การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค (TECHNICAL ANALYSIS)

Page 1

สําหรับการวิเคราะหปจจัยทางเทคนิคนั้น เปนแนวทางที่อาศัยการวิเคราะห - การเคลื่อนไหวของราคา - ปริมาณการซื้อขาย ของหลักทรัพยในอดีตที่ผานมา เพื่อคาดการณถึงแนวโนมของราคา รวมถึงระดับราคาที่ควรจะซื้อหรือขาย ทั้งในระยะสั้น ระยะ กลาง และระยะยาว

Bar

Candle Sticks


เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ MOVING AVERAGE (MA) หลักการคํานวณคาเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบพื้นฐาน ทําไดโดยนําราคาของวันปจจุบันและวันกอนหนานี้มารวมกัน แลวหารดวย จํานวนวันที่ตองการเฉลี่ยทั้งหมด ซึ่งจะขึ้นอยูกับเสนคาเฉลี่ยนั้นวา จะนํามาใชในการวิเคราะหแนวโนมในระยะสั้น กลาง หรือ ระยะยาว

ชวงเวลาที่ใช ปจจุบันชวงเวลาที่นิยมใชในการแบงกลุมของผูลงทุน คือ 10 วัน (2 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะสั้น 25 วัน (5 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะคอนขางปานกลาง 75 วัน (15 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะกลาง 200 วัน (40 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะยาว การหาสัญญาณซื้อ-ขายโดยใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที(่ สําหรับนักลงทุนรายยอย)

1. 2. 3. 4. 5.

เสนคาเฉลี่ย 5วัน ทะลุเสนคาเฉลี่ย 10วัน ขึ้นมาซื้อบางสวน (60% ของที่ตองการซื้อ) เสนคาเฉลี่ย 5วัน ทะลุเสนคาเฉลี่ย 25วัน ขึ้นมาซื้อเพิ่ม (40%ของที่ตองการซื้อ) เสนคาเฉลี่ย 5วัน ตัดเสนคาเฉลี่ย 10วัน ลงมาขายบางสวน (60% ของที่ซื้อมา) เสนคาเฉลี่ย 5วัน ตัดเสนคาเฉลี่ย 25วัน ลงมาขายทั้งหมด (40% ของที่ซื้อมา) ขายตัดขาดทุนเมื่อเสนคาเฉลี่ย 5วัน ทะลุเสนคาเฉลี่ย 10วัน ขึ้นมาแตไมสามารถทะลุ เสนคาเฉลี่ย 25วัน ขึ้นมาไดแตกลับตัดเสนคาเฉลี่ย 10วัน ลงมา

6. แนวโนมขาขึ้นเสนคาเฉลี่ย 25วัน แนวรับที่ดี 7. แนวโนมขาลงเสนคาเฉลี่ย 25วัน แนวตานที่ดี


MOVING AVERAGES CONVERGENCE/ DIVERGENCE คาเฉลี่ยเคลื่อนที่รวมทาง / แยกทาง วิธีการคํานวณ เสน MACD สรางขึ้นโดยใชความตางระหวางเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 2 เสน โดยที่เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่เสนหนึ่ง ใชระยะเวลาใน การคํานวณยาวกวาเสนคาเฉลี่ยฯ อีกเสนหนึ่ง และเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 2 เสนนี้ นิยมใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบ EXPONENTIAL สวนจํานวนวันที่นํามาหาคาเฉลี่ย ก็อาจเปลี่ยนแปลงได แตที่นิยมใชกันทั่วไปคือ 12 วัน และ 25 (หรือ 26 วัน) การใหสัญญาณซื้อขายที่นิยมวิธีหนึ่งของ MACD คือ การใชสัญญาณ (SIGNAL LINE) ตัดกับ เสน MACD

หลักการวิเคราะห 1. ถา MACD มีคาเปนบวก แสดงวาราคาหุนอยูในแนวโนมขึ้นระยะกลาง 2. ถา MACD มีคาเปนลบ แสดงวาราคาหุนอยูในแนวโนมลงระยะกลาง 3. ถา MACD ทะลุเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ขึ้นไป แสดงวาราคาหุนมีแนวโนมสูงขึ้น เปนสัญญาณซื้อ (BUY SIGNAL)

4. ถา MACD ตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ลงมา แสดงวาราคาหุนมีแนวโนมลดลง เปนสัญญาณขาย (SELL SIGNAL)

5. ถา MACD มีคาเปนบวก แตตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ลงมา แสดงวาราคาหุนกําลังมีแนวโนมชะลอการลง หรือปรับตัวขึ้นชวงสั้น

6. ถา MACD มีคาเปนลบ แตตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ขึ้นไป แสดงวาราคาหุนกําลังมีแนวโนมชะลอการลง หรือปรับตัวขึ้นชวงสั้น

7. ถา MACD มีคาเปนบวก และอยูในระดับสูงใกลเคียงกับยอดเกา แสดงวาราคาหุนมีโอกาสที่จะทรงตัวหรือปรับตัว ลดลง

8. ถา MACD มีคาเปนลบ และอยูในระดับต่ําใกลเคียงกับฐานเกา แสดงวาราคาหุนมีโอกาสที่จะทรงตัวหรือปรับตัว สูงขึ้น

9. ถา MACD และเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) มีคาเปนบวก แสดงวาตลาดเปนตลาด BULL 10. ถา MACD และเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) มีคาเปนลบ แสดงวาตลาดเปนตลาด BEAR


RSI : RELATIVE STRENGTH INDEX เครื่องมือดัชนีกําลังสัมพัทธ RSI เปนเครื่องมือที่นํามาใชวัดการแกวงตัวของราคาหุน สําหรับการลงทุนในชวงหนึ่ง เพื่อดูภาวะการซื้อมากเกินไป (OVERBOUGHT) หรือขายมากเกินไป (OVERSOLD) โดยใชระดับเหนือ 70% บอกภาวะ OVERBOUGHT และระดับต่ํากวา 30%

บอกภาวะ OVERSOLD และยังใชเปนสัญญาณเตือนวา แนวโนมของราคาหุนที่กําลังมีทิศทางขึ้นหรือลงนั้น กําลังใกลจะออนตัว ลงหรือยัง โดยมีสัญญาณเตือนที่แสดงออกมาในรูปแบบของการแยกทางออก (DIVERGENCE) ระหวางราคาหุนกับ 14 RSI ระดับซื้อมากเกินไปและขายมากเกินไป (OVERBOUGHT & OVERSOLD) ระดับ “การซื้อมากเกินไป” ของ 14 RSI อยูที่บริเวณระดับสูงเกิน 70% สวนระดับที่มีการขายมากเกินไปอยูต่ํากวา บริเวณ 30% และมีกฎวาถาเสน 14 RSI ลดต่ําลงมามากเทาใดจะทําใหเกิดภาวะ OVERSOLD ซึ่งโอกาสที่ราคาหุนจะตีกลับขึ้นไป ในลักษณะการ “ปรับตัวทางเทคนิค” มีอยูสูง ในทางกลับกัน ถาเสน 14 RSI วิ่งสูงขึ้นจนเขาไปในเขต OVERBOUGHT แลว โอกาส ที่ราคาหุนจะมีการปรับตัวลงก็มีเชนเดียวกัน เหมาะใชในการวิเคราะหเพื่อการซื้อขายในระยะยาว

การใช 14 RSI ในการวิเคราะหแผนภูมิราคา 1. เมื่อ RSI ต่ํา 30 (เขตขายมากเกินไป OVERSOLD) แลวกลับตัวอยูเหนือ 30 ขึ้นมา ซื้อ 2. เมื่อ RSI เหนือ 70 (เขตซื้อมากเกินไป OVERBOUGHT) แลวกลับตัวตกต่ํากวา 70 ลงมา ขาย 3. การดูแนวหนุนและแนวตาน บางครั้ง RSI จะแสดงระดับของแรงหนุน-แรงตานไดชัดเจนกวาแผนภูมิราคา โดยการใช

เครื่องมือวิเคราะหแนวโนม เชน TRENDLINES, MOVING AVERAGES 4. การแยกทางออกจากกันระหวางราคากับ RSI 5. ดูการเหวี่ยงตัวของ 14 RSI ที่ไมเปนไปตามเปาหมาย (FAILURE SWING) โดยการตวัดกลับครั้งตอไปไมประสบ ความสําเร็จ โดยเฉพาะในบริเวณเขต OVERBOUGHT หรือ OVERSOLD


STOCHASTICS สโตแคสติกส STOCHASTICS คือ ดัชนีวัดการแกวงตัวของราคาที่ศึกษาความสัมพันธ การเคลื่อนไหวของราคาในชวงเวลาหนึ่ง ๆ

กับราคาปด โดยมาจากขอสังเกตที่วา ถาการสูงขึ้นของราคาหุนนั้นมีแนวโนมสูงขึ้นตอไป ราคาปดของหุนนั้นจะอยูใกลกับ ราคาสูงสุด แตถาราคาของหุนมีแนวโนมลดต่ําลง ราคาปดจะอยูในระดับเดียวกับราคาต่ําสุดของวัน เหมาะใชในการวิเคราะห เพื่อการซื้อขายในระยะสั้น เครื่องมือ STOCHASTICS ประกอบดวย เสน %K เปนเสน STOCHASTICS เสน %D เปนเสนคาเฉลี่ยของเสน %K

หลักการอาน STOCHASTICS 1. เมื่อ %K ต่ํา 20 (เขตขายมากเกินไป OVERSOLD) แลวกลับตัวอยูเหนือ 20 ขึ้นมา ซื้อ 2. เมื่อ %K เหนือ 80 (เขตซื้อมากเกินไป OVERBOUGHT) แลวกลับตัวตกต่ํากวา 80 ลงมา ขาย 3. เมื่อขึ้น %k อยูระหวาง 20-80 แตตอมากลับ %D ลงมา ตัดขายหยุดตัดทุน


กอนซื้อหุนตองตอบตัวเองกอน หุนตัวนี้ทํากิจการ ? ปจจัยทางพื้นฐาน -PE ? -P/BV ? -Yield ? -EPS ? ปจจัยทางเทคนิค -VOL ? -MACD ? -STOCH ? -RSI ? -เสนคาเฉลี่ย ? -จุดขายหยุดขาดทุนเมื่อผิดทาง (Stop LossหรือCut) ? ตอบตัวเองไดแลวซื้อ ไมซื้อเพราะชอบ ไมซื้อเพราะคิดวาถูก ไมซื้อเพราะขาววาเจาจะพาไป เทาไร การประยุคตใชใน Efinance

www.icedos.com/tw


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.