Ebook

Page 1

E-book สื่อการเรียนรู้ ทางการศึกษาวัดภาคใต้ (วัดเขียนบางแก้ว)



ข้อมูลทั่วไป แผ่นที่การเดินทาง

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ประวัติความเป็นมา วัดเขียนบำงแก้ววัดพัฒนำตัวอย่ำงปี พ. ศ. ๒๕๓๓ ตั้งอยู่เลขที่ ๔๒ บ้ำนบำงแก้ว หมู่ที่ ๔ ตำบลจองถนน อำเภอเขำชัยสน จังหวัดพัทลุง มีชื่อเรียก กันมำหลำยชื่อซึ่งเป็นไปตำมกำลเวลำ อำทิ วัดพระธำตุบำงแก้ว วัดตะเขียน บำงแก้ว วัดบำงแก้ว แต่ตำมประวัติศำสตร์และพงศำวดำรมีชื่อเรียกขำนกันว่ำ “วัดเขียนบำงแก้ว” ซึ่งอยู่ทำงทิศใต้ของโคกเมือง มีคลองบำงหลวงหรือคูเมือง กั้นกลำง ในบรรดำวัดเก่ำแก่ในจังหวัดพัทลุง ถือว่ำวัดเขียนบำงแก้วเป็นวัดที่ เก่ำแก่สุดมีอำยุกว่ำ ๑,๐๐๐ ปี สร้ำงขึ้นในสมัยอำณำจักรศรีวิชัย (พุทธศตวรรษ ที่ ๑๓-๑๔) ตำมตำนำนเรื่องเล่ำพื้นเมืองหลำยๆ ตำนำน เช่น ตำนำนเพลำวัด ได้กล่ำวถึงวัดเขียนบำงแก้วไว้ว่ำนำงเลือดขำวเป็นผู้สร้ำงวัดนี้ โดยได้จำรึก เรื่องรำวกำรก่อสร้ำงลงบนแผ่นทำคำเรียกว่ำ “เพลำวัด” ไว้ว่ำวัดสร้ำงเสร็จเมื่อ ปี พ. ศ. ๑๔๙๒ ต่อมำเมื่อปี พ. ศ. ๑๔๙๓ เจ้ำพระยำกุมำรกับนำงเลือดขำว ได้อัญเชิญพระบรมสำรีริกธำตุจำกเกำะลังกำมำบรรจุไว้ในพระมหำธำตุเจดีย์ หรือตำมตำนำนกำรสร้ำงวัดเขียนบำงแก้วของพระครูสังฆรักษ์ (เพิ่ม) กล่ำวว่ำ พระยำกรุงทอง เจ้ำเมืองพัทลุงเป็นผู้สร้ำงวัดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีเดือน ๘ ขึ้น ๕ ค่ำ ปีกุนเอกศก พ.ศ. ๑๔๘๒ (จ.ศ. ๓๐๑) พร้อมกับสร้ำงพระมหำธำตุและก่อ พระเชตุพนวิหำร ได้รับพระรำชทำนวิสุ งคำมสี มำในปี พ.ศ. ๑๔๘๖ แต่ใน ทำเนียบวัดของจังหวัดพัทลุงของพระครู อริยสังวร (เอียด) อดีตเจ้ำคณะจังหวัด พัทลุงกล่ำวว่ำวัดเขียนบำงแก้วสร้ำงเมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๒

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ประวัติความเป็นมา ในสมัยอยุธยำตอนต้น วัดเขียนบำงแก้วเป็นวัดที่มีควำมเจริญมำก เป็น ศูนย์กลำงของพระพุทธศำสนำ เป็นที่ตั้งของคณะป่ำแก้ว ต่อมำในสมัยอยุธยำ ตอนกลำง เมืองพัทลุงเกิดสงครำมกับพวกโจรสลัดมลำยูเสมอๆ จนบำงครั้ง พวกโจรสลัดเข้ำมำเผำผลำญบ้ำนเรือนรำษฎร และวัดเสียหำยเป็นจำนวนมำก ด้วยเหตุนี้วัดเขียนบำงแก้วจึงทรุดโทรมเป็นวัดร้ำงชั่วครำว จนเมื่อชำวพัทลุง สำมำรถรวมตัวกันได้จึงบูรณะวัดขึ้นอีก และเป็นเช่นนี้อยู่หลำยครั้ง ดังปรำกฏ ในหนังสือกัลปนำวัดหัวเมืองพัทลุง ในสมัยอยุธยำกล่ำวถึงกำรบูรณะวัดเขียนบำงแก้วครั้งใหญ่ 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก รำวสมัยอยุธยำตอนกลำง ระหว่ำง พ.ศ.2109-2111 ตรงกับแผ่นดิน สมเด็จพระมหำจักรพรรดิ ผู้นำในกำรบูรณะคือ เจ้ำอินบุตรปะขำวสนกับ นำง เป้ำ ชำวบ้ำนสะทัง ตำบลหำนโพธิ์ อำเภอเขำชัยสน และครั้งที่ 2 สมัยพระเพท รำชำ พ.ศ.2242 ผู้นำในกำรบูรณปฏิสังขรณ์คือ พระครูอินทเมำลีศรีญำญสำคร บวรนนทรำชจุฬำมุนีศรีอุปดิษเถร คณะป่ำแก้วหัวเมืองพัทลุง วัดเขียนบำงแก้ว กรมศิลปกรประกำศขึ้นทะเบียนในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่มที่ 54 วันที่ 3 มกรำคม 2480 และประกำศเขตโบรำณสถำนในรำชกิจจำ นุ เ บกษำ เล่ ม ที่ 103 ตอนที่ 65 วั น ที่ 22 เมษำยน 2529 เนื้ อ ที่ ประมำณ 22 ไร่ 2 งำน 97 ตำรำงวำ (กรมศิลปำกร : 431)

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


วัดเขียนบำงแก้วมีพิธีกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจำของทุกปี คือพิธีบวงสรวง พระธำตุ เป็นพิธีกรรมที่ปฏิบัติและสื บทอดกันมำตั้งแต่ส มัย บรรพบุรุษ จน กลำยเป็นประเพณีที่สำคัญของชำวบ้ำนวัดเขียนบำงแก้ว และชำวจังหวัด พัทลุง จำกพิธีกรรมดังกล่ำวเป็นกำรสืบทอดหรือถ่ำยโอนควำมรู้จำกรุ่นสู่รุ่น เพื่อเป็น เครื่องมือของกำรประกอบสร้ำงให้วัดเขียนบำงแก้วกลำยเป็นพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ โดยกำรจัดงำนประเพณีขึ้น ทั้งหมด ๓ ครั้ง ในแต่ละครั้งจะจัดขึ้น ในวันที่ ดังนี้ครั้งที่ ๑ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ ของทุกๆ ปี จะตรงกับ วัน มำฆบู ช ำ (พิ ธี ห่ ม ผ้ ำ พระธำตุ ) ครั้ ง ที่ ๒ เดื อ น ๖ พุ ธ แรกของทุ ก ๆ ปี (มโนรำห์โรงครู) ครั้งที่ ๓ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ ถึงแรม ๑ ค่ำ เดือน 6 ของทุกๆ ปี (มโนรำห์ประชันโรง)

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว เป็นเจดีย์ก่ออิฐฐำนแปดเหลี่ยมสันนิษฐำนว่ำสร้ำงจำกอิทธิพลของพระ มหำธำตุ เ จดี ย์ จ.นครศรี ธ รรมรำช แต่ มี ข นำดที่ เ ล็ ก กว่ ำ วั ด โดยรอบยำว ๑๖.๕๐ เมตร สู ง ถึ ง ยอด ๒๒ เมตร รอบพระมหำธำตุ บ ริ เ วณฐำนซุ้ ม พระพุทธรูปโค้งมน ๓ ซุ้ม กว้ำง ๑.๒๘ เมตร สูง ๒.๖๒ เมตร ภำยในซุ้มมี พระพุทธรูปปูนปั้นปำงสมำธิ รอบพระเศียรมีประภำรัศมีรูปโค้ง ขนำดหน้ำตัก กว้ำง ๐.๙๔ เมตร สูง ๑.๒๕ เมตร ระหว่ำงซุ้มพระมีเศียรช้ำงปูนปั้นโผล่ ออกมำ เหนือซุ้มพระมีเจดีย์ทรงสี่เหลี่ยม อิทธิพลศิลปะจีน ด้ำนทิศตะวันออกมี บันไดสู่ฐำนทักษิณ เหนือบันไดทำเป็นซุ้มยอดอย่ำงจีน มุมบันไดทั้ง ๒ข้ำง มีซุ้ม ลักษณะโค้งแหลมภำยในประดิษฐำนพระพุทธรูปปูนปั้นนูนสูง ปำงสมำธิประทับ นั่งขัดสมำธิเพชร ฐำนทักษิณและฐำนรองรับองค์ระฆังเป็นรูปแปดเหลี่ยม มี ลวดลำยปูนปั้นรูปดอกไม้ แต่เดิมเป็นรูปมำรแบก เหนือฐำนทักษิณมีเจดีย์ทิศ ตั้งอยู่ที่มุมทั้งสี่มุม องค์ระฆังเป็นแบบโอคว่ำ

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว ถัดจำกองค์ระฆังเป็นบัลลังก์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสประดับด้วยถ้วยจำม ทั้งสี่ มุมของบัลลังก์มีรูปกำปูนปั้นมุมละ ๑ ตัว ซึ่งหมำยถึงสมณศักดิ์ของคณะสงฆ์ทั้ง ๔ ส่วนยอดสุดเป็นพำนขนำดเล็ก ๑ ใบ ภำยในมีดอกบัวทองคำ จำนวน ๕ ดอก ๔ ใบ (ทองคำหำยไปเมื่อวันที่ ๗ กรกฎำคม ๒๕๒๑) ลักษณะศิลปกรรม ได้รับอิทธิพลจำกพระบรมธำตุ นอกจำกนั้นยังมีระเบียงหรือวิหำรคดเป็นอำคำร ก่ออิฐถือปูน หลังคำมุงด้วยกระเบื้องดินเผำล้อมรอบพระมหำธำตุเจดีย์ทั้ง ๓ ด้ ำ นยกเว้ น ทำงด้ ำ นทิ ศ ตะวั น ออก ภำยในเป็ น วิ ห ำรคดเป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐำน พระพุทธรูปปูนปั้นปำงมำรวิชัยจำนวน ๓๔ องค์ มีรูปร่ำงแตกต่ำงไม่เหมือนกัน บำงองค์ยิ้มบำงองค์น่ำหน้ำดุดัน แต่ที่เหมือนกันคือหันหน้ำเจดีย์ทั้งสิ้น

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว

พระพุทธรูปรอบฐานพระเจดีย์

มุมของบัลลังก์ทั้ง ๔ ด้านมีรูปปั้นกา มุมละ ๑ ตัว ซึ่งหมายถึงคณะสงฆ์ทั้ง ๔ คณะ

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ พระมหาธาตุเจดีย์บางแก้ว

พระพุทธรูปรอบฐานพระเจดีย์

พระพุทธรูปรอบฐานพระเจดีย์

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ ระเบียงหรือวิหารคด

พระพุทธรูปรอบฐานพระเจดีย์

เป็นอำคำรก่อด้วยอิฐถือปูนเครื่องไม้มุงด้วยกระเบื้องดินเผำล้อมรอบองค์ พระมหำธำตุเว้นด้ำนทิศตะวันออก ซึ่งติดต่อกับอุโบสถ ภำยในระเบียงคดมี พระพุทธรูปปูนปั้นฝีมือช่ำงพื้นเมือง จำนวน ๑๐๘ องค์ ชำวบ้ำนเรียกว่ำ “พระ เวียง”

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ ประตูยอดเจดีย์

ประตูทำงเข้ำพระมหำธำตุเจดีย์บำงแก้วเป็นอำคำรซ็อนชั้นคล้ำยมณฑป มี เสำติดผนังประดับสี่ด้ำนและมีเจดีย์เป็นยอดอยู่ด้ำนบน ซึ่งมีลักษณะกำรสร้ำงที่ แตกต่ำงกับประตูของศำสนสถำนโดยทั่วไป

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ อุโบสถมหาอุด

ตั้งอยู่ด้ำนหน้ำพระมหำธำตุเจดีย์ หันหน้ำไปทำงทิศตะวันออกขนำนกับ คลองบำงแก้ว ก่อด้วยอิฐถือปูน เครื่องไม้ ได้บูรณะใหญ่ครั้งหนึ่ง พ.ศ.๒๔๕๒ ต่อมำได้ชำรุดทรุดโทรมมำกจึงได้บูรณะครั้งใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ และดัดแปลง เป็นอุโบสถก่ออิฐถือปูนภำยในมีพระประธำนปูนปั้นปำงมำรวิชัย ๕ องค์ ด้ำนหลัง อุโบสถกั้นเป็นห้องไหว้พระพุทธไสยำสน์ปูนปั้น ๑ องค์ รอบอุโบสถมีใบพัทธสีมำ จำหลักหินทรำยแดงไม่มีลวดลำยศิลปะสมัยอยุธยำตอนต้น จำนวน ๘ ใบ

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ วิหารถือน้าพระพิพัฒน์สัตยา (โคกวิหาร)

วิ ห ำรถื อ น้ ำพระพิ พั ฒ น์ สั ต ยำ (โคกวิ ห ำร) ตั้ ง อยู่ ท ำงด้ ำ นทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือของโบสถ์พรำหมณ์ เหลือเพียงซำกเนินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ มี ฐำนชุกชีก่อด้วยอิฐและหิน ตอนบนมีชิ้นส่วนพระพุทธรูปจำหลักจำกหินทรำย แดง ศิลปะสมัยอยุธยำจำนวน ๓ องค์ พระเศียรพระพุทธรูปหินทรำยแดงขนำด ใหญ่ ๑ เศียร วิหำรถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยำเคยมีควำมสำคัญมำในอดีตกำลคือ เป็นสถำนที่ข้ำรำชกำรเมืองพัทลุงมำร่วมกันประกอบพิธีดื่มน้ำสำบำนครั้งที่เมือง พัทลุงยังตั้งอยู่ที่โคกเมือง

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พระประธานวัดเขียนบางแก้ว

พระประธำนในพระอุโบสถของวัดเขียนบำงแก้วเป็นพระพุทธรูปขัดสมำธิ รำบ ปำงมำรวิชัยมีอุษณีษะเปลวเพลิง พระพักตร์รี พระขนงโก่ง พระเนตรมอง ตรง พระนำสิกค่อนข้ำงยำว แย้มพระโอษฐ์ ทรงจีวรห่มเฉียง เป็นศิลปะอยุธยำ

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พระแก้วกุลาศรีมหาโพธิ์

พระแก้วกุลำศรีมหำโพธิ์เป็นพระพุทธรูปหินทรำยสีแดงศิลปะอยุธยำตอนต้น ชำวบ้ำนเรียกว่ำพระคุลำ ประดิษฐำนอยู่ทำงทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวิหำรถือ น้ำพระพิฒน์สัตยำ ประมำณ ๕๐ เมตร สร้ำงขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์กำรกรำดต้อน เฉลยศึกชำวอินเดียตอนใต้ที่เรียกว่ำพวกคุลำ

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พระพุทธรูปสองพี่น้อง

ประดิษฐำนอยู่ด้ำนทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระคุลำ ประมำณ ๒๐๐ เมตร เดิมเป็นพระพุทธรูปหินทรำยแดงแตกหัก จำนวน ๒ องค์ เหลือแต่พระ เศียร ต่อมำพระมหำพันธ์ ธมฺมนำโก เจ้ำอำวำสได้บูรณะขึ้นใหม่เป็นพระพุทธรูป ปูนปั้น เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ เสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พิพิธภัณฑ์

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ตั้ ง อยู่ ท ำงทิ ศ เหนื อ ของพระมหำธำตุ เ จดี ย์ จั ด แสดงศิ ล ปะ โบรำณวัตถุที่ค้นพบบริเวณโคกเมืองและบริเวณใกล้เคียง เช่น ถ้วยชำมจีน สมัยรำชวงศ์ซุ่ง รำชวงศ์เหม็ง รำชวงศ์เซ็งสังคโลกสมัยสุโขทัย พระพุทธรูป สมัยต่ำงๆ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้พื้นเมืองเป็นจำนวนมำก

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พิพิธภัณฑ์

สิ่งของที่จัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์ สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ พิพิธภัณฑ์

สิ่งของที่จัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์ สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียวัตถุและสถาปัตยกรรมอื่นๆ กุฏิเจ้าอาวาส

กุฏิเจ้ำอำวำสเป็นกุฏิที่สร้ำงด้วยสถำปัตยกรรมแบบทรงไทยประยุกต์ ภำคใต้ที่สวยงำมวิจิตร มีกำรตกแต่งลวดลำยหน้ำจั่วด้วยไม้ฉลุ มีลักษณะคล้ำย กับสถำปัตยกรรมมลำยู ด้ำนหน้ำมีอักษรเขียนตรงหน้ำบันว่ำ ปีมะเส็ง เอกศก พ. ศ. ๒๔๗๖

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียบุคคล

พระครูกาเดิม (เพิ่ม ฐานภทฺโท) สำหรับปูชนียบุคคลจะขอกล่ำวเฉพำะพระครูกำเดิม (เพิ่ม ฐำนภทฺโท) เจ้ำอำวำสวัดเขียนบำงแก้ว ซึ่งปัจจุบัน (๒๕๕๙) ท่ำนได้มรณภำพแล้ว พระ ครูกำเดิม (เพิ่ม ฐำนภทฺโท) ท่ำนเป็นคนพื้นที่โดยกำเนิด บ้ำนเกิดที่บ้ำนเลขที่ ๓ ต ำบลจองถนน อ ำเภอเขำชั ย สน จั ง หวั ด พั ท ลุ ง เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ กุ ม ภำพั น ธ์ ๒๔๘๕ ชื่อเดิมของท่ำนคือเพิ่ม หนูนุ่น บิดำมำรดำชือนำยวัน-นำงแช่ม หนูนุ่น ประกอบอำชีพทำนำ ต่อมำเมื่อจบกำรศึกษำชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๔ ท่ำนได้ ออกมำช่วยครอบครัวทำนำ และเมื่ออำยุได้ ๒๔ ได้อุปสมบทที่วัดเขียนบำงแก้ว โดยมีพระรำชปฏิภำณมุนีเป็นพระอุปัชฌำย์ พระมหำพันธ์ ธมฺมนำโถ เป็นพระ กรรมวำจำจำรย์ และมีพระแคล้ว อตฺตคฺตโต เป็นพระอนุสำสนำจำรย์ อยู่จำ พรรษำ ณ วัดเขียนบำงแก้ว

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียบุคคล

พระครูกาเดิม (เพิ่ม ฐานภทฺโท)

หลังจำกได้บวชท่ำนก็ได้ศึกษำพระธรรมวินัยและศึกษำตำรำต่ำงๆ ที่ เก่ำแก่ของวัดเขียนฯ ซึ่งเจ้ำอำวำสรูปก่อนๆ ได้จำรไว้ เช่น ตำรำของอดีตเจ้ำ อำวำสพระครูกำเดิม (ปำน) ได้บันทึกเกี่ยวกับคำถำอำคมต่ำงๆ ซึ่งท่ำนได้ เรียนรู้อย่ำงรวดเร็วจนมีควำมชำนำญและเชี่ยวชำญ ต่อมำท่ำนได้ทรงสมณศักดิ์ ที่ “ พระครูกำเดิม” ซึ่งเป็นสมณศักดิ์พิเศษเฉพำะพระสงฆ์ในภำคใต้

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียบุคคล สำหรับเรื่องรำวของพระครูกำทั้ง ๔ ที่เกี่ยวพันกับเจดีย์พระบรมธำตุ ๓ นครคือ พัทลุง ไชยำและนครศรีธรรมรำช โดยมีตำนำนเล่ำเกี่ยวกับเจดีย์พระบรมธำตุที่ เล่ำขำนกันมำนับพันๆ ปีว่ำมีผู้ทรงวิทยำคมได้ทำกำรปลุกเสก ”กำ-พยนต์” ให้ มีชีวิตขึ้นเพื่อคอยเฝ้ำเจดีย์พระบรมธำตุทั้ง ๔ ทิศ หรือ ๔ ฝูงคือ กำสีขำว ๑ ฝูง เฝ้ำทำงทิศตะวันออก กำสีเหลือง ๑ ฝูงเฝ้ำทิศใต้ กำสีแดง ๑ ฝูงเฝ้ำทิศ ตะวันตก และกำสีดำ ๑ ฝูงเฝ้ำทิศเหนือ โดยแต่ละฝูงก็จะแบ่งหน้ำที่กันเฝ้ำ เจดีย์พระบรมธำตุ ต่อมำพระเจ้ำศรีธรรมำโศกรำช พระองค์ได้นำมำเป็นนิมิต หมำยมงคลนำมทั้ง ๔ ของกำมำตั้งเป็นสมณศักดิ์พระครูหัวหน้ำคณะผู้ทำหน้ำที่ ดูแลเจดีย์พระบรมธำตุ เนื่องจำกทรงพิจำรณำว่ำเป็นชื่อที่เป็นมงคลคือ พระครู กำแก้ว มำจำกฝูงกำสีขำว พระครูกำรำมมำจำกฝูงกำสีเหลือง พระครูกำชำด มำจำกฝูงกำสีแดง และพระครูกำเดิมมำจำกฝูงกำสีดำ ชำวบ้ำนเรียกกันติด ปำกว่ำ “พระครูกำทั้งสี่คือ กำแก้ว กำดำ เพิ่มกำชำด พงศ์เผ่ำปรำชญ์ กำรำม ยศงำมหรู รับผิดชอบขอบขันฑ์วรัญญู ประจำอยู่หนเจดีย์สี่ทิศเอย” เพรำะฉะนั้นในควำมเป็นพระผู้ทรงสมณศักดิ์ที่พระครูกำเดิม ท่ำนก็ยังคงดำรง ตนอยู่อย่ำงสมถะและสันโดษใช้ชีวิตที่เรียบง่ำย ถึงจะมีกุฏิที่ใหญ่โตแต่ท่ำนก็ เลือกใช้โรงเรือนหลังเก่ำด้ำนหน้ำของวัดเป็นที่พักอำศัย

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ปูชนียบุคคล

เหรียญเจริญพร พ่อท่านเพิ่ม ท่ำนเป็นพระที่ยึดพรหมวิหำรเป็นสรณะท่ำนได้อบรมสั่งสอนและเทศนำธรรมไว้ มำกมำยมีตอนหนึ่งที่น่ำประทับใจ “คุณค่ำของเป็นมนุษย์อยู่ที่ถูกต้องและมีคุณธรรม สังคมของพระก็ไม่ ต่ำงจำกสังคมมนุษย์คือมีคุณค่ำที่ควำมถูกต้องเหมือนกัน โดยเฉพำะเรื่องของ จริยธรรมคุณธรรมที่สำคัญมำกถึงจะเป็นพระที่มีตำแหน่ง มีคนนับถือมำกมำย แต่ถ้ำไม่ดำรงตนอยู่ในกรอบของควำมถูกต้องกรอบของพระธรรมวินัย ไม่มี จริยธรรม ไม่มีคุณธรรม ไม่มีควำมซื่อสัตย์ ก็ถือว่ำใช้ไม่ได้ไปไม่รอด” พระครูกำเดิม (เพิ่ม ฐำนภฺทโท) เจ้ำอำวำสวัดเขียนบำงแก้ว เจ้ำคณะตำบลจองถนน ได้ละสังขำร เมื่อเวลำ ๐๓.๑๐ น. ของวันที่ ๓ มกรำคม ๒๕๕๙

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


เอกสารอ้างอิง ชำวพัทลุงร่วมรดน้ำศพ “พระครูกำเดิมเพิ่ม” เข้ำอำวำสวัดเขียนบำงแก้ว หลังมรณภำพด้วยโรคลม. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มำ http:/www.manager.co.th/South/ViewNews.aspx?NewsID=9 590000000567 มหำวิทยำลัยหำดใหญ่. กำรประชุมหำดใหญ่วิชำกำรระดับชำติและนำนำชำติ (๒๕๕๙). กำรประกอบสร้ำงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และพิธีกรรมของวัดเขียนบำงแก้ว อำเภอเขำชัยสน จังหวัดพัทลุง. สงขลำ : มหำวิทยำลัยหำดใหญ่. วัดเขียนบำงแก้ว [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มำ https://th.wikipedia.org/wiki/ วัด เขียนบำงแก้ว วัดเขียนบำงแก้ว [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มำ http://www.oknation.net/blog/wintawan/2010/06/28/entry-1 “วัดเขียนบำงแก้ว” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มำ http://www.sac.or.th/databases/South/archaeology/archaeology/วัด เขียนบำงแก้ว (28 สิงหำคม 2559) อัศจรรย์พุทธประเพณีแห่ผ้ำห่ม “พระธำตุบำงแก้ว” -ชม “เรือโบรำณ” หำเลขเด็ด [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มำ fhttp:www.manager.co.th/South/ViewNews.aspx?NewsID=9550000 031462

สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร


ผู้จัดทา นายวีรยุทธ์ บุญพิศ หลักสูตรการจัดการสารสนเทศดิจิทัล ส้านักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักทรัพยำกรกำรเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.