คู่มือเพิ่มผัก

Page 1



กินอะไรดี ? นี่เป็นคำ�ถามแสนธรรมดาที่เราถามกันทุกวัน แต่รู้หรือไม่ว่า คำ�ตอบและอาหารที่เราเลือก กินนั้น นอกจากจะสามารถกำ�หนดถึงสุขภาวะที่ดีของเราแล้ว อาหารที่เราเลือกในแต่ละมื้อ แต่ละจานยังมีผลกระทบต่อสุขภาพของโลก และกำ�หนดอนาคตว่าเราจะมีทรัพยากร ที่อุดมสมบูรณ์ให้กับลูกหลานเราได้หรือไม่ เกษตรกรรมเชิงอุตสาหกรรมและอุตสหกรรมปศุสัตว์ถูกจัดว่าเป็นหนึ่งในสาเหตุที่สำ�คัญ ที่สุดที่ทำ�ให้โลกสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพไป ความล้มเหลวในระบบอาหาร ของประเทศไทยเริ่มตั้งแต่กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมการเกษตรและปศุสัตว์ ซึ่งครอบคลุมถึงการทำ�ลายผืนป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง การใช้สารเคมี อันตราย การใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์ มลพิษทางอากาศและน้ำ�เสียที่ปล่อยออกมาจาก สัตว์และฟาร์มสัตว์ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบถึงสุขภาวะของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ระบบอาหารซึ่งรวมถึงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินไปสู่การเพาะปลูก คือต้นเหตุของ 1 ใน 4 ส่วนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอันทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หากเรานิ่งเฉย ภายในปีพ.ศ. 2593 การปล่อยก๊าซจากระบบอาหารจะเป็นมากกว่าครึ่งหนึ่ง ของการปล่อยก๊าซทั้งหมดบนโลกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ คู่มือเล่มนี้ได้รวบรวมพันธุ์พืชผักในประเทศไทยชนิดต่าง ๆ รวมถึงคุณประโยชน์ จากการกินผัก และเคล็ดลับแสนง่ายในการทำ�เกษตรกรรมสไตล์เกษตรอินทรีย์ที่คุณอาจ จะนำ�เอาเป็นไอเดียไปต่อยอดเพิ่มเติมได้ อาหารที่เรากินนั้นคือสิ่งที่ส่งเสริมสุขภาวะของเรา แต่หากเรากินอย่างไม่คำ�นึงถึง แหล่งที่มา และกระบวนการผลิต อาหารแต่ละจานของเราก็อาจทำ�ให้ร่างกายของเรา และสิ่งแวดล้อมเจ็บป่วยได้ “ลดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม เพิ่มสุขภาวะที่ดีของมนุษย์และโลก”


1


2


3


4


5


6


7


8


9

แหล่งที่มา www.greenpeace.org/seasia/th/press/reports/Less-Is-More


10

LESSISMORE.GREENPEACE.ORG


11


12


13


14


15

พืชผักอะไรบ้าง? ที่สามารถนำ�มาทำ�เป็นอาหารไก่ได้


16

อาหารไก่สูตรธรรมชาติโดยใช้ วัตถุดิบจากครัวเรือน และท้องถิ่น

*** สามารถนำ�พืชผักต่าง ๆ ที่เจอในบ้านไม่ว่าจะเป็น ใบถั่ว ใบฝรั่ง ใบหม่อน เศษหญ้า ต่าง ๆ หรือแม้แต่เศษอาหารที่เราเหลือในบ้าน นำ�มาผสมทำ�เป็นอาหาร หรือสามารถให้ไก่โดยไม่ผสมได้อีกด้วย


17

รากกล้วยปรับสภาพดิน


18

หัวเชื้อน้ำ�หมักสับปะรด


19

ปุ๋ยน้ำ�


20

ปุ๋ยแห้ง(สูตรแม่โจ้)

เทอินทรีย์วัตถุสลับมูลสัตว์หรือปุ๋ยคอก จนได้ความสูงกอง ประมาณ 90 เซนติเมตร รดน้ำ�บนกองปุ๋ยทุกวัน ทุกๆ 15 วัน ทั้งหมด 6 ครั้ง เจาะกองปุ๋ยโดยเอาแท่งเหล็กมีรูแทงลงไปในกอง เพื่อเติมอากาศ และน้ำ�เพื่อช่วยในการย่อยสลาย หมักไว้ประมาณ 4 เดือน จึงจะใช้งานได้


21

ปุ๋ยแห้ง

คลุกเคล้าอินทรีย์วัตถุกับมูลสัตว์หรือปุ๋ยคอก โรยรำ� (ถ้ามี) และปุ๋ยน้ำ�ผสมน้ำ� (1/200) คลุกเคล้าให้เข้ากัน แค่พอชื้นๆไม่ต้องแฉะ ปิดคลุมทิ้งไว้ 3 สัปดาห์ กลับกองปุ๋ย ทำ� 3ครั้ง เมื่อครั้งที่ 4 นำ�เข้าพักไว้ในที่ร่ม เพื่อคลายความร้อน

ข้อมูลสูตรอาหารสัตว์และปุ๋ย: ธนฤกษ์ ดำ�รงค์ไทย (บุญอิน มหากุศล) เกษตรกรรม


นึกอะไรได้มาจดตรงนี้...



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.