1
2
3
สารจากผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ศิลปะ คือ สื่อกลางในการขับเคลื่อนพลังทางความคิดสร้างสรรค์ โดยไม่จ�ำ กัดเพศ วัย อายุ การศึกษา ศิลปะยังเป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยสร้างสุนทรียภาพ ในสังคมให้รื่นรมย์และน่าอยู่ ปัจจุบันเยาวชนไทยหันมาให้ความสนใจกับ การศึ ก ษาศิ ล ปะแขนงต่ า งๆ มากยิ ่ ง ขึ ้ น ซึ ่ ง นั บ ว่ า เป็ น เรื ่ องน่ า ยิ น ดี ย ิ ่ ง สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการ ส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ จึงได้ ร่ ว มกั บ สภาศิ ล ปกรรมไทยสหรั ฐ อเมริ ก า โดย ดร.กมล ทั ศ นาญชลี ศิลปินแห่งชาติ จัดโครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย อย่างต่อเนื่องเข้าสู่ปีที่ 6 แล้ว เพื่อเป็นการเปิดเวที ให้เยาวชนได้มีพื้นที่ แสดงออกถึงความสามารถเชิงศิลปะ รวมทั้งเป็นการเพิ่มพูนความรู้ เปิดโลกทัศน์ เปิดมุมมองและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกันระหว่าง เยาวชนจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ จนเกิดเป็นกลุ่มเครือข่าย ทางศิลปะของคนรุ่นใหม่ ซึ่งสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยมีความ ภาคภู มิ ใ จที่ มี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการสนั บ สนุ น และผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา บุคลากรในวงการศิลปะอย่างต่อเนื่อง สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย จึงได้กำ�หนดจัดนิทรรศการ โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยครั้งที่ 6 ประจำ�ปี 2558 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสชื่นชมผลงานศิลปะที่เต็มเปี่ยมไป ด้วยพลังแห่งการสร้างสรรค์ เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการได้ทุ่มเทแรงกาย แรงใจเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีเยี่ยม หวังเป็นอย่างยิ่งว่านิทรรศการในครั้งนี้ จะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการจุ ด ประกายให้ เ ยาวชนรุ่ น ใหม่ เ กิ ด แรงบั น ดาลใจ สร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ และพยายามพัฒนาศักยภาพของตนเองให้ เป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะร่วมสมัยต่อไป นายชาย นครชัย ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
4
Message from Director – General of the Office of Contemporary Art and Culture
Art is the channel to motivate the power of creativity without the limitation of gender, age and education. Moreover, art brings joy and the aesthetic environment into the society. Currently, young Thai people turn to pay more attention to learn in various kinds of art which is a considerably delighted phenomenon. The Office of Contemporary Art and Culture has recognized in the significance of promoting art and culture among the young generation. Hence, the Office of Contemporary Art and Culture together with Thai Art Council USA by Dr. Kamol Tassanachalee – Thai National Artist, have been organizing the annual Contemporary Art Thai Youth Camp which has already entered its sixth year. Participation in this project, students from different institutions have space and opportunity to show their artistic ability, exchange their artistic experience, collect the
new artistic knowledge, information and perspective. These elements eventually lead to the emergence of artistic network among the young generation. As progressively being the principal drive behind the development of art practitioners, The Office of Contemporary Art and Culture is deeply proud of it. The Office of Contemporary Art and Culture also sets up the exhibition “Young Artists Talent #6 2015” for the general public to witness the artistic and creative ability of the young Thai artists who have devoted themselves to make the great works. We truly hope that the exhibition will inspire the young generation to create more artworks and motivate them to put great effort to flourish artistic skill and ability in order to achieve their potentials in contemporary art in future.
Chai Nakhonchai Director – General of the Office of Contemporary Art and Culture
5
สารจากประธาน สภาศิลปกรรมไทยสหรัฐอเมริกา สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ได้สง่ เสริม ศิลปะร่วมสมัย เป็นเวลาต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 6 เพื่อการส่งเสริมสนับสนุนยุว ศิลปินที่จะเติบโตต่อไปในอนาคตเป็นกำ�ลังของประเทศชาติ ในระดับสากล ดำ�เนิน การมาตั้งแต่ ใช้บ้านดำ�ของศิลปินแห่งชาติ ดร.ถวัลย์ ดัชนี เป็นฐานปฏิบัติงาน ศิลปะต่อเนื่องกันมา 5 ปี สำ�หรับปี 2558 นี้ได้ ใช้มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน เป็นฐานสำ�คัญและ มีความพร้อมสูงในการใช้อปุ กรณ์แท่นพิมพ์ ห้องเครือ่ งปัน้ ดินเผา จิตรกรรม ประติมากรรม และสื่อผสม และยังสะดวกในการเดินทางมหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน มีห้องนิทรรศการศิลปะ สามารถติดตั้งผลงานศิลปะแสดงผลงานได้ พร้อม ยุวศิลปิน 70 คน ที่ได้รับการคัดเลือกจากทุกมหาวิทยาลัยที่มีการเรียน การสอนศิลปะ เดินทางเข้ารับการอบรมและปฏิบัติงานสดภายในเวลาที่กำ�หนด ให้ โดยเปิดโอกาสให้ยุวศิลปินนำ�อุปกรณ์ของใช้ที่ตนถนัด (เฉพาะตน) มาสร้าง ผลงานสดๆ ในเวลาที่กำ�หนดให้ จากการพิจารณาของคณะกรรมการศิ ล ปิ น แห่งชาติไ ด้ค ัดเลือก 10 ยุวศิล ปิน จาก 5 ภาคส่วนของประเทศเป็นตัวแทนให้นำ�ผลงานของตนออกแสดง เผยแพร่สชู่ าวต่างชาติ ณ ห้องนิทรรศการสถานกงสุลไทย นครลอสแอนเจลิส เป็ น เวลา 2 สั ป ดาห์ และผู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ การคั ด เลื อ กได้ ศ ึ ก ษาดู ง านศิ ล ปะ ในพิพิธ ภัณฑ์ส ำ�คัญของมลรัฐแคลิฟอร์เนีย รวม 10 แห่ง ออกปฏิ บ ั ต ิ งานศิ ล ปะ ที่ San Fransico, Yosemite Nationnal Park พบปะศิลปิน นานาชาติงานศิลปะมหาวิทยาลัย U.C.L.A นับเป็นประสบการณ์ยิ่งใหญ่ โดยมีสภาศิลปกรรมไทย สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ประสานงาน นิทรรศการศิลปะผลงานของ 70 ยุวศิลปินทีน่ �ำ ออกแสดง ณ หอศิลป์ ร่วมสมัยราชดำ�เนินนี้ เพื่อเผยแพร่ ให้ นิสิต นักศึกษาศิลปะและประชาชนได้เห็น ถึงวิวัฒนาการผลงานศิลปะ ตั้งแต่วันที่ 11 – 20 กันยายน 2558 ดร.กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศน์ศิลป์ (2540) ประธานสภาศิลปกรรมไทยสหรัฐอเมริกา 6
Message from President, Thai Art Council USA
The Office of Contemporary Art and Culture, the Ministry of Culture, has been promoting contemporary arts and preparing for the integration into the ASEAN Community over the past 6 years. Workshops started and ran for 5 consecutive years at National Artist Thawan Duchanee’s Baandum. Supports have been given to young artists who will in future represent their country in the international art circle. In 2015 the workshops took place at Burapha University, an important base well equipped with printing press and facilities for the creation of paintings, sculptures and mixed media. Highly accessible, Burapha University also has a large exhibition hall that can house all works by 70 young artists. These artists, having been selected from all universities with art faculties, came to receive training and participated in workshops.
They produced artworks of their own chosen methods in an allotted time. Then a committee of National Artists selected 10 outstanding young artists from 5 regions of the country. They have taken their works to a 2-week exhibition at the Royal Thai Consulate General in Los Angeles and subsequently visited 10 major art museums in California, participated in art workshops in San Francisco and Yosemite National Park and connected with international artists in UCLA art fair. Their valuable experiences were coordinated by Thai Art Council USA. An exhibition of works by the 70 young artists is open for art students and general public, to study artistic development, at Ratchadamnoen Contemporary Art Center on 11–20 September 2015.
Dr.Kamol Tassananchalee National Artist in Visual Art (1997) President, Thai Art Council USA 7
โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ 6 ประจำ�ปี 2558 สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย และสภาศิลปกรรมไทย ณ นครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ได้รว่ มกันจัด โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยมาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในปีนเ้ี ป็นปีท่ี 6 แล้ว โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นการพัฒนาทักษะ ความรู้ เทคนิควิธกี ารสร้างสรรค์ผลงานศิลปะให้กบั เยาวชนรุน่ ใหม่ ในการฝึกอบรมได้รบั เกียรติจาก ศิลปินแห่งชาติ คณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ มาร่วมเป็นวิทยากรให้ความรูต้ ลอดโครงการฯ ในปีนค้ี ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้สนับสนุนให้ ใช้สถานทีแ่ ละห้องปฏิบตั กิ ารทางศิลปะในการจัดการอบรม โดยมีนกั ศึกษาจากทัว่ ประเทศ สนใจส่งผลงานเข้าร่วมการคัดเลือกจำ�นวนมาก ซึง่ คณะกรรมการฯ ประกอบด้วย ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินอาวุโส และ คณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ ได้รว่ มกันคัดเลือกเยาวชนทีม่ ผี ลงานโดดเด่น จำ�นวน 70 คน จาก 26 มหาวิทยาลัย ดังนี้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
8
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ มหาวิทยาลัยฟราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เยาวชนที่ ได้รับคัดเลือกทั้งหมดได้เดินทางมาเข้าค่ายฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการและทัศ นศึก ษา ระหว่างวันที่ 20 - 25 กุมภาพันธ์ 2558 ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 6 วัน ในระหว่าง การฝึกอบรม นักศึกษาได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และสื่อผสม จำ�นวนกว่า 100 ชิ้น ซึ่งผลงานแต่ละชิ้นล้วนสะท้อนให้เห็นถึงทักษะและวิธีการทำ�งานที่ได้รับการพัฒนา ขึน้ ตามแนวทางของตนเอง สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าของผลงานทีเ่ กิดขึน้ จากการอบรม ในครั้งนี้ จึงได้จัดนิทรรศการ “ค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ 6” ณ หอศิลปนิทรรศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ - 10 เมษายน 2558 คณะกรรมการได้คัดเลือกเยาวชนที่มีผลงานโดดเด่นให้เดินทางไปต่อยอดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ขั้นสูง ณ สหรัฐอเมริกา จำ�นวน 10 คน โดย ดร.กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติและรองศาสตราจารย์เทพศักดิ์ ทองนพคุณ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ให้เกียรติร่วมเดินทางให้ความรู้และบรรยายพิเศษให้ กับคณะเยาวชน ซึ่งมีโอกาสไปทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์ศิลปะต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน สตูดิโอของศิลปินที่มีชื่อเสียง รวมถึงสถานที่ทางธรรมชาติที่สำ�คัญๆ ที่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานอาทิ The J. Paul Getty Museum, Frederick R. Weisman Art Foundation, The Norton Simon Museum, The Los Angeles County Museum of Art, de Young Museum, Diana Wang Studio และอุทยานแห่งชาติ Yosemite เป็นต้น สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยยังนำ�ผลงานของเยาวชนทัง้ 10 คนมาจัดแสดงนิทรรศการ เพือ่ ให้ประชาชน ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้มโี อกาสชืน่ ชมในความสามารถทางด้านศิลปะของเยาวชนรุน่ ใหม่ทจ่ี ะเติบโตเป็นกำ�ลังสำ�คัญ ของวงการศิลปะร่วมสมัยไทยในอนาคต นิทรรศการจัดแสดงระหว่างวันที่ 31 มีนาคม - 8 เมษายน 2558 ณ สถานกงสุลใหญ่ นครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา โดย นายเจษฎา กตเวทิน กงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ และหลังจากที่เยาวชนทั้ง 10 คน ได้เดินทางกลับจากการทัศนศึกษาที่ สหรัฐอเมริกาแล้ว ทุกคนได้นำ�ความรู้และประสบการณ์ ใหม่ๆ มาพัฒนาต่อยอดสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะอีกคนละ 1 ชิ้น ในโอกาสนี้สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยได้นำ�ผลงานของเยาวชนดังกล่าวมาจัดนิทรรศการพร้อม กับเพื่อนเยาวชนที่ได้สร้างผลงานไว้แล้วขณะที่อบรมเชิงปฏิบัติการ ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี และนิทรรศการในครั้งนี้ยังได้รับเกียรติจากศิลปินแห่งชาติ ศิลปินอาวุโส และคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นคณะกรรมการตัดสินโครงการฯนำ�ผลงานมาร่วมจัดแสดงในนิทรรศการโครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ 6 ประจำ�ปี 2558 : The 6th Young Artists Art Exhibition ระหว่างวันที่ 11 - 20 กันยายน 2558 ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำ�เนิน 9
6th Youth Artists Talent 2015
The Office of Contemporary Art and Culture and Thai Art Council USA together have been organizing the annual Contemporary Art Thai Youth Camps for the past six years, with the aim of developing artistic skills, knowledge and techniques for the young generation. The project is greatly honored by the National Artists and highly qualified teachers who accepted the tasks of camp instructors. Camp accommodation and workshops this year were provided by the Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University. Students from all over Thailand submitted their works as applications for admission which were judged by National Artists, senior artists and qualified instructors. The 70 students whose outstanding artworks were selected are from 26 universities:
Chulalongkorn University Thammasat University Rajamangala University of Technology Thanyaburi Burapha University Phetchaburi Rajabhat University Srinakharinwirot University Chiang Mai University Rajamangala University of Technology Lanna Khon Kaen University Mahasarakham University Loei Rajabhat University Thaksin University Songkhla Rajabhat University
10
Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Poh-Chang Campus Bunditpatasilpa Institute Bansomdejchaopraya Rajabhat University SuanSunandhaRajabhat University Silpakorn University Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus Chiang Rai Rajabhat University Rajamangala University of Technology Isan Nakhon Ratchasima Rajabhat University Ubon RatchathaniRajabhat University Rajamangala University of Technology Srivijaya Prince of Songkla University (Pattani Campus)
All 70 students traveled to Burapha University to attend the 6-day Camp of workshops and excursions hosted by the University’s Faculty of Fine and Applied Arts during 20–25 February 2015. The event saw the students creating over one hundred artworks in different forms including paintings, sculptures, prints and mixed media. Each piece reflect the skills and methods developed individually in the artist’s own way. The Office of Contemporary Art and Culture, recognizing the value of the Camp’s output, has put on the exhibition “6th Youth Artists Talent 2015” in the exhibition hall of the Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University on 25 February - 10 April 2015. A committee of National Artists then selected 10 young artists whose works were of exceptional quality and sponsored their trips to the USA, to participate in more advanced workshops. Dr.Kamol Tassananchalee, National Artist, and Associate Professor Thepsakdi Thongnopakhun-Dean of Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University-accompanied the group, giving advice and special lectures, in their visits to public and private art museums, famous artists’ studios and inspiring natural locations. Among the places visited were J. Paul Getty Museum, Frederick R. Weisman Art Foundation, Norton Simon Museum, Los Angeles County Museum of Art, de Young Museum, Diana Wang Studio and Yosemite National Park. The Office of Contemporary Art and Culture also set up an exhibition of art by the 10 young artists at the Royal Thai Consulate General in Los Angeles, USA, on March 31, 2015 - April 8, 2015. The Royal Thai Consulate General, Jetsada Katawetin presided over opening ceremony. The exhibition was an opportunity for expatriate Thai and the general public to witness the artistic abilities of the young generation who will grow into major forces in future Thai contemporary art. After the study trip each of the 10 young artists reflected on the knowledge and skills acquired by creating an artwork. To accompany the 10 new works, the Office of Contemporary Art and Culture has arranged an exhibition of artworks created by the 70 young artists during the workshops at the Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi Province. In addition, the exhibition is honored to display works by National Artists, senior artists and qualified instructors who judged at the Burapha University workshops. The 6th Young Artists Art Exhibition 2015 takes place at Ratchadamnoen Contemporary Art Centeron 11-20 September 2015. 11
คณะกรรมการ The Judging Committee
12
ดร.กมล ทัศนาญชลี
Dr. Kamol Tassananchalee
ลูกคิด, 2558 สื่อผสมบนเฟรมผ้าใบและไม้, 85 x 61ซม. Abacus, 2015 Mixed media on canvas with wood frame, 85 × 61 cm
13
ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน Prof. Nonthivathn Chandhanaphalin
เมตตาธรรมค้ำ�จุนโลก 2 ปูนปลาสเตอร์, 32 x 25 x 17 ซม. Kindness Upholds The World 2 Plaster, 32 x 25 x 17 cm
14
ศาสตราจารย์เดชา วราชุน Prof. Decha Warashoon
บันทึกชีวิต 9, 2558 สีอะคริลิกบนเฟรม, 100 x 120 ซม. Life’s Journal 9, 2015 Acrylic on frame, 100 × 120 cm
15
ศาสตราจารย์อิทธิพล ตั้งโฉลก Prof. Ithipol Thangchalok
น้ำ�และไฟ ภาพพิมพ์ Silk Screen, 70 x 90 ซม. Water and Fire Silk screen, 70 × 90 cm
16
ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง Prof. Preecha Thaothong
แสงสุวรรณภูมิ, 2557 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 70 ซม. The Light of Suvarnnabhumi, 2014 Acrylic on canvas, 90 × 70 cm
17
ธงชัย รักปทุม
Thongchai Rakpathum
สภาวะสุนทรีย์ สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 170 x 110 ซม. Aesthetic Situation Acrylic on canvas, 170 × 110 cm
18
ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี Prof. Vichoke Mukdamanee
ชีวิตครอบครัว ในบ้าน, 2550 สีน้ำ�มัน,สีอะคริลิก และดินบนอลูมิเนียม, 90 x 120 ซม. Family Life at Home, 2007 Oil, acrylic and soil on aluminum, 90 x 120 cm
19
ปัญญา วิจินธนสาร Panya Vijinthanasarn
ท่องจักรวาล ซิลสกีน, 34 x 55 ซม. Cosmic Exploration Silk screen, 34 × 55 cm
20
สมศักดิ์ เชาว์ธาดาพงศ์
Somsak Chowtadapong
ไม่มีชื่อ, 2557 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 80 x 120 ซม. Untitled, 2014 Acrylic on canvas, 80 × 120 cm
21
รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข Assoc. Prof. Parinya Tantisuk
จิตรกรรมท้องถิ่น, 2557 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 50 x 50 ซม. Neolocal Painting, 2014 Acrylic on canvas, 50 × 50 cm
22
รองศาสตราจารย์เทพศักดิ์ ทองนพคุณ Assoc. Prof. Thepsakdi Thongnopkoon
จินตนาการยามค่ำ�คืน, 2558 วาดเส้นบนผ้าใบ, 80 x 60 ซม. Nocturnal Imagination,2015 Line drawing on canvas, 80 × 60 cm
23
ศาสตราจารย์พงษ์เดช ไชยคุตร Prof. Pongdej Chaiyakut
Animal 6 เทคนิกดายพอยท์, 101 x 76 ซม. Animal 6 Drypoint, 101 × 76 cm
24
เฉลิมศักดิ์ รัตนจันทร์ Chalermsak Radanachan
เสาดินนาน้อย สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 80 x 100 ซม. Hoodoo at Na Noi Acrylic on canvas, 80 × 100 cm
25
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐ์พันธุ์ Assoc. Prof. Dr.Suppakorn Disatapundhu
Islands สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 80 x 100 ซม. Islands Acrylic on canvas, 80 × 100 cm
26
รองศาสตราจารย์ ดร.สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง
Assoc. Prof. Dr. Sathit Thimwatbunthong
ทุ่งข้าวโพดที่เขาใหญ่ สีน้ำ�มัน, 110 x 180 ซม. KhaoYai Corn Field Oil colour, 110 × 180 cm
27
รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาลิน Assoc. Prof. Pisprapai Sarasarin
ผ้าไทยร่วมสมัย ผ้าจกไทยวนราชบุรี, 480 x 90 ซม. Contemporary Thai Fabric Brocade Woven Fabric by The Thai Yuan of Ratchaburi Province, 480 × 90 cm
28
รองศาสตราจารย์จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง Assoc. Prof. Jaruphan Supprung
การละเล่นของเด็กไทย “มอญซ่อนผ้า” สีอะคริลิก, 100 x 120 ซม. Thai Children’s Game “Mon Son Pha” Acrylic, 100 × 120 cm
29
ชิโนรส รุ่งสกุล
Chinoros Roongsakul
Relation from Nature 7 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 80 X 120 ซม. Relation from Nature 7 Oil on Canvas, 80 X 120 cm
30
ผู้ช่วยศาสตราจาร์ยวุฒิกร คงคา
Assist. Prof. Wutigorn Kongka
Between ปากกาบนกระดาษ, 58 x 78 ซม. Between Pen on paper, 58 x 78 cm
31
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณภพ เตชะวงศ์ Assist. Prof. Ronnapop Techawong
แม่ สีน้ำ�มัน, 70 x 70 ซม. Mother Oil Colour, 70 x 70 cm
32
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ
Assist. Prof. Jehabdulloh Jehsorhoh
ดอกไม้งามที่ถูกซ่อนเร้นในปัตตานี สีอะคริลิกบนกระดาษทำ�มือ, 120 x 80 ซม. Veiled Fair Flower of Pattani Acrylic on handmade paper, 120 × 80 cm
33
34
เยาวชนที่ได้รับคัดเลือกไปฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการขั้นสูง ณ สหรัฐอเมริกา Chosen youths that attended practical training in the United States of America
35
36
ความเห็นแก่ตัว, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
Selfishness, 2015 Oil on canvas, 60 × 90 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าสะท้อนความเห็นแก่ตัว ที่แฝงอยู่ ในรูปแบบของการนิ่งเฉย ความกลัว เมื่อเจอกับเหตุการณ์ร้ายแรงที่เป็นภัยในสังคม
Concept I mirror the selfishness that underlie the indifferenceor fear exhibited by those who witness violence.
กฏสรวง เอียงอุบล | Kodsoung Eangubon
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Poh-Chang Campus
หุ่นนิ่งไทย, 2558 สื่อผสม, 30 x 45 ซม.
Thai Still Life, 2015 Mixed media, 30 × 45 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าแสดงจินตภาพของข้าพเจ้าเองที่มีต่อประชาชนไทยในระบบ การปกครองปัจจุบัน
Concept I express my vision of what the Thai people look like under the present regime.
37
38
อัตลักษณ์วิถี, 2558 ประกอบกระดาษ, 75 x 135 ซม.
Identity Path, 2015 Paper modeling,75 × 135 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าต้องการถ่ายทอดเรื่องราววิถีการดำ�เนินชีวิตของชาวไทย มลายูท้องถิ่น ที่เรียบง่าย พอเพียง ตามหลักคำ�สอนของศาสนา อิสลามสร้างความเป็นอัตลักษณ์วิถีที่สมบูรณ์ ให้แก่ชายแดนอัน เปรี ย บเสมื อ นการก่ อ รู ป ทรงสั ญ ลั ก ษณ์ ในความสมบู ร ณ์ ข อง วัฒนธรรม
Concept I want to show the way of life of the ethnic Malays in Thailand. They livesimple and contentedlives according to Islamic precepts, and in doing so they have createda gratifying local identity for the border communities. To assemble the paper model is a way to appreciate the elements that have come together in this harmonious culture.
กูซอฟียะฮ์ นิบือซา | Kusofiyah Nibuesa มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | Prince of Songkla University (Pattani Campus)
บุหงามลายู, 2558 ประกอบกระดาษ, 52×93 ซม.
Bunga Melayu, 2015 Paper craft, 52 × 93 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าต้องการถ่ายทอดเรือ่ งราววิถกี ารดำ�เนินชีวติ ของขาวไทยมลายูทอ้ งถิน่ ทีม่ ี ความงามอันเรียบง่าย ความเรียบง่ายอย่างพอเพียงตามหลักคำ�สอนของศาสนา อิสลาม ซึง่ เป็นอัตลักษณ์วถิ ที ส่ ี มบูรณ์ และยังคงมีอยูภ่ ายใต้ความขัดแย้งของผืน แผ่นดินอันเป็นบ้านเกิดของข้าพเจ้า โดยแสดงออกผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ ในรูปแบบจิตรกรรมสือ่ ผสมการจัดวาง เทคนิคประกอบกระดาษบนพืน้ ผิววัสดุ ภาพพิมพ์ อันเปรียบเสมือนการก่อรูปทรงสัญลักษณ์ ให้เกิดความสมบูรณ์ของ วัฒนธรรม คุณค่าความดีงามของความรูส้ กึ ภายในสูภ่ ายนอก
Concept I want to portray the way of life of a bucolic Thai-Malay village, its simple beauty, and contentment born of adherence to Islam. Such is wholesome living that still exists despite the conflicts that rage on in my homeland. The work takes the form of a mixed media installation assembled using printed paper. The symbolic pieces come together to form a cultural entity where peace emanates from inner kindness.
39
40
เยียวยา, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 120 x 90 ซม.
Healing, 2015 Oil on canvas, 120 × 90 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าแสดงความรูส้ กึ จากการทีข่ า้ พเจ้าป่วยเป็นโรคทางจิตเวช มีอาการ ซึมเศร้า ทำ�ให้มปี ญ ั หาในการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ น่ื แต่ขา้ พเจ้าใช้ศลิ ปะเป็นยาทีช่ ว่ ย รักษาสภาพจิตใจ ให้กลับมาปกติ ข้าพเจ้าเอาความรูส้ กึ กดดันออกมา ทำ�ให้ ข้าพเจ้ามีความสนุกขณะสร้างสรรค์ผลงาน
Concept Having suffered from clinical depression, living with others used to be difficult. Art was the medicine that healed my psycheback to normal. It was a way to bring out stress and I was enjoying the work too.
จรัสพร ชุมศรี | Jarasporn Chumsri
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
ผลของอาการที่ดีขึ้น, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 120 x 100 ซม.
Result of Recovery, 2015 Oil on canvas, 120 x 100 cm
แนวคิด หยิบภาพถ่ายของช่วงเวลาที่มีความสุข ใช้การวาดภาพเป็นเหมือนยาและ หนทางในการบำ�บัดตัวเองจากอาการทางจิตเวช
Concept A photograph from a happy time. A painting therapy to selfheal one’s way back from psychotic malady.
41
42
พฤติกรรมซ่อนเร้น, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Hidden Behavior, 2015 Acrylic on canvas, 90 × 120 cm
แนวคิด พฤติกรรมมนุษย์ ในสังคมมีความซ่อนเร้น ทารุณ แก่งแย่ง ชิงดีชิง เด่นกัน ใช้อารมณ์ตัดสิน เป็นภาวะความบีบคั้น ในสิ่งที่เป็นสภาวะการ กดดัน ทำ�ให้มนุษย์มีพฤติกรรมก้าวร้าว
Concept Human interactions sometimes come with hidden agenda. Behind the civilities are ruthless intentions,cutthroat competitions and emotional judgments. Aggressive behaviors are the results of stresses one feels from the veiled pressures.
ชัชรินทร์ เชื้อคำ�เพ็ง | Chatcharin Chuekompeng มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | Rajamangala University of Technology Thanyaburi
พฤติกรรมซ่อนเร้น, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 100 x 80 ซม.
Hidden Behavior, 2015 Acrylic on canvas, 100 × 80 cm
แนวคิด พฤติกรรมมนุษย์ ในสังคมมีความซ่อนเร้นทารุณ แก่งแย่ง ชิงดีชงิ เด่น กันใช้อารมณ์ตัดสินเป็นสภาวะบีบคั้นทำ�ให้มุนษย์มีพฤติกรรมก้าวร้าว นั่นคือสาเหตุที่ข้าพเจ้านำ�มาแสดงออกผ่านผลงานของข้าพเจ้าเพื่อตอบ สนองความเป็นจริงทางสังคมปัจจุบัน
Concept In any society, there are hidden aspects of people’s behavior including wickedness, destructive rivalry and emotional judgements whose collective manifestation is aggressiveness. I express these qualities in my art in response to such facts of life in present day society.
43
44
ปาฏิหาริย์ชุบชีวิต, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
Miracle of Resurrection, 2015 Oil on canvas, 60 × 90 cm
แนวคิด ภายใต้ความเชือ่ และศรัทธาอันยิง่ ใหญ่และหลากหลาย ข้าพเจ้าได้สร้างภาพ พิธแี ห่งมโนคติขน้ึ เพือ่ สะท้อนถึงการรวมใจ สมัครสมานสามัคคี เป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของสังคมและชนชาติ
Concept Drawing from many great faiths and different creeds, I have synthesized an imaginary scene of a rite that represents the harmony of all members of the society.
ณรงค์ฤทธิ์ กาลจิตร์ | Narongrit Galajit มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
ปาฎิหาริย์แห่งอวตาร, 2558 สีน้ำ�มันบนลินิน, 60 x 90 ซม.
Miracle of Avatar, 2015 Oil on linen, 60 × 90 cm
แนวคิด ภายใต้ความเชื่อ ความศรัทธาอันยิ่งใหญ่และหลากหลาย จึงได้สร้างภาพ จิตรกรรมแห่งมโนคติขึ้น เพื่อสะท้อนถึงการรวมใจ สมัครสมานสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคมและชนชาติ โดยมิได้เจตนามุ่งหมายที่จะ นำ�เสนอความเชื่อ ลัทธิ วัฒนธรรม หรือศาสนาใดศาสนาหนึ่ง ซึ่งสัญญะ หรือรูปลักษณ์ที่ปรากฏกลับเป็นเพียงปัจจัยเร้าที่ได้ซึมซับ รับฟัง พบเห็น จากสิ่งแวดล้อมที่ได้อาศัยทั้งสิ้น เพื่อแสดงซึ่งปริศนาธรรม พลังใจ คุณธรรม ความดีงาม และสิ่งอัศจรรย์จากความเชื่อและศรัทธา
Concept From a great diversity of believes and faiths came the idea and the creation of a painting. The work reflects the unity of society and nation without specific representation of any belief, doctrine, culture or religion. Signs and forms in the painting are inspired by things perceived, heard or seen in all the environments inhabited-to show dharmic message, reinforcement, righteousness, virtue and the miracle of belief and faith.
45
46
เมื่อไหร่จะทำ�ตามสัญญา ขอเวลา...แต่น๊านนาน, 2558 คอลลาจ หมึกดำ� และสีอะคริลิกบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม. แนวคิด ผู้สร้างสรรค์ต้องการสร้างเรื่องราวในบริบทของความเป็นจริงผสม ผสานกับเรือ่ งราวในจินตนาการ ถ่ายทอดเรือ่ งราวสถานะทางการเมือง ทีแ่ ต่ละคนล้วนเสแสร้ง ปัน้ แต่งเรือ่ งราว สิง่ ทีพ ่ ดู สิง่ ทีก่ ระทำ� คำ�สัญญา ล้วนแล้วแต่เป็นเพียงการแสดง
When to Make Good On The Promise. More Time Asked, But It’s Been Too Long, 2015 Collage, black ink and acrylic on canvas, 60 × 90 cm Concept The artist wanted to create a story that blends reality with an imaginary scenario. In this story politics is where everyone deceives. The utterances, the deeds and the promises are all acting performances.
ภัทรวิทย์ บุญพรม | Pattarawit Boonprom มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | Mahasarakham University
น้องอ๋อมแอ๋ม ณ LA, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 100 x 70 ซม.
Nong Om-am @ LA, 2015 Oil on canvas, 100 ×70 cm
แนวคิด สร้างสรรค์จากความประทับใจในผลงานที่ ได้พบเจอในระหว่างศึกษาดู งานในพิพิธภันฑ์ศิลปะในสหรัฐอเมริกา ผู้สร้างสรรค์จึงหยิบยืมเอา ผลงานดังกล่าวมาสร้างต่อในรูปแบบของตัวเอง ถ่ายทอดผ่านความ คิดความรู้สึก อารมณ์ ของผู้สร้างสรรค์ ผ่านทัศนธาตุในผลงาน
Concept Having been impressed by a painting during a study visit to art museums in the US, the artist built on the painting’s concept, adding his own style to convey thoughts, feelings and emotions through visual elements.
47
48
The Imagination At The Time No. 10, 2558 วาดเส้นบนกระดาษทราย, 60 x 80 ซม.
The imagination At The Time No. 10, 2015 Drawing on sandpaper, 60 × 80 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าถ่ายทอดความรู้สึกถึงความรัก ความสุข ความผูกพัน ซึ่งเป็น ความรู้สึกอันเป็นสาระทางธรรมที่ปรากฏขึ้นในจิตใจ
Concept In this drawing I convey the feelings of love, happiness and affinity all positive sensations conducive to dharma that occur in the mind.
รัตนา สุจริต | Rattana Sudjarita มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Poh-Chang Campus
จินตภาพในห้วงเวลาของความคิดถึง, 2558 ภาพพิมพ์โลหะร่องลึก, 60 x 90 ซม.
Vision for Nostalgia, 2015 Intaglio, 60 × 90 cm
แนวคิด ความโหยหา ความคิดถึง ความอ้างว้าง ก่อเกิดความรู้สึกที่ทรงคุณค่าต่อ ความรู้สึกของข้าพเจ้า ความรักอันเกิดจากบุพการี ผู้ ให้กำ�เนิดรวมถึงผู้ ให้ ความรัก ความเอื้ออาทร คือยายผู้เลี้ยงดูมาแต่เยาว์วัย เมื่อข้าพเจ้าต้อง เดินทางมาศึกษาต่อ เพื่อแสวงหาความก้าวหน้าในชีวิต จึงเป็นช่วงเวลาที่ แสนยากในการที่จะปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมเมืองที่วุ่นวาย จากความ รูส้ กึ ดังกล่าว ข้าพเจ้าต้องการแสดงออกให้เห็นถึงความงดงามของความ รัก ความสุข ความผูกพันและความอบอุ่นที่มีต่อครอบครัว ดังคำ�กล่าว ที่ว่า “ไม่มีความรักใดจะยิ่งใหญ่เท่ากับสายสัมพันธ์อันเกิดจากสายโลหิต”
Concept Wistfulness, yearning and loneliness are my sources of precious emotions. Having been surrounded by the love of parents, and the tremendous love and care of grandmother, the time to be away for further study and seek advancement was the hardest to bear. An unfamiliar frenzy of the city did not help. Latching on to the nostalgia, I present a vision of love, happiness, affection and warmth in a family. There is no greater love than blood relationship.
49
50
จินตนาการพลังธรรมชาติ จากเรื่องพระมหาชนกชาดก, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม. แนวคิด ข้าพเจ้าได้รบั แรงบันดาลใจเรือ่ งราวเหตุการณ์เรือล่มในเรือ่ งพระมหาชนก ชาดกมาจินตนาการ สร้างสรรค์ ถ่ายทอดผ่านทัศนธาตุทางศิลปะใน จั ง หวะของความเคลื่ อ นไหวเพื่ อ แสดงออกถึ ง พลั ง อั น ยิ่ ง ใหญ่ ข อง ธรรมชาติ
Imagining The Power of Nature, based on The Mahajanaka Jataka, 2015 Acrylic on cancas, 90 × 120 cm Concept I was inspired by the shipwreck scene from the story of Mahajanaka. Creative imagination is conveyed through artistic visual elements, showing the rhythm of movements that implies the great power of nature.
ศิลป์สวัสดิ์ จันต๊ะไพสน | Sinsawad Jantaphaison มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Rajamangala University of Technology Lanna
พระมหาชนก, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 90 ซม.
Mahajanaka, 2015 Acrylic on canvas, 90 × 90 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าต้องการสะท้อนถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของธรรมชาติเปรียบดั่ง อุปสรรค์ ปัญหาต่างๆ ในชีวิต ที่ต้องฝ่าฟันให้ข้ามผ่านไป โดยอาศัย ความเพี ย รเป็ น เครื ่ อ งมื อ ในการเอาชนะอุ ป สรรคทั ้ ง หลายเหล่ า นี ้ ดั่งเรื่องราวของ ‘พระมหาชนก’
Concept I want to express the metaphor that designates the force of nature to obstacles and troubles in life that must be overcome. Endeavor is the means to defeat all obstacles, as exemplified by the story of Mahajanaka.
51
52
ถักทอชีวิต, 2558 ถักเส้นโลหะ เส้นไหม, 50 x 73 x 127 ซม.
Weaving Life, 2015 Metal threads and silk weaving, 50 × 73 × 127 cm
แนวคิด ผลงานของข้าพเจ้าแสดงถึงสุนทรียภาพของร่างกายด้วยวิธีการถัก ด้วยเส้นโลหะและเส้นไหมให้เป็นรูปลักษณ์ทางกายภาพของสิ่งมีชีวิต ถักเป็นสายโลหิตซึ่งเป็นสิ่งที่ธรรมชาติมอบให้อยู่ภายในทุกสรรพสิ่ง เพื่อนำ�เสนอถึงธรรมชาติและการกำ�เนิดโดยใช้กวางเป็นสัญลักษณ์
Concept My work shows the aesthetics of the body through the weaving of metal threads and silk into the form of a living creature. Here are the organs endowed by nature in every animate life. This stag of veins and arteriessymbolizes nature and birth.
สิตา อินใหญ่ | Sita Inyai มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
รูปลักษณ์ของธรรมชาติ, 2558 ถักลวด, 100 x 40 x 70 ซม.
Form of Nature, 2015 Metal thread weaving, 100 × 40 × 70 cm
แนวคิด ความประทับใจในธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ของต่างแดน “ภูเขาหิมะและสุนัข โคโยเต้ออกหาอาหาร” ข้าพเจ้าหยิบยกความรู้สึกที่มีต่อปรากฎการณ์ ทางธรรมชาติที่พบเห็น มาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะที่ถ่ายทอดภาพ ในความทรงจำ�ด้วยกระบวนการถักทอให้เป็นสิ่งมีชีวิตที่เป็นตัวแทน ของธรรมชาติ ณ สถานที่แห่งนั้น
Concept From an impression of nature’s grandiose in a foreign land, “snow mountain and foraging coyote,” I turn my response to the natural phenomenon witnessed into an artwork. In the weaving process my memory materialized into a living creature that represents nature in its environment.
53
54
ภาพสะท้อนความรู้สึก, 2558 สีฝุ่น, 90 x 120 ซม.
Reflection of Sensations, 2015 Tempera, 90 × 120 cm
แนวคิด จิตซับซ้อนที่หยั่งรู้ไม่เท่าทันแห่งการเกิด ดับของความคิด ข้าพเจ้ามุ่งเน้น การแสดงออกที่สะท้อนถึงความซับซ้อนของจิต เพื่อเฝ้าดูความคิด ฝึก เพื่อการเรียนรู้ตนเองอย่างเข้าใจ และการพัฒนาหรือการยกระดับจิตใจ ให้ดีขึ้น
Concept The convoluted mind is not conscious of the emegence or disappearance of thoughts. I reflect the mind’s complexity, to contemplate the mind and hope to reach a better understanding of the self ultimately to achieve a higher level of consciousness.
สิทธิพนธ์ เลาะไชยสงค์ | Sittiphon Lochaisong มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
สาระของจิต, 2558 เทคนิคผสม, 70 x 90 ซม.
Mind Matter, 2015 Mixed technique, 70 × 90 cm
แนวคิด ข้าพเจ้าสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อการแสดงออกที่สะท้อนถึงความ ซับซ้อนของจิต ความนึกคิดต่างๆ ที่หลั่งไหลเข้ามาในใจ ทั้งที่เป็นสาระ และไม่ ใ ช่ ส าระ บ้ า งก็ แ สดงตรงๆ บ้ า งก็ แ สดงออกอย่ า งซั บ ซ้ อ น ซึ่งข้าพเจ้ามุ่งเน้นถึงการเฝ้าดูและสังเกตถึงความเป็นไปต่างๆ ของ ความคิดและความรู้สึก เพื่อการเรียนรู้ตนเองอย่างเข้าใจ เพื่อการ ปรับปรุงแก้ไขดีชั่วที่อยู่ ในใจ พัฒนาหรือยกระดับจิตใจให้ดีขึ้นโดยอาศัย การแสดงออกทางศิลปะในการพิจารนาตนเอง
Concept I create art to reflect the mind’s complexity. Many thoughts arise in the mind, noteworthy and otherwise. Some are straightforward, others are complicated. I focus on the passive observation of thoughts and feelings as a way to obtain self-knowledge that will help correct evil tendencies, develop or raise consciousnesessentially introspection through artistic expressions.
55
56
เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการค่ายเยาวชน ระหว่างวันที่ 20 - 25 กุมภาพันธ์ 2558 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี Chosen youths that attended the youth camp from 20 - 25 February 2015 at Burapha University, Chonburi province
57
โครงสร้างการศึกษา, 2558 ดัดเหล็ก, 50 x 60 x 70 ซม.
Structure of Education, 2015 Steel bending technique, 50 x 60 x 70 cm
จากพื้นฐานครอบครัวที่ยึดอาชีพงานก่อสร้างเป็นหลักและทนส่งเสีย บุตรให้ ได้รับการศึกษาจึงเป็นแรงบันดาลใจให้ข้าพเจ้านำ�โครงสร้างและ องค์ประกอบต่างๆ ในงานก่อสร้างมาสร้างสรรค์
Born to a family that work mainly in the construction business and have endured the long arduous educational support for their offspring, has inspired me to use various structural elements of construction to create my work.
กฤษณะชัย ศรีอินทร์กิจ | Kitsanacha Sriinkit สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | Bunditpatanasilpa Institute
58
มุมมอง (เหงา), 2558 สีน้ำ�มัน ผงคาร์บอนบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
Aspect (Lonely), 2015 Oil and carbon on canvas, 60 x 90 cm
ภายใต้ความเชือ่ และศรัทธาอันยิง่ ใหญ่และหลากหลาย ข้าพเจ้าได้สร้างภาพ พิธีกรรมแห่งมโนคติขึ้นเพื่อสะท้อนถึงการรวมใจสมัครสมานสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคมและชนชาติ
Under great believes and convictions in a variety of things, I have envisaged a ritual that reflects an all round unity and oneness within society and all its citizens.
กาญจนา ศรีภุมราช | Kanchana Sripumrat
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา | Suan Sunandha Rajabhat University
59
สังคมมายา, 2558 สีอะคริลิกและแกะไม้, 120 x 90 ซม. ผลกระทบจากพฤติ ก รรมของผู้ ค นในสั ง คมปั จจุ บั น ที่ มี แ ต่ ค วาม หน้าไหว้หลังหลอก ใส่หน้ากากเข้าหากันคอยแต่จะให้ร้ายกันลับหลัง เป็นแรงบันดาลใจในการถ่ายถอดอารมณ์ความรู้สึก
Illusory Society, 2015 Acrylic on woodcut board, 120 x 90 cm The repercussion of current social behaviors of hypocrisies and mask wearing plagued by backstabbing inspired this interpretation of emotions.
กิตติพันธ์ รุ่งเอกวิทย์ | Kiptipan Rungaekvip
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง Rajamangala University of Technology Rattanakosin Pohchang Campus
60
ความเสื่อมของพุทธศาสนา, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
The Decline of Buddhism, 2015 Acrylic on canvas, 60 x 90 cm
ข้าพเจ้าต้องการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่แสดงออกถึงความคิดเรื่องการ สะท้อนให้เห็นถึงความเสื่อมของพุทธศาสนาในปัจจุบัน โดยได้แรงบันดาลใจจาก วัตถุบูชาสักการะตามพิธีกรรมหรือศาสนสถานต่างๆ
I wished to create a work that illustrate my thoughts on the current degradation of Buddhism. The painting was influenced by various materials used in rituals or at places of worship.
เกียรติศักดิ์ อัศวะมหาศักดา | Kiettisak Assawamahasakda มหาวิทยาลัยทักษิณ | Thaksin University
61
เด็กผู้หญิง, 2558 สื่อผสม, 60 x 90 ซม.
Girl, 2015 Mixed media, 60 x 90 cm
เด็กผู้หญิงในปัจจุบันมีการแสดงออกที่ โตเกิ นวั ยแต่ สิ่ งเหล่ า นั้ น เป็น การแสดงออกที่ไร้เดียงสาแบบเด็กๆ เพื่อต้องการให้เป็นที่ยอมรับจาก บุคคลอื่น
Young girls today are expressing themselves in ways that are too advanced for their age, however, they are simply acting out of childish innocence in order to be accepted by everyone around them.
ขวัญฤทัย แสนจุ่มจันทร์ | Kwanrutai Sanjumjan มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี | Phetchaburi Rajabhat University
62
FA [T] MOUS, 2558 พิมพ์เขียว, 60 x 90 ซม.
FA [T] MOUS, 2015
นำ�เสนอความงามของคนอ้วน ซึง่ เป็นความงามในอีกรูปแบบหนึง่ ทีแ่ ตกต่าง จากค่านิยมความงามกระแสหลักที่ว่าความผอมคือความสวยงาม
Introducing the beauty of an overweight person which is another form of attractiveness that contrasts with mainstream belief that being thin is exquisite.
Cyanotype, 60 x 90 cm
คงขวัญ ระโพธิ์ | Kongkwan Rapo
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | Chiang Mai University
63
จันทิมา จุมพลติง | Jantima Jumporting มหาวิทยาลัยขอนแก่น | Khon Kaen University
ความปรารถนา, 2558 เย็บผ้าฟาง เป่าลม, 150 x 200 ซม.
Wish, 2015 Mixed media, 150 x 200 cm
ความปรารถนาของมนุษย์ต่อสินค้าแบรนด์เนมแบบไม่มีที่สิ้นสุด และให้ความ สำ�คัญกับโลโก้ของสินค้ามากกว่าตัววัสดุสินค้า
There is no end to mankind’s desire for luxury brandnames and the importance given to logos more than the actual product.
64
จิตรกร พรรณสุวรรณ์ | Jittrakorn Pansuwan
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | Rajamangala University of Technology Lanna
อกุศลธรรมกำ�เริบ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Evil Resurgent, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm
แรงบันดาลใจจากคำ�สอนของพระพุทธเจ้าในบทที่ว่า คราวใดเมื่อภิกษุลามกมี กำ�ลัง และภิกษุผู้มีศีลเสื่อมกำ�ลังจะเป็นความฉิบหายแก่มหาชนเป็นอันมาก
Influenced by a quote by Lord Buddha that said when enough corrupt monks surface they will wear down honourable monks bringing calamity to the people.
65
จิรพงษ์ มั่นคง | Jirapong Munkong สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | Bunditpatanasilpa Institute
ยกขาหน้า, 2558 ภาพพิมพ์และสื่อผสม, แปรผันตามพื้นที่
Front Legs Up, 2015 Mixed media, Dimension variable
การคุกคามและการใช้สตรีเพศเป็นที่รองรับอารมณ์ทางเพศ ที่เปรียบ ดั่งชุดเก้าอี้โซฟารับแขกที่มีการเข้ามาและจากลา
Sexual harassment and sexual abuse on females are comparable to a set of living room sofa with comings and goings.
66
เจษฎากร ชนะพันธ์ | Jetsadakorn Chanapan
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา | Bansomdejchaopraya Rajabhat University
จงกรม, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
Walking Meditation, 2015 Oil on canvas, 60 x 90 cm
ช่วงเวลาหนึ่งของมนุษย์ที่มีภาวะจิตไม่สงบขาดการวิเคราะห์พิจารณา กับสิ่งที่เกิด หากแต่มนุษย์ ใช้สมาธิและสติจึงจะก่อให้เกิดภาวะจิตที่นิ่ง
A moment when the human minds become restive and lack judgement. If only humans would use their concentration and consciousness, a peaceful and calm inner self will bring about truth and contentment.
67
ชมรวี สุขโสม | Chomravi Suksom
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburi
68
มารผจญ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม.
Subduing Mara, 2015 Acrylic on canvas, 60 x 90 cm
ความประทับใจในจิตรกรรมฝาผนังตอนมารผจญที่นำ�มาสร้างสรรค์ขึ้นใหม่
A recreation of personal impressions on the Devil’s Temptations wall mural.
ชยันต์ พลอาสา | Chayan Polasa มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
The Dreadful Goodness, 2558 ภาพพิมพ์หินลงสี, 60 x 90 ซม.
The Dreadful Goodness, 2015 Lithography, 60 x 90 cm
การตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งมีชีวิตที่เท่าเทียมกัน เมื่อมีชีวิตเล็กๆ อยู่นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์ และพร้อมจะทำ�ลายล้างกลับ คืนได้ทุกเวลา เราจะกระทำ�ต่อสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้อย่างเช่นเดิมหรือไม่
Realising that all living things are equal in value, there lives a small creature that can destroy in an instant and that its existence is above all human control. Will we treat this small creature in the same way as other living things?
69
สุขที่หายไป, 2558 เชื่อมโลหะ, แปรผันตามพื้นที่
The Lost Happiness, 2015 Metal welding, Dimension variable
ข้าพเจ้าต้องการสะท้อนชะตากรรมเด็กที่ตกเป็น เหยื่อความรุน แรงในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยใช้รูปทรงเด็กซึ่งแทนความหมายถึงความบริสุทธิ์ผ่าน กระบวนการเชื่อมโลหะที่เปรียบเสมือนความรุนแรงอาวุธและสงคราม
I wanted to reflect the fate of children who fall prey to violence in the three southernmost provinces by using the features of youth in place of innocence, and the process of metal welding represents the violence of we apons and war.
ซาวฟี โยธา | Sawfi Yotha
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Prince of Songkla University, Pattani Campus
70
โจมตี, 2558 สีน้ำ�มัน, 100 x 120 ซม.
Attack, 2015 Oil on canvas, 100 x 120 cm
เด็กไทยในปัจจุบันนิยมสื่อ อย่างเช่น ภาพยนตร์ และเกมส์ที่แฝง ด้วยเรื่องราวความรุนแรงทำ�ให้พฤติกรรมเปลี่ยนไปรุนแรงขึ้น ก้าวร้าว กลายเป็นปัญหาความรุนแรงในไทย
Thai youths today are fond of movies and games that are riddled with aggression and this has changed their behaviour which have become more belligerent creating problems of violence in the country.
ณฐกร คำ�กายปรง | Natagon Kumkayprong
มหาวิทยาลัยบูรพา | Burapha University
71
ดินแดนแห่งเครื่องยนต์, 2558 พิมพ์ภาพบนปูนปลาสเตอร์, 51 x 80 ซม. ข้าพเจ้าชื่นชอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ที่เป็นพาหนะสู่ความเพลิดเพลิน ข้าพเจ้าชื่นชม โครงสร้างของเครื่องยนต์ความมันวาวที่เปรียบเสมือนโลก แห่งความฝัน
Land Of Machinery, 2015 Print on plaster, 51 x 80 cm. I am fanatic of motorcycles as they are vehicles that bring so much pleasure. I am fascinated by the structure of the engine and its shiny glints. It is like being in a wonderland.
ณัฐชนน พริบไหว | Natchanon Pribwai
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | Rajamangala University of Technology Lanna
72
วิถีโคราช, 2558 สื่อผสม, แปรผันตามพื้นที่ ข้าพเจ้าเติบโตในจังหวัดนครราชสีมา เมืองที่มีประวัติศาสตร์และอารยธรรม อันยาวนาน มีวัฒนธรรมประเพณีเอกลักษณ์ต่างๆ ที่น่าสนใจ ซึ่งข้าพเจ้าซึมซับ สิ่งเหล่านี้มาโดยตลอด
Khorat Tradition, 2015 Mixed media, Dimension variable I have grown up in the historical province of Nakhon Ratchasima with its ancient civilisation and many unique traditions.
ณัฐณิชา นามวงษ์ | Natnicha Namwong
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน Rajamangala University of Technology Isan Kalasin Campus
73
วัตถุชีวิต, 2558 สื่อผสม, แปรพันตามพื้นที่
Life Material, 2015 Mixed media, Dimension variable
ข้าพเจ้าได้รับแรงบันดาลใจมาจากสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับ วิถชี วี ติ และนำ�มาถ่ายทอดในงานศิลปะโดยใช้เทคนิคสือ่ ผสมเสมือน วัตถุทเ่ี ก็บบันทึกเรือ่ งราวความทรงจำ�ของข้าพเจ้า
I was inspired by an environment rich with many people’s ways of life and have brought them forth in the form of art with the use of mixed media art as though to record my memories.
ณัฐสุดา ภิรมย์มาก | Natsuda Pirommak มหาวิทยาลัยบูรพา | Burapha University
74
Area of Life No.14, 2558 ภาพพิมพ์โลหะ, 60 x 90 ซม.
Area of Life No.14, 2015 Etching, 60 x 90 cm
ธรรมชาติต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแปลกปลอมเพื่อการดำ�รงชีวิต
Nature must adapt to conform with foreign matters in order to survive.
ดิเรกฤทธิ์ อนุมาศ | Direkrit Anumart
มหาวิทยาลัยทักษิณ | Thaksin University
75
ไม่มีชื่อภาพ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Untitled, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm
ความกลัวที่มีรากฐานจากการได้ยินคำ�พูดที่ทำ�ให้ฝังใจ คำ�นินทา เสียดสี ใส่ร้าย ทำ�ให้เกิดการจินตนาการ ปากที่เป็นสัญลักษณ์ของคำ�พูดเหล่านั้นเป็นอาณาจักร สัตว์ประหลาดปากที่น่ากลัวภายในจิตใจ
Fear which has its foundation from constant gossips and slanders created an image of the “mouth that is”. The symbolic representation of those chatters is a domain for mouth beasts within the heart and mind.
ทิพยาภรณ์ ทองแช่ม | Thippayaporn Thongcham จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | Chulalongkorn University
76
เกิด – ดับ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม. ข้าพเจ้าได้รบั แรงบันดาลใจจากความเชือ่ เรือ่ งของ พุทธศาสนา ว่าด้วยความเป็นไปของธรรมชาติทเ่ี ป็นการเกิดขึน้ ตัง้ อยูแ่ ละดับ ไป โดยนำ�เอาอริยาบทท่าทางของตนเองกับการเคลือ่ นไหวของ ธรรมชาติจากควัน
Emergence – Cessation, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm I was inspired from my belief in Buddhism where the flow of life naturally happens from birth, existence and demise. I have incorporated this with my physical movements and the natural whirling motions of smoke.
ธนกฤต ปิ่นแก้ว | Thanakit Pinkaew
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | Rajamangala University of Technology Lanna
77
ธนวัฒน์ จันทร์นิมิตร | Tanavat Channimith มหาวิทยาลัยทักษิณ | Thaksin University
สาระแห่งความผูกพัน, 2558 สื่อผสม, 90 x 60 ซม. ความรักความอบอุ่นระหว่างแม่และลูกที่มีคุณค่า ถึงแม้จะผ่านชีวิตที่ทุกข์ เข็ญก็ไม่สามารถทำ�ลายสายใยรักนี้ได้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไม่ ว่าคนหรือสัตว์
Essence of Relationship, 2015 Mixed media, 90 x 60 cm The love and warmth between mother and child is priceless and no hardships in life can ever destroy this bond. This is a true behaviour for all living things be it humans or animals.
78
ธนาภรณ์ ณ พัทลุง | Tanaporn Na Pattalung
มหาวิทยาลัยทักษิณ | Thaksin University
พฤติกรรมตามกระแส, 2558 ภาพพิมพ์หินผสมสีไม้, 57 x 76 ซม. ข้าพเจ้าต้องการถ่ายทอดเรือ่ งราวเกีย่ วกับพฤติกรรมของผูห้ ญิงวัยรุน่ มุสลิมบางกลุม่ ในสังคมปัจจุบนั การตามกระแสแฟชัน่ ทีโ่ ชว์รา่ งกาย บางส่วนทำ�ให้เป็นจุดสนใจต่อผูพ ้ บเห็นซึง่ ผิดหลักศาสนาอิสลาม นำ�มา ซึง่ การสร้างสรรค์งานในรูปแบบกึง่ เหมือนจริงเป็นการล้อเลียนและ เสียดสีสงั คมเพือ่ สะท้อนให้เห็นการเปลีย่ นแปลง
Trendy Behavior, 2015 Lithograph, 57 x 76 cm I wanted to relay the behaviours of teenage Muslim women today. Their need to follow the modern fashion which leads to the revelation of certain body parts that are against Islamic teachings. I have illustrated this through mockery and disdain to reflect how their behaviours have changed.
79
ธิติพรหม อ่อนเปี่ยม | Thitiprom Onpium มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
80
บรรพบุรุษรำ�ลึก, 2558 ปัก เย็บผ้า, 90 x 120 ซม.
Ancestral Contemplation, 2015 Embroidery, 90 x 120 cm
ความเคารพรักความผูกพันและความคิดถึงคำ�นึงหาต่อ บรรพบุรุษผู้ล่วงลับโดยถ่ายทอดผ่านการสร้างสรรค์ เทคนิคเย็บปักโดยใช้ผ้าเป็นสื่อในการแสดงความรู้สึก
Honouring, respect and remembering the ancestors who have passed away by conveying the messages through embroidery techniques which employ the fabric as a mean to communicate the emotions.
ธีทัต แซ่ว่าง | Teetat Saewang
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ Mahachulalongkornralavidyalaya University Chiang Mai Campus
เพียงแค่รอ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม. บัวในน้ำ�...รอเวลา...เพื่อก้าวไปสู่อนาคต
Just Wait, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm A lotus in the water … waiting … to go forth into the future.
81
ธีรวุฒิ คำ�อ่อน | Teerawoot Com-on มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | Chiang Mai University
ความงามในความเรียบง่าย, 2558 ภาพพิมพ์แกะไม้, 80 x 140 ซม.
Beauty In Simplicity, 2015 Woodcut, 80 x 140 cm
ความงามมีอยูท่ กุ ที่ อยูท่ ม่ี มุ มองว่าเราจะมองอย่างไรความงามไม่ได้อยู่ในพื้นที่ ที่สมบูรณ์ ที่เจริญตามโลกวัตถุเสมอไป ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมพอเหมาะ ข้าพเจ้าจึงนำ�เสนอความงามตามวิถี ข้าพเจ้าสัมผัสซึมซับมาตั้งแต่เยาว์วัย จึงเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน
Beauty is everywhere. It is up to us how we see them. Beauty is not subjected to the perfect space nor are they the latest innovations but it depends on the right fit and balance. I, thus, present beauty as inspired by personal familiarisations since childhood.
82
นัฐวุฒิ กองลี | Nattawut Konglee
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย | Loei Rajabhat University
ดูดชาวนา No.1, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม. ในสภาวะสังคมปัจจุบัน ที่มีการหาผลประโยชน์การคอร์รัปชั่นโกงกิน ผลประโยชน์ของชาวนาจากพวกที่มีอำ�นาจ หรือพ่อค้าคนกลางจึง แสดงออกสะท้ อ นอารมณ์ ค วามรู้ ส ึ ก ของข้ า พเจ้ า ผ่ า นอุ ด มคติ ส ู่ ผลงานศิลปกรรม
Leeching The Farmers No.1, 2015 Oil on canvas, 60 x 90 cm Today’s society which is ridden with seeking advantage, corruption and fraudulence from farmers by those with power and middlemen. I have transferred my ideals and reflective emotions into my painting.
83
นูรียา วาจิ | Nuriya Waji
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Prince of Songkla University, Pattani Campus
เหตุการณ์นั้น...ฉันรู้สึก, 2558 สีบาติก, วาดเส้น, 120 x 90 ซม. ในสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้น ณ ถิ่นฐานที่ข้าพเจ้าอาศัยตั้งแต่ วัยเยาว์ พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลต่อความรู้สึก ความหวาดระแวง ภายในจิตใจของข้าพเจ้าผ่านรูปสัญลักษณ์ของหญิง สาวมุสลิม ซึ่งแทนตัว ข้าพเจ้าเองสู่กระบวนการจิต รกรรมผสม เทคนิคบาติกแสดงออกถึงจังหวะของอารมณ์ความเคลื่อนไหวและ การวาดเส้น
That Incident…I felt, 2015 Batik painting, 120 x 90 cm Violence has been rife in the area I have lived since I was young in the three southernmost provinces, it has affected my emotions and fears. I have transmuted this through an image of a young Muslim girl, a representation of myself, into an art form on Batik with the movements of the sketch verbalising the patterns of my emotions.
84
นูรุลฟิรดาวส์ ดิง | Nurulfirdaos Ding
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Prince of Songkla University, Pattani Campus
ผ้าขาว, 2558 สื่อผสม, 100 x 152 ซม.
White Cloth, 2015 Mixed media, 100 x 152 cm
ผ้าขาวห่มร่างกายที่เปื้อนด้วยเลือดเป็นครั้งสุดท้ายเสมือนการฝังสมบัติอันล้ำ�ค่า ในผืนดิน ความสูญเสียทีป่ รากฏในปัจจุบนั กลับทำ�ลายผูบ้ ริสทุ ธิอ์ ย่างไม่นา่ คาดคิด คุณค่า ในความเป็นมนุษย์ชาติลว้ นต้องแลกด้วยความสูญเสียทัง้ สิน้ อาจเป็นบ้าน ทรัพย์สนิ ชีวิต หรือแม้กระทั่งความบริสุทธิ์ ในตัวมนุษย์ก็ตาม
A white sheet that wraps a blood soaked body for the final time is like burying a treasure underground. Destructions that are visible in the current days are destroying innocence. The value of humankind has to be exchanged with loss, whether they are houses, assets, lives and even human in nocence.
85
ร่องรอยวิถีชีวิต, 2558 ภาพพิมพ์แกะไม้, 97 x 73 ซม. ข้าพเจ้ามีความประทับใจในวิถีชีวิตประมงโดยสื่อผ่านไม้ที่เกิด ร่องรอยเปรียบเสมือนร่องรอยการดำ�เนินชีวิต โดยเน้นจังหวะ แสงมาเพื่อให้รู้สึกถึงความอบอุ่นสงบและวิถีชีวิตที่เรียบง่ายที่ สืบทอดอดีตถึงปัจจุบัน
Evidence Of A Way Of Life, 2015 Woodcut, 97 x 73 cm I am fascinated by the way of life led by fishermen and have used marked wood interpretation to the residuals of day to day living. The dawning of the day communicates warmth and calmness in the simplicity of life from the past to the present.
ปฎิพล สุพรรณพงศ์ | Patipon Supanpong มหาวิทยาลัยทักษิณ | Thaksin University
86
พันธนาการของชีวิต, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Life’s Bondage, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm
ข้าพเจ้าต้องการนำ�เสนอสภาวะการดำ�รงอยู่ที่มีข้อผูกมัดในเบื้องต้นลึกของ จิตใจของคนที่ถูกเรียกว่า กรรมกร ข้าพเจ้ารู้สึกได้ถึงชีวิตชีวา จึงนำ�เสนอ โดยการแทนค่าชีวิตด้วยสิ่งไร้ชีวิตให้รู้สึกได้ถึงชีวิต
I wished to portray the conditions of survival that is bounded within the innermost of people who are classed as labourers. I sensed vibrancy, therefore, I have chosen the representation of life with a lifeless object in order to feel life’s essence.
ประเชิญ เหลาฤทธิ์ | Prachoen Laorit
มหาวิทยาลัยขอนแก่น | Khon Kaen University
87
เชื่อและศรัทธา, 2558 เผาไม้, 80 x 100 ซม.
Believe And Faith, 2015 Wood Burning, 80 x 100 cm
สัญลักษณ์ทแ่ี สดงออกถึง ความเชือ่ ความศรัทธา ในของ ขลังศักดิส์ ทิ ธิท์ ม่ี พ ี นั ธะทำ�ให้เกิดแรงกระตุน้ และแรงใจ ในการ ต่อสูเ้ พือ่ ชาติของนักรบในอดีตจนถึงปัจจุบนั
Symbols that illustrates the belief and faith in the protection of talismans of ancient and current warriors that drive their desire to fight for their country.
ประดิษฐ์ สีหลวย | Pradit Seeluay
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี | Ubon Ratchathani Rajabhat University
88
Fly to Heaven, 2558 ภาพพิมพ์หิน วาดเส้น, 100 x 70 ซม.
Fly to Heaven, 2015 Lithography Drawing, 100 x 70 cm
วัฎจักรของชีวิตที่มีการเกิด การตาย การย่อยสลาย รวมเป็นส่วน หนึ่งของธรรมชาติ แสดงถึงความไม่จีรังของชีวิต คือ สรรพสิ่งมี การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
The circle of life that has birth, death and disintegration is part of nature. It represents the ephemerality of life that evolves with time.
ปิยะชนก เรืองผกา | Piyachanok Raungpaka
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | Chulalongkorn University
89
เข้าพรรษา, 2558 สื่อผสม, 100 x 80 ซม.
Buddhist Lent, 2015 Mixed media, 100 x 80 cm
ข้าพเจ้ายกตัวอย่างประเพณีอีสานที่คนในครอบครัวมารวม ตัวกันพร้อมหน้าพร้อมตาไปทำ�บุญ
I am giving an example of an Isan tradition where family members all gather to go make merits.
พรหมลิขิต ลมไธสง | Promlikit Lomthaisong
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | Nakhon Ratchasima Rajabhat University
90
ยักษ์, 2558 สื่อผสม, แปรพันตามพื้นที่
Giant, 2015 Mixed media, Dimension variable
ความชั่วร้ายของมนุษย์เบียดเบียนทุกสรรพสิ่งที่มีชีวิตและจิตใจ เปรียบเสมือนยักษ์ตัวโตที่มีพลังอำ�นาจ เอาเปรียบและทำ�ลาย ชีวิตของทุกสรรพสิ่งบนโลก
The evilness within mankind that exploit all living things is like a giant ogre that uses its immense strength to take advantage and destroy all life on earth.
พรหมศิริ หัตถกร | Promsiri Hattakorn
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | Bunditpatanasilpa Institute
91
กับข้าวพ่อ, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Father’s Dishes, 2015 Oil on canvas, 90 x 120 cm
ทุกคนล้วนแต่ค้นหาความสุข ฉันก็เช่นกันความสุขของฉันเกิดขึ้น จากการที่ได้กินข้าวร่วมกับครอบครัวที่เกิดจากฝีมือพ่อเป็นคน ทำ�กับข้าวที่อร่อยมาก
Everyone seeks happiness including me. My happiness comes from sitting down for a meal with my family and eating foods that my father has prepared. My father is a great cook.
พัชนันท์ คงคล้าย | Patchanan Kongklan
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย | Rajamangala University of technology Srivijaya
92
ความเงียบสงบบนธรรมชาติ, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Nature Placidly, 2015 Oil on canvas, 90 x 120 cm
ความเงียบสงบเท่านั้นที่จะทำ�ให้รู้สึกผ่อนคลายกับเรื่องที่กลุ้มใจในเรื่องต่างๆ เฉกเช่นนั้นแล้ว ข้าพเจ้าจึงนำ�มาเป็นแนวเรื่องในการทำ�งานโดยมีจุดมุ่งหมายที่ แสดงออกถึงสิ่งที่เป็นความเหงาในจิตใจคน
Only stillness can unwind any kind of stress. I have employed this direction into my work with the aim of portraying loneliness that is inside the human heart.
พิพัฒน์ เครื่องทิพย์ | Pipat Kuongtip
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | Rajamangala University of Technology Lanna
93
สุนทรียะในธรรมชาติ, 2558 ปัก เย็บผ้า, 90 x 120 ซม.
Beauty in Nature, 2015 Embroidery, 90 x 120 cm
สุนทรียะของการแสดงออกทางความรู้สึกภายใน ภายใต้จากการรู้สึกถึง ธรรมชาติ แสดงให้เห็นถึงการเคลือ่ นไหวของสายลม เวลา อากาศ ด้วยจังหวะ ของการทับซ้อนของทุง่ หญ้า ป่าเขา แม่น� ำ้ ทิวทัศน์ ทีข่ า้ พเจ้าเคยพบเห็นจึง เกิดเป็นจินตนาการเพือ่ สร้างพืน้ ทีข่ องการจินตภาพ
Serenity in relaying innermost emotions from being touched by nature conveying movements of the wind, time, air with the rhythm of the layers of grass fields, forest mountains, river, scenery that I have been a witness of brought about this piece of work from my imaginations.
พิมพิราช เศษโฐ | Pimpirat Settho มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
94
Waiting For Our Bait, 2558 ภาพพิมพ์หินลงสี, 90 x 60 ซม. อิสรภาพทีท่ กุ คนคิดว่าได้รบั การอย่างเต็มเปีย่ มนัน้ แท้จริง เป็นแค่อสิ รภาพ ที่ถูกจำ�กัดอยู่ภายใต้สังคมภายนอกและภายในจิตใจของตนเองเราทำ�ได้ เพียงแค่ ใช้ชีวิตให้สอดคล้องกับกระแสของโลกอันซ้ำ�ซากวนเวียนหาก ปราศจากการใช้สติปัญญาในการออกแบบชีวิตให้ก้าวไปข้างหน้าอย่าง รู้ทัน
Waiting For Our Bait, 2015 Lithography, 90 x 60 cm The freedom that everyone thinks they have fully is in fact a freedom that has been bounded by society and within our own minds. We are only able to lead our lives accord ing to the repetitive dynamics of the world without using our intellect to design a life that prosper and grow.
ภูริทิป สุริยภัทรพันธ์ | Puritip Suriyapattarapun
มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
95
มงคล แซ่ลิ้ม | Mongkol Sae-Lim
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | Bunditpatanasilpa Institute
Hey Pup, 2558 ภาพพิมพ์แกะไม้, 70 x 100 ซม. เพือ่ นเปรียบเสมือนบันทึกความทรงจำ�ของบทสนทนาอันเกิด การใช้ชวี ติ ร่วมประสบการณ์เดียวกัน วันหนึง่ อาจผันเปลีย่ น แต่เรื่องราวความทรงจำ�ยังคงอยู่ เป็นบทสนทนาถึงวันเก่า อันสุขสันต์
Hey Pup, 2015 Woodcut, 70 x 100 cm Friends are like memories etched by conversations from sharing the same experience. Things change while memories remain in conversations of the good old days.
96
มงคล โมงปันแก้ว | Mongkhon Mongpankaew
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | Rajamangala University of Technology Lanna
Nong Nai, 2558 ภาพพิมพ์แกะไม้, 126 x 86 ซม.
Nong Nai, 2015 Woodcut, 126 x 86 cm
ทุกครั้งที่ข้าพเจ้าได้กลับบ้าน ได้เห็นทิวทัศน์เก่าๆอยู่เสมอ ทำ�ให้หวนคิดถึงวันวาน เกิดเป็นความผูกพันและประทับใจ
Every time I return home and revisit old sceneries, they remind me of the old days that forged bonds and gratifications.
97
เมธัส มะกล่ำ�ทอง | Maytouch Maglumtong มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | Srinakharinwirot University
ผ่าน/ผ่าน 2, 2558 น้ำ�ดินบนผ้าใบ / เครื่องดินเผา, 60 x 180 ซม. / 18 x 20 x 30 ซม. ความทรงจำ�ในวัยเด็กที่ได้เดินทางโดยรถไฟ ความประทับใจเกี่ยวกับทิวทัศน์ ในวัยเยาว์
Pass / Pass 2, 2015 Clay Slip on canvas / Earthenware, 60 x 180 cm / 18 x 20 x 30 cm Childhood memories of travelling on a train and fascinations with the scenery through young eyes.
98
ผ่าน
ผ่าน2
ยืนยง ทานอก | Yuanyong Thanok
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | Nakhon Ratchasima Rajabhat
สุรานรก, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 60 x 90 ซม. สุราเลือดไหลออกมาจากขวดที่อยู่ ในนรก
Liquor From Hell, 2015 Acrylic on canvas, 60 x 90 cm Bleeding bottles of liquor in hell.
99
ยุทธนา แยมสูงเนิน | Yuttana Jamsoongnern มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง
Rajamangala University of Technology Rattanakosin Pohchang Campus
ดอยใน, 2558 สีน้ำ�มันบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม.
Shroud, 2015 Oil on canvas, 90 x 120 cm
ต้ องการสื่ อ ถึ ง ความทุ ก ข์ จ ากสภาพของการมี ชี วิ ต ที่ ต้ องพบเจอ สรรพสิ่งรอบข้าง สิ่งเร้าสารพันปัญหาบ่วงพันธนาการที่จองจำ�ชีวิต
I wanted to express life’s sufferings that derive from the elements surrounding us which stimulate all sorts of problematic constrictions in the human existence.
100
รัตติกาล จิตต์หมั้น | Rattikarn Jidmun
มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
สายใยชีวิต, 2558 เย็บ ปัก ถัก ร้อย, ผันแปรตามพื้นที่ ทุกสิ่งล้วนเป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน เป็นเครือข่ายที่โยงกันอย่าง ซับซ้อน ทุกๆ โมเลกุลทุกๆ เซลล์ ครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย อื่นที่มีมาก่อนและจะกลายเป็นร่างกายอื่นต่อไป เมื่อสิ่งหนึ่งถูกกระทบ สิ่งอื่นๆ ก็พลอยจะได้รับผลกระทบไปด้วย
Bond Of Life, 2015 Embroidery, Dimension variable All things are a make up of a part of another, a complex network that is intertwined. Every molecule and every cell were once a part of the existence of a physical body that transcends into another form of body. When one link is disrupted, other links are affected.
101
วิถีไทยอีสานบ้านเฮา, 2558 สื่อผสม, 90 x 60 ซม. ความประทับใจในบรรยากาศวิถีชีวิตที่งดงามเป็นต้นทาง สู่การสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย เพื่อแสดงออกถึงค่านิยม ของสังคมชนบทอีสานบ้านเฮา
Thai Way, Isan Style, 2015 Mixed media, 90 x 60 cm A fascination with the beautiful way of life is the start on the path of creating contemporary art to show the country values of the Isan people.
รัตน ไวยะราบุตร | Rattana Waivarabut มหาวิทยาลัยบูรพา | Burapha University
102
รูปลักษณ์แสดงธรรม, 2558 สื่อผสม, แปรผันตามพื้นที่ ข้าพเจ้ามีความประทับใจในรูปทรง “ธรรมาสน์” ข้าพเจ้า จึงนำ�มาแสดงออกในรูปแบบงานสื่อผสม โดยมีอัตลักษณ์ ความเป็นอีสาน
Tangible Dharma, 2015 Mixed media, Dimension variable My creation derived from my interest in shape of the “seat of sermon” while also incorporating Isan identities to it.
รัตนพงศ์ พิมพิสาร | Rattanapong Pimpasan
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | Nakhon Ratchasima Rajabhat University
103
ดินแดน, 2558 ถักสานไม้ไผ่, เส้นผ่าศูนย์กลาง 120 ซม. หม่ อ นหนึ่ ง ตั ว สร้ า งรั ง ปกคลุ ม ตั ว เพื่ อ ป้ อ งกั น อันตราย จากสิง่ ภายนอกเหมือนกับบ้านทีม่ นุษย์สร้าง ขึน้ และเมือ่ หม่อนไหมอยูร่ วมกันเยอะๆ มันก็เหมือน บ้านหลายๆ หลังอยูร่ วมกัน
Kingdom, 2015 Bamboo weaving, Diameter 120 cm A silkworm builds a nest to cover itself as protection from outside elements in the same way that humans build homes. When a number of silkworms gather together, it is like a neighbourhood of houses.
วิไลพร สีโสดา | Wilaiporn Seesoda จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | Chulalongkorn University
104
มนุสสเปโต, 2558 สีอะคริลิกบนผ้า, 120 x 190 ซม. ข้ า พเจ้ า ต้ อ งการสะท้ อ นภาพลั ก ษณ์ ข องมนุ ษ ย์ ที่ มี พ ฤติ ก รรม เหมือนเปรต “มนุสสเปโต” ที่มีแนวคิดจากคติความเชื่อของไทยซึ่ง เป็นกุศโลบายเตือนสติ ให้มนุษย์เกรงกลัวต่อผลแห่งกรรมมาเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ตามทัศนคติส่วนตัว
Hungry Ghost, 2015 Oil on canvas, 120 x 190 cm I wish to reflect the image of humans that behave like pretas or hungry ghosts. The ghost is a Thai belief as a ruse to remind mankind to fear karma. I have used this to inspire the creation of my work from a personal point of view.
ศรชัย พงษ์ษา | Sornchai Pongsa
มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
105
Golden Kingdom, 2558 สื่อผสม, 60 x 90 ซม.
Golden Kingdom, 2015 Mixed media, 60 x 90 cm
ข้าพเจ้าสร้างผลงานที่ผู้ชมมีประสบการณ์ร่วมโดยใช้เอกลักษณ์ของ แบรนด์ ในชีวติ ประจำ�วัน ซึง่ ผูช้ มต่างรับรูก้ นั ในแบบสาธารณะนำ�มาสร้าง คุณค่าให้เกิดเป็นงานศิลปะด้วยกายภาพและบริบทของหอศิลป์
A creation that art viewers will share in the experience through the use of brand symbols of every day objects that transform the work into an artistic piece.
ศรินยา ศรีจันทร์อ่อน | Sarinya Srichanon สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
106
จินตนาการจากป่า, 2558 สื่อผสม, 60 x 140 ซม.
Imagery From Jungle, 2015 Mixed media, 60 x 140 cm
ข้าพเจ้ามีความชอบและความผูกพันกับธรรมชาติป่าไม้มาตั้งแต่เด็ก ข้าพเจ้า จึงได้สร้างสรรค์ผลงานแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก ความประทับใจใน จินตนาการจากป่าในมุมมองที่เป็นอุดมคติของข้าพเจ้า
I have a love and bond with nature since I was a child and I am creating my work from emotions within of my fascination with a fantasy forest from my idyllic perspective.
ศิรินภา แสงมณี | Sirinapa Sangmani
มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา | Songkhla Rajabhat University
107
สมสมร จันทะชำ�นิ | Somsamorn Jantachamni มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | Mahasarakham University
ภาวะสังขารของบิดา 2, 2558 จิตรกรรมผสม, 60 x 90 ซม. ข้าพเจ้าได้สร้างสรรค์งานชิ้นนี้มาจากความรู้สึกจริงของตน ต่อบิดา ข้าพเจ้ามีความผูกพันกับบิดาตั้งแต่เด็กจนถึงปัจจุบัน ข้าพเจ้ารู้สึกสะเทือนใจที่เห็นบิดาทำ�งานหนักโดยไม่ย่อท้อต่อ ร่างกายที่เจ็บป่วยและชราลง
Father’s Body 2, 2015 Mixed technique, 60 x 90 cm This art piece was created from the way I feel about my father as due to the closeness I feel towards him since I was a child up until now. I am deeply moved from seeing him working hard without reservation for his ailing health and ageing body.
108
สมัย ขาวพา | Samai Khaopha
มหาวิทยาลัยขอนแก่น | Khon Kaen University
อุทิศแด่เจ้าของรถ, 2558 สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 90 x 120 ซม. ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธได้ถูกมองว่าเสื่อมลงมากแต่ความจริง แล้วศาสนาไม่ได้เสื่อม คนต่างหากที่ถวายสิ่งของเพื่ออุทิศและ ทำ�บุญให้ โดยไม่คำ�นึงถึงคำ�ว่าภิกษุสงฆ์ ใ ช้ ไ ด้ ไ หมสมควร หรือไม่ จนนำ�พาไปสู่กิเลสและถูกมองในทางลบ
Devoted to The Car’s Owner, 2015 Acrylic on canvas, 90 x 120 cm Buddhism is currently seen as a religion that has greatly deteriorated and declined, however, the truth is it is not that religion that has become lesser, it is the people that make their offerings to make merits without sensible considerations to appropriateness. This has led to cravings and negative views.
109
สุนิศา นวมเผือก | Sunisa Nuampeuag มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ, 2558 ถอดพิมพ์จากคนจริง, ขนาดเท่าคนจริง สังคมที่ขาดสาระในปัจจุบัน ทำ�ให้คนไร้ที่ยึดเหนี่ยวจึงต้องหันมา “พึ่ง” สิ่งที่มองไม่เห็น ด้วยความลุ่มหลงที่เกิดความจำ�เป็นจน ลืมไปว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ควรเคารพมากที่สุด นั่นคือตนเอง
Stand on Your Own Feet, 2015 Life casting, Life size The lack of essence in today’s society is making people turn to the unseen to “anchor” their faith. With this obsession they fail to remember that the most sacred thing they should honour is themselves.
110
อชิรญา ขับกล่อมส่ง | Ashiraya Khapklewsong มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
มารดาแห่งชีวิต, 2558 ปูนปั้น, แปรผันตามพื้นที่
Mother Of Life, 2015 Stucco, Dimension variable
แม่แห่งสรรพสิง่ /สรรพชีวติ (ธรรมชาติ) เป็นผู้ให้ก�ำ เนิดทีเ่ ปีย่ มไปด้วยเมตตาธรรม คุณธรรม ทานธรรม ธรรมชาติ นำ�ไปสูว่ งจรแห่งการให้น�ำ ไปสูว่ งจรแห่งการให้ เป็นแม่ผซ้ ู ง่ ึ ให้ (เปล่า) เป็นการให้ บริสุทธิ์โดยไม่หวังผลตอบแทน เป็นที่พักพิงและปัจจัยในการดำ�รงชีวิตการเอื้อเฟื้อเกื้อกูล จะนำ�ไปสูว่ ฏั จักรหมุนเวียนเพือ่ คงซึง่ ความสมดุล
The mother of all things/all lives (nature) is a life giver that is filled with compassion and morality leading to the cycle of giving as a mother who purely gives without wanting anything in return. She is a shelter and essential in subsisting that leads to the mechanics of the cycle to maintain balance.
111
การเดินทางของละอองเรณู, 2558 เชื่อมโลหะ, 40 x 45 x 50 ซม.
The Journey Of Pollen Grain, 2015 Metal welding, 40 x 45 x 50 cm
ข้าพเจ้าต้องการจะสื่อถึงพลังของระบบวิวัฒนาการของสรรพสิ่งบนโลกที่มี การปรับตัวของพืชเพื่อความอยู่รอด โดยเลือกรูปแบบการถ่ายละอองเรณู ของพืชเพราะมีความเป็นระบบและน่าสนใจนำ�ไปสู่จินตนาการ
Conveying the power of of evolution of all living things on earth in order to survive by choosing the pollination of plants as an example due to their intriguing journey.
อรพรรณ น้อยสาย | Orapan Noisai มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | Chiang Mai University
112
The Last Movement of Benjamas Flower, 2558 ศิลปะผ้าบาติก, 180 x 60 ซม.
The Last Movement of Benjamas Flower, 2015 Batik painting, 180 x 60 cm
การมีสติและเข้าใจในความตายที่จะเกิดขึ้นจะทำ�ให้พบกับความสุข โดยยึด หลักคำ�สอนทางพระพุทธศาสนา แสดงออกผ่านความร่วงโรยของดอก เบญจมาศ
Having consciousness and understanding of death in accordance with buddhist teachings will bring joy. This is conveyed through the withering chrysanthemum blooms.
อรรถพร ชูชวลิต | Arttaporn Choochaovalit
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ์Thammasat University
113
สัญลักษณ์แห่งมงคลชีวิต, 2558 ลายรดน้ำ�, 80 x 120 ซม. ได้รบั แรงบันดาลใจมากจากเรือ่ งราวอันเป็นมงคลในรอยพระพุทธบาท ว่าด้วยเรื่องราวต่างๆอันเป็นมงคลในชีวิตของข้าพเจ้าซึ่งเป็นมงคล เป็นเหมือนเครื่องรางที่จะนำ�ความสุขความเจริญมาให้ข้าพเจ้าได้นำ�มา คลี่คลายถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดจินตนาการผ่านเทคนิค ลายรดน้ำ�
Symbol Of Auspicious Life, 2015 Gilded black lacquer, 80 x 120 cm Strongly inspired by the stories of Buddha’s footprint which are considered a blessing for my life like a talisman that would bring prosperity. I have employed the gilded black lacquer technique to illustrate my visions.
อัจฉราภรณ์ กล่ำ�เกลื่อน | Auscharaporn Klumklean มหาวิทยาลัยศิลปากร | Silpakorn University
114
อิสรภาพในม่านหมอกควัน, 2558 ลนไฟ, 90 x 120 ซม. จากสภาวะเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ข้าพเจ้าต้องการสะท้อนภาพความจริงอันสูญสิน้ อิสรภาพ เสรีภาพ คงเหลือเพียงร้องรอยชีวิตในหมอกควันที่เลือนราง ปกคุมในภาพบรรยากาศแสดงความรู้สึกสะเทือนใจผ่านรูปทรง ที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ท่ตี ้องการความหวังและอิสรภาพที่ ข้าพเจ้าปรารถนา
Freedom In The Smog, 2015 Smoked, 90 x 120 cm Due to the restive conditions of the three southern border provinces, I wanted to reflect the true picture of a loss of freedom and democracy. The only thing left behind are the remnants of life within the thin veil of smoke in the painting which portrays grief through symbols of want, hope and freedom that I long for.
อามีเนาะห์ บาแต | Ameenoh Batae
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Prince of Songkla University, Pattani Campus
115
ครอบครัวสุขสันต์, 2558 สีอะคริลิกบนหนังสาน, 80 x 60 ซม. ความสุขนั้นไม่จำ�เป็นต้องไขว่คว้าหามัน ไม่ต้องพยายามทำ�ทุกอย่างเพื่อ ให้ได้มันมา เพราะความสุขที่แท้จริงเกิดขึ้นได้ทุกเวลา จากครอบครัว ตัวเองและสิ่งแวดล้อมรอบข้าง โดยที่เราไม่ได้ทำ�อะไรเลย
Happy Family, 2015 Acrylic on leather, 80 x 60 cm Happiness does not need to be grabbed or for one to do everything within one’s power to acquire it because true happiness can happen at any time. It can be from one’s own family or from things happening around us without us having to do anything.
อำ�ไพ ดาวกลางไพร | Ampai Daokangpai มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย | Chiang Rai Rajabhat University
116
อันนารู (นรก), 2558 จิตรกรรมผสม (สีโป้วบนผ้าใบ), 108 x 60 ซม. นรกคือสถานที่ที่มีไว้ลงโทษ ผู้ที่กระทำ�ผิดบาป ซึ่งเป็นที่ที่มีแต่ความหายนะและความ น่ากลัว
Hell, 2015 Mixed technique, 108 x 60 cm Hell is a place of punishment for those that have sinned. It is a place of tragedy and terror.
เอกราช ศักดา | Aekarat Sakda
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง
Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Pohchang Campus
117
#ภาพวันตัดสิน ผลงานรอบแรก
118
#ภาพกิจกรรม
วันที่1
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
119
#ภาพกิจกรรม
วันที่2
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
#ภาพกิจกรรม
วันที่3
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
#ภาพกิจกรรม
วันที่4
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี 120
121
#ภาพกิจกรรม
วันที่5
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
122
#ภาพกิจกรรม
วันที่6
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
123
ต่อยอดอบรมเชิงปฏิบัติการขั้นสูง ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม - 10 เมษายน 2558 ณ สหรัฐอเมริกา Extended practical training from 28 March - 10 April 2015 in the United States of America
124
#ภาพกิจกรรม
วันที่1-2
ณ สหรัฐอเมริกา
125
#ภาพกิจกรรม
วันที่3-4
ณ สหรัฐอเมริกา
126
#ภาพกิจกรรม
วันที่5-7
ณ สหรัฐอเมริกา
127
ประสบการณ์ ใหม่ ในต่างแดน Text : อดุลย์ สงศรี
การเดินทางไปสังเกตการณ์ถงึ แดนไกลครัง้ นีเ้ ป็นประสบการณ์ยากทีจ่ ะหาได้ การ ได้เห็นผลงานศิลปะของศิลปินทีม่ ชี อ่ื เสียงระดับโลก ผมประทับใจหลายแห่งทีไ่ ปศึกษาดูงานใน ครัง้ นี้ เช่น ทัศนศึกษาที่ The Weisman Museum เมือง Beverly Hills ของ Frederick R. Weisman Art Foundation และ UCLA วันสุดท้ายของการดูงานพิพิธภัณฑ์ The Weisman ไม่เหมือนเป็น พิพิธภัณฑ์ เป็นเหมือนบ้านส่วนตัวแต่มีการจัดวางงานศิลปะในทุกๆ มุม ให้ความรู้สึก ว่าทุกลมหายใจของเจ้าของบ้านอยู่กับงานศิลปะซึ่งเราได้มีโอกาสเจอเจ้าของบ้าน โดยปกติการเข้าชมจะยากมากต้องจองล่วงหน้าและเช็คประวัตผิ เู้ ข้าชม ห้ามบันทึกภาพ เนื่องจากงานแต่ละชิ้นมูลค่ามหาศาล แต่ทีมงานของเราถ่ายรูปได้เป็นกรณีพิเศษ พวกเราจึงได้รับอานิสงส์ ไปด้วยครับ เราได้เห็นภาพที่มีคุณค่าและผมไม่เคยเห็นที่ไหน มาก่อน การควบคุมสีในงานศิลปะ สำ�หรับที่นี้ผมประทับใจมากครับ วันพุธที่ 8 เมษายน พวกเราเดินทางขึน้ เขาอีกครัง้ เพือ่ ทำ� Art Workshop ในหลายๆ จุด ธรรมชาติทน่ี ส่ี วยงามมาก ระหว่างทางขึน้ เราได้แวะสเก๊ตซ์ภาพ เมือ่ เราขึน้ เขาก็ เจอหิมะทีย่ งั คงหนาและขาวโพลน บางส่วนก็ยงั ไม่ละลายบางส่วนก็ละลายแล้ว มองเห็น
128
ต้นหญ้าที่เขียวชอุ่มมีความสวยงามจนไม่สามรถบรรยายออกมาได้ ได้เพียงบันทึกไว้ เป็นภาพถ่าย ภาพสเก๊ตซ์ และความทรงจำ�ทีง่ ดงาม นอกจากนีเ้ รายังได้เจอสุนขั จิง้ จอก ด้วย ซึ่งยากมากที่จะออกมาให้เห็น และพวกเราได้เปิดปิกนิกทานข้าวท่ามกลางหิมะที่ ขาวโพลน โต๊ะปิกนิกก็ขาวโพลนทีป่ กคลุมด้วยหิมะ ทานกันไปก็เย็นกันไปได้บรรยากาศอีก แบบหนึง่ สรุปการมา Yosemite Valley ทุกคนรวมทั้งผมด้วยมีความสุขจนเกือบ ลืมครอบครัวที่เมืองไทยไปเลย ทั้งนี้ผมนายอดุลย์ สงศรี ขอขอบคุณ ภราดา ทักษบุตร ไกรประสิทธิ ์ มิสรุง่ รัตน์ กมลศิรปิ ระเสริฐ และขอขอบคุณผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (คุณชาย นครชัย) ที่มีความเมตตาให้กระผมได้เดินทางไปหาประสบการณ์ในครั้งนี้และ ได้เข้าร่วมกิจกรรมอันเป็นประวัติศาสตร์ยิ่งนัก ขอขอบคุณอาจารย์กมล ทัศนาญชลี ประธานสภาศิลปวัฒนธรรมไทยแห่งสหรัฐอเมริกา ที่สนับสนุน สั่งสอน แนะนำ� และ พาเรามาถึง สหรัฐอเมริกา ครั้งนี้และที่ลืมไม่ได้อีกคนหนึ่งก็คือ ป้านวล ภรรยา อาจารย์กมล ที่คอยทำ�กับข้าวอาหารไทยที่แสนอร่อยให้ทานและขอขอบคุณผู้ร่วม เดินทางไปครัง้ นีท้ กุ ๆ คนขอบคุณ จริงๆ ครับ
New Experiences in a Foreign Land Text : Adul Songsre
Travelling to a distant land for this observation trip was an experience that is not easy to come by, and to also get to view the works of world recognised artists. I was awed by a number of places that we visited during the trip, for example, the Weisman Museum in Beverly Hills of the Frederick R. Weisman Art Foundation and UCLA. The visit to the Weisman Museum was unlike visiting other museums as it felt more of a private home with artworks on display in various corners. The feeling it gave was as if every breath of the home owner were one with the art pieces, and we even got to meet the proprietor of the residence. Generally, there are strict protocols to schedule a visit to the Museum, advance bookings are required and visitors’ background are evaluated. No photography is allowed due to the immense value of each piece of art. However, this was an exception for our group as the proprietor was well acquainted with Ajarn Kamol so we were permitted this privilege. It was excellent! We saw many priceless paintings that I have never seen anywhere before. The way the colours were contained were simply amazing. I was very much stunned. We travelled uphill once again on Wednesday 8 April to conduct an art workshop and there were many picturesque spots along the route
which we also stopped to sketch. As we ascended the mountain, we saw parts of it covered in thick white snow, there were some patches that had melted and there were blades of lush green grass poking through. The beauty of it was indescribable and can only be captured in photographs, sketches and precious memory. We also came across a fox which is a rare occurrence. We held a picnic in the middle of the snow, the picnic table was covered in soft white snowy dust. As we ate, we felt the crispy coldness but it was an entirely new and different atmosphere which was wonderful. All in all, everyone, had an incredible time at Yosemite Valley, so much so that I had almost forgotten about my family back in Thailand. Hereby, I, Adul Songsre, would like to thank Bro.Thaksabutr Kraiprasit Miss Rungrut Kamolsiriprasert as well as Director - General of office of Contemporary Art and Culture, Chai Nakhonchai for his generosity in allowing me the experience to be a part of this historical event. My appreciation to Ajarn Kamol Tassananchalee, President of the Thai Art Council USA for his support, coaching and guidance that lead us to USA. One other person that cannot be overlooked is Aunt Nual, Ajarn Kamol’s wife, for cooking all those superb meals. Thanking all my fellow travellers on this journey with my utmost gratitude.
129
ศิลปิน...ผู้สร้างสรรค์ และ ครู...ผู้สร้างคน Text : นัยนา วรรณรัตน์
โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ 6 ประจำ� ปี 2558 (Young Artists Talent #6) เป็นเสมือนประตูบานใหญ่ของการ เรียนรู้สู่โลกกว้างที่ ให้เยาวชนได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์ของตนเอง และศึกษาดูงาน ศิลปะในรูปแบบต่ า งๆ ณ แหล่ ง เรี ย นรู ้ น อกห้ องเรี ย น พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ หอศิ ล ป์ ท ี ่ มี ช ื ่ อ เสี ย งรวมทั ้ ง สตูดิโอของศิลปินในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการเรียนรู้แบบ ประสบการณ์ตรง (Experimental Learning) ซึ่งโครงการนี้ได้สนับสนุน ส่งเสริม เยาวชนที่เป็นเสมือนต้นกล้าที่กำ�ลังเจริญเติบโต และเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการขับเคลื่อน การแสดงออกทางศิลปะอย่างสร้างสรรค์ ให้ ได้ศึกษาดูงานและทำ�กิจกรรม Art Workshop ในต่างประเทศ รวมทั้งการสร้างความตระหนักและซาบซึ้งถึงคุณค่าของ งานศิลปะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี ในปัจจุบนั เพือ่ นำ�องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ท่ไี ด้รบั กลับมาต่อยอดสร้างแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อไป โดยเฉพาะการที่ ได้กลับมารักษามรดกทาง วัฒนธรรมของตนเอง เพื่อส่งเสริมสู่ความเป็นสากลด้วยกลวิธีทางทัศนศิลป์ การศึกษาดูงานในครั้งนี้นอกเหนือจากการศึกษาดูงานศิลปะที่พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ และการเดินทางไปท่องเที่ยวยังสถานที่ต่างๆ ของนครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกาแล้ว พวกเรายังโชคดีท่ไี ด้รบั การถ่ายทอดองค์ความรูโ้ ดยตรงจากศิลปิน แห่งชาติ ซึ่งในความเป็นศิลปินนั้นท่านยังทำ�หน้าที่เป็นครู ผู้สร้างแรงบันดาลใจและ เป็นแบบอย่างที่ดี ให้กับเยาวชนหลายๆ คน ในการดำ�เนินชีวิตและสร้างสรรค์งานศิลปะ ท่านคือ ดร.กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ ท่านเป็นศิลปิน คนสำ�คัญและดีเด่นในด้านจิตรกรรมและสื่อผสมร่วมสมัยของไทยที่ได้รับการยอมรับ และยกย่องทั้งในและต่างประเทศ เป็นผู้ดำ�เนินการศูนย์ศิลปกรรมไทย เพื่อเผยแพร่ ศิลปะไทยในสหรัฐอเมริกา สนับสนุน ส่งเสริมสังคมด้วยวิชาการด้านศิลปะเป็นอย่างดี ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ เป็นวิทยาทานแก่เยาวชน คณะครูอาจารย์ สถาบัน การศึกษาวิชาศิลปะทั่วประเทศและในต่างประเทศ ตลอดระยะเวลาการศึ ก ษาดู ง านของพวกเราอาจารย์ ก มลจะเตรี ย ม วางแผนการเดินทางการเข้าชมพิพธิ ภัณฑ์และหอศิลป์ตา่ งๆ เหมือนครูผสู้ อนวางแผนการ สอน และอาจารย์จะเป็นผู้บรรยายให้ความรู้กับเยาวชนด้วยตนเอง ซึ่งทุกๆ วันหลัง กลับจากการศึกษาดูงาน อาจารย์กมลและอาจารย์เทพศักดิ์จะให้ความสำ�คัญกับการ
130
สรุปองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และตอบข้อซักถาม ร่วมกับน้องๆ เยาวชน ทุกคน อาจารย์กมลได้นำ�หนังสือรวบรวมผลงานของท่านมาแสดงให้น้องๆ ดู และ อยากให้น้องๆ ให้ความสำ�คัญกับการเก็บรวบรวมผลงานของตัวเอง เพราะมันจะเป็น ประวัติศาสตร์ของเราต่อไปในอนาคต อาจารย์กมลได้นำ�เสนอและยกตัวอย่างชีวประวัติของศิลปินที่มีชื่อเสียง ระดับโลก เพื่อสะท้อนให้พวกเราได้เข้าใจถึงแง่มุมบางช่วงชีวิตของศิลปินที่มีผลต่อ การสร้างงานศิลปะ ที่อาจจะไม่ราบรื่นและสวยงามเช่นผลงานที่เราได้เห็นและสัมผัส ซึ่งเราอาจจะไม่เคยทราบหรือเรียนรู้ได้จากในตำ�รา และไม่ ใช่เพียงการศึกษาถึงลักษณะ รูปแบบเทคนิควิธีการจากผลงานจริงเท่านั้น แต่เราควรศึกษาถึงพัฒนาการของงาน ศิลปะแต่ละยุคสมัย แนวความคิด หรือแรงบันดาลใจที่ส่งผลต่อการสร้างงานของ ศิลปินด้วย และอาจารย์ ได้เน้นย้ำ�ถึงวิธีการสร้างสรรค์งานศิลปะและการใช้ชีวิตแบบ ศิลปินอย่างมีคณ ุ ค่า ให้พวกเรานำ�ความรูแ้ ละประสบการณ์ท่ไี ด้ไปฝึกฝนปฏิบตั ิ ปรับเปลี่ยน วิธีการทำ�งานของตนเอง โดยไม่ ใช้วิธีการลอกเลียนแบบ เพราะงานศิลปะที่ยั่งยืน เป็นการต่อสู้กับตนเอง การค้นหาตนเองให้เจอ และฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง และที่สำ�คัญ การมีจิตสำ�นึกที่ดีต่อส่วนรวม การเป็นคนเก่งแล้วต้องเป็นคนดีเพื่อช่วยเหลือสังคม ด้วย ซึ่งเราจะเห็นวิถีชีวิตของอาจารย์ที่เป็นแบบอย่างที่ดีของการใช้ชีวิตที่เรียบง่าย ความเสียสละเพื่อส่วนรวมและทุ่มเทในการทำ�งาน ความไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข และ ที่สำ�คัญการไม่เป็นหนี้ อาจารย์บอกว่าการเป็นหนี้ทำ�ให้เราทำ�งานเท่าไหร่ก็ไม่ประสบ ความสำ�เร็จ ดังนั้นท่านจึงมีคุณสมบัติเพียบพร้อมในความเป็นศิลปินและครูที่ดีงาม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชนได้เป็นอย่างดี ทั ้ ง นี ้ ก ารพาเยาวชนไปเรี ย นรู ้ ถ ึ ง แก่ น แท้ ข องงานศิ ล ปะจะเป็ น การ จุ ด ประกายความคิ ด ให้ เ ยาวชนได้ นำ � ประสบการณ์ ไปใช้ ในการปฏิ บั ติ ง านการ สร้างสรรค์ผลงานของตนเอง ทัง้ ในการเรียนและก่อนทีจ่ ะออกไปประกอบอาชีพหลัง จบการศึกษาในอนาคต หลายคนมีโอกาสไปเป็นครู อาจารย์สอนศิลปะในสถาบันการ ศึกษาต่างๆ หลายคนประสบความสำ�เร็จเป็นศิลปินรุ่นใหม่ที่มีชื่อเสียงระดับชาติ และ กำ�ลังก้าวไปสู่ระดับนานาชาติ โครงการนี้เป็นการลงทุนเพื่อสร้างคนให้มีศักยภาพซึ่ง ประกอบด้วยความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ และนำ�ไปสู่ความ เชี่ยวชาญของแต่ละบุคคลในด้านต่างๆ เพื่อการสร้างคนในสาขาศิลปะให้มากขึ้น
The Artist … Who Creates and the Teacher … Who Moulds Text : Naiyana Wannarat
The 2015 Young Artists Talent #6 is a door to the world that allow youths to expand their perspectives as they study and observe various forms of art outside their classrooms, in museums, reputable art galleries and even at the artists’ own studios in the United States of America, whereby they are directly benefiting from experimental learning. This project has supported and promoted youths that will become the propelling force in the presentation of creative arts. Through international visits, they will recognise and value arts that have evolved through the eras as well as current technological developments, thus bringing forth these incentives to motivate and create other art works, especially when the knowledge can be employed in the preservation of their own cultural heritage and driving it to the international level with visual art tactics. Besides viewing various artworks at museums, art galleries and getting to sight see in Los Angeles during this trip, our opportune moment was to have been counselled by a national artist. In his capacity as an artist, he also took on the roles of teacher, mentor and an ideal role model for a number of youths in his way of life and work creativity. Dr. Kamol Tassananchalee has been named Thai National Artist of the year in 1997 in the field of visual arts. He is an outstanding artist in Thai contemporary paintings and other mixed genres who is nationally and internationally accredited. He is an ardent supporter and promoter of art knowledge. He imparts his insight and experiences to youngsters, teachers as well as art institutions nationwide and abroad. Dr. Kamol is the founder of the Thai Art Council USA that was established to introduce, support and promote Thai art in the United States. For the duration of our study trip, Ajarn Kamol prepared an itinerary for visitations of museums and art galleries like a teacher would set up a teaching plan. He also personally narrated the tours. At the end of each day, Ajarn Kamol and Ajarn Thepsakdi summarised the observations, exchange views and answer any queries that anyone had. Ajarn Kamol also showed an album of all his works to the group and advised them to place an importance in keeping their own collection produced works as these will become a historic account in the future.
Ajarn Kamol gave examples of biographies of world renowned artists in order for us to understand certain aspects of their lives which may affect the creation of their works that may not have been as effortless and exquisite as the end results that we perceive. We may have never been aware of or read about it from any textbooks, it is not just about the knowledge of the format or techniques from the actual art piece but we should study about the development of art of each era, the concept and inspirations that all play a part in the creation of the work. Furthermore, Ajarn Kamol reiterated on the importance of creating valuable art and how to lead the life of a rewarding artist. He urged for us to use what we have learned by putting them to practice and adapting the way we work rather than replicating because, for art to be enduring, it is a personal struggle in order to find yourself and comes with continuous practice. Above all, having a strong social conscience is also important. In being a proficient person, one must also be a good person who is willing to help society. For this, we see Ajarn Kamol’s way of life as an ideal model in his simplicity, communal dedication, devotion to work, abstention from vices, and, most importantly, being debt free. He stated that whenever one is in debt, one can never be successful no matter how hard one work. It is with these qualities that make him such a fine artist, teacher and role model for youngsters. In conclusion, this study trip has taught the young artists the core of art that would spark their ideas and allow their experience to be used practically in the creation of their works during their studies as well as in their career after the completion of their education. Many will have the opportunity to become art teachers in various institutions and many will become successful as new nationally acclaimed artists on the path of international recognition. This programme is an investment to create competent people that are skilful, creative, and has the ability to think outside the box. These qualities will lead them to develop their individual expertise which will then increase the number of professionals in the field of art.
131
Getty 360 ํ Text : อลงกรณ์ จารุธีรนาท
The J. Paul Getty Museum, Los Angeles พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ถือ ได้ว่าประสบความสำ�เร็จเป็นลำ�ดับต้นๆ ของโลก ทั้งด้านการบริหารจัดการและการ สะสมผลงานศิลปะ เห็นได้จากในแต่ละปีมียอดผู้เข้าชมสูงถึงเกือบ 2 ล้านคน เรามักได้ ยินข่าวอยู่เสมอว่า ที่นี่ซื้อผลงานศิลปะจากการประมูลเป็นมูลค่าหลายพันล้านบาท ซึ่ง ล่าสุดก็เพิ่งประมูลผลงานชิ้นเยี่ยมที่ชื่อ “Modern Rome – Campo Vaccino” ของ โจเซฟ มอร์ลอด วิลเลียม เทอร์เนอร์ หรือที่เราๆรู้จักกันในนาม“เทอร์เนอร์” ศิลปินชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 ผู้เลื่องชื่อ ไปในราคาเกือบๆ 1,500 ล้านบาท นับเป็นภาพที่มีมูลค่าสูงที่สุดในโลกจากงานของเทอร์เนอร์ทั้งหมด The J. Paul Getty Museum มีจุดเริ่มต้นมาจาก J. Paul Getty มหาเศรษฐีชาวอเมริกันที่ทำ�ธุรกิจค้าน้ำ�มันรายใหญ่ของโลกมีความหลงใหลในผลงาน ศิลปะและเริ่มสะสมงานมาตั้งแต่ปี 1930 ทั้งผลงานศิลปะสมัยใหม่ ในศตวรรษที่ 17 – 18 รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งจากประเทศฝรั่งเศส ศิลปะโบราณ กรีก โรมัน และอีทรัสกัน ทำ�ให้เขามีผลงานศิลปะที่ทรงคุณค่าและหาชมได้ยากเป็น จำ�นวนมาก เมือ่ ผลงานศิลปะมีจ�ำ นวนเพิม่ มากขึน้ สถานทีจ่ ดั เก็บเดิมก็เริม่ คับแคบ Getty จึงคิดสร้างพิพิธภัณฑ์ศิลปะขึ้นเพื่อจัดแสดงให้คนทั่วไปมีโอกาสได้ศึกษาและชื่นชม พิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่บนภูเขาซานตาโมนิก้ามีเนื้อที่ประมาณ 750 เอเคอร์หรือ เกือบ 1,900 ไร่ แต่ ใช้พื้นที่ก่อสร้างอาคารเพียง 100 เอเคอร์ นอกนั้นปล่อยให้เป็น พื้นที่สีเขียว ให้เป็นปอดธรรมชาติกับผู้คนที่ได้เข้ามาพักผ่อน พิพิธภัณฑ์เริ่มก่อสร้าง ขึ้นในปี 1983 โดย ริชาร์ด ไมเออร์ สถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร ตัวอาคารจัดแสดง มีสีขาวเน้นความโปร่งโล่งสบาย เรียบง่ายและร่วมสมัย คำ�นึงถึงประโยชน์ ใช้สอย เป็นหลัก ส่วนวัสดุที่ ใช้นั้นเลือกใช้หินปูนที่นำ�เข้าจากอิตาลี เมื่อหินปูนถูกตัดออกก็ เผยให้เห็นซากฟอสซิลทำ�ให้เกิดพื้นผิวที่แปลกตา อาคารแห่งนี้จึงมีทั้งความสวยงาม แข็งแกร่ง และยังสามารถป้องกันตัวเองจากไฟป่าและแผ่นดินไหวได้ดี การก่อสร้าง แล้วเสร็จและเปิดให้ประชาชนเข้าชมอย่างเป็นทางการได้ ในปี 1997 หลายคนคงแปลกใจว่า The J. Paul Getty Museum มีการบริหาร จัดการเรื่องงบประมาณอย่างไร เพราะไม่ได้ขอทุนสนับสนุนจากรัฐบาล ทั้งยังให้ ประชาชนเข้าชมฟรี ด้วยงบประมาณหลักของที่นี่นั้นมาจากรายได้บริษัทน้ำ�มัน ของ J. Paul Getty ที่มีผลกำ�ไรในแต่ละปีมหาศาล เขาได้ตั้งองค์กร The J. Paul Getty Museum Trust ขึ้นมาเพื่อบริหารจัดการงบประมาณ โดยในช่วงแรกมีเงิน ประเดิมการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ประมาณสามหมื่นล้านบาท แต่ทั้งนี้รัฐบาลสหรัฐฯ ก็ลด หย่อนภาษี ให้กับบริษัท Getty Oil Company อยู่ไม่น้อย ในฐานะองค์กรที่ดำ�เนิน กิจการเพื่อเป็นประโยชน์กับสังคม นอกจากนี้พิพิธภัณฑ์ยังได้รับการสนับสนุนเงิน บริจาคจากองค์กรต่างๆ และรายได้อีกส่วนหนึ่งก็มาจากการบริการด้านอื่นๆ เช่น ร้านอาหาร ร้านหนังสือ ร้านขายของที่ระลึก ฯลฯ การบริหารงานของ Getty แบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายสะสมผลงาน (Collections) ฝ่ า ยนิ ท รรศการ (Exhibitions) ฝ่ า ยบริ ห ารงานทั ่ ว ไป (Administration) ฝ่ายส่งเสริ มกิ จ กรรมสาธารณะ (Public Affairs) และฝ่าย บริการการศึกษา (Education and Public Programs) แต่ละฝ่ายทำ�งานประสาน สอดรั บ กั น เป็ น อย่ า งดี มี ก ารส่ ง เสริ ม ศิ ล ปะแขนงต่ า งๆ ได้ ค รอบคลุ ม ทุ ก กลุ ่ ม เป้าหมาย จนเป็นที่มาของ Getty 360๐ คือ กิจกรรมของพิพิธภัณฑ์ที่ครบมุมมอง รอบตัว 360 องศา ได้แก่ นิทรรศการ ศิลปะการแสดง ภาพยนตร์ หนังสั้น เสวนา ทัศนศึกษา อบรม หรือแม้กระทั่งอาหาร ผู้เข้าชมทุกเพศทุกวัยที่มาคนเดียว มาเป็น
132
กลุ่มหรือมาเป็นครอบครัวก็สามารถเลือกเข้ามาร่วมกิจกรรมตาม ความสนใจของตนเองได้ ขณะที ่ เ ราไปเยี ่ ย มชมนอกจากจะมี นิทรรศการพิเศษของเทอร์เนอร์แล้ว ก็ยังมีโปรแกรมกิจกรรม อื่นๆ ที่น่าสนใจอีกมากมาย เช่น Collection Highlights Tour, Degas and the Art of Pastel Tour, Museum Game Zone, Artist Workshops in Florence, Art Odyssey for Families, Figure Drawing, Garden Tour เป็นต้น เราสามารถสำ�รองที่ นั ่ ง การเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ จ ากเว็ บ ไซด์ ซ ึ ่ ง สะดวกและเข้ า ถึ ง ได้ ง่ายมากๆ สิง่ ทีน่ า่ สนใจและถือเป็นไฮไลท์อกี อย่างหนึง่ ของพิพธิ ภัณฑ์ คือ สวน หรือ The Central Garden ที่ออกแบบโดย โรเบิร์ต เออร์วิน เขาไม่ ใช่นักจัดสวน หากแต่เป็นศิลปิน งานจัดสวนแห่งนี้ถือเป็นการสร้างงานศิลปะขนาดใหญ่ที่มีความ ท้าทาย แนวคิดในการจัดสวนของเออร์วิน คือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตและ ศิลปะ (Art and Life) เข้าด้วยกัน ด้วยพื้นที่ขนาดใหญ่กว่า 12,000 ตารางเมตร เขาเลือกปลูกพันธุ์พืชกว่า 500 ชนิด จากหลายทวีปทั้งเอเชีย แอฟิริกาใต้ เม็กซิโก ออสเตรเลียและยุโรป แบ่งพื้นที่ออกเป็นหลายโซนเพื่อให้ประชาชนสามารถพักผ่อน หย่อนใจได้ ในหลากหลายบรรยากาศ เพราะเชือ่ ว่าการชมสวนหรือนั่งพักอยู่ ในสวน จะช่วยสร้างจินตนาการได้อย่างอิสระ เออร์วินเริ่มทยอยปลูกต้นไม้ต่างๆ ตั้งแต่ปี 1992 เรื่อยมาจนกระทั่งเปิดให้บริการในปี 1997 ถือเป็น 5 ปีแห่งการรอคอยให้ ต้นไม้เจริญเติบโตพอดีตามที่เขาได้กำ�หนดไว้ พืชทุกชนิดถูกบันทึกรายการเก็บไว้เพือ่ การศึกษาเป็นอย่างดี นอกจากนีย้ งั มีการปลูกต้นไม้พันธุ์ ใหม่ๆ เพิม่ ทุกปี เออร์วนิ ได้ ให้ คำ�นิยามของสวนแห่งนี้ไว้วา่ “Always changing, never twice the same” The J. Paul Getty Museum เป็นมากกว่าสถานที่จัดแสดงผลงาน ศิลปะ แต่เปรียบเสมือนบ้านอีกหลังทีเ่ ปิดรับให้ผคู้ นเข้ามาเรียนรู้ได้อย่างไม่รจู้ บ พิพิธภัณฑ์ แห่งนี้ถือเป็นการลงทุนทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่คุ้มค่า เพราะประโยชน์และคุณค่า ที่ประชาชนได้รับไม่ว่าจะทั้งทางตรงและทางอ้อมมันย้อนกลับมาทำ�ให้เกิดเป็นสังคม คุณภาพได้ ในที่สุด
Getty 360 ํ
Text : Alongkorn Jarudhiranat
The J. Paul Getty Museum in Los Angelesis considered one of the world’s leading top art museum in its management and the collection of artworks which is seen from the annual visitor numbers of almost 2 million. We often hear news of the J. Paul Getty Museum making purchases from auctions worth several billion baht, and in the latest development, the Getty museum has recently auctioned an outstanding piece called “Modern Rome - Campo Vaccino” by Joseph Mallord William Turner, generally known to us as “Turner”, the famed19th century British artist, at the price of almost 1.5 billion baht. This is Turner’s highest priced painting in all of his works. The J. Paul Getty Museum which has its beginnings from J. Paul Getty, a wealthy American oil tycoon. He was fascinated by art and had started collecting since the year 1930, from 17-18th century contemporary art including French furniture and decors to ancient Greek, Roman and Etruscan art. His collection contained numerous rare pieces. As his collection grew and storage became tight, Getty decided to build a museum in order to have his art collection on display for the public to also enjoy. The Museum is located on the Santa Monica mountains on a space of 750-acre or almost 1,900 rai. However, the building uses just 100 acres while the rest of the land has been left as an open green space. The museum was built in 1983 and designed by architect Richard Meier. The building is painted white and its style focuses on modernity, simplicity and openness. As for the chosen construction material, travertine stone had been imported from Italy and these cleft-cut fossilised stones create texture. As well as its magnificence, the building is sturdy and is fire proof as well as earthquake proof. The construction was completed and officially opened to visitors in 1997.
Many people must wonder how the J. Paul Getty Museum manages its budget as it is not government funded and it is open free of charge to the public. The majority of the museum’s fund is from the annual sales profits of the J. Paul Getty oil company and there is a J. Paul Getty Museum Trust that had been established for budget management. The initial fund to construct the museum was approximately 30 billion baht which the US government permitted a substantial reduction in tax returns for the Getty Oil Company for being an organisation that is committed to social welfare. Furthermore, the museum also receives funding from various organisations as well as from services the museum offers such as restaurants, bookshops, and souvenir shops among others. The management of the museums is divided into 5 departments which are collections, exhibitions, administration, public affairs, and education and public programmes. Each department work in co-operation with one another exceptionally well. There is also the promotion of various forms of art to cover every target group and that had led to the setting up of the Getty 360๐, a range of events that cover an all round 360 degrees perspective in exhibition, performance arts, movies, short films, talks, tours, courses and even food. Single and group visitors of all ages can choose to participate in the events according to their interests. While we were there, apart from the special Turner exhibition, there were also other programmes such as the Collection Highlights Tours, Degas and the Art of Pastel Tour, Museum Game Zone, Artist Workshops in Florence, Art Odyssey for Families, Figure Drawing and Garden Tour. Reservation for the activities were done through the convenience of a website. Another point of interest which is considered a highlight of the museum is the Central Garden designed by Robert Irwin. Although Irwin was an artist and not a landscaper, he designed this garden as a large scale artwork. The concept of this garden was to fuse the relationship between art and life on a space of 12,000 metres with over 500 kinds of plants from the continents of Asia, South Africa, Mexico, Australia and Europe. The landscape was divided into many zones to give visitors different atmospheres for relaxation as it is believed that creativity are brought on freely when relaxing in gardens. Irwin gradually planted various trees since 1992 until the garden’s opening in 1997. Those 5 years had been planned so that his plants would reach their ideal growth. The plants’ data have also been noted and compiled for their study. In addition, new plant species are included annually according to Irwin’s motto “always changing, never twice the same” for this garden. The J. Paul Getty Museum is more than a place that exhibits works of art, it is a house that opens its doors for people to endlessly seek knowledge. This museum is a priceless investment of culture that the public can reap its benefits whether directly or indirectly, and reflected in the quality of its society at the end.
133
จากบอตติเชลลีถึงบราก ผลงานชิ้นเอกของหอศิลป์แห่งชาติสก็อตแลนด์ Text : อุษา แย้มบุบผา นับเป็นการก้าวเข้าสู่ปีที่ 6 ของโครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ร่วมสมัย ในปี 2558 นี้ สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยได้นำ�เยาวชนผู้ผ่านการคัดเลือก จำ�นวน 10 คน เดินทางไปศึกษาดูงาน ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2558 11 เมษายน 2558 ตลอดระยะเวลา 14 วัน คณะเดินทางได้ไปทัศนศึกษา ณ สถานทีส่ �ำ คัญรวมทั้ง พิพิธภัณฑ์ศิลปะในนครลอสแอนเจลิสและซานฟรานซิสโกหลายแห่ง หนึ่งในจุดหมายการเดินทาง ที่สำ�คัญอีกแห่งหนึ่งคือพิพิธภัณฑ์ดียัง (De Young Museum) พิพิธภัณฑ์ De Young Museum และพิพิธภัณฑ์ Legion of Honor เป็น พิพิธภัณฑ์ที่บริหารจัดการโดย Fine Arts Museums of San Francisco ซึ่งบัตร เข้าชมสามารถใช้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ทั้ง 2 แห่งได้ภายในวันเดียวกันด้วย พิพิธภัณฑ์ Legion of Honor เน้นการจัดแสดงศิลปะยุโรปโบราณไปจนถึงผลงานศิลปะของศิลปินสำ�คัญ เช่น ชุด ประติ ม ากรรมของ Auguste Rodin รวมถึ ง จิ ต รกรรมยุ ค Impressionists และ Post - Impressionists จากศิลปินยุโรปที ่ มี ชื ่ อ เสี ย ง ซึ ่ ง แตกต่ า งจากพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ด ี ย ั ง ที่จ ั ด แสดงผลงานศิ ล ปิ น ชั ้ น นำ � ของอเมริ ก า นั บ ตั ้ ง แต่ ค ริ ส ตศตวรรษที ่ 17 ถึ ง ปั จจุ บ ั น ร่ ว มกั บ ผลงานของศิ ล ปิ น นานาชาติ ท ี ่ ม ี ช ื ่ อ เสี ย งเป็ น จำ � นวนมาก อี ก ทั ้ ง ยั ง มี น ิ ท รรศการ สิ่งทอเครื่องแต่งกาย และศิลปวัตถุจำ�นวนมากจากแอฟริกาและประเทศใกล้เคียง การทัศนศึกษา พิพิธภัณฑ์ทั้ง 2 แห่งร่วมกันจึงเป็นการเติมเต็มโลกทรรศน์ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ที่สำ�คัญของเยาวชนทุกคนที่ร่วมเดินทางในครั้งนี้ พิพิธภัณฑ์ De Young Museum ตั้งชื่อตามนักหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อเสียงของ อเมริกา M. H. de Young ผู้ก่อตั้ง Fine Arts Museums of San Francisco เปิด ให้บริการมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 ภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวหลายครั้ง ได้ส่งผลกระทบกับพื้นที่นี้ มาโดยตลอด ในปี ค.ศ. 2005 พิพิธภัณฑ์ดียัง ได้เปิดให้บริการอีกครั้งหลังการปิดปรับปรุง ครั้งใหญ่ ด้วยฝีมือของสถาปนิกชื่อดังจากบริษัท Herzog & de Meuron (สวิสเซอร์แลนด์) และ Fong & Chan (ซานฟรานซิสโก) โดยการปรับปรุงในครั้งนี้เน้นความกลมกลืนของ ธรรมชาติกับสถาปัตยกรรมที่มีโครงสร้างป้องกันการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว นอกจากการ ปรับโครงสร้างอาคารใหม่แล้ว ทางเข้าพิพิธภัณฑ์ยังมีการจัดแสดงผลงานของศิลปินอังกฤษ Andy Goldsworthy ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมากจากลักษณะทางธรณีวิทยาที่มีเอกลักษณ์ของ แคลิฟอร์เนียในชื่อ The Drawn Stone อันเป็นการจัดวางประติมากรรมจากหิน Appleton Greenmoore 7 ชิ้น ที่นำ�เข้ามาจาก Yorkshire สหราชอาณาจักร บ้านเกิดของศิลปิน เมื่อมอง ในมุ ม สู ง จะเห็ น การจั ด วางของก้ อ นหิ น ในทิ ศ ทางและรู ป แบบแตกต่ า งกั น โดยปรากฏ รอยแตกของหินทั้งบนหินและทางเดิน เข้าพิพิธภัณฑ์ นอกเหนื อ จากนิ ท รรศการ ถาวรที่น่าสนใจแล้ว พิพิธภัณฑ์ยังจัด แสดงนิทรรศการพิเศษ Botticelli to Braque: Masterpieces from the National Galleries of Scotland อั น เป็ น นิ ท รรศการรวบรวมผลงาน จากศิลปะสะสมของ The Scottish National Gallery, The Scottish National Portrait Gallery และ The Scottish National Gallery of Modern Art จำ�นวนกว่า 50 ชิ ้ น ที่มีชื่อเสียงย้อนไปถึงสมัย Renaissance ถึ ง ต้ น คริสตวรรษที่ 20 รวมระยะเวลากว่า 400 ปีแห่งการ สร้างสรรค์จากศิลปินที่ยิ่งใหญ่แห่งยุค
134
นับเป็นโอกาสอันดียิ่งของคณะเดินทางทุกคนได้เยี่ยมชมนิทรรศการที่มีคุณค่าในครั้งนี้ นอกเหนือ จากผลงานภาพ The Virgin Adoring the Sleeping Christ Child (ค.ศ. 1485) ของศิลปินชั้นครูชาวอิตาเลียน Sandro Botticelli ที่ถือเป็นแรงดึงดูดสำ�คัญของนิทรรศการ นี้แล้ว ยังมีผลงานของศิลปินอีกหลายคนที่น่าศึกษาถึงแนวคิดในการทำ�งาน และรูปแบบเทคนิค วิธีการที่เลือกใช้ ในการทำ�งานศิลปะ โดยในบทความนี้ได้เลือกมา Reverend Robert Walker Skating on Duddingston Loch (ค.ศ. 1795) หรือที่รู้จักกันชื่อ The Skating Minister ผลงานชิ้นนี้ถือหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุด ชิ้นหนึ่งของ Sir Henry Raeburn ศิลปินชาวสกอตแลนด์ที่มีพรสวรรค์ ในการวาดภาพ เหมือนในช่วงคริสตศตวรรษที่ 18 ผลงานของศิลปินมีการเลือกจัดท่าทาง การให้แสงรวมทั้ง กระบวนการทำ�งานที่ ใช้วิธีวาดร่างคร่าวๆ ร่วมกับการสังเกตบุคลิคและธรรมชาติของแบบแทน การวาดจากคนจริง ส่งผลให้ผลงานมีเอกลักษณ์แตกต่างไปจากศิลปินในยุคสมัยเดียวกัน สำ�หรับผลงานชิ้นนี้เป็นการวาดภาพเหมือนของบาทหลวง Robert Walker กำ�ลังเล่นสเก็ต เหนือทะเลสาบ Duddingston ซึ่งในช่วงเวลานั้นการเล่นสเก็ตถือเป็นกิจกรรมเข้าสังคมอันเป็น ที่นิยมในวงสังคมชั้นสูงของสกอตแลนด์ Sir Alexander Morison (ค.ศ. 1852) ผลงานของศิลปินชาวอังกฤษ Richard Dadd ที่มีพรสวรรค์โดดเด่น โดยจบการศึกษาจาก The Royal Academy school ในลอนดอน อย่างไรก็ตามภายหลังเดินทางกลับจากการเดินทางไปต่างประเทศใน ค.ศ. 1942 ศิลปินได้กระทำ�ปิตฆุ าตด้วยเชือ่ ว่ามีปศี าจสิงอยู่ในร่างกายของบิดาตนเอง ทัง้ นีถ้ อื เป็นนักโทษคนแรกๆ ที่ได้รบั การยกเว้นโทษประหารชีวติ เนือ่ งจากกระทำ�การไปด้วยความผิดปกติทางจิต อย่างไรก็ตาม ศิลปินต้องรับการบำ�บัดและใช้ชีวิตอยู่ ในโรงพยาบาลจิตเวชจวบจนสิ้นอายุขัย ผลงานชิ้นนี้เป็นการวาดภาพเหมือนของ Sir Alexander Morison จิตแพทย์ ผู้ดูแลและโน้มน้าวให้ศิลปินกลับมาวาดภาพอีกครั้ง ถือเป็นบุคคลสำ�คัญในชีวิตการทำ�งานของ ศิลปินเป็นอย่างมาก ภาพเหมือนดังกล่าวได้วาดแบบจากตัวจริง และได้รับภาพร่างบรรยากาศ ที่พักอาศัยในสกอตแลนด์ จากลูกสาวของ Sir Alexander Morison เพื่อใช้เป็นภาพพื้นหลัง จุดเด่นที่สำ�คัญของภาพคือหญิงสาวสองคนที่ยืนอยู่เบื้องหลัง มีการวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ ว่าเป็นจินตนาการของศิลปินต่อภาพถ่ายแม่ค้าขายปลาใน Edinburgh ของ David Octavius Hill และ Robert Adamson Lady Agnew of Lochnaw (ค.ศ. 1982) ผลงานของศิลปินชาวอเมริกัน John Singer Sargent ที่มีชื่อเสียงในคริสตวรรษที่ 19 ผู้ที่มีความพยายามในการสร้างสรรค์ ผลงานอย่างสม่ำ�เสมอ แม้ว่าในช่วงต้นของชีวิตการทำ�งานศิลปะจะไม่ได้รับการยอมรับจากนัก วิจารณ์มากนัก แต่ศิลปินก็ไม่ย่อท้อและสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่องจนประสบความสำ�เร็จ ในที่สุด ตลอดชีวิตการทำ�งานศิลปินได้วาดภาพไปมากกว่า 900 ภาพ ผลงานชิ้นนี้เป็นภาพเหมือนของ Gertrude Vernon หรือ Lady Agnew of Lochnaw ภรรยาของทนายความผู้สืบเชื้อสายขุนนางจาก Lochnaw ตอนใต้ของสกอตแลนด์ หลังจากวาดเสร็จแล้ว ผลงานชิน้ นี้ได้น�ำ จัดแสดงต่อสาธารณะชนเป็นครัง้ แรก ณ The Royal Academy ในปี ค.ศ. 1898 และได้รับเสียงชื่นชมจากนักวิจารณ์และผู้เข้าชมอย่างมากมาย ถึงฝีมือในวาดภาพเหมือนที่งดงาม ถือเป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ศิลปินเป็นอย่างมาก นับ เป็นการเปิดโอกาสให้ได้รับการว่าจ้างให้วาดภาพเหมือนของบุคคลในแวดวงชั้นสูงอย่างต่อเนื่อง นิทรรศการนี้นับเป็นการเปิดประสบการณ์ทางศิลปะที่สำ�คัญให้แก่เยาวชนที่ ได้รับ การคัดเลือก รวมทั้งบุคลากรของสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยเป็นอย่างมาก หวังเป็น อย่างยิ่งว่าผู้ที่ ได้รับสูจิบัตรและอ่านบทความนี้จะได้ร่วมเรียนรู้และชื่นชมกับผลงานศิลปะที่จัด แสดงไปด้วยกัน
Botticelli to Braque Masterpieces from the National Gallery of Scotland Text : Usa Yamboobpha It is now the 6th year of the Young Thai Artists Award 2015. The Office of Contemporary Art has taken 10 selected youths to travel to the United States of America for art studies from 28 March to 11 April 2015. Throughout the 14 days, the group visited a number of important places including art museums in Los Angeles and San Francisco, and one of our important destinations was the de Young Museum. The de Young Museum and the Legion of Honor Museum are under the management of the Fine Arts Museums of San Francisco and you are able to visit both museums within one day using the same ticket. The Legion of Honor Museum mainly exhibits ancient European art and artworks by important artists like the collection of sculptures by Auguste Rodin as well as paintings from the Impressionists and Post-Impressionists eras by renowned European artists. Meanwhile, the de Young Museum exhibits outstanding American artworks from the 17th century up to the currentera together with the works of several international artists, exhibits of garments, textiles and artefacts from Africa and nearby countries. The study trip to both museums fulfilled knowledge of Western art history for the participants. The de Young Museum was named after the famed American newspaperman M. H. de Young established the Fine Arts Museums of San Francisco. It was opened in 1895 and has been affected by numerous earthquakes since. In 2005, the de Young Museum reopened its doors following a major refurbishment by famous architects from the Herzog & de Meuron company of Switzerland and the Fong & Chan company of San Francisco. This renovation focused on blending with nature and structural resistance to earthquakes. Aside from the adjustment of the building structure, the museum entrance also exhibits the work of British artist, Andy Goldsworthy, that was inspired by California’s tectonic topography, under the name Drawn Stone, an arrangement of 7 Appleton Greenmoore stone sculptures imported from Yorkshire, the artist’s birth town, in the United Kingdom. From a height, the stones can be seen arranged in various directions to show the cracks at the top of the stones running to the museum entrance. In addition to this permanent exhibit, the museum has organised the “Botticelli to Braque: Masterpieces from the National Galleries of Scotland” exhibition containing collections of arts from the Scottish National Gallery, the Scottish National Portrait Gallery and the Scottish National Gallery of Modern Art with over 50 well known pieces dating back to the Renaissance period until the beginning of the 20th century. Over 400 years of creations from artists of those eras. What an added bonus that was for our group to have seen this priceless exhibition. Aside from the 1485 Virgin Adoring the Sleeping Christ Child by Italian master painter Sandro Botticelli, which was the main attraction of this exhibit, there were many other works by artists whose working concepts, choice of techniques are worth exploring.
The Reverend Robert Walker Skating on Duddingston Loch (1795) otherwise known as The Skating Minister is a piece that is considered the most well known by Sir Henry Raeburn, an 18th century Scottish artist gifted in the drawing of portraits. His chosen postures, lighting and the vague outlining that has been incorporated with observance of the subject’s personality and nature differentiate this artist from the others of his time. As for this painting, it is a portrait of Reverend Robert Walker skating on Duddingston lake, which was considered a social activity that was highly popular among the elite of Scotland. Sir Alexander Morison (1852) is a painting by a talented British artist Richard Dadd who graduated from the Royal Academy Schools in London. Following his return from travelling overseas in 1842, the artist committed patricide because he believed demons had possessed his father. He was considered to be among the first convicts that was waived the death sentence due to his psychological condition. He, however, had to receive therapy within the confines of an asylum for the rest of his days. This portrait is of Sir Alexander Morison, the attending physician who persuaded the artist to take up painting once again, and he was considered to be an important person in the working life of the artist. This portrait was painted using the subject himself as model and the background was based on a sketch by Sir Alexander Morison’s daughter of their residence in Scotland. The highlight of the portrait is of the two ladies standing in the background. It has been analysed that the ladies were possibly based on the artist’s imaginations from a photograph of the fish mongers in Edinburgh by David Octavius Hill and Robert Adamson. Lady Agnew of Lochnaw (1892) is a famous 19th century portrait by American artist John Singer Sargent who attempted to produce numerous paintings even though, in the early days of his career, his works were not accepted by critics. He, however, did not give up and continued creating artworks until he was finally successful. Throughout his working life, he had painted over 900 pieces. This is a portrait of Gertrude Vernon or Lady Agnew of Lochnaw, the wife of a lawyer from an aristocratic family of Lochnaw in southern Scotland. When the portrait was complete, this painting was displayed to the public for the very first time at the Royal Academy in 1898 and received several praises from critics and audiences for the artist’s mastery. It was a painting that created much fame for the artist and led to continuous employment opportunities to paint portraits of those in the elite circle. This exhibition is considered to be of significant importance in gaining the knowledge of art for the youths that were chosen to attend this event including the staff of the Office of Contemporary Art. It is my greatest hope that those that receive this programme and reading this composition will also embark on a journey to admire these exhibits at the same time.
135
พิพิธภัณฑ์ เจ. พอล เก็ตต้ี Text : กฏสรวง เอียงอุบล พิพธิ ภัณฑ์ J. Paul Getty มาจากชือ่ ของ John Paul Getty (เกิดในเมือง มินนีอาโพลิส เมื่อปี ค.ศ. 1892) มีอาชีพเป็นทนายความฐานะร่ำ�รวย และหันมาค้า น้ำ�มัน เขาเริ่มต้นจากการทำ�แกลเลอรีโบราณวัตถุในบ้านเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1965 ต่อมาได้รับการตกแต่งใหม่ ในปี ค.ศ. 2006 โดยสถาปนิกผู้ออกแบบพิพิธภัณฑ์ ชือ่ ริชาร์ด ไมเออร์ วัสดุท่ีใช้ท�ำ พืน้ หรือกำ�แพงด้านหน้าเป็นฟอสซิลทีน่ �ำ มาจากประเทศ ออสเตรเลีย บ้างก็เป็นหินลาวาและหินจากทะเล มีความแข็งแรงและให้ความสวยงาม พร้อมป้องกันอัคคีภัย เมื่อเข้าไปภายในพิพิธภัณฑ์ก็มีเจ้าหน้าที่นำ�ชมวิดีทัศน์ที่นำ�เสนอ ประวัติของพิพิธภัณฑ์โดยย่อ อีก ทั ้ ง แผนผั ง ทั้งหมดภายใน 5 นาที ก่อนเข้าชมผลงานภายใน พิพิธภัณฑ์ ผลงานศิลปะที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ J. Paul Getty มีทง้ั รูปแบบเหมือนจริง คลาสสิก โรแมนติก ไปจนกระทัง่ งานในยุคอิมเพรสชันนิสม์ และโพสต์อิมเพรสชันนิสม์ ข้าพเจ้าได้เข้าไปชม พิพิธภัณฑ์ ในช่วงที่มีการจัดแสดงนิทรรศการ เดี่ยวของศิลปินชาวอังกฤษ ชื่อ เทอเนอร์ ซึ่ง ทำ�งานจิตรกรรมรูปแบบโรแมนติกอยูพ่ อดี ผลงาน ส่วนใหญ่มีขนาดไม่เกินกระดาษ A2 ซึ่งในห้อง แสดงนิทรรศการของเทอเนอร์ ใช้ไฟที่ไม่ทำ�ลาย กระดาษ ส่วนงานเทคนิคสีน�ำ้ มันทำ�จากวัสดุทเ่ี ป็น ไม้และผ้าใบ ซึ่งการจัดแสงจะสว่างขึ้นตามลำ�ดับ ผลงานของศิ ล ปิ น ซึ่ ง เป็ น ที่ ชื่ น ชอบ ของใครหลายคนอย่างแวนโกะห์ โกแกง เซซาน หรือ เอ็ดเวิรด์ มุง ก็ท�ำ ให้ขา้ พเจ้าอยากกลับไปเป็นนักเรียน อีกครัง้ เพือ่ จะได้เรียนรู้ให้มากขึน้ และเมือ่ ผ่านเข้าไป ในห้องจัดแสดงผลงานประติมากรรมที่มีผนัง สีแดงและการจัดแสงที่สวยงามก็ย่งิ ทำ�ให้ผลงาน ดูนา่ สนใจมากขึน้ ข้าพเจ้าได้เห็นการปลูกฝังสังคม ที่ดีเกี่ยวกับงานศิลปะกับคนทุกเพศ ทุกวัย โดย เฉพาะการพาเด็กๆ เข้าชมผลงานในพิพิธภัณฑ์ และเด็กๆ เหล่านั้นก็มีความสนใจในผลงานของ ศิลปินอย่างยิ่ง อีกทั้งภายในพิพิธภัณฑ์ยังมีร้านรวงตามชั้นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นร้าน หนังสือ ร้านขายของทีร่ ะลึกทีเ่ กีย่ วกับศิลปะและประวัตขิ องพิพธิ ภัณฑ์ ก็นา่ สนใจไม่แพ้กัน ผลงานในพิพิธภัณฑ์ J. Paul Getty ที่ข้าพเจ้าสนใจมากที่สุด คือ Man with a Hoe ของฌอง ฟรองซัว มีเย (ค.ศ. 1814 – 1875, Jean-francois Millet) ชาวฝรั่งเศส เทคนิคสีน้ำ�มันบนผ้าใบ ขนาด 80 x 99 เซ็นติเมตร เป็นภาพ ชายคนหนึง่ ยืนจับจอบกับพืน้ ทีโ่ ล่งกว้าง ให้ความรูส้ กึ ถึงความเหนือ่ ยล้าของชนชัน้ แรงงาน ด้านวิธกี ารนำ�เสนอเช่นการจัดวางองค์ประกอบก็ได้ ให้ภาษาของรูปทรงและบรรยากาศ นำ�เสนอเนือ้ หาทีส่ มบูรณ์ ส่วนวิธกี ารเขียนแบบทิง้ ทีแปรงไม่มากนัก ทำ�ให้ขา้ พเจ้าพอใจ กับงานชิ้นนี้มาก ซึ่งเกณฑ์ ในการศึกษางานศิลปะของข้าพเจ้าก็คือ “ถ้าอยากรู้สึกกับ งานให้เปิดใจกว้าง ถ้าอยากเข้าใจ...จงศึกษา”
136
J. Paul Getty Museum Text : Kodsoung Eangubon
The J. Paul Getty Museum was named after John Paul Getty (who was born in Minneapolis in 1892) a wealthy lawyer turned oil tycoon. He started from establishing a gallery of antiques in his house in 1965 and it was later refurbished in 2006 by an architect by the name of Richard Meier. The materials that were used for the floor and front wall were imported fossils from Australia, some were lava rocks and some were travertine stones. It is extremely durable as well as attractive, and fire proof. Inside the museum, staff take visitors through a 5-minute VDO presentation of a brief history of the museum and of the building’s floor plan before visitors are allowed furthver in. On display inside the J. Paul Getty Museum are works that are realistic, classic, romantic, and even pieces from the impressionism and post-impressionism eras. I visited the museum at the time when they had a solo exhibition of a British artist by the name of Turner whose paintings were of romantic art. Most of his works were no bigger than the size of an A2 paper. Rooms which displayed his work used dimmed lighting which were not harmful to paper. As for the oil paintings which were on wood and canvas, lighting were appropriately increased. The works of artists that are adored by many like Van Gogh, Gauguin, Cezanne or Edward Mung made me want to become a student
once again so I could learn more. When we entered the exhibition hall for sculptures, the walls were red and lighting beautifully done. This made the artworks even more intriguing. I saw how society has been instilled with appreciation of art for people of all age and gender, especially children. These children show keen interest in artworks when they visit museums. Furthermore, there are various gift shops throughout the museum selling books, art souvenirs and even items related to the history of the museum, all of which are equally interesting. The painting on display inside the J. Paul Getty Museum which I was particularly drawn to was the Man with a Hoe by French artist JeanFrancois Millet (1814 - 1875). It is an oil painting on canvas 80 x 99 centimetres in size. It is a painting of a man standing and holding a hoe on a vast open space which conveyed the weariness of the working class from the composition of various elements that communicated their message through shapes and surroundings. The drawing technique also employed light brushstrokes and I am particularly in-awe of this painting. My personal definition in the learning of artwork is that “if I want to be touched by art, I must be open-minded, if I want to understand it … I must study it.”
137
Who Are You Text : กูซอฟียะฮ์ นิบือซา
Who Are You ทุกครั้งที่ฉันทามว่าคุณคือใครมันทำ�ให้ฉันอยากรู้จัก ค้นหาสิ่งใหม่ๆ หลายต่อหลายครั้งที่ฉันถามตัวเองว่ามันเป็นเรื่องจริงหรือที่ฉันจะได้ ไปอเมริกา ไปในที่ที่มีผลงานศิลปะของศิลปินดังๆ มากมายที่เป็นไอดอลของคนทำ�งาน ศิลปะ ปกติแม้แต่จะคิดฉันยังไม่กล้าเลย นีเ่ ป็นครัง้ แรกของฉันทีจ่ ะได้ไปต่างประเทศ ครัง้ หนึง่ ในชีวติ ซึง่ มันเป็นอะไร ที่ไกลมากๆ สำ�หรับคนที่ไม่ค่อยได้ห่างจากบ้านอย่างฉัน กับการใช้ชีวิตตามลำ�พังกับ คนที่ฉันไม่รู้จัก ณ จุดจุดนี้มันเป็นอะไรที่สับสนเหลือเกินทุกความรู้สึกวิ่งเข้าหาในเวลา เดียวกัน ฉันทั้งดี ใจตื่นเต้นและทั้งกลัวกับสิ่งที่ฉันไม่เคยพบเจอ ที่ที่ฉันไม่เคยไปกับ คำ�ถามที่มันก้องอยู่ ในใจ “แล้วเราจะอยู่กับใคร” ฉันพยายามบอกตัวเองว่านี่เป็นแค่ ก้าวแรกของชีวติ ทีท่ ฉ่ี นั ไม่เคยไปกับทีท่ ่ไี ม่ใช่ใครก็ไปได้ นีเ่ ป็นโอกาสทีด่ เี อามากๆ สำ�หรับ คนธรรมดาๆ อย่างฉัน เมื่อใกล้ถึงวันที่จะออกเดินทางทำ�ให้ฉันได้รู้จักเพื่อนๆทีจ่ ะไป อเมริกาด้วยกัน ทุกคนน่ารักมาก เฮฮาเป็นกันเอง พร้อมพีเ่ ลีย้ งทีค่ อยดูแลเทคแคร์เป็น อย่างดี ทำ�ให้หายกังวลกับการเดินทางครัง้ นี้ และตืน่ เต้นกับสิง่ ใหม่ๆ ทีจ่ ะเข้ามาในชี ว ิ ต เมื ่ อ ถึ ง สนามบิ น Los Angeles ทำ � ให้ ฉ ั น รู ้ ว ่ า อเมริ ก าเป็ น ประเทศกว้ า งใหญ่ ไพศาล เข้ายากเอามากๆ เลย พวกเราเดินออกจากสนามบินเห็นอาจารย์กมล ทัศนาญชลี คอยต้อนรับพวกเราไปยังบ้านของอาจารย์ที่มีป้านวลภรรยาของอาจารย์กมลคอย ต้อนรับพวกเราอยู่ที่บ้าน พร้อมรอยยิ้มหวานๆ ที่ดูอ่อนโยนแสนอบอุ่น เล่นเอาทำ�ให้ พวกเราหายเหนื่อยจากการเดินทางเลย เช้าวันต่อมาลมหนาวเริ่มพัดพร้อมอากาศดีๆ และบรรยากาศที ่ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจในทุ ก ๆ ก้ า วของชี ว ิ ต ให้ เ ดิ น ต่ อ ไปทุ ก ๆ วั น อาจารย์กมลพาไปดูผลงานศิลปะในมิวเซียมต่างๆ ที่มีผลงานศิลปะของศิลปินระดับ โลกมากมายที่เคยเห็นตามหนังสือ ซึ่งความรู้สึกที่เห็นในหนังสือกับของจริงมันต่าง
138
กันมากๆ หนึ่งในนั้นคือ Frederick R. Weisman Art Foundation เป็นพิพธิ ภัณฑ์ บ้านสะสมผลงานศิลปะทีม่ คี วามเป็นสมัยใหม่ โดยออกแบบบ้านให้เข้ากับผลงานศิลปะใน แต่ละชิ้น พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยู่ ในย่านเบเวอร์รี่ฮิวส์เป็นย่านคนรวยในฮอลลีวูด เป็ น พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ์ ท ี ่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยผลงานของศิ ล ปิ น ชั ้ น นำ � ของโลก แอนดี วอร์ ฮ อล ปอล เซซาน รอสโก้ ปาโบล ปิกัสโซ และอีกมากมายที่ทำ�ให้ฉันตื่นเต้น ในการชมผลงาน ศิลปะ จากการได้มาเห็นของจริงต่อหน้า ณ ช่วงเวลานั้นถ้าเป็นไปได้ฉันอยากหยุด เวลาไว้ จะได้ชมผลงานนานๆ แต่ละชิ้นเป็นอะไรที่น่าทึ่งเอามากๆ ทุกๆ บริเวณบ้าน หรือในบ้านมีผลงานศิลปะที่ถูกจัดวางได้อย่างสมบูรณ์แบบ ทำ�ให้เพลิดเพลินกับการ ชมผลงานเสมือนปลดปล่อยใจให้ภาพงานศิลปะเป็นผู้สร้างจินตนาการให้เกิดความคิด ใหม่ๆ โดยมีอาจารย์กมลคอยให้ความรู้อธิบายผลงานแต่ละชิ้น นับว่าเป็นอีกหนึ่งความ ประทับใจที่เข้ามาในชีวิต เป็นประสบการณ์ที่ดีไม่มีวันลืม สุ ด ท้ า ยนี ้ ข อขอบคุ ณ ทุ ก ๆ ท่ า นที ่ ท ำ � ให้ ม ี โ อกาสได้ ม ายื น ตรงจุ ด ๆ นี ้ ขอขอบพระคุณอาจารย์กมล ทัศนาญชลี ที่คอยชี้แนะให้ความรู้ ในทุกย่างก้าวของ การเดินทาง ขอบคุณป้านวลที่คอยทำ�อาหารอร่อยๆ ให้พวกเราทาน ขอบคุณผู้ ใหญ่ ใจดีทุกท่านที่คอยสนับสนุนดูแลเป็นอย่างดี สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย และกระทรวงวัฒนธรรมทุกท่าน พี่ๆ ที่สภาศิลปกรรมไทย สหรัฐอเมริกา ที่คอยช่วย เหลือต้อนรับพวกเราเป็นอย่างดี สิ่งสำ�คัญยิ่งทำ�ให้ฉันได้พบมิตรภาพใหม่จากเพื่อน ร่วมเดินทางช่วยเหลือแลกเปลี่ยนทัศนคติซึ่งกันและกันอย่างสนุกสนาน และขอบคุณ คณาจารย์ทศั นศิลป์ มอ.ปัตตานีทกุ ท่านทีค่ อยบ่มเพาะหม่นั สอนให้รจู้ กั ศิลปะอย่างแท้จริง ยืนหยัดในสิ่งที่เลือก และคอยให้คำ�ปรึกษา สนับสนุนในทุกย่างก้าวแห่งการเดินทาง โดยจะเก็บเกี่ยวประสบการณ์ครั้งนี้ ให้รุ่นน้องต่อๆ ไป Thank You
Who Are You Text : Kusofiyah Nibuesa Who Are You? Every time I ask “who you are” it makes me want to know and discover new things. Many times I have asked myself whether it is true that I was going to America, a place where there are many artworks by renowned artists who are idols of those that work with art. Usually I would not even dare to think about it. This was the first time that I have ever been to a foreign country. Once in a lifetime that was so far away for a person who has never been away from home like me and having to live with people that I do not know. That was a very confusing point in time. All emotions rushed at me all at once. I was happy, excited, scared of the things I have never encountered and places where I have never been. The question that kept echoing in my heart was “who will I stay with?” I tried to tell myself that this was just a first step to where I have never been that not just anyone can go. This was an exceptional opportunity for an ordinary person like me. As the travelling date approached, I had gotten to know the people that I’d be travelling to America with. Everyone was so nice, they were fun and friendly. There would also be chaperones going to take care of all of us and that made quit my worries about the trip and became excited with
the new things that were going to come into my life. On arriving at Los Angeles airport, I realised that this vast country was really difficult to get in. When we came out of the airport terminal we saw Ajarn Kamol Tassananchalee who welcomed us and took us to his home where his wife, Auntie Nual was waiting with a warm and welcoming smile. We all had forgotten about our weary travel at the sight of this. The next morning, the cold air blew and brought with it clean fresh air and inspired life to move on with each new step. Every day Ajarn Kamol would take us to various museums that had many artworks by world class artists that I have seen in books. Seeing them in books and the real thing were so different. One of the museums was the Frederick R. Weisman Art Foundation which was a home museum that collected contemporary artworks. The home had been designed to blend with each piece of artwork. This museum is situated in Beverly Hills, an area where the rich people of Hollywood live. It is filled with the works of world renowned artists like Andy Warhol, Paul Cezanne, Rosco, Pablo Picasso and many other that made me very excited to view because I got to see them right before me. At the time, if I could freeze
time I would have done so in order to see those works longer. Each piece was simply impressive. Every area of the house inside and outside had been perfectly displayed with the artworks making it enjoyable to see, as if you can let go of your heart and the art pieces were creating new imaginings while Ajarn Kamol explained about them. This was truly a momentous moment in my life that I would never forget. Lastly, I would like to thank everyone that allowed me the opportunity to be at this point. My gratefulness for Ajarn Kamol Tassananchaee for every advice and knowledge given at every step of the journey. Thank you Auntie Nual for making us delicious foods. Thank you to all the generous elders for the support and care, the Office of Contemporary Art and Ministry of Culture staff, everyone at the Thai Art Council USA for their welcome and help. Most importantly, for the new friendships I received from my travel companions, for our fun exchanges in views and ideas. And my thanks to the Visual Arts teachers at Prince of Songkla University, Pattani Campus for their continuous teachings and guidance in art and for their advise and support concerning this trip. I will reap the experiences from this trip for my other juniors. Thank you.
139
Diana Wang Studio : Wong Way Text : จรัสพร ชุมศรี
ใครจะคาดคิดว่าบนยอดภูเขาสูงแห่งหนึ่งจะเป็นสตูดิโอทำ�งานของศิลปิน วัยกว่าแปดสิบปี แต่ก็เป็นไปแล้ว เพราะนี่คือสตูดิโอของไดอาน่า วอง (Diana Wang) ศิลปินหญิงผูย้ งั มีไฟลุกโชนในการสร้างสรรค์งานศิลปะอย่างแรงกล้า ไม่แพ้ ศิลปินวัยหนุ่มสาวอย่างพวกเราเลย พวกเราใช้ระยะเวลาชั่วโมงกว่าในการนั่งรถไป สู่ยอดเขา ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นยอดเขาจริงๆ เพราะเราได้เริ่มเดินทางจากตีนเขา กลางเขา และไปถึงที่ทำ�งานของไดอาน่า วอง ท่ามกลางแสงแดดที่แผดเผาอย่างไม่ปราณี ปราศรัย บวกกับอากาศทีแ่ ห้ง หากแต่มลี มหนาว ฟังดู ในฐานะคนเขียนยังงงเอง เฮ้ย! มันมีเเบบนี้จริงๆ หรือ? คำ�ตอบคือมีจริงๆ ค่ะ ที่มาลิบู รัฐแคลิฟอร์เนีย ของประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อนที่ข้าพเจ้าจะได้เดินทางมา ที่นี่ซึ่งนับเป็นการเดินทางสู่ต่างประเทศครั้งแรก ภาพที่ คิดไว้คือ อากาศที่หนาวจัด ลมเย็นๆ คล้ายฤดูหนาวบ้านเรา แต่ ในความเป็นจริงมัน ไม่ ใช่เลย อย่างไรก็ตาม ด้วยสภาพภูมิอากาศที่ร้อนแต่มีลมหนาว (ฟังยังไงก็สับสน อยูด่ )ี ก็ท�ำ ให้ขา้ พเจ้าได้เห็นตำ�แหน่งทีต่ ง้ั ใหม่ของโลก เพือ่ ทำ�ให้เห็นภาพชัดเจนขึน้ ข้าพเจ้า จะขอพูดผ่านบรรยากาศการเดินทางไปสตูดิโอของไดอาน่า วอง ซึ่งระหว่างทางที่ ลดเลีย้ วเคีย้ วคด เราจะเห็นภูเขาหัวโล้นไปเรือ่ ยๆ มีบา้ นคนมากมายทีส่ ร้างระหว่างทาง ขึ้นเขา ซึ่งอาจเป็นเรื่องปกติของคนที่นี่กระมัง ถ้าจะให้อธิบายให้เห็นชัดขึ้น คงต้อง บอกว่ามันเป็นสีเขียวมะนาว หลั งจากนั่ ง รถกั น จนมึ น งงในที่ สุ ด เราก็ เ ดิ น ทางมาถึ ง สตู ดิ โ อของเธอ จริงๆ สักที (เรารู้ทันทีว่าเป็นสตูดิโอของไดอาน่า วอง เพราะมีป้าย Wong Way ติดอยู่) ซึ่งก็เป็นเวลาเที่ยงพอดี พวกเราทุกคนบ่นว่า ‘หิว’ และดูเหมือนเจ้าของบ้าน ได้เตรียมการไว้อย่างเหมาะเจาะแล้ว เพราะเขาได้บอกว่าให้คนจัดเตรียมอาหารกลางวัน ไว้เรียบร้อยแล้ว ทำ�ให้ทุกคนที่มารวมทั้งตัวข้าพเจ้า หน้าชื่นตาบานกันเลยทีเดียว
140
ขณะรอรับประทานอาหาร ทุกคนต่างก็ตื่นเต้นกับสตูดิโอของไดอาน่า วอง พากันเดิน ชมทิวทัศน์สวยๆ จากยอดเขาสูง สำ�หรับพวกเราเยาวชนทั้งสิบคน คงเดากันได้ง่ายๆ ว่าพวกเรากำ�ลังทำ�อะไรอยู่ ใช่ค่ะ! พวกเรากำ�ลังกระโดด ถ่ายรูป ซึ่งข้าพเจ้าเริ่มไม่ เข้าใจแล้วว่าทำ�ไมต้องกระโดด ไปที่ไหนก็กระโดด แต่ข้าพเจ้าก็ยอมทำ�ตามเพื่อนๆ ไปมัน ก็สนุกดี ตรงที่ได้ถ่ายรูปเป็นร้อยๆ ช็อตนี่แหละค่ะ ไม่นานนักอาจารย์กมล ก็เดินมาบอกว่าอาหารพร้อมแล้ว เมนูในวันนั้น ก็คือ สลัดผัก และเส้นอะไรสักอย่าง ผสมกับเกี๊ยวอะไรสักอย่างเช่นกัน รวมทั้งน้ำ� คล้ายๆ กับน้ำ�ยาขนมจีนบ้านเรา ซึ่งดูเหมือนจะไม่มี ใครกล้าแตะเจ้าน้ำ�ยาที่ว่านี้ และมันก็ เหลือเยอะมากจริงๆ ทุกคนต่างก็จดจำ�เมนูอาหารในมือ้ นี้ได้เป็นอย่างดี เรียกว่าพูดกันแทบ ทุกครั้งที่กินอาหาร เป็นเชิงเล่นๆ ว่า “หรือจะเอาอาหารบ้านไดอาน่า วอง” ข้าพเจ้า คิดว่าเธอคงตัง้ ใจจะเสนอเมนูน้ีให้เรามากๆ แต่ผดิ ทีพ ่ วกเราเองทีม่ ลี น้ิ ชอบรสชาติแบบ เอเชียมากกว่า ในวันนั้นไดอาน่า วอง ในฐานะที่เป็นเพื่อนกับอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี และ อาจารย์ประหยัด พงษ์ดำ� (ซึ่งเป็นที่น่าเสียใจที่ท่านทั้งสองได้จากไปแล้ว) ก็เสียใจ กับการสูญเสียในครั้งนี้มากเช่นกันจึงนิมนต์พระมาทำ�พิธีส่งท่านทั้งสองสู่สวรรค์ ข้าพเจ้าไม่แน่ใจว่าบทสวดมนต์เป็นภาษาอะไร แต่กพ ็ อฟังออกว่าเป็นคำ�ทีค่ ล้ายๆ “พุทธ” เมื่อเสร็จพิธี พวกเราก็ออกมาเดินชมทิวทัศน์บริเวณบ้านกันต่อ และได้ช่วยกันยกเสา ประติมากรรมที่ล้มอยู่ ให้ขึ้นมาตั้งอีกครั้ง ข้าพเจ้าแอบสังเกตได้ว่า ไดอาน่า วอง จะอยูด่ ว้ ยกับพวกเราตลอดเวลา เธอยังคงแข็งแรงและข้าพเจ้าก็เห็นพลังศิลปะในตัวเธอ ที่แผ่ออกมาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ประทับใจข้าพเจ้ามาก สำ�หรับศิลปินหญิงอาวุโสท่านนี้ ทั้งนี้ ไดอาน่า วอง ได้เตรียมผลงานวิดีโอของเธอเอาไว้ ให้พวกเราดูด้วย ซึ่งจากผลงาน ชิ้นนี้ก็ทำ�ให้เราเห็นได้ชัดเจนว่า ‘เธอทำ�งานได้สุดพลังที่เธอมีจริงๆ’
Diana Wang Studio : Wong Way Text : Jarasporn Chumsri Who would have imagined that there, on top of a mountain, would be a working studio of an 80+ year old artist? But there is, and it is the working studio of Diana Wang, a female artist who is still actively creating artworks with her passion. Her works are no less in comparison to young artists like ourselves. Our journey took over an hour in the car to the top of the mountain to Dian Wang’s office where we had to endure the harsh sun coupled with the dry winter air. Even as I am writing this, I’m still amazed that there really is something like this. And the answer is, yes, there truly is. In Malibu, California in the Unites States of America. Before my trip here, which is my very time travelling internationally, I had pictured very cold conditions with chilled breeze like our winter at home. However, the reality is not at all what I had thought. In actual fact, the hot conditions here come with cold winds (sounds confusing nonetheless) and it has allowed me to see a new pinpoint location on earth. To give a clearer picture of this, I would describe the journey to Diana Wang’s studio which, in between the twists and turns of the road, we saw mountains after mountains along the way and many houses along the slopes. This was probably the norm for people there. And to explain this even more vividly, I’d have to say it was lime green in colour. After the long journey and some car sickness, we finally arrived at her studio (we immediately knew this because of the Wong Way sign). It was precisely noon and we were all complaining of hunger and it seemed the host had instructed for lunch to be prepared for us, much to our delight. As we waited for our meal, everyone was excited about Diana’s studio as we all walked around and saw beautiful views from the top of the mountain. You can probably easily guess what the 10 of us were doing.
Yes! We were all taking photos of ourselves jumping. At this point, I was beginning to wonder why we have to jump every place we visit, but I just followed my friends as it was kind of fun that we got to take hundreds of photos. It was not long when Ajarn Kamol came to tell us that lunch was ready. The menu was salad and some sort of noodle mixed with some sort of wanton together with a soup that looked similar to our “namyaa”, however, not many dared to taste this namyaa and there were much of it leftover. Everyone remembered the foods served at that meal well because we would joke about it whenever we had a meal after that by saying “do you want food that was served at Diana Wang’s house?” I think that she really wanted to please us with her choice of menu that day, however, it was our fault that we were more akin to traditional Asian foods. On that day, Diana Wang, as a friend of Ajarn Thawan Duchanee and Ajarn Prayad Pongdam (which is with great sadness that both have passed away) was mournful with this loss and had invited monks to perform a ceremony for both men. I was not certain what language the prayers were made in, but they sounded familiar to “buddhism”. Once finished, we continued walking around the premises to admire the view and even helped to put up a fallen pillar sculpture. I had noticed that Diana Wang was with us throughout the duration of our visit. She was still healthy and I could see her artistic energy surrounding her and I was incredibly impressed with this master artist. Diana Wang had also arranged for us to view her VDO and this work had shown all of us that she clearly “truly works with all her energy”.
141
The J. Paul Getty Museum Text : ชัชรินทร์ เชื้อคำ�เพ็ง
วันนี้ วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม เวลา 13.40 น. อ.กมล ได้พาพวกเรา ทัศนศึกษาเพือ่ หาประสบการณ์ความรูแ้ ละได้เข้าถึงประวัตคิ วามเป็นมาของสถานทีแ่ ห่งนี้ The J. Paul Getty Museum ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ของเอกชน ตั้งอยู่ไกลจากที่พัก ของพวกเราประมาณ 1 ชั่วโมง ตลอดการเดินทางผมรู้สึกตื่นเต้นมาก ซึ่งเมื่อมา ถึงที่หมาย รถของพวกเราก็เข้าคิวรอเพื่อจอดในที่จอดรถ ซึ่งมีการจัดไว้เป็นสัดส่วน จากนั้นพวกเราก็เดินไปจุดที่พักเพื่อรอรถรางไฟฟ้ามารับเพื่อเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที ระหว่างทางได้เห็นทัศนียภาพในมุมสูง ทำ�ให้รู้สึกตื่นตา ตื่นใจกับความงดงามที่ได้พบเห็น เมื่อมาถึงพิพิธภัณฑ์ อ.กมล บรรยายให้ฟังว่า โครงสร้างของพิพิธภัณฑ์ ที่เป็นกำ�แพงและพื้นนั้นได้นำ�เอาฟอสซิลมาเป็นส่วนประกอบเพื่อป้องกันไฟป่าและ แผ่นดินไหว โดยมีสถาปนิก ริชาร์ด ไมเออร์ (Richard Meier) เป็นผู้ออกแบบ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของทีน่ เ่ี ป็นห้องโถงโปร่งโล่ง และมีการจัดไฟไว้อย่างดีเยี่ยม ทั้งนี้ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์คือ เจ. พอล เกตตี (J. Paul Getty) นักธุรกิจคนหนึ่งของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้มีฐานะร่ำ�รวยระดับมหาเศรษฐีจากการค้าน้ำ�มัน แต่มีความ ชื่นชอบและสนใจในเรื่องศิลปะ เมื่อผลงานสะสมของเขาเริ่มเพิ่มจำ�นวนขึ้นเรื่อยๆ จน ไม่มีที่เก็บ เขาจึงได้สร้างพิพิธภัณฑ์ถาวรขึ้น โดยใช้ชื่อว่า J. Paul Getty Museum J. Paul Getty Meseum มีความพิเศษและแตกต่างไปจากพิพิธภัณฑ์ อื่นๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการออกแบบ การจัดวางตำ�แหน่งของผลงานศิลปะที่มี คุณภาพต่างๆ โดยเฉพาะผลงานศิลปะของศิลปินชื่อดังหลายๆ ท่าน หนึ่งในนั้นเป็น ผลงานทีผ่ มประทับใจและอยากดูมากเป็นพิเศษ นัน่ คือผลงานของแวนโกะห์ ทีช่ อ่ื Irises (ดอกไอริส) ซึ่งผมรู้สึกประทับใจจนบอกไม่ถูก วินาทีที่ได้ชมผลงานชุดนี้ รู้สึกตื้นตัน จนขนลุก ไม่เคยคิดมาก่อนว่าจะได้มีโอกาสมาชมผลงานด้วยตาตัวเองแบบนี้ ขอขอบคุ ณ ผู ้ ใ หญ่ ใ จดี ท ุ ก ท่ า นที ่ ใ ห้ โ อกาสพวกเราโดยเฉพาะอ.กมล ทีน่ อกจากอำ�นวยความสะดวกสบายให้ทพ ่ี กั กับพวกเราแล้ว ยังทำ�หน้าทีเ่ ป็นไกด์น�ำ พวก เราชมสถานที่สำ�คัญต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา อีกด้วย การเดินทางในครั้งนี้ถือเป็น ประสบการณ์หนึ่งในชีวิตที่ไม่เคยสัมผัสมาก่อน ต้องขอขอบคุณทุกท่านเป็นอย่างยิ่ง มา ณ โอกาสนี้
142
The J. Paul Getty Museum Text : Chatcharin Chuekompeng
Today, Sunday 29 March 13.40 hrs, Ajarn Kamol took us on a field trip to learn and gain knowledge. The history of the J. Paul Getty Museum which is a private museum located about an hour away from where we are staying. Throughout the journey I was filled with so much excitement. Once we arrived, our vehicle waited in line to park as parking was allocated accordingly. From there, we walked to the monorail in order to visit the museum and this took around 10 minutes. Along the way, the view from that elevation was incredible. At the museum, Ajarn Kamol described for us that the walls and floors of the museum were constructed from fossils as protection from fire and earthquakes. It was designed by an architect named Richard Meier. The general architecture of this museum consist of a large open hall with skilful lighting. As for the founder of the museum, J. Paul Getty was one of the country’s wealthiest men making his fortunes from the oil business. He was especially fond of art and when his collection grew to the point where storage was impossible, he established a permanent museum to house them and named it the J. Paul Getty Museum. The J. Paul Getty Museum is uniquely different from other museums in its design, the way it displays various artworks particularly works of famous artists. One of the pieces that I’m very fond of and wanted so much to see is Van Gogh’s Irises, it is something I am unable to describe. The second I laid my eyes on this work I was so overwhelmed that my hair stood on ends. I have never thought that I would have the chance to see this work with my own eyes. I would like to thank all the kind elders that gave us this opportunity, especially Ajarn Kamol who facilitated us all the comfort of accommodation as well as took on the role of our guide while visiting a number of significant places in America. This trip is a life experience that I have never had before and I must express my utmost thanks to everyone in this message.
143
“เปิดหู - เปิดตา” ในสหรัฐอเมริกา Text : ณรงค์ฤทธิ์ กาลจิตร์ “เปิดหู - เปิดตา” สำ�นวนไทยคุ้นหูที่มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่เรื่อง เล็กๆ น้อยๆ ที่มีโอกาสได้รับในชีวิตไปจนถึงประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ที่ยากจะขีดเส้น กำ�หนดขอบเขตได้ ในการนีค้ งจะสามารถนำ�มาใช้เพือ่ อธิบายประสบการณ์ทข่ี า้ พเจ้าได้รับ จากการมีโอกาสเข้าร่ว มโครงการ YOUNG ARTISTS TALENT #6 ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 และยังได้รับโอกาสเป็น 1 ใน 10 เยาวชนไทย ร่วมเดินทางไปต่อยอด การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการขั้นสูง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังได้รับโอกาส นำ�ผลงานไปแสดงยังสถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส ซึ่งถือเป็นโอกาสและ ประสบการณ์อันยิ่งใหญ่และสำ�คัญครั้งหนึ่งในชีวิต การ “เปิดหู - เปิดตา” ในครั้งนี้ส่วนตัวได้มีโอกาสเห็นความแตกต่างทาง สังคม วัฒนธรรมและอื่นๆ ที่โดดเด่นของทั้งสองประเทศมากขึ้น อีกทั้งยังได้มีโอกาส ในการทำ�ความเข้าใจทัศนคติ มุมมองต่างๆ ของวัฒนธรรมอเมริกัน ผ่านผลงาน ศิลปะอันทรงคุณค่ามากมายและหลากหลายอย่างท่วมท้นเหนือบรรยาย แต่ก็พอจับใจ ความหลักๆ จากการได้มีโอกาสไป “เปิดหู - เปิดตา” ยังสหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ได้ว่า
144
ไม่ว่าจะเป็นประชาชน หน่วยงานเอกชน และภาครัฐ ต่างก็เล็งเห็น และสนับสนุนให้ ทุกคนได้มีโอกาส “เสพงานศิลป์” ได้ ในทุกๆ ที่ โดยบางที่อาจซ่อนอยู่ ในบริบทของ สิ่งของ เครื่องใช้ สิ่งก่อสร้างต่างๆ ฯลฯ ซึ่งประชาชนทั้งในและต่างประเทศก็ ให้การ ตอบรับเป็นอย่างดี สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณกรรมการผู้คัดเลือกและศิลปินแห่งชาติทุกท่านที่ เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันเยาวชนไทยทั้ง 10 คน ให้ได้รับโอกาสในครั้งนี้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ที่ ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือในเรื่องการเดินทางและที่พัก ณ ประเทศ สหรัฐอเมริกา อาทิเช่น ศาสตราจารย์กมล และ คุณนวลศรี ทัศนาญชลี สำ�นักงาน ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะชัน้ นำ�ในสหรัฐอเมริกา ชาวไทยทีอ่ ยูท่ น่ี น่ั และผูส้ นับสนุนให้เกิดโครงการนี้ ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีโครงการดีๆ แบบนี้เกิดขึ้นอีกในครั้งต่อๆ ไปเพื่อเปิด โอกาสอันทรงคุณค่าให้กับคนรุ่นใหม่ต่อไป ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้
“Open Ears - Open Eyes” in America Text : Narongrit Galajit
“Open ears - Open eyes” (widening your horizon) is a familiar Thai saying which covers all sorts of small opportunities all the way to immense lifetime chances that are impossible to measure. In my case, I can use this to talk about the experience that I had received from my chance to participate in the YOUNG ARTISTS TALENT #6 for 2015. Furthermore, I was one of 10 Thai youths that travelled to the United States and was given the opportunity to display my work at the Consulate - General in Los Angeles, all of which were a once in a lifetime experience. This “Open ears - Open eyes” opportunity allowed me to personally witness social, cultural and other differences between both countries. It gave me insight into the understanding of the American attitude, perspective and various other angles through many priceless artworks. This has been an overwhelming experience that is beyond words. To summarise the aim of this “Open ears - Open eyes” trip to the
USA, is to say that the general public, the private and governmental sectors are all supportive for everyone to “absorb artistic creations” in all their surroundings and that, sometimes, the opportunity is hidden within the context of everyday objects, gadgets, construction materials among many others. Lastly, I would like to express my appreciation to the judging committee and all the National Artists that were a part of the force to push forward this opportunity for the 10 Thai youths, especially to the sponsors for their support in our travel and accommodation in America including Professor Kamol Tassananchalee and Khun Nualsri Tassananchalee, Office of Contemporary Art and Culture, the Ministry of Culture, the Royal Thai Consulate - General Los Angeles, various museums and art galleries in the USA and the Thai people there. I sincerely hope that there will be many more outstanding events such as this in the future for the next generation of youths to come.
145
Hello เมืองซานฟรานฯ สะพานสีแดง Text : ภัทรวิทย์ บุญพรม
“If you’re goin’ to San Francisco, be sure to wear some flowers in your hair. If you’re goin’ to San Francisco. You’re gonna meet some gentle people there” วันนี้บทเพลง ซานฟรานซิสโกดังขึ้นอีกครั้งบนรถ ที่เราโดยสารกัน ส่งท่วงทำ�นองแห่งบทเพลงลอดผ่านช่องลำ�โพงดังเคล้าคลอ สร้าง บรรยากาศแห่งการเดินทางให้ดูพิเศษขึ้นกว่าทุกๆ วัน เพื่อนๆ ทุกคนหน้าตาเบิกบาน ต่างพากันฮัมเพลงคลอกับทำ�นองจากแผ่นเสียง ทำ�นองถูกบ้าง คำ�ร้องผิดบ้าง แต่ทกุ คนก็ดมู คี วามสุขและพยายามทีจ่ ะถ่ายทอดบทเพลงนีอ้ อกมาในแบบฉบับของตัวเอง ถูกต้องแล้ววันนี้เราจะเดินทางเข้าสู่เมืองซานฟรานซิสโก เพื่อชมทัศนียภาพ สภาพ ความเป็นอยู่และฝึกปฏิบัติการทางศิลปะรวมไปถึงเข้าชมนิทรรศการผลงานศิลปะใน พิพิธภัณฑ์ของเมืองนี้ ครั้งแรกที่ ได้สัมผัสซานฟรานซิสโกเมืองที่มีเสน่ห์ชวนหลงใหลมีภูมิทั ศ น์ สวยงาม บ้านเรือนทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะตัว อากาศทีบ่ ริสทุ ธิ์ และความสะอาดเรียบร้อย ในเวลานัน้ ความรูส้ กึ ของฉันเหมือนได้เดินอยูบ่ นดินแดนทีว่ เิ ศษที่ไดทีห่ นึง่ สภาพแวดล้อม ต่างๆ ล้วนแต่สร้างความสุข ความประทับใจ ความตื่นตาน่าอัศจรรย์ ใจให้อยู่ ไม่ขาดสาย การที่ได้เห็น และได้ยนื อยูด่ นิ แดนแห่งความใฝ่ฝนั ว่าสักครัง้ หนึง่ ในชีวติ จะมี โอกาสได้มาสัมผัสด้วยตัวเอง วันนีเ้ รามาที่ The de Young Museum พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะในซานฟรานซิสโก โดยเริม่ ต้นทีก่ ารเดินชมบรรยากาศโดยรอบของมิวเซียม ซึง่ มีภมู ทิ ศั น์โดยรอบทีส่ วยงาม สุดจะบรรยาย และเป็นที่ตื่นตาตื่นใจของทุกคนที่ได้พบเห็น เราเริ่มจับจองพื้นที่ ในการ สเกตช์ภาพเพือ่ บันทึกบรรยากาศแสนพิเศษนีก้ ลับไปเป็นทีร่ ะลึก ก่อนจะเข้าไปชมผลงาน ศิลปะในพิพิธภัณฑ์ The de Young Museum ก่อตั้งขึ้นในปี 1895 มีผลงานศิลปะที่มี ชือ่ เสียงในแต่ละยุคสมัยไว้ในครอบครองทัง้ จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปะการตกแต่ง ศิลปะบนกระดาษ รวมไปถึงผลงานศิลปะของทวีปแอฟริกา โอเชียเนีย และอเมริกา
146
เครือ่ งแต่งกายและสิง่ ทอ ทีเ่ ป็นตัวบ่งบอกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเพณี ของชาวตะวันตก The de Young Museum มีผลงานศิลปะในการครอบครอง มากกว่า 27,000 ชิ้น ในครั้งนี้ผลงานที่ประทับใจมากที่สุดเห็นจะเป็นกลุ่มผลงาน จิตรกรรมของยุคฟืน้ ฟูศลิ ปวิทยา ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นงานทีไ่ ด้รบั การจ้างจากสถาบันศาสนาของ นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งมักเป็นงานขนาดใหญ่และเป็นภาพชุดที่เขียนเป็นจิตรกรรม ฝาผนังเกี่ยวกับ “ชีวิตของพระเยซู” “ชีวิตของพระแม่มารี” ด้วยเทคนิคสีฝุ่นบนแผง หรือต่อมาสีน้ำ�มันบนผ้าใบ หัวเรื่องที่เป็นที่นิยมในการวาดที่สุดคือ “พระแม่มารี และพระบุตร” เมือ่ ได้ชน่ื ชมผลงานเหล่านีแ้ ล้วก็อดนึกถึงภาพจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์ วิหารของไทยไม่ ได้ ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนว่างานที่เกี่ยวข้องกับศาสนา มักเป็นงานที่ ผู้สร้างสรรค์ สร้างด้วยความศรัทธาในศาสนาเฉกเช่นเดียวกัน และด้วยพลังแห่ง ความศรัทธานี้ย่อมทำ�ให้ศิลปินที่สร้างสรรค์งานเหล่านั้นออกมาได้อย่างสุดความตั้งใจ บังเกิดความวิจิตรพิสดารในชิ้นงาน สร้างความตราตรึงใจแก่ผู้ที่ได้พบเห็น ฉันได้แต่ บันทึกภาพผลงานเหล่านั้นลงในพื้นที่ความจำ�ของสมอง และประทับความงดงามของ ทัศนธาตุไว้กลางดวงใจอันเต็มไปด้วยพลังแห่งความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะกลับมาสร้างสรรค์และ พัฒนาผลงานศิลปะของตัวฉันเองให้พัฒนาก้าวไปให้ไกลและมีทิศทางที่ชัดเจน ช่วงบ่ายแก่ๆ เราเดินทางออกจาก The de Young Museum เพื่อ เข้าชมงานศิลปะในอีกหลายๆ พิพิธภัณฑ์ พอถึงเวลาพลบค่ำ�คณะเดินทางของเราก็ เดินทางมาที่สะพานโกลเดนเกท เรานั่งรถเสพบรรยากาศและเดินชื่นชมทัศนียภาพโดย รอบของเมืองซานฟรานซิสโก “มาถึงแล้วนะเมืองซานฟราน สะพานแดง ยินดีที่ได้รู้จัก ขอบคุณสำ�หรับความรู้ ใหม่ที่จะเป็นทุนให้ฉันพัฒนาตัวเองต่อไป และอีกหลายสิ่งหลาย อย่ า งที ่ ช ่ ว ยทำ � ให้ ค วามหมายของคำ � ว่ า ‘โลก’ สำ � หรั บ ฉั น มั น กว้ า งขึ ้ น ” ฉั น พู ด กับตัวเองและกับทุกสิ่งที่นั่น นี่เป็นการเดินทางไกลของฉันอีกครั้ง ไกลจากเมื อ ง ที ่ พ ั ก ไกลจากประเทศไทย ไกลจากบ้านเกิด แต่มันก็ทำ�ฉันได้เดินทางเข้าใกล้ความฝัน และมาถึงจุดหมายในที่สุด
Hello the city of San Francisco Red Bridge Text : Pattarawit Boonprom
“If you’re goin’ to San Francisco, be sure to wear some flowers in your hair. If you’re goin’ to San Francisco. You’re gonna meet some gentle people there.” This song about San Francisco was being played again on the coach that we were travelling on. The catchy rhythm blaring through the speakers made our journey more special compared to other days as everyone happily hummed and crooned to the music. Some got the lyrics right, some missed, but everyone appeared ecstatic as they tried to carry the tune in their own way. We were on our way to the city of San Francisco for some sightseeing, practical art study as well as to visit its art exhibitions and museums. My first experience of this charming town was of the beautiful landscape, its unique housing styles, fresh air, and cleanliness. I felt as though I was walking on some magical land where the environment gave me utmost pleasure and constant wonderment of which I have personally witnessed and been to a place of dreams once in a lifetime. On that day, we visited the de Young Museum in San Francisco by first walking around outside the museum where its landscape was just magnificent for everyone. Each of us found our perfect spot to sketch the stunning scenery for keepsakes before entering the museum. The de Young Museum was established in 1895 and houses numerous renowned artworks of various eras that include paintings, sculptures, decorative art, print art, crafts from Africa, Ociania, and America, as well as clothing and fabrics that illustrate the many cultures and traditions of the people of the western world. De Young museum contains more than 27,000 pieces of art, and my personal favourite were the collection of paintings from the Renaissance era where works were mostly commissioned by the Roman Catholic Church. These were usually of a large scale including the collection of wall murals of the “Life of Jesus Christ” and “Life of the Virgin Mary” that were made using the tempera
technique and were later superseded by oil paints. The most popular topic painted were of “the Virgin Mary and her son” which made me think of paintings inside Thai temples. It was clear that artwork that involves religion are usually created by those who are religious faithfuls. And with the power of faith, these artists were able to create magnificence that awe those that witness their work. All I could do was to keep a memory of these splendour within me to empower my dedication to create and develop my own art creations with a clear sense of direction. In the late afternoon of that day, we left de Young Museum to visit other museums before heading to the Golden Gate Bridge in the evening. We walked around to admire the scenery of the city of San Francisco. “We have arrive, San Francisco city’s Red Bridge. It is a pleasure to meet you and thank you for the new knowledge that will allow me to better myself as well as other things that has expanded what this ‘world’ is for me,” I said to myself and everything there. This was another long-haul journey for me, far from the city we stayed at, far from Thailand, far from my birth home, but it has made me travelled closer to my dreams which will lead me to finally reach my goals.
147
Los Angeles County Museum of Art Text : รัตนา สุจริต
“Los Angeles County Museum of Art” หรือ LACMA เป็น พิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ ในลอสแอนเจลิส ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1965 เป็นสถานที่รวบรวม ผลงานศิลปะทีม่ ชี อ่ื เสียงและมีประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนาน ความประทับใจแรกของข้าพเจ้า คือ การได้สัมผัสกับขนาดพื้นที่อันกว้างใหญ่ สถาปัตยกรรมอันงดงาม รวมทั้งอาคาร ต่างๆ ที่เป็นศูนย์รวมใจกลางเมือง เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของคนอเมริกันตั้งแต่ เด็กเล็กไปจนกระทั่งผู้สูงอายุ ขณะที่เดินเข้าบริเวณพิพิธภัณฑ์ซึ่งมีลานโล่งนั้น ข้าพเจ้ารู้สึกตื่นเต้นมาก เนื่องจากมีหินขนาดยักษ์น้ำ�หนักถึง 340 ตัน วางพาดอยู่เหนือช่องทางเดิน เมื่อเดิน ลอดใต้หินก้อนนี้ไปก็เกิดความสงสัยว่า มันเดินทางมาได้อย่างไร ซึ่งแท้ที่จริงแล้วมัน คือผลงานประติมากรรมของศิลปิน ไมเคิล ไฮเซอร์ (Michael Heizer) จากนั้นก็ จะได้พบกับประติมากรรมอีกหลายชิ้น แสดงให้เห็นถึงความใส่ ใจในการจัดบรรยากาศ สถานที่ของพิพิธภัณฑ์ที่เอื้อให้ผู้ชมมีส่วนร่วมกับงานได้ LACMA มีสถาปัตยกรรมที่งดงาม เห็นได้จากตามทางเดินเข้าชมอาคาร แรกมีเสาสีแดงเรียงต่อกันทั้งอาคาร สิ่งที่น่าตื่นตาตื่นใจที่สุดในอาคารนี้ คือ ลิฟต์ ที่มีขนาดใหญ่มาก จากการประเมินด้วยสายตาน่าจะสูงประมาณ 10 เมตร บรรจุ คนได้มากกว่า 50 คน ภายในอาคารมี ห้ องจั ดแสดง 3 ชั ้ น มี ผลงานศิลปะชิ้น สำ�คัญจัด แสดงอยู่ เช่น ประติมากรรมเชื่อมเหล็กรูปทรงบิดโค้ง ผลงานของริชาร์ด เซอร์รา (Richard Serra) และผลงานของศิลปินอีกหลายคน ในส่วนระเบียงของ
148
ชั้น 3 ก็มีจุดชมวิว ที่มองเห็นทัศนียภาพของอเมริกาที่กว้างใหญ่ ในส่ ว นของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ องได้ มี ก ารรวบรวมผลงานทั้ ง จิ ต รกรรม ประติมากรรรม ภาพพิมพ์ รวมถึงงานจัดวาง (Installation art) และวิดีโออาร์ต ในห้องจัดแสดงแต่ละห้องอัดแน่นไปด้วยผลงานของศิลปินชื่อก้องโลก เช่น ปาโบล ปิกัสโซ อองรี มาติส วัสซิลี คันดินสกี้ และอีกมากมาย ซึ่งข้าพเจ้าเคยได้เห็นผลงาน เหล่านี้แค่เพียงในหนังสือประวัติศาสตร์ศิลปะเท่านั้น แต่มาบัดนี้ พวกมันได้หลุดออก มาจากหนังสือแล้ว เปรียบเหมือนข้าพเจ้าได้เปิดประตูสู่อีกโลกหนึ่ง นั่นคือ โลกแห่ง ศิลปะ ได้เต็มอิ่มกับการเรียนรู้ ชื่นชม และสัมผัสงานศิลปะด้วยตาอย่างใกล้ชิด เป็น ประสบการณ์ครั้งสำ�คัญในชีวิต รู้สึกคุ้มค่ามากกับโอกาสในครั้งนี้ สิ่งต่างๆ ที่ได้พบเจอตลอดระยะเวลา 15 วัน ในสหรัฐอเมริกา ได้สร้าง ความอบอุ่น สนุกสนาน เสียงหัวเราะ และรอยยิ้ม ได้พบกับสิ่งรอบตัวที่แปลกใหม่ สวยงาม อีกทั้งมิตรภาพ ความสุขและความประทับใจจะยังตราตึงอยู่ ในความทรงจำ� ตลอดไป ข้าพเจ้าขอขอบคุณโครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัยที่ทำ�ให้ ข้าพเจ้ามีโอกาสและประสบการณ์ ได้เปิดโลกทัศน์ ใหม่ ในชีวิตมีเรื่องเล่ามากมายที่ คงไม่มีวันลืม และที่สำ�คัญขอขอบพระคุณอาจารย์กมล และครอบครัว ที่ดูแลให้ความ เอ็นดูพวกเรา สิง่ ทีอ่ าจารย์ ได้สอนให้รจู้ กั คุณค่าของการแบ่งปันและหวงแหนงานศิลปะ อีกทั้งความดีงามในจิตใจทั้งหมดนั้น ข้าพเจ้าขอนำ�ไปใช้และส่งมอบแก่ผู้อื่นต่อไป
Los Angeles County Museum of Art Text : Rattana Sudjarit “Los Angeles County Museum of Art” or LACMA in Los Angeles was established in 1965. It houses renowned artworks and has a long rich history. Upon entering the premises, I was immediately impressed with the spaciousness of the museum and its impressive architecture including all the buildings which are the heart of the city’s community that Americans from young to old come to relax. Entering the museum’s courtyard, I felt a wave of excitement at the sight of a 340-ton stone laid across an arch which, as I walked underneath it, made me wonder how it had gotten there. In actual fact, it is a sculpture by an artist named Michael Heizer. After that I came across numerous sculptures that reflected the care that went into the creation of the museum’s atmosphere. The impressive architecture at LACMA was visible from the pathway into the first building with red pillars that lined the entire building. The most astonishing sight in this building is the extremely large elevator which, gauging by sight, must be around 10 metres in height and can hold more than 50 people. Inside the building are 3 exhibition floors with important sculptures on display such as the twisted steel welding sculpture by Richard Serra and works by many other artists. There is a balcony on the third floor with a scenic spot where you can view the vast landscape of America. The museum itself has compiled artworks such as paintings, sculptures, prints, including installation art and video art. Each exhibition room is packed with works of world famous artists like Pablo Picasso, Henry Matisse, Wassily Kandinsky and numerous others, all of whom I have seen their works only in history and art books. And now, they have now come out of the books and it is as if I have opened a door to another world, which is the world of art. I am now full of knowledge, admiration after closely viewing these works. It is a momentous and valuable experience in my life. All the things that I had seen during those 15 days in the United States gave me warmth, fun, laughter and smiles from seeing new things as well as friendship and beautiful impressions that will be with me for all time. I would like to thank the Young Artists Talent that allowed me the opportunity and experience to open up my view of the world with the many stories that can be told. And most importantly, my appreciation to Ajarn Kamol and his family for taking care of us. He has taught us the value of art, to share and be protective of art as well as spiritual goodness. All of which I will make use of and impart onto others.
149
Norton Simon Museum Text | ศิลป์สวัสดิ์ จันต๊ะไพสน Text : ศิลป์สวัสดิ์ จันต๊ะไพสน
ข้าพเจ้าได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทน 1 ใน 10 คนจากนักศึกษา 70 คนทั่ว ประเทศใน “โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย” ประจำ�ปี พ.ศ. 2558 ของสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม เพื่อเดินทาง ไกลข้ามโลกไปอบรมเชิงปฏิบัติการศิลปะขั้นสูง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ไปเยี่ยม ชมศึกษาในพิพิธภัณฑ์ศิลปะหลากหลายแห่ง ทำ�ให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และประสบการณ์ ต่างๆ มากมาย นับเป็นสิ่งที่ล้ำ�ค่ายิ่งที่ได้รับโอกาสในการเดินทางครั้งนี้ Norton Simon Museum ซึ่งตั้งชื่อตาม Norton Simon เจ้าของ พิพธิ ภัณฑ์และนักธุรกิจเลือ่ งชือ่ ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง อีกทัง้ หนึง่ ในนักสะสม ผลงานศิลปะที่โดดเด่นท่านหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นที่ รู้จักกันทั่วโลกว่า เป็นหนึ่งในการรวบรวมผลงานการสะสมศิลปะส่วนตัวที่น่าทึ่งที่สุด เท่าที่เคยมีการรวบรวมผลงานมา ในภาพรวมการออกแบบพิพิธภัณฑ์ มีความเป็น เอกภาพทีม่ ลี กั ษณะเชือ่ มโยงกันทัง้ หมด ภายนอกตัวอาคารมีบรรยากาศสภาพแวดล้อม ทีง่ ดงาม ประกอบด้วยสวนประติมากรรมทีเ่ ต็มไปด้วยงานประติมากรรมอันทรงคุณค่า มีรา้ นค้าไว้สำ�หรับผู้ที่มาเยี่ยมชมได้ผ่อนคลาย ควบคู่กับการชมผลงานประติมากรรมที่ เกื้อหนุนกับต้นไม้อันเขียวขจีร่มรื่นได้อย่างลงตัวของภายนอกพิพิธภัณฑ์ ตัวอาคารเป็นสองฟาก ซ้าย-ขวา ลักษณะการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์ สิ่งที่เป็นเสน่ห์ที่สุดคือการออกแบบเพดานที่ ใช้ลักษณะการเจาะช่องแสงเป็นรูปวงกลม เพื่อเพิ่มความสว่างโดยการใช้แสงจากธรรมชาติ ไม่ต้องใช้หลอดไฟมากซึ่งเป็นการลด การใช้พลังงานไปในตัว อีกนัยหนึ่งเป็นการตกแต่งที่ดูมีเสน่ห์มากช่วยเสริมเรื่อง การจัดแสงในห้องจัดแสดงงานได้ดี ซึ่งผลงานที่จัดแสดงแบ่งเป็นผลงานศิลปะจาก ทวีปต่างๆ ทั่วโลก และผลงานศิลปะระดับโลกมากมาย เช่น Vincent van Gogh Paul Gauguin Edgar Degas Pablo Picasso Vasily Kandinsky Alerto Giacometti Andy Warhol และศิลปินระดับโลกอีกมากมายโดยการแบ่ง ตามยุคสมัยต่างๆ ผลงานที่ข้าพเจ้าประทับใจมากที่สุดคือ Woman with a Book,
150
1932 ของศิลปิน Pablo Picasso ซึ่งประทับใจเป็นพิเศษตรงวิธีคิดในการนำ�ภาพ Madame Moitessier, 1856 ของศิ ล ปิ น Jean-Auguste-Dominique Ingres มาสร้างสรรค์ ใหม่ ซึ่งออกมาเป็นรูปแบบของ Pablo Picasso ซึ่งชัดเจนที ่ ไม่เหลือความเป็นภาพ Madame Moitessier เลย วิธีคิด แบบนี ้ ข อง Pablo Picasso ทำ�ให้ขา้ พเจ้าได้รบั รูถ้ งึ มุมมองทีแ่ ปลกใหม่ ซึง่ สามารถนำ�มาปรับใช้กบั วิธคี ิดใน การทำ�งานของข้าพเจ้าเองในรูปแบบของศิลปะไทยประเพณี ซึ่งการหยิบยกเอาข้อมูล เนื้อหาที่เป็นศิลปะไทยประเพณีจากโบราณ มาสร้างสรรค์ ใหม่โดยอาศัยวิธีการของ Pablo Picasso นี้ข้าพเจ้าคิดว่าสามารถคลายความสงสัยบางอย่างในการสร้าง ความร่วมสมัยในศิลปะไทยประเพณีได้ค่อนข้างมากทีเดียว ในการเยี่ยมชม Norton Simon Museum ครั้งนี้ ได้รับรู้ว่าเป็น พิพิธภัณฑ์ที่ลงตัวในการออกแบบและการจัดแสดงผลงานศิลปะที่มีความเป็นเอกภาพ มาก ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มากมายที่สามารถนำ�มาปรับประยุกต์ ใช้ ในการพัฒนาผลงานใน อนาคต และทำ�ให้ได้รู้ว่าหนึ่งในวิธีการที่ลึกซึ้งที่สุดของการสื่อสารของมนุษย์คืองาน ศิลปะโดยการสร้างบทสนทนาระหว่างวิธีคิดของศิลปินระดับโลกกับการรับรู้ด้านศิลปะ ของตัวเราเอง สามารถช่วยสะท้อนให้เราเข้าใจในตัวเราเองอย่างเต็มที่มากขึ้นด้วย คำ�ว่า “ศิลปะ”
Norton Simon Museum Text : Sinsawad Jantaphaison
I was chosen as one of the representatives of 10 from 70 students countrywide for the ‘Young Artists Talent’ for the year 2015 by the Office of Contemporary Art and Culture under the Ministry of Culture to travel across the globe to attend a training in operational art in the United States of America and visited a number of art museums. This journey has given me ample invaluable experience and knowledge. The Norton Simon Museum was named after its owner Norton Simon, a renowned businessman in the canned foods industry as well as an exceptional art collector in the United States. This museum is known throughout the world as one of the most amazing personal collections. The overall design of the museum shows synchronised unity. The outside of the building is surrounded by beautiful elements consisting of a garden of sculptures filled with many invaluable pieces and shops that allow visitors to relax while viewing sculptures that are housed amid lush greenery around the museum. The building is divided into two sides, left and right, the interior’s most charming feature is the round natural light window in the ceiling which means less lightbulbs for illumination, therefore, reducing electricity in itself. This also helps with the lighting in the exhibit rooms where displays are divided into works from various continents and numerous works of world famous artists such as Vincent van Gogh, Paul Gauguin, Edgar Degas, Pablo Picasso, Wassily Kandinsky, Alberto Giacometti, Andy Warhol and many others that are classified into different eras. The work that I was most impressed with was the Woman with a Book by Pablo Picasso in 1932. I especially liked the idea of the recreation of the “Madame Moitessier” painting by Jean Ausguste Dominique Ingres in 1856 which was transformed into Pablo Picasso’s prominent style and with no trace of the “Madame Moitessier” painting. This thinking by Pablo Picasso has given me a new perspective that can be adapted to my own thinking for my work in Thai cultural art which would need to identify the ancient Thai culture content and recreate them using Pablo Picasso’s technique. I also think that this would also be able to clear up some questions in the creation of Thai contemporary cultural art. The visit to the Norton Simon Museum has made me realise that the museum’s architecture has been designed in perfect balance and the artworks displayed with much uniformity. I have learned many new things that can be adapted to develop my future work. I have also learned that the deepest means of communication for humans is through art by the creation of conversation between the thoughts of world class artists through our personal understanding of art. This helps further reflect our personal understanding with the word “art”.
151
กาลครั้งหนึ่ง ณ อเมริกา (Stanford University) Text : สิตา อินใหญ่
สหรัฐอเมริกา ประเทศอันกว้างใหญ่ ไพศาล ที่อยู่ ไกลไปอีกซีกโลก ที่ซึ่ง เปี่ยมไปด้วยความแตกต่าง กับฉันที่มีแต่สิ่งเดิมๆ มาตลอดยี่สิบกว่าปี แล้ววันหนึ่ง ฉันก็ได้ไปยืนอยู่ที่นั่น การเดินทางครั้งนี้มีเพื่อนร่วมทางมากกว่าสิบชีวิต ทั้งเพื่อนใน โครงการค่ายเยาวชนฯ เจ้าหน้าที่ของสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวง วัฒนธรรม และที่ขาดไม่ได้ คือ อาจารย์กมล ทัศนาญชลี ผู้ที่คอยให้ความรู้ตลอดการ เดินทาง และทำ�ให้การเดินทางครั้งนี้ ทรงคุณค่ายิ่ง วันแรกของการเดินทางโดยรถแวนที่บรรทุกวัยรุ่นผู้พร้อมที่จะเปิดรับ ประสบการณ์ ใหม่ๆ สู่ ‘ซานฟรานซิสโก’ เมืองทีท่ กุ คนต้องนึกถึงสะพานแดงทีท่ อดตัว ยาวผ่านแม่น้ำ�และบทเพลง “San Francisco” ที่ทุกคนอยากจะนำ�ดอกไม้ขึ้นมา ทัดหูเมื่อไปถึงที่สะพาน ก่อนที่เราจะได้ไปสถานที่สุดประทับใจอันเลื่องลือ เราได้ไปที่ “Stanford University” อีกสถานที่หนึ่งที่ประทับใจไม่รู้ลืม เพียงแค่รถแวนเลี้ยวเข้า สูเ่ มืองเราก็ได้พบกับความสวยงามอันเป็นระเบียบของบ้านเมืองรายรอบ ภาพทีเ่ ห็นนัน้ ไม่ แตกต่างจากภาพวาด บ้านเมืองรอบด้านสวยงามดูละม้ายคล้ายทิวทัศน์ ในผลงานศิลปะ เมื่อเราเลี้ยวเข้าสู่มหาวิทยาลัย ก็สามารถสัมผัสได้ถึงสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ชั้นดี พิพิธภัณฑ์ที่เรากำ�ลังไปเยี่ยมชม คือ Iris & B. Gerald Cantor Center for Visual Arts ซึ่งรวบรวมผลงานศิลปะไว้ ให้ผู้สนใจได้เข้าชม เพียงแค่ ก้าวแรกก็ต้องประทับใจไปกับสถาปัตยกรรมภายในอันงดงามของอาคาร ที่ล้วนแล้ว แต่เป็นหินอ่อน ไม่ว่าจะเป็นกำ�แพง หรือบันได อีกทั้งยังมีการออกแบบหน้าต่างที่ ให้แสง เล็ดลอดเข้ามากระทบกับหินอ่อน สร้างความสวยงามให้เพิ่มขึ้น ผลงานแรกที่เห็นคือ Viktoria, 1999 เป็นผลงานศิลปะอันโด่งดังมาก ชิ้นหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ ที่อาจดูเหมือนม้าที่ประกอบสร้างด้วยไม้ แต่แท้จริงแล้ว
152
เป็นการหล่อด้วยบรอนซ์ และอีกผลงานซึง่ พวกเราวาดฝันไว้วา่ ต้องมาชมด้วยตาตนเอง ให้ได้ นั่นคือประติมากรรม The Thinker และ The Gates of Hell ผลงานชื่อดัง ของประติมากรชื่อก้องโลกอย่างโรแดง นั่นเอง ภายในพิพิธภัณฑ์ยังแบ่งห้องต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ ทำ�ให้ผู้ชมได้เห็น พัฒนาการของศิลปะตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั เหมาะแก่การศึกษาหาความรูเ้ ป็นอย่างยิ่ง ด้านการนำ�เสนอผลงานในพิพิธภัณฑ์นั้นก็ล้วนดูสะอาดตา และน่าสนใจ ทำ�ให้เรารับรู้ ได้ทันทีว่า พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีการบริหารจัดการที่ดี มีระบบ ซึ่งอันที่จริงยังมีเรื่องราว อีกมากมายที่ข้าพเจ้าไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้หมด หากแต่เป็นความทรงจำ�ที่มี คุณค่ายิ่ง การมาเยือนมหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ของโลกอย่าง Stanford รวมถึงพิพธิ ภัณฑ์ อื่นๆ และสถานที่ทุกแห่งที่ไปในโครงการฯ ครั้งนี้ ทำ�ให้เรามีโลกทัศน์กว้างขึ้น นั่นเพราะ ศิลปะไม่ได้จำ�กัดอยู่เพียงในสังคมหรือพื้นที่เล็กๆ แต่ยังแผ่ขยายไปทั่วโลก พวกเราทั้ง สิบคนได้เก็บความรู้ผ่านทั้งสมุดบันทึก กล้องถ่ายรูป และเก็บเป็นความทรงจำ�ไว้ ใน สมองและจิตใจ การไปเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา ถือเป็นก้าวหนึ่งที่น่าประทับใจและ ทำ�ให้เราได้เรียนรู้เรื่องราวต่างๆ มากมาย ศิลปะ คือการสื่อสารโดยไม่มีภาษาใดมา คั่นกลาง ความจริงในข้อนี้จะผลักดันให้ข้าพเจ้าขยันหมั่นเพียร มุ่งมั่นทำ�งานต่อไป และ อนาคตของเราก็จะก้าวไปข้างหน้าสู่ความเป็นสากล สำ�หรับการเดินทางในครั้งนี้ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์กมล ทัศนาญชลี ที่มอบความรู้ ให้กับพวกเรา ป้านวลผู้ซึ่งมอบความอบอุ่น ความรักและอาหารอร่อยๆ เจ้าหน้าที่โครงการฯทุกท่าน เพื่อนๆ ที่เป็นทั้งเพื่อนร่วมทาง ที่ร่วมหัวเราะไปด้วยกัน ความทรงจำ�ครั้งหนึ่งในประเทศที่ไกลโพ้นนี้ แม้ว่าเวลาจะผ่านไปนานเพียงใด ข้าพเจ้าจะ ไม่มีวันลืมเลือน
Once upon a time in America (Stanford University) Text : Sita Inyai
The United States of America is a vast country on the far reach of the other end of the globe that brims with diversity in comparison to the same things that surround me these past 20 plus years. And one day, I had made it there with 10 other travel companions from the youth camp, staff members from the Office of Contemporary Art and Culture under the Ministry of Culture, and, most importantly, Ajarn Kamol Tassananchalee, who taught us so much throughout the trip and made this journey invaluable. The first day of the trip in a van full of young people that were ready to take on new experiences made its way to San Francisco, a city that reminds everyone of the long red bridge across the river and the “San Francisco” song that make everyone want to wear a flower behind their ears once they get there. Before we made it to this renowned location, we visited “Stanford University”. Another place that gave us wonderful memories. As soon as the van turned into the city, we were greeted with the splendour of orderliness everywhere around us. We saw nothing short of a painting with the spectacular surrounding landscape so similar to sceneries in an artwork. As we turned into the university, the outstanding environment and quality of life was apparent. We were heading to the Iris & B. Gerald Cantor Center for Visual Arts which housed many artworks for visitors. As we set foot into the museum, I was impressed by the magnificent architecture of the building which was made purely from marble, be it the walls, the stairs and the windows have also been designed to allow natural light in on the marble surface, creating further enhancements. The first piece we saw was the Viktoria, 1999 which is
an extremely well-known historical piece that appeared to look like a constructed wooden horse. It is, however, a bronze casting. Another art piece that we had dreamed of seeing with our very own eyes were the The Thinker and The Gates of Hell sculptures by the world famed sculptor Rodin. Inside the museum, rooms were divided into categories which allowed visitors to see the development of art through the various ages until the current era making it highly suitable for learning. The display of artworks were neatly done and we felt right away that this museum has an outstanding management system. Moreover, there are many other details that I am not able to describe them all, however, they are all priceless memories. Visiting a world class university like Stanford as well as museums and other places of interest during this trip broadened our perspectives because art is not confined within a society or space, but on a global scale. The 10 of us have taken away this knowledge through journals, cameras and within our hearts and minds. Visiting the United States of America was a memorable step that gave us so much knowledge. Art is a means of communicating without any language barrier. This truth is a force that will drive me to continue pursuing my work with dedication towards becoming more international. For this journey, I must thank Ajan Kamol Tassananchalee for giving us newfound knowledge, Auntie Nual for her gracious hospitality, love, and many delicious meals. Also to all the project staff and friends that shared this journey and laughter. The memories of visiting this far
153
ความสงบในพืน้ ทีส่ ว่ นตัว ซึง่ เป็นทีๆ่ เราสามารถจักทำ�อะไรต่อมิอะไรได้ด้วย ความโล่งใจไร้กงั วลต่อการรบกวนจากสิง่ หรือบุคคลอืน่ ภายนอก ช่างเป็นสภาวะที่เหมาะสมแก่ การเพาะบ่มความคิดสร้างสรรค์ อย่างเช่นศิลปะ อันจะนำ�มาซึ่งความสุขที่เป็นเสมือน อาหารได้หล่อเลี้ยงจิตใจ และจักนำ�ปัญญามาสู่ตน รวมถึงบุคคลที่ได้รับชมศิลปะชิ้น นั้นๆ ทั้งนี้ ยังเสริมสร้างทักษะของการพัฒนาตน ทั้งในรูปแบบและกระบวนการทาง ความคิดอย่างต่อเนือ่ งและไม่หยุดนิง่ จากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ซึง่ ทัง้ หมดนี้ คือ ความงดงามน่าประทับใจเป็นอันมากสำ�หรับกระผม หลังจากที่ได้รับโอกาสเข้าไปสัมผัส และศึกษาในพื้นที่สตูดิโอสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของ “ไดอานา วอง” “ไดอานา วอง” ศิลปินหญิงวัย 77 ปี ที่ยังเปี่ยมล้นด้วยพลังในการ สร้างสรรค์และพัฒนาศิลปะของตนอย่างไม่หยุดนิง่ แม้อายุและร่างกายของเธอจะย่าง เข้าสู่วัยชรา แต่ ใจของเธอที่มีต่องานศิลปะยังคงแข็งแรงและเข้มข้นเป็นอย่างมาก สังเกตได้จากผลงานที่สร้างขึ้นทั้งในและนอกสตูดิโอ ทั้งงานจิตรกรรม งานวิดีโอที่ เธอได้สร้างสรรค์ ที่บันทึกจากกระบวนการการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมของ เธอเอง (Action Painting) ทั้งนอกสตูดิโอบ้าง ในสตูดิโอบ้าง ทั้งโหนสลิง ล่องลอยเคลื่อนไหวภายในอากาศ และจับแปรงพู่กันเขียนวาดสร้างสรรค์ ลงบนผืน เฟรมผ้าใบขนาดใหญ่มหึมา แสดงความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของเธอลงไปในผลงาน จิตรกรรมชิน้ นัน้ อีกทัง้ ยังมีการเล่นดนตรีประกอบซึง่ เธอได้เลือกวงดนตรีทม่ี าบรรเลง ด้วยตัวของเธอเอง แสดงให้เห็นถึงความใส่ ใจในทุกรายละเอียดในการสร้างสรรค์ ผลงาน และการบรรเลงเพลงสร้างบรรยากาศขณะที่เธอขีดเขียน ยิ่งทำ�ให้สร้าง สุนทรีย์ทางความรู้สึกต่อผลงาน เป็นการผสมผสานศิลปะต่างแขนงเข้าด้วยกัน ทั้ง ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ และศิลปะการแสดง จึงทำ�ให้ผลงานศิลปะของเธอ ดึงดูดจิตใจ ผู้ชมได้อย่างน่าตื่นเต้น และสะเทือนอารมณ์ อีกทั้งยังได้รับรู้และสัมผัสถึงสุนทรียภาพ ของศิลปะในหลายหลากมิติภายในเวลาเดียวกัน ประหนึ่งว่า เธอได้แสดงให้เห็นถึงซึ่ง ความหมายที่แท้จริงของศิลปะ นั่นคือศิลปะที่มีไว้จรรโลงจิตใจ มิได้แบ่งแยกถึงความ แตกต่างของประเภทผลงาน สตูดิโอกับการจัดการบริหารพื้นที่ ใช้สอยที่มีอยู่อย่างจำ�กัดให้เกิดประโยชน์ สูงสุด แสดงถึงภูมิปัญญาในการออกแบบสร้างสรรค์ตัวอาคารและพื้นที่ ใช้สอย ให้มีทั้งความงามและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด เหมาะสมสำ�หรับการสร้างสรรค์ผลงาน และยังเป็นการพักผ่อนเพื่อก่อให้เกิดอารมณ์ที่ดี และมีความสุขสงบในเวลาเดียวกัน ตัวอย่างเช่นรูปแบบในการเก็บรักษาผลงาน ที่สร้างเป็นผนังเลื่อนเข้าออกได้ จัดวาง เรียงซ้อนกันเป็นจังหวะที่พอดี โดยแบ่งพื้นที่ว่างระหว่างผนังให้เหมาะสม แต่ละผนัง ได้แขวนรูปผลงาน ซึ่งให้ผลเป็นการจัดการที่สวยงามหมดจด และเรียบร้อยอย่าง เรียบง่าย กล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเก็บรักษาผลงาน และพร้อมแสดงผลงานของเธอได้ ในเวลาเดียวกัน นับเป็นวิธีการที่ชาญฉลาดมากและยังมีการผนวกกับการอิงอาศัย พลังงานของธรรมชาตินำ�มาใช้สอยให้เกิดประโยชน์ ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจมากในการ จัดการสตูดิโอของไดอานา วอง ทั้งแสงและลมซึ่งการจัดแสงโดยเปิดโล่งหลังคาใน บางส่วน ให้แสงอาทิตย์ ได้สอดส่องลงมาภายในพื้นที่ส่วนกลางของสตูดิโอเป็นแสง จากธรรมชาติ สร้างบรรยากาศแห่งความอบอุ่น ผนังอาคารที่มีช่องลมเรียงเป็น จังหวะมีระยะที่พอเหมาะพอดี และประตูเข้าออกบานขนาดใหญ่ได้เปิดพื้นที่แก่ลมที่เกิด จากอาการหายใจออกของต้นไม้ ใบหญ้าที่ตั้งต้นตระหง่านพัดเองพลิ้วไหวภายนอก ตัวอาคาร ได้หลุดรอดเข้ามาในพื้นที่ภายใน เสมือนการได้เติมออกซิเจนให้กับพื้นที่ ได้กักเก็บอากาศธรรมชาติที่บริสุทธิ์ไว้รอให้ผู้ที่เข้ามาชมได้สัมผัส ดื่มด่ำ� และสูดดม อากาศบริสุทธืิเหล่านั้น ทั้งความอบอุ่นส่องสว่างจากแสงอาทิตย์ และลมหายใจของ ธรรมชาติ ที่ไม่อาจจะหาได้จากไฟนีออนและเครื่องปรับอากาศ อันความงดงามเหล่านี้ ไดอานา วอง ได้จัดการสตูดิโอของเธอให้เกิดประโยชน์ ใช้สอยได้สัมพันธ์ และเป็นหนึ่ง เดียวกับธรรมชาติ ทั้ง ดิน น้ำ� ลม และ ไฟ ได้หมุนเวียนอยู่ ในพื้นที่ส่วนตัวของเธอ
154
Diana Wang Studio Text : สิทธิพนธ์ เลาะไชยสงค์
และยังตกแต่งอาคารตามหลักฮวงจุ้ยต่อทิศทั้งแปด ที่มีแม่ธาตุทั้ง 5 ดิน น้ำ� ไฟ ทอง และไม้ ในความเชื่อที่เป็นสสารที่อยู่ ในทุกที่ เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่ง ได้สร้างความมี ชีวิตชีวาน่าอยู่น่าอาศัยอยู่เสมอ โดยเมื่อธาตุทั้ง 5 ประสานกันอย่างถูกต้องและ เหมาะสมแล้ว ก็จะก่อเกิดพลังงานอย่างมหาศาลที่มีความสามารถผลักดันปฏิกิริยา ต่อผูท้ ส่ี มั พันธ์เกีย่ วเนือ่ งกับสภาพของพืน้ ที่ อันแสดงถึงวิถแี ห่งปรัชญาของตะวันออก ต่อพลังงานหมุนเวียนในธรรมชาติ แสดงถึงจิตวิญญาณอันเป็นตัวตนของความเป็น เอเชียของเธอได้ย่างสมบูรณ์และหมดจด นับเป็นความประทับใจ และยังก่อให้เกิดแรงบันดาลใจให้กับตัวผมเอง เป็นอย่างมาก สำ�หรับการได้รับโอกาสเข้ามาสัมผัสกับวิถีชีว ิต ของศิ ล ปิ น ท่ า นนี ้ ในหลากหลายแง่มุม ทั้งในแง่ของการทำ�งาน และการใช้ชีวิตให้สัมพันธ์กับธรรมชาติ อย่างแนบเนียน ก็เพื่อความสุขสบายทั้งกายและใจ อันจะเป็นกำ�ลังให้แก่เราในการ สร้างสรรค์และพัฒนาผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่อง จนถึงตอนนี้ ผมจึงไม่สงสัยเลยว่า เพราะเหตุได ไดอานา วอง จึงยังมีกำ�ลังสร้างสรรค์ที่มากล้นเต็มเปี่ยมในจิตในใจของ เธออยู่เสมอ ทั้งที่อายุของเธอก็นับว่ามากแล้ว ก็คงเพราะความชาญฉลาดของเธอ ในการจัดการพลังงานต่างๆ ที่อยู่รอบกาย ได้ส่งผลเป็นกำ�ลังให้แก่จิตใจ และกำ�ลัง ภายในใจยังผันแปรผลักดันออกมาเป็นพลังสร้างสรรค์ ให้แก่เธอ เป็นพลังงานเกี่ยว เนื่องกันจากกายสู่จิต และจิตสู่กาย พึ่งพาอาศัยกัน มีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น ต่อเนื่องและเหมาะสม เป็นพลังหมุนเวียนอันเกื้อหนุนให้เธอได้มีความคิดสร้างสรรค์ และผลิตงานศิลปะของเธอออกมาอย่างสม่ำ�เสมอ จึงเป็นความงดงามอย่างมากมาย ที่ได้เข้ามาสัมผัสและเรียนรูช้ วี ติ ในการทำ�งานศิลปะของเธอ และทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ สำ�หรับการ เรียนรู้ ในครั้งนี้ ที่ไม่ ใช่แค่การเรียนรู้จากผลงานศิลปะของเธอเพียงอย่างเดียว แต่ยัง ได้เรียนรู้ถึงการใช้ชีวิตอย่างมีศิลปะของเธออีกประการหนึ่ง เป็นศิลปะเพื่อการใช้ชีวิต และการใช้ชีวิต เพื่อสร้างสรรค์ศิลปะ เป็นความงดงามที่ประกอบอยู่ทุกอณูในทุกช่วง เวลาแห่งชีวิตของศิลปินผู้มีนามว่า ไดอานา วอง
Diana Wang Studio Text : Sitthiphon Lochaisong
Calmness within a personal space where we are able to peacefully do our own things with a sense of ease and worry-free from outside disturbances from things or people is an ideal state to cultivate creative thinking, such as art, bringing contentment as though the mind has received nourishment and wisdom to those that view this work. At the same time, this will also continuously build personal skills in the way one thinks and how one’s thought process works when creating art. All of this is impressively exquisite for me after being given the opportunity to experience and learn from the works within Diana Wang’s studio. Seventy-seven year old artist Diana Wang is still full of creative energy to continuously produce and develop her work even with her mature age, but the passion she has for art is still strong and intense. This is apparent from her creations from paintings to her creative videos that captured the process of her creations (Action Painting) that are done outside of her studio and some within the studio. From being suspended from a cable floating through the air with a brush and painting on a giant canvas transferring her thoughts and emotions and feelings into that artwork. There is even accompanying music being played by her personally chosen band proving her attention to every detail in the creation of her work. As the music plays, it sets the mood while she sketched and that creates aesthetic sensations towards her work combining various fields of art, including visual art, musical art, and performance art. As a result, her artwork excitingly attracts the minds of those that view her work with fervour and being receptive of the aesthetics of art in various dimensions at the same time. It is as if she is conveying that the real meaning of art is art that sustains the mind without differentiating the type of work. The studio and the management of the limited workspace for maximum benefit shows the ability to design the building and usable space that will be suitable for creating artworks and relaxation leading to contentment and calmness. An example of this would be the way she stores her artwork that are neatly lined up behind a wall that slides in and
out. The spacing between each wall perfectly calculated and her work mounted on each wall. It is a tidy display that is simple and can be used to store as well as display her work at the same time. It is an ingenious solution and there is even the usage of natural energy that made Diana Wang’s studio even more intriguing in lighting and wind. Lighting was directed from the partial open roof for sunlight to filter through the centre of the studio. The natural light creates a warmth while the walls have been fitted with the right amount of air vents. The huge door allows fresh air and breeze in from the billowing tall trees that are lined outside as if to fill up the area with oxygen waiting to welcome visitors with the clean air. With the sun’s warmth and nature’s fresh air that cannot be found from neon lights or air-conditioning, Diana Wang has designed her studio to be one with nature, with the earth, water, air and illumination in an all round cycle with elements of fengshui from eight directions consisting of the 5 elements of earth, water, fire, gold and wood in the decor of the building. These elements are believed to be within all things and constant flowing, and when these elements are properly fused together, they can create an enormous energy pool that is beneficial to those that utilise that space. This demonstrates the Eastern philosophies in the circulation of natural energy and is evident of her true Asian roots. This has been an impressive experience inspiring me greatly gles that include her work, the way in which she leads her life seamlessly with nature giving as sense of peace for body and mind to inspire and develop art. I have no doubt why Diana Wang’s heart is boundlessly inspired even in her advanced years. It must be her ability to manage and utilise the surrounding energy that drives her creativity, it is an energy that is intertwined with the body and mind and vice versa. This energy is what drives her the ability to boundlessly create her artwork. It has been a beautiful experience to have had the opportunity to learn the way in which she works and, above all, this learning experience was not just about her artwork but also about how she makes living an art form. Art for living and living to create art. This is truly magnificent with each second in the life of an artist whose name is Diana Wang.
155
กิตติกรรมประกาศ
สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ขอขอบคุณเป็นอย่างสูงต่อคณะกรรมการ องค์กร และผู้ ให้การสนับสนุนทุกท่านที่มีส่วนช่วยให้นิทรรศการในครั้งนี้สำ�เร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะกรรมการ ดร.กมล ทัศนาญชลี ศิลปินแห่งชาติ ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศิลปินแห่งชาติ ศาสตราจารย์เดชา วราชุน ศิลปินแห่งชาติ ศาสตราจารย์อิทธิพล ตั้งโฉลก ศิลปินแห่งชาติ ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ศิลปินแห่งชาติ อาจารย์ธงชัย รักปทุม ศิลปินแห่งชาติ ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ศิลปินแห่งชาติ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร ศิลปินแห่งชาติ อาจารย์สมศักดิ์ เชาวน์ธาดาพงษ์ ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์ รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข อาจารย์พนม พรกุล ศาสตราจารย์พงษ์เดช ไชยคุตร รองศาสตราจารย์เทพศักดิ์ ทองนพคุณ อาจารย์เฉลิมศักดิ์ รัตนจันทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ รองศาสตราจารย์จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง รองศาสตราจารย์ ดร.สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาริน อาจารย์ชิโนรส รุ่งสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์รณภพ เตชะวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิกร คงคา ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ อาจารย์ชญานุตม์ ศิลปศาสตร์
องค์กร
สภาศิลปกรรมไทย สหรัฐอเมริกา สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยบูรพา 156
Acknowledgment
We would like to express our deepest gratitude to the following committee, organizations and individuals that have extended their generous assistance in making this project and catalogue possible. Committee Dr. Kamol Tassananchalee Thai National Artist Research Professor Nonthivathn Chandhanaphalin Thai National Artist Professor Decha Warashoon Thai National Artist Professor Ithipol Thangchalok Thai National Artist Professor Preecha Thaothong Thai National Artist Thongchai Rakpathum Thai National Artist Professor Vichoke Mukdamanee Thai National Artist Panya Vijinthanasarn Thai National Artist Somsak Chowtadapong Professor Thavorn Ko-Udomvit Associate Professor Parinya Tantisuk Panom Pornkul Professor Pongdej Chaiyakut Associate Professor Thepsakdi Thongnopkoon Chalermsak Radanachan Associate Professor Dr. Suppakorn Disatapundhu Associate Professor Jaruphan Supprung Associate Professor Dr.Sathit Thimwatbunthong Associate Professor Pisprapai Sarasarin Chinoros Roongsakul Assistant Professor Ronnapop Techawong Assistant Professor Wutigorn Kongka Assistant Professor Jehabdulloh Jehsorhoh Chayanoot Silpasart
Organizations
Thai Art Council, Los Angeles USA Royal Thai Consulate – General, Los Angeles Burapha University
157
158
นิทรรศการ โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย ครั้งที่ 6 ประจำ�ปี 2558 วันที่ 11 – 20 กันยายน 2558 ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำ�เนิน กรุงเทพฯ จัดโดย สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม เลขที่ 666 อาคารธนาลงกรณ์ ชั้น 17 ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบำ�หรุ บางพลัด กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 10700 www.ocac.go.th โทรศัพท์ 0 2422 8837 โทรสาร 0 2466 8069
ที่ปรึกษา นายชาย นครชัย | ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย นางสิรินชญา กันธิยะ | รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย บรรณาธิการ นายพิพัฒน์ เนี้ยวคงศักดิ์ | ผู้อำ�นวยการศูนย์หอศิลป์ สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กองบรรณาธิการ นางอลงกรณ์ จารุธีรนาท นางสาวอุษา แย้มบุบผา นางสาวพัทธ์ธิรา ปุณหวันลี้ตระกูล นางสาววิลาวัณย์ ถาวระ
159
160
Young Artists Talent #6 Exhibition th th 11 – 20 September 2015 at Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok Organized by Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of Culture, Thailand 17th Fl. Thanalongkorn Tower 666 Boromaratchonnani Road, Bang Plat, Bangkok 10700 www.ocac.go.th Tel. +66 2422 8837 Fax +66 2466 8069
Advisors Chai Nakhonchai | Director- General, Office of Contemporary Art and Culture Sirinchaya Guntiya | Deputy Director- General, Office of Contemporary Art and Culture Editor Phiphat Neawkongsak | Art Center Director, Office of Contemporary Art and Culture Assistant editors Alongkorn Jarudhiranart Usa Yamboobpha Patteera Punhavonleetakul Wilawan Thawara
161
162
163
164