รายงานสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ครึ่งปีหลัง 2557

Page 1


งานราชการนัน้ คืองานของแผนดิน มีผลเกีย่ วเนือ่ งถึงประโยชนของบานเมืองและประชาชน ทุกคน. งานทุกอยางจึงตองมีผปู ฏิบตั แิ ละมีผรู บั ชวง เพือ่ ใหงานดําเนินตอเนือ่ งไปไมขาดสาย. ดังนัน้ ผูปฏิบัติบริหารงานราชการทุกฝายทุกระดับ จึงไมควรยกเอาเรื่องใครเปนผูทํามากอน หรือใครเปน ผูร บั ชวงงานขึน้ เปนขอสําคัญนัก จะตองถือประโยชนทจี่ ะเกิดจากงานเปนหลักใหญ แลวรวมกันคิด รวมกันทํา ดวยความอุตสาหะเสียสละ และดวยความสุจริตจริงใจ. งานทุกอยางจึงจะดําเนินไปได อยางราบรื่น ไมติดขัด และสําเร็จผลเปนประโยชนไดแทจริง และยั่งยืนตลอดไป. อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

คํานํา สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 (เดือนกรกฎาคม - เดือนธันวาคม) จัดทําขึ้นเพื่อใหทราบถึงขอมูลประชากรและกําลังแรงงาน ความตองการแรงงาน ภาวะเศรษฐกิจ ดานการลงทุน ภาวะเศรษฐกิจการเงิน การเดินทางไปทํางานตางประเทศ การทํางานของคนตางดาว และผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีวางงาน เอกสารฉบับนี้สําเร็จไดดวยการสนับสนุนขอมูลจาก สํานักงานสถิติแหงชาติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศูนยเศรษฐกิจการลงทุน ภาคที่ 1 สํานักงาน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ สํานักงานบริหาร แรงงานไทยไปตางประเทศ สํานักบริหารแรงงานตางดาว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน และ สํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ขอขอบคุณทุกหนวยงานที่ไดใหการสนับสนุน ขอมูล และหวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลเหลานี้จะเปนประโยชนทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้ หากทานมีขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการจัดทําครั้งตอไปขอไดโปรดติดตอโดยตรงที่ ศูนยขา วสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ศูนยราชการชัน้ 3 ถ.วชิราวุธดําเนิน ต.พระบาท อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52000 หรือแจงทางโทรศัพทไดที่หมายเลข 0-5426-5050 โทรสาร 0-5426-5071 หรือ E-mail : lm_lpg@live.com ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง เมษายน 2558


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ บทสรุปผูบริหาร

ก–ข

ประชากรและกําลังแรงงาน • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ • ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ • ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน • ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห • ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน

1 2 3 3 4 4 5

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 • ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน

5 6

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน • จําแนกตามรายจังหวัด • จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม • โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน

6 7 7 9

ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือ

9

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ • จําแนกตามวิธีการเดินทาง • จําแนกตามรายประเทศ • จําแนกตามรายจังหวัด

11 11 11 12

แรงงานตางดาว • จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน • จําแนกตามรายจังหวัด

12 13 13

ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีวางงาน

14


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 ตารางที่ 4 ตารางที่ 5 ตารางที่ 6 ตารางที่ 7 ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 ตารางที่ 11 ตารางที่ 12 ตารางที่ 13 ตารางที่ 14 ตารางที่ 15 ตารางที่ 16

จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห จํานวนผูวางงาน และอัตราการวางงานจําแนกตามรายจังหวัด ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน เปรียบเทียบครึ่งปหลัง 2556 และครึ่งปหลัง 2557 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามรายจังหวัด โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทาง ไปทํางานตางประเทศ จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางานเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 สาเหตุการถูกเลิกจาง และลาออกจากงานของผูประกันตนครึ่งปหลัง 2557

สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิที่ 3 แผนภูมิที่ 4 แผนภูมิที่ 5

โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานครึ่งปหลัง 2557 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน การบรรจุงาน จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศจําแนกตามวิธีการเดินทาง ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจาง และลาออกจากงานของผูประกันตนครึ่งปหลัง 2557 แผนภูมิที่ 7 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีวางงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงาน ครึ่งปหลัง 2557

หนา 1 2 2 3 3 4 4 5 6 7 8 8 8 12 13 14

หนา 1 5 11 11 12 14 14


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

บทสรุปผูบริหาร สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 สรุปไดดังนี้ ประชากรและกําลังแรงงาน

ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําและการวางงานของประชากรครึ่งปหลัง 2557 (กรกฎาคม-ธันวาคม) ภาคเหนือ มีประชากรประมาณ 11.51 ลานคน เปนประชากรอายุ 15 ปขึ้นไปประมาณ 9.47 ลานคน รอยละ 82.33 จําแนกเปน ผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 6.57 ลานคน รอยละ 57.14 ประกอบดวยผูมีงานทําประมาณ 6.52 ลานคน รอยละ 56.64 ผูวางงานประมาณ 43,788 คน รอยละ 0.38 และผูที่รอฤดูกาลประมาณ 13,180 คน รอยละ 0.11 เมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ ปหลัง 2556 พบวาประชากรลดลงรอยละ 6.31 ผูม งี านทําลดลงรอยละ 10.73 เปนผูม งี านทํา จําแนกประเภทอาชีพซึ่งทํางานในอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุดรอยละ 45.29 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมโดยเปนผูทํางานภาคเกษตรกรรมรอยละ 49.37 และภาคนอกเกษตรกรรมรอยละ 50.63 จําแนกตามระดับการศึกษาทีส่ าํ เร็จสวนใหญสาํ เร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษาและไมมกี ารศึกษาสูงถึงรอยละ 58.84 จําแนกตามสถานภาพการทํางานสวนใหญทาํ งานในฐานะลูกจางรอยละ 34.81 และจําแนกตามชัว่ โมงการทํางานตอสัปดาห เปนผูมีงานทําระหวาง 35-49 ชั่วโมงตอสัปดาห และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาหรอยละ 85.74 หรือ กลาวไดวาผูที่ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาหเปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมงการทํางาน ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน ผูว า งงานประมาณ 43,788 คน อัตราการวางงานรอยละ 0.67 จังหวัดกําแพงเพชร มีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 1.49 สําหรับจังหวัดเพชรบูรณมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.01

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557

ขอมูลบริการจัดหางานในประเทศของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือสรุปไดดังนี้ ความตองการแรงงาน สถานประกอบการ/นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 32,443 อัตรา เพิ่มขึ้นจาก ครึ่งปหลัง 2556 รอยละ 16.67 จังหวัดลําพูนมีความตองการแรงงานมากที่สุดรอยละ 12.92 สําหรับจังหวัดแมฮองสอน มีความตองการแรงงานนอยที่สุดรอยละ 1.15 ผูสมัครงาน ลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 31,042 คน ลดลงจากครึ่งปหลัง 2556 รอยละ 25.95 จังหวัดเชียงใหม มีผูสมัครงานมากที่สุดรอยละ 19.46 และจังหวัดแมฮองสอนมีผูสมัครงานนอยที่สุด รอยละ 1.15 การบรรจุงาน ผูสมัครงานที่ไดรับการบรรจุงาน จํานวน 32,802 คน ลดลงจากครึ่งปหลัง 2556 รอยละ 3.74 จังหวัดพิษณุโลกมีผูไดรับการบรรจุงานมากที่สุดรอยละ 15.55 และจังหวัดแมฮองสอนมีผูที่ไดรับการบรรจุงานนอยที่สุด รอยละ 0.97

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน

โรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการใหมจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมครึ่งปหลัง 2557 จํานวน 519 แหง เงินลงทุน 18,283.51 ลานบาท และกอใหเกิดการจางงาน 5,483 คน จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุด รอยละ 26.59 รองลงมา คือ จังหวัดลําปางรอยละ 12.52 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 9.83


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือนเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ได รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 22.16 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทั่วไปรอยละ 21.19 และอุตสาหกรรมไมและ ผลิตภัณฑจากไมรอยละ 13.10 โครงการทีไ่ ดรบั อนุญาตใหการสงเสริมการลงทุนกับศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 จํานวน 56 โครงการ เงินลงทุน 21,405.20 ลานบาท และเกิดการจางงาน 4,457 คน อุตสาหกรรมที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน 3 อันดับแรก คือ อุตสาหกรรมการเกษตรและผลิตผลจากการเกษตร จํานวน 19 โครงการ รองลงมาคือ กิจการบริการและสาธารณูปโภค จํานวน 18 โครงการ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา จํานวน 10 โครงการ

ภาวะเศรษฐกิจและการเงินเหนือ

ภาวะเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ป 2557 ภาพรวมปรับดีขึ้นจากไตรมาสกอนเล็กนอยแตการฟนตัวยังเปนไปอยางชาๆ โดยภาคการทองเที่ยวยังมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่การสงออกและการใชจายงบลงทุนของภาครัฐ ขยายตัวดี ดานการใชจายภาคเอกชนแมจะปรับดีขึ้นบาง ตามความเชื่อมั่นของผูบริโภคแตยังหดตัวอยู เนื่องจากรายได เกษตรกรที่ลดลงมีผลตอการลดลงของการใชจายสินคาคงทน นอกจากนี้การลงทุนภาคเอกชนยังฟนตัวชา สะทอนจาก ผูประกอบการยังชะลอการลงทุนใหมเพื่อรอความชัดเจนของการฟนตัวทางเศรษฐกิจ สวนผลผลิตสินคาเกษตรคอนขาง ทรงตัวขณะที่ผลผลิตสินคาอุตสาหกรรมลดลงตามการผลิตประเภทเครื่องดื่มเปนสําคัญ สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจ โดยทั่วไปยังอยูในเกณฑดี ทั้งอัตราเงินเฟอและอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่า สวนภาคการเงิน เงินฝากและเงินใหสินเชื่อ ชะลอลงจากไตรมาสกอน

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ

แรงงานไทยทีไ่ ดรบั อนุญาตไปทํางานตางประเทศ จํานวน 7,686 คน ลดลงจากครึง่ ปหลัง 2556 รอยละ 6.92 สําหรับ วิธีการเดินทาง เดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดสงรอยละ 61.58 ประเทศไตหวันเปนประเทศที่มีแรงงานเดินทางไปมากที่สุด รอยละ 29.57 และจังหวัดเชียงรายเปนจังหวัดที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปมากที่สุดรอยละ 19.93

แรงงานตางดาว

แรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2557 จํานวน 177,158 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้นรอยละ 168.51 คนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุดรอยละ 74.32 รองลงมาคือ คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU รอยละ 13.76 และคนตางดาวประเภทชนกลุม นอยรอยละ 7.67 ตามลําดับ สําหรับจังหวัดเชียงใหมมีแรงงานตางดาวที่เขามาทํางานสูงสุดรอยละ 53.95

ผูประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีวางงาน

สาเหตุที่ผูประกันตนออกจากงานครึ่งปหลัง 2557 จํานวน 35,630 คน จําแนกเปนถูกเลิกจาง จํานวน 2,572 คน รอยละ 8.52 และจากการลาออกจากงาน จํานวน 33,058 คน รอยละ 92.78 ทั้งนี้ผูประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนกรณีวางงาน ทั้งหมด 35,771 คน ไดรับการบรรจุงาน จํานวน 25,606 คน คิดเปนอัตราการบรรจุรอยละ 71.58 ของจํานวนผูประกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนฯ


1

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ประชากรและกําลังแรงงาน แผนภูมิที่ 1 โครงสรางประชากรตามสถานภาพแรงงานครึ่งปหลัง 2557

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามสถานภาพแรงงานและกําลังแรงงาน สถานภาพแรงงาน

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

ผูมีอายุ 15 ป ขึ้นไป

10,210,901

83.15

9,473,256

82.33

-737,645

-7.22

1. ผูอยูในกําลังแรงงาน

7,356,962

59.91

6,574,170

57.14

-782,792

-10.64

7,348,217 7,300,339 47,878 8,745

59.84 59.45 0.39 0.07

6,560,990 6,517,201 43,788 13,180

57.02 56.64 0.38 0.11

-787,227 -783,138 -4,090 4,435

-10.71 -10.73 -8.54 50.71

2. ผูไมอยูในกําลังแรงงาน

2,853,939

23.24

2,899,086

25.20

45,147

1.58

2.1 ทํางานบาน 2.2 เรียนหนังสือ 2.3 อื่น ๆ ผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป

810,955 805,862 1,237,121 2,069,526

6.60 6.56 10.07 16.85

824,251 754,394 1,320,441 2,032,872

7.16 6.56 11.48 17.67

13,296 -51,468 83,320 -36,654

1.64 -6.39 6.73 -1.77

12,280,427

100.00

11,506,128

100.00

-774,299

-6.31

1.1 กําลังแรงงานปจจุบัน 1.1.1 ผูมีงานทํา 1.1.2 ผูวางงาน 1.2 ผูที่รอฤดูกาล

ประชากรรวม อัตราการวางงาน

0.65

0.67

ผลการสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรครึ่งปหลัง 2557 (กรกฎาคม-ธันวาคม) โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวามีประชากร ประมาณ 11.51 ลานคน เปนผูอยูในกําลังแรงงานประมาณ 6.57 ลานคน รอยละ 57.14 ของจํานวนประชากรรวมทั้งหมด และผูไมอยูใน กําลังแรงงานรวมถึงผูมีอายุตํ่ากวา 15 ป ประมาณ 4.93 ลานคน รอยละ 42.87 ของประชากรรวมทั้งหมด ผูอ ยูใ นกําลังแรงงาน จํานวน 6,574,170 คน ประกอบดวยผูม งี านทํารอยละ 56.64 ผูว า งงานรอยละ 0.38 และผูท รี่ อฤดูกาลรอยละ 0.11 ผูไมอยูในกําลังแรงงาน (ผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป) จํานวน 2,899,086 คน ประกอบดวย แมบาน ทํางานบานรอยละ 7.16 นักเรียน นิสิต นักศึกษารอยละ 6.56 และอื่นๆ เชน เด็ก คนชรา ผูปวย ผูพิการจนไมสามารถทํางานไดรอยละ 11.48 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 พบวาประชากรลดลงรอยละ 6.31 ผูมีงานทําลดลงรอยละ 10.73 และผูวางงานลดลงรอยละ 8.54 อัตราการวางงานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.65 เปนรอยละ 0.67


2

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอาชีพ ประเภทอาชีพ

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

ผูบัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดับอาวุโส และผูจัดการ

191,643

2.63

147,471

2.26

-44,172

-23.05

ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ

307,313

4.21

260,114

3.99

-47,199

-15.36

ผูประกอบวิชาชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพที่เกี่ยวของ

196,787

2.70

166,983

2.56

-29,804

-15.15

เสมียน

182,262

2.50

171,315

2.63

-10,947

-6.01

พนักงานบริการ และพนักงานขายในรานคาและตลาด

1,054,481

14.44

1,033,087

15.85

-21,394

-2.03

ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมง

3,446,532

47.21

2,951,754

45.29

-494,778

-14.36

ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ

818,958

11.22

777,781

11.93

-41,177

-5.03

ผูปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ

354,269

4.85

320,411

4.92

-33,858

-9.56

อาชีพขัน้ พืน้ ฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ

742,679

10.17

688,286

10.56

-54,393

-7.32

5,415

0.07

0

0.00

-5,415

-100.00

7,300,339

100.00

6,517,201

100.00

-783,138

-10.73

คนงานซึ่งมิไดจําแนกไวในหมวดอื่น รวม

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอาชีพ

ผูมีงานทําประมาณ 6.52 ลานคน ทํางานในอาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมากที่สุดรอยละ 45.29 รองลงมาคือ พนักงานบริการ และพนักงานในรานคาและตลาดรอยละ 15.85 และผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกิจการคา ที่เกี่ยวของรอยละ 11.93 นอกนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 พบวาโดยรวมทุกอาชีพมีจํานวนลดลง รอยละ 10.73 ของผูมีงานทําทั้งหมด ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

1. ภาคเกษตรกรรม

3,731,347

51.11

3,217,468

49.37

-513,879

-13.77

- เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 2. นอกภาคเกษตรกรรม - การทําเหมืองแร และเหมืองหิน - การผลิต - ไฟฟา กาซ ไอนํ้า และระบบปรับอากาศ - การจัดหานํ้า การจัดการ การบําบัดนํ้าเสียของเสีย และสิ่งปฏิกูล - การกอสราง - การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนต - การขนสง และสถานที่เก็บสินคา - กิจกรรมโรงแรม และการบริการดานอาหาร - ขอมูลขาวสาร และการสื่อสาร - กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย - กิจกรรมอสังหาริมทรัพย - กิจกรรมทางวิชาชีพวิทยาศาสตร และเทคนิค - กิจกรรมการบริหาร และการบริการสนับสนุน - การบริหารราชการ การปองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ - การศึกษา - กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห - ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ - กิจกรรมบริการดานอื่นๆ - กิจกรรมการจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินคา และบริการ ที่ทําขึ้นเองเพื่อใชในครัวเรือน - กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ - ไมทราบ รวม

3,731,347 3,568,993 16,301 701,749 23,185 19,974 499,037 902,873 75,953 331,081 15,107 65,411 14,587 18,219 40,703 301,404 229,860 129,310 40,949 103,769 34,075

51.11 48.89 0.22 9.61 0.32 0.27 6.84 12.37 1.04 4.54 0.21 0.90 0.20 0.25 0.56 4.13 3.15 1.77 0.56 1.42 0.47

3,217,468 3,299,733 13,721 640,028 19,614 16,173 434,429 878,934 80,912 313,565 12,630 63,266 8,571 21,126 46,699 270,010 203,898 105,915 37,919 100,519 30,567

49.37 50.63 0.21 9.82 0.30 0.25 6.67 13.49 1.24 4.81 0.19 0.97 0.13 0.32 0.72 4.14 3.13 1.63 0.58 1.54 0.47

-513,879 -269,260 -2,580 -61,721 -3,571 -3,801 -64,608 -23,939 4,959 -17,516 -2,477 -2,145 -6,016 2,907 5,996 -31,394 -25,962 -23,395 -3,030 -3,250 -3,508

-13.77 -7.54 -15.83 -8.80 -15.40 -19.03 -12.95 -2.65 6.53 -5.29 -16.40 -3.28 -41.24 15.96 14.73 -10.42 -11.29 -18.09 -7.40 -3.13 -10.29

1,234 4,212 7,300,339

0.02 0.06 100.00

1,238 0 6,517,201

0.02 0.00 100.00

4 -4,212 -783,138

0.32 -100.00 -10.73


3

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ผูมีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ผูทํางานภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.22 ลานคน รอยละ 49.37 ไดแกอุตสาหกรรมเกษตรกรรม การปาไมและการประมง สําหรับผูท าํ งานนอกภาคเกษตรกรรมประมาณ 3.30 ลานคน รอยละ 50.63 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนตมากที่สุดรอยละ 13.49 รองลงมาคือ การผลิตรอยละ 9.82 และการกอสรางรอยละ 6.67 นอกนั้น กระจายอยูในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ ระดับการศึกษาที่สําเร็จ ไมมีการศึกษา ตํ่ากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย - สายสามัญ - สายอาชีวศึกษา - สายวิชาการศึกษา อุดมศึกษา - สายวิชาการ - สายวิชาชีพ - สายวิชาการศึกษา อื่นๆ ไมทราบ รวม หมายเหตุ

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

560,238 2,030,987 1,568,871 1,130,613 993,010 783,541 207,977 1,492 1,004,683 548,533 314,471 141,679 9,328 2,606

7.67 27.82 21.49 15.49 13.60 10.73 2.85 0.02 13.76 7.51 4.31 1.94 0.13 0.04

454,177 2,078,318 1,302,216 915,959 860,187 682,089 176,652 1,446 892,627 518,219 252,076 122,332 9,731 3,986

6.97 31.89 19.98 14.05 13.20 10.47 2.71 0.02 13.70 7.95 3.87 1.88 0.15 0.06

-106,061 47,331 -266,655 -214,654 -132,823 -101,452 -31,325 -46 -112,056 -30,314 -62,395 -19,347 403 1,380

-18.93 2.33 -17.00 -18.99 -13.38 -12.95 -15.06 -3.08 -11.15 -5.53 -19.84 -13.66 4.32 52.95

7,300,339

100.00

6,517,201

100.00

-783,138

-10.73

1. ไมมีการศึกษา หมายถึง บุคคลที่ไมเคยเขาศึกษาในโรงเรียน หรือไมเคยไดรับการศึกษา 2. อื่นๆ หมายถึง บุคคลที่สําเร็จการศึกษาที่ไมสามารถเทียบชั้นได 3. ผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา หมายถึง ไมพบตัวผูใหสัมภาษณ/คนใหขอมูลไมรูขอมูล

ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ

ผูม งี านทําสวนใหญสาํ เร็จการศึกษาไมเกินระดับประถมศึกษาและไมมกี ารศึกษาสูงถึงรอยละ 58.84 ระดับมัธยมศึกษารอยละ 27.25 และระดับอุดมศึกษารอยละ 13.70 ที่เหลือเปนการศึกษาอื่นๆ และเปนผูมีงานทําไมทราบวุฒิการศึกษา ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามสถานภาพการทํางาน สถานภาพการทํางาน นายจาง ลูกจางรัฐบาล ลูกจางเอกชน ทํางานสวนตัว ชวยธุรกิจในครัวเรือน การรวมกลุม* รวม หมายเหตุ

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

157,876 699,762 1,873,989 2,565,645 1,997,090 5,976

2.16 9.59 25.67 35.14 27.36 0.08

133,192 600,630 1,667,606 2,455,801 1,658,134 1,839

2.04 9.22 25.59 37.68 25.44 0.03

-24,684 -99,132 -206,383 -109,844 -338,956 -4,137

-15.64 -14.17 -11.01 -4.28 -16.97 -69.23

7,300,339

100.00

6,517,201

100.00

-783,138

-10.73

การรวมกลุม* หมายถึง กลุมคนที่มารวมกันทํางานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพึ่งตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแตละคน มีความเทาเทียมกัน ในการกําหนดการทํางานทุกขั้นตอนไมวาเปนการลงทุน การขาย งานอื่นๆ ของกิจการที่ทําตลอดจนการแบงรายไดใหแกสมาชิกตามที่ตกลงกัน (การรวมกลุมดังกลาวอาจจดทะเบียนจัดตั้งในรูปของสหกรณหรือไมก็ได)


4

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน

ผูม งี านทําสวนใหญทาํ งานในฐานะลูกจางรอยละ 34.81 ในจํานวนนีเ้ ปนลูกจางเอกชนรอยละ 25.59 และลูกจางรัฐบาลรอยละ 9.22 รองลงมาคือ ทํางานสวนตัวโดยไมมีลูกจางรอยละ 37.68 ชวยธุรกิจในครัวเรือน โดยไมไดรับคาจางรอยละ 25.44 นายจางรอยละ 2.04 สวนการรวมกลุมมีเพียงรอยละ 0.03 ของผูมีงานทําทั้งหมด ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของผูมีงานทํา จําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห ครึ่งปหลัง 2556

ชั่วโมงการทํางาน 0 ชั่วโมง 1-9 ชั่วโมง 10-19 ชั่วโมง 20-29 ชั่วโมง 30-34 ชั่วโมง 35-39 ชั่วโมง 40-49 ชั่วโมง 50 ชั่วโมงขึ้นไป รวม

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

22,567 15,208 118,663 434,398 359,603 924,731 2,947,215 2,477,954

0.31 0.21 1.63 5.95 4.93 12.67 40.37 33.94

29,281 27,809 140,630 402,295 329,584 805,914 2,798,874 1,982,815

0.45 0.43 2.16 6.17 5.06 12.37 42.95 30.42

6,714 12,601 21,967 -32,103 -30,019 -118,817 -148,341 -495,139

29.75 82.86 18.51 -7.39 -8.35 -12.85 -5.03 -19.98

7,300,339

100.00

6,517,201

100.00

-783,138

-10.73

ผูมีงานทําจําแนกตามชั่วโมงการทํางานตอสัปดาห

ผูมีงานทําระหวาง 35-49 ชั่วโมงตอสัปดาหรอยละ 55.32 และผูมีงานทําตั้งแต 50 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาหรอยละ 30.42 หรือ กลาวไดวาผูมีงานทํารอยละ 85.74 ทํางานตั้งแต 35 ชั่วโมงขึ้นไปตอสัปดาห และอาจจัดวาบุคคลเหลานี้เปนผูทํางานเต็มที่ในเรื่องชั่วโมง การทํางาน ขณะที่ผูทํางานนอยกวา 35 (1-34) ชั่วโมงตอสัปดาหเปนผูทํางานไมเต็มที่รอยละ 13.82 ของผูมีงานทําทั้งสิ้น สําหรับ ผูมีงานทําประจํา แตไมไดทํางานในสัปดาหแหงการสํารวจ (0 ชั่วโมง) มีเพียงรอยละ 0.45 ตารางที่ 7 จํานวนผูวางงานและอัตราการวางงาน จําแนกตามรายจังหวัด รายจังหวัด เชียงใหม ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ รวม

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

ผูวางงาน (คน)

อัตราการวางงาน

ผูวางงาน (คน)

อัตราการวางงาน

จํานวน (คน)

รอยละ

9,974 1,274 1,778 2,126 1,897 1,240 2,409 4,975 458 3,962 1,315 3,852 1,908 2,488 3,088 2,887 2,245 47,878

1.03 0.45 0.36 0.76 0.60 0.39 0.76 0.65 0.30 0.58 0.67 0.88 0.63 0.62 0.63 0.81 0.38 0.65

8,338 1,561 3,393 1,781 677 702 1,028 1,329 288 6,753 834 6,542 2,279 4,203 1,511 2,062 508

0.83 0.57 0.78 0.75 0.27 0.26 0.44 0.19 0.25 1.21 0.52 1.49 0.86 1.13 0.31 0.69 0.01

-1,636 287 1,615 -345 -1,220 -538 -1,381 -3,646 -170 2,791 -481 2,690 371 1,715 -1,577 -825 -1,737

-16.40 22.53 90.83 -16.23 -64.31 -43.39 -57.33 -73.29 -37.12 70.44 -36.58 69.83 19.44 68.93 -51.07 -28.58 -77.37

43,788

0.67

-4,090

-8.54

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ หมายเหตุ ตารางที่ 1-7 ในตารางสถิติ ผลรวมของแตละจํานวนอาจไมเทากับยอดรวม ทั้งนี้เนื่องมาจากการปดเศษทศนิยมของขอมูลแตละจํานวนซึ่งไดจากการ ประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป


5

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ภาวะการวางงานและอัตราการวางงาน

จํานวนผูวางงานประมาณ 43,788 คน ลดลงจากครึ่งปหลัง 2556 รอยละ 8.54 และอัตราการวางงานเพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.65 เปนรอยละ 0.67 จังหวัดกําแพงเพชรมีอัตราการวางงานมากที่สุดรอยละ 1.49 รองลงมาคือ จังหวัดนครสวรรครอยละ 1.21 จังหวัดสุโขทัย รอยละ 1.13 จังหวัดตากรอยละ 0.86 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 0.83 สําหรับจังหวัดเพชรบูรณมีอัตราการวางงานนอยที่สุดรอยละ 0.01

สถานการณตลาดแรงงานภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 แผนภูมิที่ 2 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงาน

ความตองการแรงงาน

ผูสมัครงาน

การบรรจุงาน

สรุปภาพรวมการเคลื่อนไหวตลาดแรงงานของสํานักงานจัดหางาน 17 จังหวัดภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ และอุทัยธานี นายจางแจงความตองการแรงงาน จํานวน 32,443 อัตรา ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 31,042 คน และสามารถบรรจุงานได จํานวน 32,802 คน ตารางที่ 8 ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) ผูสมัครงาน และการบรรจุงานเปรียบเทียบครึ่งปหลัง 2556 กับครึ่งปหลัง 2557 จังหวัด กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม

ความตองการแรงงาน (อัตรา) ครึง่ ปหลัง ครึ่งปหลัง 2556 2557 1,871 1,475 1,456 3,532 4,564 4,025 691 727 3,066 3,163 1,696 1,482 841 783 1,238 1,384 2,104 3,569 985 1,669 812 1,333 836 372 1,720 1,668 1,690 4,191 1,447 1,735 1,211 720 1,580 615 27,808 32,443

ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน

การเปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ -396 2,076 -539 36 97 -214 -58 146 1,465 684 521 -464 -52 2,501 288 -491 -965 4,635

-21.17 142.58 -11.81 5.21 3.16 -12.62 -6.90 11.79 69.63 69.44 64.16 -55.50 -3.02 147.99 19.90 -40.55 -61.08 16.67

ผูสมัครงาน (คน) ครึ่งปหลัง ครึง่ ปหลัง 2556 2557 1,914 1,881 3,812 3,159 6,891 6,042 1,827 1,225 3,513 2,361 1,163 701 1,954 977 2,256 1,300 3,645 3,263 1,987 1,582 1,296 805 1,054 357 3,693 2,106 2,679 2,145 1,401 1,012 1,514 1,076 1,321 1,050 41,920 31,042

การเปลี่ยนแปลง การบรรจุงาน (คน) จํานวน รอยละ ครึ่งปหลัง ครึง่ ปหลัง 2556 2557 -33 -1.72 2,451 1,321 -653 -17.13 2,119 3,584 -849 -12.32 3,927 3,683 -602 -32.95 548 649 -1,152 -32.79 3,426 2,970 -462 -39.72 1,057 1,199 -977 -50.00 809 875 -956 -42.38 837 956 -382 -10.48 4,949 5,101 -405 -20.38 1,703 1,498 -491 -37.89 2,161 1,090 -697 -66.13 908 318 -1,587 -42.97 3,664 1,330 -534 -19.93 2,096 4,349 -389 -27.77 916 1,707 -438 -28.93 1,434 1,185 -271 -20.51 1,071 987 -10,878 -25.95 34,076 32,802

การเปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ -1,130 1,465 -244 101 -456 142 66 119 152 -205 -1,071 -590 -2,334 2,253 791 -249 -84 -1,274

-46.10 69.14 -6.21 18.43 -13.31 13.43 8.16 14.22 3.07 -12.04 -49.56 -64.98 -63.70 107.49 86.35 -17.36 -7.84 -3.74


6

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ความตองการแรงงาน (ตําแหนงงานวาง) สถานประกอบการ/นายจาง แจงความตองการแรงงาน จํานวน 32,443 อัตรา โดยจังหวัด ที่มีความตองการแรงงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดลําพูน จํานวน 4,191 อัตรา รอยละ 12.92 จังหวัดเชียงใหม จํานวน 4,025 อัตรา รอยละ 12.41 จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 3,569 อัตรา รอยละ 11.0 จังหวัดเชียงราย จํานวน 3,532 อัตรา รอยละ 10.89 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 3,163 อัตรา รอยละ 9.75 จังหวัดที่มีความตองการแรงงานนอยที่สุดคือ จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 372 อัตรา รอยละ 1.15 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 ความตองการแรงงานเพิ่มขึ้นรอยละ 16.67 ผูสมัครงาน ผูสมัครงานลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 31,042 คน จังหวัดที่มีผูสมัครงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดเชียงใหม จํานวน 6,042 คน รอยละ 19.46 จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 3,263 คน รอยละ 10.51 จังหวัดเชียงราย จํานวน 3,159 คน รอยละ 10.18 จังหวัดนครสวรรค จํานวน 2,361 คน รอยละ 7.61 และจังหวัดลําพูน จํานวน 2,145 คน รอยละ 6.91 จังหวัดที่มีผูสมัครงานนอยที่สุดคือ จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 357 คน รอยละ 1.15 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 ผูสมัครงานลดลงรอยละ 25.95 การบรรจุงาน ผูสมัครงานไดรับการบรรจุงาน จํานวน 32,802 คน จังหวัดที่ไดรับการบรรจุงาน 5 อันดับแรกไดแก จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 5,101 คน รอยละ 15.55 จังหวัดลําพูน จํานวน 4,349 คน รอยละ 13.26 จังหวัดเชียงใหม จํานวน 3,683 คน รอยละ 11.23 จังหวัดเชียงราย จํานวน 3,584 คน รอยละ 10.93 และจังหวัดนครสวรรค จํานวน 2,970 คน รอยละ 9.05 จังหวัดแมฮองสอนมีผูสมัครงาน ที่ไดรับการบรรจุงานนอยที่สุด จํานวน 318 คน รอยละ 0.97 เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 การบรรจุงานลดลงรอยละ 3.74

ภาวะเศรษฐกิจดานการลงทุน ตารางที่ 9 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามรายจังหวัด จํานวนโรงงาน (แหง) จังหวัด

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

กําแพงเพชร

20

34

เชียงราย

39

เชียงใหม

เพิ่ม/ลด รอยละ

เงินลงทุน (ลานบาท) ครึง่ ปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

70.00

952.22

1,159.45

28

-28.21

2,822.80

42

51

21.43

ตาก

23

30

นครสวรรค

13

นาน

เพิ่ม/ลด รอยละ

การจางงาน (คน)

เพิ่ม/ลด รอยละ

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

21.76

497

344

-30.78

710.26

-74.84

751

281

-62.58

1,483.44

1,713.71

15.52

811

793

-2.22

30.43

1,978.45

564.35

-71.48

520

861

65.58

49

276.92

141.80

1,140.42

704.25

45

492

993.33

33

5

-84.85

10,061.17

26.96

-99.73

634

32

-94.95

พะเยา

9

5

-44.44

184.32

42.51

-76.94

75

26

-65.33

พิจิตร

20

14

-30.00

1,127.11

230.31

-79.57

158

73

-53.80

พิษณุโลก

31

15

-51.61

2,772.99

95.85

-96.54

1,988

116

-94.16

เพชรบูรณ

18

20

11.11

226.56

186.02

-17.89

121

137

13.22

แพร

86

138

60.47

314.85

1,126.46

257.78

516

939

81.98

แมฮองสอน

1

2

100.00

1.40

27.40

1,857.14

15

14

-6.67

ลําปาง

33

65

96.97

528.47

9,353.94

1,670.00

337

536

59.05

ลําพูน

13

19

46.15

695.80

1,196.27

71.93

288

497

72.57

สุโขทัย

19

25

31.58

714.89

448.68

-37.24

161

176

9.32

อุตรดิตถ

11

14

27.27

82.88

109.69

32.35

72

77

6.94

อุทัยธานี

7

5

-28.57

138.33

151.23

9.33

49

89

81.63

418

519

24.16

24,227.48

18,283.51

-24.53

7,038

5,483

-22.09

รวม


7

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

การลงทุนในภาคเหนือครึ่งปหลัง 2557 มีโรงงานที่ขออนุญาตประกอบกิจการใหม 519 แหง เงินลงทุน 18,283.51 ลานบาท และ การจางงาน 5,483 คน เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 พบวาโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรอยละ 24.16 เงินลงทุน และการจางงาน ลดลงโดยลดลงรอยละ 24.53 และรอยละ 22.09 ตามลําดับ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดแพรมีโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการมากที่สุดรอยละ 26.59 รองลงมาคือ จังหวัดลําปาง รอยละ 12.52 และจังหวัดเชียงใหมรอ ยละ 9.83 เมือ่ พิจารณาตามการลงทุนจังหวัดลําปางมีมลู คาการลงทุนมากทีส่ ดุ รอยละ 51.16 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหมรอยละ 9.37 และจังหวัดลําพูน รอยละ 6.54 สําหรับการจางงานจังหวัดแพรมีการจางงานมากที่สุดรอยละ 17.13 รองลงมา คือ จังหวัดตากรอยละ 15.70 และจังหวัดเชียงใหมรอยละ 14.46 ตารางที่ 10 จํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม จํานวนโรงงาน (แหง) ประเภทอุตสาหกรรม

ครึ่งปหลัง ครึ่งปหลัง 2556 2557

เพิ่ม/ลด รอยละ

เงินลงทุน (ลานบาท) ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

เพิ่ม/ลด รอยละ

การจางงาน (คน) ครึ่งปหลัง ครึ่งปหลัง 2556 2557

เพิ่ม/ลด รอยละ

เกษตรกรรม

101

63

-37.62

2,756.82

1,532.67

-44.40

834

575

-31.06

อาหาร

20

30

50.00

739.43

471.79

-36.20

1,055

254

-75.92

เครื่องดื่ม

5

5

0.00

150.16

107.87

-28.16

37

81

118.92

สิ่งทอ

2

3

50.00

6.18

28.20

356.31

188

193

2.66

เครื่องแตงกาย

6

3

-50.00

50.25

3.20

-93.63

513

149

-70.96

เครื่องหนัง

0

2

100.00

0.00

14.31

100.00

0

90

100.00

ไมและผลิตภัณฑจากไม

21

68

223.81

143.06

322.89

125.70

191

588

207.85

เฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน

89

115

29.21

64.08

93.96

46.63

602

776

28.90

กระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ

1

0

-100.00

0.00

0.00

0.00

80

0

-100.00

เคมี

4

6

50.00

28.95

331.86

1,046.32

23

59

156.52

ผลิตภัณฑปโตรเลียม

6

5

-16.67

78.91

130.84

65.81

40

55

37.50

ผลิตภัณฑยาง

4

2

-50.00

2,890.61

6.37

-99.78

518

22

-95.75

ผลิตภัณฑพลาสติก

8

6

-25.00

72.72

117.81

62.00

134

81

-39.55

ผลิตภัณฑอโลหะ

41

47

14.63

318.65

1,160.06

264.05

341

706

107.04

ผลิตภัณฑโลหะ

0

1

100.00

0.00

11.55

100.00

0

12

100.00

ผลิตภัณฑซอมแซมโลหะ

18

17

-5.56

225.46

460.80

104.38

209

238

13.88

เครื่องจักรกล

8

3

-62.50

44.98

8.47

-81.17

310

26

-91.61

ไฟฟา

3

0

-100.00

373.50

0.00

-100.00

290

0

-100.00

ขนสง

23

33

43.48

1,215.79

1,696.55

39.54

300

712

137.33

ทั่วไป

58

110

89.66

15,067.93 11,784.31

-21.79

1,373

866

-36.93

418

519

24.16

24,227.48 18,283.51

-24.53

7,038

5,483

-22.09

รวม

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือนเปนประเภทอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาต ประกอบกิจการมากทีส่ ดุ รอยละ 22.16 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมทัว่ ไปรอยละ 21.19 และอุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไมรอ ยละ 13.10 สําหรับอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีมลู คาการลงทุนมากทีส่ ดุ รอยละ 64.45 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมขนสงรอยละ 9.28 และอุตสาหกรรมเกษตรกรรม รอยละ 8.38 และเมือ่ พิจารณาตามการจางงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปมีการจางงานมากทีส่ ดุ รอยละ 15.79 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอร และเครื่องเรือนรอยละ 14.15 และอุตสาหกรรมขนสงรอยละ 12.99


8

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 11 โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน ครึ่งปหลัง (ก.ค. - ธ.ค.) จํานวนโครงการ เงินลงทุน (ลานบาท) การจางงาน (คน)

2556

2557

อัตราการ เปลี่ยนแปลง

31 3,615.60 1,376

56 21,405.20 4,457

25 17,789.60 3,081

รอยละ 80.65 492.02 223.91

ตารางที่ 12 โครงการที่ไดรับการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามรายจังหวัด จํานวนโครงการ จังหวัด

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

2 1 9 0 3 0 0 0 2 0 1 0 3 9 1 0 0

2 1 14 1 7 1 0 0 0 6 1 0 2 11 3 4 3

31

56

กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม

เพิ่ม/ลด รอยละ

เงินลงทุน (ลานบาท) ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

0.00 0.00 55.56 100.00 133.33 100.00 0.00 0.00 -100.00 100.00 0.00 0.00 -33.33 22.22 200.00 100.00 100.00

1,490.00 20.00 239.50 0.00 92.40 0.00 0.00 0.00 103.70 0.00 36.30 0.00 120.30 1,453.40 60.00 0.00 0.00

1,400.00 57.10 247.30 40.00 4,080.00 36.00 0.00 0.00 0.00 6,143.20 241.40 0.00 123.10 1,971.70 2,550.00 2,461.00 2,054.40

80.65

3,615.60

21,405.20

เพิ่ม/ลด รอยละ

การจางงาน (คน)

เพิ่ม/ลด รอยละ

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

-6.04 185.50 3.26 100.00 4,315.58 100.00 0.00 0.00 -100.00 100.00 565.01 0.00 2.33 35.66 4,150.00 100.00 100.00

74 9 303 0 47 0 0 0 90 0 29 0 54 760 10 0 0

72 16 669 32 1,583 20 0 0 0 217 26 0 31 1,341 123 185 142

-2.70 77.78 120.79 100.00 3,268.09 100.00 0.00 0.00 -100.00 100.00 -10.34 0.00 -42.59 76.45 1,130.00 100.00 100.00

492.02

1,376

4,457

223.91

ตารางที่ 13 โครงการที่ไดรับการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรม ผลิตผลทางการเกษตร เหมืองแรและเซรามิคส อุตสาหกรรมเบา เครื่องจักรและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑและกระดาษ บริการ รวม

จํานวนโครงการ ครึ่งปหลัง ครึ่งปหลัง 2556 2557 9 19 1 1 2 5 5 3 8 10 1 0 5 18 31 56

เพิ่ม/ลด รอยละ 111.11 0.00 150.00 -40.00 25.00 -100.00 260.00 80.65

เงินลงทุน (ลานบาท) เพิ่ม/ลด ครึ่งปหลัง ครึ่งปหลัง รอยละ 2556 2557 422.40 8,695.80 1,958.66 13.90 150.00 979.14 39.50 194.70 392.91 251.10 92.00 -63.36 1,220.70 1,011.70 -17.12 20.00 0.00 -100.00 1,648.00 11,261.00 583.31 3,615.60 21,405.20 492.02

การจางงาน (คน) ครึ่งปหลัง ครึ่งปหลัง 2556 2557 242 2,311 20 238 246 275 144 284 601 771 9 0 114 578 1,376 4,457

เพิ่ม/ลด รอยละ 854.96 1,090.00 11.79 97.22 28.29 -100.00 407.02 223.91


9

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุน ในชวงครึ่งปหลัง (ก.ค.-ธ.ค.) จํานวน 56 โครงการ เงินลงทุน 21,405.2 ลานบาท การจางงาน 4,457 คน ไดแก โครงการที่ไดรับอนุมัติการสงเสริมในภาคเหนือตอนบน 6 จังหวัด จํานวน 30 โครงการ เงินลงทุน 2,676.6 ลานบาท การจางงาน 2,103 คน ไดแก จังหวัดนาน ลําปาง ลําพูน เชียงใหม แพร และเชียงราย โครงการที่ไดรับอนุมัติการสงเสริมในภาคเหนือตอนลาง 7 จังหวัด จํานวน 26 โครงการ เงินลงทุน 18,728.6 ลานบาท การจางงาน 2,354 คน ไดแก จังหวัดสุโขทัย เพชรบูรณ กําแพงเพชร อุตรดิตถ นครสวรรค อุทัยธานี และตาก เมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งปหลัง 2556 พบวาจํานวนโครงการเพิ่มขึ้นรอยละ 80.65 มูลคาการลงทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 492.02 และการจางงานเพิ่มขึ้นรอยละ 223.91 อุตสาหกรรมที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนใน 3 อันดับแรกไดแก 1. อุตสาหกรรมเกษตรและผลิตผลจากการเกษตร จํานวน 19 โครงการ มูลคาการลงทุน 8,695.8 ลานบาท การจางงาน 2,311 คน ไดแก กิจการผลิต Wood Pellet กิจการผลิต Pig Raising กิจการผลิต Instant Noodle กิจการผลิต Frozne Fruit/Vegetable กิจการผลิต chicken Raising กิจการผลิตปุยชีวภาพ ปุยอินทรีย หรือสารปรับปรุงดิน กิจการคัดคุณภาพและบรรจุ เก็บรักษา พืช ผัก ผลไม หรือดอกไม โดยใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย กิจการขยายพันธุสัตวหรือเลี้ยงสัตว (ไก) กิจการผลิตแอลกอฮอล หรือเชื้อเพลิงจากผลผลิต การเกษตร รวมทั้งเศษหรือขยะหรือของเสีย กิจการผลิตผลิตภัณฑจากผลพลอยไดหรือเศษวัสดุทางการเกษตร กิจการผลิตแปงจากพืช หรือ เดกตริน หรือโมดิไฟดสตารช กิจการฆาและชําแหละสัตว (ไก) สถานที่ตั้งโครงการอยูที่จังหวัดนาน ลําปาง แพร เชียงใหม ลําพูน สุโขทัย เพชรบูรณ กําแพงเพชร อุตรดิตถ นครสวรรค และอุทัยธานี 2. กิจการบริการและสาธารณูปโภค จํานวน 18 โครงการ มูลคาการลงทุน 11,261.0 ลานบาท การจางงาน 578 คน ไดแก กิจการ Regional Operating Headquarter (ROH) กิจการ International Procurement Office (IPO) กิจการผลิต Loading/Unloading Facility, water Transportation(oil) กิจการ Trade and Investment Support Office กิจการผลิต Product Design กิจการ Tele Sales and Marketing Serviced 20 WORKSTATINO กิจการผลิตพลังงานไฟฟา หรือไอนํ้าจากพลังงานลม กิจการผลิตพลังงานไฟฟา หรือไอนํ้าจาก (ไบโอแมส) กิจการผลิตพลังงานไฟฟา หรือไอนํ้าจากพลังงานเชื้อเพลิงขยะ สถานที่ตั้งโครงการอยูที่จังหวัดลําพูน เชียงราย เชียงใหม เพชรบูรณ อุตรดิตถ นครสวรรค อุทัยธานี และตาก 3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟา จํานวน 10 โครงการ มูลคาการลงทุน 1,011.7 ลานบาท การจางงาน 771 คน ไดแก กิจการผลิต Software กิจการผลิต PCBA (Printed Circuit Board Assembly) กิจการผลิต Diode Rectifier กิจการผลิต Switching Power Supply กิจการผลิต Connector สถานที่ตั้งโครงการอยูที่จังหวัดเชียงใหม และลําพูน นักลงทุนตางชาติที่ไดรับการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนไดแก ประเทศญี่ปุน สิงคโปร ฮองกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เดนมารก และสวิตเซอรแลนด ที่มา : ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน กระทรวงอุตสาหกรรม

ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือ ภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือไตรมาสที่ 4 ป 2557 ภาพรวมปรับดีขึ้นจากไตรมาสกอนเล็กนอยแตการฟนตัวยังเปนไปอยางชาๆ โดยภาคการทองเที่ยวยังมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่การสงออกและการใชจายงบลงทุนของภาครัฐขยายตัวดี ดาน การใชจายภาคเอกชนแมจะปรับดีขึ้นบาง ตามความเชื่อมั่นของผูบริโภคแตยังหดตัวอยู เนื่องจากรายไดเกษตรกรที่ลดลงมีผลตอการลดลง ของการใชจายสินคาคงทน นอกจากนี้ การลงทุนภาคเอกชนยังฟนตัวชา สะทอนจากผูประกอบการยังชะลอการลงทุนใหมเพื่อรอความชัดเจน ของการฟนตัวทางเศรษฐกิจ สวนผลผลิตสินคาเกษตรคอนขางทรงตัวขณะที่ผลผลิตสินคาอุตสาหกรรมลดลงตามการผลิตประเภทเครื่องดื่ม เปนสําคัญ สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปยังอยูในเกณฑดี ทั้งอัตราเงินเฟอและอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่า สวนภาคการเงิน เงินฝากและเงินใหสินเชื่อชะลอลงจากไตรมาสกอน รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคเหนือ มีดังนี้


ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

10

การใชจา ยภาคเอกชนฟน ตัวชากวาคาดดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน แมปรับดีขนึ้ กวาไตรมาสกอนแตยงั ลดลงจากระยะเดียวกัน ปกอนรอยละ 2.6 ตามรายไดเกษตรกรที่ลดลง กอปรกับภาคครัวเรือนมีภาระหนี้อยูในระดับสูง จึงยังระมัดระวังในการใชจาย โดยเฉพาะ การบริโภคสินคาในหมวดยานยนตที่ยังลดลง สะทอนจากปริมาณการจดทะเบียนรถยนตนั่ง รถยนตเพื่อการพาณิชยและรถจักรยานยนต อยางไรก็ดีปจจัยบวกในเรื่องความเชื่อมั่นของผูบริโภคดีขึ้นกวาไตรมาสกอน ผลของการจายเงินชวยเหลือของรัฐใหแกชาวนาและการจับจาย ใชสอยจากนักทองเที่ยว โดยเฉพาะในจังหวัดทองเที่ยวสําคัญ สนับสนุนใหสินคาจําเปนตอการอุปโภคบริโภคยังขยายตัวโดยเฉพาะ ในหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ดานการลงทุนภาคเอกชนฟน ตัวคอนขางชา ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนลดลงจากระยะเดียวกันปกอ นรอยละ 3.8 เนือ่ งจากผูป ระกอบการ ชะลอการลงทุนใหมเพื่อรอความชัดเจนของการฟนตัวทางเศรษฐกิจ สะทอนจากปริมาณการจดทะเบียนรถยนตเพื่อการพาณิชย และ การนําเขาเครื่องจักรและอุปกรณที่หดตัว แตเริ่มเห็นสัญญาณการฟนตัวของภาคการกอสรางบางในชวงปลายไตรมาส จากเครื่องชี้สําคัญ ไดแก ปริมาณการจําหนายวัสดุกอสรางเพิ่มขึ้น การเรงเบิกจายงบลงทุนของภาครัฐ และพื้นที่รับอนุญาตกอสรางในเขตเทศบาล โดยเฉพาะ เพื่อที่อยูอาศัยและเชิงพาณิชยเพิ่มขึ้น รวมถึง เงินลงทุนที่ไดรับอนุมัติการสงเสริมการลงทุนจาก BOI ก็เพิ่มขึ้นมาก ขณะทีก่ ารใชจา ยภาครัฐโดยรวมตํา่ กวาระยะเดียวกันปกอ น เปนผลจากยอดเบิกจายงบประจําทีล่ ดลงเทียบกับปกอ นทีม่ ยี อดโอนเงิน อุดหนุนใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสถานศึกษาจํานวนมาก ขณะที่การเบิกจายงบลงทุนขยายตัวจากระยะเดียวกันปกอนถึงรอยละ 61.9 จากมาตรการเรงรัดการเบิกจายตามโครงการปรับปรุงและซอมสรางของกรมชลประทาน กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท การสงออก มีมูลคาเพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอนรอยละ 8.9 ตามความตองการสินคาในตลาดอาเซียนเปนสําคัญ ในหมวดสินคา อุปโภคบริโภค อาทิ โทรศัพทพรอมอุปกรณ นํ้ามันเชื้อเพลิงและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล ไปยังเมียนมาร และชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่ใชใน อุปกรณสื่อสารและยานยนตไปมาเลเซียและสิงคโปร ดานการนําเขา เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอนรอยละ 6.8 จากการนําเขาวัตถุดิบและ สินคาขั้นกลางเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสและสวนประกอบ ซึ่งนาจะชวยสนับสนุนตัวเลขการสงออกในชวงตอไป ผลผลิตสินคาเกษตร มีปริมาณใกลเคียงกับระยะเดียวกันปกอน โดยในสวนที่เพิ่มขึ้นไดแก ผลผลิตมันสําปะหลัง ลําไยนอกฤดูกาล จากสภาพอากาศเอื้ออํานวย และผลผลิตปศุสัตวโดยเฉพาะไกพันธุเนื้อ และไขไกขณะที่สวนที่ลดลง ไดแก ผลผลิตสับปะรดโรงงาน ขาวโพด เลี้ยงสัตว และถั่วเขียว จากภาวะภัยแลง โดยเกษตรกรเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน แมราคาขาวเปลือกเหนียว ขาวเปลือกเจานาป และ ถั่วเหลืองยังลดลง แตราคาสินคาเกษตรโดยรวม และรายไดเกษตรกรไตรมาสนี้ดีขึ้นกวาไตรมาสกอน แตเทียบกับระยะเดียวกันปกอน ยังลดลงรอยละ 3.8 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ลดลงจากระยะเดียวกันปกอนรอยละ 3.0 ที่สําคัญเปนผลจากการเรงผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพิ่มขึ้นมากในปกอน หลังจากมีความชัดเจนของโครงสรางภาษี รวมถึงการยายการผลิตเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอลกลับไปผลิตในภาคกลาง หลังจากทีไ่ ดยา ยมาผลิตในภาคเหนือในชวงประสบอุทกภัย การผลิตสิง่ ทอลดลงตามการสงออกไปตลาดยุโรป อยางไรก็ดกี ารผลิตอุตสาหกรรม ทีข่ ยายตัวในไตรมาสนี้ ไดแก ชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส ชิน้ สวนเลนสในอุปกรณกลองถายภาพ วัสดุกอ สราง เครือ่ งใชประเภทเซรามิกบนโตะอาหาร เครื่องประดับ และเฟอรนิเจอร ภาคการทองเที่ยว ยังขยายตัวสูงตอเนื่องจากไตรมาสกอน เนื่องจากเริ่มเขาฤดูกาลทองเที่ยวในภาคเหนือ อีกทั้งมีการจัดกิจกรรม สงเสริมการทองเที่ยวทั้งจากภาครัฐและเอกชน เชน การจัดโรดโชวไปตามหัวเมืองสําคัญในจีน การยกเวนคาธรรมเนียมวีซาสําหรับ นักทองเที่ยวจีน มาตรการภาษีสงเสริมเที่ยวทั่วไทย นักทองเที่ยวชาวจีนยังเปนสัดสวนหลักและเพิ่มขึ้นตอเนื่อง เนื่องจากมีเที่ยวบินตรงและ การบินเชาเหมาลําเพิ่มขึ้นมาก สะทอนใหเห็นจากจํานวนผูโดยสารผานทาอากาศยานเชียงใหมเพิ่มขึ้นมาก เสถียรภาพเศรษฐกิจภาคเหนือ นับวายังอยูในเกณฑดี ไมเปนอุปสรรคตอการฟนตัวทางเศรษฐกิจโดยอัตราเงินเฟอทั่วไปชะลอลง เหลือรอยละ 1.05 ตามการปรับลดราคานํ้ามันเชื้อเพลิง และราคาอาหารสด ประเภทผักสด เนื้อสัตว และไขไก ตามอุปทานสูตลาดมากขึ้น ดานอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่ารอยละ 0.6 โดยปรับลดลงจากไตรมาสกอน ภาคการเงิน เงินใหสินเชื่อของสาขาธนาคารพาณิชย ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2557 มียอดคงคาง 595,647 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 4.8 ชะลอลงจากไตรมาสกอน โดยมีการใหสินเชื่อเพิ่มขึ้นแกธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตพาณิชย กอสราง และสินเชื่อครัวเรือนเพื่อที่อยูอาศัย ในขณะที่สินเชื่อเพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย ธุรกิจการเงินรวมทั้งสินเชื่อครัวเรือนเพื่อเชาซื้อรถยนตยังหดตัว ดานเงินฝากมียอดคงคาง 603,335 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 3.4 ชะลอลงจากไตรมาสกอน เนื่องจากมีลูกคาบางสวนถอนเงินฝากไปลงทุนในตราสารที่ใหผลตอบแทน สูงกวา ประกอบกับการแขงขันระดมเงินฝากพิเศษผอนคลายลงจากชวงกอนหนา ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย สํานักงานภาคเหนือ


11

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

แรงงานไทยที่เดินทางไปทํางานตางประเทศ แผนภูมิที่ 3 จํานวนคนงานที่ไดรับอนุญาตใหเดินทางไปทํางานตางประเทศ จําแนกตามวิธีการเดินทาง นายจางพาลูกจางไปทํางาน 361 คน

นายจางสงลูกจางไปฝกงาน 367 คน

การเดินทางดวยตนเอง 894 คน

บริษัทจัดหางานจัดสง 4,733 คน

กรมการจัดหางานจัดสง 1,331 คน

แรงงานไทยที่ไดรับอนุญาตใหไปทํางานตางประเทศครึ่งปหลัง 2557 จํานวน 7,686 คน ลดลงจากครึ่งปหลัง 2556 รอยละ 6.92 จําแนกตามวิธีการเดินทาง การเดินทางโดยบริษัทจัดหางานจัดสง จํานวน 4,733 คน รอยละ 61.58 รองลงมาไดแก การเดินทาง โดยกรมการจัดหางานจัดสง จํานวน 1,331 คน รอยละ 17.32 การเดินทางดวยตนเอง จํานวน 894 คน รอยละ 11.63 การเดินทางโดยนายจาง สงลูกจางไปฝกงาน จํานวน 367 คน รอยละ 4.77 และการเดินทางโดยนายจางพาลูกจางไปทํางาน จํานวน 361 คน รอยละ 4.70 แผนภูมิที่ 4 ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 10 อันดับแรก จํานวน (คน)

วัน

ไตห

ารณ

สาธ

าหล

ก รัฐเ

ุน

ญี่ป

เอล

า อสิ ร

ตุรก

าหร

อ หรัฐ

ส

ิเรต

ม ับเอ

าใต

ริก แอฟ

ซีย รัสเ

าร

กาต

นด

ีแล นิวซ

ประเทศ

จําแนกตามรายประเทศ ประเทศที่คนงานเดินทางไปทํางานมากที่สุด 5 อันดับแรกไดแก ประเทศไตหวัน จํานวน 3,671 คน รอยละ 47.76 รองลงมาคือ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จํานวน 763 คน รอยละ 9.93 ประเทศญี่ปุน จํานวน 529 คน รอยละ 6.88 ประเทศอิสราเอล จํานวน 492 คน รอยละ 6.40 และประเทศตุรกี จํานวน 387 คน รอยละ 5.04


12

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง ตารางที่ 14 จํานวนและรอยละของคนงาน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ไดรับอนุญาตเดินทางไปทํางานตางประเทศ จังหวัด

ครึ่งปหลัง 2556

ครึ่งปหลัง 2557

อัตราการเปลี่ยนแปลง

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

จํานวน (คน)

รอยละ

524 1,441 399 727 334 319 388 164 391 383 200 22 1,359 173 986 369 78

6.35 17.45 4.83 8.80 4.05 3.86 4.70 1.99 4.74 4.64 2.42 0.27 16.46 2.10 11.94 4.47 0.94

505 1,532 359 471 408 250 393 165 419 357 191 13 1,107 172 979 306 59

6.57 19.93 4.67 6.13 5.31 3.25 5.11 2.15 5.45 4.64 2.49 0.17 14.40 2.24 12.74 3.98 0.77

-19 91 -40 -256 74 -69 5 1 28 -26 -9 -9 -252 -1 -7 -63 -19

-3.63 6.32 -10.03 -35.21 22.16 -21.63 1.29 0.61 7.16 -6.79 -4.50 -40.91 -18.54 -0.58 -0.71 -17.07 -24.36

8,257

100.00

7,686

100.00

-571

-6.92

กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม ตาก นครสวรรค นาน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ อุทัยธานี รวม

ที่มา : สํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศ จําแนกตามรายจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปทํางานตางประเทศมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก จังหวัดเชียงราย จํานวน 1,532 คน รอยละ 19.93 จังหวัดลําปาง จํานวน 1,107 คน รอยละ 14.40 จังหวัดสุโขทัย จํานวน 979 คน รอยละ 12.74 จังหวัดกําแพงเพชร จํานวน 505 คน รอยละ 6.57 และจังหวัดตาก จํานวน 471 คน รอยละ 6.13

แรงงานตางดาว แผนภูมิที่ 5 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 จํานวน (คน)

ตลอ

ดชีพ

ป ทั่วไ พิส

ูจ

ัญ นส

ดิม าติเ

า

ข นาํ เ

U MO

สงเ

สริม

ลง การ

I

O นุ B

ชน

กลุม

ย นอ

ประเภท


13

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

แรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานในภาคเหนือ ณ เดือนธันวาคม 2557 จํานวน 177,158 คน เมื่อเปรียบเทียบ ณ เดือนธันวาคม 2556 โดยรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 168.51 จําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางาน คนตางดาวพิสูจนสัญชาติไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุด จํานวน 131,659 คน รอยละ 74.32 รองลงมาคือ คนตางดาวประเภทนําเขาตาม MOU จํานวน 24,374 คน รอยละ 13.76 ชนกลุมนอย จํานวน 13,584 คน รอยละ 7.67 คนตางดาวประเภททั่วไป จํานวน 6,586 คน รอยละ 3.72 คนตางดาวประเภทสงเสริมการลงทุน BOI จํานวน 930 คน รอยละ 0.52 และคนตางดาวประเภทตลอดชีพ จํานวน 25 คน รอยละ 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ เดือนธันวาคม 2556 ประเภทคนตางดาว ที่ไดรับอนุญาตเกือบทุกประเภทเพิ่มขึ้น ยกเวน คนตางดาวประเภทชนกลุมนอยลดลงรอยละ 27.31 ตารางที่ 15 จํานวนคนตางดาวจําแนกตามประเภทที่ไดรับอนุญาตทํางานเปรียบเทียบ ณ ธันวาคม 2556 และ ณ ธันวาคม 2557 ตลอดชีพ

ทั่วไป

จังหวัด

พิสูจนสัญชาติ

ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. 56 57 56 57 56 0 169 185 3,483 กําแพงเพชร 0 0 710 772 10,259 เชียงราย 0 21 21 3,568 3,914 3,448 เชียงใหม 0 0 0 347 369 ตาก 0 188 167 3,800 นครสวรรค 0 261 0 106 93 0 นาน 792 0 105 96 พะเยา 0 0 0 122 108 1,369 พิจิตร 0 0 246 114 1,698 พิษณุโลก 3 3,262 3 0 0 เพชรบูรณ 738 3 31 12 3 แพร 0 106 109 932 แมฮองสอน 0 0 262 250 1,533 ลําปาง 0 0 225 193 5,690 ลําพูน 0 590 สุโขทัย 1 1 75 94 483 0 0 57 66 อุตรดิตถ 316 0 0 57 41 อุทัยธานี รวม

25

25

ธ.ค. 57 3,928 8,811 63,996 26,887 10,060 119 644 302 2,450 1,496 666 938 2,196 7,827 560 391 388

นําเขาตาม MOU

สงเสริมการ ลงทุน BOI

ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. 56 57 56 42 43 0 158 215 10 217 19,501 420 0 3,465 43 0 219 262 0 22 13 0 136 198 0 112 102 204 235 26 0 14 20 0 25 18 0 0 0 44 0 52 14 395 6 0 134 168 66 0 7 1 1 0

6,377 6,586 38,654 131,659 1,340 24,374

894

ชนกลุมนอย

รวมคนตางดาว ทั้งสิ้น (คน)

อัตราการ เปลี่ยนแปลง

ธ.ค. 57 0 9 435 53 0 0 0 0 25 0 0 0 0 408 0 0 0

ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. ธ.ค. จํานวน 56 57 56 57 (คน) 3 3,699 4,159 460 5 3,407 3,116 14,544 12,923 -1,621 12,183 7,704 19,857 95,571 75,714 586 518 976 31,292 30,316 8 4,216 10,497 6,281 9 -157 399 242 8 19 -92 49 52 1,082 990 1,608 512 -1,096 5 0 11 2,218 2,835 617 44 0 3,283 1,519 -1,764 4 -105 701 2 806 9 1,154 919 2,192 1,966 -226 121 134 1,968 2,624 656 1,035 1,078 7,351 9,520 2,169 839 -1 40 16 840 531 -26 8 557 10 56 7 7 381 437

รอยละ 12.44 -11.15 381.30 3,106.15 148.98 -39.35 -8.50 -68.16 27.82 -53.73 -13.03 -10.31 33.33 29.51 -0.12 -4.67 14.70

930

18,687 13,584 65,977 177,158 111,181

168.51

ที่มา : สํานักบริหารแรงงานตางดาว จําแนกตามรายจังหวัด เมื่อพิจารณาเปนรายจังหวัดแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหมจํานวน 95,571 คน รอยละ 53.95 รองลงมาคือ จังหวัดตากจํานวน 31,292 คน รอยละ 17.66 จังหวัดเชียงราย จํานวน 12,923 คน รอยละ 7.29 จังหวัดนครสวรรค จํานวน 10,497 คน รอยละ 5.93 และจังหวัดลําพูนจํานวน 9,520 คน รอยละ 5.37 ตามลําดับ


14

ศูนยขาวสารตลาดแรงงานจังหวัดลําปาง

ผูประกันตนที่ข้นึ ทะเบียนกรณีวางงาน ตารางที่ 16 สาเหตุการถูกเลิกจาง และลาออกจากงานของผูประกันตนครึ่งปหลัง 2557 (กรกฎาคม-ธันวาคม) ป

สาเหตุ

2557

เลิกจาง ลาออก รวม

2556

เลิกจาง ลาออก รวม

ม.ค. ก.พ.

มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค. 417 6,030 6,447

* *

* *

* *

* *

* *

* *

* *

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

469 379 5,161 5,651 5,630 6,030

460 5,990 6,450

430 5,778 6,208

รวมทั้งหมด (คน) 417 2,572 4,448 33,058 4,865 35,630

576 5,937 6,513

1,447 5,069 6,516

810 4,344 5,154

ส.ค.

* *

* *

ธ.ค.

2,833 15,350 18,183

หมายเหตุ ไมมีขอมูลการเลิกจาง และลาออกตั้งแตเดือนมกราคม - กันยายน 2556 เนื่องจากระบบไมสามารถใชงานได ที่มา : กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน แผนภูมิที่ 6 สาเหตุการถูกเลิกจาง และลาออกจากงานของผูประกันตนครึ่งปหลัง 2557 (กรกฎาคม - ธันวาคม)

แผนภูมิที่ 7 ผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณีวางงาน การบรรจุงาน และอัตราการบรรจุงานครึ่งปหลัง 2557 (กรกฎาคม-ธันวาคม)

สถิติผูประกันตนที่ถูกเลิกจางและลาออกจากงานครึ่งปหลัง 2557 มีจํานวน 35,630 คน จําแนกสาเหตุจากการเลิกจาง จํานวน 2,572 คน รอยละ 7.22 และจากการลาออกจากงาน จํานวน 33,058 คน รอยละ 92.78 สําหรับผูประกันตนที่ขึ้นทะเบียนกรณี วางงาน จํานวน 35,771 คน ไดรับการบรรจุงาน จํานวน 25,606 คน หรือคิดเปนอัตราการบรรจุงานรอยละ 71.58 ของจํานวนผูประกันตน ที่มาขึ้นทะเบียนฯ


พิมพที่ :

บริษัท นันทพันธพริ้นติ้ง จํากัด 33/4-5 หมู 6 ต.แมเหียะ อ.เมืองเชียงใหม จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท 053-804908-9 โทรสาร 053-804958




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.