วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ

Page 1


วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนเมษายน 2557

วัตถุประสงค์

บทบรรณาธิการ

เพื่อเผยแพร่สถานการณ์ ตลาดแรงงานในภาคเหนือ และงานวิจัยที่น่าสนใจ

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของเจ้าหน้าที่กรมการจัดหางาน ข้อ 1 ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์มีคุณธรรมและ เสมอภาค ข้อ 2 ให้บริการด้วยความเต็มใจ รวดเร็วและประทับใจ ข้อ 3 มีมนุษยสัมพันธ์ ขยัน อดทน สามัคคี มีวินัย ข้อ 4 พัฒนาตนเองและหน่วยงาน สรรสร้างสังคม ข้อ 5 ศรัทธารักษาเกียรติ และศักดิศ์ รีของหน่วยงาน

- - - - - - -

ภาวะความต้องการแรงงานภาคเหนือ เดือนมีนาคม ปี 2557 ภาวะการมีงานท�ำและอัตราการว่างงาน ภาวะการเลิกจ้าง การไปท�ำงานต่างประเทศ การท�ำงานของคนต่างด้าว ภาวะการลงทุน ผลงานวิจัย

ในส่วนของผู้มงี านท�ำปรากฏว่าลดลงคิดเป็นร้อยละ 10.82 ผู้ว่างงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 16.80 โดยมีอัตราการว่างงาน ลดลง จากร้อยละ 0.52 เป็นร้อยละ 0.48 ส�ำหรับภาวะการลงทุนเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน พบว่า การอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 11.86 เงินลงทุนลดลง คิดเป็นร้อยละ 34.84 และ ในการลงทุนดังกล่าวมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 3.79

หน้า

งานวิจัยที่น�ำมาฝากในฉบับนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเรื่อง : การศึกษาระบบการสร้างแรงจูงใจส�ำหรับนายจ้างในการ ส่งเสริมสุขภาพลูกจ้างโดยส�ำนักงานประกันสังคม กระทรวง แรงงาน ปี 2550 หากท่านมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะใดๆ กรุณาแจ้งได้ท่ี E-mail : lm_lpg@live.com

3

โดย ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง

สารบัญ

วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ประจ�ำเดือน เมษายน 2557 ฉบับนีไ้ ด้นำ� เสนอเนือ้ หาสถานการณ์ตลาดแรงงาน ภาคเหนือเดือนมีนาคม 2557 ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน (มีนาคม 2556) สรุปได้ดังนี้ ในภาพรวมปรากฏว่า มีความต้องการแรงงานลดลงคิดเป็นร้อยละ 42.52 โดยจังหวัด ที่มีความต้องการแรงงานลดลงมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเชียงราย และจังหวัดพะเยา การ สมัครงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 49.07 และการบรรจุงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 34.15 การเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 7.78 จังหวัดที่มีคนงานไปท�ำงานต่างประเทศ มากทีส่ ดุ 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดล�ำปาง และ จังหวัดสุโขทัย มีผู้ประกันตนที่มาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณี ว่างงาน ลดลงคิดเป็นร้อยละ 45.61

4 4 5 5 6 7

* การศึกษาระบบการสร้างแรงจูงใจส�ำหรับนายจ้าง ในการส่งเสริมสุขภาพลูกจ้าง โดยส�ำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ปี 2550

อ�ำนวยการโดย : นายบุญเลิศ ธีระตระกูล ผู้อ�ำนวยการกองวิจัยตลาดแรงงาน ที่ปรึกษา : นางชญาภา ประเสริฐอัมพร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิจัยตลาดแรงงาน จัดท�ำโดย : ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ศูนย์ราชการจังหวัดล�ำปาง ถ.วชิราวุธด�ำเนิน ชั้น 3 ต.พระบาท อ.เมือง จ.ล�ำปาง 52000 เว็บไซต์ : http:// www.nlmi-lp.com หรือ E-mail : Lm_lpg@live.com โทรศัพท์ : 0-5426-5050 โทรสาร : 0-5426-5071


วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ 3 เมื่อพิจารณาระดับการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่ต้องการแรงงาน ทีจ่ บการศึกษาระดับมัธยมศึกษามากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 30.87 รองลงมา ความต้องการแรงงานภาคเหนือเดือนมีนาคม 2557 นายจ้าง/ คือ ระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่า คิดเป็นร้อยละ 18.65 และระดับ สถานประกอบการ แจ้งความต้องการแรงงาน จ�ำนวน 5,213 อัตรา ปวช. คิดเป็นร้อยละ 15.31 ผู้สมัครงาน จ�ำนวน 6,529 คน และการบรรจุงาน จ�ำนวน 4,476 คน เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าความต้องการแรงงาน แผนภูมิ แสดงความต้องการแรงงานจ�ำแนกตามระดับการศึกษา ประจ�ำเดือนมีนาคม 2557 ลดลง 3,856 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 42.52 ผู้สมัครงานลดลง 6,290 คน คิดเป็นร้อยละ 49.07 และการบรรจุงานลดลง 2,328 คน คิดเป็น จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 34.15 จังหวัดเชียงใหม่มคี วามต้องการแรงงานมากทีส่ ดุ จ�ำนวน 1,800 1,609 937 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 17.97 รองลงมา คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ จ�ำนวน 1,600 1,400 496 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 9.51 และจังหวัดนครสวรรค์ จ�ำนวน 485 1,200 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 9.30 จังหวัดที่มีความต้องการแรงงานน้อยที่สุด 1,000 972 798 734 800 คือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�ำนวน 42 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 0.81 627

ภาวะความต้องการแรงงานภาคเหนือ

แผนภูมิ แสดงความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน เปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 กับเดือนมีนาคม 2556 มีนาคม 2556

จ�ำนวน (คน)

14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

มีนาคม 2557

12,819 9,069 5,213

ความต้องการแรงงาน

6,529

ผู้สมัครงาน

6,804

4,476

การบรรจุ

อุตสาหกรรมทีม่ คี วามต้องการแรงงานมากทีส่ ดุ ได้แก่ การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน จ�ำนวน 2,169 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 41.61 รองลงมา คือ การผลิต จ�ำนวน 1,543 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 29.60 และ การบริหารราชการการป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ จ�ำนวน 248 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 4.76 ส�ำหรับประเภทอาชีพ พบว่า มีความต้องการแรงงานในอาชีพ พนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาดมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 30.19 รองลงมา คือ อาชีพงานพื้นฐาน คิดเป็นร้อยละ 27.78 และ เสมียน เจ้าหน้าที่ คิดเป็นร้อยละ 15.04

600 400 200 0

463

กึ ษา กึ ษา ถมศ ว่า ัธยมศ ม ประ ละต�่ำก แ

. ปวช

. ปวส

า ิ ญ ปุ รญ

อน

ตร ญา

ปริญ

5

5

โท ญา

ก าเอ

ปริญ

ปริญ

ระดับ การศึกษา

ผูส้ มัครงาน ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษามากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 39.49 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 27.28 และระดับประถมศึกษาและต�่ำกว่า คิดเป็นร้อยละ 13.43 ผู้สมัครงานส่วนใหญ่สมัครงานในประเภทอาชีพงานพื้นฐานมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 27.40 และเป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 18-24 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 39.42 แผนภูมิ ผู้สมัครงานจ�ำแนกตามระดับการศึกษา ประจ�ำเดือนมีนาคม 2557 จ�ำนวน (คน) 3,000

2,500

2,578

2,000 1,500 1,000

1,781 877

500 0

ึกษา กึ ษา ถมศ ว่า ัธยมศ ม ประ ละต�่ำก แ

546 .

ปวช

711 .

ปวส

18 า

อน

ญ ปุ ริญ

ปริญ

ตร ญา

18 ปริญ

โท ญา

ระดับการศึกษา

การบรรจุงาน อุตสาหกรรมที่มีการบรรจุงานมากที่สุด คือ แผนภูมิ แสดงความต้องการแรงงานจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ ประจ�ำเดือนมีนาคม 2557 ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 38.65 รองลงมา คือ การผลิต คิดเป็นร้อยละ 31.88 และทีพ่ กั แรมและบริการด้านอาหาร คิดเป็น จ�ำนวน (คน) ร้อยละ 5.05 ส่วนการบรรจุงานประเภทอาชีพ อาชีพงานพืน้ ฐานมากทีส่ ดุ 2,400 2,000 คิดเป็นร้อยละ 29.54 รองลงมา คือ พนักงานบริการ พนักงานขายใน 1,600 ร้านค้าและตลาด คิดเป็นร้อยละ 28.87 และเสมียน เจ้าหน้าที่ คิดเป็น 1,200 ร้อยละ 16.55 บรรจุงานในระดับมัธยมศึกษามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 800 43.45 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 25.47 และระดับ 400 0 ปวส. คิดเป็นร้อยละ 13.07 โดยบรรจุงานอายุระหว่าง 30-39 ปี ิน ร และ ราชกา งการเง ยส่ง ลิต การรขขาายปลีกฯ การผ บริหันารประเทศ ที่พักแดร้ามนอาหารกิจกรรมรทปาระกันภัย ร า ก มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34.74 รองลงมา คือ อายุระหว่าง 25-29 ปี ป้องก บริการ และกา และกา ประเภทอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 26.94 และอายุระหว่าง 18-24 ปี คิดเป็น ร้อยละ 26.59


4 วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ แผนภูมิ การบรรจุงานจ�ำแนกตามระดับการศึกษา ประจ�ำเดือนมีนาคม แผนภูมิ แสดงความต้องการแรงงาน ผู้สมัครงาน และการบรรจุงาน 2557 1 ปีย้อนหลัง จ�ำนวน (คน) 2,000

จ�ำนวน (คน) 14,000

1,945

12,000

1,500 1,000 500 0

10,000

1,140

422

364

ึกษา กึ ษา ถมศ ว่า ัธยมศ ม ประ ละต�่ำก แ

.

ปวช

8,000 6,000

585 .

ปวส

4,000 15 ญา

ริญ อนุป

าตร

ญ ปริญ

2,000

5

าโท

ญ ปริญ

ระดับการศึกษา

0

ม ก ม ธ พ ต ก ส ก ม พ เ . 56 ม.ย. 5 .ค. 56 ิ.ย. 56 .ค. 56 .ค. 56 .ย. 56 .ค. 56 .ย. 56 .ค. 56 .ค. 57 .พ. 57 ี.ค. 57 6

มี.ค

ประจ�ำเดือน

ภาวะการมีงานท�ำและอัตราการว่างงาน การส�ำรวจภาวะการมีงานท�ำเดือนมีนาคม 2557 โดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าผู้มีงานท�ำ จ�ำนวน 6,465,500 คน เป็นผู้ท�ำงาน ในภาคเกษตรกรรม 2,981,800 คน คิดเป็นร้อยละ 46.12 และผู้ท�ำงานนอกภาคเกษตรกรรม 3,483,700 คน คิดเป็นร้อยละ 53.88 โดยผู้ท�ำงาน นอกภาคเกษตรกรรมเป็นผู้ท�ำงานในสาขาการขายส่ง และขายปลีก การซ่อมแซม ยานยนต์ และจักรยานยนต์มากที่สุด จ�ำนวน 841,100 คน รองลงมา คือ การผลิต จ�ำนวน 735,600 คน และการก่อสร้าง จ�ำนวน 532,600 คน ที่เหลืออยู่ในสาขาอื่นๆ ส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษาไม่มี การศึกษาถึงระดับประถมศึกษา 3,897,200 คน ร้อยละ 60.28 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 889,400 คน ร้อยละ 13.76 และ ระดับ อุดมศึกษา 873,500 คน ร้อยละ 13.51 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผู้มีงานท�ำลดลง คิดเป็นร้อยละ 10.82 ผู้ว่างงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 16.80 โดยอัตราการ ว่างงานลดลง จากร้อยละ 0.52 เป็นร้อยละ 0.48 ตาราง จ�ำนวนประชากร จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงาน มีนาคม 2556 มีนาคม 2557 อัตราการเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ -6.90 10,167,700 100.00 9,465,900 100.00 -701,800 ผู้มีอายุ 15 ปีข้นึ ไป -10.42 6,574,000 69.45 -764,300 1. ก�ำลังแรงงานรวม 7,338,300 72.17 68.30 -784,200 -10.82 1.1 ผู้มงี านท�ำ 7,249,700 71.30 6,465,500 38,100 0.37 31,700 0.33 -6,400 -16.80 1.2 ผู้ว่างงาน 26,300 52.08 0.50 76,800 0.81 1.3 ก�ำลังแรงงานที่รอฤดูกาล 50,500 2.21 2. ผู้ไม่อยู่ในก�ำลังแรงงาน 2,829,400 27.83 2,891,900 30.55 62,500 2,981,800 46.12 -287,500 -8.79 3. ผู้มงี านท�ำภาคเกษตรกรรม 3,269,300 45.10 -12.48 3,483,700 53.88 -496,700 4. ผู้มงี านท�ำนอกภาคเกษตรกรรม 3,980,400 54.90 อัตราการว่างงาน 0.52 0.48 ที่มา: ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ หมายเหตุ อัตราการว่างงาน = ผู้ว่างงาน * 100 ก�ำลังแรงงานรวม สถานภาพแรงงาน

ภาวะการเลิกจ้าง ข้อมูลของผู้ประกันตนที่มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานใน 17 จังหวัดภาคเหนือ เดือนมีนาคม 2557 มีผู้ประกันตน มาขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน จ�ำนวน 3,200 คน พบว่า จังหวัดก�ำแพงเพชรมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 26.59 รองลงมาคือ จังหวัดล�ำปาง คิดเป็นร้อยละ 9.78 และจังหวัดพะเยา คิดเป็นร้อยละ 9.66 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนโดยภาพรวมจ�ำนวน ผู้ประกันตนที่มาขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานลดลง คิดเป็นร้อยละ 45.61 โดยมีรายละเอียดดังนี้


วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ 5 จ�ำแนกตามวิธีการเดินทางมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ บริษัท ตาราง แสดงจ�ำนวนผู้ประกันตนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน จ�ำแนกเป็นรายจังหวัดเปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 และ จัดหางานจัดส่ง คิดเป็นร้อยละ 59.60 กรมการจัดหางานจัดส่ง คิดเป็น เดือนมีนาคม 2556 ร้อยละ 15.90 และแจ้งการเดินทางด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ 12.43 จ�ำแนกตามรายจังหวัด จังหวัดที่คนงานเดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำนวนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่จังหวัดเชียงราย คิดเป็นร้อยละ 22.49 เพิ่ม/ลด จังหวัด มีนาคม 2556 มีนาคม 2557 จังหวัดล�ำปาง คิดเป็นร้อยละ 12.89 และจังหวัดสุโขทัย คิดเป็นร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ 11.51 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทุกจังหวัดมีคนงานเดิน ก�ำแพงเพชร 214 3.64 851 26.59 637 297.66 ทางไปท�ำงานต่างประเทศเพิม่ ขึน้ ยกเว้นจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดล�ำปาง เชียงราย 560 9.52 308 9.63 -252 -45.00 จังหวัดแพร่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดก�ำแพงเพชร จังหวัดสุโขทัย เชียงใหม่ 1,429 24.29 149 4.66 -1,280 -89.57 จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดพิจติ ร ตาก

207

3.52

162

5.06

-45

-21.74

นครสวรรค์

331

5.63

158

4.94

-173

-52.27

น่าน

194

3.30

66

2.06

-128 -65.98

อุทัยธานี

64

1.09

74

2.31

10

15.63

พะเยา

260

4.42

309

9.66

49

18.85

พิจิตร

186

3.16

19

0.59

-167 -89.78

พิษณุโลก

537

9.13

298

9.31

-239

-44.51

เพชรบูรณ์

291

4.95

53

1.66

-238

-81.79

แพร่

232

3.94

115

3.59

-117

-50.43

แม่ฮ่องสอน

36

0.61

43

1.34

7

19.44

ล�ำปาง

391

6.65

313

9.78

-78

-19.95

ล�ำพูน

497

8.45

155

4.84

-342

-68.81

สุโขทัย

279

4.74

19

0.59

-260

-93.19

อุตรดิตถ์

175

2.97

108

3.38

รวม

5,883

-67 -38.29

100.00 3,200 100.00 -2,683 -45.61

แผนภูมิ จ�ำนวนคนงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำแนกตามวิธีการเดินทาง 5 วิธี

แผนภูมิ จำ� นวนคนงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้เดินทางไปต่างประเทศจ�ำแนก รายจังหวัด เปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 และเดือนมีนาคม 2556

การไปท�ำงานต่างประเทศ ข้อมูลของส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการ จัดหางาน เดือนมีนาคม 2557 พบว่า คนงานใน 17 จังหวัดภาคเหนือ ที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงานต่างประเทศ จ�ำนวน 1,094 คน จ�ำแนกเป็นเพศชาย 865 คน คิดเป็นร้อยละ 79.67 และเพศหญิง 229 คน คิดเป็นร้อยละ 20.93 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่า คนงานที่เดินทางไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น 79 คน คิดเป็นร้อยละ 7.78 ที่มา : ส�ำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ตาราง แสดงจ�ำนวนคนงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปท�ำงาน การท�ำงานคนต่างด้าว ต่างประเทศ จ�ำแนกตามวิธีการเดินทางเปรียบเทียบเดือน มีนาคม 2557 กับ เดือนมีนาคม 2556 คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั อนุญาตท�ำงาน ณ เดือนมีนาคม 2557 รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 191,723 คน เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น จ�ำนวน 70,902 คน มี.ค. 2556 มี.ค. 2557 อัตราการเปลี่ยนแปลง มี.ค. 2556 กับ มี.ค. 2557 รายการ คิดเป็นร้อยละ 58.68 จ�ำแนกเป็นคนต่างด้าวถูกกฎหมาย จ�ำนวน จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ 149,965 คน คิดเป็นร้อยละ 78.22 คนต่างด้าวผิดกฎหมาย จ�ำนวน แจ้งการเดินทางด้วยตนเอง 185 18.23 136 12.43 -49 -26.49 41,758 คน คิดเป็นร้อยละ 21.78 กรมการจัดหางานจัดส่ง 165 16.26 174 15.90 9 5.45 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเกือบทุกจังหวัดมี นายจ้างพาลูกจ้างไปท�ำงาน 148 14.58 63 5.76 -85 -57.43 คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตเพิ่มขึ้น ยกเว้นจังหวัดแม่ฮ่องสอน และเมื่อ นายจ้างส่งลูกจ้างไปฝึกงาน 74 7.29 69 6.31 -5 -6.76 เปรียบเทียบประเภทของคนต่างด้าวพบว่าเกือบทุกประเภทได้รบั อนุญาต บริษัทจัดหางานจัดส่ง 443 43.65 652 59.60 209 47.18 เพิ่มขึ้น ยกเว้นประเภทคนต่างด้าวประเภทตลอดชีพ รวม 1,015 100.00 1,094 100.00 79 7.78


6 วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ แผนภูมิ แสดงจ�ำนวนคนต่างด้าวจ�ำแนกรายจังหวัดเปรียบเทียบ แผนภูม ิ จ�ำนวนคนต่างด้าว จ�ำแนกตามประเภทการได้รับอนุญาต เดือนมีนาคม 2557 และเดือนมีนาคม 2556 เปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 และเดือนมีนาคม 2556

ที่มา : ส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว หมายเหตุ - การเข้าเมือง หมายถึง ลักษณะการเข้าเมืองตาม พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 - ประเภทคนต่างด้าว เป็นการจ�ำแนกประเภทคนต่างด้าวรายมาตราตาม พ.ร.บ. การท�ำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 - คนต่างด้าวประเภทพิสูจน์สัญชาติ และน�ำเข้า MOU ได้รับอนุญาตท�ำงาน ใน 2 ต�ำแหน่ง คือ กรรมกรและคนรับใช้ในบ้าน

ภาวะการลงทุน ข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรมเดือนมีนาคม 2557 มีโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่ จ�ำนวน 66 แห่ง จ�ำนวนเงินลงทุน 1,815.95 ล้านบาท ก่อให้เกิดการจ้างงาน 1,123 คน เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จะเห็นได้ว่า จ�ำนวนโรงงานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.86 เงินลงทุนลดลง คิดเป็นร้อยละ 34.84 และ จ�ำนวนคนงานเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 3.79 โดยจังหวัดแพร่ ได้รบั อนุญาตประกอบกิจการมากทีส่ ดุ จ�ำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 24.24 รองลงมา คือ จังหวัดตาก จังหวัดน่าน และจังหวัดล�ำปาง จ�ำนวน 6 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 9.09 และจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 5 แห่ง เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 7.58 จังหวัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่ใช้เงินลงทุนมากที่สุด คือ จังหวัดอุทัยธานี จ�ำนวน 934.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.44 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 254.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.01 และจังหวัดน่าน จ�ำนวน 210.71 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.60 จังหวัดที่มจี �ำนวนคนงานที่ท�ำงานมากที่สุด คือ จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 301 คน คิดเป็นร้อยละ 26.80 รองลงมาคือ จังหวัดตาก จ�ำนวน 197 คน คิดเป็นร้อยละ 17.54 และจังหวัดล�ำพูน จ�ำนวน 152 คิดเป็นร้อยละ 13.53 ตาราง จ�ำนวนโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามรายจังหวัด เปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 กับเดือนมีนาคม 2556 จังหวัด

จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

เพิ่ม/ลด

มี.ค. 2556 มี.ค. 2557 จ�ำนวน

เงินลงทุน (ล้านบาท)

ร้อยละ มี.ค. 2556 มี.ค. 2557

เพิ่ม/ลด จ�ำนวน

เงินลงทุน (ล้านบาท)

ร้อยละ

มี.ค. 2556

มี.ค. 2557

เพิ่ม/ลด จ�ำนวน

ร้อยละ

ก�ำแพงเพชร

4

0

-4

100.00

30.82

0.00

-30.82

100.00

141

0

-141

100.00

เชียงราย

2

5

3

100.00

11.85

69.36

57.51

100.00

16

90

74

100.00

เชียงใหม่

7

5

-2

-28.57

257.14

254.50

-2.64

-1.03

218

301

83

38.07

ตาก

2

6

4

200.00

59.49

16.00

-43.49

-73.10

55

197

142

258.18

นครสวรรค์

7

0

-7

-100.00

1,536.48

0.00 -1,536.48 -100.00

136

0

-136

-100.00

น่าน

4

6

2

50.00

66.60

210.71

216.38

16

41

25

156.25

พะเยา

3

3

0

0.00

107.55

39.50

-68.05 -63.27

52

20

-32

-61.54

144.11

พิจิตร

3

5

2

66.67

38.50

32.67

-15.14

41

18

-23

-56.10

พิษณุโลก

8

3

-5

-62.50

303.33

31.47

-271.86 -89.63

-5.83

84

43

-41

-48.81

เพชรบูรณ์

4

2

-2

-50.00

30.68

5.40

-25.28

-82.40

28

8

-20

-71.43

แพร่

4

16

12

300.00

1.76

14.56

12.80

727.27

28

99

71

253.57

ล�ำปาง

7

6

-1

-14.29

112.20

92.71

-19.49

-17.37

114

77

-37

-32.46

ล�ำพูน

1

5

4

400.00

23.50

110.95

87.45

372.13

41

152

111

270.73

สุโขทัย

1

2

1

100.00

185.00

2.56

-182.44 -98.62

90

8

-82

-91.11

อุตรดิตถ์

2

1

-1

-50.00

22.05

1.40

-20.65 -93.65

22

6

-16

-72.73

อุทัยธานี

0

1

1

100.00

0.00

934.16

100.00

0

63

63

100.00

รวม

59

66

7

11.86

2,786.95

1,815.95

-971.00 -34.84

1,082

1,123

41

3.79

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

934.16


วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ 7 ตาราง จ�ำนวนโรงงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการจ�ำแนกตามหมวดอุตสาหกรรม เปรียบเทียบเดือนมีนาคม 2557 กับเดือนมีนาคม 2556 หมวดอุตสาหกรรม

จ�ำนวนโรงงาน (แห่ง)

เพิ่ม/ลด

เงินลงทุน (ล้านบาท)

เพิ่ม/ลด

เงินลงทุน (ล้านบาท)

เพิ่ม/ลด

มี.ค. 2556 มี.ค. 2557 จ�ำนวน ร้อยละ มี.ค. 2556 มี.ค. 2557 จ�ำนวน ร้อยละ มี.ค. 2556 มี.ค. 2557 จ�ำนวน

เกษตร

12

9

-3

-25.00

522.83

205.60 -317.23 -60.68

อาหาร

2

4

2

100.00

86.99

46.56

สิ่งทอ

0

1

1

100.00

0.00

40.00

เครื่องแต่งกาย

1

1

0

0.00

4.49

0.00

เครื่องหนัง

1

0

-1

-100.00

3.22

1.00

ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

2

3

1

50.00

1.20

1.15

-0.05

เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน

10

12

2

20.00

6.70

12.88

6.18

ร้อยละ

187

105

-82

-43.85

-40.43 -46.48

168

53

-115

-68.45

40 100.00

0

247

247

100.00

-4.49 -100.00

48

140

92

191.67

-2.22 -68.94

130

0

-130

-100.00

-4.17

16

16

0

0.00

92.24

68

84

16

23.53

เคมี

1

1

0

0.00

80.00

0.00

-80 -100.00

33

6

-27

-81.82

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

0

1

1

100.00

0.00

32.00

32 100.00

0

42

42

100.00

ผลิตภัณฑ์พลาสติก

1

2

1

100.00

1.82

15.00

13.18 724.18

3

27

24

800.00

ผลิตภัณฑ์อโลหะ

6

7

1

16.67

84.18

78.16

-6.02

-7.15

89

84

-5

-5.62

ผลิตภัณฑ์โลหะ

0

1

1

100.00

0.00

2.30

2.3 100.00

0

8

8

100.00

ผลิตภัณฑ์ซ่อมแซมโลหะ

8

5

-3

-37.50

119.50

57.30

-62.2 -52.05

ขนส่ง

4

3

-1

-25.00

212.50

194.50

ทั่วไป

11

16

5

45.45

59

66

7

11.86

รวม

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

150

114

-36

-24.00

-8.47

53

36

-17

-32.08

1,662.97

1,130.50 -532.47 -32.02

137

161

24

17.52

2,786.40

1,816.95

1,082

1,123

41

3.79

เมื่อจ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมทั่วไป ได้รับอนุญาตประกอบกิจการมากที่สุด จ�ำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 24.24 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน จ�ำนวน 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.18 อุตสาหกรรมเกษตรกร จ�ำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.64 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มีอุตสาหกรรมที่ได้ รับอนุญาตประกอบกิจการเพิม่ ขึน้ คือ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม สิ่งทอ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุตสาหกรรมพลาสติก และผลิตภัณฑ์โลหะ คิดเป็นร้อยละ 100.00 เท่ากัน รองลงมา คือ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 อุตสาหกรรม ทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 45.45

-18

-969.45 -34.79

หมวดอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่ใช้ เงินลงทุนมากที่สุด คือ อุตสาหกรรมทั่วไป จ�ำนวน 1,130.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 62.22 รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 205.60 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.32 และอุตสาหกรรมขนส่ง จ�ำนวน 194.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.70 หมวดอุตสาหกรรมที่มีจ�ำนวนคนงานที่ได้ทำ� งานมากที่สุด คือ อุตสาหกรรมสิ่งทอ จ�ำนวน 247 คน คิดเป็นร้อยละ 22.00 รองลงมา คือ อุตสาหกรรมทั่วไป จ�ำนวน 161 คน คิดเป็นร้อยละ 14.34 และ อุตสาหกรรมเครื่องหนัง จ�ำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 12.47

งานวิจัยเรื่อง : การศึกษาระบบการสร้างแรงจูงใจ ส�ำหรับนายจ้างในการส่งเสริมสุขภาพลูกจ้าง โดยส�ำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ปี 2550

การศึกษาระบบการสรางแรงจูงใจสําหรับนายจางในการสงเสริม สุขภาพลูกจาง เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยมี วัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระบบ (ไดแก นโยบาย แผนวิธีการ รูปแบบ ของตัวอยางกิจกรรม ฯลฯ) การสรางแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพ ลูกจางในสถานประกอบการที่มีระบบการสงเสริมสุขภาพของลูกจาง ที่ดี 2) เพื่อศึกษาผลประโยชนของการสงเสริมสุขภาพลูกจางที่ มีตอการทํางานของลูกจางและตอองคกรในภาพรวม และ 3) เพือ่ ศึกษา ความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนการสงเสริมสุขภาพ ลูกจาง กลุมตัวอยางที่ใชเปนกรณีศึกษา เปนสถานประกอบการ SMEs

ตัวอยางทีไ่ ดรบั รางวัลดานการสงเสริมสุขภาพ/คุณภาพชีวติ / ความปลอดภัยใน การทํางาน หรือไดรับยกยองวาเปนอุตสาหกรรมดีเดน จํานวน 4 แหง ไดแก อุตสาหกรรมการผลิตเคมีภัณฑและผลิตภัณฑเคมี อุตสาหกรรม ผลิตชิ้นสวนยานยนต อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ วิธกี ารการเก็บขอมูล ใชวธิ กี ารสัมภาษณกลุมผูบริหาร เกีย่ วกับแนวคิด และนโยบายขององคกรในการสงเสริมสุขภาพลูกจาง ขอเสนอแนะการ สนับสนุนจากภาครัฐ ฯลฯ และใชเก็บขอมูลจากแบบสอบถามจาก กลุมผูปฏิบัติงาน เกี่ยวกับความผูกพันในองคกร และความพึงพอใจ การทํางานและการสงเสริมสุขภาพขององคกร


8 วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงานภาคเหนือ ผลการศึกษาพบวา รูปแบบการจัดการสุขภาพในการทํางานของแรงงาน ในมุ ม มองเชิ ง รู ป แบบการจั ด การนั้ น เราพบว า รู ป แบบ การจัดการสุขภาพของแรงงานแบงเปน สองสวนที่องิ แอบตอกัน คือ สวนแรก การมีแบบแผนการจัดการตามที่กฎหมาย (และ ทางราชการ) กําหนด ซึ่งประกอบดวย 1. การที่สถานประกอบการจะตองมีนโยบายและแผนดาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 2. การทีส่ ถานประกอบการจะตองมีคณะกรรมการดานสุขภาพ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน และผูแทนพนักงานมา โดยการเลือกตัง้ จากพนักงาน 3. การทีส่ ถานประกอบการจะตองมีเจาหนาทีส่ ขุ ภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทํางาน ในระดับวิชาชีพ หัวหนา หรือ ผูบริหาร 4. การที่สถานประกอบการจะตองมีการฝกอบรมดานสุขภาพ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางานใหแกพนักงาน 5. การปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่รัฐและยอมรับการ ตรวจสอบของทางราชการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ในการทํางาน 6. การสมัครใจของสถานประกอบการในเขารวมกิจกรรม ที่ทางราชการจัดขึ้น เชน การประกวดสถานประกอบการในโครงการ สัปดาหความปลอดภัยในการทํางาน 7. การสํารวจและตรวจแรงงานในดานสุขภาพ (ทัง้ ทางรางกาย และจิตใจ) ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ ทํางานของทุกสถานประกอบการประจําป (ในขอนีเ้ ปนการเพิ่มเติมของ ผูวิจัยที่ภาครัฐพึงกระทําแกทุกสถานประกอบการทุกป และใหจัดสง ผลการสํารวจและตรวจพรอมกับการจัดสงเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน) สวนที่สอง เปนสวนแบบแผนการจัดการเฉพาะที่สนับสนุน สวนแรก และเปนฐานแหงความสําเร็จจากภายในสถานประกอบการ ซึ่งจากการวิจัยเราสามารถกําหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพในการ ทํางานของแรงงานในสวนนี้ไดอยางนอย 4 รูปแบบ ตามลักษณะการ ประกอบกิจการที่ผูวิจัยไดทํากรณีศึกษา คือ 1. สถานประกอบการที่บริหารแบบครอบครัว 2. สถานประกอบการทีบ่ ริหารแบบสากล (ไมมสี หภาพแรงงาน) ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานจังหวัดล�ำปาง ศาลากลางจังหวัดล�ำปาง ชัน้ 3 ต�ำบลพระบาท อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง 52000

3. สถานประกอบการทีบ่ ริหารโดยพนักงานรวมเปนเจาของกิจการ 4. สถานประกอบการขามชาติที่บริหารโดยมีสหภาพแรงงาน และตัวแปรส�ำคัญๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการสุขภาพในการทํางานของ แรงงาน ดังนี้ 1) ตัวแรงงานและองคกรของแรงงาน ไดแก ความรูความเขาใจ และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการ ทํางาน วินัยในการใชเครื่องปองกันอันตราย วัฒนธรรมในการทํางาน เปนตน 2) นายจางหรือเจาของสถานประกอบการ ไดแก ทัศนคติที่ดี เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน ระบบการ บริหารและจัดการสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานมีการบริหาร ทรัพยากรบุคคลโดยระบบคุณธรรม มีระบบความกาวหนา มีการบริหาร ผลการปฏิบัตงิ านอยางเปนระบบ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่คํานึงถึงการพัฒนาบุคคลแบบองครวม บุคลากรและคณะกรรมการ ที่รับผิดชอบดานสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน การปฏิบัติ หรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย คาใชจายในการลงทุน และสัญชาติใน ความเปนเจาของกิจการวัฒนธรรมในการทํางาน เปนตน 3) หนวยงานราชการ ไดแก นโยบายของรัฐ แนวทางการ ตรวจแรงงาน การจัดกิจกรรมกระตุน สถานประกอบการ การบังคับ ใชกฎหมาย มาตรการทางภาษี และการจัดทํายุทธศาสตรในเชิง ระเบียบวาระแหงชาติ และมาตรการเชิงจูงใจอื่นๆ เปนตน 4) องคกรอื่นๆ เชน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง เสริมสุขภาพ (สสส.) องคกรผูบริโภค, องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) ฯลฯ ได แ ก ก ารเผยแพรข  อ มู ล สุ ข ภาพลู ก จ า งและการปฏิบั ติง านของ สถานประกอบการที่ดีและไมดแี กสาธารณะ การตรวจสอบการทํางาน ของภาครัฐและสถานประกอบการภาคเอกชน และการรณรงคสงเสริม ใหผูบริโภคพิจารณาถึงคุณธรรมของแหลงผลิตสินคา เปนตน ความสําเร็จในการจัดการสุขภาพจึงขึ้นอยูกับการทําใหตัวแปร หรือปจจัยเหลานี้เขามามีปฏิสัมพันธกันอยางสมเหตุสมผล ซึ่งแตละ สถานประกอบการก็มีความแตกตางกัน ในการทําใหสุขภาพใน การทาํ งานของแรงงานประสพความสาํ เร็จตามรูปแบบหรือวิถที างของตน

ช�ำระค่าฝากส่งเป็นเงินเชื่อ ใบอนุญาตที่ 197/2548 ปณจ.ล�ำปาง 52000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.