Saowanun Sirimonthonrat / Architectural And Design Portfolio (2018-2021)

Page 1

PO RT FOLIO ARCHITECTURE AND DESIGN

SAOWANUN SIRIMONTHONRAT


/ PERSONAL INFO /

SAOWANUN SIRIMONTHONRAT 6 January 1998 Nonthaburi , Thailand

Saowanun is a girl who recently graduated from Faculty of Architecture's NewEdge Studio, Rangsit University. She is extremely proud of expressing her architectural concepts through illustration and collage art. Her passion for architecture is frequently inspired by an interest in art theory. And in the future, she wishes to be a designer who continually investigates, examines, and experiments with creations in a variety of fields of design.

instagram

:

pearwith.currentmood

mail

:

saowanun.s59@rsu.ac.th

phone

:

082 772 6377

address

:

hobby

:

109/59 Centro Ratchapruek-Suanpak , Wat Chalo, Bang Kruai, Nonthaburi 11130 ,Thailand

Collage Art, Illustration, Graphic


/ EDUCATION /

0/0

2011 - 2016

2016 - 2021

Nakh onsaw an Scho o l Nakon saw an ,Tha i l and

F a cu l t y of A rchit e ct u re R a n g s it Un ive r s it y P a t hu mt ha n i , T ha il a n d

/ EXPERIENCE / 2018

2020

Con ceptual Couse - N ak robM oo nm an a s

I n t e r n s hip - C H AT a rchit e ct s

2019

2021

A r t Exhi bi ti on “My eve r y day c o l l ag e ” A t Th e Overstay A r t G al l e r y

Aw a rd e d by Toy a rch 2 0 2 1 + THESIS OF THE YEAR 2021 + C R E AT I V E / E X P E R I M E N T

Gr ap h ic Desi gn Tap a d Drama Ran g s i t S i n gap ore Archi te c t u re Tr i p

/ COMPETITION / 2018

We Australi a - Terr a 2021 Toy a rch 2021 T hes is of the year aw ard TOYARC ASIA 2021 T hesis of the yea r aw ard

P u b l ica t ion P roje ct A n d I n t e r v iew s O n Kooz a rch We b s it e Av a il a b l e on N ove mb e r 5 t h

/ SKILL /

MODEL SOFTWARES RHINOCEROS

:

ADVANCE

VRAY FOR RHINO

:

BASIC

GRASSHOPPER

:

INTERMEDIATE

SKETCHUP

:

INTERMEDIATE

AUTOCAD

:

BASIC

ADOBE CREATIVE

/ ARCHITECTURAL COMPETENCE /

PHOTOSHOP

:

EXPERT

ILLUSTRATOR

:

EXPERT

GOOD :

AFTER EFFECT

:

INTERMEDIATE

PREMIER PRO

:

BASIC

MICROSOFT OFFICE

:

ADVANCE

FAIR

:

Illustration Architecture, Graphic For Presentaion, 3D Modeling , Research Model Making


/ CONTENTS /

01

SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER ACAMEDIC / 2021

02

03

MINDFUL WANDERING ACAMEDIC / 2018 1 / 20

THE RESTATEMENT OF ARCH ACAMEDIC / 2019 21 / 28

29 / 44

04

BEHIND THE DOT ACAMEDIC / 2019 45 / 58


0/0

05

06

EXPERIENCE INTERNSHIP / 2020

07

PERSONAL STUDIO RENOVATE / GRAPHIC 59 / 66

MY CHILDHOOD HOME MEMORIES PROJECT 67 / 80

81 / 84

08

HOBBY COLLAGE / ILLUSTRATION 85 / 88



1/2

SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER

THESIS

2021

Venice Biennale 2021 BIENNALE ARCHITETTURA “HOW WILL WE LIVE TOGETHER” 11.05 - 24.11 Venazia / Giardini / Arsenale

Hashim Sarkis

ในยุคสมัยทีม ่ นุษย์ทุกคนต้องเกิดระยะห่างระหว่างกันและกัน หรือความใกล้ชิดทีเ่ ราทุกคนเคยมีอาจเป็นเพี ยง “ภาพลวงตา”

Somewhere we’ll be close together

Saowanun Sirimonthonrat

เป็นสถาปั ตยกรรมชั่วคราวในงาน Venice Biennale Architettura 2021 ภายในโจทย์การออกแบบ “How will we live together” โดยผู้ออกแบบ ได้แรงบันดาลใจในการออกแบบมาจากเทคนิคอะนามอร์โฟซิส ที่ใช้สร้างสถาปั ตยกรรมลวงตาในอดีต ประกอบกับสถานการณ์ในปั จจุบันที่มี การระบาดของไวรัส covid-19 ที่ระยะห่างมีบทบาทสํ าคัญในชีวิตประจําวัน ผู้ออกแบบจึงได้หยิบยกประเด็นการมีระยะห่างระหว่างมนุษย์ มาสร้างเป็นสถาปั ตยกรรมชั่วคราว ที่ทําหน้าที่นําเสนอภาพลวงตาความใกล้ชิดของผู้คน ร่วมกับจัตุรัส san vio ในเมือง venice และองค์ประกอบทางสถาปั ตยกรรม ของอาคารบริเวณจัตุรัสนั้น ผ่านเทคนิคภาพลวงตาอะนามอร์โฟซิสที่จะส่ งผล ต่อการออกแบบให้สถาปั ตยกรรมนี้ที่มีรูปร่างมาจากแนวแกนการมองเห็นของมนุษย์ เพื่อบิดเบือนมุมมองจากความเป็นจริงที่ผู้เยี่ยมชมต้องมีระยะห่างกัน แต่ในสายตาของผู้สังเกตการณ์จะรับรู้ภาพลวงตานีว้ ่า “ผู้คนภายในสถาปั ตยกรรมชั่วคราวนีย ้ ังคงใกล้ชิดกัน” ราวกับว่าไม่มีข้อจํากัดเรือ ่ งระยะห่างทีก ่ ลายมาเป็นความปกติในรูปแบบใหม่ สถาปั ตยกรรมชั่วคราวนีจ ้ ึงมีบทบาทเพิ่ มอีกหนึ่งบทบาท โดยการเป็นทั้ง สถาปั ตยกรรมและงานศิลปะ ทีส ่ ร้างภาพลวงตาของความใกล้ชิดกันของผู้คน เพื่ อปลุกภาพความทรงจําจากความใกล้ชิด ทีเ่ คยมีมาในอดีตให้ได้กลับมาอีกครั้ง


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

ANAMORPHOSIS PERSPECTIVE อะนามอร์โฟซิส คือ การสร้างรูปแบบใหม่ , การบิดเบือนมุมมองในความเป็นจริงเพื่อเกิดมุมมองใหม่ อะนามอร์โฟซิสเป็นเทคนิคที่เน้นมุมมองที่ถูกกําหนดจุดเพื่อการมองเห็นจากสายตาของผู้สังเกตการณ์ และภาพนั้นจะถูกเฉลยเมื่อผู้สังเกตการณ์มีการเคลื่อนไหวออกจากจุดที่ได้กําหนดไว้

Anamorphosis

Real Perspective

Anamorphosis

Real Perspective


3/4

PRINCIPLE

2

1 The Observer Visual 4 3

Anamorphosis Plane

Pictorial Plane

Perspective Plane


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

SITE

Exhibition Area Boat Route Walking Route Town Square

Looking Area

Campo San Vio Exhibition Area

Observer ผู้สังเกตการณ์

Creator

ผู้ที่มาเยี่ยมชมในสถาปั ตยกรรม ชั่วคราว จะทําหน้าที่เป็นส่ วนนึง ในการสร้าง”ภาพลวงตาที่สมบูรณ์”


5/6

STUDY EXISTING EXISTING ACTIVITY “กิจกรรมเดิมของที่ตั้งในการจัดแสดงงานสถาปั ตยกรรมชั่วคราว เป็นกิจกรรมสาธารณะทั้งหมด โดยตลอดทั้งวันจะถูกใช้งานเป็นทางสั ญจร เพื่อเดินทางไปยังท่าเรือที่อยู่ด้านหน้าของจัตุรัส และในช่วงเวลาบ่ายถึงเย็นพื้นที่ของจัตุรัสนี้จะถูกใช้งานเป็นที่นั่งชมวิวสํ าหรับนักท่องเที่ยว”

Walking Waiting for the boat

Sitting

STUDY EXISTING PERCEPTION

Campo San Vio

“ ศึ กษาสิ่ งที่มีผลต่อการมองเห็นของสายตาผู้สังเกตการณ์ จากอาคารเดิม ที่ตั้งอยู่บนจัตุรัส (โดยการขึ้นโมเดลสามมิติ อ้างอิงจากมุมมองใน google earth) มีประตูและหน้าต่างที่ผู้สังเกตการณ์สามารถเห็นได้จาก แกนสายตาแนวตั้งว่าสามารถช่วยให้การลวงตาสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยการใช้ตําแหน่งของความเป็นจริงขององค์ประกอบทางสถาปั ตยกรรม เหล่านี้ให้มีผลต่อการออกแบบสถาปั ตยกรรมชั่วคราว เพื่อภาพลวงตาที่สมบูรณ์ ”


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

PROCESS DESIGN

1

Anamorphosis Plane

จากการศึ ก ษามุ ม มองการมองเห็ น จากสายตาผู้ สั ง เกตการณ์ พบว่ า มี เ พี ย ง 870 ตร.ม.ที่ ไ ม่ เ ป็ น จุ ด อั บ สายตาและสามารถใช้ เ ป็ น ระนาบ “อะนามอร์ โ ฟซิ ส ” เพื่ อ สร้ า งภาพลวงตาผ่ า นสถาปั ตยกรรมชั่ ว คราว

2

3 จากพื้ น ที่ บ นระนาบ อะนามอร์ โ ฟซิ ส สร้ า งกริ ด ตาม แนวแกนการมองเห็ น ของสายตา และระยะห่ า งทางสั ง คม จากนั้ น ใส่ ตํ า แหน่ ง ของคน ตามแนวกริ ด เพื่ อ วิ เ คราะห์ ห า ตํ า แหน่ ง ของการลวงตาของคน

จากนั้ น ใช้ ก ายภาพเดิ ม ของอาคารและตํ า แหน่ ง ของความเป็ น จริ ง ของ องค์ ป ระกอบทางสถาปั ตยกรรมบนอาคารนํ า มาใช้ กํ า หนดตํ า แหน่ ง ลวงตา เพื่ อ ช่ ว ยให้ ก ารลวงตาสมบู ร ณ์ ม ากขึ้ น ขั้ น ตอนนี้ จ ะแสดงให้ เ ห็ น การลวงตา จากตํ า แหน่ ง ของคนที่ ดู ใ กล้ ชิ ด กั น และมี ข นาดตั ว ที่ บิ ด เบื อ นจากความจริ ง

4

5

isometric view

illusion view

isometric view

ใส่ ผ นั ง ที่ ต่ า งความสู ง กั น เพื่ อ ทํ า ให้ ผู้ ค นในตํ า แหน่ ง ลวงตาเสมื อ นว่ า หั น หน้ า เข้ า หากั น จากมุ ม ลวงตา โดยใช้ ผ นั ง สู ง 2 เมตร และ 1 เมตร จากระดั บ พื้ น ของตํ า แหน่ ง เพื่ อ บั ง คั บ สายตาให้ ม องไปในทางที่ กํ า หนด โดยผนั ง ทั้ ง หมดเกิ ด จากการแนวแกนการมองเห็ น ของผู้ สั ง เกตการณ์ เพื่ อ ให้ ใ นมุ ม ลวงตาเห็ น ผนั ง เป็ น เพี ย งเส้ น ตรงเท่ า นั้ น

จากตํ า แหน่ ง ลวงตาที่ กํ า หนดจากกายภาพทั้ ง หมด 14 ตํ า แหน่ ง ที่ ร ะดั บ ต่ า งกั น ใส่ ตํ า แหน่ ง ของพื้ น เพื่ อ เชื่ อ มโยงทุ ก ตํ า แหน่ ง ลวงตา ส่ ง ผลให้ เ กิ ด พื้ น 3 ระดั บ โดยเลื อ กใช้ พื้ น ประเภททางลาดเพื่ อ หลบแกนการมองเห็ น เดิ ม ไม่ ใ ห้ ท้ อ งของพื้ น มารบกวนในมุ ม ลวงตา ขั้ น ตอนนี้ ใ นมุ ม ลวงตา จะถู ก ลวงว่ า คนทั้ ง 14 ตํ า แหน่ ง นี้ เ สมื อ นยื น อยู่ บ นพื้ น ราบ 3 ระดั บ

6

illusion view

7

perspective view

illusion view

การสร้ า งแบบจํ า ลองทํ า ให้ ผู้ วิ จั ย พบว่ า การลวงตายั ง ขาดจุ ด รวมสายตา และไม่ มี ข อบเขตในการมองเห็ น การลวงตาที่ ชั ด เจนจากสายตาของผู้ สั ง เกตการณ์ จากการทดสอบนี้ ผู้ อ อกแบบจึ ง จะไปต่ อ ยอดการลวงตาในการออกแบบ สถาปั ตยกรรมชั่ ว คราวต่ อ ไป

isometric view

illusion view

หลั ง จากที่ ผู้ วิ จั ย ได้ ท ดสอบการลวงตาผ่ า นการสร้ า งแบบจํ า ลอง ผู้ วิ จั ย ได้ ทํ า การต่ อ ยอดการออกแบบสถาปั ตยกรรมชั่ ว คราวโดยการ เพิ่ ม พื้ น ที่ ที่ เ อื้ อ ต่ อ กิ จ กรรมการนั่ ง บนสถาปั ตยกรรมชั่ ว คราว เพื่ อ ยื ด ระยะเวลาของการเกิ ด ภาพลวงตาให้ น านยิ่ ง ขึ้ น


7/8 8


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

HUMAN P

A02

C02

D02 B02

F02

E02

G02 E01

D01 C01 G01 F01

A0

B01

floor 1

floor 2

floor 3


9 /10

POSITION

01

A02

F02

G01

A01

F01

G02

B01

B02

C02

C01

D02

D01

E01

E02


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /


11/12


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

LOOKING AREA

พื้นที่ของผู้สังเกตการณ์ถูกออกแบบมาจากแกนการมองเห็นของตัวเอง ที่มองไปยังพื้นที่จัดแสดงงานสถาปั ตยกรรมชั่วคราว ถูกออกแบบให้มีช่องเปิด สํ าหรับมองภาพลวงตา เพื่อสร้างกรอบและกําหนดมุมมองที่ถูกต้องในการมองเห็น และมีที่นั่งสํ าหรับการสั งเกตการณ์ภาพลวงตาที่จะเปลี่ยนไปตามช่วงเวลาของวัน และภาพลวงตานี้จะถูกเฉลยเมื่อผู้สังเกตการณ์เคลื่อนไหวออกจากจุดที่ได้กําหนดเอาไว้

illusion view f


13/14

FOR OBSERVER

from observer


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

BOOLEAN TECHNIQUE

A B

A

B

ACTIVITY


15/16 A

B

จากข้ อ มู ล จากวิ เ คราะห์ กิ จ กรรมเดิ ม ของพื้ น ที่ ออกแบบสถาปั ต ยกรรมชั่ ว คราวให้ มี พ้ื น ที่ เ อื้ อ ต่ อ การเกิ ด กิ จ กรรมอื่ น ๆนอกเหนื อ จากการ สร้ า งภาพลวงตา โดยการสร้ า งทางลั ด ภายในสถาปั ต ยกรรมโดยการ ใช้ เ ทคนิ ค การเจาะช่ อ งเปิ ด ของผนั ง ด้ า นล่ า ง จากการใช้ แ นวแกนการมองเห็ น ของผู้ ใ ช้ ง าน ทางเข้ า ออก A และ B เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ทางเดิ น ไปยั ง ท่ า เรื อ และให้ เ ห็ น ท่ า เรื อ ได้ ง่ า ยขึ้ น

B02

F02 D01 G01

G01

นอกจากนี้ ยั ง ใช้ เ ทคนิ ค การเจาะช่ อ งเปิ ด บนผนั ง เพื่ อ ให้ ผู้ เ ยี่ ย มชมในตํ า แหน่ ง G01-D01 และ F02-B02 ที่ อ ยู่ ใ กล้ กั น ในระนาบความจริ ง เอื้ อ ให้ เ กิ ด ปฎิ สั ม พั น ธ์ กั น ได้ ง่ า ยขึ้ น ผ่ า นการมองเห็ น

D01

B02

F02


/ SOMEWHERE WE’LL BE CLOSE TOGETHER /

VENICE BIENNALE ARCHITETTURA SETTING EXHIBITION SPACE

POSTER DESIGN FOR EVENTS


17/18



19/20

AWARDED - TOY ARCH 2021



21/22

MINDFUL WANDERING

INDIVIDUAL PROJECT (YEAR 3)

มนุษย์มักจะมองความเบื่อเป็นแง่ลบเสมอแต่ความเบื่อหน่ายเป็นต้นทาง ที่จะพาเราไปสู่ เรื่องดีๆ เป็นที่น่าแปลกใจที่ไอเดียดีๆมักจะเกิดขึ้นระหว่าง ที่เรากําลังอาบนํ้าหรือก่อนที่เราจะหลับสนิทนั่นเป็นเพราะช่วงเวลา ของสมองว่างเปล่าชั่วคราวและเปิดโอกาส ให้จิตใจได้ทํางานอย่างเต็มที่ ทําให้มนุษย์เกิดภาวะที่เรียกว่า mindful wandering ที่เข้ามากระตุ้นให้คนเราเกิดความคิดสร้างสรรค์ นอกจากนี้ทางการแพทย์ ได้พูดถึงว่าสภาวะนี้สามารถลดอาการซึมเศร้าได้ระดับขั้นต้น วิธีที่จะทําให้มนุษย์เข้าถึงสภาวะนี้ได้ง่ายยิ่งขึ้น คือ สี บําบัด และ สมาธิบําบัด

( MINDFUL WANDERING DIAGRAM )

อาการซึมเศร้ า

สี บําบั ด

เบื่อหน่ าย

MINDFUL WANDERING

การเดิ นสมาธิ

สมาธิ บําบัด

2018


/ MINDFUL WANDERING /

SITE ANALYSIS IS S U E LO C AT I O N

JAPAN

TOKYO

IKEBUKUR

ย่านออ

ย่านพ

ย่านที่พ

DEPRESSION

DEPRESSION IN JAPAN’S WORKPLACE

OFFICE

พบว่าย่าน ikebukuro คือย่านออฟฟิศที่มีผู้คนเสี่ ยง เป็นซึมเศร้ามากที่สุดในโลก ซึ่งพนักงานออฟฟิคนอกจาก มีอาการเครียดในชีวิตประจําวันพวกเขายังต้องมีความจําเป็น จะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์อยู่เป็นประจําอีกด้วย ดังนั้น mindful wandering จึงมีบทบาท ที่สามารถช่วยสถานการณ์ของย่านนี้ได้


23/24

DESIGN TOOLS COLOR THERAPY กระจกสี

RO

อฟฟิศ

ช่วยทําให้ตื่นตัว

พานิชย์

บรรเทาอาการซึมเศร้า กระจกสี

พักอาศั ย

พื้นผิวขรุขระ

เยียวยาอาการท้อ

ช่วยทําให้สมองสงบ ก่อให้เกิดความคิด

บรรเทาอาการเครียด

ระงับความกระวนกระวายใจ

MEDITATION

การนั่งสมาธิ

การเดินสมาธิ


/ MINDFUL WANDERING /

DES

สี เหลืองและสี ส้ม เป็นสี ที่สามารถเยียวยาอาการท้อแท้ และบรรเทาอาการซึมเศร้าสองสี นี้ยังเป็นสี ที่สามารถ เข้าสู่ จิตใจมนุษย์ได้ดีเมื่อกระทบกับแสง พื้นที่นี้จึงเป็น พื้นที่นั่งสมาธิและพื้นที่นี้ถูกดันขึ้นให้สูงมากกว่า ส่ วนอื่นๆ เพื่อรับแสงได้มากที่สุด

สี ฟา้ เป็นสี ที่สามารถลดอาการกระวนกระวายใจ กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่นี้จึงเป็นการเดินสมาธิ แบบเดินจงกรมเพราะนอกจากจะได้สมาธิแล้วยังได้สติ อีกด้วย พื้นที่นี้จึงถูกออกแบบมาเป็นบันได้วน 4 อัน เพื่อแยกพื้นที่ใช้งานของแต่ละคนและให้ผู้ใช้ได้จดจ่อ อยู่กับตัวเอง โดยพื้นที่นี้จะใช้สีฟา้ เป็นตัวควบคุม

สี เขียว เป็นสี ที่สมารถบรรเทาอาการเครียดและรักษา สมดุลของอารมณ์หน้าที่ของสี เขียวจึงถูกใช้งานเป็น ทางเชื่อมของแต่ละสี เพื่อไม่ให้ความรู้สึกที่ได้รับจาก แต่ละสี หายไป ภายในทางเชื่อมจะถูกควบคุมด้วยสี เขียว ที่มีลวดลายชื่อว่า UPLIFE ที่ถูกใช้จริงในการบําบัด


25/26

IGN

สี แดง เป็นสี ที่สามารถกระตุ้นอะดรีนาลีนและทําให้ตื่นตัว สี แดงจึงถูกใช้งานเป็นตัวควบคุมทุกอย่างของอาคาร ทั้งเพดานผนังและพื้นจะเป็นสี แดงทั้งหมด โดยสี แดงจะใช้ เพื่อตัดความรู้สึกหลังจากที่ได้ไปใช้งานสี ใดสี นึงมา นอกจากนี้ ภายนอกของอาคารก็ยังเป็นสี แดงอีกด้วย เพราะสี แดงนั้นเป็นจุดนําสายตาจึงทําให้อาคารโดดเด่น

สี ม่วง เป็นสี ที่ทําให้สมองสงบและก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ในส่ วนนี้ได้ใช้แสงเทียมสี ม่วงเข้ามาเป็นตัวควบคุมพื้นที่นี้ทั้งหมด เนื่องจากต้องการให้แสงตลอดทั้งวันมีความสมํ่าเสมอ ในพื้นที่ของสี ม่วงนั้นจะเป็นโดมเพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานรู้สึกโล่งมากกว่า เมื่อมองขึ้นไป และภายในใช้พื้นผิวขรุขระเพื่อช่วยกระตุ้นสมองของ มนุษย์ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ง่ายขึ้น พื้นที่นี้จะถูกดันลงใต้ดิน เพื่อที่จะทําให้สงบ ไม่มีสิ่งเร้าภายนอกเข้ามารบกวน


/ MINDFUL WANDERING /

PERSPECTIVE

สถาปั ตยกรรมนี้จึงถูกออกแบบมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เกิดภาวะ mindful wanderingระหว่างที่ได้เข้าไปใช้งาน โดยใช้สีบําบัดและสมาธิบําบัดเข้ามาช่วย การวางโซนนิ่งของอาคารเป็นการวางแบบกระจายตัวของแต่ละโซน โดยผู้ใช้งานจะมีสิทธิเลือกว่าจะเข้าไปใช้งานส่ วนไหนก่อนก็ได้


27/28

PRESENTATION DAY


GROUP

ซุ้มโค้ง โ จ

โดยกา โด และน แต่ละ


29/30

THE RETATEMENT OF ARCH

P PROJECT (YEAR 3)

2019

ง ( Arch ) เป็นรูปแบบทรงโค้งที่ถูกใช้ในงานก่อสร้างมาอย่างแพร่หลาย โดดเด่นในเรื่องการรับแรงบีบอัด มีการใช้งานตั้งแต่ในยุคโบราณ โดยเริ่มต้นจากการเรียงหินขึ้น 2 ด้านให้มาชนกันตรงกลางซึ่งทําให้เกิดรูปทรงโค้งที่ทําให้หินทุกก้อนรับแรงและดันกันด้วยตัวมันเอง จึงทําให้เกิดรูปแบบทรงโค้งนี้ถูกนํามาใช้ในการก่อสร้างสถาปั ตยกรรมที่ย่งิ ใหญ่ในอดีตอย่างมาก ตั้งแต่ยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ ทําให้เห็นว่าองค์ประกอบชิ้นนี้เป็นรูปแบบการก่อสร้างที่อยู่คู่กับประวัติศาสตร์ของมนุษย์อย่างยาวนานจนถึงปั จจุบัน

จึงทําให้เกิดเป็น Vertical Memoria เพื่อศึ กษาองค์ประกอบ รับรู้ถึงคุณค่าและศั กภาพขององค์ประกอบที่ถูกจัดวางผ่านพื้นที่ว่าง ารนําเสนอผ่านประสบการณ์ที่เข้าไปใช้ในพื้นที่ว่าง โดยพื้นที่ว่างจะถูกพู ดถึงหน้าที่ขององค์ประกอบผ่านสถาปั ตยกรรมของแต่ละยุคนั้นๆ ดยแบ่งหัวข้อการศึ กษาคือเรื่อง รูปทรง รูปร่าง สั ดส่ วนการจัดวางขององค์ประกอบ หน้าที่ขององค์ประกอบ องค์ประกอบในแต่ละยุค นํามาเรียบเรียงในการเข้าถึงของแต่ละช่วงยุค และใช้ทางสั ญจรเป็นตัวจัดการและเชื่อมต่อเพื่อให้คนสามารถรับรู้และศึ กษาองค์ประกอบ ะชิน ้ ในมุมมองระยะใกล้และต่างออกไปจากเดิม ในส่ วนของลําดับการเข้าถึงภายในอาคาร จะจัดเรียงจากยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคปั จจุบัน โดยเรียงลําดับจากด้านล่างไปถึงด้านบน เพื่อที่จะได้รับรู้ถึงต้นกําเนิด การประยุกต์ใช้ แนวโน้มที่กําลังจะเป็นไป ซึ่งทําให้เกิดการเปรียบเทียบขององค์ประกอบที่ถูกใช้งานแตกต่างกันออกไป


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

TIMELINE OF ARCH timeline ศึ กษาความเป็นมา การใช้งานและหน้าที่ที่เปลี่ยนไปของแต่ละยุคสมัยที่ซุ้มโค้งนั่น ทําหน้าที่เป็นทั้งโครงสร้างที่รับนํ้าหนักตัวเองแบบเสาคาน ได้ถูกประยุกต์เพื่อเป็น vault ที่นอกจากเป็นเสาคานยังทําหน้าที่เป็นเพดานของอาคารรับนํ้าหนักของโดม จนถึงยุคทีซ ่ ุ้มโค้ง ถูกลดทอนหน้าที่และความสามารถให้เหลือเพียงองค์ประกอบที่ใช้ในการตกแต่งอาคาร


31/32

SEQUENCE modern industrial neo classic reniassance

gothic

romanesque byzantine roman greek egypt

mesopotamia

POTENTIAL

PERCEPTION

SPACE


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

SITE CHICAGO ,ILLINOIS

NORTH AMERICAN

CITY OF HIGHRISE

RIVER NORTH

13930 SQ.M.


33/34

DECODE ELEMENT

ZIGGURAT

MUSLIM CULTURAL CENTER

PYRAMID

FENDI RETAIL

PATHENON

CRYTRAL PALACE

COLOSSEUM

PATHENON PARIS

HAGIA SOPHIA

CATHEDRAL FROLENCE

CATHEDRAL PISA COLOGNE CATHEDRAL


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

TOOLS CATALOG HEIGHT

WIDTH

AXIS

DECONSTRUCTION

TYPE OF ARCH

APPLIED


35/36

DIAGRAM



37/38


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

ELEVA


ATION

39/40


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

SECT


TION

41/42


/ THE RESTATEMENT OF ARCH /

EXPERIMENT


43/44

PRESENTATION DAY

PARTNER

ADVISOR



45/46

BEHIDE THE DOT

INDIVIDUAL PROJECT / COMPETITIONS (YEAR 4)

2019

“ CULTURAL TOURIST CENTER ” สถาปั ตยกรรมทีแ ่ สดงถึงความสั มพั นธ์ของชาวอะบอริจินและชาวออสเตเรีย ผ่านการรับรู้และประสบการณ์การใช้งานพื้ นที่ โดยใช้เทคนิคการรับรู้จากศิลปะ “ DOT ART ” ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของชาวอะบอริจินโดยนํามาสื่ อสารผ่านงานสถาปั ตยกรรม เพื่ อเป็นตัวกลางในการสื่ อสารระหว่าง คน ธรรมชาติ และสั ตว์ จากโจทย์การประกวดแบบ “ WE AUSTRALIA ” ต้องการให้ทํา tourist center ที่สามารถบอกเล่าได้ถึงวิวัฒนาการ เรื่องราวความเป็นมาของประเทศออสเตเรียตั้งแต่ในอดีตที่มีชาวอะบอริจินมาตั้งถิ่นฐานจนถึงปั จจุบันที่ออสเตเรีย มีความหลากหลายทางเชื้อชาติมากขึ้น เนื่องจากชาวผิวขาวได้อพยบมาตั้งถิ่นฐาน “ แล้วเอกลักษณ์ของออสเตเรียนั้นคืออะไรกันแน่ ” โดย site ที่โจทย์ให้มาอยู่ที่ภาคเหนือของออสเตเรียในอุทยาน kakadu ที่เป็นสถานที่ชาวอะบอริจินเคยอาศั ยในอดีตจนถึงปั จจุบัน โดยโจทย์การประกวด กําหนดมาให้ว่าต้องมีพื้นที่ดังนี้

SPACE TO ENGAGE

พื้นที่ที่รับรู้เรื่องราวได้จากประสบการณ์การใช้งาน

SPACE TO DO

พื้นที่ที่รับรู้เรื่องราวได้จากการลงมือทํา

SPACE TO COMMERCE พื้นที่เพื่อการค้า

SPACE TO RELAX พื้นที่เพื่อการพักผ่อน

PROJECT BACKGROUND TRADITIONAL

NEW AUSTRALIA

COLLECTIVE IDENTITY


/ BEHIND THE DOT /

SITE AN LOCATION & SITE

AUSTRALIA

JACANA

JABIRU

SWAMP BLOODWOOD

ANIMAL TRACK SAFARI

WARRADJAN CENTER


47/48

NALYSIS

KAKADU

COOINDA

ถนนหลัก ถนนรอง

Area : 15084 m. Height Limit : 9 m. Ground Coverage : 25% COOINDA AIRPORT


/ BEHIND THE DOT /

TIMELINE OF AUSTRALIA กําเนิดเผ่าอะบอริจิน

150 MILLION YEARS AGO

60,000 YEARS AGO ทวีปออสเตเรียแยกตัว ออกจากทวีปกอนวานา

1918

1778 มนุษย์เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐาน

1853 to 1863

“white policy australia” คนผิวขาวได้ขับไล่ชาติอื่นๆ ออกจากทวีป

“Aborigin Ordinance” ที่จํากัดสิ ทธิชาวอะบอริจิน เรื่องงาน ที่ดิน และอื่นๆ

อังกฤษเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ในทวีปออสเตเรีย

ภายในเวลา 10 ปี ประชาการใน อานานิคมจากอังกฤษ เพิ่มจาก 57,000 เป็น 540,000 คน

1937

ศิ ลปะของชาวอะบอริจินกลับมามีบทบาท โดยเริม ่ ใช้สีน้ าํ และอะคิลิคครั้งแรกแต่ยัง ไม่แพร่หลาย การใช้หินและไม้ยังเป็นที่นิยม

1971

1967

ทั้งฝ่ายเริม ่ แบ่งปั นเทคนิค ทางศิลปะให้กันและกัน ร่วมกันกําเนิด dot art ทีเ่ ป็น contemporary

เกิดกฎหมาย “Native Title” ที่คืนสิ ทธิทั้งหมดให้ชาวอะบอริจิน อย่างเป็นทางการ

“ศิลปะเป็นตัวเชือ ่ มความสั มพั นธ์ระหว่างผู้คน ฟื้ นฟู วัฒนธรรม และทําลายอคติ”

ชาวผิวขาวตระหนัก ถึงความเท่าเทียม และยกเลิกการจํากัดสิ ทธิ

1971


49/50

DOT ART TRADITIONAL

ศิ ลปะ dot เคยเป็นหนึ่งในการสื่ อสารถึงความอคติของชาวอะบอริจินที่มีต่อชาวผิวขาว ที่จะใช้เทคนิคจุดมาเพื่อปกปิดความลับบางอย่างที่ไม่อยากให้ชาวผิวขาวรู้

TRADITIONAL

แต่เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1971 จากความอคติได้มีต่อกันได้เปลี่ยนไป ศิ ลปะ dot ไม่ได้ถูกใช้ปกปิดความลับอีกต่อไป แต่ได้มาสร้างความสั มพั นธ์ทด ี่ ีให้ท้ังสองฝ่ าย ทั้งสองฝ่ายได้มาสร้างศิ ลปะชนิดนี้ร่วมกัน แบ่งปั นเทคนิคศิ ลปะ จนทําให้เกิด ศิลปะ dot ทีเ่ ป็นแบบร่วมสมัย

“ แปลงศิลปะมาเป็นสถาปั ตยกรรม ทีไ่ ม่ได้พูดถึงความรู้สึก แต่เป็นการรับรู้ศิลปะทีส ่ ื่ อสารผ่านงานสถาปั ตยกรรม ”


/ BEHIND THE DOT /

CATEGOR CATEGORY

TECHNIQUE

PAINTING FILL DOT PAINTING

MEANING

EQUIP

TELL THE EVOLUTION

WOOD / CO TELL THE STORY AND KEEP SECRET

FILL

BRUSH / MAKE RELATIONSHIP

TEXTILE FILL

HA

TIME

ARRANGMENT

NO

SUBJOIN TELL THE EVOLUTION

ENGAGE TAKE OUT WOOD ENGAGE

SHAPE TELL THE STORY

TAKE OUT

ENGRAVI

IMATATE NATURE

MUSIC BLOW

AX


51/52

RY OF ART

PMENT

PATTERN

TEXTURE

MATERIAL

NONE

OLOR ROCK

CAVE (ROCK)

CANVAS

/ COLOR

WOOD PULP

AND

ONE ROCK

NONE ROCK

E ROCK

WOOD

NG TOOL

XE

NONE WOOD


/ BEHIND THE DOT /

DESIGN TOOLS A

DOT TECHNIC B

C

COLOR PAINTING MEANING BLOOD / HUMAN

NATURE

LIFE / PROTECTOR SUNLIGHT

LANDSCAPE

SEA / FAMILY

WHITE PEOPLE

ABORIGIN PEOPLE

WIND

SOIL

ENGAGE


53/54

ZONNING DIAGRAM

SPACE TO DO

SPACE TO ENGAGE

SERVICE SPACE TO RELAX

SPACE TO COMMERCE

/ ENGRAVE / DIGGING A HOLE

COLOR PAINTING MATERIAL : SOIL


/ BEHIND TO DOT /

RECEPTION

เปิดเผย ให้ประสบการณ์แรกของพื้นที่ เป็นการรับรู้จากทรงกลมที่ใช้แทน ความหมายของ dot art ปกปิด

SPACE TO ENGAGE EXHIBITION SPACE “ LOSE ”

EXHIBITION SPACE “ HARMONIOUS ” GALLERY

HARMONIOUS

LOSE

GALLERY LIVELY

EXHIBITION SPACE “ LIVELY ”


55/56

SPACE TO RELAX

WATCHING BIRD SPACE POND

15 cm

SPACE TO DO

“ ใช้ผนังเป็นตัวกลาง ในการสร้างศิ ลปะร่วมกัน ”

WORKSHOP AREA

PLAZA


/ BEHIND THE DOT /

PERSPECTIVE SPACE TO DO

SPACE TO RELAX


57/58

PRESENTATION DAY

ELEMENT MEANING

จากการทดลองการรับรู้จากทรงกลมที่สื่อความหมายแทน “ DOT ART ” จะเห็นว่าเมื่อมองทรงกลมจากคนละมุม ทรงกลมจะไม่ได้ขุ่นแบบนี้เราเห็น แต่มีอีกด้านนึงของมุมมองที่ทรงกลมโปร่งใส ด้านทึบแทนความหมายของ อดีตที่ถูกปิดบัง ด้านโปร่งใสแทนความหมายของปั จจุบันที่ DOT ART เปิดเผยและเป็นตัวเชื่อมความสั มพันธ์ของทั้งสองฝ่าย


INTERNSHIP : CHAT ARCHITECTS

KARON BEACH

MASS MODEL

POST PRODUCTION INTERIOR (PHOTOSHOP : ENVIRONMENT)

COLLAGE ART : BEACH MINE

POST PRODUCTION PERSPECTIVE (PHOTOSHOP : ENVIRONMENT)


59/60

PROJECT : KARON BEACH RESEARCH FOOD PLUS SIAM

ANGSILA

STUDY COLOR FROM PARANAKAN

DESIGN MOBILE

DESIGN DEVELOPMENT PATTERN


INTERNSHIP : CHAT ARCHITECTS

KARON BEACH

พื้ นทีโ่ รงอาหารขนาดยาว หรือ ฟู ด ๊ พลัส ที่ถูกซ่อนตัวจากสายตาของนัก ของการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับขีดจํากัดในเรื่องของขนาดที่ก่อให้เกิดวิธีการ ราวกับว่าผู้ที่ได้เข้าไปใช้งานในพื้นที่แห่งนี้ต้องเตรียมพร้อมรับบทบาทของ นักออกแบ


61/62

RESEARCH FOOD PLUS SIAM RESEARCH FOOD PLUS SIAM

กท่องเที่ยวในสยามสแควร์ แห่งนี้เป็นพื้นที่ที่สะท้อนความเป็นไปได้ใหม่ๆ รในการอยู่ร่วมกับพื้นที่แห่งนี้ได้อย่างอย่างตรงไปตรงมาและน่าสนใจ บบ เข้าไปในตัวเองอย่างไม่รู้ตัว ที่ต้องคอยหาวิธีในการอยู่ร่วมกับพื้นที่ขนาดเล็กเช่นนี้

ANGSILA


INTERNSHIP : CHAT ARCHITECTS

KARON BEACH

SECT

PLA


63/64

RESEARCH FOOD PLUS SIAM RESEARCH FOOD PLUS SIAM

TION

AN

ANGSILA


INTERNSHIP : CHAT ARCHITECTS

KARON BEACH

RESEARCH BAMBOO


65/66

PROJECT : ANGSILA RESEARCH FOOD PLUS SIAM

ANGSILA

SPACE MAKER BAMBOO



67/68

Puvaded Juntasoponno { jodjum }

Saowanun Sirimonthonrat { pear }

Designer / Founder

Designer / Founder

I nt roduce Anything.wecando เริ่มตนจากความสนใจในงานออกแบบดานตาง ๆ ของพวกเรา 2 คน และ ดวยความนาหลงใหลของศาสตรการออกแบบนั้น จึงทำใหพวกเรากอตั้ง พื้นที่เล็ก ๆ เพื่อสำรวจ ทดลองและศึกษา อะไรใหมๆ ผานการทำงานดานการออกแบบหลากหลายประเภท อยางไมปดกั้น เพื่อหวังที่จะพัฒนาทักษะในการ ออกแบบของพวกเราผานโจทยการออกแบบที่หลากหลายจนมาเปนคำพูดที่เปดรับการเรียนรูอะไรใหม ๆ อยู เสมอ คือ Anything we can do ! An yt hi n g. w e c an d o

a n yt h i n g . w ec a n do

aanything.wecando@gmail.com

Project

B a rden

2020

Corporate Identity ( CI )

B i ff

2021

Logo Design / Package Design

Ba rd en

2021

Prop Stylist / Decoration

Tao qiu Illustration

2021

Su k J a i

2021

Logo Design

9 San Laan

Ti me Trave l

2021

Digital Collage

2021

Logo Design / Sticker Design

4P S

2021

Logo Design / Package Design


Ba rden

2020

B ra nd I d en t i t y

Barden ( Bar + Garden ) ตั้งอยูในโครงการ feast อารีย ที่ตอนกลางวันจะทำหนาที่เปน คาเฟและตอนกลางคืนทำหนาที่เปนบารดวยสองหนาที่ของที่นี่จึงสงผลใหเกิด Brand Identity ที่ผสมผสานระหวางความเปนสวนและบาร ผานการออกแบบโลโก และผลิตภัณฑ ตางๆในแบรนดที่สื่อสารถึงความเปนกลางวันและกลางคืนจากสีและกราฟฟกที่ตางกัน

G R APHI C ELEMEN T

( D AY )

( N I GH T )

C OL O R

4d7772

3c5955

78201b

d8c782

d3a05c

fcf7f2

F ONT

Serif Font

BARDEN

Thai Font

San Serif Font / Butler Font /

BARDEN

/ Fira Sans Font /

บาร์เดน

/ Kanit Font /


69/70

LO GO DES IG N

OU TF IT DES IG N

SO C I AL ME D I A


B a rden De c o ra t i on C af e

CO MPA RE PERS PE CT I VE

2021

จากการออกแบบ Brand Identity ที่นำเสนอความเปนสวนและบาร ผูออกแบบจึงไดออกแบบ Barden ใหมผานคอนเซปความเปนบานที่ทำหนาที่หลากหลายในสถานที่เดียวกัน โดยหนารานจะ เปรียบเสมือนทางเขาและหองครัวของบานที่ทำหนาที่ตอนรับคนในตอนกลางวัน และในสวนของ ดานหลังจะทำหนาที่เปนบารเพื่อตอนรับคนที่มาดื่มและพักผอนในตอนกลางคืน โดยวัสดุที่เลือกใช จะเปนกระเบื้อง ไม และผามานที่เปนองคประกอบที่ถูกพบเห็นไดในบาน


P ERS P ECTIVE

71/72


Sukjai L o g o D es i gn

2021

คลินิกแพทยแผนจีน “สุขใจ” ที่ตั้งอยูในอำเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีที่สถาปตยกรรม ถูกออกแบบในสไตลโฮมมี่เพื่อนำเสนอภาพลักษณที่เขาถึงงายเหมาะกับคนทุกๆคน โลโกจึงออกแบบมาเพื่อสื่อสารอยางตรงไปตรงมาเพื่อเขาถึงคนในทุกวัย จากการนำคำวา สุขใจเขามาผสมผสานกับสัญลักษณของการแพทยและใชสีที่สื่อสารถึงความเปนธรรมชาติ

D E S I GN P ROCES S

C O LO R

สุขใจ Typ o gra p hy

C r o ss H o spi t a l 658e7d

f df c e c

b6a895


Ti met ra vel C o lla ge A r t

73/74 2021

ผลงานศิลปะประเภท collage “Timetravel” พูดถึงงานเลี้ยงเฉลิมฉลองในสองยุคสมัยที่ แตกตางกันคือ ยุคกลาง และ ยุคโมเดิรน ที่ผูคนในทั้งสองยุคนี้ไดเกิดการเดินทางขามเวลาไป ยังงานเลี้ยงที่ไมใชยุคสมัยที่ตนคุนเคย ถึงเกิดมาเปนบรรยากาศที่งานเฉลิมฉลองนั้นถูกจัดมา เพื่อสรางความสุขแตคนในงานตางไมสนุกและไมเขาใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นตรงหนา


Bi ff

2021

L o g o , P ac k ag e,St i cke r ,I g F ilt er D es i gn

Biff เปนแบรนดอาหารญี่ปุนในกรุงเทพมหานคร ที่ไดรับแรงบันดาลใจมาจากความสนุกสนาน ของความเปนหนังสือการตูนญี่ปุน สงผลใหเกิดการใชสีที่สดใสและแสดงถึงความมั่นใจใน ตัวตนของแบรนดและการจัดวาง layout ที่กำลังสื่อสารกับผูทานเหมือนกับวาพวกเขากำลัง อานหนังสือการตูนญี่ปุนเรื่อง Biff อยูอีกดวย

D ESI GN PROCE S S

MO O D AN D T O N E

( ビフ )

( BE E F )

C O L OR

GRAP H I C E LE ME N T

4b 459c

88 5 fa8

Ve g e tab le

f2 6 5 2 2

Egg

f1 6c 96

f 09 e c5

a8 cfd b

467ec 1

0db 6 8 c

fd d 5 0 1

Beef

f5 f 0 e 6

Ri c e

Sau ce


75/76

PACKA G IN G DES I G N ( mo cku p , r e a l p a c k a g e )

S TI CK ER DES IG N

W RAP P E R

INSTAGRA M FI LT E R D E S I G N

biff.bkk 2h

Send Message

biff.bkk 2h

Send Message

biff.bkk 2h

Send Message


Tao Qi u Arc hi t ec t u r e il lu s t r at i on

2021

ภาพประกอบตึกแถวในจังหวัดชัยนาท ที่มีความสำคัญตอแบรนด Tao Qiu เปนอยางมาก เพราะเคยเปนสถานที่ที่ใชคิดสูตรอาหารของแบรนดเปนครั้งแรก และทางแบรนด Tao Qiu ไดเลือกใชภาพประกอบนี้สงมอบใหกับผูคนที่เขามาซื้ออาหารของพวกเขาเพื่อเปนที่ระลึก


77/78

4P S

2021

Lo g o D es i g n

4PS เปนแบรนดชุด PPE สำหรับใชในการแพทย logo จึงถูกออกแบบมาจากแนวคิด Protect / Safe / Trust ที่ถูกนำเสนอผานการออกแบบกรอบนอกของโลโกเปนระนาบ3D เพื่อสื่อสารถึงการปองกันและกอใหเกิดพื้นที่ปลอดภัย และไดนำสัญลักษณการแพทยเขามา ใชเพื่อสรางความไวใจโดยสัญลักษณนี้ไดถูกผสมผสามเขากับเลข 4 ในชื่อของแบรนด

X

X

5X

X

P RO T E C T

SAF E

6X

X

T RU S T

n u m ber 4

3D

sa fe spa ce

cro s s ho s p ita l

COLOR

2D

c r e ate 2D pl a ne for sa f e spa c e in 3 D

4X

H o s p it al c r o s s S y m b o l

d4 2 0 2 7

ffffff


9SanLaan Lo g o , S i gn ag e and S t i c k er D es i gn

2021

“เกาแสนลาน” รานกวยเตี๋ยวเรือในตึกมหานคร ที่อยากสื่อสารความเปนไทยผานแบรนดของ ตนเอง ความเปนไทยเหลานี้จึงถูกสอดแทรกผานการออกแบบโลโก ปาย และสติกเกอร ที่ได แรงบันดาลใจมาจากเสนสายของคลองที่เปนจุดกำเนิดของกวยเตี๋ยวเรือ และจุดเดนอื่นๆที่เรา มักจะเห็นในรานอาหาร เชน นางกวักหรือปายที่แสดงถึงความเชื่อตางๆของชาวไทย

D ESI GN P ROCES S

แมน้ำลำคลอง

รูปทรงของแมน้ำลำคลอง

ลดถอนรูปทรง

ลดถอนรูปทรง

C OL O R

f8e 184

801c 2 5

f 3 a3 aa

135857

5 a 7 da 0

d2 6 d3 f

ffffff

f0 efef

bbbbbb


LO GO DES IG N

S I GNAGE A N D S TI CK E R

C HO PS TICK W RA PPE R

79/80



81/82

INDIVIDUAL PROJECT

MY CHILDHOOD HOME

ภาพประกอบสถาปั ตยกรรมที่บอกเล่าถึงความทรงจําและความคิดถึงบ้านในวัยเด็กของผู้ทํา ผ่านรูปตัดของบ้านที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของครอบครัวไทยที่มีเชื้อสายจีนที่อาศั ยในตึกแถวของจังหวัดพิจิตร โดยบ้านหลังนี้เป็นทั้งพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่ก่ งึ สาธารณะที่ทําหน้าที่เป็นทั้งบ้านและร้านค้า จึงเกิดเป็นการปรับตัวของบ้านประเภทตึกแถวที่ต้องตอบสนองต่อผู้อยู่อาศั ย ถึงแม้จะมีข้อจํากัดเรื่องการใช้พื้นที่เช่น แสงเข้ามาในตัวบ้านน้อย หรือ การที่ไม่มีพื้นที่รอบนอกเพื่อพักผ่อน แต่บ้านในวัยเด็กของผู้ทํานั้นแก้ไขปั ญหาไว้ได้ดี โดยอากงเลือกสร้างบ้านเป็นตึกที่มีความกว้างเท่ากับสองห้องตึกแถว มีความสู งอยู่ที่ 4 ชั้น และมีโถงบันไดขนาดใหญ่ตรงกลางบ้านที่มีหน้าต่างบานใหญ่อยู่ที่ชานพักเพื่อให้แสงสว่างเข้าถึงตัวบ้าน และมีระเบียงที่ชั้น 2 และ 3 ของบ้านที่ทําหน้าที่เป็นพื้นที่พักผ่อนและปลูกต้นไม้ นอกจากนี้การที่ผู้ทําตั้งใจทําภาพประกอบนี้ข้ น ึ มาก็เพื่อเติมเต็มความรู้สึกคิดถึงบ้านหลังนี้ของตัวเองอีกด้วย

2021


/ MY CHILDHOOD HOME /

SECT


TION

83/84



85/86

HOBBY

COLLAGE FOR THESIS01

COLLAGE FOR THESIS02

ILLUSION ROOM

THAI VANGOGH


/ HOBBY /

HOBBY

MASK

ME MYSELF AND I

SUMMER BACON

MURALLA ROJA


87/88 0/0



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.