วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 2 ปี 2560

Page 1


ศาสตรแหงพระราชา

หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร

ระเบิดจากขางใน พระองคทรงมุง เนน เรือ่ งการพัฒนาคน ทรงตรัสวา “ตองระเบิดจากขางใน” หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนทีเ่ ราเขาไปพัฒนาใหมี สภาพพรอมทีจ่ ะรับการพัฒนาเสียกอน แลวจึงคอยออกมาสูส งั คมภายนอก มิใชการนําเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบ า น ที่ยังไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว


สารบัญ... Content

...........

หนา

บรรณาธิการ บทสรุป ประชากรและกําลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงาน ภาวะการลงทุน การไปทํางานตางประเทศ การทํางานของคนตางดาว ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน

ก-ข 1 6 9 10 12 13

ขาวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่ 2 ของป 2560 และแนวโนมป 2560 บทความ : เรื่อง การเตรียมความพรอมทักษะแรงงานไทยในอนาคต กรณีกลุมอุตสาหกรรมศักยภาพ First S-Curve

14 17

Editor’s Talk...

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ป 2560 จัดทําขึ้นเพื่อใหทราบถึงขอมูลประชากรและ กําลังแรงงาน (ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน การไปทํางานตางประเทศ การทํางาน ของคนตางดาว ภาวะเศรษฐกิจการเงิน ขาวเศรษฐกิจและสังคม และบทความพิเศษเรือ่ ง การเตรียมความพรอมทักษะแรงงานไทย ในอนาคต กรณีกลุม อุตสาหกรรมศักยภาพ First S-Curve เอกสารฉบับนีส้ าํ เร็จไดดว ยความเอือ้ เฟอ ขอมูลจากสํานักงานสถิตแิ หงชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กองบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ สํานักบริหารแรงงานตางดาว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ขอขอบคุณทุกหนวยงานที่ไดใหการเอื้อเฟอขอมูล และหวังเปนอยางยิ่งวา ขอมูลเหลานีจ้ ะเปนประโยชนทงั้ หนวยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ นีส้ ามารถสืบคนขอมูลไดทางเวบไซต www.nlmi-lp.com หากทาน มีขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการจัดทําครั้งตอไปขอไดโปรดติดตอโดยตรงที่ ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ ศูนยราชการชั้น 3 ถนนวชิราวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง 52000 หรือแจงทางโทรศัพทไดที่ หมายเลข 0-5426-5050 หรือชองทางสือ่ สารโดย e-mail : lm_lpg@live.com และ Facebook : lmi.lampang ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ สิงหาคม 2560


บทสรุป สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ป 2560 ประชากรและกําลังแรงงาน ประชากรภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ป 2560 ประมาณ 11.40 ลานคน เปนประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไปรอยละ 83.26 จําแนก เปนผูอยูในกําลังแรงงาน รอยละ 55.72 ประกอบดวยผูมีงานทํา รอยละ 54.46 ผูวางงาน รอยละ 0.64 และผูที่รอฤดูกาล รอยละ 0.62 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ป 2559 พบวาประชากร ลดลง รอยละ 0.37 ผูม งี านทําเพิม่ ขึน้ รอยละ 0.01 เปนผูม งี านทํา จําแนกประเภทอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร และการประมงมากที่สุด รอยละ 36.95 จําแนกตามประเภท อุตสาหกรรมโดยเปนผูทํางานภาคเกษตรกรรม รอยละ 41.82 และภาคนอกเกษตรกรรม รอยละ 58.18 จําแนกตามระดับการ ศึกษาทีส่ าํ เร็จสวนใหญสาํ เร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษา และไมมีการศึกษาสูงถึง รอยละ 53.87 จําแนกตามสถานภาพ การทํางานสวนใหญทํางานสวนตัวโดยไมมีลูกจาง รอยละ 36.47 และจําแนกตามชัว่ โมงการทํางานตอสัปดาหเปนผูม งี านทําระหวาง 35 - 49 ชั่วโมงตอสัปดาห รอยละ 57.96 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชัว่ โมงขึน้ ไปตอสัปดาห รอยละ 22.72 (ผูม งี านทํา 35 - 50 ชัว่ โมง ตอสัปดาห รอยละ 80.68 โดยบุคคลเหลานี้เปนผูที่ทํางานเต็มที่ ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน)

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ภาวะการวางงาน ผูวางงานเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกัน ของชวงปทผี่ า นมารอยละ 33.72 โดยจังหวัดเชียงใหมเปนจังหวัด ทีม่ ผี วู า งงานมากทีส่ ดุ รอยละ 19.01 สาเหตุทวี่ า งงานมากเนือ่ งจาก สภาวะอากาศแหงแลงทําใหไมเอือ้ อํานวยตอการทําเกษตรกรรม

ภาวะตลาดแรงงาน นายจางแจงความตองการแรงงานจํานวน 15,337 อัตรา ผูสมัครงานที่ลงทะเบียนจํานวน 8,537 คน และบรรจุงาน ไดจํานวน 13,662 คน ความตองการแรงงาน และการบรรจุงาน เพิ่มขึ้นรอยละ 11.68 และรอยละ 6.39 สําหรับผูสมัครงานลดลง รอยละ 45.21


ภาวะเศรษฐกิจการเงิน

ภาวะการลงทุน โรงงานทีไ่ ดรบั อนุญาตใหประกอบกิจการจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ป 2560 จํานวน 126 แหง เงินลงทุน 2,278.39 ลานบาท และเกิดการจางงาน 2,505 คน จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมโี รงงานทีไ่ ดรบั อนุญาต ใหประกอบกิจการมากที่สุด รอยละ 16.67 รองลงมาคือ จังหวัด เชียงใหม รอยละ 11.90 และจังหวัดลําพูน รอยละ 11.11 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมทั่วไป เปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาต ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ รอยละ 18.25 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน รอยละ 15.87 และอุตสาหกรรมไม และผลิตภัณฑจากไม รอยละ 11.11

การไปทํางานตางประเทศ คนงานไทยที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าตไปทํ า งานต า งประเทศ ไตรมาสที่ 2 ป 2560 จํานวน 3,568 คน ลดลงจากไตรมาสเดียวกัน ของชวงปทผี่ า นมารอยละ 3.57 และเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดสงสูงสุด รอยละ 47.65 สําหรับประเทศไตหวันเปนประเทศ ที่มีแรงงานเดินทางไปมากถึงรอยละ 41.45 และสวนใหญ จังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุด รอยละ 22.20

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 2 ป 2560 แถลงโดยธนาคารแหงประเทศไทย สาขาภาคเหนือ ปรับดีขนึ้ จาก ไตรมาสกอน โดยภาคเศรษฐกิจทีป่ รับดีขนึ้ ไดแก ภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะผลผลิตขาวนาปรังเพิ่มขึ้นมากและออยโรงงาน เลือ่ นการเก็บเกีย่ วในไตรมาสนี้ ผลผลิตอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ เชนกัน จากวัตถุดิบการเกษตรเพิ่มขึ้นขางตน ทําใหปริมาณการสีขาว และผลผลิตนํา้ ตาลเพิม่ ขึน้ รวมถึงการผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส ขยายตัวไดตอ เนือ่ ง ตามความตองการของตลาดเอเชียและเยอรมนี ภาคการทองเทีย่ วขยายตัวจากจํานวนนักทองเทีย่ วจีนเพิม่ ตอเนือ่ ง ดานการลงทุนภาคเอกชนแมปรับดีขนึ้ แตยงั ไมชดั เจน โดยในสวนที่ เพิ่มขึ้นเปนการนําเขา เครื่องจักรของธุรกิจผลิตเพื่อสงออก เปนสําคัญ ดานการใชจา ยภาคเอกชนยังไมเขมแข็ง แมมกี ารเพิม่ ขึน้ ของสินคาคงทนจากยอดจดทะเบียนยานพาหนะเพิ่มขึ้น แตยอด ขายสินคาในชีวติ ประจําวันยังฟน ตัวชา อยางไรก็ดใี นสวนของการ ใชจายลงทุนภาครัฐยังตํ่ากวาเปาหมาย และการสงออกหลักของ ภาคเหนือ ไดแก การคาผานดานชายแดนไปสหภาพเมียนมา และ สปป.ลาว หดตัว สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปของ ภาคเหนือยังอยูในเกณฑดี พิจารณาจากอัตราการวางงานอยูใน ระดับตํ่า เงินเฟอลดลงจากราคาผักผลไม เนื้อสัตว ขาว และแปง ลดลง รวมถึงราคานํา้ มันเชือ้ เพลิงชะลอตัว ยอดคงคางเงินใหสนิ เชือ่ ของสาขาธนาคารพาณิชยในภาคเหนือหดตัวเล็กนอย ขณะที่ ยอดคงคางเงินฝากชะลอตัว เศรษฐกิจไทย แถลงโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ขยายตัวรอยละ 3.7 เรงขึ้นจาก การขยายตัวรอยละ 3.3 ในไตรมาสกอนหนา และเมื่อปรับผล ของฤดูกาลออกแลวเศรษฐกิจไทยไตรมาส ที่ 2 ของป 2560 ขยายตัวจากไตรมาสที่ผานมารอยละ 1.3

การทํางานของคนตางดาว คนตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางานคงเหลือ ณ เดือนมิถนุ ายน 2560 จํานวน 141,682 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ เดือนมิถนุ ายน 2559 ลดลงรอยละ 18.88 คนตางดาวมาตรา 9 ประเภทคน ตางดาวพิสจู นสญ ั ชาติไดรบั อนุญาตทํางานมากทีส่ ดุ รอยละ 58.54 สวนใหญจังหวัดเชียงใหมมีแรงงานตางดาวที่เขามาทํางานสูงสุด รอยละ 53.60 สําหรับจังหวัดนานมีแรงงานตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาต ทํางานนอยที่สุดรอยละ 0.19

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ประชากรและกําลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรและกําลังแรงงานในภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ป 2560 11,400,320 คน

9,492,177 คน

1,908,143 คน 5,047,896 คน 3,139,753 คน

721,114 คน

6,352,424 คน

944,257 คน 1,474,382 คน

6,281,635 คน

6,209,020 คน

70,789 คน

72,615 คน

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ อัตราการวางงาน = ผูวางงาน*100/กําลังแรงงาน = รอยละ 1.14

ตารางที่ 1 ประชากรจําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน

ประชากรไตรมาสที่ 2 ป 2560 ประมาณ 11.40 ลานคน เปนผูอ ยูใ นกําลังแรงงานรวมประมาณ 6.35 ลานคน รอยละ 55.72 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด และผูไมอยูในกําลังแรงงาน รวมถึงผูม อี ายุตาํ่ กวา 15 ป ประมาณ 5.05 ลานคน รอยละ 44.28 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ ยูใ นกําลังแรงงานรวม จํานวน 6,352,424 คน ประกอบดวย ผูม งี านทํา รอยละ 54.46 ผูว า งงาน รอยละ 0.64 และผูท รี่ อฤดูกาล รอยละ 0.62

1

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ผูไมอยูในกําลังแรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป) จํานวน 3,139,753 คน ประกอบดวย แมบา น ทํางานบาน รอยละ 8.28 นักเรียน นิสิต นักศึกษา รอยละ 6.33 และอื่นๆ เชน เด็ก คนชรา ผูปวย ผูพิการจนไมสามารถทํางานได รอยละ 12.93 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 2 ป 2559 พบวาประชากร ลดลง รอยละ 0.37 ผูมีงานทําและผูวางงานเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้น รอยละ 0.01 และรอยละ 33.72 สําหรับอัตราการวางงานเพิม่ ขึน้ จากรอยละ 0.86 เปนรอยละ 1.14


แผนภูมิที่ 2 ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ ผูม งี านทําประมาณ 6.21 ลานคน ทํางานในอาชีพผูป ฏิบตั งิ าน ทีม่ ฝี ม อื ในดานการเกษตรและการประมงมากทีส่ ดุ รอยละ 36.95

รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาด รอยละ 18.18 และอาชีพขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขายและ การใหบริการ รอยละ 14.00 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ

แผนภูมิที่ 3 ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

2


ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผูทํางานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.60 ลานคน รอยละ 41.82 ไดแก อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การปาไมและการประมง สําหรับผูทํางานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.61 ลานคน

รอยละ 58.18 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายสง และการขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนตมากทีส่ ดุ รอยละ 14.98 รองลงมาคือ การผลิต รอยละ 10.20 และการกอสราง รอยละ 8.06 นอกนั้นกระจายอยูในอุตสาหกรรมอื่นๆ

ตารางที่ 2 ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูม งี านทําสวนใหญสาํ เร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษา และไมมีการศึกษาสูงถึง รอยละ 53.87 รองลงมาคือ ระดับ มัธยมศึกษา รอยละ 28.90 ระดับอุดมศึกษา รอยละ 16.84

อื่นๆ ไดแกบุคคลที่สําเร็จการศึกษาที่ไมสามารถเทียบชั้นได รอยละ 0.30 และผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา รอยละ 0.09 ตามลําดับ

หมายเหตุ 1. ไมมกี ารศึกษา หมายถึง บุคคลทีไ่ มเคยเขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรบั การศึกษา 2. อืน่ ๆ หมายถึง บุคคลทีส่ าํ เร็จการศึกษา ทีไ่ มสามารถเทียบชัน้ ได 3. ผูม งี านทําไมทราบวุฒกิ ารศึกษา หมายถึง ไมพบตัวผูใ หสมั ภาษณ/คนใหขอ มูลไมรขู อ มูล

3

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


แผนภูมิที่ 4 ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน

ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน

ผูมีงานทําสวนใหญทํางานสวนตัวโดยไมมีลูกจาง รอยละ 36.47 รองลงมาคือ ทํางานในฐานะลูกจาง รอยละ 42.30 (ในจํานวนนี้เปนลูกจางเอกชน รอยละ 29.31 และลูกจางรัฐบาล

รอยละ 10.99) ชวยธุรกิจในครัวเรือนโดยไมไดรับคาจาง รอยละ 21.19 นายจาง รอยละ 1.99 สําหรับการรวมกลุมมีเพียง รอยละ 0.04 ของผูมีงานทําทั้งหมด

หมายเหตุ การรวมกลุม * หมายถึง กลุม คนทีม่ ารวมกันทํางานโดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ พึง่ ตนเอง และชวยเหลือซึง่ กันและกัน สมาชิกแตละคนมีความเทาเทียมกัน ในการกําหนดการทํางานทุกขัน้ ตอนไมวา เปนการลงทุน การขาย งานอืน่ ๆ ของกิจการทีท่ าํ ตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามทีต่ กลงกัน (การรวมกลุม ดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตัง้ ในรูปของสหกรณหรือไมกไ็ ด)

แผนภูมิที่ 5 ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูม งี านทําระหวาง 35-49 ชัว่ โมงตอสัปดาห รอยละ 57.96 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห รอยละ 22.72 หรือกลาวไดวาผูมีงานทํา รอยละ 80.68 ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมง ขึ้นไปตอสัปดาห และอาจจัดวาบุคคลเหลานี้เปนผูทํางานเต็มที่ ในเรือ่ งชัว่ โมงการทํางาน ขณะทีผ่ ทู าํ งานนอยกวา 35 (1-34) ชัว่ โมง

ตอสัปดาหเปนผูทํางานไมเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน รอยละ 17.45 ของผูมีงานทําทั้งสิ้น สําหรับผูที่ไมไดทํางาน ในสัปดาหสํารวจ (ระหวาง 7 วันกอนวันสัมภาษณ) แตเปนผูมี งานประจําซึ่งถือวาสัปดาหการสํารวจไมมีชั่วโมงการทํางาน (0 ชั่วโมง) มีเพียงรอยละ 1.88

หมายเหตุ 1. ชั่วโมงทํางาน หมายถึง จํานวนชั่วโมงทํางานจริงทั้งหมดในระหวาง 7 วันกอนวันสัมภาษณ บุคคลที่มีอาชีพมากกวา 1 อาชีพ จะรวมจํานวน ชั่วโมง ทํางานทุกอาชีพ 2. 0 ชั่วโมง หมายถึง ผูที่ปกติมีงานประจําแตในสัปดาหการสํารวจไมไดทํางาน อาจเนื่องมาจากหยุดพักผอน ลาปวย เปนตน

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

4


แผนภูมิที่ 6 ผูวางงานจําแนกตามรายจังหวัด

ภาวะการวางงาน

จํานวนผูวางงานประมาณ 72,615 คน เมื่อเปรียบเทียบ กับไตรมาสที่ 2 ป 2559 เพิ่มขึ้นรอยละ 33.72 จังหวัดที่มี ผูวางงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดเชียงใหมซึ่งเปนจังหวัดที่มี ผูว า งงานมากทีส่ ดุ รอยละ 19.01 เนือ่ งจากสภาวะอากาศแหงแลง

ทําใหไมเอื้ออํานวยตอการทําเกษตรกรรม รองลงมาคือ จังหวัดกําแพงเพชร รอยละ 10.08 จังหวัดนครสวรรค รอยละ 9.57 จังหวัดพิษณุโลก รอยละ 9.24 และจังหวัดสุโขทัย รอยละ 7.27 สําหรับจังหวัดแมฮองสอนมีผูวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.29

ตารางที่ 3 อัตราการวางงานจําแนกรายจังหวัด

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ 1. ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแตละจํานวนอาจไมเทากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของขอมูลแตละจํานวนซึ่ง ไดจากการประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

5

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

2. อัตราการวางงาน = ผูวางงาน x 100 ผูอยูในกําลังแรงงาน


อัตราการวางงาน

จํานวนอัตราการวางงานไตรมาสที่ 2 ป 2560 เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสที่ 2 ป 2559 เพิม่ ขึน้ จากรอยละ 0.86 เปนรอยละ 1.14 จังหวัดทีม่ อี ตั ราการวางงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดกําแพงเพชร

มีอัตราการวางงานมากที่สุด รอยละ 1.66 รองลงมาคือ จังหวัดอุตรดิตถ รอยละ 1.59 จังหวัดสุโขทัย รอยละ 1.57 จังหวัดพะเยา รอยละ 1.55 และ จังหวัดลําพูน รอยละ 1.43 สําหรับ จังหวัดแมฮอ งสอนมีอตั ราการวางงานนอยทีส่ ดุ รอยละ 0.19

แผนภูมิที่ 7 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน

ภาวะตลาดแรงงาน สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของสํานักงาน จัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือไตรมาส 2 ป 2560 นายจาง แจงความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จํานวน 15,337 อัตรา ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 8,537 คน และสามารถบรรจุงานได จํานวน 13,662 คน เมื่อเปรียบเทียบ กับไตรมาส 2 ป 2559 ความตองการแรงงาน และการบรรจุงาน เพิ่มขึ้นโดยเพิ่มขึ้นรอยละ 11.68 และรอยละ 6.39 สําหรับ ผูสมัครงานลดลงรอยละ 45.21

ผูส มัครงานทีไ่ ดรบั การบรรจุงาน ปรากฏวาในไตรมาสนี้ มีการบรรจุงานมากกวาผูส มัครงานเนือ่ งจากในชวงของแตละเดือน ทีผ่ า นมานายจางสถานประกอบการไมไดแจงผลการบรรจุงาน ตามระยะเวลาที่กําหนด และนายจางสถานประกอบการ บางรายอาจจะใชเวลาในการพิจารณาคุณสมบัตขิ องผูส มัครงาน จึงเกิดความลาชาจึงยกยอดมาในไตรมาสนี้

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

6


แผนภูมิที่ 8 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จําแนกตามรายจังหวัด

ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) จํานวน 15,337 อัตรา โดยจังหวัดทีม่ คี วามตองการแรงงานมากทีส่ ดุ ไดแก จังหวัดลําปาง จํานวน 2,669 อัตรา รอยละ 17.40 รองลงมาคือ จังหวัดสุโขทัย จํานวน 1,813 อัตรา รอยละ 11.82 และ จังหวัดเชียงใหม จํานวน 1,403 อัตรา รอยละ 9.15 จําแนกตามประเภทอาชีพไดแก อาชีพงานพื้นฐาน มากที่สุด จํานวน 5,673 อัตรา รอยละ 36.99 รองลงมา คือ พนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 3,146 อัตรา รอยละ 20.51 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 2,529 อัตรา รอยละ 16.49 จําแนกตามอุตสาหกรรมไดแก อุตสาหกรรมการผลิต มากที่สุด จํานวน 4,929 อัตรา รอยละ 32.14 รองลงมาคือ

การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และจักรยานยนต จํานวน 4,845 อัตรา รอยละ 31.59 และกิจกรรมการบริหาร และบริการสนับสนุน จํานวน 965 อัตรา รอยละ 6.29 จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษาไดแก ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จํานวน 4,917 อัตรา รอยละ 32.06 รองลงมาคือ ระดับประถมศึกษาและตํา่ กวา จํานวน 2,658 อัตรา รอยละ 17.33 และระดับ ปวช. จํานวน 2,281 อัตรา รอยละ 14.87 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 18 - 24 ป มากที่สุด จํานวน 6,240 อัตรา รอยละ 40.69 รองลงมาคือ ชวงอายุ 25 - 29 ป จํานวน 3,579 อัตรา รอยละ 23.34 และ ชวงอายุ 30 - 39 ป จํานวน 2,707 อัตรา รอยละ 17.65

แผนภูมิที่ 9 ผูสมัครงานจําแนกตามรายจังหวัด

7

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


ผูส มัครงาน จํานวน 8,537 คน โดยจังหวัดทีม่ ผี สู มัครงาน มากทีส่ ดุ ไดแก จังหวัดเชียงราย จํานวน 1,382 คน รอยละ 16.19 รองลงมาคือ จังหวัดลําปาง จํานวน 966 คน รอยละ 11.32 และ จังหวัดอุทยั ธานี จํานวน 847 คน รอยละ 9.92 จําแนกตามประเภทอาชีพไดแก อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จํานวน 2,200 คน รอยละ 25.77 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 2,068 คน รอยละ 24.22 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 1,865 คน รอยละ 21.85

จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒกิ ารศึกษาไดแก ระดับมัธยมศึกษา มากทีส่ ดุ จํานวน 3,494 คน รอยละ 40.93 รองลงมาคือ ระดับ ปริญญาตรี จํานวน 2,875 คน รอยละ 33.68 และระดับ ปวส. จํานวน 938 คน รอยละ 10.99 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 18 - 24 ป มากทีส่ ดุ จํานวน 4,188 คน รอยละ 49.06 รองลงมาคือ ชวงอายุ 25 - 29 ป จํานวน 1,816 คน รอยละ 21.27 และชวงอายุ 30 - 39 ป จํานวน 1,342 คน รอยละ 15.72

แผนภูมิที่ 10 การบรรจุงานจําแนกตามรายจังหวัด

การบรรจุงาน จํานวน 13,662 คน โดยจังหวัดที่มี การบรรจุงานมากที่สุดไดแก จังหวัดลําปาง จํานวน 2,582 คน รอยละ 18.90 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 1,725 คน ร อ ยละ 12.63 และจั ง หวั ด สุ โขทั ย จํ า นวน 1,511 คน รอยละ 11.06 จําแนกตามประเภทอาชีพ ไดแก อาชีพงานพื้นฐาน มากทีส่ ดุ จํานวน 5,397 คน รอยละ 39.50 รองลงมาคือ พนักงาน บริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 2,928 คน รอยละ 21.43 และเสมียน เจาหนาที่ จํานวน 2,173 คน รอยละ 15.91 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมไดแก อุตสาหกรรม การผลิตมากที่สุด จํานวน 4,783 คน รอยละ 35.01 รองลงมา

คือ การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และจักรยานยนต จํานวน 4,137 คน รอยละ 30.28 และกิจกรรมการบริหารและ บริการสนับสนุน จํานวน 891 คน รอยละ 6.52 จําแนกประเภทอาชีพตามวุฒิการศึกษาไดแก ระดับ มัธยมศึกษามากทีส่ ดุ จํานวน 5,728 คน รอยละ 41.93 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี จํานวน 3,539 คน รอยละ 25.90 และระดับ ปวส. จํานวน 1,772 คน รอยละ 12.97 จําแนกประเภทอาชีพตามชวงอายุไดแก ชวงอายุ 30-39 ป มากที่สุด จํานวน 4,382 คน รอยละ 32.07 รองลงมา คือ ชวงอายุ 18-24 ป จํานวน 3,392 คน รอยละ 24.83 และ ชวงอายุ 25-29 ป จํานวน 3,269 คน รอยละ 23.93

ทีม่ า : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน หมายเหตุ อาชีพงานพืน้ ฐาน (Elementary Occupations) ผูป ฏิบตั งิ านอาชีพในหมวดใหญไดแก ผูท ที่ าํ งานเรียบงายและเปนประจําหรือทําซํา้ ๆ หากมีการใช เครือ่ งมือก็จะเปนเครือ่ งมือแบบใชมอื ถือ ไมซบั ซอนและใชแรงกาย อาชีพในหมวดนีร้ วมถึงผูข ายสินคาและใหบริการตามทองถนน ทีส่ าธารณะ บริการ ทําความสะอาด ซักลาง รีดผา ดูแลบานพักหองเชา โรงแรม สํานักงานและอาคารสิง่ ปลูกสรางตางๆ บริการรับสงขอมูล เอกสาร ขนสัมภาระ เฝาประตู ยามรักษาการณในสถานทีต่ า งๆ กวาดถนน ขนขยะ รวมถึงการปฏิบตั งิ านเรียบงายในอุตสาหกรรมตางๆ เชน อุตสาหกรรมการเกษตร ประมง ลาสัตว เหมืองแร กอสราง การผลิตและประกอบสินคาดวยมือ รวมทัง้ การขับเคลือ่ นยานพาหนะดวยแรงกาย เชน รถเข็น สามลอถีบ เปนตน

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

8


ภาวะการลงทุน ตารางที่ 4 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการจําแนกตามรายจังหวัด จํานวนโรงงาน (แหง) จังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นาน นครสวรรค พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม

ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 ป 2560 ป 2559 9 5 15 10 6 2 2 5 7 8 21 2 5 14 4 11 0 126

6 15 13 19 3 4 1 3 2 5 33 1 9 3 5 4 4 130

เงินลงทุน (ลานบาท)

การจางงาน (คน)

194.85 51.84 275.87 185.40 517.08 -64.14 333.25 241.85 37.79 216.80 1,007.23 -78.48 54.26 2.86 1,797.20 215.00 94.20 128.24 28.70 4.00 617.50 262.50 107.90 143.28 82.34 110.70 -25.62 18.94 674.40 -97.19 19.44 533.19 -96.35 5.00 1.15 100.00 222.92 146.20 52.48 359.23 307.00 17.01 29.05 64.22 -54.76 50.71 71.10 -28.68 0.00 48.15 -100.00 2,278.39 3,983.07 -42.80

60 129 241 814 51 178 11 36 122 28 123 9 251 334 38 80 0 2,505

เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ไตรมาสที ่ 2 ไตรมาสที ่ 2 ไตรมาสที ่ 2 ไตรมาสที ่ 2 รอยละ รอยละ รอยละ ป 2560 ป 2559 ป 2560 ป 2559 50.00 -66.67 15.38 -47.37 100.00 -50.00 100.00 66.67 250.00 60.00 -36.36 100.00 -44.44 366.67 -20.00 175.00 -100.00 -3.08

การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 2 ป 2560 มีโรงงานที่ ขออนุญาตประกอบกิจการใหม 126 แหง เงินลงทุน 2,278.39 ลานบาท และเกิดการจางงาน 2,505 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่ 2 ป 2559 พบวาจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมลดลง รอยละ 3.08 เงินลงทุนลดลงรอยละ 42.80 และการจางงานเพิ่ม ขึ้นรอยละ 56.86

9

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

31 252 246 441 12 57 4 68 50 43 139 8 107 48 35 24 32 1,597

93.55 -48.81 -2.03 84.58 325.00 212.28 175.00 -47.06 144.00 -34.88 -11.51 100.00 134.58 595.83 8.57 233.33 -100.00 56.86

จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับ อนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 16.67 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม รอยละ 11.90 และจังหวัดลําพูน รอยละ 11.11 เมือ่ พิจารณาตามการลงทุนจังหวัด จังหวัดลําพูนมีมลู คาการลงทุน มากที่สุดรอยละ 15.77 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม รอยละ 14.63 และจังหวัดพิจติ ร รอยละ 11.52 สําหรับการจางงานจังหวัด ตากมีการจางงานมากที่สุด รอยละ 32.50 รองลงมาคือ จังหวัด ลําพูน รอยละ 13.33 และจังหวัดลําปาง รอยละ 10.02


ตารางที่ 5 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานทีไ่ ดรบั อนุญาตใหประกอบกิจการจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนโรงงาน (แหง)

ประเภทอุตสาหกรรม

เงินลงทุน (ลานบาท) การจางงาน (คน) เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด เพิ่ม/ลด ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 รอยละ ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 รอยละ ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 รอยละ ป 2560 ป 2559 ป 2560 ป 2559 ป 2560 ป 2559

เกษตรกรรม

9

12

-25.00

448.51

727.61

-38.36

206

284

-27.46

อาหาร

11

13

-15.38

300.51

170.77

75.97

246

127

93.70

เครื่องดื่ม

1

1

0.00

9.50

5.35

77.57

6

10

-40.00

เครื่องแตงกาย

1

2

-50.00

8.93

9.30

-3.98

251

240

4.58

ไมและผลิตภัณฑจากไม

14

3

366.67

81.50

4.62

1,664.07

240

10

2,300.00

เฟอรนเิ จอรและเครือ่ งเรือน

20

33

-39.39

27.33

32.29

-15.36

129

157

-17.83

เคมี

1

3

100.00

14.04

149.50

100.00

17

55

100.00

ผลิตภัณฑปโ ตรเลียม

6

4

50.00

158.00

106.30

48.64

33

24

37.50

ผลิตภัณฑพลาสติก

4

2

100.00

122.69

52.10

135.49

250

25

900.00

ผลิตภัณฑอโลหะ

13

21

-38.10

153.29

159.45

-3.86

81

137

-40.88

ผลิตภัณฑซอมแซมโลหะ

4

5

-20.00

42.10

37.41

12.54

25

57

-56.14

เครื่องจักรกล

3

1

200.00

46.58

36.20

28.67

35

9

288.89

ไฟฟา

3

0

100.00

111.74

0.00

100.00

296

0

100.00

ขนสง

13

8

62.50

372.85

307.20

21.37

224

145

54.48

ทั่วไป

23

22

4.55

380.82

2,184.97

-82.57

466

317

47.00

126

130

-3.08

2,278.39 3,983.07 -42.80

2,505

1,597

56.86

รวม ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรม ทั่วไปเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการ มากที่สุดรอยละ 18.25 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร และเครือ่ งเรือน รอยละ 15.87 และอุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑ จากไม รอยละ 11.11 สําหรับอุตสาหกรรมเกษตรกรรมมีมูลคา

การลงทุนมากที่สุด รอยละ 19.69 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ทัว่ ไป รอยละ 16.71 และอุตสาหกรรมขนสง รอยละ 16.36 และ เมื่อพิจารณาตามการจางงานอุตสาหกรรมทั่วไปมีการจางงาน มากทีส่ ดุ รอยละ 18.60 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมไฟฟา รอยละ 11.82 และอุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย รอยละ 10.02

การไปทํางานตางประเทศ คนงานไทยทีไ่ ดรบั อนุญาตใหไปทํางานตางประเทศไตรมาส ที่ 2 ป 2560 จํานวน 3,568 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ป 2559

รอยละ 3.57 สําหรับ Re-entry ในไตรมาสนี้มีจํานวน 2,935 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 2 ป 2559 จํานวน 134 คน รอยละ 4.78

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

10


แผนภูมิที่ 11 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกวิธีการเดินทาง 5 วิธี

หมายเหตุ การแจงการเดินทางกลับไปทํางานตางประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีทคี่ นหางานเดินทางไปทํางานในตางประเทศแลวเดินทางกลับมาพักผอน หรือทําธุระชั่วคราวที่ประเทศไทยในระหวางสัญญาจาง แลวกลับไปทํางานกับนายจางรายเดิม รวมทั้งกรณีที่ทํางานครบกําหนด ตามสัญญาจางฉบับเดิมแลวไดทําสัญญาจางใหมกับนายจาง ซึ่งอาจเปนนายจางรายเดิมหรือนายจางรายใหมก็ได แลวจึงเดินทางกลับมา พักผอนหรือทําธุระทีป่ ระเทศไทย แลวเดินทางกลับไปทํางานอีก ตองแจงการเดินทางใหกรมการจัดหางานทราบกอนวันเดินทาง

แผนภูมิที่ 12 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก

แผนภูมทิ ี่ 13 จํานวนคนหางานทีไ่ ดรบั อนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ เปรียบเทียบไตรมาสที่ 2 ป 2560 และไตรมาสที่ 2 ป 2559

11

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ


แผนภูมิที่ 14 จังหวัดที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก

ที่มา : กองบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ

การทํางานของคนตางดาว แผนภูมิที่ 15 จํานวนคนตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในภาคเหนือ

คนตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในภาคเหนือ ณ เดือน มิถุนายน 2560 จํานวน 141,682 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือน มิถุนายน 2559 ลดลงรอยละ 18.88 จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน จําแนกเปน คนตางดาว ดังนี้ มาตรา 9 - คนตางดาวประเภทตลอดชีพ รอยละ 0.002 - คนตางดาวประเภททั่วไป รอยละ 5.36

มาตรา 12 มาตรา 13 มาตรา 14 -

คนตางดาวพิสูจนสัญชาติ รอยละ 58.54 คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU รอยละ 10.44 คนตางดาวประเภทสงเสริมการลงทุน รอยละ 0.82 คนตางดาวชนกลุมนอย รอยละ 23.37 คนตางดาวที่เขามาทํางานในลักษณะ ไป-กลับ หรือตามฤดูกาล รอยละ 1.47

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

12


แผนภูมิที่ 16 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามรายจังหวัดที่ไดรับอนุญาตทํางาน

ที่มา : สํานักบริหารแรงงานตางดาว

จําแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเปนรายจังหวัด แรงงานตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางาน 5 อันดับแรกดังนี้ จังหวัด เชียงใหม รอยละ 53.60 รองลงมาคือ จังหวัดตาก รอยละ 12.81

จังหวัดเชียงราย รอยละ 8.71 จังหวัดลําพูน รอยละ 7.83 และ จังหวัดพิษณุโลก รอยละ 3.27 ตามลําดับ สําหรับจังหวัดนาน มีแรงงานตางดาวทีไ่ ดรบั อนุญาตทํางานนอยทีส่ ดุ รอยละ 0.19

ภาวะเศรษฐกิจและการเงิน ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือไตรมาส 2 ป 2560 ปรับดีขนึ้ จากไตรมาสกอน โดยภาคเศรษฐกิจทีป่ รับดีขนึ้ ไดแก ภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะผลผลิตขาวนาปรังเพิ่มขึ้นมากและออยโรงงานเลื่อนการ เก็บเกีย่ วในไตรมาสนี้ ผลผลิตอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ เชนกัน จากวัตถุดบิ การเกษตรเพิม่ ขึน้ ขางตน ทําใหปริมาณการสีขา วและผลผลิตนํา้ ตาลเพิม่ ขึน้ รวมถึงการผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสขยายตัวไดตอ เนือ่ ง ตามความตองการ ของตลาดเอเชียและเยอรมนี ภาคการทองเทีย่ วขยายตัวจากจํานวน นักทองเทีย่ วจีนเพิม่ ตอเนือ่ ง ดานการลงทุนภาคเอกชนแมปรับดีขนึ้ แตยงั ไมชดั เจน โดยในสวนทีเ่ พิม่ ขึน้ เปนการนําเขาเครือ่ งจักรของธุรกิจ ผลิตเพื่อสงออกเปนสําคัญ ดานการใชจายภาคเอกชนยังไมเขมแข็ง แมมีการเพิ่มขึ้นของสินคาคงทนจากยอดจดทะเบียนยานพาหนะ เพิ่มขึ้น แตยอดขายสินคาในชีวิตประจําวันยังฟนตัวชา อยางไรก็ดี ในสวนของการใชจา ยลงทุนภาครัฐยังตํา่ กวาเปาหมาย และการสงออก หลักของภาคเหนือ ไดแก การคาผานดานชายแดนไปสหภาพเมียนมา และ สปป.ลาว หดตัว สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปของ ภาคเหนือยังอยูใ นเกณฑดี พิจารณาจากอัตราการวางงานอยูใ นระดับตํา่ เงินเฟอลดลงจากราคาผักผลไม เนือ้ สัตว ขาวและแปงลดลง รวมถึง ราคานํา้ มันเชือ้ เพลิงชะลอตัว ยอดคงคางเงินใหสนิ เชือ่ ของสาขาธนาคาร พาณิชยในภาคเหนือหดตัวเล็กนอย ขณะทีย่ อดคงคางเงินฝากชะลอตัว รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือมีดงั นี้ รายไดเกษตรกร เพิม่ ขึน้ มากรอยละ 64.0 จากระยะเดียวกัน ปกอ น สวนสําคัญมาจากผลผลิตสินคาเกษตรเพิม่ ขึน้ ถึงรอยละ 72.9 เนื่องจากผลผลิตขาวนาปรังเพิ่มขึ้นกลับสูระดับปรกติจากฐานตํ่า

13

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ในปกอน และออยโรงงานสวนหนึ่งเลื่อนเก็บเกี่ยวชวงปลายฤดู มาชวงไตรมาสนี้ รวมถึงผลผลิตปศุสัตวทั้ง ไกเนื้อและไขไกเพิ่มขึ้น อยางไรก็ดรี าคาสินคาเกษตรสวนใหญตาํ่ กวาปกอ น ทําใหดชั นีราคา สินคาเกษตรหดตัวรอยละ 5.3 ตามราคาขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลัง และลําไย ปรับลดลงจากผลผลิตเพิม่ ขึน้ ยกเวนราคาออย ปรับสูงขึ้นตามราคานํ้าตาลในตลาดโลก ผลผลิตอุตสาหกรรม ขยายตัวรอยละ 10.9 จากระยะเดียวกัน ปกอน โดยเปนการเพิ่มของผลผลิตหมวดอาหารเปนสําคัญ ไดแก ผลผลิตการสีขา วและสินคาเกษตรแปรรูปสอดคลองกับผลผลิตเกษตร ทีใ่ ชเปนวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ ผลผลิตนํา้ ตาลเพิม่ ขึน้ จากปนโี้ รงงานเปดหีบลาชา ทําใหผลผลิตบางสวนเลื่อนมาผลิตในไตรมาสนี้ ในสวนของผลผลิต อุตสาหกรรมอื่น ไดแก ผลผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสและเลนสเพื่อ สงออกปรับตัวดีขนึ้ โดยเฉพาะประเภทแผงวงจรรวมทีใ่ ชใน smartphone ชิ้นสวนอุปกรณเซ็นเซอรในรถยนตและเครื่องใชไฟฟาภายในบาน โดยไดอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจคูคาสําคัญ อยางไรก็ตาม ในสวนของการผลิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล และเซรามิกยังปรับตัวลดลง ภาคการทองเทีย่ ว ขยายตัวดีกวาทีค่ าดไว แมอยูน อกฤดูกาล ทองเที่ยว สวนสําคัญจากจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ โดยเฉพาะ นักทองเทีย่ วจีนและภูมภิ าคอืน่ เพิม่ ขึน้ โดยเครือ่ งชีก้ ารทองเทีย่ วสําคัญ สูงกวาระยะเดียวกันปกอ น ไดแก จํานวนผูโ ดยสารผานทาอากาศยาน ในภาคเหนือ จํานวนเทีย่ วบินตรงสูท า อากาศยานภาคเหนือ จํานวน นักทองเทีย่ วตางชาติผา นดานตรวจคนเขาเมืองเชียงใหม อัตราการเขาพัก ของทีพ่ กั แรม ภาษีมลู คาเพิม่ หมวดโรงแรมและภัตตาคารสอดคลองกับ ยอดสินเชือ่ ทีใ่ หแก ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารเพิม่ ขึน้


การลงทุนภาคเอกชน เพิม่ ขึน้ รอยละ 2.5 โดยปรับดีขน้ึ ในบาง กลุม ธุรกิจ ไดแก การลงทุนในภาคการผลิตเพิม่ ขึน้ พิจารณาจากการนํา เขาเครือ่ งจักรและอุปกรณผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสและแปรรูปเกษตร เพือ่ สงออก ยอดจดทะเบียนรถยนตเชิงพาณิชยเพือ่ ใชในธุรกิจขนสงและ การคา ขณะทีเ่ ครือ่ งชีน้ าํ ภาคการกอสรางขยายตัวในหมวดพืน้ ทีไ่ ดรบั อนุญาตกอสรางประเภทอพารทเมนท อาคารพาณิชยและโรงแรม อยางไร ก็ตามเครือ่ งชีภ้ าวะอสังหาริมทรัพยยงั ซบเซา โดยยอดคงคางสินเชือ่ ธนาคารพาณิชยทใี่ หแกผปู ระกอบการอสังหาริมทรัพยยงั หดตัว สะทอน จากการเปดโครงการอสังหาริมทรัพยใหมมนี อ ยลง ขณะทีย่ อดคงคาง สินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ าศัยชะลอลงจากไตรมาสกอน การบริโภคภาคเอกชน เพิม่ ขึน้ เล็กนอยรอยละ 0.8 จากระยะ เดียวกันปกอ น สวนสําคัญมาจากการเพิม่ ขึน้ ของสินคาคงทน โดยเฉพาะ ในหมวดยานพาหนะทีผ่ จู าํ หนายเรงสงเสริมการขายในกลุม หลักๆ ไดแก ผูม รี ายไดประจําและภาคธุรกิจ ขณะทีย่ อดขายสินคาในชีวติ ประจําวัน ยังหดตัว โดยเฉพาะหมวดเครือ่ งดืม่ หดตัวตอเนือ่ ง อยางไรก็ดสี นิ คาหมวด ของใชในครัวเรือน เครือ่ งใชสว นตัว และขนมขบเคีย้ ว ปรับดีขนึ้ เล็กนอย ในชวงปลายไตรมาส ทัง้ นีก้ ารบริโภคโดยรวมยังฟน ตัวชา สะทอนถึง กําลังซือ้ ครัวเรือนยังมีไมตอ เนือ่ ง ผลของรายไดภาคเกษตรแมดขี นึ้ แตยงั ไมเพียงพอ เนือ่ งจากคาใชจา ยในครัวเรือน ทัง้ ดานการศึกษาบุตร และ ภาระการชําระหนีย้ งั สูง รวมถึงสินเชือ่ ในหมวดอุปโภคทัว่ ไปจากสถาบัน การเงินมีความระมัดระวังขึน้ การใชจา ยงบลงทุนภาครัฐ การใชจา ยของภาครัฐแผวลงกวาคาด โดยลดลงรอยละ 25.5 จากคาใชจา ยเงินอุดหนุนใหกบั ทองถิน่ ลดลง รวมถึงโครงการกอสรางระบบถนนของกรมทางหลวงและกรมทางหลวง ชนบทเบิกจายนอยลง หลังจากเรงเบิกจายไปมากในชวงไตรมาสแรก ของปงบประมาณ นอกจากนี้ โครงการของกลุมจังหวัดสวนใหญ อยูร ะหวางขัน้ ตอนการจัดซือ้ จัดจาง

มูลคาการสงออก ลดลงรอยละ 1.1 จากระยะเดียวกันปกอ น โดยมูลคาหลักๆ มาจากการลดลงของยอดสงออกสินคาชายแดน ไปสหภาพเมียนมาในหมวดสินคาประเภทโทรศัพทพรอมอุปกรณ เครือ่ งจักรกลการเกษตร และนํา้ ตาลทราย ประกอบกับการสงออกสินคา อุปโภคบริโภค สุกรมีชวี ติ และรถยนตบรรทุกไป สปป.ลาวก็ลดลงเชนกัน เนือ่ งจากทางการจีนเขมงวดการนําเขาสินคาผานชองทางนี้ มากขึน้ อยางไรก็ดีการสงออกชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสไปตลาดเอเชีย และเยอรมนีขยายตัวดีจากเศรษฐกิจประเทศคูคาสําคัญปรับดีขึ้น ดานมูลคาการนําเขา เพิม่ ขึน้ รอยละ 30.1 จากการนําเขากระแสไฟฟา จาก สปป. ลาว และการนําเขาวัตถุดบิ และสินคาขัน้ กลางเพิม่ ขึน้ เพือ่ นําไปผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสสง ออก เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ โดยทั่วไปยังอยูในเกณฑดี อัตราการวางงานขยับขึน้ เล็กนอยแตยงั อยูใ นระดับตํา่ เพียงรอยละ 1.14 อัตราเงินเฟอทัว่ ไปลดลงเล็กนอยรอยละ 0.3 จากราคาผักผลไม เนือ้ สัตว ขาว และแปงปรับลดลงจากภาวะอากาศเอื้ออํานวยทําใหปริมาณ ผลผลิตเกษตรเพิม่ ขึน้ ประกอบกับผลของฐานสูงจากภาวะแลงในปกอ น รวมถึงราคานํา้ มันเชือ้ เพลิงชะลอตัว ภาคการเงิน ณ สิน้ ไตรมาส 2 ป 2560 สาขาธนาคารพาณิชย ในภาคเหนือมียอดคงคางเงินใหสินเชื่อ 579,822 ลานบาท หดตัว รอยละ 0.2 โดยมากหดตัวในภาคเหนือตอนลาง ภาคธุรกิจทีส่ นิ เชือ่ หดตัว ไดแก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย ขนสง ธุรกิจการเงิน และภาคเกษตรกรรม ขณะทีส่ นิ เชือ่ คาปลีกคาสง กอสราง อุตสาหกรรม และสินเชือ่ สวนบุคคล ขยายตัวเล็กนอย อยางไรก็ดี สินเชือ่ ธุรกิจโรงแรม และบริการสุขภาพ ขยายตัวดีใกลเคียงไตรมาสกอน สอดคลองกับกิจกรรมทองเที่ยว ทีย่ งั ขยายตัวดี ดานยอดคงคางเงินฝากมี 647,452 ลานบาท ชะลอลง เหลือรอยละ 1.2 ทัง้ นี้ สัดสวนสินเชือ่ ตอเงินฝากเทากับรอยละ 88.6 ใกลเคียงกับไตรมาสกอน ทีม่ า : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ

ขาวเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่ 2 ของป 2560 และแนวโนมป 2560 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2 ของป 2560 ขยายตัวรอยละ 3.7 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 3.3 ใน ไตรมาสกอนหนา และเมื่อ ปรับผลของฤดูกาลออกแลว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2 ของป 2560 ขยายตัวจาก ไตรมาสที่ 1 ของป 2560 รอยละ 1.3 รวมครึ่งแรก ของป 2560 เศรษฐกิจไทยขยายตัวรอยละ 3.5 ดานการใชจาย มีปจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเรงขึ้น ของการสงออกสินคาและบริการ และการใชจา ยภาครัฐบาล รวมทัง้ การขยายตัวตอเนือ่ งของการบริโภคภาคเอกชน และการปรับตัวดีขนึ้ ของการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่การลงทุนภาครัฐปรับตัวลดลง การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวในเกณฑดีรอยละ 3.0 ตอเนื่องจาก

การขยายตัวรอยละ 3.2 ในไตรมาสกอนหนา โดยมีปจ จัยสนับสนุน จากการปรับตัวดีขนึ้ ของรายไดครัวเรือนภาคเกษตร ภาคการสงออก และภาคการทองเที่ยว สอดคลองกับการขยายตัวของปริมาณ การจําหนายรถยนตนงั่ ปริมาณการจําหนายรถจักรยานยนต และดัชนี ภาษีมลู คาเพิม่ หมวดโรงแรมและภัตตาคาร (ราคาคงที)่ รอยละ 13.9 รอยละ 8.2 และรอยละ 6.5 ตามลําดับ ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค เกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมอยูที่ระดับ 64.3 การใชจายเพื่อ การอุปโภคของรัฐบาลเพิม่ ขึน้ รอยละ 2.7 ปรับตัวดีขนึ้ จากการขยายตัว รอยละ 0.3 ในไตรมาสกอนหนา การลงทุนรวมขยายตัวรอยละ 0.4 โดยการลงทุนภาคเอกชนกลับมาขยายตัวรอยละ 3.2 ปรับตัวดีขึ้น

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

14


จากการลดลงรอยละ 1.1 ในไตรมาสกอนหนา เปนผลมาจากการลงทุน ในหมวดเครือ่ งมือเครือ่ งจักรขยายตัวรอยละ 3.2 และ การลงทุนในหมวด กอสรางขยายตัวรอยละ 3.1 ในขณะทีก่ ารลงทุนภาครัฐลดลงรอยละ 7.0 โดยการลงทุนของรัฐบาลลดลงรอยละ 18.2 สอดคลองกับการลดลง ของการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนรอยละ 17.7 และอัตรา การเบิกจายรอยละ 14.3 เทียบกับเปาหมายทีก่ าํ หนดไวรอ ยละ 22.0 โดยสวนหนึง่ เปนผลมาจากการเรงเบิกจายในชวงกอนหนา ในขณะที่ การเบิกจายจากงบประมาณรายจายเพิม่ เติมยังอยูใ นระยะแรกของ การดําเนินการ ซึง่ มีแนวโนมทีจ่ ะเรงตัวขึน้ และสนับสนุนการขยายตัว ทางเศรษฐกิจมากขึน้ ในชวงครึง่ ปหลัง สวนการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ขยายตัวรอยละ 20.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 17.0 ในไตรมาสแรก ดานภาคตางประเทศ การสงออกสินคามีมลู คา 56,145 ลานดอลลาร สรอ. ขยายตัวสูงและเรงขึน้ จากรอยละ 6.8 ในไตรมาสกอนหนาเปน รอยละ 8.0 ในไตรมาสนีต้ ามการขยายตัวเรงขึน้ ของเศรษฐกิจประเทศ คูคาหลักและการเพิ่มขึ้นของราคาสินคาในตลาดโลก โดยปริมาณ การสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 5.1 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 2.9 ในไตรมาสแรก และราคาสินคาสงออกเพิม่ ขึน้ รอยละ 2.8 กลุม สินคา สงออกทีม่ ลู คาขยายตัว เชน ขาว ยางพารา ผลิตภัณฑยาง ชิน้ สวนและ อุปกรณยานยนต เครือ่ งจักรและอุปกรณ และผลิตภัณฑปโ ตรเลียม เปนตน กลุม สินคาสงออกทีม่ ลู คาลดลง เชน รถยนตนงั่ เครือ่ งปรับอากาศ และมันสําปะหลัง เปนตน การสงออกไปยังตลาดสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญีป่ นุ จีน และอาเซียนขยายตัว แตการสงออกไปยังตลาดออสเตรเลีย และตะวันออกกลางลดลง เมือ่ หักการสงออกทองคําทีย่ งั ไมขนึ้ รูปออกแลว มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 9.9 เมื่อคิดในรูปของเงินบาท มูลคา การสงออกสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 การนําเขาสินคามีมูลคา 49,523 ลานดอลลาร สรอ. ขยายตัวรอยละ 13.8 เปนผลจากการ เพิ่มขึ้นของราคานําเขารอยละ 4.5 และปริมาณการนําเขารอยละ 8.9 โดยปริมาณการนําเขาสินคาขยายตัวเรงขึน้ ในทุกหมวดสินคาสอดคลอง กับการขยายตัวเรงขึ้นของการสงออกและการขยายตัวตอเนื่อง ของอุปสงคภายในประเทศ ดานการผลิต การผลิตสาขาเกษตรกรรม สาขาการคาสงคาปลีก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร และสาขาขนสงและคมนาคมขยายตัวเรงขึน้ สาขาอุตสาหกรรมชะลอตัวลงเล็กนอย ในขณะที่สาขากอสรางและ สาขาไฟฟา กาซ และการประปาปรับตัวลดลง โดยสาขาเกษตรกรรม ขยายตัวสูงและเรงขึน้ เปนรอยละ 15.8 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 5.7 ในไตรมาสกอนหนา ตามการปรับตัวเขาสูภ าวะปกติหลังจากภัยแลง สิ้นสุดลง โดยผลผลิตพืชเกษตรสําคัญที่ขยายตัว ไดแก ขาวเปลือก นาปรัง ยางพารา มันสําปะหลัง ขาวโพด ปาลมนํา้ มัน และผลไม เชน ทุเรียน สับปะรด ลําไย มังคุด และลิน้ จี่ เปนตน เชนเดียวกับการเพิม่ ขึน้ ของผลผลิตหมวดปศุสตั วและหมวดประมง เฉพาะกุง ขาวแวนนาไม ดัชนี ราคาสินคาเกษตรเริ่มปรับตัวลดลงรอยละ 1.9 ตามปริมาณผลผลิต ที่ออกสูตลาดมากขึ้นหลังจากภัยแลงสิ้นสุดลงทั้งในและตางประเทศ โดยราคาพืชเกษตรสําคัญทีล่ ดลง ไดแก ขาวเปลือก ปาลมนํา้ มัน ขาวโพด มันสําปะหลัง เชนเดียวกับราคาหมวดปศุสตั วและหมวดประมงเฉพาะ กุง ขาวแวนนาไมทีป่ รับตัวลดลง ในขณะทีร่ าคายางพาราและออยเพิม่ ขึน้ การเพิม่ ขึน้ ของดัชนีผลผลิตสินคาเกษตรสงผลใหดชั นีรายไดเกษตรกร โดยรวมเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ งเปนไตรมาสที่ 4 รอยละ 14.6 สาขาอุตสาหกรรม

15

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ขยายตัวรอยละ 1.0 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวรอยละ 1.3 ในไตรมาส กอนหนา ตามการปรับตัวลดลงของอุตสาหกรรมสําคัญบางรายการ สอดคลองกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ลดลงรอยละ 0.1 โดยดัชนี ผลผลิตอุตสาหกรรมกลุม การผลิตเพือ่ บริโภคภายในประเทศ (สัดสวน สงออกนอยกวารอยละ 30) ลดลงรอยละ 1.4 ซึ่งมีสาเหตุสําคัญ มาจากการลดลงของการผลิตเหล็กและผลิตภัณฑเหล็กกลาขัน้ มูลฐาน และเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล รวมทั้งนํ้าดื่มบรรจุขวด ในขณะที่ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมทีม่ สี ดั สวนการสงออกในชวงรอยละ 30 - 60 และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุม การผลิตเพือ่ สงออก (สัดสวนสงออก มากกวารอยละ 60) เพิ่มขึ้นรอยละ 0.3 และรอยละ 1.5 ตามลําดับ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่ขยายตัว เชน หลอดอิเล็กทรอนิกสและ สวนประกอบอิเล็กทรอนิกส ผลิตภัณฑยางอื่นๆ และผลิตภัณฑที่ได จากการกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม เปนตน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ที่ลดลง เชน เหล็กและผลิตภัณฑเหล็กกลาขั้นมูลฐาน ยานยนต และ เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล รวมทั้งนํ้าดื่มบรรจุขวด เปนตน อัตรา การใชกําลังการผลิตเฉลี่ยอยูที่ รอยละ 59.0 เทียบกับรอยละ 58.9 ในชวงเดียวกันของปกอนหนา สาขาการกอสรางลดลงรอยละ 6.2 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 2.8 ในไตรมาสแรก โดยการกอสรางภาครัฐ ลดลงรอยละ 12.8 (การกอสรางของรัฐบาลลดลงรอยละ 23.2 ในขณะที่ การกอสรางของรัฐวิสาหกิจเพิม่ ขึน้ รอยละ 20.5) เทียบกับการขยายตัว รอยละ 8.5 ในไตรมาสกอนหนา สวนการกอสรางภาคเอกชนขยายตัว รอยละ 3.1 ปรับตัวดีขนึ้ จากการลดลงรอยละ 4.5 ในไตรมาสกอนหนา โดยการกอสรางอาคารที่อยูอาศัยและการกอสรางอื่นๆ เพิ่มขึ้น รอยละ 3.0 และรอยละ 12.9 ตามลําดับ ดัชนีราคาวัสดุกอสรางลดลง รอยละ 1.0 ตามการลดลงของดัชนีราคาหมวดซีเมนต หมวดเหล็ก และผลิตภัณฑเหล็ก และหมวดวัสดุกอ สรางอืน่ ๆ เปนสําคัญ สาขาโรงแรม และภัตตาคาร ขยายตัวรอยละ 7.5 เรงขึน้ จากการขยายตัว รอยละ 5.3 ในไตรมาสแรก โดยในไตรมาสนี้มีรายรับรวมจากการทองเที่ยว 625.0 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 9.4 ประกอบดวย (1) รายรับจากนักทองเทีย่ วตางประเทศ 395.0 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 8.8 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 3.9 ในไตรมาส กอนหนา โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากรายรับของนักทองเที่ยว สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต มาเลเซีย ลาว และจีน (2) รายรับจากนักทองเที่ยวชาวไทย 230.0 พันลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10.3 เรงตัวขึน้ จากการขยายตัว รอยละ 4.6 ในไตรมาส กอนหนา อัตราการเขาพักเฉลีย่ ในไตรมาสนีอ้ ยูท รี่ อ ยละ 67.5 เพิม่ ขึน้ จากรอยละ 66.3 ในชวงเดียวกันของปกอ นหนา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ยังอยูใ นเกณฑดี โดยอัตราการวางงาน ยังอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 1.2 อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ยรอยละ 0.1 บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 8.3 พันลานดอลลาร สรอ. (284.7 พันลานบาท) หรือคิดเปนรอยละ 7.7 ของ GDP เงินทุนสํารองระหวางประเทศ ณ สิน้ เดือนมิถนุ ายน 2560 อยูท ี่ 185.6 พันลานดอลลาร สรอ. และ หนีส้ าธารณะ ณ สิน้ ไตรมาสทีส่ ามของปงบประมาณ 2560 มีมลู คา ทัง้ สิน้ 6,185.4 พันลานบาท คิดเปนรอยละ 40.7 ของ GDP แนวโนมเศรษฐกิจไทย ป 2560 เศรษฐกิจไทย ป 2560 มีแนวโนม ขยายตัวรอยละ 3.5 - 4.0 ปรับตัวดีขนึ้ จากการขยายตัวรอยละ 3.2 ในป 2559 และเปนการปรับเพิม่ ประมาณการจากรอยละ 3.3 - 3.8 ในการแถลงขาวเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 โดยการขยายตัว ในชวงทีเ่ หลือของปมปี จ จัยสนับสนุนจาก


(1) การปรับตัวดีขึ้นของการสงออกตามการขยายตัวเรงขึ้น ของเศรษฐกิจและปริมาณการคาโลก (2) การลงทุนภาครัฐและการลงทุนภาคเอกชนที่มีแนวโนม ขยายตัวเรงขึน้ ในชวงครึง่ ปหลัง (3) การขยายตัวเรงขึ้นของสาขาการผลิตที่สําคัญ ไดแก สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาอุตสาหกรรม และสาขาการกอสราง (4) การปรับตัวดีขึ้นของฐานรายไดครัวเรือนในภาคเกษตร การสงออก การทองเทีย่ ว และบริการทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ทัง้ นี้ คาดวามูลคา การสงออกสินคาจะขยายตัวรอยละ 5.7 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนรวมขยายตัวรอยละ 3.2 และรอยละ 3.4 ตามลําดับ อัตราเงินเฟอทัว่ ไปอยูใ นชวงรอยละ 0.4 - 0.9 และบัญชีเดินสะพัด เกินดุลรอยละ 9.7 ของ GDP รายละเอียดของการประมาณการเศรษฐกิจในป 2560 ในดานตางๆ มีดงั นี้ 1. การใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดวา จะขยายตัวรอยละ 3.2 เพิม่ ขึน้ จากการขยายตัวรอยละ 3.1 ในป 2559 และเปนการปรับเพิม่ จากการขยายตัวรอยละ 3.0 ในการประมาณการ ครัง้ กอน ตามฐานรายไดครัวเรือนในสาขาเศรษฐกิจสําคัญๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการประมาณการครั้งกอน โดยเฉพาะฐานรายไดในภาคเกษตร ฐานรายไดจากการสงออก และฐานรายไดจากภาคการทองเที่ยว ซึง่ จะเปนปจจัยสนับสนุนการขยายของการบริโภคภาคเอกชนในชวง ที่เหลือของปอยางตอเนื่อง ในขณะที่การใชจายเพื่อการอุปโภค ภาครัฐบาล คาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.2 เรงตัวขึน้ จากการขยายตัว รอยละ 1.7 ในป 2559 และเทากับประมาณการครัง้ กอน ตามอัตรา การเบิกจายงบประมาณรายจายประจําทีเ่ ปนไปตามทีค่ าดไว 2. การลงทุนรวม คาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.4 เรงขึน้ จาก การขยายตัวรอยละ 2.8 ในป 2559 และเปนการปรับลดจากการขยาย ตัวรอยละ 4.4 ในการประมาณการครัง้ ทีผ่ า นมา โดยเปนผลจากการ ปรับลดประมาณการการลงทุนภาครัฐ ซึง่ คาดวาจะขยายตัวรอยละ 8.0 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวรอยละ 9.9 ในป 2559 โดยการลงทุนภาครัฐ ในชวงครึง่ หลังของปมแี นวโนมเรงขึน้ ตามการเรงรัดเบิกจายงบรายจาย ลงทุนของเม็ดเงินคงเหลือภายใตกรอบงบประมาณรายจายประจําป และงบรายจายเพิ่มเติม ในขณะที่การเบิกจายจากกรอบงบลงทุน รัฐวิสาหกิจมีแนวโนมเรงตัวขึน้ ตามความคืบหนาของการกอสรางโครงการ ลงทุนสําคัญๆ และการขอรับเงินเบิกจายคางวดงาน ในขณะทีก่ ารลงทุน ภาคเอกชน คาดวาจะขยายตัวรอยละ 2.2 ปรับเพิม่ จากการขยายตัว รอยละ 2.0 ในการประมาณการครัง้ กอน เนือ่ งจากการลงทุนภาคเอกชน ในไตรมาสที่สองเริ่มฟนตัวเร็วกวาที่คาดการณไว และมีแนวโนม ทีจ่ ะปรับตัวดีขนึ้ อยางชาๆ ในชวงครึง่ ปหลัง ตามแนวโนมการปรับตัวดีขนึ้ อยางตอเนือ่ งของภาคการสงออกและความคืบหนาของโครงการลงทุน ภาครัฐ 3. มูลคาการสงออกสินคา ในรูปเงินดอลลาร สรอ. คาดวา จะขยายตัวรอยละ 5.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 0.1 ในป 2559 และเปนการปรับเพิม่ จากการขยายตัวรอยละ 3.6 ในการ ประมาณการครัง้ กอน เนือ่ งจากการปรับเพิม่ สมมติฐานการขยายตัว ของเศรษฐกิจและปริมาณการคาโลกจากรอยละ 3.3 และรอยละ 3.6 เปนรอยละ 3.4 และรอยละ 4.0 และการปรับเพิม่ สมมติฐานการขยายตัว

ของราคาสินคาสงออกจากเดิมรอยละ 1.5 - 2.5 เปนรอยละ 2.0 – 3.0 ซึง่ สงผลใหมลู คาการสงออกขยายตัวไดสงู ขึน้ สอดคลองกับการขยายตัว สูงกวาประมาณการของมูลคาการสงออกในไตรมาสทีส่ อง เมือ่ รวมกับ การปรับเพิ่มสมมติฐานรายไดจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติ คาดวา ปริมาณการสงออกสินคาและบริการจะขยายตัวรอยละ 4.9 เรงขึ้น จากรอยละ 2.1 ในป 2559 และเปนการปรับเพิ่มจากการขยายตัว รอยละ 2.9 ในการประมาณการครั้งที่ผานมา ประเด็นการบริหารเศรษฐกิจในป 2560 การบริหารนโยบาย เศรษฐกิจในป 2560 ควรใหความสําคัญกับ (1) การปองกันและบรรเทาปญหาภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ (2) การเบิกจายงบประมาณภายใตกรอบสําคัญๆ ใหได ตามเปาหมาย (3) การสรางความเขมแข็งใหกบั SMEs และเศรษฐกิจฐานราก โดยการดําเนินการตามมาตรการสินเชือ่ และการสนับสนุนดานเงินทุน ที่สําคัญๆ ของรัฐบาล การดําเนินการตามโครงการตามแผนพัฒนา กลุม จังหวัดภายใตกรอบงบประมาณรายจายเพิม่ เติม การดูแลเสถียรภาพ อัตราแลกเปลี่ยนและสงเสริมให SMEs ปกปองความเสี่ยงจาก การเปลีย่ นแปลงของคาเงิน การเชือ่ มโยงหวงโซการผลิตกับธุรกิจและ การผลิตขนาดใหญ การหาตลาดและขยายตลาดโดยเฉพาะตลาด CLMV และแกไขปญหาการขาดแคลนแรงงานโดยการสนับสนุนการเขารวม โครงการการศึกษาทวิภาคีและการแกไขปญหาการใชแรงงานตางชาติ (4) การดูแลรายไดเกษตรกรและผูม รี ายไดนอ ย โดยการเตรียม มาตรการรองรับผลผลิตทางการเกษตรทีจ่ ะออกสูต ลาดมากขึน้ การสงเสริม การเกษตรแปลงใหญ การเพิม่ สวนแบงรายไดเกษตรกรในราคาจําหนาย ผลผลิต และการจัดทําฐานขอมูลเกษตรกรยากจนและฐานขอมูล ผูม รี ายไดนอ ย (5) การดําเนินการใหการผลิตนอกภาคเกษตรกรรมมีการฟน ตัว อยางเต็มที่โดย 5.1 การสนับสนุนการขยายตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยการสนับสนุนการสงออกใหขยายตัวเรงขึน้ และการกระจายตัวเปน วงกวาง การติดตามและแกไขปญหาการใชนโยบายและมาตรการกีดกัน ทางการคาในตางประเทศ และการสงเสริมผูป ระกอบการในการใชสทิ ธิ ประโยชนทางการคาภายใตกรอบขอตกลงการคาเสรีกบั ประเทศตางๆ 5.2 การสรางความเชื่อมั่นและสนับสนุนการฟนตัวของ การลงทุนภาคเอกชน โดยการดําเนินการตามแผนการลงทุนโครงสราง พืน้ ฐานดานการคมนาคมขนสง การกระตุน โครงการทีข่ อรับการสงเสริม การลงทุนในชวงกอนหนาใหเริ่มดําเนินการลงทุนและการดําเนิน มาตรการเชิงรุกเพือ่ ชักจูงนักลงทุนในสาขาเปาหมาย 5.3 การสนับสนุนการขยายตัวของภาคการทองเทีย่ ว โดย การดูแลรักษาความปลอดภัยในพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วสําคัญ การแกไขปญหา ความแออัดและการอํานวยความสะดวกของดานตรวจคนเขาเมือง การสงเสริม การขายในตลาดกลุม นักทองเทีย่ วรายไดสงู และนักทองเทีย่ ว ระยะไกล และการสงเสริมการทองเที่ยวในประเทศควบคูไปกับ การกระจายรายไดไปสูแ หลงทองเทีย่ วในระดับชุมชนและชนบท ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 21 สิงหาคม 2560

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

16


บทความเรื่อง

“การเตรียมความพรอมทักษะแรงงานไทยในอนาคต กรณีกลุมอุตสาหกรรมศักยภาพ First S-Curve”

การปฏิรูปโครงสรางทางเศรษฐกิจที่เนนใชนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเขามาชวยพัฒนา รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี แบบกาวกระโดด สงผลตอรูปแบบการผลิต และความตองการแรงงาน ทัง้ สาขาการศึกษาและทักษะทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป แรงงานจําเปนตองมี ทักษะที่สอดคลองกับความตองการดังกลาวเพื่อใหสามารถปรับตัว และลดผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ซึง่ ภาพรวมในปจจุบนั แรงงานในสถาน ประกอบการมีการศึกษาระดับ ม.3 และตํ่ากวารอยละ 35.0 และ สวนใหญเปนแรงงานประเภทกึง่ ฝมอื และแรงงานฝมอื อยางไรก็ตาม ระดับทักษะของแรงงานยังตํ่ากวาความคาดหวังของผูประกอบการ โดยเฉพาะดานภาษาตางประเทศ ความรูก ฎหมาย ระเบียบในวิชาชีพ และความรูด า นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม จากผลสํารวจทักษะแรงงานในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ที่จะเปนอุตสาหกรรมในอนาคต 5 อุตสาหกรรม ไดแก ยานยนต และชิน้ สวนรถยนต ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เกษตร/การผลิตยางพารา และผลิตภัณฑยาง แปรรูปอาหาร และที่พัก สปา และเรือสําราญ ในกลุม แรงงานระดับกลางวุฒิ ปวช. ขึน้ ไป 1,353 ตัวอยาง ผูบ ริหาร/ ผูป ระกอบการ 239 ราย ใน 10 จังหวัด พบวา (1) ในดานการรับรูเ กีย่ วกับไทยแลนด 4.0 แรงงานรอยละ 63.0 รับรูแ นวคิดการพัฒนาประเทศไทย 4.0 แตยงั มีความเขาใจไมตรงกัน ผูประกอบการกวารอยละ 80.0 เห็นดวยกับแนวคิดไทยแลนด 4.0 โดยเห็นวามีความจําเปนตองขับเคลือ่ นแตยงั มีขอ กังวลในกลุม SMEs ทีย่ งั มีขอ จํากัดและอาจไมสามารถกาวทันตามการพัฒนา ซึง่ รัฐจําเปน ตองมีแนวทางการปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนในการสงเสริมและสนับสนุน (2) ดานทักษะของแรงงาน ผูป ระกอบการเห็นวาแรงงานมีทกั ษะ ในระดับมากมีเพียงการใชภาษาอังกฤษและการคนควาขอมูลทีอ่ ยูร ะดับ ปานกลาง แตแรงงานจบใหมมที กั ษะตํา่ กวาแรงงานทีม่ ปี ระสบการณ ในทุกดาน สอดคลองกับการประเมินตนเองของแรงงานทีท่ กั ษะดาน ภาษาอังกฤษกวารอยละ 50.0 ยังตองปรับปรุงเนือ่ งจากยังไมสามารถ สือ่ สารได สวนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศสวนใหญมที กั ษะใชอปุ กรณ คอมพิวเตอร แตยงั ขาดทักษะในการสรางเนือ้ หา โดยทักษะทีผ่ ปู ระกอบ การเห็นวาควรเพิม่ เติมในการเรียนการสอน คือ ภาษา การฝกปฏิบตั จิ ริง และการใชเทคโนโลยีใหม ๆ ทัง้ นี้ การพัฒนาตามแนวคิดไทยแลนด 4.0 ยังมีขอ จํากัดในเรือ่ งการขาดแคลนแรงงานทีม่ ที กั ษะคุณภาพแรงงาน

17

ศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ

ใหมยงั ไมไดตามทีต่ อ งการ การรับรูค วามเขาใจเกีย่ วกับไทยแลนด 4.0 ยังไมชดั เจนเพียงพอ ขาดเงินทุน การลงทุนนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม และความพรอมโครงสรางพืน้ ฐานจึงมีการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงดานเทคโนโลยี แนวทางการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและพัฒนา ประเทศ “ไทยแลนด 4.0” ใหมคี วามชัดเจนทุกภาคสวนสือ่ สารในเรือ่ ง ดังกลาวไดตรงกัน เพือ่ สรางการรับรู ความตระหนักและนําไปสูก าร เตรียมความพรอมของทุกภาคสวน 2. การพัฒนาทักษะแรงงาน โดยสงเสริมความรวมมือและ พัฒนาการออกแบบหลักสูตรอบรมใหเหมาะกับแตละคลัสเตอร ของภาคอุตสาหกรรม เพิ่มทักษะบางดาน อาทิ ดาน Digital Skill การจัดการ Big Data ควบคูกับคุณลักษณะการทํางาน อาทิ การคิด วิเคราะห การผสมผสานระหวางการใชเทคโนโลยีกับการลงพื้นที่จริง อยางเหมาะสม การคิดสรางสรรค มีความสามารถหลากหลายยืดหยุน รูจักการปรับตัว และทักษะการสรางทีม 3. การพัฒนาแรงงานในกลุม ตาง ๆ โดยแบงกลุม เพือ่ พัฒนา ไดครอบคลุมและเหมาะสมกับศักยภาพทั้งกลุมแรงงานไรฝมือและ ดอยโอกาส แรงงานสูงอายุ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในธุรกิจหรือ วิสาหกิจขนาดเล็กเพือ่ ลดผลกระทบและความเหลือ่ มลํา้ ใหกบั แรงงาน ในกลุม เหลานัน้ รวมทัง้ ยังชวยสรางเสริมมูลคาทางเศรษฐกิจ 4. การวางแผนการผลิตและพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยสราง ความรวมมือระหวางสถานประกอบการและสถานศึกษาทั้งเรื่อง การพัฒนาหลักสูตร การสนับสนุนเครือ่ งจักร อุปกรณ เครือ่ งมือตางๆ ของธุรกิจเพื่อใชในการเรียนการสอน เพื่อใหไดบุคลากรตรงตาม ความตองการและทํางานไดจริง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งใน ดานความรูที่เปนแกนหลัก ความสามารถทํางานกับเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงไปสามารถคิดวิเคราะห ใชคิดสรางสรรค ภูมิปญญา (Brain Power) และนวัตกรรมตลอดจนการสรางคุณลักษณะ ทีเ่ หมาะสม อาทิ มีทศั นคติทดี่ ี อดทน รับผิดชอบ ทํางานทีม่ งุ ผลสัมฤทธิ์ 5. การสนับสนุนปจจัยอืน่ ๆ อาทิ โครงสรางพืน้ ฐาน การพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสมสามารถเขาถึงและ ใชประโยชนไดโดยเฉพาะกลุม SMEs การจับคู/สรางความรวมมือ ระหวางผูคิดนวัตกรรม (startup) กับผูประกอบธุรกิจเพื่อใหเกิด การผลิตสินคาบริการใหมๆ ตลอดจนสงเสริมการสรางวัฒนธรรม การเรียนรูในทุกองคกร/สถาบัน โดยเริ่มตนจากครอบครัว โรงเรียน ทีท่ าํ งาน ชุมชน ฯลฯ โดยสรางสภาพแวดลอมการเรียนรูท เี่ สริมสราง แรงบันดาลใจ บมเพาะความคิดสรางสรรค มีจิตสาธารณะ และมุง การทํางานใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 26 พฤษภาคม 2560


อํานวยการจัดทํา

นายสุวรรณ ดวงตา ผูอํานวยการกองบริหารขอมูลตลาดแรงงาน

คณะผูจัดทํา นางณัชชารีย วาที่ ร.ต.หญิงดรุณี นายภาณุศาสตร นางสาวมณีวรรณ นางฮาดีกะห นางพรนิสา นายจักรกฤษณ นายณัฐพร นางสาวคัทธิยา นายธิติ

ศิรกิตติวรพงษ จันทรมล โฮมภิรมย เสมอใจ จําปาทอง เทพวงค ขันทะพงษ กอเกิดวงศ ฟูเจริญสุข ศรีมาทา

ปฏิบัติหนาที่หัวหนาศูนยบริหารขอมูลตลาดแรงงานภาคเหนือ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ นักวิชาการแรงงานชํานาญการ เจาพนักงานแรงงานชํานาญงาน เจาพนักงานแรงงานชํานาญงาน พนักงานธุรการ ส ๒ พนักงานขับรถยนต ส ๒ เจาพนักงานแรงงาน เจาพนักงานแรงงาน เจาหนาที่บันทึกขอมูล

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจาหนาที่กรมการจัดหางาน ขอ ๑. ขอ ๒. ขอ ๓. ขอ ๔. ขอ ๕.

ปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย มีคุณธรรม และเสมอภาค ใหบริการดวยความเต็มใจ รวดเร็ว และประทับใจ มีมนุษยสัมพันธ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย พัฒนาตนเองและหนวยงาน สรรคสรางสังคม ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีของหนวยงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.