รายงานการจัดอันดับปลาทูน่ากระป๋อง ปี 2559

Page 1

จากทะเลสู่กระป๋อง:

2559

การจัดอันดับความยั่งยืน ของผลิตภัณฑ์ ปลาทูน่ากระป๋อง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

G

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 1


สารบัญ หน้า 3 บทนำ� หน้า 5 ห่วงโซ่อุปทานของปลาทูนา่ กระป๋อง

บทที่ 3

บทที่ 1

© Oscar Siagian / Greenpeace

หน้า 32 ก้าวต่อไปข้างหน้า ข้อเสนอแนะ

หน้า 8 การค้าปลาทูน่ากระป๋อง หน้า 10 การละเมิดสิทธิมนุษยชน หน้า 12 การประมงอย่างยั่งยืน – เครื่องมือประมง แต่ละประเภทนั้นแตกต่างกัน

บทที่ 2

หน้า 14 หลักเกณฑ์การจัดอันดับ

หน้า 16 ผลการจัดอันดับแบรนด์ผลิตภัณฑ์และ โรงงานผลิตปลาทูน่ากระป๋อง หน้า 18 รู้จักบริษัทผลิตปลาทูน่ากระป๋อง

เขียนโดย: เจมส์ มิเชลล์ อิเพรียม บาตุงบาคาล ขอบคุณ: อารีฟชยา นาซูเตียน อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล กรวรรณ บัวดอกตูม ซูมาร์ดี อาเรียนชยา เทเรส ซัลวาดอร์ แคท ดูเร ซาร่า คิง วินซ์ ซินเชส เซลดา โซริอาโน ดามาวี มุสนี

จัดวางรูปเล่ม: ทาซยา พี มาวลานา ภาพลายเส้น: รามาดานี ภาพถ่าย: ออสการ์ เซียเจียน ซานจิท ดาส อะดิเรส เรนเต้ พอล ฮิลตัน วิรุนันท์ ชิตเดชะ

พิมพ์บนกระดาษรีไซเคิล

2 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559

พฤศจิกายน 2559


รีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ได้ด�ำ เนินการจัดอันดับแบรนด์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลาทู น่ า กระป๋ อ งใน ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ โ ร ง ง า น ผ ลิ ต ปลากระป๋องในประเทศอินโดนีเซีย แ ล ะ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เ ป็ น เ ว ล า ติ ด ต่ อ กันมา 2 ปีแล้ว ซึ่งในปีนี้ได้นำ� เสนอรายงานรวมกั น เป็ น ฉบั บ เดียว รายงานการจัดอันดับของ ปี ที่ ผ่ า นมาเปิ ด เผยว่ า โดยภาพ รวมของภู มิ ภ าคนี้ ยั ง ไม่ ส ามารถ ทำ � ให้ ผ้บ ู ริโภคมั่นใจได้ว่าปลาทูน่า ถูกจับมาอย่างยั่งยืนและยุติธรรม สำ � หรั บ ปี น้ ี ผลที ่ ไ ด้ ร ั บ ก็ ย ั ง อยู ่ ในระดับพอใช้ แต่ก็ยังมีความหวัง เ นื่ อ ง จ า ก ห ล า ย บ ริ ษั ท มี ก า ร ดำ�เนินการพัฒนาปรับปรุงขึ้น

ปลาทู น่า เป็ น หนึ่ง ในพั น ธุ์ป ลาซึ่ง เป็นทีน ่ ย ิ มและมีมล ู ค่าทางเศรษฐกิจ มากสุดในโลก ทัง ้ ยังเป็นปลาผูล ้ า่ ทีส ่ �ำ คัญในระบบนิเวศ1 อุตสาหกรรม ทู น่ า ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ส ร้ า ง ง า น จำ�นวนมากทัว่ โลกทัง ้ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับ การประมง การแปรรูป และการค้า ซึ่งรวมไปถึงประเทศกำ�ลังพัฒนา ทีม ่ ช ี ายฝัง ่ ทะเล ทัง ้ ยังสร้างรายได้ มหาศาลในส่ ว นของค่ า สั ม ปทาน ประมง เศรษฐกิจปลาทูนา่ เชิงพาณิชย์ ทัว่ โลกมีมล ู ค่า ณ จุดขายหน้าร้าน โดยรวมถึงประมาณ 42 พันล้าน เหรียญสหรัฐต่อปี และกิจการประมง ทูนา่ ได้ รั บ รายได้ คิ ด เป็ น ประมาณ หนึ่งในสี่ของมูลค่าทั้งหมด ทะเล แปซิฟิกตะวันตกและแปซิฟิกกลาง เป็ น แหล่ ง ประมงปลาทู น่า ที่ ใ หญ่ ที่สุดในโลก คิดเป็นครึ่งหนึ่งของ ปริมาณการจับปลาทูนา่ เชิงพาณิชย์ ทัง ้ หมดในโลกในปี พ.ศ.2557ซึง ่ ได้ ู ค่า น้�ำ หนักเกือบถึง 2.85 ล้านตัน มีมล ณ จุดขายหน้าร้านมากกว่า 22.68 พันล้านเหรียญสหรัฐ2 ด้วยแรง ก ด ดั น ที่ ช นิ ด ข อ ง ป ล า ต่ า ง ๆ ประสบอยู่ทั่วโลก มวลปลาทูน่า หลายแห่ ง ถู ก จั บ เกิ น ขนาดไปเป็ น

บทนำ� จำ�นวนมาก ข้อมูล ณ ปี พ.ศ.2559 บั ญ ชี แ ดงขององค์ ก ารระหว่ า ง ประเทศเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ (IUCN Red List) ได้จด ั ให้ปลาทูน่าครีบยาว (albacore: Thunnus alalunga) และปลาทูน่า ครีบเหลือง (yellowfin: T. albacares) อยู่ ใ นประเภทสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ กื อ บ อยู่ ใ นข่ า ยเสี่ ย งต่ อ การสู ญ พั น ธุ์ (NT - Near Threatened) ปลาทูนา่ ตาโต (bigeye: T. obesus) และปลา ทูน่าครีบน้ำ�เงินแปซิฟิก (Pacific bluefin: T. orientalis) อยูใ่ นประเภท สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ กื อ บอยู่ ใ นข่ า ยใกล้ การสูญพันธุ์ (VU - Vulnerable species) ปลาทูนา่ ครีบน้�ำ เงินแอตแลนติก(Atlanticbluefin:T.thynnus) อยู่ใ นประเภทสิ่ง มี ชีวิต ที่ใ กล้ ก าร สูญพันธุ์(EN - Endangered species) และปลาทูน่าครีบน้ำ�เงินเซาเทอร์น (southern bluefin: T. maccoyii) อยู่ ใ นประเภทสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ค วาม เสี่ ย งขั้ น วิ ก ฤตต่ อ การสู ญ พั น ธุ์ (CR - Critically endangered species)3 ซึง ่ บริษท ั ต่างๆทีเ่ ข้าร่วมการจัดอันดับ ในรายงานฉบั บ นี้ มี ก ารจั บ ปลา ทู น่ า สายพั น ธุ์ ใ ดสายพั น ธุ์ ห นึ่ ง หรือหลายสายพันธุ์ในบัญชีแดงนี้ เนื่องจากอุตสาหกรรมประมงทูนา่ มักจะปฏิบต ั ง ิ านในพืน ้ ทีห ่ า่ งไกลจาก ชายฝั่งมาก เป็นสภาพแวดล้อมที่ มี ก ารตรวจสอบได้ เ พี ย งน้ อ ยนิ ด ทำ � ให้ ธุ ร กิ จ ที่ ข าดจรรยาบรรณ ส า ม า ร ถ ทำ � ล า ย ล้ า ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ได้ ม ากกว่ า สิ่ ง แวดล้ อ มทางทะเล

น่ า เสี ย ดายที่พ้ืน ที่ป ระมงทู น่า นั้น เป็นแหล่งรวมปัญหาการทำ�ประมง ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและ ไร้การควบคุม (IUU) ปัญหาแรงงาน บังคับ รวมทั้งปัญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชน บริษท ั ผลิตปลาทูนา่ ยั ง คงมี ข่ า วฉาวที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การกดขี่ แ รงงานและแรงงาน บั ง คั บ ในห่ ว งโซ่ อุ ป ทานการผลิต ปลาทูนา่ ต้องเผชิญกับการคุกคาม จากการคว่ำ � บาตรทางการค้ า จากประเทศส่ ง ออก ทั ้ ง ยั ง มี ข้อกล่าวหาเรื่องการปิดบังข้อมูล การผลิ ต สิ น ค้ า ซึ่ ง บริ ษั ท เหล่ า นี้ เองก็ ยั ง ไม่ แ น่ ใ จเลยว่ า สิ่ ง ที่ อ ยู่ ในกระป๋ อ งที่ ต นเองขายอยู่ นั้ น บรรจุอะไรไว้บ้าง ถึงแม้วา่ บริษัท ปลาทู น่ า จะมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ ใ น ห่ ว ง โ ซ่ อุ ป ท า น ข อ ง ต น เ อ ง มากขึ้น(การตรวจสอบย้อนกลับ) พวกเขาอาจจะยังลังเลทีจ ่ ะประกาศ ข้ อ มู ล เ ห ล่ า นี้ กั บ ผู้ ซื้ อ สิ น ค้ า (ความโปร่งใส) เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการตัดสินใจซื้อสินค้าได้ ในขณะที่ ห ลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลการดำ�เนินงานของแต่ละบริษท ั ยังคงเหมือนปีที่ผ่านมา กรีนพีซ ได้เพิ่มการตรวจเข้มเรื่องหลักฐาน พิสูจน์ให้มากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมือ ่ ข่าวการกดขีแ่ รงงานและการทำ� การประมงแบบทำ�ลายล้างยังมีให้เห็น กั น อยู ่ ท ั ่ ว ไป ในปี ท ี ่ แ ล้ ว บริ ษ ั ท หลายแห่งได้รับประโยชน์จากการที่ ไม่ต้องนำ�หลักฐานใดๆ มาพิสูจน์

ข้อกล่าวอ้างและเราให้ความเชื่อใจ ในคำ�ตอบที่ได้รับแต่ท้ายที่สุดแล้ว กลับพบว่าบางคำ�ตอบนั้นเป็นเท็จ ดังนัน ้ เพือ ่ ให้ค�ำ ตอบทีไ่ ด้รบ ั มีความ ถูกต้องน่ าเชื่อถือมากขึ้น ทาง กรี น พี ซ จึ ง ได้ ข อให้ มี ก ารแสดง เอกสารหลั ก ฐานเพื่ อ พิ สู จ น์ สิ่ ง ที่ บริษัทนั้นได้กล่าวอ้างมา ผลการดำ � เนิ น งานของบริ ษั ท ในปีนี้คละผสมกัน นั บ เป็ น ข่ า วดี ที่ มี บ ริ ษั ท เข้ า ร่ ว มการสำ � รวจใน ปี นี้ ม ากขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ที่ แ ล้ ว ในปี นี้ มี บ ริ ษั ท แบรนด์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ และโรงงานปลาทู น่ า ขนาดใหญ่ จำ�นวนมากกว่า 2 ใน 3 จาก ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (ประเทศไทย ฟิ ล ิ ป ปิ น ส์ และ อินโดนีเซีย) เข้าร่วมการจัดอันดับ นำ�ไปสู่การเจรจาและความร่วมมือ กันที่เพิ่มมากขึ้นในส่วนของข้อมูล เพื ่ อ การวิ เ คราะห์ อั น อาจเป็ น สั ญ ญาณการเริ่ ม ต้ น ว่ า บริ ษั ท ต่างๆ มีระดับความสนใจในเรื่อง ของความโปร่ ง ใสที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ต่อประชาชนผู้ซื้อสินค้า

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 3


© Sanjit Das / Greenpeace

ปลาทูนา่ ท้องแถบได้รบ ั ความนิยม สูงสุด เกือบทุกบริษัทที่เข้าร่วม การจัดอันดับขายปลาทูนา่ ท้องแถบ ที่ จั บ มาจากมหาสมุ ท รแปซิ ฟิ ก ต ะ วั น ต ก แ ล ะ แ ป ซิ ฟิ ก ก ล า ง ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปแล้ ว ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ดี เนื่องจากเป็นปลาทูน่าสายพันธุ์ที่ มีมวลปลามากที่สุด สำ�หรับบริษัท ที่ ใ ช้ ป ล า ทู น่ า ท้ อ ง แ ถ บ จ ะ ใ ช้ สายพั น ธุ ์ น ี ้ ถ ึ ง ร้ อ ยละ 71 ของ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ทู น่ า ที่ ข า ย ทั้ ง ห ม ด อย่ า งไรก็ ต าม บริษัทส่วนใหญ่ ยั ง คงใช้ ป ลาทู น่ า ครี บ เหลื อ งซึ่ ง เป็นสายพันธุ์ที่ “เกือ บอยู่ในข่ าย เสี ่ ย งต่ อ การสู ญ พั น ธุ ์ ” หรื อ Near Threatened ในบัญชีแดง ของ IUCN โดยยอดขายเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 28 ของปลาทูน่าทั้งหมด ทั้งนี้ ยังมีบางบริษัทที่ใช้ปลาทูนา่ ครีบยาว (อยูใ่ นบัญชีแดงของ IUCN ประเภทเดียวกับปลาทูนา่ ครีบเหลือง) ้ คือมีการใช้ปลาทูนา่ และทีแ่ ย่กว่านัน ตาโตซึ่งจัดอยู่ในประเภท“เกือบอยู่ ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์” หรือ Vulnerable อี ก ด้ ว ย อย่ า งไรก็ตาม เมือ ่ พิจารณาภาพรวมแล้ว บริษัทต่างๆ ที่ตอบแบบสอบถาม นั้น กำ � ลั ง ดำ � เนิ น การไปในทางที่ ถูกต้องและส่วนใหญ่จะใช้ปลาทูน่า ส า ย พั น ธุ์ ที่ มี อ ยู่ จำ � นวนมากซึ่ ง ก็ คื อ ปลาทู น่ า ท้ อ งแถบเพื่ อ ผลิ ต เป็นปลาทูนา่ กระป๋อง วิ ธี ก ารทำ � ประมงยั ง นั บ ว่ า ยั ง เป็นปัญหา เมื่อวิเคราะห์วิธีการ ทำ�ประมงก็พบว่าน่าหดหู่ บริษัท เกือบจะทั้งหมดใช้วัตถุดิบที่มาจาก การทำ�ประมงแบบอวนล้อมร่วมกับ เครื่องมือล่อปลาหรือซั้ง (FAD)

(ศึกษาวิธก ี ารทำ�ประมงประเภทต่างๆ ได้จาก “วิธก ี ารทำ�ประมง”ในรายงาน ฉบับนี)้ โดยสรุปแล้ว การทำ�ประมง อ ว น ล้ อ ม ร่ ว ม กั บ เ ค รื่ อ ง มื อ ล่ อ ปลานั้ น ขาดการควบคุ ม และ เป็นวิธีที่ไร้ประสิทธิภาพ เนือ ่ งจาก อวนล้ อ มจะจั บ ติ ด ลู ก ปลาทู น่ า ครี บ เหลื อ งและปลาทู น่ า ตาโตได้ เป็นจำ�นวนมาก ทั้งยังจับปลาที่ ไม่ใช่เป้าหมาย เช่น ปลาฉลามและ สัตว์น้ำ�ชนิดอื่นๆ มาด้วย ซึ่งมาก ถึง 2.8-6.7 เท่าเมื่อเทียบกับการ ่ งมือล่อปลา ใช้อวนล้อมทีไ่ ม่ใช้เครือ บริ ษั ท ที่ เ ข้ า ร่ ว มการสำ � รวจส่ ว น ใหญ่จะใช้ปลาทูน่าจากเรือประมง ที ่ ใ ช้ ว ิ ธ ี น ี ้ ถ ึ ง ร้ อ ยละ 79 และที่แย่ กว่านั้นคือ บริษัทจำ�นวน 16 แห่ง ใช้ปลาทูน่าเกือบทั้งหมดที่มาจาก เรื อ อวนล้ อ มร่ ว มกั บ เครื่ อ งมื อ ล่อปลา หากจะมีข่าวดีบ้ า งก็คือ มี บ ริ ษั ท จำ � นวนหนึ่ ง ซื้ อ ปลาทู น่ า ที่ จั บ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ทำ � ป ร ะ ม ง ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ม า ก ก ว่ า วิ ธี อื่ น อันได้แก่ อวนล้อมจับแบบไม่ใช้ เครือ ่ งมือล่อปลา เบ็ดมือ เบ็ดตวัด และเบ็ดลาก โดยโรงงานผลิตปลา ทู น่ า ก ร ะ ป๋ อ ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ อินโดนีเซียมีแนวโน้มที่จะใช้วัตถุดิบ จากเบ็ ด ตวั ด มากที่ สุ ด ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ที่ ยั่ ง ยื น และรั บ ผิ ด ชอบมาก ที่สุดในการจับปลาทูน่า อย่างไร ก็ตาม เมื่อพิจารณาภาพรวมของ อุตสาหกรรมแล้ว เรายังต้องขับเคลื่อนกันอีกยาวไกลกว่าจะไปถึง จุดที่มีความยั่งยืนสำ�หรับวิธีการ ทำ�ประมง

4 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559

ความโปร่ ง ใสที่ มี ต่ อ ลู ก ค้ า ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยั ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � เมื่ อ เที ย บกั บ ภูมิภาคอื่น สิ่งที่ค้นพบจากการ สำ � รวจในครั้ ง นี้ คื อ บางบริ ษั ท ใช้ มาตรฐานต่ า งระดั บ ซึ่ ง ขึ้ น อยู่ กั บ ความต้องการของตลาดผู้บริโภค ขั้นสุดท้าย ตัวอย่างเช่น ปลาทูน่า กระป๋ อ งที่ มี ต ลาดปลายทางเป็ น ผู้บริโภคขั้นสุดท้ายในประเทศไทย มักจะไม่ค่อยมีข้อมูลว่าในกระป๋อง นั้นบรรจุปลาทูน่าชนิดใด ในขณะ ที่เมื่อส่งออกไปยังประเทศอังกฤษ บริ ษั ท เดี ย วกั น นี้ จ ะทำ � ทุ ก วิ ถี ท าง ที่ จ ะทำ � ให้ แ น่ ใ จว่ า ทุ ก กระป๋ อ งมี ข้อมูลทุกๆ อย่างบนฉลาก ซึ่ง รวมถึงชนิดของปลาทูนา่ แหล่งทำ� ประมงแ ล ะ วิ ธี ก า ร ทำ � ป ร ะ ม ง ผูบ ้ ริโภคในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ควรจะได้รับข้อมูลเช่นเดียว กันกับผู้บริโภคในตลาดอื่นๆ มหาสมุทรของเรา สัตว์ทะเล และ ชาวประมงที่จับปลา รวมทั้งผู้ท่ี เกี่ยวข้องกับการแปรรูปปลาทูน่า ของเราควรจะได้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า ง ดี ที่ สุ ด เ ท่ า ที่ จ ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ อุ ต สาหกรรมทู น่ า ยั ง มี โ อกาสที่ จะกลั บ ตั ว และดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ในรู ป แบบทีย ่ ง ่ั ยืนและเป็นธรรมให้มากขึน ้ เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเล และคุ้ ม ครองแรงงานแทนที่ จ ะ ทำ�ลาย กรีนพีซจะยังคงเดินหน้าต่อ เพื่ อ ขจั ด การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ไ ม่ คำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อม จนกว่าบริษท ั ผลิ ต ปลาทู น่ า ทั้ ง หมดจะอยู่ ใ น ระดั บ ที่ ค วรจะเป็ น และตลาดเลิ ก สนับสนุนกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย และไร้ศีลธรรมอันเป็นเหตุให้บริษัท บ า ง แ ห่ ง ต้ อ ง ต ก ก ร ะ ป๋ อ ง ไ ป ส่วนข่าวดีล่ะ? รายงานฉบับนี้ได้ พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า บริ ษั ท หลายแห่ ง กำ�ลังพัฒนาตัวเองขึน ้ มา ทัง ้ ยังใช้ นโยบายแนวคิดเรื่องการพัฒนาที่ ยั่งยืนด้วย คุณสามารถอ่านรายละเอียด เพิ่มเติมได้ในรายงานฉบับเต็ม ผลการจัดอันดับบริษัททูน่า พลิกไปที่หน้า 17 รู้จักบริษัททูน่า พลิกไปที่หน้า 18 หลักเกณฑ์การจัดอันดับ พลิกไปที่หน้า 15


ทำ�ไม

ห่วงโซ่อุปทานทูน่า จึงมีความสำ�คัญ?

ห่

วงโซ่ อุ ป ทานของปลาทู น่ า กระป๋ อ งมี ค วามคลุ ม เครื อ เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งนี่เป็นสาเหตุหลักประการหนึ่งที่เรา รวบรวมการประเมิ น แบรนด์ ป ลาทู น่ า กระป๋ อ งในภู มิ ภ าค (แบรนด์ของไทย) เข้าไว้ด้วยกันกับการประเมินโรงงานผลิต ปลาทูนา่ กระป๋องที่ใหญ่ที่สุดบางแห่งในภูมิภาค (จากประเทศ อินโดนีเซียและฟิล ิป ปินส์) ทั้งนี้ แบรนด์ทูน่ าไม่ส ามารถ มั่นใจได้ทั้งหมด 100% ว่าห่วงโซ่อุปทานของตนเป็นอย่างไร หากแบรนด์ เ หล่ า นั้ น ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม าจากโรงงานผลิ ต ปลากระป๋องที่ปนเปวัตถุดิบ (อาจโดยตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจ) จากเรือประมงที่มาจากหลากหลายโดยไม่ค�ำ นึงถึงชนิดของ ปลา แหล่งทำ�ประมง หรือวิธีการจับ ความสมบูรณ์ของ ห่วงโซ่อุปทานนั้นเป็นส่วนสำ�คัญที่สุดของปัญหาทีเ่ กิดขึน ้ เนื่องจากว่าหากขาดความโปร่งใสแล้ว การปฏิรูปวงการ ทูน่าที่มีประสิทธิภาพก็อาจไม่ประสบความสำ�เร็จได้

© Paul Hilton / Greenpeace

ตัวอย่างเช่น หากซูเปอร์มาร์เก็ตแห่งหนึ่งต้องการขาย ผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ปลาทูน่ากระป๋องของตนเองให้แก่ ลูกค้า ฝ่ายบริหารของซูเปอร์มาร์เก็ตแห่งนั้นรู้สึกว่าตน น่าจะมีสว่ นรับผิดชอบต่อการปกป้องมหาสมุทร และยังสังเกต ว่าลูกค้าตนเลือกซื้ออาหารที่มีส่วนในการสร้างความยั่งยืน ดังนัน ้ ทางซูเปอร์มาร์เก็ตจึงตัดสินใจว่าจะซือ ้ ปลาทูนา่ ท้องแถบ หรือ skipjack tuna จากแห่งที่สมบูรณ์ และจากเรือประมง ที่ทำ�การประมงอย่างถูกฎหมายด้วยวิธียั่งยืน (เช่น เบ็ดตวัด) ทางโรงงานผลิตปลากระป๋อง x เสนอขายวัตถุดิบประเภทนี้ ให้ แ ก่ ซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ในราคาที่ สู ง กว่ า ปกติ นิ ด หน่ อ ย แต่หากโรงงานผลิตปลาทูนา่ กระป๋อง x รับปลาทูนา่ ทัว่ ไปจาก หลายแห่งและมีการคัดแยกทีไ่ ม่ชด ั เจน นี่อาจจะเป็นเหตุผลให้ ซูเปอร์มาร์เก็ตนั้นต้องจบลงด้วยการซื้อปลาทูน่ากระป๋องที่ มีปลาทูนา่ สายพันธุ์อื่นปะปนเข้ามา อาจเป็นปลาที่ถูกจับมา ด้วยเครื่องมือประมงทำ�ลายล้าง หรือที่แย่กว่านั้น ด้วย อุตสาหกรรมโดยรวมนัน ้ ขาดการตรวจสอบ อาจมีการใช้แรงงาน บังคับในการจับปลาทูนา่ ที่นำ�มาบรรจุกระป๋อง และปลาทูน่า

ทีจ ่ บ ั ได้กอ ็ าจจะมาจากแหล่งทีผ ่ ด ิ กฎหมายซึง ่ ทางซูเปอร์มาเก็ต ก็จะลงเอยด้วยการขายปลาทูน่าที่ไม่ได้เป็นที่ต้องการทั้งๆ ที่ จ่ า ยเงิ น ซื้ อ มาในราคาแพงเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค วาม ่ ยืนและมีคณ ุ ภาพ แน่นอนทีส ่ ด ุ ว่าเราไม่สามารถรับได้ ความยัง กับสถานการณ์เช่นนี้ กรีนพีซได้ด�ำ เนินการอย่างแข็งขันทีจ ่ ะทำ�ให้มก ี ารแสดงข้อมูล ห่วงโซ่อป ุ ทาน โดยพยายามทีจ ่ ะนำ�เสนอแนวทางปฏิบต ั ท ิ ด ่ี ท ี ส ่ี ด ุ ้ ยังต้องการความมัน ่ ใจ ในการติดตามตรวจสอบย้อนกลับทัง ในส่วนต้นทางของห่วงโซ่อป ุ ทานนัน ้ ว่าจะไม่สามารถหลบเลีย ่ ง การปฏิรูปเพื่อปรับปรุงให้ดีข้น ึ ตลอดทั่วทั้งห่วงโซ่อุปทานได้ คำ�ถามหลายข้อในแบบสำ�รวจของเราจะถามบริษัทผลิตทูน่า ถึงมาตรฐานของบริษท ั ทีม ่ ต ี อ ่ ซัพพลายเออร์ รวมทัง ้ สอบถาม ด้ ว ยว่ า บริ ษัท มี ก ารว่ า จ้ า งผู้ต รวจสอบที่เ ป็ น คนกลางจาก ภายนอกให้ ตรวจสอบกระบวนการผลิตและแนวทางปฏิบัติ อีกครั้งหรือไม่ เรายังร้องขอให้บริษัท (ทั้งแบรนด์ผลิตภัณฑ์ และโรงงานผลิตปลากระป๋อง) แสดงผลการดำ�เนินงานในส่วน ของการตรวจสอบย้อนกลับ รวมทั้งขอให้เปิดเผยรายชื่อ เรื อ ประมงที่ ส่ ง ขายวั ต ถุ ดิ บ ให้ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก ฐานในการ พิสูจน์ด้วย

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 5


ห่วงโซ่การผลิตปลาทูน่ากระป๋อง

เบ็ดราว (Longliner) ปลาทูนา่ ครีบยาว ปลาทูนา่ ตาโต และปลา ทูนา่ ครีบเหลือง มักจะถูกจับได้โดยเบ็ดราว ซึง ่ เป็นเชือกพลาสติกหนามีขอเบ็ดเกีย ่ ว อยู่เป็นแถวๆ จำ�นวนนับพันตัว เบ็ดราว โดยทัว่ ไปจะลากยาวไปไกลหลายกิโลเมตร มีสต ั ว์น�ำ้ พลอยได้ตด ิ มาประมาณร้อยละ 30 กรีนพีซเรียกร้องให้บริษัทประมง ยกเลิกการใช้เครือ ่ งมือประมงทีท ่ �ำ ลายล้างน้ ี

อวนล้อม (Purse seiner) ปลาทู น่ า ท้ อ งแถบส่ ว นใหญ่ ถู ก จั บ โดยเรื อ อวนล้ อ ม ซึง ่ ส่วนใหญ่จะใช้เครือ ่ งมือล่อปลาหรือซัง ้ (FAD) ร่วมด้วย เครื่องมือล่อปลาจะมีลักษณะเหมือนทุ่นหรือแพลอยน้ำ� ที่ใช้ล่อให้ปลามารวมกัน ซึ่งไม่ใช่เฉพาะปลาทูนา่ ท้องแถบ เท่านัน ้ อวนล้อมทีใ่ ช้รว่ มกับเครือ ่ งมือล่อปลานีเ้ ป็นตัวคร่า ชีวต ิ ปลาฉลาม กระเบน ลูกปลาทูนา่ ตาโต และสัตว์อน ่ื ๆ ที่ ถูกคุกคามเป็นจำ�นวนมหาศาลทุกปี กรีนพีซรณรงค์ให้ บริษท ั ต่างๆ เช่น ไทยยูเนีย ่ น รวมทัง ้ บริษท ั อืน ่ ๆ ในรายงาน ฉบั บ นี้ เ ลิ ก ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ล่ อ ปลาและหั น มาใช้ วิ ธี ก ารทำ � ประมงที่ยั่งยืนกว่าเดิม

จุดตรวจสอบสินค้าประเทศผู้นำ�เข้า (Foreign country import point) เป็นสถานที่แรกที่ควบคุมการนำ�เข้าปลาทูน่าจาก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในประเทศผู้นำ�เข้า แม้ว่า ประเทศส่วนใหญ่จะมีกฎหมายห้ามนำ�เข้าอาหาร ทะเลทีท ่ �ำ การประมงแบบผิดกฎหมายหรือติดฉลาก ไม่ตรงกับความเป็นจริง แต่กระบวนการบังคับใช้ กฎหมายนั้นยังขาดประสิทธิภาพ แม้แต่ในประเทศ สหรัฐอเมริกาซึ่งมักจะประกาศว่าตนเป็นต้นแบบ ทีด ่ ใี นการบริหารจัดการประมง ยังมีการตรวจสอบ น้อยกว่าร้อยละ 2 ของอาหารทะเลทีน ่ �ำ เข้าประเทศตน กรีนพีซเรียกร้องผูค ้ า้ ปลีก ผูว้ างนโยบาย และผูบ ้ ริโภค ให้ช่วยสนับสนุนกฎหมายการตรวจสอบย้อนกลับ อย่างจริงจังในประเทศนำ�เข้าหลักๆ ซึง ่ เป็นการช่วย ปิดกั้นไม่ให้อาหารทะเลที่มาจากการประมงที่ผิด กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) ผ่านเข้ามาในประเทศได้ และยังช่วยรักษาท้องทะเล ของเราให้มีสภาพอุดมสมบูรณ์ขึ้นด้วย

6 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


เรือขนถ่ายสัตว์น้ำ�/เรือแม่ (Transhipper/Reefer) กิจกรรมลักลอบทำ�ประมงทูน่าส่วนใหญ่น้น ั ถูกซ่อนเร้น ไว้ด้วยการขนถ่ายสัตว์น้ำ� ซึ่งก็คือการขนถ่ายสัตว์น้ำ� จากเรือประมงไปยังเรือขนถ่ายหรือเรือแม่กลางทะเล ซึง ่ ส่วนใหญ่แล้วจะไม่มเี จ้าหน้าทีส ่ ง ั เกตการณ์กลางทะเล กิจกรรมนี้สร้างความคลุมเครือให้กับห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ ทั้ ง ยั ง ทำ � ให้ ก ารติ ด ตามตรวจสอบแหล่ ง ที่ ม าของ ผลิตภัณฑ์นน ้ั ยากยิง ่ ขึน ้ ไปอีก บริษท ั ทีม ่ น ี โยบายก้าวหน้า จ ะ เ ลิ ก ใ ช้ ป ล า ทู น่ า ที่ ม า จ า ก ก า ร ข น ถ่ า ย สั ต ว์ น้ำ � รวมทัง ้ มีการดำ�เนินงานในลักษณะทีส ่ ามารถตอบคำ�ถาม ต่อสาธารณะได้และโปร่งใสมากกว่า ทำ�ให้บริษท ั เหล่านัน ้ สามารถยื น ยั น ความถู ก ต้ อ งของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ตนเองได้อย่างเต็มปาก

โรงงานผลิตปลากระป๋อง (Cannery) กระบวนการตรวจสอบย้อนกลับในห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์มักจะ ถูกกลืนไปในระบบโรงงานผลิตปลากระป๋อง หากไม่มีการ เก็บบันทึกที่ละเอียดโปร่งใสและขาดกระบวนการทีเ่ คร่งครัด รัดกุม โรงงานผลิตปลากระป๋องอาจผสมปนเปปลาทูนา่ จากแหล่ง ที่มาหลายแหล่งและปลาสายพันธุ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำ�ให้ ผลิตภัณฑ์นน ้ั ไม่สามารถบอกแหล่งทีม ่ าได้ และยังทำ�ให้ผบ ู้ ริโภค ไม่สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืนได้ ผู้ค้าปลีก (Retailer) ผูค ้ า้ ปลีกในทีน ่ ร้ี วมไปถึงร้านค้าปลีก ร้านอาหาร ่ ายหรือจัดหาปลาทูนา่ ให้กบ ั และองค์กรต่างๆ ทีข ผู้บริโภค กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้ค้าปลีกดำ�เนิน นโยบายทีช ่ ว่ ยให้ผบ ู้ ริโภคสามารถเลือกปลาทูนา่ ่ ค ี วามยัง ่ ยืนและมีความรับผิดชอบได้ กระป๋องทีม ซึ่ ง รวมถึ ง ผู้ ค้ า ปลี ก ของไทยที่ อ ยู่ ใ นรายงาน ฉบับนี้ อันได้แก่ เทสโก้ โลตัส และบิ๊กซี ทั้งนี้ กรีนพีซได้ทำ�การจัดอันดับผู้ค้าปลีกและบริษัท ทีใ่ ห้บริการด้านอาหารรายใหญ่ในประเทศนำ�เข้า ปลาทูน่าอื่นๆ ในระดับโลกด้วย

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 7


ผู้ส่งออกรายใหญ่ ปีพ.ศ.2558 ปลาทูน่าท้องแถบและปลาโอแอตแลนติกพร้อม รับประทานและแปรรูปที่ขายทั้งตัวหรือเป็นชิ้น (ไม่รวมเนื้อปลาบด)

สเปน US$ 447,137,000

การส่งออก ปลาทูน่าแช่แข็ง ของโลกในปี 2558 มีมูลค่า

เอกวาดอร์

US$6,042,673,000

US$ 706,850,000

กาน่า US$ 189,355,000

การค้า

ทูน่ากระป๋อง 8 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559

นปี พ .ศ.2558 ตลาดนำ � เข้ า ปลาทูน่ากระป๋องรายใหญ่ 6 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา อิตาลี สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส สเปน และเยอรมัน ประเทศไทยนับว่าเป็น ผูส ้ ง ่ ออกปลาทูนา่ พร้อมรับประทาน หรือปลาทูนา่ แปรรูปเป็นอันดับหนึง ่ ของโลก ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32.8 ของการส่งออผลิตภัณฑ์ประเภท นี้ของโลก ประเทศอินโดนีเซียอยู่ใน อันดับที่ 5 โดยส่งออกร้อยละ 4.9 ในขณะที่ประเทศฟิลิปปินส์ส่งออก เป็นอันดับที่ 7 คิดเป็นร้อยละ 3.8 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เหล่ า นี้ จั ด เป็ น ผู้ ผ ลิ ต ปลาทู น่ า กระป๋ อ ง/แปรรู ป ชั้ น นำ � ที่ ส่ ง ออก ไปยังตลาดโลกแยกตามปริมาณ4 (ดูภาพประกอบ)


จีน เวียดนาม

US$ 339,920,000

US$ 193,004,000 ฟิลป ิ ปินส์ US$ 229,495,000 เซเชลส์ US$ 233,679,000 มอริเชียส US$ 239,543,000 ไทย

อินโดนีเซีย

US$ 1,970,543,000

US$ 294,984,000

10 ประเทศหลักผู้นำ�เข้าปลากระป๋องจาก 3 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้:

ประเทศไทย

ประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศอินโดนีเซีย

สหรัฐอเมริกา, อียิปต์, ออสเตรเลีย, ญี่ปุ่น, แคนาดา, ซาอุดิอาระเบีย, ลิเบีย, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, สหราชอาณาจักร, และเปรู

สหรัฐอเมริกา, เยอรมัน, ญี่ปุ่น, สหราชอาณาจักร, เนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, อิตาลี, กรีก, เปรู, และแคนาดา

ซาอุดิอาระเบีย, สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, อิตาลี, ออสเตรเลีย, สหราชอาณาจักร, ไทย, ลิเบีย, เม็กซิโก, และเยอรมัน

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 9


การละเมิดสิทธิมนุษยชน และการประมง

ผิดกฎหมาย

© Ardiles Rante / Greenpeace

10 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


ารละเมิดสิทธิมนุษยชนและการประมงผิดกฎหมาย ในขณะทีม ่ วลปลามีจ�ำ นวนลดลงเนือ ่ งจากการทำ�ประมง เกินขนาด ฝูงเรือประมงอุตสาหกรรมกลับเพิ่มขนาดขึ้น และ อุปสงค์อาหารทะเลราคาถูกกลับเพิ่มมากขึ้น ทำ�ให้บริษัท ต่างๆ มีแรงจูงใจที่จะใช้แรงงานราคาถูกหรือแรงงานบังคับ ทัง ้ ยังทำ�การประมงแบบผิดกฎหมาย5 6 ผูป ้ ระกอบการประมง หลายรายใช้เครือข่ ายค้ามนุษย์ในการจัดหาลูกเรือประมง และใช้ “แรงงานขัดหนี้ ความรุนแรง การข่มเหง และการ ฆาตกรรม เพื่อทำ�ให้ลูกเรืออยู่ในอาณัติ และยังคงรักษาราคา อาหารทะเลให้ถูกได้”7 ที่น่าเศร้าก็คือ สิ่งต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้เอง

ของไทยที่ทำ�ผิดกฎหมาย IUU โดยขอให้เรือเหล่านั้นขึ้นปลา เฉพาะในช่วงเวลาที่กำ�หนดไว้ เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจสอบ และหลีกเหลี่ยงการถูกลงโทษ13 ที่ผา่ นมา เจ้าหน้าที่รัฐของ อิ น โดนี เ ซี ย ไม่ ส ามารถแก้ ไ ขปั ญ หาการกดขี่ แ รงงานอย่ า ง รุนแรงและแพร่หลายได้ ทั้งยังสมรู้ร่วมคิดกับเจ้าหน้าที่ของ ไทยโดยยอมให้มก ี ารค้ามนุษย์ในอุตสาหกรรมประมงเกิดขึน ้ 14 15 อย่างไรก็ตาม รัฐบาลอินโดนีเซียได้ส่งสัญญาณการเริ่มต้น จัดการกับปัญหาอย่างจริงจังโดยการจัดตั้ง คณะทำ�งาน Anti-IUUF Task Force 115 ขึ้น ทั้งยังออกกฎกระทรวงที่ เฉพาะเจาะจงใช้กับกรณีการค้ามนุษย์สำ�หรับกิจการประมง อีกด้วย17

ในเดือนมีนาคม พ.ศ.2558 สำ�นักข่าวเอพีรายงานเรือ ่ งแรงงาน บังคับบนเรือประมงของอินโดนีเซีย8 สองเดือนถัดมาหนังสือพิมพ์ ในไทยได้พาดหัวข่าวเรื่องหลุมศพของผู้ท่ค ี าดว่าจะเป็นเหยื่อ ค้ามนุษย์ในค่ายพักแรมของเหยือ ่ ค้ามนุษย์9 10 และเหยือ ่ ค้ามนุษย์ ที่ถูกทิ้งกลางทะเล11 12 การกดขีแ่ รงงานมักจะถูกละเลยจาก เจ้าหน้าทีร่ ฐ ั ซึง ่ บางครัง ้ ก็สมรู้ร่วมคิดกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ร้ายกาจที่สุดในอุตสาหกรรมประมงระดับโลก ตัวอย่างเช่น เจ้าหน้าที่รัฐของไทยได้ส่งหนังสือให้กบ ั ผูป ้ ระกอบการประมง

รายงานเรื่องแรงงานบังคับบนเรือประมงนั้นมีอยู่มากกว่า 50 ประเทศ18 กรีนพีซได้บันทึกสภาพการทำ�งานที่น่าสังเวช บนเรืออวนล้อมทูนา่ และเรือเบ็ดราว ชาวประมงบนเรือเบ็ดราว ทูนา่ ในมหาสมุทรแปซิฟก ิ ตะวันตกเล่าให้กรีนพีซฟังว่าพวกเขา ่ มาเป็นเวลา 18 เดือนแล้ว ทัง ้ ถูกกระทำ�ทารุณ ไม่ได้กลับเข้าฝัง จากลูกเรือ และถูกบังคับให้อยู่ในสภาพเลวร้าย19

เคยมีการรายงาน เรื่องแรงงาน บังคับบนเรือประมง มาแล้วมากกว่า 50 ประเทศ

บรรดาบริษัทที่กดขี่แรงงานของตนมักจะทำ�การประมงแบบ ทำ�ลายล้างและผิดกฎหมาย ทัง ้ ยังไม่เคารพกฎหมายการประมง อีกด้วย20 21 ผลกระทบโดยตรงจากการทำ�ประมงเกินขนาด ยังผลให้มวลปลาชายฝั่งหลายแห่งหมดเกลี้ยงไป ทำ�ให้เรือ ประมงต้องออกเรือไปจับปลาไกลถึงทะเลหลวง นอกจากนี้ แทนที่ เ รื อ จะเสี ย เวลาทำ � ประมงและเสี ย ต้ น ทุ น เพิ่ ม ขึ้ น จาก การเดินเรือกลับเข้าฝั่ง อุตสาหกรรมประมงต้องพึ่งพาการ ขนถ่ายสัตว์น�ำ้ กลางทะเลเป็นอย่างมาก โดยเรือประมงขนาดเล็ก สามารถเติมน้ำ�มัน สต๊อกของกินของใช้ และถ่ายปลาให้กับ เรือสินค้าขนาดใหญ่ เปลี่ยนสภาพเรือประมงเป็นคุกลอยน้ำ� และทำ�ให้เรือนั้นสามารถซ่อนปลาที่จับได้อย่างผิดกฎหมาย หรือปฏิบต ั ไิ ม่ดก ี บ ั ลูกเรือได้ แรงงานค้ามนุษย์และแรงงานกดขี่ ถู ก บั ง คั บ ให้ ทำ � งานอยู่ ก ลางทะเลโดยไร้ ห นทางหลบหนี ซึ่ ง มี ร ายงานออกมาแล้ ว ว่ า มี ช าวประมงที่ ถู ก บั ง คั บ ให้ อ ยู่ กลางทะเลมาแล้วเป็นเวลาหลายปี22 23 นี่เป็นเหตุผลหลักที่ กรีนพีซบรรจุคำ�ถามเกี่ยวกับการขนถ่ายสัตว์น้ำ�กลางทะเล ไว้ในแบบสอบถามที่ส่งไปยังบริษัทต่างๆ ในรายงานฉบับนี้ หากไทยยู เ น่ี ย นซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท แปรรู ป ปลาทู น่ า กระป๋ อ งที่ ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นเจ้าของแบรนด์ผลิตภัณฑ์ซีเล็คและ โอเชีย ่ นเวฟในรายงานฉบับนี้ ยังคงพึง ่ พาการขนถ่ายสัตว์น�ำ้ กลางทะเล ก็เป็นเหตุผลอันควรที่จะกล่าวว่าห่วงโซ่อุปทาน ทั้งหมดของบริษัทมีความน่าเป็นห่วง วัตถุดิบปลาทูนา่ จาก แหล่งต่างๆ อาจถูกผสมปนเปกันโดยง่ายดาย ทำ�ให้ห่วงโซ่ อุปทานมีความยุ่งเหยิงซับซ้อน และทำ�ให้ไม่สามารถระบุได้ว่า ้ จับมาอย่างผิดกฎหมายหรือไร้ศล ี ธรรม24 การรวมเอา ปลานัน ปลาทูน่าที่มีการบันทึกการจับเป็นอย่างดีเข้ากับปลาบรรจุ ทูน่ากระป๋องที่ไม่มีการบันทึกข้อมูลที่ดี อาจทำ�ให้เราสามารถ แยกแยะปลาได้เป็นอย่างดี หรืออาจจะมีปลาปะปนกันยุง ่ เหยิง ณ โรงงานผลิตปลากระป๋อง ซึ่งเป็นเหตุผลให้มีการสำ�รวจ โรงงานผลิตปลากระป๋องในรายงานฉบับนี้ด้วย25

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 11


การประมง

อย่างยัง ่ ยืน

– เครื่องมือประมงแต่ละประเภทนั้นแตกต่างกัน

ดยขั้นต้นแล้ว การประมงทูน่าอย่างยั่งยืน หมายความถึงการจับปลาทูนา่ เฉพาะสายพันธุ์ ที่มีมวลปลาที่มีการบริหารจัดการได้เป็นอย่างดี อยู่ในสภาพสมบูรณ์ เช่น ปลาทูน่าท้องแถบ แทนที่จะจับปลาสายพันธุ์ที่ไร้เสถียรภาพ เช่น ปลาทูน่าครีบยาว ปลาทูนา่ ครีบเหลือง หรือ ที่แย่กว่านั้นคือ ปลาทูนา่ ตาโต หรือปลาทูนา่ ครีบน้ำ�เงิน อย่างไรก็ตาม วิธีการที่เรือประมงใช้ จับปลาทูนา่ และข้อมูลวิธก ี ารจับนัน ้ ถูกส่งต่อไปยัง โรงงานผลิต ผู้ค้าปลีก และท้ายที่สุดผู้บริโภค หรือไม่นั้น มีความสำ�คัญที่เราจะต้องนำ�มา พิจารณาเป็นอย่างยิ่ง ลองจินตนาการดูวา่ คุณกำ�ลังรับประทานอาหาร ในร้านอาหารบุฟเฟ่ต์แห่งหนึ่ง แทนที่คุณจะ ตักเฉพาะอาหารที่ต้องการจะกิน คุณกลับโกย อาหารครึ่ ง หนึ่ ง ของที่ จั ด วางไว้ ก ลั บ มาที่ โ ต๊ ะ ของตัวเอง คนอื่นจะได้ไม่ต้องกิน ที่ร้ายกว่านั้น คุณกลับกินอาหารไปเพียงนิดเดียว แต่ได้ตัก อาหารออกมาจากถาดที่ เ สิ ร์ ฟ ไว้ ใ ห้ กั บ ทุ ก คน ออกมาแล้ว คนส่วนใหญ่กจ ็ ะตัดสินว่าคุณเป็นคน ที่ไร้มารยาทและทำ�ให้เสียของ ในทางเดียวกัน ้ ริโภคของตนจะไม่ บริษัททูน่าบางแห่งหวังว่าผูบ เห็นว่าการดำ�เนินงานของตนเป็นแบบนัน ้ ซึง ่ เป็น วิธป ี ระมงทำ�ลายล้าง เป็นวิธีที่กวาดล้างสัตว์น้ำ� ้ มา ชนิดอืน ่ ๆ ซึง ่ เราเรียกว่า “สัตว์น�ำ้ พลอยได้” ขึน ด้วยจากการทำ�ประมงทูน่านั้นเอง วิธีการทำ�ประมงทูน่าที่แพร่หลายมีอยู่ด้วยกัน 5 แบบ ได้แก่:

อวนล้อมร่วมกับเครื่องมือล่อปลา:

ปลาทูนา่ ที่จับได้คือปลาทูน่าท้องแถบ หรือ “chunk light” (ทูนา่ ชิ้นเล็ก) วิธีการประมงที่ใช้กันมากเกินไปและขาดการควบคุม นี้มีการใช้เครื่องมือล่อปลาหรือซั้ง (FAD) ซึ่งเป็นเหมือนทุ่นหรือแพลอยน้ำ�มีอวนเก่า สายเชือก หรือสายสมอถ่วงอยู่ดา้ นล่าง เพื่อล่อปลาทูน่าให้มารวมกัน น่าเสียดายที่ นอกเหนือจากปลาทูน่าท้องแถบแล้ว เครื่องมือนี้ยังล่อลูกปลาทูน่าตาโตและปลาทูน่า ครีบเหลือง รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในทะเลจำ�นวนหลากหลาย ได้แก่ ฉลาม และบางครั้งก็มี เต่าเข้ามาด้วย เมื่อเรือประมงทำ�การลงอวนล้อม (ซึ่งเหมือนกับถุงมีหูรูดปิดที่ก้น) รอบ เครื่องมือล่อปลา ถุงอวนนั้นจะล้อมเอาสัตว์ทุกชนิดที่ติดอยู่ในนั้นขึ้นมาไว้บนเรือ แล้ว กำ�จัดสัตว์น้ำ�ชนิดอื่นๆ (ซึ่งมักจะตายแล้ว) ที่ไม่ใช่ปลาทูน่าทิ้งไป การใช้เครื่องมือล่อ ปลาจะทำ�ให้เรือประมงอวนล้อมจับติดสัตว์น้ำ�พลอยได้ขึ้นมาเป็นจำ�นวนมากกว่าการ ทำ�ประมงอวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลา (หรือเรียกว่าการล้อมปลาฝูงอิสระ) ถึง 2.8-6.7 เท่า26 ลูกปลาทูน่าตาโตและทูน่าครีบเหลืองมักจะถูกนำ�มาแปรรูปและบรรจุเป็น ปลากระป๋อง หมดโอกาสที่จะเติบโตเต็มวัย ผลการวิจัยการจับปลาทูน่าในมหาสมุทร แปซิฟิกตะวันตกและแปซิฟิกกลางระบุว่าปลาทูน่าตาโตและทูน่าครีบเหลืองที่จับติดมา มีมากถึงประมาณร้อยละ 30 โดยน้ำ�หนัก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นลูกปลา27 การศึกษาวิจัย อีกชิ้นหนึ่งเมื่อเร็วๆ นี้เปิดเผยว่า แต่ละปีในมหาสมุทรอินเดีย นอกจากจะมีสัตว์น้ำ�ที่ถูก จับด้วยอวนล้อมแล้ว ยังมีฉลามซิลกี (silk shark) ประมาณ 480,000 ถึง 960,000 ตัว เข้ามาติดอวนและเชือกอวนที่ห้อยอยู่ใต้เครื่องมือล่อปลาหรือซั้ง (FAD) ด้วย28 สุดท้าย เครื่องมือล่อปลาที่หลุดหายไปหรือถูกทิ้งไม่ใช้แล้วก็จะถูกกระแสน้�ำ พัดพาไปรวมกับขยะ อืน ่ ๆ จำ�นวนมหาศาลทีล ่ อยอยูก ่ ลางมหาสมุทรของเรา ซึ่งอาจจบลงด้วยการถูกซัด เกยตื้นที่ชายหาด หรือเข้าไปติดกับแนวปะการัง29

12 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


อวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลา:

(หรือการจับปลาฝูงอิสระ) วิธีการนี้จะดีกว่าวิธีการข้างต้น เพราะสั ต ว์ น้ำ � ที่ จั บ ได้ จ ะไม่ มี ป ลาที่ ไ ม่ ต้ อ งการเจื อ ปนอยู่ แทนที่ จ ะใช้ เ ครื่ อ งมื อ ล่ อ ปลาและจั บ สั ต ว์ น้ำ � ทุ ก อย่ า งที่ อ ยู่ ใต้ทน ุ่ นัน ้ ด้วยวิธก ี ารนี้ เรืออวนล้อมจะลงอวนล้อมจับปลาทูนา่ ท้องแถบทีเ่ ป็นปลาฝูงอิสระว่ายกลางน้�ำ อัตราการจับสัตว์น�ำ้ พลอยได้จากอวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลาจะต่�ำ กว่ามาก ทัง ้ ยังมีลก ู ปลาทูนา่ จำ�นวนน้อยกว่า (น้อยกว่ากันถึงร้อยละ 90) ซึ่งนี่เป็นเหตุผลให้กรีนพีซแนะนำ�ให้ทำ�การประมงด้วยวิธีนี้ อันเป็นทางเลือกแทนการจับปลาทูน่าด้วย

เบ็ดตวัด: การประมงวิธีนี้เป็นวิธีที่ได้ “มาตรฐานทองคำ�” ในการตกปลาทูน่า และเป็นวิธีที่กรีนพีซแนะนำ�เป็นอย่างยิ่ง เรือเบ็ดตวัดมักจะปล่อยกลุ่มชาวประมงที่แต่ละคนจะมีเบ็ดและ คันเบ็ดประจำ�ตัวซึ่งจะจับปลาทูน่าได้ทีละตัว ด้วยวิธีการนี้ จะทำ�ให้จับสัตว์นำ�้ พลอยได้ได้น้อยมากเนื่องจากว่าเครื่องมือ ประมงนั้นสามารถเลือกจับปลาเฉพาะที่ต้องการได้ ในขณะที่ เรือเบ็ดตวัดบางลำ�ใช้เครือ ่ งมือล่อปลาทีย ่ ด ึ สมอเลียบชายฝัง ่ เนื่ อ งจากว่ า วิ ธี ก ารประมงนี้ ส ามารถคั ด เลื อ กปลาได้ การใช้เบ็ดตวัดร่วมกับเครือ ่ งมือล่อปลาจึงไม่กอ ่ ให้เกิดปัญหา เหมือนกับอวนล้อมทีจ ่ บ ั ปลาร่วมกับเครือ ่ งมือล่อปลา วิธก ี ารนี้ มักจะนำ�มาใช้เพือ ่ จับทัง ้ ปลาทูนา่ ครีบยาวและปลาทูนา่ ท้องแถบ

กรีนพีซเรียกร้องให้แบรนด์ทูน่าและบริษัทแปรรูปทูน่า เลือกและใช้วัตถุดิบปลาทูน่าที่จับด้วยวิธีประมงที่รับผิดชอบ อันได้แก่ เบ็ดราว เบ็ดมือ หรืออวนล้อม ที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลาหรือซั้ง

อวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลา:

(หรือการจับปลาฝูงอิสระ) วิธีการนี้จะดีกว่าวิธีการข้างต้น เพราะสั ต ว์ น้ำ � ที่ จั บ ได้ จ ะไม่ มี ป ลาที่ ไ ม่ ต้ อ งการเจื อ ปนอยู่ แทนที่จะใช้เครื่องมือล่อปลาและจับสัตว์น้ำ�ทุกอย่างที่อยู่ใต้ ทุ่นนั้น ด้วยวิธีการนี้ เรืออวนล้อมจะลงอวนล้อมจับปลาทูน่า ท้องแถบทีเ่ ป็นปลาฝูงอิสระว่ายกลางน้�ำ อัตราการจับสัตว์น�ำ้ พลอยได้จากอวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลาจะต่ำ�กว่ามาก ทั้งยังมีลูกปลาทูน่าจำ�นวนน้อยกว่า (น้อยกว่ากันถึงร้อยละ 90) ซึ่งนี่เป็นเหตุผลให้กรีนพีซแนะนำ�ให้ทำ�การประมงด้วยวิธี นี้อันเป็นทางเลือกแทนการจับปลาทูนา่ ด้วย

เบ็ดมือ: เป็นเครือ่ งมือทีส่ ามารถเลือกจับสัตว์น�ำ้ ได้และมักจะ เป็นวิธก ี ารประมงอย่างรับผิดชอบ มีการใช้เอ็นและเบ็ดทีป ่ กติ ใช้เหยื่อตกปลาร่วมด้วย โดยจะหย่อนเบ็ดลงไปในน้ำ�จากเรือ ที่ปล่อยลอย เรือที่ถ่วงสมอ หรือเรือที่เคลื่อนที่ ชาวประมง เบ็ดมือจะถือเชือกเอ็นไว้ในมือ และรอให้ปลากินเหยือ ่ หากปลา กินเหยื่อและปลาติดเบ็ดก็จะสาวเชือกเอ็นขึ้นมาด้วยมือ

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 13


© Oscar Siagian / Greenpeace

หลักเกณฑ์การจัดอันดับ ในขณะที่หมวดหมู่และหลักเกณฑ์การจัดอันดับ การดำ�เนินงานของบริษัทต่า งๆ นั้นยังคง เหมือนเดิม ในปีน้ี กรีนพีซได้มค ี วามรัดกุมมากขึน ้ ในเรือ ่ งของหลักฐานพิสจ ู น์ขอ ้ กล่าวอ้าง ในปีทแ่ี ล้ว เรา “ยกประโยชน์ให้จำ�เลย” กับบริษัทหลายแห่ง โดยเชื่ อ ว่ า ตอบคำ � ถามอย่ า งตรงไปตรงมา แต่ ก ลั บ มาพบภายหลั ง ว่ า คำ � ตอบบางข้ อ นัน ้ แท้จริงแล้วไม่ถก ู ต้อง ดังนัน ้ เพือ ่ ให้ค�ำ ตอบ มีความถูกต้องมากขึน ้ ทางกรีนพีซจึงได้รอ ้ งขอ ่ สนับสนุน ให้บริษท ั ต่างๆแสดงเอกสารหลักฐานเพือ ข้อกล่าวอ้างที่บริษัทยกมา ในปี ท่ีผ่า นมาบริ ษัท หลายแห่ ง แสดงความเห็ น ว่ า กระบวนการสำ � รวจและแบบสอบถามนั้ น มี ความสับสนและมีมากเกินไป เพือ ่ จัดการกับความ สับสนเหล่านี้ ในปีนี้ ทางกรีนพีซได้จัดเวิร์คช็อป หลายครัง ้ ในประเทศฟิลป ิ ปินส์ อินโดนีเซีย และไทย เพื่อนำ�เสนอแบบสำ�รวจนี้อีกครั้งโดยชีแ้ จงโดย ละเอียดถึงกระบวนการเป็นขั้นเป็นตอนและยั ง ตอบข้อซักถามทีบ ่ ริษท ั ต่างๆ มี เป็นที่นา่ ยินดีที่ การประชุมทั้งในประเทศฟิลิปปินส์และไทยนั้นมี บริษัทที่สนใจตอบรับเข้าร่วมเป็นอย่างดี © Oscar Siagian / Greenpeace

ดั

งเช่นปีทแ่ี ล้ว กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำ�การติดต่อกับบริษท ั ผูผ ้ ลิตปลาทูนา่ กระป๋อง 12 แบรนด์จากประเทศไทย โรงงานผลิตปลาทูนา่ กระป๋อง 16 แห่งในประเทศอินโดนีเซีย และอีก 9 แห่งหลักๆ ในประเทศฟิลิปปินส์ กรีนพีซได้ ขอให้ บ ริ ษั ท เหล่ า นั้ น เข้ า ร่ ว มการสำ � รวจในปี นี้ ทั้งยังช่วยเหลือบริษัทต่างๆ ให้สามารถตอบ แบบสอบถามได้อย่างถูกต้อง

กรีนพีซได้เชิญให้บริษัทต่ า งๆ เข้าร่วมตอบ แบบสำ�รวจนีโ้ ดยความสมัครใจ ในขณะทีก ่ ฎหมาย ของอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย มิได้บังคับ ให้ บ ริ ษั ท ต้ อ งเข้ า ร่ ว มการตอบแบบสำ � รวจ หรือเปิดเผยข้อมูลบริษัทต่อสาธารณะ กรีนพีซ เชื่อมั่นว่าหากบริษัทยิ่งมีความโปร่งใสมากขึ้น ก็ จ ะนั บ เป็ น ก้ า วแรกสู่ก ารตรวจสอบย้ อ นกลั บ ความยั่งยืน และความเป็นธรรมของห่วงโซ่ อุปทานปลาทูน่า รวมทั้งจะช่วยให้ประชาชน ตั ด สิ น ใจเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ได้ โ ดยอยู่ บ นพื้ น ฐาน ของข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้อง กรีนพีซประเมินการดำ�เนินงานของบริษัทต่างๆ โดยใช้เกณฑ์การประเมิน 7 ประการ ดังนี้:

14 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


1

สามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้

2

ความยั่งยืนของแหล่ง วัตถุดิบ

ปลาทู น่ า นั้ น สามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ตั้งแต่ทะเลถึงชั้นวาง สินค้าหรือไม่? ผู้ตรวจสอบยืนยัน แล้ ว ว่ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม านั้ น ถู ก ต้ อ ง เป็นจริงหรือไม่?

ปลาทู น่ า มาจากแหล่ ง ที่ ส มบู ร ณ์ และไม่ ไ ด้ ทำ � การประมงเกิ น ขนาด ห รื อ ไ ม่ เ ค ย ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ประมงเกินขนาดหรือไม่? ปลาทูนา่ ที่จับมานั้นใช้วิธีการประมงที่ ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร จั บ ติ ด สั ต ว์ น้ำ � ช นิ ด อื่นๆ เช่น ปลาฉลาม เต่า หรือ ลูกปลาทูนา่ (เช่น การใช้เบ็ดตวัด) หรือไม่? หรือปลาทูนา่ ทีจ ่ บ ั มาได้นน ้ั มาจากวิ ธี ป ระมงที่ ไ ม่ แ ยกแยะและ ไม่รับผิดชอบ เช่น การใช้เบ็ดราว หรื อ อวนล้ อ มแบบดั้ ง เดิ ม ที่ ยั ง ใช้ ร่วมกับเครื่องมือล่อปลาหรือไม่?

5

6

นโยบายจัดหาวัตถุดิบ

บริ ษั ท แสดงเจตจำ � นงและมี ก าร กำ�หนดระยะเวลาดำ�เนินการด้ าน ความยั่งยืนหรือไม่?

ความโปร่งใสและการให้ ข้อมูลกับผู้บริโภค

บริษัทแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใส และส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีการเลือก ซื้ อ สิ น ค้ า ที่ อ ยู่ บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้องหรือไม่?

3

ความชอบด้วยกฎหมาย

เรื อ ประมงทู น่ า เข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว ม ในการประมงแบบผิ ด กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) หรือไม่? แบรนด์/โรงงาน ปลาทูน่ามีมาตรการเชิงรุกในการ พิ สู จ น์ ว่ า ไม่ ไ ด้ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ จากเรื อ ประมงหรื อ บริ ษั ท ประมงที่ มี ก าร ทำ�ประมงแบบ IUU ในอดีตหรือไม่?

4

ความเป็นธรรม/ ความรับผิดชอบต่อ สังคม

บริษัทมีการคุ้มครองแรงงานและ ชุ ม ชนในประเทศในขณะที่ ยั ง ทำ � กำ � ไรได้ อ ย่ า งยุ ติ ธ รรมหรื อ ไม่ ? แรงงานที่ใช้นั้นได้รับการปกป้อง จากการกดขี่แรงงานหรือไม่?

7

การขับเคลื่อนให้เกิด การเปลี่ยนแปลง

บริษัทสนับสนุนหรือลงทุนในการ พัฒนาให้มีการประมงที่ยั่งยืนและ เป็นธรรมหรือไม่?

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 15


ผลการจัดอันดับ

แบรนด์ผลิตภัณฑ์

และโรงงานผลิตปลาทูนา่ กระป๋อง ใ

นปีนี้ ไม่มีแบรนด์ผลิตภัณฑ์หรือโรงงานผลิต ปลาทูน่ากระป๋องใดเลยที่สามารถทำ�คะแนน ให้อยู่ในระดับ “ดี” ได้ ซึ่งจำ�เป็นต้องได้คะแนน 70 แต้มหรือมากกว่านั้นจากคะแนนเต็ม 100 บริษัททั้งหมดจัดอยู่ในระดับ “พอใช้” คือคะแนน 40-69 แต้ม ซึ่งบางบริษัทเกือบจะไม่ผ่านเกณฑ์ ส่วนบริษัทอื่นๆ ก็อยู่ในเกณฑ์พอใช้ แต่ก็มีบริษัท ที่พลาดตกจากระดับ “ดี” เพียงไม่กี่แต้มเท่านั้น บริษัทที่ดำ�เนินการดีท่ีสุดในปีน้ีเป็นบริษัทใหม่ที่ เพิ่งเข้าร่วมการจัดอันดับ ได้แก่ บริษัท อินเตอร์ เนชั่นแนล อลิอันซ์ ฟู้ดส์ อินโดนีเซีย ซึ่งใช้วีธี การจับปลาทูน่าท้องแถบด้วยเบ็ดตวัดทั้งหมด 100% ซึง ่ นับว่าเป็นตัวอย่างทีด ่ ใี ห้กบ ั บริษท ั อืน ่ ๆ ในการดำ�เนินการไปสูค ่ วามยัง ่ ยืน เมือ ่ พิจารณา บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุดในหลักเกณฑ์ 7 หมวด บริษท ั นีก ้ ย ็ ง ั ได้คะแนนสูงสุดในหมวด: ความยัง ่ ยืน ิ ของแหล่งวัตถุดบ ิ และนโยบายจัดหาแหล่งวัตถุดบ อีกด้วย บริษัทอลิอันซ์ ซีเล็ค ฟู้ดส์ อินเตอร์ เนชัน ่ แนล ได้คะแนนสูงสุดในหมวดการตรวจสอบ ย้อนกลับ บริษัท สมุทร มันดิรี เซนโตซ่า ได้ คะแนนสูงสุดในหมวดความเป็นธรรม และบริษัท เดโฮ แคนนิ่ง จำ�กัด และบริษัท ชิตรา ราชา อัมพัต แคนนิ่ง จำ�กัด ได้คะแนนสูงสุดในหมวด ความโปร่ ง ใสและการให้ ข้ อ มู ล กั บ ผู้ บ ริ โ ภค ส่วน เทสโก้ โลตัส เป็นบริษัทเดียวที่ผา่ นไม่ตก เ ก ณ ฑ์ ใ น ห ม ว ด ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ใ ห้ เ กิ ด การเปลี่ยนแปลง อันแสดงให้เห็นถึงความไม่ คืบหน้าในกิจกรรมเชิงรุกของบริษัทปลาทูน่าใน ภูมิภาคนี้

การจัดอันดับผลิตภัณฑ์ปลาทูนา่ กระป๋องไทย เป็นการจัดอันดับผลิตภัณฑ์ดว ้ ยคะแนน 1-100 70-100 = ดี

40-69 = พอใช้

0-39 = ต้องปรับปรุง

ไม่เข้าร่วม

หลักเกณฑ์การจัดอันดับ

สามารถ ตรวจสอบ ย้อนกลับได้

ความยั่งยืนของ แหล่งวัตถุดิบ

นโยบายจัดหา วัตถุดิบ

ความชอบ ด้วยกฏหมาย

ความโปร่งใสและ การให้ข้อมูลแก่ ผู้บริโภค

16 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559

ความเป็นธรรม/ ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

การขับเคลื่อน ให้เกิดความ เปลี่ยนแปลง


1 2 2 3 4 5 6 7 8 N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A 1 2 3 4 5 6 N/A N/A N/A 1 2 3 4

อินโดนีเซีย

บริษท ั พีที อินเตอร์เนชัน ่ แนล อลิอน ั ซ์ ฟูด ้ ส์ อินโดนีเซีย บริษท ั เดโฮ แคนนิง ่ บริษท ั พีที ชิตรา ราชา อัมพัต แคนนิง ่ บริษท ั สมุทร มันดิรี เซนโตซ่า บริษท ั ซินาร์ เพียวฟูด ้ ส์ อินเตอร์เนชัน ่ แนล บริษท ั อาร์ดี แปซิฟก ิ อินเตอร์เนชัน ่ แนล บริษท ั อเนกา ทูนา่ อินโดนีเซีย บริษท ั บาหลีมายา เปอร์มย ั ฟูด ้ แคนนิง ่ อินดัสตรี บริษท ั มายา มุนคาร์ บริษท ั เดลต้า แปซิฟก ิ อินโดทูนา่ บริษท ั อวิลา พรีมา่ อินทรา มัคมูร์ บริษท ั บานยูวางี แคนเนอรี่ อินโดนีเซีย บริษท ั คาร์วน ิ น่า ตรีจายา มัคมูร์ บริษท ั จุยฟา อินเตอร์เนชัน ่ แนล ฟูด ้ ส์ บริษท ั พีที มีเดียน ทรอปิคอล แคนนิง ่ บริษท ั ซีวี แปซิฟก ิ ฮาร์เวสต์

ฟิลิปปินส์

โอเชียนแคนนิง ่ ซีลเี บส แคนนิง ่ เซ็นจูร่ี ทูนา่ ฟิลเบสท์ แคนนิง ่ อลิอน ั ซ์ ซีเล็ค ฟูด ้ ส์ อินเตอร์เนชัน ่ แนล (ASFII) ซีเทรด แคนนิง ่ ซีดโี อ ฟูด ้ สเฟรียร์ เปอร์เม็กซ์ โปรดิวเซอร์ แอนด์ เอ็กพอร์ตเตอร์ คอร์ป บิก ๊ ฟิช ฟูด ้ ส์ คอร์ป

ประเทศไทย

การขับเคลื่อนให้เกิด การเปลี่ยนแปลง

ความโปร่งใสและ การให้ข้อมูลกับผู้บริโภค

นโยบายจัดหาวัตถุดิบ

ความเป็นธรรม/ ความรับผิดชอบต่อสังคม

ความชอบด้วยกฎหมาย

51.46 44.63 44.09 41.76 41.20 41.06 – – –

คิงส์คท ิ เช่น ผลิตโดย บริษท ั พรีเมียร์ มาร์เก็ตติง ้ จำ�กัด โอเชีย ่ นเวฟและซีเล็ค ซึง ่ เป็นแบรนด์ของ ไทยยูเนีย ่ น ฟูด ้ ส์ (บริษท ั

43.09

ทีซบ ี ี ผลิตโดย บริษท ั ทรอปิคอล แคนนิง ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

ความยั่งยืนของ แหล่งวัตถุดิบ

68.88 62.15 62.15 58.59 51.64 50.43 41.58 33.06 30.47 – – – – – – –

51.99 50.47 47.07

ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต ผลิตโดย ไทยยูเนีย ่ น (บริษท ั ที โฮลดิง ้ จำ�กัด)

สามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้

ผลการจัดอันดับ ปี 2559

อันดับ

ประเทศ

ที โฮลดิง ้ จำ�กัด)

5

โรซ่า โดย บริษท ั ไฮคิวผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด

42.73

6

นอติลส ุ และซีคราวน์ ซึง ่ เป็นผลิตภัณฑ์ของ บริษท ั พัทยาฟูด ้ อิน

41.06

7 8 9 N/A N/A

ดัสตรี จำ�กัด เทสโก้ โลตัส หรือ บริษท ั เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน ่ ซิสเทม จำ�กัด

40.89

เอโร่และเซพแพ็ค แบรนด์ประจำ�ห้างของ บริษท ั สยามแม็คโคร

40.00

จำ�กัด (มหาชน) ซือ ้ กิจการโดย บริษท ั ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) อะยัม ผลิตให้กบ ั ตลาดในประเทศไทยโดย ไทยยูเนีย ่ น บิก ๊ ซี ผลิตโดย ไทยยูเนีย ่ น โฮมเฟรชมาร์ท ผลิตโดย ไทยยูเนีย ่ น

34.88 – –

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 17


รู้จัก

บริษท ั ผลิต

ปลาทูนา่ กระป๋อง ประเทศฟิลิปปินส์ 51.46 C

O

R

P

O

R

A

โอเชียนแคนนิ่ง

T

I

O

N

อ้างว่าใช้ปลาทูน่าท้องแถบและปลาทูน่าครีบเหลืองทั้งหมด 100% โดยไม่ได้ใช้เครื่องมือล่อปลา เพื่อสนับสนุนคำ�กล่าวนี้ ทางบริษัทได้แสดงสัญญาว่าจะไม่ใช้วัตถุดิบที่จับได้โดยใช้ เครื่ อ งมื อ ล่ อ ปลากั บ บริ ษั ท ผู้ ซื้ อ รายหนึ่ ง ที่ อ ยู่ ใ นประเทศ เยอรมัน บริษัทยังแสดงรายชื่อเรือประมง แต่ไม่ได้ระบุประเภท อุปกรณ์การประมง บริษท ั ไม่มเี ว็บไซต์ทางการทีส ่ ามารถเข้าไป หาข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทได้ ทั้งยังจำ�เป็นต้องปรับปรุงเรื่อง ความเป็นธรรม นโยบายการจัดหาวัตถุดิบ ความโปร่งใสและ ข้อมูลสำ�หรับผูบ ้ ริโภค รวมทัง ้ การขับเคลือ ่ นความเปลีย ่ นแปลง นโยบายภายในควรประกาศสูส ่ าธารณะและควรจะเพิม ่ เติมข้อความ เรื่องการคุ้ ม ครองแรงงานและมาตรฐานความยั่ ง ยื น ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการทำ�ประมง ห้ามการล่าหูฉลาม และการ ห้ามการขนถ่ายสัตว์น้ำ�กลางทะเลให้ชัดแจ้ง เราขอแนะนำ�ให้ จัดทำ�เว็บไซต์ของบริษัทเองในอนาคตอันใกล้นี้

18 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


44.63

ซีลีเบส แคนนิ่ง

มี น โยบายที่ ชั ด เจนในส่ ว นของการตรวจสอบย้ อ นกลั บ ทั้งยังได้แสดงเอกสารหลักฐานที่อธิบายถึงระบบพิกัดสินค้า ของโรงงาน พร้อมด้วยรายการสายพันธุแ์ ละวันทีผ ่ ลิตสินค้า แต่เป็นที่น่าเสียดายที่บริษัทไม่ได้ส่งข้อมูลรายชื่อเรือประมง ซึง ่ ถือเป็นส่วนสำ�คัญในระบบตรวจสอบย้อนกลับ แหล่งปลาทูนา่ หลักๆ ของบริษท ั มาจากมหาสมุทรแปซิฟก ิ ตะวันตกและแปซิฟก ิ กลาง โดยมีปลาทูนา่ ท้องแถบเป็นหลัก และปลาทูนา่ ครีบเหลือง บางส่วน (รวมทัง ้ มีหลักฐานว่ามีปลาทูนา่ ตาโตด้วย) น่าเสียดาย ที่ บ ริ ษั ท ใช้ วั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง หมดจากเรื อ ประมงที่ ใ ช้ วิ ธี ก าร ประมงอวนล้อมที่ไม่แยกแยะว่าใช้ร่วมกับเครื่องมือล่อปลา หรือไม่ นอกจากการใช้วต ั ถุดบ ิ ทีไ่ ม่ชด ั เจนแล้ว บริษท ั ยังต้อง สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในนโยบายการจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ปลาทู น่ า พร้อมกับประกาศสู่สาธารณะ รวมทั้งพิจารณาว่าตนเองจะ สามารถเป็นผู้ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมที่ แข็งขันขึ้นกว่านี้ได้อย่างไร

44.09

เซ็นจูรี่ ทูน่า

เป็ น แบรนด์ ป ลาทู น่ า ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มมากที่ สุ ด ในประเทศ ได้แสดงเอกสารสนับสนุนการตรวจสอบย้อนกลับหลังจาก พ้นเส้นตายทีไ่ ด้ยด ื เวลาให้ไปแล้ว เอกสารนีจ ้ ง ึ ไม่สามารถนำ�มา ใ ช้ พิ จ า ร ณ า เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ค ะ แ น น ร ว ม ไ ด้ ในขณะที่เว็บไซต์ของบริษัทมีข้อมูลจำ�นวนมากพอสมควร แต่ไม่ได้ระบุวา่ สถานะของมวลปลาในแหล่งทีจ ่ บ ั มาเป็นอย่างไร บริษัทมีความภูมิใจในแบรนด์พรีเมียมปลาทูน่าครีบเหลืองที่ ตกด้วยเบ็ดมือโดยทำ�งานร่วมกับองค์การกองทุนสัตว์ปา่ โลก สากล (WWF) แต่มป ี ลาทูนา่ ครีบเหลืองเพียงร้อยละ 1 เท่านั้นที่ ตกด้วยวิธีนี้ สำ�หรับข้อที่น่ายกย่องก็คือเป็นแบรนด์เดียวใน ประเทศฟิลิปปินส์ที่ระบุสายพันธุ์ปลาทูน่าและวิธีการจับไว้บน ฉลากผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม ด้วยความที่ปลาทูน่าครีบ เหลืองและปลาทูน่าตาโตมีจำ�นวนคิดเป็น 20% ของวัตถุดิบ ทั้งหมด ซึ่งมีความเป็นไปได้สูงที่จะเป็นลูกปลาจำ�นวนมาก ความยั่งยืนของทรัพยากรที่ใช้โดยบริษัทนั้นยังเป็นสิ่งที่น่า สงสัยอยู่ เนื่องจากแท้จริงแล้ว ร้อยละ 90 ของปลาทูน่า ทั้ ง หมดถู ก จั บ ด้ ว ยวิ ธี ทำ � ลายล้ า งอย่ า งอวนล้ อ มพร้อม เครื่องมือล่อปลา บริษัทจำ�เป็นต้องดำ�เนินการปรับเปลี่ยน มาใช้วธิ ก ี ารทีร่ บ ั ผิดชอบมากขึน ้ ในการทำ�การประมง และปรับปรุง ในแง่ ข องความเป็ น ธรรมทางสั ง คมและการขั บ เคลื่ อ น การเปลี่ยนแปลงด้วย

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 19


41.76

ฟิลเบสท์ แคนนิ่ง

เป็นแบรนด์ปลาทูน่ากระป๋องของ บริษัท อาร์ดี คอร์ปอเรชั่น ในประเทศฟิลิปปินส์ ในขณะที่บริษัทอ้างว่าร้อยละ 52 ของ ปลาทูน่ านั้นจับด้วยเทคนิคการทำ�ประมงที่ไม่ใช้เครื่องมือ ล่อปลา และส่วนทีเ่ หลือจับด้วยวิธก ี ารทำ�ประมงอวนล้อมแบบ ธรรมดา บริษท ั ไม่ได้แสดงเอกสารหลักฐานข้อกล่าวอ้างนี้ หรือ แม้แต่รายชื่อเรือประมงที่จับปลามา บริษัทควรจะนำ�นโยบาย จัดหาวัตถุดิบปลาทูน่าที่จริงจังมาใช้ โดยมีเนื้อหาหลักอยู่ที่ ความยัง ่ ยืนและมาตรฐานคุม ้ ครอบแรงงาน ข่าวดีกค ็ อ ื บริษท ั ได้แสดงความสนใจในการเพิ่มผลิตภัณฑ์ของตนที่จับด้วย วิธีการที่ยั่งยืน ซึ่งตอนนี้ก็อยู่ที่การดำ�เนินงานและการเก็บ เอกสารหลักฐานที่เหมาะสม

41.20

อลิอันซ์ ซีเล็ค ฟู้ดส์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ASFII)

ในขณะที่บริษัทนี้เกี่ยวข้องกับ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล อลิอันซ์ ฟู้ด อินโดนีเซีย (PTIAFI) แต่ทั้งสองบริษัทมีความ แตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ในแหล่ ง ที่ ม าของปลาทู น่ า และวิธีการทำ�ประมง นี่เป็นเหตุผลที่คะแนนของ ASFII ต่ำ� กว่าคะแนนของ PTIAFI (66.88) เป็นอย่างมาก นโยบาย ของบริ ษั ท นี้ ร ะบุ ว่ า บริ ษั ท จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ปลาทู น่ า ท้ อ งแถบ ทั้งแบบสดและแช่แข็ง ปลาทูน่าครีบเหลือง และปลาโอลาย แต่ไม่ได้ระบุวา่ จะจัดหาวัตถุดบ ิ ทีม ่ าจากเรือประมงทีใ่ ช้วธ ิ ก ี ารทำ� ประมงทีร่ บ ั ผิดชอบ นโยบายภายในบริษท ั จำ�เป็นต้องปรับปรุง ให้มค ี วามหนักแน่นขึน ้ เป็นอย่างมาก และบริษท ั มีการตอบคำ�ถาม ที่ขัดกันเมื่อถามถึงการขนถ่ายสัตว์น้ำ�กลางทะเล บริษัทยัง ต้ อ งดำ � เนิ น การปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาอี ก กว่ า จะขึ้ น ไปถึ ง ระดั บ เดียวกันกับบริษัทเครือเดียวกันในประเทศอินโดนีเซีย

20 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


41.06

ซีเทรด แคนนิ่ง

เกือบจะตกอันดับในการประเมินครัง ้ นี้ บริษท ั ได้แสดงเอกสาร หลักฐานการตรวจสอบย้อนกลับและการตรวจสอบโดยคนกลาง แต่ในหมวดอื่นๆ นั้นได้คะแนนแย่ม าก บริษัทใช้ปลาทูน่ า ท้องแถบเป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งปลาทูน่าครีบเหลืองบางส่วน จากเรือประมงอวนล้อมร่วมกับเครื่องมือล่อปลาที่ทำ�ลาย ล้าง บริษัทได้อ้างว่ามีนโยบายภายในแต่ไม่ได้แสดงเอกสารให้ กับกรีนพีซ ดังนั้น ข้อกล่าวอ้างหลายประเด็นจึงไม่สามารถ พิสจ ู น์ได้ ทีส ่ �ำ คัญก็คอ ื บริษท ั จะต้องปรับปรุงการดำ�เนินงานใน ทุกๆ ด้านที่ทำ�ได้ ซึ่งยังมีความหวังอยู่บ้างเนื่องจากบริษัท ได้แสดงเจตนารมณ์ในการจัดหาวัตถุดิบปลาทูน่าร้อยละ 30 ของสินค้าจากการทำ�ประมงเบ็ดตวัดภายในระยะเวลา 2 ปี ซึง ่ ทางเรา และมหาสมุทร หวังเป็นอย่างยิง ่ ว่าบริษท ั จะทำ�ตาม เจตนารมณ์นั้น

บริษัทที่ไม่เข้าร่วมการสำ�รวจ – ล้มเหลว บริษัทต่อไปนี้ไม่ได้เข้าร่วมในการสำ�รวจ และมีข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะผ่านทางอินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ อันนำ�ไปสู่ความไม่น่าเชื่อถือ ของการจัดหา วัตถุดิบปลาทูน่าในเรื่องของการตรวจสอบย้อนกลับ ความยั่งยืน และความเป็นธรรมต่อสังคม

บิ๊กฟิช ฟู้ดส์ คอร์ป ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

ซีดีโอ ฟู้ดสเฟรียร์ ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจถึง 2 ปี ซ้อน และตกอันดับในปีนี้

เปอร์เม็กซ์ โปรดิวเซอร์ แอนด์ เอ็กพอร์ตเตอร์ คอร์ป ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 21


ประเทศอินโดนีเซีย 68.88

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล อลิอันซ์ ฟู้ดส์ อินโดนีเซีย

เป็นบริษัทที่ได้คะแนนสูงสุดนำ�หน้าบริษัททั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ และควรได้รับการยกย่องว่าเกือบขึ้นถึงระดับ “ดี” เป็นบริษัทลูกของบริษัท อลิอน ั ซ์ ซีเล็ค อินเตอร์เนชัน ่ แนล ซึง ่ เป็นบริษท ั ของอินโดนีเซียทีม ่ ส ี �ำ นักงานใหญ่ ตั้งอยู่ในประเทศฟิลิปปินส์ จากนโยบายภายในด้านการจัดซื้อปลาทูน่าที่ ออกมาเมือ ่ เดือนกรกฎาคม 2559 ระบุวา่ บริษท ั จะ “ดำ�เนินการไปสูก ่ ารจัดหา วัตถุดบ ิ จากเรือประมงทีจ ่ บ ั ปลาทูนา่ ฝูงอิสระ หรือใช้เครือ ่ งมือล่อปลาหรือซัง ้ ที่ไม่ทำ�ให้สัตว์น้ำ�เข้าไปติด” และบริษัท “จะไม่ใช้วัตถุดิบจากเรืออวนล้อมที่มี การขนส่งสัตว์น�ำ้ กลางทะเล” นโยบายยังระบุอก ี ด้วยว่าจะสนับสนุนการประมง เบ็ดตวัดหากเป็นไปได้ เนื่องจากเป็นทางเลือกที่รับผิดชอบดีกว่าในการทำ� ประมงปลาทูนา่ เป็นที่น่าสนใจว่าบริษัทนี้ดำ�เนินการได้ก้าวไกลกว่านโยบาย ที่ตนตั้งไว้ คือมีการจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่รับผิดชอบที่สุดในเหล่าบรรดา บริษัทที่ทำ�การสำ�รวจในรายงานฉบับนี้ ซึ่งก็คือใช้วัตถุดิบปลาทูน่าที่มา จากการใช้เบ็ดตวัดทั้งหมด 100% จากมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและ แปซิฟก ิ กลาง บริษท ั นีย ้ ง ั คิดค้นการใช้ปลาเหยือ ่ ทีย ่ ง ่ั ยืน ซึง ่ สายพันธุป ์ ลา เหยือ ่ ทีต ่ อ ้ งการมักจะถูกจับหมดแล้วทัว่ โลก ทัง ้ นี้ การดำ�เนินการขัน ้ ต่อไป คือการประกาศนโยบายสูส ่ าธารณะ และทีเ่ ข้มข้นกว่านัน ้ คือการห้ามการล่า หูฉลาม ห้ามการขนถ่ายสัตว์น�ำ้ ในทะเล มีการคุม ้ ครองแรงงานอย่างชัดเจน ้ ทีอ ่ นุรก ั ษ์ทางทะเล อย่างไรก็ตาม และเรียกร้องให้มก ี ารปกป้องและสนับสนุนพืน การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืนในปัจจุบันได้สร้างมาตรฐานให้กับบริษัทอื่น ในภูมิภาคนี้ได้ดำ�เนินตาม

62.51 บริษท ั ชิตรา ราชา อัมพัต แคนนิง ่ และบริษัท เดโฮ แคนนิ่ง

เป็นบริษท ั 2 แห่งภายใต้การบริหารเดียวกัน มีการดำ�เนินการ จัดอยูใ่ นอันดับทีด ่ ใี นปีน้ี การจัดหาวัตถุดบ ิ ในปัจจุบน ั ของบริษท ั มีความรับผิดชอบสูง คือวัตถุดิบปลาทูน่ามาจากการจับ แบบเบ็ดตวัด 100% จากมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและ แปซิฟก ิ กลาง(เกือบทัง ้ หมดเป็นปลาทูนา่ ท้องแถบ)อย่างไรก็ตาม บริษัทนี้ยังมีข้อบกพร่องในเรื่องของความโปร่งใสและการ ประกาศนโยบายจัดหาวัตถุดิบปลาทูน่าให้สาธารณะทราบ ทางบริษัทจำ�เป็นต้องบรรจุกระบวนการจัดหาวัตถุดิบไว้ใน นโยบาย เปิดเผยมากยิ่งขึ้น และสื่อสารกับผู้บริโภคให้ชัดเจน ผ่านทางบรรจุภณ ั ฑ์และเว็บไซต์ทบ ่ี ริษท ั ควรจะมีเป็นของตัวเอง

22 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


58.59

บริษัท สมุทร มันดิรี เซนโตซ่า

เป็นบริษท ั ทีอ ่ ยูใ่ นระดับเดิมในระยะ 2 ปีทท ่ี �ำ การจัดอันดับ บริษท ั ได้นำ�เอกสารที่แสดงเกือบทั้งห่วงโซ่อุปทานมาเป็นหลักฐาน โดยมีรายชือ ่ ของเรือประมง (รวมทัง ้ วิธก ี ารทำ�ประมง) และรายชือ ่ บริษัทผู้ซื้อสินค้าในต่างประเทศ ประมาณร้อยละ 40 ของ วั ต ถุ ดิ บ ป ล า ทู น่ า ม า จ า ก วิ ธี ก า ร ทำ � ประมงที่ ค่ อ นข้ า ง รับผิดชอบ อันได้แก่ เบ็ดตวัด และเบ็ดมือ ในขณะที่บริษัทนี้ กำ�ลังจะกลายเป็นผู้เล่นสำ�คัญที่จะส่งเสริมการเปลีย ่ นแปลง ไปสูค ่ วามยัง ่ ยืนและการตรวจสอบย้อนกลับได้ บริษัทยังจำ�เป็น ต้องแก้ไขปัญหาวัตถุดิบในส่วนที่เหลือทีม ่ าจากการทำ�ประมง อวนล้อมทีใ่ ช้เครือ ่ งมือล่อปลาหรือซัง ้ (FAD) ซึ่งควรจะเดินหน้า ด้ ว ยการประกาศนโยบายสาธารณะที่ มี ม าตรฐานในการ คุ้มครองแรงงานที่เข้มแข็งขึ้น

51.64

บริษท ั ซินาร์ เพียวฟูด ้ ส์ อินเตอร์เนชัน ่ แนล

ใช้วต ั ถุดบ ิ ปลาทูนา่ ท้องแถบและปลาทูนา่ ครีบเหลืองประมาณ ร้อยละ 30 จากเบ็ดตวัด เพื่อเป็นการยืนยัน ทางบริษัทได้ แสดงรายชื่ อ เรื อ ประมงและเครื่ อ งมื อ ประมงที่ จ ดทะเบี ย น อย่างไรก็ตาม ทางบริษัทควรจะมีผู้ตรวจสอบอิสระที่ทำ�การ ตรวจสอบย้อนกลับและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างสมบูรณ์ ซึง ่ ไม่ใช่แค่ความปลอดภัยทางอาหารเท่านัน ้ บริษท ั มีนโนบาย ในการจัดหาวัตถุดิบประกาศต่อสาธารณะ และส่งเสริมให้เรือ ประมงจดทะเบียนเครือ ่ งมือล่อปลา หรือเลิกใช้เครือ ่ งมือล่อปลา ส่วนกรีนพีซสนับสนุนให้บริษัทใช้วัตถุดิบที่มาจากเรือประมง เบ็ดตวัดหรือเรืออวนล้อมที่ไม่ใช้เครื่องมือล่อปลาเท่านั้น

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 23


50.43

บริษัท อาร์ดี แปซิฟิก อินเตอร์เนชั่นแนล

เป็นบริษัทลูกของ อาร์ดี คอร์ปอเรชั่น ซึ่งมีสำ�นักงานใหญ่ อยูท ่ ก ่ี รุงมะนิลา ทางบริษท ั กล่าวอ้างว่าร้อยละ 52 ของวัตถุดบ ิ ปลาทูน่านั้นมาจากเรืออวนล้อมปลาฝูงอิสระ แต่ไม่สามารถ หาหลักฐานทีเ่ พียงพอมาพิสจ ู น์ขอ ้ กล่าวอ้างนัน ้ ได้ เอกสารบาง รายการระบุว่ามีปลาทูน่าที่มาจากวิธีจับแบบเบ็ ด ตวั ด เข้า มา อยู่ในห่วงโซ่อุปทาน แต่ไม่ทราบจำ�นวน บริษท ั ควรจะเลิกใช้ ปลาทูนา่ ตาโตทีค ่ ด ิ เป็นสัดส่วนจำ�นวนน้อย และเปลีย ่ นการใช้ ปลาทูน่าครี บ เหลื อ งที่ คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นจำ � นวนพอสมควร ให้เป็นปลาทูนา่ ท้องแถบแทน บริษท ั ยังระบุวา่ จะออกนโยบายจัดหา วัตถุดบ ิ ปลาทูนา่ ภายในหนึง ่ ปี ซึง ่ กรีนพีซหวังเป็นอย่างยิง ่ ว่า บริษัทจะประกาศนโยบายที่ชัดเจนเข้มแข็งออกมา โดยมีการ ห้ามอย่างชัดเจนไม่ให้ใช้วัตถุดิบที่ม าจากการขนถ่ายสัตว์นำ�้ กลางทะเลและห้ า มการล่ า หู ฉ ลามมี ป ระกาศอย่ า งชั ด แจ้ ง ในการสนับสนุนพื้นที่คุ้มครองทางทะเล รวมทั้งสัญญาว่า จะเปลี่ยนมาใช้วัตถุดิบจากวิธีการประมงที่ยั่งยืนกว่าเดิม

41.58

บริษัท อเนกา ทูน่า อินโดนีเซีย

ทำ�คะแนนได้เฉียดฉิวระดับผ่าน และยังต้องมีการปรับปรุงอีกมาก จุดแข็งของบริษัทคือมีการประกาศนโยบายเรื่องปลาทู น่ า สูส ่ าธารณะและพยายามให้ขอ ้ มูลกับผูซ ้ อ ื้ สินค้า ส่วนด้านอืน ่ ๆ บริษท ั ยังคงไม่คบ ื หน้าในทุกหมวดการประเมิน เช่น บริษัทไม่มี ความยัง ่ ยืนอย่างยิง ่ ทัง ้ ยังไม่มม ี าตรฐานการคุม ้ ครองแรงงาน บริ ษั ท ควรจะมี ค วามโปร่ ง ใสในการตรวจสอบย้ อ นกลั บ ได้ และจัดให้มีการดำ�เนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ และสุดท้าย บริษัทจัดซื้อวัตถุดิบปลาทูน่าจาก หลายแห่ง มีทั้งปลาทูน่าท้องแถบ ปลาทูน่าตาโต ปลาทูน่า ครีบเหลือง และปลาทูนา่ ครีบยาวทีจ ่ บ ั มาจากมหาสมุทรแปซิฟก ิ ตะวันตก และมหาสมุทรอินเดีย ในขณะทีบ ่ ริษท ั จะต้องปรับเปลีย ่ น การจัดหาวัตถุดิบทูน่าจากแหล่งที่มีความสมบูรณ์ม ากกว่านี้ ให้ได้อย่างรวดเร็ว บริษท ั ควรจะได้รบ ั คำ�ชมเชยในการใช้ปลาทูนา่ บางส่วนที่มาจากการทำ�ประมงด้วยเบ็ดตวัด เบ็ดรอก และ เบ็ดมือที่มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นวิธีที่รับผิดชอบมากกว่า ปลาทูน่าส่วนที่เหลือที่มาจากการจับด้วยอวนล้อมร่วมกับ เครื่องมือล่อปลาหรือซั้ง กรีนพีซเรียกร้องให้บริษัทยึดมั่น ใช้วิธีการประมงที่รับผิดชอบเหล่านี้ให้ได้อย่างเต็มที่มากขึ้น รวมทั้งยุติการจับปลาทูน่าตาโตโดยทันที

24 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


33.06

บริษัท บาหลีมายา เปอร์มัย ฟู้ด แคนนิ่ง อินดัสตรี

ไม่ผ่านการประเมินจัดอันดับในปีนี้ เนื่องจากความไม่ยั่งยืน ในการจัดหาแหล่งปลาทูนา่ ในปัจจุบน ั เป็นหลัก บริษท ั ใช้วต ั ถุดบ ิ จากมหาสมุทรอินเดียเท่านัน ้ โดยหลักๆ เป็นปลาทูนา่ ครีบยาว และปลาทูน่าครีบเหลือง ซึ่งเป็นแหล่งประมงที่ไม่อยู่ในสภาพ ที่สมบูรณ์ ในขณะที่บริษัทใช้ปลาทูน่าบางอย่างที่จับด้วยวิธี การประมงอย่างรับผิดชอบ แต่ก็เป็นปริมาณน้อยมากเมื่อ เทียบกับวัตถุดิบจำ�นวนมหาศาลที่จับมาจากวิธีการประมง ทำ�ลายล้าง เช่น เบ็ดราวที่จับปลาทูน่าครีบยาว บริษัทจำ�เป็น ต้องมีนโยบายจัดหาวัตถุดิบปลาทูน่าที่เข้มแข็งและประกาศ สู่สาธารณะ รวมทั้งให้ข้อมูลแก่ลูกค้าว่าปลาทูน่านั้นจับมา จากแหล่งใดให้มากยิ่งขึ้น

30.47

บริษัท มายา มุนคาร์

ไม่ผ่านการประเมินจัดอันดับในปีนี้ บริษท ั ใช้วัตถุดบ ิ ถึงร้อยละ 85 จากมหาสมุทรอินเดียที่มีปลาทูน่าเหลืออยู่น้อย วัตถุดิบ ส่วนที่เหลือมาจากมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกกลาง บริษัท ผลิตปลาทูนา่ ท้องแถบ ปลาทูนา่ ครีบเหลือง ปลาทูนา่ ครีบยาว และปลาโอดำ� โดยอ้างว่าจับปลาทูนา่ ครีบเหลืองและปลาโอดำ� ด้วยวิธีเบ็ดตวัด (ซึ่งถือเป็นวิธีการทำ�ประมงที่รับผิดชอบ) อย่างไรก็ตาม เอกสารทีน ่ �ำ มาพิสจ ู น์เป็นหลักฐานอ้างอิงนัน ้ มี ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ บริษท ั ยังอ้างว่าใช้ปลาทูนา่ ครีบยาว ทีจ ่ บ ั มาด้วยวิธเี บ็ดมือ แต่ไม่สามารถแสดงเอกสารเพือ ่ สนับสนุน การกล่าวอ้างนั้นได้ ทั้งนี้ ทางกรีนพีซยังเห็นว่าบริษัทนี้ มีการพัฒนาขึน ้ ในเกณฑ์กระบวนการติดตามตรวจสอบย้อนกลับ และความยั่งยืน แต่ก็ยังต้องมีการปรับปรุง เมื่อบริษัทยัง ไม่สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินในข้ออื่นๆ ได้ บริษัทก็ยัง จำ�เป็นต้องดำ�เนินการอีกมากเพื่อพัฒนาอันดับของตน

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 25


โรงงานผลิตปลากระป๋องที่ไม่เข้าร่วมการจัดอันดับ – ล้มเหลว บริษัทต่อไปนี้ไม่ได้เข้าร่วมในการสำ�รวจ และมีข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะผ่านทางอินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ อันนำ�ไปสู่ความไม่น่าเชื่อถือ ของการจัดหา วัตถุดิบปลาทูน่าในเรื่องของการตรวจสอบย้อนกลับ ความยั่งยืน และความเป็นธรรมต่อสังคม

บริษัท เดลต้า แปซิฟิก อินโดทูน่า

บริษัท อวิลา พรีม่า อินทรา มัคมูร์

บริษัท บานยู วางี แคนเนอรี่ อินโดนีเซีย

บริษัท คาร์วิน น่า ตรีจายา มัคมูร์

เข้าร่วมในการสำ�รวจในปีที่แล้ว แต่ไม่ได้เข้าร่วมและตกอันดับในปีนี้

ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

บริษัท จุยฟา อินเตอร์ บริษท ั พีที มีเดียน เนชั่นแนล ฟู้ดส์ ทรอปิคอล แคนนิง่ เป็นบริษัทอินโดนีเซียที่จัดหา วัตถุดิบให้กับแบรนด์ Chicken of the Sea ของไทยยูเนี่ยนซึ่ง จัดจำ�หน่ายอยู่ในสหรัฐอเมริกา ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้ บริษัท ซีวี แปซิฟิก ฮาร์เวสต์

การจัดอันดับในปีนเ้ี ป็นครัง ้ แรกที่ ได้เชิญบริษท ั พีที มีเดียน ทรอปิ คอล แคนนิง ่ และถือว่าเป็นโอกาสที่ ดีส�ำ หรับบริษท ั ผูผ ้ ลิตทูนา่ แห่งนีจ ้ ะมี ส่วนร่วมในกระบวนการสำ�รวจ แต่ บริษท ั พีที มีเดียน ทรอปิคอล แคน นิง ่ ไม่ได้มก ี ารส่งคำ�ตอบและไม่มี ส่วนร่วมในการจัดลำ�ดับความยัง ่ ยืน ในครัง ้ นี้ และผลคะแนนจึงจัดอยูใ่ น ลำ�ดับล้มเหลวในการจัดอันดับในปีน้ี

บริษัท ซีวี แปซิฟิก ฮาร์เวสต์ ล้มเหลวในการเข้าร่วมการสำ�รวจ ถึง 2 ปีซ้อน และตกอันดับในปีนี้

26 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


ประเทศไทย 51.99

ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต

ผลิตโดย ไทยยูเนี่ยน (บริษัท ที โฮลดิ้ง จำ�กัด) จัดอยู่ในอันดับสูงสุดเมื่อ เทียบกับบริษัทไทยอื่นๆ ที่เข้าร่วมการสำ�รวจในรายงานฉบับนี้ ถึงแม้วา่ จะมีคะแนนโดยรวมทีไ่ ม่มากนัก บริษท ั ได้มก ี ารพัฒนาขึน ้ อย่างรวดเร็วนับตัง ้ แต่ ปีทแ่ี ล้ว และมีคะแนนนำ�แบรนด์ทซ ี บ ี ซ ี ง ่ึ เป็นคูแ่ ข่งสำ�คัญ ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต จัดหาวัตถุดิบปลาทูน่าจากบริษัท ไทย ยูเนี่ยน ฟูดส์ (ทียูเอฟ) แต่ ไ ด้ ค ะแนนสู ง กว่ า ที ยู เ อฟเนื่ อ งจากความมี ม าตรฐานที่ สู ง กว่ า ปีที่แล้ว บริษัทใช้ปลาทูน่าที่จับมาด้วยวิธีประมงทำ�ลายล้าง แต่ในปีนี้ ท็อปส์ ได้นำ�คำ�แนะนำ�ของเราจากรายงานฉบับปีที่แล้วไปใช้ จนบัดนี้ ใช้ วั ต ถุ ดิ บ เฉพาะที่จับ มาจากวิ ธีป ระมงอวนล้ อ มแบบไร้ เ ครื่อ งมื อ ล่ อ ปลา (ปลาโอดำ�จากเรือประมงเวียดนาม) และทางซูเปอร์มาร์เก็ตได้น�ำ ส่งเอกสาร เพื่ อ สนั บ สนุ น ข้ อ กล่ า วอ้ า งวิ ธี ก ารทำ � ประมงที่ รั บ ผิ ด ชอบอย่ า งมากนี้ อย่างไรก็ตาม ก็ยง ั เป็นเพียงการปฏิบต ั ด ิ �ำ เนินงานทีด ่ ใี นปัจจุบน ั แต่ยง ั ไม่มี การบรรจุอยูใ่ นนโยบายของบริษท ั ทางบริษท ั ยังได้น�ำ เสนอรายงานฉบับ ล่าสุดของศูนย์พฒ ั นาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ SEAFDEC ที่ระบุว่ามวลปลาโอดำ�ในมหาสมุทรอินเดียนั้นอยู่ในสภาวะการทำ�ประมง เกินขนาดเพียงใด ในขณะที่มวลปลาทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกนั้นไม่ได้มี การทำ�ประมงเกินขนาด เราได้เรียกร้องให้บริษท ั จัดทำ�นโยบายจัดหาวัตถุดบ ิ ปลาโอดำ�จากแหล่งทำ�ประมงในมหาสมุทรแปซิฟิกเท่านั้น หรือที่ดีกว่านั้น คือใช้ปลาทูนา่ ท้องแถบแทน ท็อปส์ยง ั มีแผนงานทีท ่ ะเยอทะยานซึง ่ จะดำ�เนินการ ให้แล้วเสร็จภายในสิน ้ ปีในการให้ขอ ้ มูลแก่ผบ ้ ู ริโภค การติดฉลาก และความโปร่งใส รวมทัง ้ วางแผนทีจ ่ ะใช้ซเู ปอร์มาร์เก็ตของตนในการสือ ่ สารโดยตรงกับผูบ ้ ริโภค เรื่องผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าของตน อย่างไรก็ตาม บริษัทควรระมัดระวัง ่ กับซัพพลายเออร์ และต้องทำ�ให้มน ่ั ใจว่าปัญหาทีเ่ กิดกับทียเู อฟ เป็นอย่างยิง เมือ ่ เร็วๆ นี้ จะไม่สง ่ ผลกระทบกับผลิตภัณฑ์ทจ ่ี ด ั ซือ ้ โดยท็อปส์ นอกจากนี้ ท็อปส์ยังต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการคุ้มครองแรงงานที่มากขึ้นกว่านี้ และต้ อ งระวั ง เป็ น อย่ า งมากในเรื่ อ งของการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ต่ อ แรงงานในห่วงโซ่อุปทานด้วย

50.47

ทีซีบี

ผลิตโดย บริษัท ทรอปิคอล แคนนิ่ง (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) มีมาตรการตรวจสอบย้อนกลับทีร่ ด ั กุมอยูแ่ ล้ว โดยไม่รบ ั วัตถุดบ ิ ทีม ่ ก ี ารขนถ่ายสัตว์น�ำ้ กลางทะเล และมีนโยบายคุม ้ ครอง แรงงานที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นพื้นฐานที่(เราหวังว่า) จะยังให้เกิด การปฏิรูปในทางที่ดีในอนาคต แต่น่าเสียดายที่บริษัทกลับ ล้มเหลวในเรื่ อ งความยั่ ง ยื น เนื่ อ งจากไม่ มี ก ารใช้ ป ลาทู น่ า ท้องแถบ (มีเพียงปลาทูน่าครีบเหลืองและปลาโอดำ�) ทั้งยังใช้ วัตถุดบ ิ ทีม ่ าจากวิธก ี ารทำ�ประมงทำ�ลายล้างเพียงอย่างเดียว อันได้แก่ อวนล้อมร่วมกับเครือ ่ งมือล่อปลา หากบริษท ั สามารถ แก้ปัญหานี้ได้ และผลักดันให้เกิดการปฏิรป ู ในอุตสาหกรรม บริษท ั มีแนวโน้มที่จะก้าวกระโดดขึ้นอันดับได้ โดยมีข้อแม้ว่าจะ ต้องมีเอกสารหลักฐานพิสูจน์ที่แน่นหนาในด้านนโยบายและ แนวทางปฏิบัติ

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 27


47.07

คิงส์คิทเช่น

ผลิตโดย บริษัท พรีเมียร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด ควรได้รับการ ยกย่องเนื่องจากใช้วัตถุดิบ 100% เป็นปลาทูน่าครีบเหลือง ทีม ่ าจากเบ็ดตวัดซึง ่ เป็นวิธท ี �ำ ประมงทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ในขณะทีป ่ ลาทูนา่ ครีบเหลืองมีมวลปลาในธรรมชาติอยูจ ่ �ำ นวนน้อยกว่าปลาทูนา่ ท้องแถบหลายเท่า หากบริษท ั ตัง ้ ใจทีจ ่ ะใช้วต ั ถุดบ ิ เฉพาะปลาทูนา่ ครีบเหลืองผลิตเป็นปลาทูนา่ กระป๋องและปลาทูนา่ ในซองแล้ว อย่ า งน้ อ ยทางบริ ษั ท ควรที่ จ ะยกเลิ ก ปลาที่ ม าจากมหาสุมทรอินเดียซึ่งกำ�ลังอยู่ในสภาพย่ำ�แย่ แล้วเปลี่ยนมาใช้ ปลาทูน่าที่มาจากมหาสมุทรแปซิฟิกแทน แม้ว่าแบรนด์นี้จะ แสดงให้เห็นว่าใช้ปลาทีม ่ าจากวิธก ี ารทำ�ประมงทีด ่ ี แต่มค ี ะแนน รวมทีไ่ ม่ดน ี ก ั เนือ ่ งจากขาดนโยบายการจัดหาวัตถุดบ ิ ปลาทูนา่ ขาดหลักฐานการตรวจสอบการดำ�เนินงานจากผู้ตรวจสอบ อิสระที่ไม่ใช่รัฐบาล และมีความโปร่งใสต่อผู้บริโภคน้อยมาก

43.09

โอเชี่ยนเวฟและซีเล็ค

เป็นแบรนด์ของ ไทยยูเนี่ยน ฟู้ดส์ (บริษัท ที โฮลดิ้ง จำ�กัด) ได้คะแนนโดย รวมไม่ดน ี ก ั แต่ยง ั ไม่ตกเกณฑ์ บริษท ั ได้ลงทุนในการพัฒนาเว็บไซต์สีสันสดใส ที่ มี ข้ อ มู ล แผนการดำ � เนิ น งานเพื่ อ นำ � ไปสู่ ก ารตรวจสอบย้ อ นกลั บ ได้ รวมทั้งมีเรื่องของความยั่งยืน และการคุ้มครองแรงงาน อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นเพียงแค่แผนดำ�เนินการ ซึ่งยังต้องรอกันต่อไปว่าบริษท ั จะดำ�เนินการในเรื่องเหล่านี้ได้บรรลุตามเป้าหมายหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ทียูเอฟได้ผันตัวเองจากการตกเป็นข่ าวฉาวไปสู่ก ารดำ�เนินงาน อย่างยัง ่ ยืน รวมทัง ้ การปฏิบต ั ต ิ อ ่ ลูกเรือบนเรือประมงทีส ่ ง ่ วัตถุดบ ิ ให้กบ ั ทียเู อฟ และทางเราหวังว่าบริษท ั จะสามารถพลิกโฉมตัวเองได้ในทีส ่ ด ุ ในฐานะทีท ่ ย ี เู อฟ บริษัทผลิตปลาทูน่าที่ใหญ่ที่สุดในโลก การใช้วัตถุดิบปลาทูน่าท้องแถบ ทัง ้ หมด 100% จากเรืออวนล้อมร่วมกับเครื่องมือล่อปลาเพื่อผลิตเป็น สินค้าแบรนด์ของไทยนั้นย่อมถือว่าเป็นปัญหามากขึ้นเนื่องจากวิธีการ ทำ�ประมงเป็นแบบทำ�ลายล้าง ในอดีต ทียเู อฟมีจด ุ ยืนทีค ่ ลุมเครือในเรือ ่ งของ การขนถ่ายสัตว์น้ำ� เนื่องจากเมื่อก่อนอ้างว่าได้ห้ามการขนถ่ายสัตว์น้ำ� กลางทะเลแล้วทั้งหมด 100% แต่ภายหลังพบว่าการห้ามการขนถ่ายนี้ ใช้ กั บ เรื อ ประมงเพี ย งส่ ว นเล็ ก น้ อ ยเ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ฝู ง เ รื อ ทั้ ง ห ม ด ในปีนี้ บริษัทไม่สามารถแสดงหลักฐานที่พิสูจน์ได้ว่ามีผู้สังเกตการณ์ ประจำ�เรือคอยตรวจสอบการขนถ่ายสัตว์น�ำ้ ทัง ้ หมด 100% ตามทีก ่ ล่าวอ้างไว้ ทั้งนี้ บริษัทจะต้องปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติการให้ถ้วนทั่วครอบคลุม ทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง หากต้องการเป็นผู้นำ�ในอุตสาหกรรมในอนาคต

28 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


42.73

โรซ่า โดย บริษัท ไฮคิว ผลิตภัณฑ์อาหาร จำ�กัด

อ้างว่าบริษัทใช้วัตถุดิบปลาโอดำ�ในผลิตภัณฑ์ของตนโดย ไม่ใช้เครือ ่ งมือล่อปลา แต่ไม่มเี อกสารแสดงยืนยันเพือ ่ สนับสนุน ข้อมูลดังกล่าว บริษท ั ควรได้รบ ั การยกย่องในเรือ ่ งการปฏิรป ู นโยบายการจัดหาวัตถุดิบ และการห้ามใช้วัตถุดิบที่มีการ ขนถ่ายสัตว์น้ำ�กลางทะเลอย่างเข้มงวด นอกจากคะแนนที่ ได้ไปหลายคะแนนในหมวดที่เกี่ยวข้องกับด้านกฎหมายแล้ว โรซ่ายังดำ�เนินการหลายอย่างในอีกหลายๆ ด้าน และควรจะ หาเอกสารหลักฐานการทำ�ประมงแบบไม่ใช้เครื่องมือล่อปลา เพื่อให้ได้รับคะแนนเต็มในเรื่องความยั่งยืน

41.06

นอติลุสและซีคราวน์

ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของ บริษัท พัทยาฟู้ด อินดัสตรี จำ�กัด เกือบจะไม่ผา่ นเกณฑ์การจัดอันดับ ปัญหาสำ�คัญที่สุดคือใช้ ปลาทูน่าท้องแถบและปลาทูน่าครีบเหลืองที่มาจากการทำ� ประมงแบบอวนล้อมโดยใช้เครื่องมือล่อปลาที่ทำ�ลายล้าง เพียงอย่างเดียว บริษัทยังไม่สามารถแสดงเอกสารหลักฐาน เพื่อพิสูจน์ความเป็นธรรมต่อสังคม มีการนำ�เสนอเอกสาร ข้อมูลที่ให้กับผู้บริโภคที่ไม่เพียงพอ และไม่สามารถขับเคลื่อน การเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมได้ ถึงกระนั้น บริษัทควร ได้ รั บ การยกย่ อ งในเรื่ อ งการลงประกาศนโยบายเรื่ อ ง ปลาทูน่าในเว็บไซต์ ซึ่งครอบคลุมทั้งสองแบรนด์ อย่างไร ก็ตาม นโยบายของบริษัทไม่ได้หนักแน่นอย่างที่กล่าวอ้างไว้ อีกทั้งบริษัทยังสามารถปรับปรุงแก้ไขนโยบายโดยการแก้ไข ข้อความใหม่ รวมทั้งมีมาตรฐานที่เข้มแข็งมากขึ้น

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 29


40.89

เทสโก้ โลตัส หรือ บริษัท เอก-ชัย ดิสทริบิวชั่น ซิสเทม จำ�กัด

ควรจะได้รบ ั คะแนนทีส ่ ง ู กว่านีห ้ ากบริษท ั แม่ คือ เทสโก้ นำ�เอาการดำ�เนินการ ตามมาตรการที่ ดี เ รื่ อ งปลากระป๋ อ งทู น่ า ของซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ที่ มี ฐ าน ั เทสโก้ โลตัส ในประเทศไทยด้วย เป็นทีน อยูท ่ ป ่ี ระเทศอังกฤษมาใช้กบ ่ า่ เสียดาย ทีบ ่ ริษท ั มีการจัดหาวัตถุดบ ิ ปลาทูนา่ สำ�หรับภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ไม่เป็นทีน ่ า่ พอใจเพือ ่ ขายให้กบ ั ผูบ ้ ริโภคนอกประเทศอังกฤษ และนโยบาย ของเทสโก้ในประเทศอังกฤษก็แตกต่างจาก เทสโก้ โลตัส อีกด้วย บริษัท ซือ ้ วัตถุดบ ิ เพือ ่ ใช้ในการผลิตสินค้าในแบรนด์ของตัวเองจากซัพพลายเออร์ ้ อินดัสตรี จำ�กัด และบริษัท ยูนิคอร์ด หลัก 2 แห่ง คือ บริษท ั พัทยาฟูด จำ�กัด (มหาชน) ซึง ่ คะแนนรวมของบริษท ั 2 แห่งนีม ้ ค ี วามแตกต่างกัน เพียงน้อยนิด โดย บริษัท พัทยาฟู้ด อินดัสตรี จำ�กัด จะจัดหาวัตถุดิบ ปลาทูน่าท้องแถบทั้งหมด 100% จากการทำ�ประมงด้วยวิธีที่ดีกว่า ในขณะที่ บริษัท ยูนิคอร์ด จำ�กัด (มหาชน) ก็ใช้ปลาทูนา่ ท้องแถบ เป็นหลักแต่ยังมีอยู่จำ�นวนหนึ่งที่เป็นปลาทูน่าสายพันธุ์อื่นที่อุดมสมบูรณ์ น้อยกว่า น่าเสียดายที่ซัพพลายเออร์ทั้ง 2 แห่ง ยังส่งสินค้าปลาทูน่า ทีจ ่ บ ั ด้วยวิธอ ี วนล้อมร่วมกับเครือ ่ งล่อปลาให้กบ ั เทสโก้ โลตัส หากจะมีจด ุ เด่น อยู่บ้างสำ�หรับบริษัทนี้ก็คือ เป็นบริษัทแห่งเดียวที่ไม่ตกเกณฑ์ในหมวด “การขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง” ผ่านทางการขับเคลือ ่ นระดับโลก ทีบ ่ ริษท ั แม่ ซึง ่ ก็คอ ื เทสโก้ ได้ด�ำ เนินการไว้

40.00

เอโร่และเซพแพ็ค แบรนด์ประจำ�ห้างของ บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน)

ซื้อกิจการโดย บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)

เกือบจะไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในปีนี้ บริษัทใช้ปลาทูน่า ท้องแถบและปลาทูนา่ ครีบเหลืองทัง ้ หมด 100% ทีม ่ าจาก อวนล้อมร่วมกับเครื่องมือล่อปลาซึ่งเป็นวิธีการทำ�ประมง ที่ทำ�ลายล้าง บริษัทซื้อวัตถุดิบปลาทูน่าจาก บริษัท พัทยา ฟู้ด อินดัสตรี จำ�กัด (ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของบริษัท พัทยาฟูด ้ อินดัสตรี จำ�กัด) แต่ไม่มน ี โยบายการจัดหาวัตถุดบ ิ เป็นของตัวเอง บริษท ั ได้รบ ั คะแนนทีแ่ ย่ในหมวดความเป็นธรรม/ แรงงาน นโยบายการจัดหาวัตถุดบ ิ ความโปร่งใสต่อผูบ ้ ริโภค และการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเ

30 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


34.88

อะยัม

ผลิตให้กบ ั ตลาดในประเทศไทยโดย ไทยยูเนีย ่ น ซึง ่ ไม่ได้เข้าร่วม การสำ�รวจอย่างเต็มที่ และล้มเหลวในการจัดอันดับ แต่กรีนพีซ ก็ยังสามารถรวบรวมข้อมูลสำ�คัญเกี่ยวกับบริษัท โดยได้รับ ข้อมูลที่เพียงพอจากเว็บไซต์บริษัทในเรื่องการจัดหาวัตถุดิบ ปลาทูนา่ และผ่านทางการสัมภาษณ์เจ้าหน้าทีบ ่ ริษท ั ในขณะที่ บริษท ั ยังต้องมีการพัฒนาอีกมากโดยเฉพาะในเรือ ่ งของการ ตรวจสอบย้อนกลับได้ ก็ยังมีสัญญาณบ่งชี้ว่าบริษัทจะมี การฟัฒนาขึน ้ ในเร็ววัน คือจะมีการประกาศนโยบายเกี่ยวกับ ปลาทูน่าในปี 2560

บริษัทที่ไม่เข้าร่วมการสำ�รวจ – ล้มเหลว บริษัทต่อไปนี้ไม่ได้เข้าร่วมในการสำ�รวจ และมีข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะผ่านทางอินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ อันนำ�ไปสู่ความไม่น่าเชื่อถือ ของการจัดหา วัตถุดิบปลาทูน่าในเรื่องของการตรวจสอบย้อนกลับ ความยั่งยืน และความเป็นธรรมต่อสังคม

บิ๊กซี ผลิตโดย ไทยยูเนี่ยน ไม่ได้เข้าร่วมทั้งปีที่แล้วและปีนี้ และตกอันดับทั้ง 2 ปี การที่บริษัทใช้วัตถุดิบจากทียูเอฟนั้นทำ�ให้ อยู่ในสถานะที่นา่ เป็นห่วง

โฮมเฟรชมาร์ท ผลิตโดย ไทยยูเนี่ยน สำ�หรับ โฮมเฟรชมาร์ท ห้างสรรพสินค้า เดอะมอลล์ ไม่ได้เข้าร่วมการสำ�รวจทั้งในปี ที่ผ่านมาและปีนี้ และตกอันดับทั้ง 2 ปี เช่น เดียวกันกับบิ๊กซี การที่บริษัทใช้วัตถุดิบจาก ทียูเอฟนั้นทำ�ให้อยู่ในสถานะที่น่าเป็นห่วง

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 31


ารทำ�ให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจ ว่ า ปลาทู น่ า กระป๋ อ งมี ก าร ผลิตอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมนั้น จะสามารถประสบความสำ � เร็ จ ได้ ก็ ต่ อ เ มื่ อ ไ ด้ ตั้ ง เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ กำ � หนดเวลาที่ ชั ด เจนแล้ ว เท่ า นั้ น อันจะเป็นแนวทางในการดำ�เนินงาน ตามความมุ่งมั่นด้านความยั่งยืน ของบริษท ั การร่างและดำ�เนินตาม นโยบายจั ด หาสิ น ค้ า อาหารทะเล ที่ประสบความสำ�เร็จได้จะเป็นสิ่งที่ ทำ�ได้งา่ ยๆ หากมีการพิจารณาถึง ขั้นตอนต่างๆ ดังนี้:

© Paul Hilton / Greenpeace

ข้อเสนอแนะ

องค์ประกอบหลักของนโยบาย การจัดหาวัตถุดิบปลาทูน่ากระป๋อง ที่เน้นความยั่งยืนและความรับผิดชอบ ต่อสังคม

32 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559

• ปรึ ก ษากั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญหรื อ องค์กรพัฒนาเอกชนพันธมิตร ก่อนร่างและอนุมัตินโยบาย • มีการระบุข้อกำ�หนดการจัดหา วั ต ถุ ดิ บ ที่ ชั ด เจนและละเอี ย ด โดยใช้ ภ าษาที่ มี ก ารกำ � หนด กฎเกณฑ์ • มี ก ารติ ด ต่ อ ซั พ พลายเออร์ ตั ้ ง แต่ ช ่ ว งแรก และบั ง คั บ ใช้ สัญญาใหม่และสัญญาที่มีอยู่ ทั้งหมด โดยให้มีการส่งมอบ เ ฉ พ า ะ ป ล า ทู น่ า ที่ ต ร ง ต า ม นโยบาย • ประกาศนโยบายหลักสูส ่ าธารณะ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต • ฝึ ก อ บ ร ม เ จ้ า ห น้ า ที่ ใ ห้ รู้ จั ก เ นื้ อ ห า แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม นโยบาย • ส่ ง เสริ ม เฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ มาตรฐานตรงตามนโยบาย เท่านั้น • ดำ � เนิ น งานร่ ว มกั บ ซั พ พลายเออร์ อ ยู่ ต ลอดเวลาในการหา ทางเลือกที่ดีกว่า • ดำ�เนินการทบทวนนโยบายและ กระบวนการติดตามตรวจสอบ อยู่เสมอ • มี ก ารตรวจสอบสิ น ค้ า ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ ต รงตามนโยบาย หรือไม่อยู่เสมอ การปรั บ เปลี่ ย นนโยบายและการ ดำ � เนิ น การจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบนั้ น จะ นำ � ไปสู่ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ดี ต่ อ มหาสมุ ท รของเราที่ จำ � เป็ น ต้ อ ง ได้รับการดูแลในเรื่องต่างๆ ซึ่ง ได้ ร วบรวมเอาหั ว ข้ อ สำ � คั ญ ที่ พึ ง นำ � ม า พิ จ า ร ณ า แ ล ะ ไ ม่ ถื อ เ ป็ น รายการข้ อ กำ � หนดการจั ด หา วัตถุดิบที่ครอบคลุมเรื่องทั้งหมด ดังรายการต่อไปนี้


1 ความยั่งยืน •

จัดหาวัตถุดิบจากแหล่งมวล ปลาทู น่ า ที่ มี ก ารจั ด การที่ ดี มีความสมบูรณ์ (ไม่มก ี ารทำ� ประมงเกินขนาด เคยมีการ ทำ�ประมงเกินขนาด หรือมวล ปลากำ�ลังลดลง) จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ จากการทำ � ประมงด้วยวิธีที่ดีที่สุดโดยมี การเลือกจับ และมีผลกระทบ กับสัตว์น�ำ้ อืน ่ ๆ น้อยมากทีส ่ ด ุ (เช่น เบ็ดตวัด เบ็ดรอก)

2 การตรวจสอบย้อนกลับได้ •

ให้แน่ใจว่าปลาทูน่าสามารถ ต ร ว จ ส อ บ ย้ อ น ก ลั บ ไ ด้ ตั้ ง แต่ เ รื อ ประมงไปจนถึ ง ปลากระป๋ อ งที่ ว างขายอยู่ บนชั้นวางสินค้า มี ก ารตรวจสอบประจำ � ปี โ ด ย ผู้ ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น และผู้ ต รวจสอบอิ ส ระที่ เ ป็ น กลาง ณ จุดหลักๆ ในห่วงโซ่อป ุ ทาน ซึง ่ ได้แก่ การสุม ่ ตรวจเรือ ่ งความยัง ่ ยืน และ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ว่ า เป็ น ไปตามข้ อ กำ � หนดที่ บรรจุไว้ในนโยบายของบริษท ั

3 สนับสนุนการปกป้อง มหาสมุทร •

ให้การสนับสนุนอย่างเปิดเผย ในการจั ด ตั้ ง พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ทางทะเล ไม่ใช้ปลาทูน่าที่มาจากพื้นที่ อนุรก ั ษ์ทางทะเล เช่น เขต ท ะ เ ล ห ล ว ง ใ น ม ห า ส มุ ท ร แปซิฟก ิ ตะวันออกและแปซิฟก ิ กลาง พืน ้ ทีอ ่ นุรก ั ษ์ทางทะเล หรือพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ทีป ่ ระกาศจัดตัง ้ แล้ว หรือพืน ้ ที่ ห้ามทำ�ประมง

4 ความเป็นธรรมและความ รับผิดชอบต่อสังคม •

• •

© Paul Hilton / Greenpeace

5

6

ความชอบด้วยกฎหมาย

การขับเคลื่อนให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง

• •

ไม่ใช้วต ั ถุดบ ิ ปลาทูนา่ ทีม ่ ก ี าร ขนถ่ายสัตว์น�ำ้ กลางทะเล ไม่ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ ปลาทู น่ า ที่ ม า จากเรื อ ประมงและ/หรื อ ผู้ ประกอบการที่ติดแบล็คลิสต์ ทีร่ ะบุไว้ในเว็บไซต์ http:// blacklist.greenpeace. org จั ด หาวั ต ถุ ดิบ ปลาทู น่า จาก เรือประมงทีม ่ ผ ี ส ู้ ง ั เกตการณ์ อิ ส ระตรวจสอบอยู่ท้ัง หมด 100%

• •

สนั บ สนุ น โครงการศึ ก ษา วิ จั ย และพั ฒ นาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับการประมงที่ยั่งยืน ทำ�งานร่วมกับภาคี (ซัพพลายเออร์, อุตสาหกรรมประมง, รัฐบาล, องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิจย ั )เพือ ่ พัฒนาการจัดการ และความยั่ ง ยื น ของการ ประมงทีต ่ นเองรับวัตถุดบ ิ มา สนั บ สนุ น การเปลี่ ย นแปลง การบริหารจัดการด้านการ ประมง

7

จั ด ห า วั ต ถุ ดิ บ จ า ก ก า ร ทำ � ป ร ะ ม ง ใ น น่ า น น้ำ � ข อ ง ประเทศตนเองและมี ก าร ดำ�เนินงานแปรรูปในประเทศ ของตนเองหากเป็นไปได้ หากไม่สามารถหาได้ ให้จด ั หา วั ต ถุ ดิ บ จากบริ ษั ท ที่ มั่ น ใจ ว่ า ประเทศที่ ติ ด กั บ ทะเลนั้ น ได้รับค่าตอบแทนทรัพยากร คืนไปในจำ�นวนที่เป็นธรรม ไม่ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ จากบริ ษั ท ใดๆ ก็ ต ามที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ กดขี่แรงงานที่ผิดกฎหมาย ห ลี ก เ ลี่ ย ง บ ริ ษั ท ที่ ไ ม่ สามารถยุ ติ ก ารใช้ แ รงงาน บังคับ แรงงานเด็ก สภาพ การจ้ า งงานที่ กี ด กั น หรื อ ไม่เป็นธรรม โดยอย่างน้อย ที่สุดให้เลือกซื้อวัตถุดิบจาก เรือประมง บริษัท โรงงาน ผลิตปลากระป๋องและแปรรูป สินค้า ที่ดำ�เนินงานโดยใช้ มาตรฐานแรงงานสากล ตามอนุ สั ญ ญาหลั ก ของ องค์ ก ารแรงงานระหว่ า ง ประเทศ (ILO) อนุสัญญา ของ ILO ฉบับที่ 188 ว่า ด้ ว ยงานในภาคการประมง ค.ศ. 2007 กำ � ห น ด ม า ต ร ฐ า น ที่ ซั พ พลายเออร์ ต้ อ งทำ � ตาม ได้ เพื่อให้มั่นใจว่าแรงงานที่ เกี่ ย วข้ อ งในห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน นั้ น ได้ รั บ การคุ้ ม ครองสิ ท ธิ มนุษยชน โดยให้ความสนใจ เป็ น อย่ า งยิ่ ง กั บ แรงงาน ข้ามชาติ

ข้อมูลสำ�หรับผู้บริโภค และการให้ความรู้ •

ติ ด ฉลากบนทุ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยระบุข้อมูลที่สำ�คัญ ได้แก่ แ ห ล่ ง ที่ ม า แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั บ ปลาทูน่า สายพันธุ์ปลาทูน่า และประเทศที่แปรรูปสินค้า จั ด ใ ห้ มี ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม ใ น อิ น เตอร์ เ น็ ต เรื่ อ งสายพั น ธุ์ ปลา ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และ ข้ อ มู ล เ รื่ อ ง ค ว า ม ยั่ ง ยื น ร ว ม ทั้ ง ใ น ร้ า น ค้ า ผ่ า น แผ่นพับโฆษณา และข้อมูล ณ จุดขาย

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 33


อ้างอิง

1.

Pew Charitable Trusts, Netting Billions: A Global Valuation of Tuna (May 2, 2016).

2.

The Pew Charitable Trusts. Netting Billions: A Global Valuation of Tuna in the Western And Central Pacific Ocean. Fact Sheet. (September 23, 2016.) http://www.pewtrusts.org/en/research-and-analysis/fact-sheets/2016/09/nettingbillions-a-valuation-of-tuna-in-the-western-and-central-pacific-ocean

3.

The IUCN Red List of Threatened Species. Version 2016-2. <www.iucnredlist.org>. Downloaded on 21 October 2016. http://www.iucnredlist.org/search

4.

Trade map http://www.trademap.org

5.

Slavery and Labour Abuse in the Fishing Sector: Greenpeace Guidance for the Seafood Industry and Government. Rep. Greenpeace International, 26 Aug. 2014. Web. 03 Aug 2016. <http://www.greenpeace.org/international/en/ publications/Campaign-reports/Oceans-Reports/Slavery-and-Labour-Abuse-in-the-Fishing-Sector/>.

6.

Pirates and Slaves: How Overfishing in Thailand Fuels Human Trafficking and the Plundering of Our Oceans. Rep. Environmental Justice Foundation, 2015, p. 5. Web. 03 Aug 2016. <http://ejfoundation.org/sites/default/files/public/ EJF_Pirates_and_Slaves_2015.pdf>.

7. 8.

Pirates and Slaves, EJF, id, at p. 5. McDowell, Mason, and Mendoza. “AP Investigation: Are Slaves Catching the Fish You Buy?” AP, 24 Mar 2015. Web. 03 Aug 2016. < http://www.pulitzer.org/winners/associated-press>.

9.

“U.S. Calls for Speedy Inquiry into Thai Mass Grave.” Reuters. 4 May 2015. Web. 3 Aug 2016. <http://www.reuters. com/article/2015/05/05/us-thailand-rohingya-trafficking-usa-idUSKBN0NQ00J20150505>.

10.

Olarn, Kocha, and Don Melvin. “Thai Police Find Second Human Trafficking Camp.” CNN. Cable News Network, 6 May 2015. Web. 03 Aug 2016. <http://edition.cnn.com/2015/05/05/world/thailand-human-trafficking-camp/>.

11.

Herman, Steve. “SE Asian Leaders Urged to Rescue Migrants at Sea.” VOA News. Voice of America, 12 May 2015. Web. 03 Aug 2016. <http://www.voanews.com/content/appeals-made-to-southeast-asian-governmonets-torescuestranded-migrants-at-sea/2764268.html>.

12.

“Rohingya Boat Migrants Call out for Help.” BBC News. N.p., 14 May 2015. Web. 03 Aug 2016. <http://www.bbc.com/ news/world-asia-32737146>.

13.

“Thai Fishery Authority Attempts to Cover up Illegal Fishing.” Prachatai English. N.p., 4 Mar. 2015. Web. 03 Aug 2016. <http://www.prachatai.com/english/node/4941>.

14.

Pirates and Slaves, EJF, p. 26.

15.

“30 Percent Illegal Fishing Occurs in Indonesia.” ANTARA News. N.p., 18 July 2014. Web. 03 Aug 2016. <http://www. antaranews.com/en/news/94901/30-percent-illegal-fishing-occurs-in-indonesia>.

16.

Presidential Regulation No. 115/2015 <www.bphn.go.id/data/documents/15pr115.pdf>

17.

Ministry of Marine Affair and Fisheries Ministerial Regulation No. 35/2015 <http://infohukum.kkp.go.id/index.php/ hukum/download/783/?type_id=1>

18.

United States Department of State. Trafficking in Persons Report. N.p., June 2014. Web. 3 Aug 2016. <http://www. state.gov/j/tip/rls/tiprpt/2014/index.htm>.

19.

Gearhart, Judy. “Justice for the Earth and All Its Workers.” Web log post. ILRF. International Labor Rights Forum, 21 Sept. 2014. Web. 18 Oct 2016. <http://www.laborrights.org/blog/201409/justice-earth-and-all-its-workers>.

20.

Slavery and Labour Abuse in the Fishing Sector, Greenpeace International.

21.

Kerry, John. “Remarks at the Release of the 2014 Trafficking in Persons Report.” Washington, DC.

22.

Pirates and Slaves, EJF, supra note 6, at p. 5.

23.

Hodall, Kate, Chris Kelly, and Felicity Lawrence. “Revealed: Asian Slave Labour Producing Prawns for Supermarkets in US, UK.” The Guardian. N.p., 10 June 2014. Web. 03 Aug 2016. <http://www.theguardian.com/globaldevelopment/2014/jun/10/supermarket-prawns-thailand-produced-slave-labour>.

24.

Out of Line: The Failure of the Global Tuna Longline Fisheries. Rep. Greenpeace International, Nov. 2013. Web.3 Aug 2016. <http://www.greenpeace.org/international/Global/international/publications/oceans/2013/459OutOfLineReport-DEF-LR.pdf>

25.

For example, a retailer looking to purchase only pole-and-line tuna would be short-changed if they were to purchase this tuna via a cannery that does not properly segregate its pole-and-line tuna from its longline tuna; the company would have no guarantee of actually receiving the correct product.

26.

Dagorn L, Holland KN, Restrepo V, Moreno G (2012). Is it good or bad to fish with FADs? What are the real impacts of the use of drifting FADs on pelagic marine ecosystems? Fish Fish; 14: 391–415. <https://www.researchgate.net/ publication/232607023_Is_it_good_or_bad_to_fish_with_FADs_What_are_the_real_impacts_of_the_use_of_ drifting_FADs_on_pelagic_marine_ecosystems>

27.

Lawson T (2012). Estimation of the species composition of the catch by purse seiners in the Western and Central Pacific Ocean using grab samples and spill samples collected by observers. Scientific Committee Eighth Regular Session, 7-15 August 2012, Busan, Republic of Korea. WCPFC–SC8–2012 / ST–WP–03 (Rev. 1). Accessed Sept 2012 at: <https://www.wcpfc.int/node/3189>

28.

Filmalter, J.D. et al. 2013. Looking behind the curtain: quantifying massive shark mortality in fish aggregating devices. Frontiers in Ecology and the Environment <http://www.esa.org/esa/documents/2013/08/frontiers-in-ecologyaugust-2013.pdf>

29.

Balderson SD, Martin LEC (2015). Environmental impacts and causation of ‘beached’ Drifting Fish Aggregating Devices around Seychelles Islands: a preliminary report on data collected by Island Conservation Society. IOTC2015-WPEB11-39. <http://www.iotc.org/sites/default/files/documents/2015/09/IOTC-2015-WPEB11-39_-_FAD_ beaching_Seychelles.pdf>

30.

Lawson T (2012), supra note 28.

34 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


© Sanjit Das / Greenpeace

จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559 35


กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศฟิลิปปินส์ ห้อง 201 อาคาร JGS เลขที่ 30 ถนน Scout Tuazon 1103 เมืองเกซอน โทรศัพท์: +63-2-3321807 โทรสาร:+63-2-332-1806 อีเมล: info.ph@greenpeace.org ประเทศอินโดนีเซีย ชั้น 5 อาคาร Mega Plaza Jl. HR. Rasuna Said Kav. C3 คุนิกัน จาการ์ตา 12920 โทรศัพท์: +62-21-5212552 โทรสาร: +62-21-5212553 อีเมล: info.id@greenpeace.org ประเทศไทย 1371 อาคารแคปปิตอล ชั้น G ถนนพหลโยธิน แขวสงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: +66-23571921 โทรสาร: +66-23571929 อีเมล: info.th@greenpeace.org www.greenpeace.org/seasia

G

36 จากทะเลสู่กระป๋อง: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2559


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.