คำนำ แม้ลูกหลานของเราบางคนอาจบกพร่องในด้านการอ่าน การสะกดคำ การเขียน อาจขาดทักษะและความเข้าใจด้านการคิดคำนวณ คณิตศาสตร์ แต่เขาสามารถมีความสุขได้จากสุนทรียศาสตร์ ของหนังสือเด็ก การสร้างและผลิตหนังสือทั้งเพื่อแก้ปัญหาดังที่ว่าข้างต้น พร้อมๆ กับการเติมความสุขด้วยภาพ ด้วยเรื่องราวที่เขาสนใจ เหมาะสมกับช่วงวัย และเหมาะกับการเปิดหน้าต่างแห่งการเรียนรู้ ด้านต่างๆ ช่วยให้เราสามารถพัฒนาให้เด็ก LD มีชีวิตเช่นเด็กปกติทั่วไป ด้วยสื่อง่ายๆ เครื่องมือง่ายๆ คือ ‘หนังสือ’ ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงาน และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงองค์กรร่วมจัดที่ได้ช่วยกันพัฒนา และ ริเริ่มโครงการสื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD ขึ้นเป็นครั้งแรก และหวังการเติบโตในปีต่อๆ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งนิตยสาร Mother&Care ที่ช่วยบริหาร ดำเนินการ รวมถึงเก็บเกี่ยวความรู้ต่างๆ มาบันทึกไว้ใน ‘อ่านสร้างสุข’ ฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคุณพ่อคุณแม่ คุณครู และสังคมไทย จะได้ประโยชน์จากข้อมูลสร้างสุขนี้เพื่อการพัฒนาเด็ก LD ร่วมกัน สุดใจ พรหมเกิด ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ความบกพร่องทางการเรียนรู้
(Learning Disabilities : LD) LD เป็ น ความบกพร่ อ งของกระบวนการ เรี ย นรู้ ที่ แ สดงออกมาทางด้ า นปั ญ หาการอ่ า น การเขียนสะกดคำ การคำนวณ และเหตุผลเชิง คณิตศาสตร์ เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของ | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สมอง ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก ต่ ำ กว่ า ศั ก ยภาพที่ แ ท้ จ ริ ง โดยที่ เ ด็ ก มี ส ติ ปั ญ ญาอยู่ ใ นระดั บ ปกติ และมี ค วาม สามารถด้านอื่นปกติดี สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ความบกพร่องด้านการอ่าน LD ด้ า นนี้ จ ะพบว่ า เด็ ก มี ค วาม บกพร่องในการจดจำพยัญชนะ สระ และขาดทักษะในการสะกดคำ จึงอ่าน หนังสือไม่ออก หรืออ่านช้า อ่านออกเสียง ไม่ ชั ด ผั น เสี ย งวรรณยุ ก ต์ ไ ม่ ไ ด้ อ่ า นข้ า ม อ่ า นเพิ่ ม คำ จั บ ใจความ เรื่องที่อ่านไม่ได้ เด็กกลุ่มนี้มีความสามารถในการ อ่ า นหนั ง สื อ ต่ ำ กว่ า เด็ ก อื่ น ในวั ย เดียวกัน ความบกพร่องด้านการอ่าน เป็ น ปั ญ หาที่ พ บได้ ม ากที่ สุ ด ของเด็ ก LD ทั้งหมด
LD มีกี่ชนิด
LD แบ่งเป็น ๓ ด้าน ได้แก่
ความบกพร่อง ด้านการอ่าน | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ความบกพร่อง ด้านการเขียนสะกดคำ
ความบกพร่อง ด้านคณิตศาสตร์ สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ลักษณะความบกพร่อง ทางการอ่าน • อ่านตะกุกตะกัก • มักอ่านข้ามคำ มีปญั หาการจำพยัญชนะ
ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เช่น ส และ ล, ผ และ ฝ • จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่านไม่ได้ • ไม่สามารถแยกเสียงสระได้ เช่น แสดง อ่านว่า แส-ลง, แกลง อ่านว่า แก–ลง, สนิทวงศ์ อ่าน ว่า สะ-นิ-ทวง • อ่านกลับคำ เช่น จิตใจ อ่านเป็น ใจจิต
ความบกพร่อง ด้านการเขียนสะกดคำ สิ่ ง ที่ พ บมากคื อ เด็ ก จะมี ค วามบกพร่ อ งใน การเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ไม่ถูกต้อง บางครั้ ง เรี ย งลำดั บ อั ก ษรผิ ด จึ ง เขี ย นหนั ง สื อ และสะกดคำผิด ทำให้ไม่สามารถแสดงออกผ่าน การเขียนได้ตามระดับชั้นเรียน | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
เด็ ก กลุ่ ม นี้ จึ ง ความสามารถในการเขี ย น สะกดคำ ต่ ำ กว่ า เด็ ก ในวั ย เดี ย วกั น ความ บกพร่ อ งด้ า นนี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะพบรวมกั บ ความ บกพร่องด้านการอ่าน
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ลักษณะความบกพร่อง ทางการเขียน • ลากเส้นวนที่หัวพยัญชนะเป็นเวลานาน
ไม่รู้จะลากหัวพยัญชนะเข้าหรือออกจึงลาก วนซ้ำไปมา • เขียนตัวพยัญชนะกลับด้าน เช่น ถ - ภ, ด – ค • เขียนพยัญชนะ ก - ฮ ด้วยตนเองไม่ได้ • เขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง • เขียนคำตามเสียงอ่าน เช่น สามารถ เป็น สามาด, ขนม เป็น ขะหนม • มีความยากลำบากในการเขียนให้อยู่ใน กรอบหรือบนเส้นบรรทัด
ความบกพร่อง ด้านคณิตศาสตร์
ส่วนใหญ่เด็กจะขาดทักษะและความเข้าใจค่าของตัวเลข การนั บ จำนวน การจำสู ต รคู ณ การใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ ท าง คณิตศาสตร์ จึงไม่สามารถคำนวณคำตอบจากการบวก ลบ คูณ หาร ตามกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ได้ เด็กกลุ่มนี้จึงมีความสามารถในการคำนวณต่ำกว่าเด็ก ในวัยเดียวกัน 10 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 11
ลักษณะความบกพร่อง ทางการคิดคำนวณ • ไม่เข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ • ไม่สามารถคิดคำนวณเลขที่สลับซับซ้อนได้ • ไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาเลขได้ • ไม่สามารถนับเงิน ทอนเงินได้
LD เกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกัน เช่น • การทำงานของสมองบางตำแหน่งบกพร่อง
โดยเฉพาะตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ และการใช้ภาษา • กรรมพันธุ์: มีพ่อแม่หรือญาติพี่น้องมีปัญหา เดียวกัน • ความผิดปกติของโครโมโซม ปัญหาพฤติกรรม และอารมณ์ที่อาจพบร่วมด้วย
1 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
เด็ก LD มีปัญหาอะไรอีกบ้าง เด็ก LD มีปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ ที่พบร่วมกันได้ถึงร้อยละ ๔๐-๕๐ เช่น โรคสมาธิสนั้ ความบกพร่องด้านภาษา และการสื่อสาร ปัญหากล้ามเนื้อมือ ประสานสายตา สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
พฤติกรรมเด็ก LD
เด็กมักรู้สึกหงุดหงิด และเมื่อเด็ก LD รู้สึกว่า ตนเองทำไม่ได้ทัดเทียมเพื่อน อาจแสดงพฤติกรรม ดังนี้ • หลีกเลี่ยงการอ่าน การเขียน • ไม่มีสมาธิในการเรียน ทำงานช้า ทำไม่เสร็จ ทำงานสะเพร่า • ความจำไม่ดี เรียนได้หน้าลืมหลัง • รู้สึกเบื่อหน่าย ท้อแท้ • ไม่มั่นใจในตนเอง มักตอบว่า ทำไม่ได้ ไม่รู้ • อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ หงุดหงิดง่าย ไม่อดทน เพราะขาดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตัวเอง • ก้าวร้าวกับเพื่อน พี่น้อง ครู หรือพ่อแม่ • ขาดความภาคภูมิใจในตนเอง
1 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
แพทย์สามารถวินิจฉัยเด็ก LD ได้อย่างไร แม้จะมีหลักการทดสอบทางการแพทย์ ด้าน LD แต่การรวบรวมประวัติการเรียน และพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็กแต่ละ ด้านของคุณครูและพ่อแม่เป็นข้อมูลสำคัญที่ ใช้ประกอบการวินิจฉัย รวมทั้งรายงานจาก ครูประจำชั้น การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้าน การเรียน เทียบกับระดับสติปัญญา (IQ) เด็ก LD มีความสามารถในการเรียนรู้ ต่ำกว่านักเรียนในชั้นอย่างชัดเจน และเป็น ปัญหาที่กระทบต่อการเรียนอย่างต่อเนื่อง
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
ข้อมูลชวนรู้เกี่ยวกับเด็ก LD เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ งทางการเรี ย นรู้ ส่วนใหญ่พบในระดับชั้นประถมศึกษา คิด เป็ น ๗๕% ของเด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ ง ทางการเรียนรู้ทั้งหมด ที่คัดแยกได้ • เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เป็นชายมากกว่าหญิง ในอัตราส่วน ๓ ต่อ ๑ • เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ส่วนมากมีระดับสติปัญญาเฉลี่ย ประมาณ ๙๔ – ๙๘
1 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
• เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ขั้นรุนแรง จะตรวจพบในระดับชั้นประถม ศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชั้น ป.๓ และ ป.๔ • เมื่อเด็กเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ความบกพร่องทางการเรียนรู้ลดลง และ พัฒนาการเรียนดีขึ้น • เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ส่วนหนึ่ง (ประมาณ ๑๕%) มีปัญหาทาง พฤติกรรม • เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ บางคนมีปัญหาสมาธิสั้นร่วมด้วย
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
เราจะช่วยเด็ก LD ได้อย่างไร การช่วยเหลือจากครอบครัว
• ควรอธิ บ ายให้ เ ด็ ก เข้ า ใจ สมาชิ ก ใน • เปลี่ยนพฤติกรรมจากการตำหนิ ลงโทษ ครอบครัวให้การยอมรับ เรียนรู้ และเข้าใจถึง ปัญหาความบกพร่องเฉพาะด้านของเด็ก รวม ทั้งความรู้สึกของเด็กที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนต่ำ
เป็นความเข้าใจ และสนับสนุนในการส่งเสริม ทักษะการเรียนรู้ของเด็ก • ชื่นชมเมื่อเด็กทำสำเร็จ แม้เป็นเรื่องเล็กน้อย เพื่อให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
การให้ความช่วยเหลือ ทางการศึกษา • โรงเรียนควรจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล
ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ ความบกพร่ อ งของเด็ ก แต่ละด้าน โดยทำความเข้าใจกับครูถึงปัญหา และความบกพร่องของเด็ก เน้นการสอนเสริมใน ทักษะที่บกพร่อง เช่น การสะกดคำ อ่าน เขียน ฯลฯ • มีการจัดการสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือตัวต่อตัว ครั้งละ ๔๕-๖๐ นาที สัปดาห์ละ ๔-๕ วัน มี การช่วยอ่านบทเรียนให้ฟัง เพื่อให้เด็กได้เนื้อหา ความรู้ได้เร็วขึ้น มีการให้เวลาในการสอบเพิ่ม ขึ้น เพื่อให้เด็กมีเวลาเพียงพอในการอ่านโจทย์ และเขียนตอบ จะช่วยให้เด็กเรียนได้ดีขึ้น
• ควรส่งเสริมทักษะด้านอื่นๆ ที่เด็ก
สนใจ เช่น ดนตรี กีฬา ศิลปะ เพื่อให้ เด็กเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
1 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
วิธีการช่วยเหลือเด็ก LD ด้านต่างๆ ด้านการอ่าน – เขียน
๑. สอนให้เด็กรู้จักตัวอักษร หัดจับคู่ตัวอักษรที่ ๒. ให้เด็กหัดออกเสียงตามพยัญชนะต้น เหมือนกัน และแยกตัวอักษรทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกัน ตัวสะกด สระเสียงสั้น ยาว ให้ได้ เช่น ถ - ภ, ค – ด, ผ - ฝ
ช่วยเหลือแต่เนิ่นๆ เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้เด็ก LD หากผู้ปกครองหรือครูเข้าใจถึงพฤติกรรม ต่างๆ ของเด็ก LD อย่างลึกซึ้ง เด็กก็จะได้รับ การช่วยเหลือที่ถูกต้อง ซึ่งจะทำให้เด็กสามารถ พัฒนาไปได้ตามศักยภาพของตนเอง เช่น ถ้าได้ รับการดูแลตั้งแต่เด็กอยู่ชั้น ป.๑ และ ป.๒ จะ 0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ช่ ว ยเพิ่ ม โอกาสให้ เ ด็ ก ได้ เ รี ย นรู้ ถึ ง ๘๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าเริ่มให้การช่วยเหลือในระดับ ชั้น ป.๔ โอกาสที่จะเรียนรู้ มีเพียงประมาณ ๔๒ เปอร์ เ ซ็ น ต์ และถ้ า เริ่ ม ในระดั บ ชั้ น ม.๑ โอกาสเรี ย นรู้ จ ะมี แ ค่ ๕ - ๑๐ เปอร์ เ ซ็ น ต์ เท่านั้น สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
๓. อ่านพยัญชนะ หรือคำคู่กับภาพ จนเด็กจำคำได้ จากนั้นปิดรูปแล้ว ให้เด็กอ่าน เพื่อจำตัวพยัญชนะ และ คำให้ได้ ๔. เขียนพยัญชนะ หรือคำให้เด็ก เขียนตาม พร้อมกับอ่านออกเสียง ถ้าเป็นคำให้สะกดคำ พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
๕. ช่วยให้เด็กฝึกแยกช่องไฟ ใน แต่ละประโยค ๖. ชี้ ใ ห้ เ ด็ ก เห็ น ความแตกต่ า ง ระหว่ า งพยั ญ ชนะที่ มี รู ป ร่ า ง ลักษณะคล้ายกัน เช่น ถ - ภ ‘ถ’ มี หั ว พยั ญ ชนะ เข้ า ข้ า งใน ‘ภ’ มี หั ว พยั ญ ชนะ ออกนอก และฝึกเขียนพยัญชนะทีค่ ล้ายคลึง บ่อยๆ เพื่อให้เขียนคล่องขึ้น
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
๗. ใช้หลัก ‘ย้ำซ้ำๆ’ ทั้ ง การอ่ า น และ การเขียน ๘. ถ้ า เด็ ก อ่ า นได้ ถูกต้องหรือดีขึ้น ให้ ชมเชยทันที
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ด้านคณิตศาสตร์ ๑. ให้เด็กมีโอกาสใช้ทักษะ การบวก ลบ คูณ หาร ซึ่งเป็นทักษะการคำนวณพื้นฐานบ่อยๆ เช่น หัดให้ เด็ ก นั บ สมุ ด ที่ ต้ อ งไปแจกเพื่ อ นๆ หรื อ แบ่ ง ของให้ เพื่ อ นในกลุ่ ม เชื่ อ มโยงกิ จ กรรมในชี วิ ต ประจำวั น เข้ากับการบวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้เด็กเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้จริง ๒. เน้ น ความเข้ า ใจมากกว่ า การจำ เช่ น เลข ๓ หมายถึง เด็กต้องเข้าใจถึงจำนวนของสิ่งของ ๓ ชิ้น เด็ ก ท่ อ งสู ต รคู ณ ได้ ต้ อ งเข้ า ใจความหมายของ การคูณ
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
การเตรียมตัวเข้าโรงเรียน สำหรับเด็ก LD ๑. พ่อแม่ต้องเตรียมตัว เตรียมใจให้พร้อม ต้ อ งลดเรื่ อ งความกั ง วลของตนเอง ปรั บ ทัศนคติให้ดี ๒. ถ้าเด็กต้องเรียนร่วมกับเด็กปกติ คุณครู ไม่ควรว่า หรือตอกย้ำให้เด็กรู้สึกอายจนไม่ อยากเรียนอีก ๓. คุ ณ ครู ค วรให้ ก ำลั ง ใจว่ า เด็ ก ต้ อ งทำได้ ถึงแม้ว่าเด็กจะทำไม่ได้ก็ตาม แต่การสร้าง กำลังใจที่ดี และตั้งความหวังให้กับเด็กนั้นๆ จะช่วยทำให้เด็กอยากที่จะเรียนหนังสือ และ พยายามที่จะทำให้ได้เท่ากับคนอื่น ๓. ควรสอนเด็กเป็นขั้นๆ โดยเริ่มจากการใช้ ของที่เป็นรูปธรรมและจับต้องได้ เช่น วัตถุ ต่างๆ เหรียญ บอล แล้วค่อยมาใช้ของกึ่ง รู ป ธรรม เช่ น วาดรู ป ส้ ม ลงในสมุ ด ตามโจทย์ และในที่สุดเด็กก็จะคิดเลข โดยใช้ ตัวเลขโดดๆ ได้
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
อัจฉริยะ LD ก็มี
มีบุคคลที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก ได้ ถู ก วิ นิ จ ฉั ย ว่ า เป็ น บุ ค คลที่ ไ ม่ สามารถในการอ่าน หรือมีความ บกพร่องทางการเรียน (Students with Learning Disabilities - LD) ตั้งแต่วัยเด็ก เช่น อัลเบิร์ต ไอน์ ส ไตน์ (Albert Einstein) นั ก ทฤษฎี ฟิ สิ ก ส์ ถู ก ไล่ อ อกจาก โรงเรี ย น โดยอาจารย์ ก ล่ า วว่ า อั ล เบิ ร์ ต ไอน์ ส ไตน์ (Albert Einstein) เป็นนักเรียนที่เรียนไม่ดี เบี่ ย งเบนความสนใจได้ ง่ า ย เข้ า สังคมไม่ได้ ไม่เป็นระเบียบ แต่มี ความสร้างสรรค์อื่นๆ กว้างไกล
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
นอกจากนั้น ยังมีบุคคลสำคัญใน ด้านต่างๆ ที่มีลักษณะ LD และไม่ ประสบความสำเร็ จ ในการเรี ย นใน โรงเรี ย น เช่ น โทมั ส เอดิ สั น (Thomas Edison) นั ก ประดิ ษ ฐ์ , เนลสั น ร็ อ กกี้ เ ฟลเลอร์ (Nelson Rockefeller) รองประธานาธิบดีอเมริกา คนที่ ๔๑ และ นีลส์ บอร์ (Niels Bohr) นักฟิสิกส์ เป็นต้น
ที่มาของข้อมูล : + ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล + ผศ.อัญชิรา เศรษฐลัทธ์ ศูนย์วิจัยการศึกษาเพื่อ เด็กที่ต้องการความ ช่วยเหลือพิเศษ โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัย และพัฒนาการศึกษา สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็ก LD ในประเทศไทย สำหรับปัจจุบัน เด็ก LD ในมุมมองของนักการศึกษา ถื อ ว่ า ดี ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย เพราะเมื่ อ ก่ อ นไม่ มี ใ ครรู้ จั ก ว่ า เด็ ก LD เป็ น อย่ า งไร ทุ ก วั น นี้ เริ่ ม รู้ ว่ า การที่ เ ด็ ก อ่ า นไม่ อ อก ไม่ ไ ด้ แปลว่าเด็กโง่เสมอไป หรือกระทั่งที่ชอบเปรียบเทียบว่าเด็ก LD คือเด็กปัญญาอ่อน ทุกวันนี้จะทราบกันมากขึ้นว่า เด็ก LD แม้ ว่ า จะอ่ า นไม่ อ อกก็ จ ริ ง แต่ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า คื อ เด็กปัญญาอ่อน 0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
ภาพรวมในสังคมจึงมีความเข้าใจและตื่นตัว มากขึ้ น ทั้ ง แวดวงการศึ ก ษา วงการแพทย์ และสาธารณสุข ต่างก็ช่วยกันหาวิธีเพื่อให้สังคม เข้ า ใจตรงกั น ว่ า เด็ ก LD เป็ น อย่ า งไร และ เด็ ก LD ไม่ ได้ แ ปลว่า โง่ ถ้า หลายฝ่า ยเข้า ใจ ตรงกั น หาทางแก้ ไ ขร่ ว มกั น การพั ฒ นาไป อีกขั้นก็จะง่ายขึ้น
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ดังนั้น ในสถานการณ์ปัจจุบันคือมีคนรู้จัก LD มากขึ้ น แต่ ก็ ยั ง ต้ อ งใช้ เ วลาสำหรั บ การ พัฒนาเด็ก LD ทัง้ การพัฒนา อ่านออก เขียนได้ ให้ เ ท่ า กั บ เด็ ก ปกติ จนสามารถเรี ย นจนจบ ปริญญาตรี โท เอก และดำรงชีวิตได้ปกติสุข เหมือนเด็กทั่วไป
เด็ก LD ประมาณ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ บกพร่องด้านการอ่าน ส่วนใหญ่ของเด็ก LD ประมาณ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ มักบกพร่องทาง ด้ า นการอ่ า น ที่ เ หลื อ เป็ น การ บกพร่ อ งทั้ ง ด้ า นการอ่ า นและเขี ย น และบกพร่ อ งทางด้ า นคณิ ต ศาสตร์ ความบกพร่ อ งนั้ น จะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ช่ ว ง อนุบาล ประถม เรื่อยไปจนถึงระดับ มั ธ ยม จะมี ปั ญ หาในวิ ช าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ในภาษาไทยตัวอักษรที่ใกล้เคียงกัน เด็กมักจะจำไม่ได้ว่าตัวไหนเป็นตัวไหน หรืออาจจะเป็นอ่านคำไม่ได้ ถ้าบางคน อ่ า นได้ ก็ ไ ม่ เ ข้ า ใจความหมาย อ่ า น จับใจความไม่ได้ เด็กที่เป็น LD นั้นไม่สามารถรักษา ให้หายขาดได้ แต่ก็จะดีขึ้น หรือเรียน ทั น เพื่ อ นได้ แ ทบปกติ ถ้ า เรื่ อ งนั้ น เป็ น เรื่ อ งที่ อ่ า นบ่ อ ยๆ หรื อ มี ค วามคุ้ น เคย แต่ก็จะเกิดปัญหาได้ ถ้าต้องเปลี่ยนไป อ่านเรื่องที่ยากมากขึ้น เพราะฉะนั้นเด็ก LD ไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้ แต่กม็ โี อกาสอย่างมาก ที่จะสามารถเรียน ทำงานได้เท่าคนปกติ ทั่วไป
สื่ออ่านช่วยเด็ก LD ได้อย่างไร ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการช่วยให้เด็ก LD พัฒนาความสามารถในการอ่านได้ดีขึ้น คือ เด็กมีโอกาสได้อ่านหนังสือ เช่น • เด็ ก บางคนสนใจเรื่ อ งบางเรื่ อ งมาก จึ ง จำเป็นต้องอ่านเพราะอยากรู้เนื้อหา ซึ่งระหว่าง ที่อ่าน ก็มีการพัฒนาการอ่านดีขึ้นเรื่อยๆ | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
• คุณพ่อ คุณแม่ช่วยสร้างบรรยากาศการอ่าน
ที่ ดี จากเดิ ม ถ้ า ลู ก อ่ า นหนั ง สื อ ให้ ฟั ง ก็ มั ก จะ สร้ า งบรรยากาศตึ ง เครี ย ดให้ กั บ ลู ก ก็ เ ปลี่ ย น เป็นการสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย ทำให้ดึง ลูกมาอ่านหนังสือได้มากขึ้นเรื่อยๆ และแสดง ความชื่นชม จนในที่สุดเด็กก็อ่านได้ดีขึ้น สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
• คุณครูมีส่วนช่วยเปิดโอกาสและฝึกฝน
ให้เด็กอ่านได้คล่องมากขึ้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การเปิดโอกาสให้ เด็กได้อ่านหนังสือมากขึ้น จะช่วยพัฒนา การอ่ า นของเด็ ก ได้ ดี ขึ้ น และเป็ น ฐาน สำคัญของกระบวนการเรียนรู้ด้านอื่นๆ
วิธีการช่วยเด็ก LD ที่อ่านไม่ได้ ให้มีพัฒนาการด้านการอ่านดีขึ้น
• ผู้ปกครองต้องเปลี่ยนบรรยากาศในการอ่าน • ค่อยๆ กระตุ้นให้เด็กอ่านมากขึ้น เช่น จาก
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
หนังสือของเด็กให้มีความรื่นรมย์ เพลิดเพลิน ที่ครั้งแรกๆ อ่านได้ ๒ บรรทัด ครั้งต่อไปก็ ค่อยเพิ่มเป็น ๔ บรรทัด มีความสุข ทำให้เด็กมีความรู้สึกดีที่จะอ่าน • ชื่นชมเมื่อเด็กอ่านได้แม้เพียงเล็กน้อย • พ่อแม่ตอ้ งไม่ตงั้ ความหวังว่าลูกจะต้องอ่านให้ ได้เท่ากับเด็กในวัยเดียวกัน • ให้เด็กเล่นบ้างเพื่อผ่อนคลาย • พ่อแม่ต้องเปลี่ยนทัศนคติและรอให้ลูกพร้อม ชื่นชมกับความสำเร็จแต่ละขั้นของลูก สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
หนังสือสำหรับเด็ก LD ควรเป็นอย่างไร เด็ ก LD จะมี ลั ก ษณะพิ เ ศษในการรั บ รู้ ที่ แตกต่ า งจากเด็ ก ทั่ ว ไป การทำหนั ง สื อ ซึ่ ง เป็ น สื่ อ อ่ า นที่ ส ำคั ญ นั้ น จึ ง ต้ อ งรู้ ว่ า เขามี ค วาม บกพร่องอย่างไร แล้วจึงค่อยคิดออกแบบสื่อที่มี ความเฉพาะ เหมาะสมกับเด็กเหล่านี ้ แต่ในเบือ้ งต้น การมี ห นั ง สื อ หรื อ สื่ อ อะไรก็ ต ามที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ไม่จำเป็นต้องเป็นสื่อเฉพาะ ก็สามารถใช้พัฒนา
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านช่วยสร้างสุนทรียศาสตร์ ให้กับเด็กได้อย่างไร เด็ ก เหล่ า นี้ ไ ด้ เพี ย งแต่ ต้ อ งช่ ว ย สื่อสารให้เด็กเข้าใจ แต่ถ้าเป็นสื่อ ที่ เ ฉพาะนั้ น ก็ จ ะยิ่ ง ทำให้ เ ด็ ก LD มีการพัฒนาได้เร็วยิ่งขึ้น
ในสื่ อ อ่ า นของเด็ ก นั้ น ไม่ ไ ด้ มี เ พี ย งแค่ ตั ว หนังสือ แต่ยังมีภาพศิลปะต่างๆ อยู่ในนั้นด้วย เพราะฉะนั้น อิทธิพลของงานศิลปะไม่ว่าจะเป็น ลายเส้ น โทนสี หรื อ รู ป ทรง จะส่ ง ผลกั บ อารมณ์ ข องเด็ ก ซึ่ ง ก็ คื อ การพั ฒ นาด้ า น
สุนทรียศาสตร์ และถ้าภาพมีเรื่องราว มี ตั ว ละคร ก็ จ ะทำให้ เ ด็ ก สามารถ พั ฒ นาการคิ ด จิ น ตนาการ และสร้ า ง เรื่องราว ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับตัวหนังสือ ก็ได้
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
การทำแบบนี้อาจจะแก้ปัญหาในเรื่องการอ่านได้เฉพาะคำ หรือกี่คำก็ตาม แต่สิ่งที่ได้มากกว่าการอ่านก็คือ การสร้าง เรื่องราว การสร้างจินตนาการของเด็ก ซึ่งคือพลังของสื่อ ควรนำศาสตร์ ของศิ ลปะเป็ นตั ว ช่ ว ยแก้ ปั ญหาให้ กั บ เด็ กด้ ว ย เพราะเด็ก LD หลายคนมีปัญหาด้านการอ่าน แต่มีพรสวรรค์ ในด้านของศิลปะ
เพราะฉะนั้น หนังสือของเด็ก LD ก็ควรจะมีตัวหนังสือ น้อยๆ และมีภาพเยอะกว่า เพื่อบอกเรื่องราวแทนตัวหนังสือ อาจจะมีตัวหนังสือบางตัวสำหรับคำที่เด็กมีปัญหาเอามาใส่ไว้ และให้เด็กทำความเข้าใจจากภาพที่ได้เห็นแทน ให้เด็กได้ใช้ จินตนาการมากๆ และเข้าใจในส่วนที่ต้องการเน้น
0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
ในชีวิตประจำวันของคนเรา บางครั้งแทบไม่ได้ใช้ทักษะ ในการอ่ า น แต่ อ าจต้ อ งใช้ ทั ก ษะอย่ า งอื่ น เพราะฉะนั้ น ถ้าเด็กมีความบกพร่องทางด้านการอ่าน เราก็ควรหาความ ถนัดทางอื่นมาเสริมให้เด็ก ดึงจุดเด่นของเด็กออกมาให้ได้ เพื่อให้เด็กพัฒนาตนเองได้อย่างถูกทาง
ประโยชน์ ของสื่ออ่านต่อเด็ก LD “ในประเทศไทย พบว่ามีเด็ก LD ถึง ร้อยละ ๕ ของเด็กวัยเรียน และจากการ สำรวจเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ พบเด็ก ป.๓ อ่านไม่ได้ร้อยละ ๔.๑๘ “จากการศึกษาของต่างประเทศพบว่า เด็กที่อ่านไม่คล่อง มีอัตราการอ่านหนังสือ เฉลี่ยประมาณ ๘,๐๐๐ คำต่อปี แต่เด็กที่ อ่ า นคล่ อ ง อ่ า น ๑,๘๐๐,๐๐๐ คำต่ อ ปี หรื อ อาจกล่ า วว่ า ปริ ม าณคำที่ เ ด็ ก อ่ า น ไม่คล่อง อ่านทั้งปีเท่ากับที่เด็กอ่านคล่อง อ่ า นเพี ย ง ๒ วั น ดั ง นั้ น สื่ อ การอ่ า น ที่สร้างแรงจูงใจให้เด็กกลุ่มนี้อ่านมากขึ้น จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพ การอ่านให้กับเด็ก LD
เรียบเรียงจาก การเสวนา หัวข้อ ‘สื่ออ่านสร้าง สุ น ทรี ย ศาสตร์ ใ ห้ เ ด็ ก LD ได้ อ ย่ า งไร’ ในงาน ประกาศผลรางวัลรอบชิงชนะเลิศ โครงการสื่ออ่าน สร้างสุขเพื่อเด็ก LD วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๕ | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
“ดังนั้น การที่เด็กได้อ่านหนังสือ ที่มีเนื้อหาตรงกับความสนใจตามวัย ความยาวพอเหมาะ การนำเสนอมี รู ป แบบน่ า ติ ด ตาม ทำให้ เ ด็ ก สนุ ก เข้าใจเนื้อหา และสามารถอ่านได้เอง จนจบ จะทำให้ เ ด็ ก เกิ ด ความ ภาคภูมิใจที่ทำได้สำเร็จ เพลิดเพลิน และจดจ่ อ มี ส มาธิ ได้ ส ะสมความรู้ และคุณธรรมจากเนือ้ เรือ่ ง เกิดความคิด สร้างสรรค์ เกิดจินตนาการขณะทีอ่ า่ น ร ว ม ทั้ ง เ รี ย น รู้ ก า ร มี ค ว า ม สุ ข ด้วยตนเองโดยไม่ตอ้ งอาศัยการเล่นเกม ซื้ อ วั ต ถุ หรื อ เรี ย กร้ อ งความสนใจ จากคนภายนอก เมื่อเด็กมีความสุข จากการอ่ า น เด็ ก จะอ่ า นมากขึ้ น การพั ฒ นาทางปั ญญาก็จะมีมากขึ้น ตามไปด้วย”
จุดมุ่งหมายของการ สร้างหนังสือและสื่อเพื่อเด็ก
ผศ.นพ.มนัท สูงประสิทธิ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
อ. ชีวัน วิสาสะ นักแต่งนิทาน นักเล่านิทาน และนักสร้างสรรค์สื่ออ่านสำหรับเด็ก
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
“จุดมุ่งหมายของการสร้างหนังสือ และสื่อเพื่อเด็ก คือพัฒนาเสริมสร้าง ศักยภาพ และแก้ไขข้อบกพร่อง แต่ ด้ ว ยความตั้ ง ใจ ปรารถนาดี ข อง ผู้ ใ หญ่ มั ก จะสร้ า งสื่ อ ที่ มุ่ ง ‘สอน’ มากเกินไป โดยอาจลืมคิดถึง ‘การ เรี ย นรู้ ’ ของเด็ ก ซึ่ ง ต้ อ งเข้ า ใจ ธรรมชาติ ก ารเรี ย นรู้ ข องเด็ ก ที่ มี ทั้ ง นิสัยบางอย่างเหมือนกัน หรือจริตที่ แตกต่ า งกั น หากผู้ ส ร้ า งสื่ อ มี ค วาม เป็นเด็กอยู่ในตัว และดึง ‘หัวใจของ ความเป็ น เด็ ก ’ ออกมาใช้ ก็ จ ะ สามารถสร้างสรรค์หนังสือ และสื่อ เพื่ อ พั ฒ นา และเสริ ม การเรี ย นรู้ สำหรับเด็กได้อย่างมีชีวิตชีวา เหมาะ กับเด็กทุกคนอย่างแท้จริง”
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
หนังสือที่ดี คือรากฐานสำคัญของชีวิต “การดูแลลูกด้วยความเชื่อมั่นว่าหนังสือที่ดี จะเป็นรากฐานของวิธีคิดและทัศนะคติของคน จึงพยายามปลูกฝังการรักการอ่านหนังสือให้ลูก โดยอ่านหนังสือให้ลูกฟังตั้งแต่แรกเกิด ประกอบ กับลูกทั้งสองคนซนกว่าเด็กคนอื่น และนอนยาก การได้ อ่ า นหนั ง สื อ กั บ ลู ก ก่ อ นนอนวั น ละ ๒
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ชั่วโมง เพื่อให้สงบและหลับ ลูกทั้งสองคนจึงได้ ซึ ม ซั บ สิ่ ง ที่ อ ยากสอนผ่ า นทางหนั ง สื อ ทั้ ง คติธรรม คุณธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ปรัชญาการคิด และมีนิสัยรักการอ่าน” คุณนิตยา ปรีชายุทธ คุณแม่ลูกสอง จากครอบครัวเด็ก LD
แนวคิดการจัดทำ สื่อสำหรับเด็ก LD
หลักการสำคัญ ของการออกแบบสื่อเพื่อเด็ก LD
๑. ทำให้สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก LD ๒. ทำให้สอดคล้องกับลักษณะความบกพร่องของเด็ก LD • สอดคล้องกับความบกพร่องด้านการรับและแปร ผลข้อมูลของเด็ก LD เช่น การมองเห็นสิ่งที่เหมือน กันเอามารวมกลุ่มกันได้ การมองเห็นและจำแนกสิ่งที่ ต่ า งกั น ได้ การฟั ง เสี ย งที่ ค ล้ า ยกั น และแยกแยะได้ และการเรี ย นการสอนที่ อ าจใช้ ค วามคิ ด รวบยอด (Concept) นำ โดยเรี ย นส่ ว นรวมก่ อ นส่ ว นย่ อ ย เป็นต้น • สอดคล้องกับทักษะด้านวิชาการ ได้แก่ การอ่าน เขียน ทั้งในวิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชา คณิตศาสตร์ รวมทั้งสาระการเรียนรู้อื่นๆ ด้วย
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
แนวคิด การออกแบบสื่อสำหรับเด็ก LD • ใช้หลัก UDL (Universal Design Learning) คือ
ออกแบบสื่อที่ทำให้เด็ก LD เรียนรู้ได้ แล้วเด็กทุกคนก็ สามารถเรียนรู้จากสื่อนั้นๆ ได้เอง ยกตัวอย่าง เหมือน กั บ การออกแบบห้ อ งน้ ำ ที่ เ อื้ อ ผู้ สู ง อายุ คนพิ ก ารใช้ ไ ด้ แน่นอนว่าคนปกติก็จะใช้ได้เอง • ควรเป็นสื่อที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ทั้งการ มองเห็น การได้ยิน การสัมผัส และสอดคล้องหลักสูตร ในทุกสาระการเรียนรู้
สื่ออ่าน สำหรับเด็ก LD • ควรเว้ น วรรคในคำ
หรื อ ประโยค ในลั ก ษณะ ของการขีด การเว้นช่องว่าง • การใช้สแี ละภาพประกอบ เ พื่ อ ช่ ว ย เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ การอ่ า นจั บ ใจความของ เด็ก LD เพราะเด็ก LD จะคิดออกมาเป็นภาพ เช่น ถ้ า นึ ก ถึ ง กรุ ง เทพฯ ให้ ภ า พ สั ญ ลั ก ษ ณ์ เ ป็ น พ ร ะ ป ร า ง ค์ วั ด อ รุ ณ เป็นต้น
ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู ประธานหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ และนายกสมาคมแอลดี แห่งประเทศไทย | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ • เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาและกระบวนการให้ ค วาม ช่วยเหลือทางด้านการอ่านสำหรับเด็ก LD • เพื่ อ กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การสร้ า งสรรค์ สื่ อ เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะทางด้ า นการอ่ า นของเด็ ก LD โดยส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการที่ เ หมาะสมวั ย และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ที่มาของโครงการ
คุ ณ สุ ด ใจ พรหมเกิ ด ผู้ จั ด การ แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สสส. กล่ า วถึ ง การดำเนิ น โครงการ ประกวดสื่ อ การอ่ า นสร้ า งสุ ข เพื่ อ เด็ ก LD ครั้งแรกนี้ 0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
“เรามีพื้นฐานความเชื่อที่ว่า เด็กที่มีความบกพร่อง ทางการเรี ย นรู้ ทุ ก คน สามารถเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาได้ หากพ่ อ แม่ ตลอดจนครู ผู้ ส อนมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ จะทำให้ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ เด็ ก ได้ และยิ่ ง ได้ ผ ลเร็ ว ขึ้ น หากเด็กได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีสื่อที่ ช่วยกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาที่เข้าถึงได้” สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
รูปแบบการประกวด มีการแบ่งประเภทสื่อที่ส่งเข้าประกวดเป็น ๒ ช่วงชั้น คือ ช่วงชัน้ ที ่ ๑ (ป.๑ - ป.๓) และช่วงชัน้ ที ่ ๒ (ป.๔ – ป.๖) มี ก ารคั ด กรองผลงานรอบแรกและรอบชิ ง ชนะเลิ ศ โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญ ทั้งที่ทำงาน เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อสำหรับเด็กและนักวิชาการที่ทำงาน ด้านเด็ก LD โดยตรง
รายชื่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิตัดสินการประกวดรอบชิงชนะเลิศ ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู ประธานหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และนายกสมาคมแอลดีแห่งประเทศไทย
ภาพรวมการจัดประกวด การจัดประกวดครั้งแรกนี้ มีผลงานส่งเข้า ร่วมจากหลายหน่วยงานทั้งในกรุงเทพฯ และ ต่ า งจั ง หวั ด นั บ เป็ น นิ มิ ต หมายที่ ดี ใ นการ จุ ด ประกายให้ สั ง คมหั น มาผลิ ต สื่ อ อ่ า นที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ เป็ น การกระตุ้ น และสร้ า งเสริ ม ให้ เ กิ ด การสร้ า งสรรค์ ห นั ง สื อ และสื่ อ อ่ า นที่ ส่ ง
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
เสริ ม พั ฒ นาการตามวั ย และคุ ณ ลั ก ษณะ อั น พึ ง ประสงค์ ส ำหรั บ เด็ ก ที่ มี ค วามบกพร่ อ ง ทางการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นให้เด็กได้ใช้การอ่าน ไปสู่ ก ารสร้ า งสุ ข ในชี วิ ต และนำศั ก ยภาพ ที่สำคัญของการอ่านสร้างความสุขเพื่อกระตุ้น การเรียนรู้ในโรงเรียนต่อไป
รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาและ พัฒนาการจัดการศึกษาพิเศษ ‘คุณพุ่ม’ อ.พรรณี คุณากรบดินทร์ นั ก วิ ช าการผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเด็ ก LD กลุ่ ม การ จัดการศึกษาเรียนร่วม สำนักบริหารการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ
อ.ชีวัน วิสาสะ นักเขียน นักเล่านิทาน และผู้เชี่ยวชาญสร้างสรรค์ สื่อสำหรับเด็ก ผศ.นพ.มนัท สูงประสิทธิ์ จิ ต แพทย์ เ ด็ ก และวั ย รุ่ น ภาควิ ช าจิ ต เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ผศ.อัญชิรา เศรษฐลัทธ์ ศู น ย์ วิ จั ย การศึ ก ษาเพื่ อ เด็ ก ที่ ต้ อ งการความช่ ว ย เหลือพิเศษ โรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา คุณอัญชลี สมโสภณ ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
๑. ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู ๒. รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ ๓. อ.พรรณี คุณากรบดินทร์ ๔. อ.ชีวัน วิสาสะ | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
๕. ผศ.นพ.มนัท สูงประสิทธิ์ ๖. ผศ.อัญชิรา เศรษฐลัทธ์ ๗. คุณอัญชลี สมโสภณ ๘. คุณสุดใจ พรหมเกิด
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ภาพงานจัดแถลงข่าวรับสมัคร
ภาพการตัดสินผลงานรอบชิงชนะเลิศ
บรรยากาศการตัดสิน และการนำเสนอผลงาน
๑. บรรยากาศการนำเสนอผลงาน ๒. – ๔. การนำเสนอผลงานช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑-๓) ๕. – ๗. การนำเสนอผลงานช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-๖) | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ภาพงานแถลงข่าวการประกาศผลรอบชิงชนะเลิศ
ตัวอย่างผลงานที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ตัวอย่างผลงานช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑-๓)
๑. บรรยากาศการเสวนาภายในงาน ๒. รศ.จุมพล รอดคำดี ประธานมอบรางวัล ๓. จัดแสดงสื่อที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ๔. – ๕. : พิธีมอบรางวัล | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ตัวอย่างผลงานที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ตัวอย่างผลงานช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-๖)
0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
ตัวอย่างผลงานช่วงชั้นที่ ๑
สระแปลงร่าง
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
ตัวอย่างผลงานช่วงชั้นที่ ๒
เพื่อนบ้านของเราในอาเซียน
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
0 | สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD | 1
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |
ภาคีเครือข่าย แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สสส. คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์วิจัยการศึกษาเพื่อเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ โรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร นิตยสาร Mother&Care สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
| สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD
แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีบทบาทหน้าที่ในการประสานกลไก นโยบาย และปัจจัยขยายผล จากทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ให้เอื้อต่อการ ขั บ เคลื่ อ นการสร้ า งเสริ ม พฤติ ก รรมและวั ฒ นธรรมการอ่ า นให้ เ ข้ า ถึ ง เด็ ก เยาวชน และครอบครั ว โดยเฉพาะกลุ่ ม ที่ ข าดโอกาสในการเข้ า ถึ ง หนั ง สื อ และกลุ่ ม ที่ มี ความต้องการพิเศษ
คณะกรรมการกำกับทิศทาง แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน กลุ่มแผนงานสื่อสารสร้างสรรค์เพื่อสุขภาวะ ในแผนสื่อสารสุขภาวะ และสื่อสารการตลาดเพื่อสังคม ที่ปรึกษา ประธาน กรรมการ
อาจารย์ มานิจ สุขสมจิตร, นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ รศ.จุมพล รอดคำดี อาจารย์สุรินทร์ กิจนิตย์ชีว์, ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล, รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์, ศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์, นายมานพ แย้มอุทัย, นางมัทนา ถนอมพันธุ์ หอมลออ
เลขานุการ นางสาวเข็มพร วิรุฬราพันธุ์, นางสุดใจ พรหมเกิด, นายดนัย หวังบุญชัย ผู้ช่วยเลขานุการ นางญานี รัชต์บริรักษ์ ............................................................................................................................... ผู้จัดการแผนงานฯ: นางสุดใจ พรหมเกิด ร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบาย โครงการ และกิจกรรม เพื่อสร้างเสริมให้เกิดพฤติกรรมและวัฒนธรรมการอ่านเพื่อสังคมสุขภาวะกับเราได้ท ี่
แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน
๔๒๔ หมู่บ้านเงาไม้ ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขต บางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ : ๐-๒๔๒๔-๔๖๑๖-๗ โทรสาร : ๐–๒๘๘๑-๑๘๗๗ E-mail : info@happyreading.in.th Website : www.happyreading.in.th Facebook : www.facebook.com/happy2reading Twitter : www.twitter.com/happy2reading สื่ออ่านสร้างสุขเพื่อเด็ก LD |