กว่าจะเป็นวิศวกรคอมพิวเตอร์ (demo2)

Page 1

กวาจะเปนวิศวกรคอมพิวเตอร 1 First Edition

นังสือเลมนี้สามารถ คัดลอก ดัดแปลง แจกจายไดตามอัธยาศัย หามจําหนาย ‘Cell’, Initial concept design by James Alliban and Keiichi Matsuda. Photograph by Ghaasan Daghestani


3

สารบัญ วิศวกรรมศาสตร มีสาขาอะไรบาง

หนา 4

ประวัติคอมพิวเตอร

10

ขอแตกตางระหวาง Com Eng, Com Sci, SE Eng, IT Eng, IT

18

รายชื่อมหาวิทยาลัย ที่เปดสอน

25

หลักเกณฑ การเขาศึกษาตอ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

28

คะแนน Adminission วิศวกรรมคอมพิวเตอร 4 ป ลาสุด

31

คายวิศวกรรมคอมพิวเตอร

34

กาวแรกในรั้วมหาวิทยาลัย

40

โครงสรางหลักสูตร วิศวกรรมคอมพิวเตอร

43

วิธีเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร

45

รายละเอียด กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน

48

รายละเอียด กลุมวิชาเลือกเฉพาะสาขา

97

กลุมวิชาเลือกสาขาเครือขาย

167

เกียรตินิยม (Honor) การภาคทัณฑ (Probation) และ การพนสภาพการเปนนักศึกษา (Retire)

181

เครื่องมือที่ใชในการเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร

183

หองวิจัย วิศวกรรมคอมพิวเตอร

184

IT Certificate สําหรับ วิศวกรรมคอมพิวเตอร

185

จบวิศวกรรมคอมพิวเตอร แลวทํางานอะไร

191

ศีกษาตอระดับปริญญาโท เอก

194

อางอิง

204


18

ขอแตกตางระหวาง Com Eng, Com Sci, SE Eng, IT Eng, IT ขอแตกตางของ วิศกรรมคอมพิวเตอร (Com Eng) วิทยาการคอมพิวเตอร (Com Sci) วิศวกรรมซอฟตแวร (Soft Eng) วิศวกรรมสารสนเทศ (IT Eng) เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) สิ่งแรกที่ตองเขาใจคือ นักวิทยาศาสตรและวิศวกร นักวิทยาศาสตรคือ คนที่ศึกษาเกี่ยวกับ ปรกกฏการธรรมชาติ เชน ฝนตก ฟารอง ฟาฝา พายุ ฤดูกาล ฯลฯ แลวคิดทฤษฏีตางๆขึ้นมา เชน ทฤษฏีแรงโนมถวงของโลก ทฤษฏีแสง ทฤษฏีไฟฟา ฯลฯ วิศวกร คือ คนที่นําทฤษฏีตางๆมาประยุกต และสรางสิ่งประดิษฐขึ้นมา เชน นําทฤษฏีแรง โนมถวงมาสรางเครื่องบิน นําทฤษฏีไฟฟา มาสรางหมอแปลงไฟฟา ฯลฯ ซึ่งจะสังเกตเห็นความแตกตาง อยางชัดเจน ระหวางนักวิทยาศาสตรและวิศวกร จากนั้นมาดูเรื่องขอแตกตางในวิชาเรียน วิทยาการคอมพิวเตอร จริงๆควรจะเรียนเรื่องเกี่ยวกับทฤษฏีตางๆ ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร เชน ทฤษฏีการคนหาขอมูล ทฤษฏีการเรียงขอมูล ทฤษฏีการคํานวณ ฯลฯ แตเนื่องจากถาเรียนแบบนั้น คงจะเปนไดแค นักวิจัยกับอาจารยมหาวิทยาลัย จึงตองมีการประยุกตใหเขากับตลาดแรงงานดวย ซึ่งทําใหเรียนเนนไปทางดานวิทยาศาสตร ดานการออกแบบโปรแกรม ดานฐานขอมูล ดานระบบ ปฏิบัติการ และดานปญญาประดิษฐ สังเกตไดวาจะไมมีวิชาเกี่ยวกับทางดานระบบเครือขาย มากนัก และไมมีทางดานวิศวกรรมเลย เชน คํานวณและออกแบบวงจรไฟฟา คํานวณและออกแบบ วงจรอิเล็กทรอนิกส วิศกรรมคอมพิวเตอร เรียนดานคณิตศาสตร คํานวณและออกแบบวงจรไฟฟา วงจรอิเล็กทรอนิกส สมองกลฝงตัว การเขียนโปรแกรม การจัดการฐานขอมูล และระบบเครือขาย วิศกรรมสารสนเทศ เรียนเกือบเหมือนวิศกรรมคอมพิวเตอร แตจะเพิ่มทางดานโทรคมนาคมเขามา สวนเทคโนโลยีสารสนเทศ คลายๆวิทยาการคอมพิวเตอร แตจะเพิ่มทางดาน วิชาทางดานเครือขายคอมพิวเตอร และเพิ่มวิชาทางดานสารสนเทศและธุรกิจ เชน พื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ พื้นฐานทางธุรกิจสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เศรษฐศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ สรุปคือ ถาอยากเรียนออกแบบโปรแกรมและวิทยาศาตร ใหเลือกเรียน วิทยาการคอมพิวเตอร แตอยากเรียนออกแบบโปรแกรมเพรียวๆ ใหเลือกเรียนวิศวกรรมซอฟตแวร หากอยากเรียนทางดานวิศวกรรมดวย ก็ใหเลือกเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร หรือ วิศวกรรมสารสนเทศ


19

สวนหากอยากเรียน ออกแบบโปรแกรมที่มีความรูพื้นฐานทางดานธุรกิจดวย ก็ใหเลือกเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศ ความแตกตางในเรื่องตัวเนื้องาน The Association for Computing Machinery (ACM) ซึ่งเปนองคกรที่ยอมรับทางดาน เทคโนโลยี และมีสมาชิกทั่วโลก ระบุไวใน Computing Curricula 2005 The Overview Volume on Undergraduate Degree Programs in Computing ถึงความแตกตางของแตละสาขา อยางชัดเจน ดังรูป

ในชวงกอน ค.ศ. 1990 การเรียนสาขาวิศวกรรมและวิทยาศาสตรนั้น เนื้อหาแยกกันอยาง ชัดเจน โดยเนื้อหาวิชาเรียนทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสศึกษาเฉพาะ Hardware สวนวิทยาศาสตรศึกษาเฉพาะ Software แตหลักจาก ค.ศ.1990 จะเห็นวาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนสวนผสมระหวาง Hardware และ Software แตวิทยาการคอมพิวเตอรเรียนเฉพาะ Software สวนเทคโนโลยีสารสนเทศจะเนนความตองการขององคกร คือ มีความรูทางดานบริหารธุรกิจเขามา เกี่ยวของ


20


45

วิธีเรียน วิศวกรรมคอมพิวเตอร ในการคิดคะแนนเกรด ของระดับมหาวิทยาลัย จะคิดคะแนนอิงกลุม คือดูคะแนนเฉลี่ย (Mean Score) วิธีดูคราวๆคือ ถาไดต่ํากวา คะแนนเฉลี่ยมากๆ มีโอกาศได F แตถาไดสูงมากๆ ก็มี โอกาสได A ทําใหบางครั้ง 70 คะแนน ก็อาจไดเกรด A ถาเกณฑเฉลี่ยของคะแนนในวิชานั้นต่ํา หรือ คะแน 80 คะแนน ก็อาจไดแค B+ ถาเกณฑเฉลี่ยคะแนนของวิชานั้นสูงกันมาก บางวิชาเปนวิชาพื้นฐาน ดังนั้นบางครั้งอาจจะเรียนวิชาเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย เชน Math 1, Foundation English 1 ทําใหวิธีการคิดคะแนน จะคิดคะแนนรวมกันทั้งมหาวิทยาลัย ไมมีการ แยกคณะ หรือ สาขา ทําใหตองดูคะแนนตอนกลางภาค วาไดต่ํากวาคะแนนเฉลี่ย (Mean Score) เยอะไหม หรือมากกวาคะแนนเฉลี่ยเยอะไหม ก็พอจะคาดเอาอนาคตได วาตองเตรียมตัวสอบ ในปลายภาคแคไหน และในบางมหาวิทยาลัย นักศึกษาวิศวกรรมศาสตรป 1 จะแบงหองเรียงตามตัวอักษร เนื่องจากป 1 จะเรียนวิชาบังคับพื้นฐานเหมือนกันทุกภาควิชา ทําใหแตละหองไดเรียนกับเพื่อนตาง ภาควิชาเปนเวลา 1 ป กอนยายเขาภาควิชาในตอนป 2 หากจะแบงวิชาเรียนตาม เนื้อหาสามารถแบง วิชาเรียนออกเปน 2 ประเภท 1. วิชาเรียนมีแตทฤษฏี 2. วิชาเรียนมีทฤษฏีและปฏิบัติ แนนอนวิชาสายวิศกรรมสวนมาก จะมีวิชาทฤษฏีควบคูกับปฏิบัติ เพื่อใหสามารถนําทฤษฏี ที่เรียนมาทดลองใชงานจริง และนําไปประยุกตได สวนมากวิชาทฤษฏีจะมีจํานวนหนวยกิจมากกวาวิชา ปฏิบัติ เชน ทฤษฏี 3 หนวยกิจ ปฏิบัติ 1 หนวยกิจ ดังนั้นเวลาที่ปฏิบัติจริงอาจจะไมเพียงพอ แคเช็คชื่อ และอธิบายใบงาน ก็ใชเวลาเกือบๆ ครึ่งชั่วโมง บางใบงานมีหัวขอเยอะและรายละเอียดเยอะ ไมสามารถ ทําใหเสร็จในคาบปฏิบัติได ดังนั้นตองไปทดลองตอที่บานเพิ่มเติม วิชาปฏิบตั ิ เปนสวนสําคัญอีกอยางหนึ่ง เพราะถาเราเขาใจแตทฤษฏีแตไมลองปฏิบัติ จะทําใหเราไมสามารถนําไปประยุกตใชกับงานจริงได ดังนั้นควรจะทําเองใหครบทุกขอ ครบทุกใบงาน ยิ่งทําเองเทาไหรเวลาสอบปฏิบัติ ก็จะยิ่งงายขึ้นเทานั้น เพราะเวลาสอบปฏิบัติก็คือใบงานตั้งแต ใบงานแรก จนถึงใบงานสุดทายมารวมกันเปนขอสอบและเพิ่มเติมหรือดัดแปลงเล็กๆนอยๆนั่นเอง ขอเสียอยางหนึ่งของวิชาปฏิบัติที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอรคือ เนื่องจากเปนการเขียนโปรแกรม สามารถกอปงานสงได เพราะใบงานเดียวกัน คําถามเดียวกัน ทําใหบางคนคิดวา แคใหเพื่อนทําเสร็จแค คนเดียวก็พอ ทีเหลือก็รอกอปสงกันเอา จึงทําใหเวลาสอบไมสามารถทําเองได เพราะวาเวลาสอบจะตอง


48

รายละเอียด กลุมวิชาวิศวกรรมพื้นฐาน คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 ENGINEERING MATHEMATICS 1 คําอธิบายรายวิชา ลิมิต ความตอเนื่อง อนุพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และสูตร อนุพันธของฟงก ชันเชิงกําลังฟงกชันพหุนาม ฟงกชันเลขชี้กําลัง ฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันลอการิทึม ฟงกชันตรีโกณ มิติผกผัน และฟงกชันโดยปริยายกฎการหาอนุพันธ กฎผลคูณ กฎผลหาร กฎลูกโซ ฯ รูปแบบยังไม กําหนด ปริพันธของฟงกชันที่นิยามโดยกราฟ ตาราง และสูตร ทฤษฎีพื้นฐานของแคลคูลัส ตระกูลเสน โคงแบบพาราเมตริก การหาคาเหมาะที่สุด เทคนิคของปริพันธ ปริพันธไมตรงแบบ การลูเขาและการลู ออกของปริพันธ ระเบียบวิธีเชิงเลขของปริพันธ การประยุกตของปริพันธ สมการเชิงอนุพันธเชิงเสน อันดับหนึ่ง อันดับสอง ที่มีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบเอกพันธ และมีสัมประสิทธเปนคาคงตัวแบบ ไมเอกพันธ การประมาณคาของฟงกชันโดยใชพหุนามเทเลอร อุปนัยเชิงคณิตศาสตร ลําดับ อนุกรม อนุกรมเทเลอร อนุกรมกําลัง อนุกรมฟูริเยร Limits, Continuity. Derivatives of functions defined by graphs, tables and formulas. Differentiation of power, polynomial, exponential, trigonometric, logarithmic, inverse trigonometric functions and implicit differentiation. Differentiation rules: product rule, quotient rule, chain rule, etc. Indeterminate form. Integral of functions defined by graphs, tables and formulas. Fundamental theorem of calculus. Parameterized families of curves. Optimization.Techniques of integration. Improper integrals. Convergence and divergence of integrals. Numerical methods of integration. Applications of integration. First and second order linear constant coefficient homogeneous and inhomogeneous differential equations. Approximation of functions by means of Taylor polynomials. Mathematical Induction. Sequences. Series. Taylor series. Power series. Fourier series. หนังสืออางอิง Calculus: Single and Multivariable, 5th Edition, Hughes-Hallett, Gleason, et al. เนื้อหา เรียนสัปดาหที่ 1


194

ศีกษาตอระดับปริญญาโท เอก การเรียนตอ สามารถเรียนตอไดทั้งในและตางประเทศ โดยสามารถเรียนตอ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร โดยจะตองจบระดับปริญญาตรีในสาขาที่เกี่ยวของเชน วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมระบบควบคุม วิศวกรรมการวัดคุม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร สถิติประยุกต คณิตศาสตรประยุกต ฟสิกสประยุกต หรือสาขาที่ผานการพิจารณาเห็นชอบจากบัณฑิตวิทยาลัย แตถาหากจบสาขาที่ไมเกีย่ ว ของเลย เชน จบบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร สถาปตยกรรม จะไมสามารถเรียนตอระดับปริญญา โทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรได ศึกษาตอในประเทศ Computer Engineer มหาวิทยาลัยเกือบทุกแหง ที่มีหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร จะมีหลักสูตรปริญญาโทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร แตมีเพียงไมกี่ที่ ที่มีหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยวิชาเรียนจะมีเนือ้ หาคลายๆกับระดับปริญญาตรี แตจะมีเนื้อหาเพิ่มเติมและเจาะลึกขึ้น และมีการทําวิจัย ในเรื่องที่สนใจ Electrical Engineer ในมหาวิทยาลัยบางแหง มีการรวมสาขาวิศวกรรมไฟฟา และ วิศวกรรมคอมพิวเตอร ไวเปนสาขาเดียวกัน เนื่องจากมีความใกลเคียงในดานวิชาการ ทําใหเมื่อจบออกมาไดรับวุฒิทาง ดานไฟฟา แตตัววิจัยก็ยังคงเกี่ยวเนื่องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร Financial Engineer วิศวกรรมการเงิน เรียนเกี่ยวกับดานนวัตกรรมการเงิน ออกแบบและใชเครื่องมือทางการเงิน แบบใหมๆ โดยใชการคํานวณทางคณิตศาสตรขั้นสูงมาประยุกต เพื่อนํามาวิเคราะหแนวโนมคา ทางการเงินตางๆ วิชาเรียนจะเนนหนักไปทางดานคณิตศาสตร วิศวกรรมการเงิน เปนหลักสูตรใหม ที่มีในประเทศไทย ซึ่งไมไดอยูภายใตคณะ วิศวกรรมศาสตร ซึ่งสภาวิศวกรของประเทศไทย และ Accreditation Board for Engineering and Technology (ABET) ไมใหการรับรองวาวิศวกรรมการเงินเปนสาขาทางดานวิศวกรรม เนื่องจากมองวาไมเกี่ยวของกับสายวิศวกรรมเลย แตเปนการนําวิทยาศาสตร คณิตศาสตรมาประยุกตใช


204

อางอิง http://th.wikipedia.org/wiki/วิศวกรรมคอมพิวเตอรhttp://en.wikipedia.org/wiki/History_of_co mputing_hardware http://www.ce.kmitl.ac.th/curriculum/Curriculum_bachelor_computer52.pdf http://www.cp.eng.chula.ac.th/~boonserm/ http://www.cp.eng.chula.ac.th/~piak/ http://www3.reg.kmitl.ac.th/subjectweb/Subjectweb.php http://itschool.mfu.ac.th/~supichaya/?p=312 http://www.cekmitl.net/index.php?PHPSESSID=453a2c02ced269df0812e33cfd772c2f;www CE Guidance อาจารยธนา หงษสุวรรณ และ อาจารยจิระศักดิ์ สิทธิกร

Contract me Hungryman


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.