มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ว า ร ส า ร ว� ท ย า ก า ร จั ด ก า ร มหาว�ทยาลัยราชภัฏเชียงราย วารสารวิชาการดานบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร นิเทศศาสตร และอุตสาหกรรมทองเที่ยว
Journal of
MANAGEMENT SCIENCE
ปที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2553 Vol.5 No.1 January - June 2010
CHIANGRAI RAJABHAT UNIVERSITY
Chiangrai Rajabhat University
ราคา
90 บาท
ชื่อภาพ “ปล่อยโคม” ขอขอบคุณ คุณณรงค์เดช สุดใจ ...ศิลปินล้านนา และสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏเชียงร�ย ที่อนุเคราะห์ภาพสำาหรับจัดทำาปกวารสารประจำาฉบับ
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย
ราย
า มห
วทิ ย า
วารสารวิ ท ยาการจั ด การ
ง ลยั ราชภัฏเชีย
ที่ปรึกษา
ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2553) ISSN 1906-2397 ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ
ผูชวยศาสตราจารยดร.มาณพ ภาษิตวิไลธรรม
ศาสตราจารย ดร. อนุรักษ ปญญานุวัฒน
รองศาสตราจารยสมเดช มุงเมือง
ศาสตราจารย ดร.มนัส สุวรรณ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณบดีคณะวิทยาการจัดการ
บรรณาธิการ ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล
กองบรรณาธิการ ดร.เสริมศิริ นิลดํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ดร.ขวัญฟา ศรีประพันธ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ดร.ซิมมี่ อุปรา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ดร.นิษฐา หรุนเกษม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ศาสตราจารย ดร.สําเนาว ขจรศิลป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย ดร.สมสุข หินวิมาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Professor Dr. Chandrakant Puri
SNDT Women’s University, India
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ฝายจัดการและธุรการ
มหาวิทยาลัยขอนแกน
กําหนดออก
ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัลปพฤกษ ผิวทองงาม อาจารยเบญวรรณ เบญจกรณ มหาวิทยาลัยขอนแกน นางอภิชยา สิทธิโสต ผูชวยศาสตราจารย วาลี ขันธุวาร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิรุณสิริ ใจมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
อาจารยปวีณา ลี้ตระกูล
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน, กรกฎาคม-ธันวาคม)
อัตราคาบอกรับสมาชิก
ปละ 180 บาท เลมละ 90 บาท สถานที่พิมพ บริษัท นันทพันธ พริ้นติ้ง จํากัด 33/4-5 หมู 6 ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100
ติดตอสงบทความที่ตีพิมพหรือบอกรับวารสารไดที่ กองบรรณาธิการ "วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย" คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู 9 ต.บานดู อ.เมือง จ.เชียงราย โทรศัพท 0-5377-6016 โทรสาร 0-5377-6057 E-mail address : JMS-CRU@hotmail.com “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” จัดพิมพขนึ้ เพือ่ เปนสือ่ กลางในการเผยแพร “บทความ วิชาการ” และ “บทความวิจัย” ทางดานบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร นิเทศศาสตร และอุตสาหกรรมทองเที่ยว หรือสาขาอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวของ บทความที่ตีพิมพในวารสารนี้ไดผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) แลว ทัศนะและขอคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เปนของผูเขียนแตละทาน ไมถือวา เปนทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
ity
ia
rai
ers
Ch
ng
i Rajabhat Un
v
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University
Published by
Vol. 5 No.1 (January – June 2010) ISSN 1906-2397 Editorial Advisory Board
Asst.Prof. Dr. Manop Pasitwilaitham
Prof. Dr. Anurak Panyanuwat
Assoc.Prof. Somdej Mungmuang
Prof. Dr. Manat Suwan
President of Chiangrai Rajabhat University
Dean of the Faculty of Management Science
Editor-in-Chief
Dr. Komsan Rattanasimakool
Editors
Dr. Sermsiri Nindum
Chiangrai Rajabhat University
Dr. Kwanfa Sriprapan
Chiang Mai University Chiang Mai University
Prof. Dr. Samnao Kajornsin Kasetsart University
Prof. Dr. Wallapa Dhephasdin na Ayudhaya Dhurakij Pundit University
Assoc.Prof. Dr. Kanjana Kaewthep Chulalongkorn University
Assoc.Prof. Dr. Somsuk Hinviman Thammasart University
Chiang Mai University
Asst.Prof. Dr. Duang-Kamol Chartprasert
Chiangrai Rajabhat University
Professor Dr. Chandrakant Puri
Pranakorn Rajabhat University
Management
Dr. Simmee Oupra
Chulalongkorn University
Dr. Nitta Roonkasam
SNDT Women’s University, India.
Asst.Prof. Dr. Kullapapruk Piewthongngam
Benchawan Benchakorn Apichaya Sittisod
Khon Kaen University
Asst.Prof. Walee Khanthuwan Khon Kaen University
Asst.Prof. Dr. Viirunsiri Jaima Chiangrai Rajabhat University
Paweena Leetrakun
Chiangrai Rajabhat University
Printed by
Issue Date
Two issues per year (January-June, July-December)
Subscription Rate
180 Baht per year Retail: 90 Baht per issue
Nantapun Printing Co.Ltd. 33/4-5 Moo 6, Muang District Chiangmai 50100
To submit articles for publication or subscribing to the Journal , contact the following address. “Journal of Management Science, Chiangrai Rajabhat University”, Faculty of Management Science, Chiangrai Rajabhat University, 80 Moo 9, Bandu, Maung District, Chiangrai, THAILAND 57100
Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-6057 E-mail address : JMS-CRU@hotmail.com
“Journal of Management Science, Chiangrai Rajabhat University” is an academic journal in the field of business administration, economic, communication arts and tourism industry or related fields. Every published article is peer-reviewed . Views and opinions expressed in the journal do not necessarily reflect those of the editors.
รายนามคณะผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาบทความประจํ า “วารสารวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย” (รายนามเรียงตามตัวอักษร)
สาขาบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร และอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
สาขาวิชานิเทศศาสตร รองศาสตราจารย ดร.กาญจนา แกวเทพ
ผูชวยศาสตราจารย ดร.กฤชนนท บึงไกร
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ดร.กาญจนา ศรีพฤทธิ์เกียรติ
คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัลปพฤกษ ผิวทองงาม
ดร.ขวัญฟา ศรีประพันธ
คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน
รองศาสตราจารย ดร.พีระ จิรโสภณ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน
ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
รองศาสตราจารย ดร.ยุบล เบ็ญจรงคกิจ
คณะโลจิสติกส มหาวิทยาลัยบูรพา
ผูชวยศาสตราจารย วาลี ขันธุวาร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.กอพงษ พลโยราช
คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชูกลิ่น อุนวิจิตร
คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคาไทย
รองศาสตราจารย ดร. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ
คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย ดร.บุญฑวรรณ วิงวอน
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปยะลักษณ พุทธวงศ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัฒนา ยืนยง
รองศาสตราจารย ดร.สมสุข หินวิมาน
คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ดร.สินธุ สโรบล
วิทยาลัยบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ
รองศาสตราจารย ดร.สุมาลี สันติพลวุฒิ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
รองศาสตราจารย ดร.อภินันท จันตะนี
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
ก
บทนํ า “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” ปที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจําเดือนมกราคม-มิถุนายน 2553 ไดคัดสรรบทความที่มีความนาสนใจในแงที่เปน ส ว นหนึ่ ง ในการถ า ยทอดและสะท อ นปรากฏการณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คมป จ จุ บั น มา หลายบทความดวยกัน บทความแรกเปนบทความวิชาการเรื่อง “การสื่อสารในพิธีกรรม พิธีกรรม ในการสื่อสาร” ผูเขียนไดนําเสนอทัศนะวา แมวาปจจุบันเราจะเปนสังคมแหงความรูที่มี ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร แตคําวา “พิธีกรรม” ซึ่งดูเหมือนจะเปนคําที่เปน เรื่องของสังคมโบราณกลับไมไดหายไป เพียงแต "พิธีกรรมแบบเดิม" อาจจะมีการ ปรับเปลีย่ นทัง้ ตัวรูปแบบและเนือ้ หาไปตามสภาพสังคมสมัยใหม ซึง่ ในบทความนีผ้ เู ขียน ไดระบุถึงคุณลักษณะสําคัญๆของ “พิธีกรรม” โดยเชื่อมโยงกับแนวคิดการสื่อสาร ในตอนทายผูเขียนไดเสนอ “ตัวแบบ” ระหวางพิธีกรรมตามแบบประเพณีและพิธีกรรม สมัยใหมไวอยางนาสนใจ ขณะที่ ผู เขี ย นบทความ “การสื่ อ สารในพิ ธี ก รรม พิ ธี ก รรมในการสื่ อ สาร” ไดทิ้งทายไววา หากตราบใดที่สังคมยังคงมีความเสี่ยง (risk society) ตราบนั้นศาสนา และพิธีกรรมก็จะไมมีวันจางหายไปจากสังคมมนุษย ในบทความตอมาเรื่อง “การสื่อสาร กับสังคมแหงความเสี่ยง” ดูจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันอยูไมนอย เมื่อโลกกาวเขาสู ยุคหลังสมัยใหม (postmodernism) พรอมๆ กับการเผชิญหนากับปรากฏการณทเี่ รียกวา “สังคมแหงความเสี่ยง” ซึ่งเปนผลพวงที่ตกคางมาจากการพัฒนาความทันสมัยในดาน ตางๆ ไมวาจะเปนเรื่องของผูกอการราย (terrorism) การเผชิญหนากับโรคภัยไขเจ็บ ชนิดใหม ๆ การเผชิญหนากับความผันผวนของวิกฤติสิ่งแวดลอมและสภาพภูมิอากาศ โลกที่แปรปรวนขนานใหญ ฯลฯ ซึ่งเปนสิ่งที่คนในสังคมยุคหลังสมัยใหมตองเผชิญกับ ความไมแนนอน จนตกอยูในภาวะของความเสี่ยง ดังนั้น “ความเสี่ยง” จึงกลายเปน ประเด็นทีน่ กั ทฤษฎีหลังสมัยใหมใหความสนใจอยางแพรหลาย ผูเ ขียนบทความนีไ้ ดเลือก ที่จะมอง “ความเสี่ยง” ในฐานะเปนวัฒนธรรมแบบหนึ่ง และไดสํารวจทัศนะของ นักวิชาการที่ศึกษาการสื่อสารกับความเสี่ยง เพื่อชี้ใหเห็นวา โดยแทจริงแลวใครเปนคน สรางความหมายและใหคณ ุ คา และความเสีย่ งนีม้ อี ทิ ธิพลตอวิถกี ารดําเนินชีวติ เราอยางไร สําหรับสองบทความถัดมาเปนบทความวิจัยที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชและ ความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขณะที่คนบางสวนยังมี ข
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ความเขาใจวา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมักจะนําไปใชไดดีเฉพาะกับภาคเกษตรกรรม เท า นั้ น แตแต ใ นความเปนจริ งยังมีภาคเศรษฐกิจ อื่นๆ ได นํ าแนวปรั ช ญาดั ง กล า ว ไปประยุกตใชไดอยางประสบความสําเร็จ อาทิ สหกรณโคนมหนองโพราชบุรี จํากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ) ชุมพรคาบานา รีสอรท บานอนุรกั ษกระดาษสา บริษทั แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด(มหาชน) บริษัท ปูนซีเมนตไทย จํากัด(มหาชน) เปนตน จึงเปนที่มา ใหผูเขียนบทความที่สามเรื่อง “การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจ รายย อ ยและวิ ส าหกิ จ ขนาดเล็ ก ในจั ง หวั ด เชี ย งราย” มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษาระดั บ การประยุ ก ต ใช แ นวปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในภาควิ ส าหกิ จ ของจั ง หวั ด เชี ย งราย ซึ่งสวนใหญเปนธุรกิจที่เนนทุน ผูเขียนพบวา วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็ก ในจังหวัดเชียงรายมีการประยุกตใชแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับปานกลาง เทานั้น ซึ่งนับวาเปนขอมูลสําคัญที่จะทําใหมีการศึกษาในรายละเอียดตอไป เพื่อให ผู มี ส ว นเกี่ ย วข อ งได ห าทางสนั บ สนุ น และส ง เสริ ม ให มี ก ารนํ า แนวปรั ช ญานี้ ไ ป ใชในภาควิสาหกิจดังกลาวระดับที่สูงขึ้น จนเกิดผลเปนรูปธรรม สํ า หรั บ บทความที่ สี่ เ ป น บทความวิ จั ย เรื่ อ ง “ระดั บ ความสํ า เร็ จ ในการ พัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย” ผูเ ขียนมีความสนใจศึกษา การดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของภาคเกษตรกร เนื่องจากพบวา ในชวงที่ประเทศไทยประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ทุกภาคเศรษฐกิจลวนแลวไดรับผลก ระทบโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ภาคการเงิ น และภาคธุ ร กิ จ แต ใ นภาคเกษตรกลั บ ได รั บ ผลกระทบนอยที่สุด ดังนั้น ผูเขียนจึงตองการหาคําตอบวา เกษตรกรมีความสําเร็จ ในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงในระดับใด โดยไดใชภาคเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย เปนกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ ซึ่งในบทความเรื่องนี้ผูเขียนไดพบวา “ความพอมี พอกิน” เปนดานทีช่ ถี้ งึ ความสําเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรจังหวัด เชียงรายมากที่สุด จนนํามาสูขอเสนอแนะตอผูกําหนดนโยบายไดอยางนาสนใจ ทามกลางสถานการณที่น้ํามันเชื้อเพลิงมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ได ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ทุ ก ภาคส ว นของประเทศอย า งกว า งขวาง โดยเฉพาะ ภาคอุตสาหกรรมทีต่ อ งอาศัยน้าํ มันดีเซลเปนตนทุนการผลิตทีส่ าํ คัญ ยิง่ น้าํ มันเพิม่ สูงขึน้ มากเทาใดก็ยอ มสงผลตอความสามารถทางการแขงขันตามไปดวย ผูเ ขียนบทความเรือ่ ง “การวิเคราะหความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรวิศวกรรมของการใชเชื้อเพลิงกาซปโตรเลียม เหลวในเครือ่ งยนตดเี ซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย” จึงไดเสนอแนวคิดการพิจารณา พลั ง งานทดแทนเพื่ อ ลดต น ทุ น การผลิ ต ของอุ ต สาหกรรม ด ว ยการประยุ ก ต Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
ค
ใชกาซปโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas; LPG) รวมกับการใชน้ํามันดีเซล ในเครื่องยนตดีเซลหลายประเภท เพื่อชวยใหเกิดประหยัดตนทุนเชื้อเพลิง โดยผูเขียน ไดมกี ารเสนออัตราสวนทีเ่ หมาะสมของปจจัยในการใชกา ซปโตรเลียมเหลวกับเครือ่ งยนต ดีเซลในอุตสาหกรรมขุดตักทราย และวิเคราะหความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรในการใช กาซปโตรเลียมเหลวรวมกับน้ํามันดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย เพื่อใหเกิดการ ประยุกตใชนั้น นํามาสูการประหยัดตนทุนมากยิ่งขึ้น ซึ่งบทความเรื่องนี้มีความนาสนใจ และเหมาะกับสถานการณปจจุบันเปนอยางยิ่ง บทความตอมาเปนบทความวิจยั เรือ่ ง “ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย” เปนบทความที่สะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของภาพลักษณที่มีตอ องคกรธุรกิจ โดยเฉพาะธนาคาร ซึ่งนับวันจะยิ่งมีความสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะหาก ธนาคารทั้งหลายมีความทัดเทียมกันทางกายภาพแลว ปจจัยหนึ่งที่จะมีสวนเขามาชี้ขาด ในการตัดสินใจใชบริการก็คือ เรื่องของภาพลักษณ โดยบทความนี้ผูเขียนไดเลือก เปรียบเทียบธนาคารไทยพาณิชย ซึ่งเปนตัวแทนขนาดใหญของเอกชน กับธนาคาร กรุงไทย ซึง่ เปนตัวแทนของธนาคารขนาดใหญทถี่ อื หุน โดยรัฐบาล ขอคนพบจากบทความ นี้มีความนาสนใจ เพราะแสดงใหเห็นถึงการรับรูภาพลักษณของผูบริโภคที่มีตอธนาคาร ทั้ ง สองแห ง หรื อ กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง ย อ มสะท อ นถึ ง กลยุ ท ธ ที่ ธ นาคารแต ล ะแห ง ใช ใ น การสื่ อ สารกั บ ลู ก ค า ในเวลาเดี ย วกั น ข อ มู ล เหล า นี้ จึ ง ช ว ยทํ า ให เราได เข า ใจถึ ง การ ดําเนินธุรกิจของธนาคารในปจจุบันไดดีพอสมควร สําหรับบทความสุดทายเปนบทแนะนําหนังสือ เรื่อง Marketing 3.0 : From Products to Customers to the Human Spirit ซึ่งเปนหนังสือที่เหมาะสมกับ ยุคสมัยปจจุบันที่คนในสังคมสื่อสารระหวางกันดวยสื่อเครือขายทางสังคม หรือที่เรียกวา Social Media แนนอนวาเมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารเปดโอกาสใหผูบริโภคสื่อสารกันเอง มากขึ้น ก็ยอมสงผลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอื่นๆ ดวยเชนกัน ไมเวนแมแต พฤติกรรมของผูบริโภค ความนาสนใจของหนังสือเลมนี้จึงอยูที่วาไดมีการอธิบายถึง ปรากฏการณเปลีย่ นผานครัง้ สําคัญดานการตลาดในแตละยุคสมัย รวมทัง้ ยังนําเสนอโมเดล การตลาดยุคใหม และเสนอแนะกลยุทธและขอบัญญัติสําหรับนักการตลาดแหงอนาคต ซึ่งเหมาะสมสําหรับนักการตลาดและผูสนใจที่ตองมีการปรับตัวไดอยางทันทวงที เพื่อใช ชองทางการสื่อสารใหมนี้ใหเปนประโยชนตอธุรกิจของตนเอง
ง
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ในทายนี้เราขอเชิญชวนใหผูสนใจทั่วไปไดรวมสะทอนปรากฏการณหรือ ความเปนไปของสังคมผานการสงบทความเขามารวมตีพิมพกับเรา ซึ่งทานสามารถ ดูรายละเอียดการสงบทความเพือ่ ตีพมิ พไดในทายเลมวารสารฉบับนี้ หรือหากทานใดหรือ หนวยงานตองการบอกรับเปนสมาชิก “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย” ก็สามารถติดตอมาไดตามรายละเอียดทายเลมเชนเดียวกัน เราหวังวาบทความ ตางๆ ที่เรานําเสนอในฉบับนี้คงจะเปนประโยชนตอทานไมมากก็นอย คมสัน รัตนะสิมากูล บรรณาธิการ
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
จ
สารบั ญ รายนามคณะผูทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความประจํา “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” บทนํา การสื่อสารในพิธีกรรม พิธีกรรมในการสื่อสาร กาญจนา แกวเทพ การสื่อสารกับสังคมแหงความเสี่ยง สมสุข หินวิมาน การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย ประภาพรรณ ไชยยานนท ระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย วิรุณสิริ ใจมา การวิเคราะหความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ของการใชเชื้อเพลิงกาซปโตรเลียมเหลวในเครื่องยนตดีเซล สําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย นิเวศ จีนะบุญเรือง และอิสรา ธีระวัฒนสกุล ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย ธัชพงษ รักเสมอ และคมสัน รัตนะสิมากูล บทแนะนําหนังสือ เรื่อง Marketing 3.0 : From Products to Customers to the Human Spirit แนะนําโดย มานะ ตรีรยาภิวัฒน หลักเกณฑและการเตรียมตนฉบับสําหรับการเสนอบทความ เพื่อเผยแพรใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” ใบสมัครสมาชิก ฉ
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ก ข 1 27 53 83 100
110
133 137 143
การสื่อสารในพิธีกรรม พิธีกรรมในการสื่อสาร Communication in Ritual, Ritual in Communication บทคัดยอ
กาญจนา แกวเทพ*
บทความนี้มีวัตถุประสงคที่จะแนะนําแนวทางการประสานแนวคิด 2 แนวคิด เข า ด ว ยกั น คื อ เรื่ อ ง“พิ ธี ก รรม”และ “การสื่ อ สาร” ผู เ ขี ย นใช ข อ เสนอของ E.W.Rothenbuhler ที่ระบุถึงคุณลักษณะสําคัญๆที่ปรากฏในคํานิยามอันหลากหลาย ของ “พิธีกรรม” ตัวอยางเชน พิธีกรรมเปนการลงมือกระทํา เปนการกระทําที่สมัครใจ และเปนการสือ่ สารทีป่ ราศจากสารสนเทศ ในตอนสุดทาย ผูเ ขียนมีขอ สังเกตวา แมจะลวง เขาสูยุคสังคมสมัยใหม หากทวา กิจกรรมที่เรียกวา “พิธีกรรม” ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบ ใหมยังคงมีปรากฏอยูในชีวิตประจําวันของผูคน ในแงนี้ อาจกลาวไดวา การสื่อสารเชิง พิธกี รรมนัน้ เปนองคประกอบทีย่ งั คงมีความสําคัญและมีการปรับเปลีย่ นไปเพือ่ ดํารงอยูใ น สังคมปจจุบัน คําสําคัญ: การสื่อสาร, พิธีกรรม
Abstract This article aimed to give an introductory, integrative bridging approach between two concepts of “ritual” and “communication”. Based on E.W. Rothenbuhler’s proposition, various attributive definition of ritual will take into consideration. For example, ritual is a formal mode of action, * Ph.D., University of Paris 7, France (1984) ปจจุบันดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยประจําภาค วิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
1
voluntary performance and communication without information. Eventually, it is noticeable that in the present day, there is a large amount and a great variety, both traditional and new form, of ritual action. In this sense, it is seen that ritual communication is still an essential and dynamic element in modern society. Keywords : Communication, Ritual
เกริ่นนํา
เปนที่รูกันในแวดวงวิชาการวา สาขาวิชาการที่ศึกษาเรื่อง "พิธีกรรม" (ritual) อันเปนปฏิบตั กิ ารทางสังคม (social practice) ทีม่ มี ติ เิ กีย่ วของกับเรือ่ งศาสนา/ความเชือ่ นั้นมักจะเปนนักมานุษยวิทยา ซึ่งสวนใหญจะทําการศึกษาสังคมในอดีต (ยุคกอน อุตสาหกรรม/ยุคกอนสมัยใหม) และเปนสังคมเล็กๆเชน สังคมเผา และเมื่อสังคมมนุษย ในสวนเสี้ยวตางๆของโลกกลายเปนสังคมสมัยใหม (modern society) และกลายเปน สังคมทีม่ ขี นาดใหญขนึ้ ก็ดเู หมือนวา แนวคิดเรือ่ ง "พิธกี รรม" จะคลายตัวลดความสําคัญ หรือคอยๆเลือนหายไป เนื่องจากสังคมสมัยใหมนั้นไดถอยหางจากเรื่องศาสนา รวมทั้ง ความเชื่อดานไสยศาสตร โดยมีความรูและวิธีคิดแบบวิทยาศาสตรเขามาแทนที่ แตทวาเรื่องของ "พิธีกรรม" นั้น ผูเขียนมีความเห็นไปในทางเดียวกับที่ R. Barthes เคยพูดถึงเรือ่ ง Myth ("ปรัมปราคติ/มายาคติ") ซึง่ ดูเหมือนจะเปนเรือ่ งของ สังคมโบราณและไดเลือนหายไปในสังคมปจจุบนั Barthes ไดกลาววา "Myth" เรือ่ งเกาๆ อาจจะหายไปก็จริง แตทวาก็มกี ารสราง myth ใหมๆขึน้ มาอยูเ สมอ ทีเ่ ขาเรียกวา "myth today" และเรื่อง myth นั้นยังไมไดหายไปไหนเลย ในเรื่องของ "พิธีกรรม" เราก็นาจะมี "Ritual Today" ในทํานองเดียวกับเรื่อง myth ของ R. Barthes เชนกัน สําหรับในงานเขียนชิน้ นี้ จะไมใชการศึกษาในเรือ่ ง "พิธกี รรม" อยางละเอียดซึง่ มีอยูแลวในงานเขียนของสาขาวิชาเจาภาพเชน มานุษยวิทยา ศาสนวิทยา ฯลฯ เนื่องจาก ผูเขียนมีสังกัดอยูในสาขาวิชาการสื่อสาร ดังนั้น ประเด็นที่ผูเขียนสนใจศึกษาจึงเปนไป ดังทีป่ รากฏอยูใ นชือ่ บทความ กลาวคือ ผูเ ขียนสนใจความเชือ่ มรอยระหวาง 2 แนวคิด คือ เรื่องการสื่อสาร และเรื่องพิธีกรรม 2
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
รอยเชื่อมตอระหวางการสื่อสารกับพิธีกรรมนั้น สามารถพิจารณาไดจากหลาย แงมุมตามรูปแบบของความสัมพันธที่เกิดขึ้นในโลกแหงความเปนจริง และวิธีการศึกษา เชิงวิชาการ ตัวอยางเชน เริ่มตั้งแตนักการสื่อสารอาจจะพิจารณาวา ในการประกอบ พิธีกรรมนั้นจะมีมิติการสื่อสารประกอบอยูดวยเสมอ เชน ผูประกอบพิธีกรรมก็คือ ผูสงสาร สมาชิกที่เขารวมพิธีกรรม รวมทั้งทวยเทพยดาทั้งหลายที่มารวมชุมนุมก็คือ ผูร บั สาร สือ่ /ชองทางก็คอื เวลา/สถานที/่ ฉากการประกอบพิธี เนือ้ หาสารก็ไดแก กิจกรรม/ บทสวด/การสนทนาที่เกิดขึ้น/เสียงดนตรี ฯลฯ อนึ่ ง เป น ที่ น า สั ง เกตว า ในการประกอบพิ ธี ก รรมด า นความเชื่ อ /ศาสนา โดยเฉพาะพิธีกรรมที่เกี่ยวของกับอํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ เชน พิธีกรรม ทรงเจาเขาผี ฯลฯ ในพิธีกรรมแบบนี้จะมีการอัญเชิญเทพเจา เจาพอเจาแม วิญญาณ บรรพบุรุษ ฯลฯ มาประทับทรงใน "รางทรง/มาขี่" (ภาษาเหนือ) คําวา "ผูประทับทรง/ รางทรง" นี้ ในภาษาอังกฤษจะใชคําวา "medium" (รูปเอกพจนของคําวา media) ซึ่ง เปนคําๆเดียวกับคําวา "สือ่ /สือ่ กลาง/ตัวกลาง" ฉะนัน้ หากพิจารณาพิธกี รรมทรงเจาเขาผี ด ว ยแบบจํ า ลองทางการสื่ อ สารคื อ S-M-C-R (Sender-Message-Channel/ Media-Receiver) ก็จะสามารถเทียบเคียงไดทุกองคประกอบดังนี้ Sender: ผูสงสาร = เทพเจา/เจาพอเจาแม/วิญญาณ Message: เนื้อหา = เนื้อหาสารที่สนทนากัน Channel/Media: สื่อ = คนทรง Receivers: ผูรับสาร = สมาชิกที่เขารวมพิธี ดังนั้น จึงไมตองสงสัยเลยวา พิธีกรรมนั้นก็เปนการสื่อสารรูปแบบหนึ่ง แตทวา จะเปนรูปแบบการสื่อสารแบบไหน เปนรายละเอียดที่จะตองศึกษากันตอไป ในอีกรูปแบบหนึง่ ทีม่ กี ารประสมประสานกันมากยิง่ ขึน้ ระหวาง 2 แนวคิดนีก้ ค็ อื ในแบบจําลองของการสือ่ สารนัน้ J.Carey (1992) ผูซ งึ่ แนะนําใหใช "ทัศนะเชิงพิธกี รรม" มาวิเคราะหการสื่อสาร (The ritual view of communication) จนกระทั่งไดพัฒนา กลายมาเปนแบบจําลองหนึง่ ในหลายประเภทของแบบจําลองการสือ่ สารทีม่ นี ามวา "แบบ จําลองการสื่อสารเชิงพิธีกรรม" (Ritualistic model of communication) นอกจากการสื่อสารจะเขาไปเปน "ตัวชวยทางการศึกษา" สําหรับการวิเคราะห พิธีกรรมดวยแวนทางการสื่อสารแลว การสื่อสารเองก็ไดนําเอา "ตนแบบของพิธีกรรม" มาสร า งพิ ธี ก รรมใหม ๆ ขึ้ น มา โดยทํ า พิ ธี ป ลุ ก เสกอยู ใ นปริ ม ณฑลของการสื่ อ สารที่ D.Dayan และ Elihu Katz (1992) เรียกวา "เหตุการณแหงสื่อ - Media events" Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
3
หรือ N. Couldry (2003) เรียกวา "พิธีกรรมเชิงการสื่อสาร" (Media Rituals) ใน ขณะที่นักวิชาการบางทานเชน M.T. Marsden (1980) สนใจเจาะเขาไปดูสวนเสี้ยว ขัน้ ตอนหนึง่ ของการสือ่ สาร คือขัน้ ตอนการเปดรับสาร (Reception/viewing) โดยศึกษา รูปแบบการดูชมโทรทัศนวา มีขอ เหมือนและขอตางจากการเขารวมพิธกี รรมอยางไร ตาม แนวคิดเรื่อง "กระบวนการเชิงพิธีกรรมของการเปดรับการสื่อสาร" (Ritualization of media viewing) รู ป แบบของการเกิ ด ขึ้ น ใหม ๆ ของพิ ธี ก รรมในการสื่ อ สารที่ ก ล า วมานี้ ประสบการณเหลานีน้ า จะมีบางอยางทีเ่ ปนจุดรวมกับคุณลักษณะของ "พิธกี รรมแบบเดิม" แตก็คงมีบางสิ่งบางอยางที่ปรับเปลี่ยนไป และแมแตตัวพิธีกรรมแบบเดิมเองก็มีการปรับ เปลี่ยนไปเชนกัน และการปรับเปลี่ยนบางอยางก็อาจจะเกิดมาจากการกระทําของการ สื่อสารบางรูปแบบ เชน การสื่อสารมวลชน (mass communication) ดังนั้น เพื่อจะ ทําความเขาใจกับ "พิธกี รรมวันนี"้ เนือ้ หาบางสวนในขอเขียนนีจ้ งึ จําเปนตองถอยหลังไป ตัง้ หลักที่ "พิธกี รรมเมือ่ วานนี"้ เพือ่ ใหเห็นทัง้ รอยตอเชือ่ มและรอยแยกขาดไดอยางชัดเจน
รอยคํานิยามของ "พิธีกรรม" มาประชัน
เมื่อเราโคจรเขาสูแวดวงของวิชาการ ก็มักจะมีธรรมเนียมประเพณีการโหมโรง แบบหนึ่งในการที่จะเริ่มศึกษาประเด็นใดก็ตาม การโหมโรงนั้นมักจะเริ่มดวย "การใหคํา นิยาม" ของแนวคิดที่จะศึกษา อยางไรก็ตาม เนื่องจากเรื่อง "พิธีกรรม" และเรื่อง "การสื่อสาร" เปนปรากฏการณที่มีอยูในชีวิตประจําวันของผูคนทั่วไป ดังนั้น แมวา ชาวบานรานถิ่นจะไมสามารถใหคํานิยามไดวา "พิธีกรรม" และ "การสื่อสาร" วาคืออะไร แตเขาก็ไดสัมผัสกับเหตุการณดังกลาวอยูตลอดเวลา เริ่มจากแนวคิดเรื่อง "พิธีกรรม" E.W. Rothenbuhler (1998) กลาววา ถาเราสังเกตวงจรชีวิตของมนุษย ก็จะพบวา มีการเกิด เติบโต แตงงาน เกิดใหมอีก ตอนรับ แลวก็จากไป วงจรชีวิตที่กลาวมานี้เปน "การเขาๆออกๆ" สูสถาบันตางๆ ของสังคม เริ่มตั้งแตครอบครัว โรงเรียน ที่ทํางาน ชุมชน สมาคม พรรคการเมือง ฯลฯ และในแตละชวงของชีวิตที่เราจะเขาๆออกๆสถาบันเหลานี้ ก็จะมี "เครื่องหมายแบง/ ปายบอกทาง" เชน ปใหม วันหยุด วันเกิด วันแตงงาน วันสําคัญทางศาสนา ฯลฯ กิจกรรม ทางสังคมเหลานี้อาจจะเรียกชื่อวา พิธีกรรม ประเพณี พิธีการ งานเฉลิมฉลอง และอื่นๆ ซึ่งทําหนาที่เปน "ชวงเวนวรรค" ของชีวิตปกติธรรมดาประจําวัน และนี่คือความหมาย ของ "พิธีกรรม" (ในแบบที่กวางขวาง) ที่เราสัมผัสอยู 4
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ในขอเขียนชิ้นนี้ จะใหความสนใจกับคํานิยามของคําวา "พิธีกรรม" เปนการ เฉพาะ สวนคําวา "การสือ่ สาร" นัน้ ในทีน่ จี้ ะหมายความรวมถึงการสือ่ สารทุกรูปแบบ ตัง้ แต การสือ่ สารกับตัวเอง การสือ่ สารระหวางบุคคล การสือ่ สารภายในกลุม /องคกร/การสือ่ สาร สาธารณะ/และการสื่อสารมวลชน ซึ่งไมวาจะเปนรูปแบบใดก็ลวนมีพื้นฐานมาจากการ ชุมนุมของธาตุทั้ง 4 คือ ผูสงสาร (Sender) สาร (Message) สื่อ/ชองทาง (Channel/ Media) และผูรับสาร (Receiver) ในสูตรยอวา S-M-C-R สําหรับคํานิยามของคําวา "พิธีกรรม" (ritual) เนื่องจากพิธีกรรมเปนแนวคิด ที่สําคัญของงานศึกษาในหลายๆสาขาวิชาการ ดังนั้น จึงมีการใหคํานิยามที่หลากหลาย ดังตัวอยางที่จะยกมาแสดงในที่นี้ "….. ขาพเจาถือวาพิธีกรรมเปนการกระทําทางสังคมที่พื้นฐานที่สุด." R.Rappaport "พิธกี รรมเปนกิจกรรมทีบ่ ริสทุ ธิล์ ว นๆ (pure activity) ทีไ่ มมคี วามหมายหรือ เปาหมายใดๆ" F.Staal "พิธีกรรมเปนเสมือนเกมที่ผูคนชื่นชอบชนิดหนึ่ง" C.Levi-Strauss จากตัวอยาง 2-3 ตัวอยางที่ยกมาก็คงพอจะชวยใหเราไดเห็นวา คํานิยามของ คําวา "พิธีกรรม" นั้นนาจะมีอยางมากมายหลากหลาย บางนิยามก็อาจจะเหมือนกัน คลายคลึงกัน เปนไปในทิศทางเดียวกัน และบางนิยามก็อาจจะแตกตางจนกระทั่งถึงขั้น ขัดแยงกัน ดังนั้นผูเขียนจึงจะใชแนวทางของ E.W. Rothenbuhler (1998) ที่ไดถอด ประมวลเอา "คุณลักษณะ" (attribute) ของพิธีกรรมออกมาจากคํานิยามดังที่จะแสดง ตอไป และในแตละคํานิยามทีป่ รากฏออกมาเปนคุณลักษณะนัน้ เมือ่ สาวไปดูถงึ เบือ้ งหลัง ก็จะพบวามีแนวคิดทฤษฎีซงึ่ เปรียบเสมือน Software หนุนหลังอยู หรืออาจจะกลาวไดวา คํานิยามนั้นเปนเสมือนลูกบิดประตูที่จะเปดเขาไปสูตัวทฤษฎีในลําดับตอไป
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
5
Á } µ¦ºÉ°µ¦ ¸É ¦µ« µ µ¦ Á « (13) Á } ¦¦¤Á ¸¥¤ ¦³Á¡ ¸ (12)
(1) Á } µ¦¨ ¤º° ¦³ ε (2) Á } µ¦Â (3) ¤´ ¦Ä
Á o » ¦¸¥³ (11)
» ¨´ ¬ ³ ° ¡· ¸ ¦¦¤
Ä o´ ¨´ ¬ r (10) °¥nµ Á o¤ o
(4) ¤¸¨´ ¬ ³Ä o°µ¦¤ r ¤µ ªnµÁ® » ¨ (5) ¤·Ä n n » µ  n Á } ¸ª· ¸É ¦· ´
Ä o´ ¨´ ¬ r (9) °¥nµ ¤¸ ¦³· ·£µ¡
(6) Á } Á¦ºÉ° nª ¦ª¤
Á } è ¸É “ ª¦ ³/°µ ³/ µ¤µ¦ ³Á }
(8)
É
(7) Á } µ¦Â °° ° ªµ¤´¤¡´ r µ ´ ¤
ภาพที่ 1: คุณลักษณะของพิธีกรรม 1. พิธกี รรมเปนเรือ่ งของการกระทํา (action) ทีต่ อ งมีการลงมือกระทําจริงๆ ไมใช "การนั่งครุนคิดเฉยๆ" เมื่อมีการประกอบพิธีกรรม เราจึงตองมองเห็น "กิจกรรม/ การกระทําบางอยาง" และการกระทํานัน้ ตองมิใชการกระทําทีเ่ ปนปฏิกริ ยิ าตามธรรมชาติ เชน การกระพริบตา หรือการกระตุกของเขาเมือ่ ถูกคอนตีทหี่ นาแขง หากทวาจะตองเปน "การกระทําเชิงสังคม" (social action) หมายความวาจะตองมีมติ ขิ องสังคม/วัฒนธรรม ทีเ่ ปนขอตกลงรวมกันของมนุษยในแตละกลุม เขามาเกีย่ วของ ดังนัน้ พิธกี รรมทีเ่ กีย่ วกับ การตอนรับเมือ่ พบกัน (greeting) จึงอาจเปนการยกมือไหว เปนการยืน่ มือออกไปสัมผัส เปนการแลบลิ้นใหกัน ฯลฯ ที่แตกตางกันไปในแตละสังคมตามขอตกลงของสมาชิกใน สังคมนั้นๆ 6
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
และเนื่องจากพิธีกรรมเปนเรื่องของ "การกระทํา" (action) จึงไดมีนักวิชาการ บางทานตอยอดคํานิยามนี้ใหกวางออกไป เชน R. Bocock (1974) ไดขยายมิติของ การกระทําออกไปวา "พิธีกรรมเปนเรื่องเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรางกายที่ประสานกับ การใชสญ ั ลักษณภายใตสถานการณทางสังคมหนึง่ ๆ เพือ่ ทีจ่ ะแสดงออกหรือสงสัญญาณ ความหมายอะไรบางอยาง" ตัวอยางประกอบคํานิยามนีก้ อ็ าจจะครอบคลุมตัง้ แตพธิ กี รรม ทางศาสนา เชน การที่หมอผีควักขาวสารมาเปาเสกแลวเขวี้ยงไปที่แมนาก ไปจนกระทั่ง ถึงการที่แฟนเพลงเฮฟวี่เมทัลจะตองมีการแทค (การเอารางกายเขาชนกัน) เมื่อฟงเพลง ไปจน "ไดที่" เปนตน (2) พิธีกรรมเปนการแสดง (performance) ถึงแมวาพิธีกรรมจะเปนการ กระทําประเภทหนึง่ แตกม็ ใิ ชการกระทําทุกประเภทจะถูกถือวาเปนพิธกี รรม คุณสมบัตทิ ี่ เพิม่ ขึน้ มาของกิจกรรม/การกระทําทีเ่ ปนพิธกี รรมก็คอื มีคณ ุ ลักษณะเปน "การแสดง" (ใน ภาษาอังกฤษจึงใชคําวา "perform ritual") Rothenbuhler (1998) ขยายความวา เมื่อกลาววา "การกระทําใดเปนการ แสดงนัน้ " จะตองมีนยั ยะบางอยางติดตามมาเชน เปนการกระทําทีถ่ กู จัดกรอบ (frame) ในลักษณะเฉพาะ และจะตองนําเสนออยางคํานึงถึงผูรับสาร (audience/receiver) อยูเสมอ จนอาจจะกลาวไดวา การประกอบพิธีกรรมเปนการกระทําบางอยางของคน บางคน (ผูสงสาร) ใหคนบางคนดู (Ritual is performance of something for someone) ฉะนั้น การที่นักฟุตบอลประกอบพิธีกรรมบางอยางเมื่อเวลาที่สามารถเตะ ลูกบอลลเขาประตูได เชน ถอดเสื้อแลวโยนทิ้ง วิ่งไปรอบสนาม ตีลังกา ฯลฯ เขาเหลานั้น ตองกําลังรูวาการแสดงของเขากําลังถูกจับจองมองดูอยู (3) พิธีกรรมเปนเรื่องของความสมัครใจ (voluntary) ในการเขารวม พิธีกรรม ไมวาจะในฐานะเจาพิธี ฐานะสมาชิก หรือฐานะพยาน คําวา "สมัครใจ" นี้ หมายความวา ไมมีขอบังคับที่เปนทางการ หรือเปนลายลักษณอักษรแบบกฎหมายจาก ภายนอก ดังนั้น คําวา "สมัครใจ" นี้จึงแปลวา สมาชิกของกลุมพิธีกรรมนั้นสามารถจะ ตัดสินใจเลือกไดวา จะเขารวมพิธกี รรมนัน้ หรือไม อยางไรก็ตาม หลังจากทีไ่ ดตดั สินใจเขา รวมแลว การกระทําทั้งหมดของผูเขารวมก็ตองดําเนินไปตาม "สคริปต" ของพิธีกรรม นั้น เชน คูบาวสาวที่ขึ้นนั่งบนตั่งรดนํ้าสังข เมื่อตัดสินใจนั่งแลว จะตองแสดงไปตามบท เชน ตองสวมมงคล ตองพนมมือบนพานรอง ตองไมเกรีย้ วกราดใสผทู มี่ าอวยพร ตองไม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
7
เลือกวาจะใหใครรดนํ้าอวยพรบาง เปนตน คุณลักษณะเรื่อง "ความสมัครใจ" นี้จะมองไดชัดเจนยิ่งขึ้นในบรรดาพวก พิธกี รรมสมัยใหม (เชน การสมัครใจเขามาเปน "สาวก" ของกลุม แฟนคลับฟุตบอลตางๆ) เนือ่ งจากกลุม คนสมัยใหมเหลานีไ้ ดตดั สินใจมาเขารวมกลุม และเขารวมพิธกี รรมสมัยใหม ดวย "ความสนใจ" มากกวาจะเปนดวยเงื่อนไขบังคับเชนพิธีกรรมแบบประเพณี (เชน สังคมไทยในอดีตเปนธรรมเนียมที่ผูชายไทยจะตองบวชเรียนเมื่ออายุถึงเกณฑ โดยไม จําเปนวาจะสนใจหรือไมกต็ าม) ดังนัน้ การตัดสินใจเขารวมพิธกี รรมตางๆในยุคสมัยใหม จึงเปนไปอยางสมัครใจมากยิ่งขึ้น (4) พิธีกรรมมีลักษณะที่ใชอารมณ (Irrational) ไมใชเรื่องของเหตุผล (rational) และไมใชเปนเครื่องมือ (Non-instrumental) คุณลักษณะดังกลาวนี้มีที่มา จากแนวคิดเรื่องพิธีกรรมในศาสนาของ E. Durkheim (1965) สําหรับคุณลักษณะที่วา การใชประโยชนจากพิธีกรรมนั้นจะมิใชเปนแบบการใช แบบเครื่องมือนั้น กลาวคือมิไดมีเปาหมายเชิงเทคนิค ดังนั้น เมื่อเรากลาววา "นี่เปน พฤติกรรมการดูโทรทัศนอยางเปนพิธกี รรม" (Ritual viewing of television) จึงมีความ หมายวา ผูดูโทรทัศนนั้นมิไดเปดโทรทัศนดูเพื่อหวังจะแสวงหาขอมูลจากรายการใดๆ มิไดหวังจะไดประโยชนใดๆจากโทรทัศน แตที่ตองเปดดูกเ็ พราะเปน "ความเคยชินที่จะ ตองเปดโทรทัศน" (ในบางกรณี หลังจากกดปุมเปดโทรทัศนแลว ก็ไมไดดูอะไรเลย) (5) พิธกี รรมไมใชเปนเพียงเรือ่ งสนุกสนานสันทนาการ (recreational) ถึง แมวา ในการประกอบพิธกี รรม อาจจะมีกจิ กรรมยอยๆทีด่ ใู หความสนุกสนานบันเทิง เชน การรายรํา การเลนดนตรี การละเลนแขงขันตางๆ แตทวาโดยภาพรวมทั้งหมดของการ ทํากิจกรรมเหลานี้ ก็มิไดมีคา/ความหมายเพียงเทียบเทากับ "เปนสันทนาการ/เลนกัน สนุกสนาน" เทานั้น ในทางตรงกันขาม จากทัศนะของคนวงในพิธีกรรมเอง (insider's view) การทํากิจกรรมที่ดูเหมือนสนุกสนานนี้กลับจะเปน "เรื่องเอาจริงเอาจัง" (ดังเชน คําศัพทของ Durkheim ที่เรียกวา "Serious life") เชน การรายรําในพิธีกรรมบูชาผี บรรพบุรุษของไทยนั้น อาจจะมีความหมายที่จริงจังวาเปนการรําเพื่อเอาใจผีบรรพบุรุษ หรือหากเปนความเชือ่ ทางพุทธศาสนา การรายรําดังกลาวก็เปนรูปแบบหนึง่ ของการทําบุญ หรือสะสมบุญ (6) พิธีกรรมเปนเรื่องของสวนรวม (collective) รูปแบบตนฉบับของการ 8
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ประกอบพิธีกรรมนั้นจะเปนรูปแบบของการรวมกลุมกันประกอบพิธีกรรมอยูเสมอ ทั้งนี้ เนื่องจากเปาหมายที่แทจริงของพิธีกรรมตามทัศนะของ E. Durkheim นั้นก็คือ การ เสริมความแข็งแกรงใหแกชีวิตรวมหมูของกลุม การประสานความสัมพันธทางสังคม ของกลุมใหกระชับแนนแฟน ฯลฯ ดังนั้น การประกอบพิธีกรรมสวนใหญจึงมักจะไมทํา ตามลําพัง (individual) อยางไรก็ตาม ในสังคมสมัยใหมทมี่ ลี กั ษณะปจเจกนิยมเพิม่ ขึน้ อยางมาก ในบาง ครั้ง เราจึงอาจไดเห็นรูปแบบของการประกอบพิธีกรรมตามลําพังคนเดียว แตทวา แมจะ เปนประกอบพิธีกรรมตามลําพัง แตก็จะตองมี "มิติเชิงสังคม" (social aspect) เขาไป เกี่ยวของดวย กลาวคือ การดําเนินกิจกรรมนั้นจะตองเปนไปตามกฎระเบียบของสังคม อยูดี (7) พิธกี รรมเปนรูปแบบการแสดงออกและกลไกผลิตซํา้ ของความสัมพันธ ทางสังคม เนื่องจากคุณลักษณะที่ไดกลาวมาจากขางตนแลววา พิธีกรรมนั้นตองมีการ ลงมือทํากิจกรรมอะไรบางอยาง และสําหรับรูปแบบการกระทําที่ปรากฏในพิธีกรรมนั้น ก็จะเปนการแสดงออกของความสัมพันธทางสังคม (social relation) ระเบียบของสังคม (social order) และสถาบันของสังคม (institution of the society) ที่ประกอบ พิธีกรรมนั้นๆ หากในพิธีกรรมเขาทรงวิญญาณของบรรพบุรุษ สมาชิกที่เปนลูกหลานจะ ตองนั่งคุกเขาคอยรับฟงคําสั่งของวิญญาณบรรพบุรุษ การกระทําดังกลาวก็จะสะทอนถึง ความสัมพันธระหวางผูนอย-ผูใหญในชุมชนนั้นๆ สะทอนถึงระเบียบของสังคมที่ผูใหญ จะเปนผูอ บรมสัง่ สอนและผูน อ ยตองรับฟง และสะทอนใหเห็นความสําคัญและอํานาจของ "สถาบันผูห ลักผูใ หญ" ในสังคมนัน้ ๆ เชน วิญญาณของบรรพบุรษุ สามารถสัง่ ใหลกู หลาน ที่ทะเลาะเบาะแวงกันหันมาใหอภัยคืนดีกัน E. Goffman (1976, อางใน Rothenbuhler, 1998) ทีท่ าํ การศึกษาปฏิสมั พันธ (interaction) ทีเ่ กิดขึน้ ในพิธกี รรม จึงสรุปวา ปฏิสมั พันธในพิธกี รรมดังกลาวนัน้ เปนรูป จําลองเล็กๆของการแบงแยก (division) และการจัดลําดับชั้นของโครงสรางสังคมใหญ นัน่ เอง เชนการแบงแยกระหวางหญิงกับชาย ความสัมพันธระหวางพิธกี รรมกับโครงสราง สังคมจึงเปนไปแบบซึง่ กันและกัน กลาวคือ ในดานหนึง่ พิธกี รรมนัน้ เปนภาพสะทอนของ โครงสรางสังคม และในอีกดานหนึ่ง การประกอบพิธีกรรมนั้นก็ไดชวยกลับไปผลิตซํ้า (reproduction) โครงสรางสังคมนั้นใหสืบทอดตอเนื่องตอไป เชน หากมีการประกอบ พิธีกรรมไหวผีบรรพบุรุษที่สะทอนถึงความสัมพันธแบบปกปองผูนอยของผูใหญ และ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
9
ความสัมพันธแบบรูบ ญ ุ คุณของผูน อ ยทีม่ ตี อ ผูใ หญ ก็จะทําใหโครงสรางความสัมพันธของ ผูใหญ-ผูนอยนั้นดําเนินสืบเนื่องตอไปได (8) พิธีกรรมเปนเรื่องของ "สิ่งที่ควรจะเปน/อาจจะเปน/สามารถจะเปน" สําหรับหลักไวยากรณของภาษา จะมีประโยคอยูประเภทหนึ่งที่เรียกวา "subjunctive mood" ประโยคดังกลาวนีไ้ มไดกลาวถึงสิง่ ทีก่ าํ ลังเปนอยู" (what is) หากทวากลาวถึง สิ่งที่สามารถจะเปน (could be) อาจจะเปน (might be) หรือควรจะเปน (ought to be) ตัวอยางที่ Turner (1969, อางใน Rothenbuhler, 1998) ยกมาวิเคราะหใหเห็น ก็เชน พิธีสาบานตัวเขารับตําแหนงประธานาธิบดี/นายกรัฐมนตรี (ซึ่งกําลังจะมาเปน หัวหนา/ผูป กครองประชาชน) แตทวาในพิธกี รรมดังกลาวนี้ เราจะพบประโยคคําพูดแบบ ถอมตนวา "ตนเองยังมีประสบการณนอยตองอาศัยที่ปรึกษา ตนเองยังไมเหมาะสมนัก กับภารกิจที่ยิ่งใหญ แตตนเองก็อยากจะเขามารับใชประชาชน" ซึ่งประโยคเหลานี้จะพูด กันแตเฉพาะในชวงทําพิธีกรรมเทานั้น และมักจะตรงกันขามกับชวงเวลานอกพิธีกรรม (ตัวอยางที่ชัดเจนคืองานแตงงานในโลกปจจุบัน) มีตวั อยางงานศึกษาของไทยทีแ่ สดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ในชวงเวลาและพืน้ ที่ ของพิธกี รรมนัน้ แมจะเปนพฤติกรรมแบบสมัยใหมมากๆ เชน พฤติกรรมการดูชมฟุตบอล แตหากวา ผูชมนั้นมีสถานะเปน "สาวกของทีมฟุตบอล" มายาวนานนับเปนเวลาสิบๆป โลกในวันที่มีทีมฟุตบอลในดวงใจแขงขันกับคูปรับคนสําคัญนั้นก็จะเปน "วันพิเศษ" สําหรับบรรดาสาวกเหลานี้ ณัฐพงค สุขโสต (2548) ศึกษาสาวกแฟนคลับของทีมฟุตบอล 2 ทีม คือ ทีม "แมนยู" (แมนเชสเตอร ยูไนเต็ด) และทีมลิเวอรพลู ซึง่ เปนทีมทีร่ กู นั ดีวา ทัง้ 2 ทีมนีเ้ ปน คูแ ขงทีส่ สู กี นั มาโดยตลอด และสาวกของทัง้ 2 ทีมนีก้ ม็ คี วามผูกพันทีเ่ หนียวแนนกับทีม โปรดในดวงใจมาอยางยาวนาน ผูว จิ ยั ไดออกแบบการศึกษาพฤติกรรมทีเ่ กีย่ วของกับการ ชมและการเชียรฟุตบอลของสาวกทั้ง 2 ทีมใน 2 ชวงเวลา คือ ชวงเวลาปกติ และชวง เวลาพิเศษที่มี "พิธีกรรม" เกิดขึ้น คือในชวงวันที่มีการแขงขันระหวาง 2 ทีม ซึ่งมีการ ขนานนามวันดังกลาวขึ้นมาเปนพิเศษวา "วันแดงเดือด" (เปนวันทําพิธีกรรมของแฟน บอล 2 ทีม) และในวันที่มีพิธีกรรมเชนวันแดงเดือดนี้ ผูวิจัยไดพบวา พฤติกรรมการชม ฟุตบอลของบรรดาแฟนคลับจะเปน "รูปแบบสูงสุดที่ผูชมคนหนึ่งนาจะเปน ควรจะเปน หรือสามารถจะเปน" เริ่มตั้งแตตองมีการวางแผนคนหาขอมูลอยางละเอียดเกี่ยวกับ 10
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
สถานที่ เวลา ตารางการแขงขัน รายชื่อนักฟุตบอลทั้งตัวจริงและตัวสํารอง (ซึ่งอาจจะ คลายๆความประณีตละเอียดละออในการตระเตรียมเครื่องเซนไหว การตระเตรียมจัด สถานที่) ในลําดับตอไปก็คือ ตองมีการแตงกายเปนพิเศษ เชนเดียวกับพิธีกรรมในสมัย โบราณทีผ่ เู ขารวมพิธอี าจจะตองนุง ขาวหมขาวหรือตองแตงชุดประจําชนเผา บรรดาสาวก ของทั้ง 2 ทีมก็ "ตอง/จําเปนตอง" เอาเสื้อยืดของทีมออกมาใส รวมทั้งอุปกรณอยางอื่น ที่เปนสัญลักษณของ "เผา" ของตนเอง เชน ผาพันคอ ผาโพกศีรษะ พวงกุญแจ หมวก ฯลฯ ในสวนที่เกี่ยวกับการสื่อสาร ผูวิจัยไดพบวา ในวันแหงพิธีกรรมนั้นจะมีการใช สื่อประเภทตางๆ ทั้งสื่อวัตถุ สื่อกิจกรรม สื่อบุคคล สื่อภาษา ฯลฯ อยางเขมขนและมี ประสิทธิภาพอยางสูงมาก โดยเปาหมายสูงสุดของการใชการสือ่ สารเหลานีก้ เ็ พือ่ ประกอบ สราง "อัตลักษณรวม" ของกลุมใหโดดเดนและชัดเจน เพื่อจะแยก "ความเปนพวกเรา" และ "ความเปนพวกเขา" ออกจากกันอยางเด็ดขาด เชน แมแตสื่อสถานที่เชนที่นั่งชม ถายทอดสดการแขงขันก็ตองแยกกันนั่งแบบพวกใครพวกมัน เปนตน (9) พิธกี รรมเปนรูปแบบกิจกรรมทีม่ กี ารใชสญ ั ลักษณอยางมีประสิทธิภาพ อยางยิง่ ยวด (effective symbols) ในเบือ้ งแรก ความแตกตางระหวางรูปแบบกิจกรรม ในชีวติ ประจําวันกับในพิธกี รรมก็คอื ทุกสิง่ ทุกอยางทีอ่ ยูใ นพิธกี รรม ไมวา จะเปน สถานที่ เวลา สิ่งของ ผูคน การแตงกาย ดนตรี การแสดงทาทางอากัปกิริยา ฯลฯ ลวนแลวแตมี ความหมายแฝงเรนอยูขางหลังทั้งสิ้น ดังนั้น ในรูปแบบกิจกรรมแบบพิธีกรรมจึงทวมทน ไปดวย "สัญลักษณ (symbols) อยูแลว เชน เสนดายที่ใชผูกขอตอแขนในพิธีสูขวัญนั้น มิใชเสนดายแบบธรรมดา แตมีความหมายมากไปกวานั้น และนอกจากจะเปน "สัญลักษณ" แลว เมื่อมีการประกอบพิธีกรรม สัญลักษณ เหลานั้นก็จะเปนสัญลักษณที่มีประสิทธิภาพอยางยิ่งยวดอีกดวย ประสิทธิภาพของ สัญลักษณนั้นในภาษาของนักวิชาการรุนใหมเชน P. Bourdieu เรียกวา "อํานาจเชิง สัญลักษณ" (symbolic power) ตัวอยางเชน อํานาจในการกําหนดทิศทางของการกระทํา (เมื่อมีการนําเอาจีวรพระไปพันรอบตนไมที่เรียกวา พิธีบวชปา ก็ทําใหผูคนไมกลาเขาไป ตัดตนไมนั้น เสื้อยืดนักกีฬาที่มีชื่อและหมายเลขของนักกีฬาที่เปนดารากลายเปนของ สะสมที่บรรดาสาวกที่คลั่งไคลยอมทุมเทเงินทองเพื่อใหไดเปนเจาของ เปนตน) ปจจุบัน นี้ แนวคิดเรื่องอํานาจเชิงสัญลักษณนี้อาจจะกลายรูปมาเปนเรื่องของ แบรนด ยี่หอ โลโก ภาพลักษณ ดารา เซเลบ ฯลฯ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
11
แตทวาในอีกดานหนึง่ ก็มนี กั วิชาการบางทานทีไ่ มเห็นดวยในการศึกษาพิธกี รรม ในแงของสัญลักษณ ซึ่งดูเสมือนจะเปนเรื่องของนามธรรม เรื่องของความคิด/ความรูสึก ที่จับตองไมได นักวิชาการบางทาน เชน Z. Smith (อางใน C. Bell, 1992) เสนอวา แทนที่จะมองวาพิธีกรรมเปนเรื่องของสัญลักษณ เราควรจะมองวา "พิธีกรรมวาเปนงาน ประเภทหนึง่ " (ritual is work) เนือ่ งจากการจัดพิธกี รรมนัน้ ตองมีการลงแรง ตองมีการ แบงงาน ตองมีการผลิตวัตถุ ตัง้ โรงศาลพิธี ทําเครือ่ งเซน ฯลฯ ฉะนัน้ ในการศึกษาพิธกี รรม จึงควรศึกษาตั้งแตขั้นตอนกอนจะทําพิธีกรรม (ขั้นการตระเตรียม) ขั้นทําพิธีกรรม และ ขัน้ ตอนหลังจากทําพิธกี รรมแลว (ในกรณีของไทย ชาวบานมักจะเรียกพิธกี รรมวา "งาน" และผูเ ขียนไดมปี ระสบการณการทํางานรวมกับโครงการสือ่ พืน้ บานสือ่ สารสุขในชวงปพ.ศ. 2548-2550 ก็พบวา ผูทํากิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อพิธีกรรมก็มีทัศนะคลายกับ Z. Smith เสนอเอาไว สนใจโปรดดู สมสุข และคณะ, 2553) ั ลักษณทเี่ ขมขน/หนาแนนอยางมาก (Condensed (10) พิธกี รรมมีการใชสญ Symbols) ถึงแมวา ในชีวติ ประจําวัน เราก็อาจจะมีการใชสญ ั ลักษณอยูบ า ง เชน การจราจร ที่ใชไฟเขียวไฟแดง แตทวาในชวงเวลาของพิธีกรรมนั้น นอกจากทุกสิ่งทุกอยางจะกลาย เปนสัญลักษณและเปนสัญลักษณทมี่ พี ลังอํานาจแลว สัญลักษณเหลานีก้ ย็ งั มีความเขมขน/ หนาแนนอีกดวย ที่เรียกวา condensed symbol สําหรับแนวคิดเรื่อง "condensed symbol" นี้เปนแนวคิดที่มาจากการศึกษา วิจัยของ C.Geertz (สนใจโปรดดู อคิน, 2551) ที่ชี้ใหเห็นวา สัญลักษณที่ใชในพิธีกรรม นัน้ มีความหมายฝงตัวอยูเ ปนชัน้ ๆหลายชัน้ (layer of meaning) มีความหมายทีอ่ า งอิง ไปถึงสิ่งตางๆที่หลากหลายในเวลาเดียวกัน ดังนั้น เวลาวิเคราะหความหมายจึงตองลอก ออกมาดูทีละชั้น ตัวอยางเชน งานวิจัยสัญลักษณในชนเผา Ndembu ของ V. Turner (1967, อางใน Rothenbuhler,1998) พบวา สัญลักษณตนไมแหงนํ้านม (milk tree) นั้น หมายความไดตั้งแต หนาอกของผูหญิง ความเปนแม หลักของการถือสายสกุลขาง แมเปนสําคัญ การเรียนรู ความสามัคคี และความมั่นคงของสังคม Ndembu เปนตน และจากลักษณะความหมายในหลายชั้นของ condensed symbol เหลานี้ ใน การใชสัญลักษณระหวางพิธีกรรมจึงตองมีการสรางบริบท/ภาวะแวดลอมเพื่อกระตุนให เกิดความหมายตางๆขึ้นมาในพิธีกรรม เราจึงมักเห็นการจัดบรรยากาศ/สิ่งเราแวดลอม เชน กลิ่นธูป ควันเทียน กลิ่นกํายาน ดนตรี เพลง เหลา ยาสูบ การเตนรํา การรายรํา การ แตงกายแบบแปลกๆพิศดาร การทําทาทางแปลกๆ ไปจนกระทัง่ ถึงการใชนาํ้ แข็งแหงบน 12
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เวที การจัดแสงสี เสียง ในพิธีกรรมแบบสมัยใหม เปนตน (11) พิธีกรรมจะเนนการแสดงออกของพฤติกรรมและเปนพฤติกรรมที่มี สุนทรียะอยางสูง พฤติกรรม/การกระทําตางๆรวมทั้งองคประกอบตางๆของพิธีกรรม นัน้ จะเนนการแสดงออก (expressive behavior) เชน การแสดงความรูส กึ เศราโศกหรือ ยินดี ก็จะทําอยางออกนอกหนา ไมมีการเก็บเอาไว เปนตน สําหรับในแงของสุนทรียะนั้นอาจจะปรากฏในสไตลหรือสัญลักษณที่ใช เชน เครื่องดอกไมบูชาจะตองตกแตงประดับประดาอยางวิจิตรบรรจง มิติสุนทรียะนี้จะมีมาก นอยเพียงใดก็ขึ้นอยูกับประเภทของพิธีกรรมแตละชนิด แตโดยทั่วไปแลว ในพิธีกรรม ทุกอยางก็จะมีสนุ ทรียะมากกวาชวงเวลาปกติ ดังเชนในพิธกี รรมสมัยใหมเชนพิธวี นั สาบาน ตนเขารับตําแหนงของประธานาธิบดีสหรัฐ ผูคนก็จะใหความสนใจกับชุดแตงกายของ first lady เปนพิเศษ หรือในงานพิธีประกาศผลรางวัล Oscar หรือ Grammy Award การแตงกายของดาราที่ไปรวมงาน ยานพาหนะที่ไปรับ การตกแตงสถานที่ (ปูพรมแดง) องคประกอบเหลานี้จะเนนการแสดงออกและแสดงสุนทรียะอยางชัดเจน (12) พิ ธี ก รรมเป น พฤติ ก รรมที่ ทํ า อย า งเป น ธรรมเนี ย ม/ประเพณี (customary behavior) สําหรับคําวา "พฤติกรรมที่ทําอยางเปนธรรมเนียม/ประเพณี" นัน้ มีนยั ยะตามมาหลายประการ เชน พฤติกรรมนัน้ เปนการกระทําอยางซํา้ ๆ เมือ่ ถึงชวง เวลาที่กําหนด ก็จะมีการประกอบพิธีกรรม ตัวอยางเชน พิธีกรรมทําบุญตลอดทั้ง 12 เดือนของชาวอีสาน นอกจากนัน้ การทําพิธกี รรมอยางเปนธรรมเนียมประเพณีนนั้ ก็ยงิ่ กินความหมาย มาถึงการที่ทําอยางเปนแบบแผน ตายตัว มีสไตลที่แนนอน เปนมาตรฐาน เปนระเบียบ แบบแผน และอาจจะกินความเลยมาถึงคุณลักษณะที่ "ไม(อาจจะ)เปลี่ยนแปลง" E. Durkheim ใหคาํ อธิบายเกีย่ วกับคุณลักษณะของพิธกี รรมทีม่ กี ารทํากันอยาง เปนธรรมเนียมประเพณีวา คุณลักษณะดังกลาวทําใหรูปแบบกิจกรรมเชนพิธีกรรมนั้น กลายเปนเหตุผลในตัวเองทีเ่ ราตองทํา (raison d'etre) (เมือ่ ถึงเวลา/เมือ่ ถึงเงือ่ นไข) โดย ไมตองหาเหตุผลอื่นมาประกอบวาเพราะเหตุใดจึงตองทํา และทําไมจึงตองทําเชนนั้น ไมทาํ เชนนี้ ดังเชนในชีวติ ประจําวัน เมือ่ เวลาถูกตัง้ คําถามวา ทําไมตองประกอบพิธกี รรม นัน้ พิธกี รรมนี้ ก็อาจจะมีคาํ ตอบหนึง่ แซมแทรกอยูเ ปนระยะๆ ก็คอื "ก็เคยทํากันมาตัง้ แต ครั้งปูยาตายาย บรรพบุรุษเคยทํากันมาก็ตองทํากันตอไป" ปรากฏการณที่มี "บางสิ่ง บางอยาง" ที่ผลักดันใหเกิดการกระทํานั้น บางสิ่งบางอยางนั้นคือ สิ่งที่ E. Durkheim Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
13
เรียกวา "พลังทางสังคม" (social force) พลังนี้จะเปรียบเสมือนพลังของกระแสนํ้าที่ พัดพาใหมนุษยเราลอยคอตามกระแสไป ไมให "วายทวนกระแสนํ้า" พลังดังกลาวนี้มีอยู คูมาตลอดกับสังคมมนุษยและแสดงออกในงานพิธีกรรมไมวาจะเปนพิธีกรรมแบบใหม หรือแบบเกา พิธีกรรมทางศาสนาหรือพิธีกรรมแบบทางโลกก็ตาม (13) พิธีกรรมเปนการสื่อสารที่ปราศจากสารสนเทศ (communication without information) คุณลักษณะนี้เปนคุณลักษณะที่เขยิบเขามาใกลแนวคิดเรื่อง "การสื่อสาร" มากยิ่งขึ้น และคุณลักษณะนี้ยิ่งดูเหมือนวาขัดแยงกับคุณลักษณะบางอยาง ทีไ่ ดกลาวมาแลว คือ พิธกี รรมเปนเรือ่ งของการใชสญ ั ลักษณ แตความขัดแยงดังกลาวนัน้ สามารถดํารงอยูรวมกันได หากเราอธิบายดวยแบบจําลอง S-M-C-R ทีไ่ ดกลาวไปแลววา จําเปนตองมีการ ชุมนุมของธาตุ/องคประกอบทัง้ 4 จึงจะทําใหเกิดการสือ่ สารขึน้ ได อยางไรก็ตาม ตรงตัว Message นั้น ก็ยังมีความหลากหลายบรรจุอยู ในภาษาไทย คนไทยอาจจะเขาใจดีกับ ประโยคที่วา "ทองจําแบบนกแกวนกขุนทอง" หรือ "เขาหูซายทะลุหูขวา" กลาวคือ เมื่อ เห็นนกแลวนกขุนทองเปลงเสียงพูดนัน้ ก็จะมีองคประกอบของการสือ่ สารครบถวนทัง้ 4 อยาง แตทวา "ตัวเนื้อหาสาระ" (Message) ที่ตัวนกแกวนกขุนทอง หรือผูทองจํา หรือ ผูที่ฟงแบบ "เขาหูซายทะลุหูขวา" นั้น หากเทียบกับความหนาแนนของชั้นบรรยากาศ แลว ก็ตองเรียกวามีปริมาณอากาศที่ "เบาบางอยางยิ่ง" Humphrey & Laidlaw (อางใน Kopping 2006) ใหคําอธิบายแนวคิดเรื่อง "พิธกี รรมเปนการสือ่ สารทีป่ ราศจากสารสนเทศ" วา พิธกี รรมนัน้ แตกตางจากการกระทํา อยางอืน่ ๆของมนุษย มิใชเพราะมนุษย (สวนมาก) ทีเ่ ขารวมพิธกี รรมตัง้ ใจจะสือ่ สารอะไร ทีม่ คี วามหมาย ในทางตรงกันขาม แมวา ผูเ ขารวมพิธกี รรมจะรูต วั จะตัง้ ใจ จะสมัครใจอยู แลว แตเวลาที่ลงมือทําพิธีกรรมจริงๆ คนเราสวนใหญก็มักไมคอยรูความหมายของสิ่งที่ กําลังทําหรือไมไดตั้งใจจะสื่อสารความหมายอะไร เชน เวลาที่ลงมือจุดธูป 3 ดอก คงมี คนรวมพิธีกรรมนอยมากที่กําลังจะสงความหมายวา นี่หมายถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ และหากเราสองแนวคิดดังกลาวตอไป เราก็จะพบวา ในตัว Message นั้นจะ ประกอบดวย 2 เหลีย่ มมุม คือ เนือ้ หา (ซึง่ เปนทีอ่ ยูข องความหมาย) และรูปแบบ (form) ซึ่งเปนตัวประคองเนื้อหาเอาไว ฉะนั้น หากเราจะพูดสรุปคําอธิบายของ Humphrey & Laidlaw ใหกระชับอีกครั้งหนึ่ง เราก็คงตองพูดวา พิธีกรรมเปนการสื่อสารประเภทที่ 14
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
"รูปแบบมีความสําคัญเหนือกวาเนื้อหา" รูปแบบนั้นมีความสําคัญอยางไรในพิธีกรรม คําตอบของ Humphrey & Laidlow ก็คือ รูปแบบมีความสําคัญในพิธีกรรมใน 3 แงมุมคือ ประการแรก การทํา พิธีกรรมทุกครั้งก็คือ การผลิตซํ้ารูปแบบการกระทําที่วางเอาไวกอนแลว การมีพิธีกรรม จึงทําใหรูปแบบการกระทําดังกลาวมีความยั่งยืน และในเวลาเดียวกัน การมีรูปแบบที่ แนนอนก็ชว ยใหพธิ กี รรมนัน้ ๆมีอายุยนื ยาว ประการทีส่ อง การมีรปู แบบทําใหการกระทํา ตางๆในพิธีกรรมไมจําเปนตองคิดคนใหม ไมจําเปนตองกระทําอยางมีความตั้งใจเปน พิเศษ เพียงแตขอใหมีการ "กระทําที่เปนไปตามสคริปตที่วางเอาไว" (ลองคิดถึงตัวอยาง การทําพิธเี ปดของทานประธานในงานประชุมอะไรสักอยางหนึง่ จะพบลักษณะดังทีก่ ลาว มานี้) และประการที่สาม ในขณะที่ผูเขารวมพิธีกรรมสวนใหญจะไมรูเนื้อหา/ความหมาย ของพิธีกรรมนั้นๆ แลวการลงมือทํากิจกรรมตางๆนั้นถูกคาดหวังอะไรเลา คําตอบของ Humphrey & Laidlaw ก็คือ ความคาดหวังในการทําพิธีกรรมก็คือ การทําใหรูปแบบ ทีก่ าํ ลังทําอยูใ นปจจุบนั มีความเหมือนหรือคลายคลึงกับรูปแบบตนฉบับใหมากทีส่ ดุ และ หากทําได ก็ถือวาไดประกอบพิธีกรรมอยางสําเร็จสมบูรณแลว ทัศนะที่มองเห็นความสําคัญของ "รูปแบบ" เหนือกวาหรืออยางนอยก็ไมดอย ไปกวา "เนื้อหา/ความหมาย" ของพิธีกรรมดังที่กลาวมานั้น มีความคลายคลึงกับทัศนะ ของพระธรรมปฎก (2537) แมวา จะมาจากเหตุผลคําอธิบายทีแ่ ตกตางกัน พระธรรมปฎก อธิบายวา เวลาทีค่ นไทยรูส กึ วาพุทธศาสนาเสือ่ มไปแลว เหลือแตพธิ กี รรม แตทา นไดพลิก มุมมองใหมวา หากยังเหลือพิธีกรรมอยูก็แปลวา ศาสนายังไมหมดสิ้นไปเสียทีเดียว และ หากพุทธศาสนาเหลือแตรูปแบบพิธีกรรม แตปราศจากเนื้อหาสาระความหมาย ก็อาจจะ เปรียบเสมือนรางที่หลับอยู รางกายคนหลับนั้น แมจะทําอะไรไมได แตก็ยังไมตาย และ ชีวิตเรายังตองอาศัยรางกายอยู หากมีรางกายก็จะทําใหชีวิตหวนกลับคืนมาได หรืออาจ จะกลาววา ตองมีรูปแบบที่หลงเหลือเอาไวเทานั้น จึงจะฟนฟูเนื้อหาเอาไวได รูปแบบจึง มีความสําคัญพอๆกับเนื้อหาเนื่องจากเปนตัวประคองเนื้อหาสาระเอาไว
ขอบเขตและประเภทของพิธีกรรม
(ก) ขอบเขตของพิธีกรรม ในการพิจารณาขอบเขตของพิธีกรรม เราอาจจะ แยกขั้วของการพิจารณาออกไดเปน 2 ขั้ว 2 มิติ ดังนี้ (1) พิธีกรรมแบบเต็มรูปแบบ v.s. พิธีกรรมแบบบางๆ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
15
(2) ritual v.s. ritualization (1) พิธกี รรมแบบเต็มรูปแบบ v.s. พิธกี รรมแบบบางๆ สําหรับพิธกี รรมแบบ เต็มรูปแบบก็คือพิธีกรรมที่มีคุณลักษณะครบถวนตามที่ไดกลาวมา กลาวคือเปนรูปแบบ กิจกรรมพิเศษทีม่ กี ารแยกตัวออกไปทําในชวงเวลาพิเศษ มีเปาหมายพิเศษเฉพาะตัว ฯลฯ แตนอกเหนือจากพิธีกรรมที่เต็มรูปแบบและเห็นไดอยางชัดเจนดังกลาวแลว นักวิชาการที่ศึกษาพิธีกรรมโดยเฉพาะพิธีกรรมในสังคมสมัยใหมยังใหความสนใจกับ "พิธีกรรมที่มีรูปแบบบางๆ" ที่ผนวกอยูในชีวิตประจําวันโดยทั่วไป มิไดแยกตัวออกมา เปนการเฉพาะ หากทวา "การกระทําดังกลาว" นั้น ก็มี "คุณลักษณะบางอยางของ พิธีกรรม" ตัวอยางเชน งานศึกษาของ R.Ling (2008) เรื่องวิธีการใชโทรศัพทมือถือซึ่ง มีขนั้ ตอนตางๆทีต่ อ งดําเนินไปอยางมีระเบียบพิธี หรือพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วกับปฏิสมั พันธของ ผูค น เชน สําหรับคนไทย เมือ่ มีคนยิม้ มาให เราก็ตอ งยิม้ ตอบ พิธกี รรมของบางครอบครัว ทีต่ อ งกินอาหารเย็นพรอมหนาพรอมตากัน เปนตน Rothenbuhler (1998) ตัง้ ขอสังเกต วา แมแตพิธีกรรมแบบบางๆที่มีอยูในชีวิตประจําวันเชนนี้ก็นาจะมีบทบาทสําคัญในการ ธํารงรักษา "ระเบียบของสังคม" (social order) ไดไมนอยไปกวาพิธีกรรมแบบเต็มรูป แบบเลย (2) ritual v.s. ritualization เราอาจจะใชทัศนะที่มองสรรพสิ่งตางๆ หรือ แมแต "ความคิด" ใน 2 แงมุม แงมุมแรกคือ การมองในแงผลผลิต (product) เชน มองวัตถุสิ่งของ มองตัวความคิด หรือมองตัวพิธีกรรมตางๆ เชน พิธีแตงงาน พิธีกรรม การเลื อ กตั้ ง พิ ธี รั บ น อ งใหม ฯลฯ แง มุ ม ที่ ส องคื อ การมองในแง ก ระบวนการ (production) เชน มองกระบวนการผลิตวัตถุ มองกระบวนการวิธีคิด หรือมอง กระบวนการเชิงพิธีกรรม (ritualization) ยกตัวอยางเชนพิธีกรรมใหมๆที่กําลังเกิดขึ้น ที่จะมองเห็นกระบวนการกอตัวไดงายขึ้น ปจจุบันนี้ เกิดมีรายการประเภท "คนฟาหา ดาว" ในโทรทัศน และเราจะพบวาในรายการเหลานีจ้ ะมีการดําเนินการอยางเปนพิธกี รรม เชน จะมีพธิ กี รเปนเจาพิธี มีผทู เี่ ขาแขงขันซึง่ กําลังจะผาน "พิธกี รรมแหงภาวะผาน" (rite of passage) (จาก "คนธรรมดา" ไปเปน "ดาว") มีสาวกเขารวมพิธซี งึ่ ไดแกผชู มทีเ่ ขาไป ดูการแขงขันซึ่งจะแสดงการกระทําที่เปนแบบพิธีกรรม (ritualized action) อยางมาก เชน ตองชูปายไฟ ตองโยกซายขวาไปมา ตองเปลงเสียงเชียร หรือผูชมที่อยูทางบานก็ ตองกดโทรศัพทเขาไปชวยโหวตเสียง เปนตน การมองพิธกี รรมในแงกระบวนการนีจ้ ะมีงานศึกษาอยางมากโดยเฉพาะบรรดา 16
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
กิจกรรมที่มีสื่อมวลชนเขาไปเกี่ยวของ เชน พิธีกรรมการไปดูหนัง การดูคอนเสิรต การ เลนอินเทอรเน็ต การไปนั่งรานกาแฟ Starbucks ฯลฯ บรรดากิจกรรมเหลานี้ถึงแมจะ เปนการกระทําแบบคนเดียว (private/individual) แตทวาก็มี "มิติเชิงสังคม" (social) ซึ่งเปนคุณลักษณะสําคัญของพิธีกรรมอยางแนนอน เพราะกฎเกณฑ/ระเบียบตางๆที่ แสดงออกในการกระทําเหลานีถ้ กู "เขียนบท" (Scripted) เอาไวแลวเหมือนขัน้ ตอนตางๆ ในการประกอบพิธีกรรม (ข) การแบงประเภทของพิธีกรรม ในที่นี้ ผูเขียนจะใชแนวทางของ R. Bocock (1974) ที่จัดแบงพิธีกรรมใน สังคมสมัยใหมออกเปน 4 ประเภท ดังนี้ (1) พิธีกรรมทางศาสนา (Religious ritual) เนื่องจากพิธีกรรมทาง ศาสนาเปนตนแบบของพิธกี รรมอืน่ ๆ และมีมาอยางยาวนานควบคูก บั ประวัตศิ าสตรของ มนุษยชาติ ดังนั้น ในหมวดหมูนี้จึงประกอบดวยพิธีกรรมยอยๆ อีกมากมาย (2) พิธีกรรมประชาชน (Civic ritual) เปนพิธีกรรมประเภทอื่นๆที่ไม เกี่ยวของกับอํานาจศักดิ์สิทธิ์ อํานาจเหนือธรรมชาติหรือจิตวิญญาณ กลาวคือ เปน พิธีกรรมที่ตัดมิติ "ความศักดิ์สิทธิ์แบบศาสนา" (Sacralized) ออกไป และกลายมาเปน เรื่องทางโลก/โลกย (Secularization) มากขึ้น ตัวอยางเชน พิธีกรรมตางๆทางการเมือง เชน การเลือกตั้ง การฉลองวันชาติ พิธีสาบานตัวเขารับตําแหนง หรือพิธีกรรมที่เกี่ยวกับ สันทนาการตางๆ เชน พิธีเปดกีฬาโอลิมปก พิธีการจัดคอนเสิรต ฯลฯ แตถงึ แมพธิ กี รรมประชาชนจะลดทอนหรือตัด "มิตคิ วามศักดิส์ ทิ ธิแ์ บบศาสนา" ลงไป แตทวา Aldridge (2007) ก็มคี วามเห็นวา พิธกี รรมแบบประชาชนก็ยงั คงตองการ "องคประกอบเดิมๆแบบพิธกี รรมทางศาสนา" หากทวาจะมาใน "รูปแบบใหม" Aldridge ยืนยันวา พิธีกรรมประชาชนก็ตองมี "เทพ/เจา" มีผูทําบทบาทแบบพระสงฆ (priestly role) คือรักษาระบบ และผูที่เลนบทบาทประกาศก (prophet role) คือทํานายทายทัก เพื่อทาทายระบบ ตัวอยางเชน ในชวงที่มีการประกอบพิธีวันชาติ บรรดาสถาบันตางๆ เชน รัฐและผูนํา จะถูกทําใหศักดิ์สิทธิ์ (Sacralized) เพื่อสรางความชอบธรรม หรือใน เวลาทีม่ กี ารแสดงคอนเสิรต การเปดตัวนักรองก็จะถูกสรางใหดคู ลายกับเทพเจาลงมาจาก สรวงสวรรค Aldridge สาธิตใหเห็นวา คุณลักษณะตางๆของพิธีกรรมประชาชนนั้นยัง คงเปนแบบเดียวกับพิธีกรรมทางศาสนา ดังแสดงในภาพ
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
17
^ ¤¸°» ¦ r/ª´ »/ ·É ° ¸É ¼«´ ·Í· ·Í
X Á® » µ¦ r ¦³ ´ Ä ( µ¦Â )
° r ¦³ ° ° ¡· ¸ ¦¦¤ ¦³ µ
¤¸§ ¼ µ¨/ nª Áª¨µÂ n ° (calendrical festival) Y
Z ¤¸¡· ¸ ¦¦¤Â®n £µª³ nµ (rite of passage)
] ¤¸ µ ¸É«´ ·Í· ·Í (place of pilgrim) \ ¤¸¨´ ·«¦´ µÄ ¼o ε (leadership cult)
[ ¤¸ µ¦Â®n® (Mass Parade)
£µ¡ ¸É 2: ° r ¦³ ° ° ¡· ¸ ¦¦¤ ¦³ µ
(3) พิธกี รรมแหงชวงชีวติ (Life-cycle ritual) สําหรับสังคมในอดีต พิธกี รรม ที่จัดขึ้นสําหรับในชวงรอยตอของชีวิตแตละชวงอาจจะมีความชัดเจนมาก เชน พิธีกรรม ทีเ่ กีย่ วกับการเกิด การเปลีย่ นสภาวะเขาสูว ยั ผูใ หญ (เชน พิธโี กนจุก) การบวช การแตงงาน ฯลฯ อยางไรก็ตาม Bocock (1974) ยืนยันวา ไมวาสังคมจะเปลี่ยนแปลงมาเปนสังคม สมัยใหมที่ทันสมัยเพียงใด ก็ยังคงมีพิธีกรรมแหงชวงชีวิตดํารงอยูในสังคมสมัยใหมนั้น แตทวาประเภทของพิธีกรรมแบบเดิมอาจจะเลือนหายหรือเปลี่ยนแปลงไป เชน พิธีโกน จุกไดสญ ู หายไปแลวจากสังคมไทย สวนประเพณีการบวชก็ลดทอนความสําคัญลง แตทวา สังคมสมัยใหมก็ไดสรางพิธีกรรมแหงชวงชีวิตขึ้นมาใหม เชน พิธีกรรมการฉลองวันเกิด พิธีตอนรับนองใหมของสถาบันการศึกษา พิธีฉลองการรับปริญญา พิธีฉลองการสละ ความเปนโสด ฯลฯ (4) พิธีกรรมเชิงสุนทรียะ (Aesthetic ritual) เปนพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการ แสดง (performing arts) เชน การเลนดนตรี การเตนรํา ฯลฯ ในกรณีของสื่อพื้นบาน การแสดงของไทยเกือบทุกประเภท จะตองมีองคประกอบที่เปนพิธีกรรมเปนสวนหนึ่ง 18
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เสมอ เนื่องจากเปาหมายดั้งเดิมของการแสดงของไทยนั้นคือการบูชาเคารพสักการะ สิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือเทพเจา ดังนั้นจึงตองมีพิธีกรรม เชน พิธีไหวครู พิธีกรรมเกี่ยวกับ เครื่องดนตรี ฯลฯ ปจจุบันพิธีกรรมเชิงสุนทรียะนี้ อาจจะขยายมาถึงการรวมกลุมของผูที่มีความ ชื่นชอบในดนตรี กีฬา งานประดิษฐ/งานฝมือ (เชน กลุมเลนตุกตาบลายธ) กลุมเลียน แบบการเตนของศิลปนนักรอง (Cover Dance) กลุม แตงกายเลียนแบบศิลปน/ตัวการตนู / นักรอง (Cos play) เปนตน ซึ่งในแตละกลุมที่กลาวมานี้ ก็จะมีการสรางสรรคลักษณะ สุนทรียะเฉพาะกลุม ขึน้ ไมวา จะเปนสุนทรียะทีเ่ กีย่ วกับการใชสอื่ วัตถุ สือ่ ภาษา สือ่ ทาทาง ฯลฯ ตัวอยางเชน งานศึกษาชีวิตวัฒนธรรมของกลุมแฟนเพลง "เฮพวี่เมทัล" ของ ชลวรรณ วงษอนิ ทร (2548) ทีศ่ กึ ษา "พิธกี รรมแบบสมัยใหมเชิงสุนทรียะ" ของกลุม แฟน เพลงเฮพวี่เมทัล ซึ่งเปนกลุมคนที่มีการรวมตัวอยางเหนียวแนนมายาวนานนับเปนสิบๆ ป พิธีกรรมของพวกเขาก็คือการจัดคอนเสิรตเฉพาะกลุมเพลงเฮพวี่เมทัล สําหรับลักษณะเชิงสุนทรียะของกลุมเพลงเฮพวี่เมทัล เนื่องจากภาพลักษณของ เพลงเฮพวี่เมทัลมีลักษณะกาวราว ตั้งแตแนวดนตรีที่ออกไปทางกาวราวรุนแรง ภาพใน มิวสิควิดีโอ โลโก ปกเทป ตอมาก็คือตัวศาสดา/ผูประกาศความเชื่ออันไดแกนักรองที่มี การแตงตัวแบบใสแจ็กเก็ตสีดาํ กางเกงหนังหรือยีนส ผมยาว หนวดเครารุงรัง หรือมิฉะนัน้ ก็แตงหนาออกแนว "ปศาจ" ทีส่ อ ความหมายถึงความแข็งแกรง โหดราย นากลัว ในขณะ ทีส่ นุ ทรียะในเนือ้ หาเพลงจะแสดงอาการกบฏหัวรัน้ ไมยดึ ติดกับกฎเกณฑ วิพากษวจิ ารณ สังคมในประเด็นตางๆ เชน เพศ การเมือง ยาเสพติด ศาสนา ความรักรุนแรง ฯลฯ ดวยลักษณะสุนทรียะดังกลาว ในพิธีกรรมการเลนและรวมชมคอนเสิรตของ บรรดาสมาชิกเพลงเฮพวีเ่ มทัล จึงมีแนวทางสุนทรียะไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือสมาชิก จะมีการแตงตัวแตงหนาแบบเดียวกับศิลปน และยังมีการสรางสรรค "สุนทรียะในแงการ แสดงออกเฉพาะกลุม" เชน ในระหวางการชมคอนเสิรตจะมีการเซิรฟ การแทค และการ สะบัดหัว (การเซิรฟ คือการโยนตัวแฟนเพลงทีก่ ระโดดลงมาจากเวทีตอ ๆกันไป/การแทค คือการเอาตัวหรือไหลชน/กระแทกกัน) ซึ่งเปน "ลักษณะเฉพาะ" ของแฟนเพลงเฮพวี่ เมทัล เปนตน (ค) การรวมกลุมของสื่อมวลชนก็เปนพิธีกรรมประเภทหนึ่ง เราอาจจะถือไดวา การรวมกลุม คนทีเ่ กิดจากการมีสอื่ มวลชนประเภทตางๆ เชน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
19
หนังสือพิมพ นิตยสาร แฟนคลับของนักรอง สาวกของทีมฟุตบอล ผูช มรายการโทรทัศน กลุมสมาชิกหนา website ตางๆ กลุมวัฒนธรรมยอย (เชนกลุมแตงกาย Cos Play) ก็เปน "กลุมทางพิธีกรรมแบบสมัยใหม" ไดประเภทหนึ่ง เนื่องจากกลุมบุคคลเหลานี้ มีคณ ุ ลักษณะบางประการทีม่ ขี อ เหมือนกับการรวมกลุม พิธกี รรมแบบโบราณ เชน เปนการ รวมกลุมของคนที่มีระบบความเชื่อ มีรสนิยม มีความสนใจรวมศูนยอยูที่สิ่งเดียวกัน มีการมารวมตัวกันในพืน้ ทีแ่ ละเวลาทีต่ กลงกัน มีการทํากิจกรรมทีม่ รี ปู แบบแนนอน (เชน กลุมแฟนคลับฟุตบอลก็จะมีการซอมเพลงเชียรเวลาที่นักฟุตบอลแตละคนเดินสูสนาม) และทายที่สุดก็คือ เปาหมายของการ "ทําพิธีกรรม" เพื่อการรวมกลุมนั้นก็เพื่อเสริมสราง ความเปนปกแผนสามัคคีสมานฉันทในมวลหมูสมาชิกใหเหนียวแนนขึ้น เราอาจจะลองเปรียบเทียบแบบงายๆระหวางองคประกอบของพิธกี รรมแบบใหม กับพิธีกรรมที่เกิดจากสื่อมวลชนพอใหเห็นคุณสมบัติรวมระหวางกิจกรรม 2 ประเภทได ดังนี้ พิธีกรรมจากสื่อมวลชน • การออกไปดูหนังที่โรงหนัง • คลื่นวิทยุ/ชองโทรทัศน • บัตรเขาชม/คาสมาชิก • การเขียน SMS/การสมัครเปนสมาชิก • พิธีกรรายการ/ดีเจ • การรองเพลงตาม • การ "อิน" กับเนื้อหาละคร • เกิดความรูสึกเปนพวกเดียวกัน
พิธีกรรมแบบเดิม โรงทําพิธี เวลาทําพิธี เครื่องเซนไหว/หมากพลู ธูปเทียนดอกไม เทพเจา/ผูประกอบพิธีกรรม การสวด การเดินทางเขาไปในโลกศักดิ์สิทธิ์ เกิดความรูสึกรวมกัน
ดังนัน้ เราจึงอาจสรุปไดอยางคราวๆ วา แมวา พิธกี รรมของสือ่ มวลชนสมัยใหม จะมีรูปแบบที่แปลกหูแปลกตาไปจากพิธีกรรมแบบดั้งเดิม เชน พิธีกรรมศาสนา แตทวา ในแงเนื้อหาของกิจกรรม ไมวาจะเปนเนื้อหาที่เกี่ยวของ ความหวัง ความกลัว ความ สนุกสนาน การใหกําลังใจ ความรูสึกฮึกเหิม ฯลฯ นั้น ยังคงเหมือนเดิม อยางไรก็ตาม เนื่องจากพิธีกรรมเปนรูปแบบการสื่อสารที่เกิดมาตั้งแตอดีต อันยาวไกลโพน และเมื่อสังคมมนุษยไดพัฒนาคลี่คลายมาจากสังคมเล็กๆ มาเปนสังคม ขนาดใหญ จากสังคมชนบทมาเปนสังคมเมือง จากสังคมศักดินามาเปนสังคมทุนนิยม 20
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ฯลฯ ตัวรูปแบบและเนื้อหาของพิธีกรรมเองก็ไดปรับเปลี่ยนไปอยางมาก ในที่นี้ ผูเขียน จะขอสราง "ตัวแบบ" (ideal type) ระหวางพิธีกรรม 2 แบบที่อาจจะปรากฏอยูในสังคม สมัยใหมที่ขอเรียกในที่นี้วา "พิธีกรรมตามแบบประเพณี" และ "พิธีกรรมสมัยใหม" ซึ่ง บรรดาพิธีกรรมทุกชนิดที่เราพบเห็นอยูในโลกปจจุบันอาจจะมีสวนผสมของตัวแบบทั้ง สองมากนอยตางกัน ดังนี้ เกณฑ 1. บทบาทหนาที่/ ประโยชน
พิธกี รรมตามแบบประเพณี พิธีกรรมสมัยใหม เพื่อสวนรวม/ชุมชน เพื่อสวนตัว(individual) เปนความรูสึกรวมในการ ทั้งผูสง/ผูรับ กระทําแบบรวมหมู (collectivity)
2. สื่อที่ใชประกอบ
สื่อพื้นบาน (ตัวประคองพิธีกรรม)
3. ขนาด
มักมีขนาดเล็ก/คนในชุมชน มักมีขนาดใหญ/คนไมรู (เครือญาติ) จักกัน
4. ลักษณะ
เฉพาะที่ (Subculture)
5. จุดเนน
ความศักดิ์สิทธิ์/พิธีเรียบงาย เปนโลกียะ (profane) เนนการเขาถึงจิตใจ อลังการ ตื่นตาตื่นใจ
6. คุณภาพ
ความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ/ ความดื่มด่ําทางอารมณ การสัมพันธกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
สื่อมวลชน
ลักษณะกวางขวาง (pop culture)
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
21
เกณฑ 7. วงจร
พิธกี รรมตามแบบประเพณี พิธีกรรมสมัยใหม เปนไปตามการทํามาหากิน/ การจับจายใชสอย/ วิถีชีวิต/ประเพณีพื้นบาน การลงทุน-กําไร การพนัน ขันตอ
8. วิธีเขาสูพิธีกรรม
ใชความศรัทธา
9. การตอบสนอง
ความไมมั่นคงในชะตาชีวิต/ ความเหงา/ความไรญาติ พบปะญาติพี่นอง ขาดมิตร
10. การเหนี่ยวรั้ง
ศรัทธา (ลุมหลงทางธรรม)
11. ขั้นตอน
อาจจะเริ่มที่ความศักดิ์สิทธิ์ เริ่มที่ความบันเทิง จบที่ แลวจบที่ความบันเทิง หรือ ความบันเทิง สลับกัน
12. การสื่อสาร
เขาชองทางอารมณ เนน เนนปญญา/จิตวิญญาณ เขาทางศรัทธา/คนหาความ ความสะใจ เราใจ หมาย สะเทือนใจ
13. ปลายทาง
เนนการชําระลางจิตใจ
ใชกําลังเงิน (ซื้อตั๋ว) / สมัครสมาชิก/บัตรเชิญ
ศรัทธา(ลุมหลงทางโลกีย) crazy/maniac
เนนความสะใจ มันใน อารมณ
ภาพที่ 3: การเปรียบเทียบคุณลักษณะพิธีกรรมแบบประเพณีและแบบใหม
22
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ยิ่งสังคมทันสมัยมากยิ่งขึ้น ก็ยิ่งมีพิธีกรรมมากขึ้น
เมือ่ เราพิจารณาถึงตนกําเนิดทีม่ าของศาสนา เราก็จะพบวา หากตราบใดทีช่ วี ติ สวนรวมของมนุษยยังตองพบกับความไมแนนอน ความวิตกกังวล ความตึงเครียด ฯลฯ อันเนื่องมาจากภัยอันตรายนานาประเภท ไมวาจะเปนอันตรายจากธรรมชาติ (นํ้าทวม คลื่นยักษสึนามิ ไฟไหม ภูเขาไฟระเบิด ธรณีถลม ฯลฯ) หรือภัยจากนํ้ามือมนุษยดวยกัน (เศรษฐกิจตกตํ่า ความขัดแยงทางการเมือง สงคราม ฯลฯ) ตราบนั้นมนุษยเราก็ยังคง ตองการ "ศาสนา/พิธีกรรม" ตางๆมาเปนเครื่องบรรเทา ปลอบประโลมใจ ใหความหวัง ปลุกพลังความกลาหาญใหเผชิญกับปญหาตางๆ หรือเราอาจกลาวสรุปไดสั้นๆ วา หาก ตราบใดทีส่ งั คมยังคงมีความเสีย่ ง (risk society) ตราบนัน้ ศาสนาและพิธกี รรมก็จะไมมี วันจางหายไปจากสังคมมนุษย และมีขอ เท็จจริงทีไ่ มอาจจะปฏิเสธไดวา ยิง่ สังคมมีความทันสมัยมากยิง่ ขึน้ เพียง ใด ทั้งๆที่เรามีวิทยาการกาวหนาที่จะปองกันความเสี่ยงมากยิ่งขึ้นเพียงใด แตทวาก็เกิด ปรากฏการณอยางเปนสากลวา ในเชิงปริมาณ จํานวนพิธีกรรมตางๆมีเพิ่มขึ้นอยางมาก เมื่อเทียบกับอดีต ในกรณีของไทย ฉลาดชาย รมิตานนท (2527) ทําวิจัยพบวา ในสมัย ปจจุบัน ปริมาณคนทรงผีเจานายในเขตภาคเหนือมีเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต Bocock (1974) เองก็ยนื ยันวา ยิง่ ในสังคมทีม่ คี วามเจริญทันสมัยและเปนสังคมอุตสาหกรรม/สังคม ขาวสาร เชน สังคมตะวันตก คนหนุมสาวก็ยิ่งมีการปฏิบัติพิธีกรรมทั้งแบบสมัยใหมและ แบบดั้งเดิมมากยิ่งขึ้น จํานวนคนฝกหัดเลนโยคะ ทําสมาธิ จัดกลุมภาวนารวมกัน เปน สมาชิกกลุม ลัทธิตา งๆมีเพิม่ มากขึน้ การเขารวมงานเทศกาลดนตรี ฯลฯ ในมิตเิ ชิงคุณภาพ พิธีกรรมเหลานี้มีความสําคัญอยางมากตอชีวิตของคนหนุมสาวเหลานี้ คําตอบหนึ่งสําหรับปรากฏการณขางตนนี้ก็คือ ถึงแมสังคมอุตสาหกรรม/ วิทยาศาสตรทกี่ า วหนาทันสมัยจะสามารถใชความรูด า นวิทยาศาสตรมาบริหารจัดการกับ ความเสี่ยงตามธรรมชาติซึ่งเปนความเสี่ยงแบบเดิมๆได เชน สามารถทํานายกรณี แผนดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด และโยกยายผูค นหนีไดทนั แตทวา คนสมัยใหมกลับตอง มาเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากมนุษยดวยกันเอง ที่เรียกวาความเสี่ยงทางสังคม เชน ความเสีย่ งจากระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ความเสีย่ งจากการสะสมระเบิดนิวเคลียร และเปน ความเสี่ยงที่ยังไมสามารถควบคุมหรือบริหารจัดการได (เชน วิกฤตเศรษฐกิจที่ทําใหคน ตกงาน ผลกระทบจากความขัดแยงทางการเมือง การแพรระบาดของโรคแบบใหมๆ เปนตน) ฉะนั้น ความสําคัญของพิธีกรรมจึงเพิ่มบทบาทมากขึ้นในการบรรเทาความ วิตกกังวลจากความเสี่ยงแบบใหมๆ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
23
ถึงแมวา สังคมสมัยใหมจะยังคงมีความตองการ "พิธกี รรม" ซึง่ ยังคงทําหนาที่ เชนเดียวกับพิธกี รรมเชิงศาสนาเชนในอดีต แตทวาพิธกี รรมแบบสมัยใหมนกี้ ม็ ลี กั ษณะที่ แตกตางบางประการจากพิธีกรรมแบบเดิมๆ ตัวอยางเชน ประการแรก ในขณะที่พิธีกรรมแบบดั้งเดิมของสังคมชนเผาที่นัก วิชาการ เชน E. Durkheim ไปศึกษานัน้ จะมีลกั ษณะเปนการสือ่ สารกลุม (group communication) เปนรูปแบบมารวมกลุมกันอยางเห็นหนาเห็นตาในเวลาและพื้นที่เดียวกัน แตทวาพิธกี รรมแบบสมัยใหมนนั้ อาจจะเปนพิธกี รรมทีก่ ระทําผานสือ่ (Mediated ritual) เชน พิธีกรรมการถายทอดพิธีการเปดการแขงขันกีฬาโอลิมปก พิธีราชาภิเษก ฯลฯ แตทวาพิธกี รรมผานสือ่ เหลานีก้ ม็ อี านุภาพมากพอทีจ่ ะทําใหผชู มซึง่ ไมไดอยูร ว มในพืน้ ที่ เดียวกับการประกอบพิธกี รรมเกิดความรูส กึ รวมราวกับไดเขาไปอยูร ว มในเหตุการณจริงๆ รูปแบบการทําพิธีกรรมแบบผานสื่อนี้อาจจะมีเพิ่มมากขึ้นและอาจจะมากกวารูปแบบ พิธีกรรมที่ผูเขารวมไดเขาไปในพื้นที่พิธีกรรมจริงๆ อยางไรก็ตาม ก็นาสังเกตวา ผูคน ในสังคมสมัยใหมกย็ งั คงตองการรูปแบบแบบพิธกี รรมแบบเห็นหนาเห็นตากัน ดังประจักษ พยานของการเกิดขึน้ ของกิจกรรมประเภทเทศกาลดนตรีตามชายหาด การเขาคาย เปนตน ลักษณะประการที่สองก็คือ ลักษณะของพิธีกรรมสมัยใหมจะลดทอนมิติของ ศาสนา/ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใหนอยลง แตจะเพิ่มมิติทางโลกยมากขึ้น (Secularization) B. Browne (1980) ยกตัวอยางสังคมที่สมัยใหมมากๆ เชน สหรัฐอเมริกาวา ใน อดีตพิธีกรรมตางๆในอเมริกามักจะมีรากฐานมาจากศาสนาหรือกึ่งศาสนา (quasi-religious) เชน วันคริสตมาส แตปจจุบันนี้ สังคมอเมริกันไดเปลี่ยนไปทางโลกมากขึ้น หาก ทวา บรรดา "ลัทธิพิธีกรรม" (ritualism) กลับยิ่งเพิ่มปริมาณมากยิ่งขึ้น แตทวาเปน พิธีกรรมที่เปนพิธีกรรมแบบทางโลก เชน พิธีรับนองใหม พิธีแขงขันกีฬา ฯลฯ ในกรณีของไทย นิธิ เอียวศรีวงศ (2546) วิเคราะหคุณลักษณะของพิธีกรรม ใหมที่ถูกประดิษฐสรางขึ้นในสังคมปจจุบัน และพบวา ในขณะที่พิธีกรรมเหลานี้ยังคง คุณลักษณะของ "พิธกี รรม" เอาไว เชน การมีสถานทีส่ กั การะ การมีวตั ถุ/บุคคลทีจ่ ะเคารพ บูชา ฯลฯ แตทวาในรายละเอียดขององคประกอบเหลานั้นก็ไดเคลื่อนยายจากปริมณฑล ทางธรรมไปสูป ริมณฑลทางโลกมากขึน้ เชน ลัทธิบชู าเสด็จพอ ร.5 จะมีองคประกอบดังนี้ • สถานที่สักการะบูชา ลานพระบรมรูปทรงมา (แทนวัด/หิ้งผี) • ที่มาของเนื้อหา มาจากประวัตศิ าสตร (แทนทีจ่ ะเปนตํานาน) • ตัวบุคคลแหงการนับถือ พระเจาแผนดิน (แทนที่จะเปนเทพเจา) 24
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
• วัตถุแหงการนับถือ
พระบรมสาทิสลักษณ/พระบรมฉายาลักษณ
(แทนรูปปนเทพ/พระพุทธเจา) • วัตถุที่ใชบูชา เหรียญ (แทนพระเครื่อง/ตระกรุด) • ตนกําเนิดแหงความนับถือ มาจากพระราชกรณียกิจในประวัติศาสตร มิใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารย • มีลักษณะไมลี้ลับ ไมปดบัง แตเปดเผยทั่วไป นิธิ สรุปวา ลัทธิพธิ รี .5 นี้ เปนลัทธิพธิ ที มี่ บี คุ คลจริงในประวัตศิ าสตรและมีฐานะ เปนฆราวาส (มิใชพระสงฆ) อันแรกที่เผยแพรในหมูสาธารณชนอยางกวางขวางและ เปดเผย ซึ่งแสดงใหเห็นลักษณะทางโลก (secular) ของพิธีกรรมนี้
รายการอางอิง กาญจนา แกวเทพ (2545).เมือ่ สือ่ และสรางวัฒนธรรม, คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กาญจนา แกวเทพ (2549).เมือ่ พิธกี รรมเปนลํานําแหงความสุข" ใน ยึดหลักปกแนนกับ สื่อพื้นบานสื่อสารสุขภาพ โครงการสื่อพื้นบานสื่อสารสุข สํานักงานกองทุน สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) กุลวิชญ สําแดงเดช (2551). "การใชสื่อเพื่อสรางและธํารงรักษาอัตลักษณของแฟน สโมสรฟุตบอล จ.ชลบุร"ี วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฉลาดชาย รมิตานนท (2527). "ผีเจานาย" โครงการตํารามหาวิทยาลัย สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ชลวรรณ วงษอินทร (2548). "ชีวิตวัฒนธรรมของกลุมแฟนเพลงเฮพวี่เมทัลใน ประเทศไทย" วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ณัฐสุพงศ สุขโสต (2548). "บทบาทของการสือ่ สารกับกระบวนการสรางและสืบทอด วัฒนธรรม" แฟนบอล "กับสังคมไทย" วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะ วารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
25
นิธิ เอียวศรีวงศ (2546). ลัทธิพิธีเสด็จพอร.5 สํานักพิมพมติชน กรุงเทพมหานคร. พระธรรมปฎก (2537). พิธีกรรมใครวาไมสําคัญ, มูลนิธิพุทธธรรม กรุงเทพมหานคร. สมสุข หินวิมาน และคณะ (2553) "การบริหารจัดการสื่อพิธีกรรมแบบมีสวนรวมดวย นวัตกรรมการวิจัย" ใน กาญจนา แกวเทพ และคณะ, การบริหารจัดการ วัฒนธรรมพื้นบาน แบบมีสวนรวมดวยนวัตกรรมการวิจัย, สํานักงานคณะ กรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ (สวช.) อคิน รพีพฒ ั น (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธกี ารของคลิฟฟอรด เกียรซ, ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร, กรุงเทพมหานคร. Aldridge, A. (2007) (2nd ed.). Religion in the Contemporary World, Polity. Bell, C. (1992). Ritual Theory, Ritual Practice, NewYork: Oxford University Press. Brown, R. B (ed) (1980). Ritual and Ceremonies in Popular Culture, Ohio: Bowling Green University Popular Press. Bocock, R. (1974). Ritual in Industrial Society, George Allen & Unwin Ltd. Carey, J.W. (1992). Communication as Culture, Routledge. Couldry, N. (2003). Media Rituals: A Critical Approach, Routledge. Dayan, D. & Katz E. (1992). Media Events, Harvard University Press. Durkheim, E. (1965). The Elementary Forms of the Religion Life , NewYork : FreePress. Kopping, K.P. et al (eds) (2006). Ritual and Identity, LIT Verlag ,Berlin. Ling, R. (2008). New Tech, New Ties, The MIT Press, Cambridge, Massachusetts. Marsden, M.T. (1980). "Television Viewing as Ritual" in Ritual and Ceremony in Popular Culture, Brown, R. B (ed.) Ohio: Bowling Green University Popular Press. Rothenbuhler, E.W. (1998). Ritual Communication, Sage Publications. Rothenbuhler, E.W. & Coman, M. (eds) (2005). Media Anthropology, Sage Publications.
26
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
การสื่อสารกับสังคมแหงความเสี่ยง Communication and Risk Society สมสุข หินวิมาน*
บทคัดยอ ทุกวันนี้ กลาวกันวาสังคมทันสมัยกําลังถึงจุดสิ้นสุด และมนุษยชาติกําลังกาว เขาสูปรากฏการณที่เรียกวา “สังคมแหงความเสี่ยง” (risk society) บทความนี้จึงได กําหนดวัตถุประสงคทจี่ ะสํารวจความหมายของ “ความเสีย่ ง” และความสัมพันธระหวาง การสื่อสารกับวัฒนธรรมความเสี่ยงในชีวิตประจําวัน ดวยอิทธิพลของกระแสลัทธิหลัง สมัยใหม (postmodernism) และแนวทางการศึกษาแบบสหวิทยาการ (interdisciplinary approaches) ความเสีย่ งกลายเปนประเด็นทีน่ กั สังคมศาสตรใหความสนใจยิง่ ตัง้ แตปลาย ศตวรรษที่ 20 ในฐานะของปรากฏการณที่เกิดขึ้นทั่วโลก ยากจะบงชี้ใหเห็นชัดเจน มี ผลกระทบในวงกวาง จัดการไดยากยิ่งนัก และสรางภาวะความตื่นตระหนกไปทั่ว ทั้งนี้ นักทฤษฎีสังคมหลายคน (อันไดแก แมรี่ ดักลาส แอนโธนี่ กิดเดนส มิเชล ฟูโกต และที่ สําคัญ อุลริช เบ็ค) ตางเห็นพองวา สือ่ ตาง ๆ มีบทบาทสําคัญยิง่ ในการประกอบสรางและ แพรกระจายความหมายของความเสี่ยงในสังคมยุคหลังอุตสาหกรรมเปนตนมา คําสําคัญ : การสื่อสาร, ความเสี่ยง, สังคมแหงความเสี่ยง
* D.Phil. (Media & Cultural studies), University of Sussex, England. (2000) ปจจุบันเปน รองศาสตราจารยประจําคณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
27
Abstract Today it is noted that modern society has come to an end, whilst “risk society” emerges everywhere. This article thus aims to examine various meanings of “risk” and a relationship between communication and risk culture in everyday life. Influenced by postmodernism and interdisciplinary approaches, risk has become of interest amongst social scientists from the end of the 20th century onwards. Risk is perceived to be more globalised, less identifiable, more serious in their effects, less easily manageable, and anxiety-provoking. Importantly, many social theorists (i.e., Mary Douglas, Anthony Giddens, Michel Foucault, and last but not least, Ulrich Beck) contend that communication media plays a crucial role to construct and circulate cultural meanings of risk in post-industrial society. Keywords : communication, risk, risk society ในยุคหนึง่ สมัยหนึง่ มนุษยโลกอาจจะตัง้ คําถามกับตนเองวา “ชีวติ วันนีจ้ ะตอง ดีกวาเมื่อวาน และในวันพรุงนี้ชีวิตก็จะตองดูดียิ่ง ๆ ขึ้น” (แบบตัวละครสการเล็ตต โอฮารา ที่พูดในฉากจบภาพยนตรเรื่อง Gone with the Wind วา “Tomorrow is another day”) แตพอมาถึงยุคนี้สมัยนี้ มนุษยโลกอาจจะตองเริ่มเปลี่ยนคําพูดใหมเสีย แลววา “ชีวิตวันนี้ดูจะเสี่ยงกวาวันวาน และในวันพรุงนี้ชีวิตของเราก็จะยิ่งเสี่ยงมากขึ้น ไปเรื่อย ๆ” (แบบเดียวกับภาพที่เราเห็นในหลาย ๆ ฉากของภาพยนตรเรื่อง The Day after Tomorrow) แลวเหตุอนั ใดสํานึกของคนรวมสมัยจึงเปลีย่ นแปลงไปจากอดีต และการสือ่ สาร เขามาเกี่ยวของกับการปรับเปลี่ยนจิตสํานึกดังกลาวของคนเราไดอยางไร คําตอบนี้อยูใน แนวคิดที่กําลังเปนกระแสความสนใจของนักสังคมศาสตรภายใตชื่อที่วา แนวคิดเรื่อง ความเสี่ยง (risk) และ สังคมแหงความเสี่ยง (risk society) สํ า หรั บ ในบทความชิ้ น นี้ ผู เขี ย นจะขอทบทวนแนวคิ ด ว า ด ว ยสั ง คมแห ง ความเสี่ยง โดยมีขอบเขตและประเด็นนําเสนอดังนี้ 1. จาก “สังคมสมัยใหม” สู “สังคมแหงความเสี่ยง” 28
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
2. นานาศาสตรวิชากับการศึกษาเรื่อง “ความเสี่ยง” 3. นิยามและองคประกอบของ “ความเสี่ยง” 4. ประวัติศาสตรการรับรูของสังคมตอเรื่อง “ความเสี่ยง” 5. ทัศนะของนักวิชาการ 4 คนตอการศึกษาการสื่อสารกับ “ความเสี่ยง” • แมรี่ ดักลาส : แนวคิดเรื่องวัฒนธรรมความเสี่ยง • อุลริช เบ็ค : แนวคิดเรื่องสังคมแหงความเสี่ยง • แอนโธนี่ กิดเดนส : แนวคิดเรื่องความเสี่ยงกับการสรางอัตลักษณ • มิเชล ฟูโกต : แนวคิดเรื่องความเสี่ยงกับการจัดวินัยทางอํานาจ
1. จาก “สังคมสมัยใหม” สู “สังคมแหงความเสี่ยง”
ความสนใจศึกษา “วัฒนธรรมความเสี่ยง” (risk culture) เริ่มขึ้นอยางเปนจริง เปนจังตั้งแตราวกลางศตวรรษที่ 20 เปนตนมา สวนหนึ่งพอจะอนุมานไดวา ความสนใจ ดังกลาวไดรับอิทธิพลจากกระแสลัทธิหลังสมัยใหม (postmodernism) ที่ทรงพลังใน โลกสังคมศาสตรในชวงเวลาเดียวกัน และเปนกระแสทฤษฎีที่ตั้งคําถามกับปรากฏการณ ของลัทธิสมัยใหม (modernism) ที่ครอบงํามนุษยชาติมาหลายศตวรรษ ตามจุดยืนของลัทธิสมัยใหมนั้นเชื่อกันวา ภายใตกระแสการเปลี่ยนผานจาก สังคมประเพณี (traditional society) ไปสูส งั คมสมัยใหม (modern society) โลกทัศน หลัก ๆ หลายชุดที่ครอบงําวิธีคิดของผูคนอยูนั้น ไดแก (i) ความเชื่อมั่นในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่เอื้ออํานวยและสรรค สรางวัฒนธรรมความสะดวกสบาย (culture of convenience) ให กับชีวิตมนุษย จนกลาวไดวา ความสะดวกสบายนี้ไดกลายเปนหัวใจ หลักของชีวิตสมัยใหม (modern life) ดวยเชนกัน ดังตัวอยางภาพ ที่เราเห็นเปนประจําในโฆษณาโทรทัศน ที่ชีวิตอันทันสมัยตองอาศัย การบริโภควัตถุและสิ่งอํานวยความสะดวกสบายในปริมาณมหาศาล (ii) ความเชือ่ มัน่ ในลัทธิเหตุผลนิยม (rationalism) ซึง่ มนุษยในสังคม สมัยใหมเชื่อวา ตองดวยหลักของเหตุผลเทานั้น ที่จะชวยปลดปลอย มนุษยใหพน จากความงมงายของไสย และเปนทีม่ าของสัจจะ/คําตอบ ตาง ๆ ตอชีวิต เชน กรณีของซีรียสทางโทรทัศนชุด CSI: Crime Scene Investigation ทีเ่ ผยใหเห็นวา เหตุผลทางวิทยาศาสตรเทานัน้ ทีจ่ ะใหคาํ ตอบทีด่ ที สี่ ดุ ตอการสืบสวนความจริงในคดีฆาตกรรมตาง ๆ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
29
(iii)
สนามตอสูใ นชีวติ สังคมสมัยใหมจะอยูท สี่ ถาบันเศรษฐกิจกับการเมือง เชน เปาหมายของสังคมแบบนี้ที่เนนการสรางความกาวหนาทาง เศรษฐกิจ (economic progress) และใชขบวนการเคลื่อนไหว ทางการเมือง (political movement) เพือ่ สรางระบอบประชาธิปไตย ใหเกิดขึ้นในสังคม (iv) ความเชื่อมั่นในกระแสโลกาภิวัตน (globalisation) ดังที่ยุคหนึ่ง ความคิดเรื่องหมูบานโลก (global village) ของ มารแชล แมคลูฮัน (Marshall McLuhan) เคยถูกทําใหกลายเปนอุดมคติของหลาย ๆ สังคมทองถิ่นที่ตองการผันตัวไปสูสังคมทันสมัยมาแลวเชนกัน อยางไรก็ตาม ตั้งแตกลางศตวรรษที่ 20 เปนตนมา ระบบความคิดความเชื่อ หรือโลกทัศนแบบสมัยใหมดังกลาวขางตน ไดเริ่มถูกทาทายดวยวิธีคิดใหม ๆ หลายชุด ดังเชน (i) วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอาจไมใชคําตอบสุดทายใหกับชีวิตของ มนุ ษ ย อี ก ต อ ไป ตั ว อย า งเช น ภาพที่ เราเห็ น ในภาพยนตร แ นว วิทยาศาสตร (sci-fi) อยาง Transformers, I am Legend และ I, Robot ก็แสดงอารมณความรูส กึ ของคนรวมสมัยทีต่ งั้ คําถามตอความ ลมเหลวของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทีก่ ลับกลายเปนกลไกทําลาย มนุษยไปในที่สุด (ii) เหตุผลอาจไมใชขอสรุปเดียวในชีวิตของมนุษยเสมอไป หรืออีกนัย หนึ่ง คําตอบบางอยางอาจไมไดมาดวยตรรกะการใชเหตุผล ตัวอยาง เชน คําถามที่วา มนุษยเราตายแลวไปไหน หรือในขณะที่มนุษยตาง เชื่อมั่นในเหตุผลของกันและกัน แตทําไมมนุษยชาติจึงยังคงทํา สงครามหรือมีการฆาลางเผาพันธุกันอยูอยางตอเนื่อง (iii) เศรษฐกิจและการเมืองอาจไมใชสนามตอสูเ ดียวในชีวติ ผูค นรวมสมัย เชน การเกิดขึ้นของขบวนการเคลื่อนไหวใหม ๆ ทางสังคม (new social movements) ที่นอกเหนือไปจากเวทีของภาครัฐ/รัฐสภา/ รัฐบาล (อาทิ ขบวนการสิ่งแวดลอมของบรรดา NGO) หรือกรณีของ ความกาวหนาทางเศรษฐกิจทุนนิยมทีเ่ คยเผชิญหนากับภาวะฟองสบู แตกและลุกลามไปในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก (iv) การเกิดขบวนการตอตานกระแสโลกาภิวตั น (anti-globalisation) 30
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
อยางเปนระลอก ๆ เชน กรณีของประเทศอิหรานหรือเกาหลีเหนือ ที่ มี ก ารทดลองพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร โดยไม ส นใจต อ อํ า นาจของ จักรวรรดินิยมอเมริกันเทาใดนัก ปรากฏการณทกี่ ลาวมาขางตนนี้ นักวิชาการบางคนทีส่ งั กัดในกระแสทฤษฎีหลัง สมัยใหม (postmodernism) อยาง อุลริช เบ็ค (Ulrich Beck) จึงเริ่มใหขอสรุปขึ้นใหม วา ในขณะที่สังคมรวมสมัยทุกวันนี้กําลังจะเปลี่ยนผานไปสูกระแสความทันสมัยมากขึ้น แตทวามนุษยชาติก็เริ่มประจักษถึง “ดานมืด” (dark side) ที่เคยซอนเรนและได เผยตัวออกมาจากกระแสธารของความทันสมัยนั้น ๆ ดังนั้น สังคมของพวกเราเองจึง กําลังจะเปลี่ยนผานอีกระลอก จากสังคมสมัยใหม (modern society) ไปสูสังคมแหง ความเสี่ยง (risk society) ที่บอยครั้งความเสี่ยงตาง ๆ ก็มักจะมาจากแดนไกล หรือ แมแตไมอาจรับรูที่มาที่ไปของความเสี่ยงนั้น ๆ ได (Beck 1992) ตัวอยางเชน การที่ สังคมโลกกําลังเผชิญหนากับผูกอการราย (terrorism) ที่กระจายตัวไปทั่ว การเผชิญ หนากับโรคภัยไขเจ็บชนิดใหม ๆ ที่มีแนวโนมจะระบาดรุนแรงในวงกวาง (อาทิ โรคซารส ไขหวัดนก ไขหวัด 2009 โรควัวบา) การเผชิญหนากับความผันผวนของวิกฤติ สิง่ แวดลอมและสภาพภูมอิ ากาศโลกทีแ่ ปรปรวนขนานใหญ (อาทิ กรณีสนึ ามิในมหาสมุทร อินเดีย กรณีพายุแคทลีนา ทีพ่ ดั ถลมในหลาย ๆ มลรัฐของอเมริกา กรณีทอ ขุดเจาะนํา้ มัน บริษัทบีพีรั่วในอาวเม็กซิโก และกรณีปรากฏการณเอลนิญโญที่สงผลกระทบตอสภาวะ แวดลอมโลก) ไปจนถึงการเผชิญหนากับความเสี่ยงที่แมจะยังไมเกิดขึ้น แตก็สราง ความกังวลที่กระจายตัวไปทั่ว (ดังกรณีการทํานายเหตุการณการสิ้นสุดของโลกที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตป 2012 จนนํามาสรางเปนภาพยนตรฮอลลีวูด) นักทฤษฎีสายหลังสมัยใหมยังยํ้าดวยวา ความรูสึกตอความเสี่ยงที่กลาวมานี้ บอยครัง้ ก็ไมไดมาจากประสบการณโดยตรง (direct experiences) หรือประสบการณ ที่ผูคนสัมผัสจับตองดวยตนเอง แตเปนเพียงประสบการณที่ผานสื่อกลาง (mediated experiences) ทวา ก็เปนประสบการณผานสื่อกลางที่มีอํานาจมาก จนกลายเปน ความกลัว/ความกังวลตอความเสี่ยงนั้น ดังกรณีการออกขาวของสื่อมวลชนเกี่ยวกับ ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ที่ระบาดขามทวีปจากเม็กซิโกและกระจายไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ทําใหผูคนจํานวนมากเกิดความกังวลและกลัวการเขาไปอยูในพื้นที่ เสี่ยงตอการติดเชื้อโรค (อาทิ ในโรงภาพยนตรหรือบนเครื่องบิน) รวมถึงสงผลให ผลิตภัณฑเจลลางมือและหนากากอนามัยกลายเปนสินคาขาดตลาดไดในเวลาอันรวดเร็ว
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
31
2. นานาศาสตรวิชากับการศึกษาเรื่อง “ความเสี่ยง”
เนื่องจากความเสี่ยงเปนประเด็นหัวขอที่ผูคนสนใจมากตั้งแตกลางศตวรรษที่ 20 ดังนัน้ จึงมีศาสตรสาขาวิชาหลายแขนง (นอกเหนือจากสังคมศาสตร) ทีส่ นใจวิเคราะห ประเด็นเรื่องความเสี่ยง โดยในหัวขอนี้ ผูเขียนจะขอคัดเลือกสาขาวิชาเดน ๆ ที่พัฒนา มุมมองแนวคิดในการศึกษาเรื่องความเสี่ยง ดังนี้ 2.1 สาขาวิชาการเงิน/การลงทุน (finance/investment) ในกรณีของสาขาการเงิน/การลงทุนนี้ ประเด็นเรื่องความเสี่ยงปรากฏชัดเจนใน แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการประกันภัย (insurance) ทั้งนี้ นิยามของการประกันภัยมี ความหมายว า เป น การลงทุ น ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ล ดความเสี่ ย งลง (risk-reducing investment) เชน การประกันชีวติ ก็คอื การลงทุนเพือ่ เปนหลักประกันความเสีย่ งในชีวติ และทรัพยสินที่อาจมีผลตอผูทําประกันหรือญาติผูใกลชิด ฯลฯ ซึ่งตรงกันขามกับกรณี ของการพนัน (gambling) ที่ถูกนิยามวาเปนการลงทุนซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงได (risk-increasing investment) เชน การพนันบอลหรือพนันมา ก็คือการนําเงินที่มี อยูไปเสี่ยงโชคกับการแขงขันฟุตบอลหรือสนามมา ทั้งนี้ ตามหลักทฤษฎีการลงทุนเห็นวา ทุกวันนี้ ไมวาจะเปนบุคคลหรือองคกร ใด ๆ ก็สามารถเผชิญหนากับความเสีย่ งไดตลอดเวลา ทัง้ จากปจจัยภายนอกทีน่ าํ มาซึง่ ความไมแนนอน (อาทิ ปจจัยจากภัยสงคราม ราคานํา้ มันทีผ่ นั ผวน) และจากปจจัยภายใน บุคคลหรือองคกร (อาทิ ปญหาดานสุขภาพของคน) และผลที่ตามมาก็คือ ความสูญเสีย ที่อาจไมคาดฝน เพราะฉะนั้น หลักทฤษฎีดังกลาวจึงเชื่อวา ตองอาศัยการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพเทานั้นจึงจะชวยลดหรือขจัดความเสี่ยงลง หรือเปนแนวคิดที่นักทฤษฎี กลุมนี้เรียกวา หลักการบริหารจัดการความเสี่ยงภัย (risk management) นั่นเอง (ฐิติวดี ชัยวัฒน 2552) 2.2 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร (economics) ในขณะทีน่ กั เศรษฐศาสตรสนใจศึกษากระบวนการจัดสรรทรัพยากรใหเหมาะสม กับความตองการของมนุษยนั้น พวกเขาไดใหความสนใจศึกษาความเสี่ยงในเชิง เศรษฐศาสตร (economic risk) ในแงมุมที่วา เราจะจัดสมดุลระหวางการสรางรายรับ และรายจายในทางเศรษฐกิจไดอยางไร
32
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ขอสรุปของนักเศรษฐศาสตรกค็ อื ภาวะทางเศรษฐกิจมีแนวโนมจะเสีย่ งอันตราย (hazard) หรืออยูในสภาวะไมมั่นคง (uncertainty) หากอยูภายใตสถานการณอยางใด อยางหนึ่งหรือทั้งสองอยาง อันประกอบไปดวยสถานการณของรายรับที่ตํ่า (low incomes) หรือสถานการณของรายจายทีส่ งู (high expenditures) ดวยเหตุนี้ หากเปน บรรดาธุรกิจสื่อมวลชนทั้งหลาย เราจึงมักพบวา เพื่อลดสภาวะความเสี่ยงลง ธุรกิจสื่อมัก มีแนวโนมจะขายสินคาใหกับผูบริโภคที่มีกําลังซื้อเปนหลัก (ดังกรณีที่ชัดเจนของธุรกิจ สือ่ นิตยสาร) ทัง้ นีเ้ พือ่ เปนหลักประกันรายรับทีส่ งู และแนนอน รวมถึงหลีกเลีย่ งภาวะความ เสี่ยงเชิงเศรษฐกิจในการประกอบการ 2.3 สาขาวิชาจิตวิทยา (psychology) สาขาจิตวิทยาสนใจวิเคราะหตัวแปรตาง ๆ ที่สัมพันธกับจิตใจ (mind) ของ มนุษย และสําหรับในกรณีเรื่องความเสี่ยงนั้น นักจิตวิทยาเห็นวา ความเสี่ยงเปนตัวแปร/ ทีม่ าของความกลัว (fear) ในเรือ่ งตาง ๆ กลาวคือ ความกลัวถือเปนหนึง่ ในสัญชาตญาณ เพือ่ ความอยูร อดในชีวติ ของมนุษย เพราะฉะนัน้ ถามนุษยพบวามีการกระทําใด ๆ ก็ตาม ที่อาจนํามาซึ่งความเสี่ยง เราก็จะเกิดความกลัวขึ้นมา และหาทางหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยง ดังกลาว อาทิ เมือ่ เราไปยืนในทีส่ งู หรือติดขอบหนาผา เราก็จะรูส กึ วาเสีย่ งอันตรายตอชีวติ และกลายเปนความกลัวที่สูงขึ้นมา 2.4 สาขาวิชาการสื่อสาร (communication) แนวคิดเรื่อง การสื่อสารความเสี่ยง (risk communication) เปนแขนงยอย ของการวิจัยดานการสื่อสาร/นิเทศศาสตร/วารสารศาสตรกระแสหลัก ที่มักปรากฏอยูใน กลุม ของวิชาชีพสือ่ หลายสาย โดยเฉพาะสายประชาสัมพันธและสายการวางแผนนโยบาย การสื่อสาร ทั้งนี้ กระบวนทัศนการสื่อสารกระแสหลักเห็นวา การตัดสินใจใด ๆ ที่ เกีย่ วกับการสือ่ สาร มักมีพนื้ ฐานมาจากการหลีกเลีย่ งความเสีย่ ง/ความไมแนนอนเปนหลัก Georg Ruhrmann (2008) ไดชี้ใหเห็นมิติของการสื่อสารความเสี่ยงวา มี 3 มิติสําคัญ กลาวคือ (i) มิ ติ ข องประเด็ น (issue) ในการสื่ อ สารที่ ต อ งหลี ก เลี่ ย งสภาวะ ความเสี่ยง โดยคิดคํานวณจากความนาจะเปนหรือความรุนแรงที่ ความเสียหายตาง ๆ อาจเกิดขึ้นได เชน การรายงานขาวสิ่งแวดลอม และพยากรณอากาศซึ่งจะเตือนภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นไวลวงหนา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
33
(ii)
(iii)
เพื่อใหผูคนไดเตรียมพรอมในการจัดการกับความเสี่ยงนั้น มิติเรื่องกลยุทธการสื่อสาร (communication strategies) ภายใตเงื่อนไขความเสี่ยงที่ตางกัน กลาวคือ ในแตละเงื่อนไขของ ความเสี่ยงนั้น จําเปนตองมีการวิเคราะหวาจะสื่อสารออกไปอยางไร เพราะบางเงือ่ นไข ผูส อื่ สารทีด่ กี อ็ าจตองใชกลยุทธแจงใหทราบทัว่ กัน (ดั ง กรณี ก ารเตื อ นภั ย แผ น ดิ น ไหวและสึ น ามิ หรื อ การชี้ แจงเรื่ อ ง ความเสี่ยงตออุบัติเหตุตาง ๆ) แตในบางเงื่อนไข ผูสื่อสารก็อาจตอง ใชกลวิธีเลี่ยงไมสื่อสารออกไป เพราะยิ่งสื่อสารก็อาจจะยิ่งขยายผล ดานลบในวงกวาง (ดังกรณีการนําเสนอขาวลือตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ ความเสี่ ย งทางเศรษฐกิ จ เช น ข า วลื อ เกี่ ย วกั บ ความผั น ผวนใน ตลาดหุน) มิติเรื่องผูรับสาร (audience) ซึ่งมีบทบาทสําคัญในกระบวนการ เลือกสรรขอมูล/ขาวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง ตั้งแตการเลือกเปดรับ เลือกรับรู เลือกจดจํา และเลือกแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความเสี่ยง ตัวอยางเชน กรณีการประชาสัมพันธรณรงคดานสุขอนามัยตาง ๆ ที่ ผูสื่อสารไมเพียงแตคาดหวังใหผูรับสารเลือกเปดรับเทานั้น หากแต ตองเลือกไปปฏิบัติดวย เพื่อลดปญหาความเสี่ยงตอโรคภัยไขเจ็บ ตาง ๆ
จากทีก่ ลาวมาในสวนทีส่ องนี้ จะเห็นไดวา ประเด็นเรือ่ งความเสีย่ งนัน้ มีแนวทาง การศึกษาทีห่ ลากหลายแตกตางกันไปตามแตละเอกลักษณเฉพาะของศาสตรสาขาวิชานัน้ ๆ และในขณะเดียวกัน แมวาความเสี่ยงจะปรากฏใหเห็นอยูแลวในงานศึกษาดานการ สื่อสารกระแสหลัก ทวาในที่นี้ ผูเขียนจะเลือกขยายอีกมุมหนึ่งของแนวคิดสังคมศาสตร เกีย่ วกับการสือ่ สารกับสังคมแหงความเสีย่ ง ทีพ่ จิ ารณาวาความเสีย่ งมีฐานะเปนวัฒนธรรม ชนิดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวพันกับเรื่องของความหมาย คุณคา อํานาจ และชีวิตทางสังคม ดัง รายละเอียดที่จะไดนําเสนอตอไป
3. นิยามและองคประกอบของ “ความเสี่ยง”
Iain Wilkinson (2010) ไดตงั้ ขอสังเกตเอาไวเกีย่ วกับทฤษฎีความเสีย่ งวา ใน วงวิชาการสังคมศาสตรนนั้ ยังไมมขี อ ตกลงรวมกันทีช่ ดั เจนวาดวยนิยามและวิธกี ารศึกษา
34
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เรื่ อ งความเสี่ ย ง แต อย างไรก็ดี เราอาจจะพอสกัดคุณ ลั ก ษณะและความหมายของ ความเสี่ยงในทางทฤษฎีสังคมไดในระดับหนึ่ง ดังรายละเอียดตอไปนี้ นักทฤษฎีสังคมรวมสมัยลงความเห็นวา ความเสี่ยงเกิดขึ้นและขยายตัวผาน กระแสการสรางความทันสมัยระดับโลก (global modernisation) กลาวคือ ความเสี่ยง เปนหนึง่ ในตัวแปรหรือ “ราคาทีต่ อ งจายคืน” (a price to pay) ใหกบั การกอรูปอารยธรรม สมัยใหม จนกลายเปนความสนใจศึกษาในวงวิชาการกันอยางกวางขวาง ในแงที่มาของคําวา “risk” นั้น บางก็วามาจากรากศัพทภาษากรีกที่พอง ความหมายเดียวกับคําวา “root” ในขณะที่บางคนก็เชื่อวา เปนรากศัพทเดียวกับคําวา “riscum” ในภาษาละติน อันแปลวา “หนาผา” (cliff) ทั้งนี้ หากเราใชขอสังเกตของ Deborah Lupton (1999) จะพบวา แมคําวา “risk” จะมีรากศัพทมานานจากภาษา กรีกหรือละติน แตคํานี้ก็ปรากฏใชกันทั่วไปหรือยืมมาใชในภาษาเยอรมันในชวงครึ่งหลัง ของศตวรรษที่ 16 กอนที่จะเปนที่นิยมใชกันในภาษาอังกฤษราวครึ่งหลังของศตวรรษที่ 17 เปนตนมา แมคําวา “risk” จะเปนที่แพรหลายเมื่อไมกี่ศตวรรษใหหลังมานี้ แตทวาทุกวัน นี้ หรือนับตั้งแตทศวรรษที่ 1970s-1980s เปนตนมา เรื่องราวของความเสี่ยงกลับกลาย เปนหัวขอที่นักวิชาการตะวันตกสนใจ และขยายการศึกษาวิจัยกันอยางเปนลํ่าเปนสัน เนื่องจากเหตุผลหลัก ๆ สามประการ (Tulloch 2008) ดังนี้ (i) ความเสีย่ งกลายเปนประเด็นทีเ่ กีย่ วพันกับชีวติ วัฒนธรรม (cultures) และวัฒนธรรมยอย (subcultures) ของผูค นรวมสมัย กลาวคือ แต เดิมนั้น เราอาจจะสนใจเรื่องราวทางเศรษฐกิจ/การเมือง ในฐานะ ตัวแปรที่เขามากําหนดชีวิตประจําวันของเรา แตทวาทุกวันนี้ เรื่อง ของความเสี่ยงกลับกลายเปนประเด็นใกลชิด/ใกลตัวของผูคนรวม สมัยมากกวา ตัวอยางเชน การขยายตัวของปริมาณรายการสุขภาพ ทางโทรทัศน ทั้งรายการสุขภาพกระแสหลักและรายการสุขภาพทาง เลือกตาง ๆ ฯลฯ รวมไปถึงความเสี่ยงที่ผนวกรวมกับกระบวนการ วัฒนธรรมยอยตาง ๆ ในสังคมดวย เชน การเคลื่อนไหวของกลุม ชาติพันธุตาง ๆ ที่จะใชสื่อพิธีกรรมทองถิ่นเพื่อจัดการกับปญหา สิ่งแวดลอมและปญหาความเสี่ยงตาง ๆ ในชุมชน (ii) ในทางสังคมศาสตร ไดเกิดการตั้งคําถาม/ทาทายขนบในการศึกษา แบบสภาวะวิสยั (objectivism) ทีส่ นใจวิเคราะหชวี ติ และสังคมดวย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
35
วิธีวิทยาเชิงปริมาณ และภายใตการตั้งคําถามกับวิธีวิทยาดังกลาว หัวขอความสนใจใหม ๆ ทางสังคมศาสตรกไ็ ดผดุ ขึน้ มามากมาย เชน ประเด็นเกี่ยวกับสื่อ อํานาจ ชนชั้น ชาติพันธุ เพศสภาวะ อัตลักษณ เหตุผลและอารมณ การตอสูใ นชีวติ ประจําวัน และทีส่ าํ คัญ วิธวี เิ คราะห ระดับจุลภาค (micro-analysis) เกี่ยวกับประสบการณรอบตัว รวมไปถึงกรณีเรื่องของความเสี่ยงดานตาง ๆ ในชีวิต อาทิ กรณี สิ่งแวดลอม สุขภาพ ความอวน ความชรา ฯลฯ (iii) การไดรบั อิทธิพลจากกระแสลัทธิหลังสมัยใหม (postmodernism) ดังที่กลาวมาขางตน ตลอดจนอิทธิพลจากแนวทางการศึกษาใน ลักษณะสหวิทยาการ (interdisciplinary approach) ที่ไมเพียง แตทําใหเรื่องความเสี่ยงกลายเปนประเด็นสนใจ แตยังทําใหการ ออกแบบวิ จั ย ความเสี่ ย งประกอบขึ้ น ด ว ยศาสตร ส าขาวิ ช าที่ หลากหลาย อาทิ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา อาชญวิทยา สิ่งแวดลอม ภาษาศาสตร วรรณกรรม วัฒนธรรมศึกษา สื่อสารศึกษา เปนตน ภายใต ค วามสนใจศึ ก ษาเรื่ อ งความเสี่ ย งที่ ก ล า วมานี้ ข อ ตกลงร ว มกั น ประการหนึ่งของนักทฤษฎีสังคมทั้งหลายก็คือ ภาษาและการสื่อสารมีบทบาทอยางมาก ในการผลิตและแพรกระจายความหมาย/การรับรูของผูคนเกี่ยวกับเรื่องความเสี่ยง ตัวอยางเชน การเผยแพรขาวของ CNN ตอปญหาภาวะโลกรอนและปญหาสิ่งแวดลอม ทั่วโลก การโฆษณาสงเสริมการขายผลิตภัณฑยา/อาหารเสริมใหม ๆ เพื่อปองกัน ความเสีย่ งจากโรครวมสมัย (อาทิ โรคกระดูกพรุนในกลุม สตรีวยั กลางคนขึน้ ไป) การผลิต ภาพยนตรแนววิทยาศาสตร/ผจญภัย/หายนภัยจํานวนมาก ที่กลาวถึงความเสี่ยงตาง ๆ ในสังคมปจจุบัน (อาทิ หายนภัยเรือเดินสมุทรใน Titanic และ Poseidon ภัยจาก กัมมันตภาพรังสีที่สรางสัตวประหลาดขึ้นมาใน Godzilla ผลกระทบจากมลพิษที่ทําลาย สิง่ แวดลอมชุมชนใน Erin Brockovich หรือภัยทีม่ าจากสิง่ มีชวี ติ จากตางดาวใน Aliens และ Predators เปนตน) บทบาทของสือ่ ตาง ๆ เหลานี้ ไมเพียงแคการผลิต แตยงั รวมถึง การแพรกระจายความหมายและความกลัวตอความเสีย่ งสูส าธารณชนในวงกวางอีกดวย
4. ประวัติศาสตรการรับรูของสังคมตอเรื่อง “ความเสี่ยง”
หากเราจะยอนรอยประวัตศิ าสตรการรับรูข องสังคมตอเรือ่ งความเสีย่ ง ก็จะพบวา วิธีคิดของผูคนตอเรื่องความเสี่ยงมีการเปลี่ยนผานมาแลวอยางนอยเปน 4 ระลอกคลื่น 36
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ดวยกัน ดังนี้ ในคลื่นระลอกแรก หรือในยุคดั้งเดิม ความเสี่ยงถูกรับรูวา เปนภาวะที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติหรือโดยอํานาจของสิง่ เหนือธรรมชาติ เชน ความเสีย่ งตาง ๆ เนือ่ งจากการ บันดาลของเทพเจา ปศาจ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ ดังกรณีของภัยจากแผนดิน ไหวสมัยกอน ก็ถูกเชื่อวาเกิดจากปลาอานนทที่อยูใตโลกเกิดพลิกตัว หรือการเกิด ฟาแลบฟาผา ก็มาจากความเชือ่ เรือ่ งรามสูรขวางขวานกับนางเมขลาลอแกวไปมา เปนตน ทั้งนี้ ผูเขียนเองมีขอสังเกตวา แมแตคําวา “เสี่ยง” ในความหมายเดิมของไทย ก็สัมพันธ กับความเชือ่ ในสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ หนือธรรมชาติอยูแ ลว ดังปรากฏอยูใ นคําวา “เสีย่ งทาย” หรือ “เสีย่ งดวง” ก็เปนการผูกความสัมพันธระหวางมนุษยกบั สิง่ เหนือธรรมชาติผา นพิธกี รรม การบนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จนเขาสูยุคคลื่นระลอกที่สอง เมื่อมีการปฏิวัติการพาณิชย (the Commercial Revolution) ระหวางป ค.ศ.1275-1375 พอคาทางเรือชาวอิตาเลียนไดเริม่ ตนนําวิธกี าร ทําสัญญาประกันภัยสมัยใหมเขามาใชในธุรกิจตาง ๆ จุดเปลี่ยนที่สําคัญของยุคนี้ก็คือ มนุษยเริ่มรูจักเอาเงินมาลงทุนเพื่อจัดการกับความเสี่ยง ในขณะเดียวกัน ระบบการ ประกันภัยก็ไดสรางใหเกิดบุคคลที่สามที่จะมารับภาระความเสี่ยงแทนเจาของธุรกิจ และ ภายใตตรรกะเชนนี้ ทําใหธุรกิจตาง ๆ เริ่มมีการคิดคํานวณเพื่อคาดทํานายความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต (Wilkinson 2010) จนกระทั่งศตวรรษที่ 19 เทคนิคการคิดคํานวณความเสี่ยงไดมาถึงจุดเปลี่ยน อีกระลอกหนึ่ง เมื่อสังคมสมัยใหมเริ่มใชความรูทางคณิตศาสตรและสถิติเขามากํากับ ความเสี่ยง โดยเฉพาะการเกิดกระบวนการควบคุมความเสี่ยงหลัก ๆ สามดานดวยกัน ไดแก การเกิดนโยบายรัฐที่จะควบคุมความเสี่ยงจากโรคภัยไขเจ็บ (โดยอาศัยความรูใน ระบบแพทยแผนใหม) การควบคุมความเสี่ยงจากภาวะความยากจน (โดยอาศัยความรู การจัดการเศรษฐกิจแบบใหม) และการควบคุมความเสี่ยงจากอาชญากรรมตาง ๆ (โดย อาศัยความรูการจัดการของระบบกฎหมายและหลักทัณฑวิทยายุคใหม) (Wilkinson 2010) และในชว งศตวรรษเดีย วกั นนี้เ อง ที่ระบบความคิด ของผู ค นก็ เชื่อ ดวยว า ความเสี่ยงนั้นอาจไมไดเกิดตามธรรมชาติหรือจากสิ่งเหนือธรรมชาติอีกตอไป ทวา มี ความเสีย่ งแบบใหมทมี่ นุษยเราเปนผูส รางขึน้ เอง และผลจากความเสีย่ งนัน้ ก็เปนไปไดทัง้ ดานบวกและดานลบ ตัวอยางเชน ความเสี่ยงจากการลงทุนในตลาดหุน ที่อาจทําให นักลงทุนไดกาํ ไร หรือแมแตอาจเสีย่ งตอการขาดทุนไดในเวลาเดียวกัน (สมสุข หินวิมาน 2548) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
37
และในคลื่นระลอกสุดทาย หรือปลายศตวรรษที่ 20 เปนตนมา อิทธิพลจาก กระแสลัทธิหลังสมัยใหม (postmodernism) หรือหลังยุคการทําใหเปนอุตสาหกรรม (post-industrialisation) ความเสี่ยงตาง ๆ มักเกิดขึ้นในระดับมวลชนมากกวา ปจเจกบุคคล และความเสี่ยงเองก็เริ่มถูกตีความวา หมายถึง “อันตราย/ภัยคุกคาม” (danger/hazard/threat) ที่กวางขวางระดับโลก (more globalised) ยากจะบงชี้ชัด ได (less identifiable) มีผลกระทบที่เขมขนนากลัวมากขึ้น (more serious in their effects) จัดการไดยากยิ่งขึ้น (less easily manageable) และสรางภาวะความตื่นกลัว ไปไดทั่ว (anxiety-provoking) (Beck 1992)
5. ทัศนะของนักวิชาการ 4 คนตอการศึกษาการสื่อสารกับความเสี่ยง
แมในปจจุบนั จะมีนกั ทฤษฎีสงั คมหลายคนทีข่ ยายความสนใจมาทีป่ ระเด็นเรือ่ ง การสือ่ สารกับความเสีย่ ง แตอยางไรก็ดี ในทีน่ ผี้ เู ขียนจะขอเลือกนักวิชาการทีโ่ ดดเดนมา 4 คน และอธิบายแงมุมที่นักทฤษฎีเหลานี้พัฒนาความคิดตอเรื่องความเสี่ยง ดังนี้ 5.1 แมรี่ ดักลาส : แนวคิดเรื่องวัฒนธรรมความเสี่ยง นักวิชาการคนแรกที่พัฒนาแนวคิดเรื่องความเสี่ยงขึ้นมา ไดแก แมรี่ ดักลาส (Mary Douglas 1921-2007) ผูเ ปนนักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษทีส่ นใจวัฒนธรรมและ ระบบสัญลักษณ ดักลาสไดอทิ ธิพลทางความคิดมาจากนักสังคมวิทยาสายหนาทีน่ ยิ มชาว ฝรั่งเศสที่ชื่อ เอมิล เดอรไคม (Emile Durkheim) โดยดักลาสเห็นดวยกับเดอรไคมที่ วา เงือ่ นไขทางสังคมเปนตัวกําหนดการแสดงออกซึง่ ความรูส กึ หรือการอธิบายเหตุการณ ตาง ๆ รอบตัวเรา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในยุคที่ความเขมแข็ง/สมานฉันทในสังคม (solidarity) ถูกทําลายลง มนุษยเราก็จะเริ่มรูสึกวาตนเองออนแอลงและเขาสูสภาวะ ความเสี่ยงมากขึ้น และพวกเขาก็จะเริ่มแสวงหากลไกบางอยางในการเขามาจัดการกับ ความเสี่ยงนั้น ๆ ตัวอยางเชน หลังจากเหตุการณผูกอการรายขับเครื่องบินพุงชน ตึกเวิรลดเทรดเซ็นเตอร หรือเหตุการณ 9/11 ชาวอเมริกันหรือแมแตชาวโลกตางก็เริ่ม รูส กึ ตืน่ ตระหนกตอเหตุการณ และรูส กึ ถึงความเสีย่ งจากการเดินทางดวยเครือ่ งบิน ดังนัน้ มาตรการรักษาความปลอดภัยหลาย ๆ อยางจึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อปองกันความเสี่ยง ในสนามบิน อาทิ การตรวจอาวุธที่เขมขน การหามนําของเหลวขึ้นเครื่องบินเกินปริมาณ ที่กําหนด การตรวจเอ็กซเรยกระเปาที่แข็งขันขึ้น ฯลฯ จุดเริม่ ตนความสนใจเรือ่ งความเสีย่ งของดักลาส ปรากฏอยูใ นหนังสือของเธอที่ 38
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ชือ่ Purity and Danger ทีต่ พี มิ พครัง้ แรกในป 1966 และดวยจุดยืนแบบนักมานุษยวิทยา ดักลาสสนใจยอนรอยกลับไปคนหาความหมายของ “สิ่งสกปรก” (dirt) ที่ปรากฏอยูใน สั ง คมต า ง ๆ และพบว า คนในแต ล ะสั ง คมจะรั บ รู ค วามหมายของความสกปรก ไมเหมือนกัน รวมถึงสรางระบบสัญลักษณเขามาอธิบายความหมายของสิ่งสกปรก แตกตางกันดวย ดังเชนกรณีทดี่ กั ลาสไดวเิ คราะหเรือ่ งเลือดประจําเดือนของสตรีในฐานะ ของความไมบริสุทธิ์ ตอมาในภายหลัง ดักลาสไดพัฒนาแนวคิดเรื่องความสกปรกดังกลาวออกไป และสนใจวิเคราะหการรับรูของสังคมตอเรื่องความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ดักลาสไดอรรถาธิบายวา ความเสีย่ งเปนสิง่ ทีถ่ กู ประกอบสรางขึน้ ในชีวติ ประจําวันของผูค น และทีส่ าํ คัญ คนทีอ่ ยู ในกลุม สังคมทีแ่ ตกตางกัน ก็มแี นวโนมทีจ่ ะรับรู/ สรางความหมาย (make sense) ตอ ความเสี่ยงที่แวดลอมตัวเขาไมเหมือนกันดวย เชน คนที่อยูในสังคมแบบตลาดเสรี มักมี แนวโนมจะเชือ่ วา การแขงขันในดานตาง ๆ นัน้ ก็คอื เหตุทม่ี าของความเสีย่ งในชีวติ (อาทิ ความเสี่ยงในการแขงขันทางธุรกิจการตลาด) สวนคนที่อยูในสังคมแบบขาราชการ ก็มัก จะมีวิธีคิดที่วา ปจจัยภายนอกใหม ๆ มักจะทําใหระบบดั้งเดิมเปลี่ยนแปลง และนําไปสู สภาวะความเสีย่ ง เพราะฉะนัน้ ผูค นในระบบราชการจึงมักมีลกั ษณะอนุรกั ษนยิ มและกังวล ตอการเผชิญหนากับปจจัยใหม ๆ ที่เขามาจากภายนอกระบบ นอกจากนี้ ดักลาสยังเห็นดวยกับความคิดทีว่ า ความเสีย่ งในปจจุบนั มักพวงมา กับการขยายตัวของลัทธิทนั สมัย เพราะยิง่ เหตุผลทางวิทยาศาสตรกา วหนามากขึน้ เทาใด ผูค นก็จะยิง่ กังวลกับความเสีย่ งรอบตัวมากขึน้ ทัง้ นี้ ในเกือบทุกสังคม จะมีคนอยางนอย สองกลุมที่ตอสูชวงชิงอํานาจในการนิยามความหมายของความเสี่ยง และพยายามจะ สื่อสารความหมายดังกลาวนั้นออกไปในวงกวาง ในส ว นของกลุ ม แรกนั้ น อาจเรี ย กได ว า เป น กลุ ม ครอบงํ า /ชอบธรรม (legitimate groups) หรือบรรดาผูที่เปนศูนยกลาง (centre) ของอํานาจหลักในการ ผลิตความหมายของความเสีย่ ง คนกลุม นีม้ คี วามพยายามจะสือ่ สารกับคนทัว่ ไปวา สําหรับ สังคมสมัยใหมแลว อะไรบางที่เปนเรื่องเสี่ยง/ไมเสี่ยง ตัวอยางเชน กลุมของหมอ นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร ฯลฯ ซึ่งมีความชอบธรรมในฐานะผูเชี่ยวชาญ ที่มีบทบาท สําคัญที่จะทําใหคนทั้งสังคมรับรูวาความเสี่ยงคืออะไร และเราจะจัดการกับความเสี่ยง เหลานั้นไดอยางไร เชน หมอสมัยใหมก็จะเปนผูผลิตวาทกรรมผานสื่อตาง ๆ ที่จะบอก วา รางกายและชีวิตเราจะเกิดความเสี่ยงจากโรคภัยอันใดไดบาง และเราจะหลีกเลี่ยงโรค เหลานั้นไดอยางไร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
39
ในอีกดานหนึ่ง นอกจากกลุมครอบงําแลว สังคมยังมีบรรดาคนที่อยูใน กลุม ชายขอบ (marginalised group) หรือบางครั้งเรียกวา “กลุมความเปนอื่น” (otherness) ที่แมจะมีอํานาจนอย แตก็เปนผูที่มีบทบาทในการผลิตวาทกรรมตอตาน/ คุกคาม/ทาทาย/ขัดขืนอํานาจในการใหความหมายของความเสีย่ งโดยกลุม ครอบงํากระแส หลัก หรืออีกนัยหนึ่ง วาทกรรมความเสี่ยงที่กลุมชายขอบผลิตออกมานี้ ถือไดวาเปน ปฏิกิริยาที่ตอบโตกับลัทธิทันสมัย (anti-modernism) ซึ่งปรากฏใหเห็นอยูเปนระยะ ๆ ในสังคม ตัวอยางที่ชัดเจนของวาทกรรมตอตานเชนนี้ ปรากฏอยูในงานศึกษาของ นักมานุษยวิทยาชาวแคนาดาที่ชื่อ แมรี่ เบ็ธ มิลส (2548) ตอปรากฏการณความเชื่อผี แมมายในภาคอีสานของไทย ที่เกิดขึ้นเมื่อราวป พ.ศ.2533 ซึ่งโดยทั่วไปแลว ผูคนมักมี แนวโนมจะมองวาผีแมมา ยนัน้ เปนเรือ่ งงมงายและไรสาระ แตสาํ หรับมิลสแลว กลับพบวา ปรากฏการณนี้เปนกระบวนการตอบโตการพัฒนาที่ไมสมดุลในสังคมไทย ที่ยิ่งพัฒนาไป สังคมชนบทก็จะยิ่งถูกผลักใหออกไปอยูชายขอบมากขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง ภายใตกระแส ธารของการเปลีย่ นผานชุมชนหมูบ า นไปสูส งั คมทันสมัย วัฒนธรรมสมัยใหมมแี นวโนมที่ จะสูบเอาทรัพยากรทองถิ่นออกไปจากชุมชน โดยที่ชุมชนหมูบานเองกลับไมไดรับ ประโยชนเต็มทีจ่ ากความเจริญดังกลาว และถูกผลักใหเปนชุมชนชายขอบทีอ่ อ นแอไปใน ทีส่ ดุ เพราะฉะนัน้ วัฒนธรรมทันสมัยจึงถือเปนปจจัยความเสีย่ งหรือภัยโดยตรงตอชุมชน ทองถิ่น อยางไรก็ดี ชุมชนหมูบานอีสานของไทยไดสรางกลยุทธการสื่อสารเพื่อตอบโต กับความลมเหลวของกระบวนการพัฒนาดังกลาว โดยอาศัยอํานาจแหงอิสตรีสรางสัญญะ เรื่องผีแมมายขึ้นมา ทั้งนี้ มิลสช้ีใหเห็นวา โดยปกติแลว สถานะเพศวิถีของผูหญิงใน ความเชื่อพื้นบานมักถูกมองวา เปนสิ่งที่ทรงพลังจนตองควบคุมเอาไว เพราะมิเชนนั้น แลว อาจจะกอใหเกิดอันตรายแกชุมชนหมูบานได ดังนั้นปรากฏการณหรือวาทกรรม ผีแมมา ยซึง่ เปนผีผหู ญิงทีช่ าวชุมชนอีสานไดสรางขึน้ จึงเปนรูปแบบหนึง่ ของการใชอาํ นาจ ของผูห ญิงเพือ่ โตกลับ และเปนพลังของทองถิน่ ในบางจังหวะทีจ่ ะทาทาย/ขัดขืนตออํานาจ ของการพัฒนาตามลัทธิทันสมัย นอกจากแนวคิดเรื่องการตอสูเชิงอํานาจระหวางกลุมครอบงํากับกลุมชายขอบ ที่กลาวมาขางตนแลว ดักลาสไดใหขอสรุปอีกดวยวา สําหรับสังคมทุกวันนี้ ความเสี่ยงมี แนวโนมจะเปนปรากฏการณระดับกลุม (collective constructs) มากกวาจะเปนเรือ่ ง ของปจเจกบุคคลเปนราย ๆ ไป และที่สําคัญ การสื่อสารมีบทบาทหนาที่สําคัญที่ทําให 40
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เกิดปรากฏการณกลุมของความเสี่ยงดังกลาวขึ้นมา ดังตัวอยางกรณีที่ นิธิ เอียวศรีวงศ (2546) ไดนําเสนอไวในงานเขียนเรื่อง ลัทธิพิธีเสด็จพอ ร.5 ในงานชิ้นนี้ นิธิไดทําการวิเคราะหพิธีกรรมสื่อ (media ritual) หรือสื่อ “ลัทธิ พิธี” ที่เกิดขึ้นในสังคมกรุงเทพ ที่มีการเคารพบูชาเสด็จพอ ร.5 ซึ่งนิธิมองวา เปน ปรากฏการณทางสังคม ที่เกิดขึ้นเฉพาะในกลุมของคนที่มีปูมหลังแบบชนชั้นกลางใน กลุ ม นั ก ธุ ร กิ จ ใหญ น อ ย แต ไ ม ใช ข า ราชการที่ มี เ งิ น เดื อ นประจํ า แน น อน ในขณะที่ คนชั้นกลางกลุมนี้ดําเนินชีวิตตามรอยอารยธรรมสมัยใหม (อาทิ มีการศึกษาที่ทันสมัย เขาถึงขอมูลขาวสารไดดี หรือมีฐานะทางเศรษฐกิจสูง) แตอกี ดานหนึง่ พวกเขาก็คอื กลุม คนทีม่ ชี วี ติ อยูท า มกลางภาวะความเสีย่ งจากหลาย ๆ เงือ่ นไข รวมถึงความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากนโยบายของรัฐ ทีส่ รางความไมแนนอนในชีวติ ทางเศรษฐกิจสังคมของพวกเขา ดังนัน้ กระบวนการจัดการกับความเสี่ยงของคนกลุมนี้ก็คือ การหวนกลับไปใชสื่อแบบ “ลัทธิ พิธ”ี ทีม่ มี าแตประเพณีดงั้ เดิมของไทย และสรางความหมายใหมใหกบั “ลัทธิพธิ เี สด็จพอ ร.5” วาเปนกระบวนการทางวัฒนธรรมในการสรางความมั่นคงของอํานาจทางเศรษฐกิจ สังคมของคนชั้นกลางกลุมนี้ 5.2 อุลริช เบ็ค : แนวคิดเรื่องสังคมแหงความเสี่ยง หากจะกลาวถึงนักทฤษฎีหลังสมัยใหมทสี่ นใจประเด็นเรือ่ งความเสีย่ ง และทําให ความเสี่ยงกลายเปนที่สนใจในวงกวางแลว นักวิชาการที่โดดเดนในที่นี้ก็คงหนีไมพน อุลริช เบ็ค (Ulrich Beck 1944- ) ศาสตราจารยดา นสังคมวิทยาชาวเยอรมัน งานเขียน ที่สําคัญของเบ็คก็คือ Risk Society ตนฉบับภาษาเยอรมันเขียนขึ้นเมื่อป 1986 และได รับการแปลเปนภาษาอังกฤษในป 1992 จุดเริ่มตนของเบ็คมาจากความสนใจกรณี ความเสี่ยงในปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม จากกรณีที่เกิดขึ้นในป 1986 เรื่องการรั่วไหล ของกัมมันตรังสีจากโรงงานเชอรโนบิลในยูเครน (ซึง่ สมัยนัน้ ยังเปนแควนหนึง่ ของสหภาพ โซเวียต) กอนทีเ่ ขาจะขยายมุมมองความเสีย่ งไปยังปรากฏการณอนื่ ๆ ทีเ่ ปนผลพวงของ กระแสความทันสมัยในสังคมโลก เบ็ ค ได วิ เ คราะห เ ส น ทางพั ฒ นาการของสั ง คมจากยุ ค สั ง คมอุ ต สาหกรรม (industrial society) มาสูยุคสังคมหลังอุตสาหกรรม (post-industrial society) เขาอธิบายวา เปาหมายของสังคมอุตสาหกรรมก็คือการผลิตสินคาตาง ๆ สนองตอ ความตองการของผูคน หรือเรียกในภาษาอังกฤษวาเปนเปาหมายในการผลิต “goods” ซึ่งในระบบการผลิตดังกลาวนี้ ความเสี่ยงตาง ๆ จะเกิดขึ้นจริงและสัมผัสไดโดยตรง ดัง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
41
กรณีของมลพิษนํา้ เนาจากการปลอยของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมลงตามแมนาํ้ ลําคลอง ที่มีผลกระทบเปนรูปธรรมโดยตรงตอผูที่ใชชีวิตอยูริมแมนํ้า แตเมือ่ มาสูย คุ สังคมหลังอุตสาหกรรม เบ็คเห็นวา สิง่ ทีส่ งั คมดังกลาวผลิตออกมา มากกวาก็คือ “bads” และเขาไดบัญญัติศัพทเรียกสังคมดังกลาวนี้วาเปน “สังคมแหง ความเสี่ยง” (risk society) ทั้งนี้ ภายใตสังคมแหงความเสี่ยงนั้น มนุษยเรากําลัง เผชิญหนากับความเสีย่ งนานาชนิด ทีม่ แี นวโนมจะเปนนามธรรม/จับตองไดยาก (อาทิ ความเสี่ยงจากผลิตภัณฑเกษตรแบบ GMO) คาดทํานายผลลําบาก (อาทิ กรณี ความเสี่ยงจากภาวะเรือนกระจกและโลกรอน) ยากจะคนหาสาเหตุพบ (อาทิ กรณี ผูกอการรายขามชาติซึ่งยากจะสืบคนที่มาได) ควบคุมผลไมได (อาทิ กรณีการเกิด แผนดินไหวและสึนามิ) ขยายผลไปไดเรื่อย ๆ และรวดเร็ว (อาทิ กรณีการระบาดของ โรคซารส ไขหวัดนก และไขหวัด 2009) และที่สําคัญ ความเสี่ยงยุคหลังอุตสาหกรรมยัง เปนกระบวนการทีส่ งั คมสรางขึน้ (social constructs) (อาทิ ปรากฏการณวนั สิน้ โลก ป 2012 ที่ไดรับการผลิตและเผยแพรผานสื่อตาง ๆ อยางสํานักขาวขามชาติและ ภาพยนตรฮอลลีวูด) (Zinn 2008) ในการกาวเขาสูสังคมแหงความเสี่ยงนั้น เบ็คไดเสนอแนวคิดเรื่อง ปฏิกิริยา/ การตัง้ คําถามตออารยธรรมทันสมัย (reflexive modernization) ซึง่ หมายความวา ในขณะที่ความสนใจของคนในยุคสมัยใหมจะเนนอยูที่การพยายามผลิตและแพรกระจาย ความมั่งคั่งใหเขาถึงทุกคน แตสําหรับในยุค “สังคมแหงความเสี่ยง” แลว ปญหาที่ผูคน เผชิญหนาอยูก ค็ อื การฝงความเสีย่ งเขาไปในจิตสํานึกของคน ซึง่ ทําใหคนยุคนีม้ ลี กั ษณะ มองโลกแงราย และพยายามคนหาวิธีการที่จะทําใหตนเองอยูรอดในภาวะความเสี่ยง ทั้งหลาย ดวยเหตุดังกลาว กระบวนการสรางความทันสมัย (modernisation) จึงถูก ภาวการณที่เกิดขึ้นจริงบีบใหผูคนตองยอนกลับมาทบทวนตนเอง และเริ่มคนหาคําตอบ วา เราจะเรียนรู ใหนิยาม และจัดการกับภาวะความเสี่ยงตาง ๆ ไดอยางไร เชน การเกิด ขึน้ ของนิตยสารอยาง National Geographic หรือรายการโทรทัศนอยาง ทีวี 360 องศา ซึ่งนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับความไมแนนอนของการเปลี่ยนแปลงในสภาวะแวดลอมโลก หรื อ ความผั น ผวนไม แ น น อนในการดํ า เนิ น ชี วิ ต แบบสมั ย ใหม เป น ต น ทั้ ง นี้ เบ็ ค ตั้งขอสังเกตวา เนื้อหาของสื่อในทํานองนี้ คงไมใชแคการสะทอน (reflect) “ภาวะ ความเสีย่ ง” แบบตรง ๆ หากแตยังเปนกระบวนการทีเ่ ปดใหมนุษยไดมโี อกาสเผชิญหนา กับตนเอง (self-confrontation) หรือทําใหกระบวนการของสังคมทันสมัยไดถูก ตรวจสอบและวิพากษวิจารณตัวมันเอง 42
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
อยางไรก็ตาม แมวาเบ็คจะตั้งคําถามกับ “ดานมืด” (dark side) ของสังคม ทันสมัยวาเปนเหตุปจจัยของความเสี่ยงตาง ๆ แตทวา จุดยืนของเบ็คเองก็ยังมองสังคม แหงความเสีย่ งดวยสายตาของ “ความหวัง” (hope) ทีเ่ ชือ่ วา แมจะอยูใ นภาวะความเสีย่ ง แตถงึ ทีส่ ดุ แลว มนุษยกจ็ ะคนพบหนทางปลดปลอยตนเองจากพันธนาการของความเสีย่ ง ไปได (คลาย ๆ กับตัวละครเอกทั้งหลายในภาพยนตรแนว sci-fi ที่ฉากจบก็จะสามารถ เอาชนะปญหาตาง ๆ ไดในทีส่ ดุ ) แตทงั้ นี้ ความหวังของมนุษยชาติดงั กลาวจะเกิดขึน้ ก็ ต อ งอาศั ย กระบวนการปฏิ รู ป /จั ด ระเบี ย บใหม ท างสั ง คม (social reform & re-organisation) ซึง่ มักปรากฏอยูใ นลักษณะของการเกิดขบวนการเคลือ่ นไหวใหม ๆ ทางสังคม (new social movements) ที่พยายามจะปฏิรูประบบคิดดานสิ่งแวดลอม สุขภาพ และอืน่ ๆ ดังตัวอยางกรณีงานวิจยั ของ ภัททิรา วิรยิ ะสกุลธรณ (2551) เรือ่ งการ จัดการปญหาแมนาํ้ ปาสักเนาเสียของชาวไท-ยวน อําเภอเสาไห จังหวัดสระบุรี ทีช่ าวบาน พบวา วิธีแกปญหาดวยหลักการทางวิทยาศาสตรแบบเดิมไมอาจเพียงพออีกตอไปแลว ชุมชนไท-ยวนจึงเลือกการนําพิธีกรรมสืบชะตาตามคติความเชื่อของชาวลานนามา ประยุกตใชเพื่อสืบชะตาแมนํ้าแทน และภายใตกลยุทธการใชสื่อพิธีกรรมที่เปนประเพณี ประดิษฐขึ้นใหมนี้ ในระดับปจเจกบุคคลไดเกิดความตระหนักและมีจิตสํานึกเห็นคุณคา แมนํ้าที่จะไปขยายผลในการแกปญหาตอไป พรอม ๆ กับในระดับชุมชนที่เกิดการมี สวนรวมในการอนุรักษแมนํ้า นอกจากคุณลักษณะของสังคมแหงความเสี่ยงที่กลาวมาขางตนแลว เบ็คยังได ตั้งคําถามเรื่องความสัมพันธระหวางชนชั้นกับความเสี่ยงเพิ่มเติมดวย กลาวคือ ใน ขณะทีน่ กั ทฤษฎีสายเศรษฐศาสตรการเมืองเชือ่ วา สังคมทุนนิยมสมัยใหมจะกอปรขึน้ ดวย ความขัดแยง/ไมเทาเทียมกันระหวางชนชัน้ (class) แตเบ็คกลับแยงวา เมือ่ มาถึงยุคสมัย แหงความเสีย่ งนัน้ ปรากฏการณความเสีย่ งและความกลัวตอความเสีย่ งเปนเรือ่ งไมเขาใคร ออกใคร ดังทีเ่ บ็คเปรียบเทียบไวดว ยวลีทคี่ มคายวา “เรือ่ งของควันพิษในอากาศนัน้ เปน ประชาธิปไตยยิ่งนัก” หรือ “smog is democratic” (Beck 1992) อันแปลวา ความเสี่ยงเปนเรื่องที่ ไมมีชนชั้น (classless) และ ไมมีพรมแดน (boundariless) อาทิ กรณีการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอรทไี่ มเขาใครออกใครของกลุม ผูใ ชคอมพิวเตอร ติดตอสื่อสารทั่วโลก ในขณะเดียวกัน การทีค่ วามกังวลตอภาวะความเสีย่ งกลายมาเปนปรากฏการณ ที่ไรชนชั้นและไรพรมแดนเชนนี้ ไมไดหมายความวา แทจริงแลวโลกของเราไดกลายเปน พืน้ ทีท่ มี่ ภี าวะความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ ทุกวัน ๆ แตดว ยเหตุทอี่ ารยธรรมทันสมัยทําใหมนุษยเริม่ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
43
มี สํานึกแหงความเปนปจเจกบุคคลมากขึน้ (individualisation) ในขณะทีค่ วามเชือ่ ตามประเพณีปฏิบตั โิ บราณเอง (อาทิ ความเชือ่ ในสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละศาสนา) ก็เริม่ ลดบทบาท ลง ภาวะความเสี่ยงตาง ๆ จึงไมใชเรื่องที่ “พระเจา” เปนผูกําหนดอีกตอไปแลว แตเปน เรือ่ งที่ “ปจเจกบุคคล” เปนผูส รางและตองเผชิญหนากับชะตากรรมความเสีย่ งของตนเอง ดังเชน ภาพยนตรเรื่อง Terminator ทั้ง 4 ภาค ก็คือการชี้ใหเห็นวา เพราะมนุษยยุคนี้ ตองการเลียนแบบหรือมีอํานาจที่เหนือกวาพระเจา ดวยการสรางเทคนิควิทยาการหุน ยนตรมนุษยที่ทันสมัย แตในที่สุด ภาวะความเสี่ยงจากเทคโนโลยีที่ไมอาจควบคุมได ก็ หวนกลับมาเปนเครื่องจักรสังหารตัวมนุษยเอง เปนตน ในประการสุดทาย อีกเงื่อนไขหนึ่งที่ชวยทําใหภาวะความเสี่ยงกลายเปน ปรากฏการณที่ไรพรมแดนก็คือ การไหลเวียนขาวสารและความรู (circulation of information and knowledge) ในกรณีนี้ นิค สวีเวนสัน (Stevenson 1999) ไดตั้ง ขอสังเกตตอจากงานของเบ็ควา หากทัศนะเรื่อง หมูบานโลก (global village) ของ มารแชล แมคลูฮัน (Marshall McLuhan) เปนการมองสื่อขามชาติในแงดี ที่ทําใหโลก ทัง้ ใบหดแคบลงเปนหมูบ า นเดียว และคนทัง้ โลกจะมีโอกาสเสพวัฒนธรรมและความมัง่ คัง่ ไดอยางเทาเทียมกันแลว อีกดานหนึ่งของสื่อไรพรมแดนก็อาจกลายเปน ผลกระทบที่ เหวี่ยงกลับ (boomerang effects) ซึ่งทําใหประชาคมโลกเองสามารถสื่อสารประเด็น เกี่ยวกับความเสี่ยงไดอยางเทาเทียมและพรอมเพรียงกันหรือเกิดเปน หมูบานโลกแหง ความเสี่ยง (the global village of the risk) ตัวอยางเชน การโคลนนิ่งสิ่งมีชีวิตและ มนุษย หรือการแพรกระจายของผลผลิตทางการเกษตรทีม่ กี ารตกแตงพันธุกรรม (GMOs) ที่ไดกลายมาเปนประเด็นความเสี่ยงแบบไรพรมแดน ที่ผูคนรับรูผานสื่อมวลชนขามชาติ นอกจากกลไกดานสื่อจะทํางานเผยแพรภาวะความเสี่ยงที่ไรพรมแดนแลว ใน งานระยะหลั ง ของเบ็ ค เขายั ง เชื่ อ อี ก ด ว ยว า การทํ า งานดั ง กล า วของสื่ อ เกิ ด จาก แรงผลักดันทางการเมือง (political mobilisation) เปนสําคัญ กลาวคือ หากเราใช คําอธิบายของทฤษฎีจกั รวรรดินยิ มสือ่ (media imperialism) ทีว่ า การสือ่ สารขามชาติ เปนเวทีของการครอบงําพลเมืองโลกของประเทศศูนยกลางอํานาจ (อาทิ ประเทศ ตะวันตกและสหรัฐอเมริกา) เพราะฉะนั้น แมแตเรื่องของการแพรกระจายความเสี่ยง ก็มี แนวโนมจะเกิดจากการผลักดันที่ครอบงําโดยกลุมประเทศดังกลาวนั่นเอง ตัวอยางเชน ขาวสารเกีย่ วกับผูก อ การรายขามชาติทเี่ ผยแพรออกไปทัว่ โลกในชวงหลังเหตุการณ 9/11 ที่มหานครนิวยอรก ก็อาจถูกมองไดวา เปนขาวที่ประเทศศูนยกลางอํานาจอยางอเมริกา ใชเครือขายขามชาติอยาง CNN และสํานักขาวประเทศตะวันตก เปนเครื่องมือครอบงํา 44
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
พลเมืองโลกใหคลอยตามความคิดทีว่ า ภาวะความเสีย่ งตอการกอการรายนีเ้ ปนฝมอื ของ พันธมิตรกลุมบินลาเดนในอัฟกานิสถานและตะวันออกกลาง ทั้งนี้ก็เพื่อใหอเมริกาและ มหาอํานาจบางแหงในตะวันตกมีความชอบธรรมทางการเมืองทีจ่ ะสงกองทัพบุกอิรกั และ อัฟกานิสถาน 5.3 แอนโธนี่ กิดเดนส : แนวคิดเรื่องความเสี่ยงกับการสรางอัตลักษณ นักสังคมวิทยาชาวอังกฤษอยาง แอนโธนี่ กิดเดนส (Anthony Giddens 1938- ) เปนอีกผูหนึ่งที่สนใจศึกษาเรื่องภาวะความเสี่ยงของสังคมสมัยใหม ทั้งนี้ เชนเดียวกับมุมมองของ อุลริช เบ็ค ที่กลาวมาแลวขางตน จุดยืนของกิดเดนสก็เชื่อวา วิทยาศาสตรและวิทยาการสมัยใหมตาง ๆ มีลักษณะเปนเหรียญสองดาน กลาวคือ ในขณะที่เทคนิควิทยาการชวยสรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจสังคมใหกับมนุษยชาติ แต อีกดานหนึ่ง วิทยาศาสตรก็เปนกลจักรสําคัญที่นําไปสูภาวะความเสี่ยงเชนกัน ในบรรดาความเสี่ ย งที่ เ กิ ด จากวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี อั น ทั น สมั ย นี้ กิดเดนสไดจาํ แนกประเภทของความเสีย่ งทีม่ ผี ลกระทบดานลบตอมนุษยชาติเปน 4 ชนิด ดวยกัน อันไดแก ความเสี่ยงที่เกิดจากการควบคุมและรวมศูนยขอมูลขาวสาร (อาทิ กรณีของไวรัสคอมพิวเตอร หรือกลุม แฮคเกอรคอมพิวเตอรทเี่ จาะความลับขอมูลขาวสาร ในโลกดิจิตอล) ความเสี่ยงที่เกิดจากสงครามสมัยใหม (อาทิ ผลพวงจากสงครามและ การใชอาวุธเคมีชีวภาพ) ความเสี่ยงตอการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ผันผวนและ คาดทํานายไมได (อาทิ ความเสี่ยงในการโจมตีคาเงินสกุลตาง ๆ ของนักลงทุน ขามพรมแดน) และ ความเสีย่ งตอระบบนิเวศทีล่ ม สลาย (ตัวอยางเชน กรณีการเกิดขึน้ ของปรากฏการณ เรื อ นกระจก ภาวะโลกร อ นขึ้ น หรื อ ปรากฏการณ เ อลนิ ญ โญที่ สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั่วโลก) กิดเดนสยังกลาวอีกวา แมวาภาวะความเสี่ยงจะเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นจริง แตผูคนสวนใหญจะรับรูความจริง (truth) ในเรื่องดังกลาวจาก ประสบการณผานสื่อ (mediated experiences) ในชีวิตประจําวัน หรืออีกนัยหนึ่ง แมผูคนจะไมไดสัมผัส กับเหตุการณทเี่ สีย่ งเหลานัน้ โดยตรง และไมอาจตอบไดวา ขอเท็จจริงของเหตุการณนนั้ ๆ เปนเชนไร แตที่สําคัญก็คือ ผลพวงของประสบการณเสี่ยงที่ไดรับผานสื่อ กลับสราง ความเปลี่ยนแปลงใหกับสังคมในแบบ ฉับพลันทันที (immediate effects) เชน กรณี การเสนอขาวของสื่อมวลชนเกี่ยวกับไขหวัดนกที่เคยระบาดหนักในแถบประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเมื่อตนป พ.ศ.2547 ทําใหผูรับสารเมืองไทยเกิดอาการตื่นตระหนก แบบเฉียบพลันไปทั่วประเทศ และหลายคนเลิกบริโภคหรือจําหนายสัตวปกในทองตลาด Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
45
จนเปนเหตุใหอตุ สาหกรรมผูเ ลีย้ งเปดไกประสบปญหาทางเศรษฐกิจ และรัฐบาลตองออก โครงการรณรงคการบริโภคไก รวมถึงจัดงาน “มหกรรมการกินไก” ขึ้นทั่วประเทศ นอกจากนี้ แมกดิ เดนสจะเห็นดวยกับเบ็คในแงทวี่ า สังคมปจจุบนั มีแนวโนมจะ กาวเขาสูสังคมแหงความเสี่ยง แตทวา ประเด็นที่กิดเดนสสนใจนั้นไดแก ความสัมพันธ ระหวางภาวะความเสี่ยงกับอัตลักษณ (identity) ซึ่งนั่นหมายความวา ในขณะที่เบ็ค สนใจผลของความเสี่ยงในระดับสังคม แตกิดเดนสกลับเชื่อวา ถึงจะอยูในยุคสังคมแหง ความเสี่ยงก็มิไดหมายความวา ภาวะความเสี่ยงของมนุษยจะเพิ่มมากขึ้นกวาที่เคยมีมา ในอดีต ตรงกันขาม สาระสําคัญนาจะอยูท คี่ าํ ถามวา ภาวะความเสีย่ งนัน้ สงผลตอการสราง ตัวตน/อัตลักษณของปจเจกบุคคล (self-identity) มากกวา เชน กรณีความเสี่ยงที่ เกี่ยวของกับสุขภาพของผูคนยุคนี้ที่ไมอาจสืบคนหาสาเหตุที่แทจริงได (อาทิ อาจมาจาก สภาพแวดลอมที่ผันแปร การบริโภคที่ผิดหลักโภชนาการ มลพิษดานตาง ๆ หรือ ความเครียดในชีวิตประจําวัน) เพราะฉะนั้น ภาวะความเสี่ยงดังกลาวจึงนําไปสูการสราง อัตลักษณและรูปแบบการดําเนินชีวิตของผูคนยุคใหม อาทิ การเกิดพฤติกรรมสุขภาพ ใหม ๆ อยางการบริโภคอาหารแบบชีวจิต การฝกโยคะและชี่กงเพื่อสุขภาพกายและ ความสงบใจ การเขาโรงยิมและฟตเนสเพือ่ เพาะรางกาย การขยายตัวของบริการแบบสปา วารีบําบัด และการบําบัดดวยกลิ่นธรรมชาติ (aromatherapy) หรือการเกิดขึ้นของ นิตยสารสุขภาพทางเลือกเปนจํานวนมาก ทัง้ หมดนีไ้ มเพียงแตเปนปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ ในสังคมเมืองของไทย แตเปนเหตุการณที่เกิดรวมกันในสังคมเมืองใหญ ๆ ทั่วโลก ตัวอยางงานทีศ่ กึ ษาเรือ่ งความเสีย่ งกับการสรางอัตลักษณนไี้ ดแก งานของ วิจติ ร วองวารีทิพย (2552) ที่ไดตั้งคําถามวา ในสภาพแวดลอมที่เต็มไปดวยความเสี่ยงแบบ ทุกวันนี้นั้น เปนเรื่องงายมากที่รางกายของเราจะถูกทําใหเสื่อมโทรม หรือที่เรียกวา “ความเสียหายชํารุดในรางกาย” (the brokenness of bodies) หรือ “ความขัดของของ กลไกในการทํางานภายในกาย” (a breakdown in bodies) อาทิ ความเสี่ยงจาก ความเหี่ยวยนของผิวหนังและใบหนา ฯลฯ และที่สําคัญ ความชํารุดทางกายหรือ ความเสี่ยงตอสุขภาพดังกลาว ก็มักจะเปนสิ่งที่ถูกประกอบสรางขึ้นโดย “ตลาด” เพื่อ กระตุนใหผูบริโภครูสึกวิตกกังวลตอความเสี่ยงที่ลอมรอบตนเอง โดยมีภาคธุรกิจ อยางนอย 2 กลุมหลักที่ปฏิบัติการอยูในสังคมความเสี่ยงนี้ กลุมแรกก็คือ กลุมธุรกิจที่ เนนปฏิบัติการลงทุนจากภายนอกรางกาย เชน อุตสาหกรรมเครื่องสําอาง ธุรกิจแฟชั่น ฯลฯ และกลุมที่สองคือ กลุมที่เนนปฏิบัติการที่ทําใหงามจากภายในผานการรับประทาน เขาสูรางกาย เชน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมอาหารเสริม 46
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
วิจติ รไดยกตัวอยางกรณีของธุรกิจอาหารเสริม ซึง่ ใชกลยุทธการสือ่ สารทางการ ตลาดเปนบันได 4 ขั้น เพื่อใหผูบริโภครับรูและสรางตัวตนบางอยางตอความเสี่ยง ดังนี้ • บันไดขั้นที่ 1 : ธุรกิจอาหารเสริมจะเริ่มสื่อสารดวยการใชเหตุผลที่ อางอิงความจําเปนบางอยางในประเด็นสุขภาพวา ทําไมผูบริโภคจึง ตองใชอาหารเสริมอยางตอเนื่องและยาวนาน อาทิ การอางขอมูล วิชาการวาปญหาสุขภาพคนเราไมเพียงแตเกิดจากเชือ้ โรคเทานัน้ ทวา มาจากความไมใสใจสุขภาพของคนเรา จนทําใหขาดสารอาหาร บางชนิดที่อาจทําใหรางกายชํารุดได • บันไดขั้นที่ 2 : หลังจากผูบริโภคเขาใจแลววา ปญหาสุขภาพมาจาก ความไมใสใจดูแลสุขภาวะของตนเอง ผูผลิตก็จะสงสารหรือชุด ความคิดเรื่อง “ความไมพอเพียง” ออกไป อันหมายความวา แมวา ปจเจกจะดูแลสุขภาพดวยการออกกําลังกาย กินอาหารที่มีประโยชน และพักผอนเต็มทีเ่ พียงพอแลวก็ตาม แตนนั่ ก็ยงั ไมเพียงพอตอการได มาซึ่งสุขภาพที่ดีเลิศ เพราะทุกวันนี้ ไมมีชีวิตใครที่จะหลีกเลี่ยงจาก ความเสี่ยงตาง ๆ รอบตัวไปได อาทิ ภาวะสิ่งแวดลอมเปนพิษ หรือ วิ ถี ก ารผลิ ต อาหารที่ ใช ส ารเคมี จนทํ า ให ร า งกายต อ งเผชิ ญ กั บ ความเสี่ยงอยูดี • บันไดขั้นที่ 3 : ธุรกิจอาหารเสริมจะลงมือสรางภาพความนาเชื่อถือ ใหกับตัวผลิตภัณฑ อาทิ การอางวาไดรับคํารับรองตามกฎหมายจาก สถาบันตางประเทศ การอางรายงานผลการวิจัยตาง ๆ รวมไปถึงการ สรางตราสัญลักษณ (brand) ใหกบั ผลิตภัณฑ (เชน การสรางคําขวัญ หรือสโลแกนวา “เคล็ดลับความงามจากดินแดนอาทิตยอุทัย” ฯลฯ) • บันไดขั้นสุดทาย : ธุรกิจจะใชกลยุทธการขยายอุปสงคในเชิง ประเภท/ชนิ ด ของการใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารเสริ ม ออกไป นั่ น หมายความวา ผูบ ริโภคทีป่ รารถนาจะมีสขุ ภาพทีด่ เี ลิศ ไมอาจจะจํากัด การใชสารสกัดเพียงตัวเดียวได แตจําเปนตองใชรวมกับสารสกัด ตัวอื่น ๆ อีกมากมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดตอสุขภาวะรางกาย กลยุทธการสือ่ สาร 4 ขัน้ บันไดนี้ ทายทีส่ ดุ ก็คอื เงือ่ นไขทีธ่ รุ กิจอาหารเสริมสราง และควบคุมใหผคู นรับรูถ งึ ความเสีย่ งตอสุขภาพของตน และกอรูปอัตลักษณ/ตัวตนของ การเปนผูบ ริโภคผลิตภัณฑอาหารเสริมเพือ่ จัดการกับความเสีย่ งทางรางกายของตนขึน้ มา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
47
5.4 มิเชล ฟูโกต : แนวคิดเรื่องความเสี่ยงกับการจัดวินัยทางอํานาย มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault 1926-1984) เปนนักคิดชาวฝรั่งเศสและ นักปรัชญาสังคมการเมืองแหงศตวรรษที่ 20 และนําเสนอแนวคิดตาง ๆ ทีส่ าํ คัญมากมาย โดยเฉพาะทัศนะของเขาเกีย่ วกับ อํานาจ (power) ทัง้ นี้ ฟูโกตปฏิเสธความเชือ่ ทีว่ า อํานาจ มักมีลักษณะรวมศูนย แตตรงกันขาม อํานาจมีลักษณะเปนอนุภาคเล็ก ๆ ที่กระจายตัว ไปถวนทั่วทั้งสังคม หรือที่ฟูโกตเรียกวา จุลฟสิกสแหงอํานาจ (micro-physics of power) อาทิ อํานาจในการสรางความกลัวเรื่องความอวน ที่ผลิตผานสถาบันเล็ก ๆ ที่ กระจัดกระจายไปทั่ว ไมวาจะเปนแพทย โรงพยาบาล สถานลดนํ้าหนัก ผลิตภัณฑ ลดนํ้าหนัก บริษัทยา ตําราเรียน สื่อมวลชน และอื่น ๆ ที่ประสานพลังกันในการกํากับ ความหมายและการรับรูของผูคนวา ความอวนเปนปญหาสุขภาพ เสี่ยงตอโรคภัย และ เปนทีน่ า รังเกียจของทุกคนในสังคม (ดูรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับแนวคิดของฟูโกต ใน กาญจนา แกวเทพ และสมสุข หินวิมาน 2551) ในทามกลางแนวคิดอันหลากหลายของฟูโกต แนวคิดหนึ่งที่เกี่ยวของกับ ประเด็นเรือ่ งอํานาจในการจัดการความเสีย่ งก็คอื การควบคุม/ปกครองสมัยใหมทมี่ ผี ล ตอจิตใจ/จิตวิญญาณ (governmentality) ซึง่ หมายความวา ในขณะทีส่ งั คมดัง้ เดิมมี แนวโนมจะใชกลยุทธการควบคุมความคิด พฤติกรรม และการกระทําของมนุษยผาน อํานาจทางศาสนา (pastoral care) เชน การใชระเบียบศีลธรรม การใชกลไกสารภาพ บาปในโบสถคริสต การควบคุมการแสวงหาความสุขจากการกินดื่มและกามารมณ ฯลฯ แตในสังคมสมัยใหม หรือตั้งแตศตวรรษที่ 18 เปนตนมา กลวิธีจัดวินัยทางอํานาจ แบบนี้ไดเปลี่ยนแปลงไป โดยสังคมไดพัฒนากลยุทธการปกครอง (govern) แบบใหม ที่เขามากํากับควบคุมดูแลจิตใจ/จิตวิญญาณ (mentality) แทน ซึ่งปรากฏอยูใน 3 ลักษณะคือ (i) การควบคุมรางกาย ประชากร แรงงาน และเศรษฐกิจ ซึ่งมักควบคุม ผานรูปแบบของการสํารวจ สถิติ บันทึกประวัติ อายุ สวนสูง นํ้าหนัก ประวัติการใชความรุนแรง การดื่ม การใชยา จังหวะการทํางาน การพักผอน การเขางาน ฯลฯ (ii) การควบคุมดานกฎหมายและรัฐศาสตร (iii) การควบคุมความเปนศาสตรตาง ๆ ทั้งนี้ การควบคุม/ปกครองจิตใจทั้งสามลักษณะนี้ จะนําไปสูการสรางความรู (knowledge) ในการใชชีวิตดานตาง ๆ ของมนุษย ไมวาจะเปนความรูเรื่องสุขภาพ 48
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
สุขภาวะ สวัสดิการ ความมั่นคง รวมไปถึงการจัดการความเสี่ยงในทุก ๆ ทาง (ธีรยุทธ บุญมี 2551) ในขณะเดียวกัน ในกระบวนการที่จะสรางการควบคุมและผลิตความรูดังกลาว ไดนั้น ฟูโกตเห็นวา ตองมีการใชภาคปฏิบัติการตาง ๆ ในสังคม ที่มีอํานาจทําใหปจเจก ถูกปกครอง/ควบคุม (governed) ทั้งผานการใชกําลังบังคับ และที่สําคัญ การทําให ยินยอมทําตาม (make possible) โดยปจเจกยอมรับวา ความรู (ที่เขามากํากับควบคุม ตนเอง) นั้น เปนสิ่งที่ทําใหชีวิตของเราดีขึ้นกวาเดิม สําหรับในประเด็นเรื่องความเสี่ยงและการจัดวินัยทางอํานาจนั้น หากใชทัศนะ ของฟูโกต เราอาจกลาวไดวา ความเสีย่ งเปนปฏิบตั กิ ารชนิดหนึง่ ในอันทีจ่ ะปกครองจิตใจ/ จิตวิญญาณของปจเจกเอาไว หรืออีกนัยหนึ่ง ความเสี่ยงเปนชุดวาทกรรมที่ถูกผลิตขึ้น เพือ่ ควบคุมวินยั เหนือรางกาย ความคิด และพฤติกรรมของเราวา สําหรับคนยุคนี้ เราตอง กังวลหรือกลัวกับความเสี่ยงในเรื่องอันใดบาง เรื่องอะไรบางที่ถอื เปนความเสี่ยง/ไมเสี่ยง และเราจะจัดการตนเอง (self-management) เพือ่ ไมใหชวี ติ ตกอยูใ นสภาวะความเสีย่ ง ไดอยางไร เชน ในโฆษณาโทรทัศนที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑลดนํ้าหนักทั้งหลาย ก็จะพูด ถึงผลลบตาง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับผูห ญิงทีม่ รี ปู รางอวน (อาทิ ถูกสังคมมองอยางนารังเกียจ ไมประสบความสําเร็จเรือ่ งความรัก มีบคุ ลิกภาพไมนา พอใจ เสีย่ งตอการเปนโรคอีกหลาย ชนิด) และใหคําอธิบายอีกดวยวา ผูหญิงเหลานี้พึงจัดการตนเองตอความเสี่ยงในเรื่อง เรือนรางที่อวนอยางไร (อาทิ ตองบริโภคยาบางชนิด หรือตองใชอุปกรณชวยกระชับ สัดสวน) กระบวนการจัดวินัยหรือจัดการตนเองตอความเสี่ยงเชนนี้ ในทายที่สุด ก็สราง ใหเกิด “รางกายใตบงการ” (docile body) ที่มีอํานาจและผลประโยชนของภาคธุรกิจ กํากับอยู นอกจากนี้ ฟูโกตเห็นวา ภาคปฏิบตั กิ ารของความเสีย่ งไมไดสอื่ สารผานเรือ่ งเลา แบบเดี่ยว ๆ (a narrative) หรือผานชองทางการสื่อสารอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น ตรงกันขาม วาทกรรมความเสี่ยงจะมีลักษณะของการวางเปนโครงขายแหงอํานาจ (network of power) ที่กระจัดกระจายและเกาะเกี่ยวตัวกันเปนชุดของเรื่องเลา (narratives) หลายชุด หรือผานชองทางการสื่อสารหลากหลายชอง แตทั้งหมดตาง ทํางานสอดประสานพลังกัน เพื่อกํากับควบคุมความคิด/พฤติกรรมของปจเจกเอาไว ตัวอยางในงานวิจยั ของ เขมวดี ขนาบแกว (2549) ไดทาํ การศึกษากลยุทธการ สื่อสารขอมูลความรูในฐานะเครื่องมือสงเสริมการขายยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษ โดยตรงตอผูบ ริโภค ซึง่ ในกรณีนี้ เขมวดีไดเลือกกรณีของยาไวอากรา ของบริษทั ไฟเซอร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
49
อินเตอรเนชันแนล (ประเทศไทย) ที่มีขอบงชี้วาเปนยารักษาอาการหยอนสมรรถภาพ ทางเพศ หรือเปนยารักษาโรคประเภททีน่ กั วิชาการบางกลุม เรียกวา “โรคไลฟสไตล” หรือ “โรคที่ถูกอุปโลกนขึ้นโดยบริษัทยา” ซึ่งไมใชอาการที่เปนภาวะเจ็บปวยที่แทจริง แตเปน อาการที่ผูบริโภคยารูสึกวาตนเองอยูในภาวะความเสี่ยงตอคุณภาพชีวิต จากการวิเคราะหเนือ้ หาและวิธกี ารนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับยารักษาอาการหยอน สมรรถภาพทางเพศผานสื่อตาง ๆ เขมวดีพบวา เนื้อหาความรูที่บริษัทยาสื่อสารปอนให กับผูบริโภคนั้น มีสองชุดความรูหลัก ๆ ดวยกัน กลาวคือ ความรูชุดแรกจะเกี่ยวของกับ เรื่องอาการหยอนสมรรถภาพทางเพศ โดยในการเผยแพรความรูชุดนี้ เพศสัมพันธจะถูก ตีความวาเปนกิจกรรมที่ไมมีขอจํากัดเรื่องอายุ (เพราะแมแตชายวัยทองก็ยังมีความ ตองการทางเพศอยู) และปญหาเพศสัมพันธถือเปนเรื่อง “คอขาดบาดตาย” เพราะทําให สูญเสียความเปนชาย เสียความมัน่ ใจ รวมถึงสงผลกระทบตอการใชชวี ติ คู/ ชีวติ ครอบครัว และทีส่ าํ คัญ อาการหยอนสมรรถภาพทางเพศนัน้ ก็จะถูกนิยามดวยวา เปน “โรค” ทีร่ กั ษา ได แตตองดวยการบริโภคยาเทานั้น สํ า หรั บ ความรู ชุ ด ที่ ส อง จะเกี่ ย วข อ งกั บ ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ ห คํ า อธิ บ ายว า “ไวอากราไมใชยาปลุกเซ็กส” ทีส่ ามารถใชไดอยางมีสมรรถนะและปลอดภัย เมือ่ อยูภ ายใต การดูแลของแพทย ทัง้ นี้ ชุดความรูด งั กลาวถูกผลิตเพือ่ ตอบโตกบั วาทกรรม/ความเขาใจทีว่ า ไวอากราเปนยาปลุกอารมณทางเพศและอาจเปนอันตรายจากเรือ่ ง “ตายคาอก” ในขณะเดียวกัน เขมวดีไดสกัดกลยุทธการสรางความชอบธรรมใหกบั ความรูต อ ยารักษาอาการหยอนสมรรถภาพทางเพศ ซึง่ มีทงั้ หมด 5 ลักษณะดวยกันคือ (1) กลยุทธ การสร า งความรู ที่ เ น น หนั ก ไปถึ ง การสร า งความตระหนั ก รู เ กี่ ย วกั บ โรค (disease awareness campaign) โดยใชวิธีเราความกลัวและวิตกกังวลตออาการ (2) การใชรูป แบบทางวิชาการในการนําเสนอ (3) ใชเทคนิควิธีการนําเสนอแบบโฆษณา (4) เปนชุด ความรูที่บอกความจริงครึ่งเดียว (half-truth) ที่เนนประโยชนของบริษัทเปนหลัก และ (5) เปนชุดความรูที่ใหหลักประกันวา จะขจัดปญหาใหผูบริโภคยาได และจะนํามาซึ่ง ตัวตนใหมของผูบริโภคที่ดีกวาเดิม และในประการสุดทาย เขมวดีไดลงมือวิเคราะหกลยุทธการสือ่ สารและโครงขาย ของอํานาจในการแพรกระจายชุดความรูขางตนออกไปสูสาธารณะ และพบวา บริษัทยา ไดมีการผูกโยงโครงขายชองทางอันซับซอน ที่จะผลิตและเผยแพรความรูวาดวยการใช ยารักษาอาการหยอนสมรรถภาพทางเพศ ตั้งแตโครงขายของชองทางการสื่อสารทั่วไปที่ จะปอนขอมูลความรูไปยังผูบริโภค ไมวาจะเปนนิตยสารสุขภาพ รายการสุขภาพทาง 50
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
โทรทัศน เว็บไซตขอมูลสุขภาพเพศชาย ขาวประชาสัมพันธ จุลสารสุขภาพเพศชาย การตลาดเชิงกิจกรรม (event marketing) การตลาดทางตรง (direct marketing) ฯลฯ ไปจนถึงโครงขายของผูเชี่ยวชาญ (expert) ในอันที่จะเผยแพรความรู (distribution of knowledge) ไปสูส าธารณะ เชน การสรางแพทยพนั ธมิตรในฐานะผูเ ชีย่ วชาญของบริษทั ที่จะสื่อสารความรูออกไปไดอยางนาเชื่อถือ ทั้งนี้ จากการวางโครงขายของชองทางการ สื่อสารดังกลาว ทําใหบริษัทยามีอํานาจในการผลิตวาทกรรมความเสี่ยงเรื่องสุขภาพทาง เพศ ทีเ่ ปนระบบแบบแผน มีขนั้ ตอน มีความซับซอน และทีส่ าํ คัญ ทรงพลังในการควบคุม นิยามความหมายเรื่องการจัดการปญหาอาการหยอนสมรรถภาพทางเพศ ที่จะเปนได ดวยการบริโภคยาเทานั้น
รายการอางอิง กาญจนา แก ว เทพ และสมสุ ข หิ น วิ ม าน. (2551). สายธารแห ง นั ก คิ ด ทฤษฎี เศรษฐศาสตรการเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพ: ภาพพิมพ. เขมวดี ขนาบแกว. (2549). “การสื่อสารขอมูลความรูในฐานะเครื่องมือสงเสริมการ ขายยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษโดยตรงตอผูบ ริโภค: กรณีศกึ ษาการสง เสริ ม การขายยารั ก ษาอาการหย อ นสมรรถภาพทางเพศ”, วารสาร นิเทศศาสตร, ปที่ 24 ฉบับที่ 4. ฐิติวดี ชัยวัฒน. (2552). การบริหารความเสี่ยงภัยและการประกันภัยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ:โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นิธิ เอียวศรีวงศ. (2546). ลัทธิพิธีเสด็จพอ ร.5. กรุงเทพ: สํานักพิมพมติชน. ธีรยุทธ บุญมี. (2551). มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault), กรุงเทพ: สํานักพิมพวิภาษา. ภัททิรา วิริยะสกุลธรณ. (2551). บทบาทสื่อพิธีกรรมในการอนุรักษแมนํ้าปาสักของ ชาวไท-ยวน อําเภอเสาไห จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธปริญญานิเทศศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มิแช็ล ฟูโกต (2547). รางกายใตบงการ: ปฐมบทแหงอํานาจในวิถสี มัยใหม. แปลโดย ทองกร โภคธรรม, กรุงเทพ: คบไฟ. แมรี่ เบ็ธ มิลส (2548). “ผีแมมายประจัญบาน: เพศภาวะ ความตาย และความทันสมัย ในสังคมไทยอีสาน”, แปลโดย สมสุข หินวิมาน, ใน กาญจนา แกวเทพ และคณะ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
51
(บก.), ทั้งรัก ทั้งใคร ทั้งใชความรุนแรงตอผูหญิง. เชียงใหม: ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิจิตร วองวารีทิพย (2552). “ความเสี่ยง ความเสื่อม สุขภาพ และตัวตน”, รัฐศาสตร สาร, ปที่ 30 ฉบับที่ 2. สมสุข หินวิมาน (2548). “ทฤษฎีการสือ่ สารกับโลกาภิวตั น”, ใน ปรัชญานิเทศศาสตร และทฤษฎี ก ารสื่ อ สารหน ว ยที่ 8-15, นนทบุ รี : สาขาวิ ช านิ เ ทศศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Allen, S. et al (2000). Environmental Risks and the Media. London: Routledge. Beck, U. (1992). Risk Society: Towards a New Modernity. London: Sage. Douglas, M. (1991). Purity and Danger: An Analysis of the Concepts of Pollution and Taboo. London: Routledge. Giddens, A. (1990). The Consequences of Modernity. California: Stanford University Press. Lechte, J. (2003). Key Contemporary Concepts: From Abjection to Zeno’s Paradox. London: Sage. Lupton, D. (1999). Risk. London: Routledge. Ruhrmann, G. (2008). “Risk Communication”, in Wolfgang Donsbach (ed.), The International Encyclopedia of Communication, Volume X, Malden: Blackwell. Stevenson, N. (1999). The Transformation of the Media: Globalisation, Morality and Ethics. London: Longman. Tulloch, J. (2008). “Culture and Risk”, in Jens O. Zinn (ed.), Social Theories of Risk and Uncertainty: An Introduction. Malden: Blackwell. Tulloch, J. and Lupton, D. (2003). Risk and Everyday Life. London: Sage. Wilkinson, I. (2010). Risk, Vulnerability and Everyday Life. London: Routledge. Zinn, J. (2008). “Risk Society and Reflexive Modernization”, in Jens O. Zinn (ed.), Social Theories of Risk and Uncertainty: An Introduction. Malden: Blackwell. 52
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย Sufficiency Economy Philosophy in an Application for Micro and Small Enterprises in Chiang Rai Province ประภาพรรณ ไชยานนท **
บทคัดยอ การศึกษาวิจัยเรื่องการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอย และวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการประยุกต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย และเปรียบเทียบระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอยและ วิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามประเภทของการผลิต การบริการ และ การคา โดยขอมูลทีใ่ ชในการศึกษาประกอบดวยขอมูลปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภูมิ เครือ่ งมือทีใ่ ช ในการศึกษาไดแก แบบสอบถามโดยกลุม ตัวอยางเปนวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาด เล็กจํานวน 400 ราย เพื่อใหไดระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งแบง เปน 11 เกณฑ (D-ถึงA) ตามเกณฑคะแนน 1.00-5.00 และการสัมภาษณกลุม ผูป ระกอบ การและผูท รงคุณวุฒิ ทีเ่ กีย่ วของกับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็ก จํานวน 3040 ราย เพื่อหาแนวทางในการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เหมาะสม ขอคนพบจากการศึกษามีรายละเอียดดังตอไปนี้ ระดับการนําแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชกับวิสาหกิจรายยอย และวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย พบวา สําหรับวิสาหกิจรายยอยมีระดับการ ประยุกตใชโดยทัว่ ไปอยูใ นระดับปานกลาง และแนวปฏิบตั ทิ อี่ ยูใ นเกณฑ C+ ไดแก แนวคิด ดานขนาดการผลิต แนวคิดดานตนทุนและกําไร แนวคิดดานลักษณะการจัดการที่ เกี่ยวกับผลผลิต และปจจัยการผลิต แนวคิดดานการเนนการมีผลิตภัณฑที่หลากหลาย * ไดรับทุนสนับสนุนจากคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ป พ.ศ. 2551 **Ph.D. in management, Adamson University (2003), ปจจุบันเปนผูชวยศาสตราจารยประจํา โปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ (เศรษฐศาสตรธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
53
และสามารถปรับเปลีย่ นผลผลิตหรือการผลิตได แนวคิดดานการบริหารความเสีย่ ง แนวคิด ดานการตอบสนองตอตลาดตางๆ แนวคิดในการลงทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร ในองคกรชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม และแนวคิดการเผยแพรความรูและแบงปน ความรูสูสาธารณชน สวนแนวคิดที่ไดระดับการประยุกตใชอยูในระดับ C ไดแก แนวคิด เกี่ยวกับลักษณะเทคโนโลยีที่ใช สําหรับวิสาหกิจขนาดเล็กมีระดับการประยุกตใชของทุก แนวคิดอยูในระดับปานกลาง และผลการเปรียบเทียบระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจ รายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงรายพบวา มี 5 ดานที่มีระดับการประยุกต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน ไดแก ดานลักษณะเทคโนโลยีที่ใช ดานขนาด การผลิต ดานลักษณะการจัดการที่เกี่ยวกับผลผลิตและปจจัยการผลิต ดานการเนนการ มีผลิตภัณฑที่หลากหลาย และดานการลงทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรในองคกร แตกตางกันอยางนัยสําคัญทางสถิติ ดานลักษณะเทคโนโลยีที่ใช ธุรกิจคาสงมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจ บริการและคาปลีก ดานขนาดการผลิต ธุรกิจผลิตมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจ บริการและคาปลีก ดานลักษณะการจัดการที่เกี่ยวกับผลผลิตและปจจัยการผลิต ธุรกิจ คาสงมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจผลิต ธุรกิจบริการ และธุรกิจคาปลีก ดานการ เนนการมีผลิตภัณฑที่หลากหลาย ธุรกิจผลิตมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจบริการ และธุรกิจคาปลีก ธุรกิจคาสงมีระดับการประยุกตใชตา งจากธุรกิจบริการ และธุรกิจคาปลีก ดานการลงทุนเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ บุคลากรในองคกร ธุรกิจบริการมีระดับการประยุกต ใชตางจากธุรกิจผลิต และธุรกิจคาสง ธุรกิจคาสงกับธุรกิจคาปลีก ที่มีระดับการประยุกต ใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน คําสําคัญ: การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจ ขนาดเล็ก, เชียงราย
54
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
Abstract The study of “Sufficiency Economy Philosophy in an Application for Micro and Small Enterprises in Chiang Rai Province” aims to achieve two objectives; 1) To study the application level of the sufficiency economy philosophy in micro and small enterprises in Chiang Rai province and 2) To compare the application level of the sufficiency economy philosophy between micro and small enterprises in Chiang Rai province among production sector, service sector and trade sector. The data was collected through primary sources and secondary sources, by using 400 questionnaires that divided into 11 criteria (D- to A) from 1.00-5.00 points according to score, conversational interview 30-40 entrepreneurs and MSEs experts as researching tools. The study shows that the application level of the sufficiency economy philosophy in micro enterprises in Chiang Rai province is generally at C+ level or medium level as same as the application in practical sections such the production concept, principal and profit concept, concept of product management and factors of production, concept of variable and flexible product, risk management, market demand reaction, concept of investment for community development, and concept of public knowledge distribution. Despite this, the application of technology is the only aspect that has the application of the theory in C level. It is also found that the small enterprises apply the theory in all the above mentioned concepts at C+ level or medium level. In term of the comparison of the sufficiency economy philosophy application level between micro and small enterprises, the significant differences were found in the following 5 aspects; application of technology, production size, concept of product management and factors of production, varieties of product, and lastly, investment for organizational development. That is to say; the wholesale business applies the theory differently from Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
55
service business and retail business in term of the application of technology. In term of production size, the production sector applies the theory differently from the wholesale business and retail business. Unlike the production sector, service business and retail business, the wholesale business uses the theory differently in term of product management and factors of production. Corresponding to the varieties of product, the production sector utilizes the theory diversely from those in service business, retail business while the retail business’ is also different from service business and retail business. In the last aspect, investment for organization development, the service business applies the theory in different level with production sector and wholesale business while the wholesale business is also differed from the retail business. Keywords: Sufficiency Economy Philosophy in an Application, Micro and Small Enterprises, Chiang Rai
บทนํา แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช ไดเริม่ ตนเผยแพรในป พ.ศ. 2517 เปนครัง้ แรก ซึง่ พระองคทรงมีพระบรมราโชวาท แกบณ ั ฑิตผูส าํ เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วาการพัฒนาประเทศนัน้ ตอง เนนการสรางพืน้ ฐานคือ “ความพอมีพอกิน พอใช” และถือไดวา เปนจุดเริม่ ตนของแนว ปรัชญาการนําเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนาประเทศ และประยุกตใชการดําเนินงาน ทางธุรกิจและการดําเนินชีวติ ประจําวัน จนกระทัง่ ประเทศไดประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ในชวงป 2540 ในชวงเวลานั้นพบวาแนวปรัชญานี้เปนแนวทางที่จะสามารถแกปญหา เศรษฐกิจดังกลาวไดเปนอยางดี โดยการยึดหลักการสําคัญของแนวปรัชญานีค้ อื ความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางระบบภูมคิ มุ กันในตัว จนกระทัง่ หลังจากทีป่ ระเทศ ผานพนปญหาวิกฤตเศรษฐกิจแลวจึงไดมกี ารนําแนวปรัชญาเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียงบรรจุ เขาไปในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 ซึง่ นํามาใชในป พ.ศ. 2545-2549 ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับนี้ ไดกลาวถึงแนวการดํารงอยูแ ละปฏิบตั ติ น 56
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ของประชาชนในทุกระดับตัง้ แตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนา และบริหารประเทศใหดาํ เนินไปในทางสายกลาง มีความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ ความจําเปนทีจ่ ะตองมีระบบภูมคิ มุ กันในตัวทีด่ พี อสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิด จากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในและภายนอก อยางไรก็ตามแนวปรัชญานีส้ ามารถนํามาประยุกตใชไดกบั ทุกระดับชัน้ ของสังคม และทุกภาคเศรษฐกิจ แตสวนใหญแลวจะมีการยกตัวอยางของการนําแนวปรัชญานี้ใน ดานการเกษตรมากกวา เชน แนวทางพระราชดําริกบั เกษตรทฤษฎีใหม เปนตน ทําใหคน ทัว่ ไปยังคงคิดวาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชไดกบั ภาคการเกษตรเทานัน้ แต ในความเปนจริงแนวปรัชญาดังกลาวยังสามารถประยุกตใชไดกับภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ดวย อยางเชนภาคธุรกิจที่ไดนําแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางในการ บริหารจัดการ ไดแก โครงการสวนพระองคจติ รลดา สหกรณโคนมหนองโพราชบุรี จํากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ) ที่ถือไดวาเปนตัวอยางการนําแนวปรัชญานี้มาใชอยางสมบูรณ และธุรกิจอืน่ ไดแก ชุมพรคาบานา รีสอรท บานอนุรกั ษกระดาษสา บริษทั แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด(มหาชน) บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด(มหาชน) รวมถึงธุรกิจผลิตและสงออกของ เลนไม ในชื่อบริษัท Wonder world products และบริษัท Nichi world และบริษัท กิฟฟารีน เปนตน ซึ่งธุรกิจเหลานี้ยึดหลักการ 3 ขอของแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางระบบภูมิคุมกันในตัว และเงื่อนไขสําคัญ 2 ประการคือ การมีคุณธรรมและความรอบรู รอบคอบซึ่งเปนการจุดประกายใหผูวิจัย ตองการศึกษาถึงระดับการประยุกตใชแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาควิสาหกิจ ซึ่ง สวนใหญเปนธุรกิจทีเ่ นนทุน แตเนือ่ งจากจํานวนวิสาหกิจสวนใหญเปนวิสาหกิจขนาดเล็ก ดังขอมูลป 2549 พบวา มีวสิ าหกิจขนาดเล็กจํานวน 2,264,734 ราย จากจํานวนทัง้ หมด 2,287,057 ราย คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 99 (สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม, 2550) สําหรับขอมูลจํานวนวิสาหกิจขนาดเล็กในภาคเหนือก็พบวา วิสาหกิจ ขนาดเล็กในภาคเหนือมีจาํ นวนถึง 396,536 ราย หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 99.67 ของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็กทั้งหมดในภาคเหนือเชนกัน ทําใหการศึกษาครั้งนี้เนน ที่วิสาหกิจขนาดเล็กเปนหลัก และในวิสาหกิจขนาดเล็กยังสามารถแยกไดเปนวิสาหกิจ รายยอย ซึง่ ถือไดวา เปนธุรกิจใหมทคี่ อ นขางสงผลกระทบการเศรษฐกิจของประเทศ ทําให ผูวิจัยตองการศึกษาถึงวิสาหกิจทั้งรายยอยและขนาดเล็กในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ จังหวัดเชียงราย พื้นที่ทําการศึกษาวามีระดับการประยุกตใชแนวทางปฏิบัติตามแนว Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
57
ปรัชญานีม้ ากนอยเพียงใด และในแตละประเภทของวิสาหกิจรายยอยและขนาดเล็ก ไดแก ภาคการผลิต ภาคบริการ และภาคการคาในจังหวัดเชียงรายมีระดับการประยุกตใชแนวทาง ปฏิบัติตามแนวปรัชญานี้แตกตางกันอยางไร
วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอย และวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย 2. เปรียบเทียบระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจ รายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามประเภทการผลิต การบริการ และการคา
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบกิจการ วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กใน 3 ลักษณะ คือ การผลิต การบริการ และการ คา ซึ่งจะเปนประโยชนในการจัดการกิจการตางๆ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให ถูกตองเหมาะสมเปนประโยชนตอผูประกอบการ รวมถึงเปนการสรางศักยภาพและ ความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจได ญาทีจ่ ะทําใหเกิดความมัน่ ใจในการตัดสินใจใชแนว 2. ไดองคความรูแ หงภูมปิ ญ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบการตางๆ อยางเหมาะสมกับกิจกรรมและชนิด ของกิจการไดอยางชัดเจน 3. เผยแพรลงในวารสารหรือเว็บไซดของหนวยงานสนับสนุน และองคกรตาง ๆ ไดแก 1) สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย 2) สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย 3) สํานักงานการคาภายใน 4) หอการคาจังหวัดเชียงราย และ 5) สมาคมทองเทีย่ วจังหวัด เชียงราย เปนตน 4. ไดองคความรูใหมในการวิจัยเกี่ยวกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจระดับจังหวัด เชียงราย 5. บริการความรูแ กหนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับการสงเสริมแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปสูการปฏิบัติของชุมชนและทองถิ่น 58
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
กรอบแนวคิดทฤษฎี แนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดมีการทบทวนเอกสารโดยเริ่มจาก แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ โดยสุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 98-100) ไดกลาวเพิม่ เติมถึง ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) วาเปนการกระทําพอประมาณดวยเหตุผล การพัฒนาตองเปนไปตามลําดับขั้นตอน ตองสรางภูมคิ มุ กันในตัวเพือ่ ใหสามารถเผชิญและอยูร อดจากผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการ เปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายนอกและภายใน ต อ งมี ค วามรอบรู ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําเอาวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการ ทุกๆ ขัน้ ตอน ตองเสริมสรางใหคนไทยมีพนื้ ฐานทางจิตใจไปในทางสํานึกในคุณธรรม และ ความรอบคอบ นอกจากนั้นยังตองสรางความสมดุลพรอมที่จะเผชิญและยอมรับความ เปลี่ยนแปลงในดานตาง การวิจัยนี้ศึกษาถึงระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจ รายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็ก (MSEs) โดยพิจารณาตามหลักการ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางภูมิคุมกัน และเงื่อนไขคุณธรรมและความรู หลักการ มีหลักสําคัญ 3 ประการคือ 1. ทํากิจการธุรกิจอยางมีเหตุผล คือทําตามความถนัดและความชํานาญของ ตนเอง 2. ทํากิจการธุรกิจอยางพอประมาณ คือทําตามกําลังความสามารถของตนเอง ทําอยางรูเทาทันและทําตามศักยภาพที่ตนมี ไมทําเกินความสามารถ 3. ทํากิจการธุรกิจอยางสามารถคุม กันตนเองได คือทํางานอยางมีหลักประกัน ควบคุมงานได ควบคุมตนเองได ไมโลภเกินไป ไมเสีย่ งจนเกินความสามารถในการควบคุม เงื่ อ นไข การทํ า งานหรื อ ทํ า กิ จ การธุ ร กิ จ ได ผ ลดี แ ละต อ งมี เ งื่ อ นไขสํ า คั ญ ภายใน ตัวผูประกอบการ 2 ประการคือ 1. เปนคนดี มีคุณธรรม ไมเอาเปรียบลูกคา ไมเอาเปรียบพนักงาน แรงงาน ลูกจางหรือผูสงสินคา นั่นคือเปนคนสุจริต เที่ยงธรรม 2. เปนคนที่มี ความรอบรู ในกิจการสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตองดวย ความรูจริง ซึ่งจากปรัชญาดังกลาวสามารถโยงไปสูแนวปฏิบัติของธุรกิจ โดยเปนการ ประมวลแนวทางปฏิบัติของสุวกิจ ศรีปดถา (2549) ที่ศึกษาการประยุกตหลักการธุรกิจ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
59
ตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจชุมชน และอภิชัย พันธเสน (2546) ทีศ่ กึ ษาการประยุกตพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ยอม เขาดวยกันเปนแนวทางปฏิบัติของธุรกิจ 7 ขอ และไดเพิ่มเติม 2 ขอ จากการ รวบรวมตัวอยางธุรกิจทีไ่ ดนาํ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ไดแก โครงการสวนพระองค จิตรลดา สหกรณโคนมหนองโพราชบุรีจํากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ) ชุมพรคาบานา รี ส อร ท บ า นอนุ รั ก ษ ก ระดาษสา บริ ษั ท แพรนด า จิ ว เวลรี่ จํ า กั ด (มหาชน) บริ ษั ท ไทยเพรซิเดนทฟูดส จํากัด(มหาชน) บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด(มหาชน) บริษัท Wonder world products และบริษัท Nichi world และบริษัทกิฟฟารีน ทําใหไดแนว ปฏิบัติ 9 ประการที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ดังนี้ 1. ใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม นัน่ คือ เทคโนโลยีทรี่ าคาไมแพง แตถกู หลักวิชาการ 2. มีขนาดการผลิตที่เหมาะสม สอดคลองกับความสามารถในการบริหาร จัดการ 3. ไมโลภเกินไปและไมเนนกําไรระยะสั้น 4. ซื่อสัตย สุจริตในการประกอบการไมเอารัดเอาเปรียบผูบริโภค และไม เอารัดเอาเปรียบแรงงานหรือลูกคา ตลอดจนไมเอารัดเอาเปรียบผูจําหนายวัตถุดิบ 5. เนนการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลิตภัณฑที่หลากหลายและ/หรือมี ความสามารถในการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑได 6. เน น การบริ ห ารความเสี่ ย งตํ่ า โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ไม ก อ หนี้ จ นเกิ น ความสามารถในการบริหารจัดการ 7. เนนการใชวัตถุดิบภายในทองถิ่น และตอบสนองตลาดในทองถิ่น ภูมิภาค ตลาดในประเทศและตลาดตางประเทศ ตามลําดับ เปนหลัก 8. เนนใหความสําคัญกับการลงทุนเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ บุคลากรในองคกร ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม 9. ใหความสําคัญกับการเผยแพรความรู และแบงปนความรูสูสาธารณชน นอกจากนั้นไดทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับนิยามของ วิสาหกิจรายยอยและ ขนาดเล็ก (MSEs) โดยสามารถแบงลักษณะของวิสาหกิจรายยอยและขนาดเล็กไดดัง ตารางตอไปนี้
60
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 1 เกณฑจํานวนแรงงานและทุนจดทะเบียนของวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจ ขนาดเล็ก
ประเภทกิจการ 1. กิจการการผลิต 2. กิจการใหบริการ 3. กิจการคาสง 4. กิจการคาปลีก
วิสาหกิจรายยอย วิสาหกิจขนาดเล็ก จํานวนแรงงาน ทุนจดทะเบียน จํานวน ทุนจดทะเบียน (คน) (ลานบาท) แรงงาน(คน) (ลานบาท) 1-4 ไมเกิน 5-49 ไมเกิน 50 500,000 1-4 ไมเกิน 5-49 ไมเกิน 50 1,000,000 1-4 ไมเกิน 5-49 ไมเกิน 50 1,000,000 1-4 ไมเกิน 5-49 ไมเกิน 30 1,000,000
(ที่มา : 1.กระทรวงอุตสาหกรรม, 2551 2. Allal, 1999) จากตารางขางตนจะเห็นความแตกตางระหวางวิสาหกิจรายยอยและขนาดเล็ก ทั้งในดานจํานวนแรงงานและทุนจดทะเบียน นอกจากนี้วิสาหกิจรายยอยอาจถูกเรียกวา วิสาหกิจรากหญา ที่ถือวามีความสําคัญตอการเติบโตทางเศรษฐกิจ เนื่องจากในระบบ เศรษฐกิจที่ตนทุนการผลิตและคาแรงสูงขึ้น วิสาหกิจรากหญาสามารถดําเนินการไดดวย ตนทุนการผลิตและคาแรงที่ตํ่ากวา เปนแหลงสินคาราคาถูกใหกับผูมีรายไดนอย อีกทั้ง ระบบเศรษฐกิจที่พัฒนาแลวระบบหวงโซทางธุรกิจทําใหทั้งวิสาหกิจรายยอยซึ่งมีสัดสวน คอนขางสูงมีความสําคัญมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
วิธีการศึกษา การศึกษาวิจัยในเรื่อง “การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจ รายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย” ใชเครื่องมือทั้งแบบสัมภาษณและ แบบสอบถามโดย ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก ผูประกอบการวิสาหกิจรายยอยและ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
61
ขนาดเล็กในพื้นที่จังหวัดเชียงราย โดยรวมถึงผูจดทะเบียนพาณิชยทั้งประเภทบุคคล ธรรมดา และนิตบิ คุ คล ซึง่ ขอมูลของผูจ ดทะเบียนรวบรวมจากองคการบริหารสวนจังหวัด เชียงรายและสํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดเชียงราย เปนจํานวนทัง้ สิน้ 14,677 ราย โดยกําหนดกลุม ตัวอยางจากสูตรการกําหนดขนาดตัวอยางของ Taro Yamane (1997) ไดกลุมตัวอยางจํานวนทั้งสิ้น 400 ราย และทําการสุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมตัวอยาง ประเภทการสุม ตัวอยางแบบหลายขัน้ ตอน (multi-stage sampling) โดยขัน้ ทีห่ นึง่ ใชวธิ ี สุม ตัวอยางแบบแบงชัน้ (stratified random sampling) แบงอําเภอทัง้ 18 อําเภอออก เปน 3 กลุมตามจํานวนประชากร และเพื่อใหประชากรในการวิจัยนี้มีโอกาสเปนกลุม ตัวอยางเทาเทียมกันผูวิจัยจะสุมอําเภอมาจํานวน 50% ของแตละกลุม รวมเปน 10 อําเภอ ขั้นที่สองจะสุมตัวอยางตําบลที่จะเปนพื้นที่ศึกษาอีก 50% จากพื้นที่ศึกษา 10 อําเภอ และขั้นที่สามผูวิจัยจึงกําหนดขนาดกลุมตัวอยางใหมีความเทาเทียมกันระหวาง วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็ก คือกลุมละ 200 ราย ในการเก็บขอมูลจะใชวิธี การสุมตัวอยางแบบเจาะจง (purposive sampling) กับเจาของหรือผูจัดการวิสาหกิจ รายนั้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ก ลุ ม ตั ว อย า ง สํ า หรั บ การสั ม ภาษณ เพื่ อ ใช ใ นการพั ฒ นา แบบสอบถาม ไดแก 1) ประธานและรองประธานหอการคา สมาชิกหอการคา ประธาน และรองประธานสภาอุตสาหกรรม สมาชิกสภาอุตสาหกรรม ประธานและรองสมาคม ทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย และสมาชิกสมาคมทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย 2) กลุม ผูประกอบการรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็ก รวมแลวจํานวน 30-40 คน โดยใชวิธีการ สุมตัวอยางโดยไมใชความนาจะเปนแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
62
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ขั้นตอนการศึกษา วัตถุประสงค การวิจัย 1. เ พื่ อ ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต ป รั ช ญ า เศรษฐกิจพอ เ พี ย ง กั บ วิ ส าหกิ จ ราย ยอยและ ขนาดเล็ ก ใน จั ง ห วั ด เชียงราย 2. เ พื่ อ เ ป รี ย บ เที ย บระดั บ การประยุกต ป รั ช ญ า เศรษฐกิจพอ เ พี ย ง กั บ วิ ส าหกิ จ ราย ยอยและ ขนาดเล็ ก ใน จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย จํ า แนกตาม ประเภทการ ผ ลิ ต ก า ร บริ ก าร และ การคา
ระเบียบวิธีวิจัย
กิจกรรม
ผลที่คาดวา จะไดรับ 1. การสั ม ภาษณ 1. รวบรวมขอมูลทุตยิ ภูมิ 1. ทราบระดับการ เ พื่ อ พั ฒ น า 2. สัมภาษณเพือ่ พัฒนา ประยุกตปรัชญา แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ เศรษฐกิ จ พอ 2. การสํารวจโดย 3. ทดสอบแบบสอบ ถาม เ พี ย ง กั บ ใชแบบสอบถาม 4. เก็บรวบรวมขอมูล วิ ส า ห กิ จ ร า ย โดยใชแบบสอบถาม ย อ ยและขนาด กั บ ผู ป ระกอบการ เล็ ก ในจั ง หวั ด MSEs ในจั ง หวั ด เชี ย งรายแยก เชียงราย ตามประเภทการ ผลิ ต บริ ก าร และการคา 1. การสั ม ภาษณ 1. นํ า ข อ มู ล จากการ 1. ทํ า ใ ห ท ร า บ เ พื่ อ พั ฒ น า เก็ บ รวบรวมได ใ น ความแตกต า ง แบบสอบถาม ของระดั บ การ ข อ ที่ 1 มาเปรี ย บ 2. การสํารวจโดย เทียบหาความแตก ป ร ะ ยุ ก ต ใชแบบสอบถาม ต า งของระดั บ การ ป รั ช ญ า 3. วิเคราะหเปรียบ ประยุ ก ต ป รั ช ญา เศรษฐกิ จ พอ เทียบระดับการ เศรษฐกิจพอเพียงใน เพี ย งในแต ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต แต ล ะประเภทของ ประเภทของ ป รั ช ญ า วิ ส าหกิ จ รายย อ ย วิ ส า ห กิ จ ร า ย เศรษฐกิ จ พอ และวิสาหกิจขนาด ยอยและ เพียงโดยใชวิธี เล็ก ไดแก ธุรกิจการ วิสาหกิจขนาด O n e W a y ผลิ ต การบริ ก าร เล็ก ANOVA และการคา
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
63
การศึกษาระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอยและ ขนาดเล็กในจังหวัดเชียงรายไดกําหนดเกณฑการประเมินระดับความสอดคลองใน แบบสอบถามใหเปนคะแนนไดดังนี้ • ระดับความสอดคลอง 0-20 % หมายถึง 1 คะแนน • ระดับความสอดคลอง 21-40 % หมายถึง 2 คะแนน • ระดับความสอดคลอง 41-60 % หมายถึง 3 คะแนน • ระดับความสอดคลอง 61-80 % หมายถึง 4 คะแนน • ระดับความสอดคลอง 81-100 % หมายถึง 5 คะแนน โดยมีเกณฑการวัดระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังนี้ • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ A ชวงคะแนน 4.60 – 5.00 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ A- ชวงคะแนน 4.24 – 4.59 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ B+ ชวงคะแนน 3.88 – 4.23 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ B ชวงคะแนน 3.52 – 3.87 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ B- ชวงคะแนน 3.16 – 3.51 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ C+ชวงคะแนน 2.80 – 3.15 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ C ชวงคะแนน 2.44 – 2.79 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ C- ชวงคะแนน 2.08 – 2.43 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ D+ ชวงคะแนน 1.72 – 2.07 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ D ชวงคะแนน 1.36 – 1.71 • ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจระดับ D- ชวงคะแนน 1.00 – 1.35
ผลการศึกษาและการอภิปรายผล ตอนที่ 1 ผลการศึกษาระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ วิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย 1. ภาพรวมวิสาหกิจรายยอย ตารางที่ 2 ผลการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอยใน จังหวัดเชียงราย
64
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
แนวคิด 1. แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะ เทคโนโลยีที่ใช 2. แนวคิดดานขนาดการผลิต
3. แนวคิดดานตนทุนและกําไร
4. แนวคิ ด ด า นลั ก ษณะการ จั ด การที่ เ กี่ ย วกั บ ผลผลิ ต และปจจัยการผลิต
5. แนวคิ ด ด า นการเน น การมี ผลิตภัณฑที่หลากหลายและ ความสามารถปรั บ เปลี่ ย น ผลผลิต/การผลิตได
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง C 1. ไมเนนการนําเขาเทคโนโลยีจาก ตางประเทศมาใช C+ 1. การขยายการผลิตมาจากตลาด ทองถิ่นแบบคอยเปนคอยไป 2. ไมมุงผลิตจํานวนมาก ๆ เพื่อ ใหตน ทุนตอหนวยตํา่ ลงเรือ่ ย ๆ C+ 1. ใชเงินจากการสะสมทุนมาขยาย กิจการมากกวาการกูเงินจาก สถาบันการเงิน 2. ไมเพิ่มวงเงินเชื่อหากกิจการที่ ใชทนุ ของตัวเองแลวมีคาํ สัง่ ซือ้ เพิ่มขึ้น C+ 1. การให บ ริ ก ารขายและบริ ก าร หลังการขายแกลกู คาอยางเทีย่ ง ธรรม 2. การลดคาใชจา ยในทางธุรกิจลง โดยไมลดแรงงานและคาวัสดุ ดิบ C+ 1. การใชวัสดุการผลิตเครื่องมือ เครื่ อ งใช ท า นสามารถหา ทดแทนจากแหลงใกลได 2. การจั ด การวั ต ถุ ดิ บ ส ว นใหญ ท า นสามารถหาได จ ากแหล ง ใกล แ ละมี ใ ห เ ลื อ กมากพร อ ม คลังจัดเก็บ
ระดับ BC+
C+
C+
C+
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
65
ตารางที่ 2 (ตอ) แนวคิด 5. แนวคิ ด ด า นการเน น การมี ผลิตภัณฑที่หลากหลายและ ความสามารถปรั บ เปลี่ ย น ผลผลิต/การผลิตได
6. แนวคิดดานการบริหารความ เสี่ยง
66
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง C+ 1. การใชวัสดุการผลิตเครื่องมือ C+ เครื่ อ งใช ท า นสามารถหา ทดแทนจากแหลงใกลได 2. การจั ด การวั ต ถุ ดิ บ ส ว นใหญ ท า นสามารถหาได จ ากแหล ง ใกล แ ละมี ใ ห เ ลื อ กมากพร อ ม คลังจัดเก็บ 3. การที่ โรงงานมี ผ ลผลิ ต ภั ณ ฑ นอยอยาง ยอมควบคุมงายกวา และคุมสตอกไมยุงยาก หรือ ขายสินคาตามประเภทที่มีอยู C+ 1. การขอสิ น เชื่ อ ไม ค วรขอมาก C+ เกินไปแตเนนการชําระคืนไดใน กําหนด 2. ปฏิบัติตามคําแนะนําดานภาษี ข อ ง เจ า ห น า ที่ ส ร ร พ า ก ร มากกวานักบัญชี เพื่อปองกัน ป ญ หาจากการเรี ย กเก็ บ ภาษี ยอนหลัง 3. ปฏิ บั ติ ต ามที่ ชุ ม ชนต อ งการ ดานคาใชจา ยดานสิง่ แวดลอมคู ไปกับที่กฎหมายกําหนดเสมอ 4. นักธุรกิจไมควรขยายธุรกิจโดย หวังผลกําไรสูงเปนหลักสําคัญ
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 2 (ตอ) แนวคิด 7. แนวคิดดานการตอบสนองตอ ตลาดตาง ๆ 8. แนวคิ ด ในการลงทุ น เพื่ อ พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร ในองคกรชุมชน สังคม และ สิ่งแวดลอม
9. แนวคิดการเผยแพรความรู แ ล ะ แ บ ง ป น ค ว า ม รู สู สาธารณชน
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง C+ 1. แนวความคิดที่จะไมแบงหุนให Bตางชาติถาตางชาติมาขอรวม ทุ น ผลิ ต เพื่ อ ส ง ออกและเป น เจาของโรงงาน C+ 1. แนวความคิดที่องคกรไดมีการ C+ จัดอบรมจริยธรรม คุณธรรม ให แกพนักงานอยางสมํ่าเสมอ 2. แนวคิดทีอ่ งคกรของทานมักจะ คํานึงถึงผลกระทบของธุรกิจ ตอพนักงาน สิ่งแวดลอม และ ชุมชนในอันดับตน ๆ เสมอ 3. แนวคิดที่จะไมลดตนทุนโดย การปลดคนงานออกในกรณีที่ ธุ ร กิ จ ของท า นประสบป ญ หา สภาพคลอง C+ 1. แนวคิ ด ที่ ว า ในกระบวนการ C+ ผลิต/บริการของทาน ใหความ สําคัญกับการใชภูมิปญญาทอง ถิ่ น ที่ สื บ ท อ ด กั น ม า แ ล ะ ตองการอนุรักษรักษาไว 2. แนวคิดที่วาองคกรของทานได ลงทุนในโครงการตาง ๆ ทีเ่ ปนการ แบ ง ป น ความรู สู ส าธารณชน เชน การเผยแพรความรูทาง อินเทอรเน็ต แผนพับ เปนตน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
67
ตารางที่ 2 (ตอ) แนวคิด
ภาพรวมวิสาหกิจรายยอย
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 3. แนวคิดทีว่ า องคกรของทานเปด โอกาสในการเรียนรูใ หนกั ศึกษา ทั้ ง ในและนอกท อ งถิ่ น เข า ฝกงานและเยี่ยมชม 4. แนวคิ ด ว า การบริ ห ารจั ด การ องค ก รไม เ ป น ความลั บ ทาง ธุรกิจและควรมีการเผยแพร C+
2. ภาพรวมวิสาหกิจขนาดเล็ก ตารางที่ 3 ผลการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัด เชียงราย แนวคิด
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 1. แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะ C+ 1. เครื่องจักรและแรงงานไดผลิต C+ เทคโนโลยีที่ใช สินคาอยางเต็มที่ (Full Capacity) 2. ความสามารถในการซอมแซม บํ า รุ ง และรั ก ษาเครื่ อ งจั ก รใน กิจการ
68
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 3 (ตอ) แนวคิด
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 3. การใช เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ใน ประเทศทั้ ง ในด า นเครื่ อ งมื อ และชางผูชํานาญการ 4. การไมเนนการนําเขาเทคโนโลยี จากตางประเทศมาใช 2. แนวคิดดานขนาดการผลิต C+ 1. การขยายการผลิตมาจากตลาด C+ ทองถิ่นแบบคอยเปนคอยไป 2. การมีตลาดตางประเทศรองรับ ในสวนเกินที่ผลิตขายภายใน ประเทศไดตลอด 3. การรักษาการผลิตเพือ่ จําหนาย ในประเทศมากกวาตางประเทศ 3. แนวคิดดานตนทุนและกําไร C+ 1. การใชงบโฆษณานอยเมื่อคิด C+ เปนสัดสวนตํ่าเทียบกับตนทุน การผลิตรวม 2. การมีสัดสวนของสินคาอยูใน ตลาดภูมิภาคของโรงงานที่ตั้ง อยู 3. แนวคิดทีจ่ ะใชเงินจากการสะสม ทุนมาขยายกิจการมากกวาการ กูเงินจากสถาบันการเงิน 4. การไมเพิม่ วงเงินเชือ่ หากกิจการ ที่ใชทุนตัวเองแลวมีคําสั่งซื้อ เพิ่มขึ้น
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
69
ตารางที่ 3 (ตอ) แนวคิด 4. แนวคิ ด ด า นลั ก ษณะการ จั ด การที่ เ กี่ ย วกั บ ผลผลิ ต และปจจัยการผลิต
5. แนวคิ ด ด า นการเน น การมี ผลิตภัณฑที่หลากหลายและ ความสามารถปรั บ เปลี่ ย น ผลผลิต/การผลิตได
70
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง C+ 1. แนวคิดที่วาถากิจการมีความ C+ จําเปนตองมี Sub Contractor จะสนับสนุนดานเทคโนโลยีและ ทุนแกพวกเขา 2. แ น ว คิ ด ที่ ว า ถ า จ ะ มี ก า ร ถายทอด เทคโนโลยีจากวิศวกร ผูเชี่ยวชาญตางประเทศใหกับ คนงานยินดีจะชวยคาใชจา ยใน การฝกอบรม 3. แนวคิดการใหบริการขายและ บริ ก ารหลั ง การขายแก ลู ก ค า อยางเที่ยงธรรม C+ 1. เครือ่ งจักรทีท่ า นใชสามารถปรับ C+ เปลี่ยนไปผลิตสินคาอื่นไดงาย 2. การใชวัสดุการผลิตเครื่องมือ เครื่ อ งใช ท า นสามารถหา ทดแทนจากแหลงใกลได 3. การจั ด การวั ต ถุ ดิ บ ส ว นใหญ ท า นสามารถหาได จ ากแหล ง ใกล แ ละมี ใ ห เ ลื อ กมากพร อ ม คลังจัดเก็บ 4. ไมคดิ วาการทีโ่ รงงานมีผลผลิต ภัณฑนอ ยอยางควบคุมงายกวา และคุมสตอกไมยุงยาก
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 3 (ตอ) แนวคิด
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 6. แนวคิดดานการบริหารความ C+ 1. การขอสิ น เชื่ อ ไม ค วรขอมาก C+ เสี่ยง เกินไปแตเนนการชําระคืนไดใน กําหนด 2. ปฏิบัติตามคําแนะนําดานภาษี ข อ ง เจ า ห น า ที่ ส ร ร พ า ก ร มากกวานักบัญชีเพื่อปองกัน ป ญ หาจากการเรี ย กเก็ บ ภาษี ยอนหลัง 3. ปฏิ บั ติ ต ามที่ ชุ ม ชนต อ งการ ดานคาใชจา ยดานสิง่ แวดลอมคู ไปกับที่กฎหมายกําหนด 4. นักธุรกิจไมควรขยายธุรกิจโดย หวังผลกําไรสูงเปนหลักสําคัญ 7. แนวคิดดานการตอบสนองตอ C+ 1. แนวคิดการขยายการผลิตโดย C+ ตลาดตางๆ เริ่ ม จาก ท อ งถิ่ น ไปภู มิ ภ าค ตลาดในประเทศทัง้ หมดแลวจึง เปนตลาดตางประเทศ 2. แนวคิ ด การยิ น ยอมให ชุ ม ชน ใกลเคียงถือหุนเมื่อทานมีกําไร เพิ่มขึ้น
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
71
ตารางที่ 3 (ตอ) แนวคิด
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 3. แนวคิ ด ที่ ว า ถ า ขายสิ น ค า แก ตลาดตางประเทศไดกําไรกวา ขายในท อ งถิ่ น แนวโน ม ที่ จ ะ แบงไปขายตางประเทศมากใน ระดั บ ใดถ า ตลาดในประเทศ ขยายเต็มที่แลว 4. แนวคิดในการแบงหุนใหตาง ชาติในกรณีที่ขอรวมทุนผลิต เพื่ อ ส ง ออกและเป น เจ า ของ โรงงาน 8. แนวคิ ด ในการลงทุ น เพื่ อ C+ 1. แนวความคิดที่องคกรไดมีการ C+ พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร จัดอบรมจริยธรรม คุณธรรม ให ในองคกรชุมชน สังคม และ แกพนักงานอยางสมํ่าเสมอ สิ่งแวดลอม 2. แนวคิดการลงทุนในการคิดคน นวั ต กรรมเพื่ อ พั ฒ นาสภาพ แวดล อ มและสั ง คมให เ ติ บ โต รวมกันอยางยั่งยืน 3. แนวคิดทีอ่ งคกรของทานมักจะ คํานึงถึงผลกระทบของธุรกิจ ตอพนักงาน สิ่งแวดลอม และ ชุมชนในอันดับตน ๆ เสมอ 4. แนวคิดที่จะไมลดตนทุนโดย การปลดคนงานออกในกรณีที่ ธุ ร กิ จ ของท า นประสบป ญ หา สภาพคลอง 72
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 3 (ตอ) แนวคิด
ระดับ ประเด็นทีม่ รี ะดับการประยุกตใช ระดับ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ระดับสูง 9. แนวคิดการเผยแพรความรู C+ 1. แนวคิ ด ที่ ว า ในกระบวนการ C+ แ ล ะ แ บ ง ป น ค ว า ม รู สู ผลิต/บริการของทาน ใหความ สาธารณชน สําคัญกับการใชภูมิปญญาทอง ถิ่ น ที่ สื บ ท อ ด กั น ม า แ ล ะ ตองการอนุรักษรักษาไว 2. แนวคิดที่วาองคกรของทานได ลงทุ น ในโครงการต า ง ๆ ที่ เป น การแบ ง ป น ความรู สู สาธารณชน เชน การเผยแพร ความรูทางอินเทอรเน็ต แผน พับ เปนตน 3. แนวคิ ด ที่ ว า องค ก รของท า น เป ด โอกาสในการเรี ย นรู ใ ห นักศึกษาทัง้ ในและนอกทองถิน่ เขาฝกงานและเยี่ยมชม 4. แนวคิ ด ว า การบริ ห ารจั ด การ องค ก รไม เ ป น ความลั บ ทาง ธุรกิจและควรมีการเผยแพร ภาพรวมวิสาหกิจขนาดเล็ก C+ จากตารางที่ 2 และ 3 พบวา สําหรับวิสาหกิจรายยอยมีระดับการประยุกตใช โดยทัว่ ไปอยูใ นระดับปานกลาง และแนวปฏิบตั ทิ อี่ ยูใ นเกณฑ C+ ไดแก แนวคิดดานขนาด การผลิต แนวคิดดานตนทุนและกําไร แนวคิดดานลักษณะการจัดการที่เกี่ยวกับผลผลิต และปจจัยการผลิต แนวคิดดานการเนนการมีผลิตภัณฑที่หลากหลายและสามารถ ปรับเปลีย่ นผลผลิตหรือการผลิตได แนวคิดดานการบริหารความเสีย่ ง แนวคิดดานการ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
73
ตอบสนองตอตลาดตางๆ แนวคิดในการลงทุนเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ บุคลากรในองคกร ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม และแนวคิดการเผยแพรความรูและแบงปนความรูสู สาธารณชน สวนแนวคิดที่ไดระดับการประยุกตใชอยูในระดับ C ไดแก แนวคิดเกี่ยวกับ ลักษณะเทคโนโลยีที่ใช สําหรับวิสาหกิจขนาดเล็กมีระดับการประยุกตใชของทุกแนวคิด อยูในระดับปานกลาง โดยสาเหตุที่ทําใหระดับการประยุกตใชอยูใน ระดับปานกลางเทานั้น เนื่องจาก ในแตละธุรกิจมีลกั ษณะเฉพาะและการใหความสําคัญกับหลักการเศรษฐกิจพอเพียงทีแ่ ตก ตางกัน เชน 1)แนวปฏิบตั ดิ า นเทคโนโลยีทใี่ ชตอ งไมแพงและถูกหลักวิชาการ พบวา ธุรกิจ บริการมีระดับการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางจากธุรกิจคาสง เนื่องจากในสอง ธุรกิจนีม้ รี ะดับการนําเทคโนโลยีมาใชในธุรกิจแตกตางกันทําใหการใหความสําคัญกับการ ใชเทคโนโลยีแตกตางกันไปดวย 2)แนวปฏิบัติดานขนาดการผลิต ที่มีการวางแผนการ ผลิตทีม่ ลี กั ษณะคอยเปนคอยไป โดยไมเนนการขยายตัวตามความตองการของตลาด และ ผลกําไรในระยะสั้น พบวาธุรกิจผลิตมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจบริการและคา ปลีก เนื่องจากในธุรกิจผลิตตองคํานึงถึงการผลิตในขนาดที่กอใหเกิดการประหยัดที่สุด (Economy of scale) ดังนั้นอาจขัดตอแนวคิดที่มีการขยายการผลิตแบบคอยเปน คอยไปของแนวปฏิบัตินี้ และ 3) แนวปฏิบัติเนนการมีผลิตภัณฑที่หลากหลาย และ วางแผนปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑที่มีอยูแลว เพื่อลดความเสี่ยงเรื่องราคาที่ผันผวน และสอดคลองกับความตองการของตลาดทีเ่ ปลีย่ นแปลง พบวาธุรกิจภาคการผลิตมีระดับ การประยุ ก ต ใช ต า งจากธุ ร กิ จ ค า ปลี ก เนื่ อ งจากภาคการผลิ ต มี ค วามยื ด หยุ น ในการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑนอยกวาภาคธุรกิจอื่น อันอาจเนื่องมาจาก เครื่องจักรที่ใช กระบวนการผลิต และทักษะของแรงงาน ทําใหระดับการประยุกตใชตามแนวปฏิบัตินี้ แตกตางจากธุรกิจอืน่ เปนตน ซึง่ จากความแตกตางขางตนทําใหพอวัดระดับการประยุกต ใชเศรษฐกิจในภาพรวมทัง้ 9 แนวปฏิบตั แิ ลวอยูใ นระดับปานกลาง เนือ่ งจากในแตละธุรกิจ มีการประยุกตใชแคในบางแนวปฏิบัติที่สอดคลองกับธุรกิจตนเทานั้น ผลการเปรียบเทียบระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอย และวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามประเภทการผลิต การบริการ และการคา
74
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ผลการวิเคราะหขอ มูลการเปรียบเทียบ ระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงกับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามประเภท การผลิต การบริการ และการคา พบวามี 5 ดานที่มีระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงแตกตางกัน ไดแก ดานลักษณะเทคโนโลยีทใี่ ช ดานขนาดการผลิต ดานลักษณะ การจัดการทีเ่ กีย่ วกับผลผลิตและปจจัยการผลิต ดานการเนนการมีผลิตภัณฑทหี่ ลากหลาย และดานการลงทุนเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ บุคลากรในองคกร แตกตางกันอยางนัยสําคัญ ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 สวนดานอืน่ ๆ มีความคิดเห็นแตกตางอยางไมมนี ยั สําคัญทางสถิติ - ดานลักษณะเทคโนโลยีที่ใช ธุรกิจบริการกับธุรกิจคาสง และธุรกิจคาสงกับ คาปลีกที่มีระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.5 - ดานขนาดการผลิต ธุรกิจผลิตกับธุรกิจบริการ และธุรกิจผลิตกับธุรกิจ คาปลีกที่มีระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.5 - ดานลักษณะการจัดการทีเ่ กีย่ วกับผลผลิตและปจจัยการผลิต ธุรกิจผลิตกับ ธุรกิจคาสง ธุรกิจบริการกับธุรกิจคาสง และธุรกิจคาสงกับธุรกิจคาปลีกที่มีระดับการ ประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 - ดานการเนนการมีผลิตภัณฑทหี่ ลากหลาย ธุรกิจผลิตกับธุรกิจบริการ ธุรกิจ ผลิตกับธุรกิจคาปลีก ธุรกิจบริการกับธุรกิจคาสง และธุรกิจคาสงกับธุรกิจคาปลีกทีม่ รี ะดับ การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 - ดานการลงทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรในองคกร ธุรกิจผลิตกับ ธุรกิจบริการ ธุรกิจบริการกับธุรกิจคาสง และธุรกิจคาสงกับธุรกิจคาปลีก ที่มีระดับการ ประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 สามารถอภิปรายผลไดดังนี้ จากผลการวิจัยสามารถวัดระดับการประยุกต ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัด เชียงราย จากแนวปฏิบัติ 9 ประการไดอยูในระดับปานกลาง(C+) และสามารถสรุป บนพื้นฐาน 3 หลักการ (ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางระบบภูมิคุมกัน ในตัว) และ 2 เงื่อนไข (การมีคุณธรรม และความรอบรู รอบคอบ)ไดดังนี้
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
75
76
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
1. ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม นั่นคือ เทคโนโลยีที่ ราคาไมแพง แตถูกหลักวิชาการ 2. มีขนาดการผลิตที่เหมาะสม สอดคลองกับ ความสามารถในการบริหารจัดการ 3. ไมโลภเกินไปและไมเนนกําไรระยะสั้น 4. ซือ่ สัตย สุจริตในการประกอบการไมเอารัดเอา เปรี ย บผู บ ริ โ ภค และไม เ อารั ด เอาเปรี ย บ แรงงานหรือลูกคา ตลอดจนไมเอารัดเอา เปรียบผูจําหนายวัตถุดิบ 5. เน น การกระจายความเสี่ ย งจากการมี ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ห ลากหลายและ/หรื อ มี ค วาม สามารถในการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑได
แนวปฏิบัติ 9 ประการ
/ /
/ /
/
พอ มี ประมาณ เหตุผล
/
/ /
/
/
/
/
C+
C+ C+
C+
C+
C+ C+
C+
สราง คุณธรรม ความ ระดับการ ระดับการ ระบบ รอบรู ประยุกตใช ประยุกตใช ภูมคิ มุ กัน ของวิสาหกิจ ของวิสาหกิจ รายยอย ขนาดเล็ก / / C C+
ตารางที่ 4 ระดับการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน 9 แนวปฏิบัติ
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
77
6. เนนการบริหารความเสีย่ งตํา่ โดยเฉพาะอยาง ยิ่ ง ไม ก อ หนี้ จ นเกิ น ความสามารถในการ บริหารจัดการ 7. เนนการใชวัตถุดิบภายในทองถิ่น และตอบ สนองตลาดในทองถิ่น ภูมิภาค ตลาดใน ประเทศและตลาดตางประเทศ ตามลําดับ เปนหลัก 8. เนนใหความสําคัญกับการลงทุนเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวติ บุคลากรในองคกร ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม 9. ใหความสําคัญกับการเผยแพรความรู และแบง ปนความรูสูสาธารณชน
แนวปฏิบัติ 9 ประการ
ตารางที่ 4 (ตอ)
/
/ /
/
พอ มี ประมาณ เหตุผล
/ /
/
/ /
/
/
C+
C+
C+
C+
C+
C+
สราง คุณธรรม ความ ระดับการ ระดับการ ระบบ รอบรู ประยุกตใช ประยุกตใช ภูมคิ มุ กัน ของวิสาหกิจ ของวิสาหกิจ รายยอย ขนาดเล็ก / / C+ C+
จากระดับการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาด เล็กในจังหวัดเชียงรายจากแนวปฏิบัติ 9 ประการ และสรุปบนหลักการพื้นฐานของ เศรษฐกิจพอเพียง 3 หลักการและอีก 2 เงื่อนไข พบวาระดับการนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกตใชนั้นอยูแคในระดับปานกลางเทานั้น ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยเรื่อง การประยุกตพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมของ อภิชัย พันธเสน (2546) ซึ่งมีระดับการนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนิน ธุรกิจในระดับ C+ หรือระดับปานกลางเชนกัน โดยผลการศึกษาของอภิชัย พบวา การ ขยายการผลิตนัน้ ธุรกิจใหความสําคัญกับขนาดทีท่ าํ ใหเกิดการประหยัดทีส่ ดุ (Economy of scale) และการขยายการผลิตเมื่อโอกาสทางธุรกิจมาถึง สวนประเด็นดานความ หลากหลายของผลิตภัณฑพบวาเปนไปไดยากในทางปฏิบตั ใิ นอุตสาหกรรมขนาดเล็กและ กลาง และสอดคลองกับการศึกษาครั้งนี้ที่มีการสํารวจดวยแบบสอบถาม โดยถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจโดยยึดหลักปฏิบัติทั้ง 9 ประการพบวา ใน ประเด็นดังกลาวขางตน ผูตอบแบบสอบถามเห็นดวยเพียงรอยละ 50-70 ของผูตอบ แบบสอบถามทั้งหมดเห็นดวยกับแนวปฏิบัติดังกลาว เพราะเห็นวาเปนหลักปฏิบัติที่ ขัดแยงกับหลักการในการแสวงหากําไรสูงสุดของธุรกิจ และในสภาพเศรษฐกิจในขณะนี้ ทําใหธรุ กิจพยายามแสวงหากําไรใหกบั ธุรกิจของตนใหมากทีส่ ดุ และไมไดใหความสําคัญ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรในองคกรรวมถึงชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม เทาที่ควร สอดคลองกับงานวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมดวยการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกัญญามน อินหวาง และคณะ (2550) พบวาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมทีศ่ กึ ษาจํานวน 42 ธุรกิจมีจาํ นวน 15 ธุรกิจทีม่ กี ารนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชบางสวน นัน่ คือกลุม แรกธุรกิจประเภท ธุรกิจชุมชน ซึ่งสวนใหญมีลักษณะการขอทุนจากหนวยงานราชการ แตไมสามารถรวม กลุม ไดเขมแข็ง มีลกั ษณะการจางงานเปนระยะไมตอ เนือ่ ง ขาดการสรางเครือขายรวมกัน และปญหาที่พบคือธุรกิจประเภทนี้เกิดจากแรงผลักดันของหนวยงานราชการมากกวา ความตองการอยางแทจริง สวนอีกกลุม คือ ธุรกิจเอกชน ซึง่ จะสนใจแสวงหากําไรมากกวา การทําประโยชนเพื่อชุมชน ขาดการสรางเครือขายทางธุรกิจ และไมไดใชทุนทางสังคม ดานการรวมกลุมธุรกิจดวยกัน ทั้งยังไมไดเนนการสรางทุนสิ่งแวดลอม และแขงขันเพื่อ ความอยูรอดเปนสําคัญ และผูประกอบการสวนใหญเขาใจวาการนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเปนเรื่องของเกษตรกรรมมากกวาการใชกับธุรกิจทั่วไป
78
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
สรุปและขอเสนอแนะ
จากผลการวิจัยที่นําเสนอขางตนพบวาระดับการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง กับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงรายอยูเพียงระดับปานกลาง เทานั้น และระดับการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวปฏิบัติทั้ง 9 ประการมีความ แตกตางกันในแตละธุรกิจ ยกตัวอยาง เชน 1)แนวปฏิบัติดานเทคโนโลยีที่ใชตองไมแพง และถูกหลักวิชาการ พบวา ธุรกิจบริการมีระดับการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงแตกตาง จากธุรกิจคาสง เนือ่ งจากในสองธุรกิจนีม้ รี ะดับการนําเทคโนโลยีมาใชในธุรกิจแตกตางกัน ทําใหการใหความสําคัญกับการใชเทคโนโลยีแตกตางกันไปดวย 2)แนวปฏิบตั ดิ า นขนาด การผลิต ที่มีการวางแผนการผลิตที่มีลักษณะคอยเปนคอยไป โดยไมเนนการขยายตัว ตามความตองการของตลาด และผลกําไรในระยะสัน้ พบวาธุรกิจผลิตมีระดับการประยุกต ใชตางจากธุรกิจบริการและคาปลีก เนื่องจากในธุรกิจผลิตตองคํานึงถึงการผลิตในขนาด ที่กอใหเกิดการประหยัดที่สุด (Economy of scale) ดังนั้นอาจขัดตอแนวคิดที่มีการ ขยายการผลิตแบบคอยเปนคอยไปของแนวปฏิบัตินี้ และ 3) แนวปฏิบัติเนนการมี ผลิตภัณฑที่หลากหลาย และวางแผนปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑที่มีอยูแลว เพื่อลด ความเสี่ยงเรื่องราคาที่ผันผวน และสอดคลองกับความตองการของตลาดที่เปลี่ยนแปลง พบวาธุรกิจภาคการผลิตมีระดับการประยุกตใชตางจากธุรกิจคาปลีกเนื่องจากภาคการ ผลิตมีความยืดหยุนในการปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑนอยกวาภาคธุรกิจอื่น อันอาจ เนื่องมาจาก เครื่องจักรที่ใช กระบวนการผลิต และทักษะของแรงงาน ทําใหระดับการ ประยุกตใชตามแนวปฏิบัตินี้แตกตางจากธุรกิจอื่น เปนตน ซึ่งจากความแตกตางขางตน ทําใหพอวัดระดับการประยุกตใชในภาพรวมทั้ง 9 แนวปฏิบัติแลวอยูในระดับปานกลาง เนื่องจากในแตละธุรกิจมีการประยุกตใชแคในบางแนวปฏิบัติที่สอดคลองกับธุรกิจตน เทานั้น ดังนั้นจากการศึกษาครั้งนี้จึงมีขอเสนอแนะเพื่อสามารถนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กดังนี้ 1. ผูป ระกอบการวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจขนาดเล็กในจังหวัดเชียงรายควร ทําความเขาใจถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางถองแท และถูกตองกอน เพือ่ ทีจ่ ะได นําไปประยุกตใชใหเปนประโยชนกบั ธุรกิจ ซึง่ อาจเปนการนําไปใชโดยภาพรวม หรืออาจเพียง นําหลักการบางขอไปใชและพัฒนาไปสูหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงในขอตอไป 2. จากความแตกตางระดับการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในแตละประเภท ของธุรกิจไมวาจะเปนธุรกิจผลิต ธุรกิจบริการ หรือธุรกิจคาสงคาปลีก ทําใหเห็นวาแตละ ประเภทของธุรกิจสามารถนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชไดแตกตางกันในแตละ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
79
ดานตามความเหมาะสมและลักษณะของแตละธุรกิจ ดังนั้นแตละธุรกิจควรหาแนวทาง ปฏิบัติของการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เหมาะสมกับธุรกิจของตน เพื่อให สามารถนําไปประยุกตใชไดจริงและเห็นผลอยางชัดเจน
รายการอางอิง กัญญามน อินหวางและคณะ. (2550). แนวทางการพัฒนาระบบการจัดการของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมดวยการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. เกษม วัฒนชัย. เอกสารประกอบการปาฐกถาพิเศษ “เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา”. นิมิต ใครวานิช. (2544). ดัชนีการวัดระดับเศรษฐกิจพึ่งพิงตนเองของชุมชนใน ประเทศไทย (กรณีศึกษา ชุมชนภาคเหนือตอนบน) . นฤมล นิราทรและคณะ. (2548). การศึกษาเศรษฐกิจนอกภาคทางการในเขตเมืองเพือ่ ขับเคลื่อนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. บัญทูล กรหมี. เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. กระทวงเกษตรและสหกรณ. ไพเราะ เลิศวิราม. (2550). Sufficiency Economy: เศรษฐกิจพอเพียง. โรงพิมพ ตะวันออก จํากัด (มหาชน) : กรุงเทพฯ. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). หลักการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ. สุขสรรค กันตะบุตร. (มปป). การศึกษาการประยุกตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคธุรกิจ. มหาวิทยาลัยมหิดล. สุนัย เศรษฐบุญสราง. (2549). แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้นสูวิถีเศรษฐกิจพอเพียง จาก แนวปฏิบัติสูแนวคิดทางทฤษฎีของเศรษฐกิจพอเพียง. มูลนิธิวิถีสุข : กรุงเทพฯ. สมบัติ กุสุมาวลี. (2547). กรณีศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจ: บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด (มหาชน). สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. สุเมธ ตันติเวชกุล. (ธันวาคม 2541 – มกราคม 2542). การดําเนินชีวิตในระบบ เศรษฐกิจพอเพียง “ แบบพอเพียง” ตามแนวทาง พระราชดําริ. กรุงเทพฯ. วารสารนํ้า การประปา-สวนภูมิภาค.
80
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
สุวกิจ ศรีปดถา. (2549). การประยุกตหลักการจัดการธุรกิจตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจชุมชน. มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. อนัญญา บวรสุนทรชัย. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบการใชแนวทางการบริหารแบบ เศรษฐกิจพอเพียงและแบบเศรษฐกิจที่เนนทุนของธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม. สถาบันบัณฑิตพัฒนาชบริหารศาสตร. อภิชัย พันธเสน. (2545). การวิเคราะหอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมตาม แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. อภิชยั พันธเสน. (2545). การประยุกตพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงกับอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดยอม. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. Allal M. (1999). International Best Practice in Micro and Small Enterprise Development. United Nations Development Programme. http://teacher.obec.go.th/web/download_media/eco.doc
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
81
ระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย* Achievement Level in Developing Sufficiency Economy of the Agriculturists in Chiang Rai Province วิรุณสิริ ใจมา**
บทคัดยอ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความสําเร็จในการพัฒนา เศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย โดยแบงการวัดระดับความสําเร็จ ในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงออกเปน 5 ดาน คือ 1) การพอมีพอกิน 2) การพึง่ พา ตนเอง 3) ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร 4) การลดรายจาย และ 5) การเพิ่ม รายได ผลการศึกษาพบวาคะแนนเฉลี่ยของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ พอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายดานการพอมีพอกินมีคาสูงที่สุด รองลงมาคือ ดานความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร และตํา่ ทีส่ ดุ คือดานการลดรายจาย สําหรับ ดานการพึง่ พาตนเองดานการทํา การเกษตรของครัวเรือน พบวาเกษตรกรสามารถพึง่ พา ตนเองดานอุปกรณ/เครื่องมือไดสูงที่สุด และตํ่าที่สุดคือดานปจจัยการผลิต เกษตรกรใน อําเภอเชียงของมีคะแนนเฉลีย่ ของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงสูงทีส่ ดุ รองลงมาคืออําเภอเวียงชัย และตํ่าที่สุดคืออําเภอเวียงแกน เกษตรกรในจังหวัดเชียงราย มีระดับของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงโดยภาพรวมอยูในระดับ C+ สําหรับอําเภอทีม่ รี ะดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง A ไดแก เกษตรกร ในอําเภอเวียงชัย อําเภอเชียงของ และอําเภอปาแดด สวนอําเภอที่มีระดับความสําเร็จใน การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง E ไดแก เกษตรกรในอําเภอเวียงแกน คําสําคัญ : การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง, เกษตรกร, เชียงราย * บทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัยในแผนงานวิจัย ชุด “การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในจังหวัดเชียงราย” ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ป พ.ศ. 2551 ** D.B.A., The University of South Australia (2008).
82
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
Abstract The objective of this study was to study the achievement level in developing sufficiency economy of the agriculturists in Chiang Rai Province. The evaluation of the achievement level in developing sufficiency economy was divided into 5 aspects; 1) sufficient living 2) self-reliance 3) diversity of agricultural products 4) expenses reduction 5) income increase The study showed that the achievement level in developing sufficiency economy of the agriculturists in Chiang Rai Province on the people’s sufficient living had the most average score. The medium average score was on diversity of agricultural products and the least average score was on the expenses reduction, in respectively. Regarding to self-reliance of the household’s agriculture, it was indicated that the agriculturists had the most self-reliance on equipments and tools and the least was production factor. With regard to the average score of the achievement level in developing sufficiency economy, Chiang Khong District had the most average score. The medium average score was Wieng Chai District and the least average score was Wieng Kaen, in respectively. Overall, the achievement level in developing sufficiency economy of the agriculturists in Chiang Rai Province was at C+ level. Regarding to the achievement level in developing sufficiency economy of the agriculturists in Wieng Chai District, Chiang Khong District, and Pa Daed District was at A level. The achievement level in developing sufficiency economy of the agriculturists in Wieng Kaen District was at E level. Keywords : Developing Sufficiency Economy, Agriculturists, Chiang Rai
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
83
บทนํา ตั้งแตป พ.ศ. 2504 ที่ประเทศไทยเริ่มใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติเปนตนมาประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจชุมชนมาเปนเศรษฐกิจ ทุนนิยมและเปนสังคมบริโภคนิยม โดยในระยะ 25 - 30 ปที่ผานมาประเทศไทยเนนการ พัฒนาในลักษณะการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันมากกวาจะเนนความมัน่ คงของ เศรษฐกิจฐานราก กอใหเกิดปญหาดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ไมสมดุลมาโดย ตลอด ตอมาป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ซึง่ ทุกภาคเศรษฐกิจ ไดรบั ผลกระทบโดยเฉพาะอยางยิง่ ภาคการเงินและภาคธุรกิจ แตในภาคเกษตรกรรมกลับ ไดรับผลกระทบนอยที่สุด ดังนั้นจึงเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหกลับมาพิจารณาวาอาจเปน เพราะสังคมเกษตรกรยังคงดํารงชีวิตอยูในลักษณะของเศรษฐกิจชุมชนที่มีลักษณะของ การพึ่งพาตนเอง ซึ่งกลาวไดวาเปนสังคมที่ดําเนินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึง ทําใหไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจนอยที่สุด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ พระราชทานใหกับคนไทยเพื่อนํามาเปนแนวทางในการดํารงชีวิต ซึ่งเนนใหยึดเสนทาง สายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) โดยใชหลักการพึ่งพาตนเองใน 5 ดาน คือดานจิตใจ ดาน สังคม ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานเทคโนโลยี และดานเศรษฐกิจ และ ทรงใหความสําคัญของความ “พออยูพอกิน” อาจกลาวไดวาใหมีเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง หมายถึ ง เศรษฐกิ จ ที่ ส ามารถอุ ม ชู ตั ว เองได หรื อ มี ค วามพอเพี ย งกั บ ตั ว เอง (Self Sufficiency) ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงสนใจศึกษาวาสังคมเกษตรกรมีการดําเนินชีวิตตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากนอยเพียงใด หรืออาจกลาวอีกนัยหนึง่ คือมีระดับความ สําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงในระดับใด ซึ่งผลจากการศึกษามีประโยชน สําหรับนํามาใชเปนขอมูลในการศึกษาตอยอดและหาแนวทางในการสรางความสําเร็จใน การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรตอไป การศึกษาในครั้งนี้เลือกศึกษาเกษตรกรในพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย เนื่องจาก โครงสรางหลักทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายคือภาคเกษตรกรรม กลาวคือสาขา การผลิตที่มีความสําคัญมากที่สุดในจังหวัดเชียงรายคือ สาขาเกษตรกรรม ซึ่งคิดเปน รอยละ 21.4 ของผลิตภัณฑจังหวัด 84
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย โดยแบงการวัดระดับความสําเร็จในการ พัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงออกเปน 5 ดาน คือ 1) การพอมีพอกิน 2) การพึง่ พาตนเอง 3) ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร 4) การลดรายจาย และ 5) การเพิ่มรายได โดยนิยามศัพทของ “เกษตรกร” คือ ประชาชนทีป่ ระกอบอาชีพทางการเกษตรเปนอาชีพ หลักและเปนเกษตรกรรายยอย
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เปนพระราชดําริพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวที่พระราชทานใหเปนปรัชญาในการดํารงชีวิตของคนไทยมาตั้งแตป พ.ศ. 2517 และพระองคทรงใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักในการดําเนินโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริทมี่ อี ยูก วา 3,000 โครงการ ตอมาเมือ่ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึน้ ในป พ.ศ. 2540 พระองคทรงพระราชทานเนนยํา้ วา เศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางแกไข ใหรอดพนและสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ จึงเปนผลใหสังคมเริ่มตระหนักถึงความสําคัญและไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช เปนแนวทางของการพัฒนาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 และ 10 อยางไรก็ตามในระยะแรกยังมีนักวิชาการที่เขาใจความหมายของคําวาพอเพียง คลาดเคลือ่ นไป พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ อธิบายขยายความ ซึง่ ในทีน่ ขี้ อยกขอความบางตอน (สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ) ดังนีค้ อื “ความพอเพียงนี้ ไมได หมายความวา ทุกครอบครัว จะตองผลิตอาหารของตัว จะตองทอผาใสเอง อยางนั้นมันเกินไป แตวาในหมูบานหรือ ในอําเภอ จะตองมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอยางที่ผลิตไดมากกวาความ ตองการก็ขายได แตขายในที่ไมหางไกลเทาไหร ไมตองเสียคาขนสงมากนัก” พระราช ดํารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม 2540 และขอความอีก ตอนหนึ่งคือ “มาถึงปจจุบันนี้ถาคนจะปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง 100 เปอรเซ็นต คงทํา ไมไดและถาสํารวจตัวเอง หรือเศรษฐกิจของตัวเอง ก็เขาใจวา จะเห็นไดวาไมไดทํา เขาใจวาทําไดไมถึง 25 เปอรเซ็นต ไมไดถึงเศษหนึ่งสวนสี่ เพราะวาสิ่งที่ตนผลิตหรือทํา สวนใหญกเ็ อาไปแลกกับของอืน่ ทีม่ คี วามจําเปน ฉะนัน้ จึงพูดวาเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบตั ิ เพียงเศษหนึ่งสวนสี่ ก็ควรจะพอและทําได” พระราชดํารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
85
พระชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม 2541 จากบทความเรือ่ ง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึง่ สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดเชิญผูทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น มารวมกันประมวลและกลัน่ กรองพระราชดํารัส และไดนาํ ความกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแกไข พระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหเผยแพร เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 (สมเกียรติ ศรลัมพ, 2551)โดยมีใจความตอนหนึ่งคือ “เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอ โลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและ การดําเนินการทุกขั้นตอน” ดังนัน้ จึงสามารถสรุปไดวา การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือการ พัฒนาทีอ่ ยูบ นทางสายกลาง ซึง่ คํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีระบบ ภูมิคุมกันในตัวที่ดี (3 หวง) โดยอาศัยความรู และคุณธรรมในการวางแผนและการ ดําเนินการ (2 เงื่อนไข) ทฤษฎีใหม ทฤษฎี ใ หม เ ป น ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ นํ า มาประยุ ก ต ใช กั บ ภาค การเกษตร แนวพระราชดําริทฤษฎีใหมสามารถแบงออกเปน 3 ขั้น ไดแก ขั้นที่หนึ่งคือ มีความพอเพียงเลี้ยงตนเองไดบนพื้นฐานของความประหยัด ลดการใชจาย ขั้นที่สองคือ รวมพลังกันในรูปกลุมเพื่อทําการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดานสวัสดิการ การ ศึกษา การพัฒนาสังคม และขั้นที่สามคือ สรางเครือขายกลุมอาชีพและขยายกิจการทาง เศรษฐกิจใหหลากหลาย โดยประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการ ในดานเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการ และขาวสารขอมูล (สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ)
86
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
แนวทางการทําการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการทําการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง (กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ) เนนหาขาวหาปลากอนหาเงินหาทอง คือ ทํามาหากินกอน ทํามาคาขาย โดยการสงเสริมใหดําเนินกิจกรรมดังนี้คือ 1. การทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสาน เพื่อใหเกษตรกรพัฒนา ตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง 2. การปลูกพืชผักสวนครัวลดคาใชจาย 3. การทําปุยหมักปุยคอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลด คาใชจายและบํารุงดิน 4. การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลือใชในไรนา 5. การปลูกไมผลสวนหลังบาน และไมใชสอยในครัวเรือน 6. การปลูกพืชสมุนไพร ชวยสงเสริมสุขภาพอนามัย 7. การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงนํ้า เพื่อเปนอาหารโปรตีนและ รายไดเสริม 8. การเลี้ยงไกพื้นเมือง และไกไขประมาณ 10-15 ตัวตอครัวเรือน เพื่อเปน อาหารในครัวเรือน 9. การทํากาซชีวภาพจากมูลสัตวเพื่อแสงสวางและหุงตม กรอบแนวคิดการศึกษา µ¦¡°¤¸¡° · µ¦¡¹É ¡µ Á° ªµ¤®¨µ ®¨µ¥ ° · ¦¦¤ µ¦Á ¬ ¦
¦³ ´ ªµ¤ÎµÁ¦È Ä µ¦¡´ µÁ«¦¬ ·  ¡°Á¡¸¥ ° Á ¬ ¦ ¦ Ä ´ ®ª´ Á ¸¥ ¦µ¥
µ¦¨ ¦µ¥ nµ¥ µ¦Á¡·É¤¦µ¥Å o
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
87
วิธีการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเกษตรกรทีอ่ าศัยอยูใ นอําเภอตาง ๆ ในจังหวัดเชียงราย จํานวน 136,929 คน (http:// chiangrai.nso.go.th) กลุมตัวอยางใชวิธีการสุมตัวอยางประเภทการสุมตัวอยางแบบ หลายขั้นตอน (multi-stage sampling) จํานวน 491 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บ รวบรวมขอมูลในการศึกษาครัง้ นีค้ อื แบบสอบถาม การวิเคราะหขอ มูลใชการวิเคราะหเชิง พรรณนา (descriptive analysis) โดยวิเคราะหคาสถิติ คือ คาเฉลี่ย คารอยละ และคา ความถี่ เกณฑการวัดระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง การวัดระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงสามารถแบงการ วัดออกเปน 5 ดาน คือ 1) การพอมีพอกิน 2) การพึ่งพาตนเอง 3) ความหลากหลาย ของกิจกรรมการเกษตร 4) การลดรายจาย และ 5) การเพิ่มรายได คะแนนเต็มดานละ 100 คะแนน รวมเปนคะแนนเต็ม 500 คะแนน และนํามาคิดเปนรอยละ โดยแบงระดับ ความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงดังนี้ คะแนนรอยละ 80.00 – 100.00 75.00 – 79.99 70.00 – 74.99 65.00 – 69.99 60.00 – 64.99 55.00 – 59.99 50.00 – 54.99 0.00 – 49.99
ระดับความสําเร็จ A B+ B C+ C D+ D E
1. การพอมีพอกิน คะแนนเต็ม 100 คะแนน (เอาคะแนนของขอ 1.1 กับ 1.2 มารวมกันและหารดวยสอง)
88
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
1.1 การพอมีพอกินเบื้องตน (100 คะแนน) พิจารณาจากคําถามขอ 4 “ในแตละเดือนทานมีรายไดเพียงพอเพียงพอสําหรับซื้อสิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิต (คําถามขอ 3) อยางไร” ซึ่งมีคําตอบใหเลือกตั้งแต 0 ถึง 100 (เพิ่มขึ้นทีละ 10) โดย 0 หมายถึงรายไดไมเพียงพอสําหรับซื้อสิ่งของที่จําเปนในการดํารงชีวิต และ 100 หมายถึง รายไดเพียงพอสําหรับซื้อสิ่งของที่จําเปนในการดํารงชีวิต ดังนั้นคะแนนการพอมีพอกินเบื้องตนจะใหคะแนนเทากับตัวเลขของ คําตอบที่เลือก 1.2 การพอมีพอกินโดยรวม (100 คะแนน) พิจารณาหารายไดสุทธิจาก คําถามขอ 10 “รายไดและรายจาย ในครอบครัวของทาน” โดยนํารายจายทัง้ หมดตอเดือน (คําถามขอ 10.2) ไปหักออกจากรายไดทั้งหมดตอเดือน (คําถามขอ 10.1) - หากรายไดสทุ ธิมคี า มากกวาหรือเทากับ 0 จะใหคะแนน 100 คะแนน แสดงวามีการพอมีพอกินโดยรวม เพราะรายไดทั้งหมดเพียงพอ สําหรับรายจายทั้งหมด - หากรายไดสุทธิติดลบ จะใหคะแนนดังตอไปนี้ สัดสวนของ รายไดสุทธิที่ติดลบ ตอ รายไดรวม (%) 10 % 20 % 30 % 40 % 50 % 60 % 70 % 80 % 90 % 100 %
คะแนน 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
2. การพึ่งพาตนเอง คะแนนเต็ม 100 คะแนน (เอาคะแนนของขอ 2.1 และ 2.2 มารวมกันและหารดวยสอง) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
89
2.1 การพึง่ พาตนเองดานการทําการเกษตรของครัวเรือน (100 คะแนน) พิจารณาจากคําถามขอ 5 “แรงงานที่ใชในภาคเกษตรของทานมาจากไหน” คําถามขอ 6 “ปจจัยการผลิต (พันธพืช-สัตว ปุย ยาฆาแมลง และอาหารสัตว) ที่ทานใชในการผลิตมา จากไหน” และคําถามขอ 7 “อุปกรณ/เครือ่ งมือการเกษตรทีท่ า นใชมาจากไหน” ซึง่ แตละ คําถามมีคาํ ตอบใหเลือกตัง้ แต 0 (จางแรงงานหมด ซือ้ มาใชหมด หรือ ยืม/เชามาใช) และ เพิม่ ขึน้ ทีละสิบจนเทากับ 100 (ใชแรงงานในครัวเรือนหมด ผลิตใชเองหมด หรือเปนของ ตนเองหมด) คะแนนการพึ่งพาตนเองดานการทําการเกษตรของครัวเรือนจะให เทากับตัวเลขของคําตอบแตละขอที่เลือก แลวนําคะแนนทั้งสามขอมารวมกันและหาร ดวยสาม 2.2 การพึง่ พาตนเองดานสิง่ ทีจ่ าํ เปนในการดํารงชีวติ ของครัวเรือน เชน อาหาร เครื่องนุงหม และยารักษาโรค (100 คะแนน) พิจารณาจากคําถามขอ 3 “ทาน และครอบครัวใชสิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิต (อาหาร/เครื่องนุงหม/ยารักษาโรค) คิดเปน เงิน = ……….. บาทตอเดือน ซึ่งสามารถปลูก/ผลิตใชเองได =….…… บาท และตอง ซื้อ =……..… บาท” คะแนนการพึง่ พาตนเองดานสิง่ ทีจ่ าํ เปนในการดํารงชีวติ ของครัวเรือน จะใหดังตอไปนี้ สัดสวนของ สิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิตที่สามารถปลูก หรือ ผลิตใชเองได ตอ รายจายของสิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิต (%) 25 % (พึ่งพาตนเองไดหนึ่งในสี่) 20 % 15 % 10 % 5% 0%
คะแนน 100 80 60 40 20 0
3. ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร คะแนนเต็ม 100 คะแนน พิจารณาจากคําถามขอ1 “ครอบครัวของทานทําการเกษตรอะไรบาง” และคําถามขอ 2 90
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
“นอกจากนีค้ รอบครัวของทานยังทํากิจกรรมใดอีกบาง” ซึง่ คะแนนความหลากหลายของ กิจกรรมการเกษตรจะใหดังตอไปนี้ ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร มากกวาหรือเทากับ 4 กิจกรรม 3 2 1 0
คะแนน 100 75 50 25 0
4. การลดรายจาย คะแนนเต็ม 100 คะแนน พิจารณาจากคําถามขอ 8 “ผลผลิตทีไ่ ดรบั จากการทําการเกษตรในครอบครัวของทาน ชวยลดรายจายของครอบครัว หรือไม (ลดเทาใด)” และ 10 (10.2) “รายจายในครอบครัวทั้งหมดตอเดือน (เทากับ เทาใด)” ซึ่งคะแนนการลดรายจายจะใหดังตอไปนี้ สัดสวนของ รายจายที่ลดลง ตอ รายจายทั้งหมด (%) 25 % (ลดลงไดหนึ่งในสี่) 20 % 15 % 10 % 5% 0%
คะแนน 100 80 60 40 20 0
5. การเพิ่มรายได คะแนนเต็ม 100 คะแนน พิจารณาจากคําถามขอ 9 “การ ทําการเกษตรในครอบครัวของทาน ชวยทําใหครอบครัวมีรายไดเพิ่มเติม หรือไม (เพิ่ม เทาใด)” และ 10 (10.2) “รายไดในครอบครัวทัง้ หมดตอเดือน (เทากับเทาใด)” ซึง่ คะแนน การเพิ่มรายไดจะใหดังตอไปนี้
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
91
สัดสวนของรายไดที่เพิ่มขึ้น ตอ รายไดทั้งหมด (%) 25 % (เพิ่มขึ้นไดหนึ่งในสี่) 20 % 15 % 10 % 5% 0%
คะแนน 100 80 60 40 20 0
ผลการศึกษา ผลการศึกษาในครั้งนี้แบงการนําเสนอออกเปน 3 ตาราง ไดแก ตารางที่ 1 อธิบายคะแนนเฉลีย่ ของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรใน จังหวัดเชียงราย ซึง่ มีทงั้ คะแนนรวมและคะแนนแตละดาน ตารางที่ 2 อธิบายคะแนนเฉลีย่ ของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามอําเภอ และตารางที่ 3 อธิบายคารอยละเฉลี่ยและคาระดับความสําเร็จในการ พัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามอําเภอ ดังมี รายละเอียดตอไปนี้
92
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย ขอ ขอ 1 การพอมีพอกิน (100 คะแนน) 1.1 การพอมีพอกินเบื้องตน (100 คะแนน) 1.2 การพอมีพอกินโดยรวม (100 คะแนน) ขอ 2 การพึ่งพาตนเอง (100 คะแนน) 2.1 การพึ่งพาตนเองดานการทําการเกษตร ของครัวเรือน (100 คะแนน) - แรงงาน (100 คะแนน) - ปจจัยการผลิต (100 คะแนน) - อุปกรณ/เครื่องมือ (100 คะแนน) 2.2 การพึ่งพาตนเองดานสิ่งที่จําเปนในการ ดํารงชีวิตของครัวเรือน (100 คะแนน) ขอ 3 ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร (100 คะแนน) ขอ 4 การลดรายจาย (100 คะแนน) ขอ 5 การเพิ่มรายได (100 คะแนน) รวมคะแนน 5 ขอ (500 คะแนน)
S.D.
คะแนนเฉลีย่ (x) 85.16 93.58 76.74 66.51 57.28
21.91 21.45 33.96 22.00 17.50
61.04 29.47 81.32 75.74
29.14 26.53 23.19 35.86
84.62
21.38
49.41 60.18 345.89
42.75 39.68 88.92
จากตารางที่ 1 พบวาคะแนนเฉลี่ยของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ พอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายดานการพอมีพอกินมีคาสูงที่สุด รองลงมาคือ ดานความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตร และตํา่ ทีส่ ดุ คือดานการลดรายจาย สําหรับ ดานการพึ่งพาตนเองดานการทําการเกษตรของครัวเรือน พบวาเกษตรกรสามารถพึ่งพา ตนเองดานอุปกรณ/เครื่องมือไดสูงที่สุด และตํ่าที่สุดคือดานปจจัยการผลิต Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
93
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เมือง เวียงชัย เชียงของ เทิง พาน ปาแดด แมสรวย
อําเภอ
ขอ 1 การพอมีพอกิน
91.01 75.86 97.69 82.41 79.61 95.00 84.60
1.1 การพอมีพอกินเบื้องตน
100.00 100.00 100.00 98.28 88.82 98.00 87.20
1.2 การพอมีพอกินโดยรวม 82.02 51.72 95.38 66.55 70.39 92.00 82.00
ขอ 2. การพึ่งพาตนเอง 64.13 63.16 86.88 50.26 66.73 66.83 69.77
2.1 การพึ่งพาตนเองดานการ ทําการเกษตร 63.73 48.39 77.09 53.62 48.76 55.67 48.73
2.2 การพึ่งพาตนเองดาน สิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิต 64.54 77.93 96.67 46.90 84.71 78.00 90.80
ขอ 3. ความหลากหลาย ของกิจกรรมการเกษตร 86.34 100.00 100.00 85.34 69.85 90.00 72.00
40.34 96.90 84.10 25.34 47.84 90.00 42.80
ขอ 4. การลดรายจาย
คะแนนเฉลี่ยของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง
69.58 90.34 62.82 93.79 44.22 67.00 42.20
ขอ 5. การเพิ่มรายได
ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามอําเภอ
351.40 426.26 431.50 337.16 308.25 408.83 311.37
คะแนนรวม
94
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
95
98.75 43.96 94.50 85.16
97.50 56.25 95.00 93.58
100.00 31.67 94.00 76.74
75.00 72.99 58.75 66.51
64.00 57.64 55.50 57.28
86.00 88.33 62.00 75.74
100.00 96.88 78.75 84.62
63.75 4.17 66.50 49.41
47.00 3.75 75.00 60.18
384.50 221.74 373.50 345.89
จากตารางที่ 2 พบวาเกษตรกรในอําเภอเชียงของมีคะแนนเฉลีย่ ของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงสูงทีส่ ดุ รองลง มาคืออําเภอเวียงชัย และตํ่าที่สุดคืออําเภอเวียงแกน
เวียงปาเปา เวียงแกน แมลาว รวม
ตารางที่ 3 คารอยละเฉลี่ยและคาระดับของความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย จําแนกตามอําเภอ อําเภอ เมือง เวียงชัย เชียงของ เทิง พาน ปาแดด แมสรวย เวียงปาเปา เวียงแกน แมลาว รวม
คะแนนรอยละ เฉลี่ย ( x ) 70.28 85.25 86.30 67.43 61.65 81.77 62.27 76.90 44.35 74.70 69.18
S.D.
ระดับความสําเร็จ
15.86 4.96 7.93 11.09 20.16 12.34 18.76 9.52 10.78 11.51 17.78
B A A C+ C A C B+ E B C+
จากตารางที่ 3 พบวาเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายมีระดับของความสําเร็จในการ พัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงโดยภาพรวมอยูในระดับ C+ สําหรับอําเภอที่มีระดับ ความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง A ไดแก เกษตรกรในอําเภอเวียงชัย อําเภอเชียงของ และอําเภอปาแดด สวนอําเภอทีม่ รี ะดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบพอเพียง E ไดแก เกษตรกรในอําเภอเวียงแกน
อภิปรายผล
จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายไดดังนี้ 1. จากผลการศึกษาระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของ เกษตรกรในจังหวัดเชียงรายโดยรวมพบวามีความสําเร็จอยูในระดับ C+ ซึ่งถือวามี ความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงอยูเพียงระดับปานกลางเทานั้น ทั้งนี้อาจเปน เพราะวาเกษตรกรมีระดับการศึกษาไมสูงและยังขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองในการ
96
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ทําการเกษตรจึงทําใหผลผลิตทางการเกษตรไมสามารถเพิม่ รายไดใหกบั เกษตรกรมากนัก นอกจากนี้เกษตรกรยังนิยมใชปุยเคมีมากกวาปุยอินทรีย ซึ่งปุยเคมีตองนําเขาจาก ตางประเทศและมีราคาแพง จึงมีผลทําใหตนทุนการผลิตของเกษตรกรสูงอีกดวย 2. ผลการศึกษาที่พบวาระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงดาน การพอมีพอกินมีคะแนนสูงสุดเมื่อเทียบกับดานอื่น ๆ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาลักษณะ พืน้ ฐานของสังคมชนบทในประเทศไทยทีค่ นสวนใหญยงั ยึดมัน่ ในคําสอนของพุทธศาสนา โดยพุทธศาสนาสอนใหคนเดินทางสายกลางและเปนผูป ระมาณตนในการดําเนินชีวติ และ การใชจา ย จึงสงผลใหครัวเรือนเกษตรกรสามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรและดําเนิน ชีวิตใหมีรายไดที่เพียงพอหรือใกลเคียงกับรายจายที่เกิดขึ้นได 3. ระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงดานความหลากหลายของ กิจกรรมการเกษตรซึ่งสูงเปนอันดับที่สอง (84.62) ทั้งนี้อาจเปนเพราะเกษตรกร (ประชากร) ที่ศึกษาเปนเกษตรกรรายยอย ซึ่งมีที่ดินทําการเกษตรนอยจึงไมนิยม ทําการเกษตรเชิงเดีย่ วเพือ่ การพาณิชย แตเกษตรกรจะปลูกพืช เลีย้ งสัตว หรือทํากิจกรรม ทางการเกษตรหลายอยางเพื่อนําผลผลิตที่ไดมาบริโภคในครัวเรือนสวนหนึ่งและขาย ในสวนที่เหลือ 4. ผลการศึกษาที่พบวาระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ดานการพึ่งพาตนเองในสวนของปจจัยการผลิตอยูในระดับตํ่ามาก (29.47) นั้นทั้งนี้อาจ อธิบายไดวา ปจจัยการผลิตหลักของการทําการเกษตรคือปุย เคมี แตเกษตรกรไมสามารถ ผลิตปุย เคมีเพือ่ ใชเองไดจงึ ตองพึง่ พาจากภายนอกเปนหลัก ดังพิจารณาไดจากยอดการนํา เขาปุยเคมีจากตางประเทศที่มีมูลคาสูงถึงประมาณ 7.9 หมื่นลานบาทในป 2551 และ 4.6 หมื่นลานบาทในป 2552 (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) 5. ระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงดานการลดรายจายมี คะแนนเฉลี่ยตํ่าที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 49.41 (หมายถึงผลผลิตที่ไดรับจาก การเกษตรของครอบครัวสามารถชวยลดรายจายไดประมาณรอยละ 12 ของรายจาย ทัง้ หมดของครัวเรือน) ทัง้ นีอ้ าจเปนเพราะรายจายหลักของครัวเรือนประกอบดวยปจจัยสี่ และยังรวมถึงรายจายดานการบริการอื่น ๆ เชน การศึกษา เปนตน ดังนั้น ผลผลิตที่ เกษตรกรผลิตไดจึงชวยลดรายจายลงไดเพียงสวนที่เปนอาหารเทานั้น 6. จากการศึกษาระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเมื่อจําแนก ตามอําเภอพบวา อําเภอเวียงแกนมีระดับความสําเร็จเทากับ E ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา อําเภอเวียงแกนซึง่ เปนอําเภอทีม่ ขี นาดเล็ก ทุรกันดาน หางไกลความเจริญ พืน้ ดินไมอดุ ม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
97
สมบูรณการผลิตจึงไดผลผลิตนอย และการคมนาคมขนสงไมสะดวก จึงมีผลทําให เกษตรกรในอําเภอเวียงแกนมีคะแนนความพอมีพอดีอยูในระดับตํ่า (รายไดไมเพียงพอ กับรายจาย) และมีคะแนนการลดรายจายและการเพิ่มรายไดอยูในระดับตํ่า (ผลผลิต ทางการเกษตรของครัวเรือนแทบจะไมสามารถลดรายจายและเพิ่มรายไดใหกับครัวเรือน เกษตรกร)
ขอเสนอแนะ
1. เพื่อเพิ่มระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรใน จังหวัดเชียงราย หนวยงานภาครัฐควรใหความรูความเขาใจ (จัดอบรมหรือศึกษาดูงาน) ใหแกเกษตรกรในเรือ่ งการทําการเกษตรทีถ่ กู ตองตามหลักวิชาการเพือ่ เพิม่ ผลผลิตใหกบั เกษตรกร ซึ่งจะชวยสรางรายไดใหกับเกษตรกรเพิ่มขึ้น 2. หนวยงานภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกรเรื่องการใชปุยที่ถูกตอง เพื่อลด การใชปุยเคมีลงและเปนการลดการพึ่งพาจากภายนอกดวย นอกจากนี้หนวยงานภาครัฐ ควรจัดอบรมเรื่องการผลิตปุยอินทรียชีวภาพจากวัสดุในทองถิ่นไวใชเอง เพื่อเพิ่มระดับ ความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงดานการพึ่งพาตนเอง และยังชวยลดตนทุน การผลิตอีกดวย 3. หนวยงานภาครัฐควรเขาไปชวยเหลือและแกไขปญหาดานการทําการเกษตร ของเกษตรกรในอําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย เชน ดานการปรับปรุงคุณภาพดิน พัฒนา วิธีการปลูกพืชที่เหมาะสมกับสภาพดิน และแนะนําการเลือกพันธุพืชที่เหมาะสม เปนตน เพื่อพัฒนาใหเกษตรกรในอําเภอเวียงแกนสามารถผลิตสินคาเกษตรไดมากขึ้น มีรายได จากการทําการเกษตรมากขึน้ และในทีส่ ดุ ยอมทําใหเกษตรกรมีความพอมีพอกินในระดับ ที่สูงขึ้น 4. ในการทําวิจัยครั้งตอไปควรขยายขอบเขตการศึกษาเพิ่มขึ้นจากประชาชนที่ ประกอบอาชีพทางดานการเกษตรเปนอาชีพหลัก มาเปนประชาชนที่ประกอบอาชีพทาง ดานการเกษตรทั้งที่ทําเปนอาชีพหลักและอาชีพรอง นอกจากนี้ควรขยายขอบเขตการ ศึกษาจากเกษตรกรรายยอยมาเปนเกษตรกรรายยอยและเกษตรกรรายใหญทที่ าํ การเกษตร เชิงพาณิชยดวย
98
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
รายการอางอิง กรมการพัฒนาชุมชน. (2551). รายงานความยากจน. กระทรวงมหาดไทย. กรมสงเสริมการเกษตร. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงภาคการเกษตร. กระทรวงเกษตร และสหกรณ. ศูนยสารสนเทศการเกษตร. (2553). สถิติการคาสินคาเกษตรไทยกับตางประเทศ ป 2552. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ. สมเกียรติ ศรลัมพ. (2551). เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกตใชในระดับตาง ๆ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพประดิพัทธ. สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. (ม.ป.ป.). เศรษฐกิจพอเพียง: ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงชีวิต. สํานักงานสถิติจังหวัดเชียงราย. (2551). สถิติจังหวัดเชียงราย. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://chiangrai.nso.go.th/chrai/chrai.html. สืบคนเมือ่ 20 ตุลาคม 2551.
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
99
การวิเคราะหความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรวิศวกรรมของการใชเชื้อเพลิง กาซปโตรเลียมเหลวในเครื่องยนตดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย Engineering Economic Analysis of Using Liquefied Petroleum Gas in Diesel Engine for Sand Digging and Scooping Industry นิเวศ จีนะบุญเรือง* อิสรา ธีระวัฒนสกุล**
บทคัดยอ ระบบเครื่ อ งยนต แ ละอุ ป กรณ ที่ เ หมาะสมในการประยุ ก ต ใช เชื้ อ เพลิ ง กาซปโตรเลียมเหลวกับเครื่องยนตดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทรายคือระบบดูด ที่อาศัยการจุดระเปดดวยนํ้ามันดีเซล โดยกาซจะถูกดูดเขาสูหองเผาไหมผานทอไอดี หลังจากถูกผสมดวยหมอตมดีเซล ในการทดลองจะทําการปรับความเร็วรอบดวยการ เรงเครื่องยนต พบวาทีจ่ ดุ ตํา่ สุดของคาใชจา ยเชือ้ เพลิงตอปริมาตรทรายทีไ่ ดเทากับ 16.30 บาท ตอลูกบาศกเมตร เครื่องยนตดูดทรายได 37.8 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง คาใชจาย เชื้อเพลิงรวมตํ่าที่สุดเทากับ 616.21 บาทตอชั่วโมง คากาซปโตรเลียมเหลวที่ใชเทากับ 105.33 บาทตอชั่วโมง คิดเปนปริมาณกาซที่ใชเทากับ 5.39 กิโลกรัมตอชั่วโมง คานํ้ามันดีเซลที่ใชเทากับ 510.89 บาทตอชั่วโมง คิดเปนปริมาณนํ้ามันดีเซลที่ใชเทากับ 17.7 ลิตรตอชั่วโมง การวิเคราะหความคุม คาเชิงเศรษฐศาสตรดว ยคาใชจา ยเชือ้ เพลิงทีล่ ดลง 19.76 บาทตอลูกบาศกเมตรจากเดิม 36.06 บาทตอลูกบาศกเมตร สงผลใหจุดคุมทุนเทากับ ปริมาตรทราย 1,283.37 ลูกบาศกเมตร และระยะเวลาคืนทุนเทากับ 5.8 วัน ดังนั้น การปรับเปลี่ยนระบบเครื่องยนตดีเซลเปนระบบเชื้อเพลิงรวมระหวาง นํ้ามันดีเซลกับ กาซปโตรเลียมเหลวสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทรายนับวามีความ คุม คาเชิงเศรษฐศาสตร คําสําคัญ : ความคุม คาเชิงเศรษฐศาสตร, เชือ้ เพลิงกาซปโตรเลียมเหลว, เครือ่ งยนตดเี ซล, อุตสาหกรรมขุดตักทราย * วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม (2553) ปจจุบันเปนอาจารยประจําคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ** ปจจุบนั เปนรองศาสตราจารย ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
100
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
Abstract The engine systems and accessories suitable for application of liquefied petroleum gas (LPG) with diesel engines for sand digging and scooping industry is the engine fuel system with LPG and diesel oil fumigation system. The system started its ignition with diesel fuel, and then gas will be attracted into the combustion chamber through the intake pipe after blending with regulator. The results shown minimum fuel cost per volume of sand were 16.30 baht per cubic meter which produce 37.8 cubic meter of sand per hour. Total fuel costs were 616.21 baht per hour. For liquefied petroleum gas used was 105.33 baht per hour, representing gas used was 5.39 kilograms per hour. For diesel oil used was 510.89 baht per hour, representing diesel oil used was 17.7 liters per hour. The economic study with new fuel system costs decreased 19.76 baht per cubic meter from 36.06 baht per cubic meter. The break-even volume was 1,283.37 cubic meters of sand. Payback period is equal to 5.8 days, so the modified engine with combined fuel system for sand digging and scooping industry has economic value. Keyword : Economic value, Liquefied Petroleum Gas, Diesel Engine
เกริ่นนํา แนวโนมราคานํ้ามันที่สูงขึ้นสงผลตอตนทุนพลังงานของธุรกิจอุตสาหกรรม ทําใหความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมจากตนทุนพลังงานของประเทศลดลง อยางตอเนื่อง อุตสาหกรรมเปนสวนสําคัญที่ไดรับผลกระทบดังกลาวเนื่องจากเชื้อเพลิง เปนปจจัยนําเขาหนึ่งที่สําคัญ การพิจารณาพลังงานทดแทนเพื่อลดตนทุนการผลิตของ อุตสาหกรรมจึงทวีความสําคัญขึ้น เครื่องยนตในอุตสาหกรรมจํานวนมากที่ใชเชื้อเพลิง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
101
นํ้ามันดีเซล มีการประยุกตใชกาซปโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas; LPG) รวมกับการใชนาํ้ มันดีเซลในเครือ่ งยนตดเี ซลหลายประเภท ทําใหเกิดการประหยัดตนทุน เชื้อเพลิงลงไดในระดับหนึ่ง รูปที่ 1 การเปลีย่ นแปลงระดับราคาจําหนายนํา้ มันดีเซลในเขตอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย nª ¸É ε µ¦ ¨°
50
¦µ µ Êε¤´ ¸Á ¨( µ n°¨· ¦)
45 40 35 30 25 20 15 10 5
єѧ.ѕ.
ѝ.з. д.ѕ.
єѧ.ѕ. д.з.
єѨ.з. ѯє.ѕ. ё.з.
ы.з.
ш.з. ы.з. є.з.-53 д.ё. єѨ.з. ѯє.ѕ. ё.з.
Á º°
є.з.-52 д.ё.
ё.ѕ.
д.ѕ. ш.з.
ѝ.з.
єѧ.ѕ.
д.з.
ё.з.
ѯє.ѕ.
д.ё. єѨ.з.
є.з.-51
0
เนื่องจากในระยะยาวแนวโนมราคานํ้ามันดีเซลที่เพิ่มสูงขึ้น และราคากาซ ปโตรเลียมเหลว ยังคงชะลอการปรับขึ้น(ขาวสด, 2551) เพื่อใหเกิดความคุมคาในการ ประยุกตใชกาซปโตรเลียมเหลวรวมกับนํ้ามันดีเซลในเครื่องยนตอุตสาหกรรม และ เผยแพรรูปแบบการปรับแกเครื่องยนตใหสามารถใชกาซปโตรเลียมเหลวเปนเชื้อเพลิงได อยางมีประสิทธิภาพ จึงมีความจําเปนที่จะตองหารูปแบบการประยุกตใชกาซปโตรเลียม เหลวรวมกับนํ้ามันเชื้อเพลิงในเครื่องยนต อุตสาหกรรมที่เหมาะสม และปรับปรุง ประสิทธิภาพเครื่องยนตดีเซลดังกลาวดวยการทดลองที่มีการควบคุมตัวแปรที่สงผลตอ ประสิทธิภาพการประหยัดตนทุนคานํ้ามัน และวัดผลการประหยัดคา นํ้ามันดวยผลงาน ที่ไดตอคาใชจายพลังงานที่ใช
102
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ลักษณะการปฏิบตั งิ านและการใชเชือ้ เพลิงนํา้ มันดีเซลของอุตสาหกรรมขุดตักทราย กรณีตวั อยางกิจการทาทรายซึง่ ใชเครือ่ งยนตดเี ซลขนาดใหญบนเรือดูดทราย มี คาใชจายนํ้ามันดีเซล 2,682.4 บาทตอวัน (ใชนํ้ามันดีเซล 140 ลิตรตอวัน คิดดวยราคา นํ้ามันดีเซลเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ลิตรละ 19.16 บาท) ไดมีแนวคิดที่จะนํา เชือ้ เพลิงกาซธรรมชาติมาใชกบั เครือ่ งยนตดเี ซลทีใ่ ชในการดูดทราย ณ ทาทรายของบริษทั บริษัท ไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหานี้ และไดเล็งเห็นวามีทฤษฎีและเทคนิคใน การแกปญหา ที่สามารถนํามาประยุกตใชเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพของการประยุกตใชเชื้อ เพลิงจากกาซปโตรเลียมเหลว จึงไดทําการทดลองเพื่อหาสภาพการทํางานที่เหมาะสมใน การใชกาซปโตรเลียมเหลวกับเครื่องยนตดีเซลในอุตสาหกรรมขุดตักทราย โดยมุงศึกษา เพื่อหารูปแบบการประยุกตใชระบบเชื้อเพลิงรวมที่เหมาะสม และทําการวิเคราะหความ คุมคาในการใชกาซปโตรเลียมเหลวรวมกับนํ้ามันดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย เพื่อใหการประยุกตใชนํามาซึ่งการประหยัดตนทุนมากยิ่งขึ้น เครื่องยนตดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย ซึ่งภาระงานขณะเครื่องยนต ทําการดูดทรายแปรผันไปตามสภาพพื้นทรายใตนํ้าและความลึกขณะทําการดูด การ ประยุกตใชเชื้อเพลิงรวมดังกลาวดวยระบบดูดที่อาศัยการจุดระเปดดวยนํ้ามันดีเซล โดย กาซจะถูกดูดเขาสูหองเผาไหมผานทอไอดีหลังจากถูกผสมดวยหมอตมดีเซล ในการ ทดลองจะทําการปรับความเร็วรอบดวยการเรงเครื่องยนตเปนระบบที่มีตนทุนในการติด ตั้ ง อุ ป กรณ ตํ่ า และมี ค วามเหมาะสมกั บ ลั ก ษณะการทํ า งานของเครื่ อ งยนต ดี เซลใน อุตสาหกรรมขุดตักทราย รูปที่ 2 ลักษณะการปฏิบัติงานขณะเครื่องยนตทําการดูดทราย
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
103
คําอธิบายรูป 1) เครื่องยนตดีเซลที่ใชในการทดลอง, 2) ทอลําเลียงายไปยังที่พักทราย 3) บริเวณทีพ่ กั และแยกทรายกับนํา้ ออกจากกัน, 4) บริเวณทีท่ าํ การตักทรายไปยังบริเวณ กองทราย
การปรับระบบการทํางานของเครื่องยนต ระบบการทํางานของเครือ่ งยนตดเี ซลเปนเครือ่ งยนตสนั ดาปภายในทีอ่ าศัยการ จุดระเบิดจากการฉีดไอนํ้ามันเขาไปในหองเผาไหมที่ถูกอัดจนมีอุณหภูมิสูง การติดตั้ง อุปกรณเพื่อปรับระบบการจายเชื้อเพลิงทางเลือกอื่นๆ รวมกับเชื้อเพลิงดีเซล (Diesel Dual Fuel System: DDF) โดยไมตอ งมีการดัดแปลงเครือ่ งยนต สามารถแบงตามระบบ การจายเชื้อเพลิงรวมไดดังนี้ ระบบดูด (Fumigation System) เปนระบบที่จายเชื้อเพลิงรวมโดยใชแรงดูด ของเครือ่ งยนตในการดูดเชือ้ เพลิงทางเลือกเขาไปในเครือ่ งยนตดเี ซลเพือ่ ใชในการเผาไหม รวมกับเชื้อเพลิงดีเซลเดิม ระบบฉีด (Injection System) เปนระบบที่จายเชื้อเพลิงรวมโดยการใชหัวฉีด และ กลองควบคุม (Electronic Control Unit: ECU) ในการควบคุมปริมาณการจาย เชื้อเพลิงทางเลือก เขาไปในเครื่องยนตดีเซล เพื่อใชในการเผาไหมรวมกับเชื้อเพลิงดีเซล เดิม ระบบเครื่องยนตเชื้อเพลิงรวมระหวางกาซปโตรเลียมเหลว กับนํ้ามันดีเซลที่ใช ในการทดลองมีลักษณะการทํางานเปนระบบดูด ที่อาศัยการจุดระเปดดวยนํ้ามันดีเซล และกาซจะถูกดูดเขาสูหองเผาไหมผานทอไอดี หลังจากผานการผสมดวยหมอตมดีเซล เครื่องยนตที่ใชในการทดลองเปนเครื่องยนตดีเซล 8 สูบ 350 แรงมา ดวยการติดตั้ง อุปกรณเพื่อปรับระบบการทํางานของเครื่องยนตใหสามารถใชกาซปโตรเลียมเหลว รวมกับนํ้ามันดีเซลประกอบดวยหมอตม (Regulator & Vaporizer) และถังกาซ ปโตรเลียมเหลว ขนาดบรรจุ 15 กิโลกรัม ที่ไดรับมาตรฐานอุตสาหกรรม ดังแสดงในรูป ที่ 3 และรูปที่ 4
104
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
รูปที่ 3 ไดอะแกรมการทํางานของเครื่องยนตระบบเชื้อเพลิงรวม
รายละเอียดอุปกรณและลักษณะการติดตั้งแสดงในรูปที่ 4 (1) เครื่องยนตที่ใชในการทดลองเปนเครื่องยนตดีเซล 8 สูบ 350 แรงมา (2) หมอตมดีเซล เปนหมอตมสําหรับเครื่องยนตดีเซล จะตางกับหมอตมของ เครื่องยนตเบนซิน หมอตมดีเซลจะจายกาซสัมพันธกับกลองควบคุมการจายเชื้อเพลิง โดยอัตราเฉลี่ยของการจายกาซของเครื่องยนตดีเซลจะอยูที่ 8-18% ซึ่งหมอตมเบนซิน จะจายกาซ 100% หมอตม (Regulator & Vaporizer) จะทําหนาที่ ลดและควบคุม แรงดันกาซ ที่สงมาจากถัง (ซึ่งปกติจะมีแรงดันประมาณ 150 - 200 ปอนดตอตารางนิ้ว และมีสถานะเปนของเหลว) ใหเหลือ ประมาณ 10 - 20 ปอนดตอตารางนิ้ว แลวเปลี่ยน สถานะของกาซทีเ่ ปนของเหลวใหเปนไอโดยสมบูรณ เพือ่ สงใหเครือ่ งยนตใชงานไดอยาง ปลอดภัย (3) ถังกาซปโตรเลียมเหลว ขนาดบรรจุ 15 กิโลกรัม ที่ไดรับมาตรฐาน อุตสาหกรรม (มอก.) รูปที่ 4 ลักษณะการติดตั้งอุปกรณกับเครื่องยนต
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
105
ผลการทดลอง จากการศึกษาคนควาเพื่อหาระบบเครื่องยนตและอุปกรณที่เหมาะสมในการ ประยุกตใชเชื้อเพลิงกาซปโตรเลียมเหลวในเครื่องยนตดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตัก ทราย การสอบถามผูเ ชีย่ วชาญ และการทดลองเดินเครือ่ งยนตหลังจากติดตัง้ อุปกรณปรับ ระบบการทํ า งานแล ว พบว า อั ต ราส ว นของการใช เชื้ อ เพลิ ง ระบบผสมระหว า งก า ซ ปโตรเลียมเหลวกับนํา้ มันดีเซลจากการคนควาและยืนยันโดยผูเ ชีย่ วชาญพบวาสภาวะการ ทํางานของระบบเชื้อเพลิงรวมที่เหมาะสมคืออัตราสวนผสมของกาซปโตรเลียมเหลว 1 กิโลกรัม ตอนํ้ามันดีเซล 3.25 ลิตร ประสิทธิภาพการประหยัดคาใชจา ยเชือ้ เพลิงของเครือ่ งยนตระบบเชือ้ เพลิงรวม ระหวางนํ้ามันดีเซล กับกาซปโตรเลียมเหลว ที่หาจากคาใชจายเชื้อเพลิงรวมหารดวย ปริมาตรทรายที่ไดจากการทํางานของเครื่องยนต จากผลการทดลองจํานวน 20 ครั้งพบ วาความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานกับการอัตราเร็วการทํางานของ เครื่องยนตในการทดลองแตละครั้งแสดงดังรูปที่ 4 พบวาการทดลองครั้งที่ 10 ใหคาใช จายเชื้อเพลิงตํ่าที่สุดเทากับ 16.30 บาทตอลูกบาศกเมตร โดยเครื่องยนตดูดทรายได เทากับ 37.8 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง ใชกาซ 5.39 กิโลกรัมตอชั่วโมงคิดเปนคากาซ 105.33 บาทตอชั่วโมง อางอิงจากราคากาซขนาดบรรจุ 15 กิโลกรัม (http://www. pttplc.com , 2553) ใชนํ้ามันดีเซล 17.7 ลิตรตอชั่วโมงคิดเปนคานํ้ามัน 510.89 บาท ตอชั่วโมง (คิดจากราคานํ้ามันดีเซลเฉลี่ยระหวางเดือน มกราคม 2553 – กุมภาพันธ 2553 ที่ 28.85 บาทตอลิตร) คาใชจายเชื้อเพลิงรวมเทากับ 616.21 บาทตอชั่วโมง รูปที่ 4 คาใชจายเชื้อเพลิงรวมตอปริมาตรทรายที่ได
106
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ความคุมคาจากการลงทุน การวิเคราะหความคุมคาในการลงทุนโดยการหาคาใชจายเชื้อเพลิงรวมตํ่าที่สุด ตอปริมาตรทรายที่ได ทําการเปรียบเทียบตนทุนตอหนวยที่เกิดขึ้นที่อัตราสวนผสมของ เชื้อเพลิงระบบรวมระหวางนํ้ามันดีเซลกับกาซปโตรเลียมเหลว กับคานํ้ามันดีเซลตอ ปริมาตรทรายที่ไดของระบบเครื่องยนตดีเซลเดิม และใชคาใชจายเชื้อเพลิงตอปริมาตร ทรายที่ลดลงในการหาจุดคุมทุน พบวาคาใชจายเชื้อเพลิงตอปริมาตรทรายที่ลดลงจากคาใชจายเชื้อเพลิงของ ระบบเครื่องยนตดีเซลเดิมกอนปรับปรุงที่ราคานํ้ามันดีเซลเฉลี่ยอยูที่ระดับ 28.85 บาท ตอลิตร เมื่อคิดเปนตนทุนคานํ้ามันจะไดเทากับ 7,212.5 บาทตอวัน (ปริมาณการใช นํา้ มันดีเซลของเครือ่ งยนตทตี่ ดิ ตัง้ บนเรือดูดทรายเฉลีย่ 250 ลิตรตอวัน) คิดตอปริมาตร ทรายที่ได 200 ลูกบาศกเมตรตอวัน คิดเปนคาใชจายเชื้อเพลิง 36.06 บาทตอลูกบาศก เมตร ทําใหคาใชจายเชื้อเพลิงตอปริมาตรทรายที่ได ลดลงจากการปรับระบบเครื่องยนต เทากับ 19.48 บาทตอลูกบาศกเมตร การติดตั้งอุปกรณมีคาใชจายรวม 25,000 บาท (หมอตมดีเซล ราคา 15,000 บาท, ชุดระบบควบคุม ราคา 3,000 บาท, ขายึดติดกับเรือ 2,000 บาท, คาใชจา ยในการ ติดตั้งทดลองใชงาน 5,000 บาท) มีเงินสดรับสุทธิ 771,025 บาทตอป ระยะเวลาการ ลงทุนโครงการ 5 ป คาใชจา ยเชือ้ เพลิงระบบรวมเปรียบเทียบกับกอนปรับปรุงลดลง 19.48 บาทตอลูกบาศกเมตร เครือ่ งยนตดดู ทรายไดปริมาตร 220.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน ทําให จุดคุมทุนเทากับปริมาตรทราย 1,283.37 ลูกบาศกเมตร คิดเปนระยะเวลาคืนทุน 5.8 วัน นับวาการลงทุนติดตั้งอุปกรณเพื่อปรับระบบการทํางานของเครื่องยนตใหสามารถใช เชื้อเพลิงรวมระหวางกาซปโตรเลียมเหลวกับนํ้ามันดีเซลมีความคุมคาในการลงทุน สามารถทําใหผูประกอบการประหยัดตนทุนคาเชื้อเพลิงเปรียบเทียบกับกอนปรับปรุง ลดลงไดถึงรอยละ 54.02
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
107
แนวทางการประยุกตใชระบบเชื้อเพลิงรวมกับเครื่องยนตดีเซลสําหรับกิจการ ขุดตักทราย ในการเลือกระบบและอุปกรณเพื่อปรับระบบเครื่องยนตดีเซลนั้นเนื่องจาก ลักษณะการทํางานของเครื่องยนตในขณะทําการดูดทรายใชความเร็วรอบที่สมํ่าเสมอจึง ไมมีความจําเปนตองใชอุปกรณ หรือใชเทคนิคการควบคุมการจายกาซที่ซับซอน เพียง ดัดแปลงใหสามารถใชเชือ้ เพลิงรวมระหวางกาซกับนํา้ มันดีเซลได อีกทัง้ การดัดแปลงระบบ เครื่ อ งยนต ดี เซลเพื่ อ ให ใช ก า ซป โ ตรเลี ย มเหลวได ส ว นใหญ จ ะติ ด ตั้ ง กล อ งควบคุ ม อิเล็กทรอนิกส (ECU) ซึ่งไมมีความจําเปนสําหรับเครื่องยนตดีเซลที่ใชบนเรือดูดทราย เนือ่ งจากการลงทุนทีต่ าํ่ และผลทีม่ ตี อ ตนทุนคาเชือ้ เพลิงทีล่ ดลงคิดเปนรอยละ 54.02 จึง สามารถชวยใหผูประกอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะเพื่อ ปรับปรุงและแกไขปญหาเพื่อใหเกิดประโยชนจากการประยุกตใชเชื้อเพลิงระบบรวม ดังกลาวจากการทดลองใชจริงของผูประกอบการในกิจการขุดตักทรายที่ใหความกรุณา เอื้อเฟอขอมูล ตลอดจนการดําเนินการทดลองดังนี้ (1) ขณะทําการทดลองมีตัวแปรที่สงผลตอความแปรปรวนของขอมูลผล ทดลองทีค่ วรควบคุม เพือ่ ลดความผิดพลาดของผลการทดลองคือ ความลึกขณะทําการ ดูดทราย ปริมาตรทรายที่ไดโดยเฉลี่ยที่มีผลมาจากลักษณะพื้นผิวทรายใตนํ้า (2) ควรติดตามตนทุนคาเชือ้ เพลิงทัง้ นํา้ มันดีเซล และกาซปโตรเลียมเหลวอยาง ตอเนื่องเพื่อใชตัดสินใจในการวิเคราะหหาวิธีการประหยัดคาใชจายเชื้อเพลิงที่ดีขึ้น (3) ขอมูลจากผลการทดลองพบวาเมื่อเรงอัตราเร็วของเครื่องยนตเพิ่มขึ้น แนวโนมของปริมาตรทรายที่ไดมีอัตราการเพิ่มขึ้นที่นอยลง เนื่องจากขอจํากัดของพื้นที่ หนาตัดของทอดูดทราย อาจทําการออกแบบขนาดหนาตัดของทอดูดทรายที่สงผลตอ การประหยัดคาใชจายเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น (4) ระบบอุปกรณที่ติดตั้งไมมีอุปกรณควบคุมอัตราสวนผสมนํ้ามันกับกาซ ดังนั้น ควรระมัดระวังการเรงอัตราเร็วในการทํางานของเครื่องยนตซึ่งจะสงผลให เครื่องยนตนอก หรือลูกสูบแตก
108
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
รายการอางอิง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน. (2550). หลักเกณฑการวิเคราะห คา ผลตอบแทนทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร. [ระบบออนไลน]. แหลง ที่มา http://www2.dede.go.th/webpage/tools.htm หัวขอ เครื่องมือใน การประเมินโครงการ ( 14 เมษายน 2553) ขาวสด. (2551). “เศรษฐกิจรอบสัปดาห”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มาhttps://news. myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=1654189&keyword=กาซ (7 ธันวาคม 2551) บริษัท ปตท. จํากัด(มหาชน), ราคาขายกาซ LPG ,[ระบบออนไลน], แหลงที่มา http:// www.mthai.com/external.php?url=http://www.pttplc.com/th/nc_ oi.aspx , 2553 บริษัท ปตท. จํากัด(มหาชน), ราคาขายนํ้ามัน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย ,[ระบบ ออนไลน], แหลงที่มาhttp://www.mthai.com/external.php?url=http:// www.pttplc.com/th/nc_oi.aspx , 2553
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
109
ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย The Image of Krung Thai Bank Public Company Limited and Siam Commercial Bank Public Company Limited in Chiangrai Municipality, Chiangrai Province ธัชพงษ รักเสมอ* คมสัน รัตนะสิมากูล**
บทคัดยอ การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) และเปรียบเทียบภาพลักษณของ ธนาคารธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยจําแนกตามอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือนของผูตอบแบบสอบถาม โดยผูศึกษาไดเก็บรวบรวมขอมูลจากประชาชนในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัด เชียงราย จํานวน 400 ชุด เครื่องมือที่ใชในการศึกษา คือ แบบสอบถาม โดยไดทําการ เก็บรวมรวมขอมูลดวยตนเอง วิเคราะหขอ มูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสาํ เร็จรูป และ ใชสถิติ ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหคาความ แปรปรวน ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชายมีจํานวนเทากับเพศหญิง ซึ่งสวนใหญมีอายุระหวาง 20-30 ป มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพ ธุรกิจสวนตัว มีรายไดระหวาง 5,001-10,000 บาท สําหรับการเลือกใชบริการ สวนใหญ ใชบริการของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และใชบริการดานการฝากเงิน * บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2553) ** นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นิเทศศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2549) ปจจุบันเปนอาจารยประจํา โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
110
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ภาพลั ก ษณ ข องธนาคารธนาคารกรุ ง ไทย จํ า กั ด (มหาชน) กั บ ธนาคาร ไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในภาพรวม อยูใ นระดับปานกลางเหมือนกัน และภาพลักษณ ที่ผูตอบแบบสอบถามรับรูมากที่สุดของทั้งสองธนาคารในแตละดานเหมือนกัน ไดแก ดานชือ่ เสียงของธนาคาร คือ เปนธนาคารทีม่ กี ารใหบริการหลากหลาย ครบวงจร รวมทัง้ เปนธนาคารชั้นนําของประเทศ ดานความนาเชื่อถือ คือ เปนธนาคารที่ลูกคาใชความ ไววางใจในการเลือกใชบริการ ดานการใหบริการของพนักงาน คือ พนักงานแตงกายสุภาพ เรียบรอย สะอาด ดานกิจกรรมเพื่อสังคม คือ ธนาคาร ใหการสนับสนุนดานการศึกษาแก เยาวชน ดานเทคโนโลยี คือ ธนาคารมีอปุ กรณเครือ่ งมือเครือ่ งใชทใี่ หความสะดวกรวดเร็ว แกลูกคาที่ใชบริการ เมื่อเปรียบเทียบภาพลักษณระหวางธนาคารธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา ผูต อบแบบสอบถามมีการรับรูภ าพลักษณ ของธนาคารธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยในภาพรวม ประชาชนรับรู ภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชยจํากัด (มหาชน) มากกวาธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และเมื่อพิจารณารายดานก็พบวาประชาชน มีการรับรูภาพลักษณมากที่สุดคือ ดานเทคโนโลยี ดานความแตกตางของการรับรูภ าพลักษณของธนาคารจําแนกตามกลุม ตัวอยาง ทีม่ อี ายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอ เดือนแตกตางกันพบวา มีการรับรูภ าพลักษณ ในแตละดานของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 สวนความแตกตางของการรับรูภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมตัวอยางที่มีอายุ อาชีพ และรายไดตอเดือนแตกตางกัน มีการรับรู ภาพลักษณในแตละดานของธนาคารแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คําสําคัญ : ภาพลักษณ, ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารไทยพาณิชย
Abstract The purposes of this study were to investigate the image of Krung ThaiBank Public Company Limited and Siam Commercial Bank Public Company Limited in Chiangrai Municipality, Chiangrai Province and to Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
111
compare the images between Krung Thai Bank Public Company Limited and Siam Commercial Bank Public Company Limited in Chiangrai Municipality, Chiangrai Province categorized by age, education level, career, and average monthly income of the respondents. Data collection was done through a questionnaire from 400 people living in Chiangrai Municipality, Chiangrai Province and it was analyzed by SPSS for windows program, frequency, percentage, mean, and deviation and ANOVA. The study showed that the number of respondents were males and females equally. Most of them were 20-30 years old with bachelor degree level. They were business owners and had average monthly income between 5,001-10, 000 baht. Most of them used savings service with Krung Thai Bank Public Company Limited. Overall, the image of Krung Thai Bank Public Company Limited and Siam Commercial Bank Public Company Limited was at a good level. The respondents’ perception from the two banks were; the reputation aspect. These two banks completely provided various kinds of service and they were the first class banks. Regarding to its reliability aspect, they were trusted by the customers. As for the services aspect, the bank officers were well-uniformed, neat and clean. With regard to the social aspect, they supported the youth’s education. Besides, the technology aspect, they provided fully convenient equipments for their customers. With regard to the comparison between the image of Krung Thai Bank Public Company Limited and Siam Commercial Bank Public Company Limited, it indicated that the respondents’ perception were statistical significant different at .05. Overall, the respondents perceived the image of Siam Commercial Bank Public Company Limited more than Krung Thai Bank Public Company Limited. With regard to each aspect, the technology aspect was perceived by the respondents the most. With regard to the respondents who were different in age, education level, career, and average monthly income perceived the image of Siam 112
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
Commercial Bank Public Company Limited statistical significant differently at 0.5 level as well as the respondents who were different in age, education level, career, and average monthly income , they also perceived the image of Krung Thai Bank Public Company Limited statistical significant differently at 0.5 level. Keywords : Image, Krung Thai Bank, Siam Commercial Bank
บทนํา ภาพลักษณองคกร (Corporate Image) เปนภาพรวมทั้งหมดขององคกรที่ บุคคลรับรู จากประสบการณหรือมีความรูความประทับใจ ตลอดจนความรูสึกที่มีตอ หนวยงานหรือสถาบันโดยการกระทําหรือพฤติกรรมองคกร การบริหาร ผลิตภัณฑ การบริหาร และการประชาสัมพันธจะเขามามีบทบาทตอภาพลักษณองคกรดวย (จิราภรณ สีขาว http://www.moe.go.th/wijai/image.htm. 2553) ภาพลักษณเปรียบประดุจหางเสือทีก่ าํ หนดทิศทางพฤติกรรมของปจเจกชนทีม่ ี ตอสิง่ ใด สิง่ หนึง่ ทีอ่ ยูร อบตัวบุคคลนัน้ ถาบุคคลนัน้ มีภาพลักษณเชิงบวกตอสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ทีอ่ ยูร อบตัวจะมีแนวโนมทีแ่ สดงพฤติกรรมเชิงบวก แตถา หากเขามีภาพลักษณเชิงลบตอ สิ่งเหลานั้นก็จะมีแนวโนมจะแสดงพฤติกรรมเชิงลบออกมาเชนกัน สําหรับวงการธุรกิจ (Commercial)นั้น ภาพลักษณถือวาเปนคุณคาเพิ่ม (Value Added) ที่มีใหกับสินคา และบริษัทซึ่งถือวาเปนผลประโยชนเชิงจิตวิทยา (Psychological Benefit) ที่มีอยูใน ตัวสินคาเปนตัวที่ทําใหตัวสินคาหลายชนิดตั้งราคาไดสูงกวาคุณคาทางกายภาพและ นับวันยิ่งมีสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งสินคาหลายๆ ยี่หอมีความทัดเทียมกันทางกายภาพ มากขึ้นเทาใด ภาพลักษณก็จะยิ่ง มีความสําคัญมากขึ้นเทานั้น (เสรี วงษมณฑา, 2542: 84-85) ปจจุบันมีหลายองคกรที่เนนการสรางภาพลักษณใหกับองคกรของตนเองมาก ขึน้ เนือ่ งจากภาพลักษณขององคกรจะเปนตัวในการวัดการตัดสินใจทีผ่ ใู ชบริการจะเลือก ที่เขามาใชบริการหรือไดรับความสะดวกเพื่อสรางความ พึงพอใจใหกับตัวผูบริโภคเอง ซึ่งองคกรหรือธุรกิจประเภทหนึ่งที่เนนการสรางภาพลักษณใหกับองคกร คือ ธนาคาร เพราะการที่ผูใชบริการจะเขามาเลือกใชบริการนั้นอาจเปนการเลือกใชบริการจากภาพ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
113
ลักษณทมี่ องเห็นจากภายนอกของทางองคกรธนาคาร หรืออาจเปนการใหบริการจากทาง ธนาคารที่ใหการบริการอยางนาพึงพอใจ (สุทธวรรณ แสงดอกไม, 2550 : 2-3) ในปจจุบนั มีธนาคารหลากหลายธนาคารทีเ่ ปดใหบริการแกประชาชน แตธนาคาร ที่มีการปรับรูปแบบการใหบริการและปรับภาพลักษณของธนาคารใหมีความโดดเดน ซึ่ง ผูศ กึ ษาไดเลือกศึกษาครัง้ นี้ คือธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) เนือ่ งจากเปนธนาคารทีไ่ ดรบั รางวัลตางๆ มามากมาย (ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน), http://www.Ktb.co.th. .2552 และ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน),รายงานประจําป พ.ศ.2548 : 18) อีกทั้งธนาคารกรุงไทย ยังเปนธนาคารที่มีภาพของการเปนธนาคารของรัฐ ซึง่ ถือหุน ใหญโดยรัฐบาลและใหบริการหนวยงานราชการ ขณะทีธ่ นาคารไทยพาณิชยเปน ธนาคารที่กอตั้งโดยเอกชนและมีอายุยืนยาว และใหบริการบริษัทขนาดใหญ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม และลูกคารายยอย การศึกษาเชิงเปรียบเทียบภาพลักษณของ ทั้งสองธนาคารจะเปนประโยชนตอการปรับปรุง และเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุง หรือพัฒนาภาพลักษณของธนาคารตอไป (เสรี วงษมณฑา, 2542: 84-85)
แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของ
แนวคิดเกี่ยวกับภาพลักษณ ความหมายของภาพลักษณ วิรัช ลภิรัตนกุล (2540 : 81-82)ไดอธิบายวา ภาพลักษณขององคกร (Corporate Image) คือภาพทีเ่ กิดขึน้ ในจิตใจของประชาชนทีม่ ตี อ บริษทั หรือหนวยงาน ธุรกิจแหงใดแหงหนึง่ ภาพลักษณดงั กลาวนี้ จะหมายรวมไปถึงดานการบริหารหรือจัดการ (Management) ของบริษทั แหงนัน้ ดวย และหมายรวมไปถึงสินคาผลิตภัณฑ (Product) และการบริการ (Service) ที่บริษัทนั้นจําหนาย ฉะนั้นคําวา ภาพลักษณของบริษัท (Corporate Image) จึงมีความหมายคอนขางกวาง และยังหมายรวมถึงตัวหนวยงาน ธุรกิจ ฝายจัดการและสินคาหรือบริการของบริษัทแหงนั้นดวย สรุปไดวา ภาพลักษณองคกร (Corporate Image) คือ ภาพที่เกิดในจิตใจของ ผูบริโภคที่ เกี่ยวกับองคกรนั้นๆ ที่ทางองคกรไดสรางหรือสื่อสารออกไป เชน สัญลักษณ (Logo) เครื่องแบบ (Uniform) เปนตน ใหผูบริโภครับรู รูจักและเขาใจองคกรมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้รวมไปถึงการบริการหรือการจัดการ (Management) ผลิตภัณฑและบริการตางๆ (Products & Services) ดวย 114
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ประเภทของภาพลักษณ วิรัช ลภิรัตนกุล (2535 : 81 - 82) ไดจําแนกภาพลักษณออกเปนประเภทที่ สําคัญไว มีอยู 4 ประเภทไดแก 1. ภาพลักษณของบริษัท (Corporate Image) คือภาพที่เกิดขึ้นในจิตใจ ของประชาชนที่มีตอบริษัทหรือหนวยงานธุรกิจแหงใดแหงหนึ่ง 2. ภาพลักษณของสถาบันหรือองคกร (Institution Image) คือภาพที่ เกิดขึ้นในใจของประชาชนที่มีตอสถาบันหรือองคกร ซึ่งโดยมากมักจะเนนไปทางดาน สถาบัน หรือองคกรเพียงอยางเดียวไมรวมถึงสินคาหรือบริการ ที่จําหนาย 3. ภาพลักษณของสินคาหรือบริการ (Product / Service Image) คือภาพ ทีเ่ กิดขึน้ ในใจของประชาชนทีม่ ตี อ สินคาหรือบริการของบริษทั เพียงอยางเดียว ไมรวมถึง ตัวองคกรหรือบริษัท 4. ภาพลักษณทมี่ ตี อ สินคาตราใดตราหนึง่ (Brand Image) คือ ภาพทีเ่ กิด ขึ้นในใจของประชาชนที่มีตอสินคายี่หอใดยี่หอหนึ่ง หรือตรา (Brand) ใดตราหนึ่ง หรือ เครื่องหมายการคา (Trademark) ใดเครื่องหมายหนึ่ง สวนมากมักจะใชในดานการ โฆษณา (Advertising) และการสงเสริมการจัดจําหนาย (Sale Promotion) สรุปไดวา ประเภทของภาพลักษณ ไดแก ภาพลักษณของบริษทั ภาพลักษณของ สถาบันหรือองคกร ภาพลักษณของสินคาหรือบริการ ภาพลักษณที่มีตอสินคาตราใด ตราหนึ่ง และสําหรับประเภทของภาพลักษณในเชิงการประชาสัมพันธ ไดแกภาพลักษณ ซอน ภาพลักษณปจจุบัน ภาพลักษณกระจกเงา ภาพลักษณที่พึงปรารถนา ภาพลักษณ สูงสุดที่ทําได ภาพลักษณที่ถูกตองและไมถูกตอง ภาพลักษณสินคา / บริการ ภาพลักษณ ตราสินคา ภาพลักษณองคกร ภาพลักษณสถาบัน ประเภทของภาพลักษณที่เกี่ยวของกับองคกรธุรกิจ ฟลิป คอทเลอร (อางถึงใน สุทธวรรณ แสงดอกไม, 2550 : 13-14) ไดกลาว ถึง ภาพลักษณในบริบทของการตลาดไววา ภาพลักษณ (Image) เปนวิถที ปี่ ระชาชนรับรูเ กีย่ วกับบริษทั หรือผลิตภัณฑของ บริษัท และภาพลักษณเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดจากปจจัยหลายประการภายใตการควบคุมของ ธุรกิจเมื่อพิจารณาภาพลักษณที่องคกรธุรกิจจะสามารถนํามาเปนองคประกอบทางการ บริหารจัดการไดแลวอาจจํากัดของเขตประเภทของภาพลักษณทเี่ กีย่ วของกับการสงเสริม การตลาดใหชัดเจน โดยจําแนกเปน 3 ประเภทดวยกันคือ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
115
1. ภาพลักษณเปนผลิตภัณฑหรือบริการ (Product or Service Image) 2. ภาพลักษณยี่หอสินคา (Brand Image) 3. ภาพลักษณของสถาบันหรือองคกร (Instiutional) สรุปไดวา ประเภทของภาพลักษณทเี่ กีย่ วของกับองคกรธุรกิจ โดยจําแนกเปน 3 ประเภทดวยกัน คือ ภาพลักษณเปนผลิตภัณฑหรือบริการ ภาพลักษณยหี่ อ สินคา ภาพลักษณ ของสถาบันหรือองคกร ซึง่ องคกรมีความจะเปนทีจ่ ะตองสรางภาพลักษณทดี่ ใี หกบั องคกร เพราะจะสามารถนํามาเปนองคประกอบทางการบริหารจัดการองคกรธุรกิจของตนได การกําหนดภาพลักษณขององคกร พงษเทพ วรกิจโภคาทร (2540 : 127 -129) ไดกลาวถึงการกําหนดภาพลักษณ ขององคกรไววาภาพลักษณที่บุคคลหรือประชาชนมีตอองคกรจะเปนอยางไร ยอมขึ้นอยู กับประสบการณและขอมูลขาวสารที่ประชาชนไดรับ สิ่งเหลานี้ยอมกอตัวขึ้นเปนความ ประทับใจ ซึง่ อาจจะเปนความประทับใจทีด่ หี รือไมดกี ไ็ ดแลวแตพฤติกรรมหรือการกระทํา ขององคกร หนาทีส่ าํ คัญของ นักประชาสัมพันธ คือ การสรางภาพลักษณทดี่ ใี หกบั องคกร ซึ่งตองทําอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ โดยตองใหขาวสารความรูและประสบการณแก ประชาชนอยางเพียงพอ การกําหนดภาพลักษณทพี่ งึ ปรารถนาขององคกร ควรควบคุมเนือ้ หา (Content) ไวดังนี้ 1. ความสัมพันธกับกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ (Related with Target Publics) 2. สินคาหรือตราสินคา (Product or Brand) 3. ความปลอดภัย มลภาวะ และเทคโนโลยี (Safety Pollution and Technology) 4. การมีสว นเสริมสรางเศรษฐกิจสังคม (Socio – Economic Contribution) 5. พนักงาน (Employee) 6. ความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) 7. การจัดการ (Management) 8. กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ (Law and Regulation) สรุปไดวา การกําหนดภาพลักษณขององคกร เปนการกําหนดภาพลักษณทพี่ งึ ปรารถนาขององคกร ไดแก ความสัมพันธกับกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ สินคาหรือ 116
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ตราสินคา ความปลอดภัย มลภาวะ และเทคโนโลยี การมีสวนเสริมสรางเศรษฐกิจสังคม พนักงาน ความรับผิดชอบตอสังคม การจัดการ กฎหมาย ระเบียบ ซึ่งอาจจะเปนความ ประทับใจที่ดีหรือไมดีก็ไดแลวแตพฤติกรรมหรือการกระทําขององคกร การสรางภาพลักษณขององคกร สมิต สัชฌุกร (2543 อางถึงใน ทิพยฤทัย ตระการศักดิกุล, 2545 : 7 – 8) ได กลาวถึงการสรางภาพลักษณขององคการวาโดยรวมเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากการ สรางความรูสึกที่ดีทั้งดานบุคคล ดานสถานที่ และดานนโยบายการดําเนินงาน ยอมชวย ใหเกิดภาพลักษณอนั งดงาม รวมทัง้ ไดรบั การสนับสนุนและปกปองเมือ่ มีการใหรา ยโจมตี ที่ไมถูกตอง เปนธรรม ภาพลักษณมี 3 ดาน ดังนี้ 1. ดานบุคลากร จะตองสรางความรูสึกใหเปนที่ยอมรับวา เปนบุคคลหรือ คณะบุคคลที่มีความนาเชื่อถือ 2. ดานสถานที่ ตองสะอาด มีความเปนระเบียบเรียบรอย 3. ดานนโยบายการดําเนินงาน ตองใหความรูส กึ เชือ่ มัน่ ไดวา ซือ่ สัตยสจุ ริต โปรงใส สรุปไดวา การสรางภาพลักษณขององคกร ซึ่งสรางภาพลักษณขององคการวา โดยรวมเปนสิง่ สําคัญอยางยิง่ เนือ่ งจากการสรางความรูส กึ ทีด่ ที งั้ ดานบุคคล ดานสถานที่ และดานนโยบายการดําเนินงาน ยอมชวยใหเกิดภาพลักษณอันงดงาม รวมทั้งไดรับการ สนับสนุนและปกปองเมื่อมีการใหรายโจมตีที่ไมถูกตองเปนธรรม องคประกอบของภาพลักษณองคกร เสรี วงษมณฑา (2542:98) ไดกลาววา องคประกอบของภาพลักษณองคกร (Corporate image) มีดังนี้ 1. ผูบริหาร (Executive) องคกรจะดีหรือไมดีขึ้นอยูกับผูบริหาร 2. พนักงาน (Employee) คือบริษัทที่ดีตองมีพนักงานที่มีความสามารถมี มนุษยสัมพันธ 3. สินคา (Product) ตองเปนสินคาที่ดีมีคุณภาพ 4. การดําเนินธุรกิจ (Business practice) ควรมีการคืนกําไรสูสังคมเพื่อ สรางภาพพจนที่ดี 5. กิจกรรมสังคม (Social activities) คือ การดูแลเอาใจใสสังคม รวมกิจกรรมการกุศล Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
117
6. เครื่องมือเครื่องใช หรืออุปกรณในสํานักงาน (Artifacts) บริษัทตองมี สิง่ ทีแ่ สดงถึงสัญลักษณของบริษทั ไดแก เครือ่ งมือเครือ่ งใช เครือ่ งแบบพนักงาน อุปกรณ สํานักงาน วัสดุสิ้นเปลือง เชนปากกา ดินสอ ยางลบ ไมบรรทัด กระดาษ ฯลฯ ควรมีโลโก ขององคกรแสดงอยูดวย สรุปไดวา สิ่งที่กอใหเกิดภาพลักษณไมวาจะเปนผูบริหาร พนักงาน สินคา การดําเนินธุรกิจ กิจกรรมสังคม เครื่องมือเครื่องใช หรืออุปกรณในสํานักงาน ซึ่งองค ประกอบเหลานี้ก็คือ ที่มาของภาพลักษณ ผูที่มีหนาที่รับผิดชอบในการสรางภาพลักษณ ตองใจใสดูแลเปนอยางยิ่ง เพื่อเปนการสรางภาพลักษณที่ดีใหองคกรอยูเสมอ ความรับผิดชอบขององคกรที่มีผลตอภาพลักษณ เสรี วงษมณฑา (2542 : 95-96) ไดกลาวไววา ความรับผิดชอบขององคกร ที่มีผลตอภาพลักษณ มีดังนี้ 1. สายผลิตภัณฑขององคกร (Product line) 2. การปฏิบัติการทางการตลาด (Marketing practice) 3. บริการของพนักงาน (Employee service) 4. การเปนผูอุปถัมภขององคกร (Corporate philanthropy) 5. กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม (Environmental activities) 6. สัมพันธภาพกับบุคคลภายนอก (External relation) 7. องคกรควรจางงานคนกลุมนอยและผูหญิง ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะ มีปญหาเรื่องการจางคนกลุมนอยเขามาทํางาน 8. องคกรมีหนาทีด่ แู ลสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน (Employee safe and health) สรุ ป ได ว า ความรั บ ผิ ด ชอบขององค ก รที่ มี ผ ลต อ ภาพลั ก ษณ ได แ ก สายผลิตภัณฑขององคกร การปฏิบัติการทางการตลาด บริการของพนักงาน การเปนผู อุปถัมภขององคกรกิจกรรม ดานสิง่ แวดลอม สัมพันธภาพกับบุคคลภายนอก องคกรควร จางงานคนกลุมนอยและผูหญิง องคกรมีหนาที่ดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของ พนักงาน สิ่งเหลานี้เปนความรับผิดชอบขององคกรที่มีผลตอภาพลักษณที่จะเกิดขึ้นกับ องคกร ซึ่งจะสะทอนใหเห็นความรับผิดชอบขององคกรที่มีผลตอภาพลักษณ
118
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
แนวคิดเกี่ยวกับการบริการ ความหมายของการบริการ สมิต สัชฌุกร (2548 : 1 -12) ไดใหความหมายของการบริการไววา การให ความชวยเหลือหรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูอื่นนั้นจะตองมีหลักการยึดถือ ปฏิบัติ มิใชวาการใหความชวยเหลือ หรือการทําประโยชนตอผูอื่น จะเปนไปตามใจของ เราผูซึ่งเปนผูใหบริการ ซึ่งมีขอคํานึงดังนี้ 1. สอดคลองตรงตามความตองการของผูรับบริการ 2. ทําใหผูรับเกิดความพอใจของลูกคาเปนหลักเบื้องตน 3. ปฏิบัติโดยถูกตองสมบูรณครบถวน 4. เหมาะสมแกสถานการณ 5. ไมกอผลเสียหายแกบุคคลอื่น ๆ สรุปไดวา การบริการ หมายถึง สิง่ ทีจ่ บั ตองไมได ซึง่ เปนการปฏิบตั งิ านทีก่ ระทํา หรือติดตอและเกีย่ วของกับผูร บั บริการ และใหผรู บั บริการไดรบั ประโยชนสว นใดสวนหนึง่ ดวยวิธีการหลากหลาย ซึ่งจะสงผลใหธุรกิจ หรือกิจการใดๆ ที่เกี่ยวของกับการบริการ ประสบความสําเร็จได ลักษณะของการบริการที่ดี การใหบริการเปนการกระทําของบุคคลซึ่งมีบุคลิกภาพอุปนิสัยและอารมณ แตกตางกันไปในแตละบุคคลและแตละสถานการณ จึงมีการประพฤติปฏิบตั ทิ หี่ ลากหลาย ออกไป แตอยางไรก็ตาม การบริการที่ดีอันเปนที่ยอมรับกันทั่วไป มีดังนี้ (สมิต สัชฌุกร, 2545 : 175 - 176) 1. ทําดวยความเต็มใจ การบริการเปนเรื่องของจิตใจ 2. ทําดวยความรวดเร็ว 3. การใหบริการที่ครบถวนสมบูรณถูกตองนั้นจะเปนการสนองตอบ ความตองการและความพอใจ 4. ทําอยางเทาเทียมกัน 5. ทําใหเกิดความชื่นใจ สรุปไดวา ลักษณะของการใหบริการที่ดีมีดังนี้ คือ ทําดวยความเต็มใจเพราะ การบริการเปนเรื่องของจิตใจ ทําดวยความรวดเร็ว การใหบริการที่ครบถวนสมบูรณ ถูกตองนั้นจะเปนการสนองตอบความตองการและความพอใจ ทําอยางเทาเทียมกัน และทําใหเกิดความชื่นใจ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
119
คุณภาพการบริการ ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541 : 211-212) ไดกลาววา การสรางบริการให เกิดคุณภาพเพื่อใหลูกคาพึงพอใจมีลักษณะดังนี้ 1. การเขาถึงลูกคา (Access) บริการทีใ่ หกบั ลูกคาตองอํานวยความสะดวก ในดานเวลาและสถานที่แกลูกคา 2. การติดตอสื่อสาร (Communication) มีการอธิบายอยางถูกตอง 3. ความสามารถ (Competence) บุคลากรที่ใหบริการตองมีความชํานาญ 4. ความมีนํ้าใจ (Courtesy) บุคลากรตองมีมนุษยสัมพันธเปนที่นาเชื่อถือ 5. ความนาเชื่อถือ (Credibility) บริษัทและบุคลากรตองสามารถสราง ความเชื่อมั่น 6. ความไววางใจ (Reliability) บริการที่ใหกับลูกคาตองมีความสมํ่าเสมอ และถูกตอง 7. การตอบสนองลูกคา (Responsiveness) พนักงานจะตองใหบริการและ แกปญหาตางๆ 8. ความปลอดภัย (Security) บริการทีใ่ หตอ งปราศจากอันตราย ความเสีย่ ง และปญหาตางๆ 9. การสรางบริการใหเปนที่รูจัก (Tangible) บริการที่ลูกคาไดรับจะทําให เขาสามารถคาดคะเนถึงคุณภาพบริการดังกลาวได 10. การเขาใจและรูจักลูกคา (Understanding / Knowing Customer) พนักงานจะตองพยายามเขาใจถึงความตองการของลูกคา สรุปไดวา คุณภาพการบริการที่ดีนั้นจะตองสรางบริการใหเกิดคุณภาพเพื่อให ลูกคาพึงพอใจมากที่สุดไมวาจะเปนการบริการในรูปแบบไหน จากการทบทวนแนวคิดเกีย่ วกับเรือ่ งการศึกษาภาพลักษณจากนักวิชาการตางๆ พอจะประมวลองคประกอบของภาพลักษณออกมาเปนดานตางๆ ไดดังนี้ ภาพลักษณ ด า นชื่ อ เสี ย ง (ดร.พจน ใจชาญสุ ข กิ จ กรุ ง เทพธุ ร กิ จ : 2552) ภาพลั ก ษณ ด า น ความนาเชื่อถือ , ภาพลักษณดานการใหบริการของพนักงาน , ภาพลักษณดานกิจกรรม เพื่อสังคม(เสรี วงษมณฑา, 2542 : 98) และ ภาพลักษณดานเทคโนโลยี (พงษเทพ วรกิจโภคาทร, 2540 : 127-129) ซึ่งผูศึกษามีความเห็นวา ภาพลักษณที่นักวิชาการ
120
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
แตละทานไดกลาวมามีความเกี่ยวของกับองคกรประเภทธุรกิจธนาคาร ซึ่งเปนประเภท ขององคกรที่ใชในการศึกษาในครั้งนี้ ดังนั้น ผูศึกษาจึงไดประมวลแนวของนักวิชาการ ดังกลาวมาใชเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาภาพลักษณ 5 ดานดังนี้ 1. ภาพลักษณดานชื่อเสียง 2. ภาพลักษณดานความนาเชื่อถือ 3. ภาพลักษณดานการใหบริการของพนักงาน 4. ภาพลักษณดานกิจกรรมเพื่อสังคม 5. ภาพลักษณดานเทคโนโลยี
กรอบแนวคิดในการศึกษา ลักษณะของประชากร 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. อาชีพ 5. รายไดตอเดือน
1. 2. 3. 4. 5.
ภาพลักษณ 5 ดาน ภาพลักษณดานชื่อเสียง ภาพลักษณดานความนาเชื่อถือ ภาพลักษณดานการใหบริการของ พนักงาน ภาพลักษณดานกิจกรรมเพื่อสังคม ภาพลักษณดานเทคโนโลยี
วิธีการดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรของการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ประชาชนในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย จํานวน 69,988 คน (เทศบาลนครเชียงราย, http://www.chiangraicity.go.th. 2553) โดยผูศึกษาไดทําการกําหนดกลุมตัวอยางโดยใชวิธีคํานวณดวยสูตร ของ Taro Yamane ผูศ กึ ษากําหนดขนาดกลุม ตัวอยางโดยคํานวณจากประชากร จํานวน 69,988 คน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ไดจํานวนกลุมตัวอยาง จํานวน 398 คน แตผศู กึ ษาไดมกี ารกําหนดขนาดของกลุม ตัวอยางทีใ่ ชในการศึกษาครัง้ นีจ้ าํ นวน 400 ราย
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
121
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูศ กึ ษาไดใช แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครือ่ งมือในการเก็บรวบรวม ขอมูล โดยไดสรางขอคําถามเกี่ยวกับภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จํานวน 32 ขอ โดยจําแนกเปน 5 ดาน คือ ดานชือ่ เสียงของธนาคาร ดานความนาเชือ่ ถือของธนาคาร ดานการใหบริการของพนักงาน ดานกิจกรรมเพื่อสังคม และดานเทคโนโลยี ซึ่งแบงเปนคาคะแนน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ดานชือ่ เสียงของธนาคาร ประกอบดวย 1.เปนธนาคารทีไ่ ดรบั รางวัลดีเดนตางๆ จากหลากหลายสถาบัน 2.เปนธนาคารทีม่ กี ารใหบริการหลากหลาย ครบวงจร รวมทัง้ เปน ธนาคารชั้นนําของประเทศ 3.เปนธนาคารที่ทําประโยชนและใหความรวมมือกับ สถาบัน ตางๆ และ 4.เปนธนาคารที่มีการรวมทุนจากสถาบันชั้นนําหลากหลายสถาบัน ดานความนาเชื่อถือของธนาคาร ประกอบดวย 1.เปนธนาคารที่มีความมั่นคง เนือ่ งจากเปนสถาบันทีก่ อ ตัง้ โดยพระมหากษัตริยห รือรัฐบาล 2.เปนธนาคารทีม่ กี ารพัฒนา ความเจริ ญ ก า วหน า อย า งต อ เนื่ อ งเสมอมา 3.เป น ธนาคารที่ มี ผู บ ริ ห ารที่ มี ค วามรู ความสามารถและผูบริหารระดับสูงซึ่งที่เปนยอมรับ 4.เปนธนาคารที่มีการบริหารงาน อยางเปนระบบระเบียบ 5.เปนธนาคารทีม่ กี ารกําหนดขัน้ ตอนการใหบริการไวอยางชัดเจน และ 6.เปนธนาคารที่ลูกคาใชความไววางใจในการเลือกใชบริการ ดานการใหบริการของพนักงาน ประกอบดวย 1.พนักงานมีทักษะที่ดีในการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติไดอยางแมนยํา ถูกตองและรวดเร็ว 2.ขั้นตอนในการใหบริการใชเวลา เหมาะสม 3.พนักงานมีบุคลิกที่ดีนาเชื่อถือ 4.พนักงานแตงกายสุภาพ เรียบรอย สะอาด 5.พนักงานพูดจาสุภาพ อัธยาศัยดี เปนมิตรกับคนทั่วไป 6.พนักงานเอาใจใสดูแล ลูกคา และคอยใหความชวยเหลืออยางเต็มใจ และ 7.พนักงานธนาคาร สามารถแกปญหาให ลูกคาได ดานกิจกรรมเพือ่ สังคม ประกอบดวย 1.ธนาคารใหการสนับสนุนตอการพัฒนา ดานการกีฬาแกเยาวชน 2.ธนาคารใหการสนับสนุนดานการศึกษาแกเยาวชน 3.ธนาคาร มีสวนรวมในการเผยแพรศิลปวัฒนธรรมอยางสมํ่าเสมอ 4.ธนาคารใหการสนับสนุน โครงการพัฒนาสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง 5.ธนาคารใหการสนับสนุนดานการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน และ 6.ธนาคารใหการสนับสนุนดานสาธารณสุข ดานเทคโนโลยี ประกอบดวย 1.เปนธนาคารทีใ่ ชเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ครอบคลุม ทุกความตองการของลูกคา 2.ธนาคารเปนผูนําดานเทคโนโลยีระดับสากล 3.ธนาคาร มีอุปกรณเครื่องมือ เครื่องใชในการใหบริการที่ทันสมัย 4.ธนาคารมีอุปกรณเครื่องมือ เครื่องใชที่ใหความสะดวก รวดเร็วแกลูกคาที่ใชบริการ 122
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ผลการศึกษา ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชายมีจํานวนเทากับเพศหญิง ซึ่งสวนใหญมีอายุ ระหวาง 20-30 ป มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว มีรายไดระหวาง 5,001-10,000 บาท ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด(มหาชน) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีการรับรูของภาพลักษณของธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในภาพรวมอยูใน ระดับปานกลางใกลเคียงกัน ซึง่ หากคิดเปนคาเฉลีย่ จะเห็นไดวา ภาพลักษณของธนาคาร ไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จะมีคาเฉลี่ยของภาพลักษณสูงกวาธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบระหวางธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย ภาพลักษณ t sig คาเฉลี่ย S.D. คาเฉลี่ย S.D. ดานความมีชื่อเสียง 2.96 1.14 3.44 1.40 -10.21 .000 ดานความนาเชื่อถือ 3.19 1.83 3.42 1.21 -5.51 .000 ดานการใหบริการ 3.26 1.04 3.61 1.07 -9.53 .000 ของพนักงาน ดานกิจกรรมเพื่อ 2.64 1.15 2.81 1.11 -4.35 .000 สังคม ดานเทคโนโลยี 3.35 1.08 3.73 1.15 -8.81 .000 รวม 3.08 1.24 3.40 1.18 -7.68 .000
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
123
และจากการเปรียบเทียบภาพลักษณของธนาคารระหวางธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา ผูตอบแบบสอบถามรับรู ภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในดานชือ่ เสียง ดานความนาเชือ่ ถือ ดานการใหบริการของพนักงาน ดานกิจกรรมเพื่อสังคม และดานเทคโนโลยีดีกวาของ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 การเปรียบเทียบภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) เมื่อจําแนกตามอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตอเดือน ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) อายุ จากการศึกษาพบวา ดานชื่อเสียงของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป มีการรับรูภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดานชือ่ เสียงมากกวากลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 31 – 40 ป และ 41– 50 ป และกลุม ที่มีอายุตํ่ากวา 20 ป ดานความนาเชื่อถือมากกวากลุมที่มีอายุระหวาง 41 – 50 ป และกลุมที่มีอายุ ระหวาง 20 – 30 ป มีการรับรูภ าพลักษณดา นความนาเชือ่ ถือมากกวากลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 31 – 40 ป และ 41 – 50 ป ดานการใหบริการของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุม ที่ มีอายุระหวาง 20 – 30 ปมีการรับรูภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดานการใหบริการมากกวากลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 31 – 40 ป, 41 – 50 ป และ 51 – 60 ป ดานเทคโนโลยีของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 20 – 30 ปมีการรับรูภาพลักษณดานเทคโนโลยีของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) มากกวากลุมที่มีอายุระหวาง 31 – 40 ป, 41 – 50 ป, 51 – 60 ปและ 60 ปขึ้นไป อาชีพ จากการศึกษาพบวา ดานความนาเชือ่ ถือของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุม ทีป่ ระกอบอาชีพนักเรียน/นักศึกษา มีการรับรูภ าพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดานความนาเชือ่ ถือมากกวากลุม ทีป่ ระกอบอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ กลุมที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และกลุมที่ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว
124
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
รายไดตอเดือน จากการศึกษาพบวา ดานความนาเชือ่ ถือของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มีรายไดตํ่ากวาหรือเทากับ 5,000 บาท กลุมที่มีรายได 5,001 – 10,000 บาท กลุมที่มีรายได 10,001 – 15,000 บาท และกลุมที่มีรายไดมากกวา 30,001 บาท ขึ้นไป มีการรับรูภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดานความนาเชื่อถือ มากกวากลุมที่มีรายได 15,001 – 20,000 บาท ดานการใหบริการของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุม ที่มีรายไดตํ่ากวาหรือเทากับ5,000 บาท กลุมที่มีรายได 5,001 – 10,000 บาท กลุมที่ มีรายได 10,001 – 15,000 บาท และกลุมที่มีรายไดมากกวา 30,001 บาทขึ้นไป มีการ รับรูภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ดานการใหบริการของพนักงาน มากกวากลุมที่มีรายได 15,001 – 20,000 บาท ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) อายุ ดานความนาเชื่อถือของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษา พบวา กลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 20 – 30 ป และกลุม ทีม่ อี ายุ 60 ปขนึ้ ไป มีการรับรูภ าพลักษณ ของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ดานความนาเชื่อถือมากกวากลุมที่มีอายุ ระหวาง 31 – 40 ป และ 41 – 50 ป ดานเทคโนโลยีของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มีอายุ ตํา่ กวา 20 ป และกลุม ทีม่ อี ายุระหวาง 20 – 30 ป มีการรับรูภ าพลักษณของธนาคารไทย พาณิชย จํากัด (มหาชน) ดานเทคโนโลยีมากกวากลุมที่มีอายุระหวาง 31–40 ป อาชีพ ดานชื่อเสียงของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จากผลการศึกษาพบวา กลุมที่ประกอบอาชีพนักเรียน/นักศึกษา และกลุมที่ประกอบอาชีพแมบาน/เกษียณอายุ มีการรับรูภ าพลักษณของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ดานชือ่ เสียงมากกวากลุม ที่ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว และกลุมที่ประกอบอาชีพรับจาง รายไดตอเดือน ดานชื่อเสียงของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มีรายได มากกวา 30,001 บาทขึ้นไป มีการรับรูภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)ดานชื่อเสียงมากกวากลุมที่มีรายไดตํ่ากวาหรือเทากับ 5,000 บาท กลุมที่มี Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
125
รายได 10,001 – 15,000 บาท และกลุมที่มีรายได 15,001 – 20,000 บาท ดานความนาเชื่อถือของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มี รายไดตํ่ากวาหรือเทากับ 5,000 บาท กลุมที่มีรายได 5,001 – 10,000 บาท กลุมที่มี รายได 10,001 – 15,000 บาท และกลุมที่มีรายไดมากกวา 30,001 บาทขึ้นไป มีการ รับรูภาพลักษณดานความนาเชื่อถือมากกวากลุมที่มีรายได 15,001 – 20,000 บาท ดานการใหบริการของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา กลุมที่มีรายไดตํ่ากวาหรือเทากับ 5,000 บาท กลุมที่มีรายได 5,001 – 10,000 บาท กลุมที่มีรายได 10,001 – 15,000 บาท และกลุมที่มีรายไดมากกวา 30,001 บาทขึ้นไป มีการรับรูภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)
อภิปรายผล
จากการศึกษาเรื่อง ภาพลักษณการใหบริการของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายผลได ดังนี้ 1. ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในวงการธุรกิจ (Commercial)นั้น ภาพลักษณถือวาเปนคุณคาเพิ่ม (Value Added) ทีม่ ใี หกบั สินคาและบริษทั ซึง่ ถือวาเปนผลประโยชนเชิงจิตวิทยา (Psychological Benefit) ทีม่ อี ยูใ นตัวสินคาเปนตัวทีท่ าํ ใหตวั สินคาหลายชนิดตัง้ ราคาไดสงู กวาคุณคาทาง กายภาพและนับวันยิ่งมีสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งสินคาหลายๆ ยี่หอมีความทัดเทียมกัน ทางกายภาพมากขึน้ เทาใด ภาพลักษณกจ็ ะยิง่ มีความสําคัญมากขึน้ เทานัน้ (เสรี วงษมณฑา, 2542: 84-85) สําหรับการศึกษาครั้งนี้ไดมีการเปรียบเทียบภาพลักษณของธนาคาร กรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) พบวา ธนาคาร ไทยพาณิชยมีการสรางภาพลักษณในดานเทคโนโลยีไดเดนชัดมากกวาธนาคารกรุงไทยฯ ซึ่ ง หากพิ จ ารณาจากผลการศึ ก ษาแล ว จะพบว า ธนาคารไทยพาณิ ช ย ฯ สามารถ สรางมูลคาเพิ่มใหกับธนาคารหรือองคกรของตัวเองใหแตกตางจากธนาคารกรุงไทยฯ ไดอยางชัดเจน กลาวคือ ขณะที่ธนาคารมีการแขงขันกันอยางสูงในการใหบริการลูกคา แตขณะเดียวกันลักษณะของสินคาหรือบริการของธนาคารแตละแหงก็ไมแตกตางกัน มากนัก การจะสรางความแตกตางและมูลคาเพิม่ เพือ่ จูงใจใหลกู คามาใชบริการจําเปนตอง 126
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
เนนไปที่การสรางภาพลักษณ ซึ่งพงษเทพ วรกิจโภคาทร (2540 : 127 -129) กลาวไว วา การใชเทคโนโลยีเปนวิธกี ารหนึง่ ของการกําหนดภาพลักษณทพี่ งึ ปรารถนาขององคกร ดังนั้น จึงเห็นไดวาธนาคารแตละแหงตางหันมาใชเรื่องของเทคโนโลยีเขามาชวยในงาน บริการ เพื่อใหเกิดความรวดเร็วและสะดวกสบาย สําหรับธนาคารไทยพาณิชยฯ นั้น ทีผ่ า นมาไดมกี ารนํานวัตกรรมใหมๆ เพือ่ อํานวยความสะดวกใหกบั ลูกคา เชน SCB Easy Net คือ การบริการธนาคารออนไลน ซึ่งเปนอีกทางเลือกที่ใหลูกคาสามารถทําธุรกรรม ทางการเงินตางๆ ในการโอนเงิน ชําระคาสินคา หรือเช็คยอดเงิน ผานทางอินเทอรเน็ต หรือโทรศัพทมอื ถือ รวมถึงการใหบริการ SCB Easy net widgets คือ การบริการธนาคาร ออนไลน โดยไมตองเปด Browser และพรอมใชงานตลอดเวลาบนหนาจอมอนิเตอร (Desktop) และบนมือถือ สามารถโอนเงิน เติมเงินมือถือ ตรวจสอบยอดเงิน และอัพเดท โปรโมชั่ น จากธนาคาร ซึ่ ง สามารถใช ง านได จ ากบนหน า จอคอมพิ ว เตอร หรื อ โทรศัพทมอื ถือ และระบบ SMS Alert หรือเลขาสวนตัว เพือ่ แจงเตือนทุกความเคลือ่ นไหว ทางบัญชีผานทาง SMS ทั้งการแจงเตือนเมื่อมีการฝากเงิน,ถอนเงินสด, ชําระคาสินคา/ บริการ หรือรายการโอนเงิน องค ป ระกอบดั ง กล า วข า งต น ได มี ส ว นสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก ารรั บ รู ภ าพลั ก ษณ ดานเทคโนโลยีของธนาคารไทยพาณิชยฯ มีความเดนชัด ดังที่ พงษเทพ วรกิจโภคาทร (2540 : 127 -129) ไดกลาวถึงไววาภาพลักษณท่บี ุคคลหรือประชาชนมีตอองคกรจะ เปนอยางไร ยอมขึ้นอยูกับประสบการณและขอมูลขาวสารที่ประชาชนไดรับ สิ่งเหลานี้ ยอมกอตัวขึ้นเปนความประทับใจ การที่ธนาคารไทยพาณิชยสรางประสบการณเกี่ยวกับ เทคโนโลยีใหกับลูกคาจึงเปนสวนสําคัญที่สรางภาพลักษณดังกลาวใหกับลูกคาไดเชนกัน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับธนาคารกรุงไทยฯ ที่แมวาจะมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณธนาคาร พอสมควร และมีการนําอุปกรณเครือ่ งมือเครือ่ งใชทที่ นั สมัยชวยทําใหการใหบริการ แตก็ ไมมากเพียงพอหรือมีความชัดเจนมากเทากับธนาคารกรุงไทย ดังนัน้ จึงเปนเหตุผลสําคัญ ที่ทําใหภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชยในดานเทคโนโลยีมีสูงกวาธนาคารกรุงไทยฯ ขณะที่ภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชยและธนาคารกรุงไทยมีความเดนชัด ในเรื่องของเทคโนโลยีมากที่สุด แตภาพลักษณดานกิจกรรมเพื่อสังคมของสองธนาคาร กลับเปนภาพลักษณดา นทีก่ ลุม ตัวอยางรับรูน อ ยทีส่ ดุ ทัง้ นีอ้ าจจะเปนเพราะวา ถึงทัง้ สอง ธนาคารจะมีการทํากิจกรรมเพื่อสังคมอยูบางแลว แตธนาคารอาจมีการประชาสัมพันธ กิจกรรมเพือ่ สังคมนอยและไมทวั่ ถึง จึงทําใหกจิ กรรมเพือ่ สังคมของทัง้ สองธนาคารมีการ รับรูที่นอยกวากวาดานอื่นๆ ซึ่งการประชาสัมพันธถือวามีบทบาทที่สําคัญยิ่งในการนํา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
127
ขอมูลขาวสารตางๆ แพรกระจายสูกลุมประชาชนในหลากหลายสื่อเพื่อใหขอมูลเขาถึง ประชาชน และมีสวนสรางภาพลักษณขององคกรได ดังที่วิรัช ลภิรัตนกุล (2540: 115) กลาววา ในยุคของการสื่อสารไรพรมแดนดังเชนทุกวันนี้การสื่อสารในรูปแบบตางๆ โดย เฉพาะการประชาสัมพันธ มีบทบาททีส่ าํ คัญยิง่ ในการนําขอมูลขาวสารตางๆ แพรกระจาย สูกลุมประชาชนในหลากหลายสื่อและมากมายหลายชองทางอยางไมเคยปรากฏในยุคใด มากอน ขอมูลขาวสารตางๆ เหลานี้ยอมมีผลกระทบตอหนวยงานทั้งทางตรงและทาง ออมแนนอน ขาวสารยอมมีทั้งดานดีและดานราย ทางดานดีก็ยอมชวยสงเสริมชื่อเสียง ภาพลักษณของหนวยงาน ตลอดจนความเชื่อถือศรัทธาจากมหาชนใหเพิ่มพูนยิ่งขึ้น ในทางตรงกันขาม ขอมูลขาวสารทางดานดีหรือทางลบก็มสี ว นทําลายศรัทธาของมหาชน ให ม ลายสิ้ น ภายในพริ บ ตาได เช น กั น ซึ่ ง จากผลการศึ ก ษาทั้ ง สองธนาคารควรให ความสําคัญในการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารใหกับผูใชบริการหรือประชาชนทั่วไป อยางสมํ่าเสมอ และเมื่อเปรียบเทียบภาพลักษณของธนาคารระหวางธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยภาพรวมแลว พบวา ผูตอบ แบบสอบถามมีการรับรูภาพลักษณของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ดีกวากวา ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)ในทุกดาน คือ ดานชื่อเสียง ดานความนาเชื่อถือ ดานการใหบริการของพนักงาน ดานกิจกรรมเพือ่ สังคม และดานเทคโนโลยี ทัง้ นีอ้ าจเปน เพราะวานอกจากการนําเอาเทคโนโลยีตา งๆ เขามาชวยในการใหบริการดังทีก่ ลาวมาแลว ขางตน ธนาคารไทยพาณิชยฯ ยังมีการใชสื่อโฆษณาประชาสัมพันธรูปแบบการใหบริการ ของธนาคารที่หลากหลาย เชน มีการประชาสัมพันธบริการดานตางๆ ผานทางโทรทัศน หนังสือพิมพ ฯลฯ การตกแตงสถานที่ที่ดูทันสมัยและการใชสีสัน การกําหนดใหมีสาขา ยอยในหางสรรพสินคาและสถาบันการศึกษา รวมถึงการใหบริการของพนักงาน ทีเ่ นนการ ดูแลและเอาใจใสใหความสําคัญกับความตองการของผูใชบริการ เชน พนักงานมีการ สอบถามความตองการของผูใ ชบริการ ฯลฯ องคประกอบเหลานีข้ องธนาคารไทยพาณิชยฯ มีมากกวาธนาคารกรุงไทยฯ จึงนาจะเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหธนาคารไทยพาณิชยฯมี ภาพลักษณที่ดีกวาธนาคารกรุงไทยฯ 2. เปรียบเทียบภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคาร ไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) เมื่อจําแนกตามลักษณะทางประชากร จากการศึกษาผูศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูภาพลักษณของทั้งสอง 128
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ธนาคารในด า นเทคโนโลยี ม ากที่ สุ ด ดั ง นั้ น ผู ศึ ก ษาจึ ง ได เ ลื อ กอภิ ป รายผลเฉพาะ ภาพลักษณในดานดังกลาว โดยจําแนกตามลักษณะของประชากร ดังนี้ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่รับรูภาพลักษณดานเทคโนโลยีที่มาก ที่สุด คือกลุมตัวอยางที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป มีการรับรูที่มีมากกวากลุมอายุอื่นๆ ซึ่งสาเหตุที่กลุมที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป มีการรับรูดานเทคโนโลยีที่ดีกวา อาจเปน เพราะคนกลุมนี้มีการรับรู และคุนเคยการใชเทคโนโลยีโดยทั่วไปอยูแลว ไมวาจะเปนรับรู หรือการใชเทคโนโลยีตางๆ ผานทางอินเทอรเน็ต จึงเปนเรื่องงายที่จะทําใหกลุมอายุ 20 – 30 ป สามารถรับรูภาพลักษณเกี่ยวกับเทคโนโลยีตางๆ ที่ธนาคารกรุงไทยนํามาใชไดดี กวากลุมอายุอื่นๆ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สวัสดิ์ ไหลภาภรณ (2548 : 141) พบวากลุมที่มีการใชเทคโนโลยีทางอินเทอรเน็ตจะมีอายุระหวาง 25 – 45 ป ซึ่งมีการใช อินเทอรเน็ตในระยะเวลา และจํานวนครั้งที่มากกวากลุมที่ใชอินเทอรเน็ตที่มีอายุระหวาง 46 – 55 ป และอายุระหวาง 56 – 76 ป แสดงใหเห็นวายิ่งมีอายุมากขึ้นก็ยิ่งใชเวลาและ การใช ง านอิ น เทอร เ น็ ต น อ ยลงและงานวิ จั ย ของชั ย เกี ย รติ ประสงค ศิ ล ป แ ละคณะ (2547:120-121) พบวา วัยรุน เปนวัยทีต่ อ งการคนหาสิง่ ใหมๆ อยากรูอ ยากเห็น ตองการ เปนที่ยอมรับของเพื่อนๆ และสังคมสงผลใหเกิดพฤติกรรมที่โดดเดน และสําหรับ พฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ตนั้น ก็เปนการแสดงพฤติกรรมหนึ่งของวัยรุนที่ตอบสนอง ความตองการของวัยรุน และอินเทอรเน็ตเปนเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีสิ่งใหมๆ อยูเสมอ 2.2 ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จากผลการศึกษาพบวา กลุม ตัวอยางทีร่ บั รูภ าพลักษณดา นเทคโนโลยีทมี่ าก ที่สุด คือกลุมตัวอยางที่มีอายุ ตํ่ากวา 20 ป และกลุมตัวอยางที่มีรายไดตอเดือนตํ่ากวา หรือเทากับ 5,000 บาท ทั้งสองกลุมมีการรับรูดานเทคโนโลยีที่ดีกวากลุมอื่น เนื่องจาก เปนกลุมเยาวชนและในปจจุบันเยาวชนมีการรับรูและใชเทคโนโลยีอยูแลว และมีการ เขาถึงเทคโนโลยีมากกวาผูใหญ จึงเปนสิ่งที่เยาวชนคุนเคยและเคยสัมผัสมาแลว ซึ่ง ธนาคารไทยพาณิชยมนี โยบายเปดสาขาการใหบริการฝาก ถอน โอนเงิน และการใหบริการ ตูอัตโนมัติภายในสถานศึกษา เชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย โดยใชเทคโนโลยีตางๆ จึงอาจ เปนเหตุผลที่ทําใหเยาวชนมีการรับรูภาพลักษณดานเทคโนโลยีของธนาคารมากกวา ดานอื่นๆ ซึ่งสอดคลองกับการสัมภาษณของณรงค เทพวงศ ผูจัดการสาขาบานดู (เชียงราย) ธนาคารไทยพาณิชย สาขาบานดู เชียงราย (สัมภาษณ:2553) ไดใหขอมูลวา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
129
ธนาคารไทยพาณิชยมกี ารประชาสัมพันธขอ มูลอยางตอเนือ่ งโดยการประชาสัมพันธผา น สื่ อ โทรทั ศ น เป น ผู นํ าด า นเทคโนโลยี ด วยการถอนเงิ น จากตู อั ต โนมั ติ ร ายแรกของ ประเทศไทยทีม่ สี าขามากทีส่ ดุ และมี SCB Easy Net 3 ชองทางเพือ่ อํานวยความสะดวก ใหกับผูใชบริการ คือ ธนาคารออนไลน ธนาคารออนไลนผานมือถือ และWidgets on mobile&PC รวมถึงการเปดสาขาในหางสรรพสินคาและธนาคารไทยพาณิชยมกี ารนําบัตร เอทีเอ็มของธนาคารมาเปดใหใชบริการในรูปแบบของบัตรประจําตัวนักศึกษา รอยละ 80 สวนใหญธนาคารไทยพาณิชยจะใหบริการในรูปแบบของบัตรประจําตัวนักศึกษาจึงทําให กลุมอายุตํ่ากวา 20 ป มองภาพลักษณดานเทคโนโลยีดีกวากลุมอายุอื่นๆ จากผลการศึกษาขางตนกลาวไดวา อายุ และรายไดตอเดือนที่แตกตางกัน มีผลตอการรับรูภ าพลักษณของธนาคาร ซึง่ สอดคลองกับงานวิจยั ของ สุรรี ตั น วรรณทอง (บทคัดยอ : 2550) ที่ไดศึกษาถึงปจจัยดานประชากรศาสตรไดแก เพศ อายุ ระดับการ ศึกษา อาชีพ และรายได ที่มีผลตอพฤติกรรมในการตัดสินใจใชบริการของลูกคา ศึกษา ถึงภาพลักษณใหมในดานตางๆ ที่มีผลตอพฤติกรรมในการตัดสินใจใชบริการของลูกคา และศึกษาถึงคุณภาพในการใหบริการที่มีผลตอพฤติกรรมในการตัดสินใจใชบริการของ ลูกคา ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ ผลการศึกษาพบวา ลูกคา ทีม่ รี ะดับการศึกษา อาชีพ และรายไดตา งกัน มีผลทําใหพฤติกรรมในการตัดสินใจใชบริการ แตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ขอเสนอแนะ
1. ผูบ ริหารของทัง้ สองธนาคาร ควรใหการสนับสนุนในการพัฒนาความทันสมัย โดยเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอยางตอเนือ่ ง สมํา่ เสมอ และเพิม่ การประชาสัมพันธโดยนํา ขอมูลเกีย่ วกับเทคโนโลยีทที่ นั สมัยทีใ่ หบริการแกประชาชนโดยการประชาสัมพันธผา นสือ่ ตาง ๆ เชน สื่อโทรทัศน สื่อหนังสือพิมพ สื่ออินเทอรเน็ต เปนตน เพื่อใหผูใชบริการและ ประชาชนทั่วไปไดรับทราบขอมูลใหมๆ เกี่ยวกับกิจกรรมการใหบริการและผลิตภัณฑ ตางๆ ของธนาคารอีกทั้งยังเปนการยํ้าเตือนใหเกิดภาพลักษณของธนาคาร 2. ผูบริหารของทั้งสองธนาคาร ควรเพิ่มการทํากิจกรรมเพื่อสังคม เพราะ ภาพลักษณดา นกิจกรรมเพือ่ สังคมไดคะแนนนอยกวาภาพลักษณดา นอืน่ ๆ ผูบ ริหารของ ทั้งสองธนาคาร ควรใหความสําคัญกับกิจกรรมเพื่อสังคม โดยมีการวางนโยบายและ แนวทางในการจัดกิจกรรมทางสังคมมากขึน้ โดยเฉพาะตองมีประชาสัมพันธทงั้ กอนและ 130
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
หลังการจัดกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อใหเกิดการรับรูภาพลักษณที่ดีตอธนาคารมากยิ่งขึ้น 3. ผู บ ริ ห ารของทั้ ง สองธนาคาร ควรเพิ่ ม ช อ งทางให ป ระชาชนได แ สดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับธนาคาร เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาธนาคารใหเกิดการรับรูภาพ ลักษณที่ดีในทุกดานของธนาคาร
รายการอางอิง หนังสือ ชัยเกียรติ ประสงคศิลป และคณะ. (2547).การศึกษาพฤติกรรมของวัยรุนในการใช อินเตอรเน็ตและการซือ้ สินคาผานอินเตอรเน็ต.การศึกษาคนควาดวยตนเอง บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. ดวงจันทร งามมีลาภ.(2551).ทัศนคติของลูกคาตอภาพลักษณการเปนธนาคารแสน สะดวก (The Convenience Bank) ของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน). ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. พงษเทพ วรกิจโภคาทร. (2540).การประชาสัมพันธกับภาพพจน ใน ภาพพจนนั้น สํ า คั ญ ยิ่ ง การประชาสั ม พั น ธ กั บ ภาพพจน . พิ ม พ ค รั้ ง 4 กรุ ง เทพฯ : ประกายพรึก. พจน ใจชาญสุขกิจ.(2552).นายกสมาคมนักประชาสัมพันธแหงประเทศไทย. กรุงเทพ ธุรกิจ : กรุงเทพฯ. พรทิพย พิมลสินธุ.(2527).การประเมินภาพพจนและภาพพจนเชิงลบ. กรุงเทพฯ : วารสารสื่อสารมวลชน. วิรชั ลภิรตั นกุล.(2535).การประชาสัมพันธฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิรัช ลภิรัตนกุล.(2540) การประชาสัมพันธฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ.(2541). การบริหารการตลาดยุคใหม. กรุงเทพฯ : ธีรฟลม และ ไซเท็กซ. สมิต สัฌชุกร. (2545)การตอนรับและบริการทีเ่ ปนเลิศ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสายธาร. สมิต สัฌชุกร.(2548).ศิลปะการใหบริการ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสายธาร. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
131
สวัสดิ์ ไหลภาภรณ.(2548). ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ตของผูนํา ชุมชน ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธตามหลักสูตรพัฒนาชุมชน มหาบัณฑิต : คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุทธวรรณ แสงดอกไม.(2550).ภาพลักษณธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในความคิดเห็นของผูใชบริการในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานโครงการ เฉพาะบุคคลวารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุรีรัตน วรรณทอง.(2550).ภาพลักษณใหม และคุณภาพการใหบริการ ที่มีผลตอ พฤติกรรมในการ ตัดสินใจใชบริการของลูกคาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน ) สํานักงานใหญ. สารนิพนธ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา วิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เสรี วงษมณฑา.(2542).การประชาสัมพันธ (ทฤษฎีและปฏิบัติ) : บริษัท ธีรฟลมและ ไซเท็กซ จํากัด. เว็บไซต จิราภรณ สีขาว.(2553).ภาพลักษณองคการ.(ออนไลน). แหลงทีม่ าhttp://www.moe. go.th/wijai/image.htm. สืบคนเมื่อ 1 กุมภาพันธ 2553. เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย.(2553).เทศบาลนครเชียงราย.(ออนไลน). แหลง ที่มา http://www.chiangraicity.go.th สืบคนเมื่อ 1 กุมภาพันธ 2553. ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน).(2553).รายงานประจําป 2548. (ออนไลน). แหลง ที่มา : http://www.Scb.co.th, สืบคนเมื่อ 1 กุมภาพันธ 2553. ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน).(2553).ความกาวหนาในการดําเนินงาน. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.Ktb.co.th, สืบคนเมื่อ 1 กุมภาพันธ 2553.
132
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
บทแนะนําหนังสือ Marketing 3.0 : From Products to Customers to the Human Spirit* โดย ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ทุกวันนีพ้ ฤติกรรมของผูบ ริโภคเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม การเลือกซือ้ สินคาและ บริการไมไดเกิดจากความเชือ่ ถือขอมูลขาวสารจากนักโฆษณา ประชาสัมพันธเหมือนเชน ในอดีต ผูบริโภคจํานวนไมนอยเลือกซื้อสินคาและบริการที่ตอบสนองสวนลึกของ จิตวิญญาณตนเอง ทัง้ ในเรือ่ งของอุดมการณ ศรัทธา รวมถึงการเกาะเกีย่ วตอชุมชนหรือ สิง่ แวดลอม อันเปนผลมาจากวิกฤตทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอมทีพ่ วกเขาเผชิญ อยูทุกวันนั่นเอง สวนหนึ่งเปนเพราะพัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารเปดโอกาสใหผูบริโภค สือ่ สารกันเองมากขึน้ ผูบ ริโภคถายทอดบอกเลาความรูส กึ นึกคิดเกีย่ วกับสินคาและบริการ ผาน Social Media หรือสื่อสังคมออนไลน อาทิ Blog, Facebook, Twitter หรือ Youtube สงผลใหนักการตลาดตองเขาไปใช Social Media เปนเครื่องมือในการสื่อสาร การตลาดกับผูบริโภค ดวยหวังจะโนมนาวใหผูบริโภคซื้อสินคาและบริการ หรือใชเปน เครื่องมือสรางความนาเชื่อถือใหกับตราสินคา หรือใชสื่อสารสรางความสัมพันธกับลูกคา ฯลฯ ดวยเหตุนี้จึงมีหนังสือเกี่ยวกับการประยุกตใช Social media เพื่อการตลาด มากมาย แตยงั ขาดหนังสือทีอ่ รรถาธิบายถึงพลวัตการเปลีย่ นแปลงดานเทคโนโลยีกบั การ ตลาดในเชิงมหภาค จนกระทัง่ เมือ่ ตนป 2553 Philip Kotler ปรามาจารยดา นการตลาด * Philip Kotler, Hermawan Kartajaya and Iwan Setiawan. Marketing 3.0 : from products to customers to the human spirit. Hoboken, N.J. : Wiley, 2010. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
133
ไดเขียนหนังสือ “Marketing 3.0 : From Products to Customers to the Human Spirit” รวมกับนักวิชาการชาวอินโดนีเซีย 2 คนคือ Hermawan Kartajaya, Iwan Setiawan หนังสือเลมนี้อธิบายถึงปรากฏการณเปลี่ยนผานครั้งสําคัญดานการตลาดใน แตละยุคสมัย รวมทั้งยังนําเสนอโมเดลการตลาดยุคใหม และเสนอแนะกลยุทธและ ขอบัญญัติสําหรับนักการตลาดแหงอนาคต หนังสือ “Marketing 3.0” แบงเนื้อหาออกเปน 3 สวน ในสวนแรก คณะ ผูเ ขียนไดอธิบายถึงแนวโนมการตลาด 3.0 โดยเปรียบเทียบวา ยุคแรกของการตลาด หรือ การตลาด 1.0 เปนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เทคโนโลยีหลักคือเครื่องจักรอุตสาหกรรม การตลาดจะเนนตัวผลิตภัณฑ สินคา (Product-centric) โดยสินคาจะมีมาตรฐาน เดียวกันเพื่อลดตนทุนการผลิต ทําใหสามารถขายสินคาใหกับผูซื้อจํานวนมาก ดังนั้น เปาหมายทางการตลาดในยุคนี้คือการขายสินคาสูตลาดมวลชน (Mass Market) ดวยการใชสอื่ สารมวลชนทัง้ วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพโฆษณา ประชาสัมพันธสนิ คาและ บริการ ตอมาการตลาด 2.0 เปนยุคเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร (Information Technology) ยุคนีเ้ นนใหความสําคัญกับผูบ ริโภค (Consumer-centric) เนือ่ งจากการ ตลาดแบบเดิมไมสามารถนํามาใชกับผูบริโภคยุคใหมที่สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารในการเปรียบเทียบคุณภาพตัวสินคา แลวจึงเลือกซื้อสินคาและบริการที่ ตอบสนองความตองการเฉพาะของตนเอง ดังนัน้ คุณคาของสินคาและบริการจึงถูกนิยาม โดยตัวผูบริโภค เนื่ อ งเพราะผู บ ริ โ ภคมี ค วามชื่ น ชอบในสิ น ค า และบริ ก ารที่ แ ตกต า งกั น นักการตลาด 2.0 จึงจําแนกลูกคาออกเปนกลุมยอยๆ (Segment) แลวเสนอขายสินคา และบริการเพื่อตอบสนองความตองการของกลุมเฉพาะเหลานั้น อยางไรก็ตาม กลาวใน ที่สุดแลว ผูบริโภคก็ยังเปนกลุมเปาหมายแบบตั้งรับ (Passive target) ของแคมเปญ ทางการตลาดผานการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการรูปแบบตางๆอยูดี แตในยุคสมัยทีผ่ บู ริโภคเชือ่ มตอถึงกันผาน Social Media ผูบ ริโภคไมเพียงแต ติดตอสื่อสารกันเอง หากแตยังแลกเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติ และรวมมือกันเองมากขึ้น ดวยเหตุนี้ Kotler และคณะผูเขียนวิเคราะหวา การตลาด 3.0 จะเปลี่ยนไปเปนการ เนนเรื่อง“คุณคา” (Values-centric) ความเปนมนุษยชาติมากขึ้น ผูบริโภคยุคใหมจะไมเลือกซื้อสินคาและบริการเพียงแคดูประโยชนใชสอย หรือ เพื่อตอบสนองความตองการทางอารมณสวนตัวเทานั้น หากแตยังตองการสินคาและ 134
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
บริการที่เติมเต็มดานจิตวิญญาณความเปนมนุษยของตนอีกดวย กลาวอีกนัยหนึ่ง ยุคการตลาด 3.0 จะเปนยุคการตลาดแบบมีสวนรวมและ รวมมือกันเองระหวางผูบริโภคมากขึ้น ทั้งยังเปนการตลาดที่ผูบริโภคใหความสําคัญ ดานสังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณความเปนมนุษยมากขึ้นนั่นเอง นอกจากนั้น Kotler และคณะผูเขียนยังไดนําเสนอโมเดลแหงอนาคตของการ ตลาด 3.0 นั่นคือ โมเดล “3i ” โดยระบุวา บริษัทในยุคการตลาด 3.0 ตองกําหนดลูกคา ใหเปนเหมือน “มนุษย”ที่มีปจจัยพื้นฐานของ 1. รางกาย (Physical body) ใชรับรูรส สัมผัส 2. จิตใจ (Mind) สําหรับคิดและวิเคราะหอยางเปนอิสระ 3. หัวใจ (Heart) สามารถ รับรูด า นอารมณ ความรูส กึ และ 4. จิตวิญญาณ (Spirit) ในการหยัง่ ลึกถึงเรือ่ งทางปรัชญา หรือวิญญาณ การตลาดในยุคแรกใหความสําคัญกับ จิตใจของลูกคา (Consumer’s mind) นักการตลาดจะพยายามใหผลิตภัณฑของตนไปอยูใ นตําแหนงทางการตลาดในจิตใจของ ลูกคาเปาหมาย เหมือนอยางเชนนักการตลาดของผูผ ลิตรถยนตวอลโวประสบความสําเร็จ ในการใสแนวคิดลงไปในใจของผูซื้อรถยนตวา วอลโวเปนรถยนตที่มีความปลอดภัย เหนือกวารถยนตยี่หออื่น ตอมานักการตลาดเริ่มเรียนรูวา เปาหมายการอยูในจิตใจของลูกคาเพียง อยางเดียวไมเพียงพอ จะตองพุงเปาไปที่หัวใจ (Consumer’s heart) เนนดานอารมณ ความรูสึกของลูกคา จึงเปนที่มาของการตลาดเชิงอารมณ (Emotional marketing) ตัวอยางที่ประสบความสําเร็จอยางเชน Starbucks Virgin หรือ Apple ขัน้ ตอไป นักการตลาดตองขยับกาวไปสูก ารใหความสําคัญกับจิตวิญญาณของ ลูกคา (The spirit of the consumer) นั่นหมายความวา นักการตลาดในอนาคตตอง เขาใจ ความปรารถนา ความอยาก ความวิตกกังวลสวนลึกในจิตวิญญาณของลูกคา เพื่อ จะไดเขาไปอยูในจิตวิญญาณของลูกคา ดวยเหตุนี้ คณะผูเขียนไดเสนอใหนิยามสามเหลี่ยมความสัมพันธของแบรนด (Brand) ตําแหนงทางการตลาด (Positioning) และความแตกตาง (Differentiation) ใหม ทัง้ นี้ โมเดล 3i จะเปนสามเหลีย่ มทีป่ ระกอบดวย เอกลักษณของแบรนด (Brand identity) ความซื่อสัตยในแบรนด (Brand integrity) และภาพลักษณของแบรนด (Brand image) (ดูภาพประกอบ)
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
135
Kotler และคณะผูเขียนอธิบายวา การตลาดในอนาคตนั้น การกําหนดแค ตําแหนงทางการตลาด (Positioning) เพื่อสรางเอกลักษณของแบรนด (Brand identity)ในจิตใจของลูกคา (Consumer’s mind) อยางเดียวไมเพียงพออีกตอไป นักการตลาดตองสรางความแตกตาง (Differentiation) ของสินคาและบริการ ใหชัดเจนขึ้นดวย ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความซื่อสัตยในแบรนด (Brand integrity) โดย เปาหมายของมันก็คือการเขาไปอยูในจิตวิญญาณของลูกคา (The spirit of the consumer)นั่นเอง อันจะนํามาซึ่งภาพลักษณของแบรนด (Brand image)ในหัวใจของ ลูกคา(Consumer’s heart) อีกทอดหนึ่ง ในสวนที่ 2 ของหนังสือเปนการนําเสนอกลยุทธทางการตลาดยุคใหม โดย Kotler และคณะผูเขียนไดแจกแจงวา บริษัทผูผลิตสินคาและบริการควรจะมีวิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) และ ใหคุณคา (Values) ตอผูบริโภค ลูกจางในองคกร หุนสวนธุรกิจ รวมถึงผูมีสวนไดเสียขององคกร (Stakeholders) สวนอื่นๆอยางไร สวนที่ 3 ของหนังสือ คณะผูเ ขียนไดนาํ เสนอแนวคิด วิธกี าร เทคนิคของนักการ ตลาด 3.0 เพือ่ รวมแกปญ หาของโลก อาทิ ปญหาดานสุขภาพอนามัย ปญหาความยากไร ปญหาดานสิ่งแวดลอม ฯลฯ ในบทสุดทาย Kotler และคณะผูเขียน ไดแจกแจงแนวคิด 10 ประการสําหรับ นักการตลาด 3.0 โดยยกตัวอยางองคกรบริษทั ผูผ ลิตสินคาและบริการบางแหงทีไ่ ดปฏิบตั ิ ในแนวคิดนั้นๆมาใหเห็นอยางชัดเจน กลาวโดยสรุป หนังสือ “Marketing 3.0” เปนหนังสือแนวการตลาดที่ไมเพียง แตใหภาพในมุมกวางเกี่ยวกับพัฒนาการของการตลาด แตยังนําเสนอขอปฏิบัติที่ นักการตลาด รวมทั้งผูสนใจสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางเปนรูปธรรมอีกดวย 136
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
หลักเกณฑและการเตรียมตนฉบับสําหรับการเสนอบทความเพือ่ เผยแพร ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” นโยบายการจัดพิมพ วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เปนวารสารวิชาการที่ พิมพออกเผยแพรปการศึกษาละ 2 เลม (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม) คณะวิทยาการจัดการจัดพิมพขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นและเผยแพร ผลงานทางวิชาการในสาขาการบริหารธุรกิจ นิเทศศาสตรและอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว หรือ สาขาอื่นที่มีความเกี่ยวของ
เรื่องเสนอเพื่อตีพิมพ ผลงานทางวิชาการทีร่ บั ตีพมิ พมี 2 ลักษณะคือ เปนบทความวิชาการ (article) หรือบทความวิจัย (research article) บทความที่เสนอเพื่อตีพิมพจะตองไมเคยตีพิมพ เผยแพรในวารสารใดมากอน และไมอยูในระหวางการพิจารณาของวารสารอื่น บทความ ที่นําเสนอเพื่อตีพิมพจะตองผานการกลั่นกรองและพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ในสาขาที่เกี่ยวของกับหัวขอของบทความนั้นๆ ซึ่งแตงตั้งโดยคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยกองบรรณาธิการสงวนสิทธิใ์ นการแกไขบทความ ตามความเหมาะสม
ลักษณะของบทความ เปนบทความวิชาการหรือบทความวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการคนควา การวิจัย การวิเคราะหวิจารณหรือเสนอแนวคิดใหมดานบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร นิเทศศาสตร หรืออุตสาหกรรมทองเที่ยว ซึ่งแบงได 2 ประเภทคือ บทความวิ ช าการ หมายถึ ง งานเขี ย นที่ นํ า เสนอองค ค วามใหม ใ นสาขา บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร นิเทศศาสตรหรืออุตสาหกรรมทองเทีย่ วทีม่ กี ารวิเคราะหหรือ วิจารณประเด็นตางๆ ตามหลักวิชาการ โดยผูเขียนสามารถแสดงทัศนะทางวิชาการของ ตนเองอยางชัดเจน
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
137
บทความวิจัย หมายถึง รายงานผลการศึกษาคนควาวิจัยดานบริหารธุรกิิจ เศรษฐศาสตร นิ เ ทศศาสตร ห รื อ อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วที่ ไ ด ทํ า การศึ ก ษาโดยผ า น กระบวนการวิเคราะหดวยระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกตองจนไดองคความรูใหม
การเตรียมตนฉบับ บทความวิชาการหรือบทความวิจยั อาจนําเสนอเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ก็ได ใหพิมพตนฉบับดวยกระดาษ เอ 4 หนาเดียว โดยใชฟอนท Angsana New ขนาด 14 (สําหรับชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใหใชฟอนท Angsana New ขนาด 18 สวนหัวขอตางๆใหใช Angsana New ขนาด 16) ความยาวประมาณ 15-20 หนา โดย บทความทุกประเภทตองมีสวนประกอบ ดังนี้ 1. ชื่อเรื่อง (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2. ชือ่ ผูเ ขียน (ครบทุกคน กรณีทเี่ ขียนหลายคน ใหเขียนบรรทัดถัดจากชือ่ เรือ่ ง ภาษาอังกฤษ โดยใหเขียนไวชิดดานขวาของหนา ใหทําตัวเอียง ขนาด 14) 3. วุฒกิ ารศึกษาขัน้ สูงสุด สาขาวิชาและสถาบันทีส่ าํ เร็จการศึกษา และตําแหนง ทางวิชาการ (ถามี) 4. สถานที่ทํางานปจจุบันหรือหนวยงานที่สังกัด (สาขาวิชา/ภาควิชา คณะ) (ขอ 3 และขอ 4 ใหผเู ขียนทําเชิงอรรถไวทา ยชือ่ ผูเ ขียนในหนาแรกของบทความ) 5. บทคัดยอทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยในทายบทคัดยอภาษาไทยใหใส คําสําคัญ ของเรื่อง และทายบทคัดยอภาษาอังกฤษใหใส Keywords ดวย บทความวิชาการหรือบทความวิจัยตองมีสวนประกอบเพิ่มเติม คือ ตองมี บทคัดยอ(abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบทคัดยอแตละภาษาตองมี ความยาวอยางละไมเกินครึ่งหนากระดาษ เอ 4 โครงสรางของบทความวิชาการควร ประกอบดวย บทนํา เนื้อหาบทความ บทสรุปและรายการเอกสารอางอิง สวนบทความ วิจัยควรประกอบดวยบทนํา แนวคิดและทฤษฎี วิธีการศึกษา ผลการศึกษา อภิปรายผล ขอเสนอแนะและรายการเอกสารอางอิง
138
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
ภาพประกอบและตารางควรมีเฉพาะทีจ่ าํ เปน ใหมหี มายเลขกํากับภาพและตาราง ตามลําดับ ภาพจะตองชัดเจน แสดงเนือ้ หาสําคัญของเรือ่ ง คําอธิบายและตารางใหอธิบาย ดวยขอความกะทัดรัดและชัดเจน การใชภาษาในบทความ การเขียนควรใชภาษาทีถ่ กู ตอง เขาใจงายและกะทัดรัด โดยคําศัพทใหอางอิงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน การใชคําศัพทบัญญัติทาง วิชาการควรใชควบคูกับศัพทภาษาอังกฤษ กรณีที่เปนชื่อเฉพาะหรือคําแปลจากภาษา ตางประเทศที่ปรากฏครั้งแรกในบทความ ควรพิมพภาษาเดิมของชื่อนั้นๆ กํากับไวใน วงเล็บ และควรรักษาความสมํ่าเสมอในการใชคําศัพท การใชตัวยอโดยตลอดบทความ
การอางอิงและการเขียนเอกสารอางอิง กรณีผูเขียนตองระบุแหลงที่มาของขอมูลในเนื้อเรื่องใหใชวิธีการอางอิงในสวน ของเนือ้ เรือ่ งแบบนาม-ป (author-date in text citation) โดยระบุชอื่ ผูแ ตงทีอ่ า งถึง(ถา เปนคนไทยระบุทั้งชื่อและนามสกุล) พรอมปที่พิมพเอกสารไวขางหนาหรือขางหลัง ขอความที่ตองการอางอิงเพื่อบอกแหลงที่มาของขอความนั้นและควรระบุเลขหนาของ เอกสารที่อางอิง กรณีที่อางมาแบบคําตอคําตองระบุเลขหนาของเอกสารที่อางอิงทุกครั้ง และใหมรี ายการเอกสารอางอิงสวนทายเรือ่ ง (reference) โดยการรวบรวมรายการเอกสาร ทั้งหมดที่ผูเขียนอางอิงในการเขียนบทความใหจัดเรียงรายการตามลําดับตัวอักษรผูแตง ภายใตหวั ขอรายการเอกสารอางอิงสําหรับบทความภาษาไทย และใหใชคาํ วา Reference สําหรับบทความทีน่ าํ เสนอเปนภาษาอังกฤษ โดยใหใชรปู แบบการเขียนเอกสารอางอิงแบบ APA (American Psychology Association) ดังตัวอยางการเขียน ดังนี้
1. หนังสือ ชื่อผูแตง. (ปที่พิมพ). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ (กรณีถาพิมพมากกวาครั้งที่ 1). สถานที่พิมพ : สํานักพิมพ. ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ประชาสังคม . กรุงเทพฯ : สายธาร. Millo, Nancy. (2002). Bioanalytical Chemistry. Hoboken, New Jersey : John Wiley & Sons. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
139
(กรณี หนังสือที่มีผูแตงมากกวา 3 คน) ธนิต สุวรรณเมนะ และคณะ.(2546). คูมือเตรียมสอบ สตง.ป 2546. กรุงเทพมหานคร : สถาบันติวนิติธนิต. Longley, Paul A. and others. (2005). Geographic Information Systems and Science. 2nd ed. Southern Gate, Chichester : Johe Wiley & Sons. (กรณีผูแตงที่เปนสถาบันหรือสิ่งพิมพที่ออกในนามหนวยงานราชการ องคการ สมาคม บริษัท หางราน ฯลฯ) กรมศิลปากร. (2547). สตรีสาํ คัญในประวัตศิ าสตรไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมฯ. United Nations Development Programme. (2004). Thailand ‘s Response to HIV/AIDS : Progress and Challenges. Bangkok : United Nations Development Programme. (กรณี หนังสือแปล) ออเร็นจ, คาโรไลน. (2545). 25 ขอทีไ่ มควรผิดพลาดสําหรับครูยคุ ใหม, แปล จาก 25 Biggest Mistakes Teachers Make and How to Avoid Them โดย คัดคนางค มณีศรี. กรุงเทพมหานคร : เบรนเน็ท.
2.บทความในวารสาร หนังสือพิมพและหนังสือเลม 2.1 บทความในวารสาร ชื่อ-นามสกุลผูเขียนบทความ.(ปที่พิมพ). “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร. ปที่หรือ เลมที่ : เลขหนา. จักรพงษ วรรณชนะ.(2549). “สารคดี-กิจกรรมเยาวชน : โครงการสรางสรรค ศิลปเพือ่ เยาวชนผูป ระสบภัยสึนามิ,” สกุลไทย. 52,267: 80-81,97.
140
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
2.2 บทความ ขาว หรือคอลัมนจากหนังสือพิมพ ชื่อผูเขียน. “ชื่อบทความหรือชื่อหัวขอในคอลัมน,” ชื่อหนังสือพิมพ. วันที่/ เดือน/ป : เลขหนา. สุจิตต วงษเทศ. “กระทะปฏิวัติอาหารไทย,” มติชน. 22 กันยายน 2548 : 34 2.3 บทความในหนังสือรวมเลม ชื่อผูเขียน. (ปที่พิมพ). “ชื่อบทความ,” ใน ชื่อหนังสือ. บรรณาธิการ โดย ชื่อ บรรณาธิการ. เลขหนา. สถานที่พิมพ : สํานักพิมพ. ส. บุบผานุวง. (2548) “สองเอื้อยนอง,” ใน พลิกแผนดิน ปลิ้นแผนฟา วรรณกรรมลาว รางวัลซีไรท, บรรณาธิการ โดย วีระพงษ มีสถาน. หนา 22-33. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
3. เอกสารที่ไมเปนเลม เชน เอกสารประกอบคําสอน แผนพับ ใหระบุคําบอก เลาลักษณะของสิ่งพิมพนั้นไวหลังชื่อเรื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (2547). รายงานการประเมินตนเอง ระบบ มาตรฐานสากลของประเทศไทย.(แผนพับ). เชียงราย : มหาวิทยาลัยฯ.
4. ขอมูลออนไลน หรือสารนิเทศบนอินเตอรเน็ต ชือ่ ผูแ ตง นามสกุล.(ปทสี่ บื คน). ชือ่ เรือ่ ง. (ประเภทของสือ่ ทีเ่ ขาถึง). แหลงทีม่ า หรือ Available: ชื่อของแหลงที่มา/ชื่อแหลงยอย. สืบคนเมื่อ (วัน เดือนปที่สืบคน) สุชาดา สีแสง.(2548). อาหารพื้นเมืองไทย. (ออนไลน). แหลงที่มา: http:// ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/thai_food/ สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2550.
Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
141
การสงตนฉบับ
ใหสงตนฉบับบทความ จํานวน 2 ชุด พรอมแผนซีดีที่มีไฟลตนฉบับบทความ ไปที่ กองบรรณาธิการ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 80 หมู 9 ต.บานดู อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 (ใหผูเขียนแนบชื่อ ที่อยู เบอรโทรศัพทและอีเมลแอดเดรสที่กองบรรณาธิการ สามารถติดตอไดสะดวกมาดวย)
142
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2553)
...................................... หมายเลขสมาชิก (สําหรับเจาหนาที่)
ใบสมัครสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ขาพเจามีความประสงคขอสมัครเปนสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย โดยสมัครเปนสมาชิกรายป เปนระยะเวลา...............ป เริม่ ตัง้ แตฉบับที่ ..................... เดือน...........................พ.ศ..........ถึงฉบับที.่ ........เดือน............................พ.ศ............... ใหออกใบเสร็จรับเงินในนาม................................................................................ โดยจัดสงวารสารมาที่ ชื่อ(บุคคลหรือหนวยงาน)................................................. ที่อยู.......................................................................................................................... ................................................................................................................................. โทรศัพท................................................โทรสาร........................................... พรอมกันนี้ขาพเจาไดสงธนาณัติ เปนจํานวนเงิน...........................................บาท (.....................................................................................................................) โดยสั่งจาย นางอภิชยา สิทธิโสด ปณ. บานดู อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 ลงชื่อ............................................................... วันที่......... เดือน.......................... ป................ วารสารวิทยาการจัดการ มีกาํ หนดออกเปนราย 6 เดือน คือ เดือนมกราคม-มิถนุ ายน และ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม อัตราสมาชิก ฉบับละ 90 บาท / ปละ 180 บาท Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.5 No. 1 (January – June 2010)
143
Chiangrai Rajabhat University การสื่อสารในพิธีกรรม พิธีกรรมในการสื่อสาร
กาญจนา แกวเทพ
การสื่อสารกับสังคมแหงความเสี่ยง
สมสุข หินวิมาน
การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิสาหกิจรายยอยและวิสาหกิจ ขนาดเล็กในจังหวัดเชียงราย
ประภาพรรณ ไชยยานนท
ระดับความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของเกษตรกร ในจังหวัดเชียงราย
วิรุณสิริ ใจมา
การวิเคราะหความคุมคาเชิงเศรษฐศาสตรวิศวกรรมของการใชเชื้อเพลิง กาซปโตรเลียมเหลวในเครื่องยนตดีเซลสําหรับอุตสาหกรรมขุดตักทราย
นิเวศ จีนะบุญเรือง และอิสรา ธีระวัฒนสกุล
ภาพลักษณของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ในเขตเทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย
ธัชพงษ รักเสมอ และคมสัน รัตนะสิมากูล
บทแนะนําหนังสือ เรื่อง Marketing 3.0 : From Products to Customers to the Human Spirit แนะนําโดย มานะ ตรีรยาภิวัฒน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู 9 ตำาบลบ้านดู อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 Chiangrai Rajabhat University 80 Moo 9 T.Bandoo A.Muang Chiangrai Thailand 57100 Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-6057
ราคา 90 บาท