วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ไตรมาสที่ 3 ปี 2559 (กรกฎาคม - กันยายน)

Page 1

ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ร�าลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ข้าราชการ ลูกจ้างประจ�า และพนักงานราชการ ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง


การท�างานใด ๆ ไม่ว่าเล็ก ใหญ่ ง่าย ยาก ถ้าย่อหย่อนจากความเพียรแล้ว ยากที่จะให้ส�าเร็จเรียบร้อยทันเวลาได้ การฝึกฝนความเพียร ถึงหากแรก ๆ จะรู้สึกเหน็ดเหนื่อยล�าบาก แต่พอได้เพียร จนเป็นนิสัยแล้ว ก็จะกลับเป็นพลังอย่างส�าคัญ ที่คอยกระตุ้นเตือนให้ท�างานอย่างจริงจังด้วยใจร่าเริง และเมื่อใดพลังของความเพียรนี้เกิดขึ้น เมื่อนั้นการงานทั้งหลาย ก็ส�าเร็จได้ โดยง่ายดายและรวดเร็ว... พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร แก่ผู้ส�าเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๒๒


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

Editor ..... บรรณาธิการ

สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที ่ 3 ปี 2559 (กรกฎาคม - กันยายน) จัดท�าขึน้ เพือ่ ให้ทราบถึงข้อมูลประชากร และก�าลังแรงงาน (ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน) ภาวะการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจ การเงิน การไปท�างานต่างประเทศ การท�างานของคนต่างด้าว เอกสารฉบับนี้ส�าเร็จได้ด้วยความเอื้อเฟื้อข้อมูลจากส�านักงาน สถิตแิ ห่งชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และส�านักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ขอขอบคุณ ทุกหน่วยงานที่ได้ให้การเอื้อเฟื้อข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ นีห้ ากท่านมีขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ในการจัดท�าครัง้ ต่อไป ขอได้โปรดติดต่อโดยตรงทีศ่ นู ย์ขา่ วสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ศูนย์ราชการชั้น 3 ถนนวชิราวุธด�าเนิน ต�าบลพระบาท อ�าเภอเมืองล�าปาง จังหวัดล�าปาง 52000 หรือแจ้งทางโทรศัพท์ ได้ที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง พฤศจิกายน 2559

สารบัญ หน้า

ก-ข 1 5 7 9 10 12 13 15

บรรณาธิการ บทสรุปผูบ้ ริหาร ประชากรและก�าลังแรงงาน ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ บทวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ : ความท้าทายด้านแรงงานของไทยในเศรษฐกิจยุคใหม่ ข่าวเศรษฐกิจและสังคม : เศรษฐกิจไทยไตรมาสทีส่ ามของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559-2560


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

บทสรุปผู้บริหาร สถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือไตรมาสที่ 3 ปี 2559 (กรกฎาคม - กันยายน) ประชากรและก�าลังแรงงาน

ประชากรภาคเหนือไตรมาสที่ 3 ปี 2559 ประมาณ 11.43 ล้านคน เป็นประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไป ร้อยละ 83.00 จ�าแนกเป็นผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงาน ร้อยละ 56.35 ประกอบด้วยผูม้ งี านท�า ร้อยละ 55.73 ผูว้ า่ งงาน ร้อยละ 0.56 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.07 เมือ่ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2558 พบว่าประชากรลดลง ร้อยละ 0.35 ผู้มีงานท�าลดลง ร้อยละ 1.34 เป็นผู้มีงานท�าจ�าแนกประเภทอาชีพ ผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ ฝี มี อื ในด้านการเกษตรและการประมง มากที่สุด ร้อยละ 41.74 จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โดยเป็นผูท้ า� งานภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 45.53 และภาคนอก เกษตรกรรม ร้อยละ 54.47 จ�าแนกตามระดับการศึกษา ที่ส�าเร็จส่วนใหญ่ส�าเร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา และไม่มกี ารศึกษาสูงถึง ร้อยละ 55.29 จ�าแนกตามสถานภาพ การท�างานส่วนใหญ่ท�างานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 36.40 และจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์เป็นผู้มีงานท�า ระหว่าง 35 - 49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 59.52 และ ผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 25.43 (ผู้มีงานท�า 35 - 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 84.95 โดย บุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ท�างานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน) ภาวะการว่างงาน ผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 29.32 โดยจังหวัดเชียงใหม่จะมีผู้ว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 32.06 และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้ว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.76 ส�าหรับอัตราการว่างงานเท่ากับ ร้อยละ 0.99 จังหวัดสุโขทัย มีอัตราการว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 2.30 ขณะเดียวกัน จังหวัดพะเยามีอตั ราการว่างงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.35 ทัง้ นี้ จังหวัดเชียงรายไม่มีผู้ว่างงานในไตรมาสนี้

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ

นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงานจ�านวน 11,482 อัตรา ผูส้ มัครงานทีล่ งทะเบียนจ�านวน 6,701 คน และบรรจุงานได้ จ�านวน 11,935 คน ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และ การบรรจุงานลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปี 2558 โดย ลดลงร้อยละ 42.34 ร้อยละ 61.07 และร้อยละ 40.99

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ

โรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมไตรมาสที ่ 3 ปี 2559 จ�านวน 220 แห่ง เงินลงทุน 18,348.89 ล้านบาท และก่อให้เกิดการจ้างงาน 3,102 คน จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดอุทัยธานีมีโรงงาน ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 27.73 รองลงมาคือ จังหวัดแพร่ ร้อยละ 21.82 และจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 7.27 จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์และเครือ่ งเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

อนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 27.73 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม ร้อยละ 12.73 และอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์อโลหะ ร้อยละ 11.82

มีทิศทางเพิ่มขึ้น ด้านเงินให้สินเชื่อและเงินฝากของธนาคาร พาณิชย์ชะลอลง

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตไปท�างานต่างประเทศ ไตรมาสที่ 3 ปี 2559 จ�านวน 4,073 คน ลดลงจากไตรมาส เดียวกันของปี 2558 ร้อยละ 3.25 เดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่งสูงสุด ร้อยละ 58.34 ส�าหรับประเทศไต้หวันเป็น ประเทศที่มีแรงงานเดินทางไปมากถึง ร้อยละ 47.58 และ จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดทีไ่ ด้รบั อนุญาตเดินทางไปมากทีส่ ดุ ร้อยละ 19.47

เศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือในไตรมาสที่ 3 ปี 2559 ชะลอลงจากไตรมาสก่อน ภาพรวมอุปสงค์ยงั อ่อนแอ ส่วนส�าคัญมาจากการลงทุนภาคเอกชนยังหดตัว การบริโภค ภาคเอกชนชะลอลง อย่างไรก็ดกี ารใช้จา่ ยภาครัฐ โดยเฉพาะ การลงทุนขยายตัวได้ดีชดเชยด้านอุปสงค์ได้บางส่วน ด้านการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ลดลง การส่งออกหดตัว มากขึน้ ทัง้ ในส่วนของการส่งออกทีไ่ ม่ใช่ชายแดนและชายแดน ส่วนภาคการท่องเที่ยวอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง ด้านการผลิต ภาคเกษตรผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นในช่วงต้นฤดูกาลเก็บเกี่ยว มีส่วนให้รายได้เกษตรปรับดีขึ้นบ้าง แต่ยังมีความเสี่ยงที่ ราคาพืชผลเกษตรส�าคัญมีแนวโน้มลดลง ส�าหรับเสถียรภาพ เศรษฐกิจภาคเหนือโดยทั่วไปยังอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยตามราคาอาหารสด อัตราการว่างงานแม้อยู่ ในระดับต�า่ แต่จา� นวนผูข้ อรับประโยชน์ทดแทนกรณีวา่ งงาน

การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ

การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ

คนต่ า งด้ า วที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตท� า งานคงเหลื อ ณ เดือนกันยายน 2559 จ�านวน 150,058 คน เมือ่ เปรียบเทียบ กับ ณ เดือนกันยายน 2558 ลดลงร้อยละ 12.61 คนต่างด้าว มาตรา 9 ประเภทคนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติได้รับอนุญาต ท�างานมากที่สุด ร้อยละ 76.71 ส�าหรับจังหวัดเชียงใหม่มี แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาท�างานสูงสุด ร้อยละ 50.81


1

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ประชากรและก�าลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสร้างประชากรและก�าลังแรงงานภาคเหนือ

โครงสร้ำงประชำกรและก�ำลังแรงงำนในภำคเหนือไตรมำสที่ 3 ปี 2559

ที่มำ : ส�ำนักงำนสถิติแห่งชำติ หมำยเหตุ อัตรำกำรว่ำงงำน = ผู้ว่ำงงำน*100/ก�ำลังแรงงำนรวม = ร้อยละ 0.99

ตารางที่ 1 จ�านวนและร้อยละของประชากรจ�าแนกตามสถานภาพแรงงานและก�าลังแรงงาน

ประชากรไตรมาสที่ 3 ปี 2559 (กรกฎาคม - กันยายน) ประมาณ 11.43 ล้านคน เป็นผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงานรวมประมาณ 6.53 ล้านคน ร้อยละ 56.90 ของจ�านวนประชากรรวมทั้งหมด และผู้ไม่อยู่ ในก�าลังแรงงานรวมถึงผู้มีอายุต�่ากว่า 15 ปี ประมาณ 4.99 ล้านคน ร้อยละ 43.10 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ้ ยูใ่ นก�าลังแรงงานรวม จ�านวน 6,528,559 คน ประกอบด้วย ผู้มีงานท�า ร้อยละ 56.29 ผู้ว่างงาน ร้อยละ 0.43 และผู้ที่รอฤดูกาล ร้อยละ 0.19

ผู้ไม่อยู่ในก�าลังแรงงาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป) จ�านวน 2,952,868 คน ประกอบด้วย แม่บ้าน ท�างานบ้าน ร้อยละ 7.30 นักเรียน นิสิต นักศึกษา ร้อยละ 6.63 และอื่นๆ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย ผู้พิการจนไม่สามารถท�างานได้ ร้อยละ 11.80 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2558 พบว่าประชากร ลดลง ร้อยละ 0.35 ผู้มีงานท�าลดลง ร้อยละ 1.34 และผู้ว่างงาน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 29.32 ส�าหรับอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.75 เป็นร้อยละ 0.99


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

2

ตารางที่ 2 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอาชีพ

ผูม้ งี านท�าประมาณ 6.37 ล้านคน ท�างานในอาชีพผูป้ ฏิบตั งิ าน การให้บริการ ร้อยละ 11.59 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อ ที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงมากที่สุด ร้อยละ 41.74 เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2558 โดยภาพรวมพบว่าผู้มีงานท�า รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด ลดลง ซึ่งผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมงลดลง ร้อยละ 17.62 และอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและ มากที่สุดร้อยละ 5.08 ตารางที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม


3

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

จ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายส่งและการขายปลีก ผูท้ า� งานภาคเกษตรกรรมประมาณ 2.90 ล้านคน ร้อยละ 45.53 การซ่อมยานยนต์ และรถจักรยานยนต์มากที่สุด ร้อยละ 14.91 ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง ส�าหรับ รองลงมาคือ การผลิต ร้อยละ 9.01 และการก่อสร้าง ร้อยละ 6.72 ผู้ท�างานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.47 ล้านคน ร้อยละ 54.47 นอกนั้นกระจายอยู่ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ

หมำยเหตุ 1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไม่เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่เคยได้รับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่ส�าเร็จการศึกษา ที่ไม่สามารถเทียบชั้นได้ 3. ผู้มีงานท�าไม่ทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไม่พบตัวผู้ให้สัมภาษณ์/คนให้ข้อมูลไม่รู้ข้อมูล

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามระดับการศึกษาที่ส�าเร็จ

ร้อยละ 28.60 ระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 15.86 ผูม้ งี านท�าไม่ทราบวุฒิ ผูม้ งี านท�าส่วนใหญ่สา� เร็จการศึกษาไม่เกินระดับประถมศึกษา การศึกษาร้อยละ 0.14 และอื่นๆ ได้แก่บุคคลที่ส�าเร็จการศึกษาที่ และไม่มกี ารศึกษาสูงถึง ร้อยละ 55.29 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา ไม่สามารถเทียบชัน้ ได้ ร้อยละ 0.11 ตามล�าดับ แผนภูมิที่ 2 ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

4

ผู้มีงานท�าจ�าแนกตามสถานภาพการท�างาน

ผู้มีงานท�าส่วนใหญ่ท�างานในฐานะลูกจ้าง ร้อยละ 36.40 37.55 ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง ร้อยละ 24.05 นายจ้าง (ในจ�านวนนี้เป็นลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 26.41 และลูกจ้างรัฐบาล ร้อยละ 1.97 ส�าหรับการรวมกลุม่ มีเพียง ร้อยละ 0.04 ของผูม้ งี านท�า ร้อยละ 9.98) รองลงมาคือ ท�างานส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ร้อยละ ทั้งหมด หมำยเหตุ การรวมกลุ่ม* หมายถึง กลุ่มคนที่มาร่วมกันท�างานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคน มีความเท่าเทียมกัน ในการก�าหนดการท�างานทุกขั้นตอนไม่ว่าเป็นการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ท�าตลอดจนการแบ่งรายได้ให้แก่สมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณ์หรือไม่ก็ได้)

แผนภูมิที่ 3 จ�านวนและร้อยละของผู้มีงานท�าจ�าแนกตามชั่วโมงการท�างานต่อสัปดาห์

ผูม้ งี านท�าจ�าแนกตามชัว่ โมงการท�างานต่อสัปดาห์

ผู้มีงานท�าระหว่าง 35-49 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 59.52 และผู้มีงานท�าตั้งแต่ 50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสัปดาห์ ร้อยละ 25.43 หรือ กล่าวได้ว่าผู้มีงานท�า ร้อยละ 84.95 ท�างานตั้งแต่ 35 ชั่วโมงขึ้นไป ต่อสัปดาห์ และอาจจัดว่าบุคคลเหล่านีเ้ ป็นผูท้ า� งานเต็มทีใ่ นเรือ่ งชัว่ โมง

การท�างาน ขณะที่ผู้ท�างานน้อยกว่า 35 (1-34) ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เป็นผู้ท�างานไม่เต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการท�างาน ร้อยละ 14.63 ของ ผู้มีงานท�าทั้งสิ้น ส�าหรับผู้มีงานท�าประจ�าแต่ไม่ได้ท�างานในสัปดาห์ แห่งการส�ารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียง ร้อยละ 0.41

แผนภูมิที่ 4 จ�านวนผู้ว่างงานจ�าแนกตามรายจังหวัด

จังหวัด

ภาวะการว่างงาน

จ�านวนผู้ว่างงานประมาณ 63,603 คน เพิ่มขึ้นจากไตรมาส รองลงมาคือ จังหวัดสุโขทัย ร้อยละ 12.85 จังหวัดก�าแพงเพชร ร้อยละ ที่ 3 ปี 2558 ร้อยละ 29.32 จังหวัดที่มีผู้ว่างงาน 5 อันดับแรกได้แก่ 11.13 จังหวัดนครสวรรค์ ร้อยละ 8.24 และจังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ จังหวัดเชียงใหม่โดยเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่างงานมากที่สุด ร้อยละ 32.06 7.05 ส�าหรับจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีผู้ว่างงานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.76


5

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

แผนภูมิที่ 5 อัตราการว่างงานจ�าแนกรายจังหวัด ร้อยละ

จังหวัด

ที่มา : ส�านักงานสถิติแห่งชาติ หมำยเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติผลรวมของแต่ละจ�านวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปัดเศษทศนิยมของข้อมูลแต่ละจ�านวนซึ่งได้จาก การประมวลผลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป

อัตราการว่างงาน

จ�านวนอัตราการว่างงานไตรมาสที ่ 3 ปี 2559 เมือ่ เปรียบเทียบ กับไตรมาสเดียวกันของช่วงปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.75 เป็นร้อยละ 0.99 จังหวัดที่มีอัตราการว่างงาน 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดสุโขทัยมีอตั ราการว่างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 2.30 รองลงมาคือ

จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 2.00 จังหวัดอุตรดิตถ์ ร้อยละ 1.97 จังหวัดก�าแพงเพชร ร้อยละ 1.64 และจังหวัดนครสวรรค์ ร้อยละ 1.06 ส�าหรับจังหวัดพะเยามีอตั ราการว่างงานน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 0.35 ทั้งนี้จังหวัดเชียงรายไม่มีผู้ว่างงานในไตรมาสนี้

แผนภูมิที่ 6 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน จ�านวน (อัตรา/คน)

ภาวะตลาดแรงงานภาคเหนือ สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของส�านักงาน จัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือไตรมาสที่ 3 ปี 2559 (กรกฎาคม - กันยายน) นายจ้างแจ้งความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 11,482 อัตรา ผู้สมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จ�านวน

6,701 คน และสามารถบรรจุงานได้ จ�านวน 11,935 คน เมื่อ เปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2558 ความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงานลดลงโดยลดลงร้อยละ 42.34 ร้อยละ 61.07 และร้อยละ 40.99


6

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง แผนภูมิที่ 7 ความต้องการแรงงาน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวน (อัตรา)

จังหวัด ควำมต้องกำรแรงงำน (ต�าแหน่งงานว่าง) จ�านวน 11,482 อัตรา โดยจังหวัดที่มีความต้องการแรงงานมากที่สุดได้แก่ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 2,389 อัตรา ร้อยละ 20.81 รองลงมาคือ จังหวัดล�าปาง จ�านวน 1,191 อัตรา ร้อยละ 10.37 และจังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 1,075 อัตรา ร้อยละ 9.36 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จ�านวน 4,916 อัตรา ร้อยละ 42.81 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�านวน 2,154 อัตรา ร้อยละ 18.76 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�านวน 1,781 อัตรา ร้อยละ 15.51 จ�ำแนกตำมอุตสำหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต มากที่สุด จ�านวน 4,508 อัตรา ร้อยละ 39.26 รองลงมาคือ การขายส่ง

และการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ จ�านวน 3,092 อัตรา ร้อยละ 26.93 และที่พักแรมและบริการด้านอาหาร จ�านวน 750 อัตรา ร้อยละ 6.53 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒิกำรศึกษำ ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จ�านวน 4,241 อัตรา ร้อยละ 36.94 รองลงมา คือ ระดับประถมศึกษาและต�า่ กว่า จ�านวน 1,833 อัตรา ร้อยละ 15.96 และระดับปริญญาตรี จ�านวน 1,671 อัตรา ร้อยละ 14.55 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี มากที่สุด จ�านวน 5,075 อัตรา ร้อยละ 44.20 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�านวน 2,868 อัตรา ร้อยละ 24.98 และช่วงอายุ 30 - 39 ปี จ�านวน 2,107 อัตรา ร้อยละ 18.35

แผนภูมิที่ 8 ผู้สมัครงานจ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวน (คน)

จังหวัด

ผู้สมัครงำน จ�านวน 15,582 คน โดยจังหวัดที่มีผู้สมัครงาน มากที่สุดได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จ�านวน 1,746 คน ร้อยละ 26.06 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงราย จ�านวน 811 คน ร้อยละ 12.10 และ จังหวัดล�าปาง จ�านวน 634 คน ร้อยละ 9.46 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ เสมียน เจ้าหน้าทีม่ ากทีส่ ดุ จ�านวน 1,675 คน ร้อยละ 25.00 รองลงมาคือ อาชีพงานพื้นฐาน จ�านวน 1,471 คน ร้อยละ 21.95 และพนักงานบริการ พนักงานขาย ในร้านค้าและตลาด จ�านวน 1,286 คน ร้อยละ 19.19

จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒิกำรศึกษำ ได้แก่ ระดับ ปริญญาตรีมากที่สุด จ�านวน 2,878 คน ร้อยละ 42.95 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา จ�านวน 2,344 คน ร้อยละ 34.98 และระดับ ปวส. จ�านวน 636 คน ร้อยละ 9.49 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี มากที่สุด จ�านวน 4,052 คน ร้อยละ 60.47 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�านวน 1,215 คน ร้อยละ 18.13 และช่วงอายุ 30 - 39 ปี จ�านวน 763 คน ร้อยละ 11.39


7

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

แผนภูมิที่ 9 การบรรจุงานจ�าแนกตามรายจังหวัด จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

กำรบรรจุงำน จ�านวน 11,935 คน โดยจังหวัดที่มีการบรรจุ งานมากที่สุดได้แก่ จังหวัดล�าพูน จ�านวน 2,670 คน ร้อยละ 22.37 รองลงมาคือ จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน 1,816 คน ร้อยละ 15.22 และ จังหวัดล�าปาง จ�านวน 1,237 คน ร้อยละ 10.36 จ�ำแนกตำมประเภทอำชีพ ได้แก่ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ จ�านวน 5,379 คน ร้อยละ 45.07 รองลงมาคือ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด จ�านวน 2,287 คน ร้อยละ 19.16 และเสมียน เจ้าหน้าที่ จ�านวน 1,744 คน ร้อยละ 14.61 จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรม การผลิตมากที่สุด จ�านวน 5,048 คน ร้อยละ 42.30 รองลงมาคือ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์

จ�านวน 3,182 คน ร้อยละ 26.66 และทีพ่ กั แรมและบริการด้านอาหาร จ�านวน 703 คน ร้อยละ 5.89 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมวุฒิกำรศึกษำ ได้แก่ ระดับ มัธยมศึกษามากที่สุด จ�านวน 5,146 คน ร้อยละ 43.12 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี จ�านวน 2,924 คน ร้อยละ 24.50 และระดับ ปวส. จ�านวน 1,613 คน ร้อยละ 13.51 จ�ำแนกประเภทอำชีพตำมช่วงอำยุ ได้แก่ ช่วงอายุ 30 - 39 ปี มากที่สุด จ�านวน 4,352 คน ร้อยละ 36.46 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 18 - 24 ปี จ�านวน 2,940 คน ร้อยละ 24.63 และช่วงอายุ 25 - 29 ปี จ�านวน 2,631 คน ร้อยละ 22.04

ภาวะการลงทุนภาคเหนือ ตารางที่ 5 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามรายจังหวัด


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง การลงทุนในภาคเหนือไตรมาสที่ 3 ปี 2559 มีโรงงานที่ ขออนุญาตประกอบกิจการใหม่ 220 แห่ง เงินลงทุน 18,348.89 ล้านบาท และเกิดการจ้างงาน 3,102 คน เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 3 ปี 2558 พบว่าโรงงานอุตสาหกรรม เงินลงทุน และการจ้างงานเพิม่ ขึน้ โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.80 ร้อยละ 0.16 และร้อยละ 6.23 จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดอุทัยธานีมีโรงงานที่ได้รับ อนุญาตให้ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 27.73 รองลงมาคือ

8

จังหวัดแพร่ ร้อยละ 21.82 และจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 7.27 เมื่อ พิจารณาตามการลงทุนจังหวัดก�าแพงเพชรมีมลู ค่าการลงทุนมากทีส่ ดุ ร้อยละ 62.57 รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ์ ร้อยละ 17.72 และจังหวัดล�าพูน ร้อยละ 5.75 ส�าหรับการจ้างงานจังหวัดตากมี การจ้างงานมากทีส่ ดุ ร้อยละ 20.99 รองลงมาคือ จังหวัดก�าแพงเพชร ร้อยละ 19.92 และจังหวัดเพชรบูรณ์ร้อยละ 19.76

ตารางที่ 6 จ�านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจ้างงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จ�ำแนกตำมประเภทอุตสำหกรรม พบว่าอุตสาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์และเครือ่ งเรือนเป็นประเภทอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาต ประกอบกิจการมากที่สุด ร้อยละ 27.73 รองลงมาคือ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ร้อยละ 12.73 และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์อโลหะ ร้อยละ 11.82 ส�าหรับอุตสาหกรรมเคมีมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุด ร้อยละ

44.84 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม ร้อยละ 16.88 และ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ร้อยละ 14.71 และเมื่อพิจารณาตาม การจ้างงานอุตสาหกรรมเคมีมีการจ้างงานมากที่สุด ร้อยละ 16.44 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ร้อยละ 16.12 และอุตสาหกรรม อาหาร ร้อยละ 11.44


9

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคเหนือ เศรษฐกิจและกำรเงินภำคเหนือในไตรมำสที่ 3 ปี 2559 ชะลอลงจากไตรมาสก่อน ภาพรวมอุปสงค์ยังอ่อนแอ ส่วนส�าคัญ มาจากการลงทุนภาคเอกชนยังหดตัว การบริโภคภาคเอกชนชะลอลง อย่างไรก็ดกี ารใช้จา่ ยภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนขยายตัวได้ดชี ดเชย ด้านอุปสงค์ได้บางส่วน ด้านการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ลดลง การส่งออกหดตัวมากขึ้นทั้งในส่วนของการส่งออกที่ไม่ใช่ชายแดน และชายแดน ส่ ว นภาคการท่ อ งเที่ ย วอยู ่ ใ นเกณฑ์ ดี ต ่ อ เนื่ อ ง ด้านการผลิตภาคเกษตรผลผลิตข้าวเพิม่ ขึน้ ในช่วงต้นฤดูกาลเก็บเกีย่ ว มีส่วนให้รายได้เกษตรปรับดีขึ้นบ้าง แต่ยังมีความเสี่ยงที่ราคา พืชผลเกษตรส�าคัญมีแนวโน้มลดลง ส�าหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจ ภาคเหนือโดยทั่วไปยังอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราเงินเฟ้อ เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ตามราคาอาหารสด อัตราการว่างงานแม้อยู่ในระดับต�่า แต่จ�านวน ผู้ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานมีทิศทางเพิ่มขึ้น ด้านเงินให้ สินเชื่อและเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ชะลอลง รายละเอียดของ ภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือมีดังนี้ กำรลงทุนภำคเอกชน ลดลงร้อยละ 4.7 ส่วนส�าคัญ มาจากภาวะซบเซาในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง อย่างไร ก็ดกี ารลงทุนภาคเอกชนทีเ่ พิม่ เป็นการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในจังหวัด ท่องเที่ยวส�าคัญ ด้านการลงทุนในภาคการผลิตยังไม่ฟน้ื ตัว จากภาวะ ซบเซาของเศรษฐกิจในประเทศและต่างประเทศ โดยมีก�าลังการผลิต เหลืออยูใ่ นหมวดชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์สอดคล้องกับเครือ่ งชีก้ ารลงทุน ที่ส�าคัญ ได้แก่ พื้นที่รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาล โดยเฉพาะ การก่อสร้างโรงงาน อาคารพาณิชย์และอาคารชุด ยอดขายวัสดุกอ่ สร้าง ปริมาณจดทะเบียนรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ และยอดการน�าเข้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ กำรอุปโภคบริโภคภำคเอกชน ขยายตัวเพียงร้อยละ 2.2 โดยปัจจัยชั่วคราวจากยอดขายในหมวดยานยนต์ ที่เพิ่มขึ้นค่อยๆ หมดไป รวมถึงการใช้จา่ ยหมวดสินค้าในชีวติ ประจ�าวันยังหดตัวกระจาย ทัง้ ภาคเหนือตอนบน และเหนือตอนล่าง ส่วนการใช้จ่ายหมวดน�า้ มัน เชื้อเพลิงลดลง โดยส่วนหนึ่งจากผลด้านราคาที่ปรับเพิ่มขึ้น กำรใช้จ่ำยลงทุนภำครัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 กระจายตัวดี ทั้งภาคเหนือตอนบนและตอนล่าง จากการเร่งเบิกจ่ายช่วงไตรมาส สุดท้ายของปีงบประมาณ ทัง้ โครงการก่อสร้างและซ่อมแซมถนนของ กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท การพัฒนาแหล่งน�า้ และระบบ ชลประทานของกรมชลประทาน รวมถึงการก่อสร้างอาคารสถาบัน การศึกษา และโรงพยาบาลให้แล้วเสร็จตามก�าหนดเวลา รำยได้เกษตรกร หดตัวน้อยลงเป็นร้อยละ 6.7 ดัชนีผลผลิต สินค้าเกษตรหดตัวเหลือร้อยละ 7.3 ผลผลิตพืชส�าคัญเพิม่ ขึน้ จากการ เข้าสู่ฤดูกาลเก็บเกี่ยวทั้งข้าวนาปี หอมแดง และสับปะรด รวมถึง

ผลผลิตปศุสัตว์ยังคงเพิ่มขึ้น ทั้งสุกร ไก่เนื้อ และไข่ไก่ ตาม ความต้องการบริโภคภายในประเทศและส่งออก ขณะที่ผลผลิตที่ ลดลง ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง มันส�าปะหลัง และ ล�าไย ทัง้ นี ้ ผลจากน�า้ ท่วมช่วงเดือนกันยายนในภาคเหนือตอนล่างต่อ ผลผลิตพืชหลัก เช่น ข้าว ยังอยูจ่ า� กัดบางพืน้ ทีเ่ ท่านัน้ ด้านราคาสินค้า เกษตรเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.7 โดยเฉพาะราคาข้าวและล�าไย ขณะทีร่ าคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และมันส�าปะหลังลดลง เนื่องจากมีการน�าเข้า ข้าวสาลีและกากข้าวโพดมาใช้ทดแทนในการผลิตอาหารสัตว์มากขึน้ และราคาปศุสตั ว์ลดลงจากราคาไก่เนือ้ เป็นส�าคัญ เนือ่ งจากมีผลผลิต มากกว่าความต้องการของตลาด ทั้งนี้ จากแนวโน้มผลผลิตพืชหลัก มีมากขึ้น อาจส่งผลต่อราคาสินค้าเกษตรทั่วไปอาจมีแนวโน้มลดลง ในระยะข้างหน้า ผลผลิตอุตสำหกรรม ลดลงร้อยละ 17.1 ส่วนส�าคัญมาจาก การผลิตส่งออกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะแผงวงจรรวมและ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า รวมถึงการผลิตกลุ่มส่วนประกอบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ สิ่งทอ เซรามิก อัญมณี และเครื่องประดับ ตามการชะลอตัวของ ค�าสั่งซื้อในตลาดโลก อย่างไรก็ดี พบว่าโรงงานบางรายที่อยู่ในห่วงโซ่ อุปทาน การผลิตยานยนต์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีการลงทุนใน เครื่องจักรเพื่อปรับสายการผลิตให้สอดคล้องกับอุปสงค์ของตลาด มากขึ้น ด้านการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปกลับมาขยายตัวในกลุ่ม การแปรรูปผักผลไม้ และการสีข้าว ตามวัตถุดิบการเกษตรมากขึ้น ในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว มูลค่ำกำรส่งออก หดตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.0 ทัง้ จากมูลค่าการ ส่งออกสินค้าชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ไปจีน ฮ่องกง และสิงคโปร์ตาม เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัวและภาวะการแข่งขันสูง และมูลค่า การส่งออกไปยังชายแดน โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภคและปศุสตั ว์ ไป สปป. ลาว และจีนตอนใต้หดตัวต่อเนือ่ ง จากการเข้มงวดมาตรฐาน การน�าเข้าสินค้าในกลุม่ ประเทศดังกล่าว อย่างไรก็ด ี มีเพียงการส่งออก ไปสหภาพเมียนมาในกลุ่มเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเกษตร และสินค้าอุปโภคบริโภคยังขยายตัวดีชว่ ยพยุงให้ภาพรวมการส่งออก ไม่ลดลงมากนัก ด้านมูลค่าการน�าเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.6 จากการ น�าเข้ากระแสไฟฟ้าจาก สปป.ลาว เป็นส�าคัญ ขณะทีก่ ารน�าเข้าวัตถุดบิ และสินค้าขั้นกลาง เพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกยังหดตัว ภำคกำรท่องเทีย่ ว ขยายตัวได้ดเี กินความคาดหมาย แม้อยูน่ อก ฤดูกาลท่องเที่ยว สะท้อนจากแนวโน้มของเครื่องชี้ที่ส�าคัญๆ ได้แก่ จ�านวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานภาคเหนือ จ�านวนเที่ยวบินตรง และนักท่องเที่ยว ต่างชาติผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยาน เชียงใหม่ อัตราเข้าพักของโรงแรม และปริมาณการจัดเก็บ ภาษีมลู ค่า เพิ่มประเภทโรงแรมและภัตตาคาร ทั้งนี้ องค์ประกอบส�าคัญมาจาก


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ทั้งนักท่องเที่ยวไทยเดินทางเข้าร่วมประชุมสัมมนาและท่องเที่ยวใน จังหวัดส�าคัญในช่วงวันหยุดยาว และนักท่องเที่ยวชาวจีนทั้งกลุ่มที่ เดินทางอิสระและเดินทางเป็นกลุ่มมีมากกว่าคาดไว้ เสถียรภำพเศรษฐกิจภำคเหนือ โดยทัว่ ไปอยูใ่ นเกณฑ์ด ี อัตรา เงินเฟ้อทั่วไปปรับขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสก่อน โดยราคาอาหารสด ประเภทไข่ไก่ ผัก และผลไม้สดเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาน�้ามันขายปลีกใน ประเทศหดตัวในอัตราน้อยลง ตามทิศทางราคาน�้ามันในตลาดโลก ด้านอัตราการว่างงานแม้ทรงตัวในระดับต�่าที่ร้อยละ 1.0 แต่จ�านวน ผู้ขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานมีทิศทางเพิ่มขึ้น ภำคกำรเงิน ณ สิน้ ไตรมาส 3 ปี 2559 สาขาธนาคารพาณิชย์ มียอดคงค้างเงินให้สินเชื่อ 581,824 ล้านบาท ชะลอลงเหลือร้อยละ

10

1.2 ส่วนส�าคัญมาจากการหดตัวในสินเชือ่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ขนส่ง และธุรกิจการเงิน อย่างไรก็ดีสินเชื่อธุรกิจโรงแรมและด้านสุขภาพ ขยายตัวดี สอดคล้องกับภาคธุรกิจท่องเที่ยว ขณะที่สินเชื่อภาค การก่อสร้าง ค้าปลีกค้าส่ง อุตสาหกรรมการผลิต สินเชื่อส่วนบุคคล และสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยยังขยายตัวได้แม้ในอัตราไม่สูงนัก ด้าน เงินฝากมียอดคงค้าง 628,307 ล้านบาท เพิ่มขึ้นในอัตราชะลอลง ร้อยละ 3.9 ส่วนหนึ่งจากการถอนเงินฝากของส่วนราชการและ เงินฝากที่ครบก�าหนด ทั้งนี้ สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากสูงขึ้นเล็กน้อย เป็นร้อยละ 92.6 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�านักงานภาคเหนือ

การไปท�างานต่างประเทศภาคเหนือ แผนภูมิที่ 10 จ�านวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�าแนกตามวิธีการเดินทาง 5 วิธี และ Re-entry

คนงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้ไปท�างานต่างประเทศไตรมาส ที่ 3 ปี 2559 จ�านวน 4,073 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 3 ปี 2558 ร้อยละ 3.25 จ�ำแนกตำมวิธกี ำรเดินทำง การเดินทางโดยบริษทั จัดหางาน จัดส่ง จ�านวน 2,376 คน ร้อยละ 58.34 รองลงมาได้แก่ การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดส่ง จ�านวน 812 คน ร้อยละ 19.94 การเดินทาง

ด้วยตนเอง จ�านวน 492 คน ร้อยละ 12.08 การเดินทางโดยนายจ้าง ส่งลูกจ้างไปฝึกงาน จ�านวน 207 คน ร้อยละ 5.08 และการเดินทาง โดยนายจ้างพาลูกจ้างไปท�างาน จ�านวน 186 คน ร้อยละ 4.57 ส�าหรับ Re-entry ในไตรมาสนี้มีจ�านวน 2,060 คน ลดลงจากไตรมาสที่ 3 ของปีที่ผ่านมา จ�านวน 153 คน ร้อยละ 6.91

หมายเหตุ : การแจ้งการเดินทางกลับไปท�างานต่างประเทศ (Re-entry) หมายถึง กรณีที่คนหางานเดินทางไปท�างานในต่างประเทศแล้วเดิน ทางกลับมาพักผ่อนหรือท�าธุระชั่วคราวที่ประเทศไทยในระหว่างสัญญาจ้าง แล้วกลับไปท�างานกับนายจ้างรายเดิม รวมทั้งกรณีที่ท�างานครบ ก�าหนดตามสัญญาจ้างฉบับเดิมแล้วได้ท�าสัญญาจ้างใหม่กับนายจ้าง ซึ่งอาจเป็นนายจ้างรายเดิมหรือนายจ้างรายใหม่ก็ได้ แล้วจึงเดินทางกลับ มาพักผ่อนหรือท�าธุระที่ประเทศไทย แล้วเดินทางกลับไปท�างานอีก ต้องแจ้งการเดินทางให้กรมการจัดหางานทราบก่อนวันเดินทาง


11

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

แผนภูมิที่ 11 ประเทศที่คนงานเดินทางไปท�างานมากที่สุด 10 อันดับแรก จ�านวน (คน)

ประเทศ

จ�ำแนกตำมรำยประเทศ ประเทศทีค่ นงานเดินทางไปท�างาน 602 คน ร้อยละ 14.78 ประเทศญี่ปุ่น จ�านวน 332 คน ร้อยละ 8.15 มากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ประเทศไต้หวัน จ�านวน 1,938 คน ประเทศอิสราเอล จ�านวน 206 คน ร้อยละ 5.06 และประเทศแอฟริกาใต้ ร้อยละ 47.58 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จ�านวน จ�านวน 181 คน ร้อยละ 4.44 แผนภูมิที่ 12 จ�านวนคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือที่ได้รับอนุญาตเดินทางไปท�างานต่างประเทศ จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ

จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปท�างาน ร้อยละ 14.56 จังหวัดสุโขทัย จ�านวน 565 คน ร้อยละ 13.87 ต่างประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จ�านวน จังหวัดก�าแพงเพชร จ�านวน 316 คน ร้อยละ 7.76 และจังหวัดตาก 793 คน ร้อยละ 19.47 รองลงมาคือ จังหวัดล�าปาง จ�านวน 593 คน จ�านวน 277 คน ร้อยละ 6.80


12

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การท�างานของคนต่างด้าวภาคเหนือ แผนภูมิที่ 13 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามประเภทที่ได้รับอนุญาต

คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�างานในภาคเหนือ ณ เดือนกันยายน 2559 จ�านวน 150,058 คน เมือ่ เปรียบเทียบ ณ เดือนกันยายน 2558 ลดลง ร้อยละ 12.61 จ�ำแนกตำมประเภทที่ได้รับอนุญำตท�ำงำน จ�าแนกเป็น คนต่างด้าว ดังนี้

มาตรา 9 - คนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ ร้อยละ 0.001 - คนต่างด้าวประเภททั่วไป ร้อยละ 5.19 - คนต่างด้าวพิสูจน์สัญชาติ ร้อยละ 76.71 - คนต่างด้าวประเภทน�าเข้าตาม MOU ร้อยละ 7.10 มาตรา 12 - คนต่างด้าวประเภทส่งเสริมการลงทุน ร้อยละ 0.70 มาตรา 13 - คนต่างด้าวชนกลุ่มน้อย ร้อยละ 10.29

แผนภูมิที่ 14 จ�านวนคนต่างด้าวจ�าแนกตามรายจังหวัดที่ได้รับอนุญาตท�างาน จ�านวน (คน)

จังหวัด

ที่มา : ส�านักบริหารแรงงานต่างด้าว

จ�ำแนกตำมรำยจังหวัด เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัดแรงงาน ต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�างาน 5 อันดับแรกดังนี้ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 50.81 รองลงมาคือ จังหวัดตาก ร้อยละ 21.30 จังหวัดเชียงราย

ร้อยละ 7.73 จังหวัดล�าพูน ร้อยละ 5.87 และจังหวัดพิษณุโลก ร้อยละ 2.74 ตามล�าดับ ส�าหรับจังหวัดอุทัยธานีมีแรงงานต่างด้าวที่ได้ รับอนุญาตท�างานน้อยที่สุด ร้อยละ 0.09


13

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

บทวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ ความท้าทายด้านแรงงานของไทยในเศรษฐกิจยุคใหม่ 16 สิงหำคม 2559 โดย พัชรพร ลีพิพัฒน์ไพบูลย์

ไทยก�าลังจะก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ที่มีพลังขับเคลื่อน ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ภายใต้โลกยุคใหม่ ทีเ่ ข้าสูเ่ ทคโนโลยีขอ้ มูลและการสือ่ สารแบบดิจติ อล การเปลีย่ นแปลงของ เศรษฐกิจนี้ย่อมส่งแรงกระเพื่อมต่อโครงสร้างตลาดแรงงาน ซึ่งกล่าว กันว่า ในโลกอนาคตเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ และอื่นๆ จะท�าให้งานแบบดั้งเดิม หลายล้านต�าแหน่งหายสาบสูญไป ขณะเดียวกันก็จะมีงานรูปแบบ ใหม่ๆ เกิดขึ้น บทความนี้จะน�าเสนอให้เห็นถึงประสบการณ์ของ ต่างประเทศถึงผลของการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทมี่ ตี อ่ โครงสร้าง ตลาดแรงงาน และศึกษากรณีของไทย รวมทั้งแนวทางการเตรียม ความพร้อมที่เราจะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้ โครงสร้ำงตลำดแรงงำนแบบทวิลักษณ์ (Dualistic) ผลการศึกษาของสถาบันวิจัยด้านแรงงานของเยอรมนี IZA (2012) ชี้ให้เห็นว่าประเทศก�าลังพัฒนาส่วนใหญ่มีโครงสร้างตลาดแรงงาน แบบทวิลักษณ์ (Dualism) คือ มีความแตกต่างระหว่างโครงสร้าง ตลาดแรงงานแบบดั้งเดิมและแบบใหม่สูง โครงสร้างตลาดแรงงาน ไทยก็เผชิญกับทวิลักษณ์นี้เช่นกัน กล่าวคือมีความแตกต่างกันมาก ในด้านผลิตภาพ (Productivity) ระหว่างแบบดั้งเดิมในภาคเกษตร และแบบใหม่ในภาคอุตสาหกรรมรวมทั้งยังมีความแตกต่างกัน อย่างมากของผลิตภาพของแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ในอดีตการเติบโตของเศรษฐกิจไทยส่วนใหญ่มาจากการเติบโต ของจ�านวนแรงงาน แต่ในปัจจุบันกระบวนการดังกล่าวเริ่มหายไป เป็นผลจากประชากรสูงอายุเพิม่ ขึน้ ท�าให้จา� นวนก�าลังแรงงานน้อยลง ขณะเดียวกันคนท�างานส่วนใหญ่ของประเทศมีทกั ษะไม่สงู คือร้อยละ 80 มีระดับการศึกษาต�่ากว่ามัธยมศึกษาและร้อยละ 60 ของแรงงาน

ทั้งหมดเป็นแรงงานนอกระบบซึ่งส่วนใหญ่อยู่ใน ภาคเกษตรและเป็นแรงงานสูงอายุ แรงงานนอกระบบ มั ก ขาดปั จ จั ย ทุ น ทั้ ง เครื่ อ งจั ก รและเทคโนโลยี ส่ ง ผลให้ มี ผ ลิ ต ภาพที่ ต�่ า กว่ า แรงงานในระบบ จากโครงสร้างตลาดแรงงานนี ้ หากไทยน�าเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการผลิตมากขึ้น คาดว่าน่าจะส่งผลให้เกิดความแตกต่างแบบทวิลกั ษณ์ อย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ และอาจน�ามาซึง่ ความไม่เท่าเทียม ทั้งในด้านรายได้ และการเข้าถึงปัจจัยทุนมากขึ้น ประสบกำรณ์ต่ำงประเทศ: กำรเกิดปรำกฏกำรณ์ตลำด แรงงำนสองขั้ว (Job Polarization) ประสบการณ์จากกรณีศึกษา ของตลาดแรงงานของสหรัฐอเมริกาที่มีการใช้เทคโนโลยีในการผลิต น�าเสนอในงานวิจยั ของ National Bureau of Economic Research (NBER) โดย Jaimovich และSiu (2012) ซึ่งแบ่งคนท�างานที่ไม่รวม ผู้ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ กลุ่ม A คือ กลุ่มงำนลักษณะประจ�ำ (Routine) และใช้ แรงงำนเป็นหลัก เช่น งานด้านการขนส่ง ขนย้ายของ ก่อสร้าง ติดตั้ง ซ่อมแซม เครื่องจักร รวมถึงการผลิต กลุ่ม B คือ กลุ่มงำนลักษณะประจ�ำ (Routine) และ ใช้ควำมคิดเป็นหลัก เช่น งานด้านการขาย และงานบริษัท กลุ่ม C คือ กลุ่มงำนลักษณะไม่ประจ�ำ (Non-routine) และใช้แรงงำนเป็นหลัก เช่น งานด้านบริการ กลุ่ม D คือ งำนลักษณะไม่ประจ�ำ ( Non-routine) และ ใช้ควำมคิดเป็นหลัก เช่น ผู้บริหาร อาชีพที่เกี่ยวกับการเงิน และ อาชีพเฉพาะทาง ผลการศึกษาเชิงประจักษ์พบว่า เมื่อมีการน�าเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น จะท�าให้ตลาดแรงงาน เกิดปรากฏการณ์ตลาดแรงงานสองขั้ว (Job Polarization) คือ จ�านวนแรงงานที่มีทักษะต�่ากลุ่ม C และแรงงานทักษะสูง กลุ่ม D จะมีต�าแหน่งงานเพิ่มขึ้น ในขณะที่แรงงานที่มีทักษะต�่ากว่า คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B จะมีจ�านวนลดลงเนื่องจากมีการ Outsource งานในกลุ่มที่มีลักษณะประจ�าออกไปต่างประเทศ รวมถึงมีการน�า เทคโนโลยีมาใช้แทนที ่ ท�าให้แรงงานกลุม่ นีเ้ ป็นกลุม่ ทีม่ คี วามอ่อนไหว ต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว คือ มีแนวโน้มที่จะตกงานมากขึ้น


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

14

กรณีของไทย : เทคโนโลยีท�ำให้ต�ำแหน่งงำนบำงประเภท หำยไป เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ผู้ผลิตทั้งในภาคอุตสาหกรรม หรือบริการต้องพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีให้ทันกับ ความเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการของตลาดหรือลูกค้า ได้ในยุคทีม่ กี ารแข่งขันสูง ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วมักมีการใช้เทคโนโลยี เข้มข้นเป็นกลไกส�าคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจให้ รุดหน้าเพื่อผลิตสินค้าส่งออกที่มีมูลค่าสูงขึ้น ซึ่งหากไทยจะก้าวไปสู่ ระดับการผลิตทีใ่ ช้เทคโนโลยีสงู ขึน้ ในด้านหนึง่ มีผลดีตอ่ ตลาดแรงงาน คือ จะช่วยลดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในปัจจุบันเนื่องจาก การผลิตจะใช้แรงงานในสัดส่วนที่น้อยลง ในอีกด้านหนึ่งก็สร้าง ผลกระทบให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในตลาดแรงงานอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ จากกรณีศึกษาของไทยที่ใช้กรอบการศึกษาแบ่งแรงงานตาม ลักษณะงาน (Job Characteristics) เช่นเดียวกับงานของ Jaimovich และ Siu (2012) พบว่าในตลาดแรงงานไทย ร้อยละ 40 (10.3 ล้านคน) ของจ�านวนแรงงานทั้งหมดเป็นแรงงานในสาขาอาชีพที่อยู่ในกลุ่ม A คือกลุม่ งานลักษณะประจ�าและใช้แรงงาน ส่วนใหญ่เป็นคนท�างานใน สาขาการผลิต ก่อสร้าง และงานบริการสนับสนุนจ�าพวกติดตัง้ ซ่อมแซม ร้อยละ 20 (5.4 ล้านคน) อยู่ในกลุ่ม B คือกลุ่มงานลักษณะประจ�า และใช้ความคิด เช่น งานด้านการขาย และงานบริษัท ส่วนใหญ่อยู่ใน สาขาการค้า และบันเทิงและนันทนาการร้อยละ 15 (3.4 ล้านคน) อยู่ในกลุ่ม C คือ กลุ่มงานลักษณะไม่ประจ�าและใช้แรงงานกระจุก อยูใ่ นสาขาบริการทีพ่ กั และอาหารซึง่ เป็นงานด้านบริการ และร้อยละ 25 (6.5 ล้านคน) อยูใ่ นกลุม่ D คืองานลักษณะไม่ประจ�าและใช้ความคิดที่ เป็นผู้บริหาร หรืออาชีพเฉพาะทางในสาขาการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคนิค และการเงินหากใช้กรอบการวิเคราะห์ของ Jaimovich และ Siu มาอธิบายสิ่งที่จะเกิดขึ้นในตลาดแรงงานของไทย ซึ่งการศึกษานี้ ไม่รวมผู้ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมจ�านวน 15 ล้านคน

ผลการศึกษาสะท้อนว่า หากมีการน�าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อ ทดแทนงานที่มีลักษณะประจ�าจะท�าให้แรงงานกลุ่ม A และ B เป็น กลุ่มเปราะบาง ซึ่งคนท�างานในกลุ่มนี้มีอยู่ประมาณ 15 ล้านคน โดยเฉพาะกลุม่ คนทีม่ กี ารศึกษาต�า่ กว่ามัธยมปลายจ�านวน 12.5 ล้านคน ส่วนกลุ่ม C และกลุ่ม D ซึ่งท�างานในลักษณะไม่ประจ�า และต้องใช้ ทักษะเฉพาะตัว (Personal Skill) จะมีโอกาสในการหางานท�า มากขึ้นซึ่งมีอยู่ประมาณ 10 ล้านคน เช่น กลุ่มทักษะต�่าในงานบริการ และกลุ่มทักษะสูงที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง แต่มีข้อสังเกตว่า ปรากฏการณ์ตลาดแรงงานสองขั้วไม่ได้มาจากผลการเปลี่ยนแปลง ทางโครงสร้างเพียงอย่างเดียว แต่ยังมาจากผลของวัฏจักรเศรษฐกิจ ด้วย อย่างไรก็ดกี ารจะก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางโดยใช้เทคโนโลยี ก็ยังเป็นสิ่งที่ท้าทายส�าหรับประเทศไทย เนื่องจากไทยคงต้องเผชิญ กับปัญหาตลาดแรงงานสองขั้วที่กลุ่มแรงงานที่มีทักษะต�า่ มีแนวโน้ม ที่จะสูญเสียต�าแหน่งงานมากขึ้น ขณะที่ผู้ที่ท�างานด้านบริการ และ กลุม่ แรงงานทีม่ ที กั ษะสูงมีแนวโน้มทีจ่ ะมีตา� แหน่งงานเพิม่ ขึน้ ดังเช่น ทีเ่ กิดขึน้ ในต่างประเทศแล้ว ซึง่ จะท�าให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันเพิม่ มากขึ้นระหว่างสองกลุ่มนี้ โดยแรงงานที่มีทักษะสูงซึ่งมีจ�านวน น้อยกว่าจะได้ประโยชน์ ในขณะที่แรงงานทักษะต�่าจ�านวนมากที่ ไม่สามารถพัฒนาความสามารถทันกับเทคโนโลยีที่จะเข้ามาได้จะ สูญเสียต�าแหน่งงานไป การทีป่ ระเทศไทยจะสามารถเกาะขบวนรถไฟ เศรษฐกิจดิจิตอลเพื่อก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางนั้นจึงจ�าเป็น จะต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านแรงงานอย่างเร่งด่วนและ จริงจัง เพิม่ ความสามารถในการเข้าถึงทุนและนวัตกรรมส�าหรับแรงงาน ที่มีความเปราะบาง รวมถึงการมี “สถาบันฝึกอบรมทวิภาคีร่วมรัฐ - เอกชน” เพื่อเสริมทักษะที่จ�าเป็นส�าหรับต�าแหน่งงานในโลกอนาคต ที่จะท�าให้แรงงานทุกกลุ่มได้รับผลดีจากเศรษฐกิจดิจิตอลที่ก�าลัง จะเกิดขึ้น ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย สัดส่วนคนท�ำงำนในตลำดแรงงำนไทย แบ่งตำมลักษณะงำน (Job Characteristic)

หมายเหตุ 1. ขนาดของวงกลมแสดงสัดส่วนของการจ้างงาน 2. A คือ งานที่มีลักษณะประจ�า (Routine) และใช้แรงงานเป็นหลัก B คือ งานที่มีลักษณะประจ�า (Routine) และใช้ความคิดเป็นหลัก C คือ งานลักษณะไม่ประจ�า (Nonroutine) และใช้แรงงานเป็นหลัก และ D คืองานลักษณะไม่ประจ�า (Nonroutine) และใช้ความคิดเป็นหลัก ทีม่ า : Labour Force Survey ส�านักงานสถิตแิ ห่งชาติ และค�านวณโดยผูเ้ ขียน และใช้ลกั ษณะการแบ่งงานตามกรอบการศึกษาของ Jaimovich and Siu (2012)


15

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

ข่าวเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สามของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559-2560

ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ แถลงตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในไตรมาส ที่สามของปี 2559 และแนวโน้มปี 2559 - 2560 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สามของปี 2559 ขยายตัวร้อยละ 3.2 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สาม ขยายตัวจากไตรมาสที่สองของปี 2559 ร้อยละ 0.6 (QoQ_SA) รวม 9 เดือนแรกของปี 2559 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 3.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ด้ำนกำรใช้จ่ำย การใช้จ่ายภาคครัวเรือนขยายตัวดีต่อเนื่อง การส่งออกบริการขยายตัวเร่งขึน้ และการส่งออกสินค้ากลับมาขยายตัว การลงทุนภาครัฐขยายตัวดี แต่รายจ่ายประจ�าของภาครัฐยังปรับตัว ลดลงเนื่องจากมีการเร่งรัดเบิกจ่ายในช่วงก่อนหน้า โดยการใช้จ่าย ภาคครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 3.5 ต่อเนื่องจากการขยายตัวในเกณฑ์ สูงร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการ ปรับตัวดีขนึ้ ของการผลิตภาคการเกษตรและรายได้เกษตรกรโดยรวม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ และวันหยุดยาวในช่วงวันที ่ 16 - 20 กรกฎาคม 2559 สอดคล้องกับการขยายตัวของภาษีมูลค่า เพิม่ หมวดโรงแรมและภัตตาคาร (ราคาคงที)่ ร้อยละ 13.1 ส่วนปริมาณ การจ�าหน่ายรถยนต์นั่งและปริมาณการจ�าหน่ายรถจักรยานยนต์ยัง ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.0 และร้อยละ 17.8 ตามล�าดับ และการใช้จา่ ย ในหมวดสินค้าอื่นๆ ขยายตัวต่อเนื่อง ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค เกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมอยูท่ รี่ ะดับ 62.3 เทียบกับระดับ 61.1

ในไตรมาสก่ อ นหน้ า การใช้ จ ่ า ยเพื่ อ การอุปโภคของรัฐบาลลดลงร้อยละ 5.8 เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายในช่วงก่อนหน้า และฐานทีส่ งู จากการเร่งรัดเบิกจ่ายเม็ดเงิน ภายใต้ ม าตรการกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ใน ช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับการ ลดลงของการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ�า ในไตรมาสนี ้ การลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 1.4 โดยการลงทุนภาครัฐขยายตัวใน เกณฑ์ดีต่อเนื่องร้อยละ 6.3 เป็นผลจาก การลงทุนภาครัฐบาลทีข่ ยายตัวร้อยละ 3.8 และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจทีข่ ยายตัวสูง ร้อยละ 10.5 ในขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชน ลดลงร้อยละ 0.5 เนือ่ งจากการลดลงของการลงทุนในหมวดยานพาหนะ โดยเฉพาะรถบรรทุกและรถยนต์โดยสารขนาดใหญ่ ส�าหรับยอด การอนุมัติส่งเสริมการลงทุนในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นร้อยละ 50.2 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้มกี ารอนุมตั โิ ครงการทีม่ มี ลู ค่า การลงทุนสูงจ�านวนหลายโครงการ อาทิ โครงการท่อขนส่ง ก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่ มูลค่าประมาณ 96,500 ล้านบาท และ โครงการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี มูลค่าประมาณ 74,200 ล้านบาท ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ที่ระดับ 49.2 เทียบกับระดับ 50.0 ใน ไตรมาสก่อนหน้า ด้ำนภำคต่ำงประเทศ การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 54,907 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 0.4 เป็นการเริ่มกลับมาขยายตัว เป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส โดยราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 (เพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 14 ไตรมาส) ในขณะที่ปริมาณ การส่งออกลดลงร้อยละ 0.3 ตามการลดลงของปริมาณการส่งออก สินค้าเกษตร ในขณะที่ปริมาณการส่งออกสินค้าประมงและสินค้า อุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ สินค้าส่งออกทีข่ ยายตัว เช่น รถยนต์นงั่ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ เครือ่ งปรับอากาศ และกุง้ ปู กัง้ และล็อบสเตอร์ สินค้า ส่งออกทีล่ ดลง เช่น ข้าว ยางพารา มันส�าปะหลัง น�้าตาล เคมีภัณฑ์ ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เป็นต้น การส่งออกไปยังตลาด สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป (15) ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และอาเซียน (5) ขยายตัว แต่การส่งออกไปตลาดจีน ตะวันออกกลาง และกลุม่ ประเทศ CLMV ลดลง เนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนและการลดลง


ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง ของราคาน�้ามัน เมื่อหักการส่งออกทองค�าที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 0.1 การน�าเข้าสินค้า มีมูลค่า 45,934 ล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงร้อยละ 2.4 โดยมีสาเหตุส�าคัญมาจากการ ลดลงของราคาน�าเข้าร้อยละ 1.0 โดยเฉพาะราคาสินค้าหมวดเชือ้ เพลิง เช่น น�า้ มันดิบ น�้ามันส�าเร็จรูป และก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม เป็นต้น

16

ร้อยละ 60.4 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 58.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เสถียรภาพทางเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยที่อัตราการว่างงานยัง อยู่ในระดับต�่าร้อยละ 0.9 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยร้อยละ 0.3 บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 10,291 ล้านดอลลาร์ สรอ. (358,628 ล้านบาท) หรือคิดเป็นร้อยละ 10.2 ของ GDP เงินทุนส�ารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2559 อยู่ที่ 180.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และ ด้ำนกำรผลิต ปรับตัวดีขนึ้ ในเกือบทุกภาคการผลิต โดยเฉพาะ หนีส้ าธารณะ ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2559 มีมลู ค่าทัง้ สิน้ 5,949,330.6 สาขาโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวเร่งขึ้น สาขาคมนาคมขนส่ง ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 42.4 ของ GDP สาขาการค้าส่งค้าปลีก สาขาก่อสร้าง และสาขาอุตสาหกรรมขยายตัว แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2559 ต่อเนือ่ ง ส่วนสาขาเกษตรกรรมกลับมาขยายตัวครัง้ แรกในรอบ 8 ไตรมาส เศรษฐกิจไทยปี 2559 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 ปรับตัว โดยสาขาเกษตรกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ปรับตัวดีข้ึนเมื่อเทียบกับ การลดลงร้อยละ 1.2 ในไตรมาสก่อนหน้า เนือ่ งจากสถานการณ์ภยั แล้ง ดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในปี 2558 และอยู่ในช่วงประมาณ ทีผ่ อ่ นคลายลง โดยผลผลิตพืชเกษตรส�าคัญทีข่ ยายตัว ได้แก่ มันส�าปะหลัง การร้อยละ 3.0 - 3.5 ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 ปาล์มน�้ามัน ปศุสัตว์ และประมง ในขณะที่ผลผลิตพืชเกษตรส�าคัญ โดยการส่งออกสินค้าและบริการ การใช้จ่ายภาคครัวเรือน และ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือก ข้าวโพด ยางพารา และไม้ผล การลงทุนรวมมีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.2 ร้อยละ 3.0 และร้อยละ อย่างไรก็ตามราคาสินค้าเกษตรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.1 ตาม 3.0 ตามล�าดับ อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 0.2 และบัญชีเดินสะพัด การเพิม่ ขึน้ ของราคายางแผ่นดิบชัน้ 3 ราคาปาล์มน�า้ มัน ราคาเนือ้ สุกร เกินดุลร้อยละ 11.3 ของ GDP ราคาไข่ไก่ และราคากุ้งขาวแวนนาไม ในขณะที่ราคามันส�าปะหลัง แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2560 ข้าวโพด และอ้อยลดลง การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส่งผลให้ เศรษฐกิจไทย ปี 2560 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.0 - 4.0 รายได้เกษตรกรโดยรวมเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.5 สาขาอุตสาหกรรมขยายตัว ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 2.8 และร้อยละ ร้อยละ 0.9 ต่อเนือ่ งจากการขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า 3.2 ในปี 2558 และปี 2559 ตามล�าดับ อัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ โดยอุตสาหกรรมที่ตอบสนองความต้องการในประเทศ (สัดส่วน ในช่วงร้อยละ 1.0 - 2.0 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 10.2 ของ การส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ขยายตัวร้อยละ 0.5 สอดคล้องกับ GDP โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก การขยายตัวในเกณฑ์ดขี องการใช้จา่ ยภาคครัวเรือน อุตสาหกรรมเพือ่ (1) การปรับตัวดีขนึ้ อย่างช้าๆ ของภาคการส่งออก ซึง่ จะเป็น การส่งออก (สัดส่วนการส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 สอดคล้องกับการขยายตัวของปริมาณและมูลค่าส่งออกสินค้า ปัจจัยสนับสนุนให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชน อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 30 - 60 ขยายตัวได้ดีขึ้น (2) การขยายตัวเร่งขึน้ ของการผลิตภาคการเกษตร ซึง่ จะเป็น ลดลงร้อยละ 4.1 เนื่องจากการลดลงของอุตสาหกรรมรถยนต์และ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ กลุม่ อุตสาหกรรมทีข่ ยายตัว เช่น เครือ่ งปรับอากาศ ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน (3) การลงทุนภาครัฐที่ขยายตัวในเกณฑ์ดีอย่างต่อเนื่อง หลอดอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ และรถจักรยานยนต์ (4) แรงขับเคลื่อนจากภาคการท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มที่จะ เป็นต้น กลุ่มอุตสาหกรรมที่ลดลง เช่น ส่วนประกอบและอุปกรณ์ ประกอบส�าหรับยานยนต์ เครื่องแต่งกาย และยานยนต์ เป็นต้น ยังอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยยังคงมี อัตราการใช้กา� ลังการผลิตเฉลีย่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 64.01 สาขาการก่อสร้าง ข้อจ�ากัดและปัจจัยเสี่ยงจากความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและ ขยายตัวร้อยละ 5.0 ต่อเนือ่ งจากการขยายตัวร้อยละ 7.8 ในไตรมาส การเงินโลก รายละเอียดของการประมาณการเศรษฐกิจในปี 2560 ใน ก่อนหน้า (โดยการก่อสร้างของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 5.0 และ การก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 25.3) ในขณะที่ ด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. การใช้จา่ ยเพือ่ การบริโภค การใช้จา่ ยเพือ่ การอุปโภคบริโภค การก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.2 สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวสูงและเร่งขึ้นร้อยละ 15.9 จากการขยายตัวร้อยละ 12.7 ใน ภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงเล็กน้อยจากการ ไตรมาสก่อนหน้า โดยมีจ�านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ 8.23 ล้านคน ขยายตัวประมาณร้อยละ 3.0 ในปี 2559 โดยเป็นการชะลอลงจาก เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13.1 ซึง่ เป็นการเพิม่ ขึน้ ของนักท่องเทีย่ วจากทุกภูมภิ าค ฐานทีส่ งู ในช่วงครึง่ ปีแรก (เนือ่ งจากในครึง่ แรกของปี 2559 การใช้จา่ ย โดยนักท่องเทีย่ วจากรัสเซียกลับมาขยายตัวเป็นไตรมาสทีส่ ามติดต่อกัน ภาคครัวเรือนได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการเร่งขึน้ ของมาตรการกระตุน้ รายรับจากการท่องเที่ยวอยู่ที่ 441.71 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก เศรษฐกิจของภาครัฐและการเพิม่ ขึน้ ของรายจ่ายในหมวดสินค้ารถยนต์ ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 17.1 และอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ ในช่วงของการเปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่) อย่างไรก็ตามการขยายตัวของ


17

ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง

การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มเร่งตัวขึ้น ในช่วงครึ่งหลังของปี 2560 ตามแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นของฐาน รายได้ของภาคครัวเรือน ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัว ดีขึ้นของภาคการส่งออกและการผลิตในภาคเกษตร ในขณะที่ การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.6 ในปี 2559 2. การลงทุนรวม คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึน้ จาก การขยายตัวร้อยละ 3.0 ในปี 2559 โดยการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.2 ในปี 2559 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนที่ส�าคัญจาก (1) แนวโน้ม การปรับตัวดีขึ้นของภาคการส่งออก ซึ่งจะท�าให้ก�าลังการผลิต ส่วนเกินเริ่มปรับตัวลดลงอย่างช้าๆ และเริ่มกระตุ้นความต้องการ ลงทุนเพือ่ ขยายก�าลังการผลิตมากขึน้ (2) ความคืบหน้าของการด�าเนิน โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่ส�าคัญๆ ของภาครัฐ โดยเฉพาะ โครงการทีป่ ระกวดราคาไปแล้วและสามารถเริม่ ด�าเนินการก่อสร้างได้ รวมทัง้ การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ซึง่ จะช่วยสร้าง ความเชือ่ มัน่ และความชัดเจนให้แก่นกั ลงทุนภาคเอกชน (3) แนวโน้ม การย้ายฐานการผลิตของผูป้ ระกอบการต่างชาติเข้ามายังประเทศไทย การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวในเกณฑ์สงู ร้อยละ 11.2 ต่อเนือ่ ง จากการขยายตัวร้อยละ 10.0 ในปี 2559 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุน จากการเพิ่มอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน และการ เพิ่มขึ้นของกรอบวงเงินลงทุนของรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งความคืบหน้า ของโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ทั้งในส่วนที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง จ�านวน 4 โครงการ วงเงิน 45,471.97 ล้านบาท และโครงการที่อยู่ในขั้นตอนของการประกวด ราคา (ผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีแล้ว) จ�านวน 9 โครงการ วงเงิน 487,775.04 ล้านบาท ซึ่งจะทยอยเข้าสู่ขั้นตอนการก่อสร้าง มากขึ้น ตามล�าดับ 3. มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 2.4 ปรับตัวดีขึ้จากร้อยละ 0.0 ในปี 2559 โดยคาดว่าปริมาณการส่งออกสินค้าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 สูงขึ้นจาก การขยายตัวประมาณร้อยละ 0.2 ในปี 2559 ตามแนวโน้มการ ฟืน้ ตัวดีขนึ้ อย่างช้าๆ ของเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลก ในขณะที่ ราคาส่งออกคาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.2 ในปี 2559 เมื่อรวมกับการส่งออกบริการที่ยังมีแนวโน้มขยายตัว ได้อย่างต่อเนือ่ ง ตามรายรับจากนักท่องเทีย่ ว คาดว่าจะท�าให้ปริมาณ การส่งออกสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ประเด็นการบริหารเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2559 และ ปี 2560 การบริหารนโยบายเศรษฐกิจในช่วงทีเ่ หลือของปี 2559 และ ปี 2560 ควรให้ความส�าคัญกับ

(1) การเพิม่ ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ เพือ่ รักษา แรงขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย เบิกจ่าย งบลงทุนจากงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีและงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ให้ได้ไม่ต�่ากว่าร้อยละ 80 และเบิกจ่ายงบเหลื่อมปีให้ได้ไม่ต�่ากว่า ร้อยละ 75 ควบคูก่ บั การด�าเนินโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งและการพัฒนา พื้นที่เศรษฐกิจส�าคัญๆ ทั้งการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออกและการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (2) การรักษาแรงขับเคลือ่ นทางเศรษฐกิจจากภาคการท่องเทีย่ ว โดยการด�าเนินการตามยุทธศาสตร์แผนการตลาดท่องเที่ยวปี 2560 การชี้ แจงท� า ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ มาตรการทั ว ร์ ศู น ย์ เ หรี ย ญ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมท่องเที่ยว และการรักษาความปลอดภัย ให้กับนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวส�าคัญๆ (3) การสนับสนุนและเร่งรัดการส่งออกให้สามารถกลับมา ขยายตัว โดยให้ความส�าคัญกับการด�าเนินยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน การส่งออกของไทยปี 2560 โดยเฉพาะการขยายตลาดส่งออกเชิงรุก การตลาดที่สอดคล้องกับกลุ่มตลาดเป้าหมาย การส่งเสริมการค้า ชายแดนเชือ่ มโยงประเทศใน CLMV การสร้างมูลค่าเพิม่ ให้สนิ ค้าและ บริการด้วยการใช้นวัตกรรม และการติดตามและระมัดระวังมาตรการ กีดกันทางการค้าในต่างประเทศ โดยเฉพาะภายใต้แนวโน้มการเพิม่ ขึน้ ของกระแสการต่อต้านการค้าที่ไม่เป็นธรรมในประเทศส�าคัญๆ (4) การฟื้นฟูเกษตรกรและการเตรียมมาตรการรองรับ การขยายตัวของการผลิตทางการเกษตร โดยให้ความส�าคัญกับ การลดต้นทุนการผลิต การส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ การปลูกพืช และการใช้วิธีการผลิตที่มีความเหมาะสมกับสภาพของพื้นที่ และ การลดขั้นตอนทางการตลาด เพื่อให้รายได้จากการจ�าหน่ายผลผลิต เป็นของเกษตรกรมากขึ้น (5) การสร้างความเชื่อมั่นและสนับสนุนการขยายตัวของ การลงทุนภาคเอกชน โดยการเร่งรัดการส่งออกเพือ่ ลดก�าลังการผลิต ส่วนเกินในภาคอุตสาหกรรมการชักจูงนักลงทุนในสาขาเป้าหมาย การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการส�าหรับอนาคต การประชาสัมพันธ์ ความคืบหน้าของโครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่ง รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน การอ�านวยความสะดวกให้กับนักลงทุน ที่ย้ายฐานการผลิตเข้ามายังประเทศไทย และการประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องเกี่ยวกับ Roadmap ทางการเมือง รวมทั้ง เจตนารมณ์และสาระส�าคัญของร่างรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับ การแก้ไขปัญหาทางการเมืองและการปฏิรูปประเทศภายใต้กรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ ที่มา : ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


อ�านวยการจัดท�า

นายสุวรรณ์ ดวงตา ผู้อ�านวยการกองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน

คณะผู้จัดท�า นางสายใจ ว่าที่ ร.ต.หญิงดรุณี นายภาณุศาสตร์ นางสาวมณีวรรณ นางฮาดีก๊ะห์ นางสาวพรนิสา นายจักรกฤษณ์ นายณัฐพร นางสาวคัทธิยา นายธิติ

แก้วรัตนากร จันทร์มล โฮมภิรมย์ เสมอใจ จ�าปาทอง เทพวงค์ ขันทะพงษ์ ก่อเกิดวงศ์ ฟูเจริญสุข ศรีมาทา

ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�าปาง นักวิชาการแรงงานช�านาญการ นักวิชาการแรงงานช�านาญการ เจ้าพนักงานแรงงานช�านาญงาน เจ้าพนักงานแรงงานช�านาญงาน พนักงานธุรการ ส ๒ พนักงานขับรถยนต์ ส ๒ เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าพนักงานแรงงาน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่กรมการจัดหางาน ข้อ ๑. ข้อ ๒. ข้อ ๓. ข้อ ๔. ข้อ ๕.

ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม และเสมอภาค ให้บริการด้วยความเต็มใจ รวดเร็ว และประทับใจ มีมนุษยสัมพันธ์ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย พัฒนาตนเองและหน่วยงาน สรรค์สร้างสังคม ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีของหน่วยงาน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.