีพระธาตุเจดียตามวัดวา อารามและบนภูเขาสูงโดดเดนเชนพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ พระบรมธาตุ เจาดอยตุงถือเปนสัญลักษณแทนองคพระพุทธเจาและมีประเพณีสรงนํ้า พระธาตุเปนประจําทุกป ศรัทธาสาธุชน พระภิกษุสามเณรตลอดจนถึง เจาเมืองและชาวบานมารวมงานประเพณีนี้ดวยในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คํ่า ของ เดือนซึ่งเปนวัฒนธรรมที่รับมาจากอินเดียโดยเฉพาะยุคพระเจาอโศก มหาราช (หลังพุทธปรินิพพาน ๒๐๐ กวาป) ถือเปนคานิยมในการสราง พระธาตุเจดียสําหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ กลาวกันวาสรางไวถึง ๘๔,๐๐๐ องค ทัว่ ดินแดนชมพูทวีป มีการฉลองสมโภชใหญถงึ ๗ ป ๗ เดือน ๗ วั น วั ฒ นธรรมนี้ ไ ด ต กทอดมาถึ ง ดิ น แดนล า นนาจึ ง นิ ย มสร า ง องคพระธาตุเจดียไ วในทีช่ มุ ชนถือเปนหัวใจของชุมชนโดยเฉพาะวัดพระธาตุ หริภุญชัย ถือวาเปนศูนยรวมจิตใจของประชาชนทุกยุคทุกสมัย แมวา พระธาตุหริภญ ุ ชัยเปนสถานอันศักดิส์ ทิ ธิเ์ ปนสถานทีป่ ระกอบ ศาสนพิธีทุกยุคทุกสมัยถึงพุทธศักราช ๒๔๖๓ ขวงแกวอารามอันศักดิ์สิทธิ์ แหงนี้เปนสถานที่กักบริเวณพระครูบาเจาศรีวิชัยเปนครั้งที่ ๒ ขณะที่อายุ ๔๓ ป มีเจาหนาทีต่ าํ รวจคอยควบคุมประตูทง้ั ๔ ทิศกักกันอยางนักโทษอยู ๑ คืน ผูคนตางพากันมาจากทั่วทุกสารทิศเพื่อคุมกันกลัวพระครูบาเจาฯ จะถูกทํารายหรือไดรับความลําบากจึงชุมนุมกันทั้งกลางวันกลางคืนบางก็ หาบเครือ่ งไทยทานมาทําบุญเปนจํานวนมากเกินกําลังเจาหนาทีใ่ นจังหวัด ลําพูนควบคุมสถานการณได จึงประชุมปรึกษาในการควบคุมตัวพระครูบาเจาฯ ไปยังจังหวัดเชียงใหมใหควบคุมสถานการณแทน อุปราชเทศามณฑลพายัพ ไดรบั ทราบเหตุการณไดตงั้ คณะกรรมการขึน้ เพือ่ คลีค่ ลาย สถานการณ และ วาจางรถมอเตอรของเถาแกโหงวจากเมืองเชียงใหมควบคุมตัวไปใหพระครู


๗๑

ประชาชนรวมสรงนํ้าพระบรมธาตุหริภุญชัย ในวันเพ็ญเดือนแปดเปง (วันขึ้น ๑๕ คํา่ เดือน ๖ ใต) โดยเอาผักสมปอยซึง่ ชาวลานนาไทยนิยมวาเปนของวิเศษ แชนํ้าเพื่อทําพิธีสรงนํ้าองคพระธาตุและขอขมาใหเปนอโหสิกรรมชําระจิตใจ ใหบริสุทธิ์เพื่อการรองรับคุณวิเศษอื่นอีกเอนกประการ


๗๒

โพธิรงั สี เจาคณะเมืองวัดเชตุวนั เปนผูช ว ยจัดการพิจารณาคดีเจาคณะเมือง มอบหมายใหพระครูสคุ นั ธศีล เจาคณะรองเปนผูค วบคุมตัวพระครูบาเจาฯ ออกจากเมืองลําพูน ทางเจาหนาที่ตกลงอนุญาตใหฝายศิษยติดตาม พระครูบาเจาฯ ได ๔ รูป เพื่อดูแลแทนศิษยทั้งหลาย แตเมื่อมาถึงเมือง เชียงใหมกนั เอาพระลูกศิษย ๔ รูปออก ควบคุมเอาพระครูบาเจาฯ ไปเพียง รูปเดียว และมีเจาหนาที่รักษาการณทั้งกลางวัน กลางคืน เมือ่ นําพระครูบาเจาฯ พนจากเมืองลําพูนแลว พระภิกษุสามเณรเกิด ระสํา่ ระสายบางหาทางหลีกหนีออกจากการถูกกักกันทีไ่ มสามารถหนีไดก็ ถูกเจาหนาที่ควบคุมเพื่อดําเนินการ ทางจังหวัดลําพูนโดยเจาคณะจังหวัด เปนประธานแตงตั้งคณะกรรมการพรอมดวยปลัดซายขวาและเจาคณะ พระครูทั้งหลายในเมืองลําพูน ทางฝายคฤหัสถมีขาหลวงประจําเมืองเปน ประธานพรอมทัง้ ขาราชการนายอําเภอมาพรอมกันทีว่ ดั พระธาตุหริภญ ุ ชัย และเรียกบรรดาพระภิกษุสามเณรของพระครูบาเจาฯ มาพรอมกันแลวกลาว โทษทีไ่ มยอมประพฤติตามระเบียบพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆใหเปนไปตาม กฎแหงราชการเปนการขัดตอคําสัง่ ของเจาคณะจังหวัด เจาคณะแขวงไมควร ประพฤติตามพระศรีวชิ ยั เพราะไมรกู าลสมัยถือตามใจตนเองซึง่ ไรกฎเกณฑ ทานทัง้ หลายก็มคี วามผิดไปดวยหากพระภิกษุสามเณรรูปใดมีความสํานึก ตอความผิดก็ใหออ นนอมยอมปฏิบตั ติ ามขอบังคับของพระราชบัญญัตแิ ละ เข า มอบตั ว กั บ เจ า คณะจั ง หวั ด ให ล งลายมื อ ชื่ อ เป น หลั ก ฐานเป น การ ภาคทัณฑหากพระภิกษุสามเณรรูปใดฝาฝนยึดถือตามพระศรีวชิ ยั จะจับสึก ใหลาสิกขา พระเณรที่ถูกกักขังจํานวน ๔๐ รูป จาก ๖๐ รูป หวาดกลัวตอ ราชภัย มนุษยภยั อํานาจอาชญาจึงยอมลงลายมือชือ่ รับปฏิบตั ติ ามระเบียบ การของคณะสงฆ ที่เหลือ ๒๐ รูป ขอยอมตายดวยอํานาจอาชญาไมยอม ลงลายมือชื่อขอติดตามไปดูพระครูบาเจาฯ ผูเปนอาจารยที่เชียงใหม


๗๓

ถายที่วัดศรีดอนไชย จ.เชียงใหม คราวถูกกักขังบริเวณเมื่อถูกกลาวหาครั้งที่ ๓ อายุ ๔๓ ป

วัดศรีดอนไชย สถานที่กักขังบริเวณ ๓ เดือน ๘ วัน


๗๔

เมือ่ นําตัวพระครูบาเจาฯ มาถึงเชียงใหมถกู กักบริเวณเยีย่ งนักโทษที่ วัดศรีดอนไชยตรงศาลาบาตรทีเ่ กาแกหลังคารัว่ อาสนะอํานวยความสะดวก ไมมีและมีคนโทปากบิ่นใสนํ้าตั้งไวให เมื่อยามแดดสองเขาไปภายใน ซึ่ง เปนชองรั่วของหลังคา พระครูบาเจาฯ นั่งสมาธิมิไดเคลื่อนยาย รับการ ลงโทษโดยดุษณี มีขนุ ประสานและนายนอมเปนผูค วบคุมดูแลพระครูบาเจา ศรีวิชัย จนกระทั่งนายหางหลวงอนุสารทราบขาวการถูกกักขังของพระครู บาเจาศรีวิชัยและไมไดรับความเปนธรรมจึงมากราบนมัสการ หามานมา กั้นหลังคาใหรมเงาและจัดหาอาสนะที่ควรแกสมณะบริโภคพรอมกับ พญาคํานอมนําสิ่งของเครื่องใชมาถวาย นับตั้งแตน้ันมาศรัทธามหาชน รูขาวตางนอมนําซึ่งวัตถุปจจัยไทยทานมาทําบุญเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ไมเวนแตละวัน ทั้งชาวพื้นเมือง ชาวเขา เชน กะเหรี่ยง ขมุ มูเซอ มีจิตใจ เสื่อมใสศรัทธามากราบไหวบูชาทําบุญและชมบุญญาธิการพระครูบาเจา ศรีวชิ ยั จึงเปนทีช่ มุ นุมมหาชนทุกเชือ้ ชาติ ตางภาษา เปนเหตุใหเจาอธิการ วัดศรีดอนไชยเกิดความรูสึกหนักใจเกรงจะเกิดการแยงตัวพระครูบาเจา จึงจัดใหสามเณร ๑ รูป กับเสมียนอําเภอ ๑ คน กันผูค นไมใหเขาหาพระครู บาเจาฯ ถาขัดขืนใหแจงแกเจาเมืองและสมุหเทศบาลเพือ่ ลงโทษ แตเสมียน อําเภอกับสามเณรเพียง ๒ คน ไมสามารถตานพลังศรัทธาของมหาชนได เพราะผูคนหลั่งไหลมากันเต็มลานวัด พระครูเจาคณะเมืองกับสมุหเทศ มณฑลพายั พ ปรึ ก ษาหารื อ กั น ว า หากเหตุ ก ารณ เ ป น เช น นี้ เ กรงเกิ ด ความวุน วายจึงปรึกษากันจะสงตัวไปกรุงเทพมหานครพรอมทัง้ ขอกลาวหา เพื่อใหองคสมเด็จพระสังฆราชทรงพิจารณาชําระคดีความทั้งฝายศาสนา และราชการ รวมถูกกักขังบริเวณที่วัดศรีดอนไชย ๓ เดือน ๘ วัน


๗๕

พระครูบาเจาจึงถูกสงตัวไปพิจารณาคดีที่กรุงเทพมหานคร พรอมขอกลาวหา ๘ ขอ อธิกรณขอกลาวหา คือ ๑. พระศรีวชิ ยั ตัง้ ตัวเปนอุปช ฌายเถือ่ นทําการบวชพระภิกษุสามเณร โดยไมขออนุญาตตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ร.ศ.๑๒๑ ๒. พระศรี วิ ชั ย ไม ย อมอยู  ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชาของเจ า คณะแขวงลี้ เจาหนาทีฝ่ า ยหัวเมืองลีร้ ว มกับเจาคณะแขวงเรียกประชุมเจาอธิการวัดตางๆ เพื่อชี้แจงเรื่องพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ร.ศ.๑๒๑ ปรากฏวา เจาอธิการทุกวัดไปหมด ยกเวนแตพระศรีวชิ ยั วัดบานปางไมไปรวมประชุม ๓. เมื่อครั้งพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ ๖ เจาคณะแขวงลี้ไดประกาศใหทุกวัดตามประทีปโคมไฟ ทําซุมประตู ตีฆอง กลอง เปนการฉลองสมโภชวัดบานปางของพระศรีวิชัย ไมปฏิบัติตาม ๔. เจาคณะแขวงลี้คือพระมหารัตนากร ไมสามารถปกครองวัดใน เขตอําเภอลี้ ไดเพราะพระศรีวชิ ยั ตัง้ ตัวเปนผูว เิ ศษชักชวนวัดตางๆ ใหขดั ขืน ตอพระราชบัญญัติ ร.ศ.๑๒๑ ถึงแมวาขอรองตอพระศรีวิชัยแลว แต พระศรีวิชัยไมยอมเชื่อ ๕. เมื่อเจาหนาที่ฝายบานเมืองใหเจาคณะแขวงลี้สํารวจจํานวน พระภิกษุสามเณรในวัดเขตอําเภอลี้ทุกวัด แตวัดบานปางของพระศรีวิชัย ไมยอมปฏิบัติตาม ๖. เจาคณะแขวงลีน้ ดั ประชุมเจาอธิการวัดในเขตอําเภอลีเ้ จาอธิการ หลายวัดไมยอมมาประชุมโดยอางเอาอยางพระศรีวิชัย ๗. พระศรีวชิ ยั ตัง้ ตัวเปนผูว เิ ศษ เปนเทวดามาเกิด มีดาบฝกทองคํา (ดาบสะหรีกัญชัย) ตกลงมาจากฟาสูแทนบูชา ๘. เดินทามกลางฝนแตไมเปยก เดินสูงกวาพืน้ ดิน ๑ ศอก และเดิน บนผิวนํ้าไดอันเปนเหตุใหคนลุมหลงเปนจํานวนมาก


๗๖

ความเศราสลดของศรัทธามหาชน ขออธิกรณที่พระครูบาเจาศรีวิชัยถูกกลาวหาถาพิจารณาแลว พบวา เปนขออธิกรณเกา ที่พระครูบาเจาฯ เคยถูกสอบสวนจากเจาเมืองลําพูน และรับพิจารณาโทษวากลาวตักเตือนตลอดจนถูกกักตัวที่เมืองลําพูน ๑ ป จึงนับวาพนผิด ดังนั้นการตั้งขออธิกรณที่สงตัวพระครูบาเจาฯ มาไตสวน ความผิดจากสมเด็จพระสังฆราชเจาจึงเปนเรื่องเกามาตั้งขอหาใหม


๗๗

เมื่อถึงกําหนดสงตัวพระครูบาเจาฯ ไปกรุงเทพฯ ญาติโยมและผูท่ี เคารพเลือ่ มใสนําขาวตอก ดอกไม พรอมเครือ่ งไทยทานมาถวายเปนเครือ่ ง สักการบูชา ตองมอบไวใหกบั ทางวัดแจกจายพระเณร เพราะเจาหนาทีห่ า ม นําไปโดยเด็ดขาดนําไปเฉพาะสิ่งที่จําเปน ในการนี้คุณหลวงอนุสารสุนทร ไดถวายเงินจํานวน ๑ ชัง่ สําหรับพระครูบาเจาฯ ไวใชจา ยในกรุงเทพฯ เมือ่ ถึงเวลาผูคุมนิมนตพระครูบาเจาฯ ขึ้นนั่งเสลี่ยงโดยมีญาติโยมที่เคารพ ชวยกันหามมีตํารวจนําหนาเสลี่ยง ๒ นาย ระหวาง ๒ ขางทางเนืองแนน ไปดวยประชาชนที่มาสง พระอาทิตยที่ฉายแสงสวางก็มืดครึ้มประหนึ่งกั้น กลางเหตุการณรอนแรงใหพระครูบาเจาศรีวิชัย ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๖๓ ผูเคารพเลื่อมใสโปรยขาวตอกดอกไมธูปเทียนระหวางทางที่นักบุญ ผานพรอมกับยกมือไหวนมัสการสักการะ แลวรําพึงวา “สาธุ ขอคุณ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ จงโปรดคุมครองรักษาอภิบาลพระครูบาเจา ศรีวชิ ยั ดวยเถิด” บางคนสุดกลัน้ นํา้ ตาไวไดจงึ รํา่ ไหสงสารผูบ ริสทุ ธิ์ พระผูเ ปน นักบุญตองอยูในสภาพนักโทษมีความผิดอันฉกาจ ถูกอํานาจอาชญา บานเมืองควบคุมตัวนับเปนประวัติศาสตรสําคัญของคณะสงฆไทย ยัง คงความสลดสังเวชแกศรัทธาสาธุชนมณฑลพายัพอยางใหญหลวงและเปน ภาพนาหดหูเปนอยางยิ่งที่พระผูปฏิบัติชอบพระธรรมวินัยที่พระพุทธองค ทรงประทานใหเมื่อกวา ๒,๐๐๐ ป เพียงทานไมยอมรับระเบียบพระราช บัญญัตคิ ณะสงฆซง่ึ บัญญัตขิ น้ึ มาใหมเพราะถือมัน่ ในพระธรรมวินยั บริสทุ ธิ์ บริบูรณอยูแลว จึงพรอมที่พลีชีพซึ่งพระธรรมวินัยไมยอมคลอยตามกับ สิ่งใหม มีดวงจิตมั่นอยูในอุเบกขาธรรมไมหวั่นไหวตอเหตุการณใด ๆ


๗๘

วัดเบญจมบพิตร สถานที่พํานัก เพื่อไปรับการพิจารณาคดี

สถานีรถไฟวังตองที่พระครูบาเจาฯ ขึ้นไปรับ การพิจารณาคดีที่กรุงเทพฯ


๗๙

คณะผูควบคุมไดควบคุมพระครูบาเจาฯ ไปตามถนนวิชยานนทถึง รานวิศาลบรรณาคารขึ้นสะพานขามแมนํ้าปง (ในสมัยนั้นใชสะพานไม สะพานนวรัฐยังไมไดสราง) พอลงจากสะพาน เลี้ยวขวาตรงไปถนนเจริญ ราษฎรถึงโบสถคริสเตียน นําขึ้นรถเถาแกโหงวซึ่งนํารถมาอํานวยความ สะดวกใหแกพระครูบาเจาศรีวิชัยดวยจิตศรัทธาและรับอาสานําพระครู บาเจาฯ กลับไปลําพูนอีกครั้ง ทามกลางผูคนจํานวนหลายพันที่แออัด ยัดเยียด บรรดาสานุศษิ ย ภิกษุสามเณร และฆราวาสจํานวนมาก ตางลอม หนาลอมหลังดวยความดีอกดีใจทีเ่ ห็นพระครูบาเจาฯ อีกครัง้ หนึง่ พระภิกษุ สามเณรทีห่ ลบหนีจากวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัยเมือ่ สามเดือนกอนตางมาถวาย สักการะการตอนรับอยางอบอุน และความเชือ่ มัน่ วาธรรมะยอมชนะอธรรม พระครูบาเจาฯ ตองกลับมาลําพูนอยางผูบริสุทธิ์ คืนนั้นพระครูบาเจาฯ พักคางอยูท ล่ี าํ พูน รุง เชาจึงถูกควบคุมตัวขึน้ รถไฟทีส่ ถานีรถไฟวังตอง เปน ครัง้ แรกทีพ่ ระครูบาเจาเดินทางเขากรุงเทพมหานคร (สมัยนัน้ การเดินทาง จากลําพูนไปกรุงเทพฯ ตองพักเมืองพิษณุโลกใชเวลา ๓ วัน จึงถึงกรุงเทพฯ) วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔๖๓ สมเด็จพระมหาสมณะเจากรมพระยา วชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจามิไดประทับในกรุงเทพฯ เสด็จไป ในงานพิธีทางศาสนาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตทรงทราบและรับสั่ง ใหรถมารับพระครูบาเจาศรีวิชัยที่สถานีรถไฟหัวลําโพงนําไปพักที่วัด เบญจมบพิตรเพื่อรอแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอกลาวหาตอไป


๘๐


๘๑

เขาเฝาสมเด็จพระสังฆราชเจา เมื่อพระครูบาเจาศรีวิชัยพํานักที่วัดเบญจมบพิตรทราบขาวสมเด็จ พระสังฆราชเจาเสด็จกลับจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดจัดพานดอกไม ธูปเทียนขึ้นไปเขาเฝาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจา ณ วัดบวรนิเวศนวหิ าร เมือ่ กราบนมัสการนอมถวาย เครื่องสักการะแลว สมเด็จพระสังฆราชเจาทรงรับสั่งถามเหตุการณ เชน ตรัสวา “จริงหรือพระศรีวิชัย เขาลือวาเธอเดินสูงกวาพื้น ๓ ศอก?” พระครูบาเจาตอบวา “กระหมอมขอรับวาจริง เพราะลูกศิษยเขาใช เสลี่ยงหามไมวาจะไปไหนเขาไมใหเดิน” สมเด็จพระสังฆราชทรงพอพระทัยเล็กนอย แลวมีรบั สัง่ ตรัสถามอีก วา “และที่เขาลือกันวาเธอเดินทามกลางฝน แตไมเปยกฝนจริงหรือ?” พระครูบาเจาฯ ตอบคําถามดวยกิริยาที่ออนโยนวา “ถูกตอง เพราะ เวลาฝนตกมีคนเอาจอง(รม) มากางกั้นฝนให” ทรงตรัสถามอีกวา “พระศรีวิชัยเธอไดศึกษาเรียนรูเรื่องพระพุทธ ศาสนามาอยางไร?” พระครูบาเจาตอบดวยเสียงทีอ่ อ นโยนแตแฝงดวยความรูส กึ อันลึกซึง้ เชิงปริศนาวา “อิติปโสยังศึกษาเรียนรูมาไมจบเลย” ทรงรับสัง่ อีกวา “อาว ! อิตปิ โ สยังเรียนไมจบหรือ แลวมาบวชนีถ้ อื ศีล อะไร?” พระครูบาเจาทูลตอบคําถามทันทีวา “ถือศีล ๔ !”


๘๒

สมเด็จพระสังฆราชทรงทําทาเอะใจ “อะไรกันมีหรือพระภิกษุถือศีล ๔” พระครูบาแสดงอาการถอมตนแลวยิ้มนอยๆ ทูลตอบวา “ก็ปาริสุทธิ ศีล ๔” (๑.ปาฏิโมกขสงั วรสํารวมในพระปาฏิโมกข ๒.อินทรียส งั วร สํารวม อินทรีย ๖ ( ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ๓. อาชีวปาริสุทธิ เลี้ยงชีวิตโดยชอบ ๔. ปจจยปจเวกขณะ พิจารณากอนจึงบริโภคปจจัยสี่) การตอบเชนนี้เปนเชิงปรมัตถ เปนคําตอบเชิงปริศนาแสดงใหเห็น ถึงภูมปิ ญ  ญาความรูส กึ อันลึกซึง้ ถึงหัวใจของพระรัตนตรัยคือความสงบเย็น ถึงขั้นวิมุติวิโมกข พอไดฟงคําตอบอยางไมคาดฝนที่พระบานนอกตอบ ปญหาเปนปฏิภาณหลักแหลมเชนนี้ สมเด็จพระสังฆราชเจาซึง่ โดยปกติทรง ยิ้มยากถึงกับนั่งอมยิ้ม แลวทรงมีรับสั่งถามดวยความเอ็นดูอนุเคราะหอีก วา “แลวเธอจะทําอยางไรกับเหตุการณที่เขาตั้งขอกลาวหามานี้?” พระครู บ าเจ า ก็ ต อบไปตามประสาซื่ อ แต ร วบรั ด จํ า กั ด ความว า “เดินหนาอยางเดียว” การตอบเชนนีแ้ ฝงดวยความหมาย จุดยืนทีไ่ ดมงุ มัน่ ในพระธรรมวินยั ทีป่ ฏิบตั มิ าดวยความบริสทุ ธิส์ ะอาด จนเกิดความสวางไสว ขึ้ น ในจิ ต ใจ มิ ใ ห ส งสั ย เคลื อ บแคลงจึ ง ได มุ  ง หน า ปฏิ บั ติ ดี ป ฏิ บั ติ ช อบ ไมสะทกสะทานหวั่นไหวตออะไรทั้งสิ้น เมื่อทรงตรัสคุยใหความอบอุนคุนเคยดวยพระกรุณา ก็ทรงมีรับสั่ง อีกวา “เรื่องทั้งหมดนี้ทานอยาไดวิตกกังวลเลยการณเพียงเทานี้ไมเปนไร หรอก ฉันจะดูแลใหเอง” สมเด็จพระสังฆราชเจาทรงมีประกาศแตงตัง้ คณะสงฆผทู รงสมณศักดิ์ เปนกรรมการไตสวนรวม ๓ รูป คือ ๑. พระวรวงศเธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน เจาคณะใหญหนกลาง (ภายหลังไดเลื่อนเปนกรมหลวง) เปนประธานกรรมการ


๘๓

๒. พระญาณวราภรณ ๓. พระธรรมไตรโลกาจารย ทําการไตสวนอธิกรณ ขอกลาวหาทั้ง ๘ ขอที่เจาคณะมณฑลพายัพ และคณะเจาเมืองเชียงใหม เมืองลําพูนสงมากับหลวงประสานคดีชน คณะกรรมการไดดําเนินการไตสวนคดีของพระครูบาเจาศรีวิชัย วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน อันเปนบานปาชนบทที่หางไกล ความเจริญ เปนเรื่องเกรียวกราวไปทั่วกรุงเทพฯ ไมนอยทีเดียว เพราะ กระทั่ ง หนั ง สื อ พิ ม พ ร ายวั น ที่ ข ายดี ท่ี สุ ด ในสมั ย นั้ น คื อ หนั ง สื อ พิ ม พ บางกอกไทม เปนหนังสือพิมพทม่ี อี ทิ ธิพลทีส่ ดุ มีทง้ั ฉบับภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย สั่งผูส่ือขาวออกหาขาวนี้แลวรายงานเกี่ยวกับพระครูบาเจา ศรีวิชัยในหนังสือพิมพฉบับวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๓ ดังนี้


๘๔

ขาวจังหวัดเชียงใหมของหนังสือพิมพบางกอกไทม เดิมพระรูปหนึง่ ชือ่ พระศรีวชิ ยั อายุ ๔๒ ป เปนเจาอธิการวัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน เครงในวิปสสนา ฉันผลไมพืชผักวันละหน ของคาว ถือวาเปนของที่มีวิญญาณทานไมฉัน ถาวันพระไมฉันอาหารเลย มีหิริ โอตตัปปะ ปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ เชน มีผูนําเงินทอง เครื่องบริโภค ไปทําบุญ ทานก็ทําบุญตอไมไดเก็บเอาไวทําประโยชนสวนตัวเลย และมี ผูนิยมนับถือไปทําบุญกับทานมาก เมื่อประมาณ ๕ ปมาแลวพระรูปนี้บวช นาคใหกํานันผูใหญบานขออนุญาตตอนายอําเภอ นายอําเภอบอกไป เตรียมการทีบ่ วชไวจะทําใบอนุญาตใหภายหลัง และพระรูปนีก้ ไ็ ดจดั เตรียม การไวเสร็จแลว แตกรรมการอําเภอหาไดออกใบอนุญาตใหไม พระรูปนี้ เห็นวาการบวชไมผดิ อะไรนัก ทัง้ เปนเวลาจวนเขาพรรษา จึงไดบวชนาคไป โดยสําเร็จ เจาคณะแขวงและกรรมการอําเภอหาวาพระศรีวชิ ยั บวชนาคโดย ไมไดรับอนุญาต จึงไดจับตัวพระศรีวิชัยไปกักขังไวที่วัดหลวง (วัดพระธาตุ หริภุญชัย) จังหวัดลําพูน ๑ ป แลวไมใหเปนเจาอธิการวัดบานปาง ใหอยู เพียงในวัดตามเดิมเทานั้น เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๒ กรรมการไดไปสํารวจพระทีว่ ดั บานปาง พระศรีวชิ ยั ตอบวา “อาตมาไมไดเปนเจาอธิการ จะสํารวจอยางไร สํารวจเอาเองตามใจ ชอบ” พระและสามเณรมีความกลัวจึงพากันหลบเขาปาไป กรรมการอําเภอ สํารวจไมไดก็รายงานบอกพระเณรหลบหนีไปดวยเหตุอันใดไมไดแจง พอ ไตสวนไดความแจงแลวจึงบอกคณะสงฆเมืองลําพูนมีคําสั่งให พระศรีวิชัย นําเอาบรรดาพระเณรไปที่คณะหมวดทั้งหมด ถาไมมีใครรักษาใหเอาฝาก


๘๕

ชาวบานไว ถาไมไปจะลงโทษ ทีนพี้ ระศรีวชิ ยั ไมไดเปนเจาอธิการ และไมมี อํานาจบังคับพระเณรใหไปหาเจาคณะแขวงได และไมไดชี้แจงเหตุผลให เจาคณะทราบ โดยเหตุทร่ี ะยะทางทีไ่ ปหาเจาคณะแขวงตองรอนแรมระหวาง ทางถึง ๓ คืน เจาคณะจังหวัดลําพูนมีคําสั่งไมใหพระศรีวิชัยอยูในจังหวัด ลําพูน ตอมาเจาผูครองนครไดนิมนตพระศรีวิชัยเขาไปรับไทยทานใน จังหวัดลําพูน พระศรีวิชัยถือโอกาสจัดเอาของสํารับไทยทานไปทําบุญที่ วัดหลวง (วัดพระธาตุหริภุญชัย) จังหวัดลําพูน ในครั้งนั้นมีพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ที่มีความศรัทธาจัดสิ่งของเครื่องไทยทานตาม พระศรีวิชัยไปทําบุญประมาณ ๖๐๐ คน ครั้นไปถึงลําพูนพวกขาราชการในจังหวัดสงสัยวาเปนกบฏ และ พวกเจาคณะสงฆเพงเล็งจับโทษอยูแลว จึงตั้งขอหาเพื่อจับตัวพระศรีวิชัย ไปไวที่วัดหลวงจังหวัดลําพูน เมื่อพลโทหมอมเจาบวรเดชไปตรวจราชการ ที่จังหวัดลําพูน จึงไดเอาตัวพระศรีวิชัยไปกักขังไวที่วัดศรีดอนไชย จังหวัด เชียงใหม ไดเรียกเอาตัวไปไตสวนเห็นวาไมมีความผิด แตยังบกพรองทาง ดานความรู จึงใหพระศรีวชิ ยั ทําทัณฑบนยอมเลาเรียนอยูใ นสํานักใดสํานัก หนึง่ แลวแตพระครูและคณะสงฆเห็นสมควร เมือ่ พระศรีวชิ ยั ทําทัณฑบนแลว พระครูและคณะก็หาไดจดั การใหพระศรีวชิ ยั ไปอยูส าํ นักใดไม เอาไปกักขัง ที่วัดศรีดอนไชยตามเดิม และจัดใหคนไปคอยควบคุมคอยตรวจตรา พระศรีวชิ ยั วาจะมีเวทมนตรหรืออภินหิ ารอยางไรบาง จึงมีผคู นนิยมกันมาก แตก็หามีอาการประหลาดแตอยางใด ในระหวางที่พระศรีวิชัยถูกกักขังควบคุมอยู ๒ เดือนเศษมีพวกแขก อินเดีย พมา ตองซู กะเหรี่ยง ชาวลําพูน เมืองตาก แมฮองสอน เมืองปาย เมืองพราว และเชียงดาว พากันเดินทางไปทําบุญกับพระศรีวิชัยวันละ หลายรอยคนเปนเนืองนิจอยางมิไดขาด


๘๖

วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ พลโทหมอมเจาบวรเดช รับสั่ง ให ห ลวงประสานคดี ช นควบคุ ม พระศรี วิ ชั ย มาไว ที่ ก รุ ง เทพฯ เมื่ อ มี ผูนิยมนับถือพระรูปนี้เชื่อวาทางราชการนาจะมีความยินดีรับพระรูปนี้ไว แนะนํา สัง่ สอน ใหมคี วามรูท างพระพุทธศาสนาชํา่ ชอง จึงจัดสงขึน้ ไปสอน ที่จังหวัดเชียงใหม เพื่อใหสั่งสอนในพุทธศาสนาตอไป ถาพระรูปนี้กลับไป จังหวัดเชียงใหมแลวการพระศาสนาคงมีความเจริญรุงเรือง โดยเหตุวามี คนเคารพนับถือพระรูปนีม้ ากอยูแ ลว ตัวอยางชาวตางประเทศตองการเลือก หาคนดีทม่ี ผี นู ยิ มนับถือมาตัง้ เปนหัวหนาสอนราษฎรรูจ กั บาปบุญคุณโทษ กลับตัวเปนพลเมืองที่ดี อีกประการหนึ่งเมื่อกรรมการอําเภอแตงตั้งกํานัน ผูใหญบานคัดเลือกโดยราษฎรลูกบาน จัดตั้งใหผูใดเปนกํานันผูใหญบาน ไดตามความเห็นของราษฎรหมูมาก พระศรีวชิ ยั รูปนีม้ ผี นู ยิ มนับถือทัว่ ไปทัง้ มณฑลพายัพ ถาเปนเปอรเซ็นต ก็มีผูนิยมทานถึง ๘๐ เปอรเซ็นต ควรที่ทางการจะรองรับไว ถาทรง พระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระรูปนีข้ นึ้ ไปสัง่ สอนประชาชนอยู ในจังหวัดเชียงใหมแลวเชือ่ วา พลเมืองทีป่ ระพฤติตนในทางทุจริตคือ ปลน ฆาฟนกันตายที่เปนมาทุกวันคงสงบเบาบางลง แตขอกระซิบวา! ไมควรเชือ่ ถอยคําของพระภิกษุบางรูปในมณฑลพายัพที่ยุแหยวาพระศรีวิชัยคิดกบฏ ตอพระศาสนา องคพระมหากษัตริยหรือขัดขืนอะไรตางๆ นั้นเปนอัน ไมจริงทัง้ สิน้ บางทีอาจเกรงไปวาทางราชการจะตัง้ ใหพระศรีวชิ ยั เปนใหญ และขาดลาภยศ ขอใหนกึ ดูทา นผูม คี วามฉลาดเฉลียวอยางนี้ ถาแตงตัง้ เอา ไวส่ังสอนผูคนคงดีไมนอย และขอใหเขาใจวาถาขาราชการที่ประพฤติช่ัว ความชั่วนั้นราษฎรก็รูเขากอนทางราชการ หรือถาภรรยามีชูพวกชาวบาน ก็มักเห็นกอน นี่ราษฎรทั้งมณฑลก็เห็นดี แลวทางราชการจะไมเห็นดีดวย บางหรือ หวังวาทานบรรณาธิการคงชวยตะโกนบอกใหผูใหญรูดวย เพื่อ เปนทางดําริตอไป


๘๗

อิทธิพลของหนังสือพิมพ เมือ่ ขาวปรากฏทีห่ นังสือพิมพบางกอกไทม สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทอดพระเนตรขาวของพระครูบาเจาขณะประทับ ณ จังหวัดนนทบุรี ทรงมีหนังสือถึงพระบรมวงศเธอกรมหมืน่ ชินวรสิรวิ ฒ ั น ซึ่งเปนองคประธานคณะกรรมการไตสวนอธิกรณของพระครูบาเจาฯ มีรายละเอียดในหนังสือพิมพดังนี้คือ ฉันไดอานหนังสือพิมพบางกอกไทม วันที่ ๗ เดือนนี้ ตอน ภาษาอังกฤษกลาวถึงขาวของเมืองเหนือมีใจความวา พระรูปหนึง่ อยู วัดบานปางหรืออะไรจังหวัดลําพูน ชื่อพระศรีวิชัย อายุราว ๔๐ ป ผูค นนับถือมาก พระศรีวชิ ยั ขออนุญาตอุปสมบทตอเจาคณะแขวงและ นายอําเภอเขาวาจักอนุญาตให ครั้นรอจวนมาถึงเขาพรรษาก็บอก วาไมได พระศรีวิชัยจัดการอุปสมบท แตไมไดกลาวความชัดวาเปน พระอุปชฌายเอง เจาคณะจังหวัดกับคณะกรรมการอําเภอถือเปน ความผิด เอาตัวไปกักขังทีว่ ดั หลวง (วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย) เวลา ๑ ป แล ว ปล อ ยตั ว กลั บ ไปบ า นปาง และให ถ อดออกจากตํ า แหน ง เจาอาวาส หลังจากนั้นคณะกรรมการอําเภอไปตรวจบัญชีพระเณร ทีว่ ดั บานปาง พระเณรหนีเขาปาจึงสํารวจไมสาํ เร็จ จึงใหพระศรีวชิ ยั ทําการสํารวจ เธอตอบวาเธอไมใชเจาอาวาส และเมือ่ เจาคณะจังหวัด เรียกตัวทานพระศรีวชิ ยั แตพระศรีวชิ ยั หาไปไม สวนเจาผูค รองนคร ลําพูนนิมนตไปทําบุญ เธอจึงมีคนติดตามมากมาย เจาคณะจังหวัด


๘๘

จึงหาวาทานเปนกบฏ จึงเอาตัวไปกักขังที่วัดหลวงอีก คราวนี้ หม อ มเจ า บวรเดชอุ ป ราชมาพบเข า จึ ง พาตั ว ไปกั ก ขั ง ไว ที่ วั ด ศรี ดอนไชย จังหวัดเชียงใหม เมื่อพระมหานายกออกไปสอบพระธรรม วินยั และไดเรียกมาสอบถามพิจารณาลงความเห็นวาพระศรีวชิ ยั ไมมี ความผิด เปนแตไมรูการศาสนา ควรใหศึกษาอยูที่จังหวัดเชียงใหม โดยใหทําทัณฑบนวาจะไมขัดขืน สวนเจาคณะไดแตงตั้งใหคนคอย ตรวจดูวาพระศรีวิชัยใชเลหเหลี่ยมอยางไรบางในการที่คนนิยม ติดตามแตจับเอาผิดอะไรไมได ภายหลังพระศรีวิชัยไดถูกสงมา กรุงเทพฯ ผูส อื่ ขาวกลาววาพระศรีวชิ ยั มีคนติดตามมากเชนนีส้ มควร ที่รัฐบาลจะสนับสนุนใหไปสั่งสอนประชาชนจักเปนประโยชนอยาง มาก คนชัว่ จะนอยลง แตนพี้ ระศรีวชิ ยั ไมรกู ารพระศาสนาสมควรได รับการศึกษากอนแลวจึงสงตัวกลับขึ้นไป คําของบรรณาธิการเปน คําของผูนับถือพระศรีวิชัย เขาปรารภวาปรารถนาใครจะฟงอีกฝาย หนึ่ง เรื่องนี้พระมหานายกไมไดเขามาบอกใหรู เทาที่บอกความมา กอนนัน้ ไมชดั แจงเหมือนในหนังสือพิมพกลาวมา หมอมเจาบวรเดช จะมีบอกสํานวนเรื่องนี้เขามา นอกจากนี้ไมไดรูเห็นอีกเลย เทียบเรือ่ งทีพ่ บมาจากทีอ่ น่ื จนเกิดเกรงวาจะอคติกบั พระศรีวชิ ยั ก็เกรงไปวาจะเปนผีบุญ แตไมอาจจะยกความผิดขึ้นฟองรองลงโทษ อาญา จึงหาความผิดทางคณะสงฆเรื่องนี้ปรากฏวา เมื่อไปเอาตัว คราใด พระศรีวิชัยก็มาทุกคราวไมไดตอสู ในคราที่ไมมาก็เปนแต ถูกเรียกไมใชถกู จับตัว สอวายังไมเปนผีบญ ุ สวนความผิดในคณะสงฆ ตามขาวนี้มีเพียงการเปนอุปชฌายบวชพระเณรวาเปนอุปชฌาย เถื่อน นอกจากนี้ไมรูวามีความผิดอะไรอีก เรื่องนี้เปนเรื่องอื้อฉาว แลวจึงสอบถามหมอมเจาบวรเดชดูวา พระศรีวชิ ยั ไดทาํ ความผิดอัน


๘๙

อาจยกขึน้ เปนอาญาแผนดินอันเจาหนาทีจ่ ะพึงฟองในศาลไดหรือไม ถาเธอทําอยางนั้นและเจาหนาที่จะเอาความแกเธอ จงใหรับตัวไป ฟองรองยังศาลมณฑลพายัพ ถาพระศรีวชิ ยั ไมไดทาํ ความผิดเชนนัน้ จงเรียกสํานวนทางคณะกรรมการมาตรวจดูถงึ ความผิดทางคณะวามี อะไรบาง ความผิดเพราะการเปนอุปช ฌายบวชเอาเองนาจะลงโทษแลว ไดแก การเอาตัวมากักขังไวครัง้ แรก ๑ ป และถอดออกจากตําแหนง เจาอาวาสเปนธรรมเนียมที่จะตองกราบทูลฉัน ถาฉันเปนผูสั่งการ เรียกไมมา เนื่องจากไมไดทําการสํารวจวัดบานปาง ถาจริงอยางใน หนังสือพิมพกลาว พระศรีวิชัยเถียงถูกเชนนั้นฉันไมเคยลงโทษ เมื่อไดรับความอยางไรแลวจึงนําไปปรึกษาในมหาเถรสมาคมจะ หยั่งรูความผิดโดยถองแท และลงโทษแตพอดี และถาโทษนั้นอาจลงโทษ ไดในกรุงเทพฯ เสร็จแลวปลอยตัวกลับ ถาจะลงโทษที่โนนก็ตองมีคําสั่งให ชัดเจนถึงอุปราช ถาพิจารณาความผิดทางคณะของพระศรีวิชัยจงอยาฟง คําของคณะสงฆฝา ยเดียว จงฟงคําของพระศรีวชิ ยั ดวย เพือ่ เธอหาชองแกตวั นี้ ควรพิจารณา และควรไดรับความดําริแกฉัน แตฉันจะอานสํานวนเรื่องนี้ แลวจึงใครครวญ แลวจึงวินจิ ฉัยเปนการหนักแนนแกใจฉัน เวลานี้จึงไดให คําสั่งแกทานทําแทน ขออยาไดยอนมาถึงฉันที่จะตองอานสําเนา เรื่องนี้ลงขาวหนังสือพิมพ ภาคภาษาไทยในวันตอมา ฉันไดตัดสง มาดวยขอความที่เลามานั้นไมไดแปล แตเลาความที่จําได อนึ่งเมื่อสง พระศรีวิชัยกลับโดยไมมีโทษแลว จึงใหมีสังกัดวัดอยู อยาใหจรจัด เพื่อกัน เจาคณะแกลง จงถามพระศรีวิชัยวาสมัครใจอยูวัดใดแลวใหวัดนั้นรับไว


๙๐

สมเด็จพระสังฆราชเจาทรงเปนประธานตัดสินคดี จากพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา วชิรญาณวโรรส สมเด็จพระสังฆราชเจา องคที่ ๑๐ เราจะพบวาพระองคทรง มีพระราชหฤทัยเทีย่ งแทยตุ ธิ รรมมีพระเมตตากรุณาถึงพรอม จึงเปนหนาที่ อันหนักยิง่ ของพระวรวงศเธอ กรมหมืน่ ชินวรสิรวิ ฒ ั น เจาคณะใหญหนกลาง และคณะกรรมการสงฆอีก ๒ ทาน คือ พระญาณวราภรณ และพระธรรม ไตรโลกาจารยที่ตองพิจารณาตัดสินขออธิกรณของพระครูบาเจาศรีวิชัย อยางรอบคอบที่สุด การสอบขออธิกรณของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตัง้ แตปลายเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.๒๔๖๓ พระวรวงศเธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน เจาคณะใหญหนกลาง ปฏิบัติงานอยางเหน็ดเหนื่อย เพราะตองรวบรวมหลักฐานตางๆ ตลอดจน ขอสํานวนเกาจากเจาเมืองลําพูนและเชียงใหม เจาคณะมณฑลเชียงใหม ตลอดจนพลโทหมอมเจาบวรเดชอุปราชมณฑลพายัพ ในระหวางพระครูบาเจาศรีวิชัยถูกนําตัวไปสอบสวนที่กรุงเทพฯ ณ วัดเบญจมบพิตร ถูกคณะกรรมการทีส่ มเด็จพระสังฆราชเจาตัง้ ขึน้ สอบสวน ทุกขอ เรื่องไหนที่ทําผิดทานยอมรับผิด ที่ไมผิดก็ยืนยันวาทําถูกตอง ผลของการสอบสวนเปนอยางไรนัน้ พระวรวงศเธอ กรมหมืน่ ชินวรสิรวิ ฒ ั น เจาคณะใหญหนกลาง องคประธานในการไตสวนทรงมีรายงานมาถึง สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ดังสําเนาตอไปนี้


๙๑

โดยมีคําสั่งใหเกลากระหมอมกับพระญาณวราภรณ และพระธรรม ไตรโลกาจารย พิจารณาเรือ่ งพระศรีวชิ ยั วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน ถูกกลาวหาวามีพรรคพวกเปนอันมาก เปนเหตุระแวงเจาหนาที่ฝาย อาณาจักรวาเปนผีบุญ ไมทําการออนโยน และทําการขัดขืนตอคณะสงฆ จังหวัด เกลากระหมอมไดทลู ถามหมอมเจาบวรเดชอุปราชมณฑลพายัพวา การทีพ่ ระศรีวชิ ยั มีคนนิยมตามมากนัน้ อาจยกความผิดเปนอาญาฟองรอง ต อ ศาลได ห รื อ ไม ได รั บ คํ า ตอบว า หามี ค วามผิ ด ถึ ง เช น นั้ น ไม แล ว เกลากระหมอมทัง้ หลายจึงไดพจิ ารณาถึงการทีพ่ ระศรีวชิ ยั ไมออ นโยน และ ขัดขืนตอคณะสงฆโดยสวนเดียวไดรับความ ดังนี้ ๑. ตั้งตัวเปนอุปชฌาย บวชกุลบุตรไมมีใบอนุญาต ๒. ไมอยูในบังคับของพระครูมหารัตนากร เจาคณะแขวงลี้ ๓. เจ า หน า ที่ ฝ  า ยอาณาจั ก รเรี ย กประชุ ม สงฆ ท  อ งที่ อํ า เภอลี้ เพื่อตักเตือนใหรูระเบียบและทางราชการสงฆไปประชุมทุกวัด เวนแต พระศรีวิชัยไมไป ๔. ทางราชการปาวรองใหวัดทั้งหลายจุดประทีป ตีฆอง กลอง ใน พิธีราชาภิเษก วัดทั้งหลายทําตาม แตพระศรีวิชัยไมทํา ๕. เจาคณะแขวงลี้เห็นวาวัดทั้งหลายขัดขืนตอการปกครองของ คณะสงฆ เพราะเอาอยางพระศรีวชิ ยั จึงรองขอตอพระครูศรีวลิ าศ (คนละรูป กับพระครูญาณมงคล) ผูรับตําแหนงเจาคณะจังหวัดลําพูน ไดวากลาว ตักเตือนเรื่องทัณฑบนพระศรีวิชัยขัดขืนประพฤติดังกอนอีก ขอ ๑ ถึงขอ ๕ เจาคณะแขวงกักตัวลงโทษพระศรีวิชัย ๒ ป ตาม คําสั่งของเจาคณะเหนือ ๖. เจาหนาที่ฝายอาณาจักรขอสํารวจสํามะโนครัว พระศรีวิชัย ไมยอมสํารวจใหเจาหนาที่ตรวจเอาเอง เจาคณะแขวงลี้แจงไปก็ไมทําตาม


๙๒

๗. เจาคณะแขวงลี้นัดประชุมเจาอธิการวัดทั้งปวงในแขวงของตน เจาอธิการทั้งหลายไมไปเพราะเอาอยางพระศรีวิชัย ๘. เลากันวา พระศรีวิชัยเปนผูมีบุญมีดาบฝกทองคํา ๑ เลม ตกลง มาจากอากาศสูแทนบูชา พระศรีวิชัยเก็บไวบูชา พระศรีวิชัยเดินบนนํ้าได โดยไมเปยกนํ้า การลือนั้นพระศรีวิชัยจะอวดเอา หรือคนจะลือไปเอง ก็ ถือวาเกิดจากพระศรีวิชัยเปนเหตุใหมหาชนหลงนับถือ ขอ ๖ ถึงขอ ๘ เจาคณะแขวงและเจาคณะลําพูน ลงโทษพระศรีวิชัย โดยไลออกจากจังหวัดลําพูน ตามคําสั่งของผูแทนเจาคณะใหญหนเหนือ ภายใน ๑๕ วัน พระศรีวิชัยไมไป เจาคณะหาวาขัดขืนคําสั่ง จึงไดนําตัว พระศรีวิชัยมากักขังไว ตอมาหมอมเจาบวรเดชขออนุญาตเจาคณะใหญ หนเหนือสงพระศรีวิชัยลงกรุงเทพฯ เกลากระหมอมทั้งหลายไตสวน พระศรีวิชัยเธอกําลังใหการดังตอไปนี้ ๑. ขอ ๑ ถึงขอ ๕ พระศรีวิชัยรับสารภาพ ๒. ขอ ๖ พระศรีวิชัยแกวาเธอไมไดเปนเจาอาวาส ไมใชหนาที่ของ เธอ ขอ ๘ พระศรีวิชัยปฏิเสธวา ของเชนนั้นเธอไมมี และไมไดอวด เขาลือ กันไปเอง เกลากระหมอมพิจารณาเห็นรวมกันดังนี้ ๑. ขอ ๑ ถึงขอ ๕ พระศรีวิชัยรับสารภาพ และไดรับโทษแลวเปน อันไมตองพิจารณา ๒. ขอ ๕ ตามคําแถลงของพระศรีวิชัยนั้นถูก เพราะเธอถูกถอด ๓. ขอ ๗ เปนความผิดของพระอธิการผูเ อาอยางตางหาก พระอธิการ ไปเอาอยางผูไมใชพระอธิการ พระศรีวิชัยไมผิด ๔. ขอ ๘ ไมมหี ลักฐานวาพระศรีวชิ ยั อวด เมือ่ มีคนเลาลือกันไปเอง จะลงเอาวาพระศรีวิชัยมีความผิด เพราะเกิดแตเธอหาถูกไม


๙๓

ตามทีพ่ จิ ารณามาในขอ ๖, ๗, ๘ ไดความวา พระศรีวชิ ยั ไมมคี วามผิด เจาคณะลงโทษเกินไป เพราะฉะนั้นควรปลอยใหกลับสูภูมิลําเนาของตน ควรมิควร แลวแตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ลงพระนาม ลงนาม ลงนาม

กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน พระญาณวราภรณ พระธรรมไตรโลกาจารย


๙๔

สําเนาพระดํารัสสั่งคําวินิจฉัย ดวยไดอา นรายงานของกรมหมืน่ ชินวรสิรวิ ฒ ั น กับพระญาณวราภรณ พระธรรมไตรโลกาจารย เขากันเปนคณะกรรมการพิจารณาเรือ่ ง พระศรีวชิ ยั วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน แลวคณะกรรมการไมไดพจิ ารณาขอหา ๕ ขอเบื้องตน ดวยเห็นวาพระศรีวิชัยรับสารภาพและรับโทษแลวนั้น เพง โดยฐานเปนการลวงแลวก็ไมจาํ เปนตองพิจารณาจริง แตเมือ่ เพงถึงยุตธิ รรม และความเปนแบบอยางแลว ควรวินิจฉัยดวย ขอ ๑ พระศรีวิชัยตั้งตัวเปนพระอุปชฌายเอาเอง บวชกุลบุตรโดย ไมมีใบอนุญาตนั้น มีความผิดตอคณะโดยแท เจาคณะลงโทษกักตัว พระศรีวิชัยใหอยูกําหนดโทษถึง ๒ ปแรงเกินไป เชนนี้ตามธรรมเนียมที่ เป น มาเราเป น ผู  สั่ ง ลงโทษเอง คดี น้ี เจ า คณะหนเหนื อ สั่ ง ตามลํ า พั ง ก็ ไมผิดดอก แตถาคําสั่งของเราการลงโทษจักเปนโดยพอดี ขอ ๒ ตกไป ขอ ๓ เจาหนาที่ฝายอาณาจักรเรียกประชุมคณะสงฆ เพื่อตักเตือน ใหรรู ะเบียบการคณะสงฆและทางราชการ พระศรีวชิ ยั ไมไปนัน้ ถาเขาบอก เจาคณะแขวงเปนผูบ อกนัด พระศรีวชิ ยั เปนเจาสํานักปกครองคณะสงฆหมู หนึ่ง และมิไดแจงขอขัดของที่จะมิไดมีความผิด ถาลําพังเจาหนาที่ฝาย อาณาจักรเรียกประชุมเอง พระศรีวิชัยไมไปจะยกเอาเปนความผิดไมได ขอ ๔ ทางราชการปาวรองใหวัดทั้งหลายตามประทีป ตีฆองกลอง ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช พระศรีวิชัยไมทําตามนั้น การตาม ประทีป ตีฆอ งกลองเปนกิจอันพึงกระทําดวยความสมัครใจทางราชการปาว


๙๕

รองก็เปนแตเพียงนัด ถาเปนการบังคับแลวผิดทางไมเปนพระเกียรติยศ พระศรีวิชัยไมทําตาม ไมควรยกเปนความผิด ขอ ๕ วัดทั้งหลายขัดขืนตอการปกครองเจาคณะแขวงลี้ ยกเปน ความผิดพระศรีวิชัยนั้นหาถูกไม ชอบแตจะเอาผิดแกเจาอาวาสทั้งหลาย เหลานั้นเอง ขอหาทั้ง ๕ ขอ ดูเปนไปในคราวตางกัน เจาคณะจะเอาโทษควรยก ขึ้นวาในคราวที่ทํา ไมยกวาในครั้งนั้นๆ มาประมวลชี้ข้ึน และลงโทษใน คราวเดียวกันอยางนีไ้ มเปนหลักฐาน คนทัง้ หลายจึงเห็นวาเปนการขมเหง พระศรีวชิ ยั อันทีจ่ ริงดูเหมือนจะระแวงตามหนาทีฝ่ า ยอาณาจักรวาเปนผีบญ ุ จะยกความผิดนัน้ ไมถนัด จึงหยิบความผิดทางนัน้ มาประมวลกันเปนสาเหตุ ลงโทษ เพื่อจะเอาตัวมากักไวเทานั้น เพราะผูติดตามมามากอยางนี้ยัง ไมไดทําการอันจัดเปนความผิดทางอาญาแผนดิน หรือทางพระศาสนายัง เอาโทษไมได เมือ่ ถูกลงโทษโดยมิบงั ควรนอกจากผิดยุตธิ รรม คนทัง้ หลาย สงสารยอมเห็นความชอบของเธอ และนับถือมากขึน้ ครัง้ โบราณกาลเชนนี้ เปนไปรุนแรง เปนสาเหตุตั้งศาสนาขึ้นใหมก็เคยมีมาแลว ขอ ๖, ๗, ๘ คณะกรรมการควรวินิจฉัยวา พระศรีวิชัยไมมีความผิด เจาคณะลงโทษเกินไป ควรปลอยพระศรีวิชัยกลับสูภูมิลําเนาของตนนั้น ชอบแลว แตถาจะปลอยกลับตามลําพัง เขากับเจาคณะไมไดก็จะเตร็ดเตร อยู ควรจัดสงขึ้นไปตามเดิม ถาไมควรก็จงอยูในสังกัดวัดใดวัดหนึ่งที่ พระศรีวชิ ยั จะพึงเลือกเอาไดตามใจชอบ กรมหมืน่ ชินวรสิรวิ ฒ ั นจงสัง่ ตามนี้ ลงนาม กรมพระยาวชิรญาณวโรรส หลังจากนี้ องคสมเด็จพระสังฆราชเจายังไดมีพระปรารภเกี่ยวกับ พระครูบาเจาศรีวิชัยถึง พระวรวงศเธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน ดังมีสําเนา ตอไปนี้


๙๖ (สําเนา)

ที่ ๔/๓๓ วัดเขมาภิตาราม วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๖๓ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน เจาคณะใหญหนกลาง วันนีฉ้ นั ไดพบพระศรีวชิ ยั แลวไดไตสวนวาเปนพระทีอ่ อ นโยน ไมใช ผูถือกระดาง ไมใชเจาเลหเจากล ไมคอยรูธรรมวินัย แตมีสัญญาพอจะ ประพฤติใหเปนอยูไดอยางพระที่หางสังคมการที่ตั้งตัวเปนพระอุปชฌาย เอานั้นดวยไมรูความหมาย ไมรูหมายประกาศ ทําตามธรรมเนียมคือ พระอุปชฌายของเธอชื่อ ขัติยะ เมื่อจะถึงมรณภาพไดตั้งเธอปกครองวัด แทนถือวาไดตงั้ มาจากพระอุปช ฌายะ เพราะการทีไ่ มรจู กั ระเบียบแบบแผน ถูกเอาตัวมาลงโทษกักไวเกือบไมรูวาเพราะความผิดอะไรพระอยางนี้ตอง อธิบายใหรจู กั ความผิดชอบดีกวาจะลงโทษ ความปรารถนาของพระศรีวชิ ยั ใครจะกลับไปอยูวัดบานปางตามเดิมแตไมพอใจที่จะเปนเจาสํานัก แตถา วัดบานปางรางเสียแลวจะหาที่อยูใหมตอไป ในคราวที่พระศรีวิชัยถูกเอา ตัวมากักไวสามเณรสึกเสีย ๑ รูป สวนพระยังอยูหรือหมดไปพระศรีวิชัย หารูไม ถาพระศรีวิชัยจักอยูวัดบานปางนาจะใหเปนเจาสํานัก แตไมรู ระเบียบแบบแผนนาจะไมพนความผิด เวนแตจะไดรับความเมตตาของ เจาคณะพรํ่าสอน แนะนําใหเขาใจระเบียบแบบแผน ครั้นยกพระรูปอื่น ใหเปนเจาสํานักจะเปนหุนใหพระศรีวิชัยพึงชักดวยไมตองรับผิดชอบ พระศรีวิชัยบอกวาเจาคณะจังหวัดลําพูนปรารถนาใหพระศรีวิชัยศึกษาให ไดความรูกลับไปแตพระศรีวิชัยไมสบายเกรงจะเรียนไมไหว ปรารถนาจะ ใหกลับไปลําพูนเพื่อจําพรรษา ฉันเห็นวาพระศรีวิชัยอายุถึง ๔๓ ปแลว


๙๗

ทั้งยังไมไดรับความขัดเกลามาดวยเกรงวาจะไมสําเร็จเหมือนกัน เธอจงสง พระศรีวชิ ยั ไปกอนพรรษา จงมอบใหเจาครองนครลําพูนชวยเปนธุระใหได กลับไปอยูวัดบานปางหรือวัดอื่นที่พระศรีวิชัยพอใจหรือตองเปนหัววัดเอง หรือพระองคอนื่ เปนหัววัดโดยจริงจังอยาปลอยใหเตร็ดเตรแตเพียงรูปเดียว แตขอใหเจาครองนครลําพูนชักจูงพระศรีวชิ ยั ใหรจู กั ออนนอมตอคณะสงฆ จังหวัดนั้น ถาสงพระศรีวิชัยกลับไป จงแจงแกพระญาณวราภรณใหจายเปน สวนของฉัน ลงนาม กรมวชิรญาณวโรรส หลังจากนี้ พระวรวงศเธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน ไดสั่งใหพระครู ปลัดสัมพิพฒ ั นพรหมจริยาจารย สงขอความไปลงหนังสือพิมพบางกอกไทม มีขอความดังนี้


๙๘ (สําเนา)

แจงความแกหนังสือพิมพบางกอกไทม ดวยพระวรวงศเธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน เจาคณะหนกลาง ตรัส สั่งใหขาพเจาแจงวา เจาคณะใหญหนกลาง สมเด็จพระมหาสมณเจา ฯ ได ทรงทราบเรื่องพระศรีวิชัย วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน ในหนังสือ ของทาน ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ภายหลังมีดํารัสรับสั่งของพระองคทา น ทรงวาการคณะสงฆแทนพระองค ในคราวประชวรกับพระญาณวราภรณ พระธรรมไตรโลกาจารยเขากันเปนคณะกรรมการไตสวนเรื่องพระศรีวิชัย ไดความวาการทีม่ คี นติดตามพระศรีวชิ ยั มากนัน้ เจาหนาทีร่ ะแวงวาจักเปน ผีบุญและทําการจลาจลแตยังจับผิดฟองเปนอาญาแผนดินไมได สวนใน คณะสงฆพระศรีวชิ ยั มีความผิด ฐานเดียวทีไ่ มไดรบั แตงตัง้ เปนพระอุปช ฌายะ อันชอบตามระเบียบการปกครองคณะสงฆออกไปถึงมณฑลนั้นถือวาเอา คณาจารยเจาสํานักผูเ ปนอุปช ฌาย เมือ่ มรณภาพแลวมอบใหศษิ ยผหู นึง่ ให ครองสํานักและเปนอุปช ฌายะตอไป พระศรีวชิ ยั ไดรบั มอบจากพระอุปช ฌาย ของเธออยางนั้นเชนนี้ควรไดรับความปรานีช้ีแจงระเบียบการปกครอง คณะสงฆใหเขาใจยังไมควรลงโทษ สวนในขออื่นคณะกรรมการเห็นวา พระศรีวิชัยไมมีความผิด การที่พระศรีวิชัยถูกกักขังไวเกินควรคงเนื่องมา จากการระแวงสงสัยของเจาหนาที่อาณาจักรนั่นเอง ไดทําการวินิจฉัยให ปลอยพระศรีวิชัย สมเด็จพระมหาสมณเจา ฯ ทรงอนุมัติโปรดใหขาพเจา สงสําเนาคําวินจิ ฉัยของสมเด็จพระมหาสมณะเจามาดวย ถาทานปรารถนา จะโฆษณาในหนังสือพิมพของทานก็ได พระองคตรัสสัง่ ผูแ ทนเจาคณะหนเหนือใหสง พระศรีวชิ ยั กลับไปกอน หนาพรรษานี้ สมเด็จพระมหาสมณะประทานคาเสบียงสวนพระองคทรง


๙๙

มอบใหเจาครองนครลําพูนเปนธุระพระศรีวิชัยใหมีถ่ินฐานที่อยูโดย ผาสุก ทานพระธรรมวโรดมไดสงพระศรีวิชัยกลับขึ้นไปแลวเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๖๓ การทีผ่ สู อ่ื ขาวของทานแนะนําวาควรใหพระศรีวชิ ยั ศึกษาพระศาสนา พอรูและสงกลับไปสอนมหาชนที่น่ันจะเปนประโยชนแกฝายอาณาจักร มากนั้น สมเด็จพระมหาสมณะเจาทรงดําริเห็นดวยแตไดตรัสเรียก พระศรีวชิ ยั ไปเฝาเมือ่ สมเด็จพระมหาสมณะเจาพักอยูท ว่ี ดั เขมาภิตารามทรง ไลเรียงพระศรีวิชัยดวยพระองคเองเห็นวามีความรูทางศาสนานอยนัก ทางวินัยก็รูเพียงปาราชิก ๔ ทางภาวนาไมมีทางอื่นนอกจาก บริกรรม ปฏิสังขาโย อัชชมยาและอิติปโส แตเปนผูมีเจตนาดี มีสมณะสัญญา รูสึก ตัววาเปนสมณะจึงมีความตั้งใจและจะสังวรทําตามอยางสมณะ เปนพระที่ เครงครัดถาจักเปนคณาจารยถึงใหบรรพชาจึงจําตองรูแบบแผนโดยแท ทัง้ ทางวินยั และทางคณะสงฆใหมากพอก็ทาํ การนัน้ ได เธอเองก็ไดกราบทูล วาเจานครลําพูนมีความปรารถนาเชนนั้นเหมือนกัน แตเธอเห็นวาจัก กระทําไมสําเร็จพอใจจะกลับขึ้นไป จึงทรงอนุมัติตาม ลงนาม พระครูปลัดสัมพิพัฒนจริยาจารย วัดราชบพิตร วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๖๓ การสอบสวนขอกลาวหาพระครูบาเจาศรีวิชัย ใชเวลา ๒ เดือน ๔ วัน คณะกรรมการลงความเห็นวา พระครูบาเจาศรีวชิ ยั เปนผูบ ริสทุ ธิไ์ มมี ความผิดตามขอกลาวหา ธรรมยอมคุมครองผูประพฤติธรรม สมเด็จ พระสังฆราชเจาเฝาดูพระครูบาเจาศรีวิชัยมาโดยตลอด ดวยความซื่อสัตย


๑๐๐

ออนโยนและพูดตรงไปตรงมา โดยเฉพาะในดินแดนลานนาไทยในยุคนัน้ การถาม-ตอบจะเปนเชิงปฏิภาณเปนปริศนา ดังนั้นคําตอบของพระครูบา เจาศรีวิชัยที่ฟงดูการตอบออกจะงายๆ ยิ่งที่วา “อิติปโสก็ยังเรียนไมจบ” นั้น คือคําตอบที่แฝงดวยนัยยะที่สื่อถึงความลึกซึ้งคุณของพระศรีรัตนตรัย นัน่ หมายถึง “การบรรลุสคู ณ ุ ธรรมอันเปนคุณสมบัต”ิ ฉะนัน้ จะตองใชเวลา ขบคิดตีปริศนาใหแตก โดยใชหลักวิปสสนาพิจารณาใหปญญาแตกฉาน ถึงที่สุด ก็คือ “ไมสามารถสื่อสารเปนคําพูด” (มิใชเปนความรูที่ไดมาจาก การทองจํา) มันเปนปรมัตถคอื ความสงบ ดวยเหตุนสี้ มเด็จพระสังฆราชเจา ทรงเขาพระทัยและทรงพระเมตตาถึงขนาดทรงพระกรุณาพระราชทาน ปจจัยเปนเงินจํานวน ๖๐ บาท เพื่อใชจายในการเดินทาง ยิ่งไปกวานั้น ยังฝากไปยังเจาครองนครลําพูนใหดแู ลพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ความซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคุณ กอนออกเดินทางพระครูบาเจาไดไปกราบทูลลา สมเด็จพระสังฆราชเจาฯ รวบรวมปจจัยที่ศรัทธานํามาถวายทําดอกไมเงิน ดอกไมทอง เครือ่ งอัฏฐบริขารถวายพระแกวมรกต วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง และทรงโปรดใหรถยนตเปนพาหนะนําพระครูบาเจา ศรีวิชัย นําดอกไมเงิน ดอกไมทอง ไปนมัสการ พระปฐมเจดีย จังหวัด นครปฐม เมื่อปฏิบัติศาสนกิจเสร็จแลว วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๖๓ ทานจึงอําลาจากกรุงเทพมหานครเดินทางสูจ งั หวัดลําพูนเปนการเดินทาง อยางมีอิสรภาพไมมีการควบคุม เมื่อเดินทางสูอําเภอลี้มีผูคนมากมาย ชื่นชมบุญบารมีดวยหัวใจอิ่มเอิบเบิกบานปราโมทยเกิดพลังความศรัทธา ของมหาชนเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ


๑๐๑

งานบูรณะองคพระบรมธาตุหริภุญชัย และหลักธรรมคําสอนของครูบาเจาฯ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย ดําริบรู ณะพระบรมธาตุเจาหริภญ ุ ชัย จึงขออนุญาตเจาคณะจังหวัดและ ผูค รองนครลําพูน เมือ่ ไดรบั อนุญาต จึงเดินทางสูนครลําพูน ประชาชน และบรรดาศรั ท ธาทั้ ง หลายพอ ทราบขาวตางมีความยินดีและให ความรวมมือพระครูบาเจาศรีวิชัย ไดตงั้ ใจทําการบูรณะปฏิสงั ขรณเปน งานสําคัญยิ่งใหญเพราะพระวิหาร หลวงและพระบรมธาตุทปี่ รักหักพัง ลงมาก เมื่อสรางแลวจึงไดลงรักปดทองลวดลายหนาบันพระวิหารหลวง หุมทองจังโก (เปนวัสดุท่ีมีใชอยูในเมืองยางกุง ประเทศพมา) ปดทอง พระธาตุหลวงสิน้ เงินไป ๓๒๒,๕๐๐ รูป เทียบรูปละ ๘๐ สตางค นอกจาก นี้ยังสรางกุฏิใหพระครูบาคันธา สิ้นเงิน ๑,๒๐๐ รูป ดวยระลึกถึงพระคุณ สมัยถูกกักบริเวณ ณ พระธาตุหริภุญชัยครั้งที่ ๑ พระครูบาคันธาทําที่กั้น แดดฝนหลังทานมรณภาพยังสรางเมรุ ปราสาท และทําบุญคาใชจายใน งานศพ การสรางและบูรณะพระธาตุปจจัยมาจากความศรัทธาของสาธุชน บูรณะฟนฟูโบราณสถานสําเร็จ นับเปนผลงานที่ไดรับความรวมมือจาก


๑๐๒

ประชาชน จากทั่วสารทิศนับเปนประวัติศาสตรครั้งยิ่งใหญ ในป ๒๔๖๓ เดือน ๖ ขึน้ ๖ คํา่ ทําบุญปอยหลวงสมโภชอาราธนานิมนตเจาคณะ พระครู พระสงฆ สามเณรในจังหวัดลําพูนและเชียงใหมอนุโมทนารับเครือ่ งไทยทาน โดยเจ า ผู  ค รองนครลํ า พู น เป น ประธานฝ า ยทางฆราวาส พร อ มด ว ย พุทธศาสนิกชนถวายไทยทานพระบรมธาตุและวิหารที่บรู ณะขึน้ มางดงาม อลังการทีส่ ดุ ใหเปนถาวรวัตถุอนั ทรงคุณคาดานประวัตศิ าสตรแหงลานนาไทย พระครูบาเจาฯ มิไดมีทิฏฐิมานะหรืออคติกับตอผูใด นอบนอมตอ พระเถระ เจาคณะ พระครู และพระสงฆที่มาอนุโมทนาดวยความเคารพ ทําทานแกคนยากคนจนดวยปจจัยจํานวนมาก นอกจากนี้ยังเกื้อกูลดูแล พระภิกษุ สามเณร และศิษยวดั โดยถวนหนาการพํานักทีพ่ ระธาตุหริภญ ุ ชัย เพื่อฉลองศรัทธาผูเคารพเลื่อมใสและสานุศิษยบําเพ็ญทานรักษาศีลเจริญ จิตภาวนา สั่งสอนอบรมบําเพ็ญสมณธรรมแกบรรพชิตชี้แจงแนะนํา สัง่ สอนพุทธศาสนิกชนใหมจี ติ สํานึกรูบ าปบุญคุณโทษสูท างอริยมรรคเพือ่ สูเปาหมายอันเปนจุดสูงสุดคือ นิพพาน สาธุชนมาไมเวนแตละวัน ตั้งแต เจาเมือง พอคาคหบดี ขาราชการ ตลอดถึงคนทั่วไป รวมทั้งชาวเขาเผา ตางๆ มาฝากตัวเปนสานุศิษย โดยความประทับใจในจริยาวัตรอันงดงาม ของพระครูบาเจาฯ ทานไมไดแจกเครื่องรางของขลัง การเสกนํ้ามนตพนนํ้าหมาก การกระทํ า ทางไสยศาสตร เดรั จ ฉานวิ ช า การดู ห มอให ห วย มิ ไ ด สงเสริมวิชาการทางโลก มุงแตปฏิบัติศีลธรรมกัมมัฏฐานสํารวมอินทรีย สงบนาเคารพ เปนพระไมคอยพูด แตคําเทศนาของทานเปยมดวยสาระ และความหมายเชน ตอนหนึ่งของคําสอน อานิสงสของการรักษาศีลวา “การคบหาบัณฑิตนักปราชญ ทําใหไดฟง คําสัง่ สอนของพระพุทธเจา แลวใหกําหนดรูวาธาตุทั้ง ๔ ขันธ ทั้ง ๕ อาการลักษณะ ๓๒ ไมใชตัวไมใชตน ไมควรลุมหลงอยูในอํานาจของความโลภ โกรธ หลง ไปตามอารมณ


๑๐๓

ใหเกิดมานะกระดางซึ่งเปนสัญญาวิปลาส หอบเอาแตความทุกขมาใสตัว ตองเอาชนะใจตัวเอง อยาตกเปนทาสของสิ่งทั้งหลาย พระพุทธเจาตรัส เทศนาไววา รบชนะศึกรอยครัง้ ไมเทากับชนะจิตอันเปนบาปเสียได ทัง้ คน สัตว ตนไม และภูเขา เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ทุกอยางเปนเพียงสมมติ ใหใชสอยกันเพียงชั่วคราว ไมมีอะไรที่เปนของตน ไมควรตระหนี่หวงแหน ทรัพยสมบัติ ควรทําบุญทําทานชวยเหลือผูอ่ืน เห็นความสําคัญของการ รักษาศีลอุโบสถเปนบางโอกาส ชําระกายวาจาใหบริสุทธิ์ เพื่อฝกตนอยูใน ศีลในสัตยเปนทีน่ า เคารพนับถือ เปนแบบอยางอันดีแกครอบครัวและสังคม หมัน่ พิจารณาไตรลักษณใหเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ความเกิดแก เจ็บ ตาย ความพลัดพรากจากสิ่งทั้งหลายเปนสัจธรรมของชีวิตและโลก คลายความ ยึดมั่นถือมั่นในโลก บรรเทาความโลภ โกรธหลง ฝกทําจิตใจสงบรมเย็น สมบัติทั้งหลายที่มีอยูในโลกทั้งหมด มีแกวมณีโชติของจักรพรรดิ ผูเปนใหญกวามนุษยทั้งปวง และเครื่องประดับ ขัติยะนารีทั้งหลาย มีแกว แหวนเงินทอง รวมทั้งที่ไรท่ีนา บุตรหลาน สามี ภรรยาเปนตนเหตุของ ตัณหา กามคุณ เหมือนนํ้าผึ้งแชยาพิษ นําความทุกขมาสูตัวโดยไมมี ประโยชน แมนาํ้ คงคา ยมนา อิรวดี มหิ สรภู ซึง่ เปนแมนาํ้ ทัง้ ๕ นี้ แมนจักเอา มาอาบทัง้ ๕ สายไมอาจลางบาปหรือความเดือดรอนใหหายได ลม ฝนและ ลูกเห็บแมตกลงมารอยหาไมอาจเย็นเขาไปถึงภายในใหหายทุกขเวทนา อันเกิดจากตัณหาและอุปาทานได ศีล ๕ เปนอริยทรัพยเปนตนตอของ ความบริสุทธิ์ เปนนํ้าทิพยสําหรับลางบาปคือความเดือดรอนภายในให หายไดเปนทางสูสวรรคใหเจริญสูความสุขเปนที่มาของสมบัติโภคทรัพย ทั้งมวล เปนปจจัยใหถึงพระนิพพาน อันเปนความสุขอยางยิ่ง” ทานเนน การปฏิบัติธรรมรักษาศีลภาวนาแผเมตตาเปนแบบฉบับใหสํารวมอินทรีย สํารวจตรวจสอบตนเองไมประมาทสงบนิ่ง ไมโออวดทิฏฐิ ไมมีมานะแข็ง


๑๐๔

กระดาง กิริยามารยาทสงบเสงี่ยมเจียมตัว ประพฤติตนอยูในพุทธโอวาท อยางเสมอตนเสมอปลาย ไมยึดติดลาภ สักการะชื่อเสียง อดทนดวยขันติ ธรรมไมแสดงอาการแหงความโกรธอาฆาตพยาบาท เปย มดวยเมตตาธรรม พรอมที่จะใหอโหสิกรรมจึงเปนที่เคารพเลื่อมใสของชนทุกหมูเหลา ทานพํานัก ณ พระธาตุหริภญ ุ ชัย จนถึงเดือน ๗ ขึน้ ๒ คํา่ จึงกลับวัด บานปาง อําเภอลี้ ถิ่นกําเนิด พํานักจําพรรษา มีผูศรัทธาอาราธนานิมนต บูรณะพระธาตุดอยเกิ้ง อําเภอฮอด (ปจจุบันแยกมาเปนอําเภอดอยเตา) จังหวัดเชียงใหม พิจารณาเห็นเปนบารมี และนามพระธาตุแสดงถึงการ ปกปองเหตุการณรา ยจึงรับขันขาวตอกดอกไมทม่ี ผี เู คารพเลือ่ มใสอาราธนา นิมนต พอออกพรรษาแลวจึงไดจาริกแสวงบุญไปบูรณะวัดพระธาตุดอยเกิง้ ซึ่งอยูบนยอดดอยสูงเปนที่เคารพสักการะกราบไหวของเทวดาและมนุษย แตชํารุด ทรุดโทรม พอไปถึงมีการเตรียมกุฏิ ศาลา ที่พํานักของทานและ ภิกษุสามเณรมี เสื่อ สาด อาสนะ ที่นอน นํ้าดื่มนํ้าใช อาหารการบริโภค อยางสมบูรณ พอทานนั่งเสลี่ยงขึ้นไปถึงพระบรมธาตุ กมกราบนมัสการ ตั้งสัจจะอธิษฐาน ขอบูรณะปฏิสังขรณ ฟนฟูบูรณะใหเจริญรุงเรือง ทาน พํานักบนพระธาตุดอยเกิ้ง บําเพ็ญสมณธรรม เมื่อชาวอําเภอฮอดและ ใกลเคียงทราบการบูรณะพากันหอบหิว้ สัมภาระมาทําบุญ และชวยงานตาง ชืน่ ชมบุญญาธิการดวยความประทับใจ ทําใหการบูรณะใชเวลา ๒ เดือนจึง เรียบรอยสิ้นคาใชจาย ๑๖,๙๓๕ รูป ทําบุญฉลองสมโภช แลวอุทิศเปน สมบัติของพระพุทธศาสนา เพื่อพระสงฆจากทิศทั้งสี่ จักมาพํานักปฏิบัติ ธรรม สืบสานพระธรรมวินัยตอไป จึงอําลาพระสงฆและศรัทธา สาธุชน พํานักสัง่ สอนประชาชนทีต่ นี ดอยหนึง่ คืน พอรุง ขึน้ เดินทางไปนมัสการรอย พระพุทธบาทตะเมาะ อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม


๑๐๕

งานปอยหลวงวัดบานปาง หลังจากนั้นเดินทางกลับเขาสูอาวาสวัดบานปาง นําพระเณรพรอม ดวยสานุศิษยรวมกันกอสรางพระธาตุท่ีวัดบานปางใหสําเร็จบริบูรณ พรอมกับสรางบันไดนาคทางทิศเหนือ ระหวางกอสรางเจดียแ ละบันไดนาค ลูกศิษยชาวกะเหรี่ยงที่เคารพเลื่อมใสไดรวมสรางโฮงหลวง หรือ กุฏิใหญ เสากอดวยอิฐทั้งหมด ๘๒ ตน อาคารยกพื้น ๒ ชั้น สําหรับถวายเปนที่ บําเพ็ญสมณธรรมของพระครูบาเจาฯ มุงดวยสังกะสี ปูดวยไมกระดาน ฝาผนังและพื้นชั้นบนเซาะรองเขารางลิ้นอยางดี ชั้นลางเทพื้นดวยซีเมนต เมื่อเสร็จจึงไดจัดงานทําบุญฉลองสมโภชองคพระธาตุ บันไดนาคและกุฏิ โฮงหลวง ๑๕ วัน ๑๕ คืน พระครูบาเจาฯ ไดนิมนต พระภิกษุ สามเณร เจาคณะพระครู เจาอาวาส ทั้งพระภิกษุสามเณรในอําเภอใกลเคียงมารับ ไทยทานเปนจํานวนมากตลอด ๑๕ วัน มีการตกแตงเปนตนปราสาท ตนกัลปพฤกษ พรอมดวยขบวนแห ชางฟอน ชางรํา มีทั้งฟอนเล็บ ฟอนเชิงรําดาบ ผูคนแตงตัวดวยเสื้อผาใหม สวยงาม ดุจขบวนเทวดาจาก สรวงสวรรค เสียงฆอง กลอง ดังกึกกองไมขาดสาย ผูมารวมบุญกุศลมี ความปติ ชมบุญบารมีแซซอ งสรรเสริญพระครูบาเจาศรีวชิ ยั จนลืมทุกขยาก ลําบากที่ไดตรากตรําทํางานดุจอยูในทิพยสถาน ภายในบริเวณวัดรอบองคพระบรมธาตุเต็มไปดวยเครื่องไทยทาน ตัง้ เรียงรายอยางวิจติ รงดงาม เสียงพระสวดมนตใหศลี ใหพรกึกกองดุจเสียง พรหม กลางคืนมีการสวดเจริญพระพุทธมนต สวดเบิก เปนบทสาธยาย ปฏิจสมุปบาททั้งฝายเกิด-ดับ อริยสัจ ๔ เปนสัจธรรมที่พระพุทธเจาได


๑๐๖

ตรัสรูอนุตรสัมโพธิญาณและพุทธอุทานหลังจากตรัสรูใหมๆ ถือวาเปน พระสูตรแหงความสําเร็จของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา พระเณร วัดตางๆ สวดสาธยาย ดวยซุมเสียงไพเราะมีการแสดงพระธรรมเทศนา ปฐมสมโภชและพระพุทธาภิเษกอยางตอเนือ่ ง ตลอดทัง้ คืนถึงอรุณรุง เปน ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธในลานนาไทย โดยเฉพาะพิธีสมโภชองค พระธาตุและเบิกพระเนตรพระประธานจัดใหมีเครื่องอาสนะ อัฏฐบริขาร เครื่องกะกุภัณฑ (สําหรับจักรพรรดิ) สัตตภัณฑและมีการขัตราชวัตรฉัตร ธงรอบองคธาตุเจดีย กุฏิและบันไดนาคทั่วบริเวณวัด ผูคนมากันลนหลาม ตองสรางทีพ่ กั ชัว่ คราวสําหรับพระภิกษุสามเณร (ทีพ่ กั มุงดวยใบตองตึงและ ใบหญาคา ฝาปูดว ยฟากไมไผ) ภายในมณฑลพิธรี อบพระธาตุและพระวิหาร สรางเปนปะรําพิธีประดับดวยตนกลวย ตนออย ซุมใบมะพราว อาหาร การบริโภคก็ตอ งทําโรงทานใหญมมี ากมาย มีคนนํามาถวายอยางตอเนือ่ ง ยามคํ่าคืนมีการจุดประทีปบูชาถวายดอกไมธูปเทียน รอบองค พระธาตุ บริเวณทั่วไปจุดคบเพลิงสวางไสว โดยเอาขี้ชันมาทุบใสกระบอก ไม หรือหอดวยกาบไผปกไวตามจุดตางๆ และจุดตะเกียงเจาพายุ เพื่อให แสงสวางทั่วบริเวณ บรรดานักดนตรีที่มีซอ ซึง ป ขลุย ฆอง กลอง ปพาทย บรรเลงเปนที่สนุกสนาน แมมีคนจํานวนมากแตนาประหลาดไมมีการ ฉกชิงวิ่งราวกอเหตุวิวาท และการดื่มสุรายาเมา แตงตัวกันสุภาพเรียบรอย ผูห ญิงมวยผมเปนเกลา (ถือเปนแบบของพราหมณในอินเดียซึง่ มาพรอมกับ การเผยแผพระพุทธศาสนา ในดินแดนสุวรรณภูมิ) ทุกคนตั้งใจทําบุญ ทําทาน ฟงเทศน ฟงธรรม รับศีลรับพรดวยอาการสงบ ทั้งนี้ดวยบุญบารมี อันยิ่งใหญของพระครูบาเจาศรีวิชัย คืนวันสุดทายของการอบรมสมโภช มีพิธีการกวนขาวทิพยโดยขัดรั้วเปนราชวัตรทั้ง ๔ ทิศ มีประตูทั้ง ๔ ดาน กั้นดวยฉัตร ๗ ชั้น ๔ มุม ปกธงทิวโดยรอบ ตั้งหมอกระทะขนาดใหญ


๑๐๗

หลายหมอ เพื่อกวนขาวทิพย (ขาวมธุปายาส) นิยมใชขาวเหนียวตม ใสนํ้าตาล นํ้าออย ถั่วงา นม เนย นํ้าผึ้ง ผูที่กวนขาวทิพยเปนผูหญิง นุงหมชุดขาว (ความหมายสมมติเปนนางสุชาดาและบริวาร) พอกวน ขาวมธุปายาสเสร็จนิยมถวายตอนรุง อรุณแสงเงินแสงทอง จากพระอาทิตย ส อ งขอบฟ า เวลาแห ง การตรั ส รู  ข องสมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า รวมคาใชจายในการทําบุญฉลองสมโภช เปนเงิน ๑๐,๐๐๐ รูป กลาวถึงโฮงหลวงของชาวกะเหรี่ยงสรางถวาย สรางตามแบบคุม เจาหลวงเชียงใหม เมื่อทําบุญเสร็จพระครูบาเจาฯ ไมไดขึ้นอยู ทานพูดวา เอาไวสําหรับพญาธรรมมาอยูพํานัก จึงเปนที่เก็บรักษาพระไตรปฎก พระคั ม ภี ร  ธ รรมชาดกต า งๆ และประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป สํ า คั ญ ของ วัดบานปางหลายองค เปนที่เก็บเสนาสนะสิ่งของเครื่องใชงานพิธีและ เครือ่ งใชอนื่ ๆ หลังจากพระครูบาเจามรณภาพแลว ไมปรากฏวามีพระภิกษุ สามเณรองคใดขึ้นอยู กระทั่งป ๒๕๓๑ เมื่อภิกษุอานันท พุทธธัมโม วั ด พระธาตุ แ สงแก ว มงคล จั ง หวั ด พะเยาไปบู ร ณะบํ า รุ ง เสนาสนะ สรางพิพิธภัณฑเก็บอัฏฐบริขาร สิ่งของเครื่องใชของพระครูบาเจาศรีวิชัย ทีว่ ดั บานปาง ฝนเห็นพระครูบาเจาฯ มาหาและบอกวา “ขอใหลกู ขึน้ ไปอยู บนโฮงหลวง เพือ่ พัฒนาวัดบานปาง” ไดเลาเรือ่ งความฝนใหเจาอาวาสและ พระเณรฟง และขึ้นไปพํานักเปนครั้งแรกจนสรางพิพิธภัณฑและสถานที่ สําคัญๆ จนสําเร็จใชเวลาอยูที่วัดบานปาง ๕ พรรษา จึงไดเดินทางกลับสู เมืองพะเยา เพื่อสรางพุทธสถานอินเดียนอย ตามคําขอรองของทานพอ พุทธทาส อินทปญโญ แหงสวนโมกขพลาราม เปนการตอบสนองพระคุณ ชาวอินเดียและพระคุณครูบาอาจารยจนสําเร็จบริบูรณ


๑๐๘

บุคลิกลักษณะสัดสวนของพระครูบาเจา ฯ บุคลิกลักษณะของพระครูบาเจาศรีวิชัยสูง ๑๖๕ เซนติเมตรโดยวัด จากพระพุทธรูปคาคิง (เทาตัว) ประทับยืนเทาองคจริงของพระครูบาเจา ศรีวิชัย เปนพระพุทธรูปที่ทานสรางไวในวัดสวนดอกเมืองเชียงใหม เวลานั่งสวนหลังคอมเล็กนอยเหตุเพราะนั่งสมาธินั่งใหศีลใหพรนาน กระดูกสันหลังจึงโคงงอ ศีรษะทุย หนาผากกวาง คางใหญเหมือนราชสีห มีไฝแดงเม็ดเล็กอยูใตหางตาขวา ๑ เม็ดและอยูบนคิ้วซาย ๑ เม็ด ติ่งหู สองขางเจาะรู เสียงทุมไมดังมาก แตหนักแนน ไมคอยพูดเงียบขรึม ถาได พูดอะไรออกมาแตละคําหนักแนนนาเกรงขาม จนเปนที่รูกันวาถาทาน พระครูบาเจาศรีวิชัยพูดคําไหนตองเปนนั้น คําพูดของทานเปนประกาศิต เวลาใหพรใชแตบทสัพพีและออกเสียงเร็วมาก เพราะสาธุชนมากันเปน จํานวนมากตองใชเวลาอยางรวดเร็วและใหทว่ั ถึง ใหศลี ใหพรอยางไมเลือก ที่รักมักที่ชัง บางครั้งนอนปวยมีคนขอพรทานแทบจะลุกไมไดแตใหพรดวย เสียงแหบแหง เดินไวมาก บอยครั้งขึ้นไปตรวจงานบนหลังคาพระวิหาร มือหนึง่ กางรม มือหนึง่ ปนปายบนหลังคา ทีข่ าสักหมึกดําตัง้ แตบน้ั เอวจนถึง ครึ่งขา เปนคานิยมแสดงถึงความเปนชายชาตรี ของผูชายในสมัยนั้น ลักษณะของแขนและนิว้ มือเรียว ฝาเทาเต็ม ฝาเทาขางขวายาว ๒๒.๗ เซนติเมตร ขางซายยาว ๒๔.๑ เซนติเมตร (วัดจากรอยเทาที่ประทับไวกับ ปูนซีเมนตหมาดๆ ที่วัดพระนอนขอนมวง จังหวัดเชียงใหม) ลายมือคมชัด ฝามือซาย ขวายาว ๑๙.๒ เซนติเมตร (วัดจากรอยมือประทับผาใหชาวพะเยา คราวบูรณะพระเจาตนหลวง เมืองพะเยา) ใชเวลาปลงผมหางกัน ๑๕ วัน


๑๐๙

ผมออกสีน้ําตาลเขม เวลาปลงผมและเล็บ ลูกศิษยขอเก็บไวบูชาเฉพาะ เสนเกศานิยม นําไปผสมรักคลุกเคลากับผงดอกไมพันดวงใบโพธิ์พันตน บาง ใบลานทีช่ าํ รุดบดเปนผงคลุกเคลากับเสนเกศานํามากดพิมพพระรอด พระคง แจกจายผูเคารพนับถือเอาไวบูชา บางคนขอประทับเอารอยมือ รอยเทาทาบเขียนลงบนผืนผาเอาไวบูชา บางคนขอเศษผาจีวร สบง อังสะ เกาไปรักษาบูชา ในยุคแรกพระครูบาเจานุงหมผาฝายยอมดวยนํ้าฝาด ภายหลังมีผาเนื้อดีมาถวายก็ฉลองศรัทธา ชอบหมดองมัดอกคลุมไหล สวมลูกประคําทําจากกะลามะพราว ตาเดียว มีสองเสน ผลัดเปลี่ยนกัน ซึ่งพระครูบาตาวัดศรีลังกา อําเภอเสริมงาม จังหวัดลําปางกลึงถวาย ตอนมรณภาพพระทองสุข ธัมมสะโร พระเลขาสวมคอศพพระครูบาเจาฯ หนึ่งเสนอยูในถุงยามอีกเสนหนึ่ง ภายหลังเก็บไวที่พิพิธภัณฑวัดบานปาง สวนเสนที่อยูกับศพพระครูบาเจาฯ หลังมรณภาพ ๒ ป เจาเมืองลําพูน อาราธนาศพไวที่วัดจามเทวี ครูบาทึมที่เปนเจาอาวาสและศิษยเปลี่ยน ลูกประคําไปใชโดยเปลีย่ นของตนเองใสใหพระครูบาเจาฯ ลูกประคําเสนนี้ หลังจากครูบาทึมมรณภาพสามเณรสนั่น เชื้อเมืองพาน บานทุงพราว ผูเปนศิษยชาวอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย เก็บรักษาไว ปกติพระครูบาเจาฯ ถือไมเทาพัดใบลาน เมื่ออายุ ๔๐ ป พออายุ ๕๐ ป ใชพัดหางนกยูง สวนหัวพัดเสียบหางนกยูงดานหนึ่งแกะสลักรูป นกยูงรําแพนอยูดานหนาสวนอีกดานหนึ่งแกะเปนรูปเสือยกหางขดเปน เลขเกาไทยทีแ่ กะเปนรูปเสือเปนสัญลักษณปเ กิดของทาน คราวอยูว ดั พระสิงห ไดแกะรูปเสือลายพาดกลอนตัวขนาดสุนัขยืนในทายกหาง โดยปกติเมื่อ สรางธาตุเจดียในที่ตา งๆ นิยมสรางเปนรูปเสือยืนบาง หมอบบาง ถาเปน งานสรางพระวิหารจะแกะรูปเสือกระโจนอยางสงางามอยูในลวดลายกนก หนาบรรณแทบทุกที่ ยกเวนวัดพระสิงหสรางเปนรูปสิงหคูไวหนาวัด


๑๑๐

สวนวัดพระเจาตนหลวง ทุง เอีย้ ง (วัดศรีโคมคํา) อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา สรางเปนรูปเสือนอนตะแคงมีเนื้อทรายมาเกาะเลนอยูที่ขาหนา และลิงมา จับหางเลน เปนการสะทอนภาพแหงอหิงสาธรรม เมตตาธรรมออกมาเปน ประติมากรรม บางทีกม็ อบพัดหางนกยูง บาตร ไมเทาและลูกประคําใหกบั ลูกศิษยท่ีเห็นสมควรหลายรูป เชน วัดปาแงะ อําเภอแมริม ไดบาตรกับ พัดหางนกยูง ครูบาเสา วัดศรีโสดา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ไดบาตร ภายหลังครูบาเสามอบใหแกครูบาธรรมชัย วัดทุงหลวง อําเภอแมแตง สวนไมเทาอันแรกทําดวยแกนไมมะขามแดง หัวไมเทาสวมดวยเหล็กตะบัน หมากของครูบาขัติยะ ปลายไมเทาทําเปนปลายแหลม ๒ งาม กันลื่น ปดทองเปลว ไมเทาอันนี้เคยถือไปกรุงเทพฯ ครั้งสุดทายจากภาพถายใน หองนอนพบวา เปนไมเทาอันแรกและพัดหางนกยูงอันสุดทาย ภายหลัง ไมเทาอันแรกตกทอดถึงครูบาอภิชัยขาวป วัดพุทธบาทผาหนาม อําเภอลี้ ผูเปนศิษย พออายุมาก จึงมอบไมเทาใหแกพระครูบาธรรมชัย วัดทุง หลวง อําเภอแมแตง ตนป พ.ศ.๒๕๓๐ พระครูบาธรรมชัยมอบไมเทาใหแกภิกษุอานันท พุทธธัมโม วัดพระธาตุแสงแกวมงคล อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา ระหวางสรางพิพธิ ภัณฑวัดบานปาง ทางเจาอาวาสและคณะกรรมการมอบ พัดหางนกยูงทีท่ าํ ขึน้ พ.ศ.๒๔๗๙ และพัดหางนกยูงทีถ่ อื ตอนสรางทางขึน้ ดอยสุเทพใหภกิ ษุอานันทอกี ๑ อันแตคนละคราว กับพัดหางนกยูงใหญ ๒ อัน ที่ใชเปนประจําเก็บรักษาในพิพิธภัณฑวัดบานปางและในจังหวัดพะเยา ขณะครูบาเจาอาบนํ้าฯ ผูคนรองเอานํ้าที่อาบมาลูบหัวบางลูบหนาบาง เพือ่ ความสิรมิ งคล พระครูบาเจาฯ ใชเวลานัง่ สมาธิและนัง่ ใหศลี ใหพรนาน เวลาถายอุจจาระเปนกอนเล็กๆ ถายไมคอ ยมาก ภายหลังเปนริดสีดวงทวาร ทะลุเปนรูถึง ๓ รู ตอนหลังทะลุเปนรูเดียว เวลานั่งสมาธิหรือใหศีลใหพร


๑๑๑

ทํ า ให น้ํ า เหลื อ งไหลติ ด ซึ ม ผ า สบง ถ า ลุ ก หรื อ ขยั บ ตั ว จะรู  สึ ก เจ็ บ ปวด พระครูบาธรรมชัยชวยเอาผาขนหนูชบุ นํา้ อุน ซับแลวคอยๆ แกะผาออกจาก แผลเพื่อเปลี่ยนไปซักเปนประจํา นอกจากโรคริดสีดวงทวารแลว ยังปวย เปนโรคปอดไอ เสมหะมีเลือดเจือปน ในเรื่องการควบคุมความเจ็บปวย ทานมีหวั ใจทีย่ อดเยีย่ มไมแสดงอาการอะไรออกมา ไมชอบฉันยา คราวหนึง่ “หมอครอส” จากโรงพยาบาลแมคคอมิ ค ของฝรั่ ง คะยั้ น คะยอให ฉั น ยารักษาโรค ทานไมคอยฉันยา หมอรําคาญจึงกลาววา “ถาไมฉันยาแลว โรคภัยไขเจ็บมันจะหายไดอยางไร” พระครูบาเจาจึงตอบหมอครอสวา “ถาไมหายมันก็ตองตายเทานั้นแหละและก็ใชวาอาตมาจะตายคนเดียว หมอเองก็ตองตายเหมือนกัน” หมอฝรั่งก็ไดแตสั่นหัวออกมา ลักษณะของทานเงียบขรึม ไมพูดเลนหัวหรือไรสาระเลยจึงเปนที่มา วาถาทานพูดคําไหนตองเปนคํานั้น ลักษณะวาจาศักดิ์สิทธิ์อยางเชน คราวสรางวิหารครอบรอยพระพุทธบาทตะเมาะ วันหนึ่งเกิดพายุลมฝนลง มาอยางหนักที่พักเปยกปอนทานนําเอาไมเทาชี้ขึ้นสูทองฟาประกาศขอ เทพยดาที่รักษาลมฟาอากาศขอใหลมฝนสงบเพราะสงสารพระเณรและ ญาติโยมที่เปยกปอนหนาวสั่น พอสิ้นคําพายุลมฝนก็สงบลง คราวสราง วัดดอยกอม อําเภอบานโฮง ทานสรางหันหนาไปทางทิศตะวันตกทั้งๆ ที่ ถนนอยูท ศิ ตะวันออก พระครูบาเจาฯ บอกวาตอไปถนนใหญจะตัดผานทาง ทิศตะวันตกความเจริญจะเกิดขึ้นในดานนี้ ก็เปนจริงดังคําที่ทานไดพูดไว หลังจากมรณภาพทางการตัดถนนสายเชียงใหม – กรุงเทพฯ (ถนนสาย ลําปาง – เชียงใหมยังไมมี ใชแตรถไฟ) และเมื่อครั้งสรางวิหารวัดบานปาง พระเณรชาวบานหาบนํ้าจากหมูบานขึ้นบนดอยดวยความยากลําบาก วันหนึง่ เวลาประมาณ ๑๐ นาฬกา ทานเห็นแลวเกิดความสงสาร จึงไดเปลง วาจาขอเทพยดาฟาดินใหน้ําฟาสายฝนตกลงมาเพื่อจะไดน้ําในการสราง


๑๑๒

พระวิหาร พอถึงเวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ของวันนั้นมีฝนตกมากจนเต็ม สระบนวัด จึงมีนํ้าใชในการกอสราง มีเพียงครั้งเดียวที่ลูกศิษยเห็นพระครูบาเจาฯ ยิ้ม (ไมใชหัวเราะ) วันนัน้ เปนวันอุโบสถพระภิกษุเพิง่ ปลงผมได ๑ วันไดนง่ั คุกเขาพนมมือไหว กมหัวปลงอาบัติ มิทันไดระวังหัวเกิดกระแทกกันอยางแรง ยังความขบขัน ใหแกหมูสงฆ แตพระครูบาเจาฯ เพียงยิ้มนอยๆ ซึ่งเปนรอยยิ้มครั้งแรก และครั้งเดียว คราวหนึ่งขณะสรางพระวิหารวัดสวนดอกมีเชื้อเจาทานหนึ่ง ใสรองเทาเขามาในขวงแกวลานวัด พระครูบาชี้หนาวา “ทานเปนเพียงเจา ในเมืองมนุษยถือทิฎฐิอะไรใสรองเทาเขามาในขวงแกวอาราม” ซึ่งเปน ธรรมเนียมของคนลานนาโบราณที่ไมสวมรองเทาเขาวัด นิยมถอดไว ขางนอกที่ประตูกาํ แพงวัด มีอา งนํา้ ลางเทาไวเวลาเขา – ออก ตองลางเทา ทุกครัง้ คนในถิน่ ลานนาไมสวมรองเทาใสบาตร ซึง่ พระครูบาเจาฯ ถือมาก คราวหนึ่งขณะรับบาตรในจังหวัดพะเยาผูคนใสบาตรกันมากมาย พอถึงลําดับของหญิงสาวคนหนึง่ แขนสวมกําไลทองใสบาตร พระครูบาเจาฯ จึงรีบปดฝาบาตรไมยอมรับ ทําใหหญิงสาวผูนั้นไดรับความอับอายเสียใจ รองไห ความทราบถึงพอแมของเธอจึงทําขันขาวตอกดอกไมมากราบทาน ดวยความเคารพนอบนอมและถามวา “ทําไมพระครูบาเจาฯ ถึงไมยอม เปดฝาบาตรรับบิณฑบาตของลูกหลาน” พระครูบาเจาจึงตอบวา “เพราะ กําไลทองที่แขนของโยมมีแตเลือดจะใหอาตมารับไดอยางไร” พอแมของ หญิงสาวจึงตกใจและถามวา “ทําไมถึงไดเปนเชนนั้น” พระครูบาเจาฯ จึง ไดสาธยายไขความจริงใหฟงวา “กําไลทองนั้นไดมาจากการทุบทําลาย พระพุทธรูปทองคําโบราณในเจดียเกาแกแหงหนึ่ง”


๑๑๓

อีกคราวหนึง่ ไดมคี นเอาฟกแฟงแตงโมมาถวาย พระครูบาเจาฯ ทาน ไมรับทําใหญาติโยมผูเปนเจาของตกใจอยางมาก และถามวา “เหตุใด พระครูบาเจาฯ จึงไมยอมรับของเหลานี้ เพราะเปนของที่ขาพเจาปลูกเอง ในสวนในไร” พระครูบาเจายืนยันวา “ไมใชในสวนของพอออกแมออก (โยมชายโยมหญิง) มันเปนของในไรสวนที่อยูติดกันตางหากใหไปดูใหม อีกทีวาเด็ดมาจากไหนแน” พอเจาของสวนกลับไปดูปรากฏวาจริง เพราะ วาผลไมนั้นอยูในสวนของตนเองจริง แตตนเครืออยูในไรที่อยูติดกัน การลงโทษพระเณรที่ทําผิด ทานไมดาไมตี ใครทําผิดสิ่งไหนก็แก ดวยสิง่ นัน้ เชน คราวหนึง่ สามเณรป (ครูบาอภิชยั ขาวป) ไดปน ตนมะละกอ เพื่อเก็บเอาลูกหามลูกหนึ่ง เกิดหลุดมือตกพื้น พอดีพระครูบาเจาฯ ออก มาเจอ สามเณรทําหนาตาเลิ่กลั่ก จึงถามวา “อะไรกันเณรป” สามเณรป จึงตอบแบบตะกุกตะกักวา “ผะ...ผะ..ผมขึ้นตนมะละกอ” ครูบาเจาจึงบอก ไปวาชอบขึ้นก็ใหขึ้นไปอีก ใหขึ้นๆ ลงๆ อยูจนหนาอกแดง ตั้งแตนั้นมา สามเณรก็ไมเคยขึ้นตนมะละกออีก คราวหนึ่งสามเณรทาซึ่งเปนนองของ พระครูบาเจาฯ พรอมกับสามเณรองคอ่ืนพากันไปวายนํ้าเลนที่แมน้ําลี้ พอพระครูบาเจาฯ ทราบ จึงออกคําสัง่ ใหวา ยบกรอบวิหารคนละหลายรอบ ใหเปนทีห่ ลาบจํา อีกคราวหนึง่ พวกเณรเลนเตะตะกรอในพระวิหารสงเสียงดัง พระครูบาเจาฯ ออกมาพบเขาจึงสั่งใหเอาลูกตะกรอมาสับใหละเอียด แลว นํามาแกงใสใบผักหวาน แลวบอกวา ถาชอบตะกรอก็ใหกินแกงตะกรอกัน พวกเณรตางฝนกินกันอยางพะอืดพะอมแลวเข็ดหลาบไมยอมเลนกันตอไป เวลาทานจะจาริกไปที่ไหนมีกังสดาลขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑๒ นิ้ว ตีนําทางในการจาริกแสวงบุญไปในที่ตางๆ กังสดาลใบนี้โยมผูหญิง ชาวบานปางไดไปหาปลาที่แมนํ้าลี้ ทางบานแมหาด บังเอิญวันนั้นไมได


๑๑๔

อะไรเลยพอมาเจอกังสดาลไหลมาเกยอยูขอบแมนํ้าจึงนํามาที่บาน ถวาย พระครูบาเจาฯ ทานใชตีบอกสัญญาณทํากิจสงฆ กังสดาลใบนี้มีลักษณะ กลมแบนมีรูเล็กๆ ๒ รู สําหรับรอยเชือกหิ้ว มีเสียงกังวานมาก (ปจจุบันอยู ในพิพิธภัณฑวัดบานปาง) กิตติคุณของพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโยเปนที่เลาขานทั่วทุกทิศ บรรดาพระภิกษุสามเณรฝากตัวเปนลูกศิษยมากมาย ขณะจําพรรษาอยูที่ วัดพระธาตุหริภุญชัย คณะเชียงยันอยูหลายพรรษา พระเณรจากอําเภอ พะเยา จังหวัดเชียงราย ไดมากราบนมัสการและนําขาวที่เห็นความเปน ผูม บี ญ ุ บารมีเลาใหชาวพะเยาฟง เมือ่ ทราบก็พากันมาทําบุญอยางตอเนือ่ ง ขาวนี้ทราบถึงพระครูศรีวิราชวชิรปญญา เจาคณะแขวงเมืองพะเยาเปน เจาอาวาสวัดราชคฤหโดยตําแหนงตองดูแลวัดพระเจาตนหลวงทุงเอี้ยง เมืองพะเยา (วัดศรีโคมคํา) ซึง่ พระวิหารอยูใ นสภาพปรักหักพังพระพุทธรูป ถูกแดดถูกฝน สภาพหมนหมอง เจาหลวงประเทศอุดรทิศ คณะกรรมการและ ผูใหญซึ่งอยากจะบูรณะกอสรางพระวิหารปรึกษากันวาผูมีบุญบารมีที่จะ สรางใหสําเร็จเห็นมีแตพระครูบาเจาศรีวิชัย วัดบานปางเมืองลี้ เทานั้น จึงทําหนังสือเปนจดหมายมากราบอาราธนาพระครูบาเจาฯ ซึ่งมีฝาย ผสานงานคือ พระปญญาวัดตนตอง บานปน ตําบลดอกคําใต ตามบันทึก ดังนี้.......


๑๑๕

บูรณะวัดพระเจาตนหลวงทุงเอี้ยง (วัดศรีโคมคํา) ตี่วัดราชคฤห เมืองพะยาว (พะเยา) จังหวัดเจียงฮาย (เชียงราย) วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๖๕ ขาพเจาพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะแขวงเมืองพะยาว ขอเรียนมายังพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ตนบุญวัดเจียงยันเมืองนครหริภญ ุ ชัยทราบ ดวยตามคําสัง่ ของทานทีไ่ ดสงั่ มากับพระปญญา วัดตนตอง ตําบลปน เมืองพะยาว เมื่อวันเดือน ๓ แรม ๓ คํ่า ปพุทธศักราช ๒๔๖๕ ใจความวา ใหปนดินกี่ไวรอทา แสนหนึ่ง สวนดินกี่รายนี้ขาพเจาก็ไดพรอมกัน ทัง้ ภายในและภายนอก ไดปาเอากันปน เผาแลวก็ไดเอาจุกองไวนอกกําแพง วัดดานเหนือที่นั้น แลวประการหนึ่งก็ไดเผาปูนตั้งมวล ไดปูนสิบลาน ประการหนึ่ง ก็ไดพรอมกั๋นแปลงกุฏิโฮงไวหลังหนึ่ง แปลงไวนอก วัดพระเจาตนหลวงตังหนวันออกแจงเหนือใกลกาํ แพงสิบวา ศรัทธาผูส ราง โฮงหลังนี้จื่อวานายปอม เปนเงี้ยว (ไทยใหญ) นายปอมไดจางคน แปลงเซี้ยงเงิน ๑,๗๐๐ แถบ สรางไวถวายตานกับทานเจาศรีวิชัยตนบุญ ใหทา นไดบริโภคอยูส ถิตสําราญเบิกบานใจ เมือ่ ทานไดเสด็จไปอยูก ดึ๊ สราง พระวิหารพระเจาองคหลวง ผูขาตั้งหลายก็ไดสรางแปลงไวดีงามแลวและ อันหนึ่งในเวลานี้วิหารพระเจาองคหลวงก็ไดชํารุดทรุดโทรมหลุปง เปนอันมากกวาเกาเสิง้ ไปตังใตจน เกือบจักโกนขือ่ ระเบียงดานเหนือก็หลุด ออกจากเสาใหญปง ตกลงฝนก็ฮว่ั ตกลงฮําพระพุทธรูปเจาและฮําฝาปางเอก


๑๑๖

พระวิหารวัดพระเจาตนหลวง (วัดศรีโคมคํา) เมืองพะเยา ที่พระครูบาเจาศรีวิชัยสราง

หลางแหงฝาปางเอกก็แตกยะไป หลางตี่ก็โปดปง ลงตึงวัน ขาพเจาก็เปนที่ รอนใจบจางจักกึ๊ดอยางใดเพราะเปนการเหลือกํ๋าลัง ในเวลานี้ก็บมีใผเปน เกากึ๊ดสรางก็บมีใผสักคน (ไมมีใครเปนประธาน) เพราะฉะนั้นขาเจาจิ่งได ใจพระปญญา แตนตั๋วไปขอนิมนตยัง ตนทานเจาพระศรีวิชัยตนบุญ ขอ ทานจุงมีเมตตากรุณาฮับเอานิมนตแหงผูขา ขออาราธนาตนทานเสด็จไป เปนเกากึ๊ดสรางหื้อเปนการสําเร็จแลวดวย แตถาไมมาเปนเกากึ๊ดสรางผู อื่นจักมากึ๊ดสราง (เปนประธานสราง) คงไมสําเร็จเปนแน เพราะเปนการ หนักใหญผูหาบุญบไดกึ๊ดเห็นจะไมสําเร็จ ทานพระครูศรีวริ าชทานยังไดมจี ดหมายถึงเจาผูค รองนครลําพูนเพือ่ ขออนุญาตตอเจาเมืองอีกฉบับหนึ่งตามขอความดังนี้


๑๑๗

ที่วัดราชคฤห เมืองพะยาว (พะเยา) จั๋งหวัดเจียงฮาย (เชียงราย) วันที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๕ อาตมาภาพพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะแขวงเมืองพะยาว ขอถวายพรทานมหาบพิตรเจาจักรคําขจรศักดิ์ เจาผูครองนครลําพูน ดวยบัดนี้พระวิหารพระเจาองคหลวงวัดศรีโคมคําเมืองพะยาวก็เปน อันชํารุดทรุดโทรมลงเปนอันมาก เดิมอาตมาไดไปขอนิมนตพระศรีวิชัย เปนเกากึด๊ สราง ทานจึง่ ไดแจงวาในเวลานีอ้ าตมาไดปน ดินกีร่ ายนีบ้ ริบรู ณ แลว บัดนี้อาตมาจักขอนิมนตทานไปตี่พระเจาองคหลวง เมืองพะยาว วาฉะนั้น เพราะฉะนั้นอาตมาจึ่งขอเมตตากับบพิตรเจาเพื่อขออนุญาตให อาตมาไดนิมนตทานมาเปนเกากึ๊ดสรางพระวิหารหลวงแหงพระพุทธรูป เจาองคหลวง (วัดศรีโคมคํา) ทุงเอี้ยง เมืองพะยาว เพื่อใหเปนการบริบูรณ เสร็จแลวจิ่มดวย ทานพระครูศรีวิราชวชิรปญญา ยังไดมีจดหมายแผกุศลไปยังเมือง ตางๆ ตามดวยขอความดังนี้

ตี่วัดราชคฤห เมืองพะยาว (พะเยา) จั๋งหวัดเจียงฮาย (เชียงราย) วันที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๕ พระครูศรีวิราชวชิรปญญา เจาคณะแขวงอําเภอพะยาวพรอมดวย คณะสงฆตั้งหลายในเมืองพะยาวทุกวัด ฝายหนภายนอกมีพระยาประเทศ อุดรทิศเจาหลวงเมืองพะยาว และขุนประสิทธิ์ประสาสนนายอําเภอเมือง


๑๑๘

พะยาว และศรัทธาตางเมืองพระครูเจาตั้งหลาย และเจาผูครองนครเมือง ตั้งหลาย ทุกบานทุกเมืองตี่ไดแผบุญถึงแลวมีเมืองเจียงใหม เมืองลําพูน เมืองนครลําปาง เมืองแพร เมืองนาน เมืองเจียงฮาย พระครูศรีวิราช วชิ ร ป ญ ญาจึ่ ง ได หื้ อ พระป  ญ ญาภิ ก ขุ เจ า อารามธิ ป  ต ติ วั ด ต น ต อ ง บานดอกคําใต เมืองพะยาว ไดนาํ เอาประวัตโิ กฐากนาบุญ คือ เรือ่ งรายงาน การตีข่ า เจาตัง้ หลาย ภายนอกภายในจักไดกดึ๊ สรางวิหารแหง พระพุทธรูป องคหลวง วัดศรีโคมคํา นําขึน้ แผผายถวายถึงสมเด็จมหาบพิตร เจาตนเปน เจาหอคําเมืองเจียงตุง หอคําเมืองยอง หอคําเมืองเจียงใหม หอคําเมือง เจียงรุง หอคําเมืองแจ หอคําเมืองแรม ขอเมตตาเปนเกาศรัทธาจวยกึ๊ด สรางวิหารหลวง แหงพระพุทธรูปเจาองคหลวง (วัดศรีโคมคํา) หนองเอี้ยง เมืองพะยาว หือ้ กานกุง รุง เรืองงามไวเปนตีไ่ หวสาปูจ าแกหมูค นและเตวดา อินตา พรหมทั้งหลายไปปายหนา หื้อกุมหาปนพระวัสสาตามพระราช โบราณประเพณีจิ่มดวย อันนึ่ง ขอเมตตามหาบพิตรเจาจวยแผบุญนี้ถึงเจานายผูใหญนอย และศรัทธานักศีลนักบุญจายหญิงตังหลายจวยกึ๊ดสรางพระวิหารพระเจา ตนหลวงพรอมดวยผูขาตั้งหลายสุดแลวตามเจตนาศรัทธา จักมีเงินจาบ เงินบาทเงินรูเปย อัฐและสตางค เอาโชดกไฮฮอมตานออกจวยกั๋นกึ๊ด สรางวิหารพระเจาตนหลวงสรางแปงขึน้ แถมใหม ติดคําปลิว๋ พระเจาตนหลวง ขึ้นแถมใหม จวยกั๋นสรางไวหื้อเปนตี่ไหวสาปูจากํ้าจูพุทธศาสนาไป ปายหนาตราบตอเตากุมหาปนพระวัสสา เพื่อเปนปจจั๋ยผละ จาติหนาใน เมืองคนเมืองฟามีนิพพานเปนยอด อันนึ่ง เมื่อมหาบพิตรเจาไดแผบุญไปทั่วคือแผบุญเสร็จไดเงิน มากนอยเตาใด ก็ดีขอหื้อราชทูตเสนาผูดีนําเอาเงินมากนอยเตาใดก็ดี หือ้ นําเอาเงินรายไดนไ้ี ปสงตีว่ ดั ราชคฤห เมืองพะยาวแลวขาพเจาจักไดเงิน


๑๑๙

พระเจาตนหลวงทุงเอี้ยง (พระพุทธรูปองคใหญ) สภาพกอนบูรณะ

รายนีก้ ด๊ึ สรางวิหารพระเจาตนหลวงไดตา มกํามักปรารถนาแหงมหาบพิตรเจา และทานทั้งหลายตอไป ใหเปนการสําเร็จแลว อันนึ่ง ขอหื้อมีหนังสือบัญชีจํานวนเสนเงินและรายชื่อ ตําบลบาน ทานผูไดออกเงินสรางพระวิหารติดตามตวยเงินไปจิ่มดวย ทานพระครูบาเจาศรีวิชัยไดตอบจดหมายพระครูศรีวิราช เจาคณะ เมืองพะยาวดังนี้


๑๒๐

ที่วัดเชียงยันในเมืองลําพูน ณ วันที่ ๑๐ ออก ๑๕ วันเสาร พุทธศักราช ๒๔๖๕ พระชั ย ยาภิ ก ขุ นมั ส การกราบไหว ทู ล มายั ง พระครู บ า ศรีวิราชวชิรปญญา เจาคณะแขวง อําเภอพะยาว ทราบ ดวยบัดนี้ขาเจาไดรับจดหมายและรูปถายทั้งมวลซึ่งเปนของ พระครูฝากมานั้นในใจความหื้อขาเจากิ๊ดสรางวิหารเจาตนหลวง โตงเอี้ยง นั้นขาเจาก็มีใจจมจื่นยินดี ขาเจาก็เตาวาเปนผูนอยบมี อํานาจอาชญาตีจ่ กั จีแ้ จงได กลัวทานทัง้ หลายบฟง อันนึง่ เลาเงินทอง ของขาเจาก็บเ พียงพอเวลามีกส็ รางทําบุญไปบไดมเี ปนมากเปนหลาย ขาเจาขอจวยไปตามสติปญญาผญาบารมีบุญสมปานของแหงขาเจา อันไดบาํ เพ็ญจาติกอ นถึงจาตินห้ี ลอนเปนหนาบุญกองหลังแหงขาเจา หากหลางไดสรางก็หากจักแลวบรมวล ขอหือ้ หนาบุญตีใ้ หญกวางมา จูจวยกํ้าขอตั้งเทวดาอินทรพรหมทั้ง ๔ ปายบนเตี่ยมจวย ภายใตมี ครุฑนาคตั้งมวลไอศวร กับตั้งนางนาถไถธรณีขอเปนสักขีพยาน จูจวยกํ้าหื้อแลวบรมวล ขอสมกําผาถนาจุประการจิ่มแดเตอะ ขอสอง แตยงั มีประการหนึง่ ขาเจาก็ขอไหวสาถามเจาพระครู ตุนบุญอนันตา ในสลาชางจักกอสรางเสาวิหารและกอปางเอกนั้น ตี่ในเมืองพะยาวยังมีหรือไมมี สลาผูฉลาดดีนั้นจาติ (ชาติ) เปนเจ็ก จางกอสรางทํายังมีหรือไมมี เปนภาษาพมาหรือจาติเงี้ยวจาติลาว จาติไทย เปนผูเ ขาใจ ถาหากหาบไดกข็ อพระครูเจาบอกมาหื้อขาเจา ไดฮูจิ่ม (รูดวย) ขาเจาจักหาไปในตี่สลา ตี่จักตัดหลังคามุงคือตัด เครื่องขางบนนั้น ขาเจาจักหาเอาไปจากเมืองลําปูนมิตองเกี่ยวของ ดวยพระครูเลย


๑๒๑

ขอสาม ขาเจาไหวสาพระครูเจาขอพระครูเจาบอกมาหื้อขา เจาไดฮูตวย (รูดวย) ในตี่เสาพระวิหารนั้นมีกี่เลม ลวงสูงนั้นมีกี่วากี่ ศอก ขื่อหลวงมีกี่วากี่ศอก ลวงยาวแปนั้นมีกี่วากี่ศอก ขาเจาไหวสา พระครูขอบอกหื้อขาเจาไดฮูจิ่ม (รูดวย) ขอสี่ ในการตี่ขาเจาจะขึ้นมานั้นบมีกําหนดได ถาวาออก วัสสาแลว ถาบเติ๊กจนการอันใดขาเจาก็จักขึ้นมาเร็วๆ นี้บมีกําหนด เดือนไหนเวลาใดยามใดก็ไมกฎหมายฮูไดเลย ขอหา แตเดี๋ยวนี้มีการตี่ยังบกุมบปอนั้นเปนตนวาขื่อแป กอนลาดกานผาปานลมจอฟาดินกี่ ปูน ทราย อันใดบเพียงพอนั้น ขาเจาขอพระครูเจาเปนเกา ตั้งปายในและปายนอกพรอมกั๋นตั้ง เจานายและไพรนอย นายฮอยตั้งหญิงจายใหญนอยจุคน หื้อปากั๋น โขงขวายมาฮิบฮอมเอาไวหื้อพรอมจุเยื่องจุอัน กันขาเจาไดมาแผว แลวก็จักหื้อไดลงมือทําเร็วๆ นี้ อันวิหารนั้นมีก่ีหองหองไหนมี กี่ศอกขาเจาใครฮู เพราะวาสลาจักถามจักบอกหื้อเขาฮู เพราะฉะนี้ ขาเจาจึงมีจดหมายตอบไหวสา ถามพระครูตนมีบุญอนันตาหื้อได ฮูตามดังกลาวมาในขางบนนี้ ดวยความเคารพอยางยิ่งอยางสูง ลงนาม พระชัยยา ภิกขุ


๑๒๒

จดหมายพระครูบาเจาศรีวิชัยถึงพระครูศรีวิราช วชิรปญญา ฉบับที่ ๒ ที่วัดเจียงยัน เมืองลําปูนเดือน ๑๒ แฮม ๘ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ ลงนาม พระชัยยา ภิกขุ นมัสการกราบทูลมายังเจาพระครู ศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะแขวงในเมืองพะยาวทราบ ดวยบัดนีข้ า เจาไดฮบั จดหมายและกํา๋ หนดของพระครูบาเจา ฯ ทุกประการ ในใจความวาพระครูเจาจักฮื้อขาเจาเปนเกาแกคนตั้ง หลายสรางนัน้ ขาเจามีใจจมจืน่ ยินดี ถาวาขาเจาหาเงินทองตีจ่ กั สราง นัน้ บไดเงินทองตีไ่ ดมาทุก ๆ วันนีไ้ ดตไ่ี หนขาเจาก็เอาสรางเอาตาน เสียตี่น้ันหมด ขาเจาก็บจางเปนเกาไดอันนึ่งขาเจาเปนผูนอยบมี อํานาจตีจ่ ะบังคับเขาได ขาเจาขอจวย พระครูเจาไปตามบุญตามกําลัง ขาเจาดูกอน ถาบุญปางหลังของขาเจาและของพระครูและเจานาย และศรัทธาตั้งหลายยังจะไดสรางฮวมกันดั่งอั้น ก็หวังวาจักแลวตาม คําผาถนา (ปรารถนา) ของเฮาตั้งหลายทุกคนตามกุศลไดปามา เพราะฉะนีข้ อศรัทธาตัง้ หลายปายนอกเจานายตาวพระยาใหญนอ ย นายบานขุนเมือง ขอเปนศรัทธาจิม่ กันทุกคนหือ้ เปนบุญในปายหนา หือ้ ไดถงึ สุขแกเมืองฟาเปนหนาแกเมืองคนหือ้ เปนกุศลนําฮอดเมือง แกวยอดเนรปานแกหมูเฮาตั้งหลายจุผูจุคน นั้นแตดีหลี ขาเจาขอ ไหวสาถามกับพระครูเจาวิหารใหญเตาใดมีกี่หอง เสามีกี่ตน แปมีกี่ ศอก สลาตี่จักกอเสาและปางเอกในเมืองพะยาวมีกาฤๅวาหาบได ขอพระครูบาเจาบอกมาหื้อขาเจาฮูจิ่มขาเจาจักหาไป ในสลาที่ตัด เครื่องบนนั้นมีแลวกา ถาวาบมีขาเจาจักเอาไป อันใดยังบกุมบปอนั้น ขอกึ๊ดไวเสียพรอมกึ๊ดเอาปูนไวหื้อได หลายปนลาน ดินกี่หลายแสนในวิหารหลังนี้พระครูเจาจักสรางใน


๑๒๓

แลงนีก้ าฤๅวาจักกอยสรางไปบมกี า่ํ หนดกา ถาวาแลงนีย้ งั บสรางเตือ่ กันวาพระครูเจาจะสรางหื้อแลวในแลงนี้ดั่งอั้น กันวาขาเจาบเติ๊ก บจนอันใด กันออกวัสสาแลวขาเจาก็จักขึ้นมา เดือนใด วันใด ยังบมีกํ๋าหนด ถาขาเจาเติ๊กจนอันใดอันหนึ่ง ขาเจาก็ขออนุญาตกับ พระครูเจา ขอจะไปหื้อเสียสัจจะศีลธรรมแหงขาเจา ขอพระครูเจามี ความกรุณาโผดขาเจาจิ่มดวย ในเดือน ๑๐ แฮม ๔ ขาเจาทิง้ หนังสือสงเมลมาถึงพระครูเจา แลวกาวาบถึง ขาเจาใครฮูในเมืองพะยาวกั้นขาวเต็มที่กาฤๅวาบกั้น (ขาวนํา้ ปจจัยหายากไหม) กันกัน้ ขาวนัน้ ขาเจาก็กลัว๋ บเปนไปในการ กุศลอันสรางนั้นแล เพราะฉะนี้ขาเจาจึ่งมีจดหมายไหวสาถามมายัง พระครูเจาทุกประการตามมาดั่งในจดหมายนี้ ควรบควรสุดแลวแต พระครูเจามีความกรุณาและโผด (โปรด) ขาเจา สวัสดี ลงนาม พระชัยยา ภิกขุ


๑๒๔

บันทึกของพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เรื่ อ งการไปอาราธนานิ ม นต ท  า นพระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย ครั้งที่ ๑ ไดใหเจานอยกูเลากู เมืองเชียงใหม ไปนิมนตไปวันที่ ๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตรงกับวันเดือน ๗ เหนือ แฮม ๑๐ คํ่า ครั้งที่ ๒ ไดใหนายสิบเอกอาย เมืองพะยาวนิมนตไปวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตรงกับวันเดือน ๘ เหนือ ออก ๑๐ คํ่า ไปนิมนตรวม ๒ ครั้ง นี้คือครั้งที่ ๑-๒ ทานตุเจาศรีวิจัย ทานไดสั่งมาใจความวา ทานไดตั้งสัจจะอธิษฐาน ผายเบีย้ ผายครัง้ ที่ ๑ เบีย้ มูบตัด๊ ตาศาลา ๙ หอง ผายครัง้ ที่ ๒ เบีย้ มูบตัด้ ตา หมอนาฮก (หมอนรก) ผายครั้งที่ ๓ เบี้ยมูบตั๊ดตาหมออเวจี บเตาแตนั้น ก็ไดหอ้ื หมอโหราทํานายตวายดูตา มคัมภีรโ หรา หมอโหราก็บอกวา หนตาง ไปตุเจา (พระ) หากมี หนตางตี่จักมาบมี วาฉะนั้น เพราะฉะนั้นในป พุทธศักราช ๒๔๖๔ จักไปได ทานสั่งมากับดวยจองมูคํา บานสบตํ๋ามามี แตเตานี้ ครั้งที่ ๓ ไดหื้อพระปญญา วัดสนตนตอง ตํ๋าบลปนเมืองพะยาวไป นิมนต ไปวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตรงกับวันเดือน ๓ เหนือ แฮม ๓ คํ่า ทานกลาววา ถาจักหื้อขาเจาไปเปนเกากึ๊ดกอ สรางวัดพระเจา ตนหลวงนัน้ หือ้ ปากัน๋ ปน ดินกีไ่ วหา แสนหนึง่ ถามีดนิ กีแ่ ลวกันขาเจาไปแผว แลวคนเมืองพะยาวก็จะปากั๋นมาผอ (มาดู) ขาเสี้ยงตึงเมือง ขาเจาก็จักปา เอาคนตั้งหลายจวยกั๋นกิ๊ดหื้อเปนการเสร็จแลวครั้งนั้นทานกลาวแตเตานี้


๑๒๕

กันอยูมาถึงวันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตรงกับวันเดือน ๗ เหนือ ออก ๕ คํ่า เวลาเจา ๗ โมง มีปอเลี้ยงหนานตะ ศรัทธาวัดดอน เหล็ก บานดอกคําใต มาตี่วัดราชคฤห มาแจงความวาตุเจาศรีวิชัยทานได สั่งใจความวา ขอปอออกไดฮับกําสั่งของเฮาไปไหวสาพระครูเมืองพะยาว หือ้ จิม่ ดวยเรือ่ งการตีจ่ กั กิด๊ กอ สรางวิหารพระเจาตนหลวงเมืองพะยาวนัน้ ทาน พระครูไดนิมนตเฮาถวน ๓ ครั้งแลว เพราะฉะนั้นกันตกปใหมแลว ออกวัสสาแลว ถึงเดือน ๔ เฮาจักไปตี่วัดพระเจาตนหลวงเมืองพะยาวเปน แน แตทกุ วันนีเ้ ฮาก็มคี วามอาลัยใจตดิ คิดถึงพระเจาตนหลวงอยูท กุ วันบได ขาด แตวัดพระเจาตนหลวงเปนอยางไร เฮาก็ฮูสรางเสี้ยงเหมือนตาไปหัน อันนึ่ง พระครูเมืองพะยาวฮายและดีอยางใดเฮาก็ฮูเสี้ยงเหมือน ตาไป หันเหมือนกั๋น พระครูเมืองพะยาวองคเดียวเตานี้ก็ไดถูกใจก๋ันจักไดฮวม บุญตานกับดวยกัน๋ จักขีส่ าํ เภาลําเดียวกัน๋ กันเฮาไดไปถึงพะยาวแลว วิหาร วัดพระเจาตนหลวงก็คงจักสําเร็จเสร็จไปเปนแน แตไมสาํ เร็จเฮาตึงบไปเสีย กําแลวกันไดไปกึ๊ดสรางเสาวิหารตองกอแลวดวยปูนซีเมนตทุกเลม กันได ไปกึ๊ดสรางแปง สําเร็จแลวดีงามไดหยาดนํ้าถวายตานแลวจึ่งจักไดลาไป เมืองลําปูน อนึ่งคนเมืองพะยาวคนใดก็กลาววาใครหันหนาพระศรีวิชัย วัดบานปาง กันไดถึงเมืองพะยาวแลวคนในเมืองพะยาวจักปาเอากั๋นมา ผอเสี้ยงตึงเมือง อันนึง่ ขอหือ้ ทานพระครูไดจดั การ ปน ดินไวหลายๆ ปน ไดนกั เตาใด ก็เปนการดี อันนึ่งวิหารหลังเกานั้นก็หื้อเตรียมไมปวนเครือเขาเคนคาดไว หื้อดี เหล็กตี๋ไมไวหื้อมั่น อยาหื้อโกนกาน ปงตกลงจับใสพระเจาแตเนอ กําสั่งตุเจาศรีวิชัยมีแตเตานี้ วันนี้ ขาพระครูศรีวิราช ไดไปวัดพระเจาตนหลวง พระสุริยวงษ ผูอยู เฝาวัดเปนผูแตมเขียนปอเลี้ยงหนานตะเปนผูบอก


๑๒๖

กันมาอยูถึงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๕ ตรงกับวัน เดือน ๘ เหนือ แฮม ๑๐ คํ่า พระอินทยศ วัดบานนํ้าแพร อําเภอเมืองเทิง มาบอกวาไดไปตี่ตุเจาศรีวิชัย วัดบานปางแลวทานไดสั่งใจความวา ขอหื้อ ไปไหวสาพระครูเมืองพะยาวหือ้ ทานไดทราบดวยจิม่ ดวยเรือ่ งตีจ่ กั ไดสราง วิหารวัดพระเจาตนหลวงนั้นถาบมีไผจักมาเปนเกากึ๊ดสรางนั้นหื้อทาน พระครูไดใจคนไปนิมนตเตอะ กันออกวัสสาแลวถึงเดือน ๔ ก็จักไดไปเปน แนนอน อันนึ่ง หื้อพระครูไดจัดแจงปนดินกี่ไวนัก ๆ หลาย ๆ ดวยจิ่มแต ในวิหารวัดพระเจาตนหลวงนัน้ กันไดไปกึด๊ สรางก็หนั จักปนลุกปนแลวโดย เร็วเพราะวาจักมีคนมาจวยหลายเตมที อันหนึง่ ทานพระครูเมืองพะยาวทาน ก็ไดเอาใจใสดวยใจศรัทธา กําสั่งของทานตุเจาศรีวิจัยมีแตเตานี้ ครัง้ ที่ ๔ กันวาไดไปสรางแปงโฮงกุฏติ พี่ กั ไวใหทา นตุเ จาศรีวชิ ยั แลว ไดปนดินกี่ไวเสร็จแลว พระปญญา ตําบลปน ไปนิมนตวันเดือน ๙ ออก ๑๑ คํ่า จดหมายจากพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะเมืองพะยาวถึงเจา ผูครองนครเชียงใหมตี่วัดราชคฤห เมืองพะยาว (พะเยา) จั๋งหวัดเจียงฮาย (เชียงราย) วันที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๕ อาตมาภาพพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะแขวงอําเภอ เมื อ งพะยาว ขอถวายพระพรพระมหาบพิ ต รเจ า ผู  ค รองจั๋ ง หวั ด เจียงใหม ทราบ ดวยบัดนีอ้ าตมาจะไดใหพระปญญา วัดสันตนตอง ตํา๋ บลปน ขึ้นไปบอกบุญสรางวิหารพระเจาองคหลวงโตงเอี้ยงพะยาว คือจะไป


๑๒๗

แผเมืองเจียงตุง เมืองยอง เมืองเจียงรุง เมืองแจ เมืองแฮม รวมกั๋น เปน ๕ หัวเมือง เพราะฉะนั้นอาตมาภาพขอหนังสือจดหมายของ มหาบพิตรเจาและหนังสือของเทศาภิบาลผูเปนหัวหนาราชการ มณฑลพายัพ เพื่อจะเอาหื้อพระปญญาสําหรับติดตั๋วเอาไปบอกบุญ ใน ๕ หัวเมือง เมื่อบไดหนังสือ ๒ ฉบับไป กลั๋วแตคน ๕ หัวเมือง จะไมเชือ่ เพราะไดทราบขาววามีคนรายลักไปแผครัง้ หนึง่ แลว จะควร มิควรแลวแตความดําริ บั น ทึ ก ของพระครู ศ รี วิ ร าช วชิ ร ป ญ ญา ต า มคํ า พู ด ของ พระป ญ ญา วันที่ ๑๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตรงกับวันเดือน ๙ เหนือ แฮม ๑๐ คํ่าเวลาเจา ๔ โมง ทานตุเจาศรีวิจัยทานฮับขันนิมนตแลว ทานถามวา “ในวิหาร พระเจาตนหลวงได กึ๊ดไปทุกวันแลวหรือยังบไดกึ๊ดเตื่อ ในวันนี้เวลาเจา ๓ โมง ขาเจาก็ไดปรึกษากันจะใจคนไปถามดูเรื่องการ สรางวิหารถามีผูเปน เกาสรางแลว ก็จะไดเอาเงินไปฮอมถาบมไี ผเปนเกาสรางก็หอื้ ไดฮกู ป็ รึกษา กัน๋ ฉันนี้ ขาเจาบอกวาไหวสาศีลธรรมเจา เรือ่ งวิหารพระเจาตนหลวง เวลา นีย้ งั บมใี ผเปนเกาสรางเตือ่ เพราะฉะนัน้ ทานพระครูเมือง พะยาวและนาย อําเภอและเจาหลวงเมืองพะยาวจึงใหขา เจามาขอนิมนตศลี ธรรมเจา ขอไป เปนเกาสรางหื้อเปนการเสร็จแลว” ทานถามวา “ดินกี่มีไวแลวกา ดินขอมี ไวแลวกา ปูน มีไวแลวกา ไมเครือ่ งวิหารมีไวแลวกา ดินกีต่ ป่ี น ไวนน้ั ไดจา ง เอากา ถาไดจางปนจะไดแกคากาวาบไดจาง แตเมื่อเดือน ๓ ขาเจาไดฮับ กําสั่งจาก ศีลธรรมเจาจะไปกึ๊ดสราง คนตั้งหลายตางก็มีความยินดีก็ได พรอมกั๋นปนดินกี่ไว” ทานกลาววา “จื่อเสียงขาไปดังอยูเมืองพะยาวเตมที


๑๒๘

กา” ไหวสาศีลธรรมเจาแตทุกวันนี้ พระครูกับตั้งปอเจาหลวงก็ดี ทานนาย อําเภอและคนตั้งหลายก็ระลึกกึ๊ดถึงศีลธรรมเจา ตางคนก็ตางกองหันหนา ศีลธรรมเจาอยูทุกคนบไดขาด ทานถามวา “แบบอยางฮางหุนวิหารนั้นจะ เปงใจอยางใด” ไหวสาศีลธรรมเจา ทานพระครูและทานนายอําเภอก็วา เปงใจอยางวิหารหลวง (พระวิหารวัดพระธาตุหริภุญชัย) เมืองลําปูนวา ฉะนั้น ทานวา “ถาอยางนั้น ขาก็ชอบเปงใจกําแลว” ทานถามวา “สลา มีไวแลวกา” ไหวสาศีลธรรมเจา สลายังบไดหาไวในกาสลาคนจางแปง วิหารนัน้ ก็ขอแลวกับศีลธรรมเจาตึงมวลทานกลาววา “ดีแลวสวนสลานัน้ ขาจักเอาแตเมืองลําปูนไปตวยหือ้ พรอม” ทานกลาววา “แตใครหอ้ื ปนแลว ดวยเร็วๆ หื้อไดหาไมเครื่องวิหารไวหื้อพรอมกับหาปูนซีเมนตไวนักๆ กับ หาแปนเกล็ดหรือดินขอไวนกั ๆ” ทานสัง่ วาฉะนี้ ทานกลาววา “หือ้ ตุเ จาไป ไหวสาพระครูเตอะ เพราะขาไดฮบั นิมนตของทานแลว ขาก็คงจะไดไปเมือง พะยาวเปนแน หื้อตุเจาไดไปบอกหื้อทานพระครูเตอะบถาฮอนใจ กันออก วัสสาแลวขาคงจะไดไปแน แตคนเมืองลําปูนก็จะไปตวยหลายอยู ถานาย ฮอยไมตงั้ หลายในเมืองลําปูน เจียงใหมและนครลําปาง เมืองงาว กันฮูข า ว ขาไปแลวเขาตานตั้งหลายก็จักมีใจใสศรัทธาก็คงจะไปตวยหลายเตมที” วาฉะนั้น ทานกลาววา “หือ้ ทานไปเมตตาปอเจาเมืองลําปูนหือ้ ทานทราบจิม่ ” ขาพเจาพระปญญาจึ่งไดลาทานไปตี่เจาครองเมืองลําปูน ทานกลาววา “ดีแลวกันตุเ จาบานปางไปวิหารพระเจาตนหลวงเมืองพะยาวก็คงสําเร็จแลว เร็ว ๆ เปนแน เพราะคนตั้งหลายผูมีใจบุญ ก็จะติดตามไปดวยทานมาก ถาไมมีการขัดของอยางใด ตั่วขาเจาก็จักไปตวยทาน” วาฉะนี้


๑๒๙

ตรงกุ ฏิ ข องพระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย เมื่อมาบูรณะวัดพระเจาตนหลวง ภายหลังสรางเปนวิหารอนุสาวรีย พระครูบาเจาศรีวิชัย ภายในเปนที่ ประดิ ษ ฐานรู ป เหมื อ นและสถู ป บรรจุอฐั ธิ าตุของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั

ถายทีต่ น ชบา บนพระธาตุจอมทอง คราวฉลองพระวิ ห ารวั ด พระเจ า ตนหลวง (วั ด ศรี โ คมคํ า ) เมื อ ง พะเยา อายุ ๔๖ ป


๑๓๐

ถายที่ตนชบา บนพระธาตุจอมทอง เมืองพะเยา เมื่ออายุ ๔๕ ป


๑๓๑

บั น ทึ ก ระหว า งการเดิ น ทาง วันพฤหัสบดี เดือนยีเ่ หนือ แรม ๖ คํา่ จุลศักราช ๑๒๘๔ ทานพระครูบา เจาศรีวิชัยไดออกจากกุฏิคณะเชียงยัน วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลําพูน ไปยังเมืองพะยาว เพื่อการบูรณะปฏิสังขรณวัดพระเจาตนหลวงทุงเอี้ยง (วัดศรีโคมคํา) ซึ่งมีผูติดตามทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ มีพระภิกษุจํานวน ๒๙ รูป สามเณร ๓๐ รูปฝายคฤหัสถ ผูศรัทธาติดตามหาบสิ่งของเครื่องใช ๓๐ คน พระครูบาเจาศรีวิชัยไดนั่งบนเสลี่ยงคานหามเปนขบวนของ นักจาริกแสวงบุญครัง้ สําคัญยิง่ ของชาวพุทธในถิน่ ลานนาในเวลานัน้ เพราะ ทานพระครูบาเจาจาริกไปทีไ่ หนจะไดรบั การตอนรับปฏิสณ ั ฐานดุจประหนึง่ เทพเจา สมัยนั้นตองไปตามปาชางทางเสือหนทางก็ตองผานหมูบานชนบท ตางๆ จากหมูบ า นหนึง่ ถึงอีกหมูบ า นหนึง่ แตละหมูบ า นทีข่ บวนนักบุญเดิน ผาน เขาจะประดับตกแตงทําเปนปะรําพิธีไวคอยรับ จะขัดราชวัตรประดับ ตนกลวย ตนออย ตกแตงตั้งหมอนํ้ากินนํ้าใช นํ้าอบ นํ้าหอม นํ้าขมิ้น สมปอย สองขางทาง ก็จะประดับไปดวยชอธง ตุง ผาขาว ผาแดงเตรียมเสือ่ สาดอาสนะไวรองรับ พอขบวนของพระครูบาเจาฯ มาถึงแตละแหงก็จะได รับการตอนรับจากคนในหมูบาน ตําบล อําเภอนั้นๆ ทั้งๆ ที่ไมไดมีการ กฎเกณฑบังคับ ตางก็ใครจะชมบุญชมบารมีของทานพระครูบาเจาฯ ผูชาย จํานวนมากก็จะพากันนอนควํ่าเปนแถวใหพระครูเจาเดินไปบนรางของ ตนเอง บรรดาผูหญิงก็จะเอาผาขาวมาปูลาดเปนทางใหทานเดิน พอถึง ปะรําที่เตรียมไวรับตางก็จะนําเครื่องจตุปจจัยนอมนํามาถวายไมวาจะเปน บรรพชิตนักบวชหรือคฤหัสถตางก็เกิดความปติโสมนัสที่ไดรวมอนุโมทนา บุญกับทานพระครูบาเจาศรีวชิ ยั จากหมูบ า นหนึง่ ถึงอีกหมูบ า นหนึง่ ผูม จี ติ ศรัทธาทัง้ หลายจะสงและรับขบวนของนักบุญอยางตอเนือ่ งจะมีการแหฆอ ง


๑๓๒

กลองกังสดาลแหนาํ หนาและตามหลัง นับวาเปนการแสดงออกดวยศรัทธา อันแรงกลาของคนในสมัยนั้นอยางชนิดที่วาไมเคยมีเหตุการณอันนา ประทับใจเชนนี้กับผูใดมากอน การเดินทางของคณะทานพระครูบาเจาศรีวิชัยไปยังวัดพระเจา ตนหลวง ทุง เอีย้ ง เมืองพะเยา (วัดศรีโคมคํา) ซึง่ มีบนั ทึกการเดินทางเทาที่ จดบันทึกไวมีดังนี้ เดินทางมาถึงหมูบ า นทาเดือ่ รับนิมนตพกั คาง ๑ คืน ถึงบานตาวผายู รับนิมนตพักคาง ๑ คืน ถึงหมูบานตาวคําวังรับนิมนตพักคาง ๒ คืน ถึง หมูบานตนดาวเรืองรับนิมนตพักคาง ๑ คืน ถึงบานดอนพิง รับนิมนตพัก คาง ๑ คืนถึงบานปาแดง รับนิมนตพักคาง ๕ คืน ถึงหมูบานดอกเอี้ยง รับนิมนตคาง ๑ คืน ถึงหมูบานดอยสะเก็ด รับนิมนตพักคาง ๔ คืน ถึง เดือน ๓ (เหนือ) ขึ้น ๙ คํ่า ออกจากตีนดอยสะเก็ดไปถึงหวยแมหวานมี บานอยู ๕ หลังคาเรือน นิมนตรับจตุปจจัยไทยทาน จากนั้นไปถึงศาลา ปางชาง ปงออ มีบานอยู ๑๐ กวาหลังคาเรือนชาวบานไดพรอมกันนํา เครื่องไทยทานมาถวาย การเดินทางตอไปผานปาเมี้ยง ก็จะเปนที่อยูของ คนพืน้ เมืองพอถึงบานทุง หาทัง้ ชาวพืน้ เมืองพวกยางปาก็รว มกันทําทีพ่ กั มุง ดวยใบตองใหพระภิกษุสามเณร ๕๐ รูปอยูมีหมูคน ๓ เชื้อชาติภาษาตาง ก็มีความยินดีรวมทําบุญใสบาตรถวายปจจัยไทยทาน จากนั้นก็เดินทางมาถึงเขตอําเภอพาน ขุนสวัสดิ์บํารุง พอเมืองพาน มีความเลือ่ มใสศรัทธาแรงกลา ออกมาใหการตอนรับนิมนตพระครูบาเจาฯ ณ ที่แดนตอนํ้ายอยหลอเมืองพานใหมาพํานักวัดในเมืองพานมาถึงเดือน ๔ (เหนือ) ขึ้น ๒ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ แลวศรัทธาทั้งหลายทั้งคฤหัสถและ บรรพชิต ตางก็พรอมกันมารวมอนุโมทนาบุญ ถวายจตุปจจัยขาวตอก ดอกไมธปู เทียน และไดมผี เู ขามาขอบรรพชาเปนสามเณร ๑๘ รูป บวชเปน


๑๓๓

พระภิกษุ ๒ รูป เดือน ๔ (เหนือ) ขึน้ ๔ คํา่ มาพักทีศ่ าลามีคนมารวมทําบุญ และมาขอบวชเปนพระภิกษุ ๒ รูป จากนั้นก็ไปถึงวัดพงจัยและวัดปาคา ทานก็ไดรับนิมนตรับเครื่องไทยทานเหมือนระยะทางที่ผานมา พอถึงวันจันทร เดือน ๔ (เหนือ) ขึ้น ๙ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ คณะ ของทานพระครูบาเจาศรีวิชัยก็มาถึงวัดพระเจาตนหลวง ทุงเอี้ยง (วัดศรี โคมคํา) เมืองพะเยา ใชเวลาเดินทางรวมทัง้ ทีพ่ กั แรมระหวางทางเปนเวลา ทั้งหมด ๔๗ วัน ทางคณะสงฆมีพระครูศรีวิราช วชิรปญญา เจาคณะแขวง อําเภอเมืองพะเยา ฝายศรัทธาสาธุชนมีเจาหลวงเมืองพะเยาพรอมศรัทธา สาธุชนเปนจํานวนมาก ตอนรับพระครูบาเจาดวยขันขาวตอกดอกไม อาราธนานิมนตเขาสูโ ฮงหลวง (กุฏใิ หญ) ทีส่ รางขึน้ ใหมสาํ หรับรับรองทาน โดยตรง ผูมีศรัทธาสรางชื่อนายปอม บริจาคเงิน ๑,๗๐๐ แถบ พระภิกษุ สามเณรและศรัทธาผูติดตามพระครูบาเจาพอมาถึงตางก็ไดรับรองใหอยู ที่พักตามฐานะอันควรในวันที่พระครูบาเจาฯมาถึงนั้นไดเกิดเหตุการณ อัศจรรยคือ มีผูชายสองคน คนหนึ่งนอมนํามาซึ่งตนขาวมีลักษณะพิเศษ ตนเดียวมีรวงถึงเจ็ดรวงเอาใสพานดอกไมมาถวาย อีกคนหนึ่งนําดอกบัว หลวงกานเดียวแตมี ๗ ดอก ดอกเทากับดอกบัวธรรมดา บางดอกก็บาน บางดอกก็กําลังตูม เกิดที่กลางหนองเอี้ยง (กลางกวาน) ใสพานพรอมขาว ตอกธูปเทียนนอมถวาย จึงนับไดวาเปนนิมิตอันดีอยางยิ่งที่ทานจะไดมา บูรณปฏิสังขรณ พุทธสถานอันสําคัญแหงนี้ใหเจริญรุงเรืองสืบไป แตกอนที่ทานพระครูบาเจาจะมาเมืองพะเยา ทานไดปรารภกับ บรรดาสานุศษิ ยวา การทีเ่ ราจะไปบูรณะวัดพระเจาตนหลวง ทุง เอีย้ งในครัง้ นี้ นับวาเปนการอันใหญหลวงกลัววาทําไมสําเร็จเพราะฉะนั้นเราจะตอง อธิษฐานจิตงดการฉันขาวหรืออาหารที่สุกกับไฟ จะฉันแตผลหมากรากไม แทนขาวเพื่อเพิ่มบุญบารมีในการรองรับงานในครั้งนี้แลวทานก็ต้ังใจงด


๑๓๔

อาหารตั้งแตออกจากเมืองลําพูนพอมาถึงเมืองพะเยาไดหลายวันพอดี นายคําพิลกึ คนบานหวยกาน จังหวัดลําพูน ซึง่ ติดตามมากับทานพระครูบาเจาฯ ไดนําเอากลอยมาถวายใหทานพระครูบาเจาฯ ทานฉันเขาไปไดสักพักเกิด อาการทั้งอาเจียนทั้งทองเสียอยางหนัก จนทานหมดเรี่ยวแรงแทบจะเอา ชีวิตไมรอดพอรูขาวถึงเจาหลวงเมืองพะเยา ทานจึงรีบมาเยี่ยมเยียนดวย ความหวงใย แลวนิมนตทานพระครูบาเจาฉันอาหารตามปกติ ทานก็ รับนิมนต แตเจาหลวงกลับไปฉุนเฉียวเอากับนายคําพิลึก เกือบจะลงแส หางกระเบน แตทานก็ระงับอารมณได บรรดาผูม จี ติ ศรัทธาทีม่ ารวมสรางบูรณะวัดพระเจาตนหลวงในครัง้ นี้ ถือไดวาเปนเรื่องใหญโตมากสําหรับชาวลานนาไทย มีผูคนมาตั้งหลาย เชื้อชาติภาษาตางบานตางเมือง อาทิจากเมืองเชียงใหม เมืองลําพูน นคร ลําปาง เมืองแพร เมืองนาน เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงของ เมืองลอง เมืองยอง เมืองเลน หัวโปง เมืองโพง ฮองเลิ๊ก เมืองเชียงตุง อยูใ นเขตพมามากันหลายเมือง เวียงแกวแจหม เมืองงาว เมืองพาน แมพริก แมขะจาน เวียงปาเปา มีทั้งพวกฝรั่ง ตองสู พมา เม็ง มอญ ญวน แขก จีน ลาว เขิน ลื้อ ขมุ ขะเมด ลั๊วะ ยาง ขา คุย คอ แมว หอ และมูเซอ ชาวเขา หลายๆ เผาตางก็มาไหวสาชมบุญญาธิการของพระครูบาเจาฯ แลวรวมสราง บูรณะพระเจาตนหลวง (สรางพระวิหาร ศาลาคด พระอุโบสถรวมทัง้ บูรณะ องคพระธาตุจอมทองที่อยูในอาณาเขตเดียวกัน) วันพฤหัสบดี เดือน ๔ (เหนือ) ขึ้น ๑๑ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ เปน วันรื้อพระวิหารพรอมกับการปรับพื้นที่เรียบรอยใชเวลา ๘ วันจึงเสร็จ วันพุธที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ เปนวันวางอิฐทองเปน ฤกษลงหลุม มีพระภิกษุ ๑๖รูป เอาอิฐปดทองทีเ่ ตรียมไววางลงหลุมเปนการ เอาฤกษสราง โดยมีพระภิกษุป (ตอนหลังสึกเปนตาปะขาว) และพระภิกษุ


๑๓๕

สุภาซึ่งทานพระครูบาเจาฯ มอบหมายใหควบคุมดูแลการสราง แลว พระภิกษุสามเณรทั้งหลายพรอมกันเอาอิฐหินปูนทรายเทตามลงไปใน หลุมเสา การวาจางชางคนจีนที่มีฝมือทําฐานเสาได ๑๐ วัน หัวหนา ๑ คน จางวันละ ๓ บาท ชางรอง ๓ คน วันละ ๒ บาทลูกมือ ๘ คน รายวันละ ๑ บาท รวมคาจางชุดแรก ๑๓ บาท แลวจางชางคนจีนชุดใหม หลอเสากลาง ๘ ตน หลอดวยปูนซีเมนตเสริมเหล็ก หนากวาง ๓๐ นิ้ว ยาว ๑๔ ศอก จางหลอตนละ ๕๕๐ บาท การสรางพระวิหารหลวงครั้งนี้ ไดมีผูรับเปนเจาภาพเสาเปนตน ๆ มีรายนามดังนี้ ๑. เจาหลวงประเทศอุดรทิสา พรอมดวยชายาและครอบครัว ๑ ตน ๒. นายจีนจัน กรรมการทางรถ เมืองงาว พรอมดวยครอบครัว ๑ ตน ๓. นายสางออน เมืองงาว ๑ ตน ๔. ขุนนิคมคามโคหาชนบท ขุนพินยศ นายอําเภอพะเยา ๑ ตน ๕. นายภะกาสรอยคํา นางปอม ซองเมธา บานดอกคําใต ๑ ตน ๖. นายนอยอิ่นคํา นายตุย แมหนอ บานหนองระบู ๑ ตน ๗. นายนอยสุข พรอมดวยครอบครัว บานแมสุก ๑ ตน ๘. นายภะกาญาณะ นางพวน บานหวด เมืองงาว ๒ ตน รับชอฟา ๒ ตัว รับเสา ๙. เจกภู พรอมครอบครัว บานอยูในอําเภอพะเยา ๑ ตน ๑๐. นายนอยวงค ผูใหญบานเมืองพะเยา ๑ ตน ๑๑. นายนอยอินตะ พรอมดวยครอบครัว บานแมตํ๋า ๑ ตน ๑๒. สางออน เมืองงาว ๒ ตน ๑๓. นายนอยคุย กํานันบานแมตํ๋า ๑ ตน ๑๔. นายนอยสิงหคํา เวียงปาเปา ๑ ตน


๑๓๖

๑๕. นายนอยวงค ผูใหญบานแมใส ๑๖. ขุนสวัสดิ์บํารุง พอเมืองพาน รวมเสา ๑๙ ตน คิดเปนคาจางประมาณ ๙,๙๐๐ บาท

๑ ตน ๑ ตน

การสรางพระวิหารหลวงในชวงตอไปก็ไดหาชางทีม่ คี วามชํานิชาํ นาญ โดยการวาจางนายนอย วงคเปย เปนหัวหนาชางและชางที่รองลงมาอีก ๖ คนคือ นายบุญถึง นายกองคํา นายหนานธิ นายแกว นายคํา นายรอด เปนชางฝมือดีจากนครลําปาง และหาชางจากเมืองพะเยาอีก ๒๐ กวาคน ฝายทานพระครูบาเจาฯ ก็มอบหมายใหพระภิกษุป ควบคุมดูแลการกอสราง แทน นายชางชุดหลังนี้เริ่ม ทํางานตั้งแตวันเดือน ๕ (เหนือ) ขึ้น ๒ คํ่า ระหวางที่พระครูบาเจาศรีวิชัยมาเปนประธานบูรณะวัดพระเจา ตนหลวงอยูน น้ั ก็เกิดเหตุการณเหมือนวันทีม่ าถึงอีกครัง้ หนึง่ คือในวันเดือน ๔ (เหนือ) แรม ๔ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ มีชายคนหนึ่งไดนอมเอาดอกบัว อันเกิดที่กลางนํ้ากวาน ครั้งนี้กานเดียวมี ๕ ดอก แตละดอกขนาดเทากับ ดอกธรรมดาใสพานมาถวาย พอมาถึงเดือน ๕ (เหนือ) ขึ้น ๑๓ คํ่า จุลศักราช ๑๒๘๔ มีชายอีกผูหนึ่งไดนําเอาดอกจั๋งกร มีกานเดียวแต ออกดอก ๓ ดอก ดอกออกสืบตอกันขึน้ บน เอาใสพานมาถวายทานพระครู บาเจาฯ นี้ก็นับวาเปนนิมิตนาอัศจรรยอันเปนเหตุสําคัญมาก ชะรอยวาจะ เปนขาวตอกดอกไมของเทพยดาเจาทีร่ กั ษาพระพุทธศาสนาคงจะอนุโมทนา สาธุการซึ่งพระครูบาเจาฯในการมาบูรณะพระวิหารหลวงในคราวนี้ เปน แนแท การกอสรางพระวิหารหลวงมีผูศรัทธาเลื่อมใสมาทําบุญสรางบารมี รวมกับทานพระครูบาเจาอยางตอเนื่อง ใชเวลาในการสรางเพียง ๒ เดือน ก็สําเร็จ โดยเฉพาะพระอุโบสถใชเวลาสรางเพียง ๑ วัน


๑๓๗

เมือ่ สรางพระวิหารหลวงเสร็จเรียบรอย พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ไดบรู ณาการ ซอมแซมองคพระเจาตนหลวงใหงดงามทนตอกาลเวลา โดยพระครูบาแกว กาวิชโย เจาอาวาสวัดดอนเหล็ก บานดอกคําใต เมืองพะเยา ซึง่ เปนผูม อี ายุ พรรษาเท า กั บ พระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย มี ค วามสนิ ท สนมเคารพกั น มาก ไดแนะนํานายชางทิศ ตรีเนตร ชาวบานดอนเหล็กเปนชางผูมีฝมือ ชํานาญการสรางพระพุทธรูป ถือวามีความสามารถสูงในเมืองพะยาว ใหเปนชางใหญ ซึ่งก็ไดรับความเห็นชอบจากพระครูบาเจาฯ ที่จะให นายชางทิศ ตรีเนตร ไดทาํ งานชิน้ สําคัญประดับตกแตงองคพระเจาตนหลวง จากผิวปูนเดิมที่ชํารุดไปตามกาลเวลา ไดรับการโบกฉาบทําผิวขึ้นมาใหม ใหประณีตสงางามอลังการ สวนดวงตาพระครูบาเจาศรีวิชัยไดรับบริจาค เงินแถบ (เปนเนือ้ เงินบริสทุ ธิ)์ นํามาหลอมแตงพระเนตรนัยนตาใชรกั แตง เปนสีดํานิล รับกับใบหนาอยางงดงาม ดุจมีชีวิตชีวาสงบสํารวมเปยมดวย ฉัพพรรณรังสี เหมือนกับมองดูศรัทธาสาธุชนดวยพระเมตตาพระมหากรุณา บริสุทธิ์ออนโยนอิ่มเอิบเบิกบานเปนพลังพุทธานุภาพ และพลานุภาพ ดลจิตดลใจมหาชนจากทั่วสารทิศใหเกิดพลังศรัทธาเคารพเลื่อมใสใน องคพระศรีรัตนตรัย ดวยความซาบซึ้งประทับใจอยางใหญหลวง สมัยนัน้ ศรัทธาสาธุชนสามารถเขาไปกราบไหวสมั ผัสถึงองคพระเจา ตนหลวงเหมือนกับไดอยูใกลชิดพระพุทธองคเมื่อยังทรงพระชนมชีพได พึ่งบารมีกันอยางทั่วถึง แมผูเขียนเองขณะแรกเกิดมีโรคภัยไขเจ็บรุมเรา ดุจอยูใ นอุง เล็บของมัจรุ าชอยูใ นหวงอันตรายนาหวาดกลัวมากๆ คุณพอ... ก็ไดมากราบไหวองคพระเจาตนหลวงขอพรจากพระองคทานไดโปรด เมตตาคุมครองรักษาชีวิตพรอมกับขอมอบถวายทานใหเปนพุทธบุตร ลูกของพระเจาตนหลวง นับตัง้ แตนนั้ มาอาการปวยทีอ่ ยูใ นสภาพนาเวทนา สงสารก็ เริ่ ม ทุ เ ลากลั บ มี ชี วิ ต ชี ว าจนหาย เป น ปาฏิ ห าริ ย  เป น ด ว ย


๑๓๘

พุทธานุภาพคุมครองมาอยางดีวิเศษจนกระทั่งไดเจริญวัยเปนพุทธบุตร สืบสานบวรพุทธศาสนาและเจริญตามฮีตรอยบาทวิถีบารมี พระครูบาเจา ศรีวิชัย สิริวิชโย มาถึงทุกวันนี้ เงินทีม่ ผี มู าบริจาคมีจาํ นวนถึง ๕ ปบ ใชทราย ๗๐๐ หลา ปูนซีเมนต ๖๐๐ ถัง นํ้าออย ๖๖๕,๐๐๐ ใชทองคําเปลว ๒๗๒,๖๓๕ แผน ใชนํ้ารัก ๑๐๐,๐๐๐ ใชหาง ๒๐,๐๐๐ รวมการกอสรางบูรณะพระวิหารพระพุทธรูป เจาองคหลวง พระธาตุจอมทอง วิหารคดและพระอุโบสถ รวมเงินเปน ๑๐๐,๙๖๓ รูป (หนึ่งแสนเการอยหกสิบสามรูป)ทั้งนี้ไมนับคาแรงอีก มากมายจากศรัทธาสาธุชนที่มาชวยสราง และไดเริ่มทําพิธีทําบุญฉลอง ตัง้ แตวนั เพ็ญเดือน ๕ ถึงวันเพ็ญเดือน ๖ (เหนือ) ในปพทุ ธศักราช ๒๔๖๖ หลังจากงานบูรณะวัดพระเจาตนหลวงเสร็จแลว ทานพระครูบาเจาศรีวิชัย ก็ไดจาริกไปจังหวัดแพร ไดทาํ การบูรณะองคพระธาตุชอ แฮเปนกรณีพเิ ศษ เพราะเปนพระธาตุประจําปเกิดของทานพระครูบาเจาศรีวิชัย คือปขาลจึง ไดใชวสั ดุหลอดวยคอนกรีตเสริมเหล็กทัง้ องคใหมคี วามงดงามคงทนถาวร สําเร็จอยางรวดเร็ว ในปเดียวกันนั้นเอง แลวกลับมาพํานักจําพรรษาที่วัด พระเจาตนหลวงอีก พระครูบาเจาศรีวิชัย จะมีความผูกพันกับบรรยากาศเมืองพะยาว มากถึงขนาดไดพูดกับชาวบานปาง(จากคําบอกเลาของพออุยหนอยศรี ปจจุบันอายุ ๙๔ ป (๒๕๕๔) ตอนเปนสามเณรอยูในกลุมดูแลทําอาหารเจ ถวายพระครูบาฯ) บอยครัง้ วา “เราไดจาริกเดินทางไปทัว่ บานทัว่ เมืองมาแลว ไมเห็นที่ไหนวาจะอุดมสมบูรณเทาเมืองพะยาว เปนบานเมืองนาอยูมาก” (ในปจจุบันจังหวัดพะเยา เปนจังหวัดเล็กๆ มีความสงบ มีภูเขาใหญโอบ ลอมเปนธรรมชาติมีทัศนียภาพ สวยงามบริสุทธิ์ ผูคนมีนํ้าใจโอบออมอารี ไดรับการคัดเลือกใหเปนเมืองนาอยูจังหวัดหนึ่งของประเทศ) หลังจากที่


๑๓๙

ทานไดสรางไดบรู ณะวัดพระเจาตนหลวงทุง เอีย้ งเมืองพะยาว ทานพระครูบาเจา ศรีวิชัยพรอมดวยคณะสงฆและศรัทธาสาธุชนไดนิมนตพระครูบาแกว คันธวังโส (ชื่อเต็มพระครูบาเขื่อนแกว) เปนชาวบานโฮง เมืองลําพูนที่มา รวมสรางงานใหเปนเจาอาวาสวัดศรีโคมคําพระเจาตนหลวง และไดนมิ นต พระครูบาปญญา ปญโญ เปนชาวบานตํ๊าหลายกวานเปนพระสายของ พระครูบาศรีวิราชใหไดอยูพํานักรวมกันเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวดูแลปกครอง พัฒนาวัดศรีโคมคํา พระเจาตนหลวงสืบตอไป สวนพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ก็ไดจาริกไปโปรดศรัทธาสาธุชนทัง้ ในเมือง พะยาว-เชียงราย-แพร-ลําปางไดแวะเวียนมาจําพรรษาวัดพระเจาตนหลวง เพื่อโปรดศรัทธาสาธุชนชาวเมืองพะยาว จนทําใหวัดพระเจาตนหลวง (วัดศรีโคมคํา) มีความเจริญรุงเรืองมาเปนลําดับ ถึงขนาดเปนที่ยอมรับวา เปนปูชนียสถานที่สําคัญยิ่งของชาวลานนาไทยเปนศูนยรวมเปนแหลง อารยธรรมอันเรืองรองมาตั้งแตอดีตจนมาถึงทุกวันนี้ หลังจากพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย มรณภาพพระครูบาแกว คันธวังโส ไดสรางวิหารอนุสาวรียตรงกุฏิโฮงหลวงที่พระครูบาเจาฯ เคย พํานักและไดอาราธนาอัฐิสวนศีรษะบรรจุในสถูปเจดียภายในวิหารพรอม สรางรูปเหมือนพระครูบาเจาศรีวิชัยดวยโลหะนั่งสมาธิในวิหารอนุสาวรีย ให เ ป น อนุ ส รณ ส ถานที่ ก ราบไหว รํ า ลึ ก บู ช าพระคุ ณ บุ ญ ญาบารมี เ ป น ประเพณี วั ฒ นธรรม การแสดงความเคารพความกตั ญ ู ก ตเวทิ ต า เปนการปลูกฝงคุณธรรมคุณงามความดีในจิตใจใหเจริญงอกงามไพบูลย ในป จ จุ บั น บริ เวณตั ว วิ ห ารอนุ ส าวรี ย  พ ระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย ใน จังหวัดพะเยาตรงจุดทีเ่ คยเปนสถานทีจ่ าํ พรรษาโปรดศรัทธาสาธุชน ดุจดัง่ แสงอันเรืองรองคูนามวัดศรีโคมคําคือความสวางไสวรุงเรืองดวยรัศมีแหง


๑๔๐

ธรรมผสานองคพระเจาตนหลวงองคใหญอลังการสัญลักษณพระหฤทัยอัน ยิง่ ใหญหนักแนนมัน่ คงองอาจโดดเดน ประทับนัง่ บนแทนวัชระอาสนเหนือ ฝงมหานที กวานพะเยาอันลือเลือ่ ง แผพทุ ธานุภาพไพศาล ณ พระอาราม หลวงทีห่ ลายผูค นนอนหนุนใบบุญพระครูบาเจาศรีวชิ ยั หรือพระครูบาเจา ศีลธรรม “ตนบุญ” เปนเพชรนํา้ เอกแหงดินแดนลานนาไทย ทีท่ า นไดโปรด เมตตารวมกับศรัทธาสาธุชนคนรุน พอรุน แมมาตัง้ แตบรรพบุรษุ ไดรว มกัน บูรณะอนุรกั ษวดั พระเจาตนหลวงทุง เอีย้ งเมืองพะยาวใหเปนมรดกอันวิเศษ ทรงคุณคาเลอเลิศ เปนฉัตรเงิน ฉัตรทอง ฉัตรแกว รัตนอุดมมงคลอัน ประเสริฐ เปนรมโพธิ์ รมธรรมอันรมเย็นทั่วผืนแผนดินทั่วฟาลานนาไทย ขอไดรับการอนุโมทนาสาธุการจากสายธารศรัทธาสาธุชนรวมพลัง รวมกันปลูกจิตสํานึกรวมกันฟนฟูบูรณาการวิหารอนุสาวรียพระครูบาเจา ศรีวิชัยสําหรับชาวพะเยาและพุทธศาสนิกชนทั่วไปเปนศูนยรวมสายธาร แหงศรัทธารําลึกถึงคุณงามความดีของพระครูบาเจาศรีวิชัย อันเปนแบบ อยางการเจริญตามฮีตรอยพระครูบาเจาศีลธรรม สืบสานประวัติศาสตร ครั้งสําคัญยิ่งใหเรืองรองคูบารมีพระอารามหลวงวัดศรีโคมคําเปนเนื้อนา บุญอันใหญกวางไพศาลไปอีกตราบกาลนาน...


๑๔๑

งานบูรณะวัดพระสิงหและวัดสวนดอก ป พ.ศ.๒๔๖๗ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั พํานักวัดพระเจาองคหลวงทุง เอีย้ ง เมืองพะยาว (พะเยา) เพือ่ จาริกแสวงบุญไปยังพุทธสถานในดินแดนลานนา ไทยมากมายหลายแหงเพื่อสรางบารมีธรรมเจริญตามรอยพระพุทธบาท พรอมบูรณปฏิสงั ขรณพระธาตุเจดียท ป่ี รักหักพังแหงแลวแหงเลาพรอมกัน นัน้ ก็ไดเทศนาสัง่ สอนประชาชนชาวชนบทใหเคารพเลือ่ มใสในพระรัตนตรัย ผูคนโจษขานกิตติคุณไปทุกทิศขาวจึงรูไปถึงเจาแกวนวรัฐเจาผูครองนคร เชียงใหม พระราชชายาเจาดารารัศมี (พระชายาในสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕) พรอมดวยเจานาย พระยา ทาวแสนคหบดี เห็นพองกันวาวัด พระสิงหตั้งอยูกลางนครเชียงใหม มีความสําคัญทางประวัติศาสตรเปนที่ ประดิษฐานพระพุทธสิหงิ คเปนพระพุทธรูปคูบ า นคูเ มืองอยูใ นสภาพรกราง ควรฟน ฟูบรู ณะโบราณสถานซึง่ ถูกตนไมและวัชพืชเครือเขาเถาวัลยขนึ้ คลุม เปนปาดง จึงปรึกษากันวาผูค วรบารมีทจ่ี ะฟน ฟูพทุ ธสถานใจกลางนครพิงค เชียงใหมมแี ตพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ทีเ่ ปนบุคคลทีน่ า เคารพเลือ่ มใสของคน ทัง้ มณฑลพายัพ โดยเฉพาะการบูรณะพระเจาองคหลวงทีพ่ ง่ึ สําเร็จและเปน ที่เลื่องลือควรนิมนตพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ที่เมืองพะเยามาบูรณ ปฏิสังขรณและโปรดสาธุชนในนครเมืองเชียงใหม เมื่อทานนั่งสมาธิภาวนาตั้งจิตอธิษฐานดูแลวเห็นควรอนุเคราะห ฟนฟูศาสนสถานแหงนี้ใหเจริญรุงเรือง จึงรับนิมนตและเดินทางสูนคร เชียงใหม พอถึงวัดพระสิงห ศรัทธาสาธุชน เชน เจาแกวนวรัฐ พระราช ชายาเจาดารารัศมีและหลวงอนุสารสุนทร ตอนรับดวยความปราโมทยยนิ ดี


๑๔๒

และเตรียมสรางกุฏแิ ละทีพ่ กั ผอนอิรยิ าบถ พอประชาชนทราบขาวก็แหแหน เครือ่ งไทยทานทําบุญตักบาตรยามเชามากันทัว่ สารทิศจากทีใ่ กลไกล ทาน ใหศีลใหพรดวยความเมตตา ไมเห็นแกความเหนื่อยยาก หลังจากทําบุญ ก็แผวถางพื้นที่ ปรับแตงใหดูรมรื่น บริเวณที่พํานักของภิกษุสามเณรสราง เปนกุฏกิ ระตอบเล็กๆ อยูเ ปนหลังๆ บางก็อยูร วมกัน มุงดวยใบตองตึง ปูดว ย ฟากไมไผ กัน้ ดวยใบตองอยูก นั เกลือ่ น บริเวณบรรยากาศในวัดเหมือนแดน สวรรค ทุกคนเปย มดวยปตธิ รรมประทับใจในบารมีพระครูบาเจาฯ ไมเห็นแก ความเหน็ดเหนือ่ ย ตางทุม เทกําลังกาย กําลังใจและกําลังทรัพยอยางเต็มที่ ในครั้งนี้ หลวงอนุสารสุนทรผูเลื่อมใสในตัวพระครูบาเจาศรีวิชัย พรอมบุตรธิดาจางชางกอสรางโฮงหลวงกุฏิใหญ กออิฐเสริมปูนสองชั้น พรอมหอจงกรม เครื่องเสนาสนะ ใหเปนที่พํานักของพระครูบาเจาฯ และ ไดสรางศาลากวานตาน (ศาลาบําเพ็ญบุญ) พรอมการบริจาคเงิน ๑๐,๕๗๕ (หนึ่งหมื่นหารอยเจ็ดสิบหารูป) ถวายแกพระครูบาเจาฯ เพื่อใชจายในการ กอสรางขณะเปนประธานอยูที่วัดพระสิงหคนจํานวนมากผูที่ทราบขาวก็ เดินทางมาจากทั่วสารทิศนําสิ่งของปจจัยมาถวาย จํานวนเงินไมนอยกวา ๒๐๐-๔๐๐ รูปตอวัน ทานหาไดยึดหรือเบียดบังเปนของตนแตประการใด รับเงินบริจาคไดมาก็จับจายใชสอยในการซอมแซมและปฏิสังขรณดวยมือ อันบริสุทธิ์ ปจจัยสิ่งของบางสวนก็แจกจายแกคนยากจน บรรยากาศผูคน ทีร่ ว มสรางตางอิม่ หนําสําราญหนาชืน่ ตาบานจิตใจอิม่ เอิบเบิกบานกันทัว่ หนา แมนปจจัยที่ประชาชนนํามาถวายเปนจํานวนมากก็ตาม แตจํานวน คนมากันมากมายรวมกับคาใชจายในการกอสรางที่เพิ่มขึ้น พระครูบาเจา ศรีวิชัยจึงปรารภกับทายก ทายิกา ที่นั่งในศาลาเกรงวาการกอสรางจะ ไมสําเร็จ ทานจึงเปรยขึ้นวา “หากเทวดาอินทรพรหม ทานเมตตาปราณี และทราบในเจตนาบริสทุ ธิ์ ขอไดลงมาชีข้ มุ ทรัพยใหดว ย” พระครูบาเจาฯ


๑๔๓

พูดไมทนั ขาดคําก็เกิดเหตุอศั จรรยเปนประกาศิต ผูค นทีช่ ว ยกันขุดหลุมเสา สรางพระวิหาร พบไหโบราณ ๒ ใบเปดดูเปนทองคําแผน หนักถึง ๓๐๐ บาท บรรดาผูป ระสบเหตุการณพากันประหลาดใจแลวพากันกมลงกราบพระครู บาเจาฯ ดวยความเคารพ จากคําพูดของทาน ทําใหมีการเลาสืบตอกันไป อยางกวางขวางวาเปนผูมีวาจาสิทธิ์ เกียรติคุณจึงแผไปทั่วทุกสารทิศ การ กอสรางยังไมสําเร็จ พอออกพรรษาพระครูบาเจาฯ มอบหมายใหลูกศิษย รักษาการ แลวออกเดินทางไปสรางพระธาตุแกงสรอย ซึ่งอยูระหวางแกง เหนือนํ้าแมปงสิ้นคาใชจาย ๕๘๐ รูป พอเสร็จทานไดเดินทางไปจัดงาน ทําบุญฉลองพระธาตุชอแฮ จังหวัดแพร จัดงานบุญ ๑ วัน ๑ คืน จากนั้น เดินทางสูจังหวัดลําปาง ใชเวลาที่มีอยูข้ึนไปบูรณะวัดพระเกิด เมืองกวง อําเภอวังเหนือ แลวเดินทางไปจังหวัดเชียงใหม พักอยูวัดพระสิงหไมกี่วัน เดินทางไปสรางพระวิหารวัดพระนอนขอนมวง อําเภอแมริม จังหวัด เชียงใหม ใน พ.ศ.๒๔๖๙ ไดกลับวัดพระสิงหเพื่อทําการกอสรางให เรียบรอยสมบูรณ เมือ่ สรางวัดพระสิงหเสร็จจัดทําบุญฉลองในเดือน ๕ (เหนือ) ขึน้ ๑ คํา่ จนถึงเดือน ๕ (เหนือ) ขึ้น ๑๕ คํ่า เปนเวลา ๑๕ วัน ๑๕ คืน นับเปน งานทีย่ งิ่ ใหญ นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๗ พรอมดวยพระราชินี เสด็จพระราชดําเนินโปรดเกลาฯรวมพระราชกุศลกับ ชาวลานนาไทยในครั้งนี้ดวย พอเสร็จทานจาริกแสวงบุญไปถิ่นอื่นเพื่อโปรดสาธุชนทุกหมูเหลา พอใกลเขาพรรษาก็มาประจําวัดพระสิงห จนออกพรรษาก็จาริกไปยัง ปูชนียสถานทีอ่ นื่ เกือบทัว่ ลานนาไทย แมบรู ณะวัดพระสิงหสาํ เร็จแลวทาน ยังพํานักอยูท่ีวัดพระสิงห ตอมาพิจารณาเห็นวามีเจดียเกาเหลือแตฐาน เหนือพระวิหารทรุดโทรมมากทําใหสถานทีไ่ มสวยงามใหรอ้ื ออกในขณะที่


๑๔๔

ขุดพบหีบทองแดงเปดออกดูมผี อบเงินและผอบทองคําบรรจุอฐั ิ สันนิษฐาน วานาจะเปนอัฐิของพระยาคําฟูพระบิดาพระเจาผายู ผูสรางวัดพระสิงห พบในพระราชประวัติวาถูกเงือกกัดทิวงคตที่เมืองพะเยาและอัญเชิญอัฐิ มาบรรจุแลวสรางสถูปครอบไว นอกจากนีพ้ ระครูบาเจาฯ ทานยังมองเห็นความสําคัญของพระไตรปฎก ฉบับลานนาไทยเปนพระธรรมคําสั่งสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่บรรดาบัณฑิตเมธีทําสังคายนาจารลงในใบลาน ซึ่งกระจัดกระจายตาม วัดตางๆ ทานเกรงวาจะถูกทําลายไปตามกาลเวลา ดั้งนั้นป พ.ศ.๒๔๖๙๒๔๗๑ ทานพรอมดวยสานุศิษยรวบรวมใหอยูหมวดหมูเปนธรรมขันธ ทําการสังคายนาจารลงในใบลานขึ้นใหมเพื่อเปนหลักฐานในการคนหา แนวทางประพฤติธรรมวินัย ตามจํานวนดังนี้ ๑. พระวินัยทั้ง ๕ จํานวน ๑๐ มัด รวม ๑๐ ผูก ๒. นิกาย ๕ จํานวน ๕ มัด รวม ๙๖ ผูก ๓. อภิธรรม ๗ คัมภีร จํานวน ๗ มัด รวม ๑๔๕ ผูก ๔. ธรรมบท จํานวน ๒๑ มัด รวม ๑๔๕ ผูก ๕. สุตตสังคหะ จํานวน ๗ มัด รวม ๗๖ ผูก ๖. สมันตาปาสานิกา จํานวน ๔ มัด รวม ๔๕ ผูก ๗. วิสุทธิมรรค จํานวน ๓ มัด รวม ๗๖ ผูก ๘. ธรรมสวนะชาดก จํานวน ๑๒๖ มัด รวม ๑,๒๓๒ ผูก ๙. ธรรมโตนที่คัดไวเปนกับเปนผูก รวม ๑๗๒ ผูก ๑๐. สิกขาทั้ง ๕ จํานวน ๕ มัด รวม ๓๖ ผูก ๑๑. กัมมวาจา จํานวน ๖ มัด รวม ๑๐๔ ผูก ๑๒. กัมมวาจา จํานวน ๑ มัด รวม ๑๐๘ ผูก


๑๔๕

๑๓. มหาวรรค จํานวน ๑๓๕ มัด รวม ๒,๗๒๖ ผูก ๑๔. ธรรมตํานานและชาดก จํานวน ๑ มัด รวม ๑๒๗ ผูก ๑๕. ธรรมบารมี จํานวน ๑๐ มัด รวม ๑๒๒ ผูก รวม มัด ทั้งหมด ๓๔๔ มัด รวม ผูก ทั้งหมด ๕,๔๗๘ ผูก รวมคาใชจายในการสรางพระไตรปฎก คาจางเขียนลงในใบลาน คาทองคําเปลว ติดขอบใบลาน และคาใชจา ยตอนทําพิธถี วายพระไตรปฎก รวมทั้งหมด ๔,๒๓๒ รูป การทําสังคายนาในพระไตรปฎกฉบับลานนาไทยเฉพาะในกลุม ของ พระครูบาเจาศรีวิชัยนับเปนหลักฐานถึงความเปนผูทรงคุณความรูทาง พระไตรป ฎ กสามารถรวบรวมจั ด เป น หมวดหมู  ข้ึ น เป น ผลสํ า เร็ จ ด ว ย ภูมิปญญาอันสูงสงมีทัศนะทักษะดานการศึกษาอยางกวางไกลอีกทั้งยังมี ปฏิปทาในขอวัตรปฏิบัติอยางเครงครัด จิตเปยมดวยสมาธิน่ิงสงบสํารวม เปนพระอริยะซึ่งเปนแบบอยางที่ดียิ่ง แตวิถีชีวิตของพระครูบาเจาศรีวิชัยก็ถูกทดสอบดวยการตั้งขอกลาว หามักยกบทพระราชบัญญัติ ร.ศ. ๑๒๑ ของคณะสงฆเปนขอกลาวหาจับผิด การไตสวนพิจารณาคดีเกิดขึ้นครั้งแลวครั้งเลา แตทานเปนคนรูอยาง รอบคอบลึกซึ้ง กลาเผชิญหนาสิ่งที่ไมใชขอบัญญัติของพระพุทธองค กลา ปฏิเสธเฉพาะพระพักตรสมเด็จพระสังฆราช ยอมเปนธรรมดา “ปราชญ ยอมเขาใจในปราชญ” ไดปรารภกับบรรดาสานุศษิ ยอยูเ สมอวา “การสราง คุณงามความดี สรางบารมีทุกวันนี้ เราไมไดหวังเอามนุษยสมบัติ และ สวรรคสมบัติ ทุกวันนี้เราหวังจะไดเปนพระโปรดโลกองคหนึ่งในวัน ขางหนา” ตามปณิธานที่จารจารึกลงในใบลาน ทายพระไตรปฎกฉบับ ลานนาไทยที่ทานสรางขึ้นทุกผูกวา “ตนขาพระศรีวิชัย ภิกขุ เกิดมาปเปก


๑๔๖

ถายบริกรรมลูกประคํา ทีว่ ดั พระสิงห จ.เชียงใหม (อายุ ๕๐ป) เปนเจาอาวาส ๑๓ ป

ถายพรอมกับสานุศิษยท่ีหนากุฏิของพระครูบาเจาศรีวิชัยวัดพระสิงห จ.เชียงใหมที่หลวงอนุสารสุนทร สรางถวาย ดานหลังเปนหอเดินจงกรม


๑๔๗

ยี จุลศักราช ๑๒๔๐ ตั๋ว พุทธศักราช ๒๔๒๐ ขาพเจามีศรัทธาพรอมโดย สิกข โยม จุตน จุองคหนภายนอกหมายมีพอแมพ่ีนองอุบาสกอุบาสิกา ศรัทธาทั้งหลายจุผูก็รจนาแตมเขียน ยังธรรมมัดนี้ไวกํ้าจูโจตกะศาสนา หาพันพระพรรษา ขาพเจาอยูปฏิบัติวัดจอมศรีทรายมูลบุญเรืองบานปาง วันนั้น และขาพเจาสรางเมื่ออยูปฏิบัติวัดพระสิงหหลวงนพบุรีศรีเชียงใหม วันนั้นแล (ทานเปนเจาอาวาสวัดพระสิงห ๑๓ พรรษา) ปรารถนาขอฮื้อ ขาฯ ไดตรัสรูปญญาสัพพัญูโพธิญาณเจาจิ่มเตอะ” พระครูบาเจา ฯ เปนผูไ มพดู โออวดแตมคี วามรูค วามสามารถ สงบเสงีย่ ม เจียมตัว สํารวมอินทรียจ นไดรบั การขนานนามวา “พระครูบาเจาศีลธรรม” เปนผูมีจิตใจหนักแนนมั่นคงอยูในศีลในสัจธรรม ขอกลาวหาทาน ทุกครั้ง เปนเหมือนการหลอมทองคําใหเห็นเนื้อทองบริสุทธิ์อันเหลืองอรามงาม เปลงปลัง่ หรือดุจเพชรยิง่ ถูกเจียระไนยิง่ เปลงรัศมีอนั อลังการทรงคุณคาอยางยิง่ เปนที่นาสังเกต หลังพนคดีทานไมแสดงกิริยาอาการของผูชนะหรือ ผูท เ่ี หนือกวากลับแสดงความออนนอม ดวยการนําขาวตอกดอกไมธปู เทียน สิ่งของ เครื่องสักการะถวายบูชาแดพระเถระเจาคณะผูปกครองอยางทั่วถึง ดํารงจิต เปนอุเบกขาธรรม ประดุจเทพเจาแหงความเมตตา มีความกรุณา ตอชนทุกหมูเหลาไดรับการปฏิสัณฐานดวยความกรุณาเมตตาจิตอยาง เสมอภาค บางโอกาสทานไดสงั่ สอนชีน้ าํ หลักธรรมของพระพุทธเจาดวยวิถี ชีวิตสมถะและวิปสสนาญาณแกผูที่มีอุปนิสัยและบารมี มีความเชื่อมั่นใน พระรัตนตรัยใหบังเกิดศรัทธาปสาทะตออริยมรรคทางอันประเสริฐ ทาน สอนวา “ทานสาธุชนทัง้ หลายอยาไดสงสัยวาพระสัมมาสัมพุทธเจานิพพาน ไปแลวจะปฏิบตั อิ ยางไรก็ไมไดมรรคผลนิพพานนัน้ ความจริงพระพุทธเจา เปนผูตรัสรูสัจธรรม ซึ่งสัจธรรมนั้นก็เปนสิ่งที่มีอยูกอนแลว (อนิจจัง ทุกขัง


๑๔๘

อนัตตา ซึง่ เปนลักษณะของความเสมอภาคของไตรลักษณ) แลวพระองคจงึ ไดบรรลุธรรมเปนพระพุทธเจา เมื่อพระองคไดดับขันธปรินิพพานแลว ผูปฏิบัติถูกตองชอบตามสัจธรรมไดเปนพระอรหันตบรรลุถึงนิพพานก็มี จํานวนมาก ถาผูใดมองเห็นแจงวาสัจธรรม (ไตรลักษณ) โดยถองแทตาม ความเปนจริง ผูนั้นยอมมองเห็นพระพุทธเจาไดทุกเมื่อ แมนวาพระองค ทานยังดํารงชีพอยู ผูใ ดไมไดปฏิบตั ถิ กู ตองตามธรรมก็ไมอาจพนจากความ ทุกขได ขอปฏิบตั ทิ ใี่ หพน จากความทุกขคอื ใหรกั ษาศีลบริสทุ ธิเ์ สียกอน แลว สมาธิความตั้งมั่นจึงจักมี ถารักษาศีลไมบริสุทธิ์แลวความตั้งมั่นแหงสมาธิ ก็ไมอาจจะมีได เพราะคุณธรรม ๒ ประการนี้เปนสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกันอยู เพราะฉะนั้นทานสาธุชนทั้งหลาย ผูแสวงหาความสุขอันสูงสุดสูตัว เอง จงพากันรักษาศีลใหบริสทุ ธิส์ ะอาด ตัง้ จิตอธิษฐานดวยสมาธิอนั มุง มัน่ มุงสูปญญาแหงวิปสสนาญาณ คือใหหมั่นระลึกเห็นภายในตัวเองเสมอๆ วาไมมีอะไรที่เปนตัวเปนตน สิ่งที่เรียกวาธาตุทั้ง ๔ ขันธะทั้ง ๕ รวมทั้ง อาการ ๓๒ ประการ ทุกสิง่ ลวนเปนสิง่ โสโครกนาขยะแขยง เต็มไปดวยทุกข และโทษ อันเกิดจากความเกิดแก เจ็บ ตาย มันไมมอี ะไรทีจ่ ะยึดถือไดแมแต สิ่งเดียว แมกระทั่งความเปนสามีภรรยา ความเปนลูกเปนหลาน ขาวของ สมบัติ เงินทอง ไรนา ก็ลวนแตจะพลัดพรากจากกันไปตามธรรมดา จริงๆ แลวมันไมใชตัวเราหรือของๆ เรา มันไมใชอะไรทั้งนั้น ทุกสิ่งเปนเพียงสิ่ง สมมุตจิ งใหเห็นแจมแจงดวยปญญาตนเองเชนนีจ้ งึ จะเปน สมุจเฉทประหาร กิเลสหมดลงได จิตก็จะเปนวิมตุ หิ ลุดพนจากความทุกขทง้ั ปวง ทานสาธุชน ทั้งหลายพระพุทธเจา ผูเปนองคศาสดาไดบําเพ็ญสรางบารมีมาสี่อสงไขย กับแสนมหากัปป จึงไดตรัสรูสัจธรรมอันวิเศษนี้ คือ รูแจงชีวิตสังขารเปน ทุกข รูตนเหตุแหงความทุกข รูเหตุที่ดับแหงทุกข รูวิถีทางสายกลางคือ อริยมรรคมีองคแปดประการเปนทางอันประเสริฐทีจ่ ะนํามนุษยสคู ณ ุ ธรรม


๑๔๙

อันสูงสง ในเมื่อทานทั้งหลายมาพบคําสั่งสอนอันเปนสัจธรรมความจริง บริสทุ ธิท์ จ่ี ะเปนสือ่ นําสูค วามพนทุกข เชนนีน้ บั วาเปนลาภอันประเสริฐเปน กุศลอันยิ่งใหญแลว เพราะวาทรัพยสมบัติท้ังหลายยังดิ้นรนขวนขวายทั้ง กลางวันกลางคืน สูเอาชีวิตเสี่ยงเปนเสี่ยงตายก็ยอม เมื่อมาพบสัจธรรมที่ จะเปนสื่อนําสูการปฏิบัติใหพนทุกขไดในบัดนี้ตราบถึงความสุขรมเย็นอัน เปนบรมสุข คือนิพพานอันเปนอริยทรัพยย่ิงกวาสมบัติอันมีในโลกนี้ หมื่นเทาแสนเทา ไมควรจะประมาทปลอยโอกาสอันดีวิเศษในชวงชีวิตนี้ ใหเรงขวนขวายทําความเพียรแตวันนี้ อยาประมาทปลอยเวลาใหลวงไป โดยเปลาประโยชน อยาคิดวากําลังหนุม แนนอยูค อ ยใหแกเฒากอนจึงคอย ทําบุญทําทาน รักษาศีลภาวนา การคิดเชนนั้นถือวาเปนผูประมาทและ คิดผิด เพราะตาอยูตรงหนายังมองหนาไมเห็น มัจจุราช คือความตาย มันไมเคยปราณีใครทัง้ เด็กเล็ก หนุม แกตอ งตกอยูใ นอํานาจของความตาย เมื่อตระหนักชัดวาเราเกิดมาแลวจะตองตายกันอยางถวนหนาอยาง แนนอนก็มคิ วรประมาทในชีวติ จงรีบนําเอาชีวติ รับรองสิง่ ทีด่ งี ามคือรักษา ศีล ฟงธรรม มุงมั่นตอสิ่งที่เปนบุญกุศลคุณงามความดีทําใจใหเปนสมาธิ ไมหวั่นไหวตอสิ่งใด หมั่นภาวนาพรหมวิหาร ๔ เปนเครื่องอยูดวยความ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาและยกระดับปญญาสูการพิจารณาใหเห็น ความเกิด แก เจ็บ ตาย เปนไตรลักษณ (เสมอกันหมด) ทําใหแจงซึ่ง พระนิพพานอันเปนทางเกษมเปนบรมสุขเปนสิง่ ทีท่ กุ คนควรดืม่ ดํา่ ธรรมรส ซึมซับสูช วี ติ จิตใจ ใหเต็มบริบรู ณทส่ี ดุ ตามทีพ่ ระพุทธเจาไดทรงชีท้ างสวาง สงบ รมเย็นใหแกชาวโลก โดยไมจํากัดบุคคล ไมจํากัดกาลเวลาตลอด ทุกยุคสมัย สัตวโลกทั้งมวลตางตองการความสุขสงบดวยกันทั้งนั้น เพราะ ไดตระหนักเห็นชัดวา สุขอื่นหมื่นแสนไมมาตรแมนความสงบ ฉะนั้นหลัก สัจธรรมคําสอนของพระพุทธองคจงึ เปนหลักสากล พิสจู นไดจากธรรมยอม


๑๕๐

เจดียวัดเจ็ดยอดสถานที่สังคายนาพระไตรปฎก ฉบับลานนาไทย พ.ศ.๒๔๖๙-๒๔๗๑ สรางสมัยพระเจาติโลกราช แบบสถาปตยกรรม พระเจดียพุทธคยาสถานที่ตรัสรูในประเทศอินเดีย

คุมครองผูประพฤติธรรม และเมตตาธรรมยอมคุมครองโลกใหสุขสงบ เกื้อกูลใหเกิดอิสรเสรีภาพ ภราดรภาพไดอยางอัศจรรยยิ่ง” ในปพุทธศักราช ๒๔๗๔ ขณะพระครูบาเจาฯ สั่งสอนชี้นําศรัทธา สาธุชนอยูท่ีวัดพระสิงหหลวงนพบุรีนครเชียงใหม ทางเจาแกวนวรัฐ เจาผูค รองนครเชียงใหมและพระราชชายาเจาดารารัศมีเห็นวา วัดสวนดอก ซึ่งอยูไมไกลเปนวัดที่พระมหากษัตริยแหงนครเชียงใหมไดสรางขึ้นเปนที่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ซึง่ พระสุมนเถรอาราธนาพระบรมสารีรกิ ธาตุ จากกรุงสุโขทัยแลวทูลถวายพระญากือนากษัตริยแหงราชวงศมังราย


๑๕๑

พระอุโบสถสองสงฆที่วัดพระสิงห

องคท่ี ๖ ทรงบรรจุสรางพระธาตุเจดียรูปแบบทรงลังกาบรรจุพระบรม สารีริกธาตุเจาไวในพระราชอุทยานสวนดอกไมใหเปนวัดในพุทธศักราช ๑๙๑๙–๑๙๒๐ เคยเปนพระอารามที่เจริญรุงเรืองคูกับพระบรมธาตุเจา ดอยสุเทพมาตัง้ แตอดีตและอยูใ นสภาพรกรางเปนปารกทึบ พระธาตุเจดียถ กู เครือเขาเถาวัลยตน ไมขน้ึ ปกคลุม จึงไดพากันไปวัดพระสิงหกราบนมัสการ ปรึกษาพระครูบาเจาฯ แลวอาราธนานิมนตขอใหทา นเปนประธานกอสราง ใหเจริญรุง เรืองดุจเดิม ทานเห็นดวยญาณวิถวี า เปนมหากุศลอันยิ่งใหญและ รับนิมนต จึงไดเริม่ ลงมือกอสราง ทานไปเชา-เย็นกลับระหวางวัดพระสิงห กับวัดสวนดอก โดยมีรถเถาแกโหงวคอยรับ-สง โดยมีนายโปวเปนพลขับ ประจํา นอกจากนี้ยังใหความสะดวกเกี่ยวกับสิ่งของวัสดุอุปกรณกอสราง และออกคาใชจายใหพระครูบาเจาฯ กอน เปนเหตุใหคนที่คิดวาขัดผล ประโยชนจึงจางมือปนมายิงเถาแกโหงว เขาที่ทองถูกลําไสใหญญาตินําสง


๑๕๒

โรงพยาบาลหมอครอส (แมคคอมิค) หมอบอกวาอาการสาหัสจะอยูไดอีก ไมเกิน ๗ วัน ทางญาตินาํ สงไปรักษาทีโ่ รงพยาบาลสุขาภิบาลไทยซึง่ มีหมอ ญี่ปุนก็บอกวาเกินกําลังที่จะรับรักษาจึงนํากลับบาน และพึ่งบารมีของ พระครูบาเจาฯ ทานก็โปรดเมตตาดวยพุทธคุณทํานํ้ามนตใหดื่ม อาการก็ ดีขึ้นทุกวันจนหายเปนปกติ ย อ นกล า วถึ ง โยมมารดาของพระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย นางเข า ถึ ง รสพระธรรมตัง้ แตพระครูบาเจาฯ เขาสูร ม กาสาวพัสตรจนคุณแมอสุ ามีอายุ ๘๖ ป ในขณะพระครูบาเจาฯ ทําการบูรณปฏิสังขรณวัดสวนดอกจวนจะ สําเร็จ โยมแมอสุ านอนอยูก บั หลานสาว พอรุง เชาหลานสาวตืน่ นอนขึน้ เห็น ยายทวดนอนแนน่ิงไมไหวติง ปลุกใหลุกแตไมรูสึกตัว พอรูวาถึงแก มรณกรรม ตกใจรองไหและเรียกบรรดาญาติๆ วา “ยายทวดตายแลว” โยมแมอุสาถึงแกการมรณกรรมดวยอาการสงบโดยไมไดเจ็บปวยในวัย ๘๖ ป นายนอยสิงหคําพรอมญาติพ่ีนองออกเดินทางจากบานปางมา วัดพระสิงห หลวงนพบุรีนครเชียงใหมกราบเรียนพระครูบาเจาฯ เมื่อ ทราบขาวก็สงบนิ่งภาวนาระลึกถึงโยมมารดาขอใหไดสูสุคติ และนอมจิต เจริญมรณานุสติไมเกิดความเศราโศกและใหญาติกลับไปจัดงานศพตาม ธรรมเนียม ทานอยูทางนี้จะบําเพ็ญกุศลอุทิศสวนบุญใหโยมแมเอง พอ สรางวัดสวนดอกเสร็จจึงทําเครื่องอัฏฐบริขาร เครื่องไทยธรรมไทยทาน ประดับประดาดวยตนกัลปพฤกษทําเปนตนเงินตนทอง ตนผาเหลือง ตนผาขาวทําบุญอุทิศใหกับโยมแม โยมพอ และบรรดาญาติๆ ที่ลวงลับ ดับขันธ ในงานฉลองทําบุญปอยหลวง ๗ วัน ๗ คืน


๑๕๓

พัดหางนกยูง อันสุดทาย พ.ศ. ๒๔๗๙


๑๕๔

อนุ ส าวรี ย  เชิ ง ดอยสุ เ ทพเป น จุ ด ลงจอบแรกปฐมฤกษ เ มื่ อ สร า งถนนขึ้ น สู  พ ระธาตุ ด อย สุ เ ทพ วั น ที่ ๙ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๗๗ เวลา ๑๐.๐๐ น.

งานสรางทางขึ้นดอยสุเทพ หลังจากการสรางวัดสวนดอก พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโยก็จาริก แสวงบุญไปบูรณะวัดวาอารามอีกหลายแหง พอถึงพุทธศักราช ๒๔๗๗ ขณะ พระครูบาเจาศรีวิชัย พํานักอยูที่วัดพระสิงห คุณหลวงศรีประกาศ ผูแทน ราษฎรจังหวัดเชียงใหมเขามากราบนมัสการแลวปรารภถึงความสําคัญของ พระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ซึ่งเปนปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์และสําคัญของ ชาวเชียงใหม กลาววาใครทีม่ าเชียงใหมถา ไมขนึ้ ไปนมัสการก็เหมือนไมมา


๑๕๕

ถายรวมกับเถาแกโหงวและคุณหลวงศรีประกาศ วันทําพิธเี ปดทาง ขึ้นสูพระธาตุดอยสุเทพตรงจุดตั้งอนุสาวรีย พระครูบาเจาฯ ที่ เชิงดอย หนาวัดศรีโสดา วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘

ถึงเชียงใหม ทัง้ นีค้ งดวยอํานาจคุณแหงพระศรีรตั นตรัย ทําใหคณ ุ หลวงศรี ประกาศมีดําริจะนําไฟฟาไปประดับองคพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ แตจะ ทําโดยลําพังคงเปนเรือ่ งเหลือกําลังจึงปรึกษาพระครูบาเจาฯ เพือ่ พิจารณา และเห็นสมควรแลวขออาราธนานิมนตพระครูบาเจาศรีวิชัยเปนประธาน ซึ่งทานไมไดรับนิมนตทันทีโดยใหฟงคําตอบภายหลัง พระครูบาเจาฯ ตัง้ จิตเปนสมาธิอธิษฐานตอพระศรีรตั นตรัยขอนิมติ ในงานครัง้ นี้ ก็ปรากฏ ในนิมติ เห็นเปนตาปะขาวจูงแขนนําทานจากวัดพระสิงหเห็นเปนถนนแลว พาไปสักการบูชาพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ วันรุง ขึน้ คุณหลวงศรีประกาศ มาพรอมเจาแกวนวรัฐ เพื่อขอรับฟงคําอธิษฐาน ทานกลาววาการที่จะนํา ไฟฟาขึน้ บนดอยสุเทพไมสาํ เร็จ แตถา สรางทางขึน้ สูพ ระบรมธาตุเจาฯ จะ


๑๕๖

สําเร็จ เจาแกวนวรัฐ และคุณหลวงศรีประกาศงุนงงเพราะเปนคนละเรื่อง คิดไมถึงวาพระครูบาเจาฯจะพูดเรื่องการสรางทาง เพราะทางราชการ เคยคิดสรางโดยใหชางออกแบบสํารวจเสนทางและคํานวณคาใชจาย จะตองใชงบประมาณถึง ๒ แสนกวาบาท จึงไมสามารถจัดหางบประมาณ ไดแตทั้งสองไดยินดวยหูตนเอง ทั้งที่มีความเชื่อมั่นและความศรัทธาใน พระครูบาเจาศรีวิชัยแตอดลังเลไมได จึงกราบขออาราธนาพระครูบาเจาฯ โปรดอธิษฐานจิตอีกครั้งเพื่อจะไดสบายใจ หากเปนไปไดจะเปนเรื่อง นายินดี ทานขอผลัดเปนพรุงนี้ หลังจากนั้นทั้งสองมากราบนมัสการพระครูบาเจาฯ อีก ทานตอบ อยางหนักแนนวา “การสรางทางขึ้นดอยสุเทพสําเร็จแนนอนและจะ สรางเสร็จภายใน ๖ เดือนดวย” เจาแกวนวรัฐและคุณหลวงศรีประกาศจึง พนมมือไหวสาธุอนุโมทนาและไดกําหนดวันที่ ๙ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๑๔๗๗ เริม่ เวลา ๑๐.๐๐ น. เปนวันเริ่มสรางเปนปฐมฤกษแลว ทั้งสองจึงแจกใบปลิวไปยังที่ตางๆ ทานละ ๕,๐๐๐ แผน พอถึงกําหนด พระครูบาเจาศรีวิชัยใหพระครูบาเทิ้ม เจาอาวาสวัดแสนฝาง ซึ่งทาง คณะสงฆมอบหมายใหเปนผูดูแลรักษาพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ทําพิธี กลาวคําบวงสรวงอัญเชิญทาวทัง้ ๔ และเหลาทวยเทพมาอนุโมทนาสาธุการ ในเวลา ๐๑.๐๐ น. ของวันที่ ๙ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๗ พอถึงเวลา ๑๐.๐๐ น. หลวงศรีประกาศ อาราธนานิมนต พระครูบาเจาฯ จากวัดพระสิงหขึ้นรถมากับทานถึงบริเวณพิธี คณะสงฆซึ่งมีพระครูบาเทิ้ม นําสวดเจริญพระพุทธมนตและสวดชัยมงคลคาถา พระครูบาเจาฯ ลากมูลดินใหเปนพิธีปฐมฤกษ จากนั้นเจาแกวนวรัฐ ไดลงจอบแรก ตอมาคุณหลวงศรีประกาศและคนทั่วไปก็ลงจอบตอบุกเบิก


๑๕๗

สรางทางขึ้นสูพระธาตุเจาดอยสุเทพ จุดแรกที่สรางตรงหนาอนุสาวรีย พระครูบาเจาศรีวิชัยในปจจุบัน ในวันประกอบพิธีทานประกาศตอหนา ประชาชนที่ไปรวมชุมนุมกันวา “การสรางทางครั้งนี้นับวาเปนการใหญ อยางยิ่ง จะสําเร็จไดก็ตอเมื่อมีเทวดาลงมาชวย ทานทั้งหลายจงมีความ มั่นใจและรวมมือกันอยางจริงจังแลวจะเห็นผลสําเร็จอยางแนนอน” วาจา สิทธิท์ พ่ี ระครูบาเจาฯ ประกาศทําใหมหาชนเกิดพลังเปนประกาศิตและดุจ ไดรบั พลังจากเทพยดาจนไมอาจบรรยายดวยเหตุผล นอกจากผูม กี ารสัง่ สม บารมีธรรมจึงรูได วันแรกคนงานทําเพียง ๒๐ กวาคน วันที่ ๒ จึงเพิ่มขึ้น เนื่องจากเปน ฤดูเก็บเกี่ยว คุณหลวงศรีประกาศ เถาแกโหงว และเจาแกวนวรัฐใชทุน ทรัพยสวนตัวจางคนงานขุดทําทางในชวงตน โดยเริ่มจากตีนดอยโดยมี เถาแกโหงวและคุณหลวงศรีประกาศใหความสะดวกนํารถบรรทุกนํ้าและ อาหารแจกจายแบงปนตลอดระยะทาง สวนพระครูบาเทิ้ม พระครูบาอาย พระครูบาแกว และพระจุมรับการมอบหมายจากพระครูบาเจาฯ เปนผูเบิก นําตัดเสนทาง ขุนกันชนะนนทกํานันตําบลดอยสุเทพและขุนเปาเปนผูจัด ใหผูรวมงานแตละจุดและแบงระยะการทํางานแตละหมวดตามจํานวนหมู มากนอยไมเทากัน สวนพระครูบาเจาฯ เปนประธานการตอนรับผูมีจิต ศรัทธาทีว่ ดั ศรีโสดาซึง่ เดิมเปนดงเปนปาทึบ สถานทีด่ งั กลาวจึงเปนทีท่ าํ บุญ ทีพ่ าํ นักของพระภิกษุสามเณรและผูใ จบุญจิตใจงดงามมาจากทัว่ สารทิศ พอเริ่มได ๗ วัน ชาวเชียงใหมซึ่งมีพอคา ขาราชการ ทหาร ตํารวจ และชาวบานจัดเครื่องไทยทาน มีขาวปลาอาหาร ชะแลง มีดพรา จอบ ขวาน อีเตอรและคอนปอนดแหเปนขบวนรถรวม ๕๐ คัน มีดนตรี แตรวง ฆอง กลองถวายพระครูบาเจาฯ ที่วัดศรีโสดา จนเต็มโกดัง ชาวบานรูขาว


๑๕๘

ถายพรอมกับคณะผูรวมสรางทางตรงเชิงบันไดนาค

การสรางทาง ตางก็เตรียมเครือ่ งสัมภาระพรอมดวยจอบมุง สูเ มืองเชียงใหม รวมสรางทางขึ้นพระธาตุดอยสุเทพในแตละวัน ไมนอยกวา ๕,๐๐๐ คน เมื่อมีคนเพิ่มยิ่งขึ้น จึงเปนภาระของคุณหลวงศรีประกาศและเถาแกโหงว ทานทั้งสองเกรงวาอาหารและนํ้าจะไมพอ จึงเรียนปรึกษาพระครูบาเจาฯ ทานยิม้ แลวบอกวา “ไมตอ งตกใจ คนทีไ่ มมโี อกาสทําถนนจะนํามาใหเอง” แลวก็เปนจริงไดมีผูนํานํ้า อาหาร เครื่องไทยทาน พรอมกับจอบ อีเตอร ชะแลง มีดพราและคอนปอนดเปนจํานวนมาก ทําใหรานคาในเมือง เชียงใหมแทบไมมีขาย ที่วัดศรีโสดาทานสั่งทํายุงฉาง ๒ หลัง โดยที่หลังหนึ่งไวรับบริจาค ขาวสาร อีกหลังไวรับบริจาคอาหาร ผูมาทําบุญตอนเชามืดนําขาวสุก ขาวสาร อาหารแหง จนเต็มยุงฉางทุกวัน เวลาสายก็แจกจายใหแกหัวหนา


๑๕๙

พระครูบาเจาศรีวิชัยนั่งรถเถาแกโหงว เปดทางขึ้นถึงขั้นบันไดนาควัดพระธาตุดอยสุเทพ

หมวดมาเบิกไปใชอปุ โภคบริโภคจนหมดทุกวัน พอวันรุง ขึน้ มีผนู าํ ขาวปลา อาหารสิ่งของมาถวายเต็มยุงฉางเปนประจําตลอด ๕ เดือน ๒๒ วัน การสรางทางบางแหงตองถมและปรับที่ ทั้งที่ตองขึ้นเขาลัดเลาะ หนาผาผานหวยและเหวลึก ดังนั้นพระภิกษุสามเณรและชาวบานตองผลิต ดินระเบิดใชกันเอง ผูเปนกําลังสําคัญประกอบดวย พระอิ่น ตาปะขาวป พระตอ พระวงษ พระเสา พระคําหลา พระครูบาอาย พระครูบากอน พระครูบาตา พระสิระสา พระอิ่นแกว พระศรีไชยยา ชาวบานที่มีความรู เรื่องดินปน ใชสวานเจาะหินบางทําดินปน พอบรรจุเต็มก็ใสสายชนวน เตรียมหลายๆ จุดโดยทําการจุดในตอนเย็น เมื่อจะจุดก็เปาแตรเขาควาย เคาะระฆังกังสดาลเปนสัญญาณการจุดระเบิด


๑๖๐

ปรากฏการณสาํ คัญผูเ ห็นเหตุการณเลาใหฟง วากอนสรางทางบริเวณ ทั่วไปเปนปาดงพงทึบมีเสียงนก เสียงสัตวรองระงมทั่วไพรพนาสณฑ พอ สรางทางปาบริเวณนัน้ ดูเงียบเหงาเหมือนไมมสี ตั วอาศัย ในดินทีเ่ ปนรังมด และจอมปลวกกลายเปนรังราง ทั้งนี้พระครูบาเจาศรีวิชัยไดอธิษฐานขอ เมตตาสัตวนอ ยใหญหลีกทางใหเกรงจะเปนอันตรายตอชีวติ เปนเวรตอกัน พอการสรางถนนสําเร็จสัตวนอ ยใหญกก็ ลับมาอาศัยเปนธรรมชาติตามเดิม ระหวางการสรางทางมีการทําสัญญาณระฆังกังสดาลตัง้ แตชน้ั ลางวัด ศรีโสดาถึงชั้นบนดอยสุเทพระหวางประกอบศาสนกิจเชา-คํ่าและสวดเบิก สวดมนตเสียงดังกระหึม่ กังวานทัว่ ไพรสณฑดจุ เสียงสวรรค หลังทําวัตรเย็น ศรัทธาสาธุชนกลุมตางๆ นําเครื่องดนตรีมาเลนเปนที่สนุกสนานตลอด ๕ เดือนกวา กลาวกันวาไมมีงานไหนสนุกสนานนาประทับใจเหมือนงาน สรางทางขึ้นสูพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ตรงจุดโคงพับขอศอกใกลถงึ วัดพระธาตุดอยสุเทพเปนจุดสําคัญไมมี ใครรับผิดชอบพระครูบาเจาฯ จึงมอบใหขนุ กันชนะนนทกาํ นันตําบลสุเทพ รับชวงนั้นจางคนทําจนใชงานได แตก็นับวาเปนจุดอันตรายเนื่องจาก เปนทางชันและแคบ แถมเปนทางพับขอศอกดวย คนจึงเรียกโคงนี้วา “โคงขุนกัน” การสรางทางยิง่ ใกลถงึ พระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ผูค นปตปิ ราโมทย อิม่ บุญใจเบิกบานดวยกุศลในผลงานทีร่ ดุ หนาอยางอัศจรรยเกิดศรัทธาใน บุญญานุภาพบารมีธรรมของพระครูบาเจาศรีวิชัยพากันมาจากทั่วสารทิศ เชน พิษณุโลก เชียงราย เชียงแสน พะเยา ลําปาง แพร นาน ถึงเขตพมา ตางมารวมสรางทางไมเห็นแกความเหน็ดเหนื่อยแตละคนมีพลังอํานาจ


๑๖๑

ทํางานจนแทบไมมที ว่ี า งไดหมวดละวาสองวา ทําใหสาํ เร็จอยางรวดเร็วจนถึง บันไดนาคอันเปนจุดมุง หมายปลายทางสูองคพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ในที่สุด การสรางทางที่ผานปาเขาลําเนาไพร เหวลึกความลําบาก ยากยิ่งเพียงไร แตดวยบารมีของพระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ก็สามารถ ทําสําเร็จดุจปาฏิหาริย พรอมกับการสรางทางยังไดสรางวัดศรีโสดา วัดสกิทาคามี วัดอนาคามี และวัดดอยสุเทพหมายถึง วัดอรหันต คือ ขั้นตอนแหงการบรรลุธรรม เริ่มตั้งแตข้ันตนโสดาบันจนถึงบรรลุอรหันต ซึ่งเปนเปาหมายสูความพนทุกข วิมุติหลุดพน สงบเยือกเย็นเปนอานิสงส สูงสุดของการประพฤติพรหมจรรยในพระพุทธศาสนา รวมเวลาการสราง ถนนขึ้นดอยสุเทพ ๕ เดือน ๒๒ วัน ระยะทาง ๑๒ กิโลเมตร ตรงตามที่ ทานลัน่ วาจาไวเปนประกาศิต จึงเตรียมพิธฉี ลองและเปดทางใหรถยนตขน้ึ

ขณะนั่งรถเถาแกโหงวเปดทางขึ้นดอยสุเทพ


๑๖๒

สูพ ระบรมธาตุเจาดอยสุเทพในวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยพระครู บาเจาศรีวชิ ยั นัง่ รถของเถาแกโหงวเปดทางเปนคันแรกจนถึงขัน้ บันไดนาค สูบนพระบรมธาตุเจาดอยสุเทพ ใหไดบรรลุสูเปาหมายไดอัศจรรยนับเปน ผลงานชิ้นสําคัญที่สุดในชีวิตของทาน ทุกคนเกิดความปติปราโมทย และ จุดประกายแหงศรัทธาในดวงใจคนทุกหมูเหลาทําใหมีการฉลองนานถึง ๑๕ วัน ๑๕ คืน ณ วัดศรีโสดา คนหลั่งไหลมาทําบุญทําทานเสียงฆอง กลอง ดนตรี ระฆัง กังสดาล แหนําเครื่องไทยทานมิขาดสาย เหมือนอยู ในชั้นบรรยากาศแดนเนรมิตทิพยวิมานแหงสรวงสวรรคอันไพศาล โดยมี พระทองสุข ธัมมสะโรเปนพระเลขา (ตอมาเปนเจาอาวาสองคที่ ๒ ของ วัดบานปาง) สามเณรบุญมี สามเณรบุญเติง ดอยสะเก็ด สามเณรบุญยืน บานโฮง สามเณรศรีและสามเณรคําอาย บานปาง อยูแ ผนกการทําอาหารเจ ประจําสําหรับพระครูบาเจาฯ นอกจากนีย้ งั มีสามเณรเมือง สามเณรสิงหคาํ สามเณรสีมา สามเณรจันติ๊บและสามเณรศรีที่ติดตามมาจากวัดบานปาง การทําบุญฉลองเริม่ ตัง้ แตเชา บางมาทําบุญตักบาตร บางนําลูกหลาน เปนสานุศิษยบวชเปนภิกษุสามเณรแทบทุกวัน เสียงสวดญัติใหศีลใหพร ของพระสงฆดังดุจเสียงพรหมกองกังวานจากสรวงสวรรคไมขาดสาย บรรดาเจาอาวาสที่มารวมงานจัดเครื่องไทยทานตกแตงพานใสขาวตอก ดอกไมธูปเทียนมาถวายพรอมขอนอมปวารณาเปนสานุศิษยและขอให รับวัดของตนเปนวัดในสายกัมมัฏฐานของพระครูบาเจาศรีวิชัย รวมทั้งสิ้น ๖๐ วัด ระหวางการทําบุญคุณหลวงศรีประกาศและเจาแกวนวรัฐมาเรียน ปรึกษาพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ถึงศิษยทมี่ ผี เู คารพนับถือและเปนกําลังสําคัญ ในการสรางทาง คือ ตาปะขาวป นับเปนศิษยทที่ า นบวชใหตงั้ แตเปนสามเณร


๑๖๓

จนอุปสมบทไดฉายาวา “อภิชัย” แตถูกกลั่นแกลงจับสึกถึง ๒ ครั้ง ตอง หลบภัยไปประเทศพมา พอรูถ งึ ขาวการสรางทางขึน้ ดอยสุเทพจึงนําคนจาก ฝงพมามารวมงานฯ ทานทั้งสองหารือพระครูบาเจาฯ ชวยสงเคราะหบวช เปนพระภิกษุใหแกตาปะขาวปซง่ึ ทานก็มปี ฏิปทานาเลือ่ มใส พระครูบาเจาฯ แยงไมอยากใหเกิดเรื่องยุงยากเปนปญหาซํ้ารอยกระทบกระเทือนใหเกิด เรื่องเดือดรอนเหมือนที่แลวๆ มาอีก ทางคุณหลวงศรีประกาศและเจาแกว นวรัฐยืนยันรับรองอยางแข็งขันวาจะไมใหเกิดเรื่องอะไรขึ้นมาอีกแนนอน พวกเราจะชวยกันดูแลปกปองใหอยางเต็มที่ ทานพระครูบาเจาศรีวิชัย จึงตกลงจัดพิธีอุปสมบทใหตาปะขาวปเปนพระภิกษุอภิชัยอีกครั้ง ณ วัดศรีโสดา ในชวงทําบุญฉลองทางขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ

บั ญ ชี ก ารสร า งทางขึ้ น พระธาตุ ด อยสุ เ ทพ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

จํานวน รายการสิ่งของ รูเปย สตางค อี่ปก (อีเตอร) ๑,๐๑๓ ๑,๒๖๖ ๒ ขอผึ่ง ๔๗ ๔๗ ขอโบก (จอบ) ๑,๑๒๘ ๕๙๔ คอนเหล็กใหญ ๒๐ คอนเหล็กนอย ๒๔ ๒๑ ๗๒ ชะแลง ๑๑๑ ๑๓๗ ๔๐ มุยใหญ (ขวานใหญ) ๑๗ ๗ ๑๙ มุยนอย (ขวานนอย) ๕๙ ๒๗ ๔๐


๑๖๔

ที่ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

จํานวน กะผาก มีดฟนไม เสียมขุดดิน มุยสองคม รวมเปนเงิน

รายการสิ่งของ รูเปย สตางค ๑๑๒ ๘๖ ๖๔ ๔๔ ๑๗ ๒๐ ๖ ๑๖ ๒๔ ๒๐ ๒,๒๓๒ ๓๕

บั ญ ชี ส่ิ ง ของเดิ ม ที่ มี อ ยู  แ ละเสี ย หายไป ดั ง แจ ง อยู  ใ นนี้ ที่

จํานวน

รายการสิ่งของ รูเปย สตางค

อี่ปก (อีเตอร)

๑,๖๒๓

๙๒๗

๖๕๑

ขอผึ่ง

๑,๘๘๘

๗๔๒

๑.๑๕๖

ขอโบก (จอบ)

๒,๒๔๔

๑,๑๓๑ ๑,๑๑๓

คอนเหล็กนอย

๔๘

ชะแลง

๑๕๔

มุยใหญ (ขวานใหญ)

๑๗

มุยนอย (ขวานนอย)

๙๕

ถาด

๓๔๐

๖๘

๖๘

๑๘๗

๑๕๓


๑๖๕

ที่ ๙

จํานวน เหล็กจี (สวาน)

รายการสิ่งของ รูเปย สตางค ๔

๑๐ คอนโขก

๑๖

๑๑ เสียม

๒๐

๑๒ มีด

๔๔

บั ญ ชี ส่ิ ง ของที่ ไ ด ซ้ื อ มาทํ า ทาง ที่

จํานวน

อี่ปก (อีเตอร)

รายการสิ่งของ รูเปย สตางค ๖๑๐

๖๗๙

๕๔

อี่ผึ่ง

๑,๘๑๔

๑,๑๗๒

๗๕

ขอโบก (จอบ)

๑,๑๑๖

๔๒๒

๔๐

คอนเหล็ก

๒๔

๓๑

๑๕

ชะแลง

๔๓

๑๓๑

๕๖

มุย (ขวาน)

๓๖

๓๖

ผาก

๒๒๘

๒๐๐

๖๐

เหล็กจี (สวาน)

๑๕


๑๖๖

พระอุโบสถสองสงฆ สําหรับภิกษุและภิกษุณี ทําสังฆกรรม วัดพระสิงหวรมหาวิหาร เชียงใหม


๑๖๗

เหตุการณครั้งสําคัญที่วัดพระสิงห พองานทําบุญฉลองเสร็จเรียบร้อยได้ ๑๐ กวาวันก็เกิดเหตุการณนํา พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั สูก ารบําเพ็ญบารมีธรรมครัง้ ยิง่ ใหญอกี วาระหนึง่ ทาน ปรารถนาพุทธภูมิจึงต้องเผชิญเหตุการณท่ีเปนตัวชวยขับเคลื่อนบารมีสู การบรรลุปณิธานอันสูงสง พระครูบาเจ้าฯ ถูกคณะสงฆสมณศักดิช์ น้ั ผูใ้ หญ ในเมืองเชียงใหมโดยพระโพธิรงั ษีบารมีศานธิการ (พระศรีโหม้) วัดศรีดอนไชย รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม ตั้งข้อกลาวหาที่สําคัญ คือเรื่องอุปสมบทให้ แกพระอภิชัย เมื่อเกิดเรื่องขึ้นพระครูบาเจ้าศรีวิชัย จึงขอเชิญเจ้าแก้วนวรัฐ และคุณหลวงศรีประกาศ มาปรึกษาและชี้แจงเหตุผลให้เจ้าคณะพระครู ทราบ ทานทัง้ สองซึง่ เปนผูห้ ลักผูใ้ หญระดับสูงฝายบ้านเมือง เปนผูน้ าํ เสนอ เรือ่ งขึน้ มาเองพอเกิดเหตุการณคบั ขันไมยอมมาพบพระครูบาเจ้าฯ ไมมาหา ทางชวยแก้ไข ปลอยให้ฝา ยตรงข้ามใสรา้ ยโจมตีพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ข้างเดียว ทางเจ้าคณะพระครูนัดประชุมใหญที่วัดพระสิงห เพื่อสอบสวน พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั แล้วถามทานวา “ทําไมครูบาจึงไมอยูใ นการปกครอง ของคณะสงฆ การบวชพระบวชเณร ทําไมครูบาจึงบวชเองทั้งที่ยังไมได้รับ การแต ง ตั้ ง เป น พระอุ ป  ช ฌายะ” พระครู บ าเจ้ า ฯ จึ ง ย้ อ นถามว า “ทานทัง้ หลายทํากันอยางไร?” คณะสงฆผใู้ หญตอบวา “ตามระเบียบการ พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆการบวชพระเณรต้องขออนุญาตจากเจ้าคณะตําบล เจ้าคณะอําเภอกอน” พระครูบาเจ้าฯ จึงวา“นั้นลูกของอาชญาไมใชศิษย ของพระพุทธเจ้า !” เจ้าคณะพระครูทั้งหลายตางนิ่งอึ้งทั้งนี้เพราะรู้วา พระบรมศาสดากอนปรินพิ พานพระองคไมได้แตงตัง้ บุคคลใดหรือคณะใด


๑๖๘

ให้เปนผูใ้ หญ แตให้ถอื เอาพระธรรมวินยั เปนตัวแทนพระองค เมือ่ เปนดังนี้ ตางเกรงเสียรู้ตอพระครูบาเจ้าศรีวิชัยอีก ไมกล้าตั้งข้อกลาวหาทันที ในขณะนั้นจึงสั่งเลิกประชุม แตไมละความพยายามและจึงตั้งข้อหาจับผิด ด้วยประการตางๆ เพิ่มขึ้นอีกตอไป ปฏิกิริยาของเจ้าคณะพระครูในเชียงใหมที่แสดงตอพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย ทําให้ผู้เคารพเลื่อมใสในตัวพระครูบาเจ้าฯ โดยเฉพาะเจ้าอาวาส จํานวน ๖๐ วัดในเชียงใหม เห็นวาเปนการใสร้ายปายความผิดให้แก พระครูบาเจ้าฯ เกินไป จึงรวมกันตอต้านไมเห็นด้วยที่มุงทําร้ายคนดี โดยเฉพาะพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ซึ่งตลอดชีวิตได้เสียสละทุมเทบําเพ็ญตน เปนเนื้อนาบุญมาตลอดจนไมมีเวลาเปนของตัวเองโดยไมเคยคํานึงถืง ความเหนื่อยยากลําบากประการใด เจ้าอาวาสทั้ง ๖๐ วัด จึงได้พากันไป ขอความเห็นใจร้องขอความเปนธรรมกับเจ้าคณะพระครู เมื่อไมยอมฟง เสียงทัดทานจึงพร้อมกันขอลาออกจากการปกครองคณะสงฆ และชวย ปกปองทุกวิถีทาง ไมยอมติดตอคณะสงฆตามที่เคยปฏิบัติมาแตกอน ทางคณะสงฆเรียกไปสอบถามสาเหตุตา งก็นงิ่ แตการกระทําเชนนีเ้ ปนการ กอเชื้อเติมไฟให้ฝายตรงข้าม จึงเปนชองโหวให้คณะสงฆจับผิดเอาเปน ข้อกลาวหา เปนเรื่องสําคัญทับถมตอพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ซึ่งเหตุการณสําคัญที่จะอยูในความทรงจํา ความประทับใจจะต้องมี เหตุปจจัยสนับสนุน เหมือนเพชรเม็ดงามอลังการก็ต้องมีเรือนเพชรที่เปน รูปทรงองคประกอบให้โดดเดนเปนประกายยิ่งขึ้น เชนเรื่องของพระครูบา เจ้าศรีวชิ ยั ก็ตอ้ งมีบคุ คลหลายฝายทัง้ ทีร่ เู้ ทาไมถงึ การณ และจงใจจะให้เกิด ก็ล้วนแตเปนองคประกอบเสริมความแข็งแกรงในการสร้างบารมีธรรมให้ สูงสงยิ่งๆ ขึ้นเหมือนวาวจะต้องมีลมขับจึงจะขึ้นสูงได้ หรือเหมือนทะเลจะ


๑๖๙

สวยได้ก็ต้องมีคลื่น ชีวิตก็เชนกันต้องมีอุปสรรคท้าทายให้ฟนฝาจึงจะ ประสบความสําเร็จได้อยางงดงาม ดังนัน้ กลาวได้วา เรือ่ งดี ร้ายทีท่ าํ ให้เกิด เหตุการณปรากฏการณอันหลากหลายมันเปนเรื่องปรกติธรรมดา ยิ่งเจอ อุปสรรคเจอปญหาเจอทุกขหนักหนาสาหัสจริงๆแล้วไมใชเรื่องบั่นทอน ความสําคัญ หรือสภาจะเปนสภาที่สมบูรณแบบก็ต้องมีทั้งเรื่องสนับสนุน และขัดแย้งความเห็นชอบความเห็นตาง หรือในโลกนี้ถ้ามีคนดีหมดหรือ คนชั่วทั้งหมดก็ไมใชโลก หรือภาพวาดที่สวยที่สุดก็ต้องมีหลากหลายลีลา มีสีสันที่แตกตางจนเกิดศิลปะอันลํ้าเลิศ ทานทัง้ หลายคงจะแปลกใจวาการบําเพ็ญบารมี การสร้างความดีของ ทานพระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย ทําไมถึงต้องมีเหตุการณอันเปนเรื่อง เปนราวถึงขั้นต้องตั้งข้อกลาวหาใสร้ายเปนความผิดรุนแรงต้องถูกควบคุม ถูกจับถูกขังครั้งแล้วครั้งเลาทั้งๆ ที่ตลอดชีวิตของทานก็มีแตการสร้างบุญ กุศลคุณงามความดีสร้างเสริมความเจริญให้เกิดขึ้นแกพระพุทธศาสนา เสียสละอุทิศตนสร้างประโยชนสุขแกสวนรวมตลอดเวลา แตไฉนผลจึง ออกมาในลักษณะทีท่ า นจะต้องได้รบั ความยากความลําบากนานาประการ ขอให้พจิ ารณาให้เข้าใจวานีแ่ หละคือทางของนักบุญ ทานอยาได้เข้าใจ วานักบุญจะต้องอยูบ นเสลีย่ งคานหามหรือจะได้รบั การกราบไหว้อนุโมทนา ในบุญในกุศลเจตนาของทายกทายิกาประการเดียว เพราะกวาชีวิตของ นักบุญจะถึงจุดนี้ได้ ทานจะต้องหลอหลอมตัวทานด้วยหัวใจอันเปยมด้วย มโนธรรม ประกอบไปด้วยความเพียรอุตสาหะพยายามอันแรงกล้า จะต้อง มีความอดทนอดกลั้นอยางยิ่งยวด จะต้องมีเมตตาธรรมกรุณาการุณยโดย ไมมีประมาณ และจะต้องมีอุเบกขาธรรมไมสะทกสะท้านหวั่นไหวตอเรื่อง ดีร้ายเล็กน้อยหรือมากมาย อยางไรก็ตามแม้นจะต้องเผชิญหน้าตอสิ่ง


๑๗๐

อันเปนอุปสรรคกีดขวางปญหายุงยากตางๆ นานาจะได้รับความทุกขยาก ลําบากทรมานอยางไรไมวา จะต้องเผชิญหน้ากับเพชฌฆาตหรือมัจจุราชใน เวลาใด ทานจะไมมีความสะดุ้ง สะเทือน นี่แหละคือทางของนักบุญ ผู้ท่ี อุทิศตนนั้นละแล้วซึ่งความสุขสวนตนจะทุมเทชีวิตจิตใจและวิญญาณเพื่อ เสียสละทุกอยางทุกประการ เพื่อให้เกิดประโยชนอันสูงสุด อยางเชน พระพุทธองคเมื่อถึงคราวที่จะต้องเผชิญกับเหตุรุนแรงถูกใสร้ายปายสี ทําลายครั้งแล้วครั้งเลา จะเห็นได้วาพระองคจะไมโต้ตอบจะใช้ขันติธรรม สงบนิง่ ไมขนุ เคืองด้วยมีเมตตาธรรมอันบริสทุ ธิ์ จากเรือ่ งร้อนแรงทัง้ หลาย ก็กลับกลายเปนดี อีกทั้งทรงเปรียบเทียบไว้ชัดเจนวาหากใครเอาเลื่อยที่มี ด้ามสองข้างมาตัดรางกายผานหนัง เนือ้ เอ็น กระดูก หากยังเกิดจิตอาฆาต พยาบาทก็หาชื่อวาเปนศิษยของเราตถาคตไม ดังนัน้ เราจะเห็นได้วา พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั กับการเผชิญหน้าตอเรือ่ ง ดีร้ายใหญหลวงประการใด ทานจะสงบนิ่งไมหวั่นไหว จะยืนหยัดโดดเดน เหมือนภูผา ถือวาเปนศิษยพระตถาคตเจ้า จะเปนผู้มั่นคงอยูในสัจธรรม อยางอาจหาญเสียสละอยางแท้จริง ไมวาจะเปนวีรบุรุษยอดมนุษยทานใด ที่ปรากฏนามในประวัติศาสตรโลก แตละทานจะต้องกล้าเผชิญหน้าและ ฟนฝาตอความทุกขยาก ความลําบากนานัปการมานับครั้งไมถ้วนมาแล้ว ด้วยกันทัง้ นัน้ บางทานถึงกับสละชีพแบบวีรบุรษุ วีรสตรี และทานทัง้ หลาย เหลานั้นก็ได้ประทับบาทวิถี รอยจารึกไว้บนผืนโลกหรือจารึกลงในหัวใจ ของอนุชนให้ได้ถือเปนแบบอยางอันประเสริฐ และเจริญรอยสืบสานเปน ตํานานเปนประวัติศาสตรสืบไปตลอดกาล เมื่ อ ได้ รั บ ทราบประวั ติ ข องท า นพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย สิ ริ วิ ช โย ถึงตอนนี้แล้วอยากจะขอทานทั้งหลายได้ทําความเข้าใจและเห็นใจฝาย ตรงกันข้ามที่เปนคูปรับกับทานพระครูบาเจ้าฯ มาตั้งแตต้นจนถึงบัดนี้วา


๑๗๑

บางทีสงิ่ ทีเ่ รียกวาโมหะหรืออวิชชาเมือ่ ได้ครอบงําจิตใจคนเราแล้ว จากคน ธรรมดาๆ ที่รู้จักเห็นกันคุ้นๆ กันอยูก็จะทําให้เกิดเขมนเบื่อขี้หน้ากัน หาเรื่องราวทําให้เกิดเรื่องร้าวฉานและถึงขนาดฆากันก็มี ในกรณีเรื่อง ของทานพระครูบาเจ้าฯ และเจ้าคณะพระครูท้ังหลายก็เชนกันทุกทาน คงจะเห็นใจทานพระครูบาเจ้าฯ จริงๆ แล้วผู้ท่ีนาสงสารนาได้รับความ กรุณามากที่สุดก็คือบรรดาเจ้าคณะพระครูท้ังหลายนั่นแหละ เพราะทาน พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ยิง่ ได้รบั การกลัน่ แกล้งกลับเปนการเพิม่ บุญญาบารมี ให้แกทานมากยิ่งขึ้น แตฝายตรงกันข้ามนั่นเทาที่ทราบมาอยางพระครูมหารัตนากร (พระมหาอินทร) เจ้าคณะแขวงลีก้ อ นจะมรณภาพ ทานก็ตอ้ งมรณภาพอยาง นาเวทนาสังเวช คือ ขณะฉันข้าวๆ ได้ตดิ ลําคอจะกลืนก็ไมลงจะคายก็ไมออก ปากอ้ า ตาค้ า งได้ รั บ ความทุ ก ข ท รมานแล้ ว มรณภาพอย า งน า สงสาร เจ้าหนานบุญเติง (นายอําเภอลี้) ก็ถูกฟาผาตายอยางนาสลดสังเวช ส ว นพระครู ศ รี โ หม้ ร องเจ้ า คณะจั ง หวั ด เชี ย งใหม ที่ ห าเรื่ อ งกลั่ น แกล้ ง ทานพระครูบาเจ้าฯ หลังจากสร้างทางสูยอดดอยสุเทพนี้ก็เหมือนกัน ตอนหลังทานก็มวี บิ ากกรรมนิว้ มือนิว้ เท้าเนา ขาดหลุดไปบ้างก็หงิกงอเปน ขี้ทูตกุฏฐัง มีอยูวันหนึ่งขณะออกมาหน้าพระวิหารฟาได้ผาชอฟาหักตกลง มาใสตัวทานได้รับความเจ็บปวยซํ้าเติมอาพาธหนักและมรณภาพอยาง นาเวทนา ซึง่ ความจริงทานเหลานีก้ ไ็ ด้ชอ่ื วาเปนพระพุทธศากยบุตรด้วยกัน แตวา การทีเ่ ห็นกงจักรเปนดอกบัว หรือตัณหาอวิชชาเข้าครอบงําแล้วทําให้ กระทําการไปโดยไมได้สติสัมปชัญญะจึงเปนเรื่องที่นาสงสารมาก และ จะต้องใช้เวรใช้กรรมหนักอีกสักปานใดก็ไมรู้ เพราะฉะนัน้ ขอทานทัง้ หลายพึงสําเหนียกระมัดระวังกายวาจาใจอยา ได้ประมาทแม้บางสิง่ บางอยางทีเ่ ราคิดวาดีถกู แล้วหรือเหนือใครอืน่ หมดนัน้


๑๗๒

พระนางเจ้าจามเทวี ปฐมกษัตรียแหงนครหริภุญไชย เสด็จขึ้นมาจาก กรุงละโว้เมื่อปพ.ศ. ๑๒๐๔ พระนางทรงนําเอาพระพุทธศาสนาอารยธรรม ความเจริ ญ รุ  ง เรื อ งมาจากอาณาจั ก รทวารวดี เ พื่ อ สถาปนายั ง ดิ น แดน ล้านนาไทยเปนครั้งแรก ราชวงคจามเทวีมีกษัตริยปกครองสืบตอมาอีก ราว ๕๐ พระองค ทรงขยายขอบขัณฑสีมาจากลุม นํา้ ปงไปยังวัง ยม และนาน


๑๗๓

เจ้าจักรคําขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลําพูน


๑๗๔

มันอาจจะเปนสิ่งผิดพลาดได้ ด้วยเหตุนี้พระพุทธองคจึงได้ทรงตรัสเตือน สอนเหลาสาวกทั้งหลายวาอยาได้หลงตัวหลงตน อยาได้สําคัญยึดมั่นถือ เราถือเขา อยาได้ยดึ ติดลุม หลงหมกจมอยูก บั โลกธรรม จงยกตนให้ผา นพ้น อยูเ หนือความเห็นแกตวั ความละโมบโลภล้นพ้นประมาณ เหมือนการแบก ก้อนหินใหญตอ้ งทนหนักทนยากลําบากกับการแบกภาระเหนือ่ ยหนักต้อง ทนทุกขทรมาน ความโกรธเคียดแค้นพยาบาทเปนเหมือนไฟนรกรุมร้อน ครุกรุนเปนพิษภัยทําลายทําร้ายจิตใจทั้งแกตนเองและผู้อื่น เปนภัยทั้ง รางกายและจิตใจมีแตเรือ่ งกอเหตุการณวนุ วายสร้างปญหาจนเปนกงกรรม กงเกวียน เปนวัฏสงสาร สูญเสียเวลาโอกาสอยูกับความประมาทโดย ไร้จุดหมาย สู้เอาชีวิตที่บอบบางที่เสี่ยงตอการแตกดับนี้ให้อยูในกรอบ ของศีลธรรมได้คุ้มครองรักษา ทําจิตใจให้เปนสมาธิมั่นคงเชื่อมั่นใน คุณพระศรีรตั นตรัยเปนเกราะแก้วภูมคิ มุ้ กัน ไมประมาทเตรียมตัวพร้อมอยู่ อยางสมํา่ เสมอ เมือ่ ต้องเผชิญหน้าตอภัย ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ และความ พลัดพรากผิดหวังได้อยางอาจหาญด้วยมีพลังแหงสติปญ  ญาเปนตัวชวยเห็น แสงสวางสูสัจธรรมมองเห็นแจมแจ้งความจริงของชีวิตสรรพสิ่งมันเปน อนิจจังไมมอี ะไรจีรงั ยัง่ ยืน ต้องทนแบกความทุกขความยากลําบากอุปสรรค ปญหาอยูรํ่าไป อนัตตาจะยึดจะไขวคว้าเอาความสุขก็เหมือนใช้พลังพุงเข็ม อยางสุดแรงเกิดสูอวกาศให้สูถึงเปาหมาย ที่สุดก็หมดแรงไร้สภาพ ครั้นจะ วิ่งหนีความทุกขยากของปญหาก็เหมือนวิ่งหนีหลบหลีกหนีเงาของตัวเอง อันเปนภาพหลอกหลอนลวงตา เมือ่ ประจักษแจ้งสัจธรรมแหงชีวติ ดังนีจ้ ะทําให้คลายจากความสําคัญ ตน จะไมหลงยึดมัน่ ยึดถือสิง่ ใดๆในโลก ทีพ่ ระพุทธองคทรงตรัสไว้วา นีค้ อื ทางแหงความหลุดพ้นอยูเหนือโลกอยูเหนือความเกิด แก เจ็บ ตาย เปน วิมุติวิโมกขคือทางสูโมกขธรรม ความสุขสงบรมเย็นเปนสุญญตา อนัตตา


๑๗๕

คือศูนยรวมสุดยอดของชีวิต เพราะความสุขอื่นหมื่นแสน ไมมาตรแม้น ความสงบ นี่คือมรดกที่พระพุทธองคทรงประทานเปนสุดยอดของศาสตร และศิลปเพือ่ ทุกผูท้ กุ รูปทุกนามไมจาํ กัดบุคคลและกาลเวลา ไมตกยุคสมัย เพื่อประโยชนเกื้อกูลแกมวลมนุษยชาติได้ลิ้มรสความสงบ แล้วจะรู้ซ้ึงถึง ความวิเศษอัศจรรยแหงอิสรภาพของชีวิต เปนพลังแหงสันติสุข เหมือน ดับไฟนรกดับฝนสวรรค จะผสานชีวิตกับสัจธรรมสูความเสมอภาคเปน ธรรมชาติเปนธรรมดาที่สุดคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สูภราดรภาพ สูอริมรรคทางเดินชีวิตที่พระจอมมุนีสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงชี้ทางเบิกทาง นําทางให้เจริญตามรอยพระพุทธบาทองคบรมครูที่ทรงพระอัจฉริยภาพ เฉิดฉายเปนพระบรมศาสดาเอกของโลกตลอดกาล กลับมาสูเหตุการณท่ีนครพิงคเชียงใหมถึงตอนที่บรรดาศรัทธา สาธุชนและสานุศษิ ยทที่ ราบวา พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ถูกสอบสวน และกําลัง รอวินิจฉัยจากมหาเถระสมาคมในกรุงเทพฯตางรอฟงขาวที่วัดพระสิงห ด้วยกลัวทานจะถูกกลั่นแกล้งจนถึงขั้นอยูเวรยามทั้งกลางวันและกลางคืน ทางมหาเถระสมาคมมีหนังสือสงถึงคณะมณฑลพายัพวา ขอให้สง ตัว พระครูบาศรีวชิ ยั เปนการดวนไปกรุงเทพฯเพือ่ รับการอบรมพระราชบัญญัติ ลักษณะการปกครองคณะสงฆฉบับใหมให้รแู้ จ้งอีกครัง้ พร้อมทําการไตสวน อธิกรณ (ข้อกลาวหา) ออกเดินทางในวันที่ ๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๘ และถึงกรุงเทพมหานคร ในวันที่ ๓ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๘ โดยให้พระครูบาเจ้าศรีวิชัยพักที่วัดเบญจมบพิตรเพื่อรอการพิจารณา ระหวางการไตสวนพิจารณาที่กรุงเทพฯ ทางเชียงใหมมีการวิตก หวงใยและพากันวิพากษวิจารณ ทําให้เกิดความปนปวน คณะกรรมการ การสอบสวนต้องแถลงการณ ชี้แจงความคืบหน้าเปนระยะๆ


๑๗๖

คําแถลงการณฉบับที่ ๒ ในการที่ทางราชการได้นิมนตพระศรีวิชัย วัดพระสิงห อําเภอเมือง เชียงใหม ไปกรุงเทพฯ ทางราชการได้แถลงการณให้ทราบตอนหนึ่งแล้ว เห็นอยูวาความสนใจความเอาใจใสของทายก ทายิกา ประชาชนสนใจ เรื่ อ งนี้ อ ยู  ม าก สมควรจั ก ทราบพฤติ ก ารณ อั น ต อ เนื่ อ งจากข้ อ ความ ที่แถลงไว้แล้ว เปนความผิดคือ ก. เฉพาะพระศรีวิชัย ๑. ไมได้ตราตั้งเปนพระอุปชฌายะ ๒. ไมได้ตราตั้งเจ้าอาวาส เปนเจ้าคณะ แตทําใบสุทธิของตนแจกจาย แก พระภิกษุสามเณรของตน ๓. ให้อุปสมบทนายป ที่คณะสงฆห้ามมิให้อุปสมบท ข. ความผิดของพระภิกษุสามเณร ที่ขอขึ้นกับพระศรีวิชัย ๑. หัววัดทัง้ หลายลาออกจากคณะสงฆและทิง้ หนังสือทีเ่ จ้าคณะออกให้ แม้เจ้าคณะห้ามปรามก็ไมฟงสมัครเข้าอยูในความปกครองของ พระศรีวิชัย ๒. ไมยอมให้เจ้าคณะสํารวจบัญชีกลาง ๓. ไมยอมอยูในอาณัติของคณะสงฆแตอยางใด ค. ขอวินิจฉัยครั้งนี้ เจาคณะมณฑลไดชี้แจงใหพระศรีวิชัยทราบ และไดทําความเขาใจตกลงในชั้นตนดังนี้ ๑. ให้วัดที่แตกออกไปต้องกลับเข้าอยูความปกครองคณะสงฆโดย เรียบร้อยเมื่อกลับมาแล้วจะไมลงโทษอยางใด ๒. การกอสร้างปฏิสงั ขรณไมได้หา้ ม แตให้รกั ษาโบราณสถานวัตถุ และ ขออนุญาตต้องอยูในระเบียบการกอสร้าง


๑๗๗

๓. นายปต อ้ งสึก แม้จะบรรพชาเปนสามเณรก็ไมได้เปนได้แตตาปะขาว ๔. พระภิกษุสามเณรที่พระศรีวิชัยบวชให้น้ัน (นอกจากตาปะขาวป) ถ้ายอมอยูในความปกครอง คณะสงฆก็ไมถูกลงโทษอยางไรสวน พระศรีวชิ ยั เมือ่ เข้าอยูใ นความปกครองของคณะสงฆแล้วจะบวชผูใ้ ด อีกก็ไมได้ จนกวาจะได้รับตราตั้งเปนอุปชฌายะเปนทางการ เพื่อให้เปนไปตามข้อตกลงนี้ทางคณะสงฆจักได้ดําเนินการ ซึ่ง ขณะนี้ได้จัดการนาสนะปะขาวปแล้ว (ทําการสึก) ขั้นตอไปคณะสงฆจะได้ สํ า รวจภิ ก ษุ ส ามเณรในวั ด ที่ แ ตกแยกออกไป อย า งวิ ธี สํ า รวจบั ญ ชี กลาง วัดใดยอมอยูในคณะตามเดิมจะได้ให้โอวาทและทําปฏิญาณทํา ทัณฑบนไว้ และออกสิทธิทางสงฆให้ สวนใบสุทธิของพระศรีวิชัยเปนอัน ใช้ไมได้คณะสงฆขอยึดไว้ การจัดการตามมติคณะสงฆตามที่วามานี้ ยอมเปนหน้าที่ของคณะ และหน้าที่ในท้องที่อาจเปนเหตุให้เปนที่ไมพอใจของผู้ปรารถนาดีอยู แต กระไรก็ดีใครขอวิงวอนวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาที่มุงความสงบ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เปนเจ้าของพระพุทธศาสนาได้ทรงสุภาษิต ไว้วา “นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ” แปลวา “ความสุขอื่นนอกจากความสงบไมมี” ดังนี้ขอทานทั้งหลายจงตั้งอยูในความศรัทธาไตรตรองโดยเหตุผลที่ชอบ และน้อมใจปฏิบตั ใิ นอาณัตสิ งฆ ขอสาธุชนผูศ้ รัทธาจงให้ทราบคําแนะนํานี้ โดยทัว่ กัน เพือ่ ความสงบและเชิดชูไว้ซง่ึ พระบวรพุทธศาสนาให้ยง่ั ยืนถาวร โดยดีสืบไป ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๘ ลงนาม อนุบาลพายัพกิจ ขาหลวงประจําจังหวัด


๑๗๘

แถลงการณเรื่องพระศรีวิชัย ฉบับที่ ๓ ขอประกาศแกสงฆสามเณรและพุทธมามกะชนทั้งหลายทราบโดย ทั่วกันวา พระศรีวิชัยตามที่กระทรวงธรรมการอาราธนาไปกรุงเทพฯ โดย บัญชาเนื่องมาจากอะไร หวังวาทานทั้งหลายคงทราบตามประพฤติการณ ตามคําแถลงการณของศาลากลางจังหวัดเชียงใหมแล้ว บัดนี้ ขอแถลงเฉพาะที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่แถลงแล้วนั่นตอมา กลาวคือคณะสงฆได้พยายามทําความเข้าใจกับพระศรีวิชัยโดยนานาวิธี ชีแ้ จงให้เห็นวา “พระสงฆทกุ รูปซึง่ อยูใ นประเทศสยามไมนยิ มวาเปนผูใ้ หญ หรือผู้น้อย นอกจากปฏิบัติเคารพในพระวินัยแล้ว ยังต้องอยูในกรอบของ พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองสงฆ ร.ศ. ๑๒๑ และอาณัติของสงฆ ด้วยกันทั้งหมด ไมมีผู้ใดได้รับเอกสิทธิ์พิเศษประการใด ดังนี้เปนต้น และ พยายามทุกทางที่จะให้ปรองดองกับคณะสงฆ เชน ชักชวนให้ลงทําวัตร สวดมนตกาลจวนจะเข้ารูปอยูแล้ว กลาวคือพระศรีวิชัยได้จัดพระภิกษุสงฆ ซึง่ เปนอันเตวาสิกของทานลงไปทําวัตรสวดมนตกบั พระสงฆในวันคราวละ ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง ซึง่ สอพฤติการณวา จะเข้าใจกลมเกลียวกันเกือบจะหมด สงสัย โดยประการหนึ่งเลาทางรัฐบาลก็ลงความเห็นวาจะให้พระศรีวิชัย กลับจึงยังมีอกี ข้อเดียวเทานัน้ คือ พระศรีวชิ ยั ต้องปฏิญาณตอคณะสงฆเพือ่ ยอมรับทําปฏิญาณไว้เปนหลักฐาน แล้วก็เปนอันหมดระแวงสงสัยและ กําหนดวันกลับได้ทันที ประธานมหาเถระสมาคมได้สงคําปฏิญาณซึ่งกระทรวงธรรมการ (กรมการศาสนา) ได้พิจารณาแล้วมายังข้าพเจ้า เพื่อให้พระศรีวิชัยทําไว้ เปนหลักฐาน ข้าพเจ้าได้พยายามชี้แจงให้เห็นเปนข้อๆ ไป ดังปรากฏตาม ข้อปฏิญาณซึ่งพิมพทางซ้ายนี้ หวังวาคงเรียบร้อยไมมีเหตุการณขัดข้อง ประการใด นาเสียดายที่ไมเปนตามความหวังนั้น เพราะได้รับคําตอบของ


๑๗๙

พระศรีวิชัยเปนลายลักษณอักษรความวา “จะรับรองปฏิบัติตามพระราช บัญญัตกิ ารปกครองสงฆ (ร.ศ. ๑๒๑) และอาณัตขิ องสงฆไมได้” และในวัน เดียวกันนั้นพระศรีวิชัยได้ยื่นหนังสือขอถอนคําพูดโดยอ้างวาเพราะความ หมายผิดและลงท้ายวายอมเซ็น แตมีพยานซึ่งพอจะยืนยันเปนที่เชื่อใจวา พระศรีวิชัยเพียงถอนคําพูดเทานั้น คงยืนไมเซ็นลงนามในปฏิญาณมี พฤติการณสอวาไมเปนที่ไว้วางใจจึงเปนอันยอมให้กลับไมได้กอน เนื่องจากในเหตุผลดังกลาวนี้ ข้าพเจ้าขอแถลงวาพระศรีวิชัยมีความ เข้าใจผิดอยูให้กลับมาทั้งที่เข้าใจผิดอยางนี้ ทาทีจะไมสงบดังที่เปนมาแล้ว เพราะฉะนั้นทางที่จะยอมให้พระศรีวิชัยกลับจะต้องพร้อมด้วยสาเหตุ ๓ ประการคือ ๑. พระศรีวิชัยจะต้องเซ็นคําปฏิญาณให้คณะสงฆไว้เปนหลักฐาน ๒. มีพฤติกรรมเปนที่ไว้ใจคณะสงฆ ๓. พระสงฆในจังหวัดเชียงใหมและลําพูนทีส่ มัครอยูใ นความปกครอง ของคณะสงฆโดยเรียบร้อยทั้งหมดแล้ว สวนในจังหวัดอื่นๆ คณะสงฆจักได้ดําเนินการโดยระเบียบเดียวกัน ตอไป เพื่อผอนผันยอมพร้อมเพรียงเรียบร้อยดีใน ๒ จังหวัดกอน ก็โดย กรุณาแกพระศรีวิชัยที่มีโอกาสจะกลับขึ้นมาโดยเร็ว ขอพระสงฆสามเณรและพุทธมามกะทัง้ หลายจงทราบตามพฤติการณนี้ อยาหลงเชื่อตามทางอันหามูลความจริงมิได้ เมื่อประสงคจะรวมบําเพ็ญ ทานการกุศลกับพระศรีวิชัยก็จงตั้งอยูในความสงบ เมื่อคณะสงฆเห็นเหตุ สามประการแล้วก็จะให้พระศรีวิชัยกลับมาหาทานทั้งหลายเองโดยไมต้อง ขอร้องอยางใดเลย แถลงมา ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๔๗๘ (ลงนาม) พระธรรมโกศาจารย เจาคณะมณฑลพายัพ วัดเบญจมบพิตร พระนคร


๑๘๐

คํามั่นที่พระศรีวิชัยตองรับรองไวตอคณะสงฆ วาจะตองปฏิบัติตามคือ ๑. จะปฏิบตั ติ อ พระราชบัญญัตลิ กั ษณะการปกครองสงฆ (ร.ศ. ๑๒๑) และ อาณัติของสงฆทุกประการ เชน ก. จะยื่นบัญชีการสํารวจบัญชีกลางปตอคณะสงฆตามลําดับชั้น ข. การบรรพชาอุปสมบทจะต้องได้รบั อนุญาตของเจ้าคณะแขวงและให้ ถืออุปช ฌายะทีค่ ณะสงฆแตงตัง้ แล้วให้บรรพชาอุปสมบทได้โดยวิธี คณะสงฆปฏิบัติอยู ค. เมื่ อ อุ ป สมบทแล้ ว จะต้ อ งมี ห นั ง สื อ สุ ท ธิ อั น ชอบด้ ว ยระเบี ย บ คณะสงฆ จะออกหนั ง สื อ สุ ท ธิ อ ย า งอื่ น ไม ไ ด้ แ ล้ ว ให้ บ รรพชา อุปสมบทได้โดยวิธีคณะสงฆปฏิบัติอยู ง. งานปฏิสังขรณกอสร้างสิ่งถาวรตางๆ ต้องปฏิบัติตามพระราช บัญญัติคณะสงฆ (ร.ศ. ๑๒๑) ๒. จะชวยเหลือในการกอสร้างสถานที่เลาเรียนให้กุลบุตรกุลธิดาได้เข้า ศึกษาตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา และชวยสนับสนุนขอร้อง ประชาชนให้เห็นประโยชนของการศึกษา ๓. จะชวยเหลือในการศึกษาเลาเรียนพระปริยัติของพระภิกษุสามเณรใน วัดตางๆ ให้เชื่อคําแนะนําและคําสั่งสอนของพระสงฆ ๔. ชวยเหลือวากลาวตักเตือนเจ้าอาวาส พระภิกษุสามเณรในวัดตางๆ ให้ เชือ่ คําแนะนําและคําสัง่ สอนของคณะสงฆ หรือทางราชการอันชอบด้วย ราชการ (ลงนาม) พระธรรมโกศาจารย


๑๘๑

เมื่อพระครูบาเจ้าศรีวิชัยรับคําปฏิญาณจนเปนที่พอใจ และไมมีทาง ที่ จ ะขั ด ขื น อํ า นาจอี ก พระธรรมโกศาจารย จึ ง ทํ า เรื่ อ งเสนออธิ บ ดี ก รม ธรรมการ (อธิบดีกรมการศาสนา) ดังมีสําเนา ดังนี้ ที่

๓๐๑/๒๔๗๘ วัดเบญจมบพิตร

เรือ่ ง จัดการกับภิกษุสามเณรทีอ่ ยูใ นความปกครองพระศรีวชิ ยั ขัดขืนอํานาจ จาก เจ้าคณะมณฑลพายัพ ถึง อธิบดีกรมธรรมการ (ปจจุบันคืออธิบดีกรมการศาสนา ) ด้วยรับหนังสือของเจ้าเชียงใหมที่ ๕๓๘/๒๔๗๘ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ ศกนี้ แจ้งมาได้ลงมือจัดการกับภิกษุสามเณรทีไ่ ด้สมัครอยูใ นความปกครอง พระศรีวชิ ยั และขัดขืนอํานาจการปกครองคณะสงฆตง้ั แตวนั ที่ ๑ กุมภาพันธ ศกนี้ มีดังนี้ ๑. ได้ถอดเจ้าอาวาสวัดสันทรายหลวงและรองเจ้าอาวาสวัดเข้าแทน น้อย โดยมอบหมายคําสัง่ ให้เจ้าคณะแขวงไปจัดการนัดให้มาฟงคําสัง่ ทีว่ ดั สันทรายมูล แตปรากฏวาเจ้าตัวไมอยูได้หลบหนีออกจากวัดไปเสียกอน คําสั่งไปถึงแล้ว ตามทางสอบสวนได้ความวาเขาได้บอกลาไว้กับพระในวัด นั้นๆ วาจะไปนมัสการปูชนียสถานตางๆ ทางเชียงตุง และพร้อมกันนี้ได้มี เจ้าอาวาสวัดแมแก้ดหลวงและวัดทาเกรียบหายตัวไปด้วยเหมือนกันและได้ ความวาไปที่เดียวกัน นับวาเขาทราบเรื่องนี้ลวงหน้ามากอนแล้วทั้งยังถือ สุทธิที่ทางคณะสงฆออกให้ด้วย (เพราะใน ๔ รูปนี้ ครั้งแรกไมสงคืน) ๒. ได้สง่ั ถอนและสึกเจ้าอาวาสวัดแมแก้ดหลวงและวัดทาเกรียบด้วยแล้ว


๑๘๒

๓. ให้เจ้าคณะแขวงนัดประชุมชี้แจงให้ทราบ ที่จะได้ส่ังสึกวัดที่ ไมยอมตอไปโดยลําดับและจะได้จัดการสึกเจ้าอาวาสที่ไมยอมเรื่อยๆ ไป โดยขออารักขาเจ้าหน้าที่ฝายบ้านเมืองเพื่อความปลอดภัย ๔. ให้เจ้าคณะแขวงนัดประชุมพระสงฆพร้อมด้วยเจ้าหน้าทีฝ่ า ยบ้าน เมืองและหมูสัตบุรุษ วัดที่เจ้าอาวาสหนีออกจากวัดไปชี้แจงพระเณรลูกวัด ให้ยอมอยูในความปกครองคณะสงฆ แล้วมอบวัดแกผู้สมควรให้รักษาวัด นั้นๆ ตอไป หากไมยอมก็จะจัดการให้เปนตามเจ้าอาวาสเสียทั้งสิ้น ๕. ได้สั่งเจ้าคณะแขวงทุกๆแขวงให้จัดการโดยระเบียบเดียวกัน ตอจากนี้ได้รับรายงาน ฉบับที่๖๐๒/๒๔๗๘ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ เจ้าคณะสันทรายได้นดั ประชุมเจ้าอาวาสทีข่ ดั ขืน นอกจากวัดทีข่ ดั ขืนอํานาจ การปกครองคณะสงฆเชนนัน้ เปนความผิดซํา้ อีกและทราบความทีค่ ณะสงฆ ได้สั่งสึกเจ้าอาวาสที่ไมยอมแล้ว ๕ วัด เพื่อที่เขาเหลานั้นกลับใจอยูใน ความปกครองคณะสงฆ ถ้ า ไม ย อมก็ ต ้ อ งถู ก สั่ ง สึ ก ทุ ก วั ด ไป ในที่ สุ ด เจ้าอาวาสเหลานั้นก็ยอมขอคืนอยู ในความปกครองคณะสงฆทุกรูปแตมี เจ้าอาวาสบางรูปขอผอนผันอยางนั้นบ้าง เจ้าคณะจังหวัดเห็นวาการยอม ในชั้นเจ้าคณะแขวงยังไมเปนที่เรียบร้อยดีจนเปนที่พอใจแกคณะสงฆ ถึงวันที่ ๖ กุมภาพันธ นัดให้เจ้าอาวาสเหลานั้นมาประชุมที่วัดทุงยู (วัดเจ้าคณะจังหวัด) อีกชั้นหนึ่งการประชุมคราวนี้เจ้าอาวาสวัดสันนาเม็ง ไมมาแจ้งวาอาพาธให้พระลูกวัดมาแทน เจ้าคณะจังหวัดได้ให้เจ้าอาวาส ยินยอมโดยเรียบร้อยทุกรูปจึงได้ให้เจ้าอาวาส ๙ วัดนั้นลงนามรับรอง ปฏิญาณไว้เปนหลักฐาน สวนพระผู้แทนเจ้าอาวาสวัดสันนาเม็งนั้น ที่ ประชุมเห็นวาไมเปนหลักฐานพอจึงได้งดการลงนามเสีย และขอให้เจ้าคณะ แขวงสอบสวนดูถ้าอาพาธจริงก็ให้โอกาส เมื่อหายอาพาธแล้วให้เจ้าคณะ


๑๘๓

แขวงนําตัวมาทําการปฏิญาณทีว่ ดั ทุงยูโดยเร็ว ถ้าไมอาพาธจริงก็สง่ั การสึก เสียฐานประพฤติไมเปนที่ไว้วางใจของเจ้าคณะแขวง นําตัวเข้ามาปฏิญาณ ที่วัดทุงยูโดยเร็ว ครั้นเจ้าอาวาส ๙ วัดนั้นลงนามปฏิญาณแล้ว เจ้าคณะ จังหวัดจึงให้พระครูปริยตั ยานุรกั ษให้โอวาทเรือ่ งการปกครองคณะสงฆ และ แสดงความยินดีอนุโมทนาในการที่เจ้าอาวาสเหลานั้นนําภิกษุสามเณร ทุกรูปในวัดของตนไปประชุมฟงโอวาทที่เจ้าคณะแขวง เพื่อจะได้ให้ทํา ปฏิญาณและแจกหนังสือสุทธิให้ สวน ๔ วัดที่เจ้าอาวาสได้หลบหนีไปนั้น เจ้าคณะแขวงกําลังประชุมชีแ้ จงทําความเข้าใจกับพระลูกวัดอยู เมือ่ เรียบร้อย แล้วจะจัดให้พระสงฆสมควรครองวัดนั้นไป การจัดการในแขวงบ้านแมได้เปนไปแล้ว ดังนีค้ อื วันที่ ๘ กุมภาพันธ เจ้ า คณะจั ง หวั ด ได้ นั ด ประชุ ม สั่ ง สึ ก เจ้ า อาวาส ๓ วั ด คื อ พระป ญ ญา วั ด พระบาทยั้ ง หวี ด หนึ่ ง พระคั ม ภี ร ะวั ด ทุ  ง ตู ม หนึ่ ง และพระสุ ว รรณ วัดสันปาตองหลวงหนึ่ง ซึ่งเปนหัวหน้าที่สําคัญในการขัดขืนให้โอกาส ได้ ท ราบล ว งหน้ า ๓ วั น ครั้ น ถึ ง วั น กํ า หนดให้ ม าฟ ง คํ า สั่ ง ที่ วั ด ทุ ง ยู กอนอานคําสั่งเจ้าคณะได้ปรารภถึงความขัดขืนอํานาจคณะสงฆให้ทราบ ทานเจ้าอาวาสทัง้ ๓ วัด ไมยอมรับการปฏิบตั ติ ามคําสัง่ โดยอ้างวาพระครูบา ศรีวิชัยได้ส่ังให้ทําอยางไรก็จะทําอยางนั้น และจะอยูไปอยางนี้ ทาง เจ้าคณะจังหวัดเห็นวาจะไมเปนการเรียบร้อยจึงขอให้เจ้าหน้าที่ตํารวจมา รั ก ษาเหตุ ก ารณ และได้ แ นะนํ า ให้ สึ ก โดยดี ใ นที่ สุ ด พระป ญ ญาและ พระคัมภีระได้สึกในขณะนั้น สวนพระสุวรรณขอกลับไปสึกที่วัดภายใน ๓ วัน และได้สกึ แล้ววันที่ ๓๐ กุมภาพันธ ในวันเดียวกัน พระเณรวัดสันปาตอง หลวงได้มาพร้อมกัน ๑๐ รูปมาขออยูในความปกครองคณะสงฆที่เจ้าคณะ แขวงแล้วสวนพระเณรในวัดพระบาทยัง้ หวีดและวัดทุง ตูมทีพ่ ระศรีวชิ ยั บวช


๑๘๔

ให้นน้ั ได้สกึ ไปหมดแล้วทัง้ สองวัด ในแขวงบ้านแม ก็ได้ยนิ ยอมตอเจ้าคณะ แขวง ยั ง มี แขวงดอยสะเก็ ด ได้ สั่ ง เจ้ า อาวาสสึ ก ๒ วั ด คื อ พระสุ ริ ย ะ วัดจอมแจ้งและพระบุญมี วัดเกาะทราย เมือ่ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ พระสุรยิ ะ ขอรอเวลา ๓ วัน พระบุญมียอมสึกวันนั้น ในแขวงสันกําแพง ๑ วัด คือ วัดสันกลางได้ยอมตอเจ้าคณะแขวงแล้วแตขอผอนผันบ้าง เจ้าคณะจังหวัด เรียกเข้าไปที่วัดทุงยู เวลานี้ยังไมได้รับคําตอบจากเจ้าคณะแขวง สวนแขวง นอกจากนี้ที่อยูหางไกลเจ้าคณะแขวงนั้นๆ ได้ดําเนินการอยูแล้ว หวังวาจะ เรียบร้อยในไมช้า ขอกราบเรียนประธานกรรมการมหาเถระสมาคม เพื่อทราบแล้วแต จะโปรด (ลงนาม) พระธรรมโกศาจารย


๑๘๕

สงบนิ่งพิสูจนความจริงและวาจาสิทธิ์ ความศรัทธาปสาทะในพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั กับเหตุการณคบั ขันครัง้ นั้นทําให้ พระเถระตั้งแตระดับเจ้าอาวาสหลายวัด และพระภิกษุสามเณร จํานวนมาก ต้องถูกพระเถระเจ้าคณะฝายปกครอง หาเรื่องด้วยอํานาจ อาชญาด้วยการจับสึก ปลดเปลือ้ งเครือ่ งอัฏฐบริขารไตรจีวร ด้วยความจํายอม สุดทีจ่ ะขมใจ ขณะทีถ่ กู ปลดเปลือ้ งผ้ากาสาวพัสตรออกจากรางกาย แตมอิ าจ ถอดออกจากหัวใจอันมั่นคงในพุทธศาสนาได้สะท้านสะเทือนเหมือนถูก พายุลมหมุน สุดแสนเสียดาย จนนํ้าตาแหงความบริสุทธิ์หลั่งออกมาทั่ว ใบหน้าด้วยความฝนจิตฝนใจ แล้วนําเอาเครื่องอัฏฐบริขารไตรจีวรไปกอง รวมกันรอบองคพระบรมธาตุเจ้าวัดพระสิงห สิง่ สักการะแทนองคพระสัมมา สัมพุทธเจ้าเปนกองพะเนิน เปนที่นาเศร้าสลดสงสารสังเวช เพียงแคถูกใส โทษเพราะทานเหลานั้นเลื่อมใสศรัทธาในพระครูบาเจ้าศรีวิชัยที่เห็นวา ทานเปนผูม้ จี ริยาวัตรความเปนผูท้ รงศีลทรงธรรม และมีปณิธานอันแรงกล้า อุทิศตนในการฟนฟูบวรพระพุทธศาสนาให้เจริญสถาพร พร้อมกับปลุก จิตใจให้ตื่นตัวเกิดความศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ปฏิบัติการของพระสงฆฝายปกครองในครั้งนั้นนับวารุนแรงมาก สร้างความปนปวนสะเทือนจิตใจผู้คนสังคมครั้งนั้น จนมิรู้จะตั้งรับกับ เหตุการณผกผันอยางไรดี แตกระนั้นก็ตามความเคารพเลื่อมใสศรัทธา หาได้ลดน้อยลงไม ถึงแม้จะโดนกอกวนกระทําจนหมดสภาพภิกษุสามเณร แล้วก็ตาม ทานทัง้ หลายเหลานัน้ ก็ยง่ิ เกิดกําลังใจเพิม่ พลังพิทกั ษอยูใ นห้วง สํานึกลึกๆ ซาบซึง้ ในมโนธรรม อันบริสุทธิ์ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยทวีคูณ


๑๘๖

ยิ่งขึ้น จนเปนความประทับใจอยางตรึงตราแนบแนน มาถึงชั้นชนรุนหลัง มามิได้จืดจางไปกับกาลเวลา นี่แหละที่โบราณกลาวไว้วา ระยะทางพิสูจน ม้ากาลเวลาได้พิสูจนผลของกรรม (การกระทํา) ดีให้ได้เปนประจักษแจ้ง สําหรับชาวพุทธที่เข้าใจชีวิตอยางลึกซึ้งที่ย่ิงกวาการศึกษาเรียนรู้ ทองจํา จะไมยึดติดหลงใหลลาภ สักการะสรรเสริญไมหลงหมกจมอยูใต้ กระแสโลกธรรม จะมองเห็นโทษพิษภัยอันตราย จะก้าวพ้นความสําคัญตน จะไมหลงงมงายกระหายอํานาจยศถาบรรดาศักดิ์ ติดอยูกับภาพลวง จะมีชีวิตอยูอยางสงบสุข สันโดษเข้มแข็งแกรงกล้า สะอาดบริสุทธิ์ อิสรเสรี จะไมเห็นแกตวั จะทุม เทอุทศิ ตนด้วยมิตรภาพเมตตาไมตรี จิตใจงดงามเปน พลังอันยิ่งใหญของชีวิตเพื่อประโยชนสุขของชนทั้งหลาย สมดังที่พระพุทธองคได้ทรงตรัสไว้วา “ธรรมชาติจิตเดิมแท้เปน ประภัสสร” เปนความงดงามบริสุทธิ์สะอาดโดยตัวมันเอง เปนธรรมชาติ เปนสัจธรรมความจริงอยางยิง่ ทีส่ ามารถท้าพิสจู นให้เห็นเปนกฎแหงความ เสมอภาคและท้าทายให้ชาวโลก ก้าวข้ามพ้นสูอนัตตา สูสุญญตาสูความ สมดุลทีป่ ราศจากความรูส้ กึ แยกแยะแบงแยกความเปนนัน่ เปนนี่ ทรงชีใ้ ห้ มองชีวิตมองโลกมองสรรพสิ่งให้เห็นเปนธรรมชาติที่วางและบริสุทธิ์ ไร้ตําหนิ ไร้การแยกแยะสีสัน ไร้ฐานะใดๆ ที่จะเข้าไปแทรกแซงอิงอาศัย ให้มองเห็นวาใดๆในโลกทุกอยางทุกประการ ไมมีอะไรที่ยึดมั่นถือมั่นวา เปนตัวตนเปนเราเปนผู้อ่ืน หรือเปนสิ่งนั่นสิ่งนี่ อีกทั้งทรัพยสิน อํานาจ ลาภยศฐานันดร ไมมีอะไรที่ใครจะครอบครองได้ตลอดกาล นีค้ อื สัจธรรมอันเปนมรดกสุดยอดทีพ่ ระพุทธองคได้ทรงค้นพบ และ ประทานให้ชาวโลกได้ดื่มดํ่าซึมซับเปนรางวัลอันยิ่งใหญของทุกชีวิต ทรงชี้ ให้เห็นแสงสวางอันโอฬารของชีวิต ที่พุทธบริษัททุกยุคสมัยได้เจริญตาม


๑๘๗

รอยพุทธบาท จนทําให้ก้าวข้ามพ้นอยูเหนือโลก เหนือความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย อยูเหนือเหตุการณดีร้ายโดยประการทั้งปวงดุจ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย เปนแบบอยางการไมข้องติด ไมมีปฏิกิริยา สะทกสะท้านหวัน่ ไหวตอสิง่ ใดๆ ทานรักษาจิตใจสดชืน่ แจมใสบริสทุ ธิ์ สงบ สํารวมในที่ทั้งปวง ไมโอหังอวดดีสําคัญตน มีเมตตาจิตเปดใจกว้าง ผสานชีวติ เปนหนึง่ เดียวกับสัจธรรมความจริงเปนผูท้ รงศีล เปนผูท้ รงธรรม เป น เนื้ อ นาบุ ญ ที่ ค วรแก ก ารถวายความเคารพกราบไหว้ เ ทิ ด ทู น บู ช า บุญบารมีธรรมอันประเสริฐ เปนที่พึ่งของชนทั้งหลายมาตราบทุกวันนี้ การสอบสวนพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ในเหตุการณสาํ คัญครัง้ นัน้ เปนไป ตามทุกขั้นตอน สิ่งไหนผิดตอกฎระเบียบทานยอมรับผิด สิ่งไหนประพฤติ ถูกต้อง ทานยืนยันด้วยความบริสุทธิ์ใจ มิหวั่นไหวตอข้อบังคับใดๆ แม้อดทนฟนฝาอุปสรรค ทานสงบนิ่งเผชิญหน้าตอเหตุการณมิได้อุทธรณ ด้วยประการใด จนการไตสวน ใช้เวลา ๖ เดือน ๑๗ วัน เมื่อพิจารณาเปน ที่พอใจแล้ว พระครูบาเจ้าศรีวิชัย พ้นข้อกลาวหาและอนุญาตให้กลับ ภูมิลําเนาได้ หลังการพิจารณาคดีเสร็จ คุณหลวงศรีประกาศไปเยี่ยมที่วัด เบญจมบพิตร แล้วเรียนถึงการทีจ่ ะนิมนตไปชวยบูรณะวัดในเมืองเชียงใหม ทานปฏิเสธและเปนเหตุให้ทานกลาวอมตะวาจาวา “ตราบใดที่แมนํ้าปง ไมไหลลองขึ้นเหนือ จะไมขอกลับเข้าเมืองเชียงใหมอีก” (ขอได้โปรด ทําความเข้าใจตรงนี้ วาพระครูบาเจ้าศรีวิชัยทานได้มองเห็นแล้ววาการ ที่จะกลับเข้าไปมีบทบาทอะไรอีกก็นาจะเปนปญหามากกวาที่จะเปนผลดี โดยเข้าไปจะมีการกระทบกระทั่ง ..เพราะเราต้องเข้าใจจิตวิญญาณของ พระครูบาเจ้าศรีวิชัยทานมีจิตใจบริสุทธิ์ ละเอียดออน ทานไมผูกอาฆาต พยาบาทใครอยูแ ล้ว แตกเ็ กรงวาฝายตรงข้ามจะเกิดผลกระทบกระเทือนให้


๑๘๘

เปนภาพลบ จึงได้ตัดปญหาตรงนี้แตอยางไรก็ตามคําพูดของทานได้พูด อะไรไปแล้วถือเปนวาจาสิทธิ์ดังที่ปรากฏอยูในประวัติหลายๆ ตอน) นับวานักบุญแหงล้านนาไทยได้กลาวถ้อยคําที่ไมมีใครคาดคิดวา ทานจะเปลงวาจาอันเปนประดุจคําสาปและเปนตามวาจาที่ลั่นออกไป เพราะหลังจากนั้นทานไมไปเชียงใหมอีกเลย ชาวเชียงใหมหมูแล้วหมูเลา กราบวิงวอนขออาราธนานิมนตพระครูบาเจ้าฯ ไปโปรดชาวเชียงใหม ทานนิ่งเฉยไมรับคําอาราธนานิมนตของใคร จนกระทั่งทานมรณภาพ ชาวเชียงใหมยงั รําลึกถึงคุณงามความดีของทานจึงสร้างรูปเหมือนของทาน เปนอนุสาวรีย ผูอ้ อกแบบสร้างคืออาจารย ศิลป พีระศรี เปนชาวอิตาลี และ เปนผู้ออกแบบสร้างอนุสาวรียบุคคลสําคัญของประเทศไทยอีกมากมาย พอรูปเหมือนของทานเข้าสูแผนดินเชียงใหม เปนการพอดีที่การกั้นเขื่อน ภูมพิ ล (ยันฮี) สําเร็จ และนํา้ แมปง ได้ไหลเออขึน้ เหนือในวันนัน้ อนุสาวรีย ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย เสมือนองคแทนคุณงามความดีของทาน ให้ชาวเชียงใหมและชาวพุทธโดยทั่วไปได้ถวายสักการะ ณ เชิงดอยสุเทพ จนทุกวันนี้ กอนเดินทางกลับเมืองลําพูน ได้เข้าเฝากราบขอบพระคุณสมเด็จ พระสังฆราชเจ้าและพระผู้ใหญที่เปนคณะกรรมการสอบสวนจนทั่วถึงแล้ว จึงเตรียมตัวเดินทางขึ้นรถไฟจากกรุงเทพฯ สูภูมิลําเนา ชาวลําพูนพอ ทราบขาวตางพากันดีใจ สถานีรถไฟจังหวัดลําพูนบรรยากาศเต็มไปด้วย ความสดชืน่ ปลาบปลืม้ ปตยิ นิ ดีอยางยิง่ เมือ่ ขบวนรถไฟเข้าเทียบชานชาลา บรรดาพระภิกษุสามเณรและศรัทธาสาธุชนมาต้อนรับกัน บางคนทีศ่ รัทธา อยางแรงกล้าถึงกับนอนราบพืน้ ให้ทา นเหยียบไปบนรางของตน เพราะเท้า ของทานบริสทุ ธิเ์ กินกวาทีจ่ ะยํา่ บนพืน้ ดินสกปรกทีเ่ ต็มไปด้วยธุลขี องความ


๑๘๙

อิจฉาริษยาใสร้ายให้โทษซึ่งกันและกันของคนที่หนาไปด้วยกิเลสตัณหา ในจํานวนนั้นเจ้าจักรคําขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลําพูนรวมอยูด้วย นิมนต พระครูบาเจ้าพักอยูที่วัดพระธาตุหริภุญชัย และทําพิธีถวายเครื่องสักการะ ทําบุญทําทานเปนเวลา ๗ วัน ข้าวของจตุปจจัยมากมายไมมีที่เก็บได้เอา ไปถวายวัดตางๆ และแจกทานแกผู้ยากไร้ วันหนึง่ เจ้าจักรคําขจรศักดิ์ เจ้าผูค้ รองนครลําพูน พร้อมด้วยเจ้านาย ข้าราชการ อาราธนานิมนตบรู ณปฏิสงั ขรณวดั ซึง่ เจ้ามหันตยศ พระราชบุตร แฝดของพระนางเจ้าจามเทวีสร้างเพือ่ บรรจุอฐั ธิ าตุของพระนางเจ้าจามเทวี แล้วสร้างให้เปนพุทธสถานที่เคยเจริญรุงเรืองตั้งแต ๑,๒๐๐ กวาปมาแล้ว ในที่สุดได้ลมสลายไปตามกาลเวลา แม้กระทั่งชื่อวัดยังไมปรากฏทิ้งไว้ แตซากที่อยูในสภาพทรุดโทรมปรักหักพัง มีต้นไม้รกรุงรัง เถาวัลยพันอยู บนซากเจดียอันเปนโบราณสถานเกาแกเปนสภาพที่ถูกทอดทิ้งรกร้าง มานาน พระครูบาเจ้าฯ เห็นความสําคัญจึงรับนิมนตกบั เจ้าจักรคําขจรศักดิ์ ในวันรุงขึ้น เจ้าจักรคําขจรศักดิ์ นายบุญมีและเถ้าแกโหงวจัดขบวน รถยนต ๖ คัน เพื่อสงทานกลับไปยังวัดบ้านปางและมีภิกษุสามเณรทายก ทายิกาติดตามไปสงถึงวัดบ้านปางจํานวนมาก หลังจากที่เดินทางถึงวัดบ้านปาง ทานรื้อพระวิหารหลังเดิมแล้ว กอสร้างใหม โดยเทคอนกรีตเสริมเหล็กระหวางการกอสร้างชาวบ้านและ พระสงฆสามเณรชวยทํางานเปนจํานวนมากและหาบนํ้าในหมูบ้านขึ้นมา บนวัดเพือ่ ผสมปูนต้องหาบนํา้ ขึน้ บนวัดซึง่ เปนเนินหลายเทีย่ ว มีวนั หนึง่ ทาน เห็นพระเณรหาบนํ้าจึงเกิดความรู้สึกเวทนา จึงรําพึงวา “สาธุ! ขอเทวบุตร เทวดาเจ้าทั้งหลายโปรดได้เอ็นดูสงสารพระเณร จงชวยดลบันดาลให้ฝน ตกลงมามีนา้ํ มาสร้างพระวิหารหลังนีใ้ ห้สาํ เร็จด้วยเถิด” เวลานัน้ ประมาณ


๑๙๐

๑๐.๐๐ น. พอถึงเวลา ๑๕.๐๐ น. ฝนได้ตกลงมาหาใหญจนนํ้าขังเต็มสระ ทําให้มีน้ํามาสร้างพระวิหารได้โดยมิต้องเหน็ดเหนื่อยหาบนํ้าขึ้นมาอีก นายชางที่ทําลายดอกหน้าบันด้านตะวันออก ชื่อนายชางหนานแก้ว หน้าบันด้านหลัง ชื่อนายชางหนานหมวก ชางทําแทนพระประธาน ชื่อ นายชางดิ่งและนายชางเสง นายชางสร้างพระประธาน ชื่อพระหนอคํา (ชาวอําเภอดอยสะเก็ด) โดยเอาแบบพระพุทธรูปพระเจ้าเก้าตื้อ ในวัด สวนดอกเชียงใหม การกอสร้างยังไมทันเสร็จ มีผู้มาขออาราธนาทานบูรณปฏิสังขรณ วัดจามเทวีตามที่เคยรับปากกับเจ้าจักรคําขจรศักดิ์ จึงพากันมารับเข้าสู เมืองลําพูน ชาวลําพูนพอรูข้ า วได้รว มกันแผ้วถางสถานทีก่ อ สร้างพระวิหาร โดยรวมมือทัง้ กําลังกายและกําลังทรัพย การกอสร้างดําเนินไปอยางรวดเร็ว แล้ ว สร้ า งกํ า แพงรอบวั ด จนสํ า เร็ จ ทํ า บุ ญ ฉลองสมโภชจั ด ปอยหลวง เปนที่ปลาบปลื้มปติปราโมทยยินดีอนุโมทนาสาธุการกันทั่วหน้า โดยมี เจ้าจักรคําขจรศักดิ์เปนประธานตลอดงานฉลอง ๑๕ วัน ๑๕ คืน


๑๙๑


๑๙๒

การสรางสะพานศรีวิชัย เมือ่ ทําบุญฉลองทีว่ ดั จามเทวีเสร็จแล้วจึงกลับมาสร้างพระวิหารวัดที่ บ้านปางที่ยังไมเรียบร้อยตอไป ทําได้ไมทันไร ชาวลําพูนเดินทางไป บ้านปางอีก มาขออาราธนานิมนตไปสร้างสะพานข้ามแมนํ้าปง เพื่อเชื่อม ทางคมนาคมระหวางเชียงใหมกับลําพูน ซึ่งเส้นทางนี้จะอํานวยประโยชน และทําให้มีการติดตอสะดวกสบายในการขนสงสินค้าทางสันปาตอง เชียงใหมสลู าํ พูนเร็วขึน้ เมือ่ คํานึงถึงสังขารทานนิง่ ชัว่ ขณะทานรูว้ า การสร้าง สะพานในชีวิตของทานไมมีทางสําเร็จเพราะรางกายของทานได้ชราลง วันคืนกําลังมาแยงกําลังกายไปทุกขณะเนื้อหนังอันเปลงปลั่งก็ซูบผอม สังขารเปนสิ่งไมเที่ยงแท้และเปราะบาง กําลังใกล้ความแตกดับในอนาคต อันใกล้ ทานรู้วาระที่จะต้องจากสานุศิษยทั้งหลายอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ทัง้ ๆ ทีร่ วู้ า ในชีวติ ของทานจะสร้างไมสาํ เร็จ แตกไ็ ด้มองเห็น รูเ้ ห็นเหตุการณ ข้างหน้าวาสะพานนี้จะสําเร็จหลังจากที่มรณภาพไปแล้วและเปนประโยชน สาธารณะมากมาย ทานรับนิมนตเพื่อสร้างสะพานเปนอนุสรณชิ้นสุดท้ายในชีวิต จึง เดินทางไปสํารวจสถานที่เพื่อไมให้เสียศรัทธาผู้นิมนต เมื่อทําการสํารวจ เรียบร้อย งานสร้างเริ่มขึ้นด้วยความรวมมือของชาวลําพูนและเชียงใหม ทํางานอยางเข้มแข็ง เต็มใจ มุงหวังให้การกอสร้างสะพานสําเร็จโดยเร็ว ผู้มารวมทํางานสร้างสะพานและมาทําบุญถวายทาน มากันเปน จํานวนมาก ยิ่งตอนใสบาตรศรัทธาสาธุชนทําบุญกันตั้งแตเช้ามืดถึงสาย ทุกวัน จนทําให้โรคริดสีดวงทวารที่เปนอยูแล้วกําเริบหนักเปนอุปสรรคที่


๑๙๓

ทําความทรมานสังขารให้แกทา นเปนอยางมาก การสร้างสะพานได้เริม่ ต้น ขึ้นแล้วโดยทานพระครูบาเจ้าศรีวิชัยเปนประธานได้มีศรัทธาสาธุชนจาก ทั่วสารทิศที่รู้ขาวการสร้างสะพานพากันมาชวยงานมาทําบุญกันมากมาย ล้นหลาม และทําบุญตักบาตรกันตั้งแตเช้ามืดถึงสายทุกวันและเมื่อเห็นวา อาการอาพาธที่เปนอยูเวลานี้ไมสะดวกที่จะนั่งให้ศีลให้พรเปนเวลานาน ต้ อ งอดทนอดกลั้ น ลํ า บากสั ง ขารจึ ง ขอลาไปพั ก รั ก ษาตั ว ที่ วั ด จามเทวี การสร้างสะพานหยุดชะงักลง ตางก็มุงมาเอาใจใสอยางทะนุถนอมในตัว ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย แต ก ารสร้ า งสะพานมาเริ่ ม ขึ้ น อี ก ที ห ลั ง จากการมรณภาพของ พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั คณะศิษยานุศษิ ยและผูเ้ ลือ่ มใสในปฏิปทาของพระครู บาเจ้าศรีวชิ ยั ตางพร้อมใจกันอยางมุง มัน่ วา หากสร้างสะพานไมสาํ เร็จต้อง รักษารางอันไร้วิญญาณของทานเพื่อปลุกศรัทธา ให้สานุศิษยได้เห็น รางนักบุญให้คอยกระตุ้นเตือนวา พลังแหงความสามัคคีผนึกกันแล้ว เป น พลานุ ภ าพอั น ยิ่ ง ใหญ ยั ง กิ จ อั น ยากเข็ ญ ให้ สํ า เร็ จ ลงได้ ผลงานที่ พระครูบาเจ้าฯ มอบไว้เปนเครื่องเตือนใจ ให้สานุศิษย ได้เจริญรอยตาม บาทวิถีของนักบุญทั้งๆ ที่ยุคนั้นสงครามโลกครั้งที่ ๒ กําลังจะเกิด และ หลังจากสงครามโลกสงบ ผลแหงภัยสงครามทําให้เกิดปญหาการครองชีพ เกิดข้าวยากหมากแพง เดือดร้อนกันไปทั่วแตวาในหัวใจสานุศิษยและ ชาวลานนาไทยยังคงจดจําและสถิตอยูในดวงใจ พลังแหงความศรัทธา พลังแหงคุณงามความดี ความบริสุทธิ์ของพระครูบาเจ้าฯ ทําให้การสร้าง สะพานสําเร็จลุลว งจนได้และทําบุญฉลองพร้อมกับตัง้ ชือ่ วา “สะพานศรีวชิ ยั ” เปนอนุสรณถึงทานตราบทุกวันนี้.......


๑๙๔

ถายทีว่ ดั จามเทวี จ.ลําพูน คราวมา รักษาอาพาธด้วยโรคริดสีดวงทวาร อายุ ๖๐ ป

สัจธรรมบั้นปลายแหงชีวิต ขณะพํานักอยูวัดจามเทวี เพื่อรักษาอาพาธ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย อายุ ๖๐ ป จึงคิดบําเพ็ญบุญทําทานเปนการสวนตัวขาวนี้รู้ไปทั่วบรรดา ศรั ท ธาและสานุ ศิ ษ ย จึ ง ต า งเดิ น ทางมาจากที่ ต  า งๆ เพื่ อ ร ว มทํ า บุ ญ นับเปนการทําบุญครั้งสําคัญที่สุดในชีวิตของทาน หลังจากการทําบุญ สิ้นสุดลงอาการอาพาธก็ทรุดหนักลงอีก ทานรู้วาชีวิตของทานคงอยูได้อีก ไมนาน


๑๙๕

แตพระครูบาเจ้าฯ เปนผูม้ จี ติ ใจเข้มแข็ง หาได้เกรงกลัวตอความตาย กําลังจะมาถึง คิดเสมอวา ความตายเปนสิง่ หลีกเลีย่ งไมได้ พร้อมต้อนรับ ความตายและเยาะเย้ ย โดยไม ฉั น ยา ท า นคงพิ จ ารณาเวทนาให้ เปนกัมมัฏฐาน ปฏิบตั ธิ รรมตัง้ มัน่ อยูใ นมรณานุสสติ จนกระทัง่ หมอครอส ต้องเตือนให้ฉันยา และบอกวาหากไมฉันยาจะหมดทางรักษา มีทางเดียว คือ ความตาย พระครูบาเจ้าฯ ตอบหมอฝรั่งวา “อยาวาแตอาตมาจะตาย เลย หมอเองก็ตอ งตายเหมือนกันแหละ ไมวา จะเปนหมอดีวเิ ศษอยางไรจะ หลีกหนีความตายไปไมพน” พระครูบาเจ้าได้ปรารภกับสานุศิษยวาทาน ปรารถนาทีจ่ ะตายทีบ่ า้ นปาง เพราะชีวติ เริม่ ต้นทีน่ น่ั แผนดินบ้านปางควร จะเปนวาระสุดท้าย อาการอาพาธแม้จะหนักแตกม็ สี ติดเี ยีย่ มทานได้ขอร้อง ให้สานุศิษย นําทานกลับสูวัดบ้านปาง เมื่อถึงวัดบ้านปางอาการปวยหนักยิ่งขึ้น แตเสมือนมีญาณพิเศษ ทราบล ว งหน้ า ถึ ง กาลอวสานของชี วิ ต จึ ง เรี ย กบรรดาสานุ ศิ ษ ย ม า พร้อมหน้ากัน แล้วสั่งเสียวา “ทานทั้งหลาย เราเห็นวาจะไปไมรอดแน อาการครัง้ นีห้ นักนัก ขอทานทัง้ หลายอยาละทิง้ การงานเราทําไว จงจัดการ ก อ สร า งการทํ า บุ ญ การทํ า คุ ณ งามความดี ใ ห สื บ กั น ต อ ไป เวลานี้ อาการปวยทําใหสังขารทรุดหนักทวีข้ึนทุกวัน และมันจะตองแตกดับ อย า งแน น อน ขอท า นทั้ ง หลายจงจํ า คํ า เตื อ นใส ใจเอาไว ประพฤติ ปฏิบตั ธิ รรมใหเกิดความเจริญและความสุข ทัง้ แกตวั เองและเพือ่ นรวมโลก สืบตอไป” คําพูดของทานทําให้ศิษยน้อมรับโอวาทไว้ด้วยเศียรเกล้า ตางรู้สึก เปนหวงทานอยางมาก พยายามปฏิบตั อิ ปุ ฏ ฐากเฝาดูอาการของทาน โดย จัดยามเปลี่ยนเวรกันตลอดเวลาทั้งกลางวันกลางคืน จากนั้น ๒-๓ วัน


๑๙๖

ถายทีศ่ าลากวานตาน (ศาลาบําเพ็ญบุญ) วัดบ้านปาง อายุ ๖๐ ป

พระมหาวัน เจ้าอาวาสวัดสวนดอก จ.เชียงใหม มอบขันดอกไม้ในพิธี คืนปราสาทรดนํ้าลายทองห้ายอดของพระครูบาเจ้าฯ ให้แก ภิกษุอานันท พุทธธัมโม เก็บรักษาไว้ในพิพธิ ภัณฑวดั บ้านปาง


๑๙๗

อาการก็ทเุ ลาขึน้ เล็กน้อย บรรดาสานุศษิ ยตา งพากันดีใจและคลายหวงลง ขณะเดียวกันขาวการอาพาธของทานได้กระจายไปทั่วทุกมุมเมือง ขาวยิ่ง กระจายและเลาลือวาอาการหนัก ทําให้ทุกคนอยากมาเยี่ยมเยียนอาการ เห็นใจความเจ็บปวย ด้วยความหวงใยพากันมาเปนจํานวนมากจนไมมเี วลา พักผอนทําให้รา งกายออนกําลังอยางเห็นได้ชดั ห้ามปรามกันอยางไรก็ไมมี ใครเชื่อฟง ขาวรู้ไปถึงเจ้าจักรคําขจรศักดิ์ และข้าหลวงประจําจังหวัด ตลอด ชาวลําพูน ตางประชุมปรึกษาควรทําอยางไรเพราะตางหวงใยอาการปวย ของพระครูบาเจ้าฯ ในการหารือครั้งนั้น ทานเจ้าคุณวิมลญาณ เจ้าคณะ จังหวัดลําพูน บรรดาพระสงฆ และเจ้าจักรคําขจรศักดิม์ คี วามเห็นวาไมควร ทอดทิง้ ให้ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั รักษาตัวทีว่ ดั บ้านปางเพราะอาจเปนอันตรายแก ชีวิตได้ คณะสงฆยินดีจะไปอาราธนา พระครูบาเจ้าศรีวิชัยจากวัดบ้านปาง เมื่ อ เป น ที่ ต กลงกั น แล้ ว เจ้ า คุ ณ วิ ม ลญาณจึ ง รวบรวมขบวนรถและ เดินทางออกจากจังหวัดลําพูน เมื่อมาถึงวัดบ้านปางพระครูบาเจ้าฯ รู้ตัวดี วาการรักษาจะไมได้ประโยชนอะไร แตเมื่อเห็นเจตนาของคณะสงฆ และ จํานวนผู้มารับเปนจํานวนมากจึงตกลงรับคํา ดังนั้น ในวันแรม ๕ คํ่า พุทธศักราช ๒๔๘๑ ขบวนรถอันยาวเหยียดก็เดินทางออกจากวัดบ้านปาง อําเภอลี้ ได้พักแรมไประหวางทาง ใช้เวลา ๕ วัน จึงถึงตัวเมืองลําพูนได้รับ การอาราธนานิมนตพํานักรักษาที่วัดจามเทวี มีทั้งหมอไทย หมอจีน หมอแขก หมอฝรั่ง ตางก็ชวยกันเยียวยารักษาอยางดีที่สุดอาการก็ไมดีขึ้น ทางจั ง หวั ด เชี ย งใหม ท ราบข า วก็ พ ากั น มาเยี่ ย มพระครู บ าเจ้ า ฯ จํานวนมากและได้กราบขออาราธนานิมนตให้ทานไปรักษาตัวที่เชียงใหม พระครูบาเจ้าฯ ไมยอมไป แม้จะขอทานไปสัก ๓ วัน ๗ วัน เพื่อตรวจดู


๑๙๘

อาการแล้วกลับ ทานก็ไมยอม จนต้องเชิญหมอ จากเชียงใหมมารักษาถึงเมืองลําพูนอาการปวย ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยที่ภาษาพระวาขันธมาร อันเปนเงามืดของชีวิตตั้งแตปฏิสนธิคือความ ตายก็เปนสหายอันไมนาพึงพอใจคูกับชีวิตเคียง ข้างกันมา ขณะเวลาที่พระครูบาเจ้าฯต้องเผชิญ อยู คือ โรคริดสีดวงทวารและโรคปอด เวลาไอ บอยๆ จะกระทบกระเทือนระบบเลือดออกทั้ง ปากและทวาร แตหัวใจอันเด็ดเดี่ยวของทานได้ ซาบซึง้ ตอสัจธรรมจึงถือโอกาสทองนีก้ า้ วดําเนิน ตามอริยมรรค ด้วยอาการสงบ ชีวิตมนุษยเมื่อคิดดูก็เปนสิ่งที่นาขบขัน และตลกสิ้นดี มีทั้งโชคดี โชคร้าย หัวเราะ และ พัดถวายในงาน พระราชทานเพลิงศพ ร้องไห้ บางครั้งปรารถนาสิ่งหนึ่งสิ่งใด แตไมได้ พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั โดย ดั่งใจ บางสิ่งไมนึกไมฝนก็ได้มาอยางไมตั้งใจ เจ้าจักรคําขจรศักดิ์ ดังเชน พระครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแตต้นที่ผา นมา พ.ศ. ๒๔๘๙ มีทั้งการใสร้ายปายสี การแซซ้องสรรเสริญใน บุญญาธิการ เมื่อย้อนเหตุการณปพุทธศักราช ๒๔๖๒ ในระยะ ๒๐ป ทีผ่ า นมา เจ้าคณะจังหวัดเคยมีหมายจับควบคุมตัวอยางนักโทษใช้เจ้าหน้าที่ อยูเวรอยูยามพร้อมอาวุธครบมือและถึงขนาดออกคําสั่งเนรเทศขับไล แม้ต้องสงตัวไปกรุงเทพฯ แตการไตสวนคดีก็ไร้ผล หลังจากนั้น ทานประกอบคุณงามความดีโดยไมยอท้อ การรับตัว ครั้งนี้ผิดกับเมื่อ ๒๐ ปกอน เปนการรับโดยสมัครใจและเต็มใจ เกรงวาจะ


๑๙๙

เปนอันตราย จึงประคับประคองกัน ด้วยความระมัดระวัง ละครชีวิตของ ทานจะปดฉากแล้ว ทานกําลังจะจบ ชีวิตซึ่งมีแตคุณงามความดี ที่สถิต อยู  ใ นดวงใจของมหาชนเสมื อ น เทพเจ้าแหงความเมตตาทีจ่ ตุ มิ าเกิด เพื่อสร้างบารมี ณ วัดจามเทวีจังหวัดลําพูน การรักษาพยาบาลเปนไปอยางดี ทีส่ ดุ แตอาการของทานมีแตทรงกับ ทรุ ด เป น ที่ ห นั ก ใจของศรั ท ธา เมรุชั่วคราวที่วัดจามเทวี สาธุชนทัง้ หลาย ดังนัน้ วันแรม ๕ คํา่ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ ทานขอร้องให้นําทานกลับสูวัดบ้านปาง บรรดาสานุศิษยปฏิบัติตามโดย อาราธนานิมนตทา นขึน้ รถเพือ่ ออกเดินทางทามกลางบรรดาผูม้ จี ติ เลือ่ มใส ศรัทธาตามมาสงอยางคับคัง่ แวะพักทีว่ ดั ห้วยกาน ๑ คืน พอรุง ขึน้ หลังจาก ฉันเช้า ขบวนเดินทางอยางช้าๆ ไมรีบร้อนเพราะเปนคําสั่งของทาน และ ความประสงคของศิษยท่ีไมต้องการให้ทาน กระทบกระเทือนบอบชํ้า การเดิ น ทางต อ ไปเมื่ อ สุ ด ทางรถยนต ต ้ อ งใช้ เ สลี่ ย งคานหามเมื่ อ ถึ ง วัดวังหลวงได้แวะพักนอน ๑ คืน หลังจากฉันเสร็จแล้วพร้อมบรรดาศรัทธา ในยานนั้นได้สมทบติดตามไปวัดบ้านปางอันเปนจุดหมายปลายทาง


๒๐๐

วาระสุดทายของนักบุญอมตะลานนาไทย เมื่อถึงวัดบ้านปาง อาการของทานสดชื่นขึ้น พักรักษาตัวอยูที่กุฏิใน วัดบ้านปาง จนถึงวันแรม ๖ คํ่า เดือนกุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๘๑ อาการปวยหนักลงจนพลิกตัวไมได้ โรคริดสีดวงทวารของทานเปนรูทะลุถงึ ๓ รู นํา้ เหลืองไหลซึมตลอดเวลา และโรคปอดทําให้ไอบอย ๆ จนแทบไมมี เรีย่ วแรง หายใจเหนือ่ ยหอบ เสียงแหบแห้ง ลมหายใจได้ไมเต็มปอด ทําให้ ผอมเหลือแตหนังหุม้ กระดูก แตยงั มีสติดมี าก ทานสัง่ ให้สานุศษิ ยนาํ เสลีย่ ง หามทานไปชมรอบบริเวณวัดแล้วออกไปนอกกําแพงโดยกอนหน้านัน้ ทาน สั่งให้ปลูกกุฏิอยางเรียบงายมุงหญ้าคาอยูนอกกําแพงวัด ทิศตะวันออก เฉียงใต้ เมื่ออุ้มทานขึ้นกุฏิแล้วก็เอาคนโทหลั่งนํ้าประกาศตอสานุศิษยวา ขอมอบวัดวาอารามให้อยูในความดูแลปกครองของสงฆตอไปเถิด.. สาธุ อนุโมทามิ แสดงให้เห็นวาทานมีมรณะสัญญาณและอาจหาญกล้าเผชิญหน้า ตอมรณกรรมที่จะมาถึงตัว จึงสั่งให้ชางประจําตัวชาวจีนชื่อนายชางหลิ่ม สร้างโลงศพและปราสาท ๕ ยอด นายชางหนานสิระสาเปนผู้ประดับดอก รดนํ้าลายทองรอบโลงและปราสาท ๕ ยอดอยางวิจิตรสวยงาม ทานเคย พูดถึงโรคภัยไข้เจ็บของทานวา “เราเปนโรคกรรมแตอดีตมาตามทัน คืออดีตชาติเราก็เคยเปนพระถือไมเทาปลายแหลม ๓ งาม ไดไป แทงใสกนกบตัวหนึ่งเขา กบไดรับเวทนาจึงเปนเวรแกกัน เวทนา ของเราเดี๋ยวนี้คงไมตางอะไรกันกับกบตัวนั้น ถึงอยางไรเราก็ปลงตก แลวไมใหเปนเวรเปนภัยแกกันอีกตอไป ขอใหเปนพระโปรดโลกองคหนึ่ง


๒๐๑

ในวันขางหนา เราจะละสังขารไปเดือนนี้แลว ขอใหทานทั้งหลายจงดู ความวิปริตของทองฟาไวเปนสัญญาณเถิด” และทานยังยํา้ อีกวา “หากเรา มรณภาพแลวอยาเอาซากศพของเราไวในเขตวัดเปนอันขาด เพราะเปนเขต ของพระรัตนตรัยและอยาเอาซากศพของเราไวดานทิศตะวันตกของวัด” วาระสุดท้ายของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั สะท้อนให้เห็นหัวใจอันเปย มด้วยความ เสียสละ ปลอยวางไมยึดติด ถือเปนสุดยอดของพรหมจรรย คือนิง่ และสงบ อยางนาเทิดทูนสมกับเปนบุญเขตเนื้อนาบุญอันประเสริฐ คืนวันแรม ๒ คํ่า ดวงจันทรมีเพียงเสี้ยวประดับฟากลับดูลางเลือน ท้องฟาเหมือนมีพยับเมฆมาบดบัง มองดูกอ้ นเมฆคล้ายอสูรร้ายมาจับกลุม อยางหนาแนน ทุกคนที่มองดูท้องฟาในคืนวันนั้นด้วยความรู้สึกสะท้าน จริงหรือ ? ทีท่ า นพระครูบาเจ้าฯ วาจงดูความวิปริตของท้องฟาเปนสัญญาณ อนิจจา ! มันถึงเวลาแล้วหรือนี่ ! ความเงียบได้ครอบงําบ้านปางทุกหัวระแหง แมลงและสัตวที่หากิน กลางคื น สงบเงี ย บไม มี ก ารส ง เสี ย งคล้ า ยกั บ มั น กํ า ลั ง สงบนิ่ ง ไว้ อ าลั ย ครั้งสุดท้าย กุฏิน้อยที่มุงด้วยหญ้าคาของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยนั้นเลา รางของทานนอนเหยียดยาว ดวงตาหลับสนิท แตทานก็ประคองสติให้ ตั้งมั่นอยูในพุทธานุสสติ เสียงของทานพูดออกมาอยางอิดโรยและแผวเบา วา “ขอใหธุเจาเอาธรรมมาเทศนาใหฟงดวยเราอยากฟงพุทธโอวาทเปน ครั้งสุดทาย” ธรรมที่บรรดาสานุศิษยนํามาเทศนทั้งหมด ๔ ผูก คือ ๑. ธรรมมังคละสูตร ๒. ธรรมโลกวุฒิ ๓. ธรรมบารมี ๔. ธรรมจักร


๒๐๒

ขณะที่ทานขมโรคาพาธสงบจิตฟงธรรมเทศนาอยูน้ัน ทานมักถาม ด้วยเสียงแหบแห้งแทบจะไมได้ยินวา “ถึงเวลา ๑๒ โมงหรือยัง” ถาม เชนนีเ้ ปนระยะๆ นานๆ ครัง้ จะได้ยนิ เสียงถอนหายใจและสะอึก อันเปนการ แสดงให้เห็นถึงเวทนาอันแรงกล้าทีก่ าํ ลังคุกคามตัวทานถูกความอดทน คือ ขันติ เข้าขมเปนอาการถอนหายใจพอทานถามอีกครั้งได้รับคําตอบวา ใกล้เที่ยงคืนแล้ว พระครูบาเจ้าศรีวิชัย จึงโบกมือให้หยุดอานธรรมเทศนา ผูกที่ ๔ ลง (พระครูบาตา เปนผูเ้ ทศน) ซึง่ อานไปได้ครึง่ ผูกพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยได้สํารวมจิตตั้งมั่นอยูในฌาณสมาบัติ รางของทานก็นิ่งไมไหวติงมี แตลมหายใจเข้าออกอยางแผวเบาและขาดห้วงเปนระยะๆ ในทีส่ ดุ ลมปราณก็ขาดออกจากรางของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย นักบุญอมตะแหงลานนาไทย เวลาเที่ยงคืน ๕ นาที ๓๐ วินาที ตรงกับ วันอังคารที่ ๒๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๘๑ ปขาล รวมสิริอายุ ๖๐ ป ๙ เดือน ๘ วัน (ปกติพระครูบาเจ้าศรีวิชัยนอนหันหัวไปทางทิศใต้ คืนวันมรณภาพ ก็หันหัวไปทางทิศใต้) ขณะที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยดับขันธ นายวังเงิน สุวัลหงส นายน้อยแก้ว พลเมฆ เปนผู้ตีปาน (กังสดาล) ตามธรรมเนียม นิยมถือวาเปนการบอกทิศทาง พอบรรดาศิษยทงั้ หลายตัง้ สติได้ พระทองสุข ธัมมะสะโร ซึง่ เปนพระเลขา และผูอ้ ปุ ฏ ฐากได้จดบันทึกเวลามรณภาพ และ เอานํ้าผึ้งกรอกปากศพของทานครูบาเจ้าฯ ๑ ขวด เพื่อไมให้ศพเนาเหม็น พอรุงขึ้นก็นํารางของทานมาชําระนํ้าขมิ้น ส้มปอย นํ้าอบนํ้าหอม เอาศพ ของทานนอนไว้ ๗ วัน ๗ คืน ก็เหมือนคนนอนหลับเพียงแตไมมลี มหายใจ เทานั้น บรรดาสานุศิษยได้อาราธนารางอันไร้วิญญาณของพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยบรรจุไว้ในโลงรดนํ้าลายทองที่ทานสั่งให้ชางเตรียมไว้ โดยการนํา


๒๐๓

ของตาปะขาวปได้นาํ คนแผ้วถางทางรอบวัดทีจ่ ะนําศพของพระครูบาเจ้า ฯ จากด้านทิศตะวันออกที่ทานนอนมรณภาพไปสูทิศตะวันตกของวัด (ซึ่ง กอนที่ทานจะมรณภาพ ได้สั่งห้ามนําศพของทานไว้ทางทิศตะวันตก ตาปะขาวปไมยอมเชือ่ ) บรรดาสานุศษิ ยได้อาราธนาศพของพระครูบาเจ้าฯ ขึ้นสูปราสาท ๕ ยอด ที่เตรียมไว้ในเมรุที่สร้างขึ้นมาใหมในวันจันทรขึ้น ๒ คํ่า เดือนยี่ (เหนือ) พุทธศักราช ๒๔๘๒ ระหวางศพของพระครูบาเจ้าฯ ตั้งบําเพ็ญกุศลบรรดาศิษยทั้งหลายได้เรงสร้างพระวิหารที่ยังคงค้างให้ สําเร็จในปพทุ ธศักราช ๒๔๘๒ แล้วทําบุญถวายทานพร้อมเครือ่ งอัฏฐบริขาร หลายร้อยชุดซึ่งพระครูบาเจ้าฯ เตรียมไว้เพื่อถวายพระสงฆ ๑,๐๐๐ ชุด ทางร้านทําให้ไมทนั ข้าพเจ้าภิกษุอานันท พุทธธัมโมจึงได้สานตอปณิธาน ของพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย คราวทํ า บุ ญ ฉลองสมโภชพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ถ วาย เครื่องอัฏฐบริขาร ๑,๐๐๐ ชุด แดพระสงฆ ๑,๐๐๐ รูปวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๖ เมื่อขาวการมรณภาพของพระครูบาเจ้าฯ ทราบถึงสํานักพระราชวัง จึงกราบบังคมทูลขอพระราชทานหีบเพลิงเปนพิเศษจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู  หั ว อานั น ทมหิ ด ล พระองค ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานหีบเพลิงเปนพิเศษ ตอมาเจ้าวรทัต ณ ลําพูน (ราชบุตรเจ้าจักร คําขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลําพูนองคสุดท้าย) ซึ่งเปนสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร รวมกับชาวเมืองลําพูน จะอัญเชิญอาราธนาศพของพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย มาประกอบพิธีประชุมเพลิงที่วัดจามเทวี เมืองลําพูน เพราะวัด บ้านปางอยูไกลกันดาร ถนนหนทางไมสะดวกโดยประการทั้งปวง พอทาง เชียงใหมรขู้ า ววาทางลําพูนจะอาราธนาศพของพระครูบาเจ้าฯ มาประกอบ พิธีฌาปนกิจก็ต้องการนําศพของพระครูบาเจ้าฯ ไปประกอบพิธีในจังหวัด ของตน จนเกิดการโต้เถียงเกือบนองเลือด ในที่สุดจํานนตอชาวลําพูน


๒๐๔

ที่อ้างเอาอมตะวาจาของพระครูบาเจ้าฯ มายืนยันวา “ตราบใดที่นํ้าแมปง ไมไหลลองขึ้นเหนือ ทานจะไมขอเหยียบยางแผนดินเมืองเชียงใหม” นี่นํ้า แมปงยังไมไหลย้อนกลับ จะเอาศพของทานไปได้อยางไร ชาวเชียงใหมจงึ จนด้วยเหตุผล เพราะตางก็รซู้ ง้ึ ในจิตใจวาทานพระครูบาเจ้าฯ ได้ล่ันวาจา อะไรออกไปแล้วก็เหมือนประกาศิตของเทพเจ้าผูว้ เิ ศษ จึงยอมแพ้ชาวลําพูน ด้วยประการนี้ การนําศพของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย ออกไปจากถิน่ ฐานของ ทาน ไมมีใครในบ้านปางเต็มใจ แตเกรงกลัวอํานาจทางฝายบ้านเมือง จึงไมกล้าปฏิเสธและขัดขวางยับยัง้ รางอันไร้วญ ิ ญาณของนักบุญต้องถูกนํา ออกจากถิ่นมาตุภูมิอีกครั้ง ชาวบ้านปาง (สมัยนั้นมีไมเกิน ๗๐ หลังคา เรือน) สุดกลัน้ นํา้ ตาและหัวใจแทบแตกสลายจากการทีน่ กั บุญของเขาสิน้ ชีพ แล้วทางบ้านเมืองยังนําเอารางนักบุญออกไปจากบ้านปาง จึงไมมชี าวบ้าน ปางไปรวมขบวนศพในครั้งนั้น ซึ่งเจ้าวรทัตจะนําศพพระครูบาเจ้าฯ และ จะนําพระพุทธรูปพระเจ้าฝนแสนหา (พระพุทธรูปคูบารมีที่ได้รับมอบจาก ชาวพะเยา) ไปด้วยแตชาวบ้านปางไมยนิ ยอม เกิดการโต้เถียงเปนเวลานาน ซึ่งชาวบ้านปางได้ตอรองให้เลือกเอาอยางหนึ่งระหวางศพพระครูบาเจ้าฯ และพระพุทธรูปพระเจ้าฝนแสนหาในที่สุดเจ้าวรทัตก็เลือกที่จะนําศพ พระครูบาเจ้าฯไปบําเพ็ญกุศลที่อําเภอเมืองลําพูน ศพของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย ตั้งบําเพ็ญกุศลที่วัดจามเทวี นานถึง ๙ ป จึงมีกําหนดการฌาปนกิจศพในวันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ พระเทพเวที เจ้าคณะตรวจการภาค ๔ ไปรวมงานด้วย คณะ กรรมการจัดการศพได้ขอพระราชทานหีบเพลิงเปนพิเศษให้แกครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั เจ้าหน้าทีจ่ ากสํานักพระราชวังได้อญ ั เชิญเพลิงพระราชทาน เมือ่ ถึง


๒๐๕

สถานี ร ถไฟวั ง ตอง ข้ า ราชการและประชาชนพร้ อ มกั น อั ญ เชิ ญ เพลิ ง พระราชทานแหมาทีว่ ดั จามเทวี ทางฝายคณะสงฆได้อาราธนาพระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ) วัดมหาธาตุ ซึง่ เปนเจ้าคณะภาคพายัพเปนประธานฝายสงฆ ศพของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ตัง้ บําเพ็ญกุศลเปนงานยิง่ ใหญถงึ ๑๕ วัน ๑๕ คืน ประชาชนมากันทัว่ สารทิศเปนประวัตกิ ารณ กลาวกันวาตลาดในตัวจังหวัด ลําพูนเกือบไมมอี ะไรขาย ผูค้ นทีม่ าซือ้ กันอยางล้นหลามบริเวณพิธี ตํารวจ ทหารจาก ๓ จังหวัด คือ จังหวัดลําพูน เชียงใหม และลําปาง มารักษาความ สงบ ปลอดภัยตลอดงาน งานประชุมเพลิงศพพระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย ได้เริม่ พิธจี ดุ เพลิง พระราชทานเวลา ๑๒.๐๐ น. แตพิธีฌาปนกิจจริงๆ เวลาเที่ยงคืน ถึงแม้จะ ผ า นกาลเวลามาถึ ง ดึ ก ดื่ น เที่ ย งคื น บรรดาศรั ท ธาสาธุ ช นต า งก็ เ ฝ า ดู พระเพลิงเผาราง “ตนบุญพระครูบาเจ้าศรีวิชัย” อยางมากมายเนืองแนน ด้วยความเคารพเทิดทูนบูชาอยางยิ่ง ดวงใจทุกดวงจดจ้องเปนหนึ่งเดียว พิจารณามรณานุสติพร้อมสายตาทุกดวงเพงจ้องพระเพลิงที่กําลังลุกโชน เผาไหม้ปดฉากชีวิตพระครูบาเจ้าศรีวิชัยเปนวาระสุดท้าย จนเวลาจะก้าวสูรุงอรุณของวันใหม กองเพลิงจากจิตกาธานได้ เผาไหม้มณฑปปราสาทอันวิจติ รงดงามประดับประดางานพิธพี ระราชทาน เพลิงศพพร้อมกับรางกายอันไมจรี งั ยัง่ ยืนเหลือเพียงเถ้าถานแดงเปนเปลว บนกองฟอนถานจะคอยๆ มอดดับไปกับสัจธรรมทับถมอยูบนพื้นปฐพี จากธาตุดินกลับสูธาตุดิน จากธาตุไฟก็กลับสูธาตุไฟ จากธาตุลมก็กลับสู ธาตุลม จากธาตุน้ําก็กลับสูธาตุน้ํา และจากจิตวิญญาณอันบริสุทธิ์ของ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย จึงเปนกระแสธรรมจุดเปนประกายเปนรัศมีอันโชติ ชวงชัชวาลสูจิตใจของชาวล้านนาไทยทุกดวงเปนแสงสวางอันเจิดจ้าเหนือ


๒๐๖

ท้องฟานภากาศครอบคลุมเปนปริมณฑลทั่วฟาล้านนาไทยมาทุกยุค ทุกสมัยจนได้เกิดมี “ตนบุญ” ผู้สืบสานเจริญรอยบาทวิถีพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยประทับใจประทับธรรม เปนเนื้อนาบุญให้บรรดาพุทธศาสนิกชน โดยทั่วไปได้ชื่นชมบุญญาบารมีมาตลอด จนเปนสายธารแหงศรัทธาอันกว้างใหญไพศาล โดยเฉพาะเสียงสวด สาธยายมนตมหาบารมี ๓๐ ทัศ มีความไพเราะผสานรหัสธรรมดุจเสียง ทิพยของสรวงสวรรคอนั ไพศาล ดังกึกก้องกังวานจากแดนล้านนาไทยสูท วั่ ประเทศ เปนพลังดลใจอันมหาศาลสูการสร้างสรรคชุบชีวิตจิตวิญญาณให้ งดงามดุจดวงแก้วมณี อันวิเศษศักดิ์สิทธิ์ เปนมรดกภูมิปญญาอันสูงสง สืบสานสืบทอดบรรยากาศ แหงการสร้างบุญญาบารมี เพือ่ เกือ้ กูลประโยชน อันสูงสุดสูจิตใจให้เจริญงอกงามไพบูลย อยูเย็นเปนสุขกันถ้วนทั่วตราบ กาลนาน งานฌาปนกิ จ ศพพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ที่ วั ด จามเทวี เ มื อ งลํ า พู น ๑๕ วัน ๑๕ คืน รวมคาใช้จายทั้งหมด เปนเงิน ๗๕,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่น ห้าพันบาทถ้วน) ปจจัยทัง้ หมดมาจากการบริจาคของศรัทธาประชาชน และ การจําหนายเหรียญพระครูบาเจ้ารุน ๒๔๘๒ หลังจากงานศพของพระครูบาเจ้าฯ คณะกรรมการจัดงานทัง้ บรรพชิต และคฤหัสถปรึกษากันวา ควรทําอยางไรเกีย่ วกับอัฐธิ าตุของพระครูบาเจ้าฯ ตางลงมติเปนเสียงเดียวกัน โดยแบงเปน ๖ สวน ๕ จังหวัด สวนที่ ๑ มอบให้ผู้วาราชการจังหวัดลําพูน บรรจุที่วัดจามเทวี สวนที่ ๒ มอบให้ผู้วาราชการจังหวัดเชียงใหม บรรจุที่วัดสวนดอก


๒๐๗

สวนที่ ๓ สวนที่ ๔ สวนที่ ๕ สวนที่ ๖

มอบให้ผวู้ า ราชการจังหวัดลําปาง บรรจุทว่ี ดั พระแก้วดอนเต้า มอบให้ผู้วาราชการจังหวัดเชียงราย บรรจุที่วัดศรีโคมคํา มอบให้ผู้วาราชการจังหวัดแพร บรรจุที่วัดพระธาตุชอแฮ มอบให้วดั บ้านปาง บรรจุทใี่ นถิน่ กําเนิดและสถานทีม่ รณภาพ

คณะศรั ท ธาสาธุ ช นผู ้ เ คารพเลื่ อ มใสแต ล ะแห ง พร้ อ มกั น สร้ า ง อนุสาวรียให้อนุชนรุนหลังถือเปนองคแทนคุณงามความดี เจริญรอยตาม บาทวิถี เปนต้นแบบของ “ตนบุญ” มาถึงปจจุบัน สวนวัดบ้านปางสร้างสถูปพร้อมมณฑปปราสาททําด้วยหินออน ณ บริเวณสถานที่มรณภาพและสร้างเสาศิลาจารึกไว้ ณ สถานที่กําเนิด นอกจากนี้ได้สร้างพิพิธภัณฑเพื่อเก็บรักษาเครื่องอัฏฐบริขารและสิ่งของที่ ทานได้เคยใช้มากอนแล้ว ตลอดถึงรวบรวมภาพผลงาน ๑๐๐ กวาแหง ทั่วดินแดนล้านนาไทย ไว้ในหอกิตติคุณพระครูบาเจ้าศรีวิชัยวัดบ้านปาง นับได้วา วัดบ้านปางเปนปูชนียสถานทีส่ าํ คัญเกีย่ วกับการกําเนิดชีวติ พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั สิรวิ ชิ โย เปนนักบุญอมตะแหงลานนาไทย เพราะเปน วัดที่ทานได้เริ่มสร้างเปนสถานที่ดับขันธ มรณภาพ อีกด้วย ขอดวงวิ ญ ญาณอั น บริ สุ ท ธิ์ ข องพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย สิ ริ วิ ช โย ซึง่ สถิตอยูส รวงสวรรคชนั้ ดุสติ โปรดหยัง่ ทราบถึงการเจริญรอยตามบาทวิถี ของพระคุณทาน และขอโปรดอนุโมทนาในกุศลเจตนาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ สังฆบูชา นิพพาน ปจจโย โหตุ ฯ


พัดถวายทานในงานฌาปนกิจศพครูบาศรีวิชัย พ.ศ. ๒๔๘๙ สวนบุญ จักรคําขจรศักดิ์


๒๐๙

ปจฉิมบท ประวัติเรื่องราวของแตละชีวิตไมวาจะระดับไหนตามความเปนจริง แล้ว ไมสามารถจะนํามาเจียระไนทุกแงทุกมุมให้หมดสิ้น แม้การเขียน ประวัติศาสตรของชาติหรือของโลกก็ต้องขึ้นอยูที่พื้นฐานของผู้เขียนและ การเลือกสรรมุมมองจากภาพกว้างใหญไพศาลให้ลดเหลือเพียงแคขดี เส้น บันทึกหรืออารมณรวมของคนไมกี่คน เพราะแตละมุมมองก็จะมีความ แตกตางละเอียดลึกซึง้ สลับซับซ้อน และสับสนปนเปกันมากมายหลากหลาย ยิ่งเปนชีวประวัติพระครูบาเจ้าศรีวิชัย หรือพระครูบาเจ้าศีลธรรม ทานเปนผู้ทรงศีลทรงธรรม ทรงบารมีอันสูงสง ถือวาเปนสิ่งยากยิ่งที่จะ อานใจหยัง่ ถึงความรูส้ กึ สวนลึกในวิถชี วี ติ จริงๆ ของทาน ไมใชเรือ่ งธรรมดา โดยเฉพาะชวงอายุขนาดรุนพอ รุนแม ก็ยังเกิดไมทันยุคสมัยของทาน อีกทั้งไมใชนักคิดนักเขียนมืออาชีพ ถือวาสิ่งที่ทําไปแล้วนี้เปนความผูกพัน จากหัวใจรัก เทิดทูน เคารพบูชา ด้วยศรัทธาบังเกิดเปนแรงบันดาลใจ อีกพันธะหน้าที่ในการสร้างพิพิธภัณฑของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย และการ ฟนฟูสถานที่สําคัญๆ ที่เกี่ยวกับพระครูบาเจ้าฯ รวมถึงการได้สัมผัส ผู้เกี่ยวข้องในฐานะญาติและศิษยผู้ใกล้ชิด และผู้รวมงานอยูรวมยุคสมัย จึงได้ขอ้ มูลข้อคิด ความรูส้ กึ ตลอดถึงเรือ่ งราวเหตุการณ ชวงทํางานได้ซมึ ซับ แล้วนํามาบันทึกโดยเฉพาะการค้นพบจดหมายตอบรับระหวางพระครูบาศรีวิราชกับพระครูบาเจ้าศรีวิชัย บันทึกการเดินทางไปเมืองพะยาวและ บันทึกบัญชีการสร้างทางขึ้นสูพระธาตุดอยสุเทพ


๒๑๐

ที่สําคัญคือค้นพบการจารจารึกใบลานตอนท้ายพระไตรปฎกฉบับ ล้านนาทุกผูก บันทึกโดยตัวทานเองวาทานเกิดปขาล พุทธศักราช ๒๔๒๐ ซึ่งก็ตางจากผู้อ่ืนที่เขียนวาเกิดพุทธศักราช ๒๔๒๑ และจากท้ายธรรม พระไตรปฎกดังกลาวยังพบหลักฐานชิ้นสําคัญวาทานพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้ตั้งความปรารถนาสูพุทธภูมิ มิใชเปนพระภิกษุธรรมดาโดยทั่วไป คือ เปนถึงอวตาน พระโพธิสัตวเจ้าผู้สร้างบารมี เพื่อพระโพธิญาณที่จะตรัสรู้ เปนพระพุทธเจ้าองคหนึ่งในอนาคตเบื้องหน้า ลองชั่งนํ้าหนักความคิดดู ถ้าทานตั้งปฏิปทาสูงสงถึงปานนี้ ความรู้สึกสามัญทั่วไปถือวา ไมใชเรื่อง ธรรมดาทีจ่ ะเจาะลึกเข้าถึงแกนแท้จากชีวติ ของทานได้ ยิง่ การเติมแตงสีสนั ให้ได้อรรถรสอยางสามัญทัว่ ไปเปนสิง่ ทีจ่ ะต้องใครครวญพิจารณาเปนพิเศษ เพราะเหตุที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยมิใชเพียงเปนปูชนียบุคคลโดยทั่วไป ต้องถือวาทานสูงสงเกินที่จะใสอารมณความรู้สึกรวมจริงๆ แตอยางไรก็ตามบาทวิถชี วี ติ แตละเหตุการณของทานเปนสิง่ นาศึกษา เรียนรู้ควรคูแกการสักการบูชานาประทับใจนาทึ่งนาอัศจรรย ควรอยางยิ่ง ที่จะต้องร้อยเรียงเปนเรื่องราวเพื่อเปนแบบอยางเปนต้นแบบแมพิมพของ ชีวิตคนรุนหลังได้รับรู้และสืบทอดอีกมากมาย ประการแรกที่ปฏิเสธไมได้ ก็คือเรื่องของการสั่งสมบุญบารมีมาแตปางกอน มิฉะนั้นการกําเนิดของ ทานจะมีปรากฏการณอัศจรรยเกิดขึ้นได้อยางไร ประการที่สองการศึกษา พุทธธรรมของทานก็ใช้เวลาไมมาก ก็สามารถมีความรู้แตกฉานเจนจบได้ อยางรวดเร็ว จนซึมซับมาเปนวิถีชีวิตวัตรปฏิบัติได้อยางนาอัศจรรยผสาน นามจนอุโฆษลือเลื่องในนาม “พระครูบาเจ้าศีลธรรมหรือพระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั นักบุญอมตะแหงล้านนาไทย” ซึง่ ต้องยอมรับในคุณวิเศษการสัง่ สม บารมี ๓๐ ทัศ (คุณสมบัตสิ คู วามสําเร็จอันยิง่ ใหญ) มามากพอทีจ่ ะเปนพลัง ขั บ เคลื่ อ นเหตุ ป  จ จั ย สนั บ สนุ น จุ ด ประกายสู  ค วามสํ า เร็ จ สู  เ ป า หมาย ไมลําบากยากนัก


๒๑๑

อีกทัง้ ปจจัยทีส่ าํ คัญอยางยิง่ ขององคความรูส้ ติปญ  ญามิใชเพียงเฉพาะ เกิดขึ้นจากการศึกษาทองจําหรือสามารถเทศนาได้อยางไพเราะพิสดาร ถ้าหัวใจยังยึดติดในลาภสักการะชื่อเสียงยศถาบรรดาศักดิ์ส่ิงแปดเปอน ซึ่ ง โลกธรรม เหมื อ นบ้ า ใบ้ บ อดหอบคั ม ภี ร  เ ปล า ซึ่ ง ในยุ ค พุ ท ธกาล พระพุทธองคก็เคยทรงตําหนิเปนอุทาหรณมาแล้ว และทรงเน้นไว้ชัดเจน วา “ภิกษุทั้งหลาย! เธอจงเปนธรรมทายาทเถิดอยาได้เปนอามิสทายาท เลย” ประการที่สามจากการศึกษาจริยาวัตรบนบาทวิถีชีวิตที่ทานได้ ขัดเกลาอุปนิสัยและจิตปณิธานอันแนวแนสูงสง จึงถือได้วาพระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั เปนต้นแบบของสมณะผูท้ รงศีลทรงธรรมได้อยางยอดเยีย่ มบริบรู ณ อีกทัง้ เปนตัวอยางการดําเนินชีวติ โดยทัว่ ไปให้คนทัง้ หลายได้เจริญรอยตาม ได้อยางวิเศษที่สุด คือลักษณะโดดเดนของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยจะมีปรกติ มองการณไกลละเอียดสุขมุ รอบคอบ จะจัดการระบบการวางแผนทุกขัน้ ตอน อยางลงตัว พร้อมกับความมีมนุษยสัมพันธสูง มีขันติธรรม อุเบกขาธรรม และวาจาสัตยทามกลาง เหตุการณมรสุมชีวิต ก็ย่ิงทําให้ทานโดดเดนดุจ คําโบราณกลาวไว้วา “คนดีถงึ ตกนํา้ ก็ไมไหล ถึงตกสูก องไฟใหญกไ็ มไหม้” และธรรมย อ มคุ ้ ม ครองผู ้ ป ระพฤติ มั่ น คงอยู  ใ นธรรม มิ ใ ห้ ต ้ อ งอาทร เดือดร้อน จะอยูเย็นเปนสุขได้ทุกอิริยาบถทุกสถานการณ โดยปกติแล้วทานจะเปนคนสุภาพออนน้อม สงบสํารวม ไมโอ้อวด ไมแสดงตัววาเปนผู้วิเศษวิโส ไมเปนนักปลุกเสกเลขยันต ไมมีการพน นํา้ มนต แจกขีห้ มากไมใชพระทีอ่ ตุ ริมอี ภินหิ าร ไมมกี ารโฆษณาค้าขายบุญ เรี่ยไรเงินเปนเชิงพาณิชย ทานจะอยูอยางสันโดษ ถือเอกาฉันหนเดียว บริกรรมภาวนาเดินจงกรมและแผเมตตาโดยไมมปี ระมาณ ไมมกี ารแยกแยะ วามิตรหรือศัตรู ถือวาสัตวโลกยอมเปนกัลยาณมิตร ไมมีแบงแยกพวกเขา พวกเรา ตามที่พระพุทธองคทรงตรัสไว้วา “จงมองให้เห็นชีวิตและโลกวา


๒๑๒

เปนของวาง วางจากตัวตน คนสัตว สรรพสิง่ ล้วนเปนสัจวา ธาตุตามธรรมชาติ ไมใชอะไรทั้งสิ้นเพราะเปนอนัตตา เปนสุญญตา” ด้วยประการฉะนี้ พระพุทธองค จึงมีปกติอยูในสุญญตาวิหารธรรม รวมทั้งพระอรหันตเจ้า ผู้เปนพระสาวกด้วยจึงอยูในความวางเปนวิหารธรรมอยูด้วยวิมุติ วิโมกข หรือนิพพานความสงบรมเย็นเปนนิจ เราจะสั ง เกตเห็ น ชั ด ในชี วิ ต ของพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ท า นจะมี ความศรัทธาเชื่อมั่นในพระรัตนตรัยอยางเทิดทูนสูงสงยิ่ง จะประพฤติตน สงบสํารวม มัน่ คงในศีลสิกขาสมชือ่ นาม “ศรีวชิ ยั หรือ ศีลธรรม” ของทาน จริ ง ๆ ไม ว  า จะมี เรื่ อ งราวดี ร ้ า ยกระทบกระทั่ ง ท า นจะสงบนิ่ ง จิ ต จะ ไมกระเพื่อมไมหวั่นไหว จะถูกตั้งข้อกลาวหารุนแรงกี่ครั้งกี่หน แม้จะเอา ทานไปกักบริเวณสักกีห่ นทานจะสงบนิง่ สยบเหตุการณรอ้ นแรงได้ทกุ ครัง้ นีแ่ หละถือวาการได้ศกึ ษาฝกฝนปฏิบตั ติ ามหลักสัจธรรมของพระพุทธองค อยางแท้จริง และไมจําเปนต้องรู้อะไรมากมายเจนจบพิเศษ พิสดาร เพียงแตทําให้หัวใจอยาได้ฟุงซาน ห้ามใจอยาให้ทะเยอทะยานวิ่งตามเปน ทาสตัณหา ความใคร ความอยาก ทุกประการ มีจดุ หยุดของหัวใจสูค วามสงบ การบังคับใจอดกลั้น อดทน ขมนิวรณหมั่นฝกให้จิตใจสดชื่นเบิกบาน ใสสะอาด ดุจดวงแก้วมณีที่ไร้ราคิน ก็คือความงดงามคุ้มคาของชีวิต ไมเสียทีที่มีโอกาสพบบวรพุทธศาสนา นี่คือทางสายตรง ที่พระพุทธองคทรงชี้ทางให้พุทธสาวกทั้งหลาย ดําเนิน ทรงตรัสไว้วา “ภิกษุทั้งหลาย ถ้าใครนําเลื่อยที่มีด้ามสองข้างมา ตัดลําตัวของเธอ ผานเข้าถึงหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก ถ้าเธอมีความโกรธ ความอาฆาตพยาบาท มี จิ ต ใจขุ  น มั ว เธอหาใช ศิ ษ ย ข องพระตถาคต ไม เมื่อถูกกระทําดังนั้นเราเองจะต้องมีจิตใจอันงดงามแผเมตตาโดยไมมี ประมาณ ไมผูกโกรธ ไมผูกความอาฆาตพยาบาท ไมผูกเวรกรรม จะมีแต


๒๑๓

การให้อภัยด้วยหัวใจเปดกว้างอยูเสมอ ถึงแม้จะต้องทนเจ็บ ทนปวด ทั้งกาย ทั้งใจ ก็ไมละทิ้งเมตตาธรรม ความเอ็นดูการุณยตอคนทั้งหลาย ประดุจอ้อยที่ถูกตัด ถูกหนีบจนบี้แบนอยางไรก็ไมทิ้งรสหอมหวาน แม้จะ ต้องตายก็จะไมสะทกสะท้านหวั่นไหว” นี่แหละถ้าเราศึกษาชีวิตของ พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั แล้วน้อมนําสูว ถิ ชี วี ติ ของเราทานทัง้ หลาย เมือ่ ถูกกระทํา กระทบกระทั่งหรืออยูในเหตุการณคับขันที่สุดแล้ว จงตั้งสติใช้ชีวิตอยาง สงบนิง่ ทําจิตใจให้ดเี ปนปกติ รําลึกถึงพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั หรือพระพุทธองค ที่ได้ใช้ความนิ่ง ความสงบ ความบริสุทธิ์แหงหัวใจ แก้ไขเหตุการณดีร้าย ทั้งหลายทั้งปวง ข้อสําคัญต้องเข้าใจวา เหตุการณเรื่องราวอะไรตางๆ นั้น มันมีเหตุปจจัยเกิดขึ้นมาแล้ว ทุกสรรพสิ่งที่ปรากฏขึ้นมาก็จะดับไปเปน สภาพเปนของธรรมดา อยาใจร้อนให้อดทนทําใจให้เย็นๆ เหมือนกับเอา นํ้าเย็นๆ คอยดับเปลวไฟที่ลุกโชน มีสติ รู้ทัน สู้กับสิ่งเลวร้ายทั้งหลายด้วย หัวใจอันบริสุทธิ์จากร้ายก็จะกลายเปนดี จากดีอยูแล้วก็จะทวีตรีคูณขึ้นอีก มากมายมหาศาล จงรักษาจิตใจให้สมดุลบริสทุ ธิ์ อยาให้เกิดความรุม ร้อน ความขุน มัว ต้องตัง้ สติไว้เสมอวาใครจะทําอะไร อยางใด ไมตอ้ งเก็บมาเปน ความคิดให้หนักใจ แม้แตอยาได้คิดถึงเรื่องบุญคุณ ที่เราได้ทําไว้กับใคร จงรักษาจิตให้เปนอิสระ อยาให้เกิดอารมณค้างหรือเงื่อนไขใดๆ มาเปน ข้ออ้างแสดงสิทธิอ์ ยางใดอยางหนึง่ โดยเฉพาะเรือ่ งของการคิดทวงบุญคุณ บางครั้งเราก็ต้องทําเปนหูหนวก ตาบอด เปนใบ้ โงให้เปน อยาอวดรู้ อวดฉลาด อวดภูมิหลัง อยาทําตัวเปนควายเขากาง ยึดติดในทิฏฐิ ถือตัว สําคัญตน ต้องประพฤติตนเหมือนคําโบราณกลาวไว้วา “เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม” เปนบางโอกาส บางทีความรู้ความฉลาดเชิงสติปญญาและเหตุผล หรือความถูกต้อง ความจริง ถ้าใช้ผิดกาลเทศะก็เกิดปญหาเปนเรื่องเดือดเนื้อร้อนใจเสียหาย


๒๑๔

ถึงขัน้ ชีวติ ได้เหมือนกัน แม้พระธรรมวินยั เปนสิง่ ดีวเิ ศษในยุคพุทธกาลแท้ๆ ภิกษุฝา ยธรรมธรกับฝายวินยั ธร ยังถกเถียงจับผิดเล็กๆ น้อยๆ ไมลงเอยกัน เปนเหตุทะเลาะทําให้เกิดเรือ่ งบานปลาย พระพุทธองค เสด็จไปห้ามปราม ชี้ แจงอย า งไรก็ ไ ม ย อมเชื่ อ ฟ ง เพราะถื อ ว า แต ล ะฝ า ยก็ ยึ ด มั่ น ในหลั ก พระธรรมและพระวินัยไมยอมลดทิฏฐิ จับผิดจับถูกกันจนแตกแยกเปน ฝกฝาย พระพุทธองคถึงกับต้องทรงหลีกหนีจากหมูพระสงฆที่อวดดีดื้อดึง ทับถมกัน โดยเสด็จไปอยูปาเลไลยอันไกลโพ้นผู้คน ไปอยูกับสิงสาราสัตว อยูพักใหญ จนชาวบ้านชาวเมืองเห็นวาพระสงฆเหลานั้น ออกนอกลูนอกทาง หาแตเรื่องทะเลาะถกเถียงชี้โทษจับผิดกันด้วยทิฏฐิ มานะ อหังการเหมือน มีความรู้อยูทวมหัวเอาตัวไมรอด ขาดการสํารวมอันเปนสมณวิสัยจึง หมดศรัทธาไมมีใครใครทําบุญทํานุบํารุงด้วยปจจัย ๔ อยูกันอยางลําบาก ทั้งสองฝายจึงเกิดจิตสํานึกและพากันเดินทางไปกราบขอประทานอภัยกับ พระพุทธองค แล้วหันหน้าเข้าหากันด้วยความพร้อมเพรียงสามัคคี มีจิต อนุเคราะหซึ่งกันและกันได้มองเห็นแล้ววาการนินทากันเหมือนสาด นํา้ โคลนรดกันเปนโลกธรรมของคนทัว่ ไป อยาเอาเรือ่ งเหลวไหลไร้สาระมา ใสใจให้มนั หนักสมองปวดหัวทําให้จติ ใจฟุง ซานรําคาญเปลืองเวลาโดยเปลา ประโยชน เพราะฉะนัน้ เมื่อเกิดเรื่องอะไรขึ้นมาก็ให้นึกถึงพระพุทธเจ้า จง ระลึกถึงพระครูบาเจ้าศรีวิชัย แล้วเราจะมองเห็นมโนธรรมอันสุขุมบริสุทธิ์ เยือกเย็น เต็มเปย มไปด้วยเมตตากรุณาอันยิง่ ใหญดลจิตใจของเราให้มอี านุภาพ เปนแสนยานุภาพที่จะเปนพลังชีวิตยืนหยัดอยูคูคุณธรรมอยางสงางาม พันธะสืบสานปณิธานแม้จะต้องเผชิญอุปสรรค ความยากลําบาก มากมายประการใด ก็จะพยายามติดตาม เจริญรอยทําให้สําเร็จทุกอยาง ถือวาเปนการปฏิบัติหน้าที่อันสูงสง เพื่อการอันใหญหลวงที่พระครูบาเจ้า


๒๑๕

ศรีวิชัยได้ขีดเส้นให้ก้าวยางตามทานทั้งด้านทัศนวิสัยและวิถีปฏิบัติอยาง ทุมเทความสามารถ ไมวาเรื่องนั้นจะเปนเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญอยางเชน ทานครูบาเจ้าศรีวิชัยได้ปรารภวา “วัดบ้านปางเรา ถ้าได้ทําถนนตัดตรง เข้าสูหน้าวัดนี้ได้ก็จะดี” แตทานไมได้ทําเหมือนกับพูดฝากเอาไว้ จึงได้ซ้ือที่นาหน้าวัดโดย ความอุปถัมภของทานอุบาสกกวงเม้ง ทานอุบาสิกาปตอิ ร แซเล้า พร้อมด้วย ครอบครัวสร้างถนนสูหน้าวัดบ้านปาง พร้อมครอบครัวของพออุ้ยใจคํา คําอ้ายได้ถวายทีน่ าขอจารึกนํา้ ใจไมตรี และได้สร้างซุม้ ประตูโขงพระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั ตรงบันไดหน้าวัดโดยมีคณ ุ พอประพันธคณ ุ แมสวุ มิ ล ธรรมวัฒนวิมล เปนศรัทธาอุปถัมภ ตามความปรารถนาของทานได้ให้สาํ เร็จตามความประสงค พร้อมกับทําถนนรอบวัดแล้วอ้อมไปถึงเสาศิลาจารึก สถานที่กําเนิด อ้อมไปถึงบอนํา้ โบราณ-โบสถกลางนํา้ และไปข้างศาลของหมืน่ ผาบทําเปน วงแหวนรอบวัดบ้านปาง และได้ขอผูว้ า ราชการจังหวัดลําพูนจัดงบประมาณ เทถนนคอนกรีต-ราดยางจนสําเร็จและตัดเส้นทางเชือ่ มจากถนนใหญสเู สา ศิลาจารึกสถานที่กําเนิดของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ซึ่งเปนผลงานสืบค้นหา สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ที่เกิดเหตุอัศจรรย แผนดินไหว พายุลมฝนฟาร้อง กึกก้องกัมปนาท คราวที่กําเนิดนักบุญผู้วิเศษครั้งนั้น ถ้าไมคิดถึงจุด เหตุการณครัง้ นัน้ เพียงไมกปี่ ก จ็ ะไมมใี ครสามารถรูไ้ ด้เพราะผูท้ ช่ี จี้ ดุ กําเนิด ได้นั้นมีเพียงผู้เดียวคือ พออุ้ยหน้อยสิงหคํา เปนลูกของแมอุ้ยอวนพี่สาว ของพระครูบาเจ้าฯ และอยูไมไกลจากศาลของหมื่นผาบ ซึ่งเปนจุดตั้งบ้าน ปูท วดของทาน ติดกับห้วยแมปางใจกลางหมูบ า้ น พร้อมชีห้ ลักฐานต้นจําป ที่อยูข้างบ้านของพอควาย แมอุสา โยมบิดา มารดาของพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย ซึ่งสมัยเมื่อเปนเด็ก ทานจะชอบวิ่งเลนอยูใต้ต้นจําป ยังบอกอีกวา ถ้าดอกจําปต้นนี้บานสะพรั่งจะมีกลิ่นหอมฟุงขจรไปทั่วทั้งหมูบ้าน


๒๑๖

หลังจากสร้างพิพิธภัณฑได้ไมนานต้นจําปก็ล้มลงเพราะต้นใหญ มีอายุเกาแกมาก จึงนํามาเลื่อยทําเปนบานประตู พิพิธภัณฑทั้ง ๓ ประตู ได้ซอ้ื ทีด่ นิ คืนกับเจ้าของผูค้ รอบครอง โดยทานอุบาสกกวงเม้ง ทานอุบาสิกา ปติอร แซเล้า พร้อมครอบครัวเปนศรัทธาผู้อุปถัมภและได้สร้างเสา ศิลาจารึกด้วยหินแกรนิตอยางดี มีฐาน มีสระบัว มีร้ัวเหล็กล้อมรอบ ปลูกไม้ดอกไม้ประดับเปนภูมทิ ศั นเหมือนสวนอุทยาน ลักษณะของเสาศิลา จารึกทําตามแบบเสาอโศกจากประเทศอินเดีย เปนทรงกลมยอดหัวเสา ทําเปนรูปเสือ ๔ หัว แผอํานาจเปนสัญลักษณปเกิดของพระครูบาเจ้าฯ ผู้ออกแบบคือ ดร.พรศิลป รัตนชูเดช หลังจากนั้นไมก่ีปพออุ้ยหน้อย สิงหคําก็เสียชีวิตในอายุ ๙๒ ป ๖ เดือน ตลอดถึงความพยายามอยางยากยิง่ ในการติดตามสืบหาตราประจําตัว พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ทีม่ สี อื่ ถึง ๕ ภาษาคือ จีน อังกฤษ พมา ไทยกลาง ไทย ลานนา และมีรูปเสือลายพาดกลอนเปนสัญลักษณปเกิด ได้ติดตามหาลูก ประคําทีท่ า นใช้ประจํา พร้อมกับติดตามขอคืนปราสาททอง ๕ ยอดทีใ่ ช้ใน งานศพของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย อีกชิ้นงานสําคัญ คือการสืบสานปณิธาน ที่ทานได้ต้ังใจอยางมาก หลังจากทําบุญสร้างถนนขึ้นสูพระบรมธาตุเจ้า ดอยสุเทพนครเชียงใหมแล้ว พระครูบาเจ้าตั้งจิตอธิษฐานที่จะทําบุญถวาย ทานผ้าไตรจีวรเครือ่ งอัฏฐบริขารหนึง่ พันชุดแกพระสงฆหนึง่ พันรูป ซึง่ ทาน ได้สงั่ ให้ทางร้านทีก่ รุงเทพทําบ้างเปนบางสวน พอดีคณะสงฆฝา ยปกครอง ในจังหวัดเชียงใหมได้ต้ังข้อกลาวหา ใสร้ายจับผิดพระครูบาเจ้าศรีวิชัย หลายข้อ เอาทานพระครูบาเจ้าศรีวิชัยไปกักบริเวณ ที่วัดเบญจมบพิตร ๖ เดือน ๑๗ วัน หลังจากนั้นทานก็เริ่มมีอาการอาพาธไมมีโอกาสที่จะได้ ทําบุญตามความประสงค


๒๑๗

สวนสิง่ ของทีส่ งั่ ทําขึน้ ได้นาํ ไปถวายตอนทําบุญงานศพพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยระหวางที่ศพอยูท่ีวัดบ้านปางและคณะกรรมการนํามาประมูล จําหนายเอาปจจัยเงินจํานวนนั้นมาสร้างอุโบสถหลังหนึ่ง ดังนั้นจึงได้ สืบสานปณิธานของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยโดยการถวายผ้าไตรจีวรเครื่อง อัฏฐบริขาร หนึ่งพันชุดแดพระสงฆหนึ่งพันรูปในโอกาสฉลองพิพิธภัณฑ พระครูบาเจ้าศรีวิชัยในป ๒๕๓๖ และยังได้สืบค้นหาภาพเมรุปราสาทศพ สิ่งที่เปนผลงานตลอดชีวิตทานได้สร้างบูรณะปูชนียสถานสําคัญ ไว้ ทั่ ว ภาคเหนื อ ก็ ไ ด้ พ ยายามติ ด ตามไปถ า ยภาพเก็ บ รวมเป น ผลงาน ณ วัดบ้านปาง อันเปนสถานที่กําเนิดที่สร้างวัดแหงแรก รวมเปนผลงาน ภาพถายร้อยกวาแหง ไว้เปนเกียรติประวัติ เทิดทูนบุญบารมีพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย ให้แกอนุชนรุนหลังได้มีความภาคภูมิใจ ในความคิดความอาน การสร้างสรรคของบูรพาจารยทไ่ี ด้อทุ ศิ ตนเสียสละรังสรรคสร้างงานอมตะ ให้เปนมรดกของพุทธศาสนาคูแผนดิน มาจนถึงตราบทุกวันนี้ อีกประการหนึ่งคือปณิธานที่ทานครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ทานได้กลาวไว้ เปนทีจ่ ดจําของชนชัน้ ลูกหลานได้เลาขานสืบตอกันมา ตามคําบอกเลาของ พออุ้ยหน้อยสี ผู้เฒาผู้แกชาวบ้านปาง ปจจุบันอายุ ๙๔ ป (๒๕๕๔) ได้เคย พูดไว้วาเมื่อพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกชาวบ้านปางตอวา วา “พระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั มัวแตไปหนัว(มุง ทํา)สร้างความเจริญให้แกทอ่ี น่ื มากมายไปเรือ่ ยๆ เอาข้างหน้าเปนไป ปลอยวัดบ้านปางไว้ข้างหลังให้เปนปาหยอมหญ้า ไม ส งสารเอ็ น ดู วั ด ตั ว เองบ้ า งหรื อ ?” พระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ได้ ต อบ ให้ความหวังญาติโยมชาวบ้านปางให้สบายใจวา “ไมตอ้ งเปนหวงวัดของเรา วาจะอยูใ นสภาพอยางไร โอกาสวันข้างหน้าคอยดูเถิด จะมีผมู้ วี าสนาบารมี รวมกันมาคิดมาชวยสร้างให้เอง ไมต้องเปนหวง”


๒๑๘

พระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย พร้ อ มศิ ษ ย โ ยมชาวกะเหรี่ ย งและศรั ท ธา ชาวบ้านปางรวมถึงชาวบ้านชาวเมืองทั่วไป ได้รวมกันสร้างโฮงหลวง (กุฏิใหญ) โดยเอารูปแบบคุ้มเจ้าหลวงนครพิงค เชียงใหม สร้างด้วยเสา ปูนซีเมนตเสริมเหล็ก ๘๒ ต้น ชวงบนเปนไม้ปูพื้นเข้าลิ้นอยางดี ฝาผนัง บุดว้ ยไม้ ๒ ชัน้ หลังคามุงด้วยสังกะสี (เปนวัสดุหายากในสมัยนัน้ ) พอสร้าง เสร็จทานก็ได้เอาไว้เปนที่เก็บรักษา พระธรรมคัมภีรพระไตรปฎกฉบับ ล้านนาไทย และสิง่ ของสําคัญอืน่ ๆ แล้วทานได้บอกไว้วา “โฮงหลวงหลังนี้ สร้างเพื่อให้พญาธรรมมาอยู” พร้อมกับพูดไว้เปนปริศนาไว้อีกวา “ตอไป ในโอกาสข้างหน้า มะพร้าวซีกหนึ่งจะอยูเมืองลําพูน อีกซีกหนึ่งจะอยู เมืองพะยาว แล้วจะมารวมกันเปนชิ้นหนึ่งอันเดียวกัน” หลังจากทีท่ า นพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั มรณภาพ ป พุทธศักราช ๒๔๘๑ นับจากนั้นมา ๕๐ ป ก็ได้มาฟนฟูวัดบ้านปาง และได้ขึ้นอยูโฮงหลวงของ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย นอกจากได้สร้างสืบสานปณิธานก็ยังได้สร้างสถานที่ สําคัญอีกแหงหนึง่ คือ ตรงทีท่ า นพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นอนปวย จนดับขันธ มรณภาพ อยูนอกกําแพงด้านทิศตะวันออกของวัดบ้านปาง ได้สร้างสถูป และปราสาทหินออน ทีบ่ รรจุอฐั ธิ าตุของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั โดยมีเจ้าคณะ ภาควัดปากนํ้าภาษีเจริญ เปนประธานวางศิลาฤกษ เมื่อสร้างเสร็จแล้วใน ชวงวันครบรอบวันมรณภาพของพระครูบาเจ้าฯได้ ๕๓ ป ในครั้งนั้น ป พ.ศ. ๒๕๓๕ ก็ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น มาเป น องคประธานยกชอฟามณฑปครอบสถูปอนุสาวรียพ ระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั และ ทอดพระเนตรพิพธิ ภัณฑอฏั ฐบริขาร ได้ทาํ บุญอบรมสมโภช ๗ วัน ๗ คืน กอนหน้านั้นได้รับสายธารศรัทธาจากทานอุบาสกกวงเม้ง ทาน อุบาสิกา ปติอร แซเล้า พร้อมด้วยครอบครัวและทานอุบาสกบี๊ ธรรมตั้ง


๒๑๙

พิ เชษฐ พ ร้ อ มด้ ว ยคณะจากบางแคเขตหนองแขม และคุ ณ แม ศิ ริ เ พ็ ญ วิไลลักษณ พร้อมครอบครัว เปนทานบดีผู้อุปถัมภ ในการสร้างสถูปเจดีย และปราสาทหิ น อ อ น และมี ค รอบครั ว ของคุ ณ ดํ า ริ ห  คุ ณ พรพรรณ กอนันทเกียรติ ได้สร้างหอพลับพลารับเสด็จ และเปนที่เก็บรักษา แสดง ภาพประวั ติ แ ละผลงานของครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย และได้ รั บ เมตตาจาก ดร.ประกอบ หุตะสิงห องคมนตรี มาเปนผู้ใหญให้เกียรติเปนกําลังใจและ ได้กรุณาผสานงานกราบบังคมทูลเชิญพระบรมวงศานุวงศเสด็จให้ถงึ สองครัง้ ครัง้ หลังกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห วั เปนองคประธาน เปดปายพิพิธภัณฑพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ในปพุทธศักราช ๒๕๓๗ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ไปทรงเปนประธานในพิธบี รรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ ยกฉัตรทองคําพิพธิ ภัณฑ และเปดปายพิพธิ ภัณฑพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย ผู้เปนแมงานเสียสละจตุปจ จัย ซือ้ เครือ่ งอัฏฐบริขาร ๑,๐๐๐ ชุด เพือ่ ถวายแดพระสงฆ ๑,๐๐๐ รูป ในงานฉลองพิพธิ ภัณฑได้รบั ความอุปถัมภ จากคุณแมอรอนงค อรรถไกวัลวที ครอบครัวของคุณพอประดิษฐ คุณแม วิภาวรรณ วิชาพาณิช และครอบครัวของคุณพอบุญเลิศ คุณแมกรรณิการ วิบูลยลาภ ตลอดจนศรัทธาสาธุชนผู้ใจบุญทั่วสารทิศ ชวยกันอุปถัมภใน งานฉลองสมโภชสําเร็จลงได้ตามความประสงค กอนทีจ่ ะมาสร้างงานพิพธิ ภัณฑของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ทีว่ ดั บ้านปาง จังหวัดลําพูน ในปลายปพุทธศักราช ๒๕๓๐ ถือได้วาเปนงานที่ท้าทาย อยางยิง่ ในชีวติ เพราะผูน้ าํ ดําริคดิ สร้างไมใชเปนผูม้ ชี อ่ื เสียงไมมใี ครในพืน้ ที่ รู้จักมากอน แม้ตอนที่จะออกจากวัดจากจังหวัดพะเยาไปยังจังหวัดลําพูน ปจจัยคารถที่จะเดินทางยังไมมี เวลานั้นอาศัยปจจัยจากเจ้าของร้านตอง วัสดุกอสร้างในตัวเมืองพะเยาถวายมา ๕๐๐ บาทและเจ้าของร้านพะเยา


๒๒๐

นาทีทอง ถวายปจจัยในการเดินทางไปจังหวัดลําพูนกับบรรดาญาติมติ รพี่ น้องรวมกันทําบุญได้เงินมาพอซื้อเหล็กทําเสาเอกพิพิธภัณฑได้เพียงแค หนึ่ ง ต้ น แบบแปลนการสร้ า งก็ ไ ม มี ข ณะที่ กํ า ลั ง ดู ส ถานที่ จ ะก อ สร้ า ง พิพธิ ภัณฑ ก็ตงั้ จิตอธิษฐานรําลึกถึงบารมีพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ดลใจให้ชจี้ ดุ ขุดหลุมเสาประเดิมเปนหลุมแรก ในการครั้งนี้ได้รับบารมีหลวงพอพระอาจารยทองวัดรํ่าเปงจังหวัด เชียงใหม ปจจุบนั คือ “หลวงปูท อง” วัดพระธาตุศรีจอมทอง นําพระสงฆมา จัดบริวาสกรรมจํานวน ๓๐๐ กวารูป จาก ๕๓ จังหวัดทั่วประเทศชวยกัน เจริญพระพุทธมนตชยันโตยกเสาเอกมงคลเปนปฐมฤกษ ในชวงระหวางงาน ปริวาสกรรมวัดบ้านปาง เปนการเปดตัวประกาศงานสร้างพิพิธภัณฑแบบ ชนิดที่เรียกวามาแบบตัวเปลาอาจหาญมาสร้างงานใหญในครั้งนี้ ซึ่ง มาทราบภายหลังจากการพบปะพระเถระผู้ใหญหลายทาน ภายหลังจาก งานสําเร็จแล้วตางก็บอกวา “ผมไมเชื่อในสายตาที่มองเห็นคุณในขณะที่ เริม่ งานวาจะทํางานได้สาํ เร็จ มองเห็นจริงๆ วาเหมือนกับเด็กทีจ่ ะมาทําการ ใหญขนาดนีไ้ ด้อยางไร” ก็เปนจริงอยางทีท่ า นวาเพราะไมอยูใ นสายตาของ ใครมากอน ไมเปนทีร่ จู้ กั เราก็ไมรจู้ กั ใครด้วยเหมือนกับการยกเมฆ ยกฟา ก็ไมปานกัน แตก็เปนไปได้แล้ว เมื่อนึกย้อนหลังคิดวาตัวเองทําไปได้ อยางไร ในชวงที่จัดงานปริวาสวัดบ้านปางครั้งนั้นได้รับความอุปถัมภน้ําใจ จากคุณพอประเสริฐ คุณแมรมิตา (จู) ดีประเสริฐ พร้อมครอบครัว คุณแมกิมฮ้อ เกตุสุวรรณ พร้อมคณะ ชาวเชียงใหมได้มาตั้งโรงทานเลี้ยง อาหารนํา้ ปานะ หาจตุปจ จัยมารวม ชวยกัน ถวายพระในงานปริวาส บุคคล ที่ให้การอุปถัมภคือคุณพอบุญเหลือ คุณแมสมศรี รัตนรังสี คุณพอแก้วมูล คุณแมวันดี จํารัส นายสุธรรม บุญปน พี่น้องชาวพะเยา เปนกําลังสําคัญ


๒๒๑

อยูเบื้องหลังชวยงานมาตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งผู้ใหญสิงหแก้ว ปนลาว ผู้ใหญบ้านและพี่น้องชาวบ้านปาง ให้ความรวมไม้รวมมือสนับสนุนและ เปนกําลังกาย กําลังใจ ทํางานอยางเสียสละสามัคคีทั้งกลางวันกลางคืน ไมเห็นแกความเหนื่อยยากลําบาก พร้อมกลุมแมบ้านซึ่งมีคุณบัวเขียว ปญญา เปนหัวหน้ากลุม ทํางานกันอยางสนุกสนานเพลิดเพลินมีชวี ติ ชีวามี ความสุขกันถ้วนหน้า รวมทั้งเจ้าอาวาส พระเณร วัดบ้านปางและพระภิกษุ สามเณรที่ติดตามมาจากจังหวัดพะเยาไปเปนกําลังสําคัญ ในจํานวนนั้นมี นายชางสงา สมฤทธิ์เปนศิษยติดตามรวมสร้าง โดยมีนายชางสงวน วงศสําราญ พร้อมทีมงานจากจังหวัดเชียงใหมเปนแมงาน กอนที่จะได้รูปแบบโครงสร้างก็ได้รับคําชี้แนะจากพระสิทธิชัย จาก กรุงเทพที่ได้เดินทางมาพร้อมกันจากจังหวัดพะเยาในครั้งนั้น พาไปชม โลหะปราสาทวัดราชนัดดากรุงเทพ ขณะนัน้ มีโรงหนังเฉลิมไทยบังภูมทิ ศั น อยู เมือ่ ได้ไปเห็นพร้อมกับพระสิทธิชยั ซึง่ เปนทีป่ รึกษางาน จึงเห็นพ้องกัน วาเหมาะสมที่จะนํามาเปนแบบสร้างพิพิธภัณฑของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย เปนสถาปตยกรรมที่ออกแบบโดยชางหลวงที่ได้เท้าความเปนมาของ โลหะปราสาททีไ่ ด้สร้างขึน้ ในครัง้ แรกทีป่ ระเทศอินเดียในสมัยพุทธกาล มี นางวิสาขามหาอุบาสิกาเปนผู้ดําริสร้าง โดยมีพระมหาโมคคัลลานะ อัครสาวกเบื้องซ้ายเปนผู้ดําเนินการสร้างโลหะปราสาทเพื่อถวายแด พระสงฆซงึ่ มีพระพุทธเจ้าเปนองคประธาน หลังจากนัน้ ทีป่ ระเทศลังกา ทีร่ บั การเผยแพรพระพุทธศาสนาโดยพระเจ้าอโศกมหาราชได้สงพระสมณทูต ผู้เปนพระราชโอรสและพระราชธิดาคือพระมหินทรเถระและพระภิกษุณี สังฆมิตาเปนสายธารสายธรรมเผยแผพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง มียุคหนึ่งในลังกาก็ได้สร้างโลหะปราสาทจําลองเปนแหงที่ ๒ และ แหงที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห วั รัชกาลที่ ๓ ก็ได้จาํ ลองสร้าง


๒๒๒

โลหะปราสาทขึ้นที่วัดราชนัดดา และทางเราได้นําโลหะปราสาทมาเปน แบบสร้างพิพิธภัณฑพระครูบาเจ้าศรีวิชัยเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั้น มียอดปราสาท ๙ ยอดสื่อสูความหมายระดับภูมิธรรม มรรค ๔ ผล ๔ ยอดสุดเปนพระนิพพานรวมเปนนวโลกุตรธรรม ๙ ประการ บูชาบารมี พระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย เปนสถานที่เก็บรักษาเครื่องอัฏฐบริขาร ตลอดถึงสิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภคและสิ่งสําคัญอื่นๆ โดยเฉพาะชั้น ยอดสุดได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ที่ขุดค้นได้จากวัดร้างด้านทิศเหนือ บันไดนาควัดบ้านปางตรงจุดที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยได้รับการบรรพชา เปนสามเณรกับพระครูบาขัติยะ ชาวบ้านได้ขุดค้นพบผอบทองเหลืองซึ่ง ภายในบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุจาํ นวน ๑๕ องค จึงได้อญ ั เชิญประดิษฐาน บนยอดสุ ด โลหะปราสาทพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ใ ห้ เ ป น ที่ สั ก การบู ช าของคนและ ทวยเทพทั้งหลาย จิตวิญญาณของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ได้สัมผัสเปนสิ่งมหัศจรรยใจ จริงๆ คือเมื่อครั้งที่ชาวบ้านและเจ้าอาวาสวัดศาลาเชิงดอยได้มานิมนตให้ เปนประธานสร้างอนุสาวรียพระครูบาเจ้าศรีวิชัยในปพุทธศักราช ๒๕๔๖ ตรงจุดทางเดิมที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยขึ้นไปบูรณะสร้างพระบรมธาตุเจ้า ดอยตุงเมือ่ ป ๒๔๗๐ ถือวาพระบรมธาตุเจ้าดอยตุงองคนเี้ ปนโบราณสถานที่ เกาแกท่ีสุดในดินแดนล้านนาไทย และเปนสัญลักษณทางวัฒนธรรมอัน เรื อ งรองของพระพุ ท ธศาสนาตั้ ง อยู  เ หนื อ ขุ น เขาสุ ด ยอดแดนสยาม แผนดินทองแผนดินธรรมของสุวรรณภูมิ ในครั้งนั้นได้นําพระภิกษุสามเณรและกลุมศิษยฆราวาสที่เปนชาง คือ นายชางสงา สมฤทธิ์ รวมกันสร้างรูปเหมือนอนุสาวรียส าํ เร็จถึงขัน้ บรรจุ หัวใจของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย มีอยูชวงหนึ่งคณะศรัทธาชาวบ้านวัดศาลา เชิงดอยได้มารวมกิจกรรมทําบุญที่วัดพระธาตุแสงแก้วมงคลเมืองพะเยา


๒๒๓

และได้ทราบวาทางวัดเราจะจัดงานพิธีรําลึกถึงพระครูบาเจ้าศรีวิชัย จึงได้ ขอให้ย้ายไปจัดที่วัดศาลาเชิงดอยเปนการย้อนอดีตรําลึกถึงการสร้าง ทางขึ้นสูพระบรมธาตุเจ้าดอยตุง เจริญรอยตามบาทวิถีของพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยให้เปนการทําบุญฉลองสมโภชอนุสาวรียพร้อมกันเปนอานิสงส ดีย่ิงขึ้น จึงตกลงรับปากกับคณะศรัทธาและเจ้าอาวาส วัดศาลาเชิงดอย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย พร้อมกําหนดเวลาทําบุญ ๗ วัน ๗ คืน ใน ชวงระหวางโอกาสวันครบรอบวันมรณภาพของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย วันที่ ๒๑ เดือนกุมภาพันธ มีการบวชโยคี ปฏิบัติธรรม แสดงธรรมเทศนาบารมี ๑๐ ทัศ ๑๐ กัณฑ มีการจัดแสดงนิทรรศการภาพชีวประวัติพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย มีการกําหนดพิธีการบรรจุหัวใจ พระครูบาศรีวิชัย ในมณฑลพิธียัง มีพิธีเททองหลอรูปเหมือนพระครูบาเจ้าอีก ๓ องคเพื่อถวายวัดสําคัญอีก ๓ จังหวัด คือ เชียงราย พะเยา และเชียงใหม ได้มพี ระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิกา ทั้งในพื้นที่และตางจังหวัดมารวมพิธี พองานจะเริ่มต้นได้มีคําสั่งดวนจากพระเถระผู้ใหญฝายปกครอง สัง่ ห้ามภิกษุอานันทไมให้มาเกีย่ วข้องกับงานทีว่ ดั ศาลาเชิงดอยอยางเด็ดขาด ขณะนั้นทุกอยาง ทางเราได้จัดเตรียมการกันอยางพร้อมเพรียงเต็มที่แล้ว พิ ธี ก ารได้ เริ่ ม ขึ้ น แล้ ว มี ก ารบวชโยคี ชี พ ราหมณ เจริ ญ สมาธิ ภ าวนา เดินจงกรม แสดงธรรมเทศนา ทําบุญตักบาตรตามกําหนดการเมื่อเห็นวา ทางเราไมล้มเลิกงาน จึงมีหนังสือคําสั่งดวนให้ขับไลอีกทั้งโทรศัพทมาวา ให้เราออกจากพืน้ ทีว่ ดั ศาลาเชิงดอยโดยดวน! จึงได้กราบเรียนถามวาทีม่ า ขับไลเพราะเหตุใดที่ทางเราเชิญชวนหมูคณะมาปฏิบัติธรรม ฟงเทศน ทําบุญ บําเพ็ญกุศลอยูเวลานี้ผิดพระวินัยหรือกฎระเบียบอะไรถึงได้มา ขับไล ทางพระเถระผู้ใหญก็บอกวาไมต้องให้มาเสียเวลาอธิบายเหตุผล เพราะนี้คือคําสั่งเด็ดขาดจากพระมหาเถระผู้ใหญมาอีกทอดหนึ่งคุณต้อง


๒๒๔

ออกไปอยาขัดขืนดือ้ ดึงกันเลย กราบเรียนตอบทานไปวางานนีค้ ณะศรัทธา ชาวบ้านและเจ้าอาวาสได้นิมนตให้มาชวยเมื่อทํามาถึงขั้นนี้แล้วก็จะต้อง รวมกันทําให้ดีที่สุดแม้นฟาจะผาลงมา ถ้ายังไมตายก็จะอยูที่นี่ดําเนินการ จนกวาจะทําอะไรให้สําเร็จกอน เมือ่ ใกล้ถงึ วันบรรจุหวั ใจได้รบั แจ้งมาวาพระเถระผูใ้ หญหลายจังหวัด จะมารวมพิธแี ละเปนประธานบรรจุหวั ใจ ซึง่ ทางเราก็ได้เตรียมสิง่ ของสําคัญ ไว้กอ นหน้านัน้ แล้วจึงได้แนะนําชาวบ้านให้ชว ยกันจัดทําบันไดและราวจับ เพื่อพระมหาเถระผู้เฒาจะได้ทําพิธีข้ึนบรรจุหัวใจได้อยางปลอดภัย ครั้น ใกล้จะถึงเวลาที่พระเถระผู้ใหญจะมาประกอบพิธี ได้มีคําสั่งจากเบื้องบน ให้ชาวบ้านชวยกันควบคุมภิกษุอานันทบงั คับให้อยูใ นห้องกุฏทิ ศิ ตะวันตก พระวิ ห ารอย า งเข้ ม งวด ก็ เ ลยนั่ ง สมาธิ ภ าวนาฟ ง เสี ย งพระสงฆ เจริ ญ พระพุทธมนตไปตามลําดับ จนถึงพิธีบรรจุหัวใจพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ขณะนัน้ ประจักษแจ้งในรสชาติแหงความสงบรมเย็น เปนสุขทีส่ ดุ ทําให้รสู้ กึ เหมือนได้สัมผัสบรรยากาศที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกกักบริเวณหลายครั้ง ในยุคนั้น ทานคงจะดื่มดํ่า ความสุข สงบเฉกเชนเราเวลานี้อยางแนแท้ จึงได้มองเห็นอานิสงสของความอดทนอดกลัน้ ไมถอื โทษโกรธตอบ คิดร้าย อาฆาตพยาบาทไมจองเวรจองกรรม พร้อมทีจ่ ะเปดใจกว้าง ไมถอื เขาถือเรา และการให้อภัย อันเปนเคล็ดลับสุดยอดแหงศาสตรและศิลปในการครอง ชีวิต ที่เราจะไปค้นหาจากตํารับ ตําราไหนไมได้ นั้นหมายความวามันเปน ประสบการณ เฉพาะตัวที่ต้องค้นพบจากห้วงหัวใจของเราแตละคน การที่ จะเที่ยวศึกษาค้นหาจากแหลงอื่นก็เหมือนกับจับพลัดจับผลู มีแตปญหา ข้องใจสงสัย ให้ต้องเกิดความรําคาญจับผิดกันอีก ก็ยิ่งเจอแตปญหา พระพุทธองศทรงตรัสไว้วา ธรรมทั้งปวงมีใจเปนใหญ มีใจเปน ประธาน การกระทําทุกอยางจะสําเร็จได้ด้วยใจ จะเกิดความอิ่มเอิบ


๒๒๕

เบิ ก บานที่ สุ ด ก็ อ ยู  ที่ ใจ และจิ ต ใจนี้ แ หละเป น สิ่ ง ที่ ม หั ศ จรรย เป น พลานุภาพอันยิ่งใหญไพศาล และสิ่งทั้งหลายทั้งปวงจะวางสงบได้ก็ระงับ ดับที่ใจ ถ้าทําให้ใจวางมองชีวิตมองโลกด้วยความเปนจริงไมมีอะไรที่จะ ยึดมั่นถือมั่นสิ่งใดได้ จงมองให้เห็นแจมแจ้งด้วยสติปญญาอยูเปนนิตย เมื่อมีเหตุการณใสร้ายปายสี มีการกระทบกระทั่งกลั่นแกล้งขัดแย้ง มีการ ขัดคําสัง่ หรือทําอะไรได้ไมดง่ั ใจหวัง ทัง้ จากคนรอบข้างหรือจากการกระทํา ของเราเอง หรือได้อะไรดั่งใจปรารถนาทุกอยางทุกประการ ก็ให้เราตั้ง สติปญญาอยางรอบคอบไมประมาท และจงมุงสูจุดสุดยอดที่ความวางและ สงบอยูเสมอ อยาผูกใจยึดติดอยูกับสิ่งใดเปนอันขาด การทําใจให้เปน อิสระเสรี วางสงบอยูเสมอนี้แหละที่พระพุทธองคทรงชี้เปนทางสายตรง ของชีวิต คือศิลปะการปลอยวาง คือสุดยอดของชีวิต พร้อมตั้งความ ปรารถนาเอื้อเฟอเผื่อแผด้วยเมตตาและไมตรีตอมวลมนุษยชาติ เพราะ โลกนี้จะสงบรมเย็นได้พระสัมมาสัมพุทธเจ้ารวมทั้งพระครูบาเจ้าศรีวิชัย นิยมวาเมตตาธรรมเปนเครื่องคํ้าจุนโลกให้อยูรมเย็นเปนสุข เปนสัจธรรม สากลที่ได้มอบเปนของขวัญรางวัลวิเศษอัศจรรยยิ่งแดชาวโลก

(ภิกษุอานันท พุทธธัมโม)


๒๒๖

ไม้เท้าอันแรกของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๒๗

บรรณานุกรม กัญญา ลีลาลัย (อาจารยคณะอักษรศาสตรจุฬาฯ) ประวัติศาสตรชนชาติ ไทย.โรงพิมพอัมรินทร. ๒๕๔๔ คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร เอกลักษณภูมิปญญา จังหวัดเชียงราย. _________.วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร เอกลักษณภมู ปิ ญ  ญา จังหวัดเชียงใหม. คณะกรรมการอํานวยการทางจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหัว. ศิลปากร : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๔. _________.วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร เอกลักษณภมู ปิ ญ  ญา จังหวัดพะเยา. คณะกรรมการอํานวยการทางจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว. ศิลปากร : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๔. _________. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณ ภูมิปญญา จังหวัดแพร. คณะกรรมการอํานวยการทางจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหัว. ศิลปากร : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๔. _________. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณ ภูมิปญญา จังหวัดลําปาง. คณะกรรมการอํานวยการทางจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหัว. ศิลปากร : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๔.


๒๒๘

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวั ติ ศ าสตร เอกลั ก ษณ ภู มิ ป  ญ ญา จั ง หวั ด ลํ า พู น . คณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหัว. กรมศิลปากร : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๔ ชมรมพุทธศาสตร. พระครูบาศรีวิชัย นักบุญแหงลานนาไทย. การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย. คลังวิชา : กรุงเทพฯ. ม.ป.พ. ชัชวาล บุญธรรมสามิสร. ชีวประวัตคิ รูบาศรีวชิ ยั นักบุญแหงลานนา รวม สมโภชเชียงราย ๗๐๐ ป พ.ศ. ๒๕๓๙. ศูนยพระเครื่องไกล. ดีไวน มาสเตอรพริ้นท : เชียงใหม. ๒๕๓๙. ทองเทีย่ ว “กาลเวลา” สู “วิวฒ ั นาการชุมชนเผาไทย-ไต อารยธรรมล้านนา” รวบรวมโดย นายสุกจิ จา กรุณานนท ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ภิกษุอานันท พุทธธัมโม. ประวัติของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย นักบุญแหง ลานนาไทย. ที่ระลึกในงานฉลองพิพิธภัณฑพระครูบาศรีวิชัย จํานวน ๑๖ องค ใน ๙ จังหวัดภาคเหนือ ณ วัดพระธาตุแสงแก้ว มงคล อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา. ๒๕๓๘. _________. บทสวดกัมมัฏฐานและรวมคําไหว้ของครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญ แหงลานนาไทยและของหลวงพอพุทธทาส อินทปญโญ. ๕๐ เพรส : กรุงเทพฯ. ๒๕๔๕ _________. ยูนนาน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟากัลยาณิวัฒนา ทรงรวบรวม, ๒๕๒๙ อินทร สุใจ. อ.พาน จ.เชียงราย หนังสือ:ประวัติศาสตรไทยใต้โขง (เมือง โบราณของไทยสมัยตาลิฟ)ู โรงพิมพ ส.การพิมพ อ.พาน จ.เชียงราย พิมพครั้งที่ ๔ ได้รับทุนทางมูลนิธิเอเชียในการพิมพหนังสือ. ๒๕๓๑


ภาคผนวก


โกศงานศพพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๓๑

ภาคผนวก ก ผลงานการบูรณปฏิสังขรณปูชนียสถาน ๑.จั ง หวั ด ลํ า พู น วัด พระธาตุหริภุญชัย พระธาตุมาน (สุพรรณรังษี) รมณียาราม (กูละมัก) จามเทวี พระพุทธบาทตากผ้า ดอยก้อม ห้วยกาน วังหลวง วิหารวัดปาปู พระบาท ๓ ยอด พระนอนมอนช้าง พระอุโบสถวัดพระธาตุดอยแช พระธาตุดอยคํา แมเทย แมปอก

ตําบล ในเมือง ในเมือง ต้นธง ในเมือง มะกอก บ้านโฮง บ้านโฮง ปาพลู ปาพลู ปาพลู มะกอก ทากาศ ทากาศ ศรีวิชัย ศรีวิชัย

อําเภอ เมือง เมือง เมือง เมือง ปาซาง บ้านโฮง บ้านโฮง บ้านโฮง บ้านโฮง บ้านโฮง ปาช้าง แมทา แมทา ลี้ ลี้

จังหวัด ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน


๒๓๒

บ้านปาง ดอนแก้ว พระธาตุจอมสวรรค พระธาตุ ๕ ดวง แมตืน พระธาตุดวงเดียว หนองปาตึง ทุงหัวช้าง

ศรีวิชัย ลี้ ปวง ลี้ ดงดํา ลี้ ลี้ ลี้ แมตืน ลี้ ลี้ ลี้ ทุงหัวช้าง ทุงหัวช้าง ทุงหัวช้าง ทุงหัวช้าง

ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน ลําพูน

๒.จั ง หวั ด เชี ย งใหม วัด พระสิงห สวนดอก ศรีโสดา สกิทาคา อนาคามี พระธาตุดอยสุเทพ กูเต้า หมื่นสาร ปาแดง เชียงมั่น

ตําบล พระสิงห สุเทพ สุเทพ สุเทพ สุเทพ สุเทพ ศรีภูมิ หายยา สุเทพ ศรีภูมิ

อําเภอ เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง

จังหวัด เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม


๒๓๓

ดับภัย พระบาทแก้วข้าว พระนอนแมปูคา พระธาตุดอยผาตั้ง ดอยกู พันหลัง พระบาทตะเมาะ พระธาตุดอยเกิ้ง พระธาตุกลางใจเมือง ถ้ําเชียงดาว พระบาทยั้งหวีด ปาขามหลวง พระบาท ๔ รอย เวียงด้ง พระธาตุสบฝาง จันทร ทาตอน มวงเนิ้ง ดอนเจียง ปาจี้ สบเปง

ศรีภูมิ ฮอด แมปูคา ออนกลาง เชิงดอย สําราญราษฎร โปงทุง ทาเดื่อ สันทราย เชียงดาว มะขามหลวง มะขามหลวง สะลวง น้าํ แพร ทาตอน บ้านจันทร ทาตอน โหลงขอด สบเปง อินทขิล สบเปง

เมือง ฮอด สันกําแพง แมออน ดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด ดอยเตา ดอยเตา พร้าว เชียงดาว สันปาตอง สันปาตอง แมริม หางดง แมอาย กัลยาณิวฒั นา แมอาย พร้าว แมแตง แมแตง แมแตง

เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม


๒๓๔

หลวงขุนวิน พระธาตุมอนเปยะ พระธาตุยั้งเมิน ข้าวแทนน้อย

แมวิน แมวาง แมสาบ สะเมิง ยั้งเมิน สะเมิง สันทรายหลวง สันทราย

เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม เชียงใหม

วัด ตําบล อําเภอ พระเจ้าตนหลวง เวียง เมือง (วัดศรีโคมคํา) พระธาตุจอมทอง เวียง เมือง พระธาตุดอยน้อย จําปาหวาย เมือง พระธาตุภูขวาง แมนาเรือ เมือง พระธาตุภูปอ ดงเจน เมือง พระธาตุภูขวาง ห้วยแก้ว ภูกามยาว ลี เวียง เมือง บ้านแพดศรีบุญเรือง เชียงบาน เชียงคํา เชียงบาน เชียงบาน เชียงคํา พระธาตุจอมไคร้ ห้วยลาน ดอกคําใต้ พระธาตุแชโหว้ บ้านถ้ํา ดอกคําใต้ พระธาตุหว้ ยไคร้ (มอนศิลาขาว) ทุงรวงทอง จุน พระธาตุขิงแกง จุน พระธาตุขิงแกง

จังหวัด พะเยา

๓.จั ง หวั ด พะเยา

พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา พะเยา


๒๓๕

๔.จั ง หวั ด เชี ย งราย วัด ตําบล อําเภอ พระธาตุดอยตุง เวียงพางคํา แมสาย พญาเม็งราย พระธาตุปูล้าน ไม้ยา พระธาตุปาแดง (จอมสวรรค) ยางฮอม ปาแดด พระธาตุปาแดด ปาแดด ปาแดด ปาสัก ทานตะวัน พาน พระธาตุปูแกง แมเย็น พาน เจริญเมือง พาน พระธาตุจอมแว พาน แมเจดีย แมขะจาน เวียงปาเปา

จังหวัด เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย

๕.จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย วัด

ตําบล

อําเภอ ทุงเสลี่ยม

จังหวัด สุโขทัย

ตําบล

อําเภอ ปาย ปาย ปาย

จังหวัด แมฮองสอน แมฮองสอน แมฮองสอน

กลางดง ๖.จั ง หวั ด แม ฮ  อ งสอน วัด น้ําฮู แมปง พระธาตุเมืองแปง

เมืองแปง


๒๓๖

พระธาตุจอมแจ้ง พระธาตุศรีวิชัย

ทุงยาว แมฮี้

ปาย ปาย

แมฮองสอน แมฮองสอน

ตําบล

อําเภอ สามเงา

จังหวัด ตาก

ตําบล เวียงเหนือ พระบาท พระบาท แจ้ซ้อน วิเชตนคร

อําเภอ เมือง เมือง เมือง เมืองปาน แจ้หม แจ้หม แจ้หม แจ้หม เมืองปาน เมืองปาน เมืองปาน วังเหนือ

จังหวัด ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง

๗.จั ง หวั ด ตาก วัด พระธาตุแกงสร้อย ๘.จั ง หวั ด ลํ า ปาง วัด พระแก้วดอนเต้า ปาแดง พระบาท ดอยซาง อักโขชัยคีรี ผาแดงหลวง พระธาตุดงนั่ง คีรีชัย แจ้ซ้อน พระธาตุดอยเตาคํา ดอยเกิ้ง สบลี้ พระเกิด

วิเชตนคร แจ้ซ้อน แจ้ซ้อน หัวเมือง แจ้ซ้อน ทุงฮั้ว


๒๓๗

สบแพดทุงต้น รองเคราะ พระธาตุกูไกแก้ว เมืองยาว พระธาตุมอนไกแจ้ เมืองยาว มอนไกเขี่ย แมสัน มอนงัวนอน เถินบุรี พระธาตุสบเติมใน แมเติม ปาตาล-นาริน ปาตาล พระธาตุแมกึ๊ด ทุงงาม ศรีลังกา เสริมกลาง นาเอี้ยง เสริมซ้าย ดอยนางแตน (ดอยน้อย) เกาะคา พระธาตุจอมปง เกาะคา

วังเหนือ ห้างฉัตร ห้างฉัตร ห้างฉัตร เถิน เถิน เถิน เสริมงาม เสริมงาม เสริมงาม เกาะคา เกาะคา

ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง ลําปาง


๒๓๘

ภาคผนวก ข รายนามเจาอาวาสวัดบานปาง อ.ลี้ จ.ลําพูน

องคที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

นาม

จํานวน พรรษา พระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย ๓๗ พระทองสุข ธัมมสะโร (รักษาการณ) ๖ พระแสง (รักษาการณ) ๓ พระไจยา (รักษาการณ) ๑ พระอธิการกองคํา ธัมรัตตะโน ๑๓ พระวิลาส ธัมมะทินโน (รักษาการณ) ๒ พระทองอิ่น (รักษาการณ) ๓ พระเมือง พุทธะสาโร (รักษาการณ) ๓ พระสุทัศน สุวัฒฑโณ (รักษาการณ) ๗ พระนิยม โชติธัมโม (รักษาการณ) ๑ พระมหาจรูญ สุจิตโต (๒๕๓๐-๒๕๔๔) ๑๖ พระเกียงศักดิ์ (๒๕๔๕-๒๕๕๒) -

สถานภาพ มรณภาพ ลาสิกขา มรณภาพ ย้าย ลาสิกขา ลาสิกขา ลาสิกขา มรณภาพ ลาสิกขา ลาสิกขา เจ้าอาวาส เจ้าอาวาส


๒๓๙

ภาคผนวก ค สถานที่บรรจุอัฐิพระครูบาเจาศรีวิชัย ๒๓ แหง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔.

วัดจามเทวี อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน วัดบ้านปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน (วัดบ้านเกิดครูบาเจ้าฯ ) วัดสวนดอก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม วัดพระแก้วดอนเต้า อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง วัดพระธาตุชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร วัดศรีโคมคํา (พระเจ้าตนหลวง ทุงเอี้ยง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา) วัดห้วยกาน อําเภอบ้านโฮง จังหวัดลําพูน วัดบ้านโฮงหลวง อําเภอบ้านโฮง จังหวัดลําพูน วัดหมื่นสาร อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม วัดดอยกู อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม วัดปาแงะวาสุการาม อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม วัดหนองปาครั่ง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม วัดดอยโง้ม อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม (ภิกษุอานันทนําอัฐิสวนศีรษะบรรจุรูปเหมือน) ๑๕. วัดพระพุทธบาทสี่รอย อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม (ภิกษุอานันทนําอัฐิสวนศีรษะบรรจุในพระเจดีย) ๑๖. วัดใจกลางเมืองพร้าว อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม


๒๔๐

๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐.

วัดทาจําป อําเภอสันปาตอง จังหวัดเชียงใหม วัดพระธาตุดอยตุง อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย วัดเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อําเภอดอกคําใต้ จังหวัดพะเยา (ภิกษุอานันทนําอัฐิสวนศีรษะบรรจุรูปเหมือนและได้สร้างมณฑป ปราสาทรักษาเขี้ยวแก้วพระครูบาเจ้าศรีวิชัย) ๒๑. วัดพระธาตุศรีรัตนสุดาราม อําเภอจุน จังหวัดพะเยา (พระภิกษุอานันทนําอัฐิสวนศีรษะบรรจุรูปเหมือนพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย) ๒๒. เสาศิลาจารึก ณ อนุสรณเชิงดอยสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม (ภิกษุอานันทนําอัฐิสวนศีรษะบรรจุบนยอดบัวหัวเสาศิลาจารึก)


๒๔๑

ภาคผนวก ง คําไหวปาระมี ๓๐ ทัศ

(หันทะ มะยัง มะหาปาระมียะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส)

๑. ทานนะปาระมี สัมปนโน ทานะอุปะปาระมี สัมปนโน ทานะปะระ มัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๒. สีละปาระมี สัมปนโน สีละอุปะปาระมี สัมปนโน สีละปะระมัต ถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๓. เนกขัมมะปาระมี สัมปน โน เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปน โน เนกขัมมะ ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๔. ปญญาปาระมี สัมปนโน ปญญาอุปะปาระมี สัมปนโน ปญญา ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๕. วิริยะปาระมี สัมปนโน วิริยะอุปะปาระมี สัมปนโน วิริยะปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา


๒๔๒

๖. ขันติปาระมี สัมปนโน ขันติอุปะปาระมี สัมปนโน ขันติปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๗. สัจจะปาระมี สัมปนโน สัจจะอุปะปาระมี สัมปนโน สัจจะปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๘. อะธิษฐานะปาระมี สัมปนโน อะธิษฐานะอุปะปาระมี สัมปนโน อะธิษฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๙. เมตตาปาระมี สัมปนโน เมตตาอุปะปาระมี สัมปนโน เมตตา ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ๑๐. อุเบกขาปาระมี สัมปนโน อุเบกขาอุปะปาระมี สัมปนโน อุเบกขา ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ทะสะปาระมี สัมปนโน ทะสะอุปะปาระมี สัมปนโน ทะสะปะระมัต ถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา ฯ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง (กราบ)


๒๔๓

คําไหวปาระมี ๙ ชั้น

(หันทะ มะยัง มะหาปาระมียะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส) สาธุ สาธุ พระปญญาปาระมี ๓๐ ตั๋ด สาธุ พระปญญาปาระมีวัด แวดล้อม วิริยะปาระมี ล้อมระวังดี สีละปาระมี บังหอกดาบ เมตตาปาระมี ผาบ แปตงั้ ปน ทานะปาระมี หือ้ เปนผืนตัง้ ตอ อุเบกขาปาระมี หือ้ กอเปนเวียง สั จ จะป า ระมี แวดระวั ง ดี เ ป น ไม้ ไ ต้ ขั น ติ ป  า ระมี กล า ยเป น หอกดาบ บังหน้าไม้และปนไฟ อะธิษฐานปาระมี ฟนดาบไปทุกแหง แข็งๆ แรงๆ ปราบฝูงหมูมารผีสางพรายเปรตทุกทวีปพบถิ่นพั้งพายหนี นางธรณี อัศจรรย โสเสมือนฝนอยูข า้ งๆ นํา้ นทีนองกว้างตอกว้าง แตกตีฟ๋ องนองนะ เนือก เปนข้าวตอกดอกไม้ถวายปูชาพระแก้วแกนไท้ สะทัง พระพุทธังเลย จุงมาผายโผด อนุญาตโทษโผดผู้ข้าแท้ดีหลี แมธรณีออกมารีดมวยผมอยูท่ีธาตุ ช้างร้ายคายคะจังงาสับดิน พนนํ้านทีลงผัดผาย คอพลายหักทบทาวพญามารร้องอาวๆปูนกลั๋ว กราบ ยอมือขึน้ ทูนหัวใสเกล้า ผูข้ า้ นีไ้ ด้ชอื่ วาลูกศิษยพระพุทธเจ้ามีบญ ุ สมภารอัน มากนัก พระพุทธเจ้าจิง่ จักตัง้ ปญ  ญาปาระมีไว้ ๙ ชัน้ ตัง้ ไว้ตงั หน้าก็ได้ ๙ ชัน้ ตัง้ ไว้ตงั หลังได้ ๙ ชัน้ ตัง้ แตหวั เถิงตีน๋ ก็ได้ ๙ ชัน้ ตัง้ แตตนี๋ เถิงหัวก็ได้ ๙ ชัน้ แมนวาลูกปนจักมาเสมอเหมือนฝนแสนหา ก็บจักมาใกล้ได้ข้าพเจ้าเลย ได้วา พุทธะคุณณัง ธัมมะคุณณัง สังฆะคุณณัง พุทธอินตา ธัมมะอินตา สังฆะอินตา อัตสะอับ แมธรณีผู้อยูเหนือนํ้า ผู้อยูคํ้าแผนดิน กันข้าได้ระนึกกึ้ด เถิงคุณ พระปตตา คุณพระมารดา คุณครูบาอาจารย คุณพระแก้วเจ้าทัง้ ๓ ประการ คือ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ และคุณแดด คุณฝน คุณลม คุณสกุศราชเจ้าก็ดี คุณพระตนภาวะนาก็ดี คุณนางอุตถะราก็ดี คุณพระ


๒๔๔

ปจเจกเจ้าก็ดี คุณแมธรณีเจ้าก็ดี จุงมารักษาตั้งกํ้าหน้า และกํ้าหลัง ตนตั๋ว แหงผู้ข้าในคืนวันนี้ ยามนี้ จิ่มแตเตอะ พุธโธพุทธังรักษา ธัมโมธัมมังรักษา สังโฆสังฆังรักษา พุทโธพุทธัง อะระหัง ธัมโมธัมมังอะระหัง สังโฆสังฆัง อะระหัง พุทโธพุทธังกัณหะ ธัมโมธัมมังกัณหะ สังโฆสังฆังกัณหะ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง (กราบ)

คํานมัสการพระครูบาเจาศรีวิชัย อะยังวุจจติ ศรีวิชัยยาจะนะ อุตตะมัง สีลัง สิริวิชโย จะมหาเถโร นะระเทเวหิ ปูชิโต โสระโห ปจจะยาทิมหิ มหาลาภา ภะ วันตุเม อะหัง วันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิระสา อะหัง วันทามิสัพพะโส สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทนามิฯ คําแปล ดังข้าพเจ้าจะกลาวตอไปนี้ พระมหาเถระเจ้ารูปใด ผูม้ นี ามวาศรีวชิ ยั ผู้มีศีลอันอุดม ผู้อันนรชนและเหลาทวยเทพทั้งหลายบูชาแล้วผู้ยิ่งใหญ ตลอดกาลทั้งปวงด้วยการนอบน้อมนั้นปจจัยขอลาภอันใหญจงเกิดมีแก ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขออภิวาทซึง่ พระเถระเจ้ารูปนัน้ ตลอดกาลทัง้ ปวง ข้าพเจ้า ขออภิวาทซึ่งพระเถระรูปนั้นด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขออภิวาทซึ่งพระเถระ เจ้ารูปนั้น โดยประการทั้งปวง สาธุ สาธุ สาธุ (ดีละ ดีละ ดีละ) ข้าพเจ้า ขออนุโมทนาฯ (เสร็จแลวใหตง้ั จิตรําลึกถึงพระครูบาเจาศรีวชิ ยั แลว อธิษฐานตามกุศลเจตนา)


๒๔๕

เบิกฟาพุทธธรรม อาณาจักรธรรม คือ จิตธาตุสรรพสัตว อนิจจัง คือ สัจธรรมสากลของจักรวาล ประตูพระนิพพานมิได้มี พระพุทธเจ้าสถิตอยูทั่วสรรพสัตวทุกรูปนาม ทั้งไตรโลก คือ ทาดอกบัวแดงแหงพุทธชาติ

ตามรอยพระบาทองคบรมศาสดา เจ้าต้องมีดวงจิตดุจหินผา มุงหมายที่นิพพานให้แมนมั่น อยาปลอยใจออนแอเหมือนเศษทราย จะพายแพ้กิเลสแม้เล็กน้อย จงแหวกวายทวนสายธารแหงตัณหา พญามารกับองคพุทธะมักคูกัน จงบากบั่นมุงมั่นสร้างบารมี กิเลสมารร้ายก็สยบอยูแทบเท้า พุทธภูมิสิ่งสูงสง คือ อาณาจักรของคนกล้าพลีชีพเพื่อพระธรรม นิพพานคือนํา้ อมฤตธรรมประจําโลก ใครปวยทุกขสขุ โศกหรือโลภหลงมืดมน จงอธิษฐานจิตลิ้มรสสรงธารธรรม เจ้าจะประสบความสะอาด ความสงบ ความสวางไสวจากพระพุทธองค ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ณ โฮงหลวงวัดบานปาง


๒๔๖

นอมวันทาบูชาพระครูบาเจา วันทาพนมก้มกราบ น้อมรําลึกคุณศีลธรรมยิ่งใหญ ลูกขอมอบดอกบัวบานในใจ ตามรอยบาทวิถีตราบชั่ว บารมี เอนกอนันต

พระครูบาเจ้า ศรีวิชัย ในหล้า สถิตไว้ ด้วยจอมขวัญ ชีวาวัน สวางทั่ว ล้านนา อังศุมาลิน บุญทา

เพงฌานสูองค ไตรรัตน เพงเห็นกายมิใชกาย เพงจิตให้เห็นความวาง เพงเห็นสรรพสัตวไร้ตัวตน

จะเห็นองคพุทธะ จะเห็นสัจธรรม จะเห็นเหลาอริยะสงฆ

ตามรอยผูนํา ผู้นําต้องมีหัวใจดุจราชสีห มุงมั่นสิ่งใดจงก้าวไปเถิด อุปสรรคสิ่งที่กีดขวาง คนจริงฝาไปได้ไมยากเย็น เทพเจ้าแหงความสําเร็จ ชอบคนกล้า กล้าๆ กลัวๆ มิใชผู้นํา


๒๔๗

บาทวิถีของมนุษ ย ความทุกขทําให้ข้าฯ เกิดความคิด วิปสสนาญาณ ความผิดพลาด คือทางผานสูความสําเร็จ ตราบใดที่ยังมีชีวิตลมปราณ จงสู้ไปเถิดอยาสิ้นหวัง ความมุงมั่นด้วยกุศลเจตนา คือน้ําทิพยแหงสรวงสวรรค อยาคิดวาการทําความดีจะต้องมีความสุขเสมอไป แตการฟนฝาความทุกขยากด้วยดวงใจอันสุขุม นั่นคือ มงกุฎอันล้ําคา และประเสริฐยิ่งของยอดมนุษย

คาถาถอนพิษ ถ้าถูกดาวาด้วยถ้อยคํารุนแรงดุร้าย จงตอบกลับด้วยวาจาสุภาพออนโยนและนุมนวล ต้องทําใจดีสู้เสือเอาชนะความชั่วด้วยความดี! จากร้ายก็จะกลายเปนดี ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ณ โฮงหลวงวัดบานปาง


๒๔๘

มหาวิทยาลัยชีวิต บทเรียนที่จะสามารถสอบผานสูเปาหมายความสําเร็จของชีวิต ต้องเปนตัวประสบการณเฉพาะตัว ไมมีใครหน้าไหนจะให้ผู้อื่นได้ ดังนั้น บทเรียนที่ดีและสูงสุด คือจากตัวชีวิตของเราเองเทานั้น เมื่อเข้าใจถึงชีวิต จิตใจตนเองได้แล้ว จะเปนวิถที างสูค วามเข้าใจ ซึง่ กันและกัน จงเปดใจกว้าง ยอมรับจุดเดนของผู้อ่ืน ให้ผสานความคิดที่แตกตางให้หลอมรวมกันได้ จนถึงที่สุด จะไมมีการแยกแยะ ความเปนพวกเขา พวกเรา ตัวเราหรือผู้อื่น ความสําคัญตน ความหยิ่งยะโสโอหังถือตัว จะถูกพัฒนาการสูความสุภาพ ออนน้อมถอมตน ความเข้มแข็ง อดทน ความเสียสละ ความเมตตาอารี ความเห็นอกเห็นใจ การให้อภัย อันเปนสายธารแหงชีวิต สูความสุขสงบ ด้วยมิตรภาพ ภราดรภาพ ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ยอดเขาคิชฌกูฎ พุทธสถานอินเดียนอย วัดพระธาตุแสงแกวมงคล


๒๔๙

เสียงกระชิบสูดวงใจเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๒ • เจ้าจงมองดูโลกกว้างโดยไร้ขอบเขต • เจ้าจะเห็นสรรพสิง่ ในสากลจักรวาลอยูใ นตัวเจ้า และตัวเจ้าก็จะสถิต อยูบนบัลลังการแหงสากล • เจ้าจะพบวาคนที่รักเจ้าจริงๆ นั้นไมมี คนที่เกลียดชังเจ้าจริงๆ ก็ ไมมีเชนกัน • ในที่สุดเจ้าก็ประจักษวาตัวเจ้าเองก็ไมปรากฏในที่ไหนๆ • เมื่อเจ้าถูกเหยียดหยาม เจ้าจงยิ้มรับด้วยไมตรีจิต • เมื่อเจ้าถูกคนเขาดาวาให้ร้าย เจ้าจงแผเมตตา และสงสารคนผู้ดา • เมือ่ ถูกประทุษร้ายหรือถูกกลัน่ แกล้งเจ้าจงทําเหมือนคนทีต่ ายแล้ว นั่นเถิด • เมือ่ ถูกทําร้ายให้ได้รบั บาดเจ็บปางตาย เจ้าก็อยาได้คดิ ร้ายจองเวร ใคร • เจ้าอยาได้ตําหนิติเตียนเพงโทษคนอื่น • เจ้าอยาทําการสิง่ ใดให้ตนเองเดือดร้อนหรือเปนทีต่ าํ หนิแกตนเองได้ • ถ้าเจ้ายังบนวิจารณเพงโทษคนอื่นอยู เจ้าก็ยังเปนคนไมสมบูรณ • ผูท้ ม่ี ดี วงจิตสมบูรณเขาจะไมหลงรักหลงชัง แตจะมีเมตตาโดยไมมี ประมาณ • เมื่อถูกดาหรือประทุษร้าย เจ้าอยาคิดวาเจ้าเปนผู้ไมเหมาะสม • การถูกประทุษร้ายหรือคําดาวา นั่นคือเครื่องพิสูจนความบริสุทธ ใจของเจ้า


๒๕๐

• เมื่อเจ้าไมผิดจริง เจ้าถูกทอดทิ้ง ถูกทุบตีทําร้าย จงรู้ไว้เถิดวานั่น คือทางแหงอิสรภาพ • คนดีมิได้พิสูจนกันด้วยการโต้เถียงหรือตอสู้เพื่อเปนผู้ชนะ • คนดีเขาจะไมถือดี และจะไมหมิ่นความชั่ว • ความผิดคือดาบอันคมกล้า ความถูกก็คอื ดาบอันคมกล้า สุดแตใคร จะใช้ให้เกิดประโยชน • ตัวเจ้าคือกระจกเงาของเจ้า คนอื่นก็เปนกระจกเงาของเจ้าด้วย • คนดีจะไมหลงยกยอตนเอง และจะไมตั้งตัวเปนเอก • คนชั่วเปนอุทาหรณที่มีคุณคายิ่ง คนดีก็เปนเยี่ยงอยางอันลํ้าเลิศ • วาจาที่ออกมาจากใจคนดี มิใชถ้อยคําหวานล้อมเพื่อประโยชนตน • เมื่อใจเปนนาย กายเปนบาว เจ้าจะเปนผู้ขับขี่ไปบนสรรพชีวิต • พุทโธ ธัมโม สังโฆ เปนที่พึ่งอันประเสริฐของเจ้า • เห็นกายมิใชกาย นั่นคือ พุทธมณฑล • เห็นจิตมิใชจิต นั่นคือองคพระพุทธเจ้า • เห็นสรรพชีวิตไร้ตัวตน นั่นคือเห็นเหลาอริยะสาวก • ขอให้ดวงใจของเจ้าจงเปนนํ้าอมตะรสหลอเลี้ยงสัตวโลก • ขอให้ดวงตาของเจ้าเปนแสงสวางสองทางให้ชีวิตทั้งมวล • ขอให้หูของเจ้าจงสดับสรรพสิ่งเปนธรรมสาร • ขอให้ปากของเจ้าจงเปลงวาจาอันเปนมิตรภาพและสันติภาพ • ขอให้เท้าของเจ้าจงก้าวไปสูทางแหงความสร้างสรรค • ขอให้มอื ของเจ้าจงเชือ่ มสัมพันธไมตรีผกู มิตรกับทุกผูค้ นอยารูค้ ลาย • ขอให้ ส ายโลหิ ต ของเจ้ า เป น ทิ พ ยโอสถรั ก ษาโรคาพยาธิ ข อง ทุกรูปนาม


๒๕๑

• ขอให้รางกายของเจ้าเปนต้นโพธิ์แก้วที่อาศัยพักร้อนของสัตวโลก ทั้งผอง • เจ้าจงเปดประตูใจทุกด้านรับบทเรียนจากโลกกว้าง แล้วดวงใจของ เจ้าจะบรรจุไตรโลกไว้ได้ทั้งหมด • ดวงใจของเจ้าจะจรด ณ ใจกลางโลกธาตุทั้งมวล • จักรวาลแหงสรรพสิ่งจะหมุนรอบจนไร้ทิศ ไร้อดีต ไร้อนาคต และ ไร้ปจจุบัน • ความไวของจักรวาลทีห่ มุนรอบจัดโดยมีดวงใจเปนแกนกลางจะลุก แดงเปนแสงสวางอันโอฬาร และจะเปนลมหายใจของสรรพชีวิต ทั้งหลาย • เจ้าจะเห็นทุกรูปนามคือบอเกิดบัวแดงแหงพุทธชาติ • บัวแดงแหงพุทธชาติจะผลิดอกเบงบานอยางเต็มที่ • บัวยิ่งบาน ยิ่งมีมากพระพุทธองคยิ่งทรงพอพระทัย • สัจธรรมของพระองคแผไปยังโลกกว้าง วาใดๆ ในโลกไมมีอะไรที่ แนนอน • ใครจะขัดใครแยงใครแขงกันอยางไร แนนอนตางก็ได้เปนเจ้าแหง อนิจจัง เปนสัจจะเที่ยงแท้ • เจ้าจะยึดเอาอะไรเปนหลักเหตุผลของสากล เหตุผลของหมูค ณะหรือ บุคคล เหตุผลมันก็เปนปจจัยการสืบเนือ่ งไมมสี น้ิ สุด ใครจะโต้เถียง ด้วยหลักเหตุผลของอะไรก็ตาม เหตุผลของแตละสิ่งยอมเหมาะแก บุคคลและเปนไปตามกาลเวลา จะให้อกี คนหนึง่ ยอมรับเหตุผลของ อีกคนหนึ่งมันก็เปนได้บางกรณี แตมันเปนการฝนธรรมชาติ โดย หลักธรรมชาติต้องอยูเหนือเหตุผล เหนือสิ่งสมมติบัญญัติโดย ประการทั้งปวง


๒๕๒

• เจ้าจงรับและปฏิเสธสิง่ สมมติบญ ั ญัตใิ ห้เหมาะสมแกปจ จัยการ และ ต้องไมยึดถือวามันเปนสัตว บุคคล ตัวเรา เราเขา • จงปลอยวางจากโลกธรรมทั้งมวล และเปนผู้นิ่งอยางพระอริยะเจ้า • สงบใจได้ทามกลางวัฏสงสารอันนาเบื่อหนาย • ทะเลแหงวัฏจักรจึงเต็มสะพรั่งด้วยบัวแดงแหงพุทธะ • รับแสงสวางแหงพระธรรมสงบใจไร้กังวล • ขอมอบอมตะธรรมนี้เปนธารธรรมสรงสนานทุกรูปนามไร้ราคี • ขอให้รา งเปนกายธรรม ขอให้พทุ ธะอุบตั กิ ลางดวงใจทุกทานเทอญ. ภิกษุอานันท พุทธธัมโม โฮงหลวงวัดบานปาง


๒๕๓

ภาคผนวก จ ศิลปะการมองโลกสูวิถีชีวิตธรรมชาติ สื่อสารเปน เห็นชัยชนะ มองใหเปน จะเห็นประโยชนมหาศาล ชี้ใหถูกจุด จะพบความมหัศจรรยของชีวิต ผูรูยิ่ง จะผสานความคิดที่แตกตางใหเปนหนึ่งเดียว ผูมีใจบริสุทธิ์ จะไมยุงเกี่ยวกับเรื่องอันไรสาระ จะเปนผูหนักแนนมั่นคง ออนนอมถอมตัวอยูเสมอ จะสงบนิ่ง อิสระเสรี และไรกังวล จงรูจักชางสังเกตสิ่งแวดลอมวงจรชีวิต ฉลาดรูทันเหตุการณทุกอยางที่ตองเผชิญ การสังคม จงมองเห็นเอกลักษณของผูอื่นใหได จะนําสูการสื่อสารเขาใจกันทุกเรื่องอยางเปนกันเอง จงใชคนใหเหมาะสมกับงานที่เขาถนัด บางครั้งก็ตองยอมลดตัวเสียสละไดทุกสิ่ง เพื่อถนอมนํ้าใจดวยความอดทน และเปดใจกวาง นี้คือศิลปะการดําเนินชีวิตใหผสานธรรมชาติอยางชาญฉลาด ภิกษุอานันท พุทธธัมโม กระทอมหญ้าคา ยอดเขาคิชฌกูฎ พุทธสถานวัดพระธาตุแสงแก้วมงคล ดอกคําใต้ เมืองพะเยา


๒๕๔

มหั ศ จรรย พ ระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย จั ง หวั ด เชี ย งใหม

“ดอยสุเทพเปนศรี ประเพณีเปนสงา บุปผชาติลวนงามตา นามลํ้าคานครพิงค”

พระธาตุดอยสุเทพเปนศาสนสถาน คูบ้านคูเมืองตั้งอยูบนดอย อ้อยช้าง เดนเปนสงา องคพระธาตุบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุของ พระสัมมา สัมพุทธเจ้าแหงหนึ่งในล้านนาไทย


๒๕๕

บันไดนาค ทางขึ้นสูพระธาตุดอยสุเทพจํานวน ๓๐๖ ขั้น

วัดพระสิงหที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยบูรณะและเปนเจ้าอาวาส ๑๓ ป


๒๕๖

อนุสาวรียพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ตรงจุดเริ่มลงจอบแรกสร้างทางขึ้นสูพระธาตุดอยสุเทพ


๒๕๗

สถูปบรรจุอัฐิธาตุของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ณ พระอารามหลวง วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม


๒๕๘

วัดสวนดอก เปนวัดที่ผูกพันกับราชวงศเชียงใหมอยางลึกซึ้ง เปนผลงานที่ยิ่งใหญในการบูรณะของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๕๙

จั ง หวั ด ลํ า พู น

พระธาตุเดน พระรอดขลัง ลําไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย แดนดินถิ่นนักบุญ

วัดพระธาตุหริภญุ ชัย สร้างในสมัยของพระเจ้าอาทิตยราช ราว พ.ศ. ๑,๕๐๐ รูปทรงแบบทวารวดี มีการบูรณะ ๓ ครัง้ คือ ยุคที่ ๑ บูรณะโดยพระญาสรรพสิทธิ์ ราว พ.ศ. ๑๖๐๐ เศษ ยุคที่ ๒ พระเมืองแก้ว ราวพ.ศ. ๒๐๓๐ รูปแบบลังกา ยุคที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๖๓ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย บูรณะซอมแซมและสร้าง พระวิหารหลวงใช้งบประมาณ ๓๒๒,๕๐๐ รูป (สามแสนสองหมื่นสองพัน ห้าร้อยรูป) ปจจุบนั เปนวัดคูบ า้ นคูเ มืองจังหวัดลําพูน ของล้านนาไทย


๒๖๐

วัดพระจามเทวีเปนอนุสรณสถานเพือ่ รําลึกถึงพระนางเจ้าจามเทวี ปฐมกษัตรีแหงนครหริภุญชัยซึ่งได้ทํานุบํารุงพระศาสนาในจังหวัดลําพูน


๒๖๑

จั ง หวั ด พะเยา กวานพะเยาแหลงชีวิต ศักดิ์สิทธิ์พระเจาตนหลวง บวงสรวงพอขุนงําเมือง งามลือเลื่องดอยบุษราคัม ตามรอยพระพุทธบาท ณ พุทธสถาน พระธาตุแสงแกวมงคล

วัดศรีโคมคํา ตั้งอยูริมกวานพะเยาในสมัยพระเจ้าหลวงประเทศ อุดรทิศ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย บูรณปฏิสังขรณ พ.ศ. ๒๔๖๖ ใช้งบประมาณ ๑๐๐,๙๖๓ รูป (หนึ่งแสนเก้าร้อยหกสิบสามรูป)ใช้เวลากอสร้าง ๒ เดือน (พระอุโบสถใช้เวลากอสร้าง ๑ วัน)


๒๖๒

พระเจ้าตนหลวง วัดศรีโคมคําเปนพระคูบ้านคูเมืองพะเยาและ อาณาจั ก รลานนาไทยสร้ า งในสมั ย พญายี พญาหั ว เคี ย นและพญา เมืองตู้ ครองเมืองพะเยา พ.ศ. ๒๐๖๗-๒๒๓๔ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้บูรณปฏิสังขรณ เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๖๖


๒๖๓

อนุสรณสถานที่บรรจุอัฐิสวนศีรษะของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ณ วัดศรีโคมคํา อ.เมือง จ.พะเยา สร้างตรงโฮงหลวง (กุฏิใหญ) ที่พํานัก เมื่อคราวบูรณะวัดพระเจ้าตนหลวงทุงเอี้ยงเมืองพะเยา


๒๖๔

จั ง หวั ด เชี ย งราย เหนือสุดยอดในสยาม อรามดอยตุง ผดุงคุณธรรม เลิศลํ้าขาวสาร หอมหวานลิ้นจี่ สตรีโสภา ชาเลิศรส สับปะรดนางแล

วั ด พระธาตุ ด อยตุ ง พระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ พ.ศ.๒๔๗๐ เปนพระธาตุทบี่ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุพระรากขวัญเบือ้ งซ้าย


๒๖๕

จั ง หวั ด แพร หมอฮอม ไมสัก ถิ่นรักพระลอ พระธาตุชอแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพรมีนํ้าใจงาม

วัดพระธาตุชอ แฮ เปนพระธาตุคบู า้ น คูเ มืองของจังหวัดแพร บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ เปนพระธาตุประจําปเกิดของพระครูบาศรีวิชัย ทาน มาบูรณะเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗


๒๖๖

จั ง หวั ด ลํ า ปาง

ถานหินลือชา รถมาลือลั่น เครื่องปนลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝกชางใชลือโลก

วัดพระแก้วดอนเต้า เปนพระอารามหลวงคูบ้านคูเมืองจังหวัด ลําปางบูรณะโดยพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๖๗

เสาศิลาจารึกสถานที่กําเนิดพระครูบาเจ้าศรีวิชัยวันอังคารที่ ๑๑ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๒๐ ปขาล เวลาประมาณ ๑๘.๑๙ น. สร้างถวายเปน สังฆบูชาโดยครอบครัวของทานอุบาสกกวงเม้ง ทานอุบาสิกาปติอร แซเล้า


๒๖๘

สมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรรส พระสังฆราชเจ้าองคที่ ๑๐ แหงกรุงรัตนโกสินทร


๒๖๙

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห วั ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมโอรสาธิราชฯ เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคในงานพิธยี กฉัตรทองและทรงเปดปาย พิพิธภัณฑ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบ้านปาง อ.ลี้ จ.ลําพูน วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗


๒๗๐

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบ พิธียกชอฟามณฑปครอบสถูปอนุสาวรียพระครูบาเจ้าศรีวิชัย วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๓๕


๒๗๑

สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็ จ พระราชดําเนินแทนพระองค ในการสรงนํ้าพระบรมสารีริกธาตุกอน อัญเชิญขึ้นประกอบพิธีบรรจุในเจดียทองยอดมณฑปพิพิธภัณฑ

ตอต้นดอกจําปหลวงกลางหมูบ้าน ที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยชอบนั่งเลนในวัยเด็ก


๒๗๒

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม นมัสการรูปเหมือนพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ภายในหอพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย วั น ฉลองพิ พิ ธ ภั ณ ฑ แ ละถวายเครื่ อ ง อัฏฐบริขาร ๑.๐๐๐ ชุด แดพระสงฆ ๑,๐๐๐ รูป

ศาลหมื่นผาบ ใจกลางหมูบ้านซึ่งหมื่นผาบเปนปูทวดของ พระครูบาเจ้าศรีวิชัยเปนผู้บุกเบิกและตั้งรกรากบ้านปาง


๒๗๓

บอนํ้าและอุโบสถกลางนํ้า ที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยและพระสงฆ ทําสังฆกรรมในวัดบ้านปาง อยูใกล้กับศาลหมื่นผาบ

คุณแมงวงอิง แซโง้ว คุณแมของอุบาสกกวงเม้ง แซเล้า ผู้ถวายที่ดิน สร้างถนน ในวันเปดถนนศรีวิชัยตรงหน้าวัดบ้านปาง วันที่ ๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๖ ตรงกับวันมาฆบูชา


๒๗๔

อั ฏ ฐบริ ข าร เสนาสนะ และสิ่ ง ของต า ง ๆ ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ

เครื่องอัฏฐบริขาร


๒๗๕

ตู้กังสดาลหนังจัมขัน สําหรับนั่งสมาธิ และลูกคิด นาฬกา


๒๗๖

แทนวางคัมภีร เก้าอี้ผ้าใบ ตะเกียง และกานํ้าชา


๒๗๗

โตะนั่งเขียน (จาร) ธรรมใบลาน

โตะหวายที่ใช้พักผอนอิริยาบถ


๒๗๘

โตะรับแขก

เสลี่ยงที่ศิษยานุศิษยใช้หามพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๗๙

เตียงนอนพร้อมผ้าปูลายเสือ ผ้ารองหมอนถักรูปเสือ

รถเถ้าแกโหงว


๒๘๐

รูปหุนขี้ผึ้งพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ในพิพิธภัณฑวัดบ้านปาง


๒๘๑

หุนรูปเหมือนหุนขี้ผึ้งพระครูบาเจ้าฯ ในปราสาทหินออน สถานที่มรณภาพ วัดบ้านปาง

ตู้รดนํ้าลายทองที่เก็บรักษาพระไตรปฎกฉบับลานนาไทย โดยสร้างไว้ที่วัดบ้านปาง


๒๘๒

๑. พระบรมสารีริกธาตุในพระเจดียโบราณ วัดร้างบ้านปาง ๒-๓. แรหินกายสิทธิ์อยูหีบเหล็กของพระครูบาเจ้าฯ ๔. อัฐิสวนศีรษะของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย


๒๘๓

หอยสังขโบราณของพระครูบาเจ้าฯ สําหรับใช้กรวดนํ้า แผเมตตา


๒๘๔

เส้นผมพระครูบาเจ้าฯ ได้จากญาติในบ้านปาง

ฝามือ ฝาเท้าของพระครูบาเจ้าฯ ประทับไว้ คราวบูรณะพระเจ้าตนหลวงเมืองพะเยา


๒๘๕

ถายที่ต้นชบาบนวัดพระธาตุจอมทอง คราวฉลองพระวิหาร วัดพระเจ้าตนหลวง เมืองพะเยา อายุ ๔๕ ป


๒๘๖

ถายที่ต้นชบาบนพระธาตุจอมทอง อายุ ๔๖ ป


๒๘๗

ถายบริกรรมลูกประคํา ที่วัดพระสิงห จ.เชียงใหม อายุ ๕๐ ป


๒๘๘

ถายที่วัดเบญจมบพิตร คราวถูกกลาวหาครั้งที่ ๔ อายุ ๕๘ ป


๒๘๙

ถายที่ใต้ต้นมะมวงปา บริเวณวัดศรีโสดา อายุ ๕๘ ป ยืนข้างคือ สามเณรแพรบุญยืน (ภายหลังได้เปนเจ้าคณะอําเภอบ้านโฮง เปนเจ้า อาวาสวัดบ้านโฮง เมืองลําพูน) จากบ้านห้วยกาน เปนสามเณรอุปฎ ฐาก


๒๙๐

ถายที่ศาลาบําเพ็ญบุญ วัดบ้านปาง อายุ ๕๙ ป


๒๙๑

ถายที่วัดจามเทวี จ.ลําพูน คราวมารักษาอาการอาพาธ โรคริดสีดวงทวาร อายุ ๖๐ ป


๒๙๒

พระพุทธรูปพระเจ้าฝนแสนหา พระคูบารมีที่ได้จากวัดศรีโคมคํา (พระเจ้าตนหลวง เมืองพะเยา)


๒๙๓

พระพุทธรูปซึง่ พระครูบาเจ้าฯ ปน ขึน้ เองโดยนําข้าวชีวติ (ข้าวทีร่ บั บิณฑบาตแล้วไมฉัน) น้อมถวายเปนพุทธบูชา พร้อมตั้งจิตสัจจะอธิษฐาน อดข้าวอดอาหาร เมื่อถวายเสร็จก็นําไปตากแล้วตําให้ละเอียดพร้อมกับ ขี้ชันที่บดเปนผงแล้วนํามาผสมกัน ใสนํ้ามันต้มให้เหนียวพอปนได้ ทิ้งไว้ ให้เย็นจึงนํามาปนเปนองคพระพุทธรูป ซึ่งพระครูบาเจ้าศรีวิชัยเทิดทูน กราบไหว้ ถวายสักการบูชา เปนพุทธานุสติประจําองคทาน สวนรูปเสือ ที่ฐานพระเปนนามปขาล ที่ทานเกิด


๒๙๔

ถายเมื่อจะเริ่มสร้างวัดจามเทวีเมืองลําพูนขณะอายุ ๕๘ ป


๒๙๕

พระครูบาเจ้าศรีวิชัยถายรูปในพระอุโบสถ วัดพระสิงหวรมหาวิหาร ด้านทิศเหนือซุ้มมณฑป

ภาพพระครูบาเจ้าศรีวิชัยถายพร้อมคณะศรัทธาสาธุชน ที่หน้าวัดพระสิงหหลวง นครพิงคเชียงใหม


๒๙๖

ปราสาทเงิน ปราสาททอง ที่เก็บรักษาเขี้ยวแก้วพระครูบาเจ้าศรีวิชัย พุทธสถาน วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อ.ดอกคําใต้ จ.พะเยา


๒๙๗

สถูปปราสาทหินออน สถานที่มรณภาพ และบรรจุอัฐิธาตุของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบ้านปาง


๒๙๘

ปราสาทหินออนครอบสถูปที่บรรจุอัฐิธาตุพระครูบาเจ้าฯ


๒๙๙

ภาคผนวก ฉ

เขี้ยวแกวพระครูบาเจาศรีวิชัย

หลุดที่วัดพระสิงหหลวง นครพิงคเชียงใหม สามเณรทา น้องคนสุดท้องของพระครูบาเจ้าฯ เปนผู้เก็บรักษา ภายหลังทายาทได้มอบให้ ภิกษุอานันท พุทธธัมโม


๓๐๐

ประวั ติ ภิ ก ษุ อ านั น ท พุ ท ธธั ม โม เกิดวันศุกร ที่ ๑๔ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ปขาล บิดาชื่อ นายมูล ฟองแก้ว มารดา ชื่อ นางบุตร ฟองแก้ว เกิดที่บ้านญาติขณะที่ มารดาเดินทางไปชวยเตรียมงานบุญวันสงกรานต (วันพญาวัน) วันนั้นมี พายุลมฝนตกหนักและนานมาก จนนํา้ นองเต็มทารองช้าง นับเปนประวัตกิ ารณ เปนบุตรคนโตในจํานวน ๙ คน เชือ้ ชาติไทย อาชีพเกษตรกรรม วิทยฐานะ ประถม ๔ ภูมิลําเนาบ้านบุญโยชน ตําบลดอกคําใต้ อําเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย การเขาสูรมกาสาวพัสตร บรรพชาเปนสามเณรครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๐๘ เมื่ออายุ ๑๕ ปได้ ๑ พรรษา บรรพชาเปนสามเณรครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ อายุ ๑๘ ป อุปสมบทเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ อายุ ๒๔ ป โดยมีพระครูสุวรรณภิรักษเปน พระกรรมวาจาจารย พระครูอนุรักษจารุธรรม เปนพระอนุสาวนาจารย การเข้ า สู  ก ารบรรพชาอุ ป สมบททุ ก ครั้ ง มี พ ระครู ปุ ญ ญาลั ง การเป น พระอุปชฌาย ซึ่งเปนศิษยท่ี พระครูบาเจ้าศรีวิชัยเปนผู้บรรพชาและ อุปสมบทให้ บําเพ็ญสมณธรรมและปฏิบัติศาสนกิจ เมื่ออายุ ๑๙ ป ได้จําพรรษาที่วัดสวนโมกขพาลาราม อําเภอไชยา จังหวัด สุราษฎธานี เปนสามเณรอุปฏฐากทานพอพุทธทาส อินทปญโญ ๕ พรรษา พ.ศ. ๒๕๑๗ กลับสูภูมิลําเนา อําเภอดอกคําใต้ จังหวัด พะเยา โดยพํานักอยูในปาอันเปนที่ต้ังของหอบูรพาจารย ภายในบริเวณวัด พระธาตุแสงแก้วมงคล ๓ พรรษา


๓๐๑

พ.ศ. ๒๕๒๑ พ.ศ. ๒๕๓๑ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๕๔

บูรณะกอสร้างวัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อําเภอ ดอกคําใต้ จังหวัดพะเยา สร้างพิพธิ ภัณฑ พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั วัดบ้านปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน บูรณะพระวิหารพระพุทธบาท ๔ รอย อําเภอแมรมิ จังหวัดเชียงใหม บูรณะฐานอนุสาวรียพ ระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั และสร้าง เสาศิลาจารึก ทีเ่ ชิงดอยสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม สร้างอนุสาวรียพ ระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ขนาดหน้าตัก ๖ ศอก ณ วั ด ศรี ชุ ม ประชา อํ า เภอป า แดด จังหวัดเชียงราย สร้างอนุสาวรียพระครูบาเจ้าศรีวิชัย ขนาด ๓ เทา องคจริงทางเดินขึน้ สูพ ระธาตุดอยตุง ณ วัดเชิงดอย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๕๔) สังกัดวัดพระธาตุแสงแก้วมงคล ตําบลสันโค้ง อําเภอดอกคําใต้ จังหวัดพะเยาโดยมีพระบุญมี ปุญญคโม (ศิษย) เปน เจ้าอาวาส ภิกษุอานันท พุทธธัมโม เปนประธานสงฆได้บริหารและสงเสริม กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาในโอกาสสําคัญตาง ๆ โดยจัดให้มีการ ปฏิบัติธรรม ฟงธรรมเทศนาปละหลายหน ภายในอาวาสมีองคพระธาตุ แสงแก้วมงคล พระอุโบสถ พระวิหารพุทธบาทแก้วดอกบัวขาวและจําลอง สังเวชนียสถาน (อินเดียน้อย) ๔ แหงในประเทศอินเดียและเนปาล คือ จําลองสวนลุมพินีสถานที่ประสูติ จําลองพระเจดียพุทธคยาสถานที่ตรัสรู้ จําลองพระมหาสถูปธัมเมกขเจดียสถานที่แสดงปฐมเทศนาเปนที่กําเนิด


๓๐๒

พระรัตนตรัย จําลองพระมหาสถูปปาวาลเจดียสถานที่ปรินิพพาน จําลอง พระเวฬุวนาราม (สวนไผ) วัดแหงแรกเมืองราชคฤห จําลองพระคันธกุฎี ยอดเขาคิชฌกูฎเมืองราชคฤห จําลองพระคันธกุฎที เี่ ชตวนารามเมืองสาวัตถี จําลองสถูปสาญจี (ซึ่งเปนแบบพระเจดียในพระพุทธศาสนา เปนหนึ่งใน มรดกโลกของประเทศอินเดีย) สร้างหอบูรพาจารย สร้างอาศรมโมกขธรรมอยู หุบเขา สร้างโรงเจศรีอริยเมตไตรยสถานที่ประดิษฐานพระมหาโพธิสัตว กวนอิมโบราณวัตถุเกาแกลาํ้ คาจากประเทศจีนและประดิษฐานพระศรีอริย เมตไตรยสร้างหอปรมาจารยโพธิธรรม (ตัก๊ ม้อไต้ซอื ) สร้างอุโมงคกายสิทธิ์ คุณแมศรีบุตร ฟองแก้ว พร้อมทั้งเสาศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราช เพื่อให้เปนสถานที่ศึกษาประวัติศาสตรพระพุทธศาสนาให้ได้บรรยากาศ การปฏิบัติและเผยแพรธรรม ตามรอยพระพุทธบาทองคพระบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้เปนศูนยรวมการบริหารจัดการภายในวัดและ บําเพ็ญสาธารณประโยชนแกสังคม


๓๐๓

อั น เนื่ อ งจากนิ มิ ต ....การบู ช าพระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย ภิกษุอานันท พุทธธัมโม เมื่อบวชเปนสามเณรในพรรษาแรกข้าพเจ้าจะชอบนั่งสมาธิอยูใน มุมสงบภายในวัด และทุง นาหลังเก็บเกีย่ วในยามแดดรมลมเย็นเปนประจํา และนัง่ กัมมัฏฐานในปาช้า ยามคํา่ คืนมีอยูว นั หนึง่ เวลาประมาณ ๑๕.๐๐ น. เข้าไปอุโบสถของวัดศรีชุมซึ่งอยูระหวางการกอสร้าง (อยูอําเภอดอกคําใต้ จังหวัดพะเยาเปนวัดสังกัดครัง้ แรก) กราบพระประธานแล้วนัง่ สมาธิภาวนา ได้นิมิตเห็นพระภิกษุสูงอายุมาครอบตัวแล้วบอกวา “ทานคือพระครูบาศรีวิชัย สิริวิชโย” ขณะนั้นเห็นตัวเองเปน ภาพโปรงแสงมีภาพพระครูบาเจ้าศรีวิชัยซ้อนอยูแล้วหลุดลอยสูเบื้องบน เปนความปติ ปราโมทย เบากาย เบาใจ เหมือนหลุดไปจากโลก เปนภาพ ที่ประทับใจ จนรู้สึกตัวกลับอยูในทานั่งสมาธิเกิดความปลื้มปติอยางมาก กราบพระประธานแล้วแผเมตตาระลึกถึงพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั หลังจากนัน้ เมือ่ นึกถึงนิมติ ครัง้ ใดจะเกิดความรูส้ กึ ปติ และอบอุน ใจอยางมากตัง้ แตนนั้ เกิดอาการเบื่อเนื้อสัตว รับประทานอาหารที่ไมเจือด้วยเลือดเนื้อ และเริ่ม รับประทานอาหารเจ แรก ๆ รางกายปรับตัวไมทนั เกิดความออนเพลียและ ผอมจนพระเณรกลาววา “เณรนันทคงจะต้องตายไมพ้นพรรษานี้แน” ถึงกระนัน้ ไมยอ ท้อตัง้ จิตอธิษฐานถึงพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ไหว้พระสวดมนต นั่งสมาธิภาวนายิ่งขึ้น โดยเฉพาะใต้ต้นโพธิ์หน้ากุฏิที่น่ังสมาธิเปนประจํา กลางวันแดดร้อนก็ทนตากแดดบางวันเจอฝนก็นั่งตากฝน บางวันพระเณร พากันล้อวานัง่ สมาธิเปนผูว้ เิ ศษขนาดไหนพากันอุม้ โยนลงสระนํา้ หัวเราะกัน


๓๐๔

เพราะเห็นวาข้าพเจ้าวายนํา้ ไมเปน ในทีส่ ดุ ต้องกระโดดนํา้ ลงไปชวยดึงแขน ขึ้นโดยไมรู้สึกโกรธเกลียดเพื่อนเณรด้วยกัน ภายในพรรษานั้นมีเห็ดจั่น (คล้ายลักษณะเห็ดโคน) ออกใต้ตน้ โพธิใ์ ห้ฉนั เปนประจําบางครัง้ ออกนอก ฤดูกาลให้ฉันอยูบอยๆ สืบทราบวาหลังจากไมได้อยูที่วัดศรีชุมเห็ดจั่น ไมเคยออกอีกเลย กระทั่งอุปสมบทได้ ๙ พรรษา อายุได้ ๓๕ ป พุทธศักราช ๒๕๒๗ ขณะบูรณะปฏิสงั ขรณ วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล ๙ ป มีความคิดอยากสร้าง รูปพระครูบาเจ้าศรีวิชัยได้กราบไหว้ตามมโนภาพ พอสร้างเสร็จมีคนนํา เส้นผมมาถวาย หลังจากนั้น ๓ วัน นายสุกิจจา กรุณานนท นายอําเภอ ดอกคําใต้ (ขณะนัน้ ) มาเยีย่ มวัดแล้วเห็นรูปของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ทีก่ าํ ลัง ปนใหมเกิดความศรัทธานําเอาอัฐิมาถวาย (ได้จากเจ้าอาวาสวัดห้วยกาน อําเภอบ้านโฮง จังหวัดลําพูน สมัยเปนปลัดอําเภออยูท น่ี น่ั ) ตอมาประมาณ ๑ เดือน อาจารยระวี ตันเครือ นําผ้าประทับรอยมือรอยเท้าพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยเมื่อบูรณะวัดพระเจ้าตนหลวงเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๖๖ มาถวาย พอถึ ง กํ า หนดทํ า บุ ญ ฉลองสมโภชรู ป เหมื อ นพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย พระครูบาธรรมชัย วัดทุง หลวง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เปนประธาน พิธีสงฆบรรจุเส้นเกศา อัฐิ และผ้าประทับรอยมือรอยเท้าในรูปเหมือน พระครูบาเจ้าศรีวิชัย (ขนาดเทาองคจริง) วันที่ ๑๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ ขณะทําวัตรคํา่ แล้วนัง่ สมาธิ ภาวนาอยูในพระอุโบสถ เวลาประมาณ ๒๑.๓๐ น. ขณะนั่งสมาธิมีเสียง กระซิ บ ข้ า งหู แ ล้ ว บอกว า ให้ ส ร้ า งรู ป เหมื อ นพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ในพระอุโบสถด้านประตูขา้ งให้ใหญทสี่ ดุ เทาทีอ่ าคารรองรับได้ และให้สร้าง ในขณะนั้น พอออกจากสมาธิได้บอกให้พระเณรและเด็กวัด ชื่อนายสงา สมฤทธิ์ ซึง่ เปนชางได้ลงมือวางผังโครงสร้างในคืนนัน้ การกอสร้างเปนการ


๓๐๕

กออิฐเสริมเหล็กหน้าตักกว้าง ๕ ศอก ภายในบรรจุ อัฐิสวนศีรษะ เส้นผม ฟน และเล็บมือของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย (ภายหลังได้ปดทองเปลวโดย พระวิชัย ธัมมชโยและพระอุทิตย ธัมมจักโก) พอเสร็จจึงกําหนด วันฉลอง สมโภชมีผเู้ ฒาผูแ้ กหลายทานขอบวชในงานพิธใี นจํานวนนัน้ มีนายแก้ว มา จากจังหวัดลําปาง พร้อมกับเลาประวัติให้ฟงวาเคยอยูกับครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแตอุปสมบทในวัดพระสิงห อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม และติดตาม จนทานมรณภาพ จากนั้นไมนานได้ลาสิกขาและขอบวชในงานสมโภชรูป พระครูบาเจ้าฯ ภายหลังได้เปนเจ้าอาวาสวัดพระธาตุแสงแก้วมงคลป พ.ศ. ๒๕๓๐-๓๖ จึงถือวาเปนสือ่ อันเปนมงคลถึงญาณวิถขี องพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ปพุทธศักราช ๒๕๒๙ พออาจารย ปรีชา แมอาจารยวารุณี เดินทางจากจังหวัดเชียงรายและมาเยี่ยมที่วัดเห็นรูปเหมือนพระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั จึงคุยกันถึงเรือ่ งราวของทานและชวนกันไปชมวัดบ้านปางถิน่ กําเนิด ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย พอไปถึงเห็นสภาพวัดกึ่งอยูก่ึงร้างเงียบวังเวง วันนัน้ ไมมพี ระเณรอยูท ว่ี ดั ดูรอบบริเวณวัดตัง้ แตพระเจดีย พระวิหาร สถูป พระครูบาเจ้าศรีวิชัยอยู สภาพหมนหมองและกุฏิ ๒ ชั้น สร้างด้วยไม้ เสา หลอคอนกรีตเสริมเหล็กจํานวน ๘๒ ต้น หลังคามุงด้วยสังกะสีอยางดี จึงขึ้นบันไดด้านหน้ากุฏิ ชั้นสองเห็นไม้ลายฉลุหน้ามุขชํารุดทรุดโทรม เกิดความสงสารพระครูบาเจ้าฯ อยางมากเข้าไปดูช้ันในไมได้เพราะ ปดกุญแจใหญ ถึง ๒ ลูก ลงมาชั้นลางเห็นมีบันไดด้านทิศเหนือ พากัน ขึน้ ไปเห็นบานประตูปด จึงตัง้ จิตอธิษฐานวา ถ้ามีบญ ุ บารมีได้มาชวยบูรณะ ฟนฟูวัดบ้านปางขอให้เปดประตูได้ จึงผลักประตูก็เปดได้อยางงายดาย เข้ า ไปชั้ น ในอี ก ก็ เ ป ด ประตู ไ ด้ เช น กั น สํ า รวจภายในเห็ น หลั ง คารั่ ว พื้นกระดานผุหลายแหง จึงปรึกษาพออาจารยปรีชาวา “อาตมาคงจะมี วาสนากับพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ถ้าจะได้ฟน ฟูเสนาสนะ” หลังจากนัน้ พากัน


๓๐๖

ออกจากวัดบ้านปางมาที่ตัวอําเภอลี้ โดยพออาจารยปรีชาพูดวามีคนรู้จัก ที่ตัวอําเภอลี้ จึงทําหนังสือขอบูรณปฏิสังขรณ พระเจดียวิหาร กุฏิของวัด บ้านปางโดยคนที่รู้จักนําหนังสือดังกลาวให้เจ้าอาวาสและคณะกรรมการ ตอมาประมาณหนึง่ เดือนได้รบั จดหมายจากวัดบ้านปางวายินดีให้ ไปบูรณปฏิสงั ขรณ จึงได้บอกญาติโยมทีน่ บั ถือให้รว มบริจาคได้ปจ จัยหลาย หมื่นบาท จึงนัดชาวบ้านที่เปนชางไม้ ชางปูนและอื่นๆ รวบรวมข้าวปลา อาหารชาวบ้านร้านตลาดที่รวมบริจาคโดยมีรถ ๖ ล้อของคุณพอบุญเหลือ คุณแมสมศรี รัตนรังษี บรรทุกคน และข้าวของไปวัดบ้านปาง เข้ากราบ พระประธานและเจ้าอาวาสแจ้งวัตถุประสงคตามหนังสือขอและตอบรับ พร้อมเข้าพักในพระวิหารและตั้งจิตสัจจอธิษฐานให้เห็นนิมิตที่เปนมงคล ในคืนนี้ ขณะนอนหลับรู้สึกครึ่งหลับครึ่งตื่นเห็นนิมิตเปนเทพเทวบุตร เทวดา มากันจํานวนมาก บ้างเฝาดูแล บ้างกั้นฝาเพดาน บ้างคอยพัดวี ขณะนั้นรู้สึกมีความสุข อบอุนใจ คงด้วยอานุภาพเทพยดาเจ้าอภิบาล ด้วยบรรยากาศอันเปนทิพย คืนนั้นบรรยากาศฝนตกปรอยๆ มีความสุข และรู้สึกเวลายาวนานมาก พอรุงเช้าชําระรางกายล้างหน้าล้างตาพา พระเณรสวดมนตเจริญจิตภาวนาแผเมตตา เมื่อยามสายเลาเรื่องนิมิตที่ ผานมาให้คณะฟง ตางคิดเปนนิมิตที่ดีจึงเริ่มซอมแซมพระเจดีย ปดทอง ยอดฉัตรและปลีพระเจดีย ทําความสะอาด ทาสี ซอมแซมเสนาสนะและกุฏิ (โฮงหลวงในปพทุ ธศักราช ๒๕๒๙) ใช้เวลาทัง้ หมด ๑๙ วัน แล้วพากันเดิน ทางกลับจังหวัดพะเยา พอปลายป พุทธศักราช ๒๕๓๐ พระครูบาเจ้าศรีวิชัยมาเข้าฝนใน นิมติ แล้วพูดวาทีม่ าหานีข้ อให้ชว ยเก็บข้าวของทีว่ ดั บ้านปางทีก่ ระจัดกระจาย อยูหลายที่หลายแหงและบอกวาข้าพเจ้าผู้เดียวที่ทําได้ หลังจากนั้นจึงเดิน ทางไปวัดบ้านปาง ซึ่งเจ้าอาวาสองคเดิมลาสิกขา พระมหาจรูญ สุจิตโตได้


๓๐๗

รับการแตงตัง้ ให้รกั ษาการเจ้าอาวาส จึงเรียนให้ทราบถึงวัตถุประสงคทจี่ ะ สร้างพิพิธภัณฑเก็บอัฏฐบริขารและเสนาสนะของพระครูบาเจ้าศรีวิชัย แต ได้รับการปฏิเสธ แล้วพูดขึ้นวา “ถ้าเปนคนอื่นถึงจะติดปกบินมาก็คงรับ ไมได้” พยายามพูดให้เข้าใจแตทา นก็ยนื กรานปฏิเสธ จึงกลับพะเยาคิดหา วิธีเจรจาอีกครั้ง หลังจากนั้นครึ่งเดือนจึงพาศรัทธาชาวบ้านจากอําเภอดอกคําใต้ เหมารถเมล ๑ คันไปวัดบ้านปางและไปกราบศพพระครูบาธรรมชัยที่ วัดทุงหลวง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม กอนไปเคารพศพได้ไปพบ ผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดบ้านปาง พยายามพูดจาหวานล้อมให้เข้าใจ ทานจึงไมกล้าปฏิเสธแตขอปรึกษากับคณะกรรมการและศรัทธาชาวบ้าน ก อ นแล้ ว จะแจ้ ง ให้ ท ราบภายหลั ง สั ง เกตจากสี ห น้ า กิ ริ ย าท า ทาง การแสดงออก ทานคงไมรับปากเพียงแตออกตัวเพื่อไมให้เสียมารยาท ได้เวลาพอสมควรจึงลากลับเพราะต้องไปกราบศพครูบาธรรมชัย ที่อําเภอ แมแตง ระหวางนั่งรถก็คิดหนักตลอดเวลาถึงอุปสรรคที่เผชิญอยู เมื่อถึง อําเภอปาซาง เครื่องยนตเกิดติดขัดแตก็ประคองรถไปได้เรื่อยๆ จนถึง อําเภอเมือง หน้าอนุสาวรียพ ระนางเจ้าจามเทวีกษัตริยต รีแหงนครหริภญ ุ ชัย รถก็ดับตรงหน้าอูรถในตอนเย็นจึงขอเจ้าของอูชวยซอมให้ บรรยากาศเข้ า สู  ฤ ดู ห นาวหมู  ค ณะจึ ง จุ ด ไฟผิ ง พร้ อ มนั่ ง คุ ย กั น ข้าพเจ้ารูส้ กึ ออนเพลียมากจึงขึน้ นอนบนรถอีกคันหนึง่ ทีอ่ ยูใ นอูแ ล้วหลับไป ฝนเห็นผูห้ ญิงหน้าตาเหีย่ วยนแล้วบอกวา “ทานจะทําอะไรให้ครูบาศรีวชิ ยั ก็ทําไปเลยไมต้องหวั่นเกรงอะไรทั้งนั้น พระแมจะดูแลชวยเหลือทาน ทุกประการ” พอพูดจบก็หายไปทําให้สะดุ้งตื่นนึกทบทวนนิมิตที่ผานไป และเข้าใจวาสุภาพสตรีทานนี้ต้องเปนพระแมเจ้าจามเทวี ขณะนั้นเวลา เที่ยงคืนชางซอมรถเสร็จพอดีจึงได้ขอบคุณชางที่ซอมจนเสร็จและเดินทาง


๓๐๘

ไปวั ด ทุ  ง หลวง เมื่ อ นึ ก ถึ ง นิ มิ ต เกิ ด เป น พลั ง อย า งยิ่ ง ใหญ เ ก็ บ ไว้ เ ป น ความรู ้ สึ ก เพี ย งผู ้ เ ดี ย ว จนกระทั่ ง ถึ ง วั ด ทุ  ง หลวงจึ ง หาที่ พั ก หลั บ นอน พอสวางจึงเลาเรื่องให้คณะฟงวาเมื่อคืนที่ผานมาได้นิมิตเห็นพระแมเจ้า จามเทวีมาหาให้พรเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างงานพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั พระแมเจ้าจามเทวีได้ให้พลังอํานาจเปนกําลังใจอันยิ่งใหญสูความสําเร็จ มิให้ท้อถอยตออุปสรรค ขณะที่นั่งคุยกัน แมอนงคซึ่งเปนชาวกรุงเทพได้ มาพักและดูแลพระสงฆในวัดทุงหลวงได้ยินเรื่องราวและเกิดความสนใจ จึงพูดกับแมอนงควาอยากทําจีบหมากจีบพลู ซึ่งก็รับปากและนําผลไม้ ไปถวายพระแมเจ้าจามเทวีเพื่อเปนการบอกกลาวให้ทานรับทราบถึงนิมิต ในคืนที่ผานมา หลังจากนัน้ การประสานงานสร้างพิพธิ ภัณฑฯ ทีว่ ดั บ้านปางสําเร็จ ทุกขั้นตอน เริ่มการกอสร้างทั้งๆ ที่มีเงินซื้อเหล็กทําเสาแคต้นเดียวแตก็มี ความมั่นใจในงานที่ทํา ขณะเดียวกันได้นิมนตพระสงฆ ๕๓ จังหวัดอยู ปริวาสกรรมจํานวน ๓๐๐ รูปชวยสวดมหาชัยยะมงคลยกเสาเอกในวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๑ โดยมีพระครูพิพัฒคณาภิบาล วัดรํ่าเปง จังหวัด เชียงใหม เปนประธาน ระหวางงานสร้างพิพิธภัณฑ มีอยูวันหนึ่งเวลาประมาณ ๑๑.๐๐ น. อากาศร้อนอบอ้าวจึงยืนดูชางทํางานอยู อยากเดินไปทางบันไดนาคทาง ทิศเหนือโดยไมมีจุดหมาย เดินไปเรื่อยๆ ถึงสนามหญ้าข้ามอีกฟากหนึ่ง เจอโยมผู้ชายนําวัวลามกินหญ้า พอเห็นข้าพเจ้าก็กวักมือเรียกแล้วพาไปดู เศษอิฐเศษปูนโบราณและบอกวาตรงนี้เปนวัดมากอน เมื่อพระครูบาเจ้า ศรีวชิ ยั บวชเณรกับพระครูบาขัตยิ ะก็บวชตรงนี้ และไมนานมานีผ้ ใู้ หญบา้ น เอารถมาไถปรับพืน้ ทีม่ ชี าวบ้านเจอผอบทองเหลืองขนาดยอมฝาปดมิดชิด คอยๆ แกะเห็นข้างในมีแก้วมรกต ๑ เม็ด แก้ววิฑูรนํ้าผึ้ง ๑ เม็ดกับ


๓๐๙

เม็ดทรายจํานวนหนึ่ง ข้าพเจ้าทราบทันทีวาตรงนี้เปนที่ประดิษฐาน พระเจดีย และเข้าใจวาเม็ดทรายนั้นต้องเปนพระบรมสารีริกธาตุ จึงให้ ชาวบ้านบอกคนที่พบและนํามาให้ดูเห็นเปนพระบรมสารีริกธาตุจํานวน ๑๕ องค จึงขอกับชาวบ้านแล้วนําขึ้นบนวัดบ้านปาง จากบรรยากาศร้อน อบอ้ า วมาหลายวั น ก็ ก ลายเป น ร ม เย็ น มี ฝ นตกปรอยๆ ตกๆ หยุ ด ๆ สลับกันรวมเดือน ในชวงที่สร้างพิพิธภัณฑจัดให้มีงานพิธีน้อมรําลึกถึงพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยครบรอบวันเกิด ๑๑ มิถุนายน และครบรอบวันมรณภาพ ๒๑ กุมภาพันธ เปนประจําทุกป จัดแตละครั้งต้องถวายดอกบัว ๑,๐๐๐ ดอก และจั ด ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ธ รรม แสดงธรรมบารมี ๑๐ ทั ศ ๑๐ กั ณ ฑ นอกจากนีไ้ ด้ตดิ ตามสิง่ ของพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ทีเ่ คยใช้เมือ่ ยังมีชวี ติ อยูแ ละ ระหวางงานศพ เชน ปราสาท ๕ ยอดจากวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม โลงศพจากวัดจามเทวีและสิ่งอื่นๆให้มารวมอยูในพิพิธภัณฑและสร้าง สถานที่ที่เกี่ยวกับพระครูบาเจ้าศรีวิชัยภายในวัดและหมูบ้านตรงสถานที่ กําเนิด ในทีส่ ดุ ได้ทาํ บุญฉลองสมโภชเสาศิลาจารึกสถานทีก่ าํ เนิด ปราสาท หิ น อ อ นสถานที่ ม รณภาพและพิ พิ ธ ภั ณ ฑ บ ริ ข ารพระครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ในแตละครัง้ ใหญๆ ก็ได้ทลู เชิญเสด็จเชนทูลเชิญพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห วั โดยโปรดเกล้าโปรดกระหมอมให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมารเสด็จแทนพระองค ปพ.ศ. ๒๕๓๖ และทูลเชิญเสด็จสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ป พ.ศ.๒๕๓๔ การถวายเครือ่ ง อัฏฐบริขาร ๑,๐๐๐ ชุด แดพระสงฆ ๑,๐๐๐ รูป ซึ่งจากการบอกเลาวา หลังจากการสร้างทางขึ้นดอยสุเทพ พระครูบาเจ้าศรีวิชัยตั้งใจถวายเครื่อง อั ฏ ฐบริ ข าร ๑,๐๐๐ ชุ ด และสั่ ง ให้ ร ้ า นทํ า แต เ สร็ จ เป น บางส ว นพอดี


๓๑๐

พระครูบาเจ้าฯ ถูกกลาวหาคดีความ หลังจากนั้นก็อาพาธหนักขึ้นเลย ไมได้ถวายเครือ่ งอัฏฐบริขาร ข้าพเจ้าเห็นวาทานตัง้ ใจถวายเครือ่ งอัฏฐบริขาร ต้องสืบสานปณิธานให้สําเร็จ ในการฉลองพิพิธภัณฑในปพุทธศักราช ๒๕๓๖ เปนภาระอันใหญหลวงยิ่งที่ต้องรับผิดชอบแตเพียงผู้เดียว ปจจัย การเงินขัดข้อง เหลือเพียง ๒-๓ วัน งานก็จะเริ่ม ในขณะนั้นข้าพเจ้าอยาก ให้โลกหยุดหมุน ขอทุกอยางอยาได้ไหวติง ต้องพยายามรวบรวมสติและ กําลังใจอยางมาก เวลานัน้ สัง่ เครือ่ งอัฏฐบริขารจากกรุงเทพฯ ไปลําพูนต้อง ใช้จายเปนเงินทั้งหมด ๒,๒๔๐,๐๐๐ บาท ในที่สุดก็แก้สถานการณได้ครึ่ง โดยให้ทางร้านสงของให้ทางวัดจัดการทําบุญให้ทันเวลา บทพิสจู นการทํางานทีท่ มุ เทสุดชีวติ จิตใจไมนกึ วา ตนเองจะอยูห รือ ตาย ข้าพเจ้าทุม เทพลังทุกอณูเพือ่ เทิดทูนบูชาและเจริญรอยตามบาทวิถขี อง พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ด้วยความอดทน อุตสาหะ มัน่ คงในหัวใจ ทีร่ กั เทิดทูน เคารพบูชาและศรัทธา ในที่สุดฟาที่มืด ชีวิตที่ปวดร้าวก็เห็นแสงสวาง คลี่คลายจากมรสุม ข้าพเจ้าคิดวานาจะเปนความสําเร็จยิ่งใหญ แตชีวิตได้ ถูกลิขติ มิให้หลงยินดีในสิง่ ใด ข้าพเจ้ามีความเชือ่ มัน่ ตอวิญญาณอันบริสทุ ธิ์ ของพระครูบาเจ้าศรีวิชัยผู้จุดประกายแหงธรรมในหัวใจตั้งแตแรกเริ่ม แม้ เสียงรอบข้างจะโจษขานให้ร้ายใสไฟทําลายชื่อเสียง แตไมรู้สึกเจ็บปวด และไมเห็นวาใครจะเปนอุปสรรค ข้าพเจ้าถือวาชีวติ มีหวั ใจของพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยเปนหนึ่งเดียวก็สุดคุ้มเกินกวาที่จะพรรณนาแล้ว.


๓๑๑

หลั ก หั ว ใจพรหมจรรย หลั ก ที่ จ ะต อ งสั ง วรและปฏิ บั ติ ๒๓ ประการ

๑. จะต้องอดทนขมอินทรียอยางยิ่ง ๒. จะต้องไมตกเปนทาสของรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสและอารมณใดๆ ทั้งสิ้น ๓. จะต้องสํารวมกาย วาจา ใจ ไมให้ฟุงซาน ๔. จะต้องไมหลงใหลในวัตถุอันเปนเหตุตัณหากามคุณ ๕. จะต้องถือสันโดษ ไมหลงอํานาจ ลาภ ยศ สิ่งสักการบูชา ๖. จะต้องไมหลงระเริงยึดติดอยูกับการยกยองสรรเสริญ ๗. จะต้องไมปลอยตนประพฤติให้เกิดความเสื่อมเสียเปนอันขาด ๘. จะต้องพิจารณาโดยแยบคายกอนแล้วบริโภคปจจัยสี่ ๙. จะต้องพิจารณาเห็นความไมงามและโทษภัยของรางกาย ๑๐. จะต้องเห็นโทษภัยของตัณหากามคุณกิเลสเปนภัยอันใหญหลวง ๑๑. จะต้องพิจารณาให้เห็นชีวิตนี้ถูกไฟเผาไหม้อยูตลอดเวลา ๑๒. จะต้องพิจารณาให้เห็นความตายอยูแคปลายจมูก ๑๓. จะต้องมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียงเหมือนเสี้ยนหนาม ๑๔. จะต้องมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียงคือภัยทําลายความสงบสุข ๑๕. จะต้องมองเห็นลาภสักการะเหมือนกองอุจจาระ ๑๖. จะต้องมองเห็นทรัพยสมบัติใดๆในโลกเปนเพียงภาพลวงตา ๑๗. จะต้องมองเห็นสิ่งมหัศจรรยที่สุดของโลกคือความเปนอนิจจัง


๓๑๒

๑๘. จะต้องมองเห็นมรดกอันยิ่งใหญของโลกคือความวางเปลา ๑๙. จะต้องสงบนิ่งและเรียบงายที่สุด ๒๐. จะต้องทําจิตใจให้สะอาดบริสุทธิ์ผองใสอยูเสมอ ๒๑. จะต้องพิจารณามรณานุสสติ (นึกถึงความตาย) เปนอารมณ ๒๒. จะต้องมองชีวิตและโลกเปนของวาง ๒๓. จะต้องมีเมตตาธรรม เสียสละเพื่อประโยชนสุขเกื้อกูลแกชนทั้งหลาย ภิกษุอานันท พุทธธัมโม


๓๑๓

รายนามผู  ร  ว มบริ จ าค สร า งหนั ง สื อ มหั ศ จรรย พ ระครู บ าเจ า ศรี วิ ชั ย


๓๑๔




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.