วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 2 ปี 2559 (เมษายน - มิถุนายน)

Page 1


ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ

๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙

ความหมายของตราสัญลักษณ์ อักษรพระนามาภิไธย ส.ก. อักษร ส. ถมสีครามเข้ม สีแห่งวันพระราชสมภพอักษร ก. ถมสีขาว เป็นสีเดชแห่งวันพระราชสมภพ อักษรพระนามาภิไธย ส.ก. มีพระมหามงกุฎสีทองประดิษฐานอยู่เบื้องบน ภายใต้พระมหามงกุฎประดิษฐานพระแสงจักรตรีวา่ ทรงสถิตอยูใ่ นพระบรมราชจักรีวงศ์ พระนามาภิไธย ส.ก. อยูภ่ ายในกรอบวัชรรัตน์ ๗ ดวง ว่าทรงเจริญพระชนมายุได้ ๗ รอบ มีพนื้ สีมอครามเป็นสีประจ�าวันพระราชสมภพ นอกกรอบวัชรรัตน์อลงกรณ์ประกอบหน้าราชหงส์ทองอยู่ทั้งซ้ายขวาว่าทรงงามสง่าดังราชหงส์ทอง หน้าราชหงส์มกี ระหนกแนบ ห้อยพวงดอกไม้ทพิ ย์อนั มีดอกไม้ในพระนามเป็นอาทิ มีพรรณมอครามปนทอง ถัดออกไปเป็นขอบเขียนอักษรสีทอง ความว่า พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๕๕๙ ระบายพื้นด้วยสีหงชาด อัน เป็นสิริแห่งวันพระราชสมภพเพื่อเฉลิมพระเกียรติในอภิ ลักขิตสมัย ที่ทรงเจริญพระชนมายุบรรจบครบ ๘๔ พรรษา ดังมีเลขมหามงคลนั้นอยู่ใต้อักษรพระนามาภิไธย ประกอบเถาไม้ทพิ ย์ชอื่ จิตรลดา ตามต�าราว่าเป็นเครือเถาไม้ทพิ ย์มอี ยูใ่ นจิตรลดาวันพระราชอุทยาน ๑ ใน ๔ แห่งของพระอินทร์ หมายความว่าสมเด็จพระบรมราชินนี าถทรงเนานิเวศน์สถานชือ่ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน อันเป็นที่ประทับ เถาไม้นี้ว่าเป็นเถาไม้แห่งความหวัง ดุจดังสมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงเป็นความหวัง แห่งปวงชน ราษฎรพ้นจากความยากไร้ด้วยพระมหากรุณาธิคุณอันมีโครงการศิลปาชีพเป็นอาทิ อาณาประชาราษฎร์จึงน้อมใจถวายพระพรให้ทรงเจริญพระชนม์ยิ่งยืนนาน


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

Editor..... บรรณาธิการ สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ปี 2559 (เมษายน - มิถุนายน) จัดท�าขึ้นเพื่อให้ทราบถึงข้อมูลประชากรและ ก�าลังแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และ การบรรจุงาน) ภาวะ การลงทุน ภาวะเศรษฐกิจการเงิน การไปท�างานต่างประเทศ การท�างานของคนต่างด้าว ข่าวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาส ที่สองของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559 และเวทีประชุมนานาชาติ เรื่อง การยกระดับก�าลังคนของไทย : ทางออกจากกับดักรายได้ปานกลาง เอกสารฉบับนีส้ า� เร็จได้ดว้ ยความเอือ้ เฟือ้ ข้อมูลจากส�านักงานสถิตแิ ห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�านักงาน ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ส�านักงาน บริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนา ระบบบริการจัดหางาน และส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนย์ขา่ วสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ขอขอบคุณทุกหน่วยงาน ที่ได้ให้การเอื้อเฟื้อข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลเหล่านี้จะเป็น ประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้หากท่านมีข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ในการจัดท�าครั้งต่อไปขอได้โปรดติดต่อโดยตรงที่ ศูนย์ขา่ วสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ศูนย์ราชการชัน้ 3 ถนนวชิราวุธด�าเนิน ต�าบลพระบาท อ�าเภอเมืองล�าปาง จังหวัดล�าปาง 52000 หรือแจ้ง ทางโทรศัพท์ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง สิงหาคม 2559


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

สารบัญ หน้า

ก-ข 1 5 7 9 10 12 13 15

บรรณาธิการ บทสรุปผูบ้ ริหาร ประชากรและก�าลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ ข่าวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาสทีส่ องของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559 เวทีประชุมนานาชาติ เรือ่ ง การยกระดับก�าลังคนของไทย : ทางออกจากกับดักรายได้ปานกลาง


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

บทสรุป สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ปี 2559 (เมษายน - มิถุนายน) ประชากรและก�าลังแรงงาน

ประชากรภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ปี 2559 ประมาณ 11.44 ล้านคน เป็นประชากร อายุ 15 ปี ขึ้นไปร้อยละ 82.91 จ�าแนกเป็น ผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงาน ร้อยละ 55.34 ประกอบ ด้วยผู้มีงานท�า ร้อยละ 98.04 ผู้ว่างงาน ร้อยละ 0.86 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 1.10 เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของปี 2558 พบว่าประชากรลดลง ร้อยละ 0.08 ผู้มีงานท�าลดลง ร้อยละ 1.95 เป็นผู้มีงานท�า จ�าแนกประเภทอาชีพผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือ ในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุด ร้อยละ 34.23 จ� า แนกตามประเภทอุ ต สาหกรรมโดยเป็ น ผู ้ ท� า งาน ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 39.27 และภาคนอกเกษตรกรรม ร้อยละ 60.73 จ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จส่วนใหญ่ ส�าเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษาและไม่มกี ารศึกษา สูงถึง ร้อยละ 54.78 จ�าแนกตามสถานภาพการท�างานส่วนใหญ่ ท�างานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 40.93 และจ�าแนกตามชัว่ โมง การท�างานต่อสัปดาห์เป็นผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ร้อยละ 57.39 และผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมง ขึ้นไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 21.92 (ผู้มีงานท�า 35 - 50 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ร้อยละ 79.31 โดยบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ท�างาน เต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน) ภาวะการว่างงาน ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.35 โดยจังหวัดเชียงใหม่จะมีผู้ว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 16.75 และจังหวัดล�าปางมีผวู้ า่ งงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.54 ส�าหรับ อัตราการว่างงานเท่ากับ ร้อยละ 0.86 จังหวัดสุโขทัยมีอัตรา การว่างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 2.43 ขณะเดียวกันจังหวัดพะเยา มีอัตราการว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.14

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงานจ�านวน 13,733 อัตรา ผู้สมัครงานที่ลงทะเบียนจ�านวน 15,582 คน และสามารถ บรรจุงานได้จ�านวน 12,841 คน ซึ่งความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานลดลงจากไตรมาสเดียวกัน ของปี 2558 โดยลดลงร้อยละ 19.40 ร้อยละ 21.37 และ ร้อยละ 23.18

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2559 จ�านวน 130 แห่ง เงินลงทุน 3,983.07 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 1,597 คน จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดแพร่มีโรงงาน ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 25.38 รองลงมาคือ จังหวัดตาก ร้อยละ 14.62 และจังหวัดเชียงราย ร้อยละ 11.54 จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์และเครือ่ งเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

อนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 25.38 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมทั่วไป ร้อยละ 16.92 และอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์อโลหะ ร้อยละ 16.15

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

เศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 ทรงตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน โดยแรงขับเคลื่อนส�าคัญ มาจากการใช้จา่ ยภาครัฐ การส่งออกชายแดนไปเมียนมาและ ภาคการท่องเทีย่ วทีย่ งั ขยายตัวดี ขณะทีก่ ารบริโภคภาคเอกชน ค่อนข้างทรงตัว แม้การใช้จา่ ยในกลุม่ สินค้าคงทนปรับเพิม่ ขึน้ เนื่อ งจากมีก ารส่งเสริม การขายและออกรถยนต์รุ่น ใหม่ แต่การบริโภคสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ�าวันยังลดลงต่อเนื่อง จากก�าลังซือ้ ของประชาชนในภาคเกษตรทีย่ งั อ่อนแอ ปัจจัย ฉุดรัง้ เศรษฐกิจยังมาจากภาคการผลิตทัง้ ภาคเกษตรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบมากจากภัยแล้ง และภาคอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับการส่งออกซึง่ หดตัวเพิม่ ขึน้ สอดคล้องกับการลงทุนภาคเอกชน โดยเฉพาะภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังซบเซา แม้จะเริ่มเห็น การลงทุนเพิม่ บ้างในบางอุตสาหกรรมแต่ยงั ไม่เห็นแนวโน้ม การลงทุนเพิม่ ขึน้ ชัดเจน ส�าหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือโดยรวม อยูใ่ นเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อกลับมาเพิม่ ขึน้ บ้างจากราคาอาหารสด

เป็นส�าคัญ อัตราการว่างงานยังอยูใ่ นระดับต�า่ โดยมีการจ้างงาน เพิม่ ขึน้ ในภาคบริการและการก่อสร้าง ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกอบการ ในบางอุตสาหกรรมเริม่ น�าเครือ่ งจักรมาใช้และค่อยๆ ทยอย ปรับลดแรงงาน ซึง่ คาดว่าจะไม่สง่ ผลกระทบต่อการเลิกจ้าง อย่างมีนยั ส�าคัญ ด้านเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ปรับเพิม่ ขึน้ ขณะทีเ่ งินให้สนิ เชือ่ ชะลอลงต่อเนือ่ ง

การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�างานต่างประเทศ ไตรมาสที่ 2 ปี 2559 จ�านวน 3,700 คน ลดลงจากไตรมาส เดียวกันของปี 2558 ร้อยละ 1.12 เดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่งสูงสุด ร้อยละ 56.81 ส�าหรับประเทศไต้หวันเป็นประเทศ ทีม่ แี รงงานเดินทางไปมากถึง ร้อยละ 45.92 และจังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดทีไ่ ด้รบั อนุญาตเดินทางไปมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.68

การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ

คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างานคงเหลือ ณ เดือน มิถุนายน 2559 จ�านวน 174,655 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนมิถุนายน 2558 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.22 คนต่างด้าว มาตรา 9 ประเภทคนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาต ท�างานมากที่สุด ร้อยละ 79.80 ส�าหรับจังหวัดเชียงใหม่ มีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�างานสูงสุด ร้อยละ 56.46


1

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ประชากรและก�าลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือ

โครงสร้ำงประชำกรและก�ำลังแรงงำนในภำคเหนือไตรมำสที่ 2 ปี 2559 ประชำกรรวม 11,442,740 คน ผู้มีอำยุต�่ำกว่ำ 15 ปี (ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงำน) 1,955,448 คน

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงำน 5,110,448 คน

ผู้มีอำยุ 15 ปี ขึ้นไป 9,487,292 คน ก�ำลังแรงงำนรวม 6,332,292 คน

ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงำน 3,155,000 คน เรียนหนังสือ 732,739 คน

ท�ำงำนบ้ำน 931,191 คน อื่นๆ 1,491,070 คน

ก�ำลังแรงงำนปัจจุบัน 6,262,556 คน ผู้มีงำนท�ำ 6,208,253 คน

ก�ำลังแรงงำนที่รอฤดูกำล 69,736 คน

ผู้ว่ำงงำน 54,303 คน

ที่มำ : ส�ำนักงำนสถิติแห่งชำติ หมำยเหตุ อัตรำกำรว่ำงงำน = ผู้ว่ำงงำน*100/ก�ำลังแรงงำนรวม = ร้อยละ 0.86

ตารางที่ 1 จ�านวนและร้อยละของประชากรจ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน

ประชากรไตรมาสที่ 2 ปี 2559 (เมษายน - มิถนุ ายน) ประมาณ 11.44 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก�าลังแรงงานรวมประมาณ 6.33 ล้านคน ร้อยละ 55.34 ของจ�านวนประชากรรวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ ในก�าลังแรงงานรวมถึงผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี ประมาณ 5.11 ล้านคน ร้อยละ 44.66 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงานรวม จ�านวน 6,332,292 คน ประกอบด้วย ผู้มีงานท�า ร้อยละ 98.04 ผู้ว่างงาน ร้อยละ 0.86 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 1.10

ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�านวน 3,155,000 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�างานบ้าน ร้อยละ 29.51 นักเรียน นิสิต นักศึกษา ร้อยละ 23.22 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�างานได้ ร้อยละ 47.26 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2558 พบว่าประชากร ลดลง ร้อยละ 0.08 ผูม้ งี านท�าลดลง ร้อยละ 1.95 และผูว้ า่ งงานเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.35 ส�าหรับอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.77 เป็นร้อยละ 0.86


2

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ตารางที่ 2 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ

ผู้มีงานท�าประมาณ 6.21 ล้านคน ท�างานในอาชีพผู้ปฏิบัติ งานทีม่ ฝี มี อื ในด้านการเกษตรและการประมงมากทีส่ ดุ ร้อยละ 34.23 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานในร้านค้าและตลาด ร้อยละ 18.96 และอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและ

การให้บริการ ร้อยละ 14.19 นอกนัน้ ประกอบอาชีพอืน่ ๆ เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสที่ 2 ปี 2558 พบว่าส่วนใหญ่ผู้มีงานท�าเพิ่มขึ้น ยกเว้น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ฝ ี มื อ ในด้ า นการเกษตรและการประมงลดลง ร้อยละ 13.24 และผูป้ ฏิบตั กิ ารโรงงานและเครือ่ งจักร และผูป้ ฏิบตั งิ าน ด้านการประกอบลดลง ร้อยละ 5.88

ตารางที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผูท้ า� งานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.44 ล้านคน ร้อยละ 39.27 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง ส�าหรับ ผูท้ า� งานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.77 ล้านคน ร้อยละ 60.73

3

จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุด ร้อยละ 15.86 รองลงมาคือ การผลิต ร้อยละ 10.66 และการก่อสร้าง ร้อยละ 8.76 นอกนัน้ กระจายอยูใ่ นอุตสาหกรรมอืน่ ๆ

ตารางที่ 4 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ

หมำยเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่ส�าเร็จการศึกษา ที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มีงานท�าไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ ผูม้ งี านท�าส่วนใหญ่สา� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มกี ารศึกษาสูงถึง ร้อยละ 54.78 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา แผนภูมิที่ 2 ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน

ร้อยละ 28.51 ระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 16.49 อืน่ ๆ ได้แก่บคุ คล ทีส่ า� เร็จการศึกษาทีไ่ ม่สามารถเทียบชัน้ ได้ ร้อยละ 0.15 และผูม้ งี านท�า ไม่ทราบวุฒกิ ารศึกษา ร้อยละ 0.06 ตามล�าดับ


4

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน

ผู้มีงานท�าส่วนใหญ่ท�างานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 40.93 (ในจ�านวนนี้เป็นลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 30.42 และลูกจ้างรัฐบาล ร้ อ ยละ 10.51) รองลงมาคื อ ท�า งานส่ ว นตั ว โดยไม่ มี ลู ก จ้ า ง หมำยเหตุ

ร้อยละ 36.24 ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง ร้อยละ 20.43 นายจ้าง ร้อยละ 2.37 ส�าหรับการรวมกลุ่มมีเพียง ร้อยละ 0.04 ของผู้มีงานท�าทั้งหมด

การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�างานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคน มีความเท่าเทียมกัน ในการก�าหนดการท�างานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�าตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)

แผนภูมิที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์

ผูม้ งี านท�าจ�าแนกตามชัว่ โมงการท�างานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 57.39 และผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 21.92 หรือ กล่าวได้ว่าผู้มีงานท�า ร้อยละ 79.31 ท�างานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไป ต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ า� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมง

การท�างาน ขณะที่ผู้ท�างานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เป็นผู้ท�างานไม่เต็มที่ ร้อยละ 18.16 ของผู้มีงานท�าทั้งสิ้น ส�าหรับ ผู้มงี านท�าประจ�าแต่ไม่ได้ทา� งานในสัปดาห์แห่งการส�ารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียง ร้อยละ 2.52

แผนภูมิที่ 4 จ�านวนผู้ว่างงานจ�าแนกตามรายจังหวัด

จังหวัด

ภาวะการว่างงาน

จ�านวนผูว้ า่ งงานประมาณ 54,303 คน เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสที่ 2 ปี 2558 ร้อยละ 9.35 จังหวัดทีม่ ผี ว้ ู า่ งงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยเป็นจังหวัดทีม่ ผี วู้ า่ งงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 16.75 รองลงมาคือ

จังหวัดสุโขทัย ร้อยละ 15.61 จังหวัดก�าแพงเพชร ร้อยละ 15.00 จังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 10.35 และจังหวัดล�าปาง ร้อยละ 9.06 ส�าหรับ จังหวัดพะเยามีผว้ ู า่ งงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.54


5

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง แผนภูมิที่ 5 อัตราการว่างงานจ�าแนกรายจังหวัด ร้อยละ

จังหวัด

ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ หมำยเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจ�านวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�านวนซึ่งได้จาก การประมวลผลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป

อัตราการว่างงาน

จ�านวนอัตราการว่างงานไตรมาสที่ 2 ปี 2559 เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 0.77 เป็นร้อยละ 0.86 จังหวัดทีม่ อี ตั ราการว่างงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดสุโขทัยมีอัตราการว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 2.43 ทั้งนี้เนื่องจากสาเหตุภัยแล้งเกษตรกรที่ท�านา ท�าไร่ไม่มีงานท�า

รองลงมาคือ จังหวัดก�าแพงเพชร ร้อยละ 1.87 จังหวัดล�าปาง ร้อยละ 1.20 จังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 1.15 และจังหวัดอุทัยธานี ร้อยละ 1.08 ส�าหรับจังหวัดพะเยามีอัตราการว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.14

แผนภูมิที่ 6 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ สรุปภาพรวมการเคลือ่ นไหวตลาดแรงงานของส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ปี 2559 (เมษายน - มิถุนายน) นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 13,733 อัตรา ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน 15,582 คน และสามารถ

บรรจุงานได้ จ�านวน 12,841 คน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2558 ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานลดลง โดยลดลงร้อยละ 19.40 ร้อยละ 21.37 และร้อยละ 23.18


6

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

แผนภูมิที่ 7 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�าแนกตามรายจังหวัด

ควำมต้องกำรแรงงำน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 13,733 อัตรา โดยจังหวัดทีม่ คี วามต้องการแรงงานมากทีส่ ดุ ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 1,918 อัตรา ร้อยละ 13.97 รองลงมาคือ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 1,901 อัตรา ร้อยละ 13.84 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 1,585 อัตรา ร้อยละ 11.54 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จ�านวน 5,110 อัตรา ร้อยละ 37.21 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงาน ขายในร้านค้าและตลาด จ�านวน 2,821 อัตรา ร้อยละ 20.54 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�านวน 2,368 อัตรา ร้อยละ 17.24 จ�ำแนกตำมอุตสำหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิตมากทีส่ ดุ จ�านวน 4,220 อัตรา ร้อยละ 30.73 รองลงมาคือ การขายส่งและการขายปลีก

632 983 655 868

607 66

190 170

837 702

673 783 849 1,003

1,225

1,901

1,918 120

573 564

1,047 479 728

1,220 1,585 1,624 349

819 678 841 538

1,255 1,450

2,839

จ�านวน (อัตรา)

จังหวัด

การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์จา� นวน 4,139 อัตรา ร้อยละ 30.14 และกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน จ�านวน 943 อัตรา ร้อยละ 6.87 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒิกำรศึกษำ ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จ�านวน 4,933 อัตรา ร้อยละ 35.92 รองลงมา คือ ระดับประถมศึกษาและต�า่ กว่า จ�านวน 2,244 อัตรา ร้อยละ 16.34 และระดับปริญญาตรี จ�านวน 2,014 อัตรา ร้อยละ 14.67 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี มากที่สุด จ�านวน 5,210 อัตรา ร้อยละ 37.94 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�านวน 3,433 อัตรา ร้อยละ 25.00 และช่วงอายุ 30 - 39 ปี จ�านวน 2,683 อัตรา ร้อยละ 19.54

แผนภูมิที่ 8 ผู้สมัครงานจ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวน (คน)

จังหวัด

ผู้สมัครงำน จ�านวน 15,582 คน โดยจังหวัดที่มีผู้สมัครงาน มากที่สุดได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 2,300 คน ร้อยละ 14.76 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 1,572 คน ร้อยละ 10.09 และ จังหวัดเชียงราย จ�านวน 1,537 คน ร้อยละ 9.86 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จ�านวน 4,797 คน ร้อยละ 30.79 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�านวน 3,437 คน ร้อยละ 22.06 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�านวน 2,751 คน ร้อยละ 17.65

จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒิกำรศึกษำ ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จ�านวน 6,432 คน ร้อยละ 41.28 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�านวน 3,910 คน ร้อยละ 25.09 และระดับประถมศึกษา และต�่ากว่า จ�านวน 2,436 คน ร้อยละ 15.63 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 18-24 ปี มากที่สุด จ�านวน 5,346 คน ร้อยละ 34.31 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25-29 ปี จ�านวน 3,482 คน ร้อยละ 22.35 และช่วงอายุ 30-39 ปี จ�านวน 3,431 คน ร้อยละ 22.02


7

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง แผนภูมิที่ 9 การบรรจุงานจ�าแนกตามรายจังหวัด

จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

กำรบรรจุงำน จ�านวน 12,841 คน โดยจังหวัดทีม่ กี ารบรรจุงาน มากที่สุดได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 2,092 คน ร้อยละ 16.29 รองลงมาคือ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 2,090 คน ร้อยละ 16.28 และ จังหวัดนครสวรรค์ จ�านวน 1,473 คน ร้อยละ 11.47 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จ�านวน 5,202 คน ร้อยละ 40.51 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขาย ในร้านค้าและตลาด จ�านวน 2,458 คน ร้อยละ 19.14 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�านวน 2,130 คน ร้อยละ 16.59 จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต มากทีส่ ดุ จ�านวน 4,408 คน ร้อยละ 34.33 รองลงมาคือ การขายส่ง และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ จ�านวน 3,607 คน

ร้อยละ 28.09 และกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน จ�านวน 868 คน ร้อยละ 6.76 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒกิ ำรศึกษำ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษา มากทีส่ ดุ จ�านวน 5,591 คน ร้อยละ 43.54 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�านวน 3,003 คน ร้อยละ 23.39 และระดับ ปวส. จ�านวน 1,672 คน ร้อยละ 13.02 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 30 - 39 ปี มากที่สุด จ�านวน 4,594 คน ร้อยละ 35.78 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี จ�านวน 2,906 คน ร้อยละ 22.63 และช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�านวน 2,899 คน ร้อยละ 22.58

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ตารางที่ 5 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามรายจังหวัด


8

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ปี 2559 มีโรงงาน ทีข่ ออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 130 แห่ง เงินลงทุน 3,983.07 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 1,597 คน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ปี 2558 พบว่าโรงงานอุตสาหกรรม เงินลงทุน และการจ้างงานลดลง โดยลดลงร้อยละ 17.72 ร้อยละ 52.80 และร้อยละ 33.60 ตามล�าดับ จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดแพร่มโี รงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาต ให้ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 25.38 รองลงมาคือ จังหวัดตาก

ร้อยละ 14.62 และจังหวัดเชียงราย ร้อยละ 11.54 เมื่อพิจารณา ตามการลงทุนจังหวัดตากมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุด ร้อยละ 25.29 รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ์ ร้อยละ 16.93 และจังหวัดแพร่ ร้อยละ 13.39 ส�าหรับการจ้างงานจังหวัดตากมีการจ้างงานมากที่สุด ร้อยละ 27.61 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย ร้อยละ 15.78 และ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 15.40

ตารางที่ 6 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ และเครือ่ งเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตประกอบกิจการ มากทีส่ ดุ ร้อยละ 25.38 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทัว่ ไป ร้อยละ 16.92 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อโลหะ ร้อยละ 16.15 ส�าหรับอุตสาหกรรม ทัว่ ไปมีมลู ค่าการลงทุนมากทีส่ ดุ ร้อยละ 54.86 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม

เกษตรกรรม ร้อยละ 18.27 และอุตสาหกรรมขนส่ง ร้อยละ 7.71 และ เมือ่ พิจารณาตามการจ้างงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีการจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.85 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม ร้อยละ 17.78 และอุตสาหกรรมเครือ่ งแต่งกาย ร้อยละ 15.03


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

9

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ เศรษฐกิจและกำรเงินภำคเหนือในไตรมำสที่ 2 ปี 2559 ทรงตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน โดยแรงขับเคลื่อนส�าคัญยังมาจาก การใช้จา่ ยภาครัฐ การส่งออกชายแดนไปเมียนมาและภาคการท่องเทีย่ ว ทีย่ งั ขยายตัวดี ขณะทีก่ ารบริโภคภาคเอกชนค่อนข้างทรงตัว แม้การใช้จา่ ย ในกลุ่มสินค้าคงทนปรับเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการส่งเสริมการขายและ ออกรถยนต์รนุ่ ใหม่ แต่การบริโภคสินค้าทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�าวันยังลดลง ต่อเนื่องจากก�าลังซื้อของประชาชนในภาคเกษตรที่ยังอ่อนแอ ปัจจัยฉุดรั้งเศรษฐกิจยังมาจากภาคการผลิตทั้งภาคเกษตรที่ได้รับ ผลกระทบมากจากภัยแล้ง และภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการ ส่งออกซึง่ หดตัวเพิม่ ขึน้ สอดคล้องกับการลงทุนภาคเอกชนโดยเฉพาะ ภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังซบเซา แม้จะเริ่มเห็นการลงทุนเพิ่มบ้าง ในบางอุตสาหกรรมแต่ยังไม่เห็นแนวโน้มการลงทุนเพิ่มขึ้นชัดเจน ส�าหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อกลับมาเพิ่มขึ้นบ้างจากราคาอาหารสดเป็นส�าคัญ อั ต ราการว่ า งงานยั ง อยู ่ ใ นระดั บ ต�่ า โดยมี ก ารจ้ า งงานเพิ่ ม ขึ้ น ในภาคบริการและการก่อสร้าง ทัง้ นีผ้ ปู้ ระกอบการในบางอุตสาหกรรม เริ่มน�าเครื่องจักรมาใช้และค่อยๆ ทยอยปรับลดแรงงาน ซึ่งคาดว่า จะไม่ส่งผลกระทบต่อการเลิกจ้างอย่างมีนัยส�าคัญ ด้านเงินฝาก ของธนาคารพาณิชย์ปรับเพิม่ ขึน้ ขณะทีเ่ งินให้สนิ เชือ่ ชะลอลงต่อเนือ่ ง รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือมีดังนี้ กำรใช้จ่ำยของภำครัฐ บทบาทของภาครัฐในการสนับสนุน เศรษฐกิจยังมีต่อเนื่อง สะท้อนจากการใช้จ่ายของภาครัฐเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.7 จากการเร่งเบิกจ่ายโครงการลงทุนตามแผนงานใน งบประมาณปกติจากการก่อสร้างและซ่อมแซมถนนของกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท การพัฒนาแหล่งน�้าเพื่อการเกษตรของ กรมชลประทาน การก่อสร้างอาคารของสถาบันการศึกษาและ โรงพยาบาล รวมถึงเงินอุดหนุนให้กบั ท้องถิน่ เพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ ยังมีเม็ดเงินจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมจากโครงการ ยกระดับศักยภาพหมู่บ้าน ซึ่งคาดว่าจะกระจายสู่ระบบเศรษฐกิจ ในระยะต่อไป ภำคกำรท่องเที่ยว โดยรวมยังขยายตัวดี ส่วนส�าคัญมาจาก นักท่องเทีย่ วต่างชาติโดยเฉพาะชาวจีนทีย่ งั นิยมเดินทางมาท่องเทีย่ ว ในจังหวัดส�าคัญในภาคเหนือตอนบน แม้อัตราขยายตัวจะชะลอ ลงบ้างจากสภาพอากาศทีร่ อ้ นจัด และความกังวลด้านปัญหาหมอกควัน ในช่วงต้นไตรมาส 2 นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวไทยยังเดินทางเข้าร่วม กิจกรรมและประชุมสัมมนาของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่อเนือ่ ง สะท้อนจากทุกเครื่องชี้ส�าคัญเพิ่มขึ้น ได้แก่ จ�านวนเที่ยวบินตรง จ�านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติและผู้โดยสารผ่านด่านท่าอากาศยาน ภาคเหนือ ปริมาณการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มประเภทโรงแรมและ

ภัตตาคาร อัตราเข้าพักของโรงแรมและราคาห้องพักเฉลี่ย กำรอุปโภคบริโภคภำคเอกชน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 โดยการ ใช้จ่ายสินค้าหมวดยานยนต์กลับมาเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายและการเปิดตัวรถยนต์รนุ่ ใหม่ รวมทัง้ สภาพอากาศร้อนจัดและราคาน�้ามันที่ยังอยู่ในระดับต�่าส่งผลให้ การใช้จ่ายในหมวดน�้ามันเชื้อเพลิงและไฟฟ้าเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้จา่ ยสินค้าทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�าวันปรับลดลงต่อเนือ่ ง จากความเชือ่ มัน่ ของผู้บริโภคที่ปรับลดลงและก�าลังซื้อของครัวเรือนทั้งภาคการผลิต และภาคเกษตรยังอ่อนแอ แม้แนวโน้มของรายได้ภาคเกษตรเริม่ มีทศิ ทาง ปรับดีขึ้น ภายหลังภาวะแห้งแล้งเริ่มคลี่คลายลง กำรส่งออก ลดลงเล็กน้อยร้อยละ 0.6 ส่วนส�าคัญมาจาก การส่งออกประเภทชิน้ ส่วนอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ไปจีนและฮ่องกงหดตัว จากภาวะการแข่งขันและเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าส�าคัญที่ชะลอตัว อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคไปเมียนมาขยายตัวดีตอ่ เนือ่ ง ด้านมูลค่าการน�าเข้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18.8 จากการน�าเข้ากระแสไฟฟ้า จาก สปป.ลาว เป็นส�าคัญ ขณะทีก่ ารน�าเข้าวัตถุดบิ และสินค้าขัน้ กลาง เพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส�าหรับส่งออกยังหดตัว รำยได้เกษตรกร หดตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.6 จากผลผลิต สินค้าเกษตรที่หดตัวร้อยละ 21.2 จากผลของภาวะแล้งที่ผ่านมา ส่งผลให้พชื ส�าคัญทัง้ ข้าว ลิน้ จีแ่ ละมันส�าปะหลังลดลงมาก อย่างไรก็ดี ผลผลิตปศุสัตว์ทั้งสุกร ไก่เนื้อและไข่ไก่เพิ่มขึ้นตามความต้องการ บริโภคของตลาดภายในประเทศและการส่งออก ด้านราคาสินค้าเกษตร ปรับดีขึ้นต่อเนื่องจากผลผลิตที่ออกสู่ตลาดลดลง โดยลดลงเหลือ ร้อยละ 1.9 โดยเฉพาะราคาพืชส�าคัญ คือ ข้าวและลิ้นจี่ ส�าหรับ ราคาปศุสัตว์ เช่น สุกรและไข่ไก่ปรับเพิ่มขึ้น ยกเว้นราคาไก่เนื้อยังคง หดตัว ผลผลิตอุตสำหกรรม ลดลงร้อยละ 15.5 จากการแข่งขัน ด้านราคาและเสียส่วนแบ่งตลาดให้คแู่ ข่งขันส่งผลให้การผลิตเพือ่ การ ส่งออกในกลุม่ ส่วนประกอบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์และชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ลดลงเกือบทุกประเภท สินค้าโดยเฉพาะแผงวงจรรวม อีกทัง้ การผลิต สิ่งทอและสินค้าเกษตรแปรรูปทั้งการสีข้าว การแปรรูปผักและผลไม้ ยังลดลง เนือ่ งจากได้รบั ผลกระทบภาวะแห้งแล้ง อย่างไรก็ดี การผลิต เครือ่ งดืม่ และเซรามิกเพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ การผลิตหมวดชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ มีการปรับตัวโดยปรับสายการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและ ความต้องการผลิตภัณฑ์มือถือและอุปกรณ์รถยนต์ที่ทันสมัยขึ้น กำรลงทุนภำคเอกชน ทรงตัวอยู่ในระดับต�่าต่อเนื่อง โดยลดลงร้อยละ 8.8 จากภาวะซบเซาในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และ ภาคการก่อสร้าง ส่วนการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมการผลิตโดยรวม ยังไม่ชัดเจน สะท้อนจากเครื่องชี้การลงทุนส�าคัญยังปรับลดลงทั้ง


10

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

พื้นที่รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาล ยอดขายวัสดุก่อสร้าง และ ยอดการน�าเข้าเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ขณะทีป่ ริมาณจดทะเบียนรถยนต์ เพื่อการพาณิชย์ปรับลดลงจากไตรมาสก่อน เสถียรภำพเศรษฐกิจภำคเหนือ โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อทั่วไปกลับมาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากราคาอาหารสด ทีป่ รับเพิม่ ขึน้ ส่วนราคาน�า้ มันขายปลีกในประเทศยังหดตัว ด้านอัตรา การว่างงานอยู่ในระดับต�่า และปรับลดลงจากไตรมาสก่อนเหลือ ร้อยละ 0.9 โดยมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นในภาคบริการและการก่อสร้าง ขณะที่การใช้มาตรา 75 ในภาคการผลิตผ่อนคลายลง อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการบางส่วน เริ่มน�าเครื่องจักรมาใช้และได้ทยอยปรับลด แรงงาน ซึ่งคาดว่าไม่ส่งผลกระทบต่อการเลิกจ้างอย่างมีนัยส�าคัญ

ภำคกำรเงิน ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2559 สาขาธนาคารพาณิชย์ มียอดคงค้างเงินฝาก 639,888 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 จากเงินฝากออมทรัพย์ของส่วนราชการเป็นส�าคัญ ด้านเงินให้สนิ เชือ่ มียอดคงค้าง 581,120 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 ชะลอลง จากไตรมาสก่อน จากการช�าระหนี้คืนบางส่วนของภาคธุรกิจ ส่วนหนึง่ เป็นการบริหารวงเงินสินเชือ่ ให้สอดคล้องกับปริมาณธุรกรรม ส่งผลให้สนิ เชือ่ ขยายตัวในอัตราชะลอลงทัง้ ภาคค้าปลีกค้าส่ง อุตสาหกรรม การผลิต ก่อสร้าง โรงแรม ภาคเกษตรและสินเชื่ออุปโภคบริโภค ส่วนบุคคล ขณะทีส่ นิ เชือ่ อสังหาริมทรัพย์ยงั หดตัว ทัง้ นี้ สัดส่วนสินเชือ่ ต่อเงินฝากอยู่ที่ร้อยละ 91.3 ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ

การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ แผนภูมิที่ 10 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง 5 วิธี และ Re-entry

คนงานไทยทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ไปท�างานต่างประเทศไตรมาสที่ 2 ปี 2559 จ�านวน 3,700 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ปี 2558 ร้อยละ 1.12 จ�ำแนกตำมวิธกี ำรเดินทำง การเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่ง จ�านวน 2,102 คน ร้อยละ 56.81 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 747 คน ร้อยละ 20.19 การเดินทาง

ด้วยตนเอง จ�านวน 475 คน ร้อยละ 12.84 การเดินทางโดยนายจ้าง พาลูกจ้างไปท�างาน จ�านวน 210 คน ร้อยละ 5.68 และการเดินทาง โดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�านวน 166 คน ร้อยละ 4.49 ส�าหรับ Re-entry ในไตรมาสนี้มีจ�านวน 2,810 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปีที่ผ่านมา จ�านวน 233 คน ร้อยละ 7.68

หมายเหตุ : การแจ้งการเดินทางกลับไปท�างานต่างประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีที่คนหางานเดินทางไปท�างานในต่างประเทศแล้ว เดินทางกลับมาพักผ่อนหรือท�าธุระชั่วคราวที่ประเทศไทยในระหว่างสัญญาจ้าง แล้วกลับไปท�างานกับนายจ้างรายเดิม รวมทั้งกรณีที่ท�างาน ครบก�าหนดตามสัญญาจ้างฉบับเดิมแล้วได้ทา� สัญญาจ้างใหม่กบั นายจ้าง ซึง่ อาจเป็นนายจ้างรายเดิมหรือนายจ้างรายใหม่กไ็ ด้ แล้วจึงเดินทางกลับ มาพักผ่อนหรือท�าธุระที่ประเทศไทย แล้วเดินทางกลับไปท�างานอีก ต้องแจ้งการเดินทางให้กรมการจัดหางานทราบก่อนวันเดินทาง


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

11

แผนภูมิที่ 11 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก จ�านวน (คน)

ประเทศ

จ�ำแนกตำมรำยประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปท�างาน มากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�านวน 1,699 คน ร้อยละ 45.92 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�านวน 571 คน

ร้อยละ 15.43 ประเทศญี่ปุ่น จ�านวน 287 คน ร้อยละ 7.76 ประเทศ อิสราเอล จ�านวน 176 คน ร้อยละ 4.76 และประเทศแอฟริกาใต้ จ�านวน 145 คน ร้อยละ 3.92

แผนภูมิที่ 12 จ�านวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : ส�านักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ

จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปท�างาน ต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�านวน 728 คน ร้อยละ 19.68 รองลงมาคือ จังหวัดสุโขทัย จ�านวน 528 คน

ร้อยละ 14.27 จังหวัดล�าปาง จ�านวน 487 คน ร้อยละ 13.16 จังหวัดตาก จ�านวน 240 คน ร้อยละ 6.49 และจังหวัดก�าแพงเพชร จ�านวน 225 คน ร้อยละ 6.08


12

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ แผนภูมิที่ 13 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาต

คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�างานในภาคเหนือ ณ เดือนมิถนุ ายน 2559 จ�านวน 174,655 คน เมือ่ เปรียบเทียบ ณ เดือนมิถนุ ายน 2558 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.22 จ�ำแนกตำมประเภทที่ได้รับอนุญำตท�ำงำน จ�าแนกเป็น คนต่างด้าว ดังนี้ มาตรา 9 - คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ ร้อยละ 0.001 - คนต่างด้าวประเภททั่วไป ร้อยละ 4.23

- คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติ ร้อยละ 79.80 - คนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU ร้อยละ 5.54 มาตรา 12 - คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน ร้อยละ 0.63 มาตรา 13 - คนต่างด้าวชนกลุ่มน้อย ร้อยละ 9.80

แผนภูมิที่ 14 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามรายจังหวัดที่ได้รับอนุญาตท�างาน จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว

จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงาน ต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�างานมากทีส่ ดุ คือ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 56.46 รองลงมาคือ จังหวัดตาก ร้อยละ 18.36 จังหวัดเชียงราย ร้อยละ 6.50

จังหวัดล�าพูน ร้อยละ 5.50 และจังหวัดเพชรบูรณ์ ร้อยละ 2.75 ตามล�าดับ ส�าหรับจังหวัดน่านมีแรงงานต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�างาน น้อยที่สุด ร้อยละ 0.10


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

13

ข่าวเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559

ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แถลงตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในไตรมาสที่สอง ของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

หมวดค่าตอบแทนแรงงานและหมวดค่าใช้สอยทีช่ ะลอตัวลง โดยขยายตัว ร้อยละ 2.1 และร้อยละ 8.0 ตามล�าดับ ประกอบกับค่าใช้จ่าย สวัสดิการสังคมลดลงร้อยละ 11.0

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2559 ขยายตัว ร้อยละ 3.5 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในไตรมาสแรก และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สอง ของปี 2559 ขยายตัวจากไตรมาสแรก ปี 2559 ร้อยละ 0.8 รวมครึง่ แรก ของปี 2559 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 3.4

กำรลงทุนรวม ขยายตัวร้อยละ 2.7 โดยที่ กำรลงทุนภำครัฐ ยังคงขยายตัวได้ดรี อ้ ยละ 10.4 ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการลงทุนของ รัฐบาลทีข่ ยายตัวต่อเนือ่ งร้อยละ 11.5 และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ที่ขยายตัวร้อยละ 8.2 ในขณะที่ กำรลงทุนภำคเอกชน ขยายตัว ร้อยละ 0.1 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการลงทุนในสิ่งก่อสร้างที่หดตัวร้อยละ 2.1 ในขณะที่ การลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรยังขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 0.7 ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ท่ีระดับ 50.0 เทียบกับระดับ 49.4 ในไตรมาสก่อนหน้า

ด้ำนกำรใช้จ่ำย มีปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเร่งขึ้น ของการใช้จา่ ยภาคครัวเรือน การส่งออกบริการ และการลงทุนภาครัฐ ขยายตัวดีตอ่ เนือ่ ง ในขณะทีก่ ารส่งออกสินค้าลดลงตามการชะลอตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศคูค่ า้ โดย กำรใช้จำ่ ยภำคครัวเรือน ขยายตัว ร้อยละ 3.8 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเร่งขึน้ ของรายจ่ายบริโภคสินค้า คงทนโดยเฉพาะปริมาณการจ�าหน่ายรถยนต์นงั่ ทีข่ ยายตัวเป็นครัง้ แรก ในรอบ 13 ไตรมาส ที่ร้อยละ 4.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 26.6 ในไตรมาสก่อนหน้าส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการเปิดตัวรถยนต์รนุ่ ใหม่ ในขณะทีก่ ารใช้จา่ ยในหมวดสินค้าอืน่ ๆ ขยายตัวต่อเนือ่ งสอดคล้องกับ การปรับตัวดีขึ้นของรายได้ครัวเรือนภาคเกษตร และการด�าเนิน มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐ ความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคเกีย่ วกับ ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมอยู่ที่ระดับ 61.1 กำรใช้จ่ำยเพื่อกำรอุปโภค ของรัฐบำล ขยายตัวร้อยละ 2.2 ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับการขยาย ตัวร้อยละ 8.0 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากทั้งการใช้จ่าย

ด้านภาคต่างประเทศ กำรส่งออกสินค้ำ มีมูลค่า 51,029 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา (สรอ.) ลดลงร้อยละ 3.1 ต่อเนือ่ งจากการลดลง ร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เนือ่ งจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศคู่ค้า และการลดลงของราคาสินค้าส่งออก โดยปริมาณ การส่งออกลดลงร้อยละ 2.3 และราคาสินค้าส่งออกลดลงร้อยละ 0.8 สินค้ำส่งออกทีล่ ดลง เช่น ข้าว ยางพารา มันส�าปะหลัง ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ และปิโตรเคมี เป็นต้น สินค้ำส่งออกทีข่ ยำยตัว เช่น รถยนต์นั่ง เครื่องปรับอากาศ กุ้ง ปู กั้ง และล๊อบสเตอร์ เป็นต้น การส่งออกไปตลาดสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลียขยายตัว แต่การ ส่งออกไปสหสภาพยุโรป จีน ญีป่ นุ่ และอาเซียนลดลง เมือ่ หักการส่งออก ทองค�าที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 5.0


14

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ในขณะที่การส่งออกในรูปเงินบาทมีมูลค่า 1,801 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.8 เทียบกับการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7.7 ในไตรมาสก่อนหน้า การน�าเข้าสินค้ามีมลู ค่า 41,282 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 7.8 ซึ่งเป็นผลจากการลดลงของทั้งปริมาณและราคาน�าเข้า ด้ำนกำรผลิต สาขาโรงแรมและภัตตาคาร และสาขาก่อสร้าง ขยายตัวสูงต่อเนื่อง การผลิตสาขาอุตสาหกรรมกลับมาขยายตัว ภาคเกษตรปรับตัวดีขนึ้ เนือ่ งจากสถานการณ์ภยั แล้งผ่อนคลายลงและ ราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้รายได้เกษตรกรกลับมาขยายตัว เป็นครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส โดย สำขำเกษตรกรรม ลดลง เล็กน้อยที่ร้อยละ 0.1 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้งที่ผ่อนคลายลง โดยผลผลิตมันส�าปะหลังขยายตัว ส�าหรับราคาสินค้าเกษตรโดยรวม เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส่งผลให้รายได้ เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 (ในไตรมาสนี้ ราคาสินค้าเกษตรและ รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 10 ไตรมาส) สำขำ อุตสำหกรรม กลับมาขยายตัวร้อยละ 2.0 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ การลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของ การผลิตอุตสาหกรรมส�าคัญโดยกลุ่มอุตสาหกรรมที่ขยายตัว เช่น เครื่องจักร และอุปกรณ์ (โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ) ยาสูบ และยานยนต์ เป็นต้น ในขณะที่ กลุ่มอุตสำหกรรมที่ลดลง เช่น เครื่องแต่งกาย ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ และเครื่องจักรส�านักงาน เป็นต้น อัตราการใช้ก�าลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 64.4 เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 63.6 ในช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า สำขำกำรก่อสร้ำง ขยายตัวร้อยละ 7.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 11.2 ในไตรมาส ก่อนหน้า โดยเฉพาะการก่อสร้างภาครัฐขยายตัวสูงต่อเนือ่ งร้อยละ 15.5 (การก่อสร้างของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจขยายตัวสูงร้อยละ 15.8 และร้อยละ 14.7 ตามล�าดับ) เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 17.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะทีก่ ารก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 2.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.0 ในไตรมาสแรก สำขำโรงแรม และภัตตำคำร ขยายตัวสูงร้อยละ 12.7 ต่อเนื่องจากการขยายตัว ร้อยละ 15.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยจ�านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ อยูท่ ี่ 7.6 ล้านคน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.2 ซึง่ เป็นการเพิม่ ขึน้ ของนักท่องเทีย่ ว จากเกือบทุกภูมิภาค ยกเว้น โอเชียเนีย จ�านวนนักท่องเที่ยวสูงสุด

5 อันดับแรก ในไตรมาสนี้ ประกอบด้วย นักท่องเทีย่ วจากจีน มาเลเซีย อินเดีย ลาว และญี่ปุ่น ตามล�าดับ ในขณะที่รายรับจากการท่องเที่ยว อยู่ที่ 387.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 14.7 และอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 58.3 ลดลง เล็กน้อยจากร้อยละ 58.4 ในช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า เสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจยังอยูใ่ นเกณฑ์ดี โดยทีอ่ ตั ราการว่างงานยังอยูใ่ นระดับต�า่ ที่ ร้อยละ 1.1 อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปเฉลีย่ ร้อยละ 0.3 และบัญชีเดินสะพัด เกินดุล 295,314 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.5 ของ GDP  แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2559 เศรษฐกิจไทยในปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.0 - 3.5 เร่งขึน้ จากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในปี 2558 ซึง่ เป็นการคงประมาณ การจากการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 โดยมีปัจจัย สนับสนุนจากการใช้จ่ายและการลงทุนของภาครัฐที่อยู่ในเกณฑ์สูง ต่อเนื่องจากปี 2558 โดยในครึ่งปีหลังคาดว่าจะมีเม็ดเงินภาครัฐ (งบประมาณประจ�าปี งบเหลื่อมปี และงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ) เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจอีกประมาณ 1,645,476.4 ล้านบาท ในขณะที่ ความคืบหน้าการด�าเนินโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานส�าคัญๆ มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้นแรงขับเคลื่อนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของภาครัฐทีป่ ระกาศเพิม่ เติมในเดือนกันยายน 2558 - เมษายน 2559 ซึ่งคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจในครึ่งปีหลัง อีกประมาณ 100,488 ล้านบาท จ�านวนนักท่องเที่ยวที่มีแนวโน้ม ขยายตัวต่อเนื่องราคาน�้ามันยังมีแนวโน้มจะทรงตัวอยู่ในระดับต�่า ซึง่ จะช่วยลดต้นทุนการผลิตของภาคธุรกิจและเอือ้ อ�านวยให้สามารถ ด�าเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายได้อย่างต่อเนือ่ ง และส่งผลดีตอ่ ก�าลังซือ้ ทีแ่ ท้จริงของภาคเอกชน การปรับตัวดีขน้ึ ของรายได้ครัวเรือนภาคการเกษตร ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากสถานการณ์ภัยแล้งที่ผ่อนคลายลง และ การปรับตัวดีขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส�าคัญ ทั้งนี้ ในองค์ประกอบ การขยายตัว คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าจะลดลงร้อยละ 1.9 การบริโภคของครัวเรือนและการลงทุนรวมขยายตัว ร้อยละ 2.7 และ ร้อยละ 3.3 ตามล�าดับ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ในช่วงร้อยละ 0.1-0.6 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 9.8 ของ GDP ที่มา : ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

15

เวทีประชุมนานาชาติ การยกระดับก�าลังคนของไทย : ทางออกจากกับดักรายได้ปานกลาง

ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ ส�านักงาน ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จัดเวทีประชุมนานาชาติเรือ่ ง การยกระดับ ก�าลังคนของไทย : ทางออกจากกับดักรายได้ปานกลาง เพือ่ หาแนวทาง ร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน และชุมชน ในการยกระดับฝีมอื ทักษะ แรงงานรุ่นใหม่ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคเศรษฐกิจ โดย สสค. ในฐานะหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี ตามแผนสร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ เพื่อลดความเหลื่อมล�้าและ เพือ่ รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในพืน้ ทีน่ า� ร่องเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 จังหวัด คือ ตาก ตราด หนองคาย และสระแก้ว หม่อมหลวงปุณฑริก สมิติ ปลัดกระทรวงแรงงำน ประธาน เปิดงานได้น�าเสนอตัวเลขล่าสุดของส�านักงานสถิติแห่งชาติ ระบุว่า ประเทศไทยมีจ�านวนประชากรวัยแรงงานตั้งแต่อายุ 15 - 59 ปี จ�านวนทัง้ สิน้ 39 ล้านคน แต่มแี รงงานเพียง 11 ล้านคน ทีเ่ ป็นแรงงาน ในระบบหากสามารถดึงแรงงานนอกระบบที่เหลือคืนสู่ระบบก็จะ สร้างรายได้เพิม่ ให้ประเทศ ฉะนัน้ การพัฒนาทักษะฝีมอื แรงงานจ�าเป็น ต้องมองภาพทั้งสองด้านคือภาพแรงงานในระบบและนอกระบบ ไปพร้อมกัน และเชือ่ มต่อกับภาพรวมด้านการพัฒนาทักษะฝีมอื แรงงาน และการผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อหาแนวทางที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถหลุดพ้นจากกับดัก ประเทศรายได้ปานกลางไป รัฐบาลได้ผลักดันกฎหมายสองฉบับทีส่ ามารถน�ามาประยุกต์ใช้ คือ

1. พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2545 ซึ่งส่งเสริมให้ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป พัฒนาฝีมือลูกจ้างแรงงานของตน โดยให้สิทธิประโยชน์ด้าน การลดหย่อนภาษี 2. พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการมีงานท�าทีอ่ ยูร่ ะหว่างการผลักดัน ทีก่ า� หนดให้นกั เรียนระดับชัน้ ม.3 และชัน้ ม.6 ก่อนจบการศึกษาหรือ ก่อนทีจ่ ะต้องเลือกสายการเรียนต่อให้เข้ารับการทดสอบความสามารถ เพื่อแนะอาชีพที่ตนเองถนัดเพื่อน�าไปเป็นแนวทางเลือกศึกษาต่อ หรือท�างานในอนาคต และก�าหนดให้นายจ้างแต่ละกลุ่มธุรกิจ และ อุตสาหกรรมแจ้งความต้องการแรงงานมายังกระทรวงแรงงาน ทั้งจ�านวนคนที่ต้องการ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และทักษะที่ขาด ต้องการ โดยกระทรวงแรงงานจะน�าข้อมูลมาวางแผนผลิตก�าลังคน รองรับตลาดแรงงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้รัฐบาลยัง ส่งเสริมให้ภาคเอกชนจัดท�าหลักสูตรทวิภาคี ให้แรงงานรุ่นใหม่ ที่ยังศึกษาเข้าฝึกงานเรียนรู้งานกับองค์กร โดยผู้ประกอบการจะได้ สิทธิประโยชน์ภาษี ในขณะเดียวกันแรงงานรุ่นใหม่ก็มีความพร้อม ในทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นตลาดแรงงานขนาดใหญ่ที่สุดของไทยในปัจจุบัน นำยแพทย์สุภกร บัวสำย ผู้จัดกำร สสค. กล่าวว่า แนวโน้ม ของแรงงานรุน่ ใหม่ทเี่ ข้าสูก่ ารท�างานกับผูป้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชน ขนาดกลางและขนาดย่อมมีจ�านวนสูงขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จึงต้องหาวิธีการให้โรงเรียนผลิตบุคลากรที่ตอบโจทย์ความต้องการ ของตลาดแรงงาน และน�าไปสู่การพัฒนาฝีมือแรงงานและการเรียนรู้ ตลอดชีวติ เพราะแรงงานคือ “ทุน” ส�าคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทย


16

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

จึงเป็นที่มาในการประชุมระดับความคิดเห็นโดยผลการประชุมจะ พัฒนาเป็นแนวทางการท�างานที่ส�าคัญและอยู่บนฐานความรู้สากล ทั้งนี้หากประเทศไทยสามารถสังเคราะห์ยุทธศาสตร์ในการท�างาน ในตลาด SMEs ได้ก็จะน�าไปสู่การขยายผลในการท�างานร่วมกัน ให้สอดคล้องกับความต้องการของนายจ้าง แรงงานและตรงตาม นโยบายรัฐบาล มร.แอนเดรียส ชไลเชอร์ ผูอ้ ำ� นวยกำรฝ่ำยกำรศึกษำและทักษะ ขององค์กำรเพือ่ ควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจและกำรพัฒนำ หรือ (โออีซดี )ี กล่าวว่าจากผลการส�ารวจทักษะผู้ใหญ่ (Survey on Adults Skills) อายุ 16 - 59 ปี ในกลุ่มประเทศสมาชิกจ�านวน 24 ประเทศ พบว่า แนวโน้มตลาดแรงงานโลกจะให้ความส�าคัญกับแรงงานทีม่ ที กั ษะ ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การรูจ้ กั คิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การสือ่ สาร และการประสานความร่วมมือ รวมถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิก ได้แก่ ความไม่ย่อท้อ ความสามารถในการปรับตัว ความใคร่รู้ เป็นต้น มากกว่าการศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยต้องจัดการศึกษาให้เกิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิตและการฝึกอบรมให้ตรงกับสาขาวิชาชีพ ส�าหรับ ประเทศไทย นอกจากทักษะของบุคลากรที่จบมาไม่สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด ภาคการผลิตของประเทศส่วนใหญ่ยัง ผลิตสินค้าราคาถูก ใช้แรงงานฝีมอื ไม่สงู และค่าจ้างถูก ซึง่ จะส่งผลกระทบ ต่อความสามารถทางการแข่งขันของไทย ถือเป็นโจทย์ใหญ่ที่ทุกฝ่าย ไม่วา่ จะเป็นภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน และประชาชนจ�าเป็น ต้องคิดและหาทางออกร่วมกัน และควรวิเคราะห์ปัญหาให้ชัดเจนว่า การศึกษาและการพัฒนาทักษะท�าให้เกิดผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจและ สังคมได้อย่างไร เพื่อช่วยให้ประเทศไทยสามารถหลุดจากกับดัก รายได้ปานกลาง นำงสำวอกิโกะ ซำกำโมโตะ ผู้เชี่ยวชำญด้ำนทักษะและ กำรจ้ำงงำนจำกองค์กรแรงงำนระหว่ำงประเทศ (ไอแอลโอ) ได้นา� เสนอ ผลการส�ารวจผูป้ ระกอบการในอาเซียน จ�านวน 4,076 ราย และนักเรียน นักศึกษาในวิทยาลัยอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัยต่างๆ ในอาเซียน จ�านวน 2,747 คน โดยในตลาดแรงงานอาเซียนพบว่าแรงงานที่เพิ่ง เข้าสูต่ ลาดแรงงานกลับมีทกั ษะไม่ตา่ งจากแรงงานทีก่ า� ลังเกษียณ และ พบว่าในยุคการท�างานทีม่ คี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสงู กลุม่ แรงงาน ผู้หญิงและกลุ่มที่มีการศึกษาต�่าจะได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก หากไม่มีการพัฒนาทักษะ นอกจากนี้จากการส�ารวจแรงงานรุ่นใหม่ (อายุ 18 - 24 ปี) ของไทยมีความสนใจงานด้านข้อมูล และเทคโนโลยี การสื่อสาร การจัดการการเงิน และด้านศิลปะบันเทิง โจทย์ส�าคัญจึง อยู่ที่ว่าจะสร้างการเรียนรู้อย่างไรให้สอดรับกับทักษะที่ตลาดโลก ต้องการ ซึง่ ในปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสงู แต่ทักษะของบัณฑิตและผู้จบการศึกษาในประเทศกลุ่มอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย และประเทศกัมพูชากลับสวนทาง ดร.ไมค์ วำย เค กู อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยแห่งชำติผิงตุง ไต้หวัน กล่าวว่า ประเทศไทยซึ่งแรงงานและประชากรส่วนใหญ่ อยู่ในภาคเกษตรกรรมระดับความสามารถด้านการผลิต และ

การบริหารจัดการโดยการใช้เกษตรกรรมฐานความรู้ (Knowledge-based Agriculture) และมีทักษะด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีได้เช่นเดียวกับ ไต้หวัน “เมือ่ 60 ปีทแี่ ล้วไต้หวันเคยเป็นประเทศทีม่ ภี าคเกษตรขนาด ใหญ่ซงึ่ ไม่แตกต่างจากประเทศไทย แต่การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ที่เน้นอุตสาหกรรมไฮเทค ส่งผลให้ภาคเกษตรปรับตัวอย่างมากโดย เปลี่ยนจากการท�าเกษตรที่มุ่งสร้างความมั่นคงทางอาหาร เป็นเรื่อง อาหารปลอดภัย คุณภาพทางโภชนาการ การผลิตที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาชนบท และการรักษาระบบนิเวศและสิง่ แวดล้อม โดยถึงแม้วา่ จีดีพีภาคเกษตรจะลดลงจากร้อยละ 30 ในปี 2493 เป็นร้อยละ 2 ในปี 2558 และจ�านวนเกษตรกรลดลงจากร้อยละ 50 ในปี 2493 เหลือร้อยละ 6 - 10 ในปี 2558 แต่ก็ท�าให้เกษตรกรจ�านวนดังกล่าว มีรายได้สูงขึ้นมาก เพราะใช้ ICT, GIS, GPS, เทคโนโลยีชีวภาพ เข้ามาช่วยในงานเกษตรกรรม” ดร.เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว คณบดีคณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กล่าวว่าผลงานวิจัยที่ท�าร่วมกับ สสค. ในการศึกษาตลาดแรงงานและผู้ประกอบการภาคธุรกิจเอสเอ็มอี น�าร่องในพื้นที่ 3 จังหวัด (เชียงใหม่ ตราด และภูเก็ต) จะพบว่าสิ่งที่ ผู้ประกอบการไทยให้ความส�าคัญกับวุฒิของลูกจ้างเรียงตามล�าดับ คือ ทักษะทางอาชีพ ท�างานร่วมกับผูอ้ นื่ ได้ ความซือ่ สัตย์ และวุฒกิ ารศึกษา อย่างไรก็ตามพบว่าบ้านเรายังมีชอ่ งว่างทางทักษะของแรงงานทีส่ งู มาก และเมือ่ มองไปยังตลาดเอสเอ็มอี แม้วา่ จะมีสดั ส่วน 1 ใน 3 ของเศรษฐกิจ ภาพรวมของไทย ยังพบด้วยว่าร้อยละ 35 ของเอสเอ็มอีไทยจะไปไม่รอด ภายใน 3 ปี เพราะผู้ประกอบการไม่มีความพร้อมทางเศรษฐกิจ และ ในกลุ่มของเอสเอ็มอีที่อยู่รอดร้อยละ 65 จะมีเพียงแค่ร้อยละ 7 - 8 ที่จะโตขึ้น แต่ที่เหลืออาจจะต้องใช้ไม่น้อยกว่า 7 - 8 ปี ที่จะเติบโต และมีขีดความสามารถในการแข่งขัน สัดส่วนที่โตขึ้นน้อยกว่า ประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซียถึง 3 เท่า ดร.เสำวณี จันทะพงษ์ ผู้เชี่ยวชำญอำวุโสฝ่ำยนโยบำย เศรษฐกิจกำรเงิน ธนำคำรแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ประเทศไทย ก�าลังเผชิญปัญหาการลดลงของผลิตภาพและก�าลังแรงงาน โดยจาก การศึกษาโครงสร้างตลาดแรงงานพบว่า ภาพรวมการเติบโตของ ผลิตภาพแรงงานใน 3 ภาคเศรษฐกิจ (บริการ การผลิต และการเกษตร) ของไทยในช่วง 40 ปีลดลง โดยปัจจุบนั การเติบโตของผลิตภาพแรงงาน ภาคบริการต�่ากว่าภาคเกษตร และผลิตภาพแรงงานภาคการผลิต มีสงู ทีส่ ดุ เพือ่ ให้สามารถก้าวข้ามการติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ไทยต้องเร่งปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจมูลค่า (Value - based Economy) ที่เน้นการผลิตสินค้าและบริการ ที่ใช้เทคโนโลยี การวิจัยพัฒนา และนวัตกรรมใหม่ๆ และ ภาคบริการ ส่วนในด้านแรงงานควรมีการพัฒนาให้เรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ เพือ่ ปิดช่องว่างทักษะ ทัง้ นีค้ วรส่งเสริมให้มี “มาตรฐานฝีมอื ตามวิชาชีพ” ให้แก่แรงงานนอกระบบที่ไม่มีทักษะ และเพิ่มขีดความสามารถของ ผู้ประกอบการทั้งประสิทธิภาพด้านก�าไรและต้นทุน ที่มา : ส�านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)


อ�านวยการจัดท�า

นางสาวหรรษา โอเจริญ ผู้อ�านวยการกองวิจัยตลาดแรงงาน

คณะผู้จัดท�า นายฤชุชัย โปธา ว่าที่ ร.ต.หญิงดรุณี จันทร์มล นายภาณุศาสตร์ โฮมภิรมย์ นางสาวมณีวรรณ เสมอใจ นางฮาดีก๊ะห์ จ�าปาทอง นางสาวพรนิสา เทพวงค์ นายจักรกฤษณ์ ขันทะพงษ์ นายณัฐพร ก่อเกิดวงศ์ นางสาวคัทธิยา ฟูเจริญสุข นายธิติ ศรีมาทา

หัวหน้าศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง นักวิชาการแรงงานช�านาญการ นักวิชาการแรงงานช�านาญการ เจ้าพนักงานแรงงานช�านาญงาน เจ้าพนักงานแรงงานช�านาญงาน พนักงานธุรการ ส ๒ พนักงานขับรถยนต์ ส ๒ เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่กรมการจัดหางาน ข้อ ๑. ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม และเสมอภาค ข้อ ๒. ให้บริการด้วยความเต็มใจ รวดเร็ว และประทับใจ ข้อ ๓. มีมนุษยสัมพันธ์ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย ข้อ ๔. พัฒนาตนเองและหน่วยงาน สรรค์สร้างสังคม ข้อ ๕. ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีของหน่วยงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.