โภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

Page 1

โภชนาการกับโรคปอดอ ุดกันเรือรัง

Eat Right , Breath Easy

จัดทําโดย จุฑามาศ กองผาพา เพียงทิฆมั พร นิ ลเพชร์ เพ สุดารัตน์ กองสูง คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


บันทึกสุขภาพ ชื่อ-สกุล.................................................................................อายุ....................ป โรงพยาบาล..ศรีนครินทร......HN…......แพทยเจาของไข........................................ Chronic Obstructive Pulmonary Disease(COPD) Asthma โรคประจําตัวรวม................................................................................................. สวนสูง..........ซม.น้ําหนักปกติ(UBW)…….กก.น้ําหนักตัวที่เหมาะสม(IBW)........กก. เบอรโทรศัพท...........................................กรณีฉุกเฉิน......................................... น้ําหนัก

BMI

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ดัชนีมวลกาย(BMI) =

ครั้งที่ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

น้ําหนัก

BMI

น้ําหนัก (กก.) สวนสูง(เมตร)

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ...

COPD

คือ โรคปอดชนิดเรื้อรังที่ผูปวยจะมีพยาธิสภาพของถุงลมโปงพอง (Emphysema) และ/หรือหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) เกิดรวมกัน อาการหลักคือไอ มีเสมหะ หรืออาการ หายใจเหนื่อยที่คอยๆเปนมากขึ้นเรื่อยๆ

สาเหตุหลักของโรค มากกวา 90 % เกิดจากการสูบบุหรี่เปนระยะเวลาติดตอกัน นานและสาเหตุอื่นคือขาดสารพันธุกรรม alpha-1 antitrypsin ซึ่งทํา ใหเกิดการเรงภาวะถุงลมโปงพองกอนวัยอันควรแตภาวะนี้พบไดนอยมาก

การรักษา คือ การหยุดสาเหตุ และรักษาแบบประคับประคองตาม อาการ ซึ่งจะไมไดทําใหพยาธิสภาพของโรคหายไป เพียงแคหยุดการ ดําเนินของโรค/การลุกลามของโรค และทําใหอาการดีขึ้น

ดังนั้น ควรงดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงบริเวณที่มี ควันพิษ..นะครับ

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


สภาวะของผูปวยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ...

COPD

1. กลามเนื้อการหายใจเมื่อยลางาย 2. ความแข็งแรง (Strength) และความทนทาน (Endurance) ของ กลามเนื้อในการหายใจลดลง 3. เกิดความเสี่ยงตอภาวะติดเชื้อ (Infection) มากขึ้น 4. มีภาวะทุพโภชนาการ ผอม น้ําหนักตัวลด ไมมีเรี่ยวแรง

มินาละครับ... ผมทํา อะไรก็ เหนื่อยหอบ งายมากเลยครับ

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


หลักปฏิบัติในการรับประทานอาหาร  ควรกินอาหารเพื่อใหมีน้ําหนักตัวคงที่หรือรักษาน้ําหนักตัวไมให

ลดลง  ควรกินอาหารที่ชวยใหกลามเนื้อหายใจทํางานไดดีไมทําใหเคี้ยว และกลืนลําบาก  ควรกินอาหารเพื่อเสริมภูมิคุมกันของรางกายชวยตอตานเชื้อโรค การไดรับอาหารที่เหมาะสม จะชวยลดระดับ คารบอนไดออกไซด ในเลือดและชวยการหายใจดีขึ้น -

ในผูปวย COPD ที่มีอาการเหนื่อยหอบ หรือมีภาวะ คารบอนไดออกไซดในเลือดสูงจากการกินอาหารที่มี คารโบไฮเดรตสูง ควรเปลี่ยนเปนกินอาหารที่มีไขมันสูงแทนสัก ระยะ

-

ในผูปวย COPD ที่มีอาการคงทีอ่ าจไมตองกินอาหารทีม่ ีไขมันสูง และคารโบไฮเดรตต่ํา เพราะเกิดอาการทองอืดหรือทองเสียได

-

ในผูปวย COPD ที่มีอาการโรคหัวใจรวมดวยนั้น ตองระวัง อาหารที่มีไขมันสูง ควรเลือกทั้งปริมาณและชนิดของไขมันโดย เนนกินอาหารกลุมไขมันไมอิ่มตัวจะชวยปองกันการเกิดไขมันอุด ตันในเสนเลือด

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


-ผูปวย

COPD เสี่ยงตอการเกิดกระดูกพรุน วิตามินดีต่ํา มวล

กลามเนื้อนอยและ BMI (ดัชนีมวลกาย) ต่ํา แนะนําใหกน ิ นม เนยและ โยเกิรตเพิ่มแคลเซียม -

การกินอาหารกลุมโปรตีน เพื่อปองกันการเกิด กลามเนื้อลีบเล็ก ออนแรงและการหายใจดีขึ้น โดยทั่วไปแนะนํา ใหกินโปรตีน 1.2-1.7 กรัม/วัน/น้ําหนักตัว 1 กก. เชน น้ําหนักตัว 55 กก. X 1.2 = ตองกินโปรตีน 66 กรัม ตอ วัน น้ําหนักตัว 55 กก. X 1.7 = ตองกินโปรตีน 93.5 กรัม ตอ วัน

เอะ ! แลวที่วา ตองกินโปรตีน 66 กรัม ตอวัน มันคือยังไงนะ ??

มาทําความเขาใจอาหาร แลกเปลี่ยนหมวดเนื้อสัตว กันกอนนะครับ (หนา 13)

อยาลืมเรื่องการดื่มน้ํา ดวยนะครับ ! ควรดื่มวันละ 2- 3 ลิตร เพื่อใหเสมหะไอออกไดงาย และไมดื่มน้ําบอยในระหวางกินอาหาร .... ไมควรยกขวด แลวกรอกเขาปากเพราะทําใหเกิดการสําลักไดงาย

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


ทําไมถึงตองลดการกินคารโบไฮเดรต ??? แหลงของพลังงานที่รางกายไดรับจากอาหาร คารโบไฮเดรต

+ ออกซิเจน + ADP+Pi

CO2 + H2O + ATP

พลังงาน

โปรตีน ไขมัน

ปริมาณคารบอนไดออกไซดที ท่เี กิดจากอาหาร ดูคา RQ (Respiratory Quotient) = ปริมาณคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้น

ปริมาณออกซิเจนที่ใชไป RQ คารโบไฮเดรต = 1, ไขมัน = 0.7, โปรตีน = 0.8

นั่นแสดงวา หากกินคารโบไฮเดรตจะผลิตคารบอนไดออกไซด มากที่สุด รองลงมาคือ ไขมันและโปรตีน

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


ผูปวยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรังกับภาวะทุพโภชนาการ ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) คือภาวะที่รางกายไดรับพลังงาน หรือสารอาหารมากหรือนอยเกินไปไมสมดุลตอความตองการของรางกาย ผูปวย COPD พบวามีภาวะทุพโภชนาการในลักษณะขาด สารอาหารน้ําหนักลดและผอมลง ถึง 40-70 % เพราะ รางกายตองการพลังงานมากขึ้นในการใชหายใจ เมื่อผูปวยไดรับพลังงานไมเพียงพอกับที่ใชไปทําใหรางกายตอง สลายไขมันและกลามเนื้อของรางกายออกมาเปนพลังงานจึงทํา ใหกลามเนื้อออนแรงและน้ําหนักตัวลดลงเรื่อยๆ การหายใจที่ลําบากเปนเหตุใหการกลืนอาหารลําบากและเกิด การเบื่ออาหารไปดวย ยาที่ผูปวย COPD ไดรับมีผลขางเคียงตอระบบอาหารและลําไส หากมีปริมาณคารบอนไดออกไซด (CO2) ในรางกายมากจะทํา ใหชวงเชาเกิดอาหารปวดหัว สับสนมึนงง

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


การดูแลดานโภชนาการ  อาหารควรมีลักษณะไมตองออกแรงเคี้ยวมากและตองกลื กลืนงาย  ประเภทโปรตีนควรเลือกปลา ไข เตาหู นม เนื้อสัตวชนิดอื่นๆควรตมใหเปอย  ผลไมควรเลือกชนิดที่เคี้ยวงาย ไดแก มะละกอสุก มะมวงสุก แตงโม  อาหารประเภทผักควรหั่นเปนชิ้นเล็กๆ ตมหรือผัดใหนิ่ม  กินไขมันเพิมขึ ม่ ขึ้นเล็กนอย แตควรเปนไขมันจากพืชมากกวาสัตว หรือหาก มาจากสัตวก็เนนจากปลา  ลดปริมาณกาซออกซิเจนที่รางกายเคี้ยวและยอยอาหารแตละมื้อโดยการ กินอาหารปริมาณนอยแตบอย คือ วันละ 4-6 มื้อเล็ก

เอะ!!!ถาเรากิน ไมไดทําไงดี

ในกรณีที่ผูปวยมีปญหาดานการกลืน หรือไมสามารถรับประทานอาหารได เพี ย งพอ ควรได รั บ การเสริ ม ด ว ย อาหารทางการแพทย เ พื่ อ ช ว ยเพิ่ ม พลังงานและน้ําหนักตัวครับ

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


หลักในการจัดอาหาร สําหรับผูปวยปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ขั้นตอนที่ 1 แบงจานขนาดมาตรฐาน 9 นิ้วออกเปน 4 สวน สวนที่ 1 หมายถึง ¼ ของจานหมวดขาวแปง สวนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานหมวดเนื้อสัตว และอาหารทดแทนเนื้อสัตว สวนที่ 3-4 หมายถึง ½ ของจานเปนอาหารหมวดเนื้อสัตว

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


หลักในการจัดอาหาร สําหรับผูปวยปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ขั้นตอนที่ 2 สวนที่ 1 ผูปวยไดรับพลังงานเพียงพอ เพื่อปองกันโปรตีนถูกดึงไปใชเปน พลังงาน ใหเกิดภาวะขาดอาหารได ควรบริโภคขาวแปงอยางนอยมื้อละ 2 ทัพพี และควรอยูในปริมาณที่กําหนดเพราะถามากเกิดไปจะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด มากเกินไปสงผลตอระบบการหายจําใหหายใจลําบาก สวนที่ 2 หมายถึง ¼ ของจานเปนอาหารหมวดเนื้อสัตว และผลิตภัณฑจาก เนื้อสัตว เลือกกินปลา เนื้อหมู เนื้อไก ไข ไขขาว โดยกินมื้อละ 4-5 ชอน โตะหรือขึ้นกับตามความเหมาะสมของน้ําหนักตัว สวนที่ 3 และ 4 หมายถึง ½ ของจานเปนอาหารหมวดผัก  ควรเลือกกินผักมื้อละ 2-3 ทัพพี  ควรเลือกกินผักที่มีสีเขมๆเพราะมีโพแทสเซียมสูง ไดแก คะนา บร็อค โคลี่ เห็ด ฟกทอง มะเขือเปราะ เปนตน

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


หลักในการจัดอาหาร สําหรับผูปวยปอดอุดกั้นเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 3

ผลไม 1 จานเล็ก /1 สวน  ควรเลือกผลไมวันละ 1-2 จานเล็ก  1 จานเล็ก = ผลไม 8-10 ชิ้นคํา หรือผลไมขนาดกลาง 4 ผล หรือผลไมขนาดใหญ 1 ผล

น้ํา 1 แกว  

ควรดื่มนม และผลิตภัณฑของนม วันละ 1 แกว ควรดื่มวันละ 2- 3 ลิตร เพื่อใหเสมหะไอออกไดงาย

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


อาหารแลกเปลี่ยน รูไหมอาหารแลกเปลี่ยนคืออะไร?? ชนิดอาหารประเภทเดียวกัน และมีคุณคาทางโภชนาการ ใกลเคียงกันในการแลกเปลี่ยนชนิดอาหารจะใชหมุนเวียนใน หมวดเดียวกันหรือกับหมวดอื่นๆที่ใหสารอาหารคลายกัน (คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน)

หมวด ขาวแปง ปริมาณเปรียบเทียบขาว 1 สวน 1 ทัพพี หรือ 1/2ถวยตวง มีคารไบไฮเดรต 18 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 80 กิโลแคลอรี่

ขาวสวย 1 ทัพพี

ขนมปง 1 แผน

ขาวเหนียว 1 ชอนโตะ

ขาวโพด ½ ฝก

ขนมจีน 1 จับใหญ

เผือกตมสุก ทัพพี

มันเทศตมสุก 1 ทัพพี

แครกเกอร 5 แผน

เสนใหญ 1 ทัพพี

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


หมวด เนื้อสัตว ไขมันต่ํามากมีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 0-1 พลังงาน 35 กิโลแคลอรี่

ปลาทูขนาดกลาง 1 ตัว

เนื้อปลา 2 ชอนโตะ

หมึก 2 ชอนโตะ

กุง 4 ตัว ลูกชิ้นปลา 2 ชอนโตะ อกไกลอกหนัง 2 ชอนโตะ ไขมันต่ํามีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 3 พลังงาน 55 กิโลแคลอรี่

ปลากระปอง 2 ชอนโตะ เปดยางไมติดมัน 2 ชอนโตะ เนื้อไก 2 ชอนโตะ ไขมันปานกลางมีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 5 พลังงาน 75 กิโลแคลอรี่

เนื้อหมู 2 ชอนโตะ ไข 1 ฟอง เตาหูหลอด 1 หลอด ไขมันสูงมีโปรตีน 7 กรัม ไขมัน 8 พลังงาน 100 กิโลแคลอรี่

หมูยอ 4 แผน

กุนเชียง 2 ชอนโตะ

ไสกรอกอีสาน 3 ชิ้น

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


หมวด ผลไม 1 สวน มีคารไบไฮเดรต 1 กรัม โปรตีน 0 กรัม พลังงาน 60 กิโลแคลอรี่

แตงโม 10 ชิ้น

ฝรั่ง ½ ผล

องุน 8-10 ผล

ชมพู 3 ผล

แคนตาลูป 4 ชิ้น

เงาะ 4 ผล

กีวี 1 ผล

มะละกอ 3-4 ชิ้น

มังคุด 4 ผล

สับปะรด 8 ชิ้น

กลวยน้ําวา 1 ผล ลองกอง 6 ผล

***กรณีทองผูกควรดื่มน้ําผลไม เชน น้ําสมคั้น น้ําลูกพรุน และเพิ่ม

เสนใยอาหารจากผัก ผลไม ธัญพืชไมขัดสี จะชวยเพิ เพิ่มการเคลื่อนไหวใน ระบบยอยอาหาร โปรดทราบนะขอรับ ถาเกิดอาการ ทองอืดควรจํากัดอาหารที่ทําใหเกิดกาซ เชน แอบเปล กะหล่ําปลี บล็อกโคลี ถั่ว แตง ผักดอง เปนตน คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


หมวด ไขมัน 1 สวน ไขมัน 5 กรัม พลังงาน 45 กิโลแคลอรี่

น้ํามัน 1 ชอนชา

ถั่วลิสง 10 เม็ด

มะมวงหิมพานต 6 เม็ด

เบคอน 1 ชิ้นเล็ก

เนย 1 ชอนชา

เมล็ดฟกทอง 2 ชอนโตะ

นมขาดมันเนย

คารไบไฮเดรต 15 กรัมโปรตีน 8 กรัมไขมัน 0-3 กรัม พลังงาน 90 กิโลแคลอรี่

นมพรองมันเนย

คารไบไฮเดรต 15 กรัมโปรตีน 8 กรัมไขมัน 5 กรัม พลังงาน 110 กิโลแคลอรี ลแคลอ ่

นมสดยูเอชที

คารไบไฮเดรต 15 กรัมโปรตีน 8 กรัมไขมัน 8 กรัม พลังงาน 150 กิโลแคลอรี่

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


หมวด ผัก

ใครๆเคาก็บอกกินผักแลวดี ปริมาณ 1 สวน ผักสด 2 ทัพพี (70-100 กรัม) ผักสุก 1 ทัพพี (50-70 กรัม)

ผัก ก. สวนใหพลังงานนอยมากจึงรันปรานไดตามความตองการ

ฟก

ผักกาดขาว

ผักบุง

มะนาว สายบัว มะเขือเทศ ผัก ข. มีคารไบไฮเดรต 5 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 25 กิโลแคลอรี่

ถั่วลันเตา

ขาวโพดออน

ฟกทอง

มะระ

แครอท

หนอไมฝรั่ง

เห็ดหูหนู

แตงกวา

กะหล่ําดอก

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


แผนการทานอาหาร สําหรับผูปวยโรคปอดอุดกั้น COPD พลังงาน

ขาว/แปง (ทัพพี)

ผัก (ทัพพี)

ผลไม (สวน)

น้ํามัน (ชอนชา)

(Kcal) นม (สวน)

60 65 70 75 80 85 90 95 100

หมวดอาหาร เนื้อสัตว (ชอนโตะ)

ปริมาณ โปรตีน (กรัม)

12 13 14 15 16 17 18 19 20

1 1 1 1 1 1 1 1 1

6 7 8 9 9 10 10 11 12

3 4 4 4 4 4 4 4 4

2 2 2 2 2.5 2.5 3 3 3

5 5 5 5 5 5 5 5 5

1500 1600 1700 1800 1900 2000 2100 2200 2300

สโลแกนจํางายนิดเดียวครับ.... ลดขา ว/แปง เพิ่มพลั งงานและโปรตีนและทาน ไขมันที่ พอเหมาะ กินอาหารเคี้ยวกลื นงา ย แบ ง อาหารเปน 4-6 มื้อ/วัน เพื่อไดพลังงานเพียงพอ และลดคารบอนไดออกไซดในรางกาย

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


โซเดียม โซเดียม

คือ เกลือแรที่มีอยูในเลือด และมีบทบาทในการควบคุมปริมาณน้ํา

และความดันเลือด  การควบคุมปริมารโซเดียมในอาหาร จะชวยรักษาสภาวะน้ําในรางกายให อยูในระดับปกติ หลีกเลี่ยงการคั่งของน้ําในรางกาย และปองกันความ ดันโลหิต รวมทั้งการเกิดภาวะหัวใจลมเหลว  โซเดียมพบใน เกลือแกง น้ําปลา ซีอิ้วขาว ซอสปรุงรส ซึ่งผูปวยควร หลีกเลี่ยงอาหารที่อยูในรูปที่มีเกลือสูง ผงชูรส ผงปรุงรส รวมทั้งผงฟู ในเบเกอรี่ และควรใชเครื่องเทศและสมุนไพร มะนาว น้ําตาลในการ ควรหลีกเลี่ยง ชวยชูรสอาหาร  อาหารกระปอง  ขนมขบเคี้ยว ขนมปง ปริมาณโซเดียมที่ควรปริโภค  อาหารแปรรูป ลูกชิ้น 1 วัน = 2000 มิลลิกรัม ไสกรอก ปลาเค็ม  เครื่องปรุงรส (หรือเทากับเกลือ 1 ชอนชา)

ควรใชน้ําปลาไมเกิน 3 ชอนชาตอวัน หลีกเลี่ยงอาหารเค็มจัด

...“กินจืดยืดชีวิต”... คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรี รพ นครินทร


ตัวอยางเมนูอาหารอีสานสําหรับโรคปอดอุดกัน้ เรื้อรัง(COPD) มื้ออาหาร

รายการ อาหาร

พลังงาน 1500 Kcal

เชา

ขาวเหนียว แกงออมหมูผัก รวม ปนปลาชอน สม

2 คํา(เทาลูกมะนาว) หมูหั่นสุก 2 ชอนโตะ ผักไมจํากัด ปลาชอนสุก 2 ชอนโตะ 1 ผลกลาง

3 คํา(เทาลูกมะนาว) หมูหั่นสุก 3 ชอนโตะ ผักไมจํากัด ปลาชอนสุก 2 ชอนโตะ 1 ผลกลาง

2 คํา(เทาลูกมะนาว) ไมจํากัด 4 ชอนโตะ 1 กลอง 8 ชิ้นคํา 2 คํา(เทาลูกมะนาว) 4 ชอนโตะ ไมจํากัด 2 ชอนโตะ 1 ผลกลาง

3 คํา(เทาลูกมะนาว) ไมจํากัด 5 ชอนโตะ 1 กลอง 8 ชิ้นคํา 3 คํา(เทาลูกมะนาว) 5 ชอนโตะ ไมจํากัด 2 ชอนโตะ 1 ผลกลาง

วางเชา

กลางวัน ขาวเหนียว สมตํา ไกยาง วางบาย นมจืดมะละกอ สุก เย็น ขาวเหนียวปลา นิลนึ่ง ผักลวก แจวพริกสด กอนนอน แอปเปล

พลังงาน 1800 Kcal

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


บันทึก ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


เอกสารอางอิง Managing Malnutrition in COPD.2016. United Kingdom. http://www.malnutritionpathway.co.uk Rochelle Anthony. Nutritional Management of COPD:Chronic Disease Network and Access Program 2009. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.คุณคาทางโภชนาการของ อาหารไทย. พ.ศ.2535. ชนิดา ปโชติการ, สุนาฏ เตชางาม. กระบวนการใหโภชนบําบัดทางการแพทย:จาก ทฤษฎีสูการปฎิบตั ิ ปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการใหคําปรึกษาดานโภชนบําบัดแกผูปวยในโรงพยาบาล วันที่ 29-31 กรกฎาคม 2552. โรงพยาบาลราชวิถ.ี รุจิรา สัมมะสุต.อาหารแลกเปลี่ยนสําหรับผูปว ยเบาหวาน.เอกสารเผยแพร บริษัท แอบบอต จํากัด. รพีพร โรจนแสงเรือง.อาหารสําหรับโรคปอดอุดกัน้ เรื้อรัง,Available from: http://www.wongkarnpat.com/upfilepat/%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%9E%E0%B8% B2%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%20400.pdf

คูมือโภชนาการกับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) …. งานโภชนาการ รพ.ศรีนครินทร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.