HPMD DB60-002
คู่มือ
การดูแลตนเองสาหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัด
คณะกรรมการพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบาบัด งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2560 ดูเนื้อหาออนไลน์
ก
คานา การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดเป็นการให้สารเคมีเข้าไปในร่างกายเพื่อทาลายเซลล์มะเร็งให้ หยุดการเจริญเติบโตและแพร่กระจาย แต่อย่างไรก็ตาม ยาเคมีบาบัดอาจทาให้เกิดผลข้างเคียงได้ หลายประการ เช่น ผมร่วง คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เป็นต้น ซึ่งท่านสามารถดูแลตนเองเพื่อ ป้องกันอาการข้างเคียงต่างๆ นั้นได้ สมุดบันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด และ คู่มือการดูแลตนเองสาหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมี บาบัดเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้บุคลากรทางการพยาบาลบันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด เพื่อให้ท่าน ได้รับการดูแลตนเองต่อเนื่อง และ ท่านสามารถใช้เป็นคู่มือในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม คณะผู้จัดทา
มกราคม 2560
ข
สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ ข้อมูลผู้ปว่ ย บันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด ยาเคมีบาบัดคืออะไร ทาไมต้องรักษาด้วยยาเคมีบาบัด ยาเคมีบาบัดมีวธิ ีการให้อย่างไรบ้าง ยาเคมีบาบัดชนิดเดียวรักษาโรคมะเร็งได้หรือไม่ การให้ยาเคมีบาบัดจะต้องรักษานานเท่าไหร่ การรักษาด้วยเคมีบาบัดทาไมต้องใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน ผลข้างเคียงจากยาเคมีบาบัดมีอะไรบ้าง จะต้องปฏิบตั ิตวั อย่างไรเมื่อท่านได้รบั การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด เมื่อมีอาการคลื่นไส้อาเจียนจากยาเคมีบาบัด จะปฏิบตั ติ ัวอย่างไร ยาเคมีบาบัดทาให้เกิดแผลในช่องปากจะปฏิบตั ิตวั อย่างไร ในระหว่างให้ยาเคมีบาบัดควรรับประทานอาหารอย่างไร
หน้า ก ข ค ง 1 1 1 1 2 2 2 2 3 4 6 6 ยาเคมีบาบัดบางชนิอาจทาให้ผมร่วง จะปฏิบัติตัวอย่างไร 7 ยาเคมีบาบัดบางชนิดทาให้เกิดท้องเสียจะปฏิบัติตัวอย่างไร ยาเคมีบาบัดบางชนิดทาให้เกิดท้องผูกจะปฏิบัตติ วั อย่างไร 7 การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ 7 ท่านจะรู้ได้อย่างไรว่ามีเม็ดเลือดขาวต่า 8 ถ้ามีอาการชาปลายมือปลายเท้าจากยาเคมีบาบัดจะทาอย่างไร 8 ท่านจะทราบได้อย่างไรว่ามีภาวะแทรกซ้อนต่อตับ 9 ในช่วงทีม่ ารักษาด้วยยาเคมีบาบัดจะอยู่กบั คนในครอบรัวได้หรือไม่ 9 ในช่วงให้ยาเคมีบาบัด มีเพศสัมพันธ์ได้หรือไม่ 9 ในช่วงให้ยาเคมีบาบัดไปทางานได้หรือไม่ 9 ท่านควรดูแลตนเองทีบ่ ้านอย่างไร 10 ท่านอาจท้อแท้หมดกาลังใจ ท่านจะทาอย่างไร 10 กรณีที่เป็นผู้ปว่ ยในวัยเด็ก จะให้การดูแลด้านอารมณ์ วุฒิภาวะ และพัฒนาการของเด็กอย่างไร 10 มีอาการข้างเคียงอะไรที่จะต้องมาโรงพยาบาลด่วน 11 บรรณานุกรม 12
ค
ข้อมูลผู้ป่วย ระดับการศึกษา.................................................................................อาชีพ................................... สิทธิการรักษา....................................... .......................................................................................... ศาสนา....................หมายเลขบัตรประชาชน................................................................................... วันที่ออกบัตร.............................................................วันหมดอายุ................................................... เบอร์โทรศัพท์.................................................................................................................................. ที่อยู.่ ............................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ การวินิจฉัยโรค................................................................................................................................ ระยะของโรค.................................. .............................................................................................. สูตรยาเคมีบาบัด 1st line drug....................................................................................................................... 2nd line drug..................................................................................................................... 3rd line drug...................................................................................................................... การรักษาอื่นๆ ที่ได้รับ (เช่น การผ่าตัด/รังสีรักษา) ......................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... โรคประจาตัว..................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ยาที่รับประทานประจา.................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... สถานบริการสุขภาพใกล้บ้าน........................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................
ง
บันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด วันที่ให้
Course ที่
ยาเคมีบาบัดที่ได้รับ
ผู้ให้ยา
หมายเหตุ
จ
บันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด วันที่ให้
Course ที่
ยาเคมีบาบัดที่ได้รับ
ผู้ให้ยา
หมายเหตุ
ฉ
บันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด วันที่ให้
Course ที่
ยาเคมีบาบัดที่ได้รับ
ผู้ให้ยา
หมายเหตุ
ช
บันทึกการได้รับยาเคมีบาบัด วันที่ให้
Course ที่
ยาเคมีบาบัดที่ได้รับ
ผู้ให้ยา
หมายเหตุ
1
คู่มือการดูแลตนเองสาหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รบั ยาเคมีบาบัด เคมีบาบัดคืออะไร? ยาเคมีบาบัด คือ ยาหรือสารเคมีที่ใช้รักษามะเร็ง ออกฤทธิ์ต้านการแบ่งตัวของ เซลล์มะเร็ง ทาให้ไม่สามารถแบ่งตัวได้ นอกจากนี้ยังมียากลุ่มอื่นที่มีฤทธิ์คล้ายกับยาเคมีบาบัด เช่น ยาต้านฮอร์โมนซึ่งจะออกฤทธิ์ต้านการสร้าง หรือการใช้ฮอร์โมนในการเจริญเติบโตของ เซลล์มะเร็ง ทาไมต้องรักษาด้วยยาเคมีบาบัด? เพื่อให้หายจากโรค หรือควบคุมโรคให้หยุดเจริญเติบโต ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทา ความทุกข์ทรมานจากอาการต่างๆ ของโรค ทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ยืดระยะเวลาการกลับเป็นซ้า ของโรค และการรอดชีวิตของผู้ป่วยได้ ยาเคมีบาบัดมีวิธีให้อย่างไรบ้าง? การให้ยาเคมีบาบัดมีหลายวิธี ได้แก่ วิธีที่ 1 ยาฉีดเข้าหลอดเลือดโดยตรง วิธีที่ 2 ยาที่ผสมในน้าเกลือแล้วหยดเข้าทางหลอดเลือดดา วิธีที่ 3 ยาฉีดเข้าเฉพาะที่ เช่น เข้าทางทางไขสันหลัง/ ช่องท้อง/ กระเพาะปัสสาวะ หรือ ช่องเยื่อหุ้มปอด วิธีที่ 4 ยาเม็ดสาหรับรับประทาน วิธีที่ 5 ยาฉีดเข้าก้อนมะเร็งโดยตรง ยาเคมีบาบัดชนิดเดียว รักษาโรคมะเร็งได้หรือไม่? การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดส่วนใหญ่จะให้ยาหลายชนิดร่วมกัน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการรักษาและลดการดื้อยา การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดมีหลายวิธีการ เช่น การใช้ยาเคมีบาบัดเพียงอย่างเดียว ใช้รักษาเฉพาะในโรคมะเร็งที่ตอบสนองต่อยาเคมี บาบัดได้ดีและเป็นระยะแรก การใช้ยาเคมีบาบัดนาก่อนการผ่าตัดหรือรังสีรักษา เพื่อให้ก้อนมะเร็งยุบเล็กลง ทาให้ การผ่าตัด หรือฉายรังสีง่ายขึ้น การให้ยาเคมีร่วมกับรังสีรักษา การให้ยาเคมีบาบัดตามหลังการฉายรังสี หรือหลังผ่าตัด
2
การให้ยาเคมีบาบัด จะต้องรักษานานเท่าไหร่? การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดจะให้เป็นคอร์ส โดยระยะเวลา ที่ให้และจานวนครั้ง ของการให้ยาจะขึ้นอยู่กับชนิดของโรคมะเร็งที่เป็น และแผนการรักษาของแพทย์ การรักษาด้วยยาเคมีบาบัด ทาไมต้องใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน? การรักษาด้วยยาเคมีบาบัดส่วนใหญ่จะให้ยาหลายชนิดร่วมกันเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการรักษา ทาให้การตอบสนองต่อการรักษา ดีขึ้น ช่วยควบคุมโรคและลดการดื้อยา
ผลข้างเคียงจากยาเคมีบาบัดมีอะไรบ้าง? ผลข้างเคียงจากยาเคมีบาบัดที่พบบ่อย ได้แก่ อาการคลื่นไส้อาเจียน อาจเกิดขึ้นภายใน 1-6 ชั่วโมงหลังได้รบั ยาและอาจหายภายใน 24 ชั่วโมง หรืออาจต่อเนื่องไปถึง 5 วัน อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า อาจนานถึงสัปดาห์ หรือเดือน หลังจากการให้ยาเคมีบาบัด อาการผมร่วง ซึ่งอาจร่วงหลังจากให้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์ เม็ดเลือดต่าทั้งเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และเกล็ดเลือด จะทาให้ซีด เหนื่อย อ่อนเพลีย ติดเชื้อง่ายและเลือดออกง่าย อื่นๆ เช่น ท้องเสีย ท้องผูก ผิวหนังสีดาคล้า
จะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร เมื่อท่านได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัด ? เมื่อท่านมารับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัด แพทย์ พยาบาลจะให้ข้อมูลการปฏิบัติ ตัวแก่ท่าน และมีคู่มือการดูแลตนเองสาหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัด นอกจากนี้ ท่านยังสามารถ ซักถามข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการเพิ่มเติมจากเจ้าหน้าที่ เพื่อให้ท่านปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง โดยขณะ ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัด ท่านควรดูแลตนเอง ดังนี้ : พักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ อาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง เช่น แกงจืด โจ๊กหมู ใส่ไข่ นม เนื้อสัตว์ไขมันต่า ธัญพืชชนิดต่างๆ เช่น ขนมปังโอลวีท ขนมปังแครกเกอร์หรือ ขนมปังทาแยมผลไม้ ผักสด หรือผลไม้สดที่ล้างอย่างสะอาด สามารถนามาคั้นแช่เย็นหรือ ปั่นใส่น้าหวานเพื่อเพิ่มพลังงาน ดื่มน้ามากกว่า 2 ลิตรต่อวัน จะทาให้เกิดความชุ่มชื้นในปาก
งดสูบบุหรี่ งดดื่มแอลกอฮอล์ รับประทานยาอย่างถูกต้อง ตามแพทย์/พยาบาลแนะนา
3
ระมัดระวังอย่าให้ผิวหนังและหนังศีรษะถูกแสงแดดโดยตรง เพราะผิวหนัง และหนังศีรษะ จะไวต่อแสงแดดมากขึ้นจากยาเคมีบาบัด โดยการสวมหมวก ใส่เสื้อแขนยาวและใช้ร่ม เมื่อออกแดด เรียนรู้วิธีดูแลตนเองเพื่อป้องกันคลื่นไส้ อาเจียน ผมร่วง ภาวะซีด เม็ดเลือดขาวและ เกล็ดเลือดต่า โดยศึกษาจากคู่มือฯ รักษาสุขอนามัยของร่างกาย เสื้อผ้า อาหาร ที่อยู่อาศัย ออกกาลังกายเช่น เดิน ให้พอเหมาะกับสภาพร่างกาย ถ้ามีไข้ หรือท้องเสียร่วมกับมีไข้ ควรรีบปรึกษาแพทย์/พยาบาลทันที เมื่อมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากยาเคมีบาบัด ท่านจะปฏิบัติตัวอย่างไร? รับประทานยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา แต่ถ้ายังมีอาการ คลื่นไส้อาเจียนอยู่ ควรปรึกษาแพทย์ หรือพยาบาล เพราะปัจจุบันมียาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนหลายชนิดที่ควบคุมอาการได้ดี นอกจากนีค้ วรรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง หลีกเลี่ยงอาหารมันและมีกลิ่นฉุน เช่น เครื่องเทศ กระเทียมเจียว จิบน้าบ่อยๆ หลังรับประทาน อาหาร ไม่ควรนอนทันที นอกจากนี้ท่านอาจนาวิธีการกดจุดด้วยตนเองหรือใช้สายรัดข้อมือบริเวณ จุดเน่ยกวาน (Pericardium 6: P6) โดยตาแหน่งนี้อยูบ่ ริเวณฝ่ามือด้านนอก ห่างจากข้อมือ ประมาณ 3 นิ้วมือผู้ป่วยวางทาบ ตามภาพ
4
รับประทานผลไม้ รสเปรี้ยว เพื่อกระตุ้นให้อยากอาหาร
ดื่มน้าขิง โดยการต้มน้าขิงที่มีอายุแก่ประมาณ 1 ปี ประมาณ 100-300 กรัม หั่นเป็นแว่น แล้วสับให้ละเอียดใส่น้า 500 ซีซี ต้มจนเดือด 5 นาที กรองเอาขิงออก ดื่มครั้งละ 1 แก้ว ก่อนอาหาร 30 นาที เช้า กลางวัน เย็นและก่อนนอน
ยาเคมีบาบัดบางชนิด ทาให้ช่องปากเป็นแผล จะปฏิบัติตัวอย่างไร?
การดูแลเพื่อป้องกันช่องปากอักเสบ แปรงฟันอย่างถูกวิธี ทามุม 45 องศา กับเหงือกและฟัน เริ่มที่โคนฟันก่อน ควรใช้ยาสีฟัน ผสมฟลูออไรด์ ใช้แปรงที่มีขนอ่อนนุ่ม ควรเปลี่ยนแปรงสีฟันทุก 1 เดือน บ้วนปากด้วยน้าเปล่าหรือน้าเกลือ โดยอมกลั้วในปากและคอนาน 30 วินาที หลังอาหาร ทุกมื้อ รักษาความชุ่มชื้นในช่องปาก ไม่ควรใช้น้ายาบ้วนปากที่มีแอลกอฮอล์ผสม ให้อมน้าแข็ง ก่อนให้ยา 5 นาที โดยเคลื่อนก้อนน้าแข็งไปมาทั่วทั้งปากต่อเนื่องเป็นเวลา 30 นาที โดยอมน้าแข็งทุก 2 ชั่วโมง ครั้งละ 5 นาที จนกระทั่งถึงเวลาก่อนนอน
5
การได้รับยากลุ่มอ็อกซาลิพลาติน (Oxaliplatin) ผู้ป่วยไม่ควรดื่มน้าเย็น อมน้าแข็ง หรือรับประทานอาหารที่มีความเย็น เพราะจะทาให้เกิดอาการชาตามปลายมือปลายเท้า และเป็นตะคริว อาการข้างต้นอาจรุนแรงขึ้นในสภาวะอากาศหนาวเย็น ดังนั้นก่อนให้ ยาเคมีบาบัด 5 นาที ให้อมน้าผึ้ง กลั้วปาก 20 ซีซี เป็นเวลา 5นาที แล้วกลืนและให้ทุก 6 ชั่วโมง จนถึงเวลาก่อน ทาริมฝีปากด้วยวาสลีน และลิปมัน งดใช้ไหมขัดฟัน ในกรณีที่มีอาการเจ็บปวดหรือเกล็ดเลือดต่ากว่า 40,000 ลบ. มม. เลือกรับประทานอาหารที่นิ่มๆ เคี้ยวง่าย กลืนสะดวก ไม่เผ็ด เน้นอาหารที่ให้โปรตีนและพลังงานสูง เช่น ปลา ไข่ นมพร่องมันเนยหรือนมถั่วเหลือง 200 ซีซี ต่อครั้ง เช้า-เย็น
ดื่มน้ามากกว่า 2 ลิตรต่อวัน จะทาให้เกิดความชุ่มชื้นในปาก ดื่มเครื่องดื่มเย็นๆที่ให้พลังงาน เช่น น้าหวาน หรือน้าผลไม้ระหว่างมื้ออาหาร ยกเว้น ผู้ทไี่ ด้รับยาเคมีบาบัด กลุ่มอ็อกซา ลิพลาติน ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานหรือสัมผัสกับ ความเย็น
ถ้ามีฟันปลอม ควรถอดทาความสะอาดทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร และทุก 8 ชั่วโมง
ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
6
ช่วงให้ยาเคมีบาบัดบางชนิด ควรรับประทานอาหารอย่างไร? ช่วงมารักษาด้วยยาเคมีบาบัด ร่างกายจะต้องการอาหารมากกว่าปกติ เพื่อซ่อมแซมเซลล์ปกติที่อยู่ในร่างกาย ดังนั้นควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและพลังงานสูง เช่น ปลา ไข่ นมพร่องมันเนย นม ถั่วเหลือง อาหารเพิ่มธาตุเหล็ก เช่น ตับ ผักใบเขียว อาหารปรุงสุก สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆดิบๆ ของหมักดอง เช่น แหนม ก้อย ยา ปลาร้าดิบ เป็นต้น
ยาเคมีบาบัดบางชนิดทาให้ผมร่วง จะปฏิบัตติ ัวอย่างไร? ผมร่วงจากการได้รับยาเคมีบาบัด ขึ้นกับชนิดของยา จะเกิดประมาณ 2-3 สัปดาห์ เมื่อได้ยาครบแล้ว ผมจะงอกขึ้นมาใหม่ได้ ดังนั้นท่านสามารถสอบถามแพทย์ พยาบาล ถึงโอกาส เกิดผมร่วงจากสูตรยาเคมีบาบัดที่ได้รับ ควรตัดผมสั้น ใช้ผ้าโพกศีรษะใส่หมวกหรือใส่วิกผม หลีกเลี่ยงการทาสีผม ดัดหรือเป่าผม ไม่ควรใช้เสปรย์ฉีดผม ทาครีมกันแดดที่หนังศีรษะ จัดหาหมอนหนุนศีรษะที่นุ่ม ไม่ระคายเคือง
7
ยาเคมีบาบัดบางชนิดทาให้เกิดท้องเสียจะปฏิบตั ิตัวอย่างไร?
รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม ล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดเปรี้ยวจัด เผ็ดจัด หลีกเลี่ยงนม โยเกิร์ต กาแฟใส่นม ดื่มน้าเกลือแร่ โดยใช้น้าต้มสุก 1 ลิตร ผสมน้าตาล 1 ช้อนชา เกลือ 1 ช้อนชา หรือซื้อ ผงเกลือแร่มาดื่มก็ได้ รับประทานผลไม้ที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น กล้วย ฝรั่ง ยาเคมีบาบัดบางชนิด ทาให้เกิดท้องผูกจะปฏิบตั ิตวั อย่างไร?
ให้รับประทานอาหารที่มีกากใยมาก เช่น ผัก ผลไม้ ดื่มน้า มากๆ วันละ 2-3 ลิตร ออกกาลังกายเพื่อเพิ่มการเคลื่อนไหวของลาไส้ ปรึกษาแพทย์เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม
ป้องกันการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ? ยาเคมีบาบัดบางชนิดมีผลต่อกระเพาะปัสสาวะและไต ทาให้ติดเชื้อของ ระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนั้นท่านจะต้อง ดื่มน้ามากกว่า 8-10 แก้วต่อวัน สังเกตสีปัสสาวะ ถ้ามีสีน้าล้างเนื้อ ต้องรีบแจ้งแพทย์ พยาบาล ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ ท่านจะรู้ได้อย่างไรว่า มีเม็ดเลือดต่า? การให้ยาเคมีบาบัดจะมีผลให้มีเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดต่า เสมอ โดยปกติเมื่อมารับยาเคมีบาบัด จะมีการตรวจเลือดก่อนมารับยาเคมีบาบัดทุกครั้ง อาการที่ อาจบ่งบอกถึงการมีเม็ดเลือดต่า ดังนี:้ เม็ดเลือดขาวต่า จะรู้สึกอ่อนเพลีย
8
เม็ดเลือดแดงต่า หรือ ซีด จะอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ผิวหนัง ใบหน้า ริมฝีปากแลดูซีด อาจมีเท้าบวม เกล็ดเลือดต่า เลือดออกง่าย มีจุดจ้าเลือดแดงๆตามผิวหนัง การดูแลตนเองเมื่อมีเม็ดเลือดขาวต่า หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิด ผู้ที่มีโรคติดเชื้อ เช่น หวัด ไข้ออกหัด อีสุอีใส และไม่ควรเข้าไปอยู่ในที่ชุมชน ล้างมือให้สะอาดด้วยน้าสบู่ รับประทานอาหาร ที่ปรุงสุก สะอาดและดื่มน้าสะอาด สังเกตอาการของการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบ ถ้ามีอาการดังกล่าว ให้รีบมาโรงพยาบาล โดยไม่ต้องลองรับประทานยาลดไข้ การดูแลตนเองเมื่อมีเม็ดเลือดแดงต่า เม็ดเลือดแดงต่าจะทาให้ท่านเหนื่อยล้าง่าย ท่านควร ออกกาลังกายสม่าเสมอ โดยการเดินออกกาลังกาย 15-30 นาทีต่อวัน จานวน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ หลีกเลี่ยงการออกกาลังกายในตอนเย็น นอนหลับพักผ่อนและเข้านอนให้ตรงเวลา หลีกเลี่ยง การดื่มกาแฟที่มีคาเฟอีน รับประทานอาหารให้เพียงพอ ฟังเพลงที่ชอบ ฝึกผ่อนคลายหรือ ทาสมาธิเป็นต้น การดูแลตนเองเมื่อมีเกล็ดเลือดต่า หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทาให้เกิดแผล สังเกตอาการตัวเอง เช่น จุดจ้าเลือดตามตัว เลือดออกตามไรฟัน หรือมีประจาเดือนออกมากผิดปกติ ออกกาลังกาย แบบเบาๆ ไม่หักโหม ใช้แปรงสีฟันขนนุ่ม ไม่ควรซื้อยากินเอง และงดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ถ้ามีอาการชาปลายมือ ปลายเท้าจากยาเคมีบาบัด จะทาอย่างไร? อาการชาปลายมือปลายเท้า พบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัดบางชนิด ทาให้ สูญเสียความรู้สึกสัมผัส ให้สังเกตว่ามีปัญหาการสวมรองเท้าเลื่อนหลุด การหกล้ม การเดินงุ่มง่าม การสูญเสียความรู้สึกในการหยิบจับของชิ้นเล็กๆหรือไม่ ให้ผู้ป่วยระมัดระวังการใช้ของมีคม ให้ออกกาลังมือโดย ขยับนิ้วมือ กามือและคลายมือ นับ 1-5 ครั้ง และให้ทาทั้งหมด 2 ครั้ง
การบริหารด้วยลูกบอล ถือลูกบอลที่ฝ่ามือ บีบลูกบอลให้แน่นที่สุด กาค้างไว้แล้ว นับ 1-5 แล้วคลายมือออกทาทั้งหมด 2 ครั้ง
การบริหารเท้า จับราวไว้แล้วใช้ปลายนิ้วเท้ายืนเขย่งลงที่พื้น นับ 1-5 ครั้งและให้ทาทั้งหมด 2 ครั้ง
9
ท่านจะทราบอย่างไรว่ามีภาวะแทรกซ้อนต่อตับ ? ให้ท่านติดตามผลการตรวจการทางานของตับ อาการตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะ มีสีเหลืองเข้ม ปวดใต้บริเวณชายโครงด้านขวาตับโต มีภาวะท้องโต อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ถ้ามีอาการผิดปกติให้รายงานแพทย์ทราบ เพื่อให้รักษาที่เหมาะสม ในช่วงที่มารักษาด้วยยาเคมีบาบัด จะอยู่กับคนในครอบครัวได้ไหม? มะเร็งไม่ใช่โรคติดต่อ ถึงแม้ว่ายาเคมีบาบัดจะถูกขับออกทางอุจจาระหรือปัสสาวะ ในช่วง1-2 สัปดาห์ แรก แต่ยาเคมีบาบัดที่ถูกขับออกมามีปริมาณน้อยมาก จึงไม่เกิดพิษต่อผู้อื่น ดังนั้นการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัดจึงไม่มีอันตราย ญาติควรให้กาลังใจให้ผู้ป่วยมีพลังใจ ที่จะอยู่กับสภาวะโรคที่เป็น ในช่วงให้ยาเคมีบาบัด มีเพศสัมพันธ์ได้หรือไม่? ในระหว่างการรักษา แพทย์ไม่ได้ห้ามการมีเพศสัมพันธ์ ทั้งนี้ขึ้นกับสุขภาพโดยรวม ของผู้ป่วย แต่ในผู้ป่วยหญิงวัยเจริญพันธ์ ควรคุมกาเนิดตลอดระยะเวลาที่ให้ยาเคมีบาบัด เพราะ การตั้งครรภ์อาจทาให้ทารกในครรภ์พิการได้ ช่วงให้ยาเคมีบาบัดสามารถไปทางานได้หรือไม่ ? ในระหว่างการรักษา ท่านสามารถไปทางานได้ อย่างไรก็ตาม ขึ้นกับสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยแต่ละคน และตารางการให้ยาเคมีบาบัดและลักษณะงานที่ทา เมื่อแพทย์สั่งยาเคมีบาบัด พยาบาลจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาเคมีบาบัดที่ได้รับ อาการข้างเคียง ความถี่ในการให้ยาและจานวน วันที่จะได้รับยา หลังได้รับยา 10-14 วัน ท่านอาจเกิดภาวะเม็ดเลือดขาวต่าได้ ดังนั้น ต้องระวัง การติดเชื้อ ควรหลีกเลี่ยงสถานที่อากาศถ่ายเทไม่สะดวก และการทางานจะต้องหลีกเลี่ยง การทางานหนัก สถานที่ทางานกลางแจ้งและสถานที่แออัด ท่านควรดูแลตนเองที่บ้านอย่างไร ? ท่านควรทากิจวัตรประจาวันโดย อาบน้าให้สะอาดโดยใช้สบู่อ่อนๆวันละ 1-2 ครั้ง สระผมโดยใช้แชมพูอ่อนๆ สัปดาห์ละ1-2 ครั้ง แปรงฟันด้วยแปรงสีฟันที่มีขนอ่อนนุ่ม เช้าเย็น ถ้าปากเป็นแผลให้บ้วนปากด้วยน้าเกลือหลังอาหารทุกครั้ง ออกกาลังกายโดยเดินในตอนเช้าหรือ เย็น ครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 4-6 ครั้ง จะช่วยลดอาการเหนื่อยล้าได้ สาหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ต้องออกกาลังแขนและไหล่ทุกวัน เพื่อป้องกันภาวะแขนบวม
10
การปฏิบัติตัวขณะอยู่บ้าน ดูแลร่างกายให้มีสุขภาพแข็งแรงโดยการรับประทานอาหารให้ ถูกส่วน ทาจิตใจให้เข้มแข็ง หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด หรือเข้าใกล้คนที่เป็นหวัด ไอ วัณโรค ดูแล สิ่งแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย อากาศถ่ายเทได้ดีเพื่อป้องกันการติดเชื้อและการเกิดอุบัติเหตุ ท่านอาจท้อแท้ หมดกาลังใจ ท่านจะทาอย่างไร? ท่านสามารถเสริมสร้างกาลังใจด้วยตัวเอง หรือพูดคุยกับพยาบาล ทั้งเรื่องการเจ็บป่วย ปัญหาทีพ่ บ เพื่อหาสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน หากท่านยังมีข้อสงสัย สามารถพูดคุยเพื่อหา แนวทางใหม่ๆ เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหาเพิ่มเติม จากนั้นลองพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทั้ง ทางบวกและทางลบในการแก้ใช้วิธีแก้ปัญหาแต่ละอย่าง กรณีที่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ท่าน เริ่มปรับทีละน้อยและให้กาลังใจตัวเองอยู่เสมอว่า เราต้องทาได้ จากนั้นท่านลองเล่าวิธีแก้ไขปัญหา ทีเ่ คยทาแล้วได้ผล ให้พยาบาลหรือคนที่ไว้วางใจฟัง หากท่านพบปัญหาใหม่ เราลองนาวิธีการทา ที่ได้ผลมาใช้เพื่อแก้ปัญหาไปทีละเรื่องๆ จะได้มีกาลังใจและปรับตัวกับเรื่องต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ กรณีที่เป็นผู้ป่วยในวัยเด็ก ผู้ดูแลจะให้การดูแลด้านอารมณ์ วุฒิภาวะ และ พัฒนาการของเด็กอย่างไร? ให้ปฏิบัติเป็นปกติกับผู้ป่วยเด็ก เช่น ระเบียบวินัย การลงโทษตามความเหมาะสม แต่ไม่ควรทุบตี หยิก หรือกระทาการใดๆที่อาจทาให้เกิดอาการเขียวช้า บาดเจ็บ หรือ มีเลือดออก ไม่ตามใจเด็กทุกอย่าง แต่ควรอธิบายให้เข้าใจ บอกความจริงกับเด็กถึงขั้นตอนการรักษา เช่น การเจาะเลือด เจาะไขกระดูก และ เจาะไขสันหลัง เป็นต้น ผู้ปกครองควรให้ความรัก ความอบอุ่น กาลังใจ และกล่าวชมเชยเมื่อเด็กทาสิ่งต่างๆได้ หากเด็กไม่ให้ความร่วมมือในการทาหัตถการ ไม่ควรตานิ ดุ ด่าทอ แต่ควรให้กาลังใจว่า ครั้งต่อไปคงทาได้ดีกว่านี้ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจของเด็กให้ดาเนินไปตามปกติ และส่งเสริมการเล่นที่ ไม่เป็นอันตราย เช่น วาดรูป ระบายสี ถ้าโรคอยู่ในระยะสงบอาจให้เด็กไปโรงเรียนได้ แต่ ไม่ควรให้เล่นกีฬาที่รุนแรง เช่น เทควันโด ยิมนาสติก และ ฟุตบอล เป็นต้น
11
มีอาการข้างเคียงอะไร ที่ต้องมาโรงพยาบาลด่วน? ท่านควรปรึกษา แพทย์/พยาบาล หรือ มาโรงพยาบาลด่วน เมื่อ ท้องเสีย ร่วมกับมีไข้ ท้องเสีย ถ่ายเป็นน้ามาก ถ่ายไม่หยุด ถึงแม้จะรับประทานยาบรรเทาอาการท้องเสีย และ/หรือ ผงเกลือแร่แล้ว ท้องผูกมาก /ปวดท้อง มีไข้สูง 38°C ขึ้นไป (ท่านควรจึงมีปรอทวัดไข้ และรู้จักวิธีวัดปรอท) คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง หรือ เป็นเลือด มีเลือดออก โดยเฉพาะถ้าออกแล้วไม่หยุด อาการอื่นๆ ถ้าเป็นมาก
12
บรรณานุกรม จรรยา ศรีแสงจันทร์ และพัชรี คาวิลัยศักดิ์. (2550). อาการอันไม่พึงประสงค์จากยาเคมีบาบัด. สุรพล เวียงนนท์ และอรุณี จตศรีสุภาพ. (บรรณาธิการ). การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง. (หน้า 49-55). ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา. วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร. (2554). การพยาบาลที่เป็นเลิศในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง. สงขลา : ชาญเมืองการพิมพ์. สุวรรณี สิริเลิศตระกูล, สุวลักษณ์ วงศ์จรรโลงศิล, ประไพ อริยประยูร และแม้นมนา จิระจรัส. (บรรณาธิการ). การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง. สมุทรปราการ : สินทวีกิจ พริ้นติ้ง. อุบล จ๋วงพานิช. (2554). คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบาบัด. ขอนแก่น : หอผู้ป่วยเคมีบาบัด 5จ แผนกการพยาบาลบาบัดพิเศษ งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์.
13
ผู้นิพนธ์ 1. นางอุบล จ๋วงพานิช พยาบาลเชี่ยวชาญ 2. นางมัทรี ศรีพรรณ พยาบาลชานาญการ หัวหน้าหน่วยเคมีบาบัดผู้ป่วยนอก แผนกการพยาบาลบาบัดพิเศษ 3. นางอัมพร ลาสปิน่า พยาบาลชานาญการพิเศษ ห้องตรวจผู้ป่วยนอกอายุรกรรม แผนกการพยาบาลผู้ป่วยนอก 4. นางอภิญญา คารมณ์ปราชญ์ พยาบาลชานาญการพิเศษ รักษาการหัวหน้าหอผู้ป่วยพิเศษ 6ข 5. นางพรนภา บุญตาแสง พยาบาลชานาญการพิเศษ รักษาการหัวหน้าหอผู้ป่วยนรีเวช 5ข 6. นางสาวสุนัน เลขวรรณวิเศษ พยาบาลชานาญการ ประจาห้องตรวจศัลยกรรมเบอร์ 4 (ตึก สว.1) 7. นางธนิดา แปลกลายอง พยาบาลชานาญการพิเศษ หอผู้ป่วยเด็ก 3ง แผนกฯกุมาร 8. นางสาวดรุณี สังสหชาติ พยาบาลชานาญการพิเศษ ห้องตรวจกุมารเวชกรรม 9. นางสาวรพีพรรณ บุญเยือง พยาบาลชานาญการ หอผู้ป่วยรังสีรักษา 5ก แผนกการพยาบาลบาบัดพิเศษ 10.นางสาวณัฏฐ์ชญา ไชยวงษ์ พยาบาลชานาญการ ประจาหอผู้ป่วยเคมีบาบัด 5จ แผนกการพยาบาลบาบัดพิเศษ สังกัด : งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทรศัพท์ : 043-363084 โทรสาร : 043-363825