ประวัติการโรงพยาบาลเทพศิรินทร์
นายหฤษฎ์ แสงไพโรจน์ 03590022 บทนา ในปีพุทธศักราช 2424 อหิวาตกโรคระบาดหนักในพระนคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ างสถานพยาบาลขึ้ นเป็ น การชั่ ว คราวเพื่ อรั ก ษาโรคร้ ายนี้ ให้ ห มดไป มีแพทย์ ประจ าการเพื่ อบรรเทาโรคภั ยของเจ้านายและประชาชน 1 ต่อมาภายหลั งทรงมี พระราชด าริ จั ดตั้ ง โรงพยาบาลขึ้ นเป็ นการถาวร จึ งได้ จั ดตั้ งโรงศิ ริ ราชพยาบาลขึ้ น ทรงเสด็ จพระราชด าเนิ นเปิ ดท าการเมื่ อ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 24312 เมื่อกิจการโรงศิริราชพยาบาลดีขึ้นแล้ว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ก็ทรงตั้ง โรงพยาบาลเพิ่มขึ้น3 ได้แก่ โรงพยาบาลบูรพา (อยู่หน้าวังบูรพาภิรมย์) โรงพยาบาลคนเสียจริต (อยู่บริเวณ ป้อมป้องปัจจามิตร) โรงพยาบาลบางรัก (อยู่ที่สุขศาลาบางรัก สาหรับรักษาชาวต่างประเทศ) แพพยาบาล (อยู่ ที่ ท่ า พระราชวั ง จั น ทรเกษม อยุ ธ ยา) และโรงพยาบาลเทพศิ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู่ ข้ า งวั ด เทพศิ ริ น ทราวาส โดยแต่ละโรงพยาบาลมีแพทย์แผนโบราณซึ่งมาจากกรมแพทย์สานักพระราชวังบวรประจาอยู่4 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาลในระยะแรกเริ่มของประเทศไทย นอกจากโรงศิริราชพยาบาลแล้วก็ปรากฏอยู่ น้อยมาก ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะสอบประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลเทพศิรินทร์นี้ เนื่องจากปรากฏ ข้อมูลมากกว่าโรงพยาบาลอื่นๆ โดยเฉพาะในแผนที่ แต่จากข้อมูลประวัติโรงพยาบาลส่ วนใหญ่มีระบุเพี ยง แค่ว่าตั้งอยู่ข้างวัดเทพศิรินทราวาสเท่านั้น จึงได้ทาการศึกษาจากเอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ แผนที่ในระยะเวลานั้น และราชกิจจานุเบกษา เป็นหลัก พัฒนาการโรงพยาบาล โรงพยาบาลเทพศิ ริ น ทร์ หรื อเทพศิ ริ นทร์ พยาบาล ตั้ งขึ้ นโดยพระด าริ ในพระเจ้ าบรมวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ อธิบดีกรมการพยาบาล ภายหลังจากการที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานกาเนิดโรงพยาบาลศิริราชแล้ว5 ระหว่ า งการสร้ า งโรงพยาบาลศิ ริ ร าชนั้ น สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอ เจ้ า ฟ้ า ศิ ริ ร าชกกุ ธ ภั ณ ฑ์ ฯ พระราชโอรสอันประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ได้ประชวรด้วยโรคบิดสิ้นพระชนม์ลง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430 เมื่อเสร็จงานพระเมรุแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและ เครื่องใช้ต่างๆ ในงานพระเมรุนาไปสร้างโรงพยาบาลศิริราช6 และได้นาไม้จากงานพระเมรุนี้ ไปสร้างเรือน คนไข้ในโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ด้วย7 1
2
ตาแหน่งที่ตั้งของโรงพยาบาลนั้น จากการตรวจสอบ แ ผ น ที่ ‘Plan of Bangkok A.D. 1888’ พ . ศ . 24318 (แผนที่ ที่ 1) พบว่ า โรงพยาบาลตั้ ง อยู่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกของ คลองผดุงกรุ งเกษม อยู่ ทางทิศเหนื อของวัง พระวรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า สายสนิ ท วงศ์ ระบุ ต าแหน่ ง ว่ า ‘Tapaserim Hospital’ ตั้งอยู่ข้างป้อมปราการที่ไม่ระบุชื่อ จ า ก แ ผ น ที่ ‘แ ผ น ที่ ก รุ ง เ ท พ ฯ ’ พ . ศ . 243910 (แผนที่ ที่ 2) พบว่ า โรงพยาบาลตั้ ง อยู่ ท างทิ ศ ตะวั น ตก ข อ ง ค ล อ ง ผ ดุ ง ก รุ ง เ ก ษ ม อ ยู่ ติ ด กั บ ท า ง ทิ ศ ใ ต้ ข อ ง แผนทีท่ ี่ 1 แผนที่ ‘Plan of Bangkok A.D. 1888’ วัดเทพศิรินทราวาส ทางทิศตะวันตกออกไปเป็นวัดพลับพลา มาตราส่วน 1 นิ้ว ต่อ 880 หลา9 ชัย และทางใต้ของโรงพยาบาลติดกับป้อม ‘ป้องปัจจามิตร’ ‘ประชุมพงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิเษก’12กล่ าวว่า เมื่อขุดคลองผดุงกรุงเกษมแล้วเสร็จ ก็โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ป้อมตามแนวคลองเป็นระยะห่างกันประมาณ 12 เส้น รวม 8 ป้ อม ซึ่งป้ อมป้ องปั จ จามิ ตรนั้ น ระบุ ว่าตั้งอยู่ฝั่ งตะวั น ตกที่ ปากคลองสาน ส่ ว นในต าแหน่ ง ที่ ติ ด กั บ โรงพยาบาลนั้ น สั น นิ ษฐานว่าเป็ น ป้ อมปราบศัตรู พ่า ย ซึ่งระบุว่าตั้งอยู่ ที่ ริ ม วัดพลับพลาชัย จึงอาจเป็นความผิดพลาดในการระบุชื่อป้อม ดังกล่าวในแผนที่ เนื่องจากข้อมูลนี้ยังได้สอดคล้องกับเอกสาร แผนที่ที่ 2 แผนที่ ‘แผนที่กรุงเทพฯ’ กรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้แทรกแผนผังบริเวณ มาตราส่วน 1 : 11,88011 โรงพยาบาล เพื่ อ ขอใช้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณป้ อ มที่ ร กร้ า งอยู่ (แผนที่ ที่ 3) ในเนื้ อ หาและแผนผั ง นี้ ไ ด้ ร ะบุ ชื่ อ ป้ อ มไว้ ว่ า ‘ป้อมปราบสัตรูพ่าย’13 เมื่อโรงพยาบาลได้เริ่มขึ้นแล้วคนไข้ก็เพิ่มจานวนขึ้น พื้นที่โรงพยาบาลมีความคับแคบ ทาให้ทางโรงพยาบาลได้ยื่น หนั งสื อขอใช้ พื้ น ที่ ข้า งป้ อ มปราบศัต รู พ่า ย ในปี พ.ศ.2436 ดังนี้ “...เห็นว่าที่ต่อหลังโรงพยาบาลเปนที่ว่างเปล่า วัดแต่ด้าน เหนือยาว ๑ เส้น ตะวันออกกว้าง ๓ วา ราย ๑ กับที่ด้านใต้ เหลื อ จากเขตรป้ อ มปราบสั ต รู ร าบ ๑ ภอจะปลู ก เปนโรง พยาบาลขึ้นได้อกี ...”15 แผนที่ที่ 3 แผนที่แผนผังบริเวณโรงพยาบาล14
3
ในปี พ.ศ. 2438 ทางโรงพยาบาลได้สร้างโรงแถวให้ผู้มีชื่อมาเช่า บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษมหน้า โรงพยาบาล มีรายละเอียดดังนี้ “…โรงแถวที่จะสร้างนั้น ยาว ๑๐ ห้องๆ ละ ๗ ศอก มีระเบียง ๒ ข้าง กว้าง ทั้งร่วมในด้วย ๑๐ ศอก สูงแต่พื้นดินถึงอกไก่ ๑๐ ศอก เสาถาดโต ๒ คา พื้นปีกไม้สัก เครื่องบนน่าถังรอด บันได เชิงชาย ไม้สักทั้งสิ้นทุกอย่าง ฝาใช้ไม้สิงคโปร์ทั้งสิ้น หลังคามุงด้วยจาก ข้าพเจ้าได้เหมาจีนรวม ๑๐ ห้อง เปนเงิน ๑,๖๐๐ บาท เฉลี่ยเปนห้องละ ๑๑๖ บาท … โดยยาวด้านเหนือศาลาน่าเทพศิรินธร์พยาบาล ด้านใต้ศาลา ๑๖ วา รวม ๒๒ วา โดยกว้างประมาณ ๒ วา เป็นอย่างยิ่ง...”16 ซึ่ งเรื่ องการสร้ างโรงแถวดั ง กล่ า ว สอดคล้ องกั บสิ่ งก่ อสร้ างที่ ปรากฏในแผนที่ ของกระทรวงนครบาล สมั ย รั ช กาลที่ 517 บริ เ วณคลองผดุ ง กรุ ง เกษม (แผนที่ ที่ 4) ซึ่ งปรากฏต าแหน่ งของโรงพยาบาลอยู่ ทาง ทิศตะวันตกของถนนกรุงเกษม ทิศเหนื อติ ด กั บคู วั ดเทพศิ ริ น ทราวาส ฝั่ งตรงข้ ามถนน กรุงเกษมบริเวณริมคลอง มีตึกแถวที่ระบุชื่อ เจ้ าของ และมีศาลาโรงพยาบาลอยู่ ด้ วย ใน แผนที่นี้นั้น ที่น่าสังเกตคือชื่อโรงพยาบาลระบุ ว่าเป็ น ‘ศิริ ราชพยาบาล’ ไม่ใช่เทพศิ ริ นทร์ พยาบาล19 แผนที่ที่ 4 แผนที่บริเวณโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ปี พ.ศ. 243918
จากหนังสือราชการของหม่อมราชวงศ์วงษ์พบว่า เมื่อมีผู้ป่วยมาเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแล้ว นอกจากจะบันทึกไว้ในบัญชีทะเบียนคนไข้แล้ว ก็มีการเขียนป้ายให้คนไข้คนติดตัวเอาไว้ด้วย เมื่อจาหน่ายชื่อ ออกจากโรงพยาบาล หรือคนไข้ลากลับบ้านก็จะทาการ ‘แทงป้าย’ นั้นทิ้ง20 แม้ว่าจะมีการขยายที่โรงพยาบาลเพื่อสร้างห้องสุขาในบริเวณที่รกร้างข้างป้อมปราบศัตรูพ่ายแล้ว แต่สถานที่อาบน้าของคนไข้นั้น ถ้าเป็นไข้หนักให้อาบน้าที่ “…ตุ่มถ่ายอุจารในปีบ...” ถ้าเป็นคนไข้ที่สามารถ เดินได้ก็ให้อาบน้าที่คลองผดุงกรุงเกษม21 ในราชกิจจานุเบกษา จะปรากฏรายงานจานวนคนไข้ที่เข้ารับการรักษา ผู้ที่มาขอยา และผู้ที่มา ปลูกฝี ในโรงพยาบาลต่างๆ อยู่ รวมทั้งโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ด้วย ดังนี้22
4
หมายเหตุ : A หมายถึง ตัวเลขเลือน ไม่สามารถอ่านได้ B หมายถึง ไม่ปรากฏข้อมูลช่องนี้ในราชกิจจานุเบกษาเดือนนั้น
5
หมายเหตุ : A หมายถึง ตัวเลขเลือน ไม่สามารถอ่านได้ B หมายถึง ไม่ปรากฏข้อมูลช่องนี้ในราชกิจจานุเบกษาเดือนนั้น
6
หมายเหตุ : A หมายถึง ตัวเลขเลือน ไม่สามารถอ่านได้ B หมายถึง ไม่ปรากฏข้อมูลช่องนี้ในราชกิจจานุเบกษาเดือนนั้น
7
หมายเหตุ : A หมายถึง ตัวเลขเลือน ไม่สามารถอ่านได้ B หมายถึง ไม่ปรากฏข้อมูลช่องนี้ในราชกิจจานุเบกษาเดือนนั้น
ตารางที่ 1 ตารางแสดงจานวนคนไข้ คนมาขอยา และคนมาปลูกฝี ของโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ปรากฏใน ราชกิจจานุเบกษา จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่าข้อมูลจานวนคนไข้ทั้ งต่อเนื่องจากเดือนที่แล้ว และยังคงพยาบาลอยู่จน สิ้นเดือน มีจานวนที่สม่าเสมอ ไม่ได้มีเดือนใดหรือปีใดที่มากผิดปกติ แสดงถึงความคงที่ของสุขอนามัยของ ประชาชนในบริเวณนั้น หรือผู้ที่มารับการรักษา ในจ านวนคนที่ ม าขอยาที่ โ รงพยาบาลนั้ น จะเห็ น ได้ ว่ า ช่ ว งกลางปี พ.ศ. 2436 จนถึ ง กลางปี พ.ศ. 2437 ไม่มีผู้มาขอรับยาเลย (เว้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2436) อาจเป็นเพราะยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ ว่าสามารถมาขอรับยาได้ การปรากฏคนมาขอรับยาเป็นผู้ชาย 5 คน ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2436 นั้น สันนิษฐานว่าเป็นเหตุสุดวิสัยโดยบังเอิญมากกว่า และการที่มีผู้มีรับยาในเดือนนี้นั้น เป็นหลักฐานที่แสดงให้ เห็นว่าโรงพยาบาลได้มาการแจกจาหน่ายยามาตั้งแต่ต้น ไม่ได้เริ่มเมื่อมี ข้อมูลการขอรับยาอย่างต่อเนื่องใน เวลาถัดมา คือตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2437 จนกระทั่งถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2445 มีผู้ที่เข้ามาขอรับยา
8
เรื่อยมา สันนิษฐานว่าประชาชนที่เข้ามารับยาที่โรงพยาบาลนี้นั้น ได้รับข้อมูลข่าวสารว่าสามารถมารับยาได้ และมีความเชื่อมั่นในการรับยาจากโรงพยาบาลมากกว่าปีแรกๆ นอกจากนี้นั้นยังมีระบุถึงจานวนผู้มาปลูกฝีที่โรงพยาบาลด้วย จะเห็นได้ว่าจานวนผู้ที่มาปลูกฝีในช่วง ปลายปีและต้นปี จะมีจานวนมากกว่าช่วงอื่นๆ ดังแผนภูมิต่อไปนี้
แผนภูมิจานวนคนที่เข้ารับการปลูกฝี รวม
ชาย
หญิง
1000 800 600 400 200
พฤษภาคม กันยายน มกราคม พฤษภาคม กันยายน มกราคม พฤษภาคม กันยายน มกราคม พฤษภาคม กันยายน พฤษภาคม เมษายน พฤศจิกายน กรกฎาคม พฤศจิกายน กรกฎาคม ธันวาคม พฤษภาคม ตุลาคม เมษายน
0
แผนภูมิที่ 1 แสดงจานวนผู้เข้ารับการปลูกฝีที่โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา จากแผนภู มิ ที่ 1 แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู้ ที่ เ ข้ า มารั บ การปลู ก ฝี จ ะมี ม ากในช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ และปีที่มีคนมาปลูกฝีที่โรงพยาบาลเทพศิรินทร์สูงที่สุดคือ เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2443 มีจานวนถึง 889 คน23 ซึ่งสอดคล้องกับการสาธารณสุขในสมัยนั้น มีการเชิญชวนให้ไปปลูกฝีที่โรงพยาบาล ในฤดูปลูกฝี (ประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์) ปรากฏการเชิญชวนให้ไปปลูกฝีที่โรงพยาบาลต่างๆ รวมทั้งโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ โดยไม่มีการเก็บค่าใช้จ่าย 24 นอกจากนี้ยังมีการเชิญชวนประชาชนไปปลูก ไข้ทรพิศม์ด้วย25 นอกจากนี้ โรงพยาบาลต่างๆ มักได้รับพระราชทาน ประทาน หรือรับมอบเงินและสิ่งของในการ เกื้อกูลกิจการ โรงพยาบาลเทพศิรินทร์เองก็เช่นกัน โดยราชกิจจานุเบกษาที่ลงเรื่องการบริจาคเงินและสิ่งของ เฉพาะเจาะจงมาที่โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ มีดังต่อไปนี้26
9
#
ชื่อผู้บริจาค
1. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 2. เจ้าดารารัศมี พระราชชายา 3. เจ้าจอมมารดาแสง 4. ชุ่ม เจ้าจอมมารดาเงิน 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
เจ้าจอมมารดาทิพเกสร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิทักษ์เทเวศร์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา หม่อมเจ้าขาว หม่อมเจ้าเต่า หม่อมเจ้าหญิงละไม หม่อมเจ้าหญิงละมุน หม่อมเจ้า ขาว หม่อมเจ้าพริ้ง ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระเทเวศร์วชั รินทร์ หม่อมเจ้าปราณี หม่อมเจ้าเจียก หม่อมราชวงศ์เนตร หม่อมราชวงศ์สวัสดิ์ หม่อมราชวงศ์วงษ์ (ผู้รักษาการเทพศิรินทร์พยาบาล)
18. พระครูวินยานุปุรณาจารย์ (วัดราชบูรณะ)
การบริจาค เงิน สิ่งของ 200 บาท - น้าดอกไม้เทศ 3 ขวด - พิมเสนหนัก 4 บาท 1 ขวด - หญ้าฝรั่นหนัก 6 บาท 1 สลึง 1 ขวด 10 บาท - ผ้าขาวเทศ 38 ผืน ผ้าขนจีน 50 ผืน 12 บาท - ข้าวสาร 4 ถัง 34 บาท 40 บาท 41 บาท 48 อัฐ ข้าวสาร 3 ถัง 60 บาท 2 บาท 30 บาท 23 บาท 12 บาท 25 เฟื้อง 15 บาท 20 อัฐ
-
7 บาท 2 บาท 7 บาท 32 อัฐ
-
-
ขันล้างหน้าทองเหลือง 3 ขัน ผ้าเช็ดหน้า 3 ผืน ผ้าห่ม 5 ผืน เสื่ออ่อน 1 ผืน หมอน 1 ใบ หมากดิบแห้ง 1,000 ซีก หนังสือมะราสันโนวาท 6 เล่ม หนังสือพระอภิณห 6 เล่ม
10
#
ชื่อผู้บริจาค
19. พระครูวินยานุปุรณาจารย์ (วัดไพชยนต์พลเสพ) 20. 21. 22. 23. 24. 25.
พระอมรวิไสยสรเดช พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร หลวงอินทรมนตรี หลวงไพศาลศิลปศาสตร์ หลวงไตรกิศยานุการ หลวงดารงแพทยาคุณ ขุนมหาวิไชย ขุนวรการพิเศษ ขุนสวา (อาเภอแขวงกรุงเก่า) เฉื่อย 26. ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ 27. ท่านชม นายแดงหร่าย (บ้านอยู่หัวลาโพง) 28. พิม (ภรรยาพระพิชัยชลธี เมืองปัจจันตคีรีเขตร) 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42.
นายแดง (หมอ) แฉ่ง (ภรรยานายแดง) นายน้อย นายชื่น นายอยู่ นายอ่วม นายสุด ทรัพย์ แฉ่ง นายคง นายสุด นายจุ่น นายแสง นายอิน นายหนู (แพทย์) จีนฉาย จีนเหมือน (อยู่ในบ้านเจ๊สัวเต๊ก) นายท้วม (แพทย์) นายสาย (เสมียน) นายสืบ (บุตรหลวงดารงแพทยาคุณ) หมอเอช. อาดาซัน
เงิน 1 บาท 6 บาท 4 บาท 25 เฟื้อง 12 บาท 1 บาท 3 บาท 22 บาท 6 บาท 2 บาท 3 บาท 2 บาท 32 อัฐ 9 บาท -20 บาท 13 บาท 32 อัฐ 12 บาท 12 บาท
การบริจาค สิ่งของ - ถังสังกะสี 2 ถัง - ชามเคลือบ 5 ชาม ถาด 1 ถาด - ลิ้นจี่ดอง 6 กระป๋อง เปลผ้าใบมีกรอบไม้สัก มีเพดานผ้าใบ พร้อมด้วยเชือกและห่วงเหล็ก ไม้หาม 1 เปล - ขอนดอก 30 ชั่ง สมุลแว้ง 4 ชั่ง - เทพทาโร 1 ชั่ง 14 ตาลึง ข้าวเจ้า 2 ถัง ข้าวเหนียว 1 ถัง ข้าวเจ้า 2 ถัง ข้าวเจ้า 3 ถัง ข้าวเจ้า 1 ถัง ข้าวเจ้า 1 ถัง สิ่งของ เช่น สุกร เป็นต้น 5 ถาด เหล็กคันโคม ติดประตูรั้ว 1 อัน อ่างเปลสังกะสี 1 อ่าง
11
การบริจาค เงิน สิ่งของ ถ้วยญี่ปุ่น 12 ถ้วย ถ้วยญี่ปุ่นมีฝา 2 ถ้วย กาถ้วยลายคราม 1 กา 43. นายเปลี่ยน ฆ้อง 1 ฆ้อง กระบะญี่ปุ่น 1 กระบะ ถาดสังกะสี 2 ถาด 44. จีนบั๋กเก๋ง กระป๋องเหล็ก ตารางที่ 2 ตารางรายการการบริจาคเงินและสิ่งของที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา #
ชื่อผู้บริจาค
จากตารางที่ 2 พบว่าโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ได้รับการบริจาคสิ่งของหลายอย่างที่สอดคล้องกับ บั ญ ชี ร ายการสิ่ ง ของที่ ย้ า ยไปโรงพยาบาลสามเสนในปี พ.ศ. 244527 เช่ น ผ้ า ขนจี น ผ้ า เช็ ด หน้ า ขัน ล้ างหน้ าทองเหลื อ ง ชามเคลื อบ ถาด ถังสั งกะสี กระป๋องเหล็ ก กาถ้ว ยลายคราม เสื่ ออ่อน หมอน เหล็ ก คั น โคม เป็ น ต้ น และมี ก ารพระราชทาน ประทาน บริ จ าคทรั พ ย์ ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ พระบรมวงศานุ ว งศ์ ราชนิ กู ล ขุ น นาง ตลอดจนพระสงฆ์ แ ละประชาชน แสดงให้ เ ห็ น ว่ า กิ จ การงาน โรงพยาบาลเทพศิรินทร์นั้นไม่อาจคงอยู่ได้ด้วยเงินสนับสนุนจากรัฐเพียงอย่างเดียว แต่จะคงอยู่ได้ด้วยการรับ เงินและสิ่งของบริจาค จากผู้ที่มีจิตกุศลศรัทธาอีกด้วย และการพบว่าบัญชีรายการของบริจาคสอดคล้องกับบัญชีรายการของที่ย้ายไปโรงพยาบาลสามเสน ในปี พ.ศ. 2445 นั้ น อาจเป็ น เพราะนโยบายการด าเนิ น กิ จ การของโรงพยาบาลในช่ว งนั้ นมุ่ ง เน้ น การ รักษาพยาบาลประชาชนให้หายขาดจากโรคภัยไข้เจ็บมากกว่ าเปิดโรงพยาบาลเพื่อแสวงหากาไร จึงต้องรับ บริจาคเงินและสิ่งของ และโยกย้ายข้าวของไปยังโรงพยาบาลแห่งใหม่ อีกทั้งยังได้ปรากฏหลักฐานงบประมาณ โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ในปี พ.ศ. 2445 ปีสุดท้ายที่เปิดทาการ ดังนี้ 28 เงินเดือน 3,710 บาท ค่าเบี้ยเลี้ยงและ ค่าใช้สอย 4,159 บาท รวม 7,869 บาท นับว่าเป็นจานวนเงินที่สูงพอสมควร จากที่เกริ่นไปในข้างต้นว่ามีการย้ายไปที่โรงพยาบาลสามเสนนั้น มีรายละเอียดดังนี้ ในปี พ.ศ. 2444 กรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิ การ ได้ส ร้างโรงพยาบาลสามเสนขึ้น 29 โดยมี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา (พระอิสริยยศขณะนั้นคื อ พระเจ้าน้องยาเธอ) อธิบดีกรมพยาบาล เป็นผู้ดาเนินการ การสร้างโรงพยาบาลใหม่นี้ต้องใช้ทุนทรัพย์จานวน มาก พระยาวุฒิการบดีจึงได้ปรึกษากับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ตกลงย้ายโรงพยาบาล เทพศิ ริ น ทร์ ไ ปรวมกั บ โรงพยาบาลสามเสน ด้ ว ยความว่ า “…เมื่ อ ได้ ก าหนดข้ อ ความตกลงเช่ น นี้ จึ ง เห็ น ด้ ว ยเกล้ า ฯ ว่ า โรงพยาบาลเทพศิ ริ น ธร์ ซึ่ ง มี อ ยู่ ใ นกรมพยาบาลทุ ก วั น นี้ คนไข้ ก็ ไ ม่ สู้ ม ากนั ก ควรที่จะย้ายการโรงพยาบาลนี้ไปเป็นโรงพยาบาลใหม่นั้นได้ ทั้งจะได้ใช้เครื่องใช้และเงินสาหรับโรงพยาบาล เทพศิรินธร์นั้น ให้แก่โรงพยาบาลใหม่ โดยไม่ต้องจัดหาต่อไป...”30 ซึ่งได้มีการทาบัญชีรายการสิ่งของที่ยกไป ยังโรงพยาบาลสามเสนทั้งสิ้น 197 รายการ31
12
การปิดตัวของโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ แล้วย้ายไปที่โรงพยาบาลสามเสนนั้น สร้างผลกระทบให้กับ พนักงานของโรงพยาบาลจานวนหนึ่ง บางคนไม่อาจย้ายไปทางานที่โรงพยาบาลสามเสนได้ เช่น นายท้วม ผู้เป็นแพทย์รองโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ท่านได้ขอทูลลาออกจากตาแหน่ง 32 หรือพนักงานคนอื่นๆ บางคน ต้องการหางานอื่น ทา จึ งได้ล าออก ดังปรากฏในเอกสารที่ห ลวงบรรหารวรอรรถได้ขอเบิกเงินเพื่อจ่าย เงินเดือนให้กับพนักงานดังกล่าว33 การปิดโรงพยาบาลเทพศิรินทร์แล้วเปิดโรงพยาบาลสามเสน (แผนที่ที่ 5) ได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 19 วันที่ 17 สิงหาคม ร.ศ.121 หน้า 421 ว่า พแนกกรมพยาบาล ปิดโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ แลเปิดโรงพยาบาลสามเสน ด้ ว ย ไ ด้ ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ าโ ปร ดเ ก ล้ า ฯ ใ ห้ ปิ ด รั บ ก า ร รั ก ษ าพ ย า บา ลคนไข้ ที่ โ รงเทพศิ ริ น ทร์ พ ยาบาล ตั้ ง แต่ วั น ที่ 31 กรกฎาคม ร.ศ. 121 และโปรดเกล้ า ฯ ให้ ตั้ ง โรงพยาบาลขึ้น ใหม่อีกตาบลหนึ่ง ที่ส ามเสน ในระหว่างถนนดวงเดือนนอก ตรงปากถนน ดาวข่างข้ามโรงพยาบาลสามเสนนี้ จะเปิดรับรักษาพยาบาลคนไข้ตั้งแต่ วันที่ 15 สิงหาคม ร.ศ.121 สืบไป กระทรวงธรรมการ วันที่ 5 สิงหาคม รัตนโกสินทร์ ศก 121 (ลงนาม) พระยาวุฒิการบดี แทนเสนาบดี34 เมื่อโรงพยาบาลเทพศิรินทร์ได้ปิด ตั ว ล ง พ ร ะ เ จ้ า บ ร ม ว ง ศ์ เ ธ อ ฯ ก ร ม ห มื่ น ม หิ ศ ร ร า ช ห ฤ ทั ย แ ล ะ พระยาวุฒิการบดี ทรงมีความเห็นว่า พื้นที่ บ ริ เ ว ณ โ ร ง พ ย า บ า ล เ ท พ ศิ ริ น ท ร์ นี้ “…จะใช้ เ ปนที่ ส าหรั บ ตั้ ง การจ าหน่ า ยยา ของรั ฐ บาลได้ดี ...”36 ซึ่งพระบาทสมเด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว มี พระราชหั ต ถเลขาพระราชทานมายั ง พระยาวุฒิการบดีว่า “…แลเห็นควรยกเลิก โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ เปนที่จาหน่ายยา ยกการพยาบาลมาที่ โ รงสามเสนนั้ น อนุญาตให้จัดการตามที่ได้ตกลงกัน”37
แผนที่ที่ 5 แผนที่บริเวณโรงพยาบาลสามเสน และวังสุโขทัย35 พ.ศ. 2450 มาตราส่วน 1 : 2,500
13
ชื่ อ ของสถานที่ จ่ า ยยานี้ ปรากฏครั้ ง แรกในหนั ง สื อ ราช การของหลว ง บรรหารวรอร ร ถว่ า ‘โอสถศาลา ’38 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แผนผั ง ‘ลั ก ษณะที่ ตั้ ง อาคารการเรี ย นและภาวะแวดล้ อ ม พ.ศ.2462’ ที่ศาสตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้ งพวงแก้ว อดีตรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้เขียนลงใน บทความ ‘โรงเรี ย นเทพศิ ริ น ทร์ ร ะหว่ า ง พ.ศ.2464 – 2472’39 ระบุ ชื่ อ ในบริ เ วณนี้ ว่ า ‘ศาลาแยกธาตุ รั ฐ บาล ’40 อี ก ทั้ ง ท่ า นได้ บรรยายไว้ว่า “…ด้านใต้ของ บริ เ วณโรงเรี ย นติ ด ถนน มี สถานที่ ร าชการของกรม ส า ธ า ร ณ สุ ข ใ น กระทรวงมหาดไทย เป็ น ศ า ล า แ ย ก ธ า ตุ ข อ ง รัฐบาล…”41
แผนที่ที่ 6 แผนผังลักษณะที่ตั้งอาคารการเรียนและภาวะแวดล้อม พ.ศ.246242
ต่อมาบริเวณนี้มีประชาชนอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่นมาก จนกระทั่งเกิดอัคคีภัยในปี พ.ศ. 2460 ไหม้บ้านเรือนบริเวณนี้ทั้งหมด เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เสนาบดีกระทรวงนครบาล ได้นาความกราบ บังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตัดถนนเพื่อความ เป็นระเบียบของบ้านเมือง จึงได้โปรดพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ตัดถนนขึ้นสามสาย คือถนน ไมตรีจิตต์ ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ บริเวณที่ ถนนสามสายนั้นมาตัดกันโปรดให้สร้างเป็นวงเวียน พระราชทานนามว่า 22 กรกฎาคม เริ่มก่อสร้างเมื่อ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2461 ปั จ จุ บั น ( พ . ศ . 2561) พื้ น ที่ บ ริ เ ว ณ โรงพยาบาลเดิมและสถานที่จ่ายยาในเวลาต่อมานั้น ไม่ มี อ ยู่ แ ล้ ว โดยมี ก ารใช้ พื้ น ที่ เ ป็ น ที่ พั ก อาศั ย และ อาคารพาณิช ยกรรมของเอกชน อีกทั้งยังมีการตั ด ถนนมิตรพันธ์ผ่ากลางพื้นที่ดังได้กล่าวไปในข้างต้น แผนที่ที่ 7 แผนที่วงเวียน 22 กรกฎาคมในปัจจุบัน43 มาตราส่วน 1 : 2,500
14
สรุป โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ก่อตั้งด้วยพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าศรี เสาวภางค์ ที่มีพระราชประสงค์ให้ มีโ รงพยาบาลขึ้นอย่างถาวรใน ประเทศไทย โดยสันนิษฐานว่าได้ถือกาเนิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2431 เนื่องจากเป็นปีที่ไม่ห่างจากงานพระเมรุของ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ฯ มากนัก จึงนาไม้ในงานมาใช้ได้ สถานที่ ตั้ ง ของโรงพยาบาลนั้ น ตั้ ง อยู่ ที่ เ ขตป้ อ มปราบศั ต รู พ่ า ย (ติ ด กั บ ตั ว ป้ อ ม) โรงพยาบาล เทพศิรินทร์มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เห็นได้ชัดจากการที่ขออนุญาตขยายพื้นที่โรงพยาบาลออกไปเมื่อเริ่มมี คนไข้ เ พิ่ ม ขึ้ น จากระยะแรก คนไข้ ที่ เ ข้ า รั บ การรั ก ษา มาขอรั บ ยา และมาปลู ก ฝี ที่ โ รงพยาบาลนี้ นั้ น คาดว่าน่าจะเป็นประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากอัตราการเข้าใช้บริการโรงพยาบาลในด้านต่างๆ ค่อนข้างคงที่ มี เ พี ย งจ านวนผู้ ม าปลู ก ฝี เ ท่ า นั้ น ที่ เ ห็ น ความแตกต่ า งระหว่ า งช่ ว งปกติ กั บ ฤดู ป ลู ก ฝี อ ย่ า งชั ด เจน โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ได้รับบริจาคทรัพย์และสิ่งของอยู่เป็นประจา ทั้งจากเชื้อพระวงศ์ พระสงฆ์ และ ประชาชน แสดงให้เห็นถึงการปัจจัยและนโยบายการดาเนินกิจการของโรงพยาบาล และสุ ด ท้ า ย โ รงพยาบาล ปิ ด อย่ า งเป็ นท าง กา รใน วั น ที่ 31 กรกฎ าคม พ. ศ. 2445 ด้ว ยเหตุที่มีการสร้ างโรงพยาบาลสามเสนขึ้น และกรมพยาบาลต้องการลดค่าใช้จ่ายจึงนาโรงพยาบาล เทพศิรินทร์ไปรวม คงเหลือแต่การเป็นสถานที่ จ่ายยา (โอสถศาลา) ซึ่งสถานที่จ่ายยานี้ได้ดาเนินงานมาถึง เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐาน ในปี พ.ศ.2461 มีการตัดถนนมิตรพันธ์ผ่ากลางพื้นที่ และในปัจจุบัน (พ.ศ.2561) พื้นที่บริเวณนีเ้ ป็นที่อยู่อาศัยและอาคารพาณิชยกรรมของเอกชนแทน
15
___________ 1มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาล , อนุ ส รณ์ 84 ปี ศิ ริ ร าช, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2519), 502. 2คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล, ประวัติโรงพยาบาลศิริราช, เข้าถึงเมื่อ 18 เมษายน 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.si.mahidol.ac.th/sirirajhospital/history.php 3จินตนา ศิรินาวิน , ศุภชัย รัตนมณีฉัตร และประเสริฐ ทองเจริญ , ศิริราชร้อยปี ประวัติและ วิวัฒนาการ, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพฯ: วิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์, 2531), 16. 4มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, อนุสรณ์ 84 ปี ศิริราช, 502 – 503. 5จินตนา ศิรินาวิน, ศุภชัย รัตนมณีฉัตร และประเสริฐ ทองเจริญ, ศิริราชร้อยปี ประวัติและวิวัฒนาการ. 6คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล, ประวัติโรงพยาบาลศิริราช. 7จินตนา ศิรินาวิน, ศุภชัย รัตนมณีฉัตร และประเสริฐ ทองเจริญ, ศิริราชร้อยปี ประวัติและวิวัฒนาการ. 8ส่งไปพิมพ์ที่ประเทศอังกฤษระหว่างปี พ.ศ. 2430 – 2431 9กรมแผนที่ ท หาร, แผนที่ ก รุ ง เทพฯ พ.ศ. 2431 – 2474, พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 (กรุ ง เทพฯ: กองบัญชาการทหารสูงสุด, 2542), แผนที่ Plan of Bangkok A.D. 1888. 10เจ้าพนักงานแผนที่ทาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2430 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2439 11กรมแผนที่ทหาร, แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431 – 2474, แผนที่กรุงเทพฯ. 12คณะกรรมการโครงการชาระและจัดพิมพ์เผยเพร่หนังชุดประชุมพงศาวดาร, ประชุมพงศาวดารฉบับ กาญจนาภิเษก, เล่ม 5, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2542), 277. 13ส านั ก หอจดหมายเ หตุ แห่ งช า ติ . ศ ธ . 24/11 (18/64) เอกสาร กรม พ ย า บ า ล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องจะขยายที่โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ร.ศ.112 (2436 – 2437) 14ดู เ พิ่ ม ใน ส านั ก หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ . ศธ. 24/11 (18/64) เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องจะขยายที่โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ร.ศ.112 (2436 – 2437), หน้า 2 -3, แผนผัง. 15สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/1 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเทพศิรินทร์พยาบาลขอที่ทาโรงพยาบาลคลอดบุตร (17 พฤษภาคม – 14 มิถุนายน 2436) 16สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/3 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องสร้างโรงแถวหน้าโรงเทพศิรินทร์พยาบาล (12 พฤศจิกายน 2438 – 9 กันยายน 2439)
16
17ส านั กหอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .
ผจ. ร5 น/18 แผนที่ กรมราชเลขาธิ การ รั ชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล แผนที่คลองผดุง กรุงเทพ แสดงที่ตั้งบ้านเรือนราษฎรตามแนวคลอง พ.ศ.2439 แยกออกจากเอกสารหมายเลข ร5 น18.1/31 (พ.ศ. 2439) 18เรื่องเดียวกัน. 19เรื่องเดียวกัน. 20สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/2 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่องนายจุ้ย คนไข้โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ตกน้าตาย (17 กันยายน – 1 พฤศจิกายน 2436) 21เรื่องเดียวกัน. 22“แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (12 กันยายน 2436): 284. , เล่ม 10, (19 มิถุนายน 2436): 180. , เล่ม 10, (4 มกราคม 2436): 480. , เล่ม 10, (25 กรกฎาคม 2436): 233. , เล่ม 10, (11 สิงหาคม 2436): 247. , เล่ม 10, (12 ตุลาคม 2436): 312. , เล่ม 10, (6 พฤศจิกายน 2436): 396. , เล่ม 10, (11 มกราคม 2436): 496. , เล่ม 10, (23 กุมภาพันธ์ 2436): 545. , เล่ม 11, (24 มีนาคม 2436): 8. , เล่ม 11, (5 พฤษภาคม 2436): 61. , เล่ม 11, (12 มิถุนายน 2437): 102. , เล่ม 11, (2 กันยายน 2437): 194. , เล่ม 11, (18 กันยายน 2437): 211. , “รายงานกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ ม 11, (17 ตุ ลาคม 2437): 246. , เล่ม 11, (20 ตุลาคม 2437): 254. , เล่ม 11, (21 ตุลาคม 2437): 267. , เล่ม 11, (4 สิงหาคม 2437): 293. , เล่ม 11, (16 มกราคม 2437): 386. , เล่ม 11, (19 มกราคม 2437): 397. , เล่ม 12, (28 มีนาคม 2437): 14. , เล่ม 12, (30 มีนาคม 2437): 36. , เล่ม 12, (28 เมษายน 2437): 63. , เล่ม 12, (4 มิถุนายน 2438): 98. , เล่ม 12, (8 กรกฎาคม 2438): 130. , เล่ม 12, (15 สิงหาคม 2438): 207. , เล่ม 12, (31 สิงหาคม 2438): 266. , เล่ม 12, (28 กันยายน 2438): 274. , เล่ม 12, (16 ตุลาคม 2438): 300. , เล่ม 12, (29 พฤศจิกายน 2438): 350. , เล่ม 12, (26 พฤศจิกายน 2438): 406. , เล่ม 12, (20 มกราคม 2438): 434. , เล่ม 12, (20 กุมภาพันธ์ 2438): 506. , เล่ม 12, (20 มีนาคม 2438): 514. , เล่ม 13, (6 พฤษภาคม 2438): 95. , เล่ ม 13, (17 พฤษภาคม 2439): 148. , เล่ม 13, (17 พฤษภาคม 2439): 148. , เล่ม 13, (30 กรกฎาคม 2439): 207. , เล่ม 13, (30 สิงหาคม 2439): 358. , เล่ม 13, (15 ตุลาคม 2439): 426. , เล่ม 13, (1 พฤศจิกายน 2439): 516. , เล่ม 13, (9 พฤศจิกายน 2439): 528. , เล่ม 13, (9 มกราคม 2439): 544. , เล่ม 14, (27 เมษายน 2439): 80. , เล่ม 14, (20 มิถุนายน 2440): 224. , เล่ม 14, (22 กรกฎาคม 2440): 320. , เล่ม 14, (9 สิงหาคม 2440): 336. , เล่ ม 14, (9 กั นยายน 2440): 346. , เล่ม 15, (2441): 161. , เล่ม 15, (31 กรกฎาคม 2441): 301. , เล่ม 15, (15 สิงหาคม 2441): 429. , เล่ม 15, (22 พฤศจิกายน 2441): 383. , เล่ม 15, (15 ธันวาคม 2441): 429. , เล่ม 16, (6 สิงหาคม 2442): 238. ,
17
เล่ม 16, (20 สิงหาคม 2442): 274. , เล่ม 16, (10 กันยายน 2442): 322. , เล่ม 16, (26 พฤศจิกายน 2442): 508. , เล่ม 16, (10 ธันวาคม 2442): 532. , เล่ม 16, (14 มกราคม 2442): 606. , เล่ ม 16, (21 มกราคม 2442): 618. , เล่ม 16, (25 กุมภาพันธ์ 2442): 682. , เล่ม 17, (19 สิงหาคม 2443): 262. , เล่ม 17, (26 สิงหาคม 2443): 286. , เล่ม 17, (3 มีนาคม 2443): 714. , เล่ม 17, (10 มีนาคม 2443): .734 , เล่ม 17, (17 มีนาคม 2443): 764. , เล่ม 17, (31 มีนาคม 2443): 786. , เล่ม 18, (7 เมษายน 2443): 16. , เล่ม 18, (14 เมษายน 2443): 26. , เล่ม 18, (21 เมษายน 2443): 38. , เล่ม 18, (29 กันยายน 2443): 444. , เล่ ม 18, (6 ตุลาคม 2444): 747. , เล่ม 18, (13 ตุลาคม 2444): 503. , เล่ม 18, (27 ตุลาคม 2444): 556. , เล่ม 18, (3 พฤศจิกายน 2444): 595. , เล่ม 18, (17 พฤศจิกายน 2444): 660. , เล่ม 18, (8 ธันวาคม 2444): 700. , เล่ม 18, (9 กุมภาพันธ์ 2444): 858. , เล่ม 18, (2 มีนาคม 2444): 914. , เล่ม 19, (27 เมษายน 2444): 64. , เล่ม 19, (6 กรกฎาคม 2445): 272. , เล่ม 19, (13 กรกฎาคม 2445): 290. , เล่ม 19, (24 สิงหาคม 2445): 432. , เล่ม 19, (14 กันยายน 2445): 489. 23“รายงานกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (14 เมษายน 2443): 26. 24“แจ้ งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุ เบกษา เล่ ม 10, (29 ธั นวาคม 2436): 458. , เล่ม 11, (14 พฤศจิกายน 2437): 281. และ เล่ม 13, (21 พฤศจิกายน 2439): 439 – 440. 25 ดู เ พิ่ ม ใน “แจ้ ง ความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจ จานุ เ บกษา เล่ ม 16, (10 ธันวาคม 2442): 26. 26“แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (17 ตุลาคม 2437): 239. , เล่ม 12, (27 มิถุนายน 2438): 102. , เล่ม 12 (28 กันยายน 2438): 253. , เล่ม 12 (29 พฤศจิกายน 2438): 346. , เล่ม 14 (6 เมษายน 2440): 54. , เล่ม 14 (8 กรกฎาคม 2440): 269. , เล่ ม 15 (18 เมษายน 2441): 36. , เล่ม 15 (19 มิถุนายน 2441): 159. , เล่ม 15 (13 ตุลาคม 2441): 314 – 315. , เล่ ม 16 (7 เมษายน 2442): 85 – 86. , เล่ม 17 (18 มีนาคม 2442): 16. , เล่ม 16 (30 พฤษภาคม 2442): 150. , เล่ ม 13 (24 มี นาคม 2438): 31. , เล่ม 14 (21 ตุลาคม 2440): 511. , เล่ม 13 (10 พฤษภาคม 2439): 102 – 103. , เล่ม10(5กุมภาพันธ์ 2436):516–517., เล่ม 11 (16 มกราคม 2437): 384. , เล่ม 16 (27 พฤศจิกายน 2442): 516. , เล่ม 13 (9 ธันวาคม 2438): 454. , เล่ม 12 (14 ตุลาคม 2438): 271 – 272. , เล่ม 13 (12 มกราคม 2439): 513. , เล่ ม 13 (31 สิ งหาคม 2438): 260. , เล่ม 19 (18 มิถุนายน 2445): 248. , เล่ม 19 (29 กรกฎาคม 2445): 347. , เล่ ม 12 (15 สิ งหาคม 2438): 206. , เล่ม 13 (2 กันยายน 2438): 287. , เล่ม 15 (11 กันยายน 2441): 299. 27สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/7 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อ งหลวงบรรหารวรอรรถต้อ งหาว่ายั ก ยอกสิ่ ง ของของโรงพยาบาลเทพศิ ริ น ธร์ (4 สิ ง หาคม – 5 ธันวาคม 2445)
18
28สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ.
ศธ. 8.2 ค/1 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง สร้ า งโรงพยาบาลสามเสนและยกโรงเทพศิ ริ น ทร์ พ ยาบาลไปสมทบ (19 เมษายน 2444 – 14 สิงหาคม 2445) 29โรงพยาบาลสามเสน สังกัดกรมสุ ขาภิ บาล กระทรวงนครบาล ตั้งอยู่เชิงสะพานแดง (บริ เวณ ถนนสุ โขทั ยด้ านแม่ น้ าเจ้ าพระยา มี สะพานแดงต่ อจากถนนยื่ นลงแม่ น้ า) ปรากฏชื่ อแพทย์ ประจ า โรงพยาบาลท่านหนึ่ งคือ หมอติลลิกี (Dr. Tilleke) จากหลักฐานที่ปรากฏ ท่านได้สนับสนุนช่วยเหลื อ วชิรพยาบาลในคราวตั้งตัวอยู่ มาก ทั้งตัวแพทย์และเวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ ต่อมาเมื่อหมอติ ลลิ กีมาเป็ น ผู้ อานวยการวชิรพยาบาล ได้สละเครื่องมื อแพทย์ ยา ครุภัณฑ์ เครื่องแก้ว เครื่องมือตรวจเชื้ อ เช่น กล้ องจุ ลทรรศน์ เครื่ องปั่ นโลหิ ตและปัสสาวะ ตลอดจนเตี ยงตรวจ เตียงผ่ าตัดและของใช้เบ็ ดเตล็ ด เพื่ อเป็ นสาธารณกุ ศลใช้ ในวชิ รพยาบาลในวั นพิ ธี เปิ ดป้ ายโรงพยาบาล จนกระทั่ งในปี พ.ศ. 2455 ตามหลักฐานหนังสือทูลเกล้าฯ จากศาลาว่าการนครบาลลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2455 เรื่อง ‘ตกลงซื้อ สถานที่นี้ (วชิรพยาบาล) กับแบงค์สยามกัมมาจลด้วยราคา 240,000 บาท’ นั้น มีการเสนอความเห็นว่า นอกจากวชิรพยาบาลจะรับรักษาข้าราชการในราชสานักแล้วจะรับรักษาราษฎรในตอนเหนือของพระนคร ด้วย และควรเลิกโรงพยาบาลสามเสนที่มีอยู่เวลานั้น โดยยกมารวมกับวชิรพยาบาล พร้อมกับยกเงิ น พระคลังมหาสมบัติที่เคยอุดหนุนโรงพยาบาลสามเสนอยู่ปีละ 7,200 บาท นั้น มาช่วยพระคลังข้างที่ด้วย ดู เพิ่ มใน คณะแพทยศาสตร์ ว ชิ ร พยาบาล, ประวั ติ ค ณะแพทยศาสตร์ วชิ ร พยาบาล, เข้ าถึ งเมื่ อ 30 เมษายน 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.vajira.ac.th/b/index.php/2015-07-07-09-33-26/history 30สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ค/1 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง สร้ า งโรงพยาบาลสามเสนและยกโรงเทพศิ ริ น ทร์ พ ยาบาลไปสมทบ (19 เมษายน 2444 – 14 สิงหาคม 2445) 31สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/7 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลวงบรรหารวรอรรถต้ อ งหาว่ า ยั ก ยอกสิ่ ง ของของโรงพยาบาลเทพศิ ริ น ธร์ (4 สิ ง หาคม – 5 ธันวาคม 2445) 32ส านั กหอจดหมายเหตุ แห่ งชาติ . ศธ. 8.2 ง/5 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึ กษาธิ การ เรื่องนายท้วมแพทย์รองโรงเทพศิรินทร์พยาบาลขอลาออก (5 – 7 กรกฎาคม 2445) 33สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/6 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องหลวงบรรหารขอรับเงินเดือนพนักงานแลค่าใช้สรอย โรงเทพศิรินทร์พยาบาลจานวนกรกฎาคม 121 (17 – 22 กรกฎาคม 2445)
19
34“แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล,” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (5 สิงหาคม 2445): 412. 35บัณฑิต
จุลาสัย, เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร, พีรศรี โพวาทอง, แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 24502550, พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 (กรุ ง เทพฯ: ส านั ก ผั ง เมื อ ง กรุ ง เทพมหานคร, 2550), แผนที่ ก รุ ง เทพฯ พ.ศ. 2450 แผ่นที่ 2. 36สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ค/1 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อ งสร้ า งโรงพยาบาลสามเสนและยกโรงเทพศิ ริ น ทร์ พ ยาบาลไปสมทบ (19 เมษายน 2444 – 14 สิงหาคม 2445) 37เรื่องเดียวกัน. 38สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ศธ. 8.2 ง/7 เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อ งหลวงบรรหารวรอรรถต้อ งหาว่ายั ก ยอกสิ่ ง ของของโรงพยาบาลเทพศิ ริ น ธร์ (4 สิ ง หาคม – 5 ธันวาคม 2445) 39เสม พริ้ ง พวงแก้ ว , “โรงเรี ย นเทพศิ ริ น ทร์ ร ะหว่ า ง พ.ศ.2464 – 2472,” ใน 100 ปี เทพศิรินทร์ 15 มีนาคม 2428 – 2528 (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด สานักพิมพ์ประกายพรึก, 2528), 402. 40ศาลาแยกธาตุ นี้ พั ฒ นามาจากกองแยกธาตุ กรมพั ฒ นาพาณิ ช ย์ แ ละสถิ ติ พ ยากรณ์ กระทรวงพระคลั งมหาสมบั ติ ในปี พ.ศ. 2561 โดยย้ายมาสั งกัดกระทรวงพาณิช ย์และคมนาคม ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 เปลี่ยนเป็นกรมวิทยาศาสตร์ กระทรวงเศรษฐการ ในปี พ.ศ. 2484 เปลี่ยนเป็น กรมวิทยาศาสตร์ กระทรวงเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. 2485 เปลี่ยนเป็นกรมวิทยาศาสตร์ สังกัดกระทรวง การอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. 2496 กระทรวงการอุตสาหกรรม เปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงอุตสาหกรรม ผลของการเปลี่ ย นแปลงในช่ ว งนี้ กองเภสั ช กรรม ได้ ถู ก โอนย้ า ยไปตั้ ง หน่ ว ยงานใหม่ เป็ น กรมวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข ดู เ พิ่ ม ใน กรมวิ ท ยาศาสตร์ บ ริ ก าร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, จารึก พ.ศ. 2552 118 ปี ศาลาแยกธาตุ – กรมวิทยาศาสตร์ บริการ, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพฯ: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, 2552), 13 – 27. 41เสม พริ้ ง พวงแก้ ว , “โรงเรี ย นเทพศิ ริ น ทร์ ร ะหว่ า ง พ.ศ.2464 – 2472,” ใน 100 ปี เทพศิรินทร์ 15 มีนาคม 2428 – 2528, 404. 42เรื่องเดียวกัน. 43บัณฑิต จุลาสัย , เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร, พีรศรี โพวาทอง, แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 24502550, แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2550 แผ่นที่ 22.
20
บรรณานุกรม กรมแผนที่ทหาร. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431 – 2474. กรุงเทพฯ: กองบัญชาการทหารสูงสุด, 2542. คณะกรรมการโครงการช าระและจัดพิมพ์เผยเพร่หนั งชุ ดประชุ มพงศาวดาร. ประชุมพงศาวดารฉบั บ กาญจนาภิเษก. เล่ม 5. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2542. คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. ประวัติโรงพยาบาลศิริราช. เข้าถึงเมื่อ 18 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จาก http://www.si.mahidol.ac.th/sirirajhospital/history.php คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล. ประวัติคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล. เข้าถึงเมื่อ 30 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จาก http://www.vajira.ac.th/b/index.php/2015-07-07-09-33-26/history “แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล เรื่อง รายงานคนไข้. ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (12 กันยายน 2436): 284. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (19 มิถุนายน 2436): 180. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (4 มกราคม 2436): 480. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (25 กรกฎาคม 2436): 233. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (11 สิงหาคม 2436): 247. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (12 ตุลาคม 2436): 312. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (6 พฤศจิกายน 2436): 396. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (11 มกราคม 2436): 496. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (23 กุมภาพันธ์ 2436): 545. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (24 มีนาคม 2436): 8. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (5 พฤษภาคม 2436): 61. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (12 มิถุนายน 2437): 102. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (2 กันยายน 2437): 194. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (18 กันยายน 2437): 211. “แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10 (5 กุมภาพันธ์ 2436): 516 – 517. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11 (16 มกราคม 2437): 384. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (17 ตุลาคม 2437): 239.
21
__________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12 (14 ตุลาคม 2438): 271 – 272. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12 (15 สิงหาคม 2438): 206. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12 (28 กันยายน 2438): 253. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12 (29 พฤศจิกายน 2438): 346. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (27 มิถุนายน 2438): 102. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (10 พฤษภาคม 2439): 102 – 103. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (12 มกราคม 2439): 513. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (2 กันยายน 2438): 287. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (24 มีนาคม 2438): 31. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (31 สิงหาคม 2438): 260. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 (9 ธันวาคม 2438): 454. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14 (21 ตุลาคม 2440): 511. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14 (6 เมษายน 2440): 54. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14 (8 กรกฎาคม 2440): 269. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15 (11 กันยายน 2441): 299. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15 (13 ตุลาคม 2441): 314 – 315. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15 (18 เมษายน 2441): 36. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15 (19 มิถุนายน 2441): 159. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16 (27 พฤศจิกายน 2442): 516. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16 (30 พฤษภาคม 2442): 150. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16 (7 เมษายน 2442): 85 – 86. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (10 ธันวาคม 2442): 26. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17 (18 มีนาคม 2442): 16. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19 (18 มิถุนายน 2445): 248. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19 (29 กรกฎาคม 2445): 347. __________.ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (5 สิงหาคม 2445): 412.
22
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ดล ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ศิ ริ ร า ช พ ย า บ า ล . อ นุ ส ร ณ์ 8 4 ปี ศิ ริ ร า ช . กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2519. “รายงานกระทรวงธรรมการ แผนกพยาบาล.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10, (29 ธันวาคม 2436): 458. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (14 พฤศจิกายน 2437): 281. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (16 มกราคม 2437): 386. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (17 ตุลาคม 2437): 246. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (19 มกราคม 2437): 397. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (20 ตุลาคม 2437): 254. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (21 ตุลาคม 2437): 267. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 11, (4 สิงหาคม 2437): 293. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (15 สิงหาคม 2438): 207. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (16 ตุลาคม 2438): 300. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (20 กุมภาพันธ์ 2438): 506. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (20 มกราคม 2438): 434. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (20 มีนาคม 2438): 514. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (26 พฤศจิกายน 2438): 406. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (28 เมษายน 2437): 63. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (28 กันยายน 2438): 274. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (28 มีนาคม 2437): 14. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (29 พฤศจิกายน 2438): 350. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (30 มีนาคม 2437): 36. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (31 สิงหาคม 2438): 266. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (4 มิถุนายน 2438): 98. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 12, (8 กรกฎาคม 2438): 130. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (1 พฤศจิกายน 2439): 516. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (15 ตุลาคม 2439): 426. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (17 พฤษภาคม 2439): 148. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (17 พฤษภาคม 2439): 148.
23
__________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (21 พฤศจิกายน 2439): 439 – 440. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (30 กรกฎาคม 2439): 207. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (30 สิงหาคม 2439): 358. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (6 พฤษภาคม 2438): 95. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (9 พฤศจิกายน 2439): 528. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13, (9 มกราคม 2439): 544. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14, (20 มิถุนายน 2440): 224. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14, (22 กรกฎาคม 2440): 320. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14, (27 เมษายน 2439): 80. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14, (9 กันยายน 2440): 346. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14, (9 สิงหาคม 2440): 336. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15, (15 ธันวาคม 2441): 429. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15, (15 สิงหาคม 2441): 429. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15, (22 พฤศจิกายน 2441): 383 __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15, (2441): 161. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15, (31 กรกฎาคม 2441): 301. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (10 กันยายน 2442): 322. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (10 ธันวาคม 2442): 532. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (14 มกราคม 2442): 606. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (20 สิงหาคม 2442): 274. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (21 มกราคม 2442): 618. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (25 กุมภาพันธ์ 2442): 682. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (26 พฤศจิกายน 2442): 508. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 16, (6 สิงหาคม 2442): 238. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (10 มีนาคม 2443): 734. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (17 มีนาคม 2443): 764. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (19 สิงหาคม 2443): 262. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (26 สิงหาคม 2443): 286.
24
__________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (3 มีนาคม 2443): 714. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 17, (31 มีนาคม 2443): 786. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (13 ตุลาคม 2444): 503. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (14 เมษายน 2443): 26. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (14 เมษายน 2443): 26. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (17 พฤศจิกายน 2444): 660. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (2 มีนาคม 2444): 914. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (21 เมษายน 2443): 38. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (27 ตุลาคม 2444): 556. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (29 กันยายน 2443): 444. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (3 พฤศจิกายน 2444): 595. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (6 ตุลาคม 2444): 747. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (7 เมษายน 2443): 16. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (8 ธันวาคม 2444): 700. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 18, (9 กุมภาพันธ์ 2444): 858. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (13 กรกฎาคม 2445): 290. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (14 กันยายน 2445): 489. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (24 สิงหาคม 2445): 432. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (27 เมษายน 2444): 64. __________. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 19, (6 กรกฎาคม 2445): 272. สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. แผนที่ กรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล ผจ. ร5 น/18 แผนที่คลองผดุง กรุงเทพ แสดงที่ตั้งบ้านเรือนราษฎรตามแนวคลอง พ.ศ.2439 แยกออก จากเอกสารหมายเลข ร5 น18.1/31 (พ.ศ. 2439) สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ค/1 เรื่องสร้าง โรงพยาบาลสามเสนและยกโรงเทพศิรินทร์พยาบาลไปสมทบ (19 เมษายน 2444 – 14 สิงหาคม 2445) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ศ ธ . 8.2 ง/ 2 เรื่ อ งนายจุ้ ย คนไข้โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ตกน้าตาย (17 กันยายน – 1 พฤศจิกายน 2436)
25
__________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ง/5 เรื่องนายท้วมแพทย์รอง โรงเทพศิรินทร์พยาบาลขอลาออก (5 – 7 กรกฎาคม 2445) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ง/6 เรื่องหลวงบรรหารขอรับ เงิ น เดื อ นพนั ก งานแลค่ า ใช้ ส รอย โรงเทพศิ ริ น ทร์ พ ยาบาลจ านวนกรกฎาคม 121 (17 – 22 กรกฎาคม 2445) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 24/11 (18/64) เรื่องจะขยายที่ โรงพยาบาลเทพศิรินทร์ ร.ศ.112 (2436 – 2437) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ง/1 เรื่องเทพศิรินทร์พยาบาลขอ ที่ทาโรงพยาบาลคลอดบุตร (17 พฤษภาคม – 14 มิถุนายน 2436) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ง/3 เรื่องสร้างโรงแถวหน้า โรงเทพศิรินทร์พยาบาล (12 พฤศจิกายน 2438 – 9 กันยายน 2439) __________. เอกสารกรมพยาบาล กระทรวงศึกษาธิการ ศธ. 8.2 ง/7 เรื่องหลวงบรรหารวรอรรถ ต้ อ ง ห า ว่ า ยั ก ย อ ก สิ่ ง ข อ ง ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล เ ท พ ศิ ริ น ธ ร์ ( 4 สิ ง ห า ค ม – 5 ธันวาคม 2445) เสม พริ้ งพวงแก้ว . “โรงเรี ย นเทพศิ ริน ทร์ร ะหว่า ง พ.ศ.2464 – 2472.” ใน 100 ปี เทพศิ ริ น ทร์ 15 มีนาคม 2428 – 2528, 402 , 404. รัตนะ ยาวะประภาษ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด สานักพิมพ์ประกายพรึก, 2528. จิ น ตนา ศิ ริ น าวิ น , ศุ ภ ชั ย รั ต นมณี ฉั ต ร และประเสริ ฐ ทองเจริ ญ . ศิ ริ ร าชร้ อ ยปี ประวั ติ แ ละ วิวัฒนาการ. กรุงเทพฯ: วิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์, 2531. บัณฑิต จุลาสัย, เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร และพีรศรี โพวาทอง. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450-2550. กรุงเทพฯ: สานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550.