รายงานสถานการณ์ตลาดแรงงานฯ ครึ่งปีหลัง 2558

Page 1



ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ค�ำน�ำ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปีหลัง 2558 (เดือนกรกฎาคม - เดือนธันวาคม) จัดท�ำขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากรและก�ำลังแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจการเงิน การไปท�ำงานต่างประเทศ การท�ำงานของคนต่างด้าว และผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานของ 17 จังหวัดภาคเหนือ เอกสารฉบับนี้ส�ำเร็จได้ด้วยการสนับสนุนข้อมูลจากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภาคเหนือ ส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�ำนักงานจัดหางาน 17 จังหวัด ภาคเหนือ ศูนย์ขา่ วสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ขอขอบคุณทุกหน่วยงานทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้หากท่าน มี ข ้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการจั ด ท� ำ ครั้ ง ต่ อ ไปขอได้ โ ปรดติ ด ต่ อ โดยตรงที่ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ศูนย์ราชการชั้น 3 ถนนวชิราวุธด�ำเนิน ต�ำบลพระบาท อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง มีนาคม 2559


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

สารบัญ

หน้า

ค�ำน�ำ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร

ก–ข

ประชากรและก�ำลังแรงงาน

1

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

5

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

7

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

9

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ

10

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ

11

ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ

12

บทความ : การขาดแคลนแรงงานไทย สภาพปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข

14


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของประชากร จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน 1 ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ 2 ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 2 ตารางที่ 4 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ 3 ตารางที่ 5 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ 4 ตารางที่ 6 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 7 จ�ำแนกตามรายจังหวัด ตารางที่ 7 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ 8 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ตารางที่ 8 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตน 12

สารบัญแผนภูมิ

หน้า

แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�ำลังแรงงานภาคเหนือ 1 แผนภูมิที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน 3 แผนภูมิที่ 3 จ�ำนวนผู้ว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด 4 แผนภูมิที่ 4 อัตราการว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด 5 แผนภูมิที่ 5 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 5 แผนภูมิที่ 6 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำแนกตามรายจังหวัด 6 แผนภูมิที่ 7 ผู้สมัครงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด 6 แผนภูมิที่ 8 การบรรจุงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด 7 แผนภูมิที่ 9 จ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศจ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง 10 แผนภูมิที่ 10 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 10 อันดับแรก 10 แผนภูมิที่ 11 จ�ำนวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ 11 แผนภูมิที่ 12 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาต 11 แผนภูมิที่ 13 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามรายจังหวัดที่ได้รับอนุญาต 12 แผนภูมิที่ 14 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตน 13 แผนภูมิที่ 15 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงาน 13


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

บทสรุปผู้บริหาร สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปีหลัง 2558 สรุปได้ดังนี้ ประชากรและก�ำลังแรงงาน

ประชากรภาคเหนือครึง่ ปีหลัง 2558 ประมาณ 11.47 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไปประมาณ 9.48 ล้านคน ร้อยละ 82.69 จ�ำแนกเป็นผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงานประมาณ 6.54 ล้านคน ร้อยละ 57.01 ประกอบด้วยผู้มีงานท�ำประมาณ 6.47 ล้านคน ร้อยละ 56.46 ผู้ว่างงานประมาณ 48,453 คน ร้อยละ 0.42 และผู้ที่รอฤดูกาลประมาณ 14,555 คน ร้อยละ 0.13 เมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ ปีหลัง 2557 พบว่าประชากร ลดลงร้อยละ 0.33 ผูม้ งี านท�ำลดลงร้อยละ 0.65 เป็นผูม้ งี านท�ำ จ�ำแนกประเภทอาชีพผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี มี อื ในด้านการเกษตร และการประมงมากที่สุดร้อยละ 42.92 จ�ำแนกตามประเภท อุตสาหกรรมโดยเป็นผูท้ ำ� งานภาคเกษตรกรรมร้อยละ 46.74 และภาคนอกเกษตรกรรมร้อยละ 53.26 จ�ำแนกตามระดับ การศึกษาที่ส�ำเร็จส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษาไม่เกินระดับ ประถมศึกษาและไม่มีการศึกษาสูงถึงร้อยละ 56.50 จ�ำแนก ตามสถานภาพการท�ำงานส่วนใหญ่ท�ำงานส่วนตัวโดย ไม่มีลูกจ้างร้อยละ 37.71 และจ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงาน ต่อสัปดาห์เป็นผู้มีงานท�ำระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 55.88 และผูม้ งี านท�ำตัง้ แต่ 50 ชัว่ โมงขึน้ ไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 25.27 (ผู้มีงานท�ำ 35 - 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 81.15 โดยบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ท�ำงานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมง การท�ำงาน) ภาวะการว่างงาน ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.65 โดยจังหวัดสุโขทัยจะมีผวู้ า่ งงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.63 และ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอนมีผวู้ า่ งงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.59 ส�ำหรับ อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.67 เป็นร้อยละ 0.74

จังหวัดสุโขทัยมีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 2.60 ขณะเดียวกันจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนมีอตั ราการว่างงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.25

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

สถานประกอบการ/นายจ้าง แจ้งความต้องการแรงงาน จ�ำนวน 35,010 อัตรา ผู้สมัครงานที่ลงทะเบียนจ�ำนวน 32,789 คน และสามารถบรรจุงานได้จ�ำนวน 34,151 คน ซึ่งความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน เพิ่มขึ้นจากครึ่งปีหลัง 2557 ร้อยละ 7.91 ร้อยละ 5.63 และ ร้อยละ 4.11

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมครึ่งปีหลัง 2558 จ�ำนวน 372 แห่ง เงินลงทุน 26,449.37 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 9,597 คน จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงานที่ได้ รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ ร้อยละ 16.67 รองลงมา คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ร้อยละ 9.95 จังหวัดก�ำแพงเพชร และ จังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 8.33 เท่ากัน จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรม ที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 18.82 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทัว่ ไปร้อยละ 15.86 และอุตสาหกรรม เกษตรกรรมร้อยละ 15.32


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ปี 2558 ขับเคลือ่ นหลักจากภาคการท่องเทีย่ ว การลงทุนของ ภาครัฐ การค้าชายแดนทีข่ ยายตัวได้ตอ่ เนือ่ ง และการใช้จา่ ย ภาคเอกชนที่ยังขยายตัวได้สัมพันธ์กับภาคท่องเที่ยว ส่วนการลงทุนภาคเอกชนทรงตัวในระดับต�ำ ่ โดยเฉพาะหมวด ภาคการก่อสร้าง รายได้เกษตรกรลดลงต่อเนือ่ งทัง้ ด้านผลผลิต และราคา ผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงในกลุม่ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และสิ่งทอจากภาวะส่งออกไปประเทศคู่ค้าชะลอลงและ บางส่วนได้สญู เสียส่วนแบ่งตลาดให้คแู่ ข่งขัน ส�ำหรับเสถียรภาพ เศรษฐกิจภาคเหนือยังอยูใ่ นเกณฑ์ดี สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อ ติดลบน้อยลงจากไตรมาสก่อน ส่วนส�ำคัญมาจากราคา ขายปลีกน�้ำมันและอัตราการว่างงานทรงตัวในระดับต�่ำ ด้านเงินให้สินเชื่อและเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ขยายตัว ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน คาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจภาคเหนือ จากทีเ่ ศรษฐกิจ ภาคเหนือมีแหล่งรายได้ต่างกัน โดยที่ภาคเหนือตอนบน ได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวมาก จึงมีความเสี่ยงหาก เศรษฐกิจจีนชะลอตัวชัดเจนและปัญหาหมอกควันรุนแรง รวมถึงภาคการท่องเทีย่ วในไตรมาส 1 ปี 2559 อาจชะลอลงบ้าง เนือ่ งจากเริม่ ผ่านช่วงฤดูกาลท่องเทีย่ ว ขณะทีภ่ าคเหนือตอนล่าง น่าจะกระทบจากภาวะแห้งแล้งจนถึงครึ่งปีแรกปี 2559 นอกจากนีภ้ าวะราคาน�ำ้ มันและราคาโภคภัณฑ์จะยังทรงอยู่ ในระดับต�่ำส่งผลย้อนกลับต่อรายได้ภาคเกษตรและการฟื้น เศรษฐกิจด้วยเช่นกัน ปัจจัยเสี่ยงยังรวมถึงผลกระทบจาก ความผันผวนอัตราแลกเปลี่ยนจากกระแสเงินทุนไหลเข้า รวดเร็ว ท�ำให้ค่าเงินบาทน่าจะผันผวนมากขึ้น อย่างไรก็ดี การค้าชายแดนยังมีแรงส่งจากก�ำลังซือ้ ของประเทศเพือ่ นบ้าน

ยังดี โดยเฉพาะจากประเทศเมียนมาทีก่ ารเมืองมีเสถียรภาพ ขณะที่ภาครัฐยังมีเม็ดเงินลงทุนค้างอีกซึ่งน่าจะเร่งเบิกจ่าย ได้เพิ่มขึ้น

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�ำงานต่างประเทศ ครึ่งปีหลัง 2558 จ�ำนวน 7,253 คน ลดลงจากครึ่งปีหลัง 2557 ร้อยละ 5.63 ซึ่งเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดส่ง สูงสุดร้อยละ 57.04 ส�ำหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศที่มี แรงงานเดินทางไปมากถึงร้อยละ 43.83 และจังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดทีไ่ ด้รบั อนุญาตเดินทางไปมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.11

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ

คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน 182,328 คน เมื่อเปรียบเทียบ กับ ณ เดือนธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.92 คนต่างด้าว มาตรา 9 ประเภทคนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาต ท�ำงานมากที่สุดร้อยละ 81.17 ส�ำหรับจังหวัดเชียงใหม่มี แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานสูงสุดร้อยละ 56.19

ผูป้ ระกันตนทีข่ นึ้ ทะเบียนกรณีวา่ งงานภาคเหนือ

สาเหตุที่ผู้ประกันตนออกจากงานครึ่งปีหลัง 2558 จ�ำนวน 38,497 คน จ�ำแนกเป็นผู้ถูกเลิกจ้างร้อยละ 10.27 และจากการลาออกจากงานร้อยละ 89.73 ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานทั้งหมด 38,687 คน ได้รับ การบรรจุงาน จ�ำนวน 28,247 คน คิดเป็นอัตราการบรรจุ ร้อยละ 73.01 ของจ�ำนวนผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียน


1

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ประชากรและก�ำลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�ำลังแรงงานภาคเหนือ

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและร้อยละของประชากร จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและก�ำลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน

ครึ่งปีหลัง 2557

ครึ่งปีหลัง 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

ผู้มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป

9,473,256

82.33

9,482,132

82.69

8,876

0.09

1. ผู้อยู่ในก�ำลังแรงงาน

6,574,170

57.14

6,537,639

57.01

-36,531

-0.56

1.1 ก�ำลังแรงงานปัจจุบัน 1.1.1 ผู้มีงานท�ำ 1.1.2 ผู้ว่างงาน 1.2 ผู้ที่รอฤดูกาล

6,560,990 6,517,201 43,788 13,180

57.02 56.64 0.38 0.11

6,523,083 6,474,630 48,453 14,555

56.88 56.46 0.42 0.13

-37,907 -42,571 4,665 1,375

-0.58 -0.65 10.65 10.43

2. ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน

2,899,086

25.20

2,944,493

25.68

45,407

1.57

2.1 ท�ำงานบ้าน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่น ๆ ผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี

824,251 754,394 1,320,441 2,032,872

7.16 6.56 11.48 17.67

826,815 753,057 1,364,621 1,985,573

7.21 6.57 11.90 17.31

2,564 -1,337 44,180 -47,299

0.31 -0.18 3.35 -2.33

ประชากรรวม

11,506,128

100.00

11,467,705

100.00

-38,423

-0.33

อัตราการว่างงาน

0.67

ประชากรครึง่ ปีหลัง 2558 (กรกฎาคม - ธันวาคม) ประมาณ 11.47 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก�ำลังแรงงานรวมประมาณ 6.54 ล้านคน ร้อยละ 57.01 ของจ�ำนวนประชากรรวมทัง้ หมด และผูไ้ ม่อยูใ่ นก�ำลังแรงงาน รวมถึงผู้มีอายุต�่ำกว่า 15 ปี ประมาณ 4.93 ล้านคน ร้อยละ 42.99 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ้ ยูใ่ นก�ำลังแรงงานรวม จ�ำนวน 6,537,639 คน ประกอบด้วย ผู้มีงานท�ำร้อยละ 56.46 ผู้ว่างงานร้อยละ 0.42 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.13

0.74

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�ำนวน 2,944,493 คน ประกอบด้วย แม่บ้านท�ำงานบ้านร้อยละ 7.21 นักเรียน นิสิต นักศึกษาร้อยละ 6.57 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผูป้ ว่ ย ผูพ้ กิ ารจนไม่สามารถท�ำงานได้รอ้ ยละ 11.90 เมือ่ เปรียบเทียบ กับครึ่งปีหลัง 2557 พบว่าประชากรลดลงร้อยละ 0.33 ผู้มีงานท�ำ ลดลงร้อยละ 0.65 และผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.65 อัตรา การว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.67 เป็นร้อยละ 0.74


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

2

ตารางที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส และผู้จัดการ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง เสมียน พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ อาชีพขัน้ พืน้ ฐานต่างๆ ในด้านการขาย และการให้บริการ อาชีพซึ่งมิได้จ�ำแนกไว้ในหมวดอื่น รวม

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอาชีพ

ครึ่งปีหลัง 2557 ครึ่งปีหลัง 2558 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 147,471 2.26 151,830 2.34 4,359 2.96 260,114 3.99 281,789 4.35 21,675 8.33 166,983 2.56 184,305 2.85 17,322 10.37 171,315 2.63 185,062 2.86 13,747 8.02 1,033,087 15.85 1,107,076 17.10 73,989 7.16 2,951,754 45.29 2,778,903 42.92 -172,851 -5.86 777,781 11.93 724,163 11.18 -53,618 -6.89 320,411 4.92 344,764 5.32 24,353 7.60 688,286 10.56 716,737 11.07 28,451 4.13 0 0.00 0 0.00 0 100.00 6,517,201 100.00 6,474,630 100.00 -42,571 -0.65

ผูม้ งี านท�ำประมาณ 6.47 ล้านคน ท�ำงานในอาชีพผูป้ ฏิบตั งิ าน ที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุดร้อยละ 42.92 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานในร้านค้าและตลาดร้อยละ 17.10 และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านความสามารถทางฝีมอื และธุรกิจการค้า

ทีเ่ กีย่ วข้องร้อยละ 11.18 นอกนัน้ ประกอบอาชีพอืน่ ๆ เมือ่ เปรียบเทียบ กับครึง่ ปีหลัง 2557 พบว่าส่วนใหญ่ผมู้ งี านท�ำเพิม่ ขึน้ ยกเว้นผูป้ ฏิบตั งิ าน ด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้องลดลงร้อยละ 6.89 และผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง ลดลงร้อยละ 5.86

ตารางที่ 3 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ครึ่งปีหลัง 2557 ครึ่งปีหลัง 2558 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 1. ภาคเกษตรกรรม 3,217,468 49.37 3,026,018 46.74 -191,450 -5.95 - เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง 3,217,468 49.37 3,026,018 46.74 -191,450 -5.95 2. นอกภาคเกษตรกรรม 3,299,733 50.63 3,448,612 53.26 148,879 4.51 - การท�ำเหมืองแร่ และเหมืองหิน 13,721 0.21 20,642 0.32 6,921 50.44 - การผลิต 640,028 9.82 534,541 8.26 -105,487 -16.48 - ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน�้ำ และระบบปรับอากาศ 19,614 0.30 17,388 0.27 -2,226 -11.35 - การจัดหาน�้ำ การจัดการ การบ�ำบัดน�้ำเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล 16,173 0.25 8,437 0.13 -7,736 -47.83 - การก่อสร้าง 434,429 6.67 420,738 6.50 -13,691 -3.15 - การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์ 878,934 13.49 836,711 12.92 -42,223 -4.80 - การขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า 80,912 1.24 82,379 1.27 1,467 1.81 - กิจกรรมโรงแรม และการบริการด้านอาหาร 313,565 4.81 367,145 5.67 53,580 17.09 - ข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสาร 12,630 0.19 12,705 0.20 75 0.59 - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย 63,266 0.97 71,597 1.11 8,331 13.17 - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ 8,571 0.13 13,547 0.21 4,976 58.06 - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคนิค 21,126 0.32 29,101 0.45 7,975 37.75 - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน 46,699 0.72 48,582 0.75 1,883 4.03 - การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 270,010 4.14 279,387 4.32 9,377 3.47 - การศึกษา 203,898 3.13 199,643 3.08 -4,255 -2.09 - กิจกรรมด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 105,915 1.63 116,387 1.80 10,472 9.89 - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 37,919 0.58 41,792 0.65 3,873 10.21 - กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ 100,519 1.54 113,721 1.76 13,202 13.13 - กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินค้า และบริการ 30,567 0.47 32,535 0.50 1,968 6.44 ที่ท�ำขึ้นเองเพื่อใช้ในครัวเรือน - กิจกรรมขององค์การระหว่างประเทศ 1,238 0.02 1,636 0.03 398 32.15 - ไม่ทราบ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 รวม 6,517,201 100.00 6,474,630 100.00 -42,571 -0.65 ประเภทอุตสาหกรรม


3

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผู้ท�ำงานภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.03 ล้านคน ร้อยละ 46.74 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง ส�ำหรับผูท้ ำ� งานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.45 ล้านคน ร้อยละ

53.26 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุดร้อยละ 12.92 รองลงมาคือ การผลิตร้อยละ 8.26 และการก่อสร้างร้อยละ 6.50 นอกนั้นกระจายอยู่ในอุตสาหกรรมอื่นๆ

ตารางที่ 4 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ระดับการศึกษาที่ส�ำเร็จ ไม่มีการศึกษา ต�่ำกว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไม่ทราบ รวม

ครึ่งปีหลัง 2557

ครึ่งปีหลัง 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

454,177 2,078,318 1,302,216 915,959 860,187 682,089 176,652 1,446 892,627 518,219 252,076 122,332 9,731 3,986

6.97 31.89 19.98 14.05 13.20 10.47 2.71 0.02 13.70 7.95 3.87 1.88 0.15 0.06

425,660 1,948,728 1,283,876 876,206 917,473 742,783 173,088 1,601 994,682 595,557 273,861 125,264 19,400 8,605

6.57 30.10 19.83 13.53 14.17 11.47 2.67 0.02 15.36 9.20 4.23 1.93 0.30 0.13

-28,517 -129,590 -18,340 -39,753 57,286 60,694 -3,564 155 102,055 77,338 21,785 2,932 9,669 4,619

-6.28 -6.24 -1.41 -4.34 6.66 8.90 -2.02 10.72 11.43 14.92 8.64 2.40 99.36 115.88

6,517,201

100.00

6,474,630

100.00

-42,571

-0.65

หมายเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อืน่ ๆ หมายถึง บุคคลที่ส�ำเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มงี านท�ำไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

ผูม้ งี านท�ำจ�ำแนกตามระดับการศึกษาทีส่ ำ� เร็จ ผูม้ งี านท�ำส่วนใหญ่สำ� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มกี ารศึกษาสูงถึงร้อยละ 56.50 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา

ร้อยละ 27.70 ระดับอุดมศึกษาร้อยละ 15.36 อืน่ ๆ หมายถึง บุคคลที่ ส�ำเร็จการศึกษาที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ร้อยละ 0.30 และผู้มีงานท�ำ ไม่ทราบวุฒิการศึกษาร้อยละ 0.13 ตามล�ำดับ

แผนภูมิที่ 2 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน

หมายเหตุ การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�ำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคน มีความเท่าเทียมกัน ในการก�ำหนดการท�ำงานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�ำตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)


4

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ผู้มีงานท�ำจ�ำแนกตามสถานภาพการท�ำงาน

ผู้มีงานท�ำส่วนใหญ่ท�ำงานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้างร้อยละ ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รบั ค่าจ้างร้อยละ 24.11 นายจ้างร้อยละ 37.71 รองลงมาคือ ท�ำงานในฐานะลูกจ้างร้อยละ 36.06 (ในจ�ำนวนนี้ 2.07 ส�ำหรับการรวมกลุ่มมีเพียงร้อยละ 0.05 ของผู้มีงานท�ำทั้งหมด เป็นลูกจ้างเอกชนร้อยละ 26.59 และลูกจ้างรัฐบาลร้อยละ 9.47) ตารางที่ 5 จ�ำนวนและร้อยละของผู้มีงานท�ำ จ�ำแนกตามชั่วโมงการท�ำงานต่อสัปดาห์ ชั่วโมงการท�ำงาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม

ครึ่งปีหลัง 2557

ครึ่งปีหลัง 2558

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

จ�ำนวน (คน)

ร้อยละ

29,281 27,809 140,630 402,295 329,584 805,914 2,798,874 1,982,815 6,517,201

0.45 0.43 2.16 6.17 5.06 12.37 42.95 30.42 100.00

38,030 48,461 165,096 559,633 409,634 787,941 2,829,973 1,635,861 6,474,630

0.59 0.75 2.55 8.64 6.33 12.17 43.71 25.27 100.00

8,749 20,652 24,466 157,338 80,050 -17,973 31,099 -346,954 -42,571

29.88 74.26 17.40 39.11 24.29 -2.23 1.11 -17.50 -0.65

ผูม้ งี านท�ำจ�ำแนกตามชัว่ โมงการท�ำงานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�ำระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ร้อยละ 55.88 และผูม้ งี านท�ำตัง้ แต่ 50 ชัว่ โมงขึน้ ไปต่อสัปดาห์รอ้ ยละ 25.27 หรือกล่าว ได้วา่ ผูม้ งี านท�ำร้อยละ 81.15 ท�ำงานตัง้ แต่ 35 ชัว่ โมงขึน้ ไปต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ ำ� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมงการท�ำงาน

ขณะที่ผู้ท�ำงานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์เป็นผู้ท�ำงาน ไม่เต็มทีร่ อ้ ยละ 18.27 ของผูม้ งี านท�ำทัง้ สิน้ ส�ำหรับผูม้ งี านท�ำประจ�ำ แต่ไม่ได้ท�ำงานในสัปดาห์แห่งการส�ำรวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงร้อยละ 0.59

แผนภูมิที่ 3 จ�ำนวนผู้ว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

จ�ำนวน (คน)

จังหวัด

ภาวะการว่างงาน

จ� ำ นวนผู้ ว ่ า งงานประมาณ 48,453 คน เพิ่ม ขึ้น จาก ครึ่งปีหลัง 2557 ร้อยละ 10.65 จังหวัดที่มีผู้ว่างงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดสุโขทัยมีผู้ว่างงานมากที่สุดร้อยละ 19.63 รองลงมาคือ

จังหวัดเชียงใหม่ร้อยละ 15.44 จังหวัดพิษณุโลกร้อยละ 8.78 จังหวัดล�ำปางร้อยละ 8.14 และจังหวัดก�ำแพงเพชรร้อยละ 6.71 ส�ำหรับจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้ว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.59


5

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

แผนภูมิที่ 4 อัตราการว่างงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด ร้อยละ

จังหวัด ที่มา : ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-5 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจ�ำนวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�ำนวนซึ่งได้จาก การประมวลผลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป

อัตราการว่างงาน

จ�ำนวนอัตราการว่างงานครึง่ ปีหลัง 2558 เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 0.67 เป็นร้อยละ 0.74 จังหวัดที่มีอัตราการว่างงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดสุโขทัยมีอัตราการว่างงานมากที่สุดร้อยละ 2.60

รองลงมาคือ จังหวัดอุตรดิตถ์รอ้ ยละ 1.17 จังหวัดล�ำปางร้อยละ 0.92 จังหวัดตากร้อยละ 0.90 และจังหวัดพิษณุโลกร้อยละ 0.86 ส�ำหรับ จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีอัตราการว่างงานน้อยที่สุดร้อยละ 0.25

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของส�ำนักงาน บรรจุงานได้ จ�ำนวน 34,151 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ ปีหลัง 2557 จัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือครึ่งปีหลัง 2558 นายจ้างแจ้ง ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานเพิ่มขึ้นโดย ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 35,010 อัตรา เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.91 ร้อยละ 5.63 และร้อยละ 4.11 ตามล�ำดับ ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�ำนวน 32,789 คน และสามารถ แผนภูมิที่ 5 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน


6

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง แผนภูมิที่ 6 ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำแนกตามรายจังหวัด จ�ำนวน (อัตรา/คน)

จังหวัด

ความต้องการแรงงาน (ต�ำแหน่งงานว่าง) จ�ำนวน 35,010 อัตรา โดยจังหวัดที่มีความต้องการแรงงานมากที่สุดได้แก่ จังหวัดล�ำพูน ร้อยละ 17.76 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลกร้อยละ 10.38 และ จังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 9.64 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ได้แก่ อาชีพงานพื้นฐาน มากที่สุดร้อยละ 33.97 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขาย ในร้านค้าและตลาดร้อยละ 21.48 และเสมียน เจ้าหน้าทีร่ อ้ ยละ 16.06 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรม การผลิตมากที่สุดร้อยละ 32.95 รองลงมาคือ การขายส่งและ

การขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์รอ้ ยละ 32.52 และ กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัยร้อยละ 5.84 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษา ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุดร้อยละ 32.60 รองลงมาคือ ระดับ ปวช. ร้อยละ 15.34 และระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่าร้อยละ 15.06 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุ ได้แก่ชว่ งอายุ 18-24 ปี มากทีส่ ดุ ร้อยละ 36.55 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25-29 ปี ร้อยละ 25.60 และช่วงอายุ 30-39 ปี ร้อยละ 20.55

แผนภูมิที่ 7 ผู้สมัครงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด จ�ำนวน (อัตรา/คน)

จังหวัด

ผูส้ มัครงาน จ�ำนวน 32,789 คน โดยจังหวัดทีม่ ผี สู้ มัครงาน มากที่สุดได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 17.31 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลกร้อยละ 14.88 และจังหวัดเชียงรายร้อยละ 8.45 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพได้แก่ อาชีพงานพื้นฐานมาก ที่สุดร้อยละ 30.25 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายใน ร้านค้าและตลาด ร้อยละ 22.21 และเสมียน เจ้าหน้าทีร่ อ้ ยละ 16.56

จ�ำแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษา ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุดร้อยละ 39.05 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 24.90 และระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่าร้อยละ 17.00 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุ ได้แก่ชว่ งอายุ 18-24 ปี มากทีส่ ดุ ร้อยละ 35.36 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 30-39 ปี ร้อยละ 22.59 และช่วงอายุ 25-29 ปี ร้อยละ 21.43


7

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

แผนภูมิที่ 8 การบรรจุงานจ�ำแนกตามรายจังหวัด

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

การบรรจุงาน จ�ำนวน 34,151 คน โดยจังหวัดทีม่ กี ารบรรจุงาน มากทีส่ ดุ ได้แก่ จังหวัดล�ำพูนร้อยละ 16.22 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 14.45 และจังหวัดนครสวรรค์ร้อยละ 9.54 จ�ำแนกตามประเภทอาชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 33.43 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้า และตลาด ร้อยละ 21.46 และเสมียน เจ้าหน้าที่ร้อยละ 16.84 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรม การผลิตมากที่สุดร้อยละ 33.35 รองลงมาคือ การขายส่งและ

การขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์รอ้ ยละ 32.72 และ กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัยร้อยละ 5.76 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษา ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุดร้อยละ 39.06 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 26.37 และระดับ ปวส. ร้อยละ 14.87 จ�ำแนกประเภทอาชีพตามช่วงอายุ ได้แก่ชว่ งอายุ 30-39 ปี มากทีส่ ดุ ร้อยละ 36.15 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 18-24 ปี ร้อยละ 26.20 และช่วงอายุ 25-29 ปี ร้อยละ 22.47

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ตารางที่ 6 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามรายจังหวัด จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง) ครึง่ ปีหลัง 2557 ครึง่ ปีหลัง 2558 ก�ำแพงเพชร 34 31 เชียงราย 28 24 เชียงใหม่ 51 30 ตาก 30 26 นครสวรรค์ 49 31 น่าน 5 9 พะเยา 5 5 พิจิตร 14 16 พิษณุโลก 15 19 เพชรบูรณ์ 20 37 แพร่ 138 62 แม่ฮ่องสอน 2 6 ล�ำปาง 65 25 ล�ำพูน 19 17 สุโขทัย 25 13 อุตรดิตถ์ 14 15 อุทัยธานี 5 6 รวม 519 372 จังหวัด

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

เงินลงทุน (ล้านบาท) เพิ่ม/ลด ร้อยละ ครึง่ ปีหลัง 2557 ครึง่ ปีหลัง 2558 -8.82 1,159.45 1,978.17 -14.29 710.26 315.83 -41.18 1,713.71 700.67 -13.33 564.35 246.59 -36.73 1,140.42 1,598.85 80.00 26.96 123.63 0.00 42.51 330.50 14.29 230.31 3,704.13 26.67 95.85 9,062.89 85.00 186.02 1,220.43 -55.07 1,126.46 40.75 200.00 27.40 161.18 -61.54 9,353.94 1,916.26 -10.53 1,196.27 3,447.65 -48.00 448.68 107.95 7.14 109.69 1,417.60 20.00 151.23 76.29 -28.32 18,283.51 26,449.37

การจ้างงาน (คน) เพิ่ม/ลด ร้อยละ ครึง่ ปีหลัง 2557 ครึง่ ปีหลัง 2558 70.61 344 313 -55.53 281 216 -59.11 793 292 -56.31 861 1,585 40.20 492 63 358.57 32 338 677.46 26 178 1,508.32 73 119 9,355.28 116 231 556.07 137 256 -96.38 939 390 488.25 14 73 -79.51 536 718 188.20 497 4,536 -75.94 176 100 1,192.37 77 166 -49.55 89 23 44.66 5,483 9,597

เพิ่ม/ลด ร้อยละ -9.01 -23.13 -63.18 84.09 -87.20 956.25 584.62 63.01 99.14 86.86 -58.47 421.43 33.96 812.68 -43.18 115.58 -74.16 75.03


8

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง การลงทุนในภาคเหนือครึ่งปีหลัง 2558 มีโรงงานที่ ขออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 372 แห่ง เงินลงทุน 26,449.37 ล้านบาท และการจ้างงาน 9,597 คน เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีหลัง 2557 พบว่าโรงงานอุตสาหกรรมลดลงร้อยละ 28.32 เงินลงทุน เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.66 และการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 75.03 จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพร่มโี รงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาต ให้ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ ร้อยละ 16.67 รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ์

ร้อยละ 9.95 จังหวัดก�ำแพงเพชร และจังหวัดนครสวรรค์รอ้ ยละ 8.33 เท่ากัน เมื่อพิจารณาตามการลงทุนจังหวัดพิษณุโลกมีมูลค่า การลงทุนมากที่สุดร้อยละ 34.27 รองลงมาคือ จังหวัดพิจิตร ร้อยละ 14.00 และจังหวัดล�ำพูนร้อยละ 13.03 ส�ำหรับการจ้างงาน จังหวัดล�ำพูนมีการจ้างงานมากที่สุดร้อยละ 47.26 รองลงมาคือ จังหวัดตากร้อยละ 16.52 และจังหวัดล�ำปางร้อยละ 7.48

ตารางที่ 7 จ�ำนวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อาหาร เครื่องดื่ม สิ่งทอ เครื่องแต่งกาย เครื่องหนัง ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน กระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ เคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์อโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ เครื่องจักรกล ไฟฟ้า ขนส่ง ทั่วไป

รวม

จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง) เพิ่ม/ลด ครึ่งปีหลัง ครึ่งปีหลัง ร้อยละ 2557 2558

63 30 5 3 3 2 68 115 0 6 5 2 6 47 1 17 3 0 33 110 519

57 42 1 4 7 0 21 70 2 11 5 1 5 44 3 19 1 1 19 59 372

เงินลงทุน (ล้านบาท) ครึ่งปีหลัง ครึ่งปีหลัง 2557 2558

การจ้างงาน (คน) เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ครึ่งปีหลัง ครึ่งปีหลัง ร้อยละ ร้อยละ 2557 2558

-9.52 1,532.67 2,815.92 83.73 40.00 471.79 756.98 60.45 -80.00 107.87 21.50 -80.07 33.33 28.20 17.61 -37.55 133.33 3.20 108.77 3299.06 -100.00 14.31 0.00 -100.00 -69.12 322.89 27.15 -91.59 -39.13 93.96 77.25 -17.78 100.00 0.00 30.36 100.00 83.33 331.86 130.05 -60.81 0.00 130.84 71.85 -45.09 100.00 6.37 90.00 100.00 -16.67 117.81 74.35 -36.89 -6.38 1,160.06 441.48 -61.94 200.00 11.55 4.40 -61.90 11.76 460.80 100.55 -78.18 -66.67 8.47 176.00 1977.92 100.00 0.00 14.00 100.00 -42.42 1,696.55 895.93 -47.19 -46.36 11,784.31 20,595.22 74.77 -28.32 18,283.51 26,449.37 44.66

575 254 81 193 149 90 588 776 0 59 55 22 81 706 12 238 26 0 712 866 5,483

967 506 15 654 623 0 124 561 27 89 35 26 71 288 31 126 100 295 289 4,770 9,597

68.17 99.21 -81.48 238.86 318.12 -100.00 -78.91 -27.71 100.00 50.85 -36.36 100.00 -12.35 -59.21 158.33 -47.06 284.62 100.00 -59.41 450.81 75.03

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาต ประกอบกิจการมากที่สุดร้อยละ 18.82 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ทั่วไปร้อยละ 15.86 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 15.32 ส�ำหรับอุตสาหกรรมทั่วไปมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุดร้อยละ 77.87

รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรมร้อยละ 10.65 และอุตสาหกรรม ขนส่งร้อยละ 3.39 และเมื่อพิจารณาตามการจ้างงานอุตสาหกรรม ทั่วไปมีการจ้างงานมากที่สุดร้อยละ 49.70 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม เกษตรกรรมร้อยละ 10.08 และอุตสาหกรรมสิ่งทอร้อยละ 6.81


9

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ปี 2558 ขับเคลื่อนหลักจากภาคการท่องเที่ยว การลงทุนของภาครัฐ การค้า ชายแดนที่ขยายตัวได้ต่อเนื่อง และการใช้จ่ายภาคเอกชนที่ยังขยาย ตัวได้สัมพันธ์กับภาคท่องเที่ยว ส่วนการลงทุนภาคเอกชนทรงตัว ในระดับต�่ำ โดยเฉพาะหมวดภาคการก่อสร้าง รายได้เกษตรกรลดลง ต่อเนื่องทั้งด้านผลผลิตและราคา ผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงในกลุ่ม ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และสิ่งทอจากภาวะส่งออกไปประเทศคู่ค้า ชะลอลงและบางส่วนได้สูญเสียส่วนแบ่งตลาดให้คู่แข่งขัน ส�ำหรับ เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือยังอยู่ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากอัตรา เงินเฟ้อติดลบน้อยลงจากไตรมาสก่อน ส่วนส�ำคัญมาจากราคาขาย ปลีกน�ำ้ มันและอัตราการว่างงานทรงตัวในระดับต�ำ ่ ด้านเงินให้สนิ เชือ่ และเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ขยายตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือมีดังนี้ ปัจจัยหลักที่ยังช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคเหนือได้แก่ ภาคการท่องเที่ยว โดยขยายตัวต่อเนื่องนักท่องเที่ยวจีนมีจ�ำนวน มากขึน้ โดยส่วนใหญ่เดินทางด้วยเทีย่ วบินตรงและเช่าเหมาล�ำเพิม่ ขึน้ ขณะทีน่ กั ท่องเทีย่ วจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปเริม่ กลับเข้ามาท่องเทีย่ ว ในภาคเหนือเพิ่มขึ้น ส่วนนักท่องเที่ยวไทยนอกจากท่องเที่ยวมากขึ้น ตามฤดูกาลแล้วยังเดินทางเข้าร่วมประชุมสัมมนาและท่องเที่ยว ในช่วงสิ้นปี เครื่องชี้ท่องเที่ยวส�ำคัญเพิ่มขึ้นทั้งจ�ำนวนผู้โดยสารผ่าน ท่าอากาศยาน อัตราเข้าพักของโรงแรม ราคาห้องพักเฉลี่ย และ ยอดจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มประเภทโรงแรมและภัตตาคาร การเบิกจ่ายงบลงทุนของภาครัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 โดยต่อเนือ่ งในการก่อสร้างและการปรับปรุงซ่อมแซมของโครงการใน งบประมาณปกติและมาตรการกระตุน้ การลงทุนขนาดเล็กของภาครัฐ นอกจากนี้ยังมีการเบิกจ่ายตามโครงการของกรมชลประทาน กรมทางหลวง และอาคารของสถาบันการศึกษาและโรงพยาบาลต่างๆ รวมถึงความคืบหน้าในการเบิกจ่ายในโครงการบริหารจัดการทรัพยากร น�้ำและระบบขนส่งทางถนน ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.8 ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน โดยการใช้จ่ายสินค้าคงทนที่เพิ่มขึ้นชัดเจน ในหมวดรถยนต์นงั่ ส่วนบุคคล รถยนต์เพือ่ การพาณิชย์และรถจักรยานยนต์ ทีอ่ าจเป็นผลของการเร่งซือ้ ก่อนการปรับภาษีสรรพสามิตรถยนต์ขนาด เครือ่ งยนต์เกิน 1,500 ซีซี ในต้นปีหน้า ด้านสินค้าจ�ำเป็นในการอุปโภค บริโภค สินค้าหมวดน�้ำมันเชื้อเพลิงและการใช้ไฟฟ้า รวมถึงเครื่องใช้ ไฟฟ้าและวัสดุก่อสร้างยังขยายตัวได้ นอกจากนี้การใช้จ่ายสินค้า ฟุ่มเฟือยบางประเภทปรับตัวดีขึ้นทั้งเครื่องส�ำอางและเครื่องประดับ สอดคล้องกับภาวะการท่องเที่ยวที่ขยายตัวดี การลงทุนของภาครัฐ และความเชื่ อ มั่ น ของผู ้ บ ริ โ ภคที่ ดี ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ ง อย่ า งไรก็ ต าม

การอุปโภคบริโภคโดยทัว่ ไปในภาคเหนือตอนล่างบางจังหวัดยังซบเซา เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะตกต�่ำในภาคเกษตร การลงทุนภาคเอกชน ดัชนีการลงทุนลดลงร้อยละ 2.4 ส่วนหนึง่ เป็นผลสะท้อนจากภาคการก่อสร้าง ภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ทีย่ งั ซบเซา การผลิตอุตสาหกรรมบางประเภทยังไม่ได้เพิม่ ก�ำลังการผลิต เนื่องจากมีสต๊อกสินค้ามากอยู่และความต้องการสินค้าทั้งในและ ต่างประเทศที่โดยรวมยังอ่อนแออยู่ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึง รอจังหวะให้มีความชัดเจนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและเห็นผล ของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐชัดเจนก่อน โดยภาพรวม เครือ่ งชีก้ ารลงทุนส�ำคัญลดลงทัง้ พืน้ ทีร่ บั อนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาล และยอดขายวัสดุก่อสร้าง รายได้เกษตรกร ลดลงต่อเนื่องร้อยละ 15.6 เนื่องจากได้ รับผลกระทบจากปริมาณน�้ำฝนมีน้อยกว่าปกติและการกระจายของ ฝนไม่สม�ำ่ เสมอไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก ท�ำให้พนื้ ทีเ่ พาะปลูกและ ผลผลิตต่อไร่ลดลง ผลผลิตสินค้าเกษตรจึงลดลงร้อยละ 12.2 ใน พืชหลัก ได้แก่ ข้าวนาปี อ้อยและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ขณะที่ผลผลิต ปศุสตั ว์ทงั้ สุกร ไก่เนือ้ และไข่ไก่ มีปริมาณเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ งและออกสูต่ ลาด มากเกินความต้องการบริโภค ท�ำให้ราคาปศุสตั ว์ลดลงเป็นผลให้ดชั นี ราคาสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 3.9 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 11.2 โดยเป็นการ ลดลงของการผลิตเพื่อการส่งออกในเกือบทุกประเภทสินค้า ได้แก่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอ เซรามิก เลนส์กล้องถ่ายภาพและ ส่วนประกอบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์จากการชะลอตัวของความต้องการของ ประเทศคู่ค้า ภาวะคู่แข่งขันมากขึ้น นอกจากนี้สินค้าเกษตรแปรรูป ทัง้ การสีขา้ วและน�ำ้ ตาลทรายก็ผลิตลดลง เนือ่ งจากวัตถุดบิ ลดลงจาก ภาวะแห้งแล้งและปริมาณน�้ำน้อยกว่าปกติ อย่างไรก็ดีการผลิตที่ ขยายตัวในไตรมาสนี้ได้แก่ การผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพื่อ รองรับเทศกาลช่วงสิ้นปี ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากไม้การแปรรูปผักและ ผลไม้ชนิดไม่บรรจุกระป๋อง การส่งออก ลดลงร้อยละ 2.6 โดยหลักๆ ลดลงในสินค้า ประเภทชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไปประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น ฮ่องกง มาเลเซีย และสิงคโปร์ อย่างไรก็ดีการส่งออกสินค้า อุปโภคบริโภคไปเมียนมาขยายตัวดีตอ่ เนือ่ ง ขณะทีก่ ารส่งออกสินค้าไป สปป.ลาว และจีนปรับลดลง ส่วนหนึง่ ตามการส่งออกน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ที่ลดลงทั้งปริมาณและราคา และทางการจีนยังคงเข้มงวดการน�ำเข้า สินค้าบางประเภทจากไทยอยู่ ด้านมูลค่าการน�ำเข้าลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.6 ตามการน�ำเข้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพื่อผลิตสินค้า อุตสาหกรรมส�ำหรับส่งออก


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ โดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อทั่วไปติดลบน้อยลงเหลือลดลงร้อยละ 1.5 เป็นผลจาก ราคาน�้ำมันขายปลีกในประเทศหดตัวน้อยลง ส่วนราคาอาหารสด ประเภทสัตว์นำ �้ ผักและผลไม้ปรับตัวสูงขึน้ ขณะทีร่ าคาเนือ้ สัตว์ตา่ งๆ ปรับลดลงเล็กน้อย ด้านอัตราการว่างงานยังทรงตัวที่ร้อยละ 0.7 โดยการจ้างงานเพิ่มขึ้นในภาคบริการและค้าปลีกค้าส่ง โดยแรงงาน ที่ออกมาสู่ภาคก่อสร้างบางส่วนได้เคลื่อนย้ายกลับเข้าสู่ภาคเกษตร ตามฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวนาปีในไตรมาสนี้

10

ภาคการเงิน ณ สิน้ ไตรมาส 4 ปี 2558 สาขาธนาคารพาณิชย์ ในภาคเหนือมียอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ 630,942 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.9 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต�่ำของ ภาครัฐทยอยเห็นผลสะท้อนให้เห็นจากสินเชือ่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ กระจายตัวใน หลายธุรกิจ ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โรงแรม การก่อสร้างและธุรกิจการเงิน นอกจากนี้สินเชื่อเพื่อที่อยู่ อาศัยยังขยายตัวได้ ด้านเงินฝากมียอดคงค้าง 622,485 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จากเงินฝากออมทรัพย์ของส่วนราชการ ทั้งนี้ สัดส่วนสินเชือ่ ต่อเงินฝากยังทรงตัวร้อยละ 101.4 จากไตรมาสก่อน

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานภาคเหนือ

การไปท�ำงานต่างประเทศภาคเหนือ แผนภูมิที่ 9 จ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง

คนงานไทยทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ไปท�ำงานต่างประเทศครึง่ ปีหลัง 2558 จ�ำนวน 7,253 คน ลดลงจากครึ่งปีหลัง 2557 ร้อยละ 5.63 จ�ำแนกตามวิธกี ารเดินทาง การเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่ง จ�ำนวน 4,137 คน ร้อยละ 57.04 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�ำนวน 1,322 คน ร้อยละ 18.23

การเดินทางด้วยตนเอง จ�ำนวน 1,142 คน ร้อยละ 15.75 การเดินทาง โดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�ำนวน 354 คน ร้อยละ 4.88 และ การเดินทางโดยนายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน จ�ำนวน 298 คน ร้อยละ 4.11

แผนภูมิที่ 10 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�ำงานมากที่สุด 10 อันดับแรก


11

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

จ�ำแนกตามรายประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปท�ำงาน มากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�ำนวน 3,179 คน ร้อยละ 43.83 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�ำนวน 915 คน

ร้อยละ 12.62 ประเทศญีป่ นุ่ จ�ำนวน 506 คน ร้อยละ 6.98 ประเทศคูเวต จ�ำนวน 429 คน ร้อยละ 5.91 และประเทศอิสราเอล จ�ำนวน 395 คน ร้อยละ 5.45

แผนภูมิที่ 11 จ�ำนวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดทีค่ นงานเดินทางไปท�ำงาน ต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 1,386 คน ร้อยละ 19.11 รองลงมาคือ จังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 1,144 คน

ร้อยละ 15.77 จังหวัดสุโขทัย จ�ำนวน 937 คน ร้อยละ 12.92 จังหวัดก�ำแพงเพชร จ�ำนวน 532 คน ร้อยละ 7.33 และจังหวัดตาก จ�ำนวน 460 คน ร้อยละ 6.34

การท�ำงานของคนต่างด้าวภาคเหนือ แผนภูมิที่ 12 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาต


12

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงานในภาคเหนือ ณ เดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน 182,328 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.92 จ�ำแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน จ�ำแนกเป็น คนต่างด้าว ดังนี้ มาตรา 9 - คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพร้อยละ 0.001 - คนต่างด้าวประเภททั่วไปร้อยละ 4.11 - คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติร้อยละ 81.17 (จ�ำแนกเป็นประเทศเมียนมา จ�ำนวน

146,479 คน ร้อยละ 98.97 ประเทศลาว จ�ำนวน 1,103 คน ร้อยละ 0.75 และ ประเทศกัมพูชา จ�ำนวน 419 คน ร้อยละ 0.28 ของคนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติ) - คนต่างด้าวประเภทน�ำเข้าตาม MOU ร้อยละ 4.18 มาตรา 12 - คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน ร้อยละ 0.58 มาตรา 13 - คนต่างด้าวชนกลุ่มน้อยร้อยละ 9.96

แผนภูมิที่ 13 จ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกตามรายจังหวัดที่ได้รับอนุญาตท�ำงาน

ที่มา : ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว จ�ำแนกตามรายจังหวัด เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัด แรงงาน ต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 102,456 คน ร้อยละ 56.19 รองลงมาคือ จังหวัดตาก จ�ำนวน 31,436 คน ร้อยละ 17.24 จังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 9,636 คน ร้อยละ

5.28 จังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 8,579 คน ร้อยละ 4.71 และ จังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 8,111 คน ร้อยละ 4.45 ตามล�ำดับ ส�ำหรับ จังหวัดน่านมีแรงงานต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานน้อยที่สุด จ�ำนวน 461 คน ร้อยละ 0.25

ผู้ประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีว่างงานภาคเหนือ ตารางที่ 8 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตน ปี

สาเหตุ

เลิกจ้าง 2558 ลาออก รวม เลิกจ้าง 2557 ลาออก รวม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

795 6,082 6,877 417 6,030 6,447

656 5,789 6,445 469 5,161 5,630

605 5,603 6,208 379 5,651 6,030

657 5,508 6,165 460 5,990 6,450

721 6,493 7,214 430 5,778 6,208

518 5,070 5,588 417 4,448 4,865

รวม ทั้งหมด (คน) 3,952 34,545 38,497 2,572 33,058 35,630


13

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

แผนภูมิที่ 14 สาเหตุการถูกเลิกจ้าง และลาออกจากงานของผู้ประกันตน

แผนภูมิที่ 15 ผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงาน

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน สถิตผิ ปู้ ระกันตนทีถ่ กู เลิกจ้างและลาออกจากงานครึง่ ปีหลัง 2558 มีจ�ำนวน 38,497 คน จ�ำแนกสาเหตุจากการเลิกจ้าง จ�ำนวน 3,952 คน ร้อยละ 10.27 และจากการลาออกจากงาน จ�ำนวน 34,545 คน ร้อยละ 89.73 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปีหลัง 2557 ผู้ประกันตนที่ถูกเลิกจ้างและลาออกจากงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.05

ส�ำหรับผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานครึ่งปีหลัง 2558 จ�ำนวน 38,687 คน ได้รับการบรรจุงาน จ�ำนวน 28,247 คน หรือคิดเป็นอัตราการบรรจุงานร้อยละ 73.01 ของจ�ำนวนผูป้ ระกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนทั้งหมด


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

14

บทความ

การขาดแคลนแรงงานไทย

สภาพปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ ไข

จากการคาดการณ์ขององค์การสหประชาชาติ (UN) ในอีก 10 ปีข้างหน้าปี 2563 ประเทศไทยจะมีประชากรผู้สูงอายุที่มีอายุ มากกว่า 65 ปีอยู่ที่ 8.9 ล้านคน เพิ่มขึ้นกว่าสองเท่าตัวเทียบกับ ปี 2543 อยู่ที่ 4.4 ล้านคน และเมื่อพิจารณาอัตราส่วนพึ่งพิงวัยชรา (Old Age Dependency Ratio) คือ จํานวนประชากรผูส้ งู อายุทมี่ ี อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปต่อประชากรวัยทํางานอายุ 15-64 ปี พบว่า สั ด ส่ ว นนี้ ข องไทยเริ่ ม ปรั บ ตั ว สู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของภู มิ ภ าคเอเชี ย ในปี 2543 และคาดว่าในปี 2563 จะอยู่ที่ร้อยละ 17 เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 13 และ 10 ในปี 2553 และ 2543 ตามลําดับ โดยประเทศ ที่มีระดับ Old Age Dependency Ratio สูงสุดในโลกคือ ญี่ปุ่น รองลงมาคือ ยุโรป 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรอย่างรวดเร็ว ดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดปัญหาทางโครงสร้างของความไม่สอดคล้อง ระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงานด้านอายุในระยะยาว โดยภาค การผลิตที่จะได้รับผลกระทบอย่างมากและรุนแรงกว่าภาคอื่นคือ ภาคอุตสาหกรรมเพราะมีความต้องการกลุ่มแรงงานอายุน้อยในช่วง 20-30 ปี ขณะทีแ่ รงงานในภาคเกษตรกรรมและภาคบริการจะอยูใ่ น ช่วงอายุระหว่าง 35-60 ปี และ 35-50 ปี ตามลําดับ 2. ระบบค่าตอบแทนที่ยังไม่สอดคล้องกับผลิตภาพของ แรงงาน (labour productivity) ในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา 2544-2553 อัตราการเพิ่มค่าจ้างจริง (Real wages) ต�่ำกว่าอัตราการเพิ่ม ผลิตภาพของแรงงาน (Labour productivity) และจากค่าจ้างจริง ของทุกกลุม่ การศึกษาแทบไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงตัง้ แต่ปี 2007 ซึง่ เป็น ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้แรงงานไหลออกจากภาคอุตสาหกรรมเห็นได้ จากสัดส่วนของคนงานในภาคอุตสาหกรรมในช่วงอายุมากกว่า 35 ปีขนึ้ ไปน้อยกว่าผูท้ มี่ อี ายุ 15-34 ปี นอกจากนีห้ ลังวิกฤตเศรษฐกิจ โลกสํ า คั ญ ในปี 2540 และ 2551 พบว่ า แรงงานไทยบางส่ ว น ไม่ตอ้ งการทาํ งานในการจ้างงานในระบบเพราะมีความไม่แน่นอนและ เป็นสัญญาชั่วคราวจึงออกมาประกอบอาชีพอิสระในภาคเศรษฐกิจ

นอกระบบ (Informal sector) โดยปัจจุบันตลาดแรงงานไทยมี ผู้ประกอบอาชีพอิสระถึงประมาณ 2 ใน 3 ของผู้มีงานทําทั้งหมด 3. ภาคการผลิตของประเทศไทยยังมีประสิทธิภาพต�ำ่ ไทย ซึ่งอยู่ในกลุ่มระดับรายได้ปานกลาง และถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่มีระดับ เทคโนโลยี ใ นการผลิ ต ระดั บ กลาง ยั ง คงพึ่ ง พาการผลิ ต ในกลุ ่ ม อุตสาหกรรมที่มีความสําคัญของประเทศที่อาศัยความได้เปรียบใน การแข่งขันจากการใช้แรงงานค่าแรงต�่ำเป็นหลัก ซึ่งกลุ่มประเทศนี้ พยายามที่จะแข่งขันในตลาดส่งออกและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพือ่ เพิม่ มูลค่าและเพิม่ ผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมของตนจากการ เป็ น ฐานการประกอบและแปรรู ป ไปสู ่ ก ารเป็ น ประเทศที่ อ าศั ย นวัตกรรม มีการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีชนั้ สูง และการคิดค้นเทคโนโลยี ใหม่ๆ ในภาคบริการและภาคเกษตร เพื่อก้าวไปสู่การเป็นกลุ่ม ประเทศทีม่ รี ายได้สงู ประเทศจีนถือว่าเป็นกลุม่ ผูน้ าํ ของกลุม่ เทคโนโลยี ขัน้ กลางจากภาคอุตสาหกรรมของจีนทีเ่ ติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็ว สามารถเสริมสร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยีการผลิตได้ในหลาย อุตสาหกรรม การเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) ด้วย นวัตกรรมของไทยยังมีน้อยมาก และการลงทุนด้านการวิจัยและ พัฒนา (Research and Development : R&D) ของไทยยังอยู่ใน ระดับต�่ำ โดยจะเห็นได้ว่าสัดส่วนการใช้จ่ายด้าน R&D ในภาค อุ ด มศึ ก ษาต่ อ GDP 20 ของไทยต�่ ำ กว่ า ประเทศในกลุ ่ ม เอเชี ย ตะวันออกทีม่ คี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเช่น ญีป่ นุ่ สิงคโปร์ ฮ่องกง นอกจากนี้ประเทศไทย ยังมีปัญหาบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับ อุดมศึกษามีคุณภาพต�่ำขาดบัณฑิตในบางสาขา เช่น STEM คือ สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ และ การทําวิจัยมีจํากัดเนื่องจากขาดทักษะและความเชื่อมโยงระหว่าง สถาบันอุดมศึกษากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานวัตกรรม ทั้งผู้จ้างงานบริษัทและผู้ใช้ประโยชน์งานวิจัย สถาบันวิจัย สถาบัน การศึกษาและหน่วยงานอื่นเป็นต้น ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย


15

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

4. สาเหตุอื่นๆ เช่นทัศนคติในทางลบของแรงงานไทย ต่อการทํางานประเภทที่ใช้ทักษะต�่ำ *ความต้องการของแรงงาน ในการสร้างฐานะความมัน่ คงของตนเองด้วยการประกอบอาชีพอิสระ ในภาคเศรษฐกิจแบบไม่เป็นทางการหรือนอกระบบ และการที่ราคา และรายได้ในภาคเกษตรในระยะหลัง 2 - 3 ปีที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้แรงงานไทยยังทํางานในภาคเกษตรกรรมต่อไป

แนวทางแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แนวทางการแก้ไขปัญหา **การขาดแคลนแรงงาน ควรปรับ ให้อปุ สงค์และอุปทานของตลาดแรงงานมีความสอดคล้องกันมากขึน้ และควรเพิ่มผลิตภาพแรงงานของไทยให้สูงขึ้นดังนี้ ในระยะสั้น 1. ภาครั ฐ และเอกชนควรพิ จ ารณาปรั บ ค่ า จ้ า งให้ สอดคล้องกับผลิตภาพของแรงงานเพราะในช่วงที่ผ่านมาค่าจ้างจริง อยูใ่ นระดับต�ำ่ กว่าผลิตภาพของแรงงานมาโดยตลอด และค่าจ้างจริง ของทุกกลุ่มการศึกษาแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลง 2. ภาคเอกชนควรเพิ่มจ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานล่วงเวลา เป็นการปรับตัวในระยะสั้น เพื่อให้สามารถเพิ่มผลผลิตจากชั่วโมง ท�ำงานที่เพิ่มขึ้นในช่วงที่ยังหาแรงงานไม่ได้ รวมถึงการจ้างแรงงาน Outsource เพื่อสามารถหาแรงงานได้เร็วกว่าการเปิดรับสมัคร พนักงานเองอีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรมด้วย นอกจากนี้ ภาครัฐควรมีแผนยุทธศาสตร์เกีย่ วกับแรงงานต่างด้าว (Immigration policy) อย่างชัดเจนเนือ่ งจากแรงงานต่างด้าวจ�ำเป็นต่อตลาดแรงงาน ไทยโดยท�ำงานในงานที่แรงงานไทยไม่นิยมท�ำโดยเฉพาะงานหนัก ประเภท 3D งานสกปรก (Dirty) งานยาก (Difficult) และงานเสี่ยง (Dangerous) ทั้งยังมีความขยันอดทนในการท�ำงาน ในระยะยาว 3. ควรเพิม่ ผลิตภาพของแรงงาน (Labour productivity) โดยภาครัฐและภาคเอกชนควรสนับสนุนการลงทุนในสินทรัพย์ทุน ให้มีจ�ำนวนเครื่องจักรต่อแรงงานมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีเร่ง

พัฒนาฝีมือแรงงานให้มีสมรรถนะสูงโดยจัดฝึกอบรมทักษะที่จ�ำเป็น และสร้างวัฒนธรรมการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ที่เน้น พั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะใฝ่ เรี ย นรู ้ ใ ห้ แ ก่ บุ ค ลากร รวมทั้ ง ภาครั ฐ ควร สนับสนุนการพัฒนาแรงงานในธุรกิจ SMEs 4. ภาครั ฐ และเอกชนควรพิ จ ารณาขยายอายุ เ กษี ย ณ (delaying retirement) โดยในส่วนของภาครัฐต้องปรับแก้ไข กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัติบ�ำเหน็จ บ�ำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 และแก้ไขเพิ่มเติมกรณีก�ำหนดให้ ข้าราชการที่มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์จะต้องพ้นจากราชการ ในส่วน ของภาคเอกชนเป็นสิทธิของนายจ้างทีก่ ำ� หนดอายุเกษียณของลูกจ้าง ในข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน รวมทั้งควรก�ำหนดระบบที่เอื้อให้ องค์กรต่างๆ เสนอโอกาสการท�ำงานให้กับผู้สูงอายุที่มีศักยภาพและ ประสบการณ์ในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อลดปัญหาทางโครงสร้างของ ความไม่สอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงานด้านอายุ ในระยะยาวระดับหนึ่ง 5. ภาครัฐและภาคเอกชนควรพัฒนาและสร้างความร่วมมือ ให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันฝึกอบรม สถาบันเฉพาะทาง และสถานประกอบการในภาคการผลิตต่างๆ เพือ่ สามารถผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพและตรงตามความต้องการ และ ควรเสริมสร้างระบบข้อมูลส�ำหรับการวางแผนก�ำลังคนของประเทศ และปรับปรุงคุณภาพของแรงงานในระยะยาว 6. ภาครัฐและเอกชนควรตั้ง “มาตรฐานฝีมือแรงงาน” โดยในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมว่าต้องการความสามารถเฉพาะทาง (Competencies) เพียงใด เพื่อน�ำไปสู่กรอบการฝึกอบรมและ ทดสอบสมรรถนะที่สามารถควบคุมคุณภาพและรับประกันคุณภาพ ของแรงงาน 7. ควรเผยแพร่ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความต้ อ งการของ ตลาดแรงงานไทยให้ประชาชนทราบ พร้อมทั้งกระตุ้นให้สถาบัน การศึกษามีการแนะแนวการศึกษาต่อและแนวทางการประกอบอาชีพ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลาดและความสามารถ ของแรงงาน

* ความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ หมายถึง ความต้องการแรงงานเข้ามาบรรจุในตําแหน่งต่างๆ ในรอบปีหนึ่ง (1 ม.ค. - 31 ธ.ค.) ของสถานประกอบการ ** การขาดแคลนแรงงาน หมายถึง ตําแหน่งงานที่หาคนทํางานยาก หรือหาคนทํางานในตําแหน่งที่ต้องการไม่ได้ภายใน ระยะเวลาตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ที่มา : http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/57/file_1343115661.pdf www.senate.go.th

ภาพ : www.thansettakij.com, www.matichon.co.th

https://commons.wikimedia.org/wiki/File:The_United_Nations_Secretariat_Building.jpg?uselang=th




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.