รายงานสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ปี 2556

Page 1



ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

คํานํา สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2556 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหทราบถึงขอมูลประชากรและ กําลังแรงงาน ความตองการแรงงาน การเดินทางไปทํางานตางประเทศ การทํางานของคนตางดาว และภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน เอกสารฉบับนี้สําเร็จไดดวยการสนับสนุนขอมูลจากสํานักงาน สถิ ติ แ ห ง ชาติ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม สํ า นั ก งานบริ ห ารแรงงานไทยไปต า งประเทศ สํานักบริหารแรงงานตางดาว กองแผนงานและสารสนเทศ และสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัด ภาคเหนือ ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ขอขอบคุณทุกหนวยงานที่ไดใหการสนับสนุน ขอมูล และหวังเปนอยางยิง่ วาขอมูลเหลานีจ้ ะเปนประโยชนทงั้ หนวยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ นีห้ าก ท า นมี ข  อ เสนอแนะที่ เ ป น ประโยชน ใ นการจั ด ทํ า ครั้ ง ต อ ไปขอได โ ปรดติ ด ต อ โดยตรงที่ ศูนยขา วสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ศูนยราชการชัน้ 3 ถ.วชิราวุธดําเนิน ต.พระบาท อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52000 หรือแจงทางโทรศัพทไดที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง เมษายน 2557


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ก-ข

ประชากรและกําลังแรงงาน • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ • ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน • ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห • ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน

1 2 3 3 3 4 4

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2556 • ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน

5 6

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน

6

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน • จําแนกตามรายจังหวัด • จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

7 7 8

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ • จําแนกตามวิธีการเดินทาง • จําแนกตามรายประเทศ • จําแนกตามรายจังหวัด

9 9 9 10

แรงงานตางดาว • จําแนกตามรายจังหวัด • จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน

10 11 11


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9

จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห จํานวนผูวางงานและอัตราการวางงาน จําแนกตามรายจังหวัด ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบป 2555 กับป 2556 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และจํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด ตารางที่ 10 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และจํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทาง ไปทํางานตางประเทศ ตารางที่ 12 จํานวนคนตางดาวถูกกฎหมาย และคนตางดาวผิดกฎหมายเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2555 และ ณ ธันวาคม 2556

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิที่ 3 แผนภูมิที่ 4 แผนภูมิที่ 5

โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานป 2556 ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน การบรรจุงานเปรียบเทียบป 2555 และป 2556 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2555 และ ณ ธันวาคม 2556

1 2 2 3 3 4 4 5 7 8 10 11

หนา 1 5 9 9 10


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

บทสรุปสําหรับผูบริหาร สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2556 สรุปไดดังนี้ ประชากรและกําลังแรงงาน

ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําและการวางงานของประชากรป 2556 ขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ ภาคเหนือ มีประชากรประมาณ 12.27 ลานคน เปนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปประมาณ 10.19 ลานคน รอยละ 83.05 จําแนกเปน ผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 7.33 ลานคน รอยละ 59.76 ประกอบดวยผูมีงานทําประมาณ 7.26 ลานคน รอยละ 59.20 ผูวางงานประมาณ 41,525 คน รอยละ 0.34 และผูรอฤดูกาลประมาณ 27,265 คน รอยละ 0.22 เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมาผูม งี านทําลดลงรอยละ 0.07 เปนผูม งี านทําจําแนกประเภทอาชีพผูป ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี ม อื ในดานการเกษตรและการประมงมากทีส่ ดุ รอยละ 44.51 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมโดยเปนผูท าํ งานภาคเกษตรกรรม รอยละ 49.29 และภาคนอกเกษตรกรรมรอยละ 50.71 จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จสวนใหญเปนผูไมมีการศึกษาถึง สําเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษามากทีส่ ดุ รอยละ 57.54 จําแนกตามสถานภาพการทํางานเปนผูม งี านทําประกอบธุรกิจ สวนตัวมากที่สุดรอยละ 34.41 และจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาหสวนใหญทํางาน 40-49 ชั่วโมงตอสัปดาหซึ่ง ถือวาเปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการทํางานรอยละ 39.51 ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน ผูว า งงานประมาณ 41,525 คน อัตราการวางงานรอยละ 0.57 จังหวัดอุตรดิตถ มีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 0.98 สําหรับจังหวัดนานมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.25

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2556

ขอมูลบริการจัดหางานในประเทศของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือสรุปไดดังนี้

ความตองการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 71,649 อัตรา เพิ่มขึ้น จากปที่ผานมารอยละ 14.65 จังหวัดเชียงใหมมีความตองการแรงงานมากที่สุดรอยละ 16.48 สําหรับจังหวัดแมฮองสอน มีความตองการแรงงานนอยที่สุดรอยละ 1.63 ผูสมัครงาน ลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 109,039 คน เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 57.60 จังหวัดเชียงใหม มีผูสมัครงานมากที่สุดรอยละ 16.35 การบรรจุงาน ผูสมัครงานที่ไดรับการบรรจุงาน จํานวน 65,766 คน เพิ่มขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 13.49 จังหวัดเชียงใหมมีผูไดรับการบรรจุงานมากที่สุดรอยละ 15.50

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน

ภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือป 2556 ชะลอตัวลงมากจากปกอน มีเพียงการทองเที่ยวที่ยังคงขยายตัวดีมาก ขณะที่ การอุปโภคและการสงออกชะลอมาก สวนการลงทุนภาคเอกชน การใชจา ยภาครัฐ ผลผลิตอุตสาหกรรมและรายไดเกษตรกร ลดลง สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจในประเทศอยูในเกณฑดี อัตราเงินเฟอชะลอลง อัตราการวางงานอยูในระดับตํ่า เงินฝาก และสินเชื่อชะลอตัว


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน

โรงงานทีไ่ ดรบั อนุญาตใหประกอบกิจการกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมป 2556 จํานวน 846 แหง เงินลงทุน 39,663.94 ลานบาท และกอใหเกิดการจางงาน 13,075 คน จําแนกจํานวนโรงงาน จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 18.91 รองลงมาคือ จังหวัดลําปางรอยละ 10.87 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 9.34 จําแนกตามการลงทุน จังหวัดนานมีมลู คาการลงทุนมากทีส่ ดุ รอยละ 25.76 รองลงมาคือจังหวัดลําปางรอยละ 12.82 และจังหวัดพิษณุโลกรอยละ 9.04 จําแนกตามการจางงาน จังหวัดตากมีการจางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 17.36 รองลงมาจังหวัดลําปางรอยละ 14.67 และ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 11.69 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมเกษตรกรรมเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาต ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ รอยละ 23.76 รองลงมาคืออุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอรและเครือ่ งเรือนรอยละ 21.28 และอุตสาหกรรม ทั่วไปรอยละ 12.88

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ

แรงงานไทยที่ไดรับอนุญาตไปทํางานตางประเทศ จํานวน 16,304 คน ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 5.80 เดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดสงมากที่สุดรอยละ 54.34 ประเทศไตหวันเปนประเทศที่มีแรงงานเดินทางไปมากที่สุด รอยละ 40.16 และจังหวัดลําปางเปนจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุดรอยละ 17.04

แรงงานตางดาว

แรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2556 จํานวน 181,207 คน จําแนกเปนคนตางดาว ถูกกฎหมายรอยละ 73.90 และคนตางดาวเขาเมืองผิดกฎหมายรอยละ 26.10 ของแรงงานที่ไดรับอนุญาตทํางาน เมื่อ เปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้นรอยละ 29.47 จังหวัดเชียงใหมมีแรงงานตางดาวรอยละ 57.37 เปนแรงงาน พิสูจนสัญชาติรอยละ 65.13 รองลงมาคือ ชนกลุมนอยรอยละ 21.70 และคนตางดาวประเภททั่วไปรอยละ 4.81 ตามลําดับ


1

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ประชากรและกําลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานป 2556

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน ผูมีอายุ 15 ป ขึ้นไป

ป 2555 จํานวน (คน)

ป 2556 รอยละ

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

10,111,849

82.65

10,191,033

83.05

79,184

0.78

7,341,478

60.01

7,332,912

59.76

-8,566

-0.12

1.1 กําลังแรงงานปจจุบัน

7,314,591

59.79

7,305,647

59.54

-8,944

-0.12

1.1.1 ผูมีงานทํา

7,269,328

59.42

7,264,122

59.20

-5,206

-0.07

1.1.2 ผูวางงาน

45,263

0.37

41,525

0.34

-3,738

-8.26

26,887

0.22

27,265

0.22

378

1.41

2,770,371

22.64

2,858,121

23.29

87,750

3.17

2.1 ทํางานบาน

802,315

6.56

815,236

6.64

12,921

1.61

2.2 เรียนหนังสือ

807,453

6.60

813,453

6.63

6,000

0.74

1,160,603

9.49

1,229,433

10.02

68,830

5.93

2,122,086

17.35

2,079,639

16.95

-42,447

-2.00

12,233,935

100.00

12,270,672

100.00

36,737

0.30

1. ผูอยูในกําลังแรงงาน

1.2 ผูที่รอฤดูกาล 2. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน

2.3 อื่น ๆ ผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป ประชากรรวม อัตราการวางงาน

0.62

0.57

ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําและการวางงานของประชากรป 2556 โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวามีประชากรประมาณ 12.27 ลานคน เปนผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 7.33 ลานคน รอยละ 59.76 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด และผูไมอยูในกําลังแรงงานรวมถึงผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป ประมาณ 4.94 ลานคน รอยละ 40.24 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด ผูอยูในกําลังแรงงาน จํานวน 7,332,912 คน ประกอบดวยผูมีงานทํารอยละ 59.20 ผูวางงานรอยละ 0.34 และผูที่รอฤดูกาลรอยละ 0.22 ผูไมอยูในกําลังแรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป) จํานวน 2,858,121 คน ประกอบดวย แมบาน ทํางานบานรอยละ 6.64 นักเรียน นิสิต นักศึกษา รอยละ 6.63 และอืน่ ๆ เชน เด็ก คนชรา ผูป ว ย ผูพ กิ ารจนไมสามารถทํางานไดรอ ยละ 10.02 เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมาพบวาประชากรเพิม่ ขึน้ รอยละ 0.30 ผูมีงานทําลดลงรอยละ 0.07 และผูวางงานลดลงรอยละ 8.26 อัตราการวางงานลดลงจากรอยละ 0.62 เปนรอยละ 0.57


2

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ

ป 2555 จํานวน (คน)

ป 2556 รอยละ

จํานวน (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ

124,775

1.72

167,348

2.30

42,573

34.12

ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ

296,771

4.08

306,798

4.22

10,027

3.38

ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ

155,028

2.13

183,882

2.53

28,854

18.61

เสมียน

208,627

2.87

197,304

2.72

-11,323

-5.43

พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาด

1,183,412

16.28

1,104,489

15.20

-78,923

-6.67

ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมง

3,174,782

43.67

3,233,402

44.51

58,620

1.85

ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ

859,028

11.82

852,523

11.74

-6,505

-0.76

ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ

317,273

4.36

368,940

5.08

51,667

16.28

อาชีพขัน้ พืน้ ฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ

949,416

13.06

846,687

11.66

-102,729

-10.82

216

0.003

2,748

0.04

2,532

1,172.22

100.00 7,264,122

100.00

-5,206

-0.07

คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น รวม

7,269,328

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ

ผูมีงานทําประมาณ 7.26 ลานคน ทํางานในอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุดรอยละ 44.51 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาดรอยละ 15.20 และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจการคาที่เกี่ยวของรอยละ 11.74 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาโดยรวมลดลงรอยละ 0.07 ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม 1. ภาคเกษตรกรรม - เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 2. นอกภาคเกษตรกรรม - การทําเหมืองแร และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟา กาซ ไอนํ้า และระบบปรับอากาศ - การจัดหานํ้า การจัดการ การบําบัดนํ้าเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การกอสราง - การขายสงและการขายปลีก การซอมแซมยานยนต และรถจักรยานยนต - การขนสง และสถานที่เก็บสินคา - กิจกรรมโรงแรม และการบริการดานอาหาร - ขอมูลขาวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การปองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการดานอื่นๆ - กิจกรรมการจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินคา และบริการ ที่ทําขึ้นเองเพื่อใชในครัวเรือน - กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ - ไมทราบ รวม

ป 2555

ป 2556

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

3,582,521

49.28

3,580,266

49.29

-2,255

-0.06

3,582,521

49.28

3,580,266

49.29

-2,255

-0.06

3,686,807

50.72

3,683,857

50.71

-2,950

-0.08

15,336 661,669 19,018 11,315 553,136 998,840 78,119 337,749 17,842 53,432 10,533 19,211 34,258 319,636 233,532 134,663 45,972 103,228 38,456

0.21 9.10 0.26 0.16 7.61 13.74 1.07 4.65 0.25 0.74 0.14 0.26 0.47 4.40 3.21 1.85 0.63 1.42 0.53

15,922 704,530 19,675 15,108 546,456 949,196 81,213 332,582 15,752 68,277 13,208 18,430 39,755 317,357 233,640 130,204 42,259 99,726 37,048

0.22 9.70 0.27 0.21 7.52 13.07 1.12 4.58 0.22 0.94 0.18 0.25 0.55 4.37 3.22 1.79 0.58 1.37 0.51

586 42,861 657 3,793 -6,680 -49,644 3,094 -5,167 -2,090 14,845 2,675 -781 5,497 -2,279 108 -4,459 -3,713 -3,502 -1,408

3.82 6.48 3.45 33.52 -1.21 -4.97 3.96 -1.53 -11.71 27.78 25.40 -4.07 16.05 -0.71 0.05 -3.31 -8.08 -3.39 -3.66

862 0

0.01 0.00

1,372 2,147

0.02 0.03

510 2,147

59.16 100.00

7,269,328

100.00

7,264,122

100.00

-5,206

-0.07


3

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผูทํางานภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.58 ลานคน รอยละ 49.29 ไดแกอุตสาหกรรมเกษตรกรรม การปาไมและประมง สําหรับผูทํางานนอก ภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.68 ลานคน รอยละ 50.71 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายสง และการขายปลีก การซอมแซมยานยนต และ รถจักรยานยนตมากที่สุดรอยละ 13.07 รองลงมาคือ การผลิตรอยละ 9.70 และการกอสรางรอยละ 7.52 นอกนั้นกระจายอยูในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ ระดับการศึกษาที่สําเร็จ ไมมีการศึกษา ตํ่ากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไมทราบ รวม หมายเหตุ

ป 2555

ป 2556

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

567,079 2,260,313 1,486,499 1,056,831 922,118 724,587 194,134 3,397 961,275 505,174 331,926 124,175 13,241 1,970 7,269,328

7.80 31.09 20.45 14.54 12.69 9.97 2.67 0.05 13.22 6.95 4.57 1.71 0.18 0.03

537,107 2,102,627 1,540,271 1,101,757 953,563 754,456 197,707 1,400 1,018,072 550,978 325,892 141,202 7,168 3,558

7.39 28.95 21.20 15.17 13.60 10.39 2.72 0.02 14.02 7.58 4.49 1.94 0.10 0.05

-29,972 -157,686 53,772 44,926 31,445 29,869 3,573 -1,997 56,797 45,804 -6,034 17,027 -6,073 1,588

-5.29 -6.98 3.62 4.25 3.41 4.12 1.84 -58.79 5.91 9.07 -1.82 13.71 -45.87 80.61

100.00

7,264,122

100.00

-5,206

-0.07

1. ไมมีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไมเคยเขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่สําเร็จการศึกษาที่ไมสามารถเทียบชั้นได 3. ผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไมพบตัวผูใหสัมภาษณ/คนใหขอมูลไมรูขอมูล

ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูมีงานทําสวนใหญไมมีการศึกษาถึงระดับประถมศึกษามากที่สุดรอยละ 57.54 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 15.17 และ ระดับอุดมศึกษารอยละ 14.01 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาผูมีงานไมทราบวุฒิการศึกษามีจํานวนเพิ่มขึ้นมากที่สุดรอยละ 80.61 ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน สถานภาพการทํางาน นายจาง ลูกจางรัฐบาล ลูกจางเอกชน ทํางานสวนตัว ชวยธุรกิจครัวเรือน การรวมกลุม* รวม หมายเหตุ

ป 2555

ป 2556

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

149,873 700,847 1,988,472 2,484,876 1,939,591 5,668

2.06 9.64 27.35 34.18 26.68 0.08

153,056 706,043 1,965,677 2,499,633 1,932,827 6,886

2.11 9.72 27.06 34.41 26.61 0.09

3,183 5,196 -22,795 14,757 -6,764 1,218

2.12 0.74 -1.15 0.59 -0.35 21.49

7,269,328

100.00

7,264,122

100.00

-5,206

-0.07

การรวมกลุม* หมายถึง กลุมคนที่มารวมกันทํางานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพึ่งตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแตละคน มีความเทาเทียมกัน ในการกําหนดการทํางานทุกขั้นตอนไมวาเปนการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ทําตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุมดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณหรือไมก็ได)

ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน

ผูมีงานทําทํางานสวนตัวมากที่สุดรอยละ 34.41 รองลงมาคือ ลูกจางเอกชนรอยละ 27.06 และชวยธุรกิจในครัวเรือนรอยละ 26.61 เมื่อ เปรียบเทียบกับปที่ผานมา ผูมีงานทําประเภทการรวมกลุมเพิ่มขึ้นมากที่สุดรอยละ 21.49 รองลงมาคือ นายจางรอยละ 2.12 และลูกจางรัฐบาลรอยละ 0.74 ตามลําดับ


4

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห ป 2555

ชั่วโมงการทํางาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมง ขึ้นไป รวม

ป 2556

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

47,978 23,621 144,723 514,338 370,294 801,847 2,690,431 2,676,096

0.66 0.32 1.99 7.08 5.09 11.03 37.01 36.81

44,478 18,064 121,536 490,870 402,097 881,984 2,870,393 2,434,700

0.61 0.25 1.67 6.76 5.54 12.14 39.51 33.52

-3,500 -5,557 -23,187 -23,468 31,803 80,137 179,962 -241,396

-7.30 -23.53 -16.02 -4.56 8.59 9.99 6.69 -9.02

7,269,328

100.00

7,264,122

100.00

-5,206

-0.07

ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูมีงานทําสวนใหญทํางาน 40-49 ชั่วโมงตอสัปดาห ซึ่งถือวาเปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน รอยละ 39.51 ผูทํางาน 50 ชั่วโมง ตอสัปดาหขนึ้ ไปรอยละ 33.52 และผูท าํ งาน 35-39 ชัว่ โมงตอสัปดาหรอ ยละ 12.14 เมือ่ เปรียบเทียบกับปทผี่ า นมาชัว่ โมงการทํางานโดยรวมลดลง ยกเวน ผูทํางาน 35-39 ชั่วโมงตอสัปดาห ผูมีงานทํา 30-34 ชั่วโมงตอสัปดาห และผูทํางาน 40-49 ชั่วโมงตอสัปดาหมีจํานวนเพิ่มขึ้นรอยละ 9.99 รอยละ 8.59 และรอยละ 6.69 ตามลําดับ ตารางที่ 7 จํานวนผูวางงานและอัตราการวางงาน จําแนกตามรายจังหวัด รายจังหวัด เชียงใหม ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ รวม

ป 2555 ผูวางงาน (คน)

ป 2556

อัตราการวางงาน

ผูวางงาน (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง

อัตราการวางงาน

จํานวน (คน)

รอยละ

7,657 885 1,788 1,964 1,481 2,193 527 6,452 305 4,922 302 3,541 2,147 3,193 3,237 1,668 3,005

0.78 0.32 0.37 0.71 0.48 0.71 0.17 0.88 0.20 0.71 0.15 0.81 0.69 0.82 0.65 0.46 0.49

7,856 1,248 2,041 2,699 1,865 780 1,432 3,638 601 3,199 1,080 3,090 1,962 2,900 3,245 2,280 1,609

0.81 0.44 0.42 0.98 0.60 0.25 0.46 0.48 0.39 0.47 0.56 0.69 0.64 0.73 0.65 0.64 0.27

199 363 253 735 384 -1,413 905 -2,814 296 -1,723 778 -451 -185 -293 8 612 -1,396

2.60 41.02 14.15 37.42 25.93 -64.43 171.73 -43.61 97.05 -35.01 257.62 -12.74 -8.62 -9.18 0.25 36.69 -46.46

45,263

0.62

41,525

0.57

-3,738

-8.26

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติ ผลรวมของแตละจํานวนอาจไมเทากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของขอมูลแตละจํานวนซึ่งไดจากการ ประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน

จํานวนผูวางงานประมาณ 41,525 คน ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 8.26 และอัตราการวางงานลดลงจากรอยละ 0.62 เปนรอยละ 0.57 เมื่อ พิจารณาเปนรายจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถมีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 0.98 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 0.81 และจังหวัดสุโขทัยรอยละ 0.73 สําหรับจังหวัดนานมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.25


5

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือป 2556

กรมการจัดหางาน สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือป 2556 ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ และอุทัยธานี นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 71,649 อัตรา ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 109,039 คน และสามารถบรรจุงานได จํานวน 65,766 คน แผนภูมิที่ 2 ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบป 2555 และป 2556 จํานวน (อัตรา/คน)

ป 2555

120,000

ป 2556

109,039

100,000 80,000 62,496

60,000

71,649

69,188 57,948

65,766

40,000 20,000 0

ความตองการแรงงาน

ผูสมัครงาน

การบรรจุงาน

ตารางที่ 8 ความตองการแรงงาน ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบป 2555 กับป 2556 จังหวัด

ความตองการแรงงาน (อัตรา) การเปลี่ยนแปลง ป 2555

ป 2556

ผูสมัครงาน (คน)

จํานวน รอยละ ป 2555 ป 2556

การเปลี่ยนแปลง การบรรจุงาน (คน) การเปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ ป 2555 ป 2556 จํานวน รอยละ

กําแพงเพชร

3,413

3,690

277

8.12

3,425

4,624

1,199

35.01

2,165

3,612

1,447 66.84

เชียงราย

3,311

5,272

1,961

59.23

6,406

11,447

5,041

78.69

3,293

4,999

1,706 51.81

เชียงใหม

13,601

11,807

-1,794 -13.19

11,858

17,827

5,969

50.34

ตาก

1,118

1,311

193

17.26

2,229

4,212

1,983

88.96

1,028

1,275

247 24.03

นครสวรรค

5,099

5,813

714

14.00

5,299

10,397

5,098

96.21

5,482

5,875

393

นาน

2,824

2,699

-125

-4.43

2,131

4,352

2,221 104.22

2,085

2,609

524 25.13

พะเยา

1,337

1,931

594

44.43

2,374

4,906

2,532 106.66

1,314

2,102

788 59.97

พิจิตร

1,766

2,394

628

35.56

2,863

5,209

2,346

81.94

1,607

1,427

-180 -11.20

พิษณุโลก

3,718

3,964

246

6.62

6,521

7,179

658

10.09

6,259

8,142

1,883 30.08

เพชรบูรณ

5,171

9,067

3,896

75.34

4,221

4,287

66

1.56

2,998

3,292

แพร

2,639

4,561

1,922

72.83

2,668

5,179

2,511

94.12

2,707

4,142

1,435 53.01

808

1,166

358

44.31

1,006

1,947

941

93.54

761

1,108

347 45.60

ลําปาง

4,926

4,979

53

1.08

5,131

9,086

3,955

77.08

3,070

5,023

1,953 63.62

ลําพูน

6,772

5,099

-1,673 -24.70

5,290

7,932

2,642

49.94

6,332

4,679 -1,653 -26.11

สุโขทัย

2,455

2,642

7.62

2,142

3,928

1,786

83.38

2,601

2,742

อุตรดิตถ

1,268

3,154

1,886 148.74

2,564

3,322

758

29.56

1,638

2,684

อุทัยธานี

2,270

2,100

-170

-7.49

3,060

3,205

145

4.74

1,984

1,858

รวม

62,496

71,649

9,153

14.65

แมฮองสอน

ที่มา : กองแผนงานและสารสนเทศ

187

69,188 109,039 39,851 57.60

12,624 10,197 -2,427 -19.23

294

141

7.17

9.81

5.42

1,046 63.86 -126

-6.35

57,948 65,766 7,818 13.49


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

6

ความตองการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจาง แจงตําแหนงงานวาง จํานวน 71,649 อัตรา โดยจังหวัดที่มีความตองการแรงงาน มากที่สุดไดแก จังหวัดเชียงใหม จํานวน 11,807 อัตรา คิดเปนรอยละ 16.48 รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ จํานวน 9,067 อัตรา คิดเปนรอยละ 12.65 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 5,813 อัตรา คิดเปนรอยละ 8.11 จังหวัดที่มีความตองการแรงงานนอยที่สุดคือ จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 1,166 อัตรา คิดเปนรอยละ 1.63 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2555 ความตองการแรงงานเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 14.65 ผูส มัครงาน ผูส มัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 109,039 คน จังหวัดเชียงใหมมผี สู มัครงานมากทีส่ ดุ จํานวน 17,827 คน คิดเปนรอยละ 16.35 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย จํานวน 11,447 คน คิดเปนรอยละ 10.50 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 10,397 คน คิดเปนรอยละ 9.54 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ป 2555 ผูสมัครงานเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 57.60 การบรรจุงาน ผูสมัครงานที่ไดรับการบรรจุงานทั้งหมด จํานวน 65,766 คน จังหวัดเชียงใหมมีการบรรจุงานมากที่สุด จํานวน 10,197 คน คิดเปนรอยละ 15.50 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 8,142 คน คิดเปนรอยละ 12.38 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 5,875 คน คิดเปนรอยละ 8.93 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2555 มีการบรรจุงานเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 13.49

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน ภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือป 2556 ชะลอตัวลงมากจากปกอน มีเพียงการทองเที่ยวที่ยังคงขยายตัวดีมากขณะที่การอุปโภคบริโภคและ การสงออกชะลอลงมาก สวนการลงทุนภาคเอกชน การใชจายภาครัฐ ผลผลิตอุตสาหกรรมและรายไดเกษตรกรลดลง สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจใน ประเทศอยูใ นเกณฑดี อัตราเงินเฟอชะลอลง อัตราการวางงานอยูใ นระดับตํา่ เงินฝากและสินเชือ่ ชะลอตัว ดานอุปสงค ชะลอตัวมากทั้งจากภาวะการคาและการใชจายภาคเอกชนขยายตัวเพียงเล็กนอยเนื่องจากไมมีมาตรการกระตุนการใชจายเชน ปกอน ความเชื่อมั่นและกําลังซื้อของผูบริโภคลดลงจากภาระหนี้สินปรับสูงขึ้นและรายไดภาคเกษตรลดลง อยางไรก็ดียอดจําหนายสินคาจําเปน ในการอุปโภคบริโภคยังเพิ่มขึ้นรวมทั้งวัสดุกอสรางยังขยายตัวตามโครงการตอเนื่องในภาคอสังหาริมทรัพย แตมีแนวโนมชะลอตัวลงชวงครึ่งปหลัง ดานการลงทุนลดลงผลจากเรงตัวมากในปกอนซึ่งมีการเรงฟนฟูและปองกันอุทกภัยของภาครัฐ และการกอสรางทั้งแนวราบและแนวดิ่งของภาคเอกชน การเบิกจายงบประมาณผานคลังจังหวัดลดลง เปนผลจากปกอนมีการเบิกจายสูงและการประกาศใชพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายป 2557 ลาชา ทางดานการสงออกเพิ่มขึ้นตามการสงออกสินคาอุปโภคบริโภคและนํ้ามันเชื้อเพลิงผานดานชายแดน รวมทั้งการสงออกชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสผาน ดานศุลกากร ดานอุปทาน ขยายตัวเล็กนอย โดยการทองเที่ยวขยายตัวดีมากตอเนื่องจากปกอนเปนผลจากความนิยมเขามาทองเที่ยวของชาวจีน สภาพ อากาศหนาวเย็นเอื้อตอการทองเที่ยว การจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวและงานประชุมสัมมนา การผลิตสินคาเกษตรลดลง เพราะไดรับผลกระทบ จากภัยแลงและสภาพอากาศแปรปรวนในชวงครึ่งปแรกทําใหผลผลิตพืชสําคัญลดลง ไดแก ขาวนาปรัง ออยโรงงาน สับปะรด ลําไย และลิ้นจี่ สําหรับ มันสําปะหลัง ถั่วเหลือง หอมแดง กระเทียม และหอมใหญ ลดลงเนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่คาดวาไดรับตอบแทนดีกวา ทาง ดานราคาสินคาเกษตรลดลงจากราคาขาว ขาวโพดเลีย้ งสัตว และออยโรงงาน ตามราคาตลาดโลกสงผลใหรายไดเกษตรกรลดลงจากปกอ น การผลิตสินคา อุตสาหกรรมลดลงเล็กนอย จากการผลิตขาวสารและนํ้าตาลตามการลดลงของวัตถุดิบ การผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลลดลงเพื่อรอความชัดเจนใน การปรับอัตราภาษี การผลิตเสื้อผาสําเร็จรูป เครื่องหนัง และเฟอรนิเจอร ลดลงตามความสามารถในการแขงขัน การผลิตสวนประกอบกลองถายภาพ คอมแพคและสวนประกอบฮารดดิสกไดรฟลดลงเนื่องจากลูกคาเปลี่ยนไปใชสินคาเทคโนโลยีใหม ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟอชะลอลงจากปกอ นตามราคาอาหารสดและนํา้ มันเชือ้ เพลิง อัตราการวางงานอยูใ นระดับตํา่ ตลอดทัง้ ป โดยผูประกอบการบางสาขายังประสบปญหาขาดแคลนแรงงานโดยเฉพาะแรงงานมีฝมือ ดานเงินฝากขยายตัวในอัตราชะลอลงจากฐานสูงในปกอน แตยังมีการระดมเงินฝากเพื่อรองรับการเติบโตของสินเชื่อ สําหรับเงินใหสินเชื่อแมชะลอตัวแตยังขยายตัวในเกณฑดีตามความตองการสินเชื่อของ ภาคธุรกิจเอกชน เชน สาขาคาสงคาปลีก ธุรกิจการเงิน และแปรรูปสินคาเกษตรรวมทั้งสินเชื่ออุปโภคบริโภคสวนบุคคลโดยเฉพาะเพื่อที่อยูอาศัยและ การเชาซื้อรถยนต ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ


7

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน ตารางที่ 9 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และจํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัด

จํานวนโรงงาน (แหง) ป 2555

ป 2556

เพิ่ม/ลด รอยละ

เงินลงทุน (ลานบาท) ป 2555

ป 2556

เพิ่ม/ลด รอยละ

การจางงาน (คน) ป 2555

ป 2556

เพิ่ม/ลด รอยละ

กําแพงเพชร

44

36

-18.18

4,228.59

1,485.26

-64.88

451

765

69.62

เชียงราย

75

61

-18.67

2,572.76

3,360.80

30.63

969

909

-6.19

เชียงใหม

61

79

29.51

1,305.47

3,060.64

134.45

1,328

1,528

15.06

ตาก

55

47

-14.55

696.55

2,182.88

213.38

2,743

1,277

-53.45

นครสวรรค

60

42

-30.00

676.49

2,285.17

237.80

328

424

29.27

นาน

18

50

177.78

204.13

10,215.96

4,904.63

145

738

408.97

พะเยา

17

22

29.41

264.04

684.32

159.17

103

304

195.15

พิจิตร

51

49

-3.92

1,026.28

1,881.80

83.36

480

403

-16.04

พิษณุโลก

50

64

28.00

1,405.98

3,585.39

155.01

804

2,270

182.34

เพชรบูรณ

60

42

-30.00

472.20

2,304.43

388.02

289

301

4.15

288

160

-44.44

350.43

365.72

4.36

1,651

937

-43.25

1

3

200.00

4.00

2.56

-36.00

6

24

300.00

ลําปาง

63

92

46.03

636.06

5,084.70

699.41

762

1,918

151.71

ลําพูน

30

27

-10.00

749.51

1,545.26

106.17

637

566

-11.15

สุโขทัย

17

38

123.53

104.25

1,131.48

985.35

151

411

172.19

อุตรดิตถ

29

25

-13.79

458.97

264.53

-42.36

350

219

-37.43

อุทัยธานี

14

9

-35.71

2,560.58

223.04

-91.29

320

81

-74.69

933

846

-9.32

17,716.29

39,663.94

123.88

11,517

13,075

13.53

แพร แมฮองสอน

รวม

การลงทุนในภาคเหนือป 2556 มีโรงงานที่ขออนุญาตประกอบกิจการใหม 846 แหง เงินลงทุน 39,663.94 ลานบาท และการจางงาน 13,075 คน เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาพบวามีโรงงานลดลงรอยละ 9.32 สําหรับเงินลงทุน และการจางงานขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 123.88 และ รอยละ 13.53 ตามลําดับ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 18.91 รองลงมาคือ จังหวัดลําปางรอยละ 10.87 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 9.34 เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดนานมีมูลคาการลงทุนมากที่สุดรอยละ 25.76 รองลงมาคือ จังหวัดลําปาง รอยละ 12.82 และจังหวัดพิษณุโลกรอยละ 9.04 สําหรับการจางงานจังหวัดพิษณุโลกมีการจางงานมากที่สุดรอยละ 17.36 รองลงมาคือ จังหวัดลําปาง รอยละ 14.67 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 11.69


8

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 10 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และจํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม

จํานวนโรงงาน (แหง) ป 2555

ป 2556

215

201

46

เครื่องดื่ม สิ่งทอ

เพิ่ม/ลด รอยละ

เงินลงทุน (ลานบาท)

การจางงาน (คน)

เพิ่ม/ลด รอยละ

ป 2555

ป 2556

เพิ่ม/ลด รอยละ

ป 2555

ป 2556

-6.51

5,808.40

6,687.87

15.14

1,735

1,827

5.30

37

-19.57

2,913.01

1,269.73

-56.41

967

1,496

54.71

2

6

200.00

16.75

171.46

923.64

46

82

78.26

7

2

-71.43

156.92

6.18

-96.06

558

188

-66.31

19

12

-36.84

128.74

92.32

-28.29

1,972

986

-50.00

1

1

0.00

5.50

3.22

-41.45

10

68

54

-20.59

382.51

200.79

-47.51

580

470

-18.97

299

180

-39.80

224.92

148.19

-34.11

1,903

1,216

-36.10

2

1

-50.00

9.05

0.00 -100.00

32

80

150.00

16

12

-25.00

418.81

342.70

-18.17

218

146

-33.03

ผลิตภัณฑปโตรเลียม

6

12

100.00

88.14

207.23

135.11

54

88

62.96

ผลิตภัณฑยาง

6

4

100.00

315.29

2,890.61

100.00

269

518

100.00

ผลิตภัณฑพลาสติก

11

12

9.09

107.12

100.74

-5.96

322

170

-47.20

ผลิตภัณฑอโลหะ

76

94

23.68

705.85

1,158.01

64.06

789

1,008

27.76

ผลิตภัณฑโลหะ

1

0

100.00

0.40

0.00

100.00

3

0

100.00

26

49

88.46

345.95

519.89

50.28

280

534

90.71

เครื่องจักรกล

9

12

33.33

29.10

68.48

135.33

73

361

394.52

ไฟฟา

2

3

50.00

161.85

373.50

130.77

148

290

95.95

ขนสง

39

45

15.38

863.72

1,580.82

83.02

531

852

60.45

ทั่วไป

82

109

32.93

5,034.26 23,842.20

373.60

1,027

2,633

156.38

933

846

-9.32 17,716.29 39,663.94

123.88

11,517

13,075

13.53

เกษตรกรรม อาหาร

เครื่องแตงกาย เครื่องหนัง ไมและผลิตภัณฑจากไม เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน กระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ เคมี

ผลิตภัณฑซอมแซมโลหะ

รวม

130 1,200.00

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมเกษตรกรรมเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 23.76 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอรและเครือ่ งเรือนรอยละ 21.28 และอุตสาหกรรมทัว่ ไปรอยละ 12.88 สําหรับอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีมลู คาการลงทุน มากที่สุดรอยละ 60.11 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมรอยละ 16.86 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางรอยละ 7.29 และเมื่อพิจารณาตามการ จางงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีการจางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 20.14 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมรอยละ 13.97 และอุตสาหกรรมอาหารรอยละ 11.44


9

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ แผนภูมิที่ 3 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง นายจางสงลูกจางไปฝกงาน 750 คน

นายจางพาลูกจางไปทํางาน 1,235 คน

การแจงเดินทางดวยตนเอง 2,348 คน

บริษทั จัดหางานจัดสง 8,860 คน กรมการจัดหางานจัดสง 3,111 คน

ขอมูลของสํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ กรมการจัดหางานป 2556 ที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จํานวน 16,304 คน ลดลงจากป 2555 รอยละ 5.80 จําแนกตามวิธีการเดินทาง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดสง จํานวน 8,860 คน รอยละ 54.34 รองลงมาไดแก การเดินทางโดย กรมการจัดหางานจัดสง จํานวน 3,111 คน รอยละ 19.08 การแจงเดินทางดวยตนเอง จํานวน 2,348 คน รอยละ 14.40 การเดินทางโดยนายจางพา ลูกจางไปทํางาน จํานวน 1,235 คน รอยละ 7.57 และการเดินทางโดยนายจางสงลูกจางไปฝกงาน จํานวน 750 คน รอยละ 4.60 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก

าร กาต

ลาว

โปร  สิงค

ประเทศ

สหร ัฐ

อาห

รับเ

ลิเบ ีย

อมิเ รตส 

ใต ริกา แอฟ

ุน ญี่ป

อิสร

าเอ

ี ัฐเก สาธ า

รณร

ไตห

วัน

าหล

จํานวน (คน)

จําแนกตามรายประเทศ ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 5 อันดับแรกไดแก ประเทศไตหวัน จํานวน 6,548 คน รอยละ 40.16 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จํานวน 2,014 คน รอยละ 12.35 ประเทศอิสราเอล จํานวน 940 คน รอยละ 5.77 ประเทศญีป่ นุ จํานวน 909 คน รอยละ 5.58 และประเทศแอฟริกาใต จํานวน 707 คน รอยละ 4.34


10

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปทํางานตางประเทศ ป 2555

จังหวัด

จํานวน (คน)

ป 2556 รอยละ

จํานวน (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

กําแพงเพชร

1,105

6.38

1,023

6.27

-82

-7.42

เชียงราย

2,808

16.22

2,758

16.92

-50

-1.78

เชียงใหม

890

5.14

816

5.00

-74

-8.31

1,182

6.83

1,336

8.19

154

13.03

นครสวรรค

796

4.60

635

3.89

-161

-20.23

นาน

472

2.73

574

3.52

102

21.61

พะเยา

772

4.46

792

4.86

20

2.59

พิจิตร

435

2.51

383

2.35

-52

-11.95

พิษณุโลก

949

5.48

841

5.16

-108

-11.38

เพชรบูรณ

903

5.22

791

4.85

-112

-12.40

แพร

443

2.56

393

2.41

-50

-11.29

63

0.36

43

0.26

-20

-31.75

ลําปาง

3,049

17.62

2,779

17.04

-270

-8.86

ลําพูน

448

2.59

364

2.23

-84

-18.75

สุโขทัย

2,113

12.21

1,997

12.25

-116

-5.49

อุตรดิตถ

698

4.03

651

3.99

-47

-6.73

อุทัยธานี

182

1.05

128

0.79

-54

-29.67

17,308

100.00

16,304

100.00

-1,004

-5.80

ตาก

แมฮองสอน

รวม

ที่มา : สํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปทํางานตางประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก จังหวัดลําปาง จํานวน 2,779 คน รอยละ 17.04 จังหวัดเชียงราย จํานวน 2,758 คน รอยละ 16.92 จังหวัดสุโขทัย จํานวน 1,997 คน รอยละ 12.25 จังหวัดตาก จํานวน 1,336 คน รอยละ 8.19 และจังหวัดกําแพงเพชร จํานวน 1,023 คน รอยละ 6.27

แรงงานตางดาว แผนภูมิที่ 5 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2555 และ ณ ธันวาคม 2556 จํานวน (คน)

าติ ัญช 3ส

อย ชนก ลุมน

งทุน ารล ริมก สงเ ส

นําเ ขา

ชาต ิ นสัญ พิสูจ

ป ทั่วไ

ตลอ

ดชีพ

ณ ธันวาคม 2555 ณ ธันวาคม 2556


11

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ตารางที่ 12 จํานวนคนตางดาวถูกกฎหมาย และคนตางดาวผิดกฎหมายเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2555 และ ณ ธันวาคม 2556 จังหวัด กําแพงเพชร

คนตางดาวถูกกฎหมาย (คน)

คนตางดาวผิดกฎหมาย (คน)

รวมคนตางดาวทั้งสิ้น (คน)

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ณ ธันวาคม 2555 ณ ธันวาคม 2556 ณ ธันวาคม 2555 ณ ธันวาคม 2556 ณ ธันวาคม 2555 ณ ธันวาคม 2556 จํานวน (คน)

รอยละ

3,480

5,368

1,554

274

5,034

5,642

608

12.08

เชียงราย

10,238

11,166

9,590

4,694

19,828

15,860

-3,968

-20.01

เชียงใหม

71,008

72,841

12,479

31,126

83,487

103,967

20,480

24.53

ตาก

1,514

26,036

3,892

893

5,406

26,929

21,523

398.13

นครสวรรค

4,150

4,719

1,473

229

5,623

4,948

-675

-12.00

นาน

337

430

259

15

596

445

-151

-25.34

พะเยา

1,019

1,074

252

219

1,271

1,293

22

1.73

พิจิตร

1,206

743

195

126

1,401

869

-532

-37.97

พิษณุโลก

250

2,302

110

153

360

2,455

2,095

581.94

เพชรบูรณ

3,582

3,435

6

620

3,588

4,055

467

13.02

แพร

541

848

141

206

682

1,054

372

54.55

แมฮองสอน

140

8

1,301

158

1,441

166

-1,275

-88.48

ลําปาง

1,199

2,289

105

624

1,304

2,913

1,609

123.39

ลําพูน

5,955

819

2,499

7,617

8,454

8,436

-18

-0.21

สุโขทัย

622

793

174

93

796

886

90

11.31

อุตรดิตถ

354

555

103

105

457

660

203

44.42

อุทัยธานี

67

487

163

142

230

629

399

173.48

รวม

105,662

133,913

34,296

47,294

139,958

181,207

41,249

29.47

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวัด 17 จังหวัดภาคเหนือ ขอมูลของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ณ เดือนธันวาคม 2556 แรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในภาคเหนือคงเหลือ จํานวน 181,207 คน จําแนกเปนคนตางดาวเขาเมืองถูกกฎหมาย จํานวน 133,913 คน รอยละ 73.90 ของแรงงานทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางาน และคนตางดาว เขาเมืองผิดกฎหมาย จํานวน 47,294 คน รอยละ 26.10 ของแรงงานที่ไดรับอนุญาตทํางาน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2555 โดยรวมเพิ่มขึ้น รอยละ 29.47 จําแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเปนรายจังหวัดแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหมจํานวน 103,967 คน รอยละ 57.37 รองลงมาคือ จังหวัดตากจํานวน 26,929 คน รอยละ 14.86 จังหวัดเชียงรายจํานวน 15,860 คน รอยละ 8.75 จังหวัดลําพูนจํานวน 8,436 คน รอยละ 4.66 และจังหวัดกําแพงเพชรจํานวน 5,642 คน รอยละ 3.11 ตามลําดับ จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน คนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุด จํานวน 118,016 คน รอยละ 65.13 รองลงมาคือ ชนกลุมนอย จํานวน 39,326 คน รอยละ 21.70 คนตางดาวประเภททั่วไป จํานวน 8,719 คน รอยละ 4.81 คนตางดาวตามมติ ครม. 3 สัญชาติ (พมา ลาว และกัมพูชา) จํานวน 7,968 คน รอยละ 4.40 และคนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU จํานวน 6,068 คน รอยละ 3.35 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2555 ประเภทคนตางดาวที่ไดรับอนุญาตเกือบทุกประเภทเพิ่มขึ้น ยกเวน คนตางดาวตามมติ ครม. 3 สัญชาติ (พมา ลาว และกัมพูชา) และคนตางดาวประเภทตลอดชีพ โดยลดลงรอยละ 53.66 และรอยละ 84.00




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.