Thai aging nutrition 2549

Page 1


แนวทางเวชปฏิบตั ิ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผูส้ งู อายุ ISBN : 974-422-310-3 พิมพ์ครัง้ ที่ 1 : กันยายน 2549 จำนวนพิมพ์ : 3,000 เล่ม พิมพ์ที่ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด


คำปรารภ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีพนั ธกิจในการพัฒนาการด้านการบำบัดรักษาและฟืน้ ฟู สมรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีทาง การแพทย์ การเพิม่ พูนความรูแ้ ละทักษะการปฏิบตั งิ านแก่บคุ ลากรทางการแพทย์ และการให้บริการทาง การแพทย์เฉพาะด้าน หรือในระดับตติยภูมทิ ซ่ี บั ซ้อนอย่างได้มาตรฐาน เพือ่ ให้ผมู้ ารับบริการพึงพอใจ กรมการแพทย์ โดยสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการด้านผู้สูงอายุของ กระทรวงสาธารณสุข จากอัตราประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น โรคเรื้อรังพบว่าเป็นปัญหาที่พบมาก ในผูส้ งู อายุ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผูส้ งู อายุและครอบครัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมั น ในเลื อ ดผิ ด ปกติ ด้ ว ยเหตุ น ี ้ จ ึ ง ได้ จ ั ด ทำแนวทางเวชปฏิ บ ั ต ิ ก ารดู แ ลโภชนบำบั ด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นให้ แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วย ผูส้ งู อายุทม่ี ปี ญ ั หาในโรคโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ทีม่ งุ่ หวัง ให้ผู้สูงอายุสามารถควบคุมโรคได้สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดี ในโอกาสนี้ กรมการแพทย์ ขอขอบพระคุณศาสตราจารย์นายแพทย์สรุ ตั น์ โคมินทร์ ประธาน คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ ไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ และคณะทำงานผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจ และเสียสละเวลาอันมีค่ามาร่วมดำเนินการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้ อันจะเป็นประโยชน์ สำคัญต่อแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ต่อไป

(นายแพทย์ชาตรี บานชืน่ ) อธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


- ว่าง -


คำนำ จากสถานการณ์สขุ ภาพของประเทศไทย พบว่าปัญหาสุขภาพทีส่ ำคัญของประเทศ 10 ลำดับแรก ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังทั้งสิ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยเฉพาะในกลุ่ม ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาการเจ็บป่วยเหล่านี้มาจาก พฤติกรรมด้านสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ และสามารถป้องกันการเกิดและยับยั้งความรุนแรงได้ โดย หันมาใส่ใจสุขภาพ และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมอย่างจริงจังและเป็นระบบ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการ ด้านผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำหนังสือแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้แพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้ป่วยสูงอายุได้รับการบริการด้านสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม จะได้มีอายุยืนยาวขึ้น และมี คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

(แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมสิ วัสดิ)์ ผูอ้ ำนวยการสถาบันเวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ


- ว่าง -


บทนำ ในปัจจุบันวิทยาการทางการแพทย์ในประเทศเจริญขึ้นอย่างมาก และเศรษฐานะของชาติได้ เจริญขึน้ มีโครงการช่วยดูแลสุขภาพให้กบั ประชาชนชาวไทยมากขึน้ ทัง้ ทางการแพทย์และสาธารณสุข ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทำให้ชาวไทยมีอายุยืนยาวขึ้น และต้องเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บที่เป็น ปัญหาจากการเสือ่ มของร่างกาย พบว่าคนไทยมีสถิตขิ องการเกิดเบาหวาน และความดันโลหิตสูงกันมากขึน้ ซึ่งโรคทั้งสองนี้มีส่วนนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆ ตามมา อาทิ โรคหัวใจ และสมองขาดเลือด รวมทัง้ ไตก็เสือ่ มได้งา่ ยขึน้ ด้วย ดังนัน้ สถาบันเวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ กรมการแพทย์ สถาบันฯ ได้รบั ความ ร่วมมือจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการทางแพทย์สาขาต่างๆ จากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่ ง ประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี คณะแพทยศาสตร์ ศ ิ ร ิ ร าชพยาบาล คณะสาธารณสุ ข ศาสตร์ สถาบั น วิ จ ั ย โภชนาการ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมอนามัย โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ ประชุมระดมสมองความคิดเห็น ค้นคว้าข้อมูลเชิงประจักษ์ จัดทำเป็นแนวทางการดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผูส้ งู อายุ คณะทำงานหวังว่าแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ จะได้เป็นประโยชน์กับแพทย์และบุคลากรทาง การแพทย์ในการนำไปปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและดูแลรักษาได้เป็นอย่างดี

(ศาตราจารย์นายแพทย์สรุ ตั น์ โคมินทร์) ประธานคณะทำงาน


- ว่าง -


สารบัญ หน้า คำปรารภ คำนำ บทนำ แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผูส้ งู อายุ แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผูส้ งู อายุ แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผูส้ งู อายุ ภาคผนวก การประเมินภาวะโภชนาการ การวางแผนและการให้โภชนบำบัด แนวทางการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ การติดตามและประเมินผลการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ แบบประเมินระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำ ปริมาณโซเดียม โปรแตสเซียม และคลอไรด์ทค่ี วรได้รบั ประจำ ปริมาณสารอาหารอ้างอิงทีค่ วรได้รบั ประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) : ปริมาณวิตามินทีแ่ นะนำสำหรับแต่ละบุคคล ปริมาณสารอาหารอ้างอิงทีค่ วรได้รบั ประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) : ปริมาณแร่ธาตุทแ่ี นะนำสำหรับแต่ละบุคคล ตารางแสดงความต้องการอาหารในผู้สูงอายุที่ไม่เป็นโรค และในผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ตัวอย่างรายการอาหารเพือ่ สุขภาพสำหรับผูส้ งู อายุ 1 สัปดาห์ ธงโภชนาการ ตารางแสดงคุณค่าอาหารในหมวดรายการอาหารแลกเปลี่ยน ดัชนีน้ำตาลของอาหารไทยบางชนิด อาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง บรรณานุกรม

11 19 25 29 30 33 35 36 38 40 40 41 42 43 46 50 51 52 53 55 56


- ว่าง -

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

10

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผูส้ งู อายุ แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุทส่ี มควร โดยใช้วจิ ารณญาณและอยูบ่ นพืน้ ฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ

วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคเบาหวานสำหรับผูส้ งู อายุ 2. ผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพือ่ ลดภาวะแทรกซ้อน 3. เพือ่ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวานสำหรับผูส้ งู อายุแก่บคุ ลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย 1. แพทย์ 2. พยาบาล 3. นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร 4. เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข

คำนิยาม โรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซุลินได้เพียงพอ และ/ หรือร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซุลินได้ตามปกติ ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นและมีความผิดปกติ ทางเมตาบอลิสมอื่นๆ ตามมา ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความผิดปกติดังกล่าวได้ จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ต่าง ๆ ทั้งหลอดเลือดขนาดเล็ก (Microvascular) เช่น โรคไต (diabetic nephropathy) โรคจอประสาทตา ผิดปกติ (diabetic retinopathy) โรคเส้นประสาทผิดปกติ (Diabeticneuropathy) และหลอดเลือดขนาดใหญ่ (Macrovascular) เช่น โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดส่วนปลายทีข่ า แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

11

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


สถานการณ์และสภาพปัญหา สถานการณ์ความชุกโรคเบาหวานในประเทศไทย พบร้อยละ 9.6 ของประชากรผูใ้ หญ่ทม่ี อี ายุ 35 ปี ขึ้นไป (Aekplakorn W และคณะ ; 2546) เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขและเป็นสาเหตุการตาย จากรายงานผู้ป่วยใน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่า โรคเบาหวานมีแนวโน้ม เพิม่ ขึน้ จาก 33.3 ต่อแสนประชากร ใน พ.ศ. 2528 เพิม่ เป็น 91.0 ใน พ.ศ. 2537 และเป็น 380.7 ต่อแสน ประชากร ในปี พ.ศ. 2546 นอกจากนีจ้ ากการสำรวจในปี พ.ศ. 2539 ยังพบว่าผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน 2 ล้านคน มีร้อยละ 48.7 ที่ทราบว่าตัวเองเป็นโรคเบาหวานและน้อยกว่าครึ่งที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม (มูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ; 2541) นอกจากนีโ้ รคเบาหวานยังเป็นสาเหตุการตายสูงในผูส้ งู อายุ โดยเพิม่ ขึน้ จาก 28.8 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2534 เป็น 66.7 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2546 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข; การสาธารณสุขไทย 2544-2547) เมื่อพิจารณาจากรายงานเรื่องการสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Years Loss : DALYs Loss) ซึ่งเป็นหน่วยเท่ากับการสูญเสียช่วงอายุของการมีสุขภาพที่ดีไปจำนวน 1 ปี (วันดี;2548) พบว่าเบาหวานเป็นปัญหาสำคัญของการสูญเสียปีสขุ ภาวะของคนไทย โดยเพศหญิง คิดเป็นจำนวน 267,158 DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับสามรองจากเอดส์ และโรคหลอดเลือดสมอง และเพศชาย คิดเป็นจำนวน 168,372 DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับห้า รองจากโรคเอดส์ อุบัติเหตุจราจร หลอดเลือดสมอง มะเร็งตับ (สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข;2542) จากสถานการณ์และสภาพปัญหาดังกล่าว บุคลากร สาธารณสุขจึงควรให้ความสนใจ ในการป้องกัน ดูแล บำบัด รักษา และฟื้นฟูโรคเบาหวาน เพื่อลดอัตราป่วย อัตราตาย ภาระโรค และเพิม่ คุณภาพชีวติ ของผูส้ งู อายุ

ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน - ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ - ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก + ไม่มสี ารคีโตนคัง่ {HYPERGLYCEMIA : HYPER OSMOLAR NONKETOTIC SYNDROME (HHNS)} - การติดเชือ้ 2. โรคแทรกซ้อนเรือ้ รัง z โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่ - โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน - ความดันโลหิตสูง - โรคหลอดเลือดตีบทีเ่ ท้า

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

12

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


z

โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก - โรคแทรกซ้อนทางตา (DIABETIC RETINOPATHY) - โรคแทรกซ้อนทางไต (DIABETIC NEPHROPATHY) - โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (DIABETIC NEUROPATHY)

1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หมายถึงภาวะทีม่ นี ำ้ ตาลในเลือดต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร มักพบบ่อย ในผูส้ งู อายุ และทำให้เกิดหมดสติ ไม่รสู้ กึ ตัวได้ เกิดจาก - รับประทานอาหารน้อยกว่าปกติ /รับประทานอาหารผิดเวลา (สายเกินไป) - ฉีดอินซุลิน หรือรับประทานยาเม็ดลดระดับน้ำตาลมากเกินไป หรือพบในผู้ป่วยที่มีภาวะไต หรือตับเสือ่ ม ทำให้การทำลายหรือการขับยาออกจากร่างกายน้อยลง ฤทธิข์ องยามากขึน้ - ออกกำลังกายหรือทำงานมากกว่าปกติ อาการของภาวะน้ำตาลต่ำ หิว ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออกมาก มึนงง หงุดหงิด ถ้าเป็นมากอาจมี อาการชักเกร็ง หมดสติได้ การรักษาโดยให้นำ้ หวาน น้ำตาลทันที อาการจะดีขน้ึ ภายใน 5-10 นาที แต่ถา้ อาการมากไม่รสู้ กึ ตัว ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก และไม่มีสารคีโตนคั่ง มักพบในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 หรือ ผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี เมื่อมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรือการติดเชื้อ จะมีการหลั่งฮอร์โมนต่างๆ ซึง่ ทำให้ความต้องการอินซุลนิ เพิม่ ขึน้ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากจนเกิดอาการ อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก ไม่มีสารคีโตนคั่ง เป็นอาการของภาวะน้ำตาลสูง เช่น กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด บางครัง้ มีอาการชักกระตุก ซึมหมดสติ การรักษา ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาลให้การรักษาด้วยอินซุลิน จนกว่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ใน เกณฑ์ปกติ อาจเปลีย่ นเป็นยาเม็ดลดระดับน้ำตาลได้ การติดเชื้อ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายที่พบบ่อย ได้แก่ วัณโรค ปอด การติดเชือ้ ระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชือ้ รา เป็นต้น

2. โรคแทรกซ้อนเรือ้ รัง โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่ มีการตีบตันของหลอดเลือดใหญ่ ที่สำคัญได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ สมอง ทำให้เกิด อาการกล้ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด กล้ามเนือ้ หัวใจตาย อัมพาต อัมพฤกษ์ หรือเกิดการตีบของหลอดเลือดไปเลีย้ งขา เกิดอาการปวดน่อง ถ้ามีการอุดตันของหลอดเลือด จนเกิดการตายของเนื้อเยื่อ ทำให้ต้องตัดขา นอกจากนี้ ยังพบความดันโลหิตสูงได้บอ่ ยในผูส้ งู อายุ โดยเฉพาะความดันโลหิตสูงชนิดซิสโตลิก (SYSTOLIC HYPERTENSION) แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

13

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก - โรคจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวาน (Diabetic Retinopathy : DR) มีความผิดปกติที่ จอประสาทตาเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเซลล์ที่จอรับภาพ เกิดอาการตามัวถ้าเป็นมาก จะมีเลือดออกในจอประสาทตาเกิดตาบอดได้ - โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy : DN) เกิดจากการตีบของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง ไต ทำให้การทำงานของไตเสือ่ มลง กรองของเสียไม่ได้ ทำให้มขี องเสียคัง่ ในเลือด เกิดไตวาย ภาวะไตเสือ่ ม จากเบาหวานในระยะแรกไม่มอี าการ อาศัยการตรวจหาอัลบูมนิ ในปัสสาวะ เป็นการช่วยวินจิ ฉัยตัง้ แต่ระยะแรก - โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) ที่พบบ่อยคืออาการจากระบบ ประสาทส่วนปลายเสือ่ มมีอาการชา ความรูส้ กึ น้อยลง หรือไม่รสู้ กึ เริม่ จากปลายนิว้ เท้า และลามขึน้ เรือ่ ยๆ อาการ ชาที่เท้าทำให้ไม่รู้สึกเจ็บอาจเกิดแผลลุกลามจนถึงต้องตัดขาได้ นอกจากนี้อาจพบอาการของเส้นประสาท ปวดแสบปวดร้อน ซึง่ มักพบในเส้นประสาททัว่ ไปเลีย้ งเท้าและขา

ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ให้พจิ ารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. ระดับน้ำตาลในเลือด / ฮีโมโกบิน เอวันซี (HbA1c) 3. ระดับความดันโลหิต 4. ระดับโปรตีนในปัสสาวะ / micro albumin 5. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 6. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity) 7. การใช้ยา

แนะนำให้ตรวจ micro albumin ในกรณีโปรตีนในปัสสาวะให้ผลลบ

เป้าหมายการควบคุมน้ำหนักในผู้ป่วยเบาหวาน ในกรณีทน่ี ำ้ หนักเกิน ควรลดน้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้ได้ดชั นีมวลกาย/เส้นรอบเอวทีเ่ หมาะสม โดยเริม่ ต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบนั (ภาคผนวก 30)

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

14

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


เป้าหมายของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผปู้ ว่ ยมีสว่ นร่วมในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม 3. รักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากทีส่ ดุ 4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ี

แนวทางการให้คำแนะนำโภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอืน่ ๆ 2. ลดปริมาณบริโภคอาหารจำพวกน้ำตาล คาร์โบไฮเดรต ไขมันอิม่ ตัว และโคเลสเตอรอลในอาหาร (ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน และไขมันอิ่มตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาณแคลอรีต่ อ่ วัน) 3. ลดปริมาณโซเดียมในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง โดยให้เกลือแกงไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน (เท่ากับ ปริมาณโซเดียม 2.4 กรัม หรือ 6 กรัมของโซเดียมคลอไรด์) (ภาคผนวก 53-54) 4. การเพิม่ ปริมาณกากใยอาหาร ให้ได้ประมาณ 20-30 กรัมต่อวัน 5. ปฏิบตั ติ ามตารางกำหนดอาหารเรือ่ งของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน (ภาคผนวก 44-46) 6. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภคที่ ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมือ้ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลีย่ น (ภาคผนวก 51)

แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผูป้ ว่ ยเบาหวาน 1. เพิม่ กิจกรรมทางกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน 2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครัง้ ละอย่างน้อย 20 นาที 3. หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในช่วงที่การควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี (poor metabolic control) คือ ระดับน้ำตาลมากกว่า 300 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 60 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ มีจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานระดับรุนแรง (Proliferative diabetic retinopathy) หรือมีโรคแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ควรมีการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและกินอย่างเหมาะสมเพือ่ ป้องกันระดับน้ำตาล ในเลือดต่ำ แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

15

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวาน ผูป้ ว่ ยเบาหวาน หรือกรณีทพ่ี บการบกพร่องของการเผาผลาญน้ำตาล แม้จะยังไม่เป็นหรือแสดงอาการ ของเบาหวาน ควรแนะนำให้เริม่ มีการปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ (Life style modification) ให้เร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำได้ ซึง่ จะช่วยในการควบคุมโรค ลดค่าใช้จา่ ย และลดความเสีย่ งในการเกิดโรคแทรกซ้อนของเบาหวานได้ โดย 1. งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ในผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี และกรณีจำเป็นให้ได้ ไม่เกินวันละ 1 ดริง้ ) 2. เลิก บุหรี่

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

16

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


Diabetes Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly เบาหวาน

FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครั้ง 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl

การประเมิน

- น้ำหนักตัว - เส้นรอบเอว - ประวัตกิ ารเจ็บป่วย - ประวัตกิ ารรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - ดัชนีมวลกาย - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถกี ารดำเนินชีวติ - ความพร้อมในการปรับเปลีย่ นรายพฤติกรรม** (Readiness to change)

แนวทางการดูแลรักษา - เพิ่มกิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสม โดยกระจายมื้ออาหาร ไม่เน้นหนักมื้อใดมื้อหนึ่ง หลีกเลี่ยงอาหาร ที่มีพลังงานสูงโดยเฉพาะจาก คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่น น้ำตาลและไขมัน ซึ่งเป็นสาเหตุของระดับน้ำตาลสูง จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล โดยอาจมีมอ้ื ว่างด้วย เพิม่ ปริมาณใยอาหาร 20-35 g/day - ดัดแปลงอาหารอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้างต้นให้เหมาะสม เช่น อาหารผู้สูงอายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย หรือนำค่าดัชนีน้ำตาล*** มาพิจารณาในการเลือกอาหาร - ควบคุมน้ำหนัก/เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม

ผอม BMI < 18.5

น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25

กำหนดเป้าหมายของการ ลดน้ำหนักอย่างน้อย 5-10% ของน้ำหนักตัว ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ ตามความเหมาะสมของ แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม อาหารหลัก อาหารว่าง และอาหารเสริม

ไตรกรีเซอร์ไรด์ ≥ 150mg/dL LDL-C > 100 mg/dL3 ความดันโลหิต > 130/80 mmHg - ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะ น้ำตาลให้นอ้ ยกว่า 10% ของปริมาณ พลังงานทีค่ วรได้รบั ต่อวัน - เพิม่ กรดไขมันไม่อม่ิ ตัวตำแหน่งเดียว - เพิ่มโอเมก้า-3

ประเมินพลังงานจากอาหารทัง้ วัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง 250-1,000 กิโลแคลอรี่ จากพลังงาน ทีร่ บั ประทานตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือ ไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว)

ถ้า TG>500 mg/dL, ลดพลังงานจากไขมัน <15% ของพลังงาน ทั้งหมด

- ลดไขมันอิม่ ตัว< 7% - โคเลสเตอรอล <200 mg/day - เพิ่มไขมันไม่อิ่ม ตำแหน่งเดียว - เพิม่ ใยอาหารที่ ละลายในน้ำ 10-25 g/day

จำกัดโซเดียม < 2.4 g/day****

ถ้า proteinuria > 0.5 กรัม หรือ proteinuria เป็นบวก ให้จำกัดปริมาณโปรตีน 06-0.8 g/Kg/day

ติดตามน้ำหนัก,ระดับน้ำตาล, HbA1c, การปรับสัดส่วนและกระจายมื้ออาหาร, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลให้ได้ตามเป้าหมาย * ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับน้ำตาลในเลือด, micro albumin, HbA1c ถ้าทำได้ ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 52 **** ภาคผนวก 53-54

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

17

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


- ว่าง -

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

18

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผูส้ งู อายุ แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุทส่ี มควร โดยใช้วจิ ารณญาณและอยูบ่ นพืน้ ฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ

วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผูส้ งู อายุ 2. ผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้เพือ่ ลดภาวะแทรกซ้อน 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้สูงอายุ แก่บคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย 1. 2. 3. 4.

แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ/ โภชนากร / นักกำหนดอาหาร เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข

คำนิยาม ความดันโลหิตสูง หมายถึง ระดับความดันโลหิตตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ผู้ป่วยที่ เป็นโรคนี้ หากไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทีส่ ำคัญ ได้แก่ โรคกล้ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด ไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง ทำให้เกิด อัมพฤกษ์ อัมพาต

สถานการณ์และสภาพปัญหา จากรายงานสุขภาพโรคประมาณการปี 2543 ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตาย 7.1 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 13 ของการตายทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ และก่อให้เกิดภาระโรค จากรายงานการสำรวจความชุกของโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนไทย ในการศึกษาการสำรวจระดับชาติ โรคความดันโลหิตสูง ในปี 2537-2538 พบความดันโลหิตสูงอย่างเดียวในผู้สูงอายุ ร้อยละ 24.3 และพบ ความดันโลหิตสูงร่วมกับมีประวัติ ร้อยละ 32.4 จากสถิตสิ าธารณสุขพบความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดในสมอง เป็นสาเหตุการตายสูงเป็นอันดับ 3 ของคนไทย รองจากโรคมะเร็ง อุบัติเหตุ และการเป็นพิษ และมีแนวโน้ม แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

19

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


เพิ่มขึ้น โดยมีอัตราตาย 18.9 ต่อแสนประชากร ในปี 2543 เพิ่มเป็น 34.8 ต่อแสนประชากรในปี 2547 โดยผูป้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 4 ล้านคน มีเพียงร้อยละ 26.6 ทีท่ ราบว่าป่วย ในขณะทีผ่ ปู้ ว่ ยได้รบั การ รักษาที่เหมาะสมลดลงจาก ร้อยละ 61.5 ในปี 2534 เป็นร้อยละ 50.8 ในปี2539 จากรายงานแนวโน้มอัตรา ความชุกโรคความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุไทยพบร้อยละ 25 ในปี 2537 และร้อยละ 20 ในปี 2545 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2537,2545) จากการศึกษาในเขตเมืองและเขตชนบท พบว่าผู้ที่อยู่ในเขตเมือง จะเป็นโรคนีส้ งู กว่า และมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ โดยปี 2528 ในเขตเมืองเพิม่ ความชุกจาก ร้อยละ 28 เป็น ร้อยละ 36.5 ในปี 2541 (สุทธิชัย;2543) และจากผลกระทบของสุขภาพที่เกิดจากความดันโลหิตก่อให้เกิดปัญหาเรื่อง ของโรคเรื้อรังอาทิ โรคหัวใจ โรคไต การให้การดูแล บำบัด รักษา ที่เหมาะสมถูกต้อง โดยผู้ป่วยมีส่วนร่วม ในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เพือ่ ควบคุมโรคของตนเอง จะช่วยลดภาระโรคลดค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพ ลดอัตรา ตาย และเพิม่ คุณภาพชีวติ ของคนไทย อุบตั กิ ารณ์ในผูส้ งู อายุ

ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 1. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease) z ischemic stroke z hemorrhagic stroke z transient ischemic attack 2. โรคหลอดเลือดหัวใจ (Cardiovascular disease) z Left ventricular hypertrophy (EKG or echocardiography) z myocardial infarction z angina z coronary revascularlization z congestive heart failure 3. โรคไต (Renal disease) z albuminuria z nephrosclerosis z end stage renal disease 4. โรคหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral vascular disease) z aortic aneurysm z dissecting aneurysm z intermittent claudication 5. จอประสาทตาผิดปกติจากความดันโลหิตสูง (Hypertensive retinopathy grade I-IV)

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

20

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ให้พจิ ารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity) 4. การใช้ยา 5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด

เป้าหมายการควบคุมความดันโลหิต ควบคุมความดันโลหิตให้นอ้ ยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท

เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผปู้ ว่ ยมีสว่ นร่วมในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม 3. รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากทีส่ ดุ 4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 6. ความเครียดและวิธกี ารจัดการกับความเครียดทีเ่ หมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ี

หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอืน่ ๆ 2. จำกัดปริมาณโซเดียม จะช่วยลดความดันโลหิตสูง และลดการใช้ยา การลดปริมาณโซเดียม ในอาหาร ควรลดโซเดียมให้เหลือไม่เกิน 100 มิลลิโมล/วัน คือ 2.4 กรัมของโซเดียม หรือ 6 กรัม ของ โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง 1 ช้อนชา) จะสามารถลด Systolic blood pressure (SBP) ลงได้ 2-8 มิลลิเมตรปรอท 3. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหาร ให้มีปริมาณและมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น โดยแนะนำให้ บริโภคอาหารทีอ่ ดุ มไปด้วยพืช / ผัก / ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ ลดปริมาณไขมันอิม่ ตัวจะทำให้สามารถลด SBP 8-14 มิลลิเมตรปรอท 4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับ แก้ไขการบริโภคที่ ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมือ้ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลีย่ น (ภาคผนวก 51) แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

21

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


การดูแลรักษาโรคความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยสูงอายุ 1. การดูแลรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmacological therapy) โดยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต/ พฤติกรรม รวมทัง้ การให้สขุ ศึกษาระหว่างผูป้ ว่ ยและทีมสหสาขาวิชา ซึง่ ประกอบด้วย - การให้การดูแลโภชนาการ - การออกกำลังกาย - การเลิกบุหรี่ - การควบคุมน้ำหนักตัว 2. การใช้ยา (Pharmacological therapy)

แนวทางการลดน้ำหนักเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง คนทีน่ ำ้ หนักเกินควรลดน้ำหนัก โดยการควบคุมดัชนีมวลกายให้อยูใ่ นเกณฑ์ทเ่ี หมาะสม คือ 18.524.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร หรืออย่างน้อย ควรลดให้ได้ ร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวที่เป็นอยู่ ในการนี้จะ สามารถลด Systolic blood pressure (SBP) และ Diastolic blood pressure (DBP) ลงได้ 5-10 มิลลิเมตรปรอท ต่อ 10 กิโลกรัม โดยประมาณ ความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับน้ำหนักเกิน/อ้วน การควบคุม ความดันโลหิตสูง พบว่า ร้อยละ 50 ของผูม้ นี ำ้ หนักเกินจะมีภาวะความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 20-30 การลดน้ำหนัก เป็นการบำบัดรักษาความดันโลหิตสูงโดยไม่ใช้ยา จะเพิ่มประสิทธิภาพของการ ควบคุมความดันโลหิต และลดความเสีย่ งของโรคหลอดเลือดหัวใจ

แนวทางกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกายเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง กิจกรรมทางกาย (Physical activity)/การออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ เช่น การเดิน การวิ่ง การว่ายน้ำ อย่างน้อยวันละ 30-45 นาที เกือบทุกวัน จะสามารถช่วยลด SBP 4-9 มิลลิเมตรปรอท โดยประมาณ ประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย มีประโยชน์ทง้ั ในการป้องกันและบำบัดความดันโลหิตสูง - เพิ่มสมรรถภาพและสถานะสุขภาพ - ลดความเสีย่ งและการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ - การเดิน 30-45 นาที เกือบทุกวัน จนอัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ที่ 75% ของ 220 - อายุ มีประสิทธิภาพ ได้ผลเพียงพอ และประหยัดค่าใช้จ่าย ส่วนการออกกำลังกายอย่างอื่น เช่น วิ่ง ว่ายน้ำ จะเพิม่ สันทนาการในการออกกำลังกาย

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

22

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ลด ละ เลิ ก การบริ โ ภคเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ เพราะมี ค วามสั ม พั น ธ์ โ ดยตรงกั บ ระดั บ ความดันโลหิตทัง้ ต่อ SBP และ DBP ผูท้ บ่ี ริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์มากกว่าปริมาณมาตรฐานทีย่ อมรับได้ จะเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้พิษสุราเรื้อรัง ก็ เ ป็ น สาเหตุ ข องความดั น โลหิ ต สู ง ร่ ว มด้ ว ย พบว่ า แอลกอฮอล์ จ ะลดประสิ ท ธิ ภ าพของยาลดความดั น และให้ปริมาณแคลอรี่สูงเกินความจำเป็น การจำกัดการบริโภคแอลกอฮอล์ไม่เกิน 1 ดริ้งต่อวัน จะสามารถ ลด SBP 2-4 มิลลิเมตรปรอท 2. เลิกสูบบุหรี่ เพราะนิโคตินจะเพิม่ ระดับความดันโลหิต และเป็นปัจจัยเสีย่ งของหลอดเลือดแข็งตัว ควรแนะนำให้เลิกบุหรี่ 3. ลดความเครียด แม้วา่ ยังไม่มผี ลการศึกษาระยะยาวเรือ่ งการคลายเครียดกับการลดความดันโลหิตสูง พบว่าการบำบัดด้วยการคลายเครียด (Relaxation therapy) สามารถจะเพิม่ คุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ย และลดความ เสีย่ งของโรคหลอดเลือดหัวใจ

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

23

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


Hypertension Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly ความดันโลหิตสูง

BP ≥ 140/90 mmHg

การประเมิน

- น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัตกิ ารรักษา - ประวัตกิ ารรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถกี ารดำเนินชีวติ - ความพร้อมในการปรับเปลีย่ นรายพฤติกรรม** (Readiness to change)

แนวทางการดูแลรักษา

- การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสมรวมถึงอาหารทีม่ ลี กั ษณะเหมาะสมกับผูส้ งู อายุ เช่น อาหาร ทีม่ เี ส้นใยอาหาร อาหารย่อยง่าย*** จำกัดโซเดียม < 2.4 กรัมต่อวัน**** ถ้า proteinuria มากกว่า 0.5 กรัม หรือ proteinuria เป็นบวก ให้จำกัดปริมาณโปรตีน 0.6-0.8 g/Kg/day จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล - ควบคุมน้ำหนักให้อยูใ่ นเกณฑ์ทเ่ี หมาะสม

ผอม BMI<18.5

ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้ เพียงพอตามความ เหมาะสมของแต่ละ บุคคล อาจเพิม่ อาหารหลัก อาหารว่าง และอาหารเสริม

น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25

ไตรกรีเซอร์ไรค์ ≥ 150mg/dL

กำหนดเป้าหมาย ของการลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5-10% ของน้ำหนักตัว

- ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ำตาล ให้นอ้ ยกว่า 10% ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับ ต่อวัน - เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่ง เดียว - เพิม่ โอเมก้า-3

ประเมินพลังงานจากอาหาร ทัง้ วัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลด พลังงานลง 250-1,000 กิโลแคลอรี่ จากพลังงานทีร่ บั ประทาน ตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว)

LDL-C > 100 mg/dL

- ลดไขมันอิม่ ตัว < 7% - โคเลสเตอรอล < 200 mg/day - เพิ่มไขมันไม่อิ่ม ตำแหน่งเดียว - เพิม่ ใยอาหารทีล่ ะลาย ในน้ำ 10-25 g/day ภาษาไทย

FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครัง้ 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl

ดูแผนแนวทางเวชปฏิบัติ โภชนบำบัด โรคเบาหวาน หน้า 17

ถ้า TG>500 mg/dL, ลดพลังงานไขมัน <15% ของพลังงานทั้งหมด

ติดตามน้ำหนัก,ระดับความดันโลหิต, การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค, รวมทัง้ กิจกรรมการเคลือ่ นไหว/ออกกำลังกาย พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ได้ตามเป้าหมาย * ผลตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร proteinuria / microalbuminuria ถ้าทำได้ ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 46 **** ภาคผนวก 53-54

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

24

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผูส้ งู อายุ แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุทส่ี มควร โดยใช้วจิ ารณญาณและอยูบ่ นพืน้ ฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ

วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผูส้ งู อายุ 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้เพื่อลดภาวะ แทรกซ้อน 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ แก่บคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย 1. 2. 3. 4.

แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข

คำนิยาม ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) คือ ระดับไขมันในเลือดที่มีโคเลสเตอรอล มากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไตรกรีเซอไรด์ มากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ HDL-cholesterol (HDL-C) หรือไขมันดี น้อยกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว มากกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ส่งผลกระทบให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดส่วนปลาย หลอดเลือดสมองตีบ แตก ตัน และปัญหาสุขภาพอืน่ ๆ

สถานการณ์และสภาพปัญหา ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง แตก ตีบ ตัน สถิติจากกระทรวงสาธารณสุข ปี 2546 พบว่า โรคหัวใจ เบาหวาน อัมพาต เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของผูส้ งู อายุไทย และมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

25

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. อายุ ในผูช้ าย อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี ในผูห้ ญิง อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 55 ปี 2. พันธุกรรม การมีประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่ก่อนอายุ 55 ปี ในบิดา หรือญาติเพศชายสายตรง หรือมารดาและญาติผหู้ ญิงสายตรงก่อนอายุ 65 ปี 3. สูบบุหรีเ่ ป็นประจำ 4. ความดันโลหิตสูง (≥ 140/90 มิลลิเมตรปรอท) 5. ภาวะอ้วนและใช้ชีวิตนั่งๆ นอนๆ แม้จะไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักแต่ต้องพิจารณาให้คำแนะนำ เพื่อควบคุมโรค เนื่องจากภาวะอ้วนส่งผลกระทบต่อภาวะความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ ทำให้ ระดับ HDL-C น้อย และเกิดปัญหาโรคเบาหวานขึ้น ระดับ HDL-C ≥ 60 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เป็นปัจจัยลด โรคหลอดเลือดหัวใจได้

ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ให้พจิ ารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. การออกกำลังกาย/กิจกรรมทางกาย (physical activity) 4. การใช้ยา 5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด

เป้าหมายการลดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ระดับไขมันในเลือด ทีม่ โี คเลสเตอรอล น้อยกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร ระดับไตรกรีเซอไรด์ น้อยกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร ระดับ HDL-cholesterol (HDL-C) หรือไขมันดี มากกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว น้อยกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร ผูท้ ม่ี รี ะดับไขมันในเลือดผิดปกติแม้วา่ จะไม่มอี าการ ควรแนะนำให้ควบคุมอาหาร และออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมันต่ำ ลดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง และอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีกากใย โดยเฉพาะใยอาหารชนิดละลายน้ำได้ (Soluble Fiber) ในผู้ป่วยที่มี น้ำหนักเกินควรให้คำแนะนำเพื่อลดน้ำหนักโดยให้การควบคุมปริมาณที่รับประทานในแต่ละวัน ควรลด น้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้ได้ดชั นีมวลกายทีเ่ หมาะสม โดยเริม่ ต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบนั

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

26

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผปู้ ว่ ยมีสว่ นร่วมในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม 3. 4. 5. 6.

รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากทีส่ ดุ รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน ความเครียดและวิธกี ารจัดการกับความเครียดทีเ่ หมาะสม

ทัง้ นีเ้ พือ่ ป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง

หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอืน่ ๆ 2. ลดปริมาณบริโภค ไขมันอิม่ ตัว และโคเลสเตอรอลในอาหาร (ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20 ของปริมาณแคลอรีต่ อ่ วัน และไขมันอิม่ ตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาณแคลอรีต่ อ่ วัน) 3. การเพิม่ ปริมาณกากใยอาหาร ให้มปี ริมาณและมีความหลากหลายเพิม่ มากขึน้ โดยแนะนำให้บริโภค อาหารทีอ่ ดุ มไปด้วยพืช / ผัก / ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ ลดปริมาณไขมันอิม่ ตัว 4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภค ที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมือ้ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลีย่ น (ภาคผนวก 51)

แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผูป้ ว่ ยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. เพิม่ กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน 2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครัง้ ละอย่างน้อย 20 นาที

แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ( Lifestyle modification) ประกอบด้วยการควบคุมอาหาร การออกกำลัง แบบแอโรบิค การควบคุมน้ำหนัก การลด ละ เลิก สุรา เลิกบุหรี่

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

27

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


Dyslipidemia Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ

TG ≥ 150 mg/dL LDL-C > 130* mg/dL TC ≥ 200 mg/dL HDL-C < 40 mg/dL

การประเมิน

- น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัตกิ ารรักษา - ประวัตกิ ารรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถกี ารดำเนินชีวติ - ความพร้อมในการปรับเปลีย่ นรายพฤติกรรม** (Readiness to change)

แนวทางการดูแลรักษา

- ตรวจระดับไขมันในเลือด - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - การวางแผนอาหาร : จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล หลีกเลีย่ งอาหารทีม่ พี ลังงานสูง เพิม่ ใยอาหารทีล่ ะลายในน้ำ 10-25 g/day อาหารผูส้ งู อายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย*** ถ้าไตรกรีเซอร์ไรด์ > 150mg/dL ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ำตาล ให้นอ้ ยกว่า 10% ของปริมาณพลังงาน ทีค่ วรได้รบั ต่อวัน เพิม่ กรดไขมันไม่อม่ิ ตำแหน่งเดียว เพิม่ โอเมก้า-3 ถ้า TG ≥ 500 mg/dL ลดพลังงานไขมัน < 15%ของพลังงานทั้งหมด ถ้า LDL- C > 130 mg/dL ลดไขมันอิ่มตัว < 7% โคเลสเตอรอล < 200 mg/day เพิ่มไขมันไม่อิ่มตำแหน่งเดียว - ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม

ผอม BMI < 18.5

ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ ตามความเหมาะสมของ แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม อาหารหลัก อาหารว่าง และอาหารเสริม

FPG ≥ 126 mg/dl. 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl

น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25

ความดันโลหิต ≥140/90mmHg

กำหนดเป้าหมายของการลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5-7 % ของน้ำหนักตัว ประเมินพลังงานจากอาหารทั้งวัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง 250-1,000 กิโลแคลอรี่ จากพลังงานที่รับประทานตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิม่ ตัว)

ดูแผนแนวทางเวชปฏิบตั โิ ภชนบำบัด โรคเบาหวาน หน้า 17 โรคความดันโลหิตสูง หน้า 24

ติดตามน้ำหนัก, ระดับไขมัน, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย, พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพือ่ ควบคุมระดับไขมันให้ได้ตามเป้าหมาย * ระดับ LDL-C ควรน้อยกว่า 100 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตรในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน / โรคหัวใจและหลอดเลือด /โรคความดันโลหิตสูง ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 46 แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

28

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ภาคผนวก

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

29

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


การประเมินภาวะโภชนาการ การประเมินภาวะโภชนาการสามารถประเมินได้จากการรวบรวมและเก็บข้อมูลทางคลินิกจาก แฟ้มประวัติของผู้ป่วย เช่น ประวัติสุขภาพและการเจ็บป่วย (Medical history) และจากการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ซึง่ วิธกี ารในการประเมินภาวะโภชนาการประกอบด้วย

1. การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement) น้ำ หนักตัว ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) น้ำหนักทีค่ วรเป็น การเปลีย่ นแปลง ของน้ำหนักตัว และน้ำหนักตัวทีเ่ พิม่ ขึน้ เส้นรอบข้อมือ เส้นรอบเอว เส้นรอบสะโพก ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index or BMI) ในทางวิชาการจะใช้เป็นวิธีหนึ่งในการประเมินปริมาณของไขมันในร่างกายเพื่อพิจารณาความอ้วน หรือความผอมในคนทีม่ อี ายุ 20 ปีขน้ึ ไป มีสตู รง่ายๆ ดังนี้ น้ำหนักตัว

(กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร)2

BMI ปกติ BMI BMI

= ≥ ≥

18.5 - 24.9 ก.ก./ม2 25 overweight 30 obesity

เส้นรอบเอว การวัดเส้นรอบเอวจะบอกตำแหน่งการสะสมของไขมันในร่างกาย บริเวณที่ร่างกายสะสมไขมัน มีอิทธิพลต่อสุขภาพ ถ้าร่างกายสะสมไขมันบริเวณพุงมาก ซึ่งเป็นลักษณะอ้วนแบบลูกแอปเปิ้ลจะเพิ่ม ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง แต่ถ้าอ้วนลักษณะแบบลูกแพร์ หรือชมพู่ซึ่งไขมันจะสะสมส่วนของสะโพกมากกว่า จะมีความเสี่ยงของโรคดังกล่าวน้อยกว่าคนที่อ้วนแบบ ลูกแอบเปิ้ล สำหรับคนเอเชีย เส้นรอบเอวจะเป็นตัวบ่งชี้ความเสี่ยงโรคเบาหวานประเภท 2 โรคหลอดเลือด หัวใจ และความดันโลหิตสูง ได้ดีกว่า BMI ในชาวเอเชียผู้ชายเส้นรอบเอวไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร และ ผูห้ ญิงไม่ควรเกิน 80 เซนติเมตร หรือมีคา่ BMI > 35 ไม่ควรใช้เส้นรอบเอวประมาณ เพราะจะไม่ได้ประโยชน์ ในการประเมินความอ้วน (Centers for disease control and prevention, 2000)

2. การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical determination) เช่น Albumin, Hematocrit, hemoglobin Fasting plasma glucose (FPG), Glycated hemoglobin (HbA1c) ถ้าทำได้ Total cholesterol (TC), Low density lipoprotein-cholesterol (LDL-C), High density lipoproteincholesterol (HDL-C) และ triglycerides (TGs) BUN, Creatinine, Micro albumin ถ้าทำได้ แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

30

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


3. อาการทางคลินกิ (Clinical observation) -

อาการเหน็บชา มีอาการหงุดหงิดง่าย โมโหง่าย ระบบประสาทผิดปกติ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 1 อาการตาแดง ตาแฉะ ริมฝีปาก ช่องปาก จนถึงหลอดลมอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 2 อาการเป็นตะคริว ผิวหนังอักเสบ ปลายเส้นประสาทอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 6 โรคผิวหนัง ท้องร่วง เบือ่ อาหาร เกิดจากการขาดไนอาซิน

4. การประเมินอาหารทีบ่ ริโภค (Dietary assessment) - จากการซักประวัตคิ วามอยากอาหาร - รูปแบบและอุปนิสยั การบริโภคตามปกติ และปริมาณสารอาหารทีป่ ริโภคในแต่ละวัน

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

31

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ตัวอย่าง แบบการซักประวัตแิ ละประเมินการบริโภคอาหาร วันที่.................................................................................................................................................................................................................................................... ชือ่ .......................................................................................................................อายุ......................เพศ......................เชือ้ ชาติ................................................ ทีอ่ ยู.่ .................................................................................................................................................................................................................................................... ญาติ/ผูท้ ส่ี ามารถติดต่อได้................................................................................................................................................................................................... ผูท้ เ่ี ตรียมและทำอาหาร........................................................................................................................................................................................................ ความถีข่ องการรับประทานอาหารนอกบ้าน/สัปดาห์....................................................................................................................................... ระดับการศึกษา........................................................................................................................................................................................................................... กิจกรรมประจำวัน.................................................................................................................................................................................................................... การเปลีย่ นแปลงของน้ำหนักตัวในปีทผ่ี า่ นมา...................................................................................................................................................... ปัญหาการเคีย้ วและการกลืนอาหาร.............................................................................................................................................................................. ความอยากอาหาร...................................................................................................................................................................................................................... การรับรสอาหารและกลิน่ อาหาร.................................................................................................................................................................................... การแพ้อาหาร............................................................................................................................................................................................................................... การรับประทานวิตามิน เกลือแร่ และอาหารเสริม........................................................................................................................................... การรับประทานสิง่ ทีไ่ ม่ใช่อาหาร (ดิน ดินสอพอง และอืน่ ๆ).................................................................................................................... การดืม่ สุรา..................................................................................................................................................................................................................................... การสูบบุหรี.่ .................................................................................................................................................................................................................................. การท้องเสีย................................................................................................................................................................................................................................... การท้องผูก..........................................................................................การใช้ยาระบาย...................................................................................................... ปริมาตรปัสสาวะต่อวัน........................................................................................................................................................................................................ การได้ยนิ ........................................................................................................................................................................................................................................ การมองเห็น.................................................................................................................................................................................................................................. การใส่เกลือ น้ำปลา หรือซีอว๊ิ ในระหว่างการปรุงอาหาร/รับประทานหรือเปล่า?..................................................................... รับประทานอาหารกระป๋องเป็นประจำ เช่น ผักกระป๋อง ปลากระป๋อง ทีค่ ณ ุ รับประทานเป็นประจำ........................ ..............................................................................................................................................................................................................................................................

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

32

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


การวางแผนและการให้โภชนบำบัด หลักการและวัตถุประสงค์ในการให้โภชนบำบัด คือ z ควบคุมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม z ควบคุมระดับน้ำตาลให้ใกล้เคียงกับระดับปกติให้มากทีส ่ ดุ z ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้ปกติ z ควบคุมระดับความดันโลหิต z การให้ความรูแ ้ ละคำแนะนำปรึกษาด้านโภชนาการให้เหมาะสมกับโรคทีเ่ ป็น

การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ เป็นสิ่งจำเป็นและเป็นงานที่สำคัญส่วนหนึ่งในการ วางแผนการดูแลโภชนาการและโภชนบำบัด การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการควรครอบคลุม ทั้งผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล ตลอดจนผู้ป่วยนอกที่แพทย์ต้องติดตามและประเมิน ผลการรักษาหลังจากออกจากโรงพยาบาลแล้ว ปัจจุบันช่วงเวลาในการรักษาในโรงพยาบาลจะสั้นลง ทำให้ โอกาสที่ผู้ป่วยจะเรียนรู้และเข้าใจเรื่องของอาหารโดยเฉพาะอาหารบำบัดโรคมีน้อยลง การให้บริการติดตาม ให้ความรู้ด้านโภชนาการอย่างต่อเนื่องหลังจากผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว จึงยังคงมีความจำเป็นและมีความสำคัญ การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการเป็นพันธกิจและหน้าที่สำคัญหนึ่งของนักโภชนาการหรือ นักกำหนดอาหาร อย่างไรก็ตามแพทย์ พยาบาลที่มีหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยควรมีความรู้และความสามารถในการ คัดกรองและประเมินภาวะทุพโภชนาการของผูป้ ว่ ยได้อย่างถูกต้องรวมทัง้ สามารถทีจ่ ะให้ความรูแ้ ละคำปรึกษา ด้านโภชนาการแก่ผปู้ ว่ ยได้

หลักการและเทคนิคในการให้ความรู้และคำปรึกษาแนะนำด้านโภชนาการ z z

เน้นผูป้ ว่ ยและความต้องการของผูป้ ว่ ยเป็นศูนย์กลาง สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ความเชื่อใจ ความไว้วางใจ และความรู้สึกเป็นกันเอง ระหว่างผู้ให้การ ปรึกษาและผูร้ บั การปรึกษาเป็นสิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ

z

ตัง้ เป้าหมายและแผนการรักษาร่วมกันระหว่างผูป้ ว่ ยและผูใ้ ห้คำปรึกษา

z

มีเทคนิคในการจูงใจและกระตุน้

z

มีทกั ษะในการสือ่ สารกับผูป้ ว่ ยและญาติผปู้ ว่ ย

z

มีทกั ษะในการสัมภาษณ์ผปู้ ว่ ย

z

มีทกั ษะในการให้ความรูแ้ ละการให้คำปรึกษาแนะนำ แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

33

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


z

z z z z

z

มีความสามารถในการนำความรู้ทางทฤษฎีมาถ่ายทอดให้เข้าใจง่าย และผู้ป่วยสามารถนำไป ปฏิบตั ไิ ด้ อธิบายถึงความสัมพันธ์ของอาหารและการเกิดโรค อธิบายหลักการของอาหารในการป้องกันและรักษาโรค อธิบายถึงวิถกี ารและให้แนวทางในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร มีสื่อประกอบการให้ความรู้และคำปรึกษาเพื่อให้เข้าใจและปฏิบัติได้จริง เช่น ตัวอย่างอาหาร (food models), เอกสาร ตัวอย่างรายการอาหาร แบบแผนการบริโภคอาหาร ญาติผปู้ ว่ ยและครอบครัวมีสว่ นร่วมในกระบวนการให้ความรูแ้ ละการให้คำปรึกษา

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

34

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ ควรอธิบายหลักการและวัตถุประสงค์ของการให้โภชนบำบัดและแนะนำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างค่อยเป็นค่อยไป z

ให้ความรูอ้ าหารทีม่ โี ปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต พลังงาน และสารอาหารแต่ละชนิด

z

แนะนำปริมาณอาหารและชนิดอาหารทีค่ วรกินในแต่ละวัน และให้ตวั อย่างรายการอาหาร

z

แนะนำการบริโภคผัก ผลไม้ ทีม่ ใี ยอาหารสูง

z

แนะนำการหลีกเลีย่ งบริโภคอาหารทีม่ โี ซเดียมสูง โดยเฉพาะผูท้ ม่ี คี วามดันโลหิตสูง

z

แนะนำนมและผลิตภัณฑ์นมทีม่ ไี ขมันต่ำ เนือ้ สัตว์และอาหารทีม่ ไี ขมันต่ำ

z

หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูงโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอร์ไรด์ เช่น ไขมันจากสัตว์ อาหารทะเล และกะทิ โดยเฉพาะผูท้ ม่ี ภี าวะไขมันใน เลือดผิดปกติ

z

หลีกเลีย่ งอาหารทีม่ รี สหวานจัด และทีม่ พี ลังงานสูง โดยเฉพาะผูท้ เ่ี ป็นเบาหวาน

z

แนะนำหลักในการเตรียมอาหาร การดัดแปลงอาหาร

z

แนะนำการเลือกอาหารเมือ่ รับประทานอาหารนอกบ้าน

z

แนะนำการหลีกเลีย่ งการดืม่ สุราหรือปริมาณทีด่ ม่ื ได้

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

35

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


การติดตามและประเมินผลการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ การติดตาม การประเมินผล และปรับเปลีย่ นแบบแผนการปฏิบตั ติ นในการบริโภคอาหารให้เหมาะสม กับสภาวะของผู้ป่วยและครอบครัวเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการให้กำลังใจและความร่วมมือจากผู้ที่ ให้การดูแลและผู้ใกล้ชิด จะช่วยสนับสนุนให้ผู้ป่วยประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ สามารถลดความเสีย่ งของการเกิดโรคหรือควบคุมได้

ผลทีค่ าดหวังจากการให้โภชนบำบัด (Expected outcomes) z z

z z z z z z

ผูป้ ว่ ยได้รบั สารอาหารถูกต้องตามสภาวะของโรค ผูป้ ว่ ยมีความรูเ้ ข้าใจ และสามารถปฏิบตั ติ นในการเลือก ดัดแปลงและกำหนดอาหารทีร่ บั ประทาน ได้ถกู ต้องและเหมาะสม ผูป้ ว่ ยปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค ควบคุมน้ำหนักตัวได้ในผูท้ อ่ี ว้ น ความดันโลหิตอยูใ่ นเกณฑ์ทก่ี ำหนด ระดับน้ำตาลในเลือด และ HbA1c ลดลง ลดระดับของ TC, LDL-C, ไตรกลีเซอไรด์ และเพิม่ ระดับของ HDL-C เพิม่ การออกกำลังกาย

โภชนบำบัดสำหรับการลดน้ำหนัก เป้าหมายการลดพลังงานกิโลแคลอรี่ : ลดลง ~ 500-1,000 กิโลแคลอรี่จากพลังงานที่คนปกติ ควรได้รบั ต่อวัน (2,000 กิโลแคลอรีต่ อ่ วัน) สารอาหาร

ปริมาณทีค่ วรบริโภคต่อวัน

ไขมัน, % พลังงาน ไขมันอิม่ ตัว (SFA), % พลังงาน ไขมันไม่อม่ิ ตัวหลายตำแหน่ง (PUFA), % พลังงาน ไขมันไม่อม่ิ ตัวหนึง่ ตำแหน่ง (MUFA), % พลังงาน คาร์โบไฮเดรด, % พลังงาน โปรตีน, % พลังงาน โคเลสเตอรอล, มิลลิกรัม ใยอาหาร, กรัม โซเดียม, กรัม แอลกอฮอล์

≤ 30 %

8-10 % 10 % 15 % ≥ 55 % 15 % < 300 mg 20-30 mg < 2.4 หรือ เกลือ 6 gm ผูห้ ญิง 1 drink, ผูช้ าย 2 drinks

แหล่งข้อมูล : Expert Panel on the Identification, Evaluation, and Treatment of Overweight and Obesity in Adults. 1998 แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

36

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


โภชนบำบัดในผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Therapeutic life style change diet : TLC diet) เป้าหมายการลดพลังงานกิโลแคลอรี่ : ลดลง ~ 500-1,000 กิโลแคลอรี่จากพลังงานที่คนปกติควร ได้รบั ต่อวัน (2,000 กิโลแคลอรีต่ อ่ วัน) สารอาหาร

ปริมาณทีค่ วรบริโภคต่อวัน

ไขมัน, % พลังงาน ไขมันอิม่ ตัว (SFA) ไขมันไม่อม่ิ ตัวหลายตำแหน่ง (PUFA) ไขมันไม่อม่ิ ตัวหนึง่ ตำแหน่ง (MUFA) คาร์โบไฮเดรด, % พลังงาน โปรตีน, % พลังงาน โคเลสเตอรอล, มิลลิกรัม พลังงาน

≤ 25 - 30 %

<7%

10 % 10 - 15 % ≥ 55 % 15 % < 200 mg เพือ่ รักษาน้ำหนักตัวปกติ

แหล่งข้อมูล : National Cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

37

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แบบประเมินระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ เพือ่ ประกอบการให้ความรูด้ า้ นโภชนาการแก่ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน คำแนะนำ : กรุณาวงกลมรอบคำตอบตามความเป็นจริงเพียง 1 คำตอบในแต่ละข้อ 1. ท่านได้ปฏิบตั ติ วั ในเรือ่ งอาหารบริโภคเพือ่ ควบคุมน้ำหนักตัวอย่างไร ก. คิดว่าไม่มคี วามจำเป็นต้องควบคุมน้ำหนักตัว ข. คิดว่าอีก 3 เดือนข้างหน้าจะเริม่ ปรับเปลีย่ นอาหารบริโภค ค. เดือนหน้าจะลงมือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด ง. ใน 6 เดือนทีผ่ า่ นมา ได้ปรับเปลีย่ นอาหารบริโภคอย่างเคร่งครัด จ. ได้ปรับเปลีย่ นอาหารบริโภคอย่างเคร่งครัดมาเกิน 6 เดือนแล้ว 2. ท่านได้ปฏิบตั ติ วั ในเรือ่ งอาหารบริโภคเพือ่ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอย่างไร ก. ไม่ได้ทำอะไรเลย คิดว่าไม่จำเป็น ข. คิดว่าในอีก 3 เดือนข้างหน้านีจ้ ะเริม่ ดูแลตนเองเรือ่ งอาหารบริโภค ค. ภายใน 1 เดือนนีจ้ ะเริม่ ลงมือปฏิบตั เิ รือ่ งอาหารบริโภค ง. ได้ลงมือปฏิบตั อิ ย่างจริงจังมาแล้วภายใน 6 เดือนที่ผ่านมา จ. ได้ปฏิบตั อิ ย่างจริงจังมานานกว่า 6 เดือนแล้ว

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

38

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ตอบข้อ

ระดับความพร้อม ในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม

ขัน้ ก่อนชัง่ ใจ (Precontemplation stage)

ขัน้ ชัง่ ใจ (Contemplation stage)

ขัน้ พร้อมทีจ่ ะปฏิบตั ิ (Preparation stage)

ขัน้ ปฏิบตั ิ (Action stage)

ขัน้ คงไว้ซง่ึ พฤติกรรม (Maintenance stage)

กลวิธใี นการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ปลุกจิตสำนึก สร้างความตระหนัก z ให้ขอ ้ มูลเรือ่ งความเสีย่ งของการคงพฤติกรรมเดิม และประโยชน์ของการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม z เสนอแนะแนวทางการแก้ไข z

ค้นหาอุปสรรคและประโยชน์ทต่ี นเองตระหนัก หรือรับรูว้ า่ มีผลต่อการเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ z สร้างแรงจูงใจและกระตุน ้ ให้เกิดการวางแผน ทีแ่ น่นอนในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม z

ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นเหตุเป็นผล z ช่วยพัฒนาแผนปฏิบต ั กิ ารทีช่ ดั เจน โดยตัง้ เป้าหมาย ความสำเร็จในการปรับพฤติกรรมอย่างค่อยเป็นค่อยไป z

ให้ขอ้ มูลเพือ่ การนำไปใช้อย่างถูกต้อง z กระตุน ้ ให้มกี ารปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง โดยเน้นถึง ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั z แก้ปญ ั หาเพือ่ ลดอุปสรรคในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม z สร้างทักษะโดยการทดลองปรับพฤติกรรม z ช่วยเหลือตามข้อมูลย้อนกลับ z สร้าง/เสริมแรงสนับสนุนทางสังคม z ให้การเสริมแรงการให้การเสริมแรงทางบวก เมือ่ บุคคลมีพฤติกรรมทีพ่ งึ ปรารถนา z

เน้นประโยชน์ของพฤติกรรมสุขภาพใหม่ เป็นครัง้ คราว z ให้ความมัน ่ ใจว่าเขาสามารถดำรงไว้ซง่ึ พฤติกรรม สุขภาพใหม่อย่างยัง่ ยืน z สร้าง/เสริมแรงสนับสนุนทางสังคม z ให้การเสริมแรงการให้การเสริมแรงทางบวก เมือ่ บุคคลมีพฤติกรรมทีพ่ งึ ปรารถนา z

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

39

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำวัน น้ำหนัก กิโลกรัม

กลุม่ ตามอายุและเพศ

ส่วนสูง พลังงาน เซนติเมตร กิโลแคลอรี/วัน

โปรตีน กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/ วัน

โปรตีน กรัม/วัน

ผูใ้ หญ่ ผูช้ าย 51-70 ปี ≥ 71 ปี ผูห้ ญิง 51-70 ปี ≥ 71 ปี

57 57

166 166

2,100 1,750

1.0 1.0

57 57

52 52

155 155

1,750 1,750

1.0 1.0

52 52

ปริมาณโซเดียม โปรแตสเซียม และคลอไรด์ทค่ี วรได้รบั ประจำวัน กลุม่ ตามอายุ และเพศ ผูใ้ หญ่ ผูช้ าย 51-70 ปี ≥ 71 ปี ผูห้ ญิง 51-70 ปี ≥ 71 ปี

น้ำหนัก ส่วนสูง พลังงาน โซเดียม โปแตสเซียม คลอไรด์ กิโลกรัม เซนติเมตร กิโลแคลอรี/วัน มิลลิกรัม/วัน มิลลิกรัม/วัน มิลลกิรมั /วัน

57 57

166 166

2,150 1,750

475,1450 400-1,200

2,450-4,100 2,050-3,400

725-1,475 600-1,225

52 52

155 155

1,750 1,750

400-1,200 350-1,050

2,050-3,400 1,825-3,025

600-1,225 600-1,075

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

40

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

41

700

≥ 71 ปี

600

71 ปี

600

51-70 ปี

ผูห้ ญิง

700

51-70 ปี

ผูช้ าย

ผู้ใหญ่

75

75

90

90

10

10*

10*

10*

15

15

15

15

90*

90*

120*

120*

1.1

1.1

1.2

1.2

1.1

1.1

1.3

1.3

14

14

16

16

1.5

1.5

1.7

1.7

400

400

400

400

2.4

2.4

2.4

2.4

5*

5*

5*

5*

30*

30*

30*

30*

425*

425*

550*

550*

กลุ่มตามอายุ วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินดี วิตามินอี วิตามินเค ไธอะมิน ไรโบฟลาวิน ไนอะซีน วิตามินบี โฟเลท วิตามินบี กรดแพนโทเธนิก ไบโฮตีน โตลีน และเพศ มคก./วันก มก./วัน มคก./วันข มก./วันค มคก./วัน มก./วัน มก./วัน มก./วันง มก./วัน6 มคก./วัน8 มคก./วัน12 มก./วัน มคก./วัน มก./วัน

ปริมาณสารอาหารอ้างอิงทีค่ วรได้รบั ประจำวัน {Dietary Reference Intake (DRI)} : ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

42

1000*

1000*

≥ 71 ปี

1000*

1000*

51-70 ปี

ผูห้ ญิง

≥ 71 ปี

51-70 ปี

ผูช้ าย

ผู้ใหญ่

700

700

700

700

240

260

280

300

2.6*

2.6*

2.8*

2.8*

150

150

150

150

กลุ่มตามอายุ แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม ฟลูโอไรด์ ไอโอดีน และเพศ มก./วัน มก./วัน มก./วัน มก./วัน มคก./วัน

10.4

10.4

10.4

10.4

เหล็ก มก./วัน

900

900

900

900

ทองแดง มคก./วัน

7

7

13

13

สังกะสี มก./วัน

55

55

55

55

ซีลีเนียม มก./วัน

20*

20*

30*

30*

โครเมียม มคก./วัน

ปริมาณสารอาหารอ้างอิงทีค่ วรได้รบั ประจำวัน {Dietary Reference Intake (DRI)} : ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล

1.8*

1.8*

2.3*

2.3*

แมงกานีส มคก./วัน

45

45

45

45

โมลีบดัม มก./วัน


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

43

Normal BMI 18.5-24.9

Weight

Diagnosis

a

8 ทัพพี 4-6 ทัพพี 3-4 ส่วน 6 ช้อนโต๊ะa 1 - 2 แก้ว 5 ช้อนชา ไม่เกิน 6 ช้อนชา

ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

หากไม่ดื่มนมควรเพิ่มเนื้อสัตว์เป็น 8-10 ช้อนโต๊ะต่อวัน

ปริมาณทีแ่ นะนำ

กลุ่มอาหารต่างๆ

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,600 กิโลแคลอรี่)*

การรับประทานอาหารยึดหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ และธงโภชนา

30-35 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 45-50 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... ใยอาหาร 20 - 35 กรัม / วัน* .............................................................................................................. น้ำตาล ขนมหวาน อาหารทีห่ า้ มรับประทาน............................................................ น้ ำ อั ด ลม นมข้ น หวาน น้ำผลไม้ที่มีน้ำตาล .............................................................................................................. ประมาณ 8- 15% ยกเว้นน้ำมะเขือเทศ .............................................................................................................. มีน้ำตาลประมาณ 1% .............................................................................................................. อาหารทีม่ เี ส้นใยอาหารสูง อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... อาหารที ม ่ ด ี ช ั นี น ำ ้ ตาลต่ำ ..............................................................................................................

30-35 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat.....................................................................................................

HT

30-35 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... Na < 2,400 mg * .............................................................................................................. อาหารทีค่ วรหลีกเลีย่ ง......................................................... 1. ของแห้ง ของเค็ม และรมควัน .............................................................................................................. 2. ซุปก้อนหรือซองสำเร็จรูปทุกชนิด ............................................................................................................... อาหารซองสำเร็จรูปต่างๆ ............................................................................................................... 3. ผักดองและผลไม้ดอง น้ำผลไม้กระป๋อง ............................................................................................................... 4. สารเคมีที่ใช้ทำอาหาร เช่น ผงชูรส ผงฟู ............................................................................................................... 5. แป้งสำเร็จรูป ............................................................................................................... ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน 6. เนยหรือมาการีนที่ผสมเกลือ ............................................................................................................... (1,600 กิโลแคลอรี่)* ยกเว้นชนิดจืด ............................................................................................................... กลุ่มอาหารต่างๆ ปริมาณทีแ่ นะนำ ............................................................................................................... 7. น้ำและเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีโซเดียม 8. น้ำพริกแกงสำเร็จรูปต่างๆ ................................................................................................................ ข้าวแป้ง 8 ทัพพี ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน ผัก 4-6 ทัพพี (1,600 กิโลแคลอรี่)* ผลไม้ 3-4 ส่วน a กลุ่มอาหารต่างๆ ปริมาณทีแ่ นะนำ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ 6 ช้อนโต๊ะ นมพร่องมันเนย 1 - 2 แก้ว ข้าวแป้ง 8 ทัพพี น้ำมันพืช 5 ช้อนชา ผัก 4-6 ทัพพี น้ำตาลทราย ไม่เกิน 4-5 ช้อนชา ผลไม้ 3-4 ส่วน เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ 6 ช้อนโต๊ะa นมพร่องมันเนย 1 - 2 แก้ว น้ำมันพืช 5 ช้อนชา น้ำตาลทราย ไม่เกิน 6 ช้อนชา

DM

Normal

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,600 กิโลแคลอรี่)* กลุ่มอาหารต่างๆ ปริมาณทีแ่ นะนำ ข้าวแป้ง 8 ทัพพี ผัก 4-6 ทัพพี ผลไม้ 3-4 ส่วน เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ 6 ช้อนโต๊ะa นมพร่องมันเนย 1 - 2 แก้ว น้ำมันพืช 5 ช้อนชา น้ำตาลทราย ไม่เกิน 6 ช้อนชา

30 - 35 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10 - 15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein............................................................................................. 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... < 30 %, SAT <10%, Cholesterol Fat...................................................................................................... < 300 mg แต่ถ้ามี LDL > 100mg/dl .............................................................................................................. ควรจำกัด SAT < 7% Cholesterol < 200 .............................................................................................................. mg ,PUFA < 10% ที่เหลือเป็น MUFA .............................................................................................................. และจำกัดไขมันทรานส์ให้น้อยที่สุด .............................................................................................................. อาหารทีม่ กี รดไขมันอิม่ ตัวสูง อาหารทีค่ วรลด......................................................................... โคเลสเตอรอลสูง อาหารที่มีไขมันชนิด .............................................................................................................. ทรานส์ เช่น เบเกอรีท่ ท่ี ำจากมาการีน .............................................................................................................. ครี มเทียม อาหารทอด หรือมีฉลากระบุว่า .............................................................................................................. มี ก ารเติมไฮโดรเจนลงในไขมัน .............................................................................................................. เครื ่องดื่มแอลกอฮอล์ .............................................................................................................. อาหารทีม่ เี ส้นใยสูงโดยเฉพาะ อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... ใยอาหารทีล่ ะลายน้ำ เช่น ถัว่ เมล็ดแห้ง ธัญพืช .............................................................................................................. รับประทานเนือ้ สัตว์ไม่ตดิ มัน เนือ้ ปลา .............................................................................................................. ผั กผลไม้ รวมทั้งหอม กระเทียม และกรด .............................................................................................................. ไขมั นไม่อม่ิ ตัว ..............................................................................................................

Dyslipidemia

ตารางแสดงความต้องการอาหารในผูส้ งู อายุทไ่ี ม่เป็นโรคและในผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

44

Overweight BMI ≥ 25

Weight

Diagnosis

a

6 ทัพพี 3-4 ทัพพี 2-3 ส่วน 5 ช้อนโต๊ะa 1 แก้ว 3-4 ช้อนชา ไม่เกิน 4 ช้อนชา

ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย ปริมาณทีแ่ นะนำ 6 ทัพพี 3-4 ทัพพี 2-3 ส่วน 5 ช้อนโต๊ะa 1 แก้ว 3-4 ช้อนชา ไม่เกิน 3 ช้อนชา

ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,200 กิโลแคลอรี่)* กลุ่มอาหารต่างๆ

หากไม่ดื่มนมควรเพิ่มเนื้อสัตว์เป็น 8-10 ช้อนโต๊ะต่อวัน

ปริมาณทีแ่ นะนำ

กลุ่มอาหารต่างๆ

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,200 กิโลแคลอรี่)*

25 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... Na < 2,400 mg* .............................................................................................................. อาหารทีค่ วรหลีกเลีย่ ง......................................................... 1. อาหารที่มีโซเดียมสูง (เหมือนผู้ป่วย .............................................................................................................. น้ ำหนักปกติที่มีความดันโลหิตสูง) ............................................................................................................... 2. อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตและไขมันสูง ............................................................................................................... เช่ น ของหวาน น้ำอัดลม อาหารทอดหรือผัด ............................................................................................................... ที ใ ่ ช้นำ้ มันมาก ............................................................................................................... งดอาหารว่างและอาหารจุบจิบระหว่างมือ้ ...............................................................................................................

25 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 45-50 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... ใยอาหาร 20 - 35 กรัม / วัน* .............................................................................................................. น้ำตาล ขนมหวาน อาหารทีค่ วรงด........................................................................ น้ำอัดลม นมข้นหวาน น้ำผลไม้ที่มีน้ำตาล .............................................................................................................. ประมาณ 8- 15% ยกเว้นน้ำมะเขือเทศ .............................................................................................................. มีน้ำตาลประมาณ 1 % และงดอาหาร .............................................................................................................. ที่มีไขมันสูง อาหารทีม่ เี ส้นใยอาหารสูง อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... อาหารทีม่ ดี ชั นีนำ้ ตาลต่ำ ..............................................................................................................

25 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลังงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... อาหารทีม่ คี าร์โบไฮเดรต อาหารทีค่ วรลด...................................................................... และไขมันสูง เช่น ของหวาน น้ำอัดลม .............................................................................................................. อาหารทอดหรื อผัดทีใ่ ช้นำ้ มันมาก .............................................................................................................. งดอาหารว่ า งและอาหารจุ บจิบระหว่างมือ้ .............................................................................................................. อาหารที่ใยอาหารสูง เช่น อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... ถั ่ ว เมล็ ด แห้ ง ข้ า วกล้ อง ผัก ผลไม้ ..............................................................................................................

Dyslipidemia

ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

6 ทัพพี 3-4 ทัพพี 2-3 ส่วน 5 ช้อนโต๊ะa 1 แก้ว 3-4 ช้อนชา ไม่เกิน 4 ช้อนชา

กลุ่มอาหารต่างๆ ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

ปริมาณทีแ่ นะนำ 6 ทัพพี 3-4 ทัพพี 2-3 ส่วน 5 ช้อนโต๊ะa 1 แก้ว 3-4 ช้อนชา ไม่เกิน 4 ช้อนชา

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,200 กิโลแคลอรี่)*

25 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein............................................................................................. 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... < 30 %, SAT <10%, Cholesterol < 300 Fat...................................................................................................... mg แต่ ถา้ มี LDL > 100mg/dl ควรจำกัด SAT .............................................................................................................. < 7% Cholesterol < 200 mg ,PUFA < 10% .............................................................................................................. ทีเ่ หลือเป็น MUFA และจำกัดไขมันทรานส์ .............................................................................................................. ให้น้อยที่สุด .............................................................................................................. อาหารทีม่ กี รดไขมันอิม่ ตัวสูง อาหารทีค่ วรลด......................................................................... โคเลสเตอรอลสูง อาหารที่มีไขมันชนิด .............................................................................................................. ทรานส์ เช่น เบเกอรีท่ ท่ี ำจากมาการีน .............................................................................................................. ครี มเทียม อาหารทอด หรือมีฉลากระบุว่า .............................................................................................................. มี ก ารเติมไฮโดรเจนลงในไขมัน อาหารที่มีใยอาหารสูง เช่น .............................................................................................................. อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... เครื ่องดื่มแอลกอฮอล์ .............................................................................................................. ถั.............................................................................................................. ่วเมล็ดแห้ง ข้าวกล้อง ผัก ผลไม้ อาหารทีม่ เี ส้นใยสูงโดยเฉพาะ อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... ใยอาหารทีล่ ะลายน้ำ เช่น ถัว่ เมล็ดแห้ง ธัญพืช .............................................................................................................. ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน รับประทานเนือ้ สัตว์ไม่ตดิ มัน เนือ้ ปลา .............................................................................................................. (1,200 กิโลแคลอรี่)* ผั กผลไม้ รวมทั้งหอม กระเทียม และกรด .............................................................................................................. ไขมั นไม่อม่ิ ตัว กลุ่มอาหารต่างๆ ปริมาณทีแ่ นะนำ ..............................................................................................................

HT

DM

Normal

ตารางแสดงความต้องการอาหารในผูส้ งู อายุทไ่ี ม่เป็นโรคและในผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (ต่อ)


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

45

Diagnosis

Underweight BMI < 18.5

Weight

a

9 ทัพพี 4-5 ทัพพี 4 ส่วน 7 ช้อนโต๊ะa 1-2 แก้ว 6-7 ช้อนชา ไม่เกิน 8 ช้อนชา

ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

ปริมาณทีแ่ นะนำ 9 ทัพพี 5 ทัพพี 4 ส่วน 7 ช้อนโต๊ะa 1-2 แก้ว 6 ช้อนชา ไม่เกิน 5 ช้อนชา

กลุ่มอาหารต่างๆ ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

หากไม่ดื่มนมควรเพิ่มเนื้อสัตว์เป็น 8-10 ช้อนโต๊ะต่อวัน

ปริมาณทีแ่ นะนำ

กลุ่มอาหารต่างๆ

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,800 กิโลแคลอรี่)*

40 - 45 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 45-50 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลั งงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... น้ำตาล ขนมหวาน อาหารทีค่ วรงด........................................................................ น้ำอัดลม นมข้นหวาน น้ำผลไม้ที่มีน้ำตาล .............................................................................................................. ประมาณ 8- 15% ยกเว้นน้ำมะเขือเทศ .............................................................................................................. มี น ำ ้ ตาลประมาณ 1% .............................................................................................................. อาหารทีม่ ดี ชั นีนำ้ ตาลต่ำ อาหารทีค่ วรเพิม่ ......................................................................

40 - 45 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลั งงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... อาหารทีม่ คี าร์โบไฮเดรต อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... และไขมันสูง เช่น อาหารประเภทผัด และ .............................................................................................................. ทอด เพิ่มอาหารว่างระหว่างมื้อ .............................................................................................................. หรืออาหารเสริม ..............................................................................................................

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,800 กิโลแคลอรี่)*

DM

Normal

ปริมาณทีแ่ นะนำ 6 ทัพพี 3-4 ทัพพี 2-3 ส่วน 5 ช้อนโต๊ะa 1 แก้ว 3-4 ช้อนชา ไม่เกิน 4 ช้อนชา

กลุ่มอาหารต่างๆ ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,200 กิโลแคลอรี่)*

40 - 45 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein.......................................................................................... 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... 25-30 % ของพลั งงาน 1 วัน Fat..................................................................................................... Na < 2,400 mg* .............................................................................................................. อาหารทีม่ โี ซเดียม อาหารทีค่ วรหลีกเลีย่ ง......................................................... สู ง (เหมื อ นผู ป ้ ว ่ ยน้ ำ หนั ก ปกติ .............................................................................................................. ที่มีความดันโลหิตสูง) ............................................................................................................... อาหารทีม่ คี าร์โบไฮเดรต อาหารทีค่ วรเพิม่ ...................................................................... และไขมันสูง เช่น ของหวาน น้ำอัดลม .............................................................................................................. อาหารประเภททอดและผัด .............................................................................................................. เพิ่มอาหารว่างระหว่างมื้อ หรืออาหารเสริม ..............................................................................................................

HT

ปริมาณทีแ่ นะนำ 7 ทัพพี 5 ทัพพี 4 ส่วน 7 ช้อนโต๊ะa 1-2 แก้ว 6 ช้อนชา ไม่เกิน 8 ช้อนชา

กลุ่มอาหารต่างๆ ข้าวแป้ง ผัก ผลไม้ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ นมพร่องมันเนย น้ำมันพืช น้ำตาลทราย

ปริมาณอาหารทีแ่ นะนำ 1 วัน (1,800 กิโลแคลอรี่)*

40 - 45 Kcal / kg Calorie........................................................................................... 10-15 % ของพลังงาน 1 วัน Protein............................................................................................. 55-60 % ของพลังงาน 1 วัน Carbohydrate......................................................................... < 30 %, SAT <10%, Cholesterol < 300 Fat...................................................................................................... mg แต่ถา้ มี LDL > 100mg/dl ควรจำกัด SAT .............................................................................................................. < 7% Cholesterol < 200 mg ,PUFA < 10% .............................................................................................................. ทีเ่ หลือเป็น MUFA และจำกัดไขมันทรานส์ .............................................................................................................. ให้น้อยที่สุด .............................................................................................................. อาหารทีม่ กี รดไขมันอิม่ ตัวสูง อาหารทีค่ วรลด......................................................................... โคเลสเตอรอลสูง อาหารที่มีไขมันชนิด .............................................................................................................. ทรานส์ เช่น เบเกอรีท่ ท่ี ำจากมาการีน .............................................................................................................. ครี มเทียม อาหารทอด หรือมีฉลากระบุว่า .............................................................................................................. มีการเติมไฮโดรเจนลงในไขมัน .............................................................................................................. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ..............................................................................................................

Dyslipidemia

ตารางแสดงความต้องการอาหารในผูส้ งู อายุทไ่ี ม่เป็นโรคและในผูส้ งู อายุทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (ต่อ)


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ

46

เสาร์

ศุกร์

พฤหัสบดี

พุธ

อังคาร

ข้าวกล้อง ต้มจับฉ่าย ผัดพริกแกงไก่ผักบุ้ง แอปเปิ้ล ก๋วยเตีย๋ วปลา แคนตาลูป เส้นใหญ่ผัดซีอิ๊ว มะละกอสุก

ข้าวต้มปลาอินทรีย์ แก้วมังกร

ขนมปังน้ำพริกเผา น้ำแครอท

เต้าส่วนลูกชิด (ไม่หวาน)

ขนมจีบ น้ำฟักทอง

ถั่วเขียวต้มน้ำตาล (ไม่หวาน)

ซาลาเปาหมูสบั น้ำตะไคร้ (ไม่หวาน)

ขนมสามแซ่ (ไม่หวาน)

ข้าวผัดกุ้ง ซุปผักรวมมิตร แตงโม ข้าวกล้อง ต้มยำปลาอินทรีย์ ผัดวุ้นเส้นทรงเครื่อง เงาะ สุกร้ี วมมิตร ลองกอง

ขนมปังหมูหยอง น้ำขิง (ไม่หวาน)

มื้อว่างบ่าย

บะหมี่น่องไก่ มะละกอสุก

มื้อกลางวัน

ข้าวกล้อง ต้มเลือดหมูตำลึง (ไม่ใส่เครื่องใน) กล้วยไข่ ข้าวต้มธัญพืช ยำดอกแคกุ้งสด ไก่ทอดงาดำ ส้มเขียวหวาน โจ๊กหมู ไข่ลวก กล้วยน้ำว้า

ข้าวต้มปลาช่อน มะละกอสุก

ข้าวต้มธัญพืช ไข่เจียวสมุนไพร ผัดผักบุ้งจีน ส้มเขียวหวาน ข้าวต้มหมูบด มังคุด

อาทิตย์

จันทร์

มื้อเช้า

วัน ข้าวกล้อง แกงจืดลูกเงาะ ปลาช่อนผัดคื่นฉ่าย ส้มโอ ข้าวกล้อง แกงจืดสาหร่ายทะเล ยำมะเขือยาว แคนตาลูป ข้าวกล้อง ไก่ตุ๋นฟักเห็ดหอม น้ำพริกปลาป่น ผักลวกนิม่ ๆ แคนตาลูป ข้าวกล้อง แกงส้มผักรวม (ไม่เผ็ด) ปลาอินทรีย์นึ่งบ๋วย สับปะรด ข้าวกล้อง แกงเลียงผักรวม น้ำพริกกะปิ ปลาทู ผักลวกนิม่ ๆ แตงโม ข้าวกล้อง แกงเต้าหู้ไข่สาหร่ายทะเล ยำปลาทู ผักสด ส้มเขียวหวาน ข้าวกล้อง แกงจืดมะระยัดไส้ ผัดแตงร้านกุ้ง สับปะรด

มื้อเย็น

ตัวอย่างรายการอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ 1 สัปดาห์

องุ่นเขียว นมพร่องมันเนย

สาลี่ นมพร่องมันเนย

แอปเปิ้ล นมพร่องมันเนย

แก้วมังกร นมพร่องมันเนย

ส้มโอ นมพร่องมันเนย

ชมพู่แดง นมพร่องมันเนย

กล้วยไข่ นมพร่องมันเนย

มื้อก่อนนอน


ตัวอย่างปริมาณอาหาร 1 ส่วน หมวดเนือ้ สัตว์ เนือ้ สัตว์ไขมันต่ำ 1 ส่วน มีพลังงาน 55 กิโลแคลอรี่

หมวดผัก ผัก 1 ส่วน มีพลังงาน 25 กิโลแคลอรี่

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

47

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


หมวดผลไม้ ผลไม้ 1 ส่วน มีพลังงาน 60 กิโลแคลอรี่

หมวดข้าว-แป้ง ข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ง 1 ส่วน มีพลังงาน 80 กิโลแคลอรี่

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

48

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


หมวดไขมัน ไขมัน 1 ส่วน มีพลังงาน 45 กิโลแคลอรี่

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

49

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

50

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ตารางแสดงคุณค่าอาหารในหมวดรายการอาหารแลกเปลี่ยน ปริมาณ/ส่วน

โปรตีน (กรัม)

ไขมัน (กรัม)

คาร์โบไฮเดรต (กรัม)

พลังงาน (กิโลแคลอรี)่

หมวดนม นมธรรมดา (whole milk)

240 มล.

8

8

12

150

นมพร่องไขมัน (low fat milk)

240 มล.

8

5

12

120

นมขาดมันเนย (skim milk)

240 มล.

8

0-3

12

90

หมวดอาหาร

หมวดผัก ประเภท ก.

50 - 70 กรัม

ให้พลังงานน้อยมากรับประทานได้ตามต้องการ

ประเภท ข.

50 - 70 กรัม

2

-

5

25

หมวดผลไม้

ไม่แน่นอน

-

-

15

60

หมวดข้าวแป้ง

ไม่แน่นอน

2

-

18

80

ประเภท ก. (ไม่มมี นั เลย)

30 กรัม

7

0-1

-

35

ประเภท ข. (ไขมันต่ำ)

30 กรัม

7

3

-

55

ประเภท ค. (ไขมันปานกลาง)

30 กรัม

7

5

-

75

ประเภท ง. (ไขมันสูง)

30 กรัม

7

8

-

100

หมวดน้ำมัน

1 ช้อนชา

-

5

-

45

หมวดเนือ้ สัตว์

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

51

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ดัชนีน้ำตาลของอาหารไทยบางชนิด ชนิดอาหาร

ปี

ดัชนี* น้ำตาล

น้ำหนัก บริโภค กรัม/ครัง้

ขนมเทียน สูตรธรรมดา ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ ข้าวกล้อง บะหมี่ ขนมจีน ก๋วยเตีย๋ วเส้นใหญ่ ก๋วยเตีย๋ วเส้นหมี่ วุน้ เส้น มะม่วงอกร่อง สัปปะรด ทุเรียนสุกกำลังกิน ลำไย แก้วมังกร ฝรัง่

2005 1987 1987 2005 1987 1987 1987 1987 1987 2004 2004 2004 2004 2004 2004

72 75 71-74 58-62 57 55 54 53 45 51 45 39 43 37 17

2 ลูก 35 55 55 75 90 90 90 100 80a 125a 40a 60a 116a 120a

ปริมาณ คาร์โบไฮเดรต กรัม/ครัง้ 30 18 18 18 18 18 18 18 18 15 15 15 15 15 15

*วิเคราะห์จากปริมาณทีบ่ ริโภคโดยมีคาร์โบไฮเดรต 50 กรัม a น้ำหนักของผลไม้ที่แนะนำให้บริโภคต่อครั้ง ทีม่ า : สุรตั น์ โคมินทร์ หน่วยโภชนวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

52

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


อาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง 1. อาหารทีใ่ ช้เกลือปรุงรส ได้แก่ - ซอสรสเค็ม เช่น น้ำปลา ซีอว๊ิ ซอสหอยนางรม เต้าเจีย้ ว - ซอสหลายรส เช่น ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก ซีอว๊ิ หวาน 2. อาหารทีใ่ ช้เกลือถนอมอาหาร ได้แก่ - อาหารตากแห้ง เช่น กะปิ เต้าหูย้ ้ี แหนม - อาหารปรุงรสต่างๆ เช่น ไส้กรอก หมูยอ กุนเชียง - ผลไม้ดอง ผักดอง - อาหารกระป๋องและอาหารสำเร็จรูป 3. อาหารทีป่ รุงรส ได้แก่ ผงชูรส สารกันบูด ผงฟู 4. อาหารที่มีเกลือโซเดียมอยู่ตามธรรมชาติ ได้แก่ เนื้อสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะอาหารทะเล เช่น กุ้ง ปู หอย ปลาทะเล

โซเดียมในอาหารปรุงรส อาหาร น้ำปลา ซีอว๊ิ ขาว ซอสปรุงรส ซอสหอยนางรม น้ำจิม้ ไก่ ซอสพริก ผงชูรส ผงฟู

ปริมาณ

โซเดียม - มิลลิกรัม

1 ช้อนชา 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนชา 1 ช้อนชา

465-600 960-1420 1150 420-490 202-227 220 492 339

ทีม่ า : สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ปริมาณโซเดียมทีแ่ นะนำรับประทานในแต่ละวัน ไม่ควรเกิน 2,000 มิลลิกรัม

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

53

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


ปริมาณโซเดียมอาหารต่างๆ อาหาร

ปริมาณ

น้ำหนัก - กรัม

ปริมาณโซเดียม

ปลาสลิดหมักเกลือ เนือ้ ปลาทูทอด น้ำพริกกะปิ น้ำปลาหวาน เต้าหูย้ ้ี น้ำพริกเผา ผัดผักบุง้ ใส่เต้าเจีย้ ว ปอเปียะสด น้ำพริกกลางดง บะหมีส่ ำเร็จรูปพร้อมเครือ่ งปรุง บะหมีน่ ำ้ หมูแดง ข้าวผัดหมู ข้าวต้มหมู ก๋วยเตีย๋ วผัดซีอ้ ว๊ิ บะหมีร่ าดหน้ำไก่ ปอเปียะทอด ผัดผักบุง้ น้ำมันหอย ปลากระพงขาวนึง่ แกงส้มผักรวม ส้มตำอีสาน ซาลามี ไส้กรอก ไส้กรอกเวียนนา โบโลน่า แซนวิชสเปรด เบคอน แฮม ก๋วยเตีย๋ วหมูสบั ข้าวราดปลาผัดฉ่า แฮมเบอร์เกอร์ ขนมปัง ข้าวโพดแผ่นอบ

1 ตัว ½ ตัวกลาง 4 ช้อนโต๊ะ 1 ช้อนโต๊ะ 2 อัน 1 ช้อนโต๊ะ 1 จาน 1 จาน 2 ช้อนโต๊ะ 1 ห่อ 1 ชาม 1 จาน 1 ชาม 1 จาน 1 จาน 2 อัน 1 จานเล็ก 1 ชิน้ 1 ถ้วย 1 จาน 1 ชิน้ 1 อัน 1 อัน 1 แผ่น 1 ช้อนโต๊ะ 1 ชิน้ 1 ชิน้ 1 จาน 1 จาน 1 ชิน้ 1 แผ่น 15 ชิน้

40 100 60 10 15 16 150 150 15 50 350 295 390 354 300 60 110 50 100 100 30 45 16 30 15 6 30 300 240 98 25 30

1288 1081 1100 191 560 275 894 562 170 977 1480 416 881 1352 1819 235 426 110 1130 1006 303 504 152 305 152 101 395 1450 1117 463 105 177

แหล่งทีม่ า : สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2540 แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

54

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง ควรหลีกเลีย่ งหมูสามชัน้ สันคอหมู ขาหมูสว่ นทีม่ มี นั เครือ่ งในสัตว์ เช่น ตับ ไต ตับอ่อน ปลาหมึก ไขมันสัตว์ และหนังสัตว์

ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร 100 กรัม (ประมาณ 6½ ช้อนโต๊ะ) ปริมาณของโคเลสเตอรอล (มิลลิกรัม)

ชนิดอาหาร นม

24

ไอศกรีม

40

เนยแข็ง

140

เนื้อไก่, เป็ด

60-90

เนือ้ กุง้

150-200

เนือ้ หมูไม่ตดิ มัน

70-90

เนือ้ ปู

145

หอยแครง, แมลงภู่

454

เนือ้ วัว

65

แฮม ขาไก่

100-110

ซีโ่ ครงหมู

105

ตับหมู

420

ไข่นกกระทา

3640

ไข่ไก่ 1 ฟอง

504

ไข่ขาว

0

ไข่แดงล้วน

1480

น้ำสลัดครีม

165-225

ไส้หมู กระเพาะหมู

150

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

55

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


บรรณานุกรม 1. Aekplakorn W, Stolk RP, Neal B, Suriyawongpaisal P, Chongsuvivatwong V, Cheepudomwit S, Woodward M, for the inter ASIA Collaborative Group. The prevalence and management of diabetes in Thai adults : the International Collaborative Study of Cardiovascular Disease in Asia. Diabetes Care 2003;26:2758-63. 2. Thai Non Communicable Disease Reduce Risk[Web page] . Available at http:// www.tncdreducerisk.com (Accessed 21 June 2006). 3. Food Groups and the Food Pyramid [Web page] . Available at http:// www.kroger.com/hn/Health_Eating/ Food_Guide_Pyramid.htm (Accessed 25 May 2006). 4. Hypertension. Nutrition management for older adults [Web page]. Available at http:// www.guideline.gov (Accessed 27 January 2006). 5. Diabetes mellitus. Nutrition management for older adults[Web page]. Available at http:// www.guideline.gov (Accessed 27 January 2006). 6. Diabetes Medical Nutrition Therapy and Prevention Algorithm [Web page]. Available at http:// www.dsds.state.tx.us/diabetes/PDF/algorithms/NUTRIO.PDF (Accessed 30 May 2006). 7. Behavioral Counseling in Primary care to Promote a Health Diet. [Web page]. Available at http:// www.guideline.gov/summary/summary.aspx?doc_id=34948nbr=0027208string=health AND+diet (Accessed 22 June 2006). 8. รศ.จงจิตร อังคทะวานิช และ อาจารย์กมล ไชยสิทธิ์. บรรณาธิการ. อาหารมิติแห่งศาสตร์และศิลป์. พิมพ์ครัง้ ที1่ . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 9. แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์ และคณะ. คู่มือแนวทางการจัดตั้งและดำเนินการคลินิกผู้สูงอายุ.พิมพ์ ครัง้ ที่ 1 : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด ; 2548. 10. Lipid Management in adult [Web page] . Available at http://www.icsi.org (Accessed 30 May 2006). 11. ชมรมผู้ให้ความรู้โรคเบาหวานและสมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย. โครงการอบรมผู้ให้ความรู้ โรคเบาหวาน. มปท, 2545. 12. ประไพศรี ศิรจิ กั รวาล และคณะ, บรรณาธิการ. การประชุมวิชาการ โภชนาการ 48 สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548. 13. ศรีสมัย วิบลู ยานนท์. อาหารสุขภาพของผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน. โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, 2545. 14. สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ. บรรณาธิการ. การสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2544-2547, สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข ; โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภณ ั ฑ์ แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

56

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


15. วันดี โภคะกุล. บรรณาธิการ. Family Medicine Meeting New Challenges. การอบรมระยะสั้นสำหรับ แพทย์เวชปฏิบตั /ิ เวชศาสตร์ครอบครัว ครัง้ ที่ 28 ระว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน - 3 ธันวาคม 2542. 16. คณะกรรมการสมาคมนักกำหนดอาหารและคณะกรรมการโภชนาการ สมาคมผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน การบริโภคอาหารเพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน กรุงเทพฯ : วิวฒ ั น์การพิมพ์, 2547. 17. วันดี โภคะกุล, อุบลวรรณ จุฑาสมิต, ประสิทธิ์ รวมพิมาย. อาหารทัว่ ไปและเฉพาะโรคสำหรับผูส้ งู อายุ. โรงพิมพ์ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2545.

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

57

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผูส้ งู อายุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22.

นายแพทย์ชาตรี บานชืน่ นายแพทย์สมภพ พันธุโฆษิต ศ.นพ.สุรตั น์ โคมินทร์ แพทย์หญิงใยวรรณ ธนะมัย รศ.ดร.วินยั ดะห์ลนั รศ.นพ.พีระ บูรณะกิจเจริญ ศ.พญ.จุฬาภรณ์ รุง่ พิสทุ ธิพงษ์ แพทย์หญิงสิรนิ ทร ฉันศิรกิ าญจน รศ.นพ.ประเสริฐ อัสสันตชัย นายแพทย์ชยั ชาญ ดีโรจนวงศ์ นายแพทย์วรี ะศักดิ์ ศรินนภากร รศ.พญ.มันฑนา ประทีปเสน ดร.สุนาฎ เตชางาม ดร.ชนิดา ปโชติการ รศ.ดร.ภารดี เต็มเจริญ แพทย์หญิงแสงโสม สีนะวัฒน์ แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมสิ วัสดิ์ นางสาวสมจินต์ โฉมวัฒนะชัย นายอภิวฒ ั น์ แช่มช้อย นางสาวนิตกิ ลุ ชัยรัตน์ นางสาวอรวรรณ์ คูหา นางสาวจิรนันท์ ช่วยจันทร์

อธิบดีกรมการแพทย์ ทีป่ รึกษา รองอธิบดีกรมการแพทย์ ทีป่ รึกษา ผูแ้ ทนราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน โรงพยาบาลเลิดสิน รองประธาน ผูแ้ ทนราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย รองประธาน ผูแ้ ทนราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย คณะทำงาน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทำงาน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทำงาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล คณะทำงาน โรงพยาบาลราชวิถี คณะทำงาน โรงพยาบาลราชวิถี คณะทำงาน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทำงาน สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทำงาน สถาบันวิจยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทำงาน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทำงาน กรมอนามัย คณะทำงาน กรมการแพทย์ คณะทำงาน กรมการแพทย์ คณะทำงาน กรมการแพทย์ คณะทำงาน กรมการแพทย์ คณะทำงานและเลขานุการ กรมการแพทย์ คณะทำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ กรมการแพทย์ คณะทำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

58

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

59

โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.