GREENPEACEYOUTH
THAILAND NEWSLETTER AUGUST I SEPTEMBER I OCTOBER I NOVEMBER I DECEMBER
No.3/2014
Executive Editor Content Manager Editorial Consultant Artwork Contributors
Muandao Kongwanarat Vongvarie Ganjanakhundee Dhiramedhist Lueng-Ubon Dhiramedhist Lueng-Ubon Punyapha Visavakornvisisd Chaiyakiat Eamratsameekool Nonthapon Vejpanich Saowanee Pitipakorn Kotchapat Keitkraipob Tiparug Luengchantawong Wadwan Singhapong Prangprao Singhapong Sarita Srichan
Editor’s talk
สวัสดีค่ะทุกคน ห่างหายจากการอัพเดทกันไปนาน newsletter ฉบับนี้เราจึงขอ เป็ น การรวบยอดการอั พ เดทตั้ ง แต่ เ ดื อ นสิ ง หาคมเลยละกั น มี ตั้ ง แต่ เ ทรนนิ่ ง workshop ยันกิจกรรมรณรงค์ต่างๆ อย่างเช่น การปกป้องกระบี่จากถ่านหิน ที่ หลายคนได้มีโอกาสมาช่วยเหลือกันตั้งแต่ต้นปี และกิจกรรม Ice Ride ที่ผ่านมา หลายคนอาจจะไม่ค่อยว่าง ติดเรียน ติดสอบกันบ้างอะไรบ้าง ใครพลาดกิจกรรม ไหนไป ลองมาติดตามอ่านจากประสบการณ์ของเพื่อนๆกันนะจ๊ะ แล้วปีใหม่ของทุกคนก็มาถึง ขอให้ติดตามเพื่อเข้ามาร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะที่เราได้ช่วยวางแผนกันไว้ในค่ายเยาวชนกรีนพีซที่ราชบุรีปลายปีที่แล้ว มาร่วมมือกันทาให้ปีนี้เป็นปีที่ดีกว่าสาหรับเยาวชนกรีนพีซและสิ่งแวดล้อมของเราค่ะ
Page | 1
A PICTURE IS WORTH A THOUSAND WORDS Page | 2
Page | 3
Page | 4
Page | 5
Page | 6
Well
แบ่งปันประสบการณ์ การเข้าร่วมกิจกรรมที่ผ่านมา ของบรรดาเยาวชนกรีนพีซ
DONE! Page | 7
Warm Welcome กองบรรณาธิการ
ในจดหมายข่าวฉบับรวบควบห้าเดือนนี้ คงไม่มอี ะไรพลาดเกินไปกว่าการลืมทีจ่ ะกล่าวออกมาจากส่วนลึกของหัวใจว่า ขอต้อนรับเยาวชนกรีนพีซรุ่น Green Siren และ Greenpeace Save the World ด้ ว ย ค ว า ม ยิ น ดี ยิ่ ง การปฐมนิ เ ทศของรุ่น Green Siren ได้จ ัด ขึ้น ที่ใ นวัน ที่ 23 สิง หาคม 2557 ณ สานักงานกรีนพีซ ตึกแคปปิ ตอล โดยมีผู้เข้าร่วมทัง้ หมด 27 คน ขณะที่รุ่น Greenpeace Save the World ได้เปลี่ย นบรรยากาศไปจัดกิจกรรมกันที่ห อจดหมายเหตุพุ ทธทาส อินทปั ญโญ หรือสวนโมกข์กรุงเทพฯ ในวันที่ 18 ตุลาคมทีผ่ า่ นมา ซึง่ มีผใู้ ห้ความสนใจสมัคร กันเข้ามาอย่างล้นหลามและสุดท้ายเพียง 21 คนผูโ้ ชคดีและมีความตัง้ ใจเท่านัน้ ทีไ่ ด้มาพบ กันในวันดังกล่าว กองบรรณาธิก ารจดหมายข่ า วฯ และกรีน พีซ หวัง เป็ นอย่า งยิ่ง ว่ า ผู้เ ข้า ร่ ว มการ ปฐมนิเทศทุกคนซึ่งกลายเป็ น “เยาวชนกรีนพีซ” อย่างเป็ นทางการจะได้รจู้ กั ทัง้ เพื่อนใหม่ และเข้าใจงานรณรงค์และค่านิยมหลักของกรีนพีซ ตลอดจนมีความพร้อมทีจ่ ะเข้ามามีส่วน ร่วมในกิจกรรมเพื่อสิง่ แวดล้อมของเราอย่างมีความสุข เก็บเกี่ยวประสบการณ์อนั มีค่า ทัง้ มิตรภาพอันน่าจดจาทีง่ อกงามพร้อมความเปลีย่ นแปลงทีด่ กี ว่าในดาวเคราะห์สนี ้าเงินของเรา ด้วยพลังของคนรุ่นใหม่ และสาคัญทีส่ ุดคือการเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ทม่ี หี วั ใจพองโตด้วยความ รักสิง่ แวดล้อมทีบ่ ่มเพาะขึน้ ระหว่างการเป็ นเยาวชนกรีนพีซของเรา
Page | 8
Page | 9
His Experience เปิดประสบการณ์ครัง้ แรกกับการปฐมนิเทศเยาวชนกรีนพีซ
With Chaiyakiat Eamratsameekool ในวันเสาร์สุดเร่าร้อนกลางเดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา เยาวชนจานวนหนึ่งได้เข้ามาร่วมสลายความ เป็ นคนแปลกหน้าระหว่างกัน ร่วมแบ่งปั นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านสิง่ แวดล้อมแบบพอหอมปาก หอมคอกันไป ในโอกาสทีเ่ ราชาวกรีนพีซตัง้ ใจแนะนาเยาวชนกรีนพีซหน้าใหม่ให้รู้จกั งานรณรงค์ของ เรามากยิง่ ขึน้ กับกิจกรรม “ปฐมนิ เทศเยาวกรีนพีซ” ซึ่งจัดเป็ นครัง้ สุดท้ายของปี ท่สี วนโมกข์ กรุงเทพฯ วันนี้เราชวนหนึ่งในเยาวชนกรีนพีซรุ่นล่าสุดมาเสิรฟ์ ความรู้สกึ กรุ่นๆ ประสบการณ์รอ้ นๆ ให้เราได้ฟัง สวัสดีครับ ผม นายชัยเกียรติ เอีย่ มรัศมีกุล ชือ่ เล่น อาชื่อ กาลังเรียนอยู่ชนั ้ ม.6 สายวิทย์-คณิต โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็ นหัวหน้าโครงการสามเสนจิตอาสาเพื่อสังคม ที่หนึ่งในกิจกรรมอย่างหนึ่ง คือ “กิ จกรรม Samsen Saves the World” ที่เน้ นการรณรงค์การอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มี กิจกรรมอบรมแกนนาเยาวชนจิตอาสา อนุ รกั ษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เพราะผมมองว่า เด็กและ เยาวชนเป็ นกาลังสาคัญในการเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ ส่วนก่อนหน้านี้ผมก็รจู้ กั กรีนพีซในฐานะทีเ่ ป็ น องค์กรเกี่ยวกับการรณรงค์ต่อต้านล่าสัตว์ การตัดไม้ทาลายป่ า ลดโลกร้อนธรรมดา แต่กม็ คี วามคิ ดที่ อยากจะเข้าร่วมการรณรงค์อยู่บ้าง โดยไม่เคยรู้เกี่ยวกับวิธกี ารเข้าร่วมหรือดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของ กรีนพีซ และไม่เข้าใจว่าการต่อสู้แบบกรีนพีซจะทาให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลงได้ยงั ไง เพราะไม่เข้าใจ วัตถุประสงค์ทแ่ี สดงออกเท่าไร แต่ พอได้เข้าร่วมการปฐมนิ เทศเยาวชนกรีนพีซแล้วก็ทาให้เข้าใจ กรีนพีซมากขึน้ ทาให้ร้วู ่ากรีนพีซเป็ นองค์กรที่น่าประทับใจในการดาเนิ นกิ จกรรมมากๆ เพราะ แต่ละกิ จกรรมน่ าสนใจ เข้าใจง่าย และสามารถบอกต่ อได้ง่าย ผมได้นาไปใช้ในการบรรยายให้กบั น้องๆระดับชัน้ ม.ต้นในโรงเรียนได้ฟัง ทาให้น้องๆ ตระหนักถึงความเลวร้ายของปั ญหาโลกร้อน ภาวะ เรือนกระจก การล่าสัตว์ ตัดไม้ และอื่นๆ อีกมากมายที่มนุ ษย์ได้สร้างขึน้ มาก หันมาสนใจสิง่ แวดล้อม มากขึ้น ถ้ามีคนเดินมาถามว่ากรีนพีซคืออะไร ผมจะตอบไปว่า “กรีนพีซ คือองค์กรจิตอาสาอนุ รกั ษ์ สิง่ แวดล้อม เพื่อสิง่ แวดล้อม โดยกลุ่มคนธรรมดาๆกลุ่มหนึ่ง ที่สามารถทาให้สงิ่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ได้”
สุดท้ายก็อยากฝากถึงทุกคนที่กาลังตัดสินใจว่าจะเข้าร่วมดีหรือไม่ ก็อยากบอกสัน้ ๆว่า “ไม่ ผิด หวัง” Page | 10
Greenwire With Nonthapon Vejpanich นิสติ ชัน้ ปี ท่ี 1 สาขาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Greenwire คือ ชุมชนออนไลน์ ของกรีนพีซ ทาหน้ าที่ เป็ นสื่ อกลางสาหรับคนที่ สนใจอยากลงมือทาอะไรบางอย่ างเพื่อสิ่งแวดล้อมแล้วเข้ามาริเริ่มงานรณรงค์ของ ตัวเองด้วยการหาแนวร่วมหรืออาสาสมัครมาร่วมงานรณรงค์ของตน ซึ่ งในสหรัฐฯ กรี น ไวร์ก าลัง เติบโตและได้ รบั ความนิ ยมเพิ่ มมากขึ้น อย่ างน่ าสนใจ ส่ ว นกรี น พี ซ ประเทศไทยของเราก็ไม่น้อยหน้ า ได้ริเริ่มโครงการอบรมเพื่อแนะนาให้ ร้จู กั กับกรีน ไวร์นี้ ซึ่งเยาวชนกรีนพีซหลายคนที่ ได้เข้าร่วม Greenwire Workshop ด้วย โอกาสนี้ “เบ๊บ” ส่งความใจดีสละเวลามาแบ่งปันประสบการณ์นัน้ ในจดหมายข่าวฉบับนี้ ด้วย ตอนแรกเลยเรานึกว่า Greenwire คือองค์กรย่อยของ Greenpeace อีกที แต่จริงๆ มันไม่ใช่ เพิง่ รูว้ า่ คืออะไรตอนทีม่ า workshop ว่า Greenwire คือสังคมออนไลน์อย่างหนึ่ง ที่ คล้ายๆ กับ Facebook ทีพ่ วกเราเล่นๆ กัน แต่ Greenwire นัน้ มีไว้สาหรับรวมคนที่ มีใจ เพื่อส่วนรวมเข้าด้วยกัน และแชร์กิจกรรมต่ างๆ ที่ ทาเพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อโลกนัน้ ลง ใน Greenwire ให้คนที่สนใจงานอาสาด้านเดีย วกันมารวมตัวและช่วยกิจกรรมนัน้ ๆ ได้ โดยง่ายและตรงตามทีแ่ ต่ละคนต้องการ อย่างวันทีไ่ ปเข้าร่วม workshop นี้กม็ กี จิ กรรมทีร่ วม คนจากใน Greenwire นี้เอง มาช่วยงานกัน ความพิเศษอีกอย่างของ Greenwire นัน้ ก็คอื สมาชิกสามารถบอกความสามารถพิเศษของตนให้ผอู้ ่นื ทราบ เพื่อให้ง่ายต่อการหาผูท้ ถ่ี นัด งานด้านต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับกิจกรรมทีผ่ จู้ ดั จัดทาขึน้ มา
Page | 11
การ workshop ครัง้ นี้เราได้รว่ มกันระดมสมอง ว่า เราจะจัด ตัง้ โครงการอะไรขึ้น มาดี เราได้ ตัว แทนจากเยาวชนกรี น พี ช มา ซึ่ ง มี ก าร วางโครงการคร่าวๆ ไว้แล้ว เราจึงเลือกจาก หัวข้อที่มอี ยู่มาต่อยอดกัน สรุ ปผลออกมาได้ หัว ข้ อ เกี่ ย วกั บ อาหาร ประมาณว่ า สู ต ร ทาอาหารทีด่ ตี ่อสุขภาพ วิธปี ลูกผักปลอดสาร ไว้ทบ่ี ้าน และยังมีหวั ข้อเกี่ยวกับเศษอาหารที่ เหลือทิง้ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อโลกของเรา และ ในอนาคตข้ อ มู ล เหล่ า นี้ จ ะถู ก เผยแพร่ ใ น Greenwire เพื่อ ให้ส มาชิก ได้ติด ตามสาระ ความรู้นัน้ เอง นี่ ก็เ ป็ น อีก หนึ่งความสามารถ ของ Greenwire ด้วย
จากการ workshop นี้ นอกจากจะได้ ความรู้ ความเข้าใจ และประโยชน์ ของ Greenwire แล้ว เรายังได้เพื่อนเพิ่มขึ้น และรู้จกั การวางแผนงาน การคิด และ การระดมสมองกันมากขึน้ อีกด้วยค่ะ ติดตามและเป็ นส่วนหนึ่งของ Greenwire ได้ท่ี https://greenwire.greenpeace.org/thailand/th
Page | 12
0-100 Renewable energy
workshop With Saowanee Pitipakorn
Page | 13
0-100 Workshop
สวัส ดี ค่ ะ ชื่ อ มะเหมี่ ย วนะคะ ตอนนี้ เ รี ย นอยู่ ที่ วิ ท ยาลัย นานาชาติ มหาวิ ทยาลัยมหิ ดลปี ที่ 2 สาขาสิ่ งแวดล้ อม เหมี่ยวได้มโี อกาสเข้าร่วม กิจกรรมกับกรีนพีซหลายครัง้ และครัง้ ที่ยาวนานที่สุดก็คือโครงการนี้ เลย ค่ะ โครงการ “ศูนย์ถงึ ร้อยพลังงานทดแทน” ที่มพี ี่ธง ธงชัย อมรศรีจิรทร เสียสละมาเป็ นวิทยากรสอนบรรดาอาสาสมัครทีส่ นใจเข้าร่วมโครงการ โครงการนี้จดั ขึน้ โดยมีจุดประสงค์ทจ่ี ะถ่ายทอดความรูเ้ กีย่ วกับพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงาน ลมซึ่งเป็ นพลังงานทางเลือกทีน่ ่าสนใจสาหรับคนไทยทีจ่ ะสามารถนามาใช้ทดแทนพลังงานจากถ่า นหิน และน้ ามันทีก่ าลังจะหมดไปได้ โดยจุดมุ่งหมายของโครงการคือทาให้ผทู้ ่เี ข้าร่วมโครงการมีความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทางานและการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ (Solar cell) และกังหันลม จนสามารถ ประกอบและติดตัง้ ได้จริง และนาความรูไ้ ปเผยแพร่บอกต่อได้ มีผสู้ มัครเข้าโครงการประมาณสิบคน เรา จะเรียนกันทุกวันอาทิตย์ตงั ้ แต่เก้าโมงเช้าถึงสีโ่ มงเย็น สาเหตุทเ่ี หมีย่ วตัดสินใจเข้าร่วมโครงการนี้คงเป็ น เพราะสนใจเกีย่ วกับเรื่องพลังงานหมุนเวียนค่ะ และถ้าเราสามารถพึ่งตนเองในด้านนี้ได้คงจะดีไม่น้ อย พอพึง่ ตนได้แล้วจะได้สอนต่อได้ค่ะ ก่อนการเรียนการสอน พี่ธงจะให้เราอบอุ่นร่างกาย กันก่อนประมาณสิบนาที ช่วงสองสามอาทิตย์แรกพี่ธงจะ เป็ นคนนา หลังจากนัน้ จะมอบให้แต่ละคนไปเตรียมตัวมา เป็ น ผู้น าบ้า งอาทิต ย์ล ะหนึ่ ง คน โดยมีก ารจัด คิว และตัว สารองด้วย การเรียนการสอนเป็ นการเรียนแบบสบายๆ แต่ เนื้อหาแน่นและเป็ นระบบระเบียบขัน้ ตอน สามารถถามและ แลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั ได้ตลอด สิ่ งที่เหมี่ยวชอบมากคือได้ ลงมือปฏิ บตั ิ จริ งๆ เราเริม่ เรียนกันตัง้ แต่การกาเนิดไฟฟ้ า วงจรไฟฟ้ า การคานวณและวัดค่าทางไฟฟ้ าและไฟฟ้ าถูกส่ง มาตามบ้านได้อย่างไร เราได้ทดลองต่ อวงจรไฟฟ้ ากัน จริ งๆ เล่นจริ ง ช็อตจริ ง และ ระเบิ ดจริ ง แต่ เพิ่ งตกใจไป เพราะเป็ นการระเบิ ดและช็อตแบบเบาๆพอให้ตกใจกัน เบาๆเฉยๆค่ะ ส่วนใหญ่ เป็ นการตัง้ ใจทาให้ชอ็ ต เพื่อที่จะ สาธิตให้เห็นจริงๆ เลยว่าถ้าเราทาผิดพลาดแบบนี้ จะเกิด อะไรขึน้ และจะแก้ไขอย่างไร
Page | 14
พี่ธง
“ ” Page | 15
หลังจากที่ เหมี่ยวได้เรียนไปแล้ วระยะหนึ่ งก็ได้ นาความรู้ไปปรับใช้ จริ งๆ ค่ะ ครัง้ หนึ่ง เหมีย่ วกาลังทางานส่งอาจารย์ เผลอไปตัดโดนสายไฟของปื นกาวขาดเป็ นสองท่อนและจาเป็ นต้องใช้ ตอนนัน้ พอดี ตอนนัน้ ร้อนวิชามาก ซ่อมเลยค่ะ ซ่อมทันที ลอกสายไฟออกนิดหน่ อยแล้วก็เชื่อมสายไฟ เข้าด้วยกัน พอลองเสียบปลักดู ๊ ปรากฏว่าไฟดับทัง้ ห้องเลย หาสาเหตุไปมาจึงได้รวู้ า่ เหมีย่ วต่อสายไฟผิด ทาให้ไฟฟ้ าลัดวงจร เลยลองไปดึงเบรกเกอร์ตามที่ได้เรียนมาดู ปรากฏว่าไฟกลับมาเหมือนเดิมค่ะ แถมยังสามารถซ่อมปื น กาวให้ใช้ได้เป็ นปรกติเหมือนเดิม ถ้าเหมี่ยวไม่มคี วามรู้เรื่องนี้ สิง่ ที่ทาได้ใน ตอนนัน้ คงต้องไปหาซื้อปื นกาวใหม่แน่นอนค่ะ หลังจากนัน้ พี่ธงก็สอนเราเรื่องวงจรของโซลาร์เซลล์ การเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้ า สอนวิธีดูว่า เครื่องใช้ไฟฟ้ าแต่ละชนิดต้องการกาลังไฟมากน้อยแค่ไหน เหมาะกับการใช้งานประเภทใด เรายังได้ เรียนการดูบิลค่าไฟ และการคานวณค่าไฟทาอย่างไร หลังจากที่ได้เรียนไป เหมี่ยวก็กลับไปเปลี่ยน หลอดไฟที่ห้องเลยค่ะ ให้เหมาะกับการใช้งานจริงๆ ความรู้พวกนี้เป็ นสิง่ ที่ใกล้ต ัวเรามาก แต่คนส่วน ใหญ่ไม่ค่อยได้ศกึ ษากันมากนัก ซักพักพีธ่ งก็สอนพวกเราบัดกรี พี่ธงไม่ได้ สอนเรื่องไฟฟ้ าอย่างเดี ยวนะคะ พี่ ธ งยัง ฝึ กให้ เ รามี ค วามเป็ นผู้น า เริ่ มตัง้ แต่ น า อบอุ่นร่างกายตอนเช้า ฝึ กการอ่าน การออกเสียง ให้ มี พ ลัง นอกจากนี้ ย งั ฝึ กให้ เ ราไปค้ น คว้ า ด้ ว ย ตนเอง โดยจัดกลุ่มและมอบหมายหัวข้อให้ไปศึกษา ค้น คว้า และน ามาเสนอและสอนให้ก ับ เพื่อ นๆ กลุ่ ม เหมีย่ วได้รบั มอบหมายให้ไปศึกษาเรื่องลม เป้ าหมาย คือให้สามารถกะปริมาณความเร็วลมที่พ ัดมาให้ได้โดย ทีไ่ ม่มเี ครื่องวัดลม ตอนแรกรูส้ กึ ว่ายากมาก แต่พอได้ ลองทากลับสนุกมากค่ะ ทาให้เหมี่ยวรู้สกึ เป็ นครัง้ แรก ว่าได้ทาการทดลองแบบนักวิทยาศาสตร์จริงๆ ต้องไป ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับ การเกิดลม ลมในประเทศไทย เป็ นอย่างไร วิธกี ารวัดลมแบบต่างๆ และไปตามล่าหา ลมค่ะ เดินไปที่ไหนก็พกเครื่องวัดลมไปด้วย ลมพัดก็ วัดทันที เหมีย่ วต้องไปขอยามในมหาวิทยาลัยพาไปบน ดาดฟ้ าของตึก เดินไปตามกรุงเทพ ตามหาลม และ ศึกษาสิง่ รอบข้างขณะทีล่ มพัดเช่น ต้นไม้ และธงบนตึก
Page | 16
และสุดท้ายไปทะเลเลยค่ะ ไปเกาะล้าน พัทยาเพราะทีน่ นมี ั ่ กงั หันลม และ ลมแรงพอควร ไปคนเดียวด้วย เหมือนคนเพีย้ นนิดๆเลยค่ะ เดินไปตามที่ ต่างๆ หอบของพะลุงพะลัง หยุดทันทีทล่ี มมาและชูทว่ี ดั ลมกับธงเป็ นพักๆ ถ่ายวีดโี อ จดบันทึก และพูดกับ ตัวเอง หยุดทีก็หลายนาทีเลยค่ะ คนส่ว น ใหญ่ก็มองด้วยความสงสัยและกลัวนิดๆ บางคนหยุดยืนดูเลย เป็ นการฝึ ก การไม่สนใจใครมากๆ เลยค่ะ พอกลับมานาเสนอ มีการถ่ายวีดีโอที่เรานาเสนอ และให้ทุกคนวิจารณ์การนาเสนอของเรา รวมถึงให้เราวิจารณ์ตวั เองด้วย ให้ทุกคนพูดตรงๆ ไม่โกรธกัน วิจารณ์ตงั ้ แต่เนื้อหาไปจนถึงบุคลิกภาพ เป็ นอะไรทีบ่ บี คัน้ จิตใจมาก แต่เป็ นการฝึกทีด่ มี ากๆค่ะ เป็ นครัง้ แรกทีเ่ หมีย่ วได้เห็นตัวเอง ยอมรับ และรู้ ว่าตัวเองมีขอ้ บกพร่องอย่างไรและจะแก้ไขได้อย่างไร อันนี้ดจี ริงๆ นักเรียนทีม่ าเรียนหลากหลายมากค่ะ ทัง้ ที่ยงั เรียนอยู่ และทางานแล้ว มีลูกครึง่ ด้วยนะ พูดไทยยังไม่ค่อยชัดเลย เป็ นห้ อ งเรี ย นที่ น่ า สนใจมาก การได้ คุ ย กับ คนที่ หลากหลาย มาจากต่ า งที่แ ละต่ า งวัย ท าให้ เ ราได้ เ ปิ ด มุมมองใหม่ๆ ตัวอย่างเช่นน้องๆทีเ่ ป็ นลูกครึง่ เค้าเรียนอยู่ ทีบ่ า้ นเป็ นโฮมสเตย์ เหมีย่ วก็ได้เห็นวิธกี ารจดบันทึกที่เท่ มากๆ ของเด็กๆ คือเป็ นการบันทึกด้วยรูปภาพ เหมี่ยว ยังได้คุยกับแม่ของเด็กๆ หรือแม่โต้งที่ทุกๆ คนเรียกกัน แม่โต้งตอนนี้เป็ นอาจารย์สอนเด็ก ๆ แต่เมื่อก่อนเคยเป็ น นักข่าวค่ ะ แม่ชอบเล่า ประสบการณ์ และมุ มมองการใช้ ชีวติ ให้ฟั งและก็เล่าถึงวิธีการสอนของเด็ก ๆในโรงเรีย น เหมีย่ วยังได้คุยกับพีๆ่ อีกหลายๆคนถึงงานที่ทา ทาให้รู้ เลยว่าชีวติ มีทางเลือกมากมายเหลือเกิน สิง่ ที่ประทับใจ มากๆ อีกอย่างหนึ่งคือพีธ่ ง วิทยากรของเรา เราได้เห็นถึง ความตัง้ ใจทีจ่ ะถ่ายทอดวิชาของพีธ่ งจริงๆ มีบางอาทิตย์ท่ี หลายคนติดธุระ มาไม่ได้ ถึงแม้จะมีมาแค่สามคน แต่ พี่ธงก็ยงั คงมาตรฐานการสอนเดิ ม คือเต็มที่มากๆ
Page | 17
อีกไม่นานก็จะถึงสิ้นปี โครงการนี้กจ็ ะจบลง ถึงแม้ว่าเรา จะยังไม่ได้ลองติดตัง้ พลังงานโซลาร์เซลล์และกังหันลมเพื่อ ผลิตไฟฟ้ ากันจริงๆ เพราะเนื้อหาพืน้ ฐานเราต้องแน่ นมากๆ ก่อน แต่ เราก็ได้วดั สถานที่และเริม่ เตรีย มคิดโครงการกัน แล้ ว เรามัน่ ใจว่ า โครงการนี้ จ ะยัง คงมีต่ อ ไปเพื่ อ ให้ เป้ าหมายของเราส าเร็จลุ ล่ วงและสามารถส่งต่ อให้กบั คน ทัวไปได้ ่ ค่ะ เหมี่ยวรู้สึกโชคดีมากที่ ได้มาร่วมโครงการนี้ เชื่ อ มัย้ คะว่ า พอมาเข้ า โครงการนี้ แล้ ว ท าให้ เ หมี่ ย ว กลับไปตัง้ ใจเรี ยนมากขึ้น เพราะโครงการนี้ ท าให้ ร้วู ่ า สิ่งที่ เคยเรียนมาและกาลังเรียนอยู่สามารถนามาปรับ ใช้ ท าประโยชน์ได้ จ ริ ง ความรู้ ท่ีไ ด้ จ ากโครงการนี้ ก็ สามารถนาไปปรับใช้ได้จริงในชีวติ ประจาวัน นอกจากนี้ยงั ได้พ บปะแลกเปลี่ย นเรีย นรู้ก ับ ผู้ค นหลากหลาย และได้ เพื่อนใหม่เยอะเลยค่ะ ห้องเรียนนี้เป็ นห้องแห่งการเรียนรู้ จริงๆ เพราะฝึ กให้เราได้เรียนรู้ เข้าใจและลงมือปฏิบตั ิกนั จริงๆ ไม่ใช่แค่ท่องจา และทีส่ าคัญ สนุกมากๆ ด้วยค่า
ขอขอบคุณพี่ธงและกรีนพีซที่นาสิ่งดีๆ มาแบ่งปัน ให้กนั นะคะ ขอบคุณมากค่า อ่ า นเรื่อ งราวโครงการ “ศู น ย์ถึง ร้อ ยพลัง งานทดแทน” https://greenwire.greenpeace.org/thailand/th
Page | 18
ได้ท่ี
Page | 19
=
Ice Ride !
CAN (climate
action network)
Page | 20
Ice Ride
Page | 21
ICE RIDE It’s time to take action! With Punyapha Visavakornvisisd
Ice Ride – Ride for Rice Save the Arctic 4 2557
2
4 3
Page | 22
”
Page | 23
4 5
3
8 “CLIMATE
RESPONSIBILITY 1.5 C” 4.30
Page | 24
Page | 25
ทาหอยเปเปอร์มาเช่ เพื่อใช้ในการออกร้านงานเบิกฟ้าอันดามัน กระบี่
With Muandao Kongwanarat ในเวลาเพียงไม่ถงึ หนึ่งอาทิตย์ หลังจากทีท่ งั ้ ร่างกายและจิตใจ ทุ่มเทไปกับการทาป้ ายผ้าขนาด ยักษ์สาหรับงาน Flotilla ทัง้ สองผืนให้เสร็จทันเวลา อีกโจทย์หนึ่งทีจ่ ่อมาอีกติดๆ ก็คอื การเตรียมเกมส์ หอยสาหรับบูธในงานเบิกฟ้ าอันดามันที่ จ. กระบี่ !!! และเมื่อวันที่ 8 - 9 พฤศจิกายน การทาหอย paper Mache เซ็ทแรกและเซ็ทเดียวของกรีนพีซก็ ได้เริม่ ขึน้ จากลวดเส้นเล็กๆ ทีผ่ า่ นการพัน ม้วน ดัด กลายเป็ นโครงหอยเล็กใหญ่ทงั ้ 6 ตัว ขัน้ ตอนสุด แสนเละเทะอันถัดมาก็คือ เอากระดาษหนังสือพิมพ์ท่ฉี ีกเป็ นเส้นมาชุบกาวลาเท็กที่ผสมน้ าแล้ว แล้ว นาไปแปะบนโครงหอยเป็ นชัน้ ๆ ให้ได้หลายๆ ชันจนหอยแข็ ้ งแรงพอทีจ่ ะคงรูปเมื่อถอดโครงออก ซึ่ง ขัน้ ตอนนี้แหละคือขัน้ ตอนที่ทรมานสุดๆ ไหนจะเลอะเทอะแล้วยังต้องรอจนหอยแห้ง กว่าจะเข้าสู่ขนั ้ ตอน สุดท้ายในการลงสีได้ แต่ดว้ ยความสามัคคีของพี่น้องเยาวชนและอาสาสมัครกรีนพีซ เราก็ผ่านมันไป จนได้ เหล่าหอยเดินทางขึน้ รถทัวร์และถึงจุดหมายทีจ่ งั หวัดกระบีโ่ ดยสวัสดิภาพ ไร้รอยขีดข่ว น และทา หน้าที่ในซุ้มเกมส์ตอบคาถาม ดึงดูดให้ผทู้ ่ผี ่านไปมามาร่วม #hugkrabi หรือกอดกระบี่ พร้อมทัง้ ทา หน้าทีเ่ สริม คือเป็ นลานรับเลีย้ งเด็กชัวคราวส ่ าหรับเหล่าแม่คา้ และผูท้ ม่ี าชมงานเบิกฟ้ าอันดามัน
ขอบอกว่าฮอตมากขนาดว่ามีเด็กๆ มาเข้าคิวรอเล่นตัง้ แต่ยงั ไม่ตงั ้ ร้าน และหมกตัวอยู่ที่เกมส์หอยของเราจนปิดร้านเลยนะจ้ะ!!
Page | 26
เพ้นท์ป้ายผ้า สาหรับใช้รณรงค์ปกป้องกระบี่จากถ่านหิน With Tiparug Luengchantawong
“ความรูส้ กึ ทีไ่ ด้ร่วมทา banner ต้องบอกเลยว่าตอนทีท่ ารูส้ กึ ท้าทายเพราะ banner มีขนาดใหญ่มาก แต่กส็ นุ กค่ะ และรู้สึกภูมิใจมากตอนที่ ได้เห็นbanner ออกมา เสร็จสมบูรณ์ ถึงแม้ว่าได้ช่วยระบายสีแค่ 3 ชัวโมง” ่
Page | 27
www.hugkrabi.org Page | 28
Greenpeace Youth Council
&
สภาเยาวชนกรีนพีซ
กับการปฐมนิเทศครั้งสุดท้ายของปี
The Last Orientation of the year
ByDhiramedhist Lueng–Ubon [Bas]
Love at first sight หรือ “รักแรกพบ” เป็ นประสบการณ์ทน่ี ่าจดจาสาหรับผู้ เคยได้สมั ผัส และเป็ นที่ใฝ่ ฝันถึงสาหรับผูซ้ ่งึ ยังไม่เคยเจอกับตัวและหัวใจ แต่ใช่เฉพาะในความรักของหนุ่ มสาวเท่านัน้ ที่ความประทับใจครัง้ แรกมีค่า และความหมายเช่นว่านัน้ แต่ในทุกรูปแบบของความสัมพันธ์ การได้พบ เจอกันแม้ในครัง้ แรกต่างจาเป็ นต้อ งเกิดมีอย่างประณีต ที่สุด ไม่ว่าด้ว ย ความพยายามเตรียมการหรือจังหวะอันบังเอิญลงตัวอย่างน่ามหัศจรรย์ Page | 29
เพือ่ ประสบการณ์ “ครัง้ แรก” ในการพบกันของเยาวชนกรีนพีซหน้าใหม่ทใ่ี ห้ ความสนใจสมัครกันเข้ามา เราชาวสภาเยาวชนกรีนพีซรู้สกึ เป็ นเกียรติอย่างยิง่ ที่ ได้รบั ความไว้วางใจจากพีเ่ กีย้ ว ผูป้ ระสานงานเยาวชนของเรา ทีใ่ ห้เข้าร่วมวางแผน ตระเตรียม กระทังด ่ าเนินการให้ง านปฐมนิเทศครัง้ สุดท้ายของปี น้ี มคี วามแตกต่าง จากทุกครัง้ ทีผ่ ่านมาด้วยการมีส่วนร่วมของเยาวชนอย่างเรา การมีส่วนรวมของเด็กและเยาวชนเป็นหนึ่ งในสิทธิเด็ก ทีไ่ ด้รบั การรับรองไว้ในอนุ สญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิ เด็กนับแต่ปี 1992 หรือ กว่า 22 ปี ท่ผี ่านมา แม้ผู้ใหญ่ทุก คนบนโลกนี้ลว้ นเคยเป็ นเด็ก แต่ความเป็ นเด็กทีป่ ระกอบขึน้ ในบริบทที่แตกต่างออกไปด้วยอิทธิพลของยุ คสมัยทีต่ ่างกัน ย่ อ มไม่อ าจเป็ น เหตุ ถือ อ้ า งให้ผู้ใ หญ่ ปฏิเ สธความคิด อ่ า น จินตนาการตลอดจนเหตุผลของเด็กและเยาวชนได้ เป็ นโชค ดีอย่างที่สุดที่เราสภาเยาวชนได้รบั ความเคารพในสิทธิและ หลักการดังกล่าวจากผู้ใหญ่ใจดีทก่ี รีนพีซ ยังคุณประโยชน์ ทัง้ หลายแก่เราชาวสภาฯ กิจกรรมเยาวชนและงานรณรงค์ ของกรีน พีซ ให้ เ ติบ โตก้า วหน้ า จาก “การเรีย นรู้ร่ ว มกัน ” เพราะนอกจากผูใ้ หญ่จะมีพนั ธกิจทีต่ ้องถ่ายทอดความรูแ้ ละ ประสบการณ์แก่เด็กแล้ว ผูใ้ หญ่ทช่ี าญฉลาดและเคารพหลัก สิทธิมนุ ษยชนย่อมไม่พงึ ละทิ้งโอกาสที่จะเรียนรู้แลกเปลีย่ น กับเด็กและร่วมสร้างความสาเร็จไปด้วยกัน
Page | 30
นับแต่การวางแผนทัง้ ส่ว นเนื้อ หาและกระบวนการในการ ประชุมร่วมระหว่างพีเ่ กีย้ วกับสภาฯ ไปจนถึงขันเตรี ้ ยมอุปกรณ์ กระทัง่ ด าเนิ น กิจ กรรม ความสุข จากการมี ส่ ว นร่ ว มได้ เกิดขึน้ โดยตลอดด้วยเพราะทุกความคิดเห็นของเราได้รบั การรับ ฟังและตอบสนองด้ ว ยความเคารพมิ ใช่ เ พื่ อ เพียงพอเป็ นพิธีเท่ านั น้ หลายข้อเสนอจากสภาเยาวชน ได้นาไปสู่การปฏิบตั ิ จริงเกิดเป็นกิจกรรมปฐมนิเทศที่ จดั ขึ้นในวันที่ 17 ตุลาคม 2557 ที่ ผ่านมา ณ หอจดหมายเหตุ พุ ท ธทาส อิ น ทปั ญโญ หรื อ สวนโมกข์ ก รุ ง เทพฯ แม้ ม ี ข้อบกพร่องบางประการเกิดขึ้น แต่ย่อมเป็ นความผิดพลาดที่ งดงามเพราะเกิดจากการร่วมพิจารณาหารือกันระหว่างเด็กกับ ผูใ้ หญ่ทส่ี บื สายมาแต่ตน้ น้า จึงไม่เป็ นการยากเย็นโดยประการ ทัง้ ปวงทีเ่ ราจะถือเอาเป็ นบทเรียนอันน่ ารื่นรมย์สาหรับทุกคน เพื่อ ให้การปฐมนิเทศครัง้ หน้า (ถ้ามี) ดีกว่าทุกครัง้ ที่ผ่านมา และโดยส่วนตัวผมมีความเชื่อมันเหลื ่ อเกินว่านอกจากสามัคคี คือพลังแล้ว สมการแห่งความร่วมมือที่ถือผลรวมของตัวเลข อายุทแ่ี ตกต่างกันย่อมสร้างค่าความสาเร็จเป็ นจานวนอนันต์อนั น่ าชื่ม ชมอย่ างแน่ น อน มิใช่เ ฉพาะในการปฐมนิเ ทศเท่านัน้ หากแต่หมายความรวมถึงทุกกิจกรรมของกรีนพีซกับเยาวชน ทัง้ ที่ผ่านมาและกาลังปรากฏทัง้ ในอนาคตอัน ใกล้และไกลนี้ ด้วย ธี ร เมธิ ศ ว ร์ เ ป็ นประธานสภาเยาวชนก รี น พี ซ ที่ ก าลั ง เรี ย น ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ จุ ฬ าฯ ท าหน้ า ที่ เ ป็ นที่ ป รึ ก ษา บรรณาธิการสาหรับจดหมายข่าวฉบับนี้ดว้ ย Page | 31
Page | 32
Sensation of volunteerism แบ่งปันความรู้สึกของบรรดาอาสาสมัครจิตใจดี ที่มาร่วมในการจัดปฐมนิเทศครั้งนี้
วา พร่างพราว น้องสาวของพีว่ าดวัน ปี 1 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ กาลังเดินทางไปศึกษาต่อทีฝ่ รังเศสด้ ่ วยทุนรัฐบาลไทย Page | 33
Page | 34
Page | 35
th
The 4 International Rice Congress With Punyapha Visavakornvisisd งาน 4th International Rice Congress ทีจ่ ดั ขึน้ ใน วัน ที่ 27-31 ตุล าคม พ.ศ. 2557 นัน้ เป็ น งานที่ร วม เทคโนโลยี นวัตกรรม ข้อมูลการวิจยั และเทคนิควิธีการ ต่า งๆ เกี่ย วกับ ข้า ว มีก ารประชุ ม การออกร้า นและการ แลกเปลีย่ นความรูใ้ หม่ๆ จากทัวทุ ่ กมุมโลกในงานนี้ดว้ ยค่ะ กรีนพีซได้รว่ มออกร้านในการประชุมครัง้ นี้ดว้ ย ฉันจึงเข้าอาสาร่วมเป็ นทีมงานด้วยค่ะ ซึง่ ครัง้ นี้เป็ นการประสานงานกันระหว่าง กรีน พีซจากประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ซ่งึ เป็ นเจ้าของแคมเปญนี้ และประเทศไทยในฐานะเจ้าบ้าน ใน งานนี้ทางกรีนพีซได้ให้ความรู้ และแนวทางแก่ผทู้ ส่ี นใจ ได้แก่ วิธกี าร MAS หรือ Marker Assisted Selection โดยทีไ่ ม่ใช้การตัดต่อพันธุกรรม (GM) การทาเกษตรแบบ Ecological Agriculture ซึง่ เป็ นการทาเกษตรแบบยังยื ่ น ข้อมูลเกีย่ วข้าวสีทอง (Golden Rice) และแหล่ง อ้างอิงจากการวิจยั ต่างๆ โดยนักวิทยาศาสตร์ และผูเ้ ชี่ยวชาญจากกรีนพีซ (Greenpeace) และอื่นๆอีกมากมาย ทีมงานในบู ธนัน้ มีทงั ้ ทีมงานชาวฟิ ลปิ ปิ นส์ และไทย นักวิทยาศาสตร์ ของกรีนพีซ (Dr Janet Cotter) ฉันได้ช่วยจัด และแจกเอกสาร โบรชัวร์ต่างๆ ให้ข้อมูล ความรู้แ ก่ ผู้ท่ีส นใจ ฉั น ดี ใ จมากที่ ไ ด้ มี โ อกาสได้ เ รี ย นรู้ก ารท างานกับที ม งานจาก ประเทศอื่ น พูด คุย แลกเปลี่ ย นความรู้ และความคิ ด เห็ น กับ ผู้เ ชี่ ย วชาญ ผู้ค น มากมายในงานนี้ ได้รบั ความรู้ใหม่ๆ ที่น่าสนใจ และเป็ นเรื่องรอบตัวเราด้วยเช่นกัน ทา ให้ฉันทราบว่า ช้าวนัน้ มีความสาคัญกับโลก และมนุ ษย์เรามากแค่ไหน ซึ่งเป็ นสิง่ ที่บางคน อาจมองข้า ม แต่ถ้า หากมองลึก ลงไป หรือ ไตร่ต รอง ข้า วนัน้ เป็ น เรื่อ งที่ใ กล้ต วั เรามาก โดยเฉพาะชาวเอเชียอย่างพวกเรา
Page | 36
Page | 37
ที่สุดของความผิดพลาด ถ้าคุณไม่ได้มาจังหวัดราชบุรี ในค่ายเยาวชนกรีนพีซ 2014
และจะพลาดยิง่ กว่าถ้าไม่ได้อ่านเรื่องราวทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ในจดหมายข่าวฉบับนี้ Words by Dhiramedhist Lueng-Ubon Page | 38
บางคนอาจใช้คาว่า ‘น่ าเบื่อ’ เพื่อเป็ นนิยามสาหรับคาว่า ‘ค่าย’ หลายคนอาจใช้คาว่า ‘เหนื่อย’ ‘ร้อน’ หรือ ‘หนาว’ เมื่อให้กล่าวถึงคาเดียวกันนี้ในความรู้สกึ ของแต่ละคน มีอกี ไม่น้อยที่มกั ตื่นเต้นไป กับการตระเตรียมข้าวของนับแต่ค่ายยังไม่เริม่ เพราะพวกเขาใช้คาว่า 'สนุก’ ‘ความสุข’ หรือ ‘ประทับใจ’ เพื่อให้ความหมายกับคาเดิมนี้ และมีอกี มากมายที่ยงั ที่เก็บ รายละเอียดของเรื่องราวที่เกิดขึน้ ไว้ได้ราว กับเพิง่ กลับจากค่ายเมื่อวาน แม้เวลาในความเป็ นจริงนัน้ ผ่านพ้นไปหลายปี สาหรับคุณล่ะค่ายคืออะไร แท้จ ริง แล้ว แต่ ล ะค่ า ยย่ อ มตระเตรีย มอะไรไว้ร อผู้เ ข้า ค่ า ยไม่ เ หมือ นกัน เสีย ทีเ ดีย ว เพื่อ ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการจัดค่ายที่แตกต่างกัน ค่ ายผูล้ ้ภี ยั ย่อมไม่มพี ระอาจารย์ธรรมโชติมา โปรดเหมือนค่ายบางระจัน และค่ายเยาวชนกรีนพีซของเรานัน้ ก็มคี วามประทับใจที่ไม่เหมือนกับค่าย ทัง้ สองทีก่ ล่าวมาอย่างแน่นอน เพราะเรามีเยาวชนกรีนพีซอยู่ในค่ายนัน้ !
ค่ายเยาวชนกรีนพีซ 2014 นี้ จัดขึน้ ณ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า แม่น้ าภาชี จังหวัดราชบุรี ระหว่างวันที่ 27-28 ธันวาคม 2557 ซึ่งอยู่ในช่วงของการเตรียม ฉลองส่งท้ายปี กนั พอดี ซึ่งอาศัยฤกษ์ดวี นั มงคลนี้ จดั ค่ายของเราขึน้ เพื่อการร่วม ทบทวนประเมินกิจกรรมของเยาวชนกรีนพีซทีไ่ ด้ร่วมกันจัดมาตลอดทัง้ ปี และเพื่อ วางแผนในภาพรวมเพื่อเตรียมรับปี 2558 ที่กาลังจะมาถึง นอกจากนี้ยงั มีความ ตัง้ ใจเป็ นพิเศษทีจ่ ะเสริมสร้างความเป็ นทีมระหว่างเยาวชนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมที่ว่า กันว่า ‘สนิทสนม’ กันอยู่แล้ว ให้สนิทกันมากขึน้ เป็ นพิเศษด้วย
Page | 39
ก่อนค่ายจะเริม่ ขึน้ อย่างเป็ นทางการ พีเ่ กีย้ วได้ชวนทุกๆ คนอาสาเข้ามาเพื่อช่วยดาเนินการใน ส่วนต่างๆ ตามความถนัดของแต่ละคน ทัง้ ในส่วนของทีมอาหาร โลจิสติก ถ่ายภาพ ไปจนถึงผูด้ าเนิน รายการพิเศษ ซึ่งทุกคนต่างได้พิสูจน์ เป็ นที่เรียบร้อยไปแล้วว่าความไว้วางใจในความสามารถของ เยาวชนนัน้ ไม่เคยสูญเปล่า กระทังค่ ่ ายเริม่ ขึน้ เมื่อล้อของรถตูท้ ุกคันจากออฟฟิ ศกรีนพีซหมุนไปหยุดส่ง เราโดยสวัสดิภาพที่มะหาดไทธารารีสอร์ท ซึ่งเป็ นสถานที่ท่เี ราใช้ในการทากิจกรรมวันแรกและกาง เต้นท์นอนกันในคืนนัน้ และเพราะเวลามีค่าอย่างยิ่งทุกๆ กิจกรรมที่เตรียมกันมาก็ดาเนินไปอย่าง รวดเร็วจนดูเหมือนว่านาฬิกามาตรฐานสากลคงเดินตามไม่ทนั เราเริม่ กิจกรรมกันด้วยการชวนทุกคนในค่ายมาตอบคาถาม ในรายการ ‘The Weakest link กาจัดจุดอ่อย’ ซึ่ง ‘โอม’ รับหน้าที่ เป็ นพิธีกรแทนคุณกฤตกา คงสมพงษ์ท่ไี ม่สะดวกมาในวันดังกล่าว คาถามในรายการล้วนทาหน้ าที่ปลุกความทรงจาเก่าๆ ที่เยาวชน กรีนพีซของเรามีอยู่เกีย่ วกับกิจกรรรมทีต่ นเคยเข้าร่วมในปี ท่ผี ่านมา ก่อนจบรายการด้วยการส่งจุดอ่อนที่ถูกโหวตไปลงโทษด้วยท่านก หัวขวานเจาะต้นไม้ท่อี อกแบบท่าโดย ‘พี่เนะ’ อาสาสมัครเจ้าเก่าขา ประจ าของกรีน พีซ ตามต่ อ ด้ว ยกิจ กรรมประเมิน และเสนอข้อ ปรับปรุงในภาพรวมผ่านกิจกรรมจาลองสร้างเฟสบุ๊คแฟนเพจของแต่ ละกลุ่มบนกระดาษเพื่อเปิ ดประเด็นทบทวนในสามส่วนหลัก คือ การ ติดต่อประสานงาน เนื้อหางานรณรงค์ของกรีนพีซตลอดจนการมี ส่วนร่วมของเยาวชนในการรณรงค์เหล่านัน้ และการเปิ ดรับสมัค ร และรักษาสถานภาพเยาวชนกรีนพีซ แม้บางคนอาจยังไม่คนุ้ เคยกับ กิจกรรมในลักษณะนี้ แต่ในที่สุดเราก็ได้ขอ้ สรุปเพื่อการพัฒนางาน เยาวชนกรนพีซหลายข้อซึ่งน่าสนใจอย่างมาก และหากมีโอกาสเรา จะนามาเสนอกันในครัง้ ต่อไป Page | 40
ก่อ นปิ ด ท้า ยกิจ กรรมในห้ อ งประชุม ด้ว ยการมองไกลไปในปี 2558 ด้ว ยการทดลองให้ร่ า ง ข้อเสนอกิจกรรมทีแ่ ต่ละกลุ่มอย่างทาพร้อมกับนาเสนอเพื่อรับฟั งข้อวิจารณ์จากกรรมการผูท้ รงคุณวุฒ ิ ทัง้ สามท่าน โดยกิจกรรมเหล่านัน้ จะถูกนามาพิจารณาเพื่อหาทางทาให้เกิดขึน้ จริงในปี น้ี แล้วที่สุดของ กิจกรรมสาหรับวันแรกของเราก็มาถึงเมื่อทุกๆ คนถูกรถตู้ทงั ้ สามคันนามาปล่อยลงที่ปากทางสาหรับ ‘การเดินป่ าตอนกลางคืน’ ทีน่ บั ว่าเป็ นไฮไลท์ของค่ายนี้เลยทีเดียว
คื น นั ้ น เ ร า เ ห็ น อ ะ ไ ร กั น ใ น ป่ า บ้ า ง ? เหมือนกับทุกสิง่ ในโลกนี้ คนเรามองสิง่ เดียวกัน ต่อาจเห็นไม่เหมือนกัน และในป่ า เดียวกันคืน นัน้ บนเส้นทางทีท่ ุกคนย่ารอยเท้าของเพื่อนทีเ่ ดินนาไปก่อน บางคนเลือกทีจ่ ะสนใจมองดาวบนท้องฟ้ า ชนิดทีเ่ รียกได้วา่ ชวนกันแหงนมองทุกๆ สองร้อยเมตร บางคนหยุดเพื่อด้มมองต้นโด่ไม่รลู้ ม้ ซึ่งเหยียบกี่ ครัง้ ก็กลับยังหยัดยืนคืนตรงได้ และอีกหลายมุงดูเห็บลม ลูกอ็อดขยาดมหึมา บ้างว่า สนใจต้นไม้ขนาด ใหญ่แปลกตาทีน่ านๆ โผล่มาให้เห็นทีในเส้นทางแห่งความมืดนัน้ แล้วความเหนื่อยล้าก็พาเราเข้านอน อย่างไม่รรู้ อ้ นหนาวใด แม้ฝนจะโปรยปรายลงมาในคืนนัน้ ก็ตาม
Page | 41
หวังว่าการได้นอนในเต้นท์นานทีปีหนจะช่วยให้หลายๆ คน ได้ เ พิ่ม ประสบการณ์ ใ หม่ ๆ เข้า ไปในความทรงจ าของ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทุกคน สาหรับบางคน คืนดังกล่าวเป็ นคืน แรกในชีวติ ที่ได้ว างร่ างกายของตัวเองไว้ใกล้พ้นื ดินมาก ขนาดนัน้ เพียงถูกคันด้ ่ วยผืนพื้นเต้นท์บางๆ เท่านัน้ และ ไม่ ว่ า จะเป็ น ความทรงจ าที่ดีห รือ ไม่ อ ย่ า งไรก็ต าม แต่ วัตถุประสงค์หลักของการนอนย่อมเป็ นไปเพื่อตื่น ขึน้ ให้สด ชื่นพร้อมรับกิจกรรมในวันใหม่ ซึ่งเป็ นสองกิจกรรมใหญ่ ท่ี ทีมกรีนพีซได้ช่วยกันเตรียมมารอทุกคนอยู่ โดยเริ่มด้วย การนาทุกคนขนร่างกายย้ายไปยืนกันบนรถบรรทุกขนาดหก ล้อของทางเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเพื่อ พาไปปล่อยลงทาโป่ ง เทียมและฝายกัน ก่อ นกลับมาผจญภัยแก้ไขคาสาปช่ว ย น้องหมีจากขัว้ โลกเหนือทีต่ ดิ อวนในการทาประมงเกินขนาด ซึ่งกวาดเอาน้องหมีตดิ มาโผล่ในศูนย์น้ี และนี่คอื จุดเริม่ ต้น กิจกรรมวอล์คแรลลีท่ ม่ี กี ฎกติกาอันท้าทายมากมายระหว่าง หาของที่ซ่อนอยู่ในพื้นที่ดงั กล่าว เช่น การทาเสียงหึ่ง ร้อง โหยหวนแบบชะนีหรือโบกมือด้วยลีลาพลิ้วไหวดุจใบหญ้าลู่ ลมเพื่อแสดงความเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เหล่านี้ค ือความ สนุ ก ที่เตรียมไว้เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ข้อสุดท้ายของ ค่ายนี้ คือ การสร้างความเป็ นทีม แถมท้ายด้วยความสุข จากการได้รบั แจกธัมป์ ไดรฟ์ กรีนพีซไปเป็ นรางวัล ก่อนกลับน้องกริตตี้ได้สวมบทพิธกี รอารมณ์ดชี วนพี่ๆ จาก กรีนพีซและอาสาสมัครมาโฆษณากิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ ชาวค่ายได้ร่วมกันหลังจากจบค่ายนี้ไป ไม่วา่ จะเป็ นการเข้า มามีส่ ว นร่ ว มในการวางแผนงานรณรงค์พ ร้ อ มเยี่ย มชม ออฟฟิ ศหรือการสมัครเป็ นอาสาสมัครของกรีนพีซเมื่ออายุ ล่วงเลยความเป็ นเยาวชนไป แล้ว ปิ ดท้า ยด้ว ยการแสดง ความรูส้ กึ ทีไ่ ด้มาร่วมค่ายสองวันหนึ่งคืนนี้ซ่งึ แน่นอนว่า ทุก คนเลือกทีจ่ ะแสดงความประทับใจแทนการเก็บมันไว้แล้วเล่า ถึงความเหน็ดเหนื่อยออกมา ขณะทีห่ ลายคนเห็นตรงกันว่า เพียงสองวันทีว่ า่ นัน้ เป็ นเวลาทีน่ ้อยเกินไปเสียด้วยซ้า
Page | 42
เมื่อกิจกรรมในค่ายสิ้นสุดลง เราทุกคนช่วยกันขนทัง้ ร่างกายและสิง่ ของขึน้ รถตู้คนั เดิมกลับ มาถึงกรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ ไม่มแี ม้แต่ขยะชิน้ เดียวทีเ่ ราทิง้ ไว้เบือ้ งหลัง ยังแต่รอยเท้าซึ่งไม่นานคง เลือ นลางจางหายไปตามธรรมชาติ แต่ เ ชื่อ แน่ ว่ า เราทุ ก คนต่ า งเก็บ ความทรงจ าไว้เ ป็ น อย่ า งดี เช่นเดียวกับมิตรภาพทีไ่ ด้พบเจอผูค้ นใหม่ๆ หรือคนเดิมๆ ในมุมที่แตกต่างออกไป และเหนือสิง่ อื่นใด คือ ความพร้อมที่จะก้าวต่อไปในกิจกรรมที่รออยู่ เบื้องหน้ าเพราะเราได้มาร่วมกันทบทวนถึงความ บกพร่องในปี ทผ่ี า่ นมาและวางแผนกันเพื่อทาปี 2015 ให้เป็ นปี ท่ดี กี ว่าเดิมแล้วในค่ายแห่งนี้ ค่ายที่เรา ได้มาเจอกัน นอนเต้นท์ขา้ งๆ กัน ทากับข้าว ต่อคิวรอเข้าอาบน้ า และทาอะไรมากมายไปด้วยกัน ซึ่งแม้ เป็ นช่วงเวลาสัน้ ๆ เมื่อเทียบกับเวลาที่เราได้ใช้ไปเพื่อทากิจกรรมร่วมกันในปี ท่ผี ่านมาและจะใช้ต่อไป เพื่อทากิจกรรมในปี หน้า แต่เวลาแค่หนึ่งวินาทีกม็ คี วามหมายมากมายอยู่แล้วไม่ใช่หรือ ?
ขอขอบคุณภาพถ่ายสวยๆ จาก Namezio M Pitt'km และ Naratip Boobpathong
Page | 43
May I say something? Vongvarie Ganjanakhundee Content manager volunteer
อันตัวเราชื่อว่า ฟาน วงศ์วารี กาญจน ขุน ดี ตอนนี้เ รีย นอยู่ปีส อง คณะสิ่ง แวดล้อ ม และทรัพ ยากรศาสตร์ มหาวิท ยาลัย มหิด ล รูจ้ กั กรีนพีชมานาน และได้เข้ามาเป็ นส่วนหนึ่ง ของกรีน พีชจากการปฐมนิเ ทศ เป็ น เยาวชน กรีนพีชรุ่นทีห่ นึ่ง ชื่อรุ่นว่า “Green One” เอา หละแนะนาตัวพอเป็ นพิธีแล้ว มาดูจุดเริม่ ต้น การทางานเป็ น content manager ของเรากัน ว่าเราเข้ามาทาจดหมายข่าวออนไลน์ได้ยงั ไง ในวัน ที่ไม่มอี ะไรทาแบบสุ ดๆ ทัน ใดนัน้ ป๊ อปอัพ แจ้ง เตือ นของเฟสบุ๊ คก็เด้ง ขึ้น มา ‘Greenpeace Youth Thailand ’ วินาทีทเ่ี ห็นในครัง้ แรกคิดว่า ต้องมี workshop อะไรเด็ดๆ แน่เลย ทันใดนัน้ สมองก็สงการให้ ั่ มอื พากดเข้าไปดู ทีข่ อ้ ความแรกสุดของหน้านัน้ ปรากฏเป็ น สเตตัสของพีบ่ าสทีโ่ พสเชิญชวนให้มาลองทาจดหมายข่าวดู เราก็เลยจัดการกดถูกใจพอเป็ น พิธแี ละปล่อยมันผ่านไป ถัดจากนัน้ อีกไม่นานก็มขี อ้ ความแบบเดิมปรากกฎขึน้ มาอีก เราก็ ทาเหมือนเดิม แต่เหมือนว่ามันมีบางอย่างค้างอยู่ในใจ เลยต้องหวนกลับไปอ่านโพสทีว่ ่าอีก 7-8 รอบ ก่อนทีจะลงมือคอมเม้นต์ว่า “สนใจค่ะ” เป็ นพยางค์เพียงสามพยางค์ทต่ี อ้ งใช้เวลา รวบรวมความกล้าอยูน่ านมากในการพิมพ์มนั ต่อมาไม่นานนักพีบ่ าสก็ตดิ ต่อกลับมา เราถูกมอบหมายให้เป็ น content manager and coordinator โดยงานของตาแหน่ งนี้มอี ยู่ว่า ให้เราเขียนงานในบางส่วน ติดต่อและ ติดตามงานของเพื่อนๆผูซ้ ง่ึ จะมาร่วมแชร์ประสบการณ์
Page | 44
ช่วงแรกๆมีปัญหาตรงทีห่ าชือ่ เพือ่ นๆทีต่ อ้ งการติดต่อไม่ เจอ จนสุ ด ท้ า ยต้ อ งแก้ ปั ญ หาโดยการเปิ ดเข้า ไปดู สมาชิกในเฟสกรุ๊ป ‘Greenpeace Youth Thailand ’ ซะ เลย พอได้เฟสมาแล้ว ก็ต่ อด้ว ยปั ญหาเรื่อ งการติดต่ อ (ติดต่อผ่านทางแชทเฟส) บางคนติดต่ อไม่ได้ บางคน อ่านแล้วไม่ตอบ บางคนไม่ว่างจะเขียนให้เลย มันเป็ น ช่วงทีว่ ุ่นวายที่สุด เนื่องจากทุกอย่างมันยังไม่เข้าที่เข้า ทาง ทัง้ แผนงาน ผูป้ ระสานงานซึ่งคือตัวเราเอง ไหนจะ ยังมีงานของคณะ งานสภานักศึกษา อ่านหนังสือสอบ แต่ สุ ด ท้า ย first draft ก็ผ่ า นไปได้ด้ว ยดี พอมาถึง second draft ปั ญหาแบบเดิมก็เกิดขึน้ มาอีก ทางานกับ คนมัน ก็ต้อ งวุ่น วายและมีปัญหาบ้างเป็ น เรื่อ งธรรมดา ถือซะว่าเป็ นการปูทางสู่การทางานในอนาคต ท้ายทีส่ ุด แล้วไม่ว่าจะเกิดปั ญหาอะไรขึน้ เราก็ต้องมีสติพร้อมทีจ่ ะ แก้ไขมันให้ทนั ท่วงทีอยู่ตลอดเวลา พอๆ กับคาว่าสติมา ปั ญญาเกิด สติเตลิดจะเกิดปั ญหานัน้ แหละนะ
สุดท้ายอยากจะบอกว่า มันเป็ นหนึ่ งประสบการณ์การทางาน ที่ควรค่าแก่การเก็บไว้ในความทรงจามาก
Page | 45