กว่าจะเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์

Page 1

กวาจะเปนวิศวกรคอมพิวเตอร 1 First Edition

นังสือเลมนี้สามารถ คัดลอก ดัดแปลง แจกจายไดตามอัธยาศัย หามจําหนาย ‘Cell’, Initial concept design by James Alliban and Keiichi Matsuda. Photograph by Ghaasan Daghestani


2

คํานํา “โตขึ้น หนูอยากเปนอะไร” เปนคําถามยอดฮิตที่ ผูใหญชอบถามกับเด็กๆอยูเสมอ สมัยผูเขียนเปนเด็ก ก็เคยถูกถามแบบ นี้บอยๆ ซึ่งตอนนั้นผูเขียนเอง ก็ไมสามารถตอบไมไดอยางเต็มปากเต็มคํา เพราะดวยความเปนเด็กยัง ไมคิดถึงเรื่องอนาคตสักเทาไหร และไมรูซ้ําวามีอาชีพอะไรบางใหเลือก แถมซ้ํายังไมรูดวยวาอยากเปน อะไร แตสิ่งหนึง่ ทีผ่ ูเขียนรูอยูเสมอคือ ผูเขียนชอบเลนเกมสคอมพิวเตอร มาตั้งแตเด็กๆ จนถึงวันหนึ่ง วันที่คนทุกคนตองหยุดถามตัวเองวา “แลวจะเรียนอะไรดี ??” เลือกคณะอะไรดี จบมาจะทําอาชีพอะไร ซึ่งวันนั้น ผูเขียนสับสนมาก ทั้งคิด ทั้งถาม ทั้งฟง มีคําแนะนํามามากมายจากหลากหลายคน สุดทายผูเขียนเลือก เรียนวิศกรรมคอมพิวเตอร เพราะผูเขียนรูอยางเดียววา จบวิศวะโก และจบออกมาหาจะหางานไดงาย แตผูเขียนไมอาจ ทราบเลยวาจะตองเผชิญชะตากรรมอยางไร ในอีก 4 ปขางหนา ตองเรียนอะไรบางตองเจออะไรบาง และตองเตรียมตัวอยางไรบาง สรุปคือ ไปตายเอาดาบหนา หลังจากเรียนจบ และไดทํางานสั่งสมประสบการมาชวงระยะเวลาหนึ่ง ทําใหผูเขียนทราบ แลววาวันนั้น ผูเขียนตัดสินใจถูกเพราะโชคชะตา ดวยเหตุนี้ ทําใหผูเขียนอยากนําประสบกาณการเรียน และการทํางาน มาเปนแนวทาง ใหทุกคนทีฝ่ นอยากเปนวิศกรคอมพิวเตอร ไดมีโอกาสเตรียมตัวกอน ที่จะเจอของจริง และจะไดไมเสียเงินและเสียเวลา ถาหากตัดสินใจเลือกเรียนในสิ่งที่ตนเองไมชอบ เปรียบดั่งนักมวยที่ไดซอมกอนขึ้นเวทีชก เปรียบดั่งมีเข็มทิศเดินเขาปาใหญ เปรียบดั่งถือ มีดดาบเดินเขาสมรภูมริ บ และเปรียบดั่งแสงปลายทางในถ้ําอันมืดมิด หนังสือเลมนี้จัดทําเพื่อแจกเปนการกุศล แดครูอาจารย รวมถึงพอ แม ญาติพี่นอง อันเปนที่รัก ผูประสาทวิชาความรูและอนาคตที่ดี แดผูเขียน

อนุภาค มาตรมูล


3

ประวัติผูแตงหนังสือ

นายอนุภาค มาตรมูล ประวัติการศึกษา วศบ.คอมพิวเตอร (เกียรตินิยมอันดับ 1) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง MBA. (Finanance) ทุนรัฐบาลไทย Asian Institute of Technology

ประวัติการทํางาน

ผูตรวจสอบสถาบันการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย (ปจจุบัน) Software Engineer (Gosoft, TEAM Group, DST Worldwide Services)

ติดตอ: anupakm@bot.or.th, โทร: 02-283-5846, มือถือ: 083-904-7308


4

สารบัญ วิศวกรรมศาสตร มีสาขาอะไรบาง

หนา 5

ประวัติคอมพิวเตอร

11

ขอแตกตางระหวาง Com Eng, Com Sci, SE Eng, IT Eng, IT

19

รายชื่อมหาวิทยาลัย ที่เปดสอน

26

หลักเกณฑ การเขาศึกษาตอ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

29

คะแนน Adminission วิศวกรรมคอมพิวเตอร 4 ป ลาสุด

32

คายวิศวกรรมคอมพิวเตอร

35

กาวแรกในรั้วมหาวิทยาลัย

41

โครงสรางหลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร

44

วิธีเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร

46

รายละเอียด กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน

49

รายละเอียด กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา

98

กลุมวิชาเลือกสาขาเครือขาย

168

เกียรตินิยม (Honor) การภาคทัณฑ (Probation) และ การพนสภาพการเปนนักศึกษา (Retire)

182

เครื่องมือที่ใชในการเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร

184

หองวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร

185

IT Certificate สําหรับ วิศวกรรมคอมพิวเตอร

186

จบวิศวกรรมคอมพิวเตอร แลวทํางานอะไร

192

ศีกษาตอระดับปริญญาโท เอก

195

อางอิง

205


5

วิศวกรรมศาสตร มีสาขาอะไรบาง

วิศวกร เปนอาชีพตนๆที่คนสวนใหญฝนอยากเปน หากจะพูดถึงวิศวกร สิ่งแรกที่จะนึกถึง คือคนที่ใสหมวก safety สีเหลือง ยืนอานแปลนอาคาร แลวยืนชี้สั่งคนนั้นทีคนนี้ที คงเปนภาพคุนตาของ หลายๆคน แตนั่นเปนเพียงแคอาชีพหนึ่ง ของวิศวกร แตหากจะจําแนกสาขาอาชีพวิศวกรใหลึกลงไป คง แบงไดเพิ่มเติมดังนี้ วิศวกรรมเกษตร เปนศาสตรทศี่ ึกษาเกี่ยวกับ การออกแบบ การผลิต และประยุกตใชงานเครื่องจักรกลตางๆ ในงานเกษตรกรรม รวมถึงศึกษาดาน การจัดการทางดานพื้นดิน ชลประทาน พลังงาน และสิ่งแวดลอม เพื่อเพิ่มผลผลิต หรือลดแรงงานในการทําเกษตรกรรม ตัวอยางวิชาเรียน เชน กลศาสตรเครื่องจักรกล (Mechanics of Machinery) เครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery) วิศวกรรมดินและน้ํา (Soil and Water Engineering) ไฟฟาอุตสาหกรรม (Industrail Electrification) การออกแบบเครื่องจักร (Machine Design) เปนตน วิศวกรรมเคมี เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของกระบวนการผลิตตางๆ ทางอุตสาหกรรม เนนการ ออกแบบ และระบบควบคุมการทํางานของกระบวนการทางเคมี ในอุตสาหกรรมตางๆ โดยการนําเคมี วิทยาศาสตร ฟสิกส และคณิตศาสตรมาประยุกต ตัวอยางวิชาเรียน เชน เคมีวิเคราะห (Analytical Chemistry) เคมีฟสิกัล (Physical Chemistry) คณิตศาสตรประยุกตในทางวิศวกรรมเคมี (Applied Mathematics In Chemical Engineering) เทคโนโลยีปโตรเคมี (Petrochemical Technology) อุตสาหกรรมสีและสารเคลือบผิว (Paints And Surface-Coating Industries) พอลิเมอรและพลาสติก (Polymers And Plastices) วิศวกรรมชีวเคมี (Biochemical Engineering) เปนตน วิศวกรรมโยธา เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับ การสรางตึก อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนสงตางๆ รวมถึงระบบสาธารณุปโภคตาง เชน เขื่อน คลอง ฯลฯ โดยแบงยอยเปน สาขายอยไดอีก ดังนี้


6

วิศวกรรมโครงสราง (Structural Engineering) วิศวกรรมกอสรางและการจัดการ (Construction Engineering and Management) วิศวกรรมขนสง (Transportation Engineering) วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical engineering) วิศวกรรมธรณี (Geological engineering) วิศวกรรมสิ่งแวดลอม (Environmental Engineering) วิศวกรรมแหลงน้ํา (Water Resource engineering) วิศวกรรมสํารวจ (Survey Engineering) วิศวกรรมระบบควบคุม เปนสาขาที่เปดสอนเพียงไมกี่แหงในประเทศ และเปนที่ตองการมาก และยังขาดแคลน บุคคลกร โดยเปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกต ทฤษฏีระบบควบคุมแบบจําลองของ ระบบ และนําไปประยุกตใช เชน การอธิบายระบบตางๆ เปนสมการคณิตศาสตร จากนั้นดูความสัมพันธ และการเปลี่ยนแปลงตัวแปรตางๆ เพื่อไดแบบจําลองบนคอมพิวเตอร วาผลลัพธมีความเสถียรหรือไม จากนั้นนําระบบที่ออกแบบไปสรางระบบควบคุม โดยใช Microcontroller หรือ Embedded System เมื่อจบออกมาสวนมากทํางานในอุตสาหกรรมใหญตางๆ ตัวอยางวิชาเรียน เชน การวิเคราะหวงจรไฟฟา (Electric Circuit Analysis) พลวัดระบบ และการจําลองแบบ (System Dynamics And Modeling) ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) การคํานวณเชิงเลข (Numberical Computing) การควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control) การวิเคราะหระบแนวใหม (Modern System Anaysis) การควบคุมอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม (Industrial automation) เปนตน วิศวกรรมไฟฟา เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฏีและการประยุกตใช ไฟฟา (Electrical) คลื่นแมเหล็ก (Electromacnatic radiation) นํามาใชในชีวิตประจําวันทั่วไป เปนสาขาหนึ่งที่ไดรับความนิยมสูง เนื่องจาก จบออกไปมีตําแหนงงานรองรับมาก และยังเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน ตัวอยางวิชาเรียน เชน วงจรไฟฟา (Electric Circuits) วงจรดิจิทัล (Digital Circuits) สนามแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Fields) อิเล็กทรอนิกสวิศวกรรม (Engineering Electronics) ระบบไฟฟากําลัง (Electrical Power Systems) วิศวกรรมการสองสวาง (Illumnination Engineering) การวิเคราะหระบบไฟฟากําลัง (Electric Power System Analysis) การออกแบบระบบไฟฟา (Electrical System Design) เปนตน


7

วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฏีวงจรไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสเพื่อออกแบบ และสรางวงจรอิเล็กทรอนิกส เชน วงจรวิทยุ วงจรโทรทัศน วงจรคอมพิวเตอร สมองกลฝงตัว ฯลฯ รวมถึงการสรางอุปกรณอิเล็กสตางๆ เชน ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ อุปกรณสารกึ่งตัวนํา ตัวอยางวิชาเรียน เชน วงจรไฟฟา (Electric Circuits) สนามแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Fields) วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (Electronic Engineering) สิ่งประดิษฐสารกึ่งตัวนํา (Semiconductor Devices) อิเล็กทรอนิกสกําลัง (Power Electronics) ไมโครโพรเซสเซอรและการประยุกต (Microprocessors And Applications) วงจรรวมอนาลอก (Analog Integrated Circuits) เปนตน วิศวกรรมอาหาร วิศวกรรมอาหารเปนสาขา ที่เรียนเกีย่ วกับวิทยาศาสตรอาหาร และวิศวกรรมทางดาน เครื่องกล เพื่อออกแบบและสรางเครื่องจักร หรือระบบในการผลิตอาหาร โดยคํานึงถึงความปลอดภัย และการปนเปอนของอาหาร ภายใตกระบวนการผลิต ตัวอยางวิชาเรียน เชน จุลชีววิทยาและเคมีของอาหาร (Food Chemistry and Microbiology) การถายเทความรอนและมวลสาร (Heat and Mass Transfer) กรรมวิธีแปรรูปอาหาร (Food Processing) การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design) การควบคุมคุณภาพใน อุตสาหกรรมอาหาร (Quality Control in Food Industry) การควบคุมมลภาวะและบําบัดของเสียใน อุตสาหกรรม (Industrial Pollution Control and Waste Treatment) เปนตน วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เปนวิศวกรรมศาสตรสาขาที่เกี่ยวกับ การออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม การวิจัยดําเนินงาน จัดการและประเมินผลระบบโดยรวม ซึ่งครอบคลุมปจจัยทุกๆดานทั้ง บุคคล สารสนเทศ อุปกรณ พลังงาน วัสดุ รวมไปถึง การเงิน งานของวิศวกรอุตสาหการ จะเกี่ยวกับ การลดเวลาการปฏิบัติงาน คาใชจาย วัสดุ พลังงาน และทรัพยากรอื่นๆ รวมไปถึงงานการควบคุมคุณภาพของการผลิต หรือการดําเนินงานเพื่อใหอยูใน ระดับที่ตองการโดยหากลวิธีตางๆ ในการพัฒนา ปรับปรุง แกไข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ให คุมคาที่สุด


8

ตัวอยางวิชาเรียน สถิติวิศวกรรมขั้นสูง (Advanced Engineering Statistics) คณิตศาสตรวิศวกรรมประยุกต (Applied Engineering Mathematics) การวิเคราะหและการควบคุมการผลิต (Production Analysis and Control) การออกแบบและการวิเคราะหการทดลอง (Design and Analysis of Experiments) เศรษฐศาสตรวิศวกรรมขั้นสูง (Advanced Engineering Economy) การจัดการองคกรอุตสาหกรรม (Industrial Organiztion Management) เปนตน วิศวกรรมสารสนเทศ เปนสาขาทางวิศวกรรมศาสตร วาดวยการนําความรูทางวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในสาขาตางๆ มาประยุกตใชในกระบวนการจัดการขอมูลขาวสาร ใหเกิดประโยชนสูงสุด ตอความตองการของมนุษย สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศจะมุงเนนการศึกษา และการประยุกตใชเทคโนโลยีในสาขา ตางๆ ไดแก คอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม ตลอดจนถึงสาขาทางวิศวกรรมไฟฟาอื่นๆ เชน ระบบควบคุม เปนตน ตัวอยางวิชาเรียน เชน หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร (Principles of Computer Programming) การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (Engineering Electronics) ระบบฝงตัวและระบบเวลาจริง (Embedded And Real-Time Systems) การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) ระบบสารสนเทศสําหรับโครงขายโทรคม (Telecommunication Network) เปนตน วิศวกรรมการวัดคุม คลายกับวิศวกรรมควบคุม ทําใหในมหาวิทยาลัยบางแหง ไดรวมเอาทั้งสองสาขา รวมกันเปนสาขาเดียวกัน แตจริงๆแลว วิศวกรรมการวัดคุม เนนหนักในการวัดเพื่อการควบคุมและการ ประยุกตใชระบบควบคุมในอุตสาหกรรม พวกอุปกรณตรวจจับ (Sensor) ตางๆ และการดูขอผิดพลาด ของระบบ (Monitor) โดยนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหตอไป ตัวอยางวิชาที่เรียน เชน อุปกรณตรวจจับ/สงสัญญาณ และการแปลงสภาวะสัญญาณ (Sensor/Transducer and Signal Conditioning) การวัดและอุปกรณวัดทางไฟฟา (Electrical Measurement and Instrumentation) ระบบควบคุม (Control System) อุปกรณวัดและควบคุมในกระบวนการ (Process Instrumentation) กลศาสตรของแข็งของไหล (Solid and Fluid Mechanics) วาลวควบคุมและตัวขับเคลื่อน (Control Valve and Drives) เปนตน


9

วิศวกรรมเครื่องกล เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับ การประยุกตใชคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ฟสิกส เพื่อการสราง เครื่องยนตกลไกลตางๆ การออกแบบและการเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร วัสดุศาสตร กลศาสตรวิศวกรรม ระบบกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม อุณหพลศาสตร กลศาสตรวัสดุ พลศาสตรของไหล การถายเทความรอน พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟา การทําความเย็นและปรับอากาศ ระบบไฮดรอลิกสและนิวแมติกส เครื่องจักรกลของไหล วิศวกรรมยานยนต วิศวกรรมการสันดาป การสั่นสะเทือนทางกล ระบบควบคุมอัตโนมัติ การออกแบบระบบความรอน พลังงาน จักรกล ระบบกลไก และเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ตัวอยางวิชาที่เรียน เชน กลศาสตรวัสดุ (Mechanics of Materials) เขียนแบบเครื่องกล (Mechanical Drawing) การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design) กลศาสตรเครื่องจักรกล (Mechanics of Machinery) เครื่องยนตสันดาปภายใน (Internal Combustion Engines) วิศวกรรมยานยนต (Automotive Engineering) เปนตน วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส เปนการประยุกต สาขาวิชาที่รวมเอา สาขาวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล และสาขาอิเล็กทรอนิกส เพื่อการออกแบบและสรางผลิตชิ้นสวนและผลิตภัณฑ Mechatronics (Mechanics + Electronic) เชน หุนยนต รถยนตอจั ฉริยะ เปนตน ตัวอยางวิชาที่เรียน เชน เครื่องจักรกลไฟฟา (Electrical machine) วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (Engineering Electronics) ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessors) กลศาสตรวัสดุ (Mechanics of Materials) ไฮดรอลิกสและนิวเมติกส (Hydraulics and Pneumatics) การควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control) การออกแบบเครื่องจักรกล (Machine Design) ฯลฯ วิศวกรรมโทรคมนาคม เปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับ การประยุกตความรูทางดาน วิทยาศาสตรและวิศวกรรมไฟฟา เขาดวยกัน โดยเรียนทางดานคลื่นความถี่ตางๆ เครือขายโทรศัพทมือถือ การสื่อสารผานดาวเทียม เครือขายคอมพิวเตอรเปนตน ตัวอยางวิชาเรียน เชน สนามแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Fields) วิศวกรรมการสื่อสาร (Communications Engineering) ทฤษฏีโครงขายไฟฟา (Network Theory) สัญญาณและระบบ (Signals and Systems) การสื่อสารไมโครเวฟและดาวเทียม (Microwave and


10

Satellite Communications) วิศวกรรมโทรศัพทสมัยใหม (Modern Telephone Engineering) วิศวกรรมสายอากาศ (Antenna Engineering) การสื่อสารไรสาย (Wireless Communications) เปนตน วิศกรรมคอมพิวเตอร เปนศาสตรที่เรียนเกี่ยวกับทางคอมพิวเตอร โดยเนนหนักไปที่การออกแบบวงจรไฟฟา (Hardware Circuit Design) การออกแบบโปรแกรม (Software Design) และทางดานการติดตอ สื่อสาร (Communications) ปจจุบันสาขาวิชาที่สําคัญในดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรคือ ระบบฝงตัว (Embedded System) การพัฒนาอุปกรณที่มีซอฟตแวรและฮารดแวรฝงตัวภายใน เชน อุปกรณสื่อสารอยาง โทรศัพทมือถือ เครื่องเลนวิทยุระบบดิจิทัล เครื่องบันทึกวิดีทัศนระบบดิจิทัล รถยนต รถโดยสาร สาธารณะ เปนตน ซึ่งลวนแลวแตตองการการผนวกรวมฮารดแวรและซอฟตแวรฝงตัวเขาดวยกัน ในประเทศไทย มีหลักสูตรทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรขึ้นครั้งแรก ในภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยไดรับอนุมัติเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2518 โดยมีรากฐานจาก "หนวยคอมพิวเตอรไซแอนส" (Computer Science หรือหลักสูตร วิทยาศาสตรคอมพิวเตอรในปจจุบัน)


11

ประวัติคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร คืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่ทําหนาที่คํานวณ บันทึกสิ่งตางๆ ที่ผูใชไดสั่งให คอมพิวเตอรทํา โดยการปอนคําสั่งเขาไป คอมพิวเตอรพัฒนามาจากเครื่องคํานวณที่ชื่อวา ลูกคิดซึ่งถูก ใชในอนาจักรบาบิโลเนีย (Babylonian) กอนศริตศักราช 2400 จากนั้นถูก พัฒนามาเปนลูกคิดของคนจีน ซึ่งมีลักษณะกอน กลมแบนรอยดวยเชือกหรือเสียบดวยไมตรงกลาง ตีกรอบดวยไมอกี ชั้นหนึ่ง เหมือนลูกคิดที่ใชใน ปจจุบัน Suanpan (the number represented on this abacus is 6,302,715,408)

จากนั้นป คริตศักราช 1671 John Niapier นักคณิตศาสตรและนักฟสิกส ชาวสกอต แลนด ไดสรางเครื่อง Nibpire’s bones ขึ้นมา ใชในการคูณและหารตัวเลยโดยใชวิธีการบวก และลบ ป 1630 William Oughtred นักคณิตศาสตร ชาวอังกฤษไดประดิษฐ ไมเลื่อนคํานวณ (Slide Rule) ซึ่งเปนพื้นฐานของคอมพิวเตอรแบบ อนาลอก

An early Pascaline on display at the Musée des Arts et Métiers, Paris

The two Napier's abacuses at the National Archaeological Museum of Spain (Madrid)

ในปคริตศักราช 1642 Blaise Pascal ไดเริ่มสรางตนแบบเครื่องคํานวณ (Mechanical Calculator) ซึ่งเขาไดพัฒนาเครื่องตนแบบมากถึง 50 เครื่องและไดสรางเสร็จสมบูรณในสามปตอมา โดยใชหลักการหมุนของฟนเฟอง และการทดเลข เมื่อหมุนฟนเฟองครบรอบ โดยแสดงผลลัพธออก ที่หนาปด


12

ป 1671 Gottfried Wilhelm Leibniz นักคณิตศาสตรชาว เยอรมัน ไดปรับปรุงเครื่องคํานวณของ Pascal ใหสามารถคํานวณไดครบทั้ง 4 เครื่องหมายคณิตศาสตร (บวก ลบ คูณ หาร) เรียกวา Stepped Reckoner รวม ถึงเขายังเปนผูคิดเลขฐานสอง (Binary Numeral System) ซึ่งเปนพื้นฐานของ คอมพิวเตอรในปจจุบัน

Stepped Reckoner.

ปคริตศักราช 1725 Basile Bouchon และ JeanBaptiste Falcon ไดใชเทคนิคกระดาษมวนในการควบคุมเครื่อง ทอผาในฝรั่งเศส โดยการจะกระดาษใหเปนรู เพื่อทําเปนคําสั่ง ใหเครื่องทํางานตามคําสั่งที่ตองการ ตอมา Joseph Maire Jacquard ไดนําเทคนิคนี้มาพัฒนาตอ และสรางเครื่องทอผา ที่ชื่อวา Jacquard loom โดยอานคําสั่งจาก Punched Cards

Jacquard loom on display Museum of Science and Industry in Manchester, England

ปคริตศักราช 1822 Charles Babbage นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ได ประดิษฐเครื่องผลตาง (Difference Engine) ใชในการหาคาพหุนาม (Polynomial Value) หลังจากนั้นเขา ไดสรางเครื่องที่มีความซับซอนขึ้นมา เรียกวา เครื่องวิเคราะห (Analytical Trial model of a part of the Analytical Engine) เครื่องนี้สามารถทํางานตาม Engine, built by Babbage,[1] as displayed at คําสั่งที่โปรแกรมโดยใช Punched Cards. the Science Museum (London) ผูใชสามารถเขียนโปรแกรมลงบนการด แลวนําไปใสใหเครื่อง ประมวณผล โดยเครื่องนี้ยังเปนตนแบบใหกับการเขียนโปรแกรม โดยมีการวน


13

ลูปคําสั่ง คําสั่งตัดสินใจ ถือวาตนแบบของเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถโปรแกรมได นับถือเขาเปนบิดา แหงคอมพิวเตอร (Father of The Computer) ตอมา ในป 1979 Ada Lovelace นักคณิตศาสตร หนึ่งไมกี่คนที่เขาใจไอเดียของ Babbage ไดสรางโปรแกรมที่ทํางานบนเครื่อง Analytical Engine ซึ่งเปนโปรแกรมคํานวนหาลําดับ ของคา Bermoulli number ทําใหเธอถือวาเปนโปรแกรมเมอรคนแรกของโลก และไดรับเกียรติใหใช ชื่อ Ada เปนชื่อของภาษาคอมพิวเตอรนั้นดวย ป 1854 George Boole นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษไดคิดคนพิชคณิตบูลีน (Boolean Algebra) โดยอธิบายโดยใชหลักของตรรกะวิทยาคือ ถูกและผิด (True and False) โดยมีเครื่องหมายการกระทํา (Operation) ดังนั้น AND, OR, NOT ซึ่งเปนพื้นฐานในการออกแบบคอมพิวเตอรในปจจุบัน ในระหวาง สงครามโลกครั้งที่สอง วงจรอิเล็กทรอนิกสไดเขามาแทนที่ เครื่องจักรกล

ปคริตศักราช 1942 เครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสดิจิตอล เครื่องแรกของโลก ชื่อวา AtanasoffBerry Computer (ABC) ก็ถูกสราง ขึ้น โดย John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry แตก็ยังใชเครื่อง จักรกลในการเก็บขอมูลลงบนกระดาษ แข็ง Atanasoff–Berry Computer replica at 1st floor of Durham Center, Iowa State University


14

ในป 1946 Electronic Numerical Integrator And Computer (ENIAC) ถูกสรางขึ้นโดย John Mauchly และ J.Presper Eckert ที่ University of Pennsylvania ซึ่งถือวาเปนเครื่อง คอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสขนาดใหญ (electronic large-scale, general-purpose digital computer ) เครื่องแรกของโลก โดยออกแบบและ สนับสนุนจากกองทัพสหรัฐ ENIAC performed ballistics trajectory calculations with 160 kW of power

Electronic Discrete Variable Automatic Computer (EDVAC) เริ่มสราง ในป 1944 กอนที่ ENIAC จะเสร็จโดย John Mauchly and J. Presper Eckert โดยรวมมือ กับ John von Neumann เปนที่ ปรึกษา สรางตามสถาปตยกรมของ John von Neumann ที่ไดออก แบบไว โดยประกอบดวย สวนตางๆ ดังนี้ Control Unit และ Arithmetic Logic Unit (CPU), Memory และ Input/Output

Design of the von Neumann architecture (1947)

EDVAC ใชเวลาในการบวก 864 ไมโครเซ็ก และ เวลาในการคูณ 2900 ไมโครเซก ใชหลอดสูญญาการจํานวน 6000 หลอด ใชไดโอด 12000 ชิ้น กินไฟที่ 56 กิโลวัต ใชพื้นที่ในการ วางเครื่อง 45.5 ตารางเมตร น้ําหนัก 1850 กิโลกรัม ถาทํางานเต็มที่ จะใชคนทั้งหมด 30 คน ในการทํางานทั้งวัน เครื่องคอมพิวเตอรที่จําหนายในเชิงพานิช ครั้งแรก คือ Ferranti Mark 1 ในป คริตศักราช 1951 ซึ่งพัฒนามาจาก Manchester Mark ซึ่งปรับปรุงขนาดของหนวยความจําหลัก โดยใช


15

(Random Access Williams Tubes) หนวยความจําสํารอง (ใช Magnetic Drum) ซึ่งสามารถทําคําสั่ง บวก และคูณไดเร็วขึ้น ในปศริตศักราช 1951 (Universal Automatic Computer) UNIVAC I ถูกใชในงานสํานัก ทะเบียนประชากรสหรัฐ UNIVAC I ใชหลอดสูญญากาศ 5200 กินไฟ 125 กิโลวัต ใชหนวยความจําหลัก เปน Serial-access mercury delay line ในป 1952 IBM ไดพัฒนาเมนเฟรมคอมพิวเตอร IBM 701 และ IBM 704 ในป 1954 โดยใช แกนแมเหล็กเปนหนวยความจําและสรางภาษา FORTAN ใชในการเขียนโปรแกรมระดับสูง ขึ้นมา ระหวางพัฒนา IBM 704 ซึ่งเสร็จสมบูรณในป 1957 ซึ่ง IBM ไดสรางใหเครื่อง คอมพิวเตอรมีขนาดเล็ก และสามารถหาซือ้ ไดงาย โดยน้ําหนักเมื่อรวม Power Supply แลวหนัก 1350 กิโลกรัม

Bipolar Transister

ไบโพลาทรานซิสเตอร ถูกพัฒนาในป 1947 ทําใหในป 1955 ทรานซิสเตอรถูกเขามา แทนที่ หลอดสูญญากาศในการออก แบบคอมพิวเตอร ถือเปนยุคที่สองของ คอมพิวเตอร (ยุคแรกคือยุค หลอดสุญญากาส) ทําใหมีขนาดเล็กลง กินไฟนอยลง ความรอน ขณะทํางานลดลง ประมวลผลไดเร็วขึ้นและมีความเที่ยงตรงกวา หลอดสุญญากาศ ซึ่งคอมพิวเตอรที่ใช ทรานซิสเตอรเครื่องแรก เริ่มพัฒนาขึ้นที่ University of Manchester ใน 1953 จนสําเร็จ ในเดือน เมษายน ค.ศ. 1955

ขณะเดียวกันในป 1955 Maurice Wilkes ไดผลิต microprogramming ซึ่งทําใหเรา สามารถเขียนคําสั่งลงในไมโครชิปเปรียบเหมือน built-in คําสั่งลงไปในชิป ซึ่งปจจุบันชุดคําสั่งที่ บันทึกลงในชิปวา เฟรมแวร firmware หรือ microcode ในยุคที่ 3 ของคอมพิวเตอร Integrated Circuit หรือ IC ที่พัฒนาโดย Jack St. Clair Kilby และ Robert Noyce วิศวกรบริษัท Texas Instuments IC คือการรวมเอา ทรานซิสเตอร ไดโอด และคาปาซิสเตอร เขาดวยกันใน Silicon Wafer

แผนสิลิกอน ขนาดเล็ก Silicon wafer ซึ่งสรางมาจาก ทราย แลวนํามาผลิตเปน IC โดยทําใหขนาดของ คอมพิวเตอรเล็กลงมาก และเพิ่มความเร็วในการประมวลผล จากหนวย ไมโครเซ็คเปนนาโนเซ็ค และในยุคนี้เริ่มมีการใช Integrate Circuit (IC)


16

OS (Operating System) โดยยอมใหสามารถรันโปรแกรมหลายโปรแกรมพรอมกัน คอมพิวเตอรในยุค นี้ก็คือ The IBM 360/91 ผลิตในวันที่ 7 เมษายน ค.ศ.1964 ซึ่งใช IC แทนทรานซิสเตอรที่เปนชิ้นๆ รวมถึงในยุคนี้ magnetic core memory ถูกแทนที่ดวย semiconductor memories ยุคที่ 4 คือยุคของ Microprocessor วันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ.1971 บริษัท Intel ไดเริ่มขาย microprocessor ครั้งแรก คือ 4004 ที่พัฒนาใหกับบริษัทเครื่อง คิดเลขในญี่ปุน เปน CPU ขนาด 4 บิต ความถี่ สัญญาณนาฬิกา 740 KHz ใชทรานซิสเตอร 2,300 ตัวที่ 10 µm จากนั้น Intel ก็ไดพัฒนา เปน CPU Intel Core i7 8 bits รุน 8008 สรางเสร็จในป ค.ศ. 1972 และ รุน 8080 ในป ค.ศ.1974 ถูกนําไปใชแพรหลายในคอมพิวเตอรสวนบุคคล จากนั้นพัฒนามาเรื่อยๆเปน CPU 16-bit รุน 8086 , CPU 32-bit รุน 80386DX, Pentium, Pentium Pro, Celeron, Pentium II, Pentium III, Pentium 4 จนถึง CPU 64-bit รุน Intel Core 2, Pentium Dual Core, Core i3, Core i5 และ Core i7 ยุคที่ 5 ยุคของปญญาประดิษฐ Artificial Intelligence ยุคของปญญาประดิษฐ ยุคที่ คอมพิวเตอร มีความสามารถเทาเทียมกับคน หรือมากกวา ยุคที่มนุษยไมสามารถแยกออกวา สิ่งไหนคือมนุษยสิ่งไหนคือคอมพิวเตอร โดยวิธกี าร ทดสอบที่เรียกวา Turing Test โดยกั้นกลางหอง เพื่อไมสามารถมองเห็น ใหฝงหนึ่งเปนคนและ อีกฝงหนึ่ง มีคอมพิวเตอร และ คนอยู จากนั้นให ฝงที่มีคนอยูคนเดียวถาม ฝงตรงกันขาม แลวระบุ ใหไดวาฝงตรงกันขามเปนมนุษยหรือคอมพิวเตอร Robot VS Human เมื่อไหรที่คนไมสามารถระบุอีกฝงไดวาเปนมนุษย หรือคอมพิวเตอร นั่นใกลเขาสูยุคปญญาประดิษฐ จนถึงวันหนึ่งเราจะไมสามารถแยกออกเลยวา มนุษยที่เดินตามทองถนนเปนมนุษยจริงๆ หรือ คอมพิวเตอร ดังจะเห็นในภาพยนต Sci-fi หลายๆเรื่องเชน Star Wars, Artificial intelligence, Blade Runner, Bicentennial Man, The


17

Thirteenth Floor, Transformers, The Terminator, I Robot ฯลฯ มีหลายๆประโยคที่กลาว ถึงปญญาประดิษฐที่นาสนใจเชน A year spent in artificial intelligence is enough to make one believe in God. ALAN PERLIS I suppose it helps us live a lot, it makes us smarter and more powerful...so, I'm for Elizabeth Fedotova, MIPT April 2011 AI คือสาขาหนึ่งของ Computer Science ที่เนนในดาน การทําใหคอมพิวเตอร มีพฤติกรรมคลายมนุษย เชนทางดานเกมส คอมพิวเตอรสามารถเลนเกม หมากรุก หรือ หมากฮอส ได Expert System คอมสามารถตัดสินใจในสถาณะการในชีวิตจริงได เชน ชวยหมอในการระบุ ตําแหนงเนื้องอก หรือ มะเร็ง Natural Language คอมพิวเตอรสามารถเขาใจภาษามนุษยได Neural Network คือระบบที่สามาระจําลองความฉลาด โดยการเลียนการเชื่อมตอทาง กายภาพภายในสมองสัตวได Robotics คอมพิวเตอรสามารถคิด เรียนรู และตัดสินใจอยางมีเหตุผล สามารถเห็นไดยิน และตอบสอนตอสิ่งกระตุนจากการสัมผัส เนื่องจากเรื่องนี้เปนสิ่งที่มนุษยเปนหวงกันมาก จึงมีคนพูด ถึงกฏของหุนยนต เชน กฏหุนยนต 3 ขอ The Three Laws of Robotics ซึ่งเขียนนักเขียนนวนิยาย แนววิทยาศาสตรชื่อ Isaac Asimov โดยกําหนดไววา 1. A robot may not injure a human being or, through inaction, allow a human being to come to harm. 2. A robot must obey any orders given to it by human beings, except where such orders would conflict with the First Law.


18

3. A robot must protect its own existence as long as such protection does not conflict with the First or Second Law. และยังมีคนกําหนดกฏขอที่ 4 เพิ่ม ในนวนิยายเรื่อง Icarus's Way ในป 1974 Lyuben Dilov กลาวไววา 4. A robot must establish its identity as a robot in all cases. ในนวนิยายเรื่อง Foundation's Friends ในป 1986 บทประพันธเรื่อง Foundation's Friends ของ Harry Harrison เขียนเกี่ยวกับกฏขอที่ ไววา 4 1. A robot must reproduce. As long as such reproduction does not interfere with the First or Second or Third Law. รวมถึงกฏขอที่ 5 ซึ่งอยูในนวนิยายเรื่อง "The Fifth Law of Robotics" ของ Nikola Kesarovski กลาวถึงกฏขอที่ 5 ไววา 2. A robot must know it is a robot. ตัวอยางของภาพยนตที่ถูกสรางมาจากพื้นฐาน AI เชน


19

ขอแตกตางระหวาง Com Eng, Com Sci, SE Eng, IT Eng, IT ขอแตกตางของ วิศกรรมคอมพิวเตอร (Com Eng) วิทยาการคอมพิวเตอร (Com Sci) วิศวกรรมซอฟตแวร (Soft Eng) วิศวกรรมสารสนเทศ (IT Eng) เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) สิ่งแรกที่ตองเขาใจคือ นักวิทยาศาสตรและวิศวกร นักวิทยาศาสตรคือ คนที่ศึกษาเกี่ยวกับ ปรกกฏการธรรมชาติ เชน ฝนตก ฟารอง ฟาฝา พายุ ฤดูกาล ฯลฯ แลวคิดทฤษฏีตางๆขึ้นมา เชน ทฤษฏีแรงโนมถวงของโลก ทฤษฏีแสง ทฤษฏีไฟฟา ฯลฯ วิศวกร คือ คนที่นําทฤษฏีตางๆมาประยุกต และสรางสิ่งประดิษฐขึ้นมา เชน นําทฤษฏีแรง โนมถวงมาสรางเครื่องบิน นําทฤษฏีไฟฟา มาสรางหมอแปลงไฟฟา ฯลฯ ซึ่งจะสังเกตเห็นความแตกตาง อยางชัดเจน ระหวางนักวิทยาศาสตรและวิศวกร จากนั้นมาดูเรื่องขอแตกตางในวิชาเรียน วิทยาการคอมพิวเตอร จริงๆควรจะเรียนเรื่องเกี่ยวกับทฤษฏีตางๆ ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร เชน ทฤษฏีการคนหาขอมูล ทฤษฏีการเรียงขอมูล ทฤษฏีการคํานวณ ฯลฯ แตเนื่องจากถาเรียนแบบนั้น คงจะเปนไดแค นักวิจัยกับอาจารยมหาวิทยาลัย จึงตองมีการประยุกตใหเขากับตลาดแรงงานดวย ซึ่งทําใหเรียนเนนไปทางดานวิทยาศาสตร ดานการออกแบบโปรแกรม ดานฐานขอมูล ดานระบบ ปฏิบัติการ และดานปญญาประดิษฐ สังเกตไดวาจะไมมีวิชาเกี่ยวกับทางดานระบบเครือขาย มากนัก และไมมีทางดานวิศวกรรมเลย เชน คํานวณและออกแบบวงจรไฟฟา คํานวณและออกแบบ วงจรอิเล็กทรอนิกส วิศกรรมคอมพิวเตอร เรียนดานคณิตศาสตร คํานวณและออกแบบวงจรไฟฟา วงจรอิเล็กทรอนิกส สมองกลฝงตัว การเขียนโปรแกรม การจัดการฐานขอมูล และระบบเครือขาย วิศกรรมสารสนเทศ เรียนเกือบเหมือนวิศกรรมคอมพิวเตอร แตจะเพิ่มทางดานโทรคมนาคมเขามา สวนเทคโนโลยีสารสนเทศ คลายๆวิทยาการคอมพิวเตอร แตจะเพิ่มทางดาน วิชาทางดานเครือขายคอมพิวเตอร และเพิ่มวิชาทางดานสารสนเทศและธุรกิจ เชน พื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ พื้นฐานทางธุรกิจสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เศรษฐศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ สรุปคือ ถาอยากเรียนออกแบบโปรแกรมและวิทยาศาตร ใหเลือกเรียน วิทยาการคอมพิวเตอร แตอยากเรียนออกแบบโปรแกรมเพรียวๆ ใหเลือกเรียนวิศวกรรมซอฟตแวร หากอยากเรียนทางดานวิศวกรรมดวย ก็ใหเลือกเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร หรือ วิศวกรรมสารสนเทศ


20

สวนหากอยากเรียน ออกแบบโปรแกรมที่มีความรูพื้นฐานทางดานธุรกิจดวย ก็ใหเลือกเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศ ความแตกตางในเรื่องตัวเนื้องาน The Association for Computing Machinery (ACM) ซึ่งเปนองคกรที่ยอมรับทางดาน เทคโนโลยี และมีสมาชิกทั่วโลก ระบุไวใน Computing Curricula 2005 The Overview Volume on Undergraduate Degree Programs in Computing ถึงความแตกตางของแตละสาขา อยางชัดเจน ดังรูป

ในชวงกอน ค.ศ. 1990 การเรียนสาขาวิศวกรรมและวิทยาศาสตรนั้น เนื้อหาแยกกันอยาง ชัดเจน โดยเนื้อหาวิชาเรียนทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสศึกษาเฉพาะ Hardware สวนวิทยาศาสตรศึกษาเฉพาะ Software แตหลักจาก ค.ศ.1990 จะเห็นวาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนสวนผสมระหวาง Hardware และ Software แตวิทยาการคอมพิวเตอรเรียนเฉพาะ Software สวนเทคโนโลยีสารสนเทศจะเนนความตองการขององคกร คือ มีความรูทางดานบริหารธุรกิจเขามา เกี่ยวของ


21


22


23

ตัวอยางวิชาพื้นฐานบังคับของแตละสาขาที่ ไมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร และ วิศวกรรมสารสนเทศ Foundation English 1 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1) Foundation English 2 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2) General Physics 1 (ฟสิกสทั่วไป 1) General Physics 2 (ฟสิกสทั่วไป 2) General Physics Laboratory 1 (ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1) General Physics Laboratory 2 (ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2) General Chemistry (เคมีทั่วไป) Practical General Chemistry (ปฏิบัติการเคมีทั่วไป) Engineering Mathematic 1 Engineering Mathematic 2 Engineering Mathematic 3 Engineering Drawing (เขียนแบบวิศวกรรม)


24

Engineering Mechanics (กลศาสตรวิศวกรรม) Engineering Materials (วัสดุวิศวกรรม) สาขาวิศวกรรมซอฟตแวร Foundation English 1 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1) Foundation English 2 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2) Engineering Mathematic 1 Engineering Mathematic 2 Engineering Mathematic 3 Probability and Statistics (ความนาจะเปนและสถิติ) สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร Foundation English 1 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1) Foundation English 2 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2) English for developing reading skills Fundamental Physics 1 (ฟสิกสพื้นฐาน 1) Fundamental Physics Laboratory 1 (ปฏิบัติการฟสิกสพื้นฐาน 1) General Chemistry 1 (เคมีทั่วไป 1) Practical General Chemistry 1 (ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1) Calculus 1 (แคลคูลัส 1) Calculus 2 (แคลคูลัส 2) Linear algebra (พีชคณิตเชิงเสน) Library Usage and Information (การใชหองสมุดและสารนิเทศ) Elementary Statistics สถิติเบื้องตน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ Foundation English 1 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1) Foundation English 2 (ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2) Fundamental Physics (ฟสิกสเบื้องตน) Mathematics 1 (คณิตศาสตร 1) Mathematics 2 (คณิตศาสตร 2) Probability and Statistics (ความนาจะเปนและสถิติ)


25

จะสังเกตเห็นวา วิชาบังคับที่ไมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ของคณะวิศวกรรมศาสตรจะมีจํานวน มาก โดยสวนใหญจะเกี่ยวกับวิชาฟสิกส เคมี คณิตศาสตร และวิศวกรรมพื้นฐาน สาขาวิทยาการคอมพิว เตอรจะตางตรงที่ไมมีวิชาพื้นฐานวิศวกรรม แตยังคงวิชาฟสิกส เคมี คณิตศาสตร สวนสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ และวิศวกรรมซอฟตแวร มีวิชาพื้นฐานนอยที่สุด


26

รายชื่อมหาวิทยาลัย ที่เปดสอน หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • •

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มีหลักสูตรปกติ และ หลักสูตรนานาชาติ โดยหลักสูตรนานาชาติ เรียนที่ไทย 2 ป อีก 2 ป เรียนที่ University of Missouri Columbia (USA) หรือ University of Regina (Canada) โดยนักศึกษาจะตองผานเกณฑการคัดเลือกตามที่กําหนด ไวซึ่งเมื่อสําเร็จการศึกษาจะได 2 ปริญญาทั้งจาก KMUTT และ MU หรือ RU แตสําหรับผูที่เลือกศึกษา 2 ปตอที่ KMUTT จะไดปริญญาจาก KMUTT เทานั้น) คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (หลักสูตรปกติและหลักสูตรนานาชาติ) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตภาคภายัพ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ


27

• • • • • • • • • • • •

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคาไทย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอีสาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันปญญาภิวัฒน หลักสูตรวิศวกรรมซอฟแวร

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ปริญญาโท)

วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (หลักสูตรนานาชาติ เรียนที่ไทย 2 ป เรียนที่ University of Glasgow (UK) อีก 2 ป หรือเรียน อีก 3 ปไดวุฒิ ป.โท)

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ)

School of Engineering and Technology (SET) สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) (หลักสูตรนานาชาติ)

บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตรนานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน (TGGS) มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มีเฉพาะปริญญาโท เรียนที่ไทย 1 ป อีก 1 ปเรียนที่ RWTH Aachen University (Germany)

วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม (หลักสูตรนานาชาติ)

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ภูเก็ต)


28

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนอรทเชียงใหม

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ

คณะวิทยาศาสตร มหาลัยวิทยาลัยพายัพ

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม


29

หลักเกณฑ การเขาศึกษาตอ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร รับนักศึกษาสองทาง Admission กลาง และ Admission ตรง ซึ่งสวนใหญมหาวิทยาลัยรับ Admission ตรงมากเนื่องจากสามารถคัดคุณภาพของผูเรียนไดดวยคนเอง

Admission ระบบกลาง จะใชคะแนน GPAX O-NET GAT PAT2 และ PAT3 1. 2. 3. 4.

GPAX O-NET GAT PAT a. PAT 2 b. PAT 3

20% 30% 15% 15% 20%

Admission ตรง ขึ้นอยูกับมหาวิทยาลัย ใชเกณฑไหนในการรับนักศึกษา เชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดูขอมูลไดที่ http://www.admissions.chula.ac.th 1. 2.

GAT PAT a. PAT 1 b. PAT 3

20% 20% 60%

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดูขอมูลไดที่ http://admission.eng.ku.ac.th 1. GPA 5 ภาค >= 2.5 2. วิชาสามัญ a. วิชาอังกฤษ


30

b. คณิตศาสตร c. ฟสิกส d. เคมี 3. PAT a. PAT 1 > mean b. PAT 3 > mean สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ดูขอมูลไดที่ http://www.reg.kmitl.ac.th/directEnt 1. 2.

GAT PAT a. PAT 1 b. PAT 3

20% 30% 50%

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ดูขอมูลไดที่ http://admission.kmutt.ac.th/ พิจารณาคะแนน 70% จาก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

8.

คะแนนเฉลี่ยสะสม(GPAX) GPAX GPA วิทยาศาสตร GPA คณิตศาสตร GPA ภาษาตางประเทศ GAT PAT a. PAT 1 b. PAT2 c. PAT 3 สอบสัมภาษณ 30%


31

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ดูขอมูลไดที่ http://www.admission.kmutnb.ac.th/ 1. จะตองเปนนักเรียนภาคการเรียนสุดทายของมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ (วิทย-คณิต) และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) 2. จะตองมีคะแนน GPAX ของผลการเรียน 4 ภาคการเรียนสุดทายของมัธยมตอนปลาย และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีคาระดับคะแนน 3.25 ขึ้นไป 3. จะตองมีคะแนนสอบวิชา GAT 85, PAT 71, PAT 72, และ PAT 73 พิจารณาคะแนนจาก 1. คะแนนเฉลี่ยสะสม(GPAX) 10% 2. GAT 10% 3. PAT a. PAT 1 30% b. PAT 2 10% c. PAT 3 40% มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ดูขอมูลไดที่ http://web.reg.tu.ac.th/ 1 2

สอบสัมภาษณ 20% PAT a. PAT 1 b. PAT 3

40% 40%


32

คะแนน Adminission วิศวกรรมคอมพิวเตอร 4 ป ลาสุด .

ป 56

ป 55

ป 54

ป 53

สูงสุด

24,152.15

24,117.5

25,337.5

22,490

ต่ําสุด

20,761.40

20,170

20,517.5

14,125.25

ลําดับ

1

1

2

2

สูงสุด

20,927.05

21,512.5

22,252.5

21,199.9

ต่ําสุด

18,792.55

19,197.1

21,360

18,278.2

ลําดับ

2

2

1

1

สูงสุด

21,540

21,157.5

21,205

22,084

ต่ําสุด

18,409.55

18,245

18,987.4

17,432.95

ลําดับ

4

3

4

3

สูงสุด

21,483.5

19,771.25

20,254

19,329.4

ต่ําสุด

18,636.4

17,589.45

18,117.4

17,331.3

ลําดับ

3

4

3

5

สูงสุด

18,443.2

19,212.95

20,207.5

21,267.15

ต่ําสุด

17,231

16,871.95

17,134.9

17,355.75

ลําดับ

7

6

6

4

สูงสุด

19,226.1

19,273.2

20,057.5

19,169.05

ต่ําสุด

18,030.35

17,092

17,944.65 16,200.35

ลําดับ

5

5

5

6

สูงสุด

21,045.55

18,440.7

19,567.5

18,717.6

ต่ําสุด

17,517.5

16,562.05

16,142.4

13,548.1

ลําดับ

6

7

8

11

สูงสุด

18,213.6

19,865

19,447.7

19,425.3

ต่ําสุด

15,299.15

14,438.2

15,717.5

14,857.35

มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตศาสตร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน


33

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี

ลําดับ

10

9

9

8

สูงสุด

19,365

18,476.95

-

19,382.9

ต่ําสุด

16,207.4

13,846.45

-

14,697

ลําดับ

9

11

-

9

สูงสุด

18,851.15

17,967.5

ต่ําสุด

16,638.95

16,152.5

16,690

15,895.35

ลําดับ

8

8

7

7

สูงสุด

19,540.7

18,735

18,250

18,615.65

ต่ําสุด

12,810.1

9,131.85

7,300.35

8,723.85

ลําดับ

12

13

12

13

สูงสุด

16,300.2

17,694.45

17,012.2

16,406.3

ต่ําสุด

12,976.75 12,955.55

12,634.4

13,344.35

11

12

19,044.95 18,752.15

ลําดับ

11

12

สูงสุด

16,779.25

15,880.9

15,859.35 15,683.15

ต่ําสุด

8,390.8

14,126.25

14,334.9

14,512

ลําดับ

13

10

10

10

Facebook ของสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ของแตมหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นที่ภาคภายัพ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน


34

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอีสาน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา


35

คายวิศวกรรมคอมพิวเตอร Open House เปดบาน เปนกิจกรรมที่คณะตางๆ ในมหาวิทยาลัย จัดขึ้นเพื่อใหนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา เขามาเยี่ยมชมคณะวา มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับสาขาอะไรบาง มีนิทรรศการแสดงโครงงานของ นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู แนะแนวการเรียน การเตรียมตัวสอบเขาคณะ กิจกรรมการแขงขันตางๆ รวมถึงกิจกรรมสันทนาการ ซึ่งชวยในการตัดสินใจของนักเรียนที่สนใจวาชอบคณะนี้หรือไม และเพิ่ม ความเขาใจเกี่ยวกับการเรียนในคณะนี้ กิจกรรม Open House จะสวนใหญจะมีเฉพาะคณะที่ใหญๆ หรืออาจจะเปนกิจกรรม Open House ของมหาวิทยาลัย โดยจะจัดขึน้ เกือบทุกป โดยชวงเวลากิจกรรมจะไมตรงกันทุกป ขึ้นอยูก ับความสะดวกของแตละคณะ สามารถติดตามกิจกรรมนี้ได ที่เว็บไซตของคณะที่สนใจ คายกิจกรรมวิศวกรรมคอมพิวเตอร คายกิจกรรมวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนกิจกรรมที่เปดโอกาศให นักเรียนในระดับมัธยม ปลาย ไดมีโอกาสเรียนรู ทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร ไมวาจะเปน การเขียนโปรแกรม (Programming) การออกแบบและสรางหุนยนต (Robot) และ ความรูทางดานเครือขาย (Network) และเปนตัวชวยในการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรดวย เพราะไดมีการทดลองตางๆ รวมถึงไดเรียนทฤษฏีพื้นฐานของสาขา วิศกรรมคอมพิวเตอร ในแตละมหาวิทยาลัยก็จะมีคายกิจกรรมวิศวกรรมคอมพิวเตอร แตกตางกันไป โดยหลักๆจะ เนน วิชาทางดานพื้นฐาน กิจกรรมการแขงขันตางๆ และความสามัคคี ซึ่งจะเปนคายระยะสั้น ประมาณ 1 สัปดาห มีที่พักและอาหารจัดไวให ตลอดระยะเวลาหลักสูตรของคาย ควบคุมกิจกรรมโดยรุนพี่ วิศวกรรมคอมพิวเตอร โดยทั่วไปจะเปดรับสมัคร และอบรมในชวงซัมเมอร เหมาะสําหรับนักเรียนที่ยังตัดสินใจ ไมไดวา ชอบเรียนทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรรึเปลา รวมถึงนักเรียนที่ตองการเตรียมความพรอม กอนเขาเรียนจริง


36

ตัวอยางคายกิจกรรมวิศวกรรมคอมพิวเตอรของแตละมหาวิทยาลัย CE SMART CAMP ของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เริ่มรับสมัคร ชวง เดือนมีนาคม เริ่มกิจกรรม ชวง ตนเดือน เมษายน ระยะเวลาโครงการ 7 วัน 6 คืน ขอมูลโครงการอบรม รับนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 80 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การอบรมความรูคอมพิวเตอรพื้นฐานและระบบเครือขายคอมพิวเตอร ดวยอุปกรณทันสมัยจาก CISCO จํานวน 40 คน การอบรมการเขียนโปรแกรมควบคุมหุนยนต LEGO MINDSTORM จํานวน 40 คน เว็บไซตคายกิจกรรม http://www.cesmartcamp.com

COM CAMP ของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เริ่มรับสมัคร ชวง เดือนมีนาคม เริ่มกิจกรรม ชวง สิ้นเดือน มีนาคม ระยะเวลาโครงการ 7 วัน 6 คืน


37

ขอมูลโครงการบรม แนวความรูที่จะไดรับ แบงเปน 4 ประเภท 1. Programming ภาษาซี ตั้งแตระดับเริ่มตน 2. Robot 3. Hardware & Network การประกอบคอมพิวเตอร ลงระบบปฏิบัติการ 4. Graphic เว็บไซตคายกิจกรรม https://www.facebook.com/KMUTTcomcamp

i-Tim Robotics Camp ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เริ่มรับสมัครชวง กลางเดือนมกราคม เริ่มกิจกรรมชวง กลางเดือนมีนาคม ระยะเวลาโครงการ 5 วัน 4 คืน ขอมูลโครงการ เรียนรูการออกแบบ และเขียนโปรแกรมสั่งงานหุนยนต Robotic โดยใช GoGo Board และเขียนโปรแกรมโดยใชภาษา Logo เว็บไซตคายกิจกรรม https://www.facebook.com/pages/I-Tim-RoboticsCamp/141504982878


38

Click Camp ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เริ่มรับสมัครชวง ตนเดือนมกราคม เริ่มกิจกรรมชวง ตนเดือนกุมภาพันธ ระยะเวลาโครงการ 3 วัน 2 คืน ขอมูลโครงการ รับนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 70 คน เรียนรูการออกแบบ และเขียนโปรแกรมภาษาซี วิชาดิจิตอลพื้นฐาน เว็บไซตคายกิจกรรม https://www.facebook.com/ClickCamp5

TOFFY Camp (Technology Of Future For Youth) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน เริ่มรับสมัครชวง กลางเดือนธันวาคม เริ่มกิจกรรมชวง กลางเดือนมีนาคม ระยะเวลาโครงการ 5 วัน 4 คืน ขอมูลโครงการ


39

รับนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 50 คน ระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 - 6 เรียนรูการออกแบบ และเขียนโปรแกรมภาษา C# บัดกรีวงจรดิจิตอล เขียนโปรแกรมบนมือถือ Android โดยโปรแกรม App Inventor เว็บไซตคายกิจกรรม http://www.cpsk69.com/toffycamp/

BitByte Camp ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เริ่มกิจกรรมชวง ปดภาคการศึกษาเดือนตุลาคม ขอมูลโครงการ จุดประสงคเพื่อเผยแพรความรูสูชุมชนในพื้นที่หางไกลดวยการจัดอบรมการ ใชโปรแกรม คอมพิวเตอรใหแกประชาชนในจังหวัด โดยมีนิสิตเปนวิทยากรผูอบรมและคณาจารยเปนผูควบคุมดูแล วิชาที่สอน Introduction to computer Photoshop Multimedia Web Management Visual Basic.Net เว็บไซตคายกิจกรรม http://www.cp.eng.chula.ac.th/bitbyte/7th/


40

KMUTNB ROBOT CAMP ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

เริ่มรับสมัครชวง กลางเดือนธันวาคม เริ่มกิจกรรมชวง ปดภาคเรียน ขอมูลโครงการ ระยะเวลาโครงการ 5 วัน 4 คืน รับนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 300 คน ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 และ ปวช เรียนรูการออกแบบ และเขียนโปรแกรมสั่งงานหุนยนต Robotic เว็บไซตคายกิจกรรม https://www.facebook.com/pages/Robot-CampKMUTNB/132041380201238

CESCA Camp ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน สอนการเขียนหุนยนต การเขียนเว็บไซต และการใชงาน Open Source เว็บไซตคายกิจกรรม https://www.facebook.com/CESCA.KKU


41

กาวแรกในรั้วมหาวิทยาลัย รับนอง “ขอแสดงความยินดีกับนองใหมทุกทาน ที่สามารถสอบผานเขามาในคณะของเรา” ประโยค แรกที่รุนพี่กลาวหนาแถว ทามกลางสายตาอันไรเดียงสาของรุนนอง โดยไมรูเลยวาอะไรจะเกิดขึ้นตอ จากนี้ไป กิจกรรมการรับนอง ถือเปนกิจกรรม หนึ่งที่ นักศึกษาทุกคนตองเจอ โดยเนื้อหาหลักๆ แลวหลักๆ ก็คือการรองเพลงและเตนรํา แตในความเปนจริงแลว วัตถุประสงค ของกิจกรรมรับนอง ก็คือการเชื่อมสัมพันธไมตรี ระหวางรุนพี่และรุนนอง รวมถึงการทําใหนองใหมได รูจักกันไดเร็วขึ้นและที่สําคัญเปนการฝกความอดทน กิจกรรมรับนองเปน กิจกรรมอันโปรดปรานของรุนพี่ เพราะสังเกตไดจากสีหนาของพี่ๆ ซึ่งจะแตกตางกับรุนนอง ที่ขาดไมไดคือการเตนทางทางตางๆ โดยเฉพาะเพลงบังคับ เชน ทาไกยางถูกเสียบ ในเพลงไกยาง หากใครเคยเตนทานี้แลว แสดงวาคุณไดผานกิจกรรมรับนองมาแลว ซึ่งทุกๆมหาวิทยาลัย จะเตนคลายๆกัน ไมคอยแตกตางกันสักเทาไหรนัก อีกสิ่งที่ลืมไมได นั่นก็คือสัญลักษณของนองใหม นั่นก็คือ “ปายชื่อ” หากขนาดยิ่งใหญยิ่งดี แตหากมองกันลึกๆแลว เหตุผลของการมีปายชื่อ ทําใหเพื่อนๆและรุนพี่ และสามารถจดจําชื่อของเรา ไดงายขึ้นนั่นเอง ซึ่งหากกลาวถึงกิจกรรมรับนองทุกคนจะกลัววา จะโหดไหมจะหนักไหม แนนอนคงมีบางและ คณะวิศวกรรมศาสตร ถือวารับนองโหดที่สุด แตคงไมเหมือนในขาวโทรทัศน ที่จะตองไปยืนตากแดด ตากฝน นอนกลิ้งไปกลิ้งมาบนพื้นยางมะตอย กิจกรรมพิเลนๆ อันไมปรารถนา ดังปรากฏในหนาหนังสือ พิมพแนนอน


42

สถานที่รับนอง แตละมหาวิทยาลัยก็จะแตกตางกันไป ถามหาวิทยาลัยทางภาคเหนือก็จะให กิจกรรมรับนองขึ้นดอย บางมหาวิทยาลัยทางภาคใต ภาคตะวันออก ก็นิยมไปรับนองทีร่ ิมทะเล บางมหาวิทยาลัยมีเสนทางรถไฟวิ่งผาน ก็จะมีรับนองรถไฟดวย ซึ่งรูปแบบการรับนองคงจะมีไมกี่มุข เชน มุขปดตาลอดซุม, จับนองแตหนาแตงตา, ลุยโคลน, ปดตาใหกินอะไรที่รสชาติแปลกๆ และยังมีการรับนอง ในแบบอื่นๆ เชน รับนองโรงเรียน (โรงเรียนมัธยม) รับนองจังหวัด ซึ่งจะเปนการพาไปเลี้ยงอาหาร หรือพาไปสังสรรค สวนตัวคิดวาการรับนอง ถือเปนกาวแรกในรั้วมหาวิทยาลัย ขอใหสนุกกับกิจกรรม แตอยา ลืมวาหนาทีห่ ลักของเราคือ เรียนหนังสือ กิจกรรมซอมเพลงเชียร เปนกิจกรรมแกมบังคับของนัก ศึกษาวิศวะฯ ไมไดบังคับใหทุกคนเขา กิจกรรม แตถามานอยอาจจะไมไดรุน (ไมบังคับเลย) โดยหลักๆของกิจกรรมนี้คือฝก ความอดทนอดกลั้น เพื่อเตรียมความ พรอมกอนเจอวิชาเรียนอันแสนหนักของ เหลานักศึกษาวิศวะฯ

Last Cheer วันสุดทายของกิจกรรมเชียร

ชื่อก็บอกอยูแลว คงไมมีอะไรมากกวา การซอมรองเพลงเชียร และการถูกตําหนิติเตียน จากรุนพี่ (หนวยวาก หรือ วากเกอร) ไมวาจะเรื่องการแตงกายที่ไมเปนระเบียบ การไมเคารพอาจารย และรุนพี่ รวมถึงไมมีความสามัคคี รองเพลงเสียไมดังบาง รองเพลงไมไดเรื่อง สารพัดคําติ ฯลฯ กิจกรรมนีม้ ีเหตุผลของตัวมันเองอยู วาทําไมตองมีดวย ถาคุณขึ้นป 2 ก็จะทราบเอง โดยสวนตัว กิจรรมนี้เปนกิจกรรมที่ทุกคนควรจะเขารวม ใหครบทุกครั้ง มันเปนการพิสูจน ตัวคุณเองวามีความอดทนแคไหน อดทนตอแรงกดดันตางๆ อดทนตอความลําบาก สุดทายเมื่อคุณผาน มันไปได คุณก็พรอมที่จะเรียนคณะวิศวกรรมอยางเต็มตัว


43

เกียรและแหวนรุน คือสัญลักษณที่เปนสิ่งภาคภูมิใจของชาวนัก ศึกษาวิศวะฯ เปนสิ่งที่แทนวาตัวคุณและรุนของคุณ ไดผาน กิจกรรมที่แสนยากลําบาก ตอจากนี้ไปทุกคน คือเพื่อน รุนเดียวกัน

เกียรคณะวิศวกรรมศาสตร

ในอีกความหมายหนึ่ง เกียรคือสวนประกอบหนึ่งของ เครื่องจักร เครื่องจักรไมสามารถทํางานไดหากขาดเกียรตัวใดตัวหนึ่ง ไป และไมมีเครื่องจักรใดทํางานไดเพียงแคใชเกียรเพียงตัวเดียว เหมือนกันเราตองมีความสามัคคีกัน จึงจะสามารถแกไขปญหา แหวนรุนคณะวิศวกรรมศาสตร อุปสรรคตางๆได เกียรและแหวนรุนของแตมหาวิทยาลัย ก็จะมีลักษณะแตกตางกันไปแตจะคลายๆกัน โดยจะสลักเลขรุนไวในเกียรและแหวนรุน เพื่อบงบอกวาเปนรุนที่เทาไหร อีกวัตถุประสงคหนึ่งของ เกียร คือ เอาไวใหเด็กวิศวะนําไปมอบใหหญิงสาวที่รัก ซึ่งมีความหมายวา ไมวาจะลําบากแคไหนผมก็พรอมที่จะทําเพื่อคุณ คลาสสิกไหมหละ การแตงกาย แนนอน เครื่องแตงกายของวิศวะจะมีสองแบบ ชุดนักนิสิตนักศึกษาสีขาว กางเกงแสลกสีดําหรือกรมทา ผูกเน็คไทด รองเทาหนังหรือ ผาใบสีดํา ชุดชอปกางเกงยีนรองเทาผาใบ โดยสีของชุดชอป ของแตละมหาวิทยาลัยก็จะมีสแี ตกตางกัน สวนมากจะเปนสีกรมทา หรือสีเทาออน ชุดช็อป คือ ชุดที่ออกแบบมาใหกับนักศึกษาวิศวกรรมโดยเฉพาะ เนื่องจากวิชาเรียนมีวิชา ปฏิบัติ ดังนั้นหากใสชุดนิสติ อาจจะทําใหเกิดอันตรายและเปอ นไดงาย ดังนั้นจึงมีชุดชอปใชใสในวิชา ปฏิบัติ คุณสมบัติ เดนคือสวมใสงายสะดวกสบาย ไมตองรีดก็สามารถเรียบเองได ยับยากและ ที่สําคัญไมตองซักบอย


44

โครงสรางหลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร 1.

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เชนวิชา กลุมสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร กลุมวิชาภาษาอังกฤษ ฯลฯ

2.

หมวดวิชาเฉพาะ a. กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน

คือวิชาพื้นฐานวิศวกรรม ทุกสาขาตองเรียนวิชาพื้นฐานนี้ และบังคับดวยวา เรียนปไหนเทอมไหน เชน ป 1 เทอม 1 เรียนวิชา ENGINEERING MATHEMATICS 1, GENERAL PHYSICS 1, GENERAL CHEMISTRY, ENGINEERING DRAWING ป 1 เทอม 2 ENGINEERING MATHEMATICS 2, GENERAL PHYSICS 2, ENGINEERING MECHANICS, ENGINEERING MATERIALS ป 2 เทอม 1 ENGINEERING MATHEMATICS 3 ดังนั้นจะไมสามารถหลีกเลี่ยงได b. กลุมวิชาบังคับ คือวิชาที่ถูกบังคับใหเรียน เปนวิชาของหลักสูตรนั้นๆ เชน วิศวกรรมคอมพิวเตอร ก็เรียนวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร วิศวกรรมเกษตร ก็เรียนวิชาเกี่ยวกับเกษตร โดยจะถูกกําหนดมาแลววา เทอม 1 เรียนอะไรบาง เทอม 2 เรียนอะไรบาง จนถึงป 4 c.

กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา

หรืออีกชื่อหนึ่งเรียกวา วิชาเลือกเสรีในภาค เปนวิชาเลือกที่เกี่ยวกับภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอรของเราเอง เราสามารถเลือกเองได โดยเลือกใหครบ จํานวนหนวยกิจ ที่กําหนดไว เชน 15 หนวยกิจ เราก็สามารเลือกได 5 วิชา ในกรณีที่วิชาละ 3 หนวยกิจ ตัวอยางวิชาเลือกเฉพาะสาขา เชน MICROPROCESSOR AND INTERFACING, INTRODUCTION TO ROBOTICS, DESIGN AND ANALYSIS OF ALGORITHM, DESIGN AND IMPLEMENTATION OF OPERATING SYSTEMS, JAVA TECHNOLOGY, ADVANCED DATABASE SYSTEMS, OBJECT ORIENTED SOFTWARE ENGINEERING ฯลฯ


45

3.

กลุมวิชาเลือกเสรี

หรืออีกชื่อหนึ่งคือ วิชาลือกเสรีนอกภาค เปนวิชาเลือก อะไรก็ได เชน เลือกเกี่ยว กับวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร อังกฤษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร หรือจะไปเลือก วิชาเลือกเฉพาะสาขาเพิ่ม หรือไปเลือกวิชาเลอืกเฉพาะสาขาของคณะอื่น ก็ได แตที่แนๆ ควรเปนวิชาที่ถนัดหรืออยากเรียน ไมควรไปลงประเภทที่วา วิชาภาษาญี่ปุนกับคณะมนุษย เรียนไปจะกลายเปนฐานเขาซะเอง ถาอยากเรียนก็สามารลงแบบไมคิดเกรดได จะไดไมฉุดเกรด


46

วิธีเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร ในการคิดคะแนนเกรด ของระดับมหาวิทยาลัย จะคิดคะแนนอิงกลุม คือดูคะแนนเฉลี่ย (Mean Score) วิธีดูคราวๆคือ ถาไดต่ํากวา คะแนนเฉลี่ยมากๆ มีโอกาศได F แตถาไดสูงมากๆ ก็มี โอกาสได A ทําใหบางครั้ง 70 คะแนน ก็อาจไดเกรด A ถาเกณฑเฉลี่ยของคะแนนในวิชานั้นต่ํา หรือ คะแน 80 คะแนน ก็อาจไดแค B+ ถาเกณฑเฉลี่ยคะแนนของวิชานั้นสูงกันมาก บางวิชาเปนวิชาพื้นฐาน ดังนั้นบางครั้งอาจจะเรียนวิชาเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย เชน Math 1, Foundation English 1 ทําใหวิธีการคิดคะแนน จะคิดคะแนนรวมกันทั้งมหาวิทยาลัย ไมมีการ แยกคณะ หรือ สาขา ทําใหตองดูคะแนนตอนกลางภาค วาไดต่ํากวาคะแนนเฉลี่ย (Mean Score) เยอะไหม หรือมากกวาคะแนนเฉลี่ยเยอะไหม ก็พอจะคาดเอาอนาคตได วาตองเตรียมตัวสอบ ในปลายภาคแคไหน และในบางมหาวิทยาลัย นักศึกษาวิศวกรรมศาสตรป 1 จะแบงหองเรียงตามตัวอักษร เนื่องจากป 1 จะเรียนวิชาบังคับพื้นฐานเหมือนกันทุกภาควิชา ทําใหแตละหองไดเรียนกับเพื่อนตาง ภาควิชาเปนเวลา 1 ป กอนยายเขาภาควิชาในตอนป 2 หากจะแบงวิชาเรียนตาม เนื้อหาสามารถแบง วิชาเรียนออกเปน 2 ประเภท 1. วิชาเรียนมีแตทฤษฏี 2. วิชาเรียนมีทฤษฏีและปฏิบัติ แนนอนวิชาสายวิศกรรมสวนมาก จะมีวิชาทฤษฏีควบคูกับปฏิบัติ เพื่อใหสามารถนําทฤษฏี ที่เรียนมาทดลองใชงานจริง และนําไปประยุกตได สวนมากวิชาทฤษฏีจะมีจํานวนหนวยกิจมากกวาวิชา ปฏิบัติ เชน ทฤษฏี 3 หนวยกิจ ปฏิบัติ 1 หนวยกิจ ดังนั้นเวลาที่ปฏิบัติจริงอาจจะไมเพียงพอ แคเช็คชื่อ และอธิบายใบงาน ก็ใชเวลาเกือบๆ ครึ่งชั่วโมง บางใบงานมีหัวขอเยอะและรายละเอียดเยอะ ไมสามารถ ทําใหเสร็จในคาบปฏิบัติได ดังนั้นตองไปทดลองตอที่บานเพิ่มเติม วิชาปฏิบตั ิ เปนสวนสําคัญอีกอยางหนึ่ง เพราะถาเราเขาใจแตทฤษฏีแตไมลองปฏิบัติ จะทําใหเราไมสามารถนําไปประยุกตใชกับงานจริงได ดังนั้นควรจะทําเองใหครบทุกขอ ครบทุกใบงาน ยิ่งทําเองเทาไหรเวลาสอบปฏิบัติ ก็จะยิ่งงายขึ้นเทานั้น เพราะเวลาสอบปฏิบัติก็คือใบงานตั้งแต ใบงานแรก จนถึงใบงานสุดทายมารวมกันเปนขอสอบและเพิ่มเติมหรือดัดแปลงเล็กๆนอยๆนั่นเอง ขอเสียอยางหนึ่งของวิชาปฏิบัติที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอรคือ เนื่องจากเปนการเขียนโปรแกรม สามารถกอปงานสงได เพราะใบงานเดียวกัน คําถามเดียวกัน ทําใหบางคนคิดวา แคใหเพื่อนทําเสร็จแค คนเดียวก็พอ ทีเหลือก็รอกอปสงกันเอา จึงทําใหเวลาสอบไมสามารถทําเองได เพราะวาเวลาสอบจะตอง


47

สอบปฏิบัติเดี่ยว ไมมีสอบคูหรือสอบกลุมแนนอน ทําเองทั้งหมด และบางทีขอสอบจะไมเหมือนกัน ทํา ใหไมสามารถทําเองได “สบายตอนแรกอาจจะลําบากทีหลังก็ได” ทองไว ในการเรียน สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ระดับความยากงาย แตของแตละเทอมแตละชั้นป ไมเทากัน ดังนั้นวิธีเรียนตองปรับไปตาม ภาคการศึกษา แตที่แนๆ วิธีเรียนจะตองเรียนทฤษฏีใหเขาใจกอน หากไมเขาใจ เวลาคาบเรียนปฏิบัติ (ลง Lab) ก็จะไมสามารถทํา Lab ได งานทุกชิ้นที่อาจารยสั่งเปนการบาน และใบงานในวิชาปฏิบัติ ตองลงมือทําเองใหหมด เพื่อเปนการทบทวนวาเราเขาใจถูกตอง และเปนการทบทวน โดยใน ป 1 เทอม 1 จะเรียนวิชาพื้นฐาน วิศวกรรมทั้งหมด และเปนวิชาเริ่มตน ที่จะนําไปตอยอดตัวที่ 2 ในเทอมถัดไป คือ ENGINEERING MATHEMATICS 1, GENERAL PHYSICS 1, ENGINEERING DRAWING, COMPUTERS AND PROGRAMMING โดยในครึ่งเทอมแรก จะเรียนเรื่องคลายๆ ในสมัยมัธยม ดังนั้นจะตองทําคะแนนออกมาใหดี ที่สุด (เริ่มดีมีชัยไปกวาครึ่ง) แตจะอุปสรรค คือ จะมีกิจกรรมรับนองทอดแทรก หลังเวลาเรียน ทําใหไมมี เวลาในการเตรียมตัว จะรูสึกเหมือนวาพึ่งเขามายังไมไดทําอะไรเลย สอบกลางภาคแลวเหรอ สวนครึ่งเทอมหลัง วิชาจะเริ่มยากขึ้น เปนความรูใหมๆ ที่ตอยอดมาจากครึ่งเทอมแรก ดังนั้นตองเตรียมตัวใหพรอมไวดวย แตวิชาที่สําคัญที่สุดในการเรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอร อยูที่เทอมนี้คือ วิชา COMPUTERS AND PROGRAMMING โดยบางมหาวิทยาลัย จะสอนโดยใช ภาษา C, Java หรือ C# เนื่องจากหาก สามารถทําความเขาใจไดดี ทําใหเวลาเรียนในปถัดไป สามารถเรียนไดงายขึ้น เพราะเกือบทุกวิชาใช พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมทั้งสิน้ ดังนั้นวิชานี้เปนวิชาที่สําคัญที่สุด สวนในป การศึกษาที่ 2 วิชาจะเปนวิชาตอเนื่องมาจาก เทอม 1 เชน ENGINEERING MATHEMATICS 2, GENERAL PHYSICS 2 และ ENGINEERING MATERIALS แตยังมีวิชาเลือกเสรี ใหเราไดเลือก 2 ตัว ถือวาเปนตัวชวยดึงเกรดของเทอมนี้


48

แคเทอมหนึ่ง ก็วายากแลว มีตัวตอเนื่องอีกยากยิ่งกวา เพราะเรียนบทถัดไปจากเรียนเทอม แรก ในเทอมสองนี้ จะไมมีกิจกรรมตางๆแลว ดังนั้นจึงมีเวลาในการเตรียมตัวกอนสอบเยอะ ถือวาเทอมนี้เปนเทอมที่ยาก ในอันดับตนๆ ของการเรียน 4 ป ในป 2 และ ป 3 จะเปนวิชาบังคับ และวิชาเลือกเสรีเฉพาะสาขา เกือบทั้งหมด และอาจ จะเหลือวิชาพื้นฐานวิศวกรรมแค ENGINEERING MATHEMATICS 3 เพียงตัวเดียว โดยใน ป 2 และ ป 3 นั้นถาหาก เขาใจพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมแลว ก็ตอยอดเรียน วิชาบังคับ และวิชาเลือกเสรีเฉพาะสาขาไดงายขึ้น เพราะเกือบทุกวิชาตองเขียนโปรแกรม หรือใชพื้น ฐานการเขียนโปรแกรม ป 4 จะเปนปที่นักศึกษา จะตองทําโปรเจคจบ (วิทยานิพนธ) โปรเจคจะไดคะแนนดีหรือ ไมดี ขึ้นอยูกับสองสิ่งคือ คะแนนจาก อาจารยที่ปรึกษา 60 - 70% เปนคนตัดสินไดเลยวาจะผานหรือไม ไดคะแนนดี หรือไม ดังนั้นตองเขาไปปรึกษาอาจารยบอยๆ เพื่อใหอาจารยที่ปรึกษาเห็นวาเราสนใจที่จะทําโปรเจค รวมถึงเห็นพัฒนาการของโปรเจคเรา และใหโปรเจคของเรา เปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว วัตถุประสงคของโปรเจค ก็คือ สิ่งที่บอกวาโปรเจคเราสามารถทําอะไรไดบาง เชน เปนระบบ 3D หรือ สามารถรองรับผูใชงานพรอมกันได 100 คน ดังนั้นเวลาที่ตั้งวัตถุประสงค ควรจะตั้งความเปน จริงที่คิดวาสามารถทําได ซึ่งคะแนนจะดูจากตามวัตถุประสงค วาโปรเจคเราทําไดตามวัตถุประสงค ที่ตั้งไวรึเปลา คะแนนจากการสงรายงานความคืบหนา คะแนนจากการสอบพรีเซนตโปรเจคหนาชั้นเรียน และคะแนนจากการตอบคําถามคณะกรรมการสอบ สวนเวลาวาง เสาร อาทิตย ก็ทบทวนเรื่องที่เรียนมา และเรื่องที่จะเรียนในสัปดาหถัดไป คราวๆก็พอ เพื่อใหไมลืมเรื่องเกา และพรอมเรียนเรื่องใหม กอนสอบก็ ใหอานทบทวนจริงๆจังๆ สัก 1 อาทิตยกอนสอบ แลวถามีเวลาวาง ควรจะให เปนติวเตอรสอนเพื่อนๆ อีกครั้งกอนสอบ เพื่อจะไดเปนการทบทวนครั้งสุดทาย และตรวจเช็ควาเขาใจ ถูกตองหรือไม เชื่อวาคะแนนจะออกมาดีแนนอน


49

รายละเอียด กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 ENGINEERING MATHEMATICS 1 คําอธิบายรายวิชา ลิมิต ความตอเนื่อง อนุพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และสูตร อนุพันธของฟงก ชันเชิงกําลังฟงกชันพหุนาม ฟงกชันเลขชี้กําลัง ฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันลอการิทึม ฟงกชันตรีโกณ มิติผกผัน และฟงกชันโดยปริยายกฎการหาอนุพันธ กฎผลคูณ กฎผลหาร กฎลูกโซ ฯ รูปแบบยังไม กําหนด ปริพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และสูตร ทฤษฎีพื้นฐานของแคลคูลัส ตระกูลเสน โคงแบบพาราเมตริก การหาคาเหมาะที่สุด เทคนิคของปริพันธ ปริพันธไมตรงแบบ การลูเขาและการลู ออกของปริพันธ ระเบียบวิธีเชิงเลขของปริพันธ การประยุกตของปริพันธ สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน อันดับหนึ่ง อันดับสอง ที่มีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบเอกพันธ และมีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบ ไมเอกพันธ การประมาณคาของฟงกชันโดยใชพหุนามเทเลอร อุปนัยเชิงคณิตศาสตร ลําดับ อนุกรม อนุกรมเทเลอร อนุกรมกําลัง อนุกรมฟูริเยร Limits, Continuity. Derivatives of functions defined by graphs, tables and formulas. Differentiation of power, polynomial, exponential, trigonometric, logarithmic, inverse trigonometric functions and implicit differentiation. Differentiation rules: product rule, quotient rule, chain rule, etc. Indeterminate form. Integral of functions defined by graphs, tables and formulas. Fundamental theorem of calculus. Parameterized families of curves. Optimization.Techniques of integration. Improper integrals. Convergence and divergence of integrals. Numerical methods of integration. Applications of integration. First and second order linear constant coefficient homogeneous and inhomogeneous differential equations. Approximation of functions by means of Taylor polynomials. Mathematical Induction. Sequences. Series. Taylor series. Power series. Fourier series. หนังสืออางอิง Calculus: Single and Multivariable, 5th Edition, Hughes-Hallett, Gleason, et al. เนื้อหา เรียนสัปดาหที่ 1


50

1.1: Functions and change 1.2: Exponential functions 1.3: New functions from old 1.4: Logarithmic functions เรียนสัปดาหที่ 2 1.5: Trigonometric functions 1.6: Powers, polynomials, and rational functions 1.7: Introduction to continuity 1.8: Limits เรียนสัปดาหที่ 3 2.1: How do we measure speed? 2.2: The derivative at a point 2.3: The derivative function 2.4: Interpretation of the derivative เรียนสัปดาหที่ 4 2.5: The second derivative 2.6: Differentiability 3.1: Powers and polynomials 3.2: The exponential function เรียนสัปดาหที่ 5 3.3: Product and quotient rule 3.4: The chain rule 3.5: Trigonometric functions, trigonometric equations, laws of sine and cosine 3.6: The chain rule and inverse functions เรียนสัปดาหที่ 6 3.7: Implicit functions


51

3.8: Hyperbolic functions 3.9: Linear approximations and the derivative 3.10: Theorems about differentiable functions เรียนสัปดาหที่ 7 4.1: Using first and second derivative 4.2: Optimization 4.3: Families of curves 4.4: Optimization, Geometry and modeling 4.6: Rates and related rates เรียนสัปดาหที่ 8 4.7: L'Hopital's rule, growth, and dominance 4.8 Parametric equations 5.1: How do we measure distance traveled? 5.2: The definite integral 5.3: The fundamental theorem and interpretations เรียนสัปดาหที่ 9 5.4: Theorems about definite integrals 6.1: Antiderivatives graphically and numerically 6.2: Constructing antiderivatives analytically 6.3: Differential Equations เรียนสัปดาหที่ 10 6.4: Second Fundamental theorem of calculus 6.5: Equation of motion 7.1: Integration by substitution 7.2: Integration by parts 7.3: Tables of integrals เรียนสัปดาหที่ 11


52

7.4 Algebraic Identities and Trigonometric Substitutions เฉพาะหัวขอ Method of Partial Fractions 7.5: Approximating definite integrals 7.6: Approximation errors and Simpson’s rule 7.7: Improper integrals 7.8: Comparison of improper integrals เรียนสัปดาหที่ 12 8.1: Areas and volumes 8.2: Applications to geometry 8.3: Area and arc length in polar coordinates 8.4: Density and center of mass 8.5: Applications to Physics เรียนสัปดาหที่ 13 9.1: Sequences 9.2: Geometric series 9.3: Convergence of series 9.4: Tests for convergence 9.5: Power series and interval of convergence เรียนสัปดาหที่ 14 10.1: Taylor polynomials 10.2: Taylor series 10.3: Finding and using Taylor series 10.5: Fourier Series ชื่อวิชา ENGINEERING MATHMATICS จริงๆก็คือวิชา CALCULUS สังเกตตําราที่ใชเรียน เปนตํารา CALCULUS เนื้อหาก็เกี่ยวกับ CALCULUS เปนวิชาบังคับที่วิศวกรทุกสาขาวิชา ทุกคนตอง ไดเรียน ควรจะใหความสําคัญกับวิชานี้เปนอันดับตนๆ เพราะตองใชเรียนตอยอดใน ENGINEERING MATHMATICS 2 และ 3 อีก วิธีเรียนคือตองทําความเขาใจในตอนเรียน แลวหลังเลิกเรียนใหฝกทํา โจทยเยอะๆ พยายามทําการบานเอง จะชวยไดมาก หามปลอยใหหลุดเพียงสัปดาหเดียว เพราะไมงนั้


53

สัปดาหถัดไปก็จะเริ่มไมคอยรูเรื่องแลวก็จะเปนดินพอกหางหมูแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนไมตองเขาเรียนก็ได เพราะเขาไปก็ไมรูเรื่อง โดยครึ่งเทอมแรก สอบตั้งแตบทที่ 1 ถึง 3 จะเปนเรื่องเบื้องตน ที่เคยเรียนสมัย มัธยม เรื่อง Limit, Derivative ดังนั้นชวงนี้ตองทําคะแนนใหไดสูงไวกอน เพราะครึ่งเทอมหลังจะยาก ขึ้นเรื่อยๆ โดยครึ่งเทอมหลัง สอบตั้งแตบทที่ 4 เปนตนไป หลังจากเรื่อง Integration เรื่องและ การหา Areas and volumes ของรูปทรงตางๆ แลวก็จะเริ่มยากขึ้น โดยเฉพาะ Fourier Series จะยากที่สุด ในวิชานี้ ถาเปรียบเหมือน นักกระโดดน้ําก็เปนประมาณเลนทายาก แตนี่ยังเปน Fourier เบื้องตนยัง ตองไปเจอเรื่อง Fourier Series, Integrals and Transforms อีกครั้งใน ENGINEERING MATHEMATICS 3 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 (ENGINEERING MATHEMATICS 2) คําอธิบายรายวิชา แคลคูลัสของฟงกชันหลายตัวแปรเบื้องตน พิกัดเชิงขั้ว การวิเคราะหฟงกชันหลายตัวแปร ฟงกชันคาเวกเตอร อนุพันธยอย และปริพันธหลายชั้น การวิเคราะหเวคเตอร เทคนิคการหาคาเหมาะที่ สุด สมการพาราเมตริก ปริพันธเชิงเสน ปริพันธเชิงพื้นผิว และทฤษฎีบทหลักที่เกี่ยวกับการประยุกต เชน ทฤษฎีบทของกรีน ทฤษฎีไดเวอรเจนซ ทฤษฎีบทของเกาส ทฤษฎีบทของสโตกส เปนตน ตัวแปร เชิงซอน ฟงกชันของตัวแปรเชิงซอน อนุพันธและสมการคอชี-รีมันน ปริพันธ และทฤษฎีบทปริพันธคอชี อนุกรมกําลังและอนุกรมลอเรนต ทฤษฎีบทเรซิดิว การสงคงรูปและการประยุกต Introduction to Multivariable Calculus. Polar coordinates. Analysis of functions of several variables, vector valued functions, partial derivatives, and multiple integrals. Vector analysis. Optimization techniques, parametric equations, line integrals, surface integrals and major theorems concerning their applications: Green’s Theorem, Divergence Theorem, Gauss Theorem, Stokes Theorem, etc. Complex Variable. Functions of a complex variable. Derivatives and Cauchy-Riemann equations. Integrals and Cauchy integral theorem. Power and Laurent Series. Residue theory. Conformal mapping and applications. หนังสืออางอิง 1. Hughes-Hallett et. al. Calculus: Single and Multivariables 5th Ed Wiley 2010 2. D. G. Zill, P. D. Shanahan: A first course in complex analysis with applications


54

เนื้อหา เรียนสัปดาหที่ 1 12.1: Functions of two variables 12.2: Graphs of functions of two variables 12.3: Contour diagrams 12.4: Linear functions 12.5: Functions of three variables 12.6: Limits and continuity 13.1: Displacement vectors 13.2: Vectors in general 13.3: The dot product 13.4: The cross product เรียนสัปดาหที่ 2 14.1: The partial derivative 14.2: Computing partial derivatives algebraically 14.3: Local linearity and the differential 14.4: Gradients and the directional derivatives in the plane 14.5: Gradients and the directional derivative in the space เรียนสัปดาหที่ 3 14.6: The chain rule 14.7: Second order partial derivatives 14.8: Differentiability 16.1: The definite integral of a function of two variables 16.2: Iterated integrals เรียนสัปดาหที่ 4 16.3: Triple integrals 16.4: Double integrals in polar coordinates 16.5: Integrals in cylindrical and spherical coordinates 16.7: Change of Variables in a Multiple Integral


55

เรียนสัปดาหที่ 5 17.1: Parametrized curves 17.2: Motion, velocity, and acceleration 17.3: Vector Field 17.4: The Flow of a Vector Field 17.5: Parameterized Surfaces เรียนสัปดาหที่ 6 18.1: The idea of a line integral 18.2: Computing line integrals over parameterized curves 18.3: Gradient fields and path-independent fields 18.4: Path-dependent vector fields and Green's theorem สอบกลางภาค เรียนสัปดาหที่ 7 19.1: The idea of a flux integral 19.2: Flux integrals for graphs, cylinders, and spheres 19.3: Flux Integrals over Parameterized Surfaces เรียนสัปดาหที่ 8 20.1 The Divergence of a Vector Field 20.2 The Divergence Theorem 20.3 The Curl of a Vector Field 20.4 Stokes'Theorem 20.5 The Three Fundamental Theorems เรียนสัปดาหที่ 9 (ใชหนังสือของ D. G. Zill, P. D. Shanahan: A first course in complex analysis with applications) 1.1 Complex Numbers and Their Properties 1.2 Complex Plane 1.3 Polar form of Complex Numbers


56

1.4 Power and Roots 1.5 Sets of Points in the Complex Plane เรียนสัปดาหที่ 10 2.1 Complex Functions 2.2 Complex Functions as Mappings 2.3 Linear Mappings 2.4 Special Power Functions เรียนสัปดาหที่ 11 2.5 Reciprocal Function 2.6 Limits and Continuity 3.1 Differentiability and Analyticity 3.2 Cauchy-Riemann Equations 3.3 Harmonic Functions เรียนสัปดาหที่ 12 4.1 Exponential and Logarithmic Functions 4.2 Complex Power 4.3 Trigonometric and Hyperbolic Functions 5.1 Real Integrals เรียนสัปดาหที่ 13 5.2 Complex Integrals 6.1 Sequences and Serier 6.2 Taylor Series 6.3 Laurent Series เรียนสัปดาหที่ 14 6.4 Zeros and Poles 6.5 Residues and Residue Theorem 7.1 Comformal Mapping Review


57

ENGINEERING MATHEMATICS 2 เปนตัวตอยอดมาจาก ENGINEERING MATHEMATICS 1 เรียนบท 12 จนถึงบทที่ 7 ของอีกเลม คณิตศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING MATHEMATICS 3) คําอธิบายรายวิชา ระบบสมการเชิงเสนและผลเฉลย แนวคิดเกี่ยวกับเวกเตอร ปริภูมิเวกเตอร ปริภูมิผลคูณ ภายในฐาน เชิงตั้งฉากปกติและการประยุกตในอนุกรมฟูริเยร ฯ การแปลงเชิงเสน การแปลงลาปลาซ การแปลงแซด การแปลงฟูริเยร ฯ แมตริกซและตัวกําหนด รากลักษณะเฉพาะ และฟงกชันลักษณะ เฉพาะ การหาสมการแบบจําลองและการหาผลเฉลยของ สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่ง เสถียรภาพ ของสมการ ออโตโนมัส สมการเชิงอนุพันธสามัญเชิงเสนอันดับสูง ฐานของผล เฉลย รอนสเกียน และปญหาคาเริ่มตน ระบบเชิงเสนของสมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่งซึ่งมีสัมประสิทธเปนคาคงตัว วิธีหา ผลเฉลยโดยวิธีกําจัดและวิธีหาคาลักษณะเฉพาะ ผลเฉลยเชิงเลขของปญหาคาเริ่มตนของสมการเชิง อนุพันธสามัญ สมการ ผลตางและผลเฉลยอันตะ การประยุกตทางวิศวกรรม Systems of linear equations and solutions. Introduction to vector concept: vector space, inner product space, bases, orthonormal bases and applications in Fourier series, etc. Linear transformations: Laplace transformation, z-transformation, Fourier-transformation, etc. Matrices and Determinants. Characteristic roots and Eigen functions. First order differential equations: modeling and solving. Stability of autonomous equations. Higher order linear ordinary differential equations: Solution bases, Wronskian, and initial value problems. Linear system of first order differential equations with constant coefficients: Elimination and eigenvalue method of solution. Numerical solution of initial value problems for ordinary differential equations. Difference equations and finite difference solutions. Engineering applications. หนังสืออางอิง 1. Howard Anton and Chris Rorres, "Elementary Linear Algebra", John Wiley & Sons. 2. William E. Boyce and Richard C. DiPrima, "Elementary Differntial Equations", John Wiley & Sons. เว็บไซตอางอิง


58

http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=32 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=69 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=105 เนื้อหา สัปดาหที่ 1,2 First-Order ODEs § Basic Concepts. Modeling § Geometric Meaning of y ƒ(x, y). Direction Fields § Separable ODEs. Modeling § Exact ODEs. Integrating Factors § Linear ODEs. Bernoulli Equation. Population Dynamics § Existence and Uniqueness of Solutions สัปดาหที่ 3,4 Second-Order Linear ODEs § Homogeneous Linear ODEs of Second Order § Homogeneous Linear ODEs with Constant Coefficients § Modeling: Free Oscillations. (Mass–Spring System) § Euler–Cauchy Equations § Existence and Uniqueness of Solutions. Wronskian § Non-homogeneous ODEs § Solution by Variation of Parameters สัปดาหที่ 5 Higher Order Linear ODEs § Homogeneous Linear ODEs § Homogeneous Linear ODEs with Constant Coefficients § Non-homogeneous Linear ODEs สัปดาหที่ 6, 7 Laplace Transforms § Laplace Transform. Inverse Transform. Linearity. S-Shifting § Transforms of Derivatives and Integrals. ODEs § Unit Step Function. t-Shifting § Convolution. Integral Equations


59

§ § § §

Differentiation and Integration of Transforms. Systems of ODEs Laplace Transform: General Formulas Table of Laplace Transforms

สัปดาหที่ 8,9 Matrices, Vectors, Determinants. Linear Systems § § § § § § § § § § §

Vectors in 2-Space and 3-Space Inner Product (Dot Product) Vector Product (Cross Product) Matrices, Vectors: Addition and Scalar Multiplication Matrix Multiplication Linear Systems of Equations. Gauss Elimination Linear Independence. Rank of a Matrix. Vector Space Solutions of Linear Systems: Existence, Uniqueness For Reference: Second- and Third-Order Determinants Determinants. Cramer’s Rule Inverse of a Matrix. Gauss–Jordan Elimination

สัปดาห 10,11 Matrix Eigenvalue Problems § § § §

Eigenvalues, Eigenvectors Some Applications of Eigenvalue Problems Symmetric, Skew-Symmetric, and Orthogonal Matrices Eigenbases. Diagonalization. Quadratic Forms

สัปดาห 12,13 Fourier Series, Integrals, and Transforms § § § §

Fourier Series Functions of Any Period p Approximation by Trigonometric Polynomials Fourier Transform. Discrete Fourier Transforms


60

§

Tables of Transforms

สัปดาห 14 Numerics in General § § § § §

Introduction Solution of Equations by Iteration Interpolation Spline Interpolation Numeric Integration

สัปดาห 15 Numeric Linear Algebra • • • •

Linear Systems: Gauss Elimination Linear Systems: LU-Factorization, Matrix Inversion Linear Systems: Solution by Iteration Least Squares Method

เขียนแบบวิศวกรรม (ENGINEERING DRAWING) คําอธิบายรายวิชา การเขียนอักษรเชิงวิศวกรรม เทคนิคการราง เรขาคณิตประยุกต การเขียนแบบรูปภาพและ แบบออโธกราฟก ภาพตัด ภาพดานพิเศษ เรขาคณิตเชิงพรรณาและแผนคลี่ การกําหนดขนาดและความ คลาดเคลื่อน เกลียวและอุปกรณยึด การเขียนแบบการเชื่อมและสัญญลักษณ การรางแบบทางไฟฟา การเขียนแบบทอ การเขียนแบบประกอบและแยกชิ้น ทั้งนี้ตามมาตรฐาน ISO และ/หรือ JIS คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบ แบบโครงสรางแผนที่และภูมิประเทศ Engineering lettering. Sketching technique. Applied geometry, pictorial and orthographic drawing, section views, auxiliary views, descriptive geometry and development, dimensioning and tolerancing, treaded fasteners. welding drawings and symbols, piping drawings, electric drafting, basic assemble drawing and detail drawing,


61

which are all conforming to ISO and/or JIS standards, Introduction to CAD, structural drawing, map and topography. หนังสืออางอิง 1. จําลอง ปราบแกว และ ชินรักษ เธียรพงษ, เอกสารประกอบการสอนวิชา 01001009 Engineering Drawing, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล, KMITL (ซื้อไดที่ราน World Wide Book) 2. จํารูญ ตันติพิศาลกุล เขียนแบบวิศวกรรม 1 (เขียนแบบทัวไป) พิมพครังที่ 5 (ปรับปรุงใหม) พ.ศ. 2551 3. จํารูญ ตันติพิศาลกุล เขียนแบบวิศวกรรม 2 (เขียนแบบเครื องกล) พิมพครังที่ 11 (ปรับปรุงใหม) พ.ศ. 2552 4. French, T.E. and Vierck, C.J., The Fundamental of Engineering Drawing and Graphic Technology, McGraw Hill Book Company 5. Luzadder, W.J., Fundamentals of Engineering Drawing, Seventh Edition, Prentic, Hall Inc., 1977. 6. Abbott, W., Technical Drawing, Balding and Mansell Ltd., 1973. 7. Hart, K.R., Engineering Drawing with Problem and Solutions, Second Edition, English University Press Ltd, London 1975. 8. Pickup, F. and Parker, M.A., Engineering Drawing with Worked Examples 1, Third Edition, Wm Brendon and Son Ltd., 1976. 9. Mott, L.C., Engineering Drawing and Construction, Sceond Edition, Oxford University Press, 1976. 10. Ostrowsky O., Engineering Drawing for Technicians, Volume 1 and Volume 2, Edward Arnold (Publishers) Ltd., 1979. เว็บไซตอางอิง


62

http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~kjirapon/ http://eu.lib.kmutt.ac.th/elearning/fullcourse/drawing/title.htm http://pirun.ku.ac.th/~fengtch/ เนื้อหา § § § § § § § § § § § § § § §

Introduction, ซื้อสมุดและอุปกรณเขียนแบบ งานเขียนแบบเบื้องตน,คุณสมบัติของเสน,การเขียนตัวอักษร เรขาคณิตประยุกต การเขียนภาพสามมิติและการเสก็ตภาพ การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพทรงปรามิด Mid-term exam การเขียนภาพฉายรูปทรงกระบอก การเขียนภาพฉายรูปทรงกรวย การเขียนภาพชวย การกําหนดขนาด การเขียนภาพแผนคลี่ การเขียนภาพตัด การเขียนภาพประกอบและภาพแยกชิ้น

กลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING MECHANICS) คําอธิบายรายวิชา ระบบแรง แรงลัพธ สมดุลแรง แรงกระจาย สถิตยศาสตรของไหล จลนศาสตรและพลศาสตร ของอนุภาค การเคลื่อนที่สัมบูรณ และสัมพันธของวัตถุแข็ง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน Force systems, Resultant, Equilibrium, Distributed force, Fluid statistics, Kinematics and kinetics of particles, Absolute and relative motions of rigid bodies, Newton’s law of motion. หนังสืออางอิง


63

1. Engineering Mechanics: STATICS, RC. Hibbeler, Prentice Hall 2. Engineering Mechanics: DYNAMICS, RC. Hibbeler, Prentice-Hall 3. Shames, "Engineering Mechanics: statics and dynamics, "4th edtion Prentice-Hall India. 4. Meriam and Kraige, "Engineering Mechanics statics, "6th ed, John wiley & sons เว็บไซตอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~kpmonsak/Mechanics.html http://www.kmitl.ac.th/~kbnavaph/food/articles.php?lng=fr&pg=45 http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~rchanat/2103213%20Eng%20Mech%20I.ht ml http://www.sut.ac.th/engineering/civil/courseonline/430201/ เนื้อหา สัปดาหที่

หัวขอวิชา

เนื้อหา

1

Orientation

2

1. Introduction to Statics 2. Force Vectors

1. Mechanics, Units 2. Force Vectors 2-D, 3-D

3

3. Equilibrium of a Particle

3Free Body Diagram, Equations of Equilibrium

4

4. Force Systems 4. Moment of a Force in 2-D and 3-D, R sultants Cross Product, Scalar and Vector analysis, Moment of a Couple

5

4. Force Systems Resultants (cont.)

4. Equivalent System, Resultants of a Force and Couple System, Distributed Load

6

5. Equilibrium of a Rigid

5. Equilibrium in 2-D, Free-Body Diagrams, Support Reactions, Equation of


64

Â

Body

Equilibrium, Two- and Three-Force Members

7

5. Equilibrium of a Rigid Body (cont.)

5. Equilibrium in 3-D, Constraints for a Rigid Body

8

8. Friction 9. Center of Gravity and Centroid

8. Characteristics and Problems of Dry Friction 9. Center of Gravity, Mass for Particles and Body, Composites Bodies, Fluid Pressure

9

12. Kinematics of a Particle

12. Introduction, Rectilinear kinematics, Erratic Motion, Curvilinear Motion, Motion of Projectile

10

12. Kinematics of a Particle (cont.)

12. Normal and Tangential Components, Cylindrical Components

11

13. Kinetics of a Particle: Force and Acceleration

13 Newton’s Laws of Motion, Equations of Motion

12

14. Kinetics of a Particle: Work and Energy

14-15 Principle of Work and Energy, Principle of Linear Impulse and Momentum, Power and Efficiency, Conservation of Energy, Conservation of Linear Momentum for a system of Particles

15. Kinetics of a Particle: Impulse and Momentum

13

16. Planar Kinematics of a Rigid Body

16. Rigid Body Motion, Translation and Rotation

14

16. Planar Kinematics of a Rigid Body (cont.)

16. Absolute Motion Analysis, RelativeMotion Analysis: Velocity and Acceleration, Instantaneous Center of


65

Zero Velocity 15

17. Planar Kinetics of a Rigid Body: Force and Acceleration

17. Mass Moment of Inertia and Equations

วัสดุวิศวกรรม (ENGINEERING MATERIALS) คําอธิบายรายวิชา วัสดุศาสตรและวิศวกรรมศาสตรโครงสรางผลึก และ รูปทรงทางเรขาคณิต การแข็งตัว จุดไมสมบูรณของผลึก การแพรในของแข็ง คุณสมบัติทางไฟฟาของวัสดุ คุณสมบัติทางกลของโลหะ การเปลี่ยนรูปแบบคงตัวของโลหะ แบบโพลีคริสตันลิน วัสดุโพลิเมอร รูปสภาวะโลหะ หนังสืออางอิง 1. วัสดุศาสตรและวิศวกรรรมวัสดุพื้นฐาน โดย สุวันชัย, กอบบุญ, เอกสิทธิ,์ ธาชาย, มาวินและปฐมา, สนพ. ทอป หรือ 2. Materials Science and Engineering An Introduction, W. D. Callister, John Wiley & Sons Inc. 3. Foundations of Materials Science and Engineering, W. F. Smith, McGraw-Hill เว็บอางอิง http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/ http://www.sut.ac.th/engineering/metal/courses/engmat.html เนื้อหา 1. Introduction 2. The Structures of Metals 3. Defects in Solids 4. Mechanical Properties 5. Dislocation and Strengthening Mechanisms in Metals


66

6. Failure of Metals Midterm 7. Phase Diagram for Metallic Systems 8. Phase Transformations 9. Metal Alloys 10. Ceramics Materials 11. Polymers 12. Composite Materials 13. Corrosion and Degradation เนื้อหาที่เรียนก็จะเริ่มตั้งแต ตารางธาตุ ของแข็งมีผลึก ระนาบในผลึก ตําหนิในของแข็ง การแพร สมบัติทางกลของโลหะ ความเคน ความเครียด ความเปนอีลาสติก ดินโลเคชั่น กลไกการเพิ่ม ความแข็งแรง ความเสียหาย สมดุลเฟส แผนภูมิสมดุลเฟส การแปลงเฟสในโลหะ การใชงานและ กระบวนการขึ้นรูปโลหะ เซรามิก พอลิเมอร วัสดุผสม การกัดกรอนและการเสื่อมสภาพ

เคมีทั่วไป (GENERAL CHEMISTRY) คําอธิบายรายวิชา ปริมาณสัมพันธและทฤษฏีอะตอม สมบัติของแกส ของเหลว ของแข็ง และสารละลาย สมดุลเคมี ปริมาณสัมพันธและพื้นฐานทฤษฎีอะตอม สมบัติของแกส ของเหลว ของแข็ง และสารละลาย สมดุลเคมี สมดุลไออกนิก เคมีจลนพลศาสตร โครงสรางอะตอม พันธะเคมีสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ ธาตุพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะ และ โลหะทรานซิชัน Stoichiometry and basis of the atomic theory. properties of gas, liquids, solids and solutions. chemical equilibrium. ionic equilibrium. chemical kinetics. electronic structures of atoms. chemical bonds. periodic properties. representative elements, nonmetal and transition metals. หนังสืออางอิง 1. General Chemistry: The Essential Concepts 2. Raymond Chang, Jason Overby


67

3. เคมีทั่วไป เลม 1. พิมพครั้งที่ 10. บริษัทไทยรมเกลา จํากัด[ฝายการพิมพ, นนทบุรี ทบวงมหาวิทยาลัย. 2540. 4. เคมีทั่วไป เลม 2. พิมพครั้งที่ 7. บริษัทไทยรมเกลา จํากัด[ฝายการพิมพ], นนทบุรี 5. หลักเคมีทั่วไป เลม 1. พิมพครั้งที่ 12. สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กฤษณา ชุติมา. 2538 .กรุงเทพมหานคร 6. หลักเคมีทั่วไป เลม 2. พิมพครั้งที่ 11. สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กฤษณา ชุติมา. 2538. กรุงเทพมหานคร 7. เคมีทั่วไป. พิมพครั้งที่ 1. รานีสุวรรณพฤกษ. 2540. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส, กรุงเทพมหานคร. เว็บไซตอางอิง http://www.chemistry.sc.chula.ac.th/course_info/2302127/2302127.htm http://chem.flas.kps.ku.ac.th/SLIDE-01403111.php

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป (PRACTICES IN GENERAL CHEMISTRY) คําอธิบายรายวิชา การทดลองแสดงถึงการวิเคราะหทางคุณภาพของสารประกอบอนินทรียและการทดลองเคมี ทั่วไป Experiments involving qualitative characterization of inorganic compounds and other general chemistry experiments.

ฟสิกสทั่วไป 1 (GENERAL PHYSICS 1) คําอธิบายรายวิชา เวคเตอร การเคลื่อนที่และกฏของนิวตัน สมดุลของอนุภาค สมดุลแรง สมดุลของวัตถุแข็ง จุดศูนยกลางแรงโนมถวงและจุดเซนทรอยด คลื่นและการสั่น กลศาสตรของไหลแก็สอุดมคติ และสาร บริสุทธิ์ งานและความรอน การนําความรอน การพาความรอนและ การแผรังสีความรอน


68

Equilibrium of particles. Equivalent system of forces. Equilibrium of rigid bodies. Center of gravity and centroids. Vibration and wave. Fluid mechanics. Ideal gas and pure substance. Work and heat. Thermal conduction. Thermal convection. Thermal radiation. หนังสืออางอิง 1. Principles of Physics : A Calculus-Based Text, Third edition โดย Raymond A. Serway และ John W. Jewett,Jr. 2. Resnick, R., Halliday, D., and Krane, K. S., 2002, Physics, 5th ed., vol 1, John Wiley & Sons, New York. เว็บอางอิง http://www.physics.kku.ac.th/~sprajakk/

ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 (GENERAL PHYSICS LABORATORY 1) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ฟสิกสทั่วไป 1 The experiments correspond to the course General Physics I ฟสิกสทั่วไป 2 (GENERAL PHYSICS 2) คําอธิบายรายวิชา การวิเคราะหเวคเตอร สนามไฟฟา กฎของคูลอมบ กฎของเกาส ศักยดาไฟฟา ความจุไฟฟา สนามแมเหล็กแบบคงตัว กฎของไบไวตซาวารต กฎของแอมแปร แรงแมเหล็ก วัสดุแมเหล็ก กฎของฟา ราเดย สมการของแมกซเวล การหักเหและการเบี่ยงเบนทางแสง โพลาไลเซชั่น กระจก เลนส และอุปกรณทางแสง ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ คุณสมบัติแบบอนุภาคของคลื่น คุณสมบัติแบบคลื่น ของอนุภาค โครงสรางของอะตอม แบบจําลองอะตอมของบอร สมการโซรดิงเจอร ทฤษฎีควอนตัม ของ อะตอมไฮโดรเจน อะตอมแบบมีอิเล็กตรอนหลายตัว การวิเคราะหวงจรกระแสตรงและกระแสสลับ โครงสรางพื้นฐานของระบบอิเล็กทรอนิกส คุณสมบัติเบื้องตนของอุปกรณสารกึ่งตัวนําพื้นฐาน เชน


69

ไดโอด ทรานซิสเตอรชนิดสองขั้วและทรานซิสเตอรชนิดสองขั้วสนามไฟฟา การใชงานพื้นฐานไดโอด พื้นฐาน A study of analysis of vector, electric field coulomb’s law, gauss’s law, potential, static magnetic field, biot-savart law, ampere’s law, magnetic constants, magnetic materials, faraday’s law, Maxwell’s equation, reflection and refraction, polarization, plan mirrors, lens and optical instrument, special relativity, the dual property of wave and particle. Atom structure. Bohr model. Schrodinger equation. Quantum theory of hydrogen atom, multi electron atom, dc and ac circuit analysis, basic configuration of electronics systems, basic characteristics of semiconductor devices: diode, bipolar transistor and field effect transistors and basic diode applications.

เว็บไซตอางอิง http://www.physics.kku.ac.th/~sprajakk/?q=node/20 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 (GENERAL PHYSICS LABORATORY 2) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ฟสิกสทั่วไป 2 The experiments correspond to the course General Physics II การฝกงานอุตสาหกรรม (INDUSTRIAL TRAINING) คําอธิบายรายวิชา เปนการฝกงานภาคปฏิบัติที่จัดขึ้นตามสาขาวิชา โดยการฝกงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือบริษัทเอกชนทั้งในและตางประเทศทั้งนี้เพื่อเปนการเสริมสรางประสบการณ นักศึกษาทุกคน จะตองผานการฝก งานนี้ในชวงของการศึกษาภาคฤดูรอนพรอมเขียนรายงานเสนอ


70

During their four-year selected studies, students are required to complete a short-term industrial placement within professional selected environments. It takes place during a summer period. This course allows students to put into practice under conditons reflecting their future activities and responsibilities. The work, carried out under the responsibility of the firm involved, is presented in a written report.

รายละเอียด กลุมวิชาบังคับ คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรม (COMPUTERS AND PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรเบื้องตน และสวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร ภาษาโปร แกรม และอัลกอริธึม ซอฟแวรระบบเบื้องตน ตัวแปลภาษาและ ระบบปฏิบัติการ การประยุกตคอมพิว เตอรในงานตางๆ รวมทั้งการประมวลผลขอมูลและ ปญญาประดิษฐ Function structure of a computer, Computer languages and algorithm, Introduction to interpreters, compiler and operating system. Applications of computer in data processing and artificial intelligence หนังสืออางอิง 1. (คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรม) Computers and Programming C และ Java, ธนัญชัย ตรีภาค, สนพ .ซีเอ็ดยูเคชั่น บมจ., 2. The C Programming Language, Second Edition by Brian W. Kernighan and Dennis M. Ritchie. Prentice Hall, Inc. 3. Java How to Program Paul Deitel, Harvey Deitel 4. C# How to Program Harvey M. Deitel , Paul J. Dietel , Jeffrey A. Listfield, Tem R. Nieto , Cheryl H. Yaeger , Marina Zlatkina เว็บไซตอางอิง http://www.cpe.ku.ac.th/webcast/51-2/204111-1


71

http://www.cpe.ku.ac.th/~fengtwr/501-204111/Slide/ http://www.cpe.ku.ac.th/~pom/courses/204111/204111.html http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/tanapon/powerpoint.asp?subid=182 http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~nattapong/courses/201/ http://www.math.sc.chula.ac.th/~jaruloj/C171/IntroComputer.htm http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=129 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=115

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขั้นสูง (ADVANCED COMPUTER PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา ทบทวนการโปรแกรมภาษาซี (ชนิดตัวแปร นิพจน นิพจนพอยนเตอร อารเรย ประโยคควบ คุม ฟงกชันการสงผานพารามิเตอร) คาคงที่ เรฟเฟอรเรนซ การกําหนดทับการกระทําเดิม คลาส การควบคุมการเขาถึงขอมูล คอนสตรัค เตอร เดสสตรัคเตอร ลําดับการทํางานของคอนสตรัคเตอร และเดสสตรัคเตอร การคัดลอกคอนสตรัคเตอร การแปลงคอน สตรัคเตอร วัตถุชั่วคราว การกําหนดทับ ตัวกระทํา การสืบทอด การซอนชื่อ โพลิมอรฟซึม ฟงกชันเสมือนแท โอเวอรไรดดิ้ง คลาสนามธรรม การสืบทอดจากหลายคลาส การโปรแกรมเชิงวัตถุ This course provides a review of C programming (variable types, expression, pointer expression, array, control statements, function, parameter passing), constant, reference, function overloading, class, access control, constructor & destructor and their order of execution, copy & conversion constructor, temporary object, operator overloading, inheritance, name hiding, polymorphism, pure virtual function, overriding, abstract base class, multiple inheritance and object oriented programming หนังสืออางอิง Professional C++ / Nicholas Solter, Scott Kleper. ISBN 0-7645-7484-1 เว็บอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=132 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=102 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/tongpool/powerpoint.asp?pno=1


72

http://www.cpe.ku.ac.th/~plw/e_book.html เนื้อหา No. 1

2

3 4 5

6 7 8

9

10

Topic Lab 1 using compile Lab 2 Intro Class: array & struct data types, OOP & functional programming, class, data member, member function(method), this, access control(private, public, class&struct,accessor & setter functions, constructor & destructor เบื้องตน และ ลําดับการเรียก constructor&destructor, seperating compilation Lab 3 + Lab 4 Class: inline function, default argument, default constructor, build-in type, class type, compiler synthesized constructor, initializer list และกลไกการทํางานของ constructor สอบปฎิบัติครั้งที่ 1 เรื่อง CLASS Lab 4 Class: copy constructor, operator=, destructor และ compiler synthesized routines ตางๆขางตน Lab 5: static data member, static function, const data member, const object, mutable data member, reference data member, overloading method, friend, array&pointer, class ที่มีการจองพื้นทีใ่ น heap และฟงกชั่นพื้นฐานที่ตองมี copy constructor, operator= และ destructor สอบกลางภาคเรียน สอบกลางภาคเรียน สอบปฎิบัติครั้งที่ 2 เนื้อหาที่ออกสอบปฎิบัติครั้งที่สองประกอบดวย + เนื้อหาใน Sheet lab3,4,5(หัวขอ 10-Array กับ 11-Pointer) + เนื้อหาครอบคลุม ถึงเรื่อง copy constructor operator = destructor + ลักษณะ class ที่มี pointer เปน data member ดวย + ลักษณะ class หลาย class ที่เกี่ยวของกับ line และ point Lab 6 :


73

11

12 13 14

15

16

overloaded operator, conversion constructor, non-member overloaded operator Lab 7+ Lab 8 : containment, inheritance, base class, derived class, protected access specifier, name hinding, public-protected-private inheritances, derived object, sliceing, pointer or reference to base object, virtual function, runtime-binding, compile-time binding, overiding function, polymorphism, overloading fun.-overiding fun.-name hinding, pure virtual and abstract class Lab 9: template for standalone function, type parameter, function specialization, class template สอบปฎิบัติครั้งที่ 3 Lab 10 : streams, output stram, input stream, formatting, file stream ,string stream Lab 11 : throwing and catching exception, throwing type, default exception handler, unwind the stack, rethrow, exception spcecification, user exception class, type of exception in catch สอบปฎิบัติครั้งที่ 4 : 1.template class ใหทําใดทั้ง type template และ nontype template ตองสามารถเขียนเมมเบอรฟงกชั่นโดยเขียนอยูนอกคลาสเดฟฟนิชั่นได 2.exception เชน เปดไฟลที่ไมมีอยูในเครื่อง ให throw และ ให catch โดยสามารถรับชื่อไฟลใหมเขาไปจนพบไฟลที่มีและเปดได 3. stream ใหอาน data จากไฟล เชน ขอมูลนักศึกษาหลายๆคน มีชื่อ คะแนนการบานหลายครั้ง นักศึกษาบางคนอาจมีคะแนนการบานไมครบทุกครั้ง ใหอานขอมูลจากไฟลเขามาเก็บไวในอะเรยได ตองเขาใจเรื่องการตรวจสอบ end of file และ การ clear คือ ฟงกชั่น eof() และ clear() เพื่อสามารถอานไฟลในรูปแบบตางๆได 4. polymorphism เนื่องจากครั้งที่แลวนักศึกษาทําไดนอย ตองออกสอบอีกครั้ง ความยากใกลเคียงเดิม

การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก (DIGITAL CIRCUIT AND LOGIC DESIGN)


74

คําอธิบายรายวิชา ทฤษฎีเบื้องตนของวงจรสวิทชิ่ง คณิตศาสตรแบบบูล ตารางความจริง การลดรูปสมการบูลลีนโดยใช แผนที่ แบบคารนอและวิธีควินแม็คคลอสกี้ แผนผังแบบเวน วงจรเกท วงจรฟลิปฟลอป วงจรนับ วงจรชิฟรีจิสเตอร การออกแบบ วงจรคอมไบเนชันและวงจรซีเควนเชียล Basic theory of switching circuit, Boolean algebra, truth table, Boolean equation reduction by Karnuaugh map and Quinmacrossky method, Wein diagram, logic gates, flip-flops, counters, shift registers, combination and sequential circuit design. หนังสืออางอิง 1. Digital Fundamentals Thomas L. Floyd 2. Contemporary Logic Design (2nd Edition) by Randy H. Katz , Gaetano Borriello เว็บอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~ksjirasa/Lecture/digital.html http://jjackson.eng.ua.edu/courses/ece380/lectures/ http://narong.ece.engr.tu.ac.th/digital/index.html http://gear.kku.ac.th/~ying/178220%20Syllabus.htm เนื้อหา 1. ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต 2. การบวกลบเลขฐานสอง 3. การวิเคราะห และ ออกแบบวงจรเกต 4. การลดรูปสมการบูลลีน (Quine McCluskey Method) 5. รหัสไบนารี (Binary Codes) Combinational Circuit 6. อุปกรณความจํา ฟลิปฟลอป (Flip - Flop) 7. รีจิสเตอร (Register) 8. วงจรนับ (Counter) 9. เมมโมรี (Memory) 10. ระบบดิจิตอล (1) (Digital System I) 11. ระบบดิจิตอล (2) (Digital System II)


75

ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล (DIGITAL CIRCUIT LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การออกแบบวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก The experiments related to Digital Circuit and Logic Design เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=137 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=107 อิเล็กทรอนิกสพื้นฐานสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร (BASIC ELECTRONICS FOR COMPUTER ENGINEERING) คําอธิบายรายวิชา วงจรไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ สัญญาณและรูปคลื่นตางๆ อุปกรณและวงจรอิเล็กทร อนิกสพื้นฐานตางๆ เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร ออปแอมป การวิเคราะหวงจรทรานซิสเตอร เฟต วงจร ขยายแบบปอนกลับ วงจรรวมเบื้องตน นิยามการวัดและระบบการวัด หนวยการวัดและมาตรฐาน การวัด ความคลาดเคลื่อน อุปกรณและเครื่องมือวัดทางไฟฟา เซนเซอรและ ทรานดิวเซอร การออก แบบและวิเคราะหทางเครื่องมือวัดทางไฟฟา A study of DC and AC circuits, signal and waveforms, basic electronic devices and circuits such as diode, transistor, Op-Amp, transistor circuit analysis, FET, feedback amplifier, Integrated circuit, definition and system of measurement units, measurement unit and standard, deviation and deviation analysis, electrical tools and device, sensor and transducer, designing and analysis of electrical measuring device. หนังสืออางอิง 1. Thomas L. Floyd, “Electronics Fundamentals: Circuits, Devices, and Applications,” Prentice Hall เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=29 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=80


76

http://www2.siit.tu.ac.th/prapun/ecs303/index.html http://www2.siit.tu.ac.th/prapun/ecs203/index.html http://esl.ait.ac.th/courses/circuit.html https://fivedots.coe.psu.ac.th/~kpatimakorn/240-206/ เนื้อหา 1. Basic Electronics Components, Quantity, and unit 2. Voltage, Current, Resistance, and Ohm’s Law 3. Resistor in DC circuit 4. Magnetism and Electromagnetism 5. Alternating Voltage and Current 6. Capacitor 7. RC circuit 8. Inductance 9. RL circuit 10. RLC circuit 11. Transformer 12. Introduction to Semiconductor 13. Diode and its application 14. BJT transistor and its application 15. FET transistor and its application 16. Op_Amp 17. Introduction to basic design of combinational logic using MOSFET ปฏิบัติการวิศวกรรมคอมพิวเตอร (COMPUTER ENGINEERING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ฝกปฏิบัติการการใชงานเครื่องมือทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร อาทิเชน ระบบปฏิบัติการ ซอฟตแวรเพื่อการ พัฒนา ระบบเครือขาย วงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกส Laboratories on computer engineering tools, such as, operating systems, software development, networking, and electrical and electronics circuits


77

เว็บไซตอางอิง http://www2.siit.tu.ac.th/prapun/ecs210/index.html http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=8

โครงสรางขอมูลและอัลกอริธึม (DATA STRUCTURE AND ALGORITHM) คําอธิบายรายวิชา โครงสรางขอมูลขั้นพื้นฐานและการกระทําที่เกี่ยวของ เชน อาเรย สแตก คิว ลิสต ตาราง ตนไม และ กราฟ ชนิด ขอมูลนามธรรมในภาษาชั้นสูง อัลกอริทึมแบบเรียกตัวเอง และแบบทําซ้ํา การวิเคราะหความซับซอนเชิงพื้นที่และเชิงเวลา อัลกอริทึมการเรียงลําดับและการคนหา และความ ซับซอนของแตละวิธี Basic data structures and their related operations such as array, stack, queue, lists, tables, trees and graphs, Abstract Data Types (ADT), iterative and recursive algorithms, space versus time tradeoffs, algorithms complexity analysis. Sorting and searching algorithms. หนังสืออางอิง 1. Data Structures & Algorithm Analysis in C++,Mark Allen Weiss, Addison Wesley 2. Data Structures & Algorithm Analysis in Java,Mark Allen Weiss, Addison Wesley 3. C++ Programming: Program Design Including Data Structures, D.S. Malik เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=158 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=86 http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/teaching/ice/data2010/ http://www.cp.eng.chula.ac.th/~somchai/2110427/2542/Lectures/Slides/pdf/l notes-98.pdf http://www.cp.eng.chula.ac.th/~vishnu/Data_Structure.html


78

http://pioneer.chula.ac.th/~sperapho/files/class/263.html http://www.cs.ait.ac.th/~guha/DSA/ http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.02.shtml http://www.comp.nus.edu.sg/~cs1102s/ http://ocw.mit.edu/courses/electrical-engineering-and-computer-science/6006-introduction-to-algorithms-spring-2008/lecture-notes/ เนื้อหา Fundamentals 1. 2. 3. 4.

Elementary Data Structures Trees Recursion Analysis of Algorithms

Sorting 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Elementary Sorting Methods Quicksort Radix Sorting Priority Queues Mergesort External Sorting

Searching 1. 2. 3. 4. 5.

Elementary Searching Methods Balanced Trees Hashing Radix Searching External Searching

String Processing 1. String Searching 2. Pattern Matching


79

3. Parsing 4. File Compression 5. Cryptology Geometric Algorithms 1. 2. 3. 4. 5.

Elementary Geometric Methods Finding the Convex Hull Range Searching Geometric Intersection Closest-Point Problems

Graph Algorithms 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Elementary Graph Algorithms Connectivity Weighted Graphs Directed Graphs Network Flow Matching

Parallel and Distributed Algorithms 1. 2. 3. 4.

Model of Parallel Computations Parallel Graphs Algorithms Parallel Sorting Distributed Computation

Computational Complexity การสื่อสารขอมูล (DATA COMMUNICATION) คําอธิบายรายวิชา แนวคิดพื้นฐานของการสื่อสารขอมูล โมเดลโอเอสไอ ลักษณะของสัญญาณ การเขารหัส สัญญาณและการกล้ําสัญญาณ การสงขอมูลที่เปนดิจิตอล อุปกรณเชื่อมตอ ตัวกลางที่ใชในการสื่อสาร


80

การมัลติเพล็กซขอมูล การสงขอมูลสวิตชิ่งแบบตาง ๆ ระบบบริการการสงขอมูลผานระบบโทรศัพท และเครือขายเคเบิ้ล การตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาดในการสงขอมูล การควบคุมการสงขอมูล โปรโตคอลในการควบคุมดูแลการรับสงขอมูลระหวางจุดตอจุด รูปแบบและโปรโตคอลการเขาใชงาน สื่อที่ใชงานรวมกัน Basic concepts of data communication, OSI model, signal characteristics, encoding and modulating, transmission of digital data, communication interface device, Communication media, data multiplexing, switching, telephone and cable networking for data transmission, error detection and correction, data link control, point-to-point protocol (PPP), and multiple access (random access, controlled access, and channelization). หนังสืออางอิง 1. B. A. Forouzan, Data Communications and Networking, 2. T. Aattalainen: “Introduction to telecommunications Network Engineering”, Artech House เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=6 http://www.tc.ait.ac.th/faculty/teerapat/AT77.04_DataCom/ http://www.cpe.ku.ac.th/~plw/dccn_presentation.html http://www.cpe.ku.ac.th/~nguan/presentations/datacom/index.html http://www.cpe.ku.ac.th/~plw/dccn_presentation.html http://ict.siit.tu.ac.th/~sgordon/ http://teacher.en.rmutt.ac.th/weerachai.y/index.php?option=com_content&ta sk=view&id=33&Itemid=36 เนื้อหา 1. Chapter01 Introduction 2. Chapter02 OSI_TCP_IP 3. Chapter03 Signals 4. Chapter04 Digital Transmission 5. Chapter05 Analog Transmission 6. Chapter06 Multiplexing 7. Chapter07 Transmission Media


81

8. Chapter08 Switching 9. Chapter09 High Speed Digital Access 10. Chapter10 Error Detection 11. Chapter11 Data Link Protocol 12. Chapter12 PPP 13. Chapter13 Multiple Access ปฏิบัติการสื่อสารขอมูล (DATA COMMUNICATION LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การสื่อสารขอมูล The experiments related to Data Communication

องคประกอบคอมพิวเตอรและภาษาแอสเซมบลี (COMPUTER ORGANIZATION AND ASSEMBLY LANGUAGE) คําอธิบายรายวิชา เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสรางภายในของไมโครคอมพิวเตอร และการเขียนโปรแกรมควบคุม ประกอบดวย โครงสรางของไมโครโพรเซสเซอร รีจิสเตอร เทคโนโลยีของบัส โครงสรางและประเภท ของหนวยความจําหลัก และ หนวยความจําแคช โครงสรางและประเภทของฮารดดิสก ฟลอปปดิสก อุปกรณเก็บขอมูลทางแสง โครงสรางและประเภท ของอุปกรณสํารองขอมูลแบบตาง ๆ โครงสรางและ การทํางานของอุปกรณประกอบอื่น ๆ นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึง หลักการเขียนโปรแกรมภาษา แอสเซมบลี โหมดการอางแอดเดรส การถอดรหัสคําสั่ง กลุมคําสั่งเคลื่อนยายขอมูล กลุมคําสั่ง คณิตศาสตร กลุมคําสั่งลอจิก กลุมคําสั่งควบคุมโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบโมดูล และการ เรียกใชงานฟงกชัน This course provides information on microcomputer architecture and control programming. The topics include microprocessor structure, register, bus’s technology, structure and types of main memory, cache memory, structure and types of hard disk, floppy disk, optical device, structure and types of secondary storage and other peripheral devices. This course also describes assembly language programming,


82

addressing mode, instruction decoding, data movement instructions, arithmetic and logic instruction, program control instruction, modular programming and function call. หนังสืออางอิง The Intel Microprocessors, Architecture, Programming, and Interfacing (8th Edition), Barry B. Bray เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=63 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=146 http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/teaching/comporg/comporg2006/index.h tm http://www.cpe.ku.ac.th/~fengtwr/472-204221/204221.html http://www.cpe.ku.ac.th/~pom/courses/204221/204221.html เนื้อหา 1. Introduction 2. Basic ASM 3. Code Example 4. Module File 5. Mouse TSR Com Graphic 6. CPU 7. CPU2 8. CPU3 P6 9. RISC 10. Lecture Note 11. Lab1 Assembler and Link 12. Lab2 Debug and NG 13. Lab3 Keyboard and File 14. Lab4 Video and Mouse 15. Lab5 Sound and Speaker 16. Lab6 Interrupt and TSR 17. Norton Guide for windows


83

ปฏิบัติการภาษาแอสเซมบลี (ASSEMBLY LANGUAGE LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา องคประกอบคอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมแอสเซมบลี The experiments related to Computer Organization and Assembly Language

วิศวกรรมซอฟตแวร (SOFTWARE ENGINEERING) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาสาระสําคัญในวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร วิธีการพัฒนาความตองการ และขอกําหนด ของซอฟตแวร วิธีการ ออกแบบซอฟตแวรแบบดั้งเดิม และแบบเชิงวัตถุ การตรวจสอบซอฟตแวร เทียบกับความตองการ และเทียบกับขอกําหนด การยืนยันความถูกตองของซอฟตแวร การทดสอบ ซอฟตแวร ซอฟตแวรเมตริกซ การรับรองคุณภาพ การบริหารโครงงานและ โครงสรางทีม ตลอดจนการ บํารุงรักษาซอฟตแวร และเครื่องมือที่ชวยในงานวิศวกรรมซอฟตแวร A study of software engineering principle include requirement and specifications of software, conventional and object-oriented software designing, verification of software against requirements and specifications, verification and validation, testing methods, software metrics, quality assurance, project management and team structure, software maintenance, and Computer-Aided Software Engineering tools. หนังสืออางอิง 1. Software Engineering (9th Edition) Ian Sommerville 2. Code Complete: A Practical Handbook of Software Construction 2nd edition, Steve McConnell, 2004 Microsoft Press, ISBN: 0735619670 เว็บไซตอางอิง http://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/software-engineering-2


84

password:veera http://webstaff.kmutt.ac.th/~iauaroen/ENE463/ http://cpsk69.com/lecture/?p=35 http://gear.kku.ac.th/~witcha/Witcha/Courses.html เนื้อหา No 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Topics and PDF Slides Introduction to Software Engineering: (Schach Ch 1, Ch 3) Introduction, Scope and Software Development Life Cycle Models Software Process and Its Problems (Schach Ch 2) Unified Modeling Language (UML) Object-Oriented Analysis and Design System Engineering Software Process and Project Metrics Object-Oriented Concepts (Schach Ch 6) Object-Oriented Design Project Management Concepts Software Project Planning Project Scheduling and Tracking Configuration and Change Management Risk Management OO Design and OO Testing Technical Metrics for OO Systems Software Quality Assurance: CMM & ISO 9001 Introduction to Capability Maturity Model (CMM) Design Patterns: Reusable OO Software Implementation, Integration and Testing (Verification and Validation) Maintenace Phase Business Process Re-engineering with Object Technology Case Studies Conclusions


85

สถาปตยกรรมคอมพิวเตอร (COMPUTER ARCHITECTURE) คําอธิบายรายวิชา สถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร และระบบยอยภายในคอมพิวเตอร เชน สถาปตย กรรมของตัว ประมวลผลและหนวยคํานวณทางคณิตศาสตร การควบคุมเสนทางของขอมูล สูหนวย ประมวลผลกลาง การจัดการสงขอมูล ระดับรีจิสเตอร ระบบจัดการการติดตออุปกรณภายนอก การประมวลผลแบบขนาน หลักการออกแบบระบบฮารดแวรของ ระบบคอมพิวเตอร สถาปตยกรรม ของคอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะสูง A study of computer architecture, functionality of computer components, central processing unit, arithmetic and logic unit, data path control, data transfer at register level, input/output management, principle of computer hardware design and high performance computer architectures หนังสืออางอิง Computer Organization and Design, ARM Edition, Morgan Kaufmann Computer Systems: A Programmer's Perspective, 2nd Edition, Prentice Hall, 2010. เว็บอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=130 http://esl.ait.ac.th/courses/csa.htm http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/teaching/ca/index-ca.htm http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.01.shtml http://www.cs.science.cmu.ac.th/person/chumphol/204433/ เนื้อหา Introduction to Computer Architecture 1. 2. 3. 4.

History and Evolution of Computer Systems Fundamentals of Design Performance Metrics Case Study: SPECS95 Benchmark Suite


86

Â

Instruction Sets 1. 2. 3. 4. 5.

Hardware Operations Basics Registers and Operands Instruction Sets and Representation Assembly Case Study: MIPS

Computer Logic and Arithmetic 1. 2. 3. 4.

Logical Operations Arithmetic Operations Floating Point Computation Case Study: MIPS

CPU: Data and Control 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Datapaths Multiprogramming Multicycling Pipelining Data Hazards, Forward and Stalls Case Study: Implementing MIPS, Pentium Pro, PowerPC 604

Memory Systems 1. 2. 3. 4.

Memory Hierarchy and Organization Virtual Memory Cache and High-Speed Memory Case Study: Pentium Pro, PowerPC 604

Interfacing Peripherals 1. 2. 3. 4. 5.

I/O Types Measures for I/O Performance Connecting Peripherals via Buses Interfacing Peripherals with the CPU and Operating System Case Study: A Typical Desktop


87

Multiprocessors 1. 2. 3. 4.

Programming Multiprocessors Networks and Network Topologies Bus Connection Clusters

เครือขายคอมพิวเตอร (COMPUTER NETWORKS) คําอธิบายรายวิชา แนะนําภาพรวมเครือขายคอมพิวเตอร ศึกษาแบบอางอิงสําหรับเครือขายคอมพิวเตอร เชน แบบอางอิงโอเอส ไอ แบบอางอิงทีซีพ/ี ไอพี หลักการพื้นฐานในการสื่อสารขอมูลดิจิตอลผานตัวกลาง ตางๆ ทั้งมีสายและไรสาย แนวคิดและ ขอตกลงในการสงตอขอมูลผานตัวกลางเปนทอดๆ เครือขาย ทองถิ่นและเครือขายขามถิ่น เชน อีเทอรเน็ต เอทีเอ็ม ขอคิด สําหรับการออกแบบสวนรับผิดชอบ เครือขาย อัลกอริทึมการหาเสนทาง กลวิธีควบคุมความคับคั่ง มาตรฐานและตัวอยาง เครือขาย ขอคิดสําหรับการออกแบบสวนรับผิดชอบการนําสงขอมูลผานเครือขาย คุณภาพการใหบริการ มาตรฐานและ รายละเอียดตัวอยางโพรโตคอลนําสงขอมูล เชน ทีซีพี ยูดีพี เปนตน แนวทางและตัวอยาง การนําเครือขายคอมพิวเตอรไปใช งาน เชน จดหมายอิเล็กทรอนิกส เวิลดไวดเว็บ และระบบการรักษา ความปลอดภัยผานเครือขาย เปนตน An overview of computer networks, computer network referenced models such as OSI and TCP/IP, wire and wireless digital communication basis, concepts and agreements for peer-to-peer communication, LAN and WAN such as Ethernet and ATM, network layer design issues, routing algorithm, congestion control methodologies, standards and examples of networking, transport layer design issues, quality of services, standards and examples of transport protocols such as TCP and UDP and some computer network applications such as e-mail, WWW and network security. หนังสืออางอิง 1. Computer Networking: A Top-Down Approach (5th Edition) James F. Kurose Keith W. Ross


88

2. Computer Networks: A Systems Approach. 2nd Edition, Morgan Kaufmann Publishing, L. L. Peterson and B. S. Davie เว็บไซตอางอิง http://www.cp.eng.chula.ac.th/~chai/course/2110472/index.htm http://www.cpe.ku.ac.th/~anan/myhomepage/?page_id=2484 http://www.cpe.ku.ac.th/~nguan/presentations/network/ http://www.cpe.ku.ac.th/~pattara/network/PPT/ http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.05.shtml http://cpsk69.com/lecture/?p=28 เนื้อหา 1. Overview of Computer Network 2. Application Layer § § § § §

Principle of Network Application The Web and HTTP File Transfer: FTP Electronic Mail in the Internet DNS – The Internet’s Directory Service

3. Transport Layer § § § § § § §

Introduction and Transport Layer Services Multiplexing and Demultiplexing Connectionless Transport: UDP Principles of Reliable Data Transfer Connection-Oriented Transport: TCP Principle of Congestion Control TCP Congestion Control

4. Network Layer § §

Introduction Virtual Circuit and Datagram Networks


89

§ § §

What’s Inside a Router? The Internet Protocol (IP) : Forwarding and Addressing in the Internet Routing Algorithm

5. Data Link Layer and Local Area Networks § § § § § § § §

Link Layer: Introduction and Services Error-Detection and –Correction Techniques Multiple Access Protocol Link-Layer Addressing Ethernet Interconnections : Hubs and Switches PPP : The Point-to-Point Protocol Link Virtualization : A Network as a Link Layer

6. Wireless and Mobile Networks § § § § § § § §

Introduction Wireless Links and Network Characteristics : CDMA Wi-Fi : 802.11 Wireless LANs Cellular Internet Access Mobility Management : Principle Mobile IP Managing Mobility in Cellular Networks Wireless and Mobility : Impact on Higher-Layer Protocol

7. Security in Computer Networks § § § § § §

What is network security Principles of cryptography Message integrity End point authentication Securing e-mail Securing TCP connections: SSL


90

§ § §

Network layer security: Ipsec Securing wireless LANs Operational security: firewalls and IDS

ระบบฐานขอมูล (DATABASE SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้ศึกษาถึงแนวคิดของระบบฐานขอมูล แฟมขอมูลและฐานขอมูล สถาปตยกรรมของ ระบบฐานขอมูล หนวยขอมูลและความสัมพันธของหนวยขอมูล การออกแบบฐานขอมูลดวยวิธีแผนภาพ อีอาร การออกแบบฐานขอมูลดวย วิธีนอรมัลไลเซชัน โครงสรางฐานขอมูลแบบลําดับชั้น แบบเครือขาย และแบบเชิงสัมพันธ ภาษาฐานขอมูลและภาษาเรียก คนขอมูล A study of database system concepts, files and databases, database system architecture, data entities and relationships, data modeling using Entity-Relation Diagrams and normalization technique, hierarchical, network and relational models of databases, query language and database language. หนังสืออางอิง 1. Database System Concepts By: Silberschatz Abraham, Korth Henry F., Sudarshan S. 2. An Introduction to Database Systems, C.J. Date 3. Database Management Systems by Raghu Ramakrishnan and Johannes Gehrke เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/course/AT71.01.shtml http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/pudsadee/ http://www.cpe.ku.ac.th/~srp/204351/index.html http://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/databases http://www.it.kmitl.ac.th/~pattarachai/DB/ เนื้อหา Database concept


91

Relational database model Database design concepts Database design using the entity relationship model Enhanced entity relationship and object modeling Basic SQL statement Intermediate SQL features Advance SQL techniques Transaction processing using SQL

การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง (ADVANCED DIGITAL SYSTEM DESIGN) คําอธิบายรายวิชา ทบทวนความรูเกี่ยวกับการประมวลและแสดงผลทางตรรก การออกแบบวงจรดิจิตอล ฟงกชันตางๆ ความรู เกี่ยวกับวงจรซีเควนเชียลแบบซิงโครนัสและอะซิงโครนัส การพัฒนาออกแบบ และวิเคราะหวงจรคอมบิเนชันและซีเควนเชียล การออกแบบระบบดิจิตอลโดยใชวงจรรวมและ อุปกรณตรรกที่สามารถโปรแกรมไดแบบตาง ๆ เชน PAL, CPLD และ FPGA ศึกษาขั้นตอนการ พัฒนาคอมพิวเตอรฮารดแวร และการใชภาษาเอชดีแอลสําหรับชวยในการออกแบบ To review knowledge of logic processing and representation, basic combination logic circuit design, synchronous and asynchronous sequential circuit, combination and sequential logic circuitimplementation and analysis, implementing logic function using programmable device such as PAL, CPLD and FPGA, computer hardware design process, hardware design using HDL. หนังสืออางอิง Digital Logic Circuit Analysis and Design, Victor P.Nelson, H. Trey Nagle, Bill D. Carroll, J. David Irwin, Prentice-Hall International ,Inc. เว็บไซตอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~ksjirasa/Lecture/AdvDigital.html เนื้อหา


92

Â

Data Representation - Arithmetic - Base Conversions - Signed Number Representation Algebraic Methods for the Analysis and Synthesis of Logic Circuits - Fundamental of Boolean Algebra - Switching Functions and Circuits - Analysis and Synthesis of Combinational Circuits Simplification of Switching Functions - Simplification Goal - Karnaugh Maps(K-Maps) - Quine-MeCluskey Tabular Minimization Methodes Modular Combinational Logic - Top-Down Modular Design - Decoder and Encoder - Multiplexers and Demultiplexers - Binary Arithmetic Elements - Comparator - Design Example : A Computer Arithmetic Logic Unit(ALU) Chapter 5 Combinational Circuit Design with Programmable Logic Devices - Logic Array Circuits - Field-programmable Logic Arrays - Programmable Logic Arrays Instruction to Sequential Devices - Model for Sequential Circuits - Memory Devices - Lathes and Flip-Flops - Timing Circuits Modular Sequential Circuit Analysis and Synthesis of Synchronous Sequential Circuits Simplification of Sequential Sequential Circuits Asynchronous Sequential Circuits Sequential Circuits with Programmable Logic Devices


93

Application Development ปฏิบัติการระบบดิจิตอลขั้นสูง (ADVANCED DIGITAL SYSTEM LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การออกแบบระบบดิจิตอลขั้นสูง The experiments related to Advanced Digital System Design ทฤษฎีการคํานวณ (THEORY OF COMPUTATION) คําอธิบายรายวิชา เซต ความสัมพันธ ฟงกชัน และกราฟ วิธีการพิสูจนทางคณิตศาสตร การอุปมานและ การนิยามแบบเรียกตัวเอง ภาษาเรกกูลาร นิพจนเรกกูลาร ออโตมาตาจํากัด ภาษาคอนเทกซฟรี และออโตมาตาแบบกดลง การแจง เครื่องจักรทัวริ่ง ไวยากรณคอนเทกซเซนสิทิฟ ปญหาการตัดสินใจที่ แกไดและแกไมได ปญหาแทร็คเทเบิ้ล และอินแทร็คเทเบิ้ล ปญหาเอ็นพี- สมบูรณ A study of sets, relations, functions and graphs, mathematical proofs, induction and recursive definitions, regular languages, regular expressions, finite automata, context-free languages, pushdown automata, parsing, turing machine, context-sensitive grammars, solvable and unsolvable decision problems, tractable and intractable problems and NP-complete problems. หนังสืออางอิง 1.ทฤษฎีการคํานวณ, ผศ.ดร.เกียรติกูล เจียรนัยธนะกิจ, สํานักพิมพ Success Media 2. An Introduction to Formal Languages and Automata, By: Peter Linz, Pub: Jones and Bartlett เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=33 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.03.shtml


94

http://www.cpe.ku.ac.th/~ccd/204213/index.htm http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf/wiki/doku.php?id=theory_of_computation

ระบบปฏิบัติการ (OPERATING SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้ศึกษาหลักการและแนวคิดที่ใชในการออกแบบระบบปฏิบัติการสมัยใหม ไดแก โพรเซสโมเดลของการ ประมวลผล ความสัมพันธระหวางการเกียดกัน และการทํางานรวมกัน ของโพรเซส การใชเซมาฟอร การสงผานขอความ และ มอนิเตอร นอกจากนั้นยังกลาวถึงการตรวจจับ เด็ดล็อกของโพรเซสและการปองกัน และยังกลาวถึงการจัดการทรัพยากร ตางๆ ตั้งแตการจัดตาราง ทํางานใหโพรเซสเซอร การบริหารหนวยความจํา และการจัดการหนวยความจําสํารอง และสุดทาย ยังกลาวถึงสถาปตยกรรมของระบบปฏิบัติการตางๆ และทิศทางการออกแบบและพัฒนาของระบบ ปฏิบัติการในอนาคต This course studies the principles and concepts that govern the design of modern operating systems. It covers process model of computation and the related areas of mutual exclusion and process synchronization, including the use of semaphores, message passing, and monitors. Process deadlock detection and prevention are also discussed. With respect to resource management, areas covered include processorscheduling, memory management, and management of secondary storage devices. Finally, the course also covers alternative operating system architectures and the implications of future trends in computing on operating system design หนังสืออางอิง 1. Silberschatz, Abraham, Peter B. Galvin, and Greg Gagne. Operating System Concepts. 8th ed. Hoboken, NJ: J. Wiley & Sons, 2010. 2. H.M. Dietel: An Introduction to Operating Systems, Revise Second Edition, Addison Wesley, Massachusetts, 1990. 3. W. Stallings: Operating Systems, Prentice Hall, 2002.


95

เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=41 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.08.shtml http://staff.kmutt.ac.th/~chukiat.wor/CSS326/index.htm เนื้อหา 1. Syllabus 2. CH01 Introduction 3. CH02 Operating System Structures 4. CH03 Process Concepts 5. CH04 Multithreaded Programming 6. CH05 Process Scheduling 7. CH06 Synchronization 8. CH07 Deadlocks 9. CH08 Memory Management 10. CH09 Virtual Memory 11. CH10 File Systems 12. CH11 Implementing File Systems 13. CH12 Secondary Storage 14. CH13 I/O Systems

การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ (INFORMATION SYSTEMS ANALYSIS AND DESIGN) คําอธิบายรายวิชา ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศตอองคกรและระบบธุรกิจ การใชเทคโนโลยี สารสนเทศเพิ่มศักยภาพของ ระบบ ขั้นตอนตางๆ ของการพัฒนาระบบ การวิเคราะหระบบ การสราง แผนภูมิการไหลของขอมูล ขอมูลดิกชันนารี การ ออกแบบระบบ การออกแบบสวนติดตอ กับผูใช สวนเก็บขอมูล การวิเคราะหและการออกแบบระบบเชิงวัตถุ


96

A study of the significance of information technology to business organization, the supporting of information technology to system, system development life cycle (SDLC) phases, system analysis, data flow diagram, data dictionary, system designing user interface, data collecting section and object - oriented analysis and design. หนังสืออางอิง 1. Systems Analysis and Design 8th ed (Shelly and Rosenblatt) 2. K. Kendall and J. Kendall: Systems Analysis and Design (5th Edition), Prentice Hall, 2002. 3. J.L. Whitten, L.D. Bentley, K.C. Dittman: Systems Analysis and Design Methods (5th Edition), McGraw-Hill, 2000. 4. Donald C. Gause and Gerald M. Weinberg: Exploring Requirements: Quality Before Design, Dorset House, 1998. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=62 https://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/system-analysis-anddesign password:veera http://203.159.12.3/interimcodes/coursecatalog/CourseDetailInfo.cfm?Reverse =off&CCode=AT71.05

ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ (INFORMATION SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ปฏิบัติการวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ The experiments related to INFORMATION SYSTEMS ANALYSIS AND DESIGN

ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี (TCP/IP NETWORKS)


97

คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะกลาวถึงเครือขายชนิดทีซีพีไอพีซึ่งเปนเครือขายที่มีการใชงานมากที่สุดในโลก รายละเอียดของวิชา ประกอบดวย ระดับชั้นตางๆ ของทีซีพีไอพี แอดเดรสในเครือขายอินเตอรเน็ต ระบบชื่อโดเมน รายละเอียดของโพรโตคอลไอพี เออารพี ไอซีเอ็มพี ทีซีพี และ ยูดีพี การหาเสนทาง ในเครือขายอินเตอรเน็ต โพรโตคอลหาเสนทาง ไดแก อารไอพี โอเอสพีเอฟ ไอเอสไอเอส บีจีพี และอื่นๆ นอกจากนั้นอธิบายถึงอุปกรณหาเสนทาง การหาเสนทางในเครือขายมัลติคาสต ไอพีเวอรชัน 6 และโพรโตคอลประยุกตตางๆ ไดแก โพรโตคอลไอจีเอ็มพี เอฟทีพี เอสเอ็มทีพี และอื่นๆ This subject describes TCP/IP networks, the most popular network in the world, TCP/IP layers, internet address, and domain name system. TCP/IP Protocol Suits: IP, ARP, ICMP, TCP and UDP. Internet and routing protocol: RIP, OSPF, IS-IS, BGP, and etc. It also covers routing device, multicast routing, IPv6 and other application protocol: IGMP, FTP, SMTP, and etc. หนังสืออางอิง TCP/IP Protocol Suite, 3rd Edition, Behrouz A. Forouzan, Mc-Graw-Hill Internatio เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=25 ปฏิบัติการระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี (TCP/IP NETWORKS LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ระบบเครือขายแบบทีซีพีไอพี The experiments related to TCP/IP Networks โครงงาน 1,2 (Project 1,2) คําอธิบายรายวิชา


98

ทําการวิจัยและพัฒนางานเฉพาะในสายวิศวกรรมคอมพิวเตอร นักศึกษาตองเสนอรายงานและขอสรุปของงาน ที่ทําเมื่อสิ้นสุดเทอมสุดทายของการศึกษา Research and development of computer engineering projects. Paper and summary report must be submitted at the end of the final semester.

รายละเอียด กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา กลุมวิชาเลือกสาขาฮารดแวร ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน (MICROPROCESSOR AND INTERFACING) คําอธิบายรายวิชา โครงสรางของระบบไมโครคอมพิวเตอร ไมโครโพรเซสเซอร ระบบบัสตางๆ อินพุทพอรต เอาทพุทพอรต การด แสดงผล จอภาพ อุปกรณประกอบอื่นๆ การเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี และภาษาระดับสูงเพื่อการควบคุมระบบ การออกแบบวงจรเชื่อมตอเพื่อการควบคุมระบบภายนอก ผานทางพอรตขนาน พอรตอนุกรม และพอรตอื่นๆ ระบบ หนวยความจําหลัก หนวยความจําสํารอง ระบบไฟลขอมูล Microcomputer architecture; microprocessor; various types of bus system; input ports output ports; display adaptor; monitor; peripherals; controlling program using assembly language and higher level languages; design of interfacing circuit for controlling external circuits via parallel port, serial port, and the other types of ports; main memory system; secondary storage devices; file system. หนังสืออางอิง 1. x86 PC: Assembly Language, Design, and Interfacing, Muhammad Ali Mazidi (Author), Janice Mazidi (Author), Danny Causey 2. R.J. Tocci, F.J. Ambrosio: Microprocessors and Microcomputers; Hardware and Software, 6th Edition, Prentice Hall, 2002. 3. P. Spasov: Microcontroller Technology; The 68HC11, 5rd Edition, Prentice


99

Hall, 2004. 4. C.M. Gilmore: Microprocessors: Principles and Applications, 2nd Edition, McGraw-Hill International, 1995. 5. J. Uffenbeck: Microcomputers and Microprocessors; The 8080, 8085 and Z80 Programming, Interfacing, and Troubleshooting, 3rd Edition, Prentice Hall, 2000. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=110 http://203.159.12.3/interimcodes/coursecatalog/CourseDetailInfo.cfm?Reverse =off&CCode=AT74.08 เนื้อหา 1. 8088/8086 Microprocessors and supporting chips. 2. 80286 Microprocessors and supporting chips. 3. Memory and memory interfacing. 4. I/0, 8255 and Device Interfacing. 5. 8253/54 Timer and Music. 6. Interrupts and the 8259 Chip. 7. Direct Memory Accessing; the 8237 DMA Chip. 8. Video and Video Adapters. 9. Serial Data Communication and the 16550/8250/51 Chips. 10. Keyboard and Printer Interfacing. 11. Floppy Disks, Hard Disks, and Files. 12. IC Technology and System Design.

ปฏิบัติการเชื่อมตอใชงานไมโครโพรเซสเซอร (MICROPROCESSOR INTERFACING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา


100

ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ไมโครโพรเซสเซอรและการเชื่อมตอใชงาน The experiments related to Microprocessor and Interfacing การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร (COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT) คําอธิบายรายวิชา การออกแบบวงจร และลอจิกของฮารดแวรคอมพิวเตอร การจำลองการทำงาน การตรวจ สอบและการสราง ระบบคอมพิวเตอร รวมถึงสวนขอมูล และวงจรควบคุมซีพียู การออกแบบระบบ หนวยความจํา การออกแบบแคช การออกแบบสวน อินพุท-เอาทพุท และการเชื่อมตอ การออกแบบบัส A study of computer hardware circuit and logic design, circuit simulation and verification, CPU, data path, control logic design, memory system design, cache memory design. Input/output system design and interfacing, bus design.

ปฏิบัติการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร (COMPUTER HARDWARE DEVELOPMENT LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรฮารดแวร The experiments related to Computer Hardware Development สถาปตยกรรมคอมพิวเตอรขั้นสูง (ADVANCED COMPUTER ARCHITECTURE) คําอธิบายรายวิชา แนะนําสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรความเร็วสูง สถาปตยกรรมแบบขนาน หนวยความจําและ ระบบติดตอกับ ภายนอก คอมพิวเตอรไปปไลนและวิธีการเวกเตอร ศึกษาระบบแบบ SIMD และ MIMD ศึกษาคอมพิวเตอรที่ประมวลผล แบบขนานอยางหนัก เครือขายที่เชื่อมตอระหวางกัน การจัดการเรื่อง หนวยความจําและปญหาการทํางานไปพรอมๆกัน อัลกอริทึมการควบคุมตัวประมวลหลายตัว ปญหา เรื่องเด็ดล็อก การทํางานเขาจังหวะกัน อัลกอริทึมแบบขนาน และการไหล ของขอมูลในคอมพิวเตอร


101

An introduction to high speed computer architecture, parallel architecture, memory and input/output system, pipelining and vector processing, SIMD and MIMD computers, massive parallel processing architecture, interconnection network, memory contention management, multi-processor control algorithm, deadlock, synchronization, parallel algorithm and flow of data in computer. หนังสืออางอิง Computer Architecture: A Quantitative Approach, Hennessy and Patterson, 3rd Edition เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=125 เนื้อหา 1. Computer Abstractions and Technology 2. MIPS Pipeline 3. Control Hazards 4. Data Hazards (already discussed in MIPS Pipeline) 5. Introduction Superscalar 6. Superscalar Model (Skipped) 7. VLIW (Very Long Instruction Word) 8. Large and Fast: Exploiting Memory Hierarchy 9. Multicores, Multiprocessors, and Clusters: Intro 10. Network Multiprocessor 11. Bus-Based Multiprocessor 12. CMP & SMT 13. Multithreading & OpenMP 14. GPU Computing: CUDA

การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมากเบื้องตน (BASIC VLSI DESIGN) คําอธิบายรายวิชา


102

วิวัฒนาการทางดานวงจรรวม การเสื่อสาร การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก การออกแบบระดับวงจร ระดับลอจิก การทําเลยเอาท การจําลองและการตรวจสอบการทํางาน ของวงจรรวมขนาดใหญมาก คอมพิวเตอรเพื่อชวยใน การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญมาก Integrated circuit development, fabrication process, VLSI design methodology, circuit and logic design, VLSI layout, VLSI circuit simulation and verification, CAD in VLSI design.

หนังสืออางอิง

1.ออกแบบไอซีดิจิตอลดวย FPGA และ CPLD ภาคปฏิบัติ โดยใชภาษา VHDL ณรงค ทองฉิม, เจริญ วงษชุมเย็น 2. John Y. Chen, CMOS Devices and Technology for VLSI, Prentice-Hall International Edition, 1990. 3. Andrew Brown, VLSI- Circuit and System in Silicon, McGraw-Hill International Edition, 1991. 4. Amar Mukherjee, Introduction to nMOS and CMOS VLSI Systems Design, Prentice-Hall International Edition, 1986. 5. Douglas A. Pucknell, Kamran Eshraghian, Basic VLSI Design, Prentice-Hall Silicon System Engineering Series, 1994. 6. Eugene D. Fabricius, Introduction to VLSI Design, McGraw-Hill, Electronic Engineering Series, 1990. 7. Neil Weste, Kamran Eshraghian, Principles of CMOS VLSI Design, Addision – Wesley Publishing Company, 1985. 8. John F. Wakerly, Digital Design: Principles & Practices, 3 rd Edition Updated, Prentice-Hall International Edition, 2001 เว็บไซตอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~kchsomsa/somsak/crse_vlsi/crse_vlsi.html http://www.cpe.ku.ac.th/~pom/courses/204424/204424.html http://www.cpe.ku.ac.th/~pom/courses/204574/204574.html http://www.asdu.ait.ac.th/Students/CourseDetailInfo.cfm?CCode=AT81.06


103

http://www.asdu.ait.ac.th/Students/CourseDetailInfo.cfm?CCode=AT81.08 http://fivedots.coe.psu.ac.th/~wannarat/240-451/

เนื้อหา Lecture 1: Introduction Lecture 2: VLSI Technology Lecture 3: Device Modelling (MOS) Lecture 4-5: CMOS Circuit Techniques (Digital, nMOS, CMOS, BiCMOS) Lecture 6: Physical level design (low level design) Lecture 7-8: VLSI Arithmetics Lecture 9-10: Memory Lecture 11-12: Interconnection, Pad, & whole chip design Consideration Lecture 13-14: High Level Design: Tools & Techniques (HDL, FPGA, Design case)

หุนยนตเบื้องตน (INTRODUCTION TO ROBOTICS) คําอธิบายรายวิชา แนะนําความรูพื้นฐานที่จะนํามาใชกับหุนยนต แขนหุนยนตแบบไคเนเมติกส แขนหุนยนต แบบไดนามิกส แผนการวางรูปแบบของหุนยนต การควบคุมชิ้นสวนของหุนยนต วงจรใหกําเนิดสัญญาณ แบบตางๆ ที่ใชในหุนยนต การ มองเห็นของหุนยนต ภาษาโปรแกรมที่ใชควบคุมหุนยนต An introduction to the robot kinematics, planning of manipulator, trajectories, control of robot manipulators, sensing, robot vision, robot programming language, robot intelligence and task planning. หนังสืออางอิง 1. Introduction to Robotics Analysis, Control, Applications - 2nd Edition (Hardcover) by Saeed B. Niku 2. Introduction to Robotics, Khatib, O. and Kolarov, K


104

เว็บไซตอางอิง http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~pphongsa/teaching/ABAC_robotics/ http://www.nattee.net/2110435/2553-b http://fivedots.coe.psu.ac.th/Software.coe/240-380/PDF/ การพัฒนาหุนยนตขนาดเล็ก (MICRO ROBOT DEVELOPMENT) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการทํางานหุนยนต องคประกอบของหุนยนต การออกแบบ การวิเคราะห และการประยุกตใชงาน เพื่องานวิจัยและงานอุตสาหกรรม เชนหุนยนตขนาดเล็ก หุนยนตเคลื่อนที่ หุนยนตชวยงานวิจัย สรางหุนยนตตามความคิด สรางสรรคที่นักศึกษาออกแบบภายใตกรอบหัวขอที่ อาจารยตั้งไว เพื่อใหไดรูปแบบหุนยนตที่หลากหลายและสามารถ ประยุกตใชงานไดจริง A study of principles and components of robot, design, analysis and robot application for research and industry such as micro-robot, Mobile robot, research assistant robot, student’s research and development in creating their own robot according to lecturer’s preset topics.

ระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง (HIGH PERFORMANCE COMPUTING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะแนะนําถึงระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูง และ การนําไปใชงานทางดานวิทยา ศาสตรและ วิศวกรรมศาสตร โดยเนื้อหาวิชาจะเนนถึงเครื่องมือและเทคนิคที่ใชแกปญหาขนาดใหญ และ ปญหาที่ใชการคํานวณอยาง หนัก ที่ทํางานบนระบบคอมพิวเตอรแบบขนาน ระบบคอมพิวเตอร สมรรถนะสูง หรือซูเปอรคอมพิวเตอรไดอยางมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังกลาวถึงสถาปตยกรรม ของระบบคอมพิวเตอรสมรรถนะสูงแบบกระจาย ระบบอ็อบเจ็กตแบบ กระจาย ระบบเครือขาย แบบกระจาย รวมถึงประเด็นตาง ๆ ในเรื่องประสิทธิภาพ และการทํานายประสิทธิภาพ เครื่องแมขาย ที่ขยายตัวได ระบบคอมพิวเตอรเมตา และระบบคอมพิวเตอรที่ใชในวิทยาศาสตร


105

The course gives an introduction to High Performance Computing and its applications within science and engineering. The main emphasis of the course is on techniques and tools for efficiently solving large and computationally intense problems on vector and parallel computers and other high performance computing systems (or supercomputers). It also describes architecture of high performance distributed systems, high distributed objects (DCOM, CORBA, Java Beans) and networking with crosscut issues for performance, availability, and performance predictability. Scalable servers, metacomputing, and scientific computing.

ระบบสมองกลฝงตัว (EMBEDDED SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้กลาวถึงภาพรวมของระบบสมองกลฝงตัว โดยเนนที่การสื่อสารระหวางระบบตางๆ การเชื่อมตอกับ ภายนอก การประหยัดพลังงาน ความปลอดภัย และ เสถียรภาพ วิชานี้ครอบคลุมหลัก การออกแบบ วิธีการ เครื่องมือที่ใช ออกแบบ และกรณีศึกษา This course provides an overview of embedded systems, with the emphasis on communication among distributed systems, interfacing with external environments, energy conservation, safety and reliability. The course covers design principles, methodologies, design tools, and case studies หนังสืออางอิง 1. J. K. Peckol: Embedded System: A Contemporary Design Tool, Wiley, 1st edition, 2007 2. F. Vahid, and T. D. Givargis: Embedded System Design: A Unified Hardware/Software introduction, Wiley, 1st edition, 2001 3. P. Marwedel: Embedded System Design, Springer, 1st edition, 2005 4. T. Noergarrd: Embedded Systems Architecture: A Comprehensive Guide for Engineers and Programmers, Elsevier Science & Technology Books, 1st edition, 2005


106

5. W. Wolf: Performance Embedded Computing: Architectures, Applications, and Methodologies, Elsevier Science & Technology Books, 1st edition, 2006 เว็บไซตอางอิง http://narong.ece.engr.tu.ac.th/embedded/index.html http://esl.ait.ac.th/courses/AT81.15.htm http://www.asdu.ait.ac.th/Students/CourseDetailInfo.cfm?CCode=AT81.14 เนื้อหา I Introduction to Embedded computing 1. Applications 2. Design methodologies 3. Models of computations II Architecture 1. RISC architecture 2. DSP architecture 3. VLIW architecture III Multiprocessor architectures 1. Interconnect network 2. Memory subsystems IV Software/Compiler 1. Code generation/backend optimization 2. Program performance analysis V Real-Time Operating Systems 1. Real-time process scheduling 2. Operating system design VI Multiprocessor software 1. Multiprocessor operating systems 2. Design verification VII Hardware/Software co-design 1. Hardware/Software co-synthesis 2. Hardware/Software co-simulation 3. Hardware/Software partitioning กลุมวิชาเลือกสาขาซอฟแวร


107

การออกแบบและวิเคราะหอัลกอริธึม (DESIGN AND ANALYSIS OF ALGORITHM) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้กลาวถึงทฤษฎีและเทคนิคของการวิเคราะหและออกแบบอัลกอริทึม นักศึกษาจะ ไดศึกษาแนวทาง ออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแกปญหาในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งประกอบดวย การคนหาขอมูล การเลือกขอมูล การเรียงขอมูล ทฤษฎี ของกราฟ ทฤษฎีตัวเลข และการเขารหัสลับ นอกจากนั้นยัง ศึกษาวิธีการตาง ๆ ไดแก วิธีการกรีดดี้ วิธีการแบงและจัดการ การโปรแกรมแบบไดนามิก การยอนกลับ สําหรับการวิเคราะหอัลกอริทึม นักศึกษาจะไดศึกษารูปแบบของเวลาและ ทรัพยากรทีใ่ ชในการทํางาน โดยใชเทคนิคตาง ๆ ศึกษาการวัดความซับซอนของอัลกอริทึม This course covers the theory and techniques of algorithm design and analysis. For algorithm design, students will study a wide variety of algorithmic solutions to problems from several application areas. These areas include searching, selecting, sorting, graph theory, number theory, and encryption. In addition, several design paradigms will be covered including the greedy method, divide and conquer, dynamic programming, backtracking, and branch-and-bound. For algorithm analysis, students will practice the formulation of an algorithm's execution time using formal analysis techniques. In addition, the student will use software tools to measure actual resources that a program uses during execution หนังสืออางอิง Introduction to Algorigthm Thomas H.Cormen เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=75 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=38 http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/teaching/algo/algo2008/index.htm http://www.cpe.ku.ac.th/~fengtwr/491-204313/204313.htm เนื้อหา 1. Introduction 2. Algorithm Analysis 3. Growth of Function


108

4. Divide and Conquer 5. Sorting-1 6. Sorting-2 การพัฒนาซอฟตแวรระบบ (SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้สอนการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการวินโดวส โดยศึกษาสวนประกอบตาง ๆ ระบบปฏิบัติการสวนประกอบของ MFC และการใชงาน MFC ศึกษาสภาพแวดลอมการพัฒนาโปรแกรม รูปแบบการสื่อสารระหวางโปรแกรม สวนเชื่อมตอกับกราฟก การติดตอกับอุปกรณอินพุต การสรางเมนู การติดตอกับไฟล การจัดการกับออบเจ็กตการบริหารหนวยความจํา การเขียนโปรแกรมแบบหลายเทรด การสรางโปรแกรมแบบ DLL แบบ ActiveX และการเขียนโปรแกรมแบบโมเดลอ็อบเจกพื้นฐาน This course introduces programming applications in the Microsoft 32-bit Windows systems using Microsoft Visual C++ and Microsoft Foundation Classes (MFC). The main components of a Windows application include the introduction of MFC, developing environment, messaging model, graphics device interfaces, menus, file I/O, object serialization, memory management, multi-thread programming, DLL and ActiveX development and basic object model. หนังสืออางอิง 1. พื้นฐานการโปรแกรมวินโดวดวย Win 32 และการโปรแกรมวินโดวดวยไลบราลี MFC, อรัญญา วลัยรัชต 2. Windows Programming from the Ground up, Herbert Schildt, Osborne McGraw-Hill, ISBN: 0-07-882306-4 3. Microsoft Win32 Programmer’s Reference : Window Management and Graphics Device Interface,vol. 1, Microsoft Press ISBN: 1-55615-515-8 4. Microsoft Win32 Programmer’s Reference : System service, Multimedia, Extensions and Application Notes, vol2, Microsoft Press ISBN: 1-55615-516-6 5. Programming with Microsoft Visual C++. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=26 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=43


109

http://www.cp.eng.chula.ac.th/~c2110311/2003/index.html http://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/system-analysis-anddesign เนื้อหา สัปดาหที่ 1 Introduction to Graphics User Interface and Windows Programming เพื่อเขาใจโปรแกรมวินโดวส เบื้องตน สัปดาหที่ 2 Win 32: Programming เพื่อศึกษาการพัฒนาโปรแกรวินโดวสเบื้องตน ดวย Win 32 API สัปดาหที่ 3 Using Visual Studio & Using Resources เรียนรูการใชเครื่อง IDE เพื่อใชในการพัฒนาโปรแกรมวินโดวส สัปดาหที่ 4 Win 32: Working with Text and Graphics & Solving the Repaint Problem เรียนรูโปรแกรมที่สามารถแสดง ขอความและรูปกราฟฟกพื้นฐาน ไดรวมทั้งแกปญหาของการ Paint ดวย Win 32 API สัปดาหที่ 5 Win 32: Introducing Dialog Boxes & Child Window Controlsเรียนรูการสราง dialog box รวมถึง child window control ที่ อยูบน dialog box ดวย Win 32 API สัปดาหที่ 6 Win 32: Multitasking & DLL เรียนรูการสรางโปรแกรมแบบ หลายเทรด และการสราง DLL ดวย Win 32 API สัปดาหที่ 7 Introduction to MFC Programming : The Application/Window Approach เรียนรูการโปรแกรมวินโดวส ดวยไลบราลี MFC รวมถึงการ พัฒนาโปรแกรมวินโดวสแบบ Application/Window สัปดาหที่ 8 MFC: Dialog-based Applications เรียนรูการพัฒนาโปรแกรม วินโดวสแบบ dialog-based สัปดาหที่ 9 Midterm สอบกลางภาค สัปดาหที่ 10


110

MFC: Document/View Approach Working with menus and Toolbars เรียนรูการพัฒนาโปรแกรม วินโดวสแบบ Document/Veiw รวมถึงการสรางเมนูและทูลบาร สัปดาหที่ 11 MFC: Creating & Using Dialogs and Controls เรียนรูการสราง dialog box และ child window control บน dialog box สัปดาหที่ 12 Drawing in a Window Utility and Exception Classes เรียนรูการวาดภาพบนหนาตาง วินโดวส ดวย MFC และการใช คลาสเอนกประสงคของ MFC สัปดาหที่ 13 MFC: Connecting to Database เรียนรูการพัฒนาโปรแกรมที่ สามารถติดตอกับดาตาเบสได สัปดาหที่ 14 MFC: Dynamic Link Library, เรียนรูการสรางไลบาลีแบบไดนา มิก ดวย MFC สัปดาหที่ 15 Property Sheet, Create a floating menu การสราง property ปฏิบัติการพัฒนาซอฟตแวรระบบ (SYSTEM SOFTWARE DEVELOPMENT LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การพัฒนาซอฟตแวรระบบ The experiments related to System Software Development

การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ (UNIX SYSTEM PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้กลาวถึง ระบบปฏิบัติการยูนิกซและการเขียนโปรแกรมในระดับของระบบปฏิบัติการ ประกอบดวยการ เขียนโปรแกรมเชลล การใชงานซิสเต็มคอลล ระบบไฟลและไดเร็กทอรี การประมวล ผลไฟล การสรางโพรเซส การควบคุมโพ รเซส การสงสัญญาณ การติดตอกับเทอรมินอล การสราง เดมอนโพรเซส และการติดตอระหวางโปรแกรม


111

An introductory study in UNIX operating system with an emphasis on programming at the system level including shells and shell script programming, UNIX system calls, file and directory systems, file processing, UNIX process, process control, terminal I/O, daemon process, interprocess communication หนังสืออางอิง 1. [H] The Berkeley UNIX Environment Nigel Horspool, Prentice Hall, 1991 2. [R] Practical UNIX Programming: A Guide to Concurrency, Communication, and Multithreading Kay Robbins and Steven Robbins, Prentice Hall, 1996 3. The Linux Programming Interface: A Linux and UNIX System Programming Handbook [Hardcover]Michael Kerrisk (Author) 4. Unix Shell Programming (3rd Edition) [Paperback] Stephen G. Kochan (Author), Patrick Wood (Author) 5. Learning Perl, 5th Edition [Paperback] Randal Schwartz (Author), Tom Phoenix (Author), brian d foy(Author) เว็บไซตอางอิง http://www.cp.eng.chula.ac.th/~c2110311/2003/index.html เนื้อหา Week Topic - Introduction, systems programming, UNIX, LINUX, C 1 - course outline, texts, references, tutorial, assignments, projects, quiz, grading, computer facilities Getting Started with UNIX 2 Basic UNIX commands and utilities, UNIX file system Shells (sh, csh, ksh, bash), shell programming 3 Assignment: A Time Manager LINUX administration, networking 4 Assignment: Linux administration C programming language, C compiler 5 Assignment: C programs C library functions for input-output, files, string, memory 6 allocation, argument handling, etc.


112

7 8 9 10 11 12 13 14

Assignment: C programs (simple UNIX tools) --Midterm Exam-Files and devices Processes and Signal - parallel processing, signals, program execution, run-time environment Communicating between processes (interrupt, exception, signal, device drivers, I/O, IPC) Shells Assignment: shell Network programming (communication, socket, networking), Client-Server Communication Assignment: ftp Developing large C programs - multifile compilation, make, linking, library Debugging and profiling C code ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ (UNIX SYSTEM PROGRAMMING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การเขียนโปรแกรมบนระบบยูนิกซ The experiments related to UNIX System Programming

การออกแบบและสรางระบบปฏิบัติการ (DESIGN AND IMPLEMENTATION OF OPERATING SYSTEM) คําอธิบายรายวิชา โครงสรางของขอมูลของระบบปฏิบัติการ วิธีการจัดลําดับงาน การจัดการหนวยความจํา เสมือน การจัดการ เกี่ยวกับอินเตอรรัปต การเขียนโปรแกรมของระบบหลายโปรแกรม การออกแบบ โครงสรางขอมูลและอัลกอริทึมของ โปรเซส ระบบไฟล การติดตอสื่อสารระหวางโปรเซส มอนิเตอร การจัดลําดับโปรเซส การทําอินพุท/เอาทพุท การจัดการระบบ หนวยความจํา


113

A study of operating system structure, task scheduling, virtual memory management, interrupt scheduling, multitasking programming, implementation details of process, file systems, inter-process communication, monitor, scheduling algorithm, input/output, memory management หนังสืออางอิง 1. Computer Systems: A Programmer's Perspective; the K&R C book 2. C Traps and Pitfalls เว็บไซตอางอิง http://www.cs.cmu.edu/~410/ http://www.cs.rutgers.edu/~iftode/cs416_2008.html เนื้อหา Lec 1: Introduction Lec 2: Computer Systems Overview Lec 3: Operating System Structure and Services Lec 4: Operating System Services Lec 5: Processes Lec 6: Threads Lec 7: Process Synchronization Lec 8: More on Process Syncronization Lec 9: Deadlocks Lec 10: Memory Management Lec 11: Virtual Memory Lec 12: CPU Scheduling Lec 13: I/O Management Lec 14: File Systems Lec 15: Security Lec 16: Distributed Systems


114

การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา (JAVA PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะสอนภาษาจาวา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุดวยภาษาจาวา การสรางสวนติดตอ ผูใชแบบกราฟก การ เขียนโปรแกรมติดตอกับไฟล การเขียนโปรแกรมติดตอกับอินพุตเอาทพุตตางๆ การใชงานเทรด การเขียนโปรแกรมเชื่อมตอ กับเครือขาย และการพัฒนาแอปพลิเคชันดวยภาษา จาวาทั้งแบบแอ็ปแพล็ตและแบบแอปพลิเคชัน This course provides students the syntax of the Java programming language, object-oriented programming with the Java programming language, creating graphical user interfaces (GUI), exceptions, file input/output (I/O), threads and networking, and how to develop both Java applet and application หนังสืออางอิง 1. Introduction to Java Programming Comprehensive version, Y.Daniel Liang, Pearson Education 2. Thinking in Java (4th Edition) Bruce Eckel 3. Deitel and Deitel: Java2 How To Program, 3rd ed., Prentice Hall, Upper Saddle River, NJ 07458 1999. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=82 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=70 เนื้อหา Week Topic 1 Introduction to Java Applications Primitive Data types and Operations 2 Selection Statements, Loops 3-4 Methods Arrays 5 Classes and Objects 6 Strings and Text I/O


115

7-8 9 10 11 12 13 14 15

Inheritance and Polymorphism Abstract Classes and Interfaces Getting started with GUI Programming Graphics and Event Driven Programming Creating UI Applets and Multimedia Exceptions and Assertions Binary I/O Multithreading, Java Collections Framework, Generic

ปฏิบัติการภาษาจาวา (JAVA PROGRAMMING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา The experiments related to JAVA PROGRAMMING

เทคโนโลยีภาษาจาวา (JAVA TECHNOLOGY) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะสอนนักศึกษาเกี่ยวกับความสามารถตางๆ ในภาษาจาวา ไดแก จาวาบีนส การเขียนโปรแกรมเชิรฟเลท การเชื่อมตอภาษาจาวากับฐานขอมูล การรับสงขอมูลระยะไกล และ สวิง รวมทั้งการเขียนโปรแกรมเครือขายแบบอนุกรม คุณสมบัติ ความปลอดภัยและคลาสและสถาปตยกรรมของคลาสตางๆ This course exposes the student to Advanced Java features as JavaBeans, Servlet Programming, the Java Database Connectivity, Remove Method Invocation, and Swing. Other major topics in this course include Network Programming Seriailzation, Properties, Security, the Collection Classes and Architectures. หนังสืออางอิง 1. Deitel and Deitel: Java 2 How To Program, 3rd ed., Prentice Hall, Upper Saddle River, NJ 07458 1999.


116

2. C. Thomas Wu:An Introduction to Object-Oriented Programming with Java, 2nd ed., McGraw-Hill, 2001. 3. M. Smith:Java: An Object-Oriented Language, McGraw-Hill, 2000. 4. C. S. Horstmann, G. Cornell:Core Java2, Volume II - Advanced Features, Sun Microsystems Press, 2000. 5. D. Govoni:Java Application Frameworks, John Willey & Sons, Inc., 1999. D. Reilly, M. Reilly: 6. Java: Network Programming and Distributed Computing, Addison-Wesley, 2002. P. Thaggard: EJB 2.1. Kick Start, Sams Publishing, 2002. 7. G. Barish: Building Scalable and High-Performance Java Web Applications Using J2EE Technology, Addison-Wesley, 2002. เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.06.shtml http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=48 เนื้อหา The Java Programming System 1. 2. 3. 4.

Architecture and Structure Applications and Applets Reusable Classes and Packages Java Implementation of the Principles of Object Orientation

Java Components (JavaBeans) 1. Beans Classification and Structure 2. Preparing and Creating Beans 3. Designing an Application using Beans Java Frameworks 1. Java Frameworks Fundamentals 2. Swing GUI 3. Analysis and Design of Java Application Frameworks


117

4. Java Enterprise Frameworks: Enterprise Java Beans (EJB), JavaCORBA IDL, Distributed Frameworks Remote Method Invocation (RMI) 1. Java Distributed Objects 2. Defining and Implementing the Remote Interface 3. RMI vs. CORBA and COM/DCOM J2EE Technology 1. 2. 3. 4.

The J2EE Specification Java Servlets: Development and Deployment Building Application Servers with EJB Using JDBC and SQL to Query Databases

J2ME Technology for Mobile Computing 1. 2. 3. 4.

Mobile Computing Characteristics Specifics of Java for Mobile Computing J2ME Configurations and Profiles Development WAP Applications using J2ME

Integrated Java Technologies for Networked Applications ปฏิบัติการเทคโนโลยีภาษาจาวา (JAVA TECHNOLOGY LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา เทคโนโลยีภาษาจาวา The experiments related to JAVA TECHNOLOGY

ปญญาประดิษฐ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE)


118

คําอธิบายรายวิชา วิชานี้มีเนื้อหาดังนี้ ความหมายของปญญาประดิษฐ แนวทางในการแทนความรู รวมทั้งเฟรม สคริปต กฏ และ ลอจิก และเทคนิคเชิงปญญาประดิษฐ ไดแก วิธีการคนหาและวีคเมทอต ลอจิก และระบบที่ใชกฎ โครงขายประสาทเทียม เจเนอริคทาสก และอื่นๆ นอกจากนี้ยังแนะนําถึงปญหาที่ ตรวจสอบ การเรียนรูของเครื่องจักร เอเจนตที่ใชฐานความรู, ความ เขาใจภาษาธรรมชาติ การรับรูของคอมพิวเตอร การวางแผน และการเลนเกม The course covers the following topics: a survey of knowledge representation issues including frames, scripts, rules and logic, and AI techniques including weak methods and blind search, logic, rule-based systems, neural networks, generic tasks and others. The course will also introduce problems of diagnosis, machine learning, knowledge-based agent, natural language understanding, computer perception, planning and game playing. หนังสืออางอิง Artificial Intelligence A Modern Approach, By Stuart Russell and Peter Norvig, Prentice Hall เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=37 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.10.shtml http://www.cp.eng.chula.ac.th/~boonserm/teaching/artificial.htm http://www.cp.eng.chula.ac.th/~boonserm/teaching/ArtificialIntelligence2.htm http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf/wiki/doku.php?id=01204461-52 http://std.eng.src.ku.ac.th/?q=node/196 http://sites.google.com/site/veeraboonjing/teaching-1/intelligent-systems pass:veera เนื้อหา Introduction 1. Definition of AI, Historical Development of AI 2. Applications of AI 3. AI Techniques


119

Â

Problem Representation 1. State-Space Representation 2. Problem-Reduction Representation Search 1. 2. 3. 4.

Blind and Non-Blind Searches Heuristic Search Best-First Search Optimal Search

Knowledge Representation and Reasoning 1. 2. 3. 4. 5.

Predicate Calculus Frame Representation Semantic Networks Ontology of Knowledge Representation Fuzzy Representation

AI Programming 1. Lisp 2. Prolog 3. Web-Programming Learning 1. Symbolic learning models 2. Connectionist learning models Knowledge Discovery 1. Data Mining 2. AIs the Internet Turing Test and the Ontology of Intelligence


120

แนวคิดภาษาคอมพิวเตอร (PROGRAMMING LANGUAGE CONCEPT) คําอธิบายรายวิชา ประวัติความเปนมาและความเกี่ยวโยงของภาษา ความคิดพื้นฐานของภาษาไวยากรณ และความหมาย การ ออกแบบตัวแปรภาษา ลักษณะของภาษาในปจจุบันรวมทั้งไวยากรณที่ถูกตอง และลักษณะเดนตางๆ ของภาษาที่นาสนใจ การเขียนโปรแกรมและการแกไขโปรแกรมไปสูตัวแปรภาษา An introduction to history and connection of programming languages, basic concepts of syntax and semantics of programming languages, compiler design, syntax and characteristics of modern programming languages, interesting characteristics of programming language, writing and correcting programs. หนังสืออางอิง 1. Peter Van Roy, Self Haridi: Concepts, Techniques, and Models of Computer Programming, The MITPress, 2004 2. Allen Tucker, Robert Noonan: Programming Languages. Principles and Paradigms, McGraw Hill, 2002 เว็บไซตอางอิง http://www.comp.nus.edu.sg/~cs2104/ http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf/wiki/doku.php?id=204435-53

การสรางคอมไพเลอร (COMPILECONSTRUCTION) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาภาพรวมของเครื่องมือแปลภาษาโปรแกรมระดับสูง การวิเคราะหคํา โทเคน ไฟไนตออโตมาตา ตาราง สัญลักษณ การวิเคราะหไวยากรณ วจีวิภาค การตรวจสอบชนิดขอมูล การจัดการสภาพแวดลอมขณะโปรแกรมทํางาน การ สรางภาษากลางและภาษาเครื่อง และเทคนิค ปรับปรุงโคดใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น พรอมยกตัวอยางการสรางคอมไพเลอร สําหรับภาษาที่กําหนด


121

An overview of high-level programming language translators, lexical analysis, token, finite automata, symbol tables, syntax analysis, parser, types checking, run-time environment handling, intermediate and machine code generation and code optimization, together with an example compiler design and construction for specific language. หนังสืออางอิง 1. Compiler Principles, Techniques and Tools Alfred V. Aho, Ravi Sethi, Jeffrey D. Ullman Addison N. Wirth: Compiler Construction, Addison-Wesley, 1996. 2. A. V. Aho, R. Sethi, J. D. Ullman: Compilers: Principles, Techniques, and Tools Reading, Addison-Wesley, 1986. 3. S.S. Muchnick: Advanced Compiler Design and Implementation, Morgan Kaufmann Publishers, 1997. เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.07.shtml ปฏิบัติการสรางคอมไพเลอร (COMPILER CONSTRUCTION LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การสรางคอมไพเลอร The experiments related to Compiler Construction

การวิเคราะหสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอรเบื้องตน (INTRODUCTION TO COMPUTER SYSTEM PERFORMANCE ANALYSIS) คําอธิบายรายวิชา เครื่องมือและเทคนิคที่จําเปนในการสราง และวิเคราะหสมรรถนะแบบจําลองของระบบ คอมพิวเตอรขายงานสื่อสาร และระบบการผลิต เทคนิคทางสถิติของการวัด และการประเมินสมรรถนะ ของระบบคอมพิวเตอร กลยุทธในการเลือกและการปรับแตงระบบ


122

Introduction to tools and techniques needed to construct and analyze performance models of systems: computer systems, communication networks, and manufacturing systems; statistical techniques of computer system performance evaluation and measurement, system selection and tuning strategies. หนังสืออางอิง 1. The Art of Computer Systems Performance Analysis: Techniques for Experimental Design, Measurement, Simulation and Modeling, R. Jain, JohnWiley, 1991. 2. Quantitative System Performance, E.D. Lazowska et al., Prentice-Hall, 1984. 3. Measuring Computer Performance - A Practitioner's Guide, D.J. Lilja, Cambridge University Press, 2000. เว็บไซตอางอิง http://www.cs.inf.ethz.ch/37-235/vorl/index.html http://www.cs.rice.edu/~johnmc/comp528/lecture-notes/ http://www.cse.cuhk.edu.hk/~cslui/csc5420_lecture_old.html

ระบบคอมพิวเตอรที่ทนตอความผิดพลาด (FAULT TOLERANT COMPUTING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะศึกษาบริการและผูใหบริการ และความสัมพันธระหวางผูใหบริการ การแยกแยะความผิดพลาด ความหมายของความผิดพลาด และการจัดการกับความผิดพลาด โดยศึกษาถึงการตรวจจับความผิดพลาดและการกูคืน การ ปดบังและการเผยแพรความผิดพลาด การหยุดและการทํางานตอในการจัดการความผิดพลาด หนวยเก็บขอมูลที่เชื่อถือได การสื่อสารที่เชื่อถือได กลุมของกระบวนการ กลุมสมาชิกที่ทํางานเขาจังหวะกันและไมเขาจังหวะกัน การแจงการบริการ การ บริหารระบบสํารองอัตโนมัติ และกรณีศึกษาในระบบที่ทนตอความผิดพลาด A study of understanding services, servers, and the depends-upon relation, failure classification, failure semantics, exception handling: detection, recovery, masking and propagation, termination vs. resumption in exception handling, fail-stop processors and I/O controllers, reliable storage, reliable communication, process groups,


123

synchronous and asynchronous group membership, broadcast services, automatic redundancy management and case studies of fault-tolerant systems หนังสืออางอิง 1. Pradhan, D.K. (ed.), Fault-Tolerant Computer System Design, Prentice-Hall, 1996. [out of print, as of 9/2006] 2. Siewiorek, D.P. and R.S. Swarz, Reliable Computer Systems: Design and Evaluation, Digital Press, 2nd ed., 1992. 3. Johnson, B.W., Design and Analysis of Fault-Tolerant Digital Systems, Addison-Wesley, 1989. 4. Lala, P.K., Self-checking and Fault-Tolerant Digital Design, Morgan Kaufmann, 2001. 5. Shooman, M.L., Reliability of Computer Systems and Networks, Wiley, 2002 เว็บไซตอางอิง http://www.ece.ucsb.edu/Faculty/Parhami/ece_257a.htm http://www2.cs.uidaho.edu/~krings/CS449/

ระบบคอมพิวเตอรแบบกระจาย (DISTRIBUTED COMPUTING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะเรียนรูถึงการประมวลผลแบบกระจายโดยเนนที่ซอฟตแวรระบบ โดยจะศึกษาสถา ปตยกรรมของระบบ แบบกระจาย การเขียนโปรแกรมแบบกระจาย การสงผานขอความ การเรียกใช ฟงกชันระยะไกล การสื่อสารแบบกลุม ปญหา สมาชิกและการตั้งชื่อ เวลาเชิงตรรก ความตองกัน การทนตอความผิดพลาดและการกูคืน นอกจากนั้นยังกลาวถึงการ ประมวลผลรายการแบบกระจาย การเขาจังหวะระหวางกระบวนการและการควบคุมการประจวบกัน คุณภาพของการ ใหบริการ การรักษาความปลอดภัย ตัวกลางแบบตาง ๆ (CORBA, DCE และ DCOM) ภาษาที่ใชประสานกัน ระบบการ โปรแกรมแบบกระจาย (Linda, PVM, JINI) และระบบปฏิบัติการแบบกระจาย This course concentrates on distributed computing from a system software perspective. Major topics include distributed system architecture, distributed programming, message passing, remote procedure calls, group communication, naming


124

and membership problems, logical time, consistency, fault-tolerance, and recovery. Concepts and architectures for distributed and concurrent computing, distributed transaction processing, process synchronization and concurrency control, quality of service, security, CORBA, DCE and DCOM middleware. Coordination languages and distributed programming systems; Linda, PVM, JINI. Distributed operating systems are also included. หนังสืออางอิง 1. T.W. Ryan: Distributed Object Technology. Concepts and Applications, Prentice Hall, 1997. 2. เทคโนโลยีการประมวลผลแบบขนานและแบบกระจาย (PARALLEL AND DISTRIBUTED COMPUTING) ผูแตง/ผูแปล : ธีรณี อจลากุล และคณะ เว็บอางอิง http://www.cpe.eng.cmu.ac.th/about/courses/cpe411/ http://fivedots.coe.psu.ac.th/~pichaya/pdss/pdss-web.htm http://lpd.epfl.ch/site/education/stidc http://ocw.mit.edu/courses/electrical-engineering-and-computer-science/6824-distributed-computer-systems-engineering-spring-2006/lecture-notes/ อัลกอริธึมแบบขนาน (PARALLEL ALGORITHM) คําอธิบายรายวิชา ออกแบบและวิเคราะหอัลกอริทึมแบบขนาน เนื้อหาเนนที่การคํานวณแบบขนานใชหนวยความจํารวมกันและ หนวยความจําแบบกระจาย อัลกอริทึม กราฟ อัลกอริทึมการแบงและพิชิต ปญหาทางจํานวน อัลกอริทึมแบบขนานสําหรับ วิธีการรวมกันที่ให ผลดีที่สุด Parallel algorithm analysis and design emphasizing on parallel computation, shared and distributed memory consideration, graph algorithm, divide and conquer algorithm, numerical computation and parallel algorithm. หนังสืออางอิง


125

1. Concurrency: State Models and Java Programming by Jeff Magee and Jeff Kramer, Wiley Second Edition. 2. Parallel Programming by Lin and Snyder, Pearson International Edition. เว็บไซตอางอิง http://www.comp.nus.edu.sg/~abhik/CS3211/ http://www.ntu.edu.sg/home/ASSJTurner/PPCourse/index.htm

ระบบฐานขอมูลขั้นสูง (ADVANCED DATABASE SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา ระบบจัดการฐานขอมูล โครงสราง และสวนประกอบ ฐานขอมูลระดับกายภาพ กลไกในการเขาถึงฐานขอมูล การประมวลคําถาม การประมวลกลุมคําสั่ง การคืนสภาพขอมูล การใชขอมูลรวมกัน ระบบฐานขอมูลแบบกระจาย ฐานขอมูลเชิงวัตถุ ฐานขอมูลอนุมาน Database management systems, structure and components, physical databases, access mechanisms, query processing, transaction processing, recovery control, concurrency control, distributed database systems, object-oriented databases and deductive databases หนังสืออางอิง 1. Database System Concepts By: Silberschatz Abraham, Korth Henry F., Sudarshan S. 2. An Introduction to Database Systems, C.J. Date บทที่ 12-17 เว็บไซตอางอิง http://www.ce-kmitl.net/index.php?action=dlattach;topic=2413.0;attach=4424 http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~bsomjai/461syllabus.htm เนื้อหา Transaction Processing Concept Recovery


126

Buffer Management Database Backup Concept Concurrent Execution Concurrency Control Query Processing Temporal Database

วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงวัตถุ (OBJECT ORIENTED SOFTWARE ENGINEERING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะกลาวถึงบทบาทและหนาทีข่ องวิศวกรซอฟตแวร กระบวนการพัฒนาซอฟตแวร มาตรฐานการปรับปรุงกระบวนการซอฟตแวร เชน CMMI หลักการและเทคนิคที่ใชในการวิเคราะห และออกแบบซอฟตแวร เครื่องมือตาง ๆ ที่เหมาะสมสําหรับวิเคราะหและออกแบบในกระบวนการ พัฒนาซอฟตแวร โดยใชแนวคิดเชิงวัตถุ การประยุกตใชเฟรมเวิรคสําหรับการทํางานกับฐานขอมูล เฟรมเวิรคสําหรับการออกแบบ MVC การประยุกตใชซอฟตแวรระบบเปดสําหรับการบริหาร การผลิต หรือการเงินการบัญชี เอกสารอางอิง 1. Object-Oriented and Classical Software Engineering Stephen Schach 2. CMMI for Development®: Guidelines for Process Integration and Product 3. Improvement (SEI Series in Software Engineering) Mary Beth Chrissis , Mike Konrad ,Sandra Shrum เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.04.shtml http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/soradech/powerpoint.asp?subid=209 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/sakchai/powerpoint.asp?subid=269 เนื้อหา Introduction to Object Orientation 1. Real-world Domains and Objects


127

Â

2. Instances and Concepts. Objects and Classes of Objects 3. Generalized Object-Oriented Software Development Cycle Object-Oriented Analysis of a Real-World Domain 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

Object Model. The Notion of Encapsulation and Information Hiding Object Identity: Entity and Attributes Data and Knowledge: The Notion of Inheritance Relationships between Objects: Association, Generalization/Specialization, Aggregation Objects and States. Dynamic Behavior of Objects Introduction to the Unified Modeling Language (UML) Functional Dependencies in a System. User Requirements Analysis Process Modeling: The Notion of Message Passing

Object-Oriented System Design 1. 2. 3. 4. 5. 6.

System Design Concepts and the Object-Oriented Approach New Domains. Continuation of the Analysis Phase Object-Oriented System Architecture System Components and their Design UML and the System Design Design as a Bridge between Object-Oriented Analysis and Implementation.

Object-Oriented Programming Paradigm 1. Object-Oriented Support of Software Qualities 2. Data Abstraction and Encapsulation. Data Type and Abstract Data Type 3. Object-Oriented Program Structure 4. More about Inheritance 5. Reusability and Support for Reuse 6. Class Design Guidelines 7. Morphism and Polymorphism. Binding, Overloading, Overriding 8. Object-Life Cycle. Persistent Objects 9. Introduction to Object-Oriented Databases


128

10. Object-Oriented Programming Environments. Comparison between C++, Java and C#. 11. Object-Oriented Development of Complex Systems

วิศวกรรมซอฟตแวรเชิงคณิตศาสตร (MATHEMATICAL SOFTWARE ENGINEERING) คําอธิบายรายวิชา เนื้อหาวิชาครอบคลุม คณิตศาสตร ตรรกศาสตร และภาษาเฉพาะ ที่ใชในการพัฒนาความ ตองการและ ขอกําหนดของซอฟตแวร การออกแบบวิธีตาง ๆ การตรวจสอบโปรแกรม โดยวิธีการ เทสติงและวิธีการเวอรริฟเคชั่น การซอม บํารุงซอฟตแวร การวัดปริมาณตางๆ ของซอฟตแวร การปรับ ปรุงขัน้ ตอนการพัฒนาซอฟตแวร การบริหารโครงการซอฟตแวร และวิศวกรรมซอฟตแวรเชิงวัตถุ This course covers mathematics, logic, and specific languages used for requirement and specification of software, different types of software design, software testing and verification, software maintenance, software metrics, software process improvement, software project management, and object-oriented software engineering.

ระบบเชิงวัตถุแบบกระจาย (DISTRIBUTED OBJECT SYSTEM) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการของระบบเชิงวัตถุแบบกระจาย ซึ่งเปนเทคโนโลยีในการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุที่วัตถุใน สภาพแวดลอมแบบกระจาย สามารถสื่อสารและแบงปนทรัพยากรซึ่งกันและกันได โดยไมจําเปนตองรูตําแหนงของวัตถุนั้น วิชานี้จะศึกษาการสรางระบบเชิงวัตถุแบบกระจายสมัย ใหมแบบตางๆ เชน สถาปตยกรรมตัวแทนรองขอวัตถุพื้นฐาน (CORBA), การเรียกคืนวิธีการระยะไกล ของจาวา (RMI) และโครงสรางวัตถุเชิงคอมโพเนนตแบบกระจาย The objective of this course is to study the principles of distributed objects. Distribute object is the technology for programming that objects in system can communicate transparently on a distributed environment, hence, it can conveniently


129

share resources. Students will investigate various modern distributed object implementations such as Common Object Request Broker Architecture (CORBA), Java Remote Method Invocation (RMI) and Distributed Component Object Model (DCOM).

การพัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต (COMPONENT BASED SOFTWARE DEVELOPMENT) คําอธิบายรายวิชา พื้นฐานของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต องคประกอบของคอมโพเนนต การออกแบบโดยเนน อินเตอรเฟส โปรแกรมประยุกตและสถาปตยกรรมของคอมโพเนนต เทคโนโลยีคอมโพเนนตและ มาตรฐานตาง ๆ ของคอมโพเนนต แนว ทางการสรางโมเดลตางๆ ของคอมโพเนนต วงจรชีวิตของการ พัฒนาซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต การประยุกตใชงาน ซอฟตแวรเชิงคอมโพเนนต เทคโนโลยีมิดเดิลแวร และคอมโพเนนต Component-based development fundaments, elements of a component interface-focused design, application and component architecture, current practice in component-based development, component technology and standards, componentoriented modeling, component-based development life cycle, middleware and component technology. หนังสืออางอิง 1. Ivica Crnkovic and Magnus Larsson. Building Reliable Component-Based Software Systems. Artech House, 2002. 2. George T. Heineman and William T. Councill. Component-Based Software Engineering: Putting the Pieces Together. Addison-Wedley Professional, 2001. 3. Clemens Szyperski. Component Software — Beyond Object-Oriented Programming. Second Edition. Addison-Wesley / ACM Press, 2002 เว็บไซตอางอิง http://ece493t3.uwaterloo.ca/notes/72dpi/ http://www.stargroup.uwaterloo.ca/~ltahvild/courses/ECE750-11-S05/ http://ww2.cis.temple.edu/friedman/cis3309/LectureNotes.htm


130

เนื้อหา Basic Concepts in CBSE – What is CBSE? – Why CBSE? – Components and Objects – Framework, Interfaces, Contracts, and Patterns Component Models and Technology – Architecting Component-Based Systems – Component-Driven Architecture Development – ACME ADL – JavaBeans Component Model – Enterprise JavaBeans (EJB) – COM, DCOM, MTS, and COM+ – CORBA Component Model (CCM) – .NET Component Model – The OSGI Component Mode Component-Based Software Development Process – Component-Based Software Life Cycle – Semantic Integrity in CBSD – Formal Semantics of Components – Role-Based Component Engineering


131

– Frameworks and Roles Component Composition and Integration – Component Evaluation – Component Classification – Component Integration – Predicting System Trustworthiness Components in Product Line Architecture – Product Families and Product Lines – Product Line Architecture – Object-Oriented Frameworks – Component-Oriented Frameworks – The Koala Component Model

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MANAGEMENT INFORMATION SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการดานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสรางของระบบสารสนเทศเพื่อการ จัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการตัดสินใจ หลักการสารสนเทศ มนุษยในฐานะผูประมวล สารสนเทศ หลักการดานระบบ หลักการดาน การวางแผนและควบคุม โครงสรางองคกรและหลักการ จัดการระบบสนับสนุนการวางแผนควบคุมและตัดสินใจ ระบบ สนับสนุนการจัดการดานความรู ขอกําหนดความตองการดานสารสนเทศ การพัฒนา การจัดทําใหสําเร็จและจัดการ ทรัพยากรในระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ


132

Study the principles of management information system, information technology structure for management, decision-making process, information principles, human as an information operator, system principles, planning and control principles, organization structure and decision support system, knowledge support system, information technology specification, development, success and information resource management. หนังสืออางอิง 1. Turban, E., et al. Information Technology for Management. 6th ed. John Wiley & Sons (Asia), Pte., Ltd, 2008. 2. Haag, S., Baltzan, P., and Phillips, A. Business Driven Technology. 2nd ed. McGraw-Hill Irwin, 2008. 3. ไพบูลย เกียรติโกมล และณัฏฐพันธ เขจรนันทน. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551. 4. ดารณี พิมพชางทอง. ระบบสารสนเทศในองคกร. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุป, 2552. เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.14.shtml http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/wiset/powerpoint.asp?subid=101 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/wiset/powerpoint.asp?subid=1

การจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ (INFORMATION STORAGE AND RETRIEVAL) คําอธิบายรายวิชา วิธีการและเทคโนโลยีในเรื่องของการจัดเก็บและเรียกดูสารสนเทศที่อยูในรูปเอกสาร รูปภาพ เสียง และ ภาพเคลื่อนไหว การวิเคราะหลักษณะของสารสนเทศที่อยูในเอกสาร ความคลายคลึงกัน ของเอกสาร หลักในการกําหนดตัว อางหรือดัชนี วิธีการหาคูเหมือน ขอควรคํานึงถึงในการจัดเก็บ และคนคืนสารสนเทศ วิธีการจัดเก็บและการคนคืนงาน สารสนเทศที่อยูในสื่อแบบตางๆ The focus of this course is on methods and technologies relevant to storing and retrieving information in the form of documents, images, audio and video. Students will study storage and retrieval issues, nature of media and information they contain,


133

similarity between documents, indexing techniques, matching processes, storage and retrieval options, information storage and retrieval in varies means. หนังสืออางอิง 1. Modern Information Retrieval: The Concepts and Technology behind Search (ACM Press Books) Ricardo Baeza-Yates ,Berthier Ribeiro-Neto 2.Introduction to Information Retrieval by Christopher D. 3. .Manning, Prabhakar Raghavan and Hinrich Schütze เว็บไซตอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~kbveera/isr.html password:veera http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=136 เนื้อหา Introduction to IR IR and Web Search Text processing IR-Text Properties Boolean&Vector Model Vector Space Models Performance Evaluation Set Theoretic Models LSI&NN Probabilistic Information Retrieval Model Generalized Vector Model Text Classification, The Naive Bayes Algorithm Language Model Text Categorization

เหมืองขอมูล (DATA MINING) คําอธิบายรายวิชา


134

วิชานี้จะแนะนําถึงเหมืองขอมูล นักศึกษาจะไดเรียนรูพื้นฐานของอัลกอริทึมที่ใชพัฒนา เหมืองขอมูล โดยจะเนน ไปที่การประยุกตใชกับงานจริง นักศึกษาจะศึกษาชนิดขอมูลของผูใช วิธีการ ของเหมืองขอมูล การวัดประสิทธิผลของเหมือง ขอมูล ภาพรวมของเทคนิคตางๆ ของเหมืองขอมูล การวิเคราะหเชิงการตลาดดวยเทคนิคเหมืองขอมูล การหาเหตุผลเชิง ความจํา การคนหากลุมโดย อัตโนมัติ การวิเคราะหการเชื่อมโยง เครือขายประสาทเทียม อัลกอริทึมพันธุกรรม เหมืองขอมูล และคลังขอมูล This course provides an introduction to data mining. Students will learn the basics of data mining algorithm development with an emphasis on real world applications. Students will learn user data types, data mining methodology, measuring the effectiveness of data mining, overview of data mining techniques, market basket analysis, memory based reasoning, automatic cluster detection, link analysis, artificial neural networks, genetic algorithms, data mining and data warehouse. หนังสืออางอิง Data Mining: Concepts and Techniques (The Morgan Kaufmann Series in Data Management Systems) Jiawei Han , Micheline Kamber , Jian Pei เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=74 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=60 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=109 http://www.kmitl.ac.th/~ksananta/course1.html http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/phayung/powerpoint.asp?subid=245 เนื้อหา Chapter 1: Introduction Chapter 2: Data Preprocessing Introduction to WEKA Chapter 5: Frequent Patterns & Association Chapter 6: Classification & Prediction Chapter 7: Cluster Analysis Chapter 3: Data Warehousing & OLAP Chapter 4: Data Cube Computation and Data Generalization Mining other types of data


135

Student presentation การประมวลผลสัญญาณเชิงเลข (DIGITAL SIGNAL PROCESSING) คําอธิบายรายวิชา แนะนําการประมวลผลสัญญาณดิจิตอลและการประมวลผลสัญญาณเวลาไมตอเนื่อง ระบบเชิงเสนที่เวลาไม ตอเนื่อง สมการเชิงอนุพันธ การแปลงแบบ Z การแปลงฟูเรียรของเวลาไม ตอเนื่อง การแปลงจากอนาล็อกเปนดิจิตอล และ การแปลงดิจิตอลเปนอนาล็อก การเพิ่มและลดขอมูล โดยอาศัยแนวโนม การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล การแปลงฟูเรียร แบบไมตอเนื่อง การแปลงฟูเรียร แบบเร็ว การวิเคราะหสเปกตรัม และการประยุกตใชการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล An introduction to discrete-time systems and digital signal processing, discrete-time linear systems, difference equations, z-transform, discrete convolution, stability, discrete-time Fourier transform, analog-to-digital and digital-to-analog conversion, interpolation and decimation, digital filter design, discrete Fourier transform, fast Fourier transform, spectral analysis and applications of digital signal processing หนังสืออางอิง 1. V.K. Ingle and J.G. Proakis, Digital Signal Processing Using MATLAB V.4, Bookware Companion Series, PWS, 1997. 2. E. C. Ifeachor and B. W. Jervis., Digital Signal Processing A Practical Approach., AddisonWesley, Wokingham, England, 1993. 3. A.V. Oppenheim, R.W. Schafer, J.R. Buck: Discrete-Time Signal Processing, 2 nd Edition, PrenticeHall, 1999 เว็บไซตอางอิง http://www.kmitl.ac.th/~kskasems/dsp/dsp.html http://www.kmitl.ac.th/~kchsomsa/somsak/crse_dsp/crse_dsp.html http://www2.siit.tu.ac.th/chalie/ecs472/syllabus.pdf ftp://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/dsp_lec.html https://course.ku.ac.th/lms/files/syllabus/9565/20101028124147.000000.pdf เนื้อหา


136

ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

เนื้อหา Introduction Discrete-time signals and system Sampling, Reconstruction, Aliasing Time domain processing: convolution, correlation Discrete-time Fourier Analysis Z- Transform System and frequency response, Pole and Zero Discrete Fourier Transform Discrete Fourier Transform Digital filter structures FIR filter design FIR filter design IIR filter design IIR filter design Application in DSP

การประมวลผลภาพ (IMAGE PROCESSING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้เปนวิชาเบื้องตนสําหรับการประมวลผล และวิเคราะหสัญญาณภาพ ซึ่งกลาวถึง การแทนสัญญาณของภาพดวยฟงกชันทางคณิตศาสตร การสุมและควอนไตซสัญญาณภาพ การรับรู และเขาใจภาพ การแปลงสัญญาณภาพ การเพิ่มคุณภาพของภาพ รวมทั้งการกรองและการเขารหัส สัญญาณภาพ This is an introductiory course on image processing and analysis dealing with mathematical representation of images, Image sampling and quantization, image perception, image transforms, image enhancement, filtering and image coding. หนังสืออางอิง 1. ผศ.ดร.อรฉัตร จิตตโสภักตร (2552). Digital Image Processing. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สงวนกิจ พริ้นท แอนด มีเดีย.


137

2. Rafael C. Gonzalez and Richard E. Wood, Digital Image Processing, Prentice Hall. 3. Alasdair McAndrew, “Introduction to Digital Image Processing with MATLAB”, Thomson Course Technology, 2004. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=19 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/supot/powerpoint.asp?subid=256 http://fivedots.coe.psu.ac.th/~montri/Teaching/image/image.htm http://gear.kku.ac.th/~nawapak/178353.html http://www.ee.eng.chula.ac.th/eecu/images/stories/CourseSyllabus/21024281-53.pdf http://www.imageprocessingplace.com/

การบีบขอมูลและสัญญาณ (DATA AND SIGNAL COMPRESSION) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะกลาวถึงทั้งทฤษฎีพื้นฐานและอัลกอริทึมในการปฏิบัติ เพื่อการบีบอัดขอมูลและสัญญาณ หัวขอที่จะ กลาวถึงไดแก การการเขารหัสแบบไมมีการสูญเสีย เชน การเขารหัสแบบฮัฟแมน และ แลมแพลซิฟ รวมทั้งการเขารหัสแบบ มีการสูญเสีย เชน การเขารหัสแบบสเกลารควอนไตเซอร การเขารหัสโดยใชเทคนิคการแปลงสัญญาณตางๆ This course addresses both the theoretical basis and practical algorithms for data and signal compression. Topics cover loss-less entropy based coding including Huffman and Lempel-Ziv, and loosely compression techniques including: scalar quantizers and several techniques using transform-coding theory. หนังสืออางอิง 1. I.H. Witten, A. Moffat, T.C. Bell - Managing Gigabytes - Compressing and Indexing Documents and Images., Morgan Kaufmann 1999.


138

เว็บไซตอางอิง http://www.cs.tut.fi/~tabus/SC.html เนื้อหา 1. Simple codes 1.1 Signal Representation versus Signal Compression 1.2 Prefix Codes 1.3 Trees associated with prefix codes 1.4 Kraft inequality 1.5 A lower bound on the average length of optimal prefix codes 1.6 Shannon codes 1.7 Encoding a binary tree 2. Huffman codes 2.1Huffman algorithm for binary coding alphabets 2.2 Canonical Huffman coding 2.3 Huffman algorithm for D-ary coding alphabets 2.4 Huffman codes for infinite alphabets 3. Lempel-Ziv Coding 3.1 Dictionary methods 3.2 The LZ77 family of adaptive dictionary coders (Ziv-Lempel 77) 3.3 The gzip variant of Ziv-Lempel 77 3.4 The LZ78 family of adaptive dictionary coders (Ziv-Lempel 78) 3.5 The LZW variant of Ziv-Lempel 78 3.6 Statistical analysis of a simplified Ziv-Lempel algorithm 4. Shannon-Fano-Elias Codes and Arithmetic Coding 4.1 Shannon-Fano-Elias Coding 4.2 Arithmetic Coding 5. Adaptive Models for Arithmetic Coding 5.1 Adaptive arithmetic coding


139

5.2 Models for data compression 5.3 Prediction by partial matching 6. Coding: a bag of tricks? 6.1 Burrows-Wheeler coding 6.2 Run length codes 6.3 Elias code for integers 7. Image Compression. Lossless Techniques 7.1 JPEG-LS (also known as LOCO-I) 7.2 Other coders 8. Lossy image compression: Principal of embedding 9. Lossy image compression: SPIHT and S+P 9.1 SPIHT embedded coder 9.2 The reversible multiresolution transform S+P 9.3 Error resilience in embedded coding 10. Lossy image compression: JPEG 2000 Baseline JPEG encoder and decoder 9-11 JPEG 2000 Compression Paradigm 12, 26 Preprocessing 27-29 Discrete wavelet Transform 50-54, 84 Quantization 86-92, 103-105 Entropy (Tier 1) Coding 107, 113-134 Entropy (Tier 2) Coding 136-145, 154-160 Rate allocation162-168 Region of Interest coding 172-181 11. An introduction to lossless audio compression 12. A short review and some exam questions ระบบสื่อผสม (MULTIMEDIA SYSTEMS)


140

คําอธิบายรายวิชา สื่อประเภทตางๆ การจัดประเภทสื่อ คุณลักษณะและความตองการของขอมูลสื่อผสม โมเดลและโครงสรางการ เก็บขอมูลสื่อผสม ระบบสารสนเทศสื่อผสม มาตรฐานการบีบอัดขอมูล คุณภาพการบริการของโปรแกรมประยุกตสื่อผสม การทํางานพรอมกันของสื่อผสม สภาพแวดลอม การทํางานของสื่อผสม สถาปตยกรรมและองคประกอบของระบบสื่อผสม ระบบสื่อผสมแบบกระจาย A study of types of media, media classification, characteristics and requirements of multimedia, multimedia storage models and structures, multimedia information systems, data compression standards,quality of service in multimedia application, media synchronization, multimedia system environment, multimedia system architecture and components, distributed multimedia systems. หนังสืออางอิง Digital Multimedia Dr. Nigel Chapman , Jenny Chapman เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=35 http://freevideolectures.com/Course/2652/CSE-40373-Multimedia-Systems เนื้อหา Chapter 1: Introduction Chapter 2: Fundamentals Chapter 3: Vector Graphics Chapter 4: Bitmapped Images Chapter 5: Color Chapter 6: Video Chapter 7: Animation Chapter 8: Sound Chapter 9: Text and Typography Chapter 10: Hypermedia Chapter 11: Visual Design Chapter 12: Interactivity Chapter 13: Accessibility


141

Chapter 14: Scripting Chapter 15: XML and Multimedia

การเรียนรูของเครื่อง (MACHINE LEARNING) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาถึงเทคนิคในการสรางโปรแกรมในการเรียนรู เชน การสรางแผนผังตนไมสําหรับ การตัดสินใจโครงขาย นิวรอล การกระจายของความนาจะเปน การเรียนรูแบบไมมีผูดูแล และการเรียนรูแบบมีผูดูแล นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการ ประยุกตความรูกับการเรียนรูและการเรง การเรียนรู The course mainly focuses on the techniques of creating learning programs; e.g., decisions tree, neural networks, probability distribution, unsupervised and supervised learning. In addition, learning by applying knowledge and speed-up learning are included in this course หนังสืออางอิง 1. Christopher Bishop, Pattern Recognition and Machine Learning. Springer, 2006. 2. Richard Duda, Peter Hart and David Stork, Pattern Classification, 2nd ed. John Wiley & Sons, 2001. 3. Tom Mitchell, Machine Learning. McGraw-Hill, 1997. เว็บไซตอางอิง http://www.cp.eng.chula.ac.th/~boonserm/teaching/machinelearning.htm http://see.stanford.edu/see/courseinfo.aspx?coll=348ca38a-3a6d-4052-937dcb017338d7b1

ระบบผูเชี่ยวชาญ (EXPERT SYSTEM) คําอธิบายรายวิชา


142

การแทนขอมูลเพื่อใชในงานอนุมานโดยคอมพิวเตอร หวงคําตอบ และการคนหาตรรก และการวินิจฉัยจากเหตุไปสูผล การวินิจฉัยจากผลไปสูเหตุ และความไมแนนอนระบบอนุมาน ซึ่งกํากับ โดยรูปแบบ สถาปตยกรรมของระบบผูเชี่ยวชาญ การรวบรวมความรู การประเมินผลระบบผูเชี่ยวชาญ A study of internal representation and inference, solution spaces and searches, logic and deduction, abduction and uncertainty, pattern-directed inference system, the architecture of expert systems, knowledge acquisition and expert system evaluation. หนังสืออางอิง Giarratano, Joseph C. and Riley, Gary (2005). Expert Systems, Principles and Programming.

การรูจํารูปแบบ (PATTERN RECOGNITION) คําอธิบายรายวิชา การแทนขอมูลรูปภาพ การแบงภาพออกเปนสวนๆ การปรับปรุงขอมูลภาพ การหาขอมูล ลักษณะที่สําคัญ การ แปลงภาพเปนรหัสขอมูล วิธีการรูจําภาพโดยใชการตัดสินใจทางสถิติทางสถิติ การตัดสินใจแบบเบยที่มีความผิดพลาดนอย ที่สุด และแบบอื่นที่นอกเหนือจากวิธีการของเบย การรูจําภาพโดยใชหลักการทางภาษา การจําขอมูลภาพแบบการวิเคราะห โครงสรางและแบบผสม เทคนิคการเรียนรูของคอมพิวเตอร A study of data and pattern representation, segmentation, data enhancement, features extraction, pattern and textures, statistical decision methods, bay’s optimal decisions and beyond bay’s, formal linguistic methods, structural and hybrid methods and learning techniques. หนังสืออางอิง 1. Pattern Recognition & Matlab Intro: Pattern Recognition Sergios Theodoridis, Konstantinos Koutroumbas 2. Pattern Recognition William Gibson


143

เว็บไซตอางอิง http://www.personal.rdg.ac.uk/~sis01xh/teaching/CY2D2/Pattern%20Recogniti on%20Lecture%20Notes.htm http://ocw.mit.edu/courses/brain-and-cognitive-sciences/9-913-patternrecognition-for-machine-vision-fall-2004/lecture-notes/ http://www.engr.mun.ca/~charlesr/9881/index.html http://cgm.cs.mcgill.ca/~athens/cs644/lectures.html เนื้อหา Lecture 1 Lecture 2 Lecture 3 Lecture 4 Lecture 5 Lecture 6 Lecture 7 Lecture 8 Lecture 9

(Introduction to pattern recognition) (Parzen windows) (Probabilistic neural networks) (The nearest neighbour classifiers) (Linear discriminant analysis) (Radial basis function (RBF) neural networks) (RBF classifier) (RBF center selection and k-means clustering) (Kohonen’s self-organizing feature map)

การรูจําเสียงพูด (SPEECH RECOGNITION) คําอธิบายรายวิชา ทบทวนคณิตศาสตรที่ใชในการรูจําเสียงพูด การกําเนิดเสียงพูด การไดยิน การวิเคราะหเสียง พูด การใหรหัส เสียงพูด รหัสการทํานายเสียงพูดแบบเชิงเสน การสังเคราะหเสียงพูด และ การรูจําเสียง พูดของมนุษย A review of mathematics for speech recognition, pronunciation, hearing, speech analysis, speech encoding, linear speech prediction code, speech synthesis and human speech recognition หนังสืออางอิง 1. B. Gold and N. Morgan, Speech and Audio Signal Processing : Processing


144

and perception of speech and music, Wiley, 2000. 2. L. Rabiner, B. H. Juang, Fundamentals of Speech Recognition, Prentice Hall, 1993. 3. Huang, Acero, and Hon. Spoken Language Processing. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall, 2001. 4. Jelinek. Statistical Methods for Speech Recognition. Cambridge, MA: MIT Press, 1998. 5. Duda, Hart, and Stork. Pattern Classification. New York, NY: Wiley & Sons, 2000. 6. Stevens. Acoustic Phonetics. MIT Press, 1998. เว็บไซตอางอิง http://www.ee.eng.chula.ac.th/eecu/images/stories/CourseSyllabus/21028741-53.pdf http://ocw.mit.edu/courses/electrical-engineering-and-computer-science/6345-automatic-speech-recognition-spring-2003/lecture-notes/ เนื้อหา Week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 16

Topic Introduction to speech processing Basic Acoustics of Sound Human Speech Computer Speech Source Filter Model of Speech Production Phonetics Midterm Examination ASR: Feature Extraction I ASR: Feature Extraction II ASR: Classification I ASR: Classification II Text Processing Text Processing and Waveform Synthesis Speech Prosody Final Examination

คอมพิวเตอรกร าฟกส (COMPUTER GRAPHICS) คําอ ธิบายรายวิชา


145

แนะนําระบบคอมพิวเตอรกราฟกเบื้องตน อุปกรณอินพุทเอาตพุท การหาทางเดินของ จุดจากภาพ การแปลงใน 2 มิติ การเคลื่อนที่ การหมุน การสะทอน การตัดเล็ม แนวความคิดการ กําหนดกรอบหนาตาง อัลกอริทึมการตัด การแปลง จากวินโดวไปยังวิวพอยน แนวความคิดการประมวล ผลใน 3 มิติ การแสดงภาพใน 3 มิติ การแปลงใน 3 มิติ การมองใน 3 มิติ การคํานวณหาเสนประ และพื้นผิวที่มองไมเห็น การใหระดับแสงและแสงสีกับวัตถุ การประยุกตใชงานของคอมพิวเตอร กราฟกส This course provides an overview of graphic systems, input-output devices, scan-conversion, two-dimensional transformations, translation, scaling, rotation, reflection, shearing, windowing concepts, clipping algorithms, window-to-viewport transformation, three-dimensional concepts, three-dimensional representations, threedimensional transformations, three-dimensional viewing, hidden-surface and hiddenline removal, shading and color models and application of computer graphics. หนังสืออางอิง 1. Computer Graphics with OpenGL Donald D. Hearn , M. Pauline Baker 2. Computer Graphics Through OpenGL: From Theory to Experiments (Chapman & Hall/CRC 3. Computer Graphics, Geometric Modeling, and Animation Series) Sumanta Guha เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=57 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.09.shtml http://www.cpe.ku.ac.th/~jeab/course/ACG_204581.html http://www.cpe.ku.ac.th/~pom/courses/204481/204481.html http://ocw.mit.edu/courses/electrical-engineering-and-computer-science/6837-computer-graphics-fall-2003/lecture-notes/ เนื้อหา 1. Introduction to CG 2. Introducing OpenGL and Geometry 3. Graphics Output Primitives 4. Attributes of Graphics Primitives 5. Geometric Transformations


146

6. 2D Viewing 7. 3D Viewing 8. 3D Objects Representation 9. Visible Surface Detection Methods 10. Illumination and Surface Rendering 11. Color Model and Applications

หลักทฤษฎีของปญญาประดิษฐ (THEORETICAL ASPECTS OF ARTIFICIAL INTELLIGENCE) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้มุงเนนหลักทฤษฎีทางดานปญญาประดิษฐซึ่งครอบคลุมเนื้อหา หลักตรรกศาสตร แอบดักชั่น การอนุมาน การอุปมาน การพิสูจนทฤษฎีโดยวิธีเรโซลูชั่น การโปรแกรมเชิงตรรก เมตาลอจิก การเปลี่ยนความเชื่อ ตรรกศาสตรของการ สื่อสารระหวางเอเจนต ตรรกศาสตรของการ กระทํา ตรรกศาสตรของเวลา ฐานขอมูลแบบอนุมาน การคิดหาเหตุผลโดยใช ความนาจะเปน และหลักการของเจเนติกอัลกอริธึม This course provides theoretical treatment of an artificial intelligence. It covers first-order logic, abduction, deduction, induction, resolution theorem proving, logic programming, metalogic, belief revision, logicof multi-agent communication, logic of action, temporal logic, deductive databases, probabilistic reasoning, and genetic algorithm

ปญญาประดิษฐประยุกต (APPLIED ARTIFICIAL INTELLIGENCE) คําอธิบายรายวิชา เนื้อหาวิชาครอบคลุมการประยุกตใชตรรกศาสตรกับปญญาประดิษฐ การสื่อสารระหวาง เอเจนตหลายๆ ตัว การคนหาที่ชาญฉลาด การวางแผนขั้นสูง การเรียนรูขั้นสูง การเขาใจภาษาธรรมชาติ ระบบผูเชี่ยวชาญ การประยุกตใช โครงขายนิวรอลและเจนเนติอัลกอริทึม การประยุกตใชปญญา


147

ประดิษฐในคอมพิวเตอรสาขาอื่น ๆ เชน วิศวกรรมซอฟตแวร การสื่อสารคอมพิวเตอร การจัดการฐาน ขอมูล และอื่นๆ This course covers applications of logic in AI, communication of multi-agent, intelligent search, advanced planning, advanced learning, natural language understanding, expert systems, applications of Neural Nets and genetic algorithm in AI, and applications of AI to other related computing areas, such as software engineering, computer networks and communication, database management, etc. หนังสืออางอิง Stuart Russell and Peter Norvig, "Artificial Intelligence: A Modern Approach", Second edition, Prentice Hall, 2003. เว็บไซตอางอิง http://pami.uwaterloo.ca/~basir/ECE457/ http://web.engr.oregonstate.edu/~tgd/classes/533/index.html

การจําลองระบบดวยคอมพิวเตอร (COMPUTER SIMULATION) คําอธิบายรายวิชา แนะนําถึงพื้นฐานของการจําลองแบบและการจําลองระบบ ทั้งในระบบที่ตอเนื่องและไม ตอเนื่อง เพื่อจะใชใน การแกปญหาและชวยในการตัดสินใจในสาขาตาง ๆ เนื้อหาประกอบดวยโมเดล ทางสถิติ ทฤษฎีแถวคอย การสรางการสุม แบบตาง ๆ ภาษาที่ใชในการจําลอง เทคนิคการจําลองดวย ดิจิตอล วิธีการแบบมอนติคาโล การออกแบบและวิเคราะห การ ทดลอง การทวนสอบ และการตรวจ สอบความถูกตองของการจําลองแบบ An introduction to the basic aspects of modeling and simulation, both continuous and discrete systems, applied to problem solving and decision making in any area. The topics include statistical models, queuing theory, random variant generation, simulation languages, digital simulation techniques, Monte Carlo method, design and analysis of experiments, verification and validation of simulation models.


148

หนังสืออางอิง Averill M. Law, Simulation Modeling and Analysis, 4th ed., McGraw Hill, 2007 Harry Perros, Computer Simulation Techniques: The definitive introduction!, http://www.csc.ncsu.edu/faculty/perros/simulation.pdf เว็บไซตอางอิง http://www.cs.ait.ac.th/~on/AT02.21.shtml เนื้อหา 1. Introduction to computer simulation 2. Basic simulation modeling 1 3. Basic simulation modeling 2 4. Modeling complex systems 1 5. Modeling complex systems 2 6. Review of basic probability and statistics 7. Building valid, credible, and appropriately detailed simulation models 8. Selecting input probability distribution 1 9. Selecting input probability distribution 2 10. Random number generator 11. Generating random variates 12. Output data analysis for a single system 13. Comparing alternative system configuration

ทัศนศาสตรคอมพิวเตอร (COMPUTER VISION) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะแนะนําทัศนศาสตรคอมพิวเตอร โดยจะอธิบายถึงฟงกชันภาพและเรขาคณิต ของภาพ อุปกรณที่เกี่ยวของกับงานทางสาขานี้ การแทนคาในโครงสรางแบบสองมิติและสามมิติ การแปลภาพ การวิเคราะหภาพ และการแจกแจงภาพที่เปนดิจิตอล นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึง การตัดสวนภาพ การคนหาลักษณะเดนของภาพ การรูจําภาพ มิติของภาพโมเดลแบบสามมิติ และการวิเคราะหภาพที่เปลี่ยนไปในเวลาตางๆ


149

This course provides an introduction to computer vision. It describes image functions and geometry, imaging devices for computer vision, representation of twodimensional and three-dimensional structures, Interpretation, analysis, and classification of digital images. Topics include methods for: segmentation, feature extraction, recongnition, stereo vision, 3-D modeling, and analysis of time varying imagery. หนังสืออางอิง 1. Computer Vision: Algorithms and Applications (Texts in Computer Science) 2. Computer Vision Linda G. Shapiro , George C. Stockman ,Richard Szeliski 3. Algorithms for Image Processing and Computer Vision J. R. Parker เว็บไซตอางอิง http://teacher.en.rmutt.ac.th/ktw/04-720-407/ http://www.cs.cmu.edu/~cil/vision.html http://www.cs.cf.ac.uk/Dave/Vision_lecture/Vision_lecture_caller.html เนื้อหา 1. Introduction to computer vision. 2. Image formation and representation. 3. Convolution and related operations. 4. Smoothing, differencing and scale space. 5. Edges, binary images, and regions. 6. The Hough transform. 7. Active contours. 8. Introduction to 3-D vision. 9. Stereopsis. 10. Optic flow estimation. 11. Optic flow interpretation. 12. Active vision. 13. Object recognition and shape representation 1. 14. Object recognition and shape representation 2. 15. Issues in Computer Vision research. 16. Revision class - examination questions.


150

เว็บเทคโนโลยี (WEB TECHNOLOGY) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้แนะนําแนวคิดพื้นฐาน ประเด็น และเทคนิคที่เกี่ยวของกับการออกแบบและพัฒนา เว็บไซต เนื้อหาการ เรียนประกอบดวย การออกแบบเว็บ ภาษาเอชทีเอ็มแอล ภาษาเอ็กซเอชทีเอ็มแอล ภาษาจาวาสคริปต เเอชทีเอ็มแอลแบบได นามิก แฟลช แอปเพล็ต แอ็กทีฟเอ็กซ หนารูปแบบที่มี ลําดับชั้น (CSS) แบบจําลองวัตถุเอกสาร ภาษาเอ็กซเอมแอล เว็บ เซอรวิส โซป ยูดีดีไอ ดับเบิลยู เอสดีแอล และอาแจ็ก นักศึกษาจะไดเรียนรูวีธีการสรางเว็บไซตทั้งแบบใชเครื่องมือชวยและ แบบไมใชเครื่องมือชวย This course presents introductions to many of the basic concepts, issues and techniques related to designing, developing and deploying Web sites. During the course, students will learn about Web design, HTML, XHTML, JavaScript, Dynamic HTML, Flash, Applets, ActiveX, Cascading Style Sheets (CSS), Document Object Model (DOM), eXtensible Markup Language (XML), Web Services, SOAP, UDDI, WSDL and Asynchronous JavaScript and XML (AJAX). The student will learn how to create sites both manually and through the use of Web site developmental software. หนังสืออางอิง 1. A. Berson: Client/Server Architecture, 2nd ed., McGraw-Hill Series on Computer Communications, 1996. 2. G. McComb: Web Programming Languages, John Wiley & Sons, Inc., 1997. 3. Marty Hall: Core Web Programming, Prentice Hall PTR, Upper Saddle River, NJ 07458, 1998. 4. R. Chandak, P. Chandak: Web Programming with Microsoft Tools, QUE, 1997. 5. P. Wilton: Beginning JavaScript, Wrox Press Inc., 2000. 6. L. Wall, T. Christiansen, J. Orwant: Programming Perl (3d Edition), O'Reilly & Associates, 2000. 7. L. Algerich et al: Professional PHP 4, Wrox Press Ltd., 2002. 8. Deitel, Deitel and Nieto: e-Business & e-Commerce - How to Program, Prentice-Hall Inc., 2001. 9. M. Hendricks at al: Professional Java Web Services, Wrox Press Ltd., 2001.


151

10. R. Sorensen, G. Shepherd, J. Roberts, R. Williams: Applied .NET, AddisonWesley, 2002 เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=123 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=54 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.12.shtml เนื้อหา 1. แนะนํารายวิชา พื้นฐานเครือขายคอมพิวเตอร และประศาสตร/วิวัฒนาการของเว็บ 2. HTML 3. HTML - xHTML 4. CSS 5. JavaScript - DOM 6. XML - I 7. XML - II 8. XML - III 9. XML - IV 10. PHP 11. Basic AJAX

การเขียนโปรแกรมเครือขาย (NETWORK PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้กลาวถึง การเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอระหวางโพรเซส เทคนิคในการทํางานรวมกัน ระหวางโพรเซส การ บริหารหนวยความจําขั้นสูง การจัดการกับระบบไฟล ความปลอดภัยในการ ทํางานแบบไคลเอนตเซิรฟเวอร โพรเซสแบบมัล ติเธรด และเทคนิคตาง ๆ ในการสื่อสารผานเครือขาย นอกจากนี้วิชานี้ยังกลาวถึงการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ 32 บิต การ เขียนโปรแกรมแบบ DLL การเขียนโปรแกรมบริการเว็บ การกําหนดความสําคัญกับเธรดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การเขียน โปรแกรมไคลเอนตเซิรฟเวอรโดยใชวินโดวสซอกเก็ต การใชเนมไปปในการสื่อสารระหวางโพรเซส


152

การใชงานคอมโพเนนต แบบกระจายโดยใช DCOM และการเขียนคอมโพเนนตแบบ .NET โดยใช SOAP This course emphasizes on inter-process communication and synchronization techniques, advanced memory management, file system handling, client/server security, multi-threaded process, and various network communication techniques. It also provides practical experience with 32-bit Windowsapplication development, including writing Dynamic Link Libraries (DLLs), Windows and Web services, using thread priorities to improve performance, client/server programming with windows sockets, using named pipes for IPC, distributed components using DCOM, and writing. NET-compatible components using SOAP. หนังสืออางอิง 1. Network Coding: Fundamentals and Applications Muriel Medard, Alex Sprintson 2. Java Network Programming, Third Edition Elliotte Rusty Harold 3. TCP/IP Sockets in C#: Practical Guide for Programmers (The Practical Guides) David Makofske , Michael J. Donahoo , Kenneth L. Calvert 4. C# Network Programming Richard Blum เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=126 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=77 http://www.cse.sc.edu/~wyxu/515Fall08/csce515.html http://cgi2.cs.rpi.edu/~hollingd/netprog/netprog.php เนื้อหา 1. Intro 2. Sockets 3. Stream Socket 4. Datagram Socket 5. Raw Socket 6. Moving Data Across Network 7. Asynchronous Socket


153

8. Broadcast & Multicast 9. Application Layer

ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเครือขาย (NETWORK PROGRAMMING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การเขียนโปรแกรมเครือขาย The experiments related to Network Programming

การเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต (INTERNET PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา เนื้อหาของบทเรียนแนะนําเกี่ยวกับเทคโนโลยีของอินเตอรเน็ต การประยุกตและการพัฒนา สื่อทางอินเตอรเน็ต ซอฟตแวรที่เกี่ยวของ รวมทั้งโครงสรางพื้นฐานของเน็ตเวอรกที่จําเปนตอการ ออกแบบและสรางเว็บ วิชานี้จะเริ่มจากพื้นฐาน โดยศึกษาโพรโตคอล HTTP และศึกษากลไกการจัด การการรองขอในเว็ปเซิรฟเวอร จากนั้นจะกลาวถึงการเขียนโปรแกรม แบบ CGI และการสรางหนาเว็ป แบบพลวัต ศึกษาถึงโมดูลบนเซิรฟเวอร การใชงานคุกกี้ การติดตอเชื่อมโยงกับฐานขอมูล การปรับแตง ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใชงาน นอกจากนั้นยังกลาวถึงการเขียนโปรแกรมในฝง ของ บราวเซอร อีกดวย แตในวิชานี้จะเนนหนักไปที่การเขียนโปรแกรมในฝงของเซิรฟเวอร This course provides an overview of Internet technologies, which include development of Internet applications and media, Internet software tools, and introductions to network infrastructures necessary for web publishing and design. The course begins with the basics such as HTTP protocol and how a web server handles requests, then expands into a series of topics, including CGI and dynamic page programming, server modules, cookies, database integration, performance, and security. Although there are some materials on client-side (browser) programming, the course emphasize on the server side.


154

หนังสืออางอิง 1. Head First Servlets & JSP, Bryan Basham, Kathy Sierra and Bert Bates, O’REILLY, 2004 2. Core servlets and JavaServer pages, Marty Hall, Larry Brown, Prentice Hall, 2004 เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=46 http://student.nu.ac.th/sanya/subj_netProg.asp เนื้อหา 1 Introduction to Java EE ศึกษาโครงสราง Java EE 2 Web Application Architecture ศึกษาสถาปตยกรรมของเวปแอปปลิเคชัน 3 Introduction to Java Servlet ศึกษา Java Servlet เบื้องตน 4 Java Servlet (Advance) ศึกษา Java Servlet ขั้น advance 5 Introduction to SQL ศึกษาภาษา SQL 6 JDBC (Basic) ศึกษาไลบราลี JDBC ติดตอดาตาเบส 7 Java Server Pages (JSP) I ศึกษา JSP สวน I 8 Java Server Pages (JSP) II ศึกษา JSP สวน II ตอ 9 Evolution of Web Technology วิวัฒนาการของเทคโนโลยีเวป 10 JSTL (JSP Standard Tag Library ศึกษาการใช standard tag library 11 JSP 1.2 Custom Tags JSP 2.0 ศึกษา JPS เวอรชัน 1.2 และ 2.0 12 MVC Framework for Web Application ศึกษาการพัฒนาเวปแบบ MVC

ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต (INTERNET PROGRAMMING LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา การเขียนโปรแกรมบนอินเตอรเน็ต The experiments related to Internet Programming


155

การโปรแกรมเว็บเซอรวิสส (WEB SERVICES PROGRAMMING) คําอธิบายรายวิชา เว็บเซอรวิสสเปนโปรแกรมประยุกตระดับองคกรบนพื้นฐานเว็บที่ใชมาตรฐานเปดเอ็กซเอ็มแ อล และโปรโตคอลสื่อสารในการแลกเปลี่ยนขอมูลกับเครื่องไคสเอ็นทที่เรียกใช วิชานี้กลาวถึงหลักการ โครงสรางของเว็บเซอรวิสส มาตรฐานเว็บเซอรวิสสที่ใชภาเอ็กซเอ็มแอล เชน เอสโอเอพี ดับเบิลยู เอสดีแอล และยูดีดีไอ คอมโพเนนทตางๆ และการพัฒนาและการติดตั้งโปรแกรมประยุกตเว็บเซอรวิสส Web services are web-based enterprise application that use open xml-based standards and transport protocols to exchange data with calling clients. This course covers concepts and structures of web services, XML-based standards, e.g., SOAP, WSDL, and UDDI, enterprise components, and the developments of web services applications. หนังสืออางอิง 1. Web Services: Principles and Technology, Michael Papazoglou, Prentice Hall; 1 edition (September 23, 2007), ISBN 978-0321155559 เว็บไซตอางอิง http://cpe.ku.ac.th/~mcs/courses/219451/ http://www.cpe.ku.ac.th/~ms/courses/2005_02/219451/ เนื้อหา 1. Chapter 1: Web services basics 2. Chapter 2: Distributed computing infrastructure 3. Chapter 3: Brief overview of XML 4. Chapter 4: SOAP: Simple Object Access Protocol 5. Chapter 5: Describing Web services 6. Chapter 6: Registering and discovering Web services 7. Chapter 7: Addressing and notification 8. Chapter 8: Service-oriented architectures 9. Chapter 9: Processes and workflows 10. Chapter 10: Transaction processing 11. Chapter 11: Securing Web services


156

12. Chapter 12: Service policies and agreements การออกแบบการสื่อสารกับมนุษย (HUMAN COMPUTER INTERACTION) คําอธิบายรายวิชา แบบจําลอง และ วิธีการ ของการสื่อสาร การใชงานระบบออกแบบการเชื่อมตอ การพิจารณาผูใช การนําเสนอ ทางสายตา หลักการออกแบบ วิธีการออกแบบสวนเชื่อมตอ แนวทางการใชประโยชน การประเมินผล การพิจารณาในเชิง สังคม การใชงานเปนกลุม การใชมัลติมีเดีย และมุมมองในการใชสอื่ Models & methods of interaction, practical use of interface development systems, user considerations, visual presentation, design principles, interface design methods, implementation issues, evaluation. Societal considerations, groupware, multimedia, media perspectives. หนังสืออางอิง 1. B. Shneiderman: Designing the User Interface: Strategies for Effective Human-Computer Interaction, Addison Wesley, 1998. 2. “Human-Computer Interaction” (3rd edition) Alan Dix et al., PearsonPrentice Hall เว็บไซตอางอิง http://203.159.12.3/interimcodes/coursecatalog/CourseDetailInfo.cfm?Reverse =off&CCode=AT71.06 http://www.cp.eng.chula.ac.th/~chate/2110443/index.htm http://www.liacs.nl/~cshci/cgi-bin/?view=index http://courses.iicm.tugraz.at/hci/ http://hci.epfl.ch/teaching/hci/index.php

เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (ELECTRONIC BUSINESS TECHNOLOGY)


157

คําอธิบายรายวิชา ภาพรวมของเทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวยการใชเครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการ ออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชั่นแบบธุรกิจกับธุรกิจ ผลกระทบของการออกแบบ เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธของธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส การวางแผน นํามาใชงาน และการปฏิบัติการ Overview of electronic business technology including use of information technology tools to design and develop business-to-business applications. Impact of information technology design on electronic business strategy, planning, implementation, and operation หนังสืออางอิง 1. E. Turban, J. Lee, D. King, H. M. Chung: 2. Electronic Commerce: A Managerial Perspective 2002, Prentice Hall, 2002. 3. Jeffrey F. Rayport, Bernard J. Jaworski “Introduction to E-Commerce”, McGraw Hill, 2003 4. Kenneth C. Laudon and Caraol Guercio Traver “E-Commerce “, Pearson, 2003 5. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ, ‘ การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส’, เคทีพีคอมพ แอนด คอนชัลท, 2547 6. ดรอาณัต สีมัคเดช ., ‘E-Commerce’,บริษัท เออาร บิสิเนส เพรส จํากัด, 2547 7. จิรธี กําไร, ‘กาวแรกสู E-Commerce’, บริษัท เอสพริ้นติ้ง จํากัด .ซี.พี., 2547 เว็บไซตอางอิง http://203.159.12.3/interimcodes/coursecatalog/CourseDetailInfo.cfm?Reverse =off&CCode=AT71.03 http://staff.cs.psu.ac.th/Apirada/310-434/index.htm เนื้อหา I. Introduction to Electronic Business 1. 2.

Electronic Business Terms Benefits and Limitations


158

Â

3. 4. II.

Retailing in E-Business 1. 2. 3. 4.

III.

Advertisement Methods and Strategies Push Technology and Intelligent Agents Economics and Effectiveness of Advertisement

E-Business for Service Industries 1. 2. 3. 4.

VI.

Consumer Behavior Model Demographics of Internet Users Market Research for E-Business Intelligent Agents for Consumers

Advertisement in E-Business 1. 2. 3.

V.

Direct Marketing Internet Shopping Online Purchase Decision Aids Online Customer Service

Internet Consumers and Market Research 1. 2. 3. 4.

IV.

Business Models Driving Forces and Impacts

Travel, Employment, Real Estate, and Stock Trading Services Online Publishing Knowledge Dissemination Online Banking and Personal Finance

Business-to-Business (B2B) 1. 2. 3. 4. 5.

B2B Models Sell-side Marketplaces Sell-side Intermediaries Buy Side: e-Procurement Collaborative Commerce


159

Â

6. 7. VII.

E-Marketplaces and B2B Exchanges B2B Support Services

E-Business Strategy and Implementation 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Strategic Planning Framework Strategy Initiation Strategy Formulation Strategy Implementation Strategy Assessment E-Business Failures

VIII. Electronic Payment Systems 1. 2. 3. 4. IX.

Applications and Infrastructure for E-Business 1. 2. 3. 4. 5.

X.

Internet, Intranet, Extranet E-Business Architecture E-Business Applications Storefront Development E-Business Security

Global Issues 1. 2. 3. 4.

XI.

E-cards E-cash and Payment Card Alternatives E-Checking E-Billing

International Issues Cultural Issues Legal Issues Taxation

Electronic Government


160

1. 2. 3. 4.

Government-to-Citizens Government-to-Business Government-to-Government Government-to-Employees

สถาปตยกรรมซอฟตแวรระดับองคกร (ENTERPRISE SOFTWARE ARCHITECTURE) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะเสริมและขยายแนวคิดในการเขียนโปรแกรมแบบไคลเอนตเซิรฟเวอร สําหรับใช ในระดับองคกร โดยจะ กลาวถึงเทคโนโลยีจาวาบีนสในระดับองคกร เชน เจเอ็นดีไอ อีเจบี และอีเจบี คอนเทนเนอร นอกจากนั้นยังกลาวถึงการใชงาน คอบรา เอ็กเอมแอล และ เอ็กแอสแอลที สําหรับการ นําเสนอขอมูลและการสื่อสาร วิชานี้ยังศึกษารูปแบบของแอปพลิเคชันที่ ใชในการออกแบบสถาปตย กรรมระดับองคกร สุดทายวิชานี้ยังกลาวถึงประเด็นใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับเว็บแอปพลิเคชั่นที่ใช งานในระดับองคกร This course reinforces and extends client-server programming concepts to enterprise applications. It introduces Enterprise Java Bean technologies such as JNDI, EJBs and EJB Containers. It explores the current use of Common Object Request Broker Architecture (CORBA), XML and XSLT for data representation and communication. The course studies the application of patterns in the design of enterprise architectures. Finally, the course introduces emerging topics related to Web enterprise applications หนังสืออางอิง 1. Patterns of Enterprise Application Architecture Martin Fowler 2. Software Fortresses: Modeling Enterprise Architectures Roger Sessions 3. Architecture and Patterns for IT Service Management, Resource Planning, and Governance: Making Shoes for the Cobbler's Children,Charles T. Betz เว็บไซตอางอิง http://cis.ait.asia/course_offerings/53 http://cis.ait.asia/course_offerings/10/lecture_notes/


161

http://www.cs.ait.ac.th/~mdailey/SE-Intro-Inter/node21.html เนื้อหา Week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

Topic Course introduction Origins of enterprise architectures Introduction to Enterprise Architectures Scope of enterprise archtectures TOPIC: "Challenges in Integrating Enterprise Systems Applications " ERP Choices and Organizational Issues Catch up and project assignments Analysis and Cnfiguration Topics ArcMP demos and configuration Architectural description languages Event-based versus Service-based notions Service Oriented Architectures Software connectors Architecture-based testing and analysis Emergent Organizations Emergent Architectures Agile Systems and Service-based architectures Architecture to Design More on Agility Architecture to Implementation Software Interconnection Technologies Middleware: CORBA, COM / DCOM / .NET JavaBeans and Enterprise JavaBeans

หลักการของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร (FOUNDATION OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEMS) คําอธิบายรายวิชา


162

วิชานี้กลาวถึงแนวคิดและเทคโนโลยีของระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร โดยศึกษาแหลง ขอมูลทางอวกาศ แบบจําลอง และโครงสรางขอมูลทางอวกาศ การบริการฐานขอมูลทางอวกาศ ระบบนําเสนอแผนที่ การใชรหัสเชิงภูมิศาสตร และการอางอิงทางภูมิศาสตร การวิเคราะหทางอวกาศ การดูขอมูลแผนที่ภาพถาย การใชแอปพลิเคชันของระบบสารสนเทศ เชิงภูมิศาสตร เชน การหาตําแหนง การนําทาง การหาเสนทาง และศึกษาซอฟตแวรระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร ที่ใชในเชิง พาณิชย Introduction to geographic information system (GIS) concept and technology including spatial data sources, spatial data models and structures, spatial database management, map projection systems, geocoding and georeferencing, spatial analysis, spatial data visualization (maps), GIS applications (e.g., address-location finding, navigation, routing), and commercial GIS software packages. หนังสืออางอิง 1. P.A. Burrough and R. A. McDonnell (1998): Principles of Geographical Information Systems, Oxford University Press. 2. Andy Mitchell (2001): ESRI guide to GIS Analysis , ESRI Press, Red Lands. 3. J. Lee, D.W.S. Wong (2002): Statistical Analysis with Arc View GIS: John Wiley and Sons, Inc., New York. เว็บไซตอางอิง http://203.159.12.3/interimcodes/coursecatalog/CourseDetailInfo.cfm?Reverse =off&CCode=AT76.01 เนื้อหา I. Introduction 1. Overview, History and Concepts of GIS, Scope and Application Areas 2. Purpose and Benefits of GIS 3. Functional Elements of GIS 4. Importance of Remote Sensing Data in GIS II.

Digital Mapping Concept


163

1. Map concept – Map elements, Map Layers, Map scales and representation 2. Map Projection – coordinate system and projection systems III. Data Structure 1. Raster Data Structure 2. Vector Data Structure 3. Data Compression Techniques IV. Data Acquisition 1. Analogue to digital conversion 2. Data from Remote Sensing Imagery 3. Global Positioning System (GPS) based data acquisition V.

Data Manipulation and Analysis 1. Data Manipulation Techniques 2. Spatial Analysis Techniques – statistical and geometrical 3. Geoprocessing Techniques 4. Model Development

VI. Spatial Accuracy Assessment 1. Data Quality 2. Accuracy Assessment using Statistical Tests VII. Open GIS 1. Introduction of Open Concept in GIS 2. Open Source Software for Spatial Data Analysis VIII. Map Design


164

1. Layout of Maps 2. Intelligent Maps 3. Charting and Tabular representation of the results using GIS

การจัดการดานการบริการของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT SERVICE MANAGEMENT) คําอธิบายรายวิชา มาตรฐานการจัดการสารสนเทศ (Information Technology Infrastructure Library, ITIL) และคุณภาพ กระบวนการ ITIL การจัดการโตะบริการ การจัดการเหตุการณ การจัดการปญหา การจัดการขอกําหนด การจัดการการ เปลี่ยนแปลง การจัดการความพรอมใชงาน การจัดการความ สามารถในการรองรับงาน การจัดการระดับการใหบริการ การจัดการดานการเงินของระบบสารสนเทศ การจัดการความสามารถในการใหบริการธุรกิจ การจัดการการใหบริการสารสนเทศ อยางตอเนื่อง การจัดการดานความปลอดภัย Information Technology Infrastructure Library (ITIL) and Quality. ITIL Processes. Service Desk Management. Incident Management. Problem Management. Configuration Management. Change Management. Release Management. Availability Management. Capacity Management. Service Level Management. IT Services Financial Management. Business Capacity Management. IT Service Continuity Management. Security Management หนังสืออางอิง 1. Foundations in IT Services - Lecture Notes, IBM Corporation, 2007. 2. van Bon, J., Foundations of IT Service Management: based on ITIL, Van Haren Publishing, 2005. 3. Sturm, R., Morris, W., Foundations of Service Level Management, Sams, 2000 4. Fitzsimmons, J., Fitzsimmons, M., Service Management: Operations, Strategy, Information Technology, McGraw-Hill/Irwin, 6th ed., 2007 เว็บไซตอางอิง http://aliyazici.atilim.edu.tr/ise501.html


165

เนื้อหา 1. Computing Infrastructure Overview 2. Introduction to IT Services 3. Event and fault management 4. Change management and configuration management 5. Asset management 6. SPerformance and capacity management 7. Security management 8. Network management 9. Storage and workload management 10. Backup and Recovery management 11. End-user services 12. Reporting management 13. BPM fundamentals

ความปลอดภัยของสารสนเทศ (INFORMATION SECURITY) คําอธิบายรายวิชา โครงสรางของ ISO 17799 การประเมินและ ความเสี่ยง นโยบายดานความปลอดภัย การจัดระบบความ ปลอดภัยของสารสนเทศ การบริหารความปลอดภัยของสินทรัพยสารสนเทศ ความปลอดภัยของบุคลากร ความปลอดภัย ดานกายภาพและสิ่งแวดลอม การควบคุมการเขาถึง การไดมา การพัฒนา และการดูแลรักษาระบบสารสนเทศ การจัดการ เมื่อเกิดเหตุการณดานความปลอดภัยของสารสนเทศ การจัดการการใหบริการธุรกิจอยางตอเนื่อง ความสอดคลองกับกฏ ระเบียบตางๆ Structure of ISO 17799. Risk Assessment and Treatment. Security Policy. Organizing Information Security. IT Asset Security Management. Human Resources Security. Physical and Environmental Security. Access Control. Information System Acquisition, Development and Maintenance. Information Security Incident Management. Business Continuity Management. Compliance.


166

หนังสืออางอิง 1. Management of Information Security, Michael E. Whitman, Herbert J. Mattord 2. M. Greenstein and M. Vasarhelyi, Electronic Commerce: Security, Risk Management, and Control, McGraw Hill, 2nd Edition, 2002, ISBN: 007-251-9150. 3. D. A. Menasce and V. Almeida, Scaling for E-Business: technologies, models, performance, and capacity planning, Prentice Hall, 2000, ISBN: 0-13-086328-9. 4. A. K. Ghosh, E-commerce Security, John Wiley, 1998. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=66 http://www.cpe.ku.ac.th/~ms/courses/2005_02/214573/ http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/anirach/powerpoint.asp?subid=51 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/carpenter/powerpoint.asp?subid=137 เนื้อหา 1. Introduction to the Management of Information Security 2. Planning for Security 3. Planning for Contingencies 4. Information Security Policy 5. Developing the Security Program. 6. Security Management Models 7. Security Management Practices 8. Risk Management: Identifying and Assessing Risk 9. Risk Management: Controlling Risk 10. Protection Mechanisms 11. Personnel and Security. 12. Law and Ethics

การวิจัยดําเนินงาน (OPERATION RESEARCH) คําอธิบายรายวิชา


167

แนะนําวิธีทางวิทยาศาสตรของการวิจัยดําเนินงาน โปรแกรมเชิงเสน โปรแกรมไดนามิกส ทฤษฎีเกมส ทฤษฎี แถวคอย การจําลองสถานการณ การวิเคราะหชวยงานแบบ CPM และ PERT ศึกษาการประยุกตของเทคนิคสําหรับงาน ทางดานอุตสาหกรรม An introduction to operation research methods, linear programming, dynamic programming, game theory, queuing theory, simulation, CPM and PERT, operation research techniques applied to industrial planning control and management. หนังสืออางอิง TAHA, Hamdy A.,”Operations Research: An Introduction,7th ed.”,PrenticeHall,2003 เว็บไซตอางอิง http://www.eng.src.ku.ac.th/downloads/k_EngPreTest52/s_specially/ie/Operati ons%20Research.pdf http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=51 http://webstaff.kmutt.ac.th/~charoen.soon/pre481/PRE381x1x2011.pdf เนื้อหา 1. Intro to optimization 2. Linear programming 3. Dynamic programming 4. Game Theory - Decision Analysis 5. Project Management Analysis 6. Heuristic Algorithms 7. Genetic Algorithm กฏหมายและจริยธรรมสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอร (LAW AND ETHICS IN COMPUTER ENGINEER) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้กลาวถึงขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับจริยธรรมในการใชงานระบบสารสนเทศ ประกอบดวย การสรางเนื้อหา การสงเนื้อหา และ การใชการศึกษา และนอกจากนั้นวิชานี้ยังศึกษา กฏหมายและขอกําหนดตางๆ ของวงการคอมพิวเตอร และการใชคอมพิวเตอรในประเทศไทย


168

This course provides information on Information Systems Ethics (Cyber ethics) including content, delivery, and pedagogy. The course studies the laws and regulations of the computer industry and the use of computers in Thailand. หนังสืออางอิง 1. Herman T. Tavani, "Ethics & Technology," 3rd Ed,. 2011; Maddox, Tompkins, Maddox, "Supplementary Cases and Materials," 2008. 2. Computer Ethics: A Cased-based Approach, by Robert N. Barger (Cambridge: Cambridge University Press, 2008). เว็บไซตอางอิง http://www.cs.su.ac.th/~tasanawa/517335.html http://plato.stanford.edu/entries/ethics-computer/ เนื้อหา Week 1 : An Overview of Laws and Ethics Week 2 : Cyber-Laws vs Physical Laws Week 3-4 : Legal Issues in Computing Week 5 : Computer and Internet Crime Week 6 : Privacy and Civil Liberties Week 7 : Freedom of Expression Week 8 : Intellectual Property Week 9 : Ethics Issues Week 10 : Software Development Week 11 : Employer/Employee Issues Week 12 : The Impact of IT on the Quality of Life

กลุมวิชาเลือกสาขาเครือขาย เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน (INTRODUCTION TO LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS) คําอธิบายรายวิชา


169

วิชานี้จะกลาวถึงเครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวาง โดยศึกษาตั้งแตเรื่องของสาย สัญญาณ และระบบ การเดินสายสัญญาณ อุปกรณทวนสัญญาณ อุปกรณหาเสนทาง บริดจ สวิตซ ศึกษาสถาปตยกรรมที่ใชในเครือขายทองถิ่น เชน อีเทอรเน็ต โทเคนริง เอฟดีดีไอ เอทีเอ็ม ฯลฯ ศึกษาโครงรางของเครือขาย และการออกแบบเครือขายเบื้องตน ศึกษาการ หาเสนทางในเครือขาย ทองถิ่น การสรางเครือขายเสมือน ศึกษาโพรโตคอลตาง ๆ ที่ใชในระบบเครือขายทองถิ่น นอกจากนั้น ยังศึกษาเครือขายแบบกวางเบื้องตน ศึกษาสถาปตยกรรมที่ใชในเครือขายแบบกวาง เชน เฟรมรีเลย ไอเอสดีเอ็น เคเบิล โมเด็ม ดีเอสแอล This course introduces local area network and wide area network. Students will study cabling and cabling system, repeater, router, bridge, and switch. They will study local area network architecture such as Ethernet, Token ring, FDDI, ATM, etc and also network topology and basic network design. In addition, they will study routing in local area network, virtual LAN and network protocol in local area network. This topics study wide area network, wide area network architecture such as Frame Relay, ISDN, Cable Modem and DSL (Digital Subscriber Line). หนังสืออางอิง CCNA Exploration 1-4 เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=9 http://www.cpe.ku.ac.th/~anan/myhomepage/?page_id=886 http://cisco.netacad.net/public/html เนื้อหา 1. Introduction 2. Communicating over the Network OSI Data Link Layer Planning and Cabling Networks 3. OSI Network Layer Addressing the Network – IPv4 Configuring and Testing Your Network 4. Introduction to Routing and Packet Forwarding Static Routing Introduction to Dynamic Routing Protocol


170

5. Distance Vector Routing Protocols RIP version 1 6. VLSM and CIDR RIPv2 7. The Routing Table: A Closer Look EIGRP 8. Link-State Routing Protocols OSPF 9. OSPF Access Control Lists Managing IP Traffic with Access Lists Configuring IP Access Lists 10. LAN Design Basic Switch Concepts and Configuration 11. Implement Spanning Tree Protocols VLANs 12. Implement VTP Implement Inter-VLAN Routing

ปฏิบัติการเครือขายทอง ถิ่นและเครือขายแบบกวาง (LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา เครือขายทองถิ่นและเครือขายแบบกวางเบื้องตน The experiments related to Introduction to Local and Wide Area Networks

เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต (INTERNET TECHNOLOGY) คําอธิบายรายวิชา


171

ศึกษาสถาปตยกรรม การใชงาน การใหบริการ และโพรโตคอลตาง ๆ ในเครือขาย อินเตอรเน็ต เนื้อหาวิชาจะประกอบดวย เทคโนโลยีที่ใชในการสรางเว็บทั้งแบบคงที่และแบบพลวัต การเชื่อมตอของเว็บและสถาปตยกรรมของ อินเตอรเน็ต การเชื่อมตอระหวางอินเตอรเน็ตกับระบบ สื่อสารอื่น ๆ เชน โทรทัศน โทรศัพท การทํางานของบริการตาง ๆ ใน อินเตอรเน็ต ระบบการสง ขอความและพูดคุย การคนหาในอินเตอรเน็ต การประมูลและการซื้อขายในอินเตอรเน็ต การทํา ธุรกิจในอินเตอรเน็ต เอเจนตในอินเตอรเน็ต ระบบสื่อผสม การสงภาพ และเสียงในอินเตอรเน็ต การสงขอมูลแบบมัลติแคสต และเครือขาย MBONE เทคโนโลยีแบบพุช และระบบความปลอดภัยใน อินเตอรเน็ต This subject studies architecture, application, services and protocols of Internet network. The course describes world wide web technology (both static and dynamic), web connection and Internet architecture, connectivity with other communication channels (such as television, telephone), Internet services operation, messaging and chat system, Internet search engine, Internet auction and trading, Ebusiness, internet agent, multimedia system, voice and video broadcasting, multicast communication and MBONE, push technology and Internet security เอกสารอางอิง 1. How the Internet Works, Eighth Edition Preston Gralla Que Publishing, 2006 2. HTML, XHTML, and CSS: Your visual blueprint for designing effective Web pages Rob Huddleston Sams 3. JavaScript: Your visual blueprint for building dynamic Web pages, Eric Pascarello Wiley Publishing,Inc., 4. PHP & MySQL: Your visual blueprint for creating dynamic, database--‐driven Web sites Janet Valade Wiley Publishing, Inc., เว็บไซตอางอิง http://cs75.tv/2010/fall/ เนื้อหา Lecture 0: HTTP Lecture 1: PHP Lecture 3: XML Lecture 4: SQL


172

Lecture 5: SQL, Continued Lecture 6: JavaScript Lecture 7: Ajax Lecture 8: Security Lecture 9: Scalability

การประมวลผลบนอุปกรณพกพาและการสื่อสารไรสาย (MOBILE COMPUTING AND WIRELESS COMMUNICATION) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้เหมาะสําหรับผูสนใจการทํางานของอุปกรณพกพาตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ พีดีเอ ปาลมท็อป และ คอมพิวเตอรโนตบุก ในการทํางานรวมกับเครือขายในการสรางไฟล ฐานขอมูล และระบบไคลเอนตเซิรฟเวอรบนเว็บ ใน สภาพแวดลอมแบบไรสาย วิชานี้จะกลาวถึงแนวคิดพื้นฐาน ของการประมวลผลบนอุปกรณพกพา รวมถึงสถาปตยกรรมดาน ซอฟตแวร และระบบสนับสนุน การแทนขาวสาร การเผยแพรและการจัดการ การจัดการที่อยู การทํางานรวมกันและการกูคืน นอกจากนั้นวิชานี้ยังกลาวถึงเทคโนโลยีการสื่อสารไรสาย โพรโตคอลของเครือขายแบบเซลลูลาร โมบายไอพี และการทํางาน ของโพรโตคอลทีซีพีในสภาพแวดลอมแบบไรสาย This course is offered for those who are interested in knowing how mobile devices (mobile phones, PDA, palmtops, and notebooks) can work with fixed network computers in building file, database and web client-server systems in wireless environments. This course introduces fundamental concepts of mobile computing. These include software architecture, system support (for dealing issues such as disconnected operations, weak connectivity, broadcast, and mobility), information representation, dissemination and management, location management, concurrency and recovery, etc. The course also describes wireless transmission technologies, cellular network data protocols , Mobile IP and TCP in a wireless environment เอกสารอางอิง Schiller, Mobile Communication, 2nd Ed., Prentice Hall เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=40


173

http://www2.siit.tu.ac.th/prapun/ecs455/index.html http://www2.siit.tu.ac.th/prapun/tcs455/index.html เนื้อหา 1. Introduction, Mobile Computing Vs. ARM 2. Wireless Transmission 3. Media Access Control 4. Wireless Telecommunciation (WWAN-2G & 3G) 5. WLAN 6. Wireless Personal Area Network (WPAN) 7. WiMax (4G) 8. Android Tutorial 9. Outlook 10. MotionX GPS 11. Wireless Programming for Mobile Devices - WWW & WAP 12. iPhone App Development 13. Mobile OS Landscape

เครือขายโทรคมนาคม (TELECOMMUNICATION NETWORKS) คําอธิบายรายวิชา โครงสรางพื้นฐานของระบบเครือขายโทรคมนาคม ประเภทของตัวกลางและอุปกรณ ในระบบเครือขาย กรรมวิธี การเขารหัสขอมูล และการสงผานขอมูล การสื่อสารแบบแถบความถี่เบส แบนด และแถบความถี่บรอดแบนด กรรมวิธีทาง สัญญาณ โปรโตคอลการติดตอและการเชื่อม ตอระบบเครือขาย การวางแผนและจัดการเครือขายโทรคมนาคม A study of telecommunication infrastructures, types of telecommunication networks, media and devices, data coding and transmission, base band communication and broadband communication, signaling method, communication protocols, telecommunication network planning and management.


174

หนังสืออางอิง 1. Data Communications and Networking, 4th Edition McGRAW-HILL by Behrouz A Forouzan 2. Computer Networking A Top-Down Approach, Fourth Edition Pearson International Edition by James F. Kurose, Keith W. Ross 3. Data and Computer Communications, 8th Edition Pearson International Edition By William Stalling เว็บไซตอางอิง http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/suksaeng/powerpoint.asp?subid=168 เนื้อหา 1. Introduction to Communication systems, Network Models 2. Data and Signals, Digital Transmission 3. Analog Transmission, Bandwidth Utilization 4. Transmission Media, Switching, Using Telephone and Cable network for Data Transmission 5. Error Detection and Correction, Data Link Control 6. Multiple Access, Wired LANs 7 Wireless LANs, Connecting LANS, Backbone Networks, and Vertual LANs 8 Wireless WANs, SONET/SDH, Virtual-Circuit Networks 9 Local Addressing, Internet Protocol 10 Address Mapping, Error Reporting and Multicasting, Delivery, Forwarding and routing 11 Transmission Media, Switching, Using Telephone and Cable network for Data Transmission 12 Domain Name System, Remote Login, E-Mail, File Transfer 13 WWW and HTTP, Network Management, Multimedia 14 Security

การออกแบบเครือขายในองคกร (CAMPUS NETWORK DESIGN)


175

คําอธิบายรายวิชา วิชานี้จะกลาวถึงระบบเครือขายภายในองคกร การสรางระบบเครือขายภายในองคกร โดยใชเทคโนโลยีสวิตซ แบบหลายชั้น ที่ทํางานผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตความเร็วสูง วิชานี้ จะกลาวถึงทั้งแนวคิดในเรื่องของการหาเสนทาง และการสวิตซ โดยครอบคลุมทั้งการออกแบบ โดยใชเทคโนโลยีเครือขายในระดับชั้นที่ 2 และ 3 นักศึกษาจะไดศึกษาการใช งานเครือขายเสมือน สแปนนิ่งทรี การหาเสนทางระหวางเครือขายเสมือน เทคโนโลยีการซ้ําซอนของเกทเวย เครือขายไรสาย โทรศัพทผานเครือขาย และความปลอดภัยในเครือขาย The main objective of this course is to provide an overview of a campus network, building a campus network using multilayer switching technologies over high speed Ethernet. This course includes both routing and switching concepts, cover both layer 2 and layer 3 technologies. It also teaches student a virtual LAN, Spanning tree, interVLAN routing, gateway redundancy technologies, wireless LAN, IP telephony and security feature in a switched networks. หนังสืออางอิง BCMSN Student Guide เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=161 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=84 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/anirach/powerpoint.asp?subid=49 เนื้อหา 1. Orientation 2. Introduction VLAN 3. VLAN Trunk Protocol Spanning Tree, STP 4. RSTP, Link Aggregation, MLS 5. CEF, HSRP, VRRP 6. Wireless LAN 7. IP Telephony 8. Switch Security 9. Storage Area Network 10. Campus Network Design


176

ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร (COMPUTER SECURITY) คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเทคนิคของการรักษาความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร การออกแบบนโยบาย ความปลอดภัย การ แบงกลุมของขอมูลและการควบคุมการเขาถึง การออกแบบโครงสรางพื้นฐาน ของความปลอดภัย การแบงสวนเครือขาย การ วิเคราะหความเสี่ยง เครือขายสวนตัวเสมือน การเพิ่มความแข็งแกรงใหระบบ การประเมินหาจุดออน ระบบการตรวจสอบ และปองกันผูบุกรุก ไฟลวอลล ความปลอดภัยในระดับแอปพลิเคชัน โครงสรางพื้นฐานของกุญแจสาธารณะ การบริหาร ความปลอดภัย และไวรัสคอมพิวเตอร A study of computer security techniques, security policy design, information classification and access control, security infrastructure design, network partitioning, risk analysis, virtual private network, platform hardening, vulnerability assessment, intrusion detection systems, firewall, application security, public key infrastructure, security management and computer virus หนังสืออางอิง 1. Security in Computing, 4th Ed., Charles P. Pfleeger, Shari L. Pfleeger, Prentice Hall, 2006 2. W. Stallings: Cryptography and Network Security: Principles and Practice, Second Edition, Prentice Hall International, 1999. 3. D. Gollman: Computer Security, John Wiley and Sons Ltd., 1998. เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=65 http://www.cs.ait.ac.th/course/AT70.13.shtml http://inst.eecs.berkeley.edu/~cs161/sp11/ เนื้อหา Introduction Cryptography 1. Conventional Encryption


177

2. Public Key Encryption and Hash Functions 3. Digital Signature Access Control 1. Security Models and Access Policies 2. Access Control in Operating Systems 3. Access Control in Distributed System: Credentials and Certificates, Trust Management, Trust Negotiations. Security Protocols 1. 2. 3. 4.

Key Exchange Authentication Authentication and Key Exchange Electronic Payment Protocols: Nonrepudiation, Fairness, AbuseFreeness, Multiparty Protocols 5. Formal Analysis Network Security Practice 1. Electronic Mail Security 2. IP Security 3. Web Application Security System Security 1. Intruder Prevention, Virus Protection 2. Firewalls Security Management ความปลอดภัยในระบบเครือขาย (NETWORK SECURITY) คําอธิบายรายวิชา


178

วิชานี้จะกลาวถึงการบุกรุกและการรักษาความปลอดภัยในระบบเครือขายคอมพิวเตอร ประกอบดวย ระบบการรักษาความปลอดภัยเบื้องตน การเขารหัสลับ ทั้งในระบบกุญแจเดี่ยว และระบบกุญแจคู รวมไปถึงเรื่องลายเซ็นดิจิตอล โดยครอบคลุมถึงการพิสูจนสิทธิ์แบบตางๆ การยืนยัน ตัวบุคคล การรับรองสิทธิ์ ใบรับรองสิทธิ์ และการบริหารระบบกุญแจ รวม นอกจากนั้น ยังกลาว ถึงระบบเมลแบบปลอดภัย ระบบเครือขายไอพีที่มีการเขารหัส การบุกรุกที่อาจเกิดขึ้นในระบบเครือขาย รูปแบบของการบุกรุก การปองกันโดยใชระบบไฟลวอลล และซอฟตแวรรักษาความปลอดภัยตางๆ This course describes intrusion in computer networks and network security. It covers basic computer security, basic cryptography (both symmetric key and asymmetric key), digital signature, authentication, Kerberos, personal identifier, certificate and key management. This course also emphasizes on mail security, IP security, web security, network intrusion, signature of attack, intrusion detection and prevention using firewall and other security software. หนังสืออางอิง 1. Cryptography and Network Security; William Stallings; Prentice Hall 2. Network Security Bible by Eric Cole 3. Network Security: The Complete Reference by Mark RhodesOusley, Roberta Bragg and Keith Strassberg 4. Network Security Assessment: Know Your Network by Chris McNab 5. Network Security Technologies and Solutions (CCIE Professional Development Series) by Fahim Hussain Yusuf Bhaiji เว็บไซตอางอิง http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=103 http://www.ce.kmitl.ac.th/subject.php?action=view&SUBJECT_ID=68 http://suanpalm3.kmutnb.ac.th/teacher/reuven/powerpoint.asp?subid=169 เนื้อหา บทที่ 1 : บทนํา บทที่ 2 : ปญหาความปลอดภัยในระบบเครือขาย บทที่ 3 : Confidentiality บทที่ 4 : Integrity บทที่ 5 : Availability บทที่ 6 : Access Control


179

บทที่ 7 : Firewall บทที่ 8 : Network Address Translation บทที่ 9 : IP Security บทที่ 10 : Web Application Security บทที่ 11 : Wireless LAN Security บทที่ 12 : การ Monitor และ ตรวจสอบระบบ : IDS / IPS บทที่ 13 : Hi-Availability System and Network : Load Balancing บทที่ 14 : การจัดการระบบการรักษาความปลอดภัยขอมูล บทที่ 15 : การกําหนดนโยบายการรักษาความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล บทที่ 16 : พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 กับการดูแลระบบสารสนเทศ

ปฏิบัติการความปลอดภัยในระบบเครือขาย (NETWORK SECURITY LABORATORY) คําอธิบายรายวิชา ปฏิบัติการที่มีเนื้อหาสัมพันธกับวิชา ระบบความปลอดภัยของเครือขาย The experiments related to Network Security

การจัดการศูนยขอ มูล (DATA CENTER MANAGEMENT) คําอธิบายรายวิชา วิชานี้แนะนําภาพรวมของศูนยขอมูล พิจารณาระบบธุรกิจในเนื้อหาของศูนยขอมูล แนะนําสวนประกอบของ ศูนยขอมูลและเครือขาย ศึกษาเปาหมาย ลักษณะ และความตองการศูนย ขอมูล อธิบายลักษณะแอปพลิเคชันแบบทรีเทียร และการทํางาน อธิบายสวนประกอบที่ใชในศูนยขอมูล และ อธิบายลักษณะการจัดการศูนยขอมูล This course provides an introductory overview of the data center. It examines the business system in the context of the data center, and introduces the students to


180

common components of business system and networks. State the purpose, characteristics, and requirements of a Data Center. Describe the three tiers of a Business System Application and what purpose each serves. Describe components commonly found in a Data Center. Describe Data Center Management Characteristics จากกลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขาที่ใหเราสามารถเลือกเรียนเรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอรได 3 แบบดังนี้ 1. สาย Software ควรเลือกวิชาเลือกเฉพาะสาขา ดังนี้ วิชาที่ควรเลือกเรียน § § § § § §

Object Oriented Software Engineer Internet Programming Advance Database System Java Technology Network Programming Artificial Intelligence วิชาเสริมที่นาสนใจ

§ § § § § § §

Compiler Construction Computer Security Image Processing Information Storage & Retrieval Internet Technology (Distributed System) Mobile Computing & Wireless Communication System Software Development

2. สาย Networking ควรเลือกวิชาเลือกเฉพาะสาขา ดังนี้ วิชาที่ควรเลือกเรียน § §

TCP/IP Network Computer Security


181

§ § §

Network Security Intro to LAN & WAN Campus Network Design วิชาเสริมที่นาสนใจ

§ § § § § §

Telecommunication Networks Advance Database System UNIX Programming Network Programming Internet Technology (Distributed System) Mobile Computing & Wireless Communication

3. สาย Hardware ควรเลือกวิชาเลือกเฉพาะสาขา ดังนี้ วิชาที่ควรเลือกเรียน § § § §

Microprocessor & Interface Micro Robot Development Intro to Robotics Image Processing วิชาเสริมที่นาสนใจ

• • • • • • •

Network Programming UNIX System Programming Advance UNIX Programming JAVA Technology TCP/UDP Network Internet Technology (Distributed System) Computer Security

ในบางมหาวิทยาลัย จะไมมีวิชาเลือกเฉพาะสาขา หรือมีนอยมาก โดยถูกจับเปนวิชาบังคับ ทําใหไมสามารถเลือกไดวาจะเรียนสายไหน จะเปนการเรียนทั้ง 3 สาขารวมกัน


182

เกียรตินิยม (Honor) การภาคทัณฑ (Probation) และ การพนสภาพการเปนนักศึกษา (Retire) ในการคิด คะแนนเกียรตินิยม ภาคทัณฑ และการพนสภาพการเปนนักศึกษา แตละมหาวิทยาลัย ใชวิธีคิดแตกตางกันแตไมมาก GPS คือ คะแนนเฉลี่ยประจําภาค GPA คือ คะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งป 1 เทอม 1 จนถึงเทอมปจจุบัน คะแนนเกียรตินิยม อันดับ 1 (First Class Honor) ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) 4 ป ตั้งแต 3.5 ขึ้นไป ไมเคยเรียนซ้ําวิชาใดๆ และไดคะแนนทุกวิชา ไมต่ําวา C คะแนนเกียรตินิยม อันดับ 2 (Second Class Honor) ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) 4 ป ตั้งแต 3.25 ขึ้นไป ไมเคยเรียนซ้ําวิชาใดๆ และไดคะแนนทุกวิชา ไมต่ําวา C ดังนั้นหาก ได GPA 3.8 แตมีวชิ าใดวิชาหนึ่งได D+ ก็ไมไดเกียรตินิยม หรือ ลงซ้ําวิชาเพื่ออัพคะแนนก็ไมได แตสามารถลงเรียนภาคฤดูรอนได เชน เอาวิชาเสรี ไปลงภาคฤดูรอน แทนที่จะเรียนในป 1 เทอม 2 ซึ่งไมใชการลงเรียนซ้ํา การภาคทัณฑ (Probation) หรือติดโปร จะตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ต่ํากวา 2.0 จะถูกติดภาคทัณฑไว (ติดโปร) และระหวางติดภาคทัณฑคะแนนเฉลี่ยประจําภาค (GPS) ในเทอมถัดไป นอยกวา 2.0 ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา (โดนรีไทน) แตหากในหวางติดภาคทัณฑคะแนนเฉลี่ยประจําภาค (GPS) ในเทอมถัดไป มากกวา 2.0 แตเมื่อคิด คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) นอยกวา 2.0 ก็ถือวายังติดภาคทัณฑตอไป การพนสภาพการเปนนักศึกษา (Retire) เมื่อมีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ต่ํากวา 1.0 จะตองพนสภาพการเปนนักศึกษาตั้งแตภาคศึกษานั้น ดังนั้นหากเทอมแรก ( ป 1 เทอม 1) ไดเกรด GPS 1.5 ดังนั้นจะได GPA (1.5/1) = 1.5 แสดงวาติดโปร เนื่องจาก GPA ไดนอยกวา 2.0 ถาหากไมอยากโดน รีไทน เทอมถัดไป GPS ตองไดตั้งแต 2.0 ขึ้นไป สมมุติเทอมถัดไป (ป 1 เทอม 2) ได GPS 2.1 ดังนั้นจะได GPA (1.5+2.1/2) = 1.8 จะไมถูกรีไทน แตจะติดโปรตอไปอีกเทอม จนกวา GPA จะไดเกิน 2.0 เรียกเหตุการณแบบนี้วา ลากโปร (ใครชอบลุน หรือ อยากใหชีวิตมีรสชาติ ก็ลองได)


183

สมมุติเทอมถัดไป (ป 2 เทอม 1 ) ได GPS 3.0 แสดงวาได GPA (1.5+2.1+3.0/3) = 2. 2 แสดงวาหลุดโปรแลว แตหากเทอมนี้ (ป 2 เทอม 1 ) เกิดได GPS 1.9 แสดงวาโดนรีไทน เพราะติดโปรแลว เทอมถัดไปคะแนน GPS ไดต่ํากวา 2.0 ดังนั้นควรทําความเขาใจไว ตั้งแตเริ่มเขาเรียน ซึ่งแตละมหาวิทยาลัย ระดับคะแนน วิธีคิดอาจจะแตกตางกันบาง


184

เครื่องมือที่ใชในการเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร Desktop หรือ Notebook แตถาตองการความสะดวกสบาย ก็เลือก Notebook เผื่อไดยกไปเลนที่มหาวิทลัยได สวน Spec การใชงาน เทาไหรก็ไดเนื่องจากการเรียน ไมจําเปนตองใช การประมวลผลกราฟกมากนัก เนนไปที่ CPU และ Ram ก็พอ ซึ่งคอมพิวเตอรปจจุบันก็เร็วมากพอแลว โปรแกรมที่ใชในการเรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอร IDE (Integrate Develop Environment) ใชในการเขียนโปรแกรมภาษาตางๆ • • • •

Visual Studio 20XX ใชเขียนโปรแกรมภาษา .NET เชน VB, C#, C++ เปนซอฟแวรลิขสิทธของบริษัท Microsoft Netbean หรือ Eclipse ใชเขียนโปรแกรมภาษา JAVA เปนซอฟแวรประเภท Open Source สามารถหาดาวโหลดไดตามเว็บตางๆ Turbo C++ ใชเขียนภาษา C และ C++ เปนซอฟแวรประเภท Open Source สามารถหาดาวโหลดไดตามเว็บตางๆ Microsoft VISIO 20XX เปนเครื่องมือในการวาดแผนภาพ (Diagram) ตาง เชน Flowchart, ER-Diagram, Network Diagram เปนตน เปนซอฟแวรลิขสิทธของ บริษัท Microsoft

โปรแกรมอื่นๆ ตามแตรายวิชาจะใช เชน • • • •

AutoCAD หรือ Solid work ใชในวิชา ENGINEERING DRAWING ใชในการเขียนแบบ ทางดานวิศวกรรม MySQL สําหรับวิชา Database Packet Sniffer สําหรับวิชา Computer Networking Network Simulator สําหรับวิชา LOCAL AND WIDE AREA NETWORKS


185

หองวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร หองวิจัยถือเปนสถานที่ ที่สําคัญในการทําวิจัยของระดับชั้น ป.ตรี เรียกอีกอยางวาเปน หองทําโปรเจค ของนักศึกษานั่นเอง โดยทั่วไปแลว หองวิจัยจะแบงตามหัวขอวิจัย เชน หอง Network Lab ก็จะเปนหองที่รับนักศึกษาทําวิจัยเกี่ยวกับ Network แตละหองก็จะ มีการวิจัยแตกตางกันไป เมื่อนักศึกษาอยูชั้น ปที่ 4 จะตองลงวิชา โปรเจค เพื่อทําการวิจัยเรื่องที่ ตนเองสนใจ โดยจะตองมี อาจารยเปนที่ปรึกษา ดังนั้นเมื่อเราทําโปรเจคกับอาจารยทานไหน ก็จะตอง ไปอยูหองวิจัยหองนั้น เพื่อความสะดวกในการทําวิจัยและงายตอการติดตอ สอบถามกับอาจารย ที่ปรึกษาโปรเจค ในบางกรณีเชน นักศึกษาอยูชั้นปที่ 3 แตอยากนั่งหองวิจัยเพื่อ เตรียมตัวกอนการทําวิจัยในชั้ นปที่ 4 ก็สามารถเขาไปอยูได แตอาจจะมีการสอบเขา เนื่องจากพื้นที่ และทรัพยากรในหองมีจํากัด เชน บางหองวิจัยจะมีการจัดการสอบ เพื่อรับนักศึกษาเขาหอง ประจําป โดยจะใหรุนพี่ป 4 เปนผูออก ขอสอบและคัดเลือก รุนนองเขามา อาจมีทั้งการสอบขอเขียน และสัมภาษณ เพื่อเปนการคัดกรอง ผูที่ตั้งใจจริง เขามาทํางานวิจัยในหองวิจัย แตละมหาวิทยาลัยก็จะมี หองวิจัยแบงแยกยอย ที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับมหาวิทยาลัยนั้นๆ ตองการแบงหองวิจัยแบบไหน เชน แบงตามความสามารถของบุคคลากร หรือ แบงตามวิชารายวิชา พื้นฐาน แตจะแบงใหครอบคลุมทั่วทุกหัวขอวิจัยของนักศึกษา ตัวอยางใน สถาบันเทคโนยีพระจอมกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง มีหองวิจัยสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบไปดวย • • • • • • • • • •

Network Lab ESL: Embedded System Lab ISAG: Information Security Advisory Group MCL: Mobile Computing Lab ICT: Intelligence Computer Technology MML: Multimedia Lab OLALA & GIS: Object oriented Language & Application Lab, Geographical Information System Interested Group Information Systems and Database Lab MIIP: Machine Intelligence & Image Processing Lab Hardware Lab


186

IT Certificate สําหรับ วิศวกรรมคอมพิวเตอร Certificate เปนสิ่งทีร่ ับรองไดในระดับหนึ่ง วาคนๆนั้นมีความสามารถ หรือเชี่ยวชาญใน Product นั้นๆ ดังนั้น ซึ่งจะตัวชวยในการพิจารณา สมัครงานบริษัทตางๆ Certificate มีใหเลือกสอบ หลาย Product ที่นิยมสอบกัน เชน Java Technology Certification, CISCO IT Certification, Linux IT Certification, Microsoft และ ITPE (Information Technology Professional Examination) ของ NSTDA Academy


187


188


189


190


191


192

จบวิศวกรรมคอมพิวเตอร แลวทํางานอะไร ลักษณะงานแตละสายของ วิศวกรรมคอมพิวเตอร 1. ดาน System & Network งานนี้มีจํานวนตําแหนงงานไมมาก และมีการแขงขันสูง ลักษณะของคนทํางานดานนี้ ตองใชความรูหลากหลาย เนื่องจากเวลาไปวางระบบ แตละบริษัทความตองการ (Requirement) และ มีสถาปตยกรรม (Architecture) ที่แตกตางกัน โดยงานทางดาน System แบงออกไดเปน 3 กลุม 1. บริษัทประเภท Distributor เปนบริษัทที่นําเขาซอฟตแวร และฮารดแวรจากตางประเทศ เพื่อนํามาจําหนายในประเทศ ดังนั้น ซึ่งตําแหนงที่ตองการไดแก •

Product Specialist คือผูที่มีความรูเกี่ยวกับ Product นั้นๆ เปนอยางดี

2. บริษัทประเภท Vendor คือบริษัทที่นํา Product จากบริษัท Distributor ไปจัดจําหนายอีกตอหนึ่ง ซึ่งตําแหนงที่ตองการไดแก •

• •

System Engineer มีหนาที่ในการ implement งานตําแหนงนี้จะรับนักศึกษาที่จบใหม แตจะรับจํานวนไมมากนัก โดยใชความรูพื้นฐานดังนี้ UNIX, Windows, System Software ไดแก Firewall, Database Server Pre Sale ทําหนาที่กําหนด spec เบื้องตนใหกับลูกคาตําแหนงนี้จะทํางานรวมกับ sale และตองรูจักตัว product พอสมควร Application Engineer / Spacialist ตําแหนงนี้ตองเชี่ยวชาญเฉพาะโมดูลที่ตัวเองรับผิดชอบ สวนโมดูลอื่นแครูเพียงพื้นฐานก็เพียงพอ ตัวอยางซอฟตแวรที่เปนที่นิยม คือ SAP

3. บริษัทประเภท In-House คือ Vendor ที่จางบุคคลากรเอง เพื่อมาวางแผนดูแลเองในบริษัท ไมไดจาง Vendor ซึ่งเวลางานคอนขางตายตัว แตบริษัท In-House จะเวลาทํางานไมคอยเปนเวลา และสวนใหญจะทํางานกลางคืน โดย In-House นิยมรับนักศึกษาจบใหม 2. ดานเครือขาย Network มีหนาที่ดูแลระบบ Network ทั้งหมดของบริษัท ใหสามารถใชงานไดตลอด 24 ชั่วโมง และออกแบบระบบ Network ใหกับบริษัท สวนมากจะดูแล Web Server, DNS, DHCP, Mail Server,


193

Firewall ฯลฯ รับทั้งนักศึกษาจบใหม และคนมีประสบการณ โดยคนที่มี Certificate จะไดเปรียบในการสมัครงานมาก เนื้อหาเพิ่มเติมที่อธิบาย สายงาน Network ไดละเอียดอีกแหงหนึ่ง ดูไดที่เว็บไซต thaiadmin 3. ดาน Software เปนตําแหนงงานที่มีเยอะที่สุดในตลาดงาน เกินครึ่งของงาน IT จะเปนทางดานการเขียน โปรแกรม (Software Deverloper) ถึงแมจะมีตําแหนงงานเยอะ แตก็มีคูแขงเยอะ เนื่องจากสายงาน เขียนโปรแกรมจบคณะไหน ที่เรียนเกี่ยวกับ IT สามารถทํางานดานนี้ได เชน วิทยาการคอมพิวเตอร, เทคโนโลยีสารสนเทศ, วิศวกรรมสารสนเทศ ฯลฯ ภาษาคอมพิวเตอรที่นิยมใชมากที่สุด คือ JAVA รองลงมา ก็เปน C#, VB และภาษาที่ เกี่ยวกับเว็บไซต เชน PHP, JSP, ASP สวน C, C++, Ruby, Rail, Python ยังมีความตองการ ในตลาดงาน ปจจุบันเริ่มมีความตองการผูที่มีความสามารถในการเขียนภาษาคอมพิวเตอรบนมือถือ เชน Object C, Java สําหรับ Android ตัวอยางชื่อตําแหนง งานทางดาน Software เชน Programmer, System Analyst, Business Analyst, Data Modeler, Software Architect ฯลฯ 1. Software House 1.1 Tailor Made จะผลิตซอฟตแวรตามความตองการ (Requirement) ของลูกคา บริษัทประเภทนี้จะเนนทําเอกสาร Document มาก เพื่อที่คนที่มาทํางานตอ สามารถทําตอไดทันที มีระบบในการพัฒนาซอฟแวร เชน ITIL, CMMI ตําแหนงที่ตองการ ไดแก Analysis และ Programmer โดยเฉพาะตําแหนงนี้จะรับนักศึกษาที่จบใหม จํานวนมาก 1.2 Package จะผลิตซอฟตแวรในราคาที่ต่ํากวา Tailor Made ซึ่งจะสามารถจําหนายไดเรื่อยๆ 2. In-House บริษัทประเภทนี้จะไมคอยเนนกระบวนการผลิต ไมมีมาตรฐานการ ผลิตซอฟแวร เหมือน Tailor Made เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการผลิต 3. Factory 4. FreeLance 4. ดานฐานขอมูล Database


194

ดูแลฐานขอมูลของบริษัท Monitor ฐานขอมูล จัดเก็บขอมูลเกา (Archive) ออกแบบ ฐานขอมูล (Conceptual and Physical Design) ติดตั้งโปรแกรมและสรางฐานขอในเครื่องเซิรฟเวอร กําหนดความปลอดภัยและสิทธิ์ ในการใชงานฐานขอมูลใหแกผูใชงาน 5. ดานฮารดแวร Hardware 1. Embedded System 2. Circuit Design 6. ดานการตลาด ดานการตลาด เชน เปน Sale Enginer ซึ่งบางผลิตภัฑณจําเปนตองใชความรู ทางดานวิศวกรรม มาประกอบเชื่อเพิ่มความนาเชื่อถือ และความคลองตัวในการติดตอ 7. อาจารย อาจารยระดับมหาวิทยาลัย ปจจุบันรับเฉพาะ ผูจบการศึกษาระดับปริญญาเอก โดยจะตองทํางานวิจัยหรือจบการศึกษา ตรงกับสาขาที่จะสอน


195

ศีกษาตอระดับปริญญาโท เอก การเรียนตอ สามารถเรียนตอไดทั้งในและตางประเทศ โดยสามารถเรียนตอ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร โดยจะตองจบระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวของเชน วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมระบบควบคุม วิศวกรรมการวัดคุม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร สถิติประยุกต คณิตศาสตรประยุกต ฟสิกสประยุกต หรือสาขาที่ผานการพิจารณาเห็นชอบจากบัณฑิตวิทยาลัย แตถาหากจบสาขาที่ไมเกีย่ ว ของเลย เชน จบบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร สถาปตยกรรม จะไมสามารถเรียนตอระดับปริญญา โทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรได ศึกษาตอในประเทศ Computer Engineer มหาวิทยาลัยเกือบทุกแหง ที่มีหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร จะมีหลักสูตรปริญญาโทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร แตมีเพียงไมกี่ที่ ที่มีหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยวิชาเรียนจะมีเนือ้ หาคลายๆกับระดับปริญญาตรี แตจะมีเนื้อหาเพิ่มเติมและเจาะลึกขึ้น และมีการทําวิจัย ในเรื่องที่สนใจ Electrical Engineer ในมหาวิทยาลัยบางแหง มีการรวมสาขาวิศวกรรมไฟฟา และ วิศวกรรมคอมพิวเตอร ไวเปนสาขาเดียวกัน เนื่องจากมีความใกลเคียงในดานวิชาการ ทําใหเมื่อจบออกมาไดรับวุฒิทาง ดานไฟฟา แตตัววิจัยก็ยังคงเกี่ยวเนื่องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร Financial Engineer วิศวกรรมการเงิน เรียนเกี่ยวกับดานนวัตกรรมการเงิน ออกแบบและใชเครื่องมือทางการเงิน แบบใหมๆ โดยใชการคํานวณทางคณิตศาสตรขั้นสูงมาประยุกต เพื่อนํามาวิเคราะหแนวโนมคา ทางการเงินตางๆ วิชาเรียนจะเนนหนักไปทางดานคณิตศาสตร วิศวกรรมการเงิน เปนหลักสูตรใหม ที่มีในประเทศไทย ซึ่งไมไดอยูภายใตคณะ วิศวกรรมศาสตร ซึ่งสภาวิศวกรของประเทศไทย และ Accreditation Board for Engineering and Technology (ABET) ไมใหการรับรองวาวิศวกรรมการเงินเปนสาขาทางดานวิศวกรรม เนื่องจากมองวาไมเกี่ยวของกับสายวิศวกรรมเลย แตเปนการนําวิทยาศาสตร คณิตศาสตรมาประยุกตใช


196

กับการเงิน ทําใหสาขาวิศวกรรมการเงินจะอยูภายในคณะบริหารธุรกิจ หรือคณะวิทยาศาสตรประยุกต โดยจะไดรับวุฒิวิทยาศาสตรมหาบัณทิต ปจจุบันมีมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปดสอนหลักสูตรนี้เพียงไมกี่แหง คือ หลักสูตร M.Sc. (Management) specialization in Financial Engineering Management มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ตองมีประสบการณอยางนอย 2 ป ใชระยะเวลา ในการศึกษา 2 ป ตัวอยางวิชาที่เรียน การจัดการการเงิน (Financial Management) เศรษฐศาสตรธุรกิจและการจัดการ (Managerial Economics) กลยุทธการจัดการตลาด (Strategic Marketing Management) การจัดการเชิงกลยุทธในยุคโลกาภิวัฒน (Strategic Management in the Globalization era) กระบวนการองคกรและการจัดการทรัพยากรบุคคล (Organizational Process and Human Resource Management) หลักสูตร M.Sc. Financial Engineering มหาวิทยาลัยหอการคาไทย มีทั้งระดับปริญญาตรี และโท และมีสามารถเรียนหลักสูตร (4+1) เรียน 5 ปไดรับปริญญาโท โดยในการศึกษาตอในระดับ ปริญญาโทตองมีประสบการณอยางนอย 1 ป หรือเกรดเฉลี่ยในระดับ ปริญญาตรีเกิน 2.5 ตัวอยางวิชา ที่เรียน ตราสารหนี้และตราสารอนุพันธ (Fixed Incomes Securities and Derivatives Securities) ทฤษฎีสถิติเบื้องตน (Introduction to Statistics Theory) ทฤษฎีการลงทุน (Investment Theory) แบบจําลองออฟทิไมเซชันและระเบียบวิธีสําหรับวิศวกรรมการเงิน (Optimization Models and Methods for Financial Engineering) การบริหารการเงินขององคกร (Corporate Financial Management) การโปรแกรมขัน้ สูง (Advanced Programming) สโตแคสติกแคลคูลัสสําหรับการเงิน (Stochastic Calculus in Finance) เครื่องมือทางสถิติสําหรับวิศวกรรมการเงิน (Statistical Tools for Financial Engineering) การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk Management) แบบจําลองขั้นสูงในตราสารและอนุพันธทางการเงิน (Advanced Modelling in Financial Securities and Derivatives) หลักสูตร M.Sc. Financial Engineering ภาคภาษาอังกฤษ วิศวกรรมการเงิน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตัวอยางรายวิชาที่เรียน เชน Stochastic Models, Statistical Methods, Optimization, Banks and Financial Institutes, Finance Theory I, Derivatives Securities, Ethics in Finance, Stochastic Calculus, Simulation, Fixed Income Securities, Financial Modeling Software Engineer


197

ในประเทศไทยเปดหลักสูตรมหาบัณทิตวิศวกรรมซอฟแวร เพียงไมกี่แหง วุฒิที่ไดรับจะเปน M.Sc. (Software Engineer) โดยสาขานี้จะอยูภายใตคณะวิศวกรรมศาสตร หรือภายใตวิทยาลัยนานาชาติ สําหรับหลักสูตรอินเตอร เนื้อหาวิชาเรียน และการวิจัย เหมาะกับผูที่จบวิศวกรรมคอมพิวเตอรทางดานออกแบบโปรแกรม ไมจําเปนตองมีประสบการณ ใชระยะเวลาในการศึกษา 2 ป ตัวอยางวิชาเรียน Software Architecture Software Engineering Software Development and Quality Improvement Object-Oriented Analysis and Design Object-Oriented Software Engineering Information Technology เปนหลักสูตรปริญญาโทที่นิยมมาก เนื่องจากหลักสูตรถูกออกแบบสําหรับคนทํางาน โดยเรียนชวงเย็น หรือชวงเสาร-อาทิตย หลักสูตรจะอยูภายใตคณะสารสนเทศ เนื้อหาคลายวิศวกรรม คอมพิวเตอร เพิ่มเติมเรื่องการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เขามา ทําใหสามารถนําไปประยุกตใชกับ องคกรสารสนเทศได ใชระยะเวลาในการเรียน 2 ป ตัวอยางวิชาเรียน Data Mining for CR Computer Systems Concept Information Technology Security Organizational Information Systems Electronic Business Informatin System MBA Master of Business Administration เปนหลักสูตรที่นิยมอีกหลักสูตรหนึ่งที่ วิศวกรรม คอมพิวเตอรเลือกศึกษาตอ เนื่องจากเปนการศึกษาทางดานธุรกิจ สามารถนําไปประยุกตในการ ทํางานไดมาก เหมาะสําหรับผูที่มีประสบกาณแลว ประเภทการศึกษาตอ MBA แบงไดดังนี้ 1. Two-year (Full Time) MBA หลักสูตรเรียนเต็มวัน เรียนจันทร ถึง ศุกร หยุดเสารอาทิตย เปนเวลา 2 ป (4 ภาคการศึกษา) บางมหาวิทยาลัยกําหนดคุณสมบัติวาตองมีประสบการณขั้นต่ํา 1 ป , 2 ป หรือได เกรดเฉลี่ยเกิน 3.5 สามารถเขาศึกษาตอไดโดยไมจําเปนตองมีประสบการณ รับผูจบปริญญาตรีทุกสาขา 2. Part-time MBA หลักสูตรออกแบบมาสําหรับผูที่ทํางานไปดวย เรียนไปดวย แตคาใชจายจะสูงกวาหลักสูตร Two-year (Full Time) MBA โดยจะเรียน หลังเวลาทํางาน ในวันจันทร ถึง ศุกร และเต็มวันในวันเสาร


198

อาทิตย เปนเวลา 2 ป ( 4ภาคการศึกษา) บางมหาวิทยาลัยกําหนดคุณสมบัติวาตองมีประสบการณ ขั้นต่ํา 1 ป , 2 ป หรือไดเกรดเฉลี่ยเกิน 3.5 สามารถเขาศึกษาตอไดโดยไมจําเปนตองมีประสบการณ รับผูจบปริญญาตรีทุกสาขา 3. Executive MBA (EMBA) หลักสูตรออกแบบสําหรับผูบริหาร ที่ตอการพัฒนาทักษะและองคความรูทางดานการจัดการ ไดแลกเปลี่ยนความรู หลักการ และประสบการณระหวางกัน เพื่อนําไปประยุกตใหเหมาะสม โดยหลักสูตรนี้จะมีคาใชจายตลอดหลักสูตรแพงที่สุดเมื่อเทียบกับประเภทอื่นๆ โดยจะเวลาเรียนขึ้นอยู กับการกําหนดการ ซึ่งไมแนนอน มีการศึกษาดูงานตางประเทศ ใชเวลาในการศึกษา 2 ป โดยคุณสมบัติขั้นตนของผูสมัคร ตองมีประสบการณขั้นต่ํา 8 ปขึ้นไป 4. หลักสูตรปริญญาตรีกาวหนา (ตรีควบโท) หลักสูตรปริญญาตรีกาวหนา เรียน 5 ปไดวุฒปริญญาโท (เรียน ป.ตรี 4 ป ป.โท 1 ป) ทําใหปที่ 4 จะตองเรียน วิชาทางดานการบริหารเพิ่มเติม อีกประมาณเทอมละ 2 วิชา ซึ่งหลักสูตรนี้ทําใหระยะเวลาในการศึกษาสั้นลงกวาปกติ 1 ป โดยคุณสมบัติขั้นตนของผูสมัคร จะตองกําลังศึกษาอยูชั้น ปที่ 3 คณะหรือสาขาใดก็ได และมีเกรดเฉลี่ยสะสมเกินเกณฑที่กําหนด มีเพียงไมกี่มหาวิทยาลัยที่เปดหลักสูตรนี้ สาขาทางดาน MBA ที่วิศวกรคอมพิวเตอรนิยมเรียน 1. Technology & Innovation Management เปนหลักสูตรที่มีเนื้อหาใกลเคียงกับวิศวกรรมคอมพิวเตอรมากที่สุด เมื่อเทียบกับสาขาอื่นๆ โดยศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีมาใชในธุรกิจ รวมถึงการจัดการบริหารเทคโนโลยีในองคกร เมื่อจบออกมา ตัวงานยังเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร เทคโนโลยี แตอาจจะลงรายละเอียดนอยลง ตัวอยางวิชาเรียนสําหรับสาขา Technology & Innovation Management Project Management, Management of Information Systems, Technology Forecasting and Road mapping, Innovative Product and Service, Development Information Technology in Public Organizations 2. Financial เนื่องจากพื้นฐานของการเรียนวิศวกรรมศาสตรคือ คณิตศาสตร ทําใหเปนขอไดเปรียบ สําหรับวิศวกร ที่ตองการศึกษา ทางดาน Finalcial ทําใหเปนอีกสาขาหนึ่งที่นิยมเรียน ซึ่งจะเปนการ


199

เปลี่ยนแนว ตัวงานไปเลย โดยจะเกี่ยวเนื่องกับ สาขาการเงิน เชน ทํางานเกี่ยวกับตลาดหลักทรัพท บริษัทหลักทรัพท ตางๆ หรือทางดานการเงินในบริษัทตางๆ ตัวอยางวิชาเรียนสําหรับสาขา Finacial International Finance, Country Risk Assessment, Financing of Technological Ventures Project, Finance and Risk Management, Financial Futures Options and Derivatives 3. Marketing เหมาะสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอรที่ทํางานทางดาน Sale Engineer หรือ วิศวกรคอมพิวเตอรที่ประกอบธุรกิจสวนตัว แลวอยากเรียนรูเพิ่มเติมทางดานการตลาด เพื่อเพิ่มยอดขาย ตัวอยางวิชาเรียนสําหรับสาขา Marketing Brand Management, Marketing Research, Business-to-Business Marketing, International Marketing and Export Management, Innovation Marketing and New Product Development 4. Entrepreneurship เหมาะสําหรับวิศวกรคอมพิวเตอรที่ตองการเปน ผูประกอบการ หรือทําธุรกิจสวนตัว เรียนรูวิธีการบริหารธุรกิจในดานตาง เชน การขาย การตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย และ การเงิน ตัวอยางวิชาเรียนสําหรับสาขา Entrepreneurship Brand Management, International Economic, Business-to-Business Marketing, Project Finance and Risk Management, Research and Development (R&D) Management, International Operating Environment of Business ศึกษาตอตางประเทศ การศึกษาตางประเทศ จะตองเตรียมตัวทั้งทางดานภาษา รางกาย จิตใจ รวมถึงคาใชจายดวย ซึ่งแตละประเทศ แตละหลักสูตรก็มีสิ่งที่แตกตางกันมาก สิ่งแรกที่ตองเตรียมคือ เลือกเรียนตอสาขาไหน สวนใหญจะแบงไดสองแบบ คือ เรียนตอแนวเดิม เชน Engineer, Com Sci และ IT หรือเปลี่ยนแนวสายบริหาร MBA ซึ่งขึ้นอยูวาเมื่อเรียนจบอยากทํางานแนวไหน โดยขอดีของการจบสายบริหาร คือ เมื่อจบแลวยังสามารถทํางานแนวเดิมได หรืออาจจะเปลี่ยนแนวได


200

การคนหาขอมูล หลักสูตรที่ตองการเรียนตอวามีที่ไหนบาง โดยอาจจะดูจาก Ranking เปนเกณฑ ซึง่ การทํา Ranking แตละสํานักก็ใชเกณฑที่แตกตางกัน สวนตัวใชในการอางอิงไดในระดับ หนึ่งเทานั้น ตัวอยางเกณฑที่ใชวัดผลเชน จํานวน Research ที่ตีพิมพในวรสารระดับนานาชาติ จํานวนนักวิจัยที่ถูกอางอิง จํานวนศิษยเกาหรืออาจารยผูสอน ที่ไดรับรางวัล Nobel ฯลฯ นอกจากการใช Ranking ในการตัดสินใจแลว ยังสามารถใชวิธีหาวาอาจารยที่ดังๆ สอนที่ไหนบางโดยดูจาก รายชื่อผูที่ไดรับรางวัลที่นาเชื่อถือในสาขาวิชานั้นๆ เชน Nobel Prize ในสาขาตางๆ ACM Award (Advancing Computing as a Science and a Profession Award) ในสาขาตางๆ เชน Fellows, A. M. Turing Award NSF Award (The National Science Foundation) ของ มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติสหรัฐอเมริกา Fields Medal เปรียบดัง Nobel Prize ของสาขาคณิตศาสตร

NAE Award (National Academy of Engineering of The Nation Academies) รางวัลของสาขาวิศวกรรมศาสตร Best Paper Award ใน IEEE สาขาตางๆ รายชื่อ Committee ของ IEEE สาขาตางๆ

จากนั้นดู Minimun Requrement เชน รับสาขาปริญญาตรีสาขาไหนบาง ใชประสบการณ การทํางานกี่ป วาตองมี GPA ขั้นต่ําเทาไหร ตองการ Personal Statement หรือไม ใชคะแนนวัดผล ภาษาอังกฤษขั้นต่ําเทาไหร โดยคะแนนวัดผลที่นิยมใชกัน คือ IELTS สวนใหญใชในการสมัคร มหาวิทยาลัยใน อังกฤษ ออสเตเรีย นิวซีแลนด แคนาดา และยุปโรป คะแนนสําหรับมหาลัยดังๆ คะแนนขั้นต่ําประมาณ 7.0 ขึ้นไป ปจจุบัน Toefl ใชระบบใหม iBT ใชในการสมัครมหาวิทยาลัยใน อเมริกา คะแนนสําหรับ มหาลัยดังๆ คะแนนขั้นต่ําประมาณ Toefl (iBT) 100 ขึ้นไป ซึ่งขึ้นอยูกับมหาวิทยาลัยวาตองการผลการทดสอบภาษาอังกฤษแบบไหน บางมหาวิทยาลัย ใชทั้งสองมาตรฐาน บางแหงยอมรับแคมาตรฐานเดียว


201

จดหมาย Recommendation Letter มหาวิทยาลัยสวนใหญจะกําหนดไววา ในการสมัครตองใช Recommendation Letter จํานวน 3 ฉบับ ดังนั้นจะแบงออกเปน 2 กรณี กรณีเรียนจบแลวเรียนตอปริญญาโทเลย ดังนั้น จะใช Recommendation Letter จากอาจารยที่สอนในระดับปริญญาตรีทั้ง 3 ฉบับ แนะนําให 2 ฉบับแรกใหอาจารยที่ปรึกษา และอาจารย ที่สอนเราวิชาไหนก็ไดเขียน สวนฉบับที่ 3 อาจจะใหอาจารยทมี่ ีตําแหนงสูงๆในคณะ ที่เราเคยเรียนกับทาน แตควรใหอาจารยที่มีเวลาในการเขียนเพราะ Recommendation Letter เปนสวนหนึ่งในการพิจารณาในการคัดเลือกเขาเรียน กรณีเรียนจบแลวทํางานกอนเรียนตอปริญญาโท จะใช Recommendation Letter จากอาจารยที่สอนในระดับปริญญาตรี 2 ฉบับ และอีก 1 ฉบับจากหัวหนางาน เพื่อใหไดขอมูลเพิ่มตอนในการทํางาน วาเรามีความขยันตั้งใจทํางานอยางไร ควรจะเปนหัวหนาโดยตรง ซึ่งทําใหลงรายละเอียดไดดียิ่งขึ้น สิ่งที่สําคัญคือ อาจารยหรือหัวหนางาน ที่เปนศิษยเกาของมหาวิทยาลัยที่เราจะไปสมัคร นั้นเขียน Recommendation Letter จะทําใหมีน้ําหนักมากขึ้น เพราะอยางนอยอาจารยหรือ หัวหนางานนั้นสามารถบอกไดวาเราเหมาะสมและสามารถเรียนกับมหาวิทยาลัยนั้นไดหรือไม Essay โดยปกติ Essay จะนิยมใชในกรณีสมัคร Business School โดยกําหนดไว 2 หนาถึง 4 หนา อธิบาย บรรยายเกี่ยวกับตัวเรา ประวัติสวนตัว ประวัติการทํางาน แสดงถึงแนวความคิดตางๆ หรือเปาหมายในอนาคต เพื่อใชประกอบการพิจารณาการคัดเลือกผูสมัครเขาเรียน วามีวิสัยทรรศน อยางไรเหมาะกับ มหาวิทยาลัยหรือไม คะแนนเฉลี่ย GMAT หรือ GRE ในการสมัครเรียนตอ ทางดานวิศวกรรมจะตองใชคะแนน GRE สวนทางดานบริหาร จะใชคะแนน GMAT ซึ่งแตละมหาวิทยาลัยจะกําหนดเกณฑขั้นต่ําไว แตไมไดหมายความวา ถาคะแนนผานเกณฑจะสามารถผานเขาเรียนไดเลย คะแนนควรจะสูงกวาหรือเทากับเกณฑเฉลี่ยของ นักศึกษาที่สามารถเขามหาวิทยาลัยนั้นๆได จะทําใหมีโอกาสสูง เชน คะแนนเฉลี่ย GMAT อยูที่ 690 ดังนั้นถาได 700 ก็คือวามีโอกาสสูง โดยสามารถคนหาจาก Google โดยคนหาคําวา Average GMAT Score หรือ Average GRE Score


202

เรียงตามคะแนน GMAT Average ของ B-School TOP 25 ป 2012 อางอิงจาก BusinessWeek Ranking 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

University Indian Institute of Management, Bangalore INSEAD University of California, Berkeley University of Virginia Duke University University of Michigan, Ann Arbor Yale University Cornell University Carnegie Mellon University New York University University of California, Los Angeles University of Oxford ESIC Business & Marketing School Emory University University of Texas, Austin IMD University of North Carolina, Chapel Hill Washington University, St. Louis University of Southern California University of Cambridge University of Notre Dame Georgetown University University of Rochester University of Iowa ESADE Business School

GMAT Score 718 692 692 691 690 688 687 686.38 684 678 677 671 670 669 668 668 666 666 665 664 664 661 659 658 658

วันเปดรับสมัครเมื่อไหร วันปดรับสมัคร เอกสารที่ตองใช คาเลาเรียน และคาใชครองชีพใน แตละประเทศ


203

ทุนการศึกษา ทุนการศึกษามีหลายประเภท และมีเยอะมาก แตละทุนมีเงื่อนไขที่แตกตางกัน เชน ทุนเต็ม จายคาเลาเรียน คาที่พัก คาอาหารให บางทุนจายแคคาเลาเรียน หรือ บางทุนใหแตคาทําวิจัย โดยแบงออกเปนประเภทใหญๆไดดังนี้ 1. ทุนการศึกษาพระราชทาน ทุนรัฐบาลไทย ทุนขาราชการ ทุนหนวยงานของรัฐ เปนทุนใหนักศึกษาเรียนตอระดับปริญญาโท และเอก โดยครอบคลุมคาเลาเรียน คาใชจายตาง คาที่พัก หรือ ทุนสําหรับวิจัย โดยบางทุนอาจจะตองมีการกลับมาใชทุน หรือทุนใหเปลา ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของทุน เชน ทุนการศึกษาพระราชทาน ทุนรัฐบาลไทย ทุนสํานักงาน ก.พ. ทุน สกอ. ทุน สกว. ทุนวิจัย สวทช. ทุนวิจัยแหงชาติ ฯลฯ ตัวอยาง เชน ทุนพระราชทาน (King & Queen Scholarship) ใหนักศึกษาเรียนตอปริญญาโท หรือ เอก ฟรี ที่สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย และใหคาใชจายตอเดือน เดือนละ 10,000 บาท จนจบการศึกษา 2. ทุนรัฐบาลตางประเทศ ทุนของรัฐบาลตางประเทศขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวางประเทศไทยกับประเทศนั้นๆ โดยหนวยงานที่ดูแลทุน ก็คือ สถานทูตประเทศนั้นๆประจําประเทศไทย โดยเกือบทุกประเทศจะมีทุน ใหคนไทย ศึกษาตอประเทศนั้นๆ สวนหลักเกณฑตางๆ ขึ้นอยูกับขอกําหนดของสถานทูต เชน ทุนไอเฟล ของประเทศฝรั่งเศส 3. ทุนสถาบันการศึกษาและ ทุนเอกชน เชน ทุนมหาวิทยาลัย, ธนาคารกสิกร, SCG Engineer & Sciene ในการศึกษาตอ สาขาวิศวกรรมศาสตร ตองใชคะแนน GRE ในการยื่นสมัครเรียนแบงยอยไดหลายสาขาวิศวกรรม ไดดังนี้ 1. Computer Engineer • ARWU (Engineering 2013) • Times Higher Education (TOP 50 ENGINEERING AND TECHNOLOGY UNIVERSITIES 2013-2014) • US NEWS 2013 (US Only) • NTU Ranking 2. Financial Engineer • Quantnet 2013


204

3. Computer Sciene • ARWU (Computer Sciences 2013) • QS WORLD UNIVERSITY RANKINGS (Computer Science & Information Systems Rankings 2013) • US NEWS (US Only 2010) • The Complete University Guide (US Only 2014) MBA ในการศึกษาตอ สาขาบริหารธุรกิจ ใชคะแนน GMAT ในการยื่นสมัครเรียน แตบางมหาวิทยาลัยก็ไมไดบังคับไว แตสวนมากจะใช Essay ในการพิจารณา มหาวิทยาลัยในอังกฤษ สวนมากใชระยะเวลาในการศึกษาเพียง 1 ป ซึ่งจะแตกตางกับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา จะใชระยะเวลาในการศึกษา 2 ป • • • • •

Financial Times 2013 BusinessWeek 2012 ARWU (Economic Business 2013) US NEWS 2013 (US Only) The Complete University Guide (US Only 2013)


205

อางอิง http://th.wikipedia.org/wiki/วิศวกรรมคอมพิวเตอรhttp://en.wikipedia.org/wiki/History_of_co mputing_hardware http://www.ce.kmitl.ac.th/curriculum/Curriculum_bachelor_computer52.pdf http://www.cp.eng.chula.ac.th/~boonserm/ http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/ http://www3.reg.kmitl.ac.th/subjectweb/Subjectweb.php http://itschool.mfu.ac.th/~supichaya/?p=312 http://www.cekmitl.net/index.php?PHPSESSID=453a2c02ced269df0812e33cfd772c2f;www CE Guidance อาจารยธนา หงษสุวรรณ และ อาจารยจิระศักดิ์ สิทธิกร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.