แนะนำศูนย์กลางการศึกษาวิปัสนาธุระพุทธวิหาร

Page 1





ประวัติ ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร ได้ สถาปนาขึ ้นบนเนื ้อที่ธรณีสงฆ์ วัดหนองทองทราย เลขที่ ๑๐๐/๑ หมู่ ๑ ต.ดงละคร อ.เมือง จ.นครนายก ซึ่งถูกขึ ้นทะเบียนไว้ ในนามที่พกั สงฆ์ธรรมจักร ตังแต่ ้ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ โดยมี คุณแม่ ชะอุ่ม เฉลิมศักดิ์ และ แม่ ชีมาลี เฉลิมศักดิ์ สองพี่น้องที่ถวายที่ดนิ ให้ แก่ พระราชพรหมาจารย์ (พระปลัด ทอง สุมงคโล ในขณะนัน้ ) เจ้ าอาวาสวัดพระศรี จอมทอง เจ้ าคณะอาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ในปั จจุบนั ซึ่งเป็ นผู้สอน วิปัสสนากัมมัฏฐานให้ ด้ วยจุดประสงค์ต้องการทาเป็ นสานักวิปัสสนากัมมัฏฐาน พระราชพรหมาจารย์ จึงได้ ถวายเป็ น ธรณีสงฆ์ วัดหนองทองทราย แล้ วให้ ขึ ้นทะเบียนเป็ นที่พกั สงฆ์ธรรมจักรไว้ ต่อมาพระราชพรหมาจารย์ ได้ เสนอที่แห่งนี ้ ให้ พระปลัดชัชวาล ชินสโภ ซึ่งเป็ นศิษย์รูปหนึ่งของ ดร.พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัคคกัมมัฏฐานาจริยะ


พระปลัดชัชวาล และ พระมหาเหล็ก จันทสีโล จึงได้ ลงพื ้นที่สารวจอย่างละเอียด และได้ ดาเนินการสร้ าง สานักวิปัสสนากัมมัฏฐาน ตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๖ เป็ นต้ นมา สมดังเจตนารมณ์ของผู้ถวายที่ดนิ และได้ จัดทาโครงการสร้ างศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหารขึน้ เสนอ ท่ านอาจารย์ พระภัททันตะ อาสภ มหาเถระ อัคคกัมมัฏฐานาจริยะ เซ็นอนุมัตโิ ครงการให้ เมื่อวันอาทิตย์ ท่ ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ตามความ ประสงค์ และได้ ใช้ เป็ นแนวทางปฏิบตั นิ บั แต่นนเป็ ั ้ นต้ นมาจนถึงทุกวันนี ้ โดยมีการดาเนินการหลักๆ คือ  ดาเนินการด้ านการเรียนการสอนวิปัสสนาธุระในระดับหวังผล  ดาเนินการด้ านการศึกษาค้ นคว้ าพระไตรปิ ฎกอย่ างจริงจัง  ดาเนินการด้ านการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาอย่ างถูกต้ อง ต่อมาเมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๒ ศูนย์ฯ ได้ รับเลือกให้ เป็ น ศูนย์ พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ กระทรวงการศึกษาธิการ ประจาจังหวัดนครนายก และได้ ทาการเปิ ดเป็ น ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร อย่างเป็ นทางการในวันวิสาขบูชาที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๑๕๔๕ และถือเอาวันวิสาขบูชาของทุกปี เป็ นวันสถาปนาศูนย์ฯ อย่างเป็ นทางการ เพื่อการระลึกถึงและ ยึดมัน่ ในคาสัง่ สอนขององค์พระสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า


พุทธฺ วิหาร ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร ศูนย์ พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ กระทรวงศึกษาธิการ ประจาจังหวังนครนายก วัดพระธรรมจักร มูลนิธิพุทธวิหาร เลขที่ ๑๐๐/๑ หมู่ ๑ ตาบลดงละคร อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก ๒๖๐๐๐ โทร. (๐๓๗) ๓๓๓-๓๑๓, ๐๘๑-๙๒๔-๔๔๒๙



คาปรารภ (ในการจัดพิมพ์ ครัง้ ที่ ๑) เมื่อพูดถึงการศึกษาแล้ ว การศึกษามีความสาคัญกับทุกชีวติ มาก ไม่ใช่แต่เพียงชีวิตมนุษย์เท่านัน้ แม้ สตั ว์ ทังหลายที ้ ่ไม่ใช่มนุษย์ ก็มีการศึกษาเพื่อพัฒนาตัวของมันด้ วย เพียงแต่การศึกษาของพวกมันมีขีดความสามารถจากัดกว่า มนุษย์ เพียงแค่ให้ ชีวติ ของมันดารงอยู่ได้ ในโลกเท่านัน้ ต่างไปจากการศึกษาของมนุษย์ ซึ่งมีปัญญาและความฝั นอันไร้ ขอบเขต มีศกั ยภาพสูงกว่าสัตว์ การศึกษาจึงไม่มีขีดจากัด ยกเว้ นมนุษย์จะเป็ นผู้จากัดขอบเขตขอบข่ายจุดประสงค์ เป้าหมายผลลัพธ์ วุฒิภาวะ เงื่อนไข และเวลาเหล่านี ้ขึ ้นเอง แต่ถึงกระนัน้ ถ้ าพิจารณาให้ ดีโดยถี่ถ้วนรอบคอบแล้ ว จะเห็น ได้ วา่ การศึกษาของมนุษย์ก็เป็ นไปเพื่อการดารงชีวติ ให้ เป็ นอยู่ในโลกได้ เหมือนกันกับสัตว์ เพียงแต่เป็ นการดารงความ เป็ นอยู่ในสังคมของมนุษย์ที่ใหญ่กว้ างกว่าสัตว์เดรัจฉานเท่านัน้ การศึกษาดังกล่าวแล้ วนี ้ ทังของมนุ ้ ษย์และสัตว์ทงหลาย ั้ จึงเป็ นการศึกษาที่เป็ นวิสยั ของโลก หรื อโลกียศึกษา การศึกษาประเภทนี ้เป็ นการศึกษาไม่ร้ ูจบไม่มีจบ ต้ องสมมติให้ จบกัน ขึ ้นมาเอง เป็ นการศึกษาสมมติบญ ั ญัติ ดังแผนการศึกษาต่อไปนี ้





จะเห็นว่าการศึกษาสมมติบญ ั ญัตทิ งปวง ั ้ เวียนวนเป็ นอย่างนี ้ทังสิ ้ ้น ไม่พ้นจากนีไ้ ปได้ และไม่มีทิศทาง หรื อทีท่า ว่าจะจบลงได้ เลย เหมือนระบบลูกโซ่อนั ไม่ขาดสายฉะนัน้ ดังนันจึ ้ งขอสมมติให้ ชื่อเรี ยกว่า การศึกษาไม่ร้ ูจบ การศึกษาอีกส่วนหนึ่ง เป็ นการศึกษาเพื่อตัดวงแห่งสมมติบญ ั ญัตแิ ละวงแห่งสังสารวัฏให้ ร้ ูจกั จบสิ ้น เป็ น การศึกษาเพื่อให้ พ้นจากการดารงความเป็ นอยู่ในโลกทัง้ ปวง ทังในอบายภู ้ มิ มนุษย์ สวรรค์ พรหม เพื่อพ้ นจากวงจรแห่ง สมมติบญ ั ญัตทิ งหลาย ั้ เรี ยกว่าเป็ นการศึกษาที่พ้นวิสยั ของโลก เพื่อโลกุตรศึกษา ซึ่งการศึกษานี ้เป็ นการศึกษาที่ร้ ูจบ มี ขันตอนการจบที ้ ่แน่นอนตายตัว เป็ นการศึกษาที่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา โดยมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเป็ นผู้ค้นพบด้ วย พระองค์เอง (ตรัสรู้) แล้ วทรงสัง่ สอนแก่พทุ ธสาวกถ่ายทอดกันมาตามลาดับอย่างไม่ขาดสายเท่านัน้ ดังแผนการศึกษารู้จบ ดังต่อไปนี ้

แผนการศึกษาตถาบัญญัติ (บัญญัตติ ามปรมัตถ์ ) คน / สัตว์ (นามรูปทัง้ ปวง) ของประสม

นาม-รูป ปรมัตถ์ (อาการ+ความรู้สกึ )

สารประกอบ

นามสังขาร รูปสังขาร จิต

ธาตุ/ภาค

แต่ละอาการนาม แต่ละอาการรูป จิตแต่ละดวง

อนุภาค

ขณะจิตหยาบ (อุปาทะ ฐิติ ภัคคะ) ของแต่ละอาการและจิต (จบ)

จุลานุภาค

ขณะจิตละเอียด (นาม ๑๗ ขณะ รูป ๕๑ ขณะ) (จบ)

ตามแผนการศึกษาที่ปรากฏหลักฐานในคัมภีร์ที่พระพุทธเจ้ าทรงสอนไว้ จะเป็ นอย่างนี ้


ทัง้ ๒ แผนนี ้ เป็ นการศึกษาภาคปรมัตถ์ตามธรรมชาติที่เป็ นอยู่ จึงเพียงเห็นขณะ คือการเกิดขึ ้น ดาเนินไป และ ดับไป ของอารมณ์ หรื อนาม-รูปสังขาร (อาการ) ตามธรรมชาติเท่านัน้ ถึงแม้ วา่ จะเห็นการดับไปของนามรูปสังขารได้ ก็จริง แต่ผ้ ศู กึ ษาก็ไม่มีความสามารถที่จะเป็ นผู้ดบั ได้ หรื อเมื่อนามรูปสังขารดับเองแล้ วก็ไม่มีความสามารถที่จะป้องกันไม่ให้ รูป -


นามสังขารเกิด ได้ แต่แค่ดู แค่ร้ ู แค่เห็นเท่านัน้ พร้ อมกันนัน้ ก็ไม่มีความสามารถที่จะห้ ามจิตไม่ให้ ไปรับรู้อารมณ์ที่ปรากฏ ขึ ้นใหม่ๆ อีกด้ วย ดังนัน้ จึงยังห้ ามการเกิด ของนาม-รูปสังขาร หรื อแม้ ห้ามจิตไม่ให้ ไปรับรู้อาการของรูปนามสังขาร จึงยัง ไม่สามารถรู้จบได้ จริง ด้ วยเหตุนาม-รูปสังขารที่ดบั ไปแล้ วยังสามารถเป็ นปั จจัยให้ นามรูปสังขารใหม่เกิดได้ อยู่ คือยังสืบต่อ ได้ อยู่ เพราะผู้ศกึ ษายังไม่มีความรู้ความสามารถที่จะควบคุมจิตไม่ให้ ไปรับรู้อาการของรูปนามสังขาร ไม่สามารถดับรูป นามสังขารที่เกิดแล้ ว และไม่สามารถป้องกันรูปนามสังขารที่จะเกิดใหม่ ได้ เพียงแค่ตามดู รู้ เห็น ไปเท่านัน้ จึงมีความสาม รถเพียงแค่เห็นทุกข์และเห็นเหตุแห่งทุกข์เท่านัน้ ทุกข์กาลังดาเนินเข้ าสูก่ ารดับเพราะถูกดับไม่สามารถเห็น ดังนันการลง ้ มือปฏิบตั กิ ารดับทุกข์อย่างถูกต้ องเป็ นอย่างไรก็จะไม่ร้ ูเลย ทุกข์ก็เลยเกิดขึ ้น ดับไปตามอายุขยั และยถากรรมของเขา ไม่มี ความสามารถควบคุมไม่ให้ เกิดขึ ้นหรื อที่เกิดขึ ้นแล้ วก็ไม่สามารถขจัดให้ ดบั ไปได้ เมื่อเป็ นดังนี ้ อานุภาพของทุกข์จึงยังคง เป็ นอันตรายต่อผู้นนอยู ั ้ ่ตลอดเวลา การศึกษาเพียงเท่านี ้จึงยังไม่เป็ นประโยชน์รักษาตนให้ พ้นจากทุกข์ในอบายภูมไิ ม่ได้ ดังนันจึ ้ งยังไม่จบการศึกษาจริงๆ ยังคงเป็ นแค่สมมติให้ จบเท่านัน้ ถ้ าจะให้ จบจริงต้ องศึกษาวิธีการทาให้ มรรค ๘ องค์เกิด เพราะเมื่อทาให้ มรรค ๘ องค์เกิดได้ แล้ ว ทุกข์ก็จะดับไปเองด้ วยอานาจของมรรค ๘ องค์ ดังนันเมื ้ ่อทาให้ มรรค ๘ องค์เกิด ได้ จึงมีความสามารถทาให้ ทกุ ข์ดบั ได้ ทุกข์จึงดับได้ อริยสัจ ๔ จึงจะครบบริบรู ณ์ ทังเห็ ้ นทุกข์ เห็นเหตุเกิดของทุกข์ เห็น ทุกข์กาลังดับ และเห็นการลงมือดับทุกข์ คือ อริยมรรค ๘ องค์ กาลังประกฏขึ ้น ดังพระพุทธวจนะที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ได้ ตรัสแก่ภิกษุสงฆ์เมื่อครัง้ ประทับอยู่ที่บ้านกัมมาสธรรม แคว้ นกุรุ จารึกไว้ ในอุเทศแห่งมหาสติปัฏฐาน มูลปริ ยายวรรค มูลปั ณณาส คัมภีร์มชั ฌิมนิกาย บาลีสตุ ตันตปิ ฎก ถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องศึกษาวิธีทาให้ มรรคเกิดว่า “เอกายโน อย ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตาน วิสทุ ฺธิยา โสกปริเทวาน สมติกฺกมาย ทุกฺขโทมนสฺสาน อฏฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิ กิริยาย” แปลเอาใจความได้ วา่ “ภิกษุทัง้ หลาย มรรคเป็ นสิ่งเดียวที่จะทาให้ สัตว์ ทัง้ หลาย (เทวดา, เทพพระเจ้ า, พระเจ้ า, มาร, พรหม, และมนุษย์ ) บริสุทธิ์ได้ , ข้ ามพ้ นความโศกาอาดูลย์ ร้ องไห้ คร่ าครวญได้ ดับทุกข์ และ โทมนัสได้ บรรลุธรรมอย่ างถูกต้ องได้ นิพพานปรากฏแจ้ งชัดได้ ตัง้ แต่ ตทังคนิพพาน จนถึง สมุจเฉทนิพพาน” ดังนันการท ้ าให้ มรรค ๘ องค์เกิด จึงเป็ นจุดเริ่มต้ นของการศึกษารู้จบอย่างแท้ จริง แต่ การที่จะทาให้ มรรคเกิด และพัฒนาไปได้ อย่ างถูกทาง จะต้ องศึกษาวิชาวิปัสสนาธุระ แต่ การศึกษาวิปัสสนาธุระนัน้ จะต้ องนาสืบจาก พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเรื่อยลงมาอย่ างไม่ ขาดสายเท่ านัน้ เพราะนอกจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าแล้ ว ไม่ มีใครรู้ เองได้ โดยไม่ ผ่านครูอาจารย์ ท่ สี ืบทอดกันสืบๆ มา ไม่ สามารถทาได้ เองอย่ างถูกต้ องด้ วยการอ่ านหรือฟั งเพียง ทฤษฎีเท่ านัน้ นอกเสียจากจะเรียนปฏิบัตจิ ากครูท่ นี าสืบต่ อกันมาตามลาดับอริยวงศ์ โดยตรง ผู้เข้ าศึกษาจึง จาเป็ นต้ องรู้ข้อมูลนาเสนอบางส่วนเพื่อความเข้ าใจถูกต้ อง ดังนัน้ ศูนย์ฯ จึงได้ ทาหนังสือแนะนาศูนย์ฯ ขึ ้น เพื่อนาร่องใน เรื่ องนี ้ก่อนตัดสินใจเข้ าศึกษา ดังนันเมื ้ ่อท่านสนใจในการศึกษาวิปัสสนาธุระเพื่อหาข้ อมูลในการตัดสินใจ ข้ อความ อักษร สมัย ที่ปรากฏในหนังสือแนะนาศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระที่ท่านถืออยู่ในมือขณะนี ้ นอกจากจะจารึกเรื่ องราว เกี่ยวกับศูนย์ฯ สัญลักษณ์ศนู ย์ฯ ปรัชญาและที่ตงศู ั ้ นย์ฯ แล้ ว ยังมีความเป็ นมาของการทาหลักสูตร เงื่อนไข วัตถุประสงค์ เป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนหลักสูตรคาชี ้แจง เพื่อความถูกต้ องบางประการ เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการตัดสินใจ เลือก


ศึกษาหรื อไม่ของท่านด้ วย และเพื่อเป็ นเครื่ องมือให้ ท่านผู้เป็ นบัณฑิต ที่คดิ จะทาบุญใหญ่ด้วยการมีสว่ นร่วมเป็ นกาลัง ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ในกระบวนการขนมวลมนุษย์ด้วยเมตตาให้ ไปสูท่ างดับทุกข์ได้ ถกู ต้ อง ตามกาลังความสามารถ ของตนได้ เป็ นผลสาเร็จ หวังว่าหนังสือนี ้คงจะมีข้อมูลมากเพียงพอที่จะเป็ นเครื่ องมือให้ ท่านตัดสินใจได้ อย่างถูกต้ องด้ วยกุศลเจตนาอันดี งามนี ้ ขอความสุขสวัสดี ความสาเร็จ จงเป็ นของท่านทัง้ หลายตามปรารถนาที่ถกู ควรทุกประการ

ชินสภเถระ (ชัชวาล ชินสโภ) ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๔


คาปรารภ (ในการจัดพิมพ์ ครัง้ ที่ ๒) หนังสือแนะนาศูนย์ฯ เป็ นหนังสือสาคัญมาก ที่มีผ้ ศู รัทธาต่อการศึกษาทังหลาย ้ ใช้ เป็ นเครื่ องมือสื่อความรู้จกั กับ ศูนย์ฯ ชิ ้นแรก มีผ้ รู ้ ูจานวนมากตัดสินใจเข้ าศึกษาที่ศนู ย์ฯ เพราะหนังสือเล่มนี ้ และมีไม่น้อยที่ต้องการความรู้ที่มีในหนังสื อ เก็บไว้ เป็ นสมบัติสว่ นตัวบ้ าง ประกอบการศึกษาบ้ าง เพื่อเป็ นการเปิ ดกว้ างทางด้ านความรู้ความเห็นและแนวความคิดส่วน หนึ่ง ให้ ขยายออกแก่ปัญญาตนเองอย่างไม่ปกปิ ด หนังสือแนะนาศูนย์ฯ นี ้เคยพิมพ์มาครัง้ หนึ่งแล้ ว ในเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๔ ในครัง้ นันด้ ้ วยความรี บร้ อนจึงมี ข้ อบกพร่องจานวนมาก แต่ถึงอย่างนัน้ สารประโยชน์ในหนังสือเป็ นสิง่ ที่บณ ั ฑิตเห็นว่ามีความสาคัญมากกว่าและขอรับ หนังสือไปจนหมด ในขณะนี ้ทางศูนย์ฯ โดยมูลนิธิพทุ ธวิหารดาริที่จดั พิมพ์ขึ ้นใหม่ โดยได้ แก้ ไขปรับปรุงข้ อบกพร่องที่มีอยู่ ให้ ดีขึ ้น ถูกต้ องขึ ้น เพื่อลดความบกพร่องที่มีอยู่ให้ น้อยที่สดุ มีการปรับเปลี่ยนชื่อจากศูนย์การศึกษาฯ เป็ นศูนย์กลาง การศึกษาฯ และรูปแบบของฐานรองรับสัญลักษณ์จากจันทร์ เสี ้ยวได้ เปลี่ยนเป็ นรูปแท่นเพื่อให้ เหมาะสมยิ่งขึ ้น จะอย่างไรก็ ตาม ผู้ทามีปัญญาน้ อย มิได้ มีสติปัญญาถึงที่สดุ ถึงแม้ จะเพียรพยายามเต็มที่ ความบกพร่องคงจะยังหลงเหลือให้ พบเห็น อยู่เป็ นแน่ จึงขออภัยทุกท่านไว้ ณ ที่นี ้ด้ วย เพื่อการพิมพ์ในครัง้ ต่อไป ความบกพร่องจะได้ มีน้อยลง เมื่อท่านพบเห็นแล้ ว แจ้ งให้ ทางผู้จดั ทารับทราบด้ วยจะถือเป็ นความกรุณาที่ให้ ความร่วมมืออย่างยิ่ง หลายท่านเห็นความสาคัญ ร่วมกันแสดงความจานงขอเป็ นเจ้ าภาพในการพิมพ์เพื่อเป็ นธรรมบูชา ทางผู้จดั ทา ศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร มูลนิธิพทุ ธวิหาร และผู้เกี่ยวข้ องทุกท่าน ขออนุโมทนาบุญในครัง้ นีก้ บั ท่าน ทังหลายด้ ้ วย ขอบุญกุศลในครัง้ นี ้ จงเป็ นปั ญญาบารมีแห่งท่านทังหลาย ้ ขอคุณพระรัตนตรัยจงปกป้องคุ้มครองท่าน ให้ ปลอดภัยมีความสุขความเจริญในหน้ าที่การงาน มีความสาเร็จในการดาเนินชีวติ มีความปรารถนาสิง่ ใดโดยธรรม ขอ ความปรารถนานันจงส ้ าเร็จดังมโนรสทุกประการ เทอญ.

ชินสภเถระ (ชัชวาล ชินสโภ) ศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๕


สารบัญเรื่อง เรื่ อง

หน้ า

คาปรารภ ในการพิมพ์ครัง้ ที่ ๑

-๓-

คาปรารภ ในการพิมพ์ครัง้ ที่ ๒

-๑๒-

สารบัญเรื่อง

-๑๖-

เหตุปัจจโย

-๑๔-

๑.ชื่อ เครื่องหมายศูนย์ ฯ และที่ตงั ้ สานักงานใหญ่ ๑.๑ ชื่อศูนย์ฯ - ความหมาย ๑.๒ เครื่ องหมายศูนย์ฯ - เครื่ องหมาย - ความหมาย - กง ๒ ชัน้ - กา ๔ กา - ดุม ๓ ชัน้ - เพลา - รัศมี ๘ แฉก - ดอกบัวบาน ๓ กลีบ


- เกสรดอกบัว - เมล็ดบัว ๓ เมล็ด - อักษรคาว่า “พุทฺธวิหาร” ๑,๓ ที่ตงศู ั ้ นย์ฯ สานักงานใหญ่ ๒, หลักการและเหตุผล ๒.๑ หลักการที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงให้ ไว้ ๒.๒ การแสวงหาหลักสูตรวิปัสสนาธุระ สมัยรัชกาลที่ ๕ พุทธศักราช ๒๔๓๙ ๒.๓ วิปัสสนาธุระ เข้ าสูป่ ระเทศไทยครัง้ ล่าสุด สมัยรัชกาลที่ ๙ พุทธศักราช ๒๔๙๖ ๒.๔ กาเนิดตาราวิปัสสนาธุระในประเทศไทย ๒.๕ เหตุที่วปิ ั สสนาธุระเจริญงอกงามไม่ได้ ทงในอดี ั้ ต และ ปั จจุบนั - เหตุที่วปิ ั สสนาธุระ ไม่เกิดแก่บุคคลบางคนหรื อบางกลุ่ม - ไม่พบหลักสูตรวิปัสสนาธุระ - ตาราเกิด วิปัสสนาธุระเกิด แต่การจัดรูปหลักสูตรยังไม่มี ๓. จุดประสงค์ ๘ ประการ ๔. เป้าหมาย ๕. หลักสูตรการศึกษา ๕.๑ หลักสูตรวิปัสสนาธุระ ๕.๒ หลักสูตรคันถธุระ ๖. สรุปท้ ายบท ๗. คาชีแ้ จง ๘. คาอนุโมทนา ๙. กฎ ระเบียบ และข้ อบังคับ สาหรับผู้เข้ าปฏิบัติ


๑๐. แผนที่ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร

เหตุปัจจโย พุทธศาสน์

ระส่าระสาย

เพราะอ่อนใน

การศึกษา

คันถะ

นะมัวตา

สูตรศึกษา

ล้ าอ่อนไป

วิปัสสนา

หนายิ่งแย่

หลักสูตรแท้

หาไม่ได้

ยามที่

ศาสน์มีภยั

จึงพึง่ ใคร

ไม่ได้ เลย

คันถะ

มีตารา

พอศึกษา

ถ้ าไม่เฉย

วิปัสสนา

หนาท่านเอย

ผู้เปิ ดเผย

คือพุทธา

สืบต่อ

ก็อาจารย์

สอนต่อกัน

เป็ นนาถา

ขาดครู

ขาดดวงตา

อ่านตารา

ไม่เข้ าใจ

วิปัสสนา

คันถาขาด

เหมือนตาชัด

แต่เป็ นใบ้

คันถา

วิปัสสนาไร้

เหมือนพูดได้

แต่ไร้ ตา

ขาดสอง

ต้ องโง่เซ่อ

เมื่อได้ เจอ

กับปั ญหา

เป็ นใบ้

แหละไร้ ตา

จะมีหน้ า

ไปช่วยใคร

พุทธวิหาร

จึงเกิดขึ ้น

เพื่อจะยื่น

มือแก้ ไข

คนน้ อย

ที่น้อยไป

ห้ องเรี ยนไซร้

ไม่เพียงพอ

หากเห็น

ว่าเป็ นบุญ

อยากร่วมทุน

เชิญเลยหนอ

ศาสน์หวัน่

ชาติหวัน่ รอ

ท่านกู้ก่อ

ให้ คงคืน

ประชา

จะตาแจ้ ง

สุขสบแสง

พุทธประสงค์

เย็นชาติ

ศาสน์มนั่ คง

เบาแรงองค์

พระราชา


ชินสภเถระ ( ๐๔.๔๐ น. ) ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๓

๑. ชื่อ เครื่ องหมายศูนย์ ฯ และที่ตัง้ สานักงานใหญ่ ๑.๑ ชื่อ ศูนย์การศึกษานี ้ให้ ชื่อว่า “ศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร” มีชื่อย่อว่า ศ.พธ. เรี ยกเป็ น ภาษาอังกฤษว่า BUDDHAVIHARA VIPASSANADHURA EDUCATION CENTRE มีชื่อย่อว่า Bu.VEC. ความหมาย เพื่อเป็ นสถานที่รวมน ้าใจพุทธบริษัททังหมดเข้ ้ าด้ วยกันเป็ นหนึ่งเดียว แล้ วร่วมกันทางานถวายพระสัมมาสัม พุทธเจ้ า ตามนโยบาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และขอบข่ายงานตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ ทรงวางเป็ นแนวทางไว้ ให้ เป็ นการปฏิบตั บิ ชู า ในพระคุณแห่งพระพุทธองค์ พระอริยสงฆ์ผ้ เู ป็ นครูอาจารย์ผ้ นู าสอนสืบๆ กันมาทังหลาย ้ และผู้ที่พระ สัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงมอบหมายแต่งตังให้ ้ เป็ นพระศาสดา คือผู้สอนเทวดาและมนุษย์ทงหลายต่ ั้ อจากพระองค์ หลังจาก พระองค์ปรินิพพานไปแล้ ว อันได้ แก่ พระธรรมวินยั หรื อศีลธรรมอันเป็ นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนาที่แท้ จริง ที่ พระพุทธเจ้ าทรงมอบไว้ ให้ แก่พทุ ธบริษัทมาจนถึงทุกวันนี ้ และจะสืบต่อไปในอนาคตตามกาลังแห่งตน เสมือนหนึ่งว่า พระ พุทธองค์ยงั ทรงพระชนม์อยู่ และทรงประทับเป็ นประธาน ร่ วมทรงงานอยู่กบั พวกเราทังหลาย ้ เป็ นดุจดังประทับอยู่ใน ดวงใจแห่งเราทุกคน

๑.๒ เครื่องหมายศูนย์ ฯ คือ ธรรมจักร ๒ กง ๔ กา ๓ ดุม ๑ เพลา รัศมี ๘ แฉก ครอบด้ วยรัศมีอกั ษรคาว่า “มหา สติปัฏฺฐาน” วางบนดอกบัว ๓ กลีบ ๓ เมล็ด เหนืออักษรคาว่า “พุทฺธวิหาร” มีอกั ษร ๓ แถวเป็ นแท่นรองรับอยู่เบื ้องล่าง เพื่อแสดงถึงความมัน่ คงไม่หวัน่ ไหว แถวแรกเป็ นชื่อของศูนย์ฯ แถวที่ ๒ และแถวที่ ๓ เป็ นสถานที่ตงของศู ั้ นย์ฯ


ความหมาย ธรรมจักร ๒ กง ๔ กา ๓ ดุม ๑ เพลา รัศมี ๘ แฉก หมายถึง จักร อันเป็ นเครื่ องมือ หรื อจักรวุธอันทรงมหิทธานุภาพสูงสุด อันได้ แก่ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ มีอริยมรรค ๘ องค์ เป็ นต้ น ที่พระอริยเจ้ าทังหลายใช้ ้ ในการประหาร ทาลายความเสื่อม ความชัว่ ร้ าย ความทุกข์ ความเดือดร้ อน ความ อัปมงคล อบายภูมิ โลภะ โทสะ โมหะ และอวิชชา แล้ วหมุนนาพามวลมนุษย์เทวดาทังหลาย ้ ไปสูค่ วามเจริญรุ่งเรื อง ทังใน ้ ส่วนที่เป็ นมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ ด้ วยปั จจัยที่เอื ้ออานวยต่อความเจริญรุ่งเรื องเหล่านี ้ ๔ ประการ


๑. ปฏิรูปเทสวาส สร้ างและพัฒนาศูนย์ฯ ให้ ถกู ต้ องเหมาะสมแก่การที่จะรองรับงาน และที่ใช้ งานการศึกษา ด้ านนี ้ ๒. สปฺปุริสูปสฺสย ให้ เป็ นที่พกั พิงที่เหมาะสมแก่การที่สตั ตบุรุษ คือครูอาจารย์ และผู้ที่ต้องการศึกษางานด้ าน นี ้ได้ เข้ าอาศัย ๓. อตฺตสมฺมาปณิธิ ตังความปรารถนาไว้ ้ แล้ วในอันที่จะให้ ความถูกต้ องเกิดขึ ้นแก่บคุ คลผู้เข้ าอยู่อาศัย ให้ ปรากฏเป็ นรูปธรรมขึ ้นมา ๔. ปุพเฺ พกตปุญฺญตา ทาการชาระล้ างสิง่ ที่ไม่ถกู ต้ อง สกปรกชัว่ ร้ าย ให้ สะอาดหมดจดเหมาะสมดีแล้ ว ก่อนที่จะรองรับบุคคลทังหลายเหล่ ้ านัน้

กง ๒ ชัน้ หมายถึง ๑. กงชัน้ นอก แบ่งออกเป็ น ๘ ส่วนเท่าๆ กัน คัน่ เขตแต่ละส่วนด้ วยดวงอาทิตย์ หมายถึง อริยมรรค ๘ องค์ อัน เป็ นปุพภาคมรรค คือ มรรคเบื ้องต้ น อันเป็ นเหตุเกิดของโลกียาริยสัจ และตทังคนิพพาน ทาหน้ านที่ปหานะ (ละ) กิเลส ในระยะเริ่ มแรกทาวิปัสสนา อยู่ในวงของการพัฒนาอินทรี ย์ และวิปัสสนาญาณให้ แก่กล้ า ก่อน เข้ าถึงโลกุตรมรรค หรื อมรรคผลนิพพาน ๒. กงชัน้ ใน หมายถึง อินทรี ย์ ๕ อันเป็ นองค์ประกอบสาคัญขันพื ้ ้นฐานของจิตตวิสทุ ธิ ซึ่งเป็ นพื ้นฐานรากเหง้ า ของวิปัสสนา กา ๔ กา แต่ละกาแบ่งออกเป็ น ๒ ซีกซ้ ายขวา มีบวั บานรับหัวกาทัง้ ๒ ข้ าง ข้ างละดอก ดอกละ ๔ กลีบ แต่เห็น ได้ ด้านละ ๓ กลีบ มีความหมายว่า เป็ นการส่งผ่านพลังงานการพัฒนาที่สาคัญระหว่างกงไปสูด่ มุ และระหว่าง ดุมไปสูก่ ง เปรี ยบเหมือนการส่งผ่านกาลังการพัฒนาจากอินทรี ย์ ๕ โลกียาริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นส่วนหน้ าคือ กงเข้ าสูก่ ารสนับสนุนของโพชฌงค์ ๗ อันเป็ นส่วนใน คือดุม จนทาให้ อินทรี ย์อนั เป็ นกาลังของมรรคที่เรี ยกว่า พละ ๕ อันเป็ นกาลังของโลกุตราริยมรรค ที่เรี ยกว่าพละ ๕ มีกาลังมากถึงขีดสุด แก่กล้ ามากที่สดุ ทาให้ เกิด บรรยากาศที่เหมาะสมแก่การเกิดขึ ้นแห่ง โลกุตราริยมรรค ซึ่งในแต่ละกามีความหมายแต่ละส่วน ดังต่อไปนี ้ ๑. บัว ๔ กลีบ (เห็น ๓ กลีบ) ดอกด้ านนอกแต่เห็นได้ ด้านละ ๓ กลีบ หันยอดดอกเข้ าข้ างใน เป็ นเครื่ องหมาย การรับพลังงานการพัฒนาจากภายนอก คือ จากโลกียาริยมรรค และอินทรี ย์ ๕ ส่งเข้ าสูภ่ ายใน อันหมายถึง มหาสติปัฏฐานทัง้ ๔ เพราะการกาหนดแต่ละครัง้ สติปัฏฐาน ๔ เข้ าทังหมด ้ เพียงแต่จะเด่น กาย เวทนา จิต หรื อธรรมเท่านัน้ และแต่ละครัง้ ที่กาหนดจะมีอินทรี ย์ ๕ เป็ นพื ้นฐานและโลกียาริยมรรค เป็ นผู้ประหารกิเลส สติปัฏฐานจึงจะสมบูรณ์ จึงแทนด้ วยบัวบาน ๔ ดอก หมายถึง ปั ญญาในการทาสติปัฏฐานให้ เกิด ได้ ปรากฏ ขึ ้นแล้ ว และบัว ๔ กลีบที่ปิดหัวกาด้ านนอก หมายถึง กาย เวทนา จิต และธรรมเท่านัน้ ๒. กา ๔ กา แต่ละกาแบ่งออกเป็ น ๒ ซีกเท่าๆ กัน หมายถึง ประธานความเพียร ๔ อย่ าง และที่แต่ ละกา แบ่ งออกเป็ น ๒ ซีกเท่าๆ กันนัน้ หมายถึงกาหนดอารมณ์ ท่ ีเป็ นกลาง เช่ นอารมณ์ ท่ ีเป็ นกลาง เมื่อ


กาหนดแต่ ละครัง้ จะทาหน้ าที่ ๒ อย่ าง คือ ป้องกันกิเลสอกุศลที่ยังไม่ เกิดไม่ ให้ เกิดขึน้ และพัฒนา โพธิปักขิยธรรม สมาธิญาณ อันเป็ นส่ วนกุศลให้ เจริญรุ่งเรือง และส่วนอารมณ์ที่เป็ นกิเลสคือ เจตสิก ธรรมที่เป็ นอกุศล เมื่อกาหนดก็จะทาหน้ าที่ ๒ อย่างเช่นกัน คือ ขจัดกิเลสอกุศลที่กาลังเกิดอยู่ ณ ขณะนัน้ ให้ ดับสูญสลายไป และในขณะเดียวกันนัน้ ก็ทาให้ กุศลอันเป็ นโพธิปักขิยธรรมทัง้ หลาย และสมาธิญาณที่สูญเสียไปเพราะอานาจของกิเลสที่กาลังถูกขจัดนัน้ ได้ กลับคืนมาเหมือนเดิม และ เข้ าการพัฒนาต่อไปใหม่ได้ จึงเปรี ยบด้ วย กา ๒ ซีก ๓. บัวบาน ๔ กลีบ (เห็น ๓ กลีบ) รับหัวกาด้ านใน หันยอดดอกออกภายนอก เป็ นลักษณะของการรับช่วงสมาธิ ญาณจากการสร้ างและพัฒนา เบื ้องต้ นมาแล้ ว นามาเข้ าสูก่ ารพัฒนาให้ แก่กล้ าเป็ นสมาธิญาณชันสู ้ งได้ ด้วย อิทธิบาททัง้ ๔ หมายความว่า ทาหน้ าที่รับและส่งสมาธิญาณเบื ้องต้ นสูเ่ บื ้องสูง ดังนัน้ บัว ๔ กลีบ จึง หมายถึง ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา อันเป็ นเครื่ องทาให้ อินทรี ย์ สมาธิญาณ และมรรคถูกพัฒนาให้ เจริญ ขึ ้นสูโ่ ลกุตรมรรคได้

ดุม ๓ ชัน้ ๑. ดุมชัน้ นอก ถูกแบ่งออกเป็ น ๗ ส่วนเท่าๆ กัน คัน่ ด้ วยกลีบบัวบานหันยอดกลีบออกนอก ล้ อมรอบดุมชันใน ้ และเพลาไว้ เหมือนเป็ นใจกลางแห่งดอกบัวบาน กลีบบัวทัง้ ๗ ที่ดมุ ชันนอกนั ้ น้ หมายถึง โพชฌงค์ ๗ ซึ่งเมื่อ เกิดขึ ้นแล้ ว นอกจากจะทาหน้ าที่ป้องกัน นิกนั ติตณ ั หาและวิปัสสนูปกิเลส แล้ ว ยังเป็ นกาลังสนับสนุนให้ พละ ทัง้ ๕ มีกาลังมากขึ ้นจนถึงทีสดุ ทาให้ โลกียมรรคมีกาลังมากที่สดุ ทาให้ วปิ ั สสนาสูงถึงที่ สดุ พร้ อมเข้ าสูพ่ ระ นิพพานได้ ดังนันจึ ้ งเปรี ยบโพชฌงค์ ๗ เหมือน กลีบบัวบานที่อยู่รอบนอกดอก ทาหน้ าที่ป้องกันรักษาและ ช่วยเหลือสนับสนุนส่วนประกอบสาคัญของดอกภายในให้ ปลอดภัย และเจริญเติบโต จนแก่กล้ าเพียงพอแก่ การขยายพันธุ์ได้ ฉะนัน้ ๒. ดุมชัน้ กลาง ถูกแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น ๕ ส่วนเท่าๆ กัน คัน่ ด้ วยเกลียว ๕ เกลียว ซึ่งมีฐานอยู่ภายนอกและ หมุนเวียนขวาเข้ าสูภ่ ายในเป็ นเครื่ องหมายแทนพลัง ในที่นี ้ คือ พละทัง้ ๕ อันได้ แก่ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปั ญญา กล่าวคือ โพชฌงค์ ๗ สนับสนุนให้ อินทรี ย์รองรับมรรคหรื อพละ ๕ มีกาลังถึงที่สดุ สนับสนุนให้ โลกียาริยมรรค มีกาลังมากถึงที่สดุ สนับสนุนให้ วปิ ั สสนาญาณมีกาลังมากถึงที่สดุ เมื่ออินทรี ย์พื ้นฐานทัง้ ๕ มี กาลังเต็มที่และสมดุลกันดีแล้ ว ก็จะมีกาลังมหาศาล ที่เรี ยกว่า พละเกิดขึ ้นมากมายอย่างถึงที่สดุ สามารถผลัด ดันให้ วฏุ ฐานคามินีวปิ ั สสนาญาณอันเป็ นที่สงู สุดแห่งยอดของวิปัสสนาญาณให้ เกิดขึ ้นได้ และสามารถเข้ าสู่ ประตูพระนิพพานได้ ในที่สดุ ๓. ดุมชัน้ ในสุด ถูกแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น ๓ ส่วนเท่าๆ กัน กันแบ่ ้ งเขตพื ้นที่ด้วยเกลียว ๓ เกลียว ซึ่งมีฐานเกลียวอยู่ ภายนอก และหมุนเวียนขวาเข้ าสูภ่ ายในติดต่อกับเพลาเกลียว ๓ เกลียว นันเป็ ้ นเครื่ องหมายแทนทางเข้ าสู่ ประตูนิพพานทัง้ ๓ ทาง คือ ๓.๑ เข้ าสูป่ ระตูนิพพานทาง อนิจฺจ ด้ วย อนิจจลักษณะ เรี ยกว่า อนิมิตตนิพพาน


๓.๒ เข้ าสูป่ ระตูนิพพานทาง ทุกฺข ด้ วย ทุกขลักษณะ เรี ยกว่า อัปปณิหติ นิพพาน ๓.๓ เข้ าสูป่ ระตูนิพพานทาง อนตฺตา ด้ วย อนัตตลักษณะ เรี ยกว่า สุญญตนิพพาน ซึ่งไตรลักษณ์ทงั ้ ๓ นี ้ จะต้ องมีกาลังถึงที่สดุ และไม่มีการเปลี่ยนแปลง มีความมัน่ คงตามแรงพลังที่ พละสนับสนุน จึงเป็ นประตูหรื อทางที่สามารถเข้ าสูพ่ ระนิพพานได้ สาเร็จ ซึ่งเปรี ยบด้ วยเกลียวชันในที ้ ่ถกู พละผลักดันให้ หมุนตามอย่างเต็มกาลัง ไม่ให้ เปลี่ยนแปลงได้ อีกแล้ ว เพื่อให้ มีกาลังเต็มที่ ส่งผ่านไปถึง เพลาซึ่งเปรี ยบได้ กบั พระนิพพานดังนี ้

เพลา หมายถึง มรรคผลนิพพาน รั ศมี ๘ แฉก หมายความว่า การที่จะออกจากรูปนามสังขารเข้ าสูก่ ระแสพระนิพพาน การพัฒนาโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ให้ ถึงที่สดุ จบหลักสูตรการศึกษาวิปัสสนาธุระ เป็ นจุดสุดท้ ายของการศึกษาและพัฒนาของแต่ละขัน้ ก็คือ โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี และอรหันต์ ก็คือการปรากฏขึ ้นแห่งโลกุตราริยมรรค ๘ องค์ ในแต่ละครัง้ ของแต่ละขันนั ้ นๆ ้ นัน่ เอง จึงชื่อว่า อริยมรรค ๘ องค์ นาผู้ปฏิบตั จิ ากโลกียมรรค (เป็ นวิสยั ในโลก) สูโ่ ลกุตรมรรคผู้สงู ที่สดุ ในโลก (คือพ้ นจาก โลก) ทุกๆ ขันตอน ้ จนถึงอรหันตมรรค จึงเปรี ยบด้ วยรัศมี ๘ แฉก ที่พงุ่ ออกจากวงแห่งโพธิปักขิยธรรม คาบาลีวา่ “มหาสตปฏฐาน” เป็ นรัศมีครอบบนโพธิปักขิยธรรม มีความหมายว่า โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ คือ ธรรมเป็ นเครื่ องดาเนินไปสู่การตรัสรู้ทงั ้ ปวง สติดารงอยู่ในที่ตาแหน่ งประธานใหญ่ แห่ งธรรมอัน เป็ นประธานทัง้ ปวง กล่าวคือ ทังสติ ้ ในอินทรี ย์พื ้นฐานอันเป็ นองค์ประกอบแห่งจิตตวิสทุ ธิ ที่เป็ นพื ้นฐานรากเหง้ าของ วิปัสสนากัมมัฏฐาน สติในพละอันเป็ นกาลังของมรรค และสติในมรรค นันคื ้ อ มีสติเป็ นประธานใหญ่โดยตลอดทัง้ ๓ หน้ าที่ ตังแต่ ้ โลกียมรรคจนเข้ าสูโ่ ลกุตรมรรค ดังนัน้ “มหาสติปัฏฺฐาน” จึงอยู่ในตาแหน่งสูงที่สดุ ของรัศมี ดอกบัวบาน ๓ กลีบ ๓ เมล็ด หมายถึง พุทธบริษัทผู้มีคณ ุ สมบัติสมควรแก่การรองรับงานพระพุทธศาสนาให้ เจริญรุ่งเรื องตามพุทธนโยบายที่พระพุทธเจ้ าทรงประสงค์ไว้ บัวบาน ๓ กลีบ หมายถึง พุทธบริษัท ความเป็ นจริงแล้ วมี ๔ กลีบ แต่หนึ่งกลีบถูกปิ ดบังไว้ ไม่สามารถเห็นได้ จึง เห็นได้ เพียง ๓ กลีบเท่านัน้ มีความหมายว่า บริษัทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทัง้ ๔ ได้ แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แต่บดั นี ้ ภิกษุณีบริษัทได้ สญ ู สิ ้นไปแล้ วจากโลก เหลือเพียง ภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา รวม ๓ บริษัท ที่ยงั ปรากฏให้ เห็นได้ เท่านัน้ จึงเปรี ยบเหมือนดอกบัวบาน ๓ กลีบที่เกาะกลุ่มกันเป็ นดอกบัวอยู่ได้ ด้วยกาลังแห่งปั ญญา และศรัทธาต่อพระ ธรรมวินยั หรื อศีลธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ ทรงมอบให้ ดารงตาแหน่งพระศาสดา คือผู้สอนเทวดาและมนุษย์ ทังหลายแทนพระองค์ ้ หลังจากพระองค์ปรินิพพานแล้ ว และพร้ อมที่จะค ้าจุนรักษาพัฒนาอริยมรรคอันเป็ นสมณธรรมให้ คงอยู่และเจริญก้ าวหน้ าอย่างมัน่ คง เพื่อให้ อริ ยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นสมบัตทิ ี่ประเสริฐที่สดุ สุดยอดแห่งธรรมาวุธ ที่ตก ทอดมาจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเพียงชิ ้นเดียวนี ้ ให้ ยังคงเป็ นประโยชน์ใหญ่ที่มนุษย์ใช้ ในการดับทุกข์ได้ อย่างแท้ จริ ง มิใช่เป็ นเพียงเพ้ อฝั นตามทฤษฎีนิทานหรื อประวัตศิ าสตร์ ที่เล่าขานสืบต่อๆ กันมาเท่านัน้ ดังนันนอกจากศรั ้ ทธา และ


ปั ญญา เมตตา กรุณา เพื่อประโยชน์ใหญ่แห่งมวลมนุษย์ และการเสียสละแล้ ว มิได้ มีประโยชน์อื่นเป็ นเครื่ องล่อใจผูกให้ ติดรัดรึงตรึงอยู่ จึงเป็ นอิสระสามารถหลุดร่ วงเปลี่ยนแปลงไปได้ ง่าย เปรี ยบเหมือนกลีบดอกบัวบานที่ตดิ ก้ านอยู่ได้ ด้วย ยางแห่งตน สามารถหล่นหลุดออกได้ โดยง่ายฉะนัน้ จึงเป็ นเครื่ องเตือนใจพุทธบริษัททังหลายที ้ ่ยงั เหลือไว้ มใิ ห้ ประมาท เกสรดอกบัว แต่ละเกสร หมายถึง สมาชิกที่ได้ รับประโยชน์ทางการศึกษาจากพุทธวิหารทุกท่าน แต่ละท่านจะ เป็ นผู้แพร่กระจายสีและกลิน่ แห่งศีล สมาธิ ปั ญญา วิชชา วิมตุ ติ อริยมรรค นิพพาน และการปฏิบตั ิ ตลอดจนสภาพ ปั ญหาภายในศูนย์ฯ เอง ตามปั ญญา การศึกษา ผลการศึกษา และปั ญญาการถ่ายทอดอันแก่กล้ า หรื อยิ่งหย่อนเป็ น ต่างๆ กันไป แห่งบุคคลผู้นนเอง ั ้ ซึ่งเปรี ยบเหมือนเกสรดอกบัว ถ้ าแก่มาก สมบูรณ์มาก ก็จะส่งกลิน่ อันจรุงใจเป็ นเสน่ห์ ดึงดูดให้ หมูภ่ มรผีเสื ้อ แมลงสะอาด สร้ างประโยชน์และมวลมนุษย์ หันมาดูดอกอันเป็ นต้ นเหตุ แม้ จะอยู่ไกลเพียงใดก็ยงั ชัดเจน หากประกอบด้ วยสีที่สดสวยบริ สทุ ธิ์ด้วยแล้ ว เมื่อผู้ได้ กลิน่ หันมองย่อมเห็นได้ แต่ไกล สามารถตามไปถึงดอก มิใช่ เพียงเข้ าเคล้ าคลึงดื่มกินรสหวานแห่งดอกเท่านัน้ แต่ยังผสมเกสรอันเป็ นประโยชน์สืบอายุดอกบัวให้ เจริญพันธุ์ตอ่ ไปได้ และเมื่อกลับยังที่อยู่แห่งตน นอกจากมิได้ ทาความบอบช ้าหมองหม่นให้ แก่เกสรหรื อส่วนใดของดอกแล้ ว ยังมีเกสรติดเท้ า ติดปี ก ส่งกลิน่ ตามไปทุกที่ ทังตามลมและทวนลม ้ ทาให้ แมลงที่อยากเชยชมหวังประโยชน์ ตามมายังดอกอย่างมากมาย ดอกก็จะเจริ ญแผ่ขยายเป็ นกาลังหนุนธรรมจักร คืองานพระศาสนาให้ มนั่ คงได้ นิจนิรันดร์ กาล ถ้ าเกสรมีความแก่น้อย กลิน่ สีก็จะจางซีดไปมากน้ อยตามลาดับ การดึงดูดใจก็จะมากน้ อยลงไปเช่นเดียวกัน ถ้ ายิ่งเกสรเน่า ก็จะส่งกลิน่ อันน่าเกลียด น่าชังอย่างกว้ างขวางเบียดเบียนแมลงสะอาดให้ หนีหาย แมลงวันตัวร้ ายสกปรกก็จะแย่งแข่งขันตามกลิน่ สกปรกนันเข้ ้ า มากันเป็ นหมู่ๆ แทนที่แมลงสะอาด ฉกฉวยแย่งกันกิน ถ่าย แล้ วก็ไข่ใส่ดอกบัว เพื่อประโยชน์แห่งการเจริญพันธุ์ของตน เท่านัน้ พอไข่กลายเป็ นหนอนก็ชอนไชไปทัว่ เพื่อเลี ้ยงตัวของมัน พอโตขึ ้นเป็ นแมลงวันก็ร่วมกันกับพ่อแม่พวกพ้ องกัดกิน และไข่ซ ้า จนบัวงามเป็ นบัวเน่าเศร้ าหมอง เข้ าสู่วาระการสูญสลาย ทังเกสร ้ กลีบ ฝั ก หักทลาย งานพระศาสนาที่เป็ น ประโยชน์ใหญ่ให้ สนั ติสขุ แห่งมวลมนุษย์พอจะได้ อาศัยข้ ามพ้ นทุกข์ก็ต้องเป็ นอันพังทลาย สูญสลายไปจากโลกอย่าง แน่นอน มนุษย์สตั ว์ผ้ เู ดือดร้ อนก็จะขาดที่พงึ่ อันแท้ จริงโดยสิ ้นเชิง จึงอุปมาเตือนไว้ จะดีหรื อร้ ายอยู่ที่เกสรดอกบัว ถ้ าเกสร เน่าไม่ดี พุทธบริษัทคือกลีบบัวที่มีอยู่ในปั จจุบนั ทัง้ ๓ ก็ควรตัดเอาออกเสียด้ วยพุทธวิธี ถ้ าเป็ นแมลงวันแมลงหวี่มาก็ควร หาวิธีป้องกันให้ ถกู ต้ องตามวิสยั แห่งบัณฑิต เมื่อเขาไม่ได้ ประโยชน์ดงั ใจคิดก็จะหนีหายกันไปเอง เมล็ดบัว ๓ เมล็ด รองรับธรรมจักร เมล็ดบัว คือ ส่วนที่จะแพร่ขยายเจริญพันธุ์ต้นบัวให้ ดารงอยู่คโู่ ลกไม่ เสื่อมสลาย ให้ รูปดอกเกสร สีสนั กลิน่ สุคนธ์ ได้ มโี อกาสปรากฏกระจายตามลมที่พาผ่าน ให้ ผ้ พู าลพบสัมผัสลืมทุกข์ถึงซึ่ง ความสุขสดชื่นใจก็ด้วยเมล็ดเป็ นผู้รับสืบทอดพันธุกรรมแห่งประทุมสืบมาฉันใด การที่ผ้ ใู ดผู้หนึ่งจะสามารถรองรับค ้าชู งานการตรัสรู้อนั ได้ แก่อริยมรรคทัง้ ๘ องค์ ด้ วยการปฏิบตั ติ ามโพธิปักขิยธรรม หรื องานวิปัสสนาให้ มงั่ คงตรงถูกต้ อง ตนเองจะต้ องปฏิบตั จิ นได้ ผลอย่างน้ อยเกณฑ์ต่าสุดแห่งสมณธรรมขันแรก ้ คือได้ ดวงตาเห็นธรรมตลอดสายเป็ นพระ โสดาบัน จึงจะชื่อว่ามีพืชพันธุ์เชื ้อสายในวิชาการตรัสรู้ พอที่จะค ้าชูเผยแพร่ ให้ เป็ นประโยชน์ ใหญ่แก่มวลมนุษย์ได้ อย่าง ถูกต้ อง เปรี ยบเหมือนเมล็ดบัวทัง้ ๓ ที่รองรับประคับประคองพระธรรมจักรอันเป็ นวงล้ อแห่งธรรมเป็ นเครื่ องดาเนินไปสูก่ าร ตรัสรู้ให้ ดารงคงอยู่มนั่ และผลัดกันให้ หมุนประหารกิเลสสิง่ ชัว่ ร้ าย ปรากฏเด่นไกล มุง่ ไปสูค่ วามเจริญรุ่งเรื อง โชติช่วง


สว่างไสวแก่สายตาแห่งเทวดาและมนุษย์ทงปวงนี ั้ ้ประการหนึ่งผู้ที่จะรับภาระงานหนัก คือ งานการตรัสรู้แห่งพระศาสนา อันเปรี บบด้ วยพระธรรมจักรนี ้ได้ ตนเองจะต้ องถึงพร้ อมด้ วยการกระทาทังสาม ้ คือ ทังกายกรรม ้ วจีกรรม มโนกรรม กรรม ทัง้ ๓ นี ้ ต้ องตรงกันทับกันสนิท มรรค ๘ องค์จึงจะเกิดขึ ้นได้ การบรรลุธรรมได้ ก็ด้วยถึงพร้ อมด้ วยกรรมทัง้ ๓ ในการ ประกาศอริยมรรค ๘ องค์ให้ โลกรู้ก็พร้ อมด้ วยทัง้ ๓ เช่นเดียวกัน ดังนันด้ ้ วยเหตุนี ้จึงใช้ เมล็ดบัวซึ่งเป็ นส่ วนสาคัญที่สุด ในดอกบัว ๓ เมล็ด เป็ นเครื่องหมายแทน กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ทัง้ ๓ นัน้ อักษรคาว่า “พุทธฺ วิหาร” ใต้ ดอกบัว หมายถึง สถานที่ท่ ีจะสร้ างดอกบัว และธรรมจักร อันหมายถึงบุคคล และโพธิปักขิยธรรมให้ เกิดขึน้ และพัฒนาให้ เติบโตแผ่ ขยายเป็ นประโยชน์ ใหญ่ ไปในแผ่ นดินเป็ นสถานที่ศกึ ษา ธรรมอันนาผู้ศกึ ษาไปสู่การตรัสรู้ เป็ นสถานที่ทาบุคคลผู้ปฏิบัตใิ ห้ สามารถเปิ ดดวงตาเห็นธรรม คือ อริยมรรค ทัง้ ๘ องค์ ที่มีส่วนทาให้อริยสัจทัง้ ๔ บริบูรณ์ ทาให้ โพธิสตั ว์กลายเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ทาให้ มนุษย์เทวดา ทังหลายกลายเป็ ้ นพระอริยเจ้ า เป็ นเหมือนสถานที่แห่งนี ้เป็ นที่อยู่แห่งพระพุทธธรรมเป็ นผู้สร้ างอริยสาวกให้ เกิดขึ ้น เป็ น สถานที่รวมน ้าใจแห่งพุทธบริษัทผู้มีเมตตาธรรม ทางานถวายเป็ นพุทธบูชาด้ วยการเผยแพร่พระสัทธรรม ให้ แผ่ขยาย กว้ างไกลเป็ นประโยชน์ใหญ่แก่มวลมนุษย์ทงปวงเพื ั้ ่อใช้ ในการดับทุกข์ของตน ให้ โลกที่ร้อนด้ วยไฟกิเลสเผาลน ได้ สงบ ร่มเย็นโดยถ้ วนทัว่ ตามพระพุทธประสงค์ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ ทรงเมตตาประทานไว้ จึงแทนความหมายเหล่านี ้ด้ วย คาว่า “พุทฺธวิหาร” ดังนี ้

๑.๓ ที่ตงั ้ ศูนย์ ฯ สานักงานใหญ่ ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระ พุทธวิหาร วัดพระธรรมจักร เลขที่ ๑๐๐/๑ หมู่ ๑ ตาบล ดงละคร อาเภอ เมือง จังหวัด นครนายก ๒๖๐๐๐

๒.หลักการและเหตุผล ๒.๑ หลักการที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงให้ ไว้ เนื่องด้ วยพระพุทธศาสนาจะคงอยู่ได้ และเจริญรุ่งเรื องเป็ นประโยชน์ในการดับทุกข์อย่างแท้ จริงให้ มวลมนุษย์ และเทวดา ตามพุทธประสงค์ได้ นนั ้ หลักสูตรการศึกษาต้ องครบถ้ วนและเป็ นไปตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงวางไว้ ทุกขันตอน ้ ทังวิ ้ ธีการ หลักการ และการจัดการ ต้ องถูกต้ องตามพุทธวิธีด้วย ประโยชน์ในพระศาสนาไม่วา่ จะเป็ น ทาน ศีล ภาวนา จะไม่สาเร็จประการใดๆ ได้ เลย ด้ วยการเรี ยนเพียงคันถธุระหรื อทฤษฎี เพราะจะได้ ประโยชน์เพียงพูดได้ คิด


ได้ แต่จะพูดถูกต้ อง พูดตรง คิดถูกต้ อง คิดตรง ย่อมยังไม่แน่นอน เพราะความจริงแล้ วตนเองก็ยงั ไม่เห็น แต่พยายามคิด ใช้ วาทะอธิบายให้ ผ้ อู ื่นเข้ าใจว่าตนเห็นเท่านัน้ ความผิดเพี ้ยนต่างจากพุทธวาทะ จึงเกิดขึ ้นด้ วยเหตุประการหนึ่ง เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าจะเข้ าสูป่ รินิพพาน ได้ ตรัสฝากงานพระศาสนาไว้ แก่พทุ ธบริษัททังหลายโดยมี ้ พระ อานนท์เป็ นประธานว่า “โยโว อานนฺท มยาธฺมโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต, โส โว มมจฺจเยน สตฺถา” แปลเป็ น ใจความได้ วา่ “อานนท์ ธรรมก็ดี วินัยก็ดี อันใด อันเราได้ เทศน์ แล้ ว ได้ บัญญัตแิ ล้ ว เมื่อเราล่ วงลับไปแล้ ว ธรรมวินัยนัน้ จะเป็ นผู้สอนเธอทัง้ หลาย” พระพุทธเจ้ าไม่ได้ ให้ ผ้ อู ื่นที่เป็ นตัวบุคคลสืบทายาทศาสดา คือผู้สอนแทน พระองค์ แต่ทรงให้ พระธรรมวินยั เป็ นศาสดาผู้สอน นัน่ หมายความว่าเป็ นภาคปฏิบตั ิแน่นอน และผู้จะตรวจสอบว่า ศาสดาคือธรรมวินยั หรื อศีลธรรมอยู่กบั บุคคลใดในขณะนันหรื ้ อไม่ ก็คือ ตัวของบุคคลนันนั ้ น่ เอง มิใช่วา่ คนอื่นจะ ตรวจสอบได้ ดีกว่าบุคคลคนนันผู ้ ้ เป็ นเจ้ าของตัวของเขาเองก็หามิได้ เมื่อบุคคลรู้เพียงคัน ถธุระ คือปริยตั ธิ รรมหรื อทฤษฎี จึงมิสามารถรักษาพระศาสดาให้ อยู่กบั ตน เพื่อช่วยดับทุกข์ให้ ตนได้ นี ้ประการหนึ่ง

๒.๒ การแสวงหาหลักสูตรวิปัสสนาธุระสมัยรัชการที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๓๙ เมื่อครัง้ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ ๕ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ ได้ ทรงให้ จดั ทารูปการศึกษาของบ้ านเมืองขึ ้นใหม่ ให้ เหมาะสมแก่กาลสมัยยิ่งขึ ้น ในครัง้ นัน้ การศึกษา ด้ านพระพุทธศาสนา ได้ ถกู จัดรูปการศึกษาขึ ้นใหม่เช่นเดียวกัน จนกระทัง่ ถึงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ ( ร.ศ.๑๑๒) ได้ ทรงสถาปนามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อเป็ นการศึกษาของคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตกิ นิกายขึ ้น แต่หลักสูตรก็เป็ นเพียงคันถธุระบางส่วนเท่านัน้ โดยตลอดจนจบหลักสูตร มิได้ มีหลักสูตรที่เป็ นวิปัสสนาธุระอยู่ใน การศึกษาของมหาวิทยาลัย หรื อแม้ กระทัง่ รูปแบบการศึกษาที่ มีอยู่เดิมทังของไทยและรามั ้ ญ ก็ไม่ปรากฏหลักสูตรหรื อ รูปแบบการศึกษาวิปัสสนาธุระอยู่ในนันเลย ้ มีเพียงคันถธุระบางส่วนเท่านัน้ ในการสถาปนามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ในวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๓๒ (ร.ศ. ๑๐๘) เพื่อเป็ นสถานศึกษาของคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ถึงแม้ แนวทางการจัดหลักสูตรการศึกษา พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หวั ทรงให้ แนวทางการจัดรูปการศึกษา ตามหลักสูตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า คือ ให้ มีทงหลั ั ้ กสูตรคันถธุระและ วิปัสสนาธุระ แต่มีเหตุขดั ข้ อง ด้ วยความชัดเจนของผู้ร้ ู และหลักการเรี ยนการสอนวิปัสสนาธุระ ตังแต่ ้ ก่อนหน้ านันมา ้ จนถึงขณะนัน้ สมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอพระมหาสมณเจ้ ากรมหมื่นวชิรญาณวโรรส (พระมหาสมณเจ้ ากรมพระยาวชิร ญาณวโรรส) สมเด็จพระสังฆราช ไม่ทรงรับอาราธนาเป็ นผู้จดั การ ด้ วยเหตุผลที่ทรงอ้ างว่า เพราะไม่มีหลักสอบไล่ แต่ เป็ นส่วนการศึกษาที่มีอยู่ในพระมหานิกาย และพระราชาคณะพัดงาสาน ทรงแนะนาให้ สงฆ์คณะกลาง คือ พระคณะ มหานิกายเป็ นผู้จดั โดยให้ ขอรับพระราชทานพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอสมเด็จพระพุฒาจารย์ วัด พระเชตุพน และสมเด็จพระวันรัต วัดสุทศั น์ ฉบับเดียวกัน1 ร่วมกับกระทรวงธรรมการแต่ผลการทางานตรงนี ้ ออกมา ตามหนังสือกราบทูลรายงานของพระยาภาสกรวงศ์ ต่อพระเจ้ าน้ องยาเธอกรมหมื่นสมมตอมรพันธุ์ ราชเลขาที่ ๘๒/ 1 เป็ นพระราชหัตถเลขาของพระเจ้ าหลวงรัชกาลที่ ๕ ที่ทรงดาริงานถึง สมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอสมเด็จพุฒาจารย์และสมเด็จพระวันรัต

เป็ นจดหมายฉบับเดียวกัน


๔๙๘๔ เพื่อนาความกราบถวายบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั เพื่อขอรับพระราชทานคืนคา ในภาคที่ ๒ เรื่ อง วิปัสสนาธุระ มีใจความว่า





๒.๓ วิปัสสนาธุระเข้ าสู่ประเทศไทยครัง้ ล่ าสุดสมัยรัชกาลที่ ๙ พ.ศ.๒๔๙๖ เป็ นอันว่า หลักฐานการศึกษาของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ตังแต่ ้ ก่อน พ.ศ.๒๔๓๙ เท่าที่ปรากฏและหลัง พ.ศ.๒๔๓๙ ลงมา ไม่มีหลักสูตรการศึกษาวิปัสสนาธุระอย่างชัดเจน และไม่มีหลักฐานอื่นใดปรากฏจนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ. ๒๔๘๘ มีประกาศองค์การศึกษาเรื่ องระเบียบการศึกษาวิปัสสนาธุระ ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ พระพรหมมุนีสงั ฆมนตรี ว่าการองค์การศึกษา แต่ก็เป็ นเพียงระเบียบที่กาหนดให้ ผ้ จู ะปฏิบตั กิ มั มัฏฐานและ ผู้เกี่ยวข้ องจะต้ องทาอย่างไรเท่านัน้ หลักสูตรการศึกษาจริงๆ ก็ไม่มี ต่อมาปรากฏหลักฐานอีกครัง้ ดังปรากฏในปทาน พจน์ เกี่ยวกับวิปัสสนากัมมัฏฐานของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) อดีตผู้อานวยการใหญ่ฝ่ายวิปัสสนา ธุระ หน้ าที่ ๓ ย่อหน้ าที่ ๒ และ ๓ ใจความว่า “พระมหาโชดกได้ ไปศึกษาการปฏิบัตวิ ปิ ั สสนากัมมัฏฐานอยู่ ประเทศพม่ าเป็ นเวลา ๑ ปี คือ พ.ศ.๒๔๙๕ และเมื่อได้ ศกึ ษาและปฏิบัตเิ ป็ นที่พอใจ และพอแก่ ความประสงค์ แล้ ว เธอก็บอกมาว่าใคร่ จะกลับประเทศไทย ข้ าพเจ้ าก็อนุญาตให้ กลับ และพร้ อมกันนัน้ ข้ าพเจ้ าก็ขอพระ วิปัสสนาจารย์ ชนั ้ ที่มีความชานาญให้ มาพร้ อมกับพระมหาโชดกสัก ๒ รูป ทางสภาการศึกษาประเทศพม่ าเมื่อ ได้ ทราบอย่ างนัน้ ก็ยนิ ดีจัดส่ งพระวิปัสสนาจารย์ ชัน้ ดีให้ มาพร้ อมกับพระมหาโชดก ๒ รูป คือ ท่ านอาส ภะกัมมัฏฐานาจริยะและท่ านอินทวังสะกัมมัฏฐานาจริยะ สาหรับท่ านอาสภะกัมมัฏฐานาจริยะนัน้ คือ ผู้สอน และสอบอารมณ์ ให้ ท่านพระมหาโชดกแทนท่านมหาสีสะยาดอที่ประเทศพม่ านัน้ เอง จึงนับได้ ว่า สภา การศึกษาประเทศพม่ าเขาพร้ อมที่จะส่ งเสริมพระปฏิบัตศิ าสนาให้ ไทยเราจริงๆ จึงเป็ นสิ่งที่น่าอนุโมทนา สาธุการเป็ นอย่ างยิ่ง เมื่อปลายปี พ.ศ.๒๔๙๕ พระมหาโชดกกับพระอาจารย์ พม่ าทัง้ ๒ รูป มาถึงประเทศไทยแล้ ว พอรุ่งขึน้ พ.ศ.๒๔๙๖ ข้ าพเจ้ ามีความยินดีประกาศตัง้ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ให้ เป็ นสานักวิปัสสนากัมมัฏฐานขึน้ อีกแผนกหนึ่ง ฯลฯ” ตามหลักฐานเหล่านี ้จะเห็นได้ วา่ วิปัสสนาจารย์และวิปัสสนากัมมัฏฐานได้ เข้ ามาสูป่ ระเทศไทยครัง้ ล่าสุด เมื่อต้ น รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระภัทรมหาราช รัชกาลที่ ๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ นี ้เอง

๒.๔ กาเนิดตาราวิปัสสนาธุระในประเทศไทย ดังนันต ้ ารับตาราวิปัสสนากัมมัฏฐาน เมื่อก่อนหน้ านันไม่ ้ เคยมีปรากฏ จึงปรากฏขึ ้นมากมายเละเมื่อวิปัสสนา กัมมัฏฐานเริ่มปรากฏใหม่ๆ ยังขาดผู้ร้ ูทวั่ ถึงอย่างแท้ จริ งอีกจานวนมาก ผู้ร้ ูบ้างไม่ร้ ูบ้างแต่ต้องการอวดรู้ ต้ องการชื่อเสียง และทรัพย์สนิ การขาดการควบคุมคุณภาพที่ถกู ต้ องมีการแข่งขันเพื่อประกวดอวดกันเกิดขึ ้น ตาราที่เกิดขึ ้นจึงมีตารา ปรากฏขึ ้นเป็ น ๓ ระดับดังนี ้ คือ ๑. ตาราที่มีคุณภาพเยี่ยมยอด ชื่อ วิปัสสนาทีปนีฎีกา ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ สมถวิปัสสนา (ที่เคย ใช้ เป็ นหลักสูตรอภิธรรมโชติกะ) ที่รจนาโดย พระภัททันตะอาสภะอัคคมหากัฏมัฏฐานาจริยะ พุทธศาสตร


ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ และบรรดาผู้เขียนที่ได้ ผลตามลาดับขันของสมณธรรม ้ มีสภาวะทางภาวนามย ปั ญญาและปริหาริกปั ญญาแจ่มแจ้ ง ทรงคันถธุระอันเหมาะสม ๒. ตาราที่คุณภาพด้ อยลงมา คือ ผู้เขียนอาจได้ ผลถึงขันได้ ้ สมณธรรมขันใดขั ้ นหนึ ้ ่งแล้ ว เป็ นผู้ทรงคันถ ธุระ แต่ถ้าสภาวะทางปริหาริกปั ญญา และภาวนามยปั ญญาไม่แจ่มแจ้ งเพียงพอ ตาราที่เขียนขึ ้นก็ จะเป็ น การกะเอา ประเมินเอา อนุมานเอา หรื อคาดเดาเอา ถึงแม้ วา่ ตนเองจะได้ ผล แต่เนื่องจากสภาวะทาง ปั ญญาไม่ชดั เจน (ตามัวไป) ไม่ศกึ ษาพระไตรปิ ฎก อรรถกถา ฎีกา และปรึกษาผู้ร้ ูให้ เพียงพอ ตาราที่เขียน จึงด้ อยคุณภาพ และอาจมีบางส่วนขาดความมัน่ ใจ จึงให้ ผลต่อผู้อ่านตรงข้ ามกับเจตนาของผู้เขียน ๓. ตาราที่ไม่ ถึงคุณภาพ คือ ผู้เขียนไม่ถึงขันได้ ้ สมณธรรม ถึงแม้ จะมีความรู้คนั ถธุระ (ปริยตั ิธรรม, ธรรม ภาคทฤษฎี) ค่อนข้ างดี หรื อพอรู้บ้างก็จะเดาเอากะเอา การเขียนจะมืดมนขาดความมัน่ ใจ ผู้เขียนกลุม่ นีไ้ ม่ รู้จริง จึงจะพยายามอธิบายวิธีทาไว้ ในตารา ตามความเข้ าใจของตน แต่อ้างอาจาริยวาทะ เพื่อให้ ตาราของ ตนเป็ นที่เชื่อถือ และเป็ นที่ยอมรับกันในตลาด ในการเอาตาราที่ตนเสนอไปเป็ นครูแทนตัวบุคคลมิได้ คานึงถึงผลเสียอันจะเกิดกับพุทธวาทะ ผู้ปฏิบตั ทิ ี่อาจเข้ าใจผิดพลาด หรื ออ้ างพุทธวาทะก็เป็ นเพียงนามา เสริม เพื่อรับรองงานเขียนของตนให้ เด่นชัด ปิ ดบังความไม่น่าเชื่อถือให้ น่าเชื่อถือมากขึ ้นเท่านัน้ มิได้ คานึงถึงผลเสียต่อพระศาสนาโดยส่วนรวมแต่ประการใดนี ้อย่างหนึ่ง ผู้ไม่ร้ ูวปิ ั สสนาเลย กัมมัฏฐานนันก็ ้ เคยทาแต่ไม่ใช่วปิ ั สสนา เป็ นแต่ชื่อเรี ยกและคิดว่าที่ทานันเป็ ้ นวิปัสสนา ก็จะเขียนไปตามความคิดของตน เป็ นการนึกเอา คิดเอา แนะนาไป คันถธุระก็ร้ ูไม่ถึงดี มักอ้ างว่าปริยตั กิ บั ปฏิบตั ิคนละอย่างกัน สมาธิที่ ถูกต้ องลักษณะเป็ นอย่างไรก็ไม่ร้ ู ปุพภาคมรรค ๘ องค์เป็ นอย่างไรก็ไม่ร้ ู เหล่านี ้เป็ นการสอนและตาราที่ไม่มี คุณภาพ เป็ นโทษ เกิดมาเพื่อทาลายพระศาสนา และผู้ปฏิบตั ติ ามเพียงอย่างเดียวเท่านัน้

๒.๕ เหตุท่ วี ิปัสสนาธุระเจริญงอกงามไม่ ได้ ทงั ้ ในอดีตและปั จจุบัน หน่วยงานที่เป็ นทางการไม่ว่าจะเป็ นของสงฆ์หรื อของรัฐ ไม่มีตวั บุคคลที่มีความรู้ด้านนี ้จริงจังเพียงพอ ในระดับ งานบริหารการศึกษาวิปัสสนาธุระ ไม่มีกฎหมายรองรับให้ เป็ นนิตบิ ุคคลที่จะได้ รับการสนับสนุน ไม่มีหลักสูตรที่แน่นอน ตายตัวสามารถศึกษาได้ และพิสจู น์ได้ และไม่มีหลักเกณฑ์ความรู้ในการตรวจสอบให้ เห็นเป็ นภาพพจน์รูปธรรมที่สามารถ ปฏิบตั ไิ ด้ แน่นอนทังส่ ้ วนที่เป็ นพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ และกฎมหาเถรสมาคม หรื ออื่นๆ เหมือนดังฝ่ ายคันถธุระ ดังเช่น มหาวิทยาลัยสงฆ์ โรงเรี ยนปริยตั ิธรรม และศูนย์ตา่ งๆ ที่เกิดขึ ้นในวัดอีกมากมาย ดังนัน้ ความเข้ าใจในวิปัสสนาธุระ ทังส่ ้ วนที่เป็ นปฏิบตั ิธรรม และปฏิเวธธรรม ถึงจะเกิดขึ ้นแล้ วก็เจริญรุ่งเรื องได้ โดยยาก และจะไม่เกิดขึ ้นแก่บคุ คลบางกลุ่มหรื อบางคน ด้ วยเหตุปัจจัยดังต่อไปนี ้

เหตุท่ วี ิปัสสนาธุระไม่ เกิดแก่ บุคคลบางคนหรื อบางกลุ่ม


ถูกบิดเบือนจากพุทธวาทะ อริยสาวกวาทะ อันเป็ นสมบัตสิ ว่ นรวมของพระพุทธศาสนา ถือกาเนิดจากพระ สัมมาสัมพุทธเจ้ า เป็ นของมวลมนุษย์ทงโลกและเทวดา ั้ มาให้ เป็ นสมบัติของบุคคล กลุ่มบุคคล ของวัด ของสานัก ของชน ชาติ ชนชัน้ เพื่อให้ มวลชนสับสนลังเลเข้ าใจผิด ไม่กล้ าเข้ าไปรับรู้ ไม่กล้ าเข้ าไปศึกษา และตนเองจะได้ แข่งขันได้ อย่างไม่ เสียเปรี ยบเหมือนดังที่เคยมีมาแล้ วในอดีต ตัวอย่างเช่น หลังพระพุทธเจ้ าปรินิพพานได้ ประมาณ ๑๐๐ ปี ที่เมืองเวสาลี ภิกษุกลุม่ วัชชีบตุ ร ได้ ละเมิดพระวินยั ด้ วยวัตถุ ๑๐ ประการ พระยสกากัณฑกบุตรอรหันต์ต้องรวบรวมพระปฏิสมั ภิทา อรหันต์ ๗๐๐ องค์ มาร่วมกันทาการสังคายนา เพื่อรักษาความถูกต้ องแห่งพระพุทธศาสนธรรมวินยั ไว้ ให้ เป็ นธรรมวินยั ตามต้ นแบบที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงเทศน์ไว้ บัญญัตไิ ว้ แม้ กระนันกลุ ้ ่มวัชชีบตุ รก็มไิ ด้ เห็นด้ วย แล้ วยอมกระทาตามแต่ ประการใด ยังคงทาตามประเพณีที่พวกตนได้ กระทามาแต่ก่อนอย่างเดิม ดื ้อรัน้ ยืนยันตามแบบของตน และเพื่อให้ สามารถแข่งขันด้ านศรัทธาประชาชนกับอริยสาวกได้ จึงตังตนเองว่ ้ าเป็ นกลุ่ม “อาจาริยวาทะ” และ ดึงกลุม่ อริยสาวก หรื อ “พุทธวาทะ” ลงเพื่อให้ ใกล้ เคียงกับพวกตน และตนจะได้ แข่งขันในตลาดศรัทธาประชาชนได้ โดยตังชื ้ ่อให้ เสียใหม่วา่ “เถรวาทะ” ต่อมาภายหลังในกลุ่มอาจริยวาทะนันได้ ้ มีการอวดอุตริมนุษยธรรม เพื่อหวังลาภสักการะขึ ้นในกลุม่ ของพระ มหาเทวะ เพราะเหตุขาดแคลนลาภสักการะ เนื่องจากมวลชนรู้ความจริงจึงทาให้ คนในยุคนันเกิ ้ ดความเข้ าใจผิด มีความ เชื่อถือตามความตื่นข่าวไปว่า มีคนมีความรู้เชื่อถือเยอะ มีคนเข้ าวัดเยอะ มีลาภเยอะ ร่ ารวยทรัพย์สนิ เป็ นอันว่าถูกต้ อง มิได้ มีการตรวจสอบกับหลักฐานในพุทธวาทะ ทาให้ นาบุตรธิดามาบวชเป็ นภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา ในกล่มนีอ้ ย่าง มากมาย มีกาลังเพิม่ ทังก ้ าลังทรัพย์ และกาลังคน ในที่สดุ ก็เป็ นกลุ่มใหญ่ที่สดุ ในเมืองเวสาลี โดยอาศัยทิฏฐิ ๕ ประการ ของตน อันมีคาว่าสภาวะพระอรหันต์จะปรากฏได้ ต้องอุทานคาว่า “อโห ทุกฺข, อโห ทุกฺข” ทุกข์หนอๆ ดังนี ้ เป็ นต้ น พุทธ บริษัทอันเป็ นบัณฑิตทังหลายอั ้ นมีอริยสาวกเป็ นต้ น ได้ ตาหนิตเิ ตียนอยู่โดยทัว่ ว่าไม่ถกู ต้ องตามพระธรรมวินยั จึงอาศัย พวกมาเรี ยกประชุมสงฆ์ ให้ ลงมติโดยเสียงข้ างมากว่า ความเห็นของตนนันถู ้ กต้ อง ต่อมาภายหลังอุบาสก อุบาสิกา พุทธ บริษัททังหลายทราบความเป็ ้ นจริงที่ถกู ต้ อง จึงงดให้ การสนับสนุนลาภสักการะที่มีเป็ นทุนก็ร่อยหรอทาท่าจะไปไม่รอด จึง ได้ เปลี่ยนแผนการหาลาภของตนเสียใหม่ โดยเอาจุดด้ อยของตนมาเป็ นจุดเด่น โดยโฆษณาว่า “กลุม่ ของตนไม่สนใจที่จะ บาเพ็ญสมณธรรมเพื่อเอามรรคผลนิพพาน แต่จะขนคนให้ พ้นจากทุกข์ก่อน แล้ วจึงจะไปนิพพานทีหลัง” โดยชูพระอวโลกิ เตศวรโพธิสตั ว์ (หรื อที่ร้ ูจกั กันดีในปั จจุบนั ว่า พระแม่กวนอิม, เจ้ าแม่กวนอิม, หรื อพระโพธิสตั ว์กวนอิม) ขึ ้นมาเป็ นประธาน แล้ วให้ สาวกของตนไปช่วยเหลือรับใช้ คฤหัสถ์ชาวบ้ านทางานเพื่อแลกกับข้ าวปลาอาหาร เพื่อประทังให้ มีชีวติ อยู่รอด เมื่อ ถูกท้ วงติงว่า “เป็ นสมณศากยบุตร แล้ วทาไมไม่ปฏิบตั ิสมณธรรม มาประจบคฤหัสถ์ทาไม ก็ให้ อ้างกับชาวบ้ านไปว่า “พวก ตนบาเพ็ญโพธิสตั ว์บารมีจะมาช่วยขนคนให้ พ้นทุกข์ไปอยู่กบั เบื ้องบนก่อน” บางกลุม่ ก็อาจบอกว่า “พวกตนเป็ นคนกลุม่ สุดท้ ายที่เบื ้องบนส่งมาช่วยมนุษย์ให้ พ้นทุกข์ไปอยู่กบั เบื ้องบนให้ ปลอดภัยก่อน เพื่อรอพระอวโลกิเตศวรโพธิสตั ว์มาตรัสรู้ เป็ นพระศรี อริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้ า ในอนาคตกาลโน้ น” เพื่อเป็ นการดึงความสนใจให้ ห่างออกไป ไม่มองมาที่ ความถูกผิดของตน และเรี ยกกลุม่ ของตนว่า “มหายาน” ซึ่งแปลว่า พาหนะใหญ่ ขนคนให้ พ้นทุกข์ ได้ ทีละมากๆ และ ไม่ลืมที่จะพูดกดกลุ่มพุทธวาทะหรื อพระอริยสาวกว่าเป็ น “หินยาน” แปลว่า ยานพาหนะเสื่อม, หรื อ พาหนะเลว เข้ า ทานองโฆษณาว่า “ตนเองยังไม่ร้ ูวา่ จะเข้ าถึงมรรคผลนิพพานได้ หรื อเปล่าเลย จะช่วยขนใครไปได้ สู้พวกเขาไม่ได้ พวกเขา


ยอมเสี่ยงภัยอันตรายช่วยเหลือคนอื่นให้ พ้นทุกข์ปลอดภัยก่อน แล้ วตัวเองจึงจะพ้ นทุกข์ทีหลัง” เป็ นการพูดยกตนเองเป็ นผู้ มีบญ ุ คุณอีกต่างหาก ทังๆ ้ ที่ตนเองยังไม่ร้ ูเลยว่าจะไปได้ อย่างไร ศีลวิสทุ ธิอนั เป็ นพื ้นฐานของวิปัสสนากัมมัฏฐานขันแรกของพวกเขาจึ ้ งเสียหาย วิสทุ ธิ ๗ วิปัสสนาญาณ และ มรรคผลนิพพานจึงมิอาจเกิดขึ ้นได้ กบั บุคคลกลุม่ นี ้ ความเป็ นสงฆ์ของพวกเขาเสียหาย ในมหาวรรคทีฆนิกายจารึกไว้ ใน ปรินิพพานสูตรว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงเทศน์บนแท่นพระพุทธปริ นิพพาน อุทยานไม้ สาละ เมืองกุสนิ าราในปั จฉิม วาจาตอนหนึ่งเป็ นการฝากฝั งพระศาสนา เพื่อให้ ยงั คงเป็ นประโยชน์ใหญ่ในการดับทุกข์แก่มวลมนุษย์ด้วยพระมหา เมตตากรุณาอันใหญ่หลวงยิ่ง ผ่านทางพระอานนท์ว่า สิยา โข ปนานนฺท ตุมฺหาก เอวมสฺส อตีตสตฺถุก ปาวจน, นตฺถิ โน สตฺถา ติ “อานนท์ ก็แลเมื่อพระศาสดาล่ วงลับไปแล้ ว คาพูดอันเป็ นปฏิปักษ์ เหล่ านีจ้ ะพึงมีแก่ เธอทัง้ หลายว่ า เรา ทัง้ หลายไม่ มีศาสดาดังนี ”้ โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา “อานนท์ ธรรมก็ดี วินัยก็ดี สิ่งใดอันเราได้ เทศน์ แล้ ว บัญญัตแิ ล้ ว เมื่อเราล่ วงลับไปแล้ ว ธรรมวินัยนัน้ จะเป็ น ศาสดาของพวกเธอทัง้ หลาย” ในที่นี ้จะเห็นได้ ว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงมอบตาแหน่งศาสดาของพระองค์ ให้ แก่พระธรรมวินยั พระธรรม วินยั จึงเป็ นศาสดาคือผู้สอนพวกเราแทนตาแหน่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า จริงๆ แล้ วโดยความถูกต้ องอย่างที่สดุ นับแต่ วินาทีแรกที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าปรินิพพานแล้ วเป็ นต้ นมา พระศาสดาของพวกเรา คือ พระธรรมวินยั ได้ เข้ ารับตาแหน่ง สอนสัง่ พวกเราเรื่ อยมาโดยมิได้ ทอดทิ ้งเรา ยกเว้ นแต่เราจะทิ ้งพระองค์ แล้ วเราสามารถเห็นพระองค์ได้ เสมอเมื่อเราตัง้ มัน่ อยู่ในศีล และประพฤติธรรม ในการทาสังคายนาครัง้ ที่ ๑ พระปฏิสมั ภิทาอรหันต์ทงหลายยั ั้ งคงสิกขาบทไว้ ตามเดิม มิได้ ยกเลิกสิกขาบทเล็กน้ อยข้ อใดข้ อหนึ่งแม้ แต่ข้อเดียวตามที่ พระพุทธองค์ทรงอนุญาตไว้ ก่อนหน้ านัน้ เพราะถือว่า การ ยกเลิกพระวินยั หรื อพระธรรมข้ อใด ข้ อหนึ่ง เท่ากับว่ายกเลิกพระศาสดาของตน เท่ากับเป็ นการประกาศตนไม่ยอมรับ พระศาสดาที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงประทานให้ เป็ นตัวแทนของพระองค์ ดังนันบุ ้ คคลผู้ใดกลุ่มใด ปฏิเสธพระธรรมวินยั หรื อศีลธรรมจึงเท่ากับปฏิเสธพระศาสดา จึงไม่ใช่พทุ ธศาสนิกชน คือผู้ปฏิบตั ติ ามคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้ าอีกต่อไป พวกเขาจึงต้ องหาผู้อื่น ซึ่งพวกเขาก็ยงั ไม่เคยเห็นไม่เคยได้ รับคา สอน ไม่เคยรู้จกั มาอ้ างว่าเป็ นศาสดา ศาสนาเขาจึงกลับเข้ าสูค่ วามเป็ นศาสนาเพ้ อฝั น ไม่สามารถพิสจู น์ได้ ตามหลัก วิชา เป็ นเหมือนลัทธินอกพระพุทธศาสนาอื่นๆ โดยทัว่ ไป ไม่แตกต่างกันแต่ประการใด เมื่อเป็ นดังนี ้ พวกเขาเหล่านันจะชื ้ ่อว่าเป็ น ภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนาได้ อย่างไร ภิกษุณีสงฆ์ ผู้อนั จะต้ องถือ กาเนิดด้ วยสงฆ์ทงั ้ ๒ ฝ่ าย คือ ภิกษุสงฆ์ และภิกษุณีสงฆ์ ที่เกิดขึ ้นในที่นนั ้ ยังจะใช่ภิกษุณีสงฆ์ตามพระธรรมวินยั ใน พระพุทธศาสนาได้ อยู่หรื อ สิกขมานา และสามเณรี ที่เกิดแต่ภิกษุณีสงฆ์เหล่านัน้ ยังจะถูกต้ องตามพระธรรมวินยั หรื อ ตราบใดที่ยงั ไม่กลับมารับพระธรรมวินยั ให้ ถกู ต้ องเสียใหม่ ตราบนันการเป็ ้ นพุทธบริษัท พุทธมามากะ หรื อ


พุทธศาสนิกชนจะเป็ นได้ ก็แต่เพียงอ้ างเอาเท่านัน้ ดังนัน้ วิปัสสนากัมมัฏฐานจึงไม่สามารถมีอยู่ในบุคคลกลุม่ ดังกล่าว หรื อบุคคลคล้ ายกลุม่ ดังกล่าว หรื อบุคคลผู้สนับสนุนผู้ทาเช่นนัน้ ด้ วยเหตุผลสาคัญดังต่อไปนี ้ ๑.๑ ปกติศีลของพระภิกษุสงฆ์ หรื อภิกษุณีสงฆ์ ของพวกเขาไม่บริสทุ ธิ์ ด้ วยเหตุแยกสงฆ์หรื อด้ วยเหตุขาดจาก ความเป็ นภิกษุสงฆ์หรื อภิกษุณีสงฆ์ ไม่ยอมรับพระวินยั ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า และสร้ างพระธรรมวินยั อื่นขึ ้นมาแทน ศีลวิสทุ ธิอนั เป็ นพื ้นฐานของวิปัสสนากัมมัฏฐานจึงเกิดขึ ้นแก่พวกเขาไม่ได้ ในฐานะอย่างนัน้ และยังมีผลไปถึงภิกษุ ภิกษุณี ผู้ประพฤติตามพวกเขาเหล่านันด้ ้ วย ดังนันวิ ้ ปัสสนาจึงสูญหายจากบุคคลกลุม่ นี ้ ที่ปรากฏใช้ อ้างอยู่จึงไม่ใช่ของจริง เป็ น เพียงเครื่ องมือลวงผู้ไม่ร้ ูให้ เข้ าใจผิด เพื่อหวังลาภสักการะเท่านัน้ ยกเว้ นจะกลับมายอมรับทาตามพระธรรมวินยั ที่ เหมาะสม แล้ วศึกษาจากครูที่สืบต่อกันมาไม่ขาดสายเท่านันจึ ้ งจะมีโอกาสอีกครัง้ ๑.๒ การบิดเบือนคาสัง่ สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ให้ ผดิ เพี ้ยนไปจากความเป็ นจริง แล้ วเอาคาสัง่ สอนของ ตนเองเข้ ามาข่ม โดยอ้ างอิงคาสัง่ สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ ามารับรองคาสัง่ สอนของตน เพื่อประโยชน์ในการอวดอ้ าง เอาตัวรอดให้ คนผู้ไม่ร้ ูจริงทังหลายหลงศรั ้ ทธา เพื่อให้ ได้ มาซึ่งลาภสักการะ ทาให้ คนทั่วไปเข้ าใจพระสัทธรรมของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้ าวิปลาส ผิดพลาดไปจากความเป็ นจริ ง และกลับมาเป็ นปั ญหาในการแผ่ขยายพระพุทธธรรมอันถูกต้ อง เสียเอง ๑.๓ การดึงเอาพุทธวาทะและอริยสงฆ์ ลงมาให้ ใกล้ เคียงกลับกลุม่ ศีลวิบตั ิ ธรรมวิบตั ขิ องตน เช่น ดึงเอาพุทธวา ทะมาตังให้ ้ เป็ นเถรวาทะเพื่อให้ กลุม่ ศีลวิบตั ิของตน ที่ตงชื ั ้ ่อเรี ยกตนเองว่าอาจาริยวาทะ หรื อดึงเอากลุม่ อริยสาวกผู้ถือ ปฏิบตั ติ ามพุทธวาทะให้ ดเู ลวด้ อยกว่าพวกตน เพื่อเป็ นการทาลายแล้ วตังชื ้ ่อกลุม่ ให้ เป็ นไปต่างๆ กัน เช่น กลุม่ “หินยาน” เป็ นต้ น พร้ อมกับตังชื ้ ่อพวกพ้ องของกลุม่ ตนเองอย่างเหนือกว่าเพื่อเป็ นการทับถมว่า “มหายาน” เป็ นต้ น เป็ นการยกตนข่ม ท่าน คือ ข่มพระพุทธธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ข่มพระอริยสาวก และข่มสมมติสงฆ์สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ที่เกิดมาอย่างถูกต้ องตามพระธรรมวินยั เพื่อให้ มวลชนรังเกียจเดียดฉันท์ และหันเข้ ามาเป็ นพวกตน ซึ่งกลุม่ บุคคลเช่นนี ้ อย่างนี ้ มีมากมาย ผู้อ่านสามารถศึกษาเอาได้ จึงจะไม่กล่าวให้ มากความในที่นี ้ ๑.๔ ในปั จจุบนั มีการดึงเอากัมมัฏฐานชนิดอื่น ซึ่งไม่ใช่วปิ ั สสนากัมมัฏฐาน หรื อพิธีกรรมนอกรี ตนอกรอยคาสอน ของพระพุทธศาสนา มาเทียบเท่าวิปัสสนากัมมัฏฐาน หรื อกดวิปัสสนากัมมัฏฐาน ซึ่งจะต้ องสืบต่อการปฏิบตั ิโดยตรงนับ แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า พระอริยสาวกเรื่ อยลงมาอย่างไม่ขาดสาย ให้ มีค่าความสาคัญเท่ากันหรื อน้ อยกว่า กัมมัฏฐาน ที่ตงกั ั ้ นขึ ้นเองภายหลังตามทิฐิของตน เหมือนตนเป็ นเจ้ าลัทธิและตังชื ้ ่อเป็ นวิปัสสนาเหมือนกัน ทาให้ สงั คมหลงเข้ าใจผิด ว่าวิปัสสนานันอย่ ้ างไหนๆ ก็ถกู ทังหมด ้ เป็ นการลวงทาลายพุทธบริ ษัทให้ เกิดการแตกแยกทางความคิดและมีทิฐิมานะ ตามเจ้ าลัทธิตา่ งๆ เหล่านัน้ ทาให้ พทุ ธบริษัทแตกแยกเป็ นกลุม่ น้ อยกลุม่ ใหญ่เข้ าทาลายล้ างกลุม่ ที่ไม่เหมือนกับตน เป็ น การทาลายพุทธบริษัทกันเอง เป็ นการทาลายความเป็ นปึ กแผ่นความสงบสุขของประเทศชาติ เป็ นการส่งเสริ มให้ อาจริ ยวาทะเจริญรุ่งเรื องเป็ นก๊ กเป็ นเหล่ามากยิ่งขึ ้น พร้ อมกันนันก็ ้ เป็ นการทาลายวิปัสสนาอันเป็ นพุทธวาทะ ที่สืบต่อกันมา จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าโดยตรงไปในตัว วิปัสสนาอันถูกต้ องจึงเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว ด้ วยมือของพุทธบริษัทกลุม่ นันๆ ้ ๑.๕ การอุปโลกน์หรื อยกย่องให้ การปฏิบตั มิ ีเจ้ าตารับขึ ้น เช่นแบบนี ้เป็ นของวัดโน้ น แบบโน้ นเป็ นของวัดนี ้ คนนี ้ เป็ นเจ้ าของค้ นพบแบบนี ้ คนนันเป็ ้ นเจ้ าของตารับแบบนี ้ ไม่วา่ จะปฏิบตั ิแบบไหนอย่างไร อุปโลกน์เป็ นวิปัสสนาทังหมด ้


เป็ นเหตุให้ เกิดคาเรี ยกว่า วิปัสสนาแบบสานักวัดโน้ นวัดนี ้ ของประเทศโน้ นประเทศนี ้ และมีแบบปฏิบตั ทิ ี่อ้างชื่อวิปัสสนา ใหม่ๆ เกิดขึ ้นแข่งขันปรากฏให้ สงั คมได้ เห็นอย่างมากมายตลอดเวลา เพื่อให้ ผ้ อู ื่นศรัทธาไม่กล้ าเถียง และเอาพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ คาถาอาคมใส่ลงไปในคาภาวนาบ้ าง หรื อเอานามรูปบัญญัตมิ าเป็ นอารมณ์บ้าง แล้ วทุกคนก็อ้างว่า แบบของตนใช่ บางคนก็ทาตัวเป็ นนักวิชาการว่าแบบไหนก็ใช่หมด เพื่อสิง่ ที่ตนคิดขึ ้นมาเพื่อสอนนันจะได้ ้ เป็ นที่ยอมรับ ด้ วย ทังๆ ้ ที่ตนเองก็ไม่ร้ ูจริง เหล่านี ้เป็ นเหตุให้ เกิดความเข้ าใจผิดในพุทธธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ า จนไม่ร้ ูว่าแบบใด เป็ นสมถะ แบบใดเป็ นวิปัสสนา แบบใดเป็ นวิปัสสนาจริง แบบใดเป็ นวิปัสสนาปลอม แบบใดเป็ นไสยศาสตร์ แบบใดเป็ น อุปาทาน แบบใดเป็ นวิปัสสนึก ผู้ที่ถกู รับรองว่าคงแก่เรี ยนเป็ นบัณฑิตมีดีกรี รับรองว่าเป็ นผู้ร้ ูปริยตั หิ รื อมีคนั ถธุระ ซึ่ง จะ เป็ นที่พงึ่ ของพุทธบริ ษัทอื่นๆ ก็ไม่มีความสามารถเพียงพอที่จะชี ้ขาดลงได้ ว่าถูกหรื อผิด ก็เนื่องจากวิปัสสนาธุระนันต้ ้ องสืบ ทอดจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าโดยตรงลงมาอย่างไม่ขาดช่วง ไม่สามารถรู้ ได้ ด้วยเพียงการเรี ยนปริยตั ธิ รรมหรื อทฤษฎี ธรรมนัน่ เอง จึงทาให้ เกิดความสับสนทางปั ญญา ความท้ อแท้ ท้อถ้ อยไม่แน่นอน ขาดที่พงึ่ อันเป็ นเหตุให้ เสื่อมศรัทธาใน ที่สดุ วิปัสสนาวิชาดับทุกข์อนั เป็ นวิชาเอกลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนาที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงมอบให้ เป็ นสมบัตขิ อง โลก จึงอับเฉาลงเพราะถูกบดบังทับถมด้ วยธุลีโคลนตมดังกล่าวแล้ ว จนแทบจะหาคนรู้จกั ไม่พบ นี่ก็อีกวิธีหนึ่งที่อ้างตน เป็ นชาวพุทธหรื อพุทธบริษัทนี ้แหละ มีสว่ นสาคัญในการสร้ างหรื อทาลายวิชางานดับทุกข์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าอัน เป็ นหัวใจพระพุทธศาสนาเพื่อแลกเอาลาภ ยศ สรรเสริ ญ หรื อไม่ อย่างไร ในเรื่ องนี ้ ท่ านอาจารย์ พระภัททันตะ อาสภะ อัคคกัมมัฏฐานาจริยะ พุทธศาสตร์ ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ซึ่งเป็ นหนึ่งในพระวิปัสสนาจารย์สมณะทูต ๒ รูป ที่เข้ ามาเผยแผ่วปิ ั สสนาธุระตังแต่ ้ ปี พ.ศ.๒๔๙๖ ได้ เคยกล่าวกับผู้เขียน ว่า คนไทยเช้ าใจผิดว่าวิปัสสนาเป็ นของวัดมหาธาตุบ้าง ของพม่าบ้ าง วัดมหาธาตุตรัสรู้ได้ อย่างไร พม่าตรัสรู้ได้ อย่างไร พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเป็ นคนตรัสรู้ เป็ นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ที่มีอยู่ในพม่าปั จจุบนั ไม่ใช่มาจากสายพระธรรมทูต พระอรหันต์โสณะ พระอรหันต์อตุ ระ แรกเริ่มทีเดียวใช่ ต่อมาประเทศพม่าระส่าระสายอยู่นานกว่าจะตังตั ้ วได้ เป็ นเหตุให้ วิปัสสนาเสียหายไปด้ วย พอรวบรวมประเทศได้ รัฐบาลต้ องการบารุงพระศาสนา คันถธุระมีอยู่ แต่วิปัสสนาธุระมีปัญหา เรื่ องวิปัสสนาจารย์ จึงส่งพระไปเรี ยนมาจากลังกาสายพระธรรมทูตพระอรหันต์มหินทะ อีกส่วนหนึ่งเป็ นข้ อเขียนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) ในปธานปาพจน์เกี่ยวกับวิปัสสนา กัมมัฏฐานในตอนหนึ่งว่า “ ...จึงนับได้ ว่าสภาพการศึกษาของประเทศพม่ าเขาพร้ อมที่จะส่ งพระปฏิบั ติศาสนา ให้ แก่ ไทยเราจริงๆ จึงเป็ นสิ่งที่น่าอนุโมทนาสาธุเป็ นอย่ างยิ่ง...” จึงเป็ นอันกล่าวได้ อย่างเต็มปากเต็มใจว่า พระ ปฏิบตั ศิ าสนา คือการเจริญพระกัมมัฏฐานอย่างถูกต้ องตามทัศนะของพระไตรปิ ฏกนันได้ ้ อบุ ตั ิขึ ้นแล้ วภายในพื ้นปฐพี มณฑลแห่งประเทศไทย ณ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ ตังแต่ ้ ปี พ.ศ.๒๔๙๖ เป็ นต้ นมาด้ วยประการฉะนี ้ เหล่านี ้เป็ นเครื่ องแสดงให้ ชดั เจนว่า วัดมหาธาตุไม่ได้ ตรัสรู้ ไม่ใช่ต้นตารับ พม่าไม่ใช่ผ้ ตู รัสรู้ ไม่ใช่ต้นตารับ พระพุทธเจ้ าพระองค์เดียวเท่านันที ้ ่ตรัสรู้แล้ วอริยบัณฑิตและพระสงฆ์บณ ั ฑิตทังหลายร่ ้ วมช่วยกันนาสืบๆ กันมา ดังนัน้ ข้ อมูลเท่าที่มีนี ้ จึงเป็ นอุปกรณ์ที่บณ ั ฑิตผู้หวังดีต่อพระศาสนาหวังความสงบสุขร่มเย็นแก่ชนในชาติและ มวลมนุษย์โลกควรจะไตร่ตรองพิจารณาด้ วยปั ญญาอันยิ่งของตน


ไม่ พบหลักสูตรวิปัสสนาธุระ ดังหลักฐานที่ได้ กล่าวแล้ วในเบื ้องต้ น หลักฐานการศึกษาของพระพุทธศาสนากว่าร้ อยปี เป็ นต้ นมาแม้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั จะทรงให้ นโยบายการศึกษาคณะสงฆ์โดยให้ มีทงวิ ั ้ ปัสสนาธุระและคันถธุระ ตามแบบหลักสูตร ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงทาไว้ แต่บรรดาผู้บริหารกิจการคณะสงฆ์ในสมัยนัน้ หรื อต่อๆ มาก็มไิ ด้ มี ความรู้วปิ ั สสนาภาคปฏิบตั ิ หรื อหาผู้มีความรู้วิปัสสนาภาคปฏิบตั ไิ ม่ได้ อย่างมีคณ ุ ภาพพอจะทาเป็ นหลักสูตรการศึกษาได้ จึงทาให้ งานการศึกษาด้ านนี ้เกิดขึ ้นอย่างไร้ ทิศทาง ตัวใครตัวมัน แล้ วแต่ใครจะเด่นดัง เกิดขึ ้นอย่างมากมายไร้ ผ้ มู ี ความสามารถควบคุมดูแล และสืบสานทายาทที่ถกู ต้ อง จึงหักร้ างเป็ นอันตรายต่อพระศาสนาในภายหลังอย่างมากมาย พลอยกระทบกระเทือนถึงความสงบสุขของบ้ านเมืองโดยส่วนรวมด้ วย

ตาราเกิด วิปัสสนาธุระเกิด แต่ การจัดรูปหลักสูตรยังไม่ มี หลัง พ.ศ.๒๔๙๖ แม้ ปฏิบตั ศิ าสนาปรากฏขึ ้นแล้ วในประเทศไทยก็จริง แม้ การเรี ยนการสอนพระวิปัสสนาจารย์ จะเกิดขึ ้นอย่างมากมายก็จริง แม้ ตารับตาราวิปัสสนาจารย์กัมมัฏฐานจะเกิดอย่างมากมายก็จริง แต่เนื่องจากขาดระบบ การตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพการเรี ยนการสอน ทังนั ้ กเรี ยน นักเรี ยนครู และการพัฒนาครูอย่างมีประสิทธิภาพและ คุณภาพ ขาดหลักสูตรการศึกษาที่พสิ จู น์ได้ แน่นอน มีความคมชัดเพียงพอ ขาดการทางานร่ วมกันอย่างเป็ นระบบ ต่างคน ต่างทาจึงขาดความรอบคอบ และหักล้ างกันเอง ถือความเห็นของตนเป็ นหลัก ไม่มีหลักฐาน ขาดการวิจยั และพัฒนาให้ มี ระบบอย่างถูกต้ อง ขาดการค้ นคว้ าหลักฐานทางพระไตรปิ ฎก เป็ นต้ น ผู้เขียนตาราบางท่านขาดคุณสมบัตคิ ือปฏิบตั ไิ ม่ถึง ขัน้ ปริยตั ไิ ม่ถึงดี มีแต่ฟังมาคิดแล้ วก็เขียน ชอบอัตโนมัตเิ อาเอง ปั ญญายังไม่ถกู ทาให้ เกิด ไม่มีความรับผิดชอบ คิดแต่จะ ได้ ทรัพย์และมีชื่อเสียงเท่านัน้ ดังนันวิ ้ ปัสสนาธุระจึงยังระส่าระสายไม่เป็ นปึ กแผ่นลงได้ ด้วยเหตุนี ้

๓.จุดประสงค์ ๘ ประการ ด้ วยเหตุผลและเงื่อนไขปั ญหาดังกล่าวแล้ วนัน้ พุทธบริ ษัทกลุม่ หนึ่งซึ่งมีทงพระภิ ั้ กษุ อุบาสก อุบาสิกา ผู้ทรง ความรู้และมีความเข้ าใจสภาพปั ญหาและเงื่อนไขดังกล่าว และผู้หวังประโยชน์อนั ใหญ่หลวงแก่ปฏิบตั ศิ าสนาอันจะพึงมี แก่มวลมนุษย์เทวดาทังหลาย ้ และแก่การเข้ าใจถูกต้ องต่อพระศาสนาเอง จึงได้ รวมกลุม่ กันเป็ นมหาสมาคมพุทธบริษัท ขึ ้นโดยการนาของภิกษุพทุ ธบริษัท ร่วมใจกันสถาปนาศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระขึ ้นเป็ นแห่งแรก ณ ที่พกั สงฆ์ ธรรมจักร ๑๐๐/๑ ตาบลดงละคร อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก โดยให้ ชื่อว่า “ศูนย์ กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธ วิหาร” โดยมีจดุ ประสงค์ดงั นี ้ ๑. เพื่อให้ ปัญญาเห็นแจ้ ง รู้จริง ในวิธีการปฏิบตั ิ ให้ วปิ ั สสนาญาณ มรรค ผล นิพพาน การเห็นทุกข์ การเห็น เหตุเกิดของทุกข์ การเห็นทุกข์ดบั และการเห็นการดับทุกข์ ได้ ปรากฏต่อสายตาปั ญญาแห่งชาวโลก ไม่เป็ น ความลับอีกต่อไป เหมือนแบมือที่กา หงายของที่คว่า เปิ ดของที่ถกู ปิ ด ชี ้ทางให้ แก่คนที่หลงทาง จุดประทีป


ในที่มืด เพื่อหวังว่าคนมีตาปั ญญาจะพึงเห็นได้ ตามที่พระพุทธองค์ทรงประสงค์ไว้ ไม่ต้องหลงเชื่อผิด เข้ าใจ ผิดอีกต่อไป เป็ นการป้องกันรักษาศาสนาปฏิบตั ิ อันเป็ นวิปัสสนาธุระไว้ ให้ ถกู ต้ อง เพื่อไม่ให้ พระศาสนาต้ อง มัวหมอง และให้ สะอาดผ่องใสไปตลอดกาลนาน ๒. เพื่อใช้ เป็ นสถานที่ศกึ ษาค้ นคว้ าวิจยั การพัฒนาการเรี ยนการสอน การจัดทาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร ให้ เหมาะสมคมชัดถูกต้ องตามหลักฐานทางคันถธุระอันได้ แก่พระไตรปิ ฎก เป็ นต้ น เป็ นสถานที่ ศกึ ษาปริยตั ิ ชันสู ้ งหลังปฏิบตั ิ และรวบรวมหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนา เป็ นสถานที่ศกึ ษาทังวิ ้ ปัสสนาธุระ และ คันถธุระของภิกษุ สามเณร พุทธศาสนิกชน และสาธุชนโดยทัว่ ไป ไม่จากัดชาติ ชัน้ วรรณะ การศึกษา ศาสนา ฐานะ เพศ วัย เพื่อประโยชน์แห่งชาวโลกได้ มีส่วนสัมผัส และเป็ นเจ้ าของผลแห่งปั ญญาตรัสรู้ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าที่ถือว่าเป็ นศาสนสมบัตขิ องโลกอย่างแท้ จริง ๓. เพื่อบรรเทาและขจัดความเศร้ าหมองแห่งจิตมนุษย์ที่เป็ นเหตุแห่งความเหน็ดเหนื่อย ความทุกข์ ความ วิปฏิสารเดือดร้ อนในการดารงชีวติ ทังของบุ ้ คคล สังคม ประเทศชาติ และของโลกให้ เหือดหายไป พร้ อมทัง้ สร้ างความสงบสุขร่มเย็น ความเอื ้ออาทร ความเมตตาอารี ตอ่ มวลมนุษย์ด้วยกัน ต่อสัตว์ทงหลาย ั้ ให้ กลับมาสูส่ งั คมโลกอีกครัง้ ในอนาคตอันใกล้ นี ้ตามกาลัง ๔. เพื่อให้ โลกได้ ร้ ูวา่ วิปัสสนากัมมัฏฐานยังมีอยู่ในโลกจริง เป็ นวิชาที่สามารถศึกษาได้ ปฏิบตั ิได้ ให้ ผลได้ พิสจู น์ได้ จริง เป็ นปฏิบตั กิ ารอย่างแท้ จริง ทังการปฏิ ้ บตั ิ ผลการปฏิบตั ิ และการพิสจู น์ผล การปฏิบตั ิ ไม่ใช่ โวหารหรื อจิตนาการลึกลับอะไร เพียงแต่ต้องศึกษาด้ วยตนเองอย่างจริงจังเท่านัน้ ซึ่งเป็ นการรักษาความ สะอาดหมดจด เป็ นการป้องกันคาสอนแห่งพระพุทธศาสนาปฏิบตั ไิ ว้ ไม่ให้ ผดิ เพี ้ยน เป็ นการส่งเสริมให้ โลกุตรธรรมวิชาปฏิบตั วิ ิปัสสนากัมมัฏฐาน วิชาการสอนวิปัสสนา อันเป็ นวิชาพิเศษเฉพาะในการตรัสรู้ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า เป็ นพุทธศาสนเอกลักษณ์ที่ไม่มีผ้ สู ามารถดัดแปลง ปลอมแปลง หรื อลอกเลียนแบบ ได้ ไว้ ให้ ยงั คงเป็ นประโยชน์ใหญ่ เป็ นสมบัตขิ องมวลมนุษย์โลก สมดังพระพุทธประสงค์ตอ่ ไป และเพื่อให้ ความสมานสามัคคีในหมูพ่ ทุ ธบริ ษัทอันเกิดจากการศึกษาเห็นแล้ ว เข้ าใจพุทธธรรมอย่างถูกต้ องได้ กลับมา เป็ นปึ กแผ่นแน่นหนาเหมือนเดิม อันเป็ นการทาให้ ประเทศชาติมนั่ คงและโลกสงบร่มเย็นด้ วย ๕. เพื่อเป็ นสถานที่สร้ างบุคลากร ระดับวิชาครูวปิ ั สสนาชัน้ สูงที่มีคณ ุ ภาพมีประสิทธิภาพให้ แก่พระพุทธศาสนา และแก่โลก เป็ นสถานที่อนุรักษ์เผยแผ่พระสัทธรรมทังทฤษฎี ้ และปฏิบตั ิ เป็ นศูนย์รวมแห่งงานศาสนา ปฏิบตั ทิ งหลั ั ้ กฐานและแหล่งวิชาการ ๖. เพื่อเป็ นการแสดงความกตัญญูกตเวที ต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดาครูอาจารย์ สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ผู้ทรงต้ องการให้ หลักสูตร การศึกษาวิปัสสนาธุระเกิดขึ ้นในการศึกษาของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อันเป็ นเหตุให้ องค์ ประธานสภานายกแสวงหาและนามาสูผ่ ืนแผ่นดินในภายหลัง ได้ ทรงสมพระราชประสงค์ เพื่อเป็ นบรม ราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จกั รี ที่พระวิปัสสนา จารย์ได้ นาวิปัสสนาธุระมาเผยแผ่ในแผ่นดินไทยในรัชสมัยของพระองค์ และบรรดาบรรพบุรุษผู้มีคณ ุ ต่อ


ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ทงหลายด้ ั้ วยการสร้ างเป็ นพุทธศาสนปฏิบตั ติ านุสรณ์ให้ เป็ นการบูชาคุณท่าน ด้ วยความสามัคคีอนั ดีแห่งพุทธบริษัท พุทธศาสนิกชนผู้หวังความสงบร่ มเย็นแก่ชาติและโลก มอบให้ เป็ น ของขวัญอันล ้าค่าสูงที่สดุ ที่พวกเรามอบให้ แก่ชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์และแก่สาธุชนชาวโลก เพื่อใช้ เป็ นสถานที่ดบั ทุกข์ด้วยน ้าใจอันเปี่ ยมด้ วยความปารถนาดีอย่างแท้ จริง ๗. เพื่อให้ ความปรารถนาอันเกิดจากพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ในอันที่จะเห็น มนุษย์ เทวดา สัตว์ ทังหลายพ้ ้ นทุกข์ดบั ทุกข์แห่งตนได้ ยังคงเป็ นประโยชน์ใหญ่ยิ่งแก่มวลมนุษย์สืบไปภาย หน้ า เพื่อให้ ความปรารถนาของท่านอาจารย์เจ้ าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) ผู้ มุง่ มัน่ ในอันที่จะปลูกฝั งวิปัสสนาธุระให้ เกิดขึ ้นและเจริ ญงอกงามวัฒนาสถาพร เป็ นประโยชน์แก่มวล มนุษย์ ชาวไทย และบุคคลผู้อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินไทยได้ เกิดขึ ้นและเจริญงอกงามในทิศทางที่ถกู ต้ อง เพื่อให้ พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ในอันที่จะให้ วปิ ั สสนาธุระที่ถกู ต้ อง เกิดขึ ้นแก่การศึกษาพระศาสนาในประเทศ เพื่อเป็ นพุทธบูชาให้ ตรงตามหลักสูตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ให้ ได้ บรรลุตามพระราชประสงค์ ดีที่สดุ เท่าที่จะสามารถทาได้ เพื่อให้ ความปรารถนาของท่านอาจารย์ พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะพุทธศาสตร์ ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ พระวิปัสสนาจารย์สมณทูตที่นาปฏิบตั ศิ าสนามาเผยแผ่ในประเทศไทย ได้ ฝากไว้ แก่ข้าพเจ้ าด้ วย ความไม่สบายใจและเป็ นห่วงต่อพระปฏิบตั ศิ าสนาว่า “อาจารย์ เป็ นคนเอาวิปัสสนามาเผยแผ่ ในประเทศไทยเอง เมื่อก่ อนหน้ านัน้ วิปัสสนาไม่ มี เมื่ออาจารย์ มาใหม่ ๆ ได้ สารวจวัดที่ขนึ ้ ป้ายวิปัสสนากัมมัฏฐานทั่วประเทศ ๑,๖๐๐ กว่ าวัด ป้ายที่เขียนน่ ะใช่ แต่ วธิ ีสอนข้ างในไม่ ใช่ เป็ นต่ างๆ กันไป เมื่ออาจารย์ มาใหม่ ๆ ตอนแรกไม่ มี คนรู้จักวิปัสสนา สอนง่ายดีเหลือเกิน ตอนหลังคนรู้บ้างไม่ ร้ ู บ้างไปสอน ตาราก็เกิดขึน้ เยอะแยะมากมาย พระไตรปิ ฎกอรรถกถาฎีกาก็มีไม่ ค่อยค้ นดูกัน ชอบอัตโนมัตเิ อาเอง ทาให้ วปิ ั สสนาผิดเพีย้ นไป อาจารย์ ไม่ ค่อย สบายใจ บุคคลเหล่ านัน้ ก็ไม่ ใช่ ใครที่ไหน เป็ นลูกหลานของอาจารย์ เอง อาจารย์ เป็ นคนต่างชาติถึงรู้อยู่แต่ ก็ทา อะไรมากไม่ ได้ ในบรรดาลูกศิษย์ ทงั ้ หลาย ประโยค ๙ หัวแข็งมากที่สุด ส่ วนท่ านความรู้ก็ไม่ ค่อยมี แต่ หัวแข็ง กว่ าประโยค ๙ เสียอีก ในฐานะที่ท่านเป็ นคนไทยด้ วยกัน ท่ านต้องไปทา” เหล่านี ้เป็ นความปรารถนาที่เต็มเปี่ ยม และแฝงเต็มไว้ ด้วยความห่วงใยในพระศาสนาที่แฝงด้ วยความเมตตาอันใหญ่หลวงในพุทธบริษัทชาวไทยเป็ นอย่างยิ่ง ความต้ องการเห็นพระพุทธศาสนาปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้ องเกิดขึ ้น และยังเป็ นประโยชน์ใหญ่แก่ปวงชนชาวไทยไปตราบนานเท่า นาน ได้ มีโอกาสบรรลุสมความปรารถนา เพื่อให้ ได้ มีสว่ นเสริมสร้ าง ส่วนการศึกษาของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ให้ ได้ บรรลุเป้าหมายในส่วนวิชา ชันสู ้ งตามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รัชกาลที่ ๕ องค์ผ้ สู ถาปนามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ ทรง ประสงค์ไว้ ปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สงั มิกเสนาศน์ราชวิทยาลัยเพื่อเตรี ยมพระราชทานพระ นามใหม่วา่ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในปี พ.ศ.๒๔๓๙ ซึ่งสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) สมัยที่ยงั ดารง สมณศักดิเ์ ป็ นพระพิมลธรรม องค์ประธานสภานายกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปหนึ่ง ได้ ให้ ความหมายในการ ปฐมนิเทศนิสติ ใหม่ของจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในพระอุโบสถวัดมหาธาตุฯ ประจาปี พ.ศ.๒๕๒๙


ว่า “คาว่ าวิชาชัน้ สูง หมายถึง มรรค ผล นิพพาน หรือโสฬสญาณ ดังนัน้ ผู้ใดศึกษาที่มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยยังได้ ไม่ ถึงโสฬสญาณ จึงยังไม่ จบหลักสูตรวิชาชัน้ สูงของมหาจุฬาฯ” ดังนันเพื ้ ่อให้ นิสติ หรื อบัณฑิตของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้ มีโอกาสเรี ยนจบทังปริ ้ ยตั ิสทั ธรรมและวิชา ชันสู ้ ง แม้ สถาบันการศึกษาอื่นๆ ทังของสงฆ์ ้ และของคฤหัสถ์ ทังภาครั ้ ฐและเอกชน ทังของศาสนาพุ ้ ทธและศาสนาอื่นๆ ทัง้ ที่มีอยู่ภายในประเทศและต่างประเทศทั่วโลกอย่างไม่จากัดชาติ ชัน้ วรรณะ ศาสนา เพศ วัย ได้ มีสถานที่ศกึ ษาวิชาชันสู ้ ง ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั นี ้อย่างเสมอภาค จบหลักสูตรสมบูรณ์โดยเท่าเทียม กันตามกาลอันสามควรด้ วยความสามารถแห่งตนในอนาคต เมื่อข้ าพเจ้ ายังเป็ นนักศึกษาได้ สญ ั จรไปทัว่ ทุกภาคของประเทศเพื่อแสวงหาผู้สอนให้ ได้ วา่ “ธรรมที่จะนาไปสู่ การตรัสรู้ตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเพื่อความดับทุกข์ ได้ จริงๆ อันมีอริยมรรค ๘ องค์ และอริยสัจ ๔ เป็ นต้ น ตรงตามที่บันทึกไว้ ในนิกายต่ างๆ ในพระไตรปิ ฎกนั น้ คืออย่ างไร” จนมีอาจารย์มากมาย ใช้ เวลาถึง ๒๑ ปี ได้ ศึกษากับท่านอาจารย์พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ จบขันต้ ้ นการปฏิบตั ิ เรี ยนวิชาครูฝึกสอนจบรวมแล้ ว ๔ ปี เต็ม เตรี ยมการก่อตังศู ้ นย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร สร้ างบุคลากรในระดับครูที่ถึงคุณภาพเพื่อรองรับงานของ ศูนย์และงานพระศาสนา เพื่อทดลองหลักสูตรที่ร้ ูมาว่าจะยังมีที่ใดไม่เรี ยบร้ อยต้ องแก้ ไข และสัญจรไปในประเทศเพื่อสอน ให้ ประชาชนทังที ้ ่เป็ นภิกษุ พุทธบริษัท สามเณร และอุบาสก อุบาสิกา พุทธบริษัท ให้ ร้ ูวา่ ธรรมที่ใช้ ในการดับทุกข์เป็ น อย่างไร อะไรคือถูก อะไรคือผิด และทาอย่างไรธรรมเหล่านันจึ ้ งจะเกิดขึ ้น จะรู้เห็นได้ อย่างไร อีก ๘ ปี จะย่างเข้ า ๙ ปี วันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๔ ถึง ๒๕๔๕ ที่จะถึงแล้ วนี ้ รวมระยะเวลาแล้ ว ๓๓ ปี ย่างเข้ า ๓๔ ปี ยังไม่เคยเห็นไม่เคย ได้ ยินคาสอนจากอาจารย์รูปใดท่านใด ทังในพุ ้ ทธศาสนาและนอกพุทธศาสนาที่สอนวิธีทาให้ มรรค ๘ องค์ เกิดเพื่อการดับ ทุกข์ได้ ชดั เจนเลย นอกจากท่านอาจารย์พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ และศิษยานุศษิ ย์ที่ทรงคุณภาพของท่านเท่านัน้ ดังนัน้ สมณธรรมจึงปรากฏให้ ผ้ ปู ฏิบตั ถิ กู ต้ อง เห็นได้ พิสจู น์ได้ ด้ วยดวงตาที่ได้ ปรากฏเห็นแล้ ว และปั ญญาญาณของ ตนเอง สมณธรรมขันที ้ ่ ๑ ขันที ้ ่ ๒ ขันที ้ ่ ๓ ขันที ้ ่ ๔ อันเป็ นชันผลการศึ ้ กษาที่มีได้ เฉพาะในวิปัสสนาธุระจึงเกิดได้ ตรงตาม พระพุทธองค์ทรงเทศน์ไว้ ซึ่งมีปรากฏจารึกไว้ ในหลายนิกาย ในพระไตรปิ ฎกในอรรถกถาและฎีกาเป็ นต้ น ความเข้ าใจและ สิ ้นสงสัยในปริยตั ธิ รรมว่ามีได้ จริงหรื อ จึงได้ สิ ้นไป หมดไป เพราะมาแจ่มแจ้ งในปฏิบตั ธิ รรม และปฏิเวธรรมที่ตรงกันดังนี ้ เพื่อทาให้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ ปรากฏแก่จกั ษุ คือ ปั ญญาญาณแห่งพุทธบริษัทที่เคารพนับถือ จงรักภักดี ซื่อตรงต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเพื่อขจัดความเข้ าใจผิดเพี ้ยนที่มวลมนุษย์มีตอ่ พระศาสนาด้ วยอานาจแห่งโมหะและมานะ ทิฐิให้ หมดไป เหมือนดวงอาทิตย์อทุ ยั ขึ ้นจับขอบฟ้าเพื่อขจัดความมืดมิดอันเปรี ยบด้ วยโมหะอันทาให้ เกิดความเข้ าใจผิด วิปลาสไปจากสภาพความจริงที่เป็ นจริง ความชัดเจนแจ่มแจ้ งแห่งธรรมได้ โอกาสกลับคืนมา เพื่อให้ ปรากฏแก่ดวงตา ปั ญญาแห่งมนุษย์สตั ว์เป็ นประโยชน์สืบต่อไป อันเป็ นความประสงค์สดุ ยอดแห่งเรา แห่งกลุม่ ผู้ทางานนีข้ ึ ้นด้ วยเหตุผล ที่วา่ พระพุทธศาสนาจะไม่บรรลุประโยชน์แก่มนุษย์และเทวดาตามเป้าหมายได้ เลยถ้ าขาดการปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้ องอย่างถึง คุณภาพ เช่น ท่านจะไม่สาเร็ จประโยชน์เพียงแค่ร้ ูปริยตั ิวา่ ทานมีกี่ชนิด ชนิดไหนมีอานิสงส์มาก ชนิดไหนมีอานิสงส์น้อย คาถวายว่าอย่างไร สามารถแนะนาผู้อื่นได้ แต่ไม่เคยทาเองเลย ไม่เคยถวายเลย ศีลก็ร้ ูเป็ นอย่างดีวา่ มีกี่ชนิด อะไรบ้ าง ทา


อย่างไรจึงจะได้ อานิสงส์มากหรื อน้ อยอย่างไร สามารถแนะนาผู้อื่นได้ แต่ตนเองไม่เคยรักษาเลย ภาวนาไม่วา่ จะเป็ นสมถะ หรื อวิปัสสนาท่องได้ หมด พูดได้ หมด หากจะมีความสามารถถึงขันแนะน ้ าคนอื่นได้ แต่ตนเองไม่เคยทาเลย ก็ไม่สามารถ ได้ รับประโยชน์จากปริยตั ิสทั ธรรมนันๆ ้ ได้ เลยแม้ แต่น้อยเหมือนกัน ๘. เพื่อให้ กิจในการศึกษาแห่งพระพุทธศาสนาครบวงจร กล่าวคือ วิปัสสนาธุระ อันได้ แก่ ปฏิบตั ศิ าสนาได้ ต้อง เริ่มก่อน จึงได้ ผลอันได้ แก่ ปฏิเวธศาสนาจึงเกิดได้ และสุดท้ าย จึงตรวจสอบทังปฏิ ้ บตั แิ ละปฏิเวธนันด้ ้ วยปริยตั ิศาสนา อัน เป็ นวิทยานิพนธ์หลักฐานในการตรัสรู้ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าและอริยสงฆ์ได้ ทาไว้ อันเป็ นคันถธุระว่าถูกต้ องตรงตาม สมมติบญ ั ญัตทิ ี่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงบัญญัตไิ ว้ หรื อไม่ เพื่อไม่ให้ มีความเห็นขัดแย้ งกันกับที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรง บัญญัตไิ ว้ ด้วย การสร้ างสมมติบญ ั ญัตอิ ื่นขึ ้นมา อันอาจทาให้ เกิดความเข้ าใจในพระปริยัติสทั ธรรมคลาดเคลื่อนนันได้ ้ หายไป อันเป็ นการทาให้ สมั มาทิฐิ ความเห็นถูกต้ องตรงกันตามแนวทางที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ เคยทาไว้ แต่โบราณ ให้ ยังคงเป็ นแนวทางที่ปรากฏเห็นเด่นชัดว่าถูกต้ องที่สดุ เหมาะสมที่สดุ แก่การศึกษาเพื่อดับทุกข์ของโลกต่อไป ดังนัน้ จึงร่วมมือกับผู้เป็ นหุ้นส่วนในบริษัทของพระพุทธเจ้ าหรื อพระพุทธศาสนา อันประกอบด้ วยภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา ก่อตังและสถาปนาศู ้ นย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระนี ้ขึ ้นเพื่อประโยชน์ดงั ที่ได้ กล่าวแล้ ว





เมือ่ ตรวจดูตามในตัวอย่างนี ้ การศึกษาพระพุทธศาสนาจะถูกต้ องตามพุทธวิธีได้ มีเพียง ๒ วิธีเท่านัน้ คือ แบบที่ ๑.๖ และ ๑.๗ การศึกษาวิธีการใดๆ ที่ไม่เป็ นไปในลักษณะนี ้ ถึงแม้ วา่ จะเป็ นการศึกษาแห่งพระพุทธศาสนา แต่ก็เป็ น การศึกษาพุทธศาสนาที่บกพร่อง เป็ นการศึกษาที่ไม่เรี ยบร้ อยเพราะคาว่า “พุทธศาสนา” แปลว่า คาสัง่ สอนของ พระพุทธเจ้ า ในเมื่อคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้ าที่แท้ จริงจะต้ องประกอบด้ วย ปฏิบตั ศิ าสนา ปฏิเวธศาสนา ปริ ยตั ศิ าสนา เมื่อจัดการศึกษาเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งจะเรี ยกว่า “พุทธศาสนาศึกษา” จึงยังไม่น่าจะชัดเจนตรงตามพระพุทธประสงค์ เพราะนานไปอาจทาให้ พทุ ธวาทะเสียหายได้ ดังนันศู ้ นย์ฯ จึงจัดทาหลักสูตรพุทธศาสนาศึกษาของศูนย์ขึ ้น เพื่อให้ สอดคล้ องตรงตามพุทธวิธีโดยจัดเป็ นวงจร การศึกษาหลัก ตามแบบที่ ๑.๖ และ ๑.๗ สาหรับผู้ที่เคยศึกษาปริยตั ศิ าสนาหรื อคันถธุระมาก่อนดังนี ้

๒.การที่จะทางานพุทธศาสนศึกษาให้ สมบูรณ์ บริบูรณ์ ได้ นัน้ จาเป็ นต้ องมีสถานที่สัปปายะ คือรองรับ การศึกษาได้ อย่างครบถ้ วนทัง้ ๓ ศาสนา ในสมัยโบราณ สังคม ประเพณี วัฒนธรรมของคนอินเดียโบราณ เอื ้ออานวยต่อ การศึกษาคันถธุระหรื อวิปัสสนาธุระ ช่วงระยะแรกหรื อนวกภูมกิ ็จะอยู่กบั ครูอาจารย์ในวิหาร วัดวาอาราม พอเริ่มมีความ เข้ าใจวิธีการ และความรู้ในการจัดการพอเป็ นที่ให้ เกิดกาลังศรัทธามุง่ มัน่ ได้ ดีแล้ ว ก็จะพาไปหาสถานที่ปฏิบตั ิเพื่อลงมือ ปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง ซึ่งประธานรัฐบาลและหน่วยงานรัฐบาลของเขาจะให้ ความสะดวกเป็ นอย่างดี ในประเทศเรานันสมั ้ ย โบราณก็สปั ปายะ มาถึงปั จจุบนั ก็เปลี่ยนไป ด้ วยเหตุว่าคนเป็ นบัณฑิตน้ อยลง โลภะ โทสะ โมหะ ในคนมีมากขึ ้นทัง้ ทางด้ านความเข้ มข้ นและปริ มาณ ทาให้ สถานที่สปั ปายะ (เหมาะสมแก่งาน) เสียไป เช่น สัญจรไปพบปะพูดคุยธุรกิจ ทา เหรี ยญ นัง่ ปรก ปลุกเสก เจิมทาน ้ามนต์ ดูหมอ ดูหวย ทานายทายทักดูโชคชะตา สะเดาะเคราะห์ เป็ นต้ น เป็ นกระบวนการ ทาลายพระสงฆ์ และทาลายกระบวนการศึกษาเพื่อสร้ างพระสงฆ์พทุ ธสาวก ตามพุทธวิธี เป็ นการทาลายพระพุทธศาสนา ทาลายกระบวนการสร้ างศาสนาทายาท และเป็ นกระบวนการคุมกาเนิดพุทธศาสนาทายาทไม่ให้ เกิดขึน้ อีกต่อไป อย่างมี ประสิทธิภาพที่สดุ ซึ่งกระบวนการเหล่านี ้มีสมาชิก ทังกลุ ้ ม่ ผู้แสดงตนเป็ นพระสงฆ์ และกลุ่มที่แสดงตนเป็ นอุบาสก อุบาสิกา ส่วนหน่วยงานรัฐบาลก็ไม่คอ่ ยจะมีความรู้ เพราะด้ อยการศึกษาในเรื่ องนี ้อย่างเพียงพอ การอุปถัมภ์ช่วยเหลือ จึงเป็ นการเลือกปฏิบตั เิ ฉพาะกลุม่ หรื อบุคคล หรื อพวกพ้ องหรื อผู้ให้ สนิ บนหรื อความศรัทธาเฉพาะกลุ่มหรื อบุคคลทัว่ ไป เพราะไม่สามารถรู้ว่ากลุม่ ไหนถูก กลุม่ ไหนไม่ถกู ใช่หรือไม่ใช่ พุทธศาสนาศึกษาจึงตกอยู่ในระหว่างอันตรายมากที่สดุ ครัง้ หนึ่งในขณะนี ้ ทังในส่ ้ วนที่เป็ นระบบการศึกษา กระบวนการศึกษา สถานที่ศกึ ษา ผู้สนับสนุนการศึกษา ครูอาจารย์ผ้ ใู ห้ การศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศาสนทายาทการศึกษา กระบวนการสร้ างคนให้ เป็ นคนดี หรื อกระบวนการสร้ างอุบาสก อุบาสิกา และกระบวนการดารงชีวติ อย่างบัณฑิต หรื อที่มีผ้ เู รี ยกว่า อย่างพุทธศาสนิกชน ดังนัน้ พุทธบริษัทผู้เห็นภัยอันตรายใหญ่หลวง ที่จะทาให้ มนุษยชาติอาจต้ องถึงขันสู ้ ญเสียสมบัตอิ นั ทรงคุณค่า ยิ่งใหญ่สงู ที่สดุ นี ้ไป จึงได้ ร่วมมือทังแรงกาย ้ แรงใจ แรงปั ญญา แรงทรัพย์ และแรงกาลังพลพวกพ้ องสถาปนา และสร้ าง เป็ นศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระขึ ้น เพื่อเป็ นสถานที่จดั กระบวนการทังปวงนี ้ ้ให้ ครบถ้ วนตามพุทธวิธี เพื่อมวลมนุษย์


จะได้ ทราบจุดที่จะเข้ าศึกษาพุทธศาสนศึกษา ปั จจุบนั มีหลักสูตร ระบบจัดการการดาเนินการ ทังที ้ ่รัฐสนับสนุนเป็ นเพียง บางส่วนของปริยตั ิศาสนาและปฏิบตั ศิ าสนา บางส่วนเพื่อให้ ได้ ชื่อว่าทาบ้ างโดยถือเอาปริมาณของนักเรี ยนหรื อผู้สนใจ เข้ าศึกษา และหวังผลสูงสุดที่กรมศาสนา หรื อสังคมเป็ นผู้กาหนด และรับรองไว้ เป็ นเกณฑ์มไิ ด้ จดั ขึ ้นเพื่อหวังผลสูงสุดทาง พระพุทธศาสนา ตามที่พระพุทธองค์ได้ ทรงวางเป็ นแนวทางของหลักสูตรไว้ แต่ประการใด การที่ศนู ย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหารถูกสถาปนาให้ เกิดขึ ้นเพื่อจัดการศึกษา หลักสูตรพุทธศาสน ศึกษา ให้ ครบถ้ วนที่สดุ เท่าที่จะสามารถ ตามที่พระพุทธองค์ได้ ทรงวางเป็ นรากฐานไว้ เพื่อให้ มีอิสระในการทาหลักสูตรให้ ถูกต้ องไร้ ความกดดันอันเป็ นขีดจากัดขันสู ้ งใดๆ และเพื่อให้ พทุ ธบริษัท ตลอดจนเพื่อนมนุษยชาติด้วยกันทังปวง ้ ได้ มี สถานที่ศกึ ษาที่เป็ นรูปร่างหลักแหล่งแน่นอนที่จะให้ ความรู้ที่เป็ นมาตรฐานถูกต้ องควบคุมคุณภาพได้ อย่างจริงจัง สมกับ เป็ นคาสอนอันเป็ นสมบัตขิ องโลกโดยส่วนรวม จนพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ รับสมญานามว่า “สตฺถา เทวมนุสฺสาน” เป็ น ผู้สอนเทวดาและมนุษย์ทงหลาย ั้ เพื่อให้ พทุ ธศาสนศึกษายังอยู่ครบไม่สญ ู หาย เพื่อต่ออายุพทุ ธศาสนาอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วนให้ ยืนยาวเป็ นประโยชน์ใหญ่หลวงในการดับทุกข์แก่มวลมนุษยชาติตอ่ ไปภายหน้ าอย่างมีมาตรฐานมัน่ คงเพื่อ เพิม่ ปรมัตถ์ปัญญาอันเป็ นสุดยอดแห่งภาวนามยปั ญญาให้ แผ่ไพศาล เพื่อสันติสขุ ของโลก จึงสถาปนาศูนย์กลาง การศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร เพื่อประโยชน์เหล่านี ้ ซึ่งยังไม่เคยปรากฏมีมาก่อน ดังนี ้

๔.เป้าหมาย ผู้มีความประสงค์เข้ ารับการศึกษา ได้ แก่ พระภิกษุ สามเณร แม่ชี พราหมณ์ อุบาสก อุบาสิกา และสาธุชน โดยทัว่ ไปไม่จากัด ชาติ ชั ้น วรรณะ ยศศักดิ์ เพศวัย ศาสนา ขอเข้ ารับการศึกษาได้ โดยจาแนกตามวัตถุประสงค์ที่ตน ปรารถนาได้ ดงั ต่อไปนี ้ ๑. ผู้เข้ าศึกษาตามเป้าหมายหลัก ผู้หวังมรรคผลนิพพาน และผู้เข้ าโครงการสร้ างบุคลากรของศูนย์ -

โครงการคัดเลือกผู้เข้ าปฏิบตั ิ (ระดับแรกคัด โครงการหลักขันที ้ ่ ๑ INTERNE I)

-

โครงการระดับหวังผล ๑ (คัดขันที ้ ่ ๒ โครงการหลักขัน้ ๒ INTERNE II)

-

โครงการระดับหวังผล ๒ และพิสจู น์ผล (โครงการหลักขันที ้ ่ ๓)

-

โครงการระดับนักเรี ยนครู (โครงการหลักขันที ้ ่ ๔)

-

โครงการระดับวิชาประกอบวิชาครู การศึกษาคันถธุระงานวิจยั และบริการข้ อมูล (โครงการหลักขันที ้ ่ ๕)

-

โครงการรวบรวมวิชาการภาคคันถธุระ และหลักฐานทางวิปัสสนาธุระ (โครงการหลักขันที ้ ่ ๖)

๒. ผู้เข้ าศึกษาตามเป้าหมายรองคือ ผู้ศกึ ษาในระดับต่ากว่ า มรรคผล นิพพาน แบ่งออกเป็ น ๒ ระดับคือ ๒.๑ การศึกษาสงเคราะห์ ในระดับปฏิบัตวิ ปิ ั สสนา คือ ผู้เข้ าปฏิบตั ทิ ี่มีเวลาในการปฏิบตั ติ ายตัวแน่นอน ได้ แก่ - กลุม่ สถาบันการศึกษาของทังภิ ้ กษุ สามเณร และคฤหัสถ์ โดยทัว่ ไปที่จดั เป็ นหลักสูตรหรื อกิจกรรมเสริม หลักสูตร


- กลุม่ บุคคลหรื อหน่วยงานที่มีความประสงค์ขอเข้ ารับการฝึ กหัดอบรม - คณะหรื อบุคคลหรื อหน่วยงานที่มีความประสงค์ขอเข้ ารับการฝึ กหัดอบรม - คณะหรื อบุคคลที่ต้องการปฏิบตั เิ ป็ นการส่วนตัวเพื่อศึกษา และทดลอง - กลุม่ บุคคลที่มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจ มีปัญหาแก้ ไม่ตกทังการศึ ้ กษา การงาน และการบ้ าน ต้ องการมี สมาธิในการเรี ยน การทางาน ต้ องการบรรเทาทุกข์ ต้ องการขจัดทุกข์ ต้ องการสงบจิต ต้ องการทาบุญ - กลุม่ ผู้ปฏิบตั เิ ฉพาะวันหยุดหรื อวันสาคัญหรื อเทศกาลหรื อเฉพาะเวลา - กลุม่ ผู้สนใจในระดับสาธิต งานอบรมระยะสัน้ ๒.๒ การศึกษาสงเคราะห์ ในระดับต่ากว่ าปฏิบัตวิ ปิ ั สสนา - กลุม่ ผู้ถือศีลทาวัตรสวดมนต์ฟังธรรมประจาวัน หรื อทุกวันพระ หรื อทุกวันเสาร์ อาทิตย์ - กลุม่ ผู้สนใจฟั งธรรมตามกาล - กลุม่ ผู้นิยมการอ่านการค้ นคว้ าหรื อศึกษาโดยผ่านสื่อการสอน



๑.๑ หลักสูตรหลัก ปฏิบัตธิ รรม ปฏิเวธธรรม ๑.๑.๑ ระดับคัดเลือก ๑ ( INTERNE I ) - ผลการศึกษาจบสัมมัสสนญาณ เข้ าตรุณอุทพัพพยญาณตอนต้ นได้ - ระยะเวลาสาหรับภิกษุสามเณร ๒๐ วัน บุคคลทัว่ ไป ๑๕ วัน - สภาพทางปั ญญา เข้ าใจศีลวิสทุ ธิ เห็นจิตตวิสทุ ธิ กังขาวิจารณวิสทุ ธิ อันทรี ย์ ๕ พละ ๕ เห็นสมาธิที่ใช้ ในวิปัสสนากัมมัฏฐานทัง้ ๓ ระดับ ในกิจ ๓ อย่าง ๓ ชนิด วิธีทาให้ ปพุ ภาคมรรค ๘ องค์เกิด เห็นอริยสัจ ๔ เบื ้องต้ น หรื อโลกียาริยสัจ ๔ สมบูรณ์ รู้เห็นตทังคนิพพาน เห็นวิปัสสนาญาณ ๓ ในวิปัสสนาญาณ ๑๖ เบื ้องต้ นอย่างสมบูรณ์ รู้จกั ไตรลักษณ์ นามรูปสังขาร หรื อนามรูปปรมัตถ์ ๑.๑.๒ ระดับคัดเลือก ๒ ( INTERNE II ) - ผลการศึกษาจบกักขฬอุทยัพยญาณ เข้ าตรุณภังคญาณ - ระยะเวลาสาหรับภิกษุสามเณร ๔๐ วัน บุคคลทัว่ ไป ๓๐ วัน - สภาพทางปั ญญา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิชดั เจน สภาวทางปั ญญาในระดับ คัดเลือก ๑ ชัดเจน มากยิ่งขึ ้น และสัมผัสวิขมั ภนนิพพานได้ บางส่วน เห็นอุทยัพพยญาณบริบรู ณ์ เริ่มเข้ าภังคญาณ ๑.๑.๓ ระดับหวังผลขัน้ ที่ ๑ และพิสูจน์ ผล จบการศึกษาระดับบัณฑิต - ผลการศึกษาจบปั จจเวกขณญาณ ฝึ กผลสมาบัติ ทวนญาณได้ ตามหลักสูตร ฟั งบรรยาย ลาดับญาณ - ระยะเวลาที่ใช้ ไม่มีกาหนด จนกว่าจะได้ ผลและพิสจู น์เสร็จ - สภาพทางปั ญญา เห็นปฏิปทาญาณทัศนวิสทุ ธิ ญาณทัศนวิสทุ ธิ เห็นวิสทุ ธิตลอดสายทัง้ ๗ วิสทุ ธิ เห็นวิปัสสนาญาณตลอดทัง้ ๙ หรื อ ๑๐ หรื อ ๑๖ วิปัสสนาญาณ เห็นนิพพานตลอดสาย ตังแต่ ้ ตทังค นิพพาน ถึงสมุจเฉทนิพพาน หรื อมรรคผลนิพพาน ในระดับปฐมมรรค หรื อโสดาปั ติมรรค โสดาปั ตผิ ล เห็น อริยมรรค ๘ ตังแต่ ้ ปพุ ภาคมรรค ถึงโลกุตรมรรค เห็นอริ ยสัจ ๔ ตังแต่ ้ โลกียาริยสัจ ถึงโลกุตราริยสัจ เห็น และเข้ าใจในโพธิปักขิยธรรมทังมวล ้ เห็นและเข้ าใจในวิธีพสิ จู น์ผลการปฏิบตั ดิ ้ วยตนเอง ศรัทธาเกิด ๑.๑.๔ ระดับการศึกษาปฏิบัตชิ นั ้ สูง (ระดับหวังผลขัน้ ที่ ๒ – ๔) ได้ แก่สมณธรรมที่สงู กว่า สมณธรรมขันที ้ ่ ๑ (บัณฑิต) กล่าวคือ สมณธรรมขันที ้ ่ ๒ (มหาบัณฑิต) สมณ ธรรมขันที ้ ่ ๓ (อัคคมหาบัณฑิต) สมณธรรมขันที ้ ่ ๔ (อุตตมัคคมหาบัณฑิต) ๑.๒ หลักสูตรวิชาครู ๑.๒.๑ ระดับวิชาครู เฉพาะผู้สมณธรรมขันที ้ ่ ๒ หรื อมหาบัณฑิตขึ ้นไป - ภาคทฤษฎีครู - วิชาประกอบวิชาครู - ภาคการตรวจสอบสมาธิญาณ เทคนิคการแก้ อารมณ์ - ภาคฝึ กสอน เทคนิคการตรวจสอบสืบสวน การถ่ายทอด ๑.๓ หลักสูตรวิปัสสนาสงเคราะห์


๑.๓.๑ ให้ ใช้ หลักสูตรคัดเลือก ๑ และคัดเลือก ๒ ตามกาลังการพัฒนาของผู้ปฏิบตั ิ - ระยะเวลาที่กาหนด แต่ไม่เกิน ๑๕ วัน - ผลการศึกษา ใช้ สภาพทางปั ญญาของหลักสูตรคัดเลือก ๑ เป็ นเกณฑ์ ๑.๓.๒ หลักสูตรวิชาครูสงเคราะห์ เฉพาะผู้ผา่ นเกณฑ์คดั เลือก ๑ ขึ ้นไป - หลักสูตรการสอนอนุบาล ๑ (นามรูปปริจเฉทญาณ) ถึงอนุบาล ๒ (ปั จจยปริคคหญาณจบ ขึ ้น สัมมัสสนญาณ ตอนต้ น) - ระยะเวลาต่อเนื่องในการสอนไม่เกิน ๗ – ๑๕ วัน ๒. หลักสูตรคันถธุระ ๒.๑ หลักสูตรปริยัตชิ นั ้ สูง สาหรับผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรของศูนย์ ฯ ๒.๑.๑ หลักสูตรหลักปริยัตชิ นั ้ ปฏิบัตธิ รรมและปฏิเวธธรรม ๑-๑ อริยมรรค ๘ อริยสัจ ๔ ๑-๒ วิสทุ ธิ ๗ ลาดับวิปัสสนาญาณ ๑๖ ๑-๓ ปรมัตถธรรม ๔ ไตรลักษณ์ ๓ ๑-๔ สัมพันธ์ระหว่าง อินทรี ย์ ๕ พละ ๕ มรรค ๘ ๑-๕ ลักษณะของบุญ สมาธิ บัญญัติ ปรมัตถ์ ประโยชน์และวิธีใช้ ๒.๒ หลักสูตรครูเร่ งรัด ๒.๒.๑ ความเข้ าใจ อริยมรรค ๘ อริยสัจ ๔ ๒.๒.๒ วิชาลาดับสมาธิญาณ และวิสทุ ธิ ภาควิชาครู ๒.๒.๓ เคล็ดลับการสอน (เทคนิค) ก. เคล็ดลับการสอน ตามแบบวิสทุ ธิ ๗ ข. เคล็ดการจัดการ ตามแบบมหาสติปัฏฐานทัง้ ๔ ค. เคล็ดการทาให้ เกิดสมาธิ วิถีจิต ขณะจิต วิธีทา คัมภีร์รองรับ และเหตุผล ง. เคล็ดการประเมินผล การแสดงเป้าหมายจุดประสงค์การถ่ายทอด - การตรวจสอบข้ อมูล - การสืบสวนสอบสวน - การวิเคราะห์ข้อมูล - การสรุปผล การทางาน (การจัดการ, อินทรี ย์ ๕, พละ ๕, มรรค ๘, และสมาธิญาณ) จ. เคล็ดการถ่ายทอด - แสดงเป้าหมายเงื่อนไข - แสดงจุดประสงค์ การแก้ ไขพร้ อมเหตุผล - แสดงขันตอนการแก้ ้ ไข (แสดงวิธีปฏิบตั ติ ามลาดับ วิถีจิต และขณะจิต สติ และการกาหนด)


- วิเคราะห์ข้อมูลความเข้ าใจ - การสรุปผลความเข้ าใจวิธีการแก้ ไขเบื ้องต้ น ฉ. คัมภีร์ที่ใช้ ศกึ ษา ตามลาดับการพัฒนาของวิสทุ ธิ ๗ (ควรตรวจสอบบาลีด้วย) - คัมภีร์ศีลวิสทุ ธิ, พระวินยั ปิ ฎก, ศีลขันธวรรคทีฆนิกาย - คัมภีร์หลักการสอน มหาสติปัฏฐานสูตร - คัมภีร์ประกอบการสอน อานาปานสติสตู ร และโพธิปักขิยธรรมทังปวง ้ - คัมภีร์เคล็ดลับการสอน ธัมมจักกัปปวัตนสูตร - คัมภีร์ประกอบเคล็ดการสอน อนัตตลักขณสูตร, อาทิตตปริยายสูตร, คิริมานนทสูตร, โอวาทปาฏิโมกข์ - คัมภีร์เคล็ดการตรวจสอบ และประเมินผลการเรี ยนการสอน ได้ แก่ คัมภีร์ที่เกี่ยวกับ อริยมรรค ๘, สมาธิญาณ, อินทรี ย์ ๕, ไตรลักษณ์ - คัมภีร์ประกอบเคล็ดการตรวจสอบ ปฏิสมั ภิทามรรค และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ อินทรี ย์ ๕, พละ ๕, ไตรลักษณ์, วิปลาส ๔, นิมติ ๓, วิสทุ ธิมรรค, วิปัสสนาทีปนีฎีกา ฯลฯ ๒.๓ หลักสูตรสงเคราะห์ ปริยัตชิ นั ้ สูง สาหรับผู้เข้ าศึกษาหลักสูตรสงเคราะห์ ๒.๓.๑ หลักสูตรสงเคราะห์ปริยตั ชิ นปฏิ ั ้ บตั ธิ รรม และปฏิเวธธรรม (ตามพัฒนาการ) - อารมณ์วปิ ั สสนา (ปรมัตถ์ ๔) - สมาธิในอินทรี ย์ ๕, พละ ๕, และมรรค ๘ วิธีทาให้ เกิดและรักษา - มรรค ๘, อริยสัจ ๔, ไตรลักษณ์ ตทังคนิพพาน - วิสทุ ธิไม่เกินกังขาวิตรณวิสทุ ธิ - บุญ วิธีทาบุญ การรักษา และการนาไปใช้ - บัญญัติ ปรมัตถ์ - วิถีจิตสุดท้ ายก่อนเคลื่อนนิมติ (เครื่ องหมาย) ก่อนเคลื่อน - วิธีใช้ สมถะ และผลในภพใหม่ - วิธีใช้ วปิ ั สสนา และผลในภพใหม่ หมายเหตุ ยกเว้ นการบอกลาดับสมาธิญาณ ๒.๔ หลักสูตรวิชาครูอนุบาลสงเคราะห์ ๒.๔.๑ ความเข้ าใจ ปุพภาคมรรค ๘, โลกียาริยสัจ ๔ ๒.๔.๒ วิปัสสนาไม่เกิน สัมมัสนญาณ วิสทุ ธิไม่เกิน กังขาวิตรณวิสทุ ธิ ๒.๔.๓ เคล็ดการสอน ๒.๔.๓.๑ เคล็ดการสอนตามลาดับวิสทุ ธิ ๗ ๒.๔.๓.๒ เคล็ดการจัดการ ตามมหาสติปัฏฐาน ๔ ๒.๔.๓.๓ เคล็ดการทาสมาธิ, วิถีจิต, ขณะจิต, วิธีทา


๒.๔.๓.๔, ๒.๔.๓.๕, และ ๒.๔.๓.๖ ให้ เอาจากข้ อ ๒.๒ หลักสูตรวิชาครูเร่งรัดมาใช้ แทนตามความเหมาะสม ๒.๕ หลักสูตรคันถธุระ ระดับมาตรฐาน ๒.๖ หลักสูตรคันถธุระ วิชาครูระดับมาตรฐาน ๒.๗ หลักสูตร งานวิจัย ประเมินผลและพัฒนา ๒.๘ หลักสูตรต่ อเนื่อง จบหลักสูตรพุทธศาสนศึกษา ศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระโดยสังเขป ผู้ทาหลักสูตร ชินสภเถระ

สรุ ปท้ ายบท วิปัสสนากัมมัฏฐานวิธี เป็ นเรื่ องของกรรมวิธีการทาให้ มรรคเกิดขึ ้น มรรคมีความสาคัญอย่างไร เมื่อเกิดขึ ้นแล้ ว มีประโยชน์อย่างไรบ้ าง เรื่ องนี ้มีหลักฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ทรงเทศน์ไว้ ในพระไตรปิ ฎกหลายแห่ง อันมีในทีฆนิกาย มหาสติปัฏฐาน ๔ เป็ นต้ น พระพุทธเจ้ าทรงเทศน์ไว้ วา่ “ เอกายโน อย ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตาน วิสุทธฺ ิยา โสกปริเทวาน สมติกฺกมาย ทุกขโทมนสฺสาน อตฺถคมาย ญายสฺส อธิคมาย นิพพ ฺ านสฺส สจฺฉิกริ ิยาย” ดังนี ้แปลเป็ นใจความได้ ว่า “ผู้เห็นภัยอันตรายในสังสารวัตทัง้ หลาย มรรคนีเ้ ป็ นเครื่องมือชนิดเดียวเท่ านั น้ ที่สัตว์ ทัง้ หลายอันมีมนุษย์ เทวดา เทพเจ้ า พระเจ้ า มาร และพระพรหม ใช้ เป็ นเครื่องมีอในการชาระล้ างบาปความ ชั่วร้ ายอกุศลของตนให้ หมดสิน้ ไป จนเข้ าถึงความเป็ นผู้บริสุทธิ์ได้ โดยสิน้ เชิง เครื่องมือชนิดอื่นนอกจากมรรค นีไ้ ม่ มีอีกแล้ ว มรรคนีเ้ ป็ นมหายานพาหนะอันวิเศษเพียงชนิดเดียว ประเภทเดียวเท่ านัน้ ที่สามารถขนสัตว์ ทัง้ หลาย อันได้ แก่ มนุษย์ เทวดา เทพเจ้ า พระเจ้ า มาร และพรหม ให้ ข้ามพ้ นทะเลอันเป็ นหุบเหวแห่ งความโศกเศร้ า โศกาอาดูร ร้ องไห้ คร่ าครวญ ระทดระทวยระทม เพลียกาย เพลียใจ หมดอาลัยสิน้ หวังในชีวติ ได้ โดยสิน้ เชิง ยานพาหนะอื่นนอกจาก มรรคนีไ้ ม่ มีอีกแล้ ว มรรคเหล่ านีเ้ ป็ นนา้ อมฤตธรรมอันวิเศษเพียงชนิดเดียวประเภทเดียวเท่ านัน้ ที่สามารถดับไฟทุกข์ คือ ความร้ อนรนกระวนกระวาย อันเกิดจากความทุกข์ ระทม ระบมทางกาย ทางจิต และความน้ อยเนือ้ ต่าใจที่มีใน จิตแห่ งสัตว์ ทัง้ หลายอันได้ แก่ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร และพรหม ได้ โดยสิน้ เชิง ไม่ เหลือเชือ้ อีก ต่ อไป เครื่องมือดับไฟทุกข์ ชนิดอื่นอันเยี่ยมยอดที่จะวิเศษไปกว่ าเครื่องมือดับทุกข์ คือมรรคนีไ้ ม่ มีอีกแล้ ว มรรคเหล่ านีเ้ ป็ นขุมพลังที่มีอานุภาพวิเศษใหญ่ ท่ ีสุดเพียงชนิดเดียว อย่ างเดียวเท่ านัน้ ที่ช่วย สนับสนุนผลักดันให้ สัตว์ ทัง้ หลาย อันได้ แก่ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร และพรหม ได้ บรรลุธรรม อย่ างถูกต้ องได้ ขุมพลังอย่ างอื่นที่จะวิเศษไปกว่ านีใ้ นภพไหนๆ ไม่ มีอีกแล้ ว มรรคเหล่ านีเ้ พียงชนิดเดียวนีน้ ่ ีแหละ ที่มีเดชานุภาพ และพลานุภาพ ที่สามารถเปิ ดเปลือกตาอันแสน จะเปิ ดยากด้ วยเหตุถูกกดทับด้ วยเครื่องกดทับแห่ งมารอันได้ แก่ กิเลสธุลี อันเป็ นมลทินที่ปิดดวงตาปั ญญาแห่ ง


มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร และพรหม ให้ สามารถลืมขึน้ ได้ สาเร็จ ให้ เห็นปรากฏแจ่ มแจ้ ง จนกระทั่ง สามารถเห็นพระนิพพาน อันเป็ นสุดยอดแห่ งธรรมทัง้ ปวงได้ ” ดังนัน้ ธรรมอื่นอันเป็ นอุปกรณ์แห่งพระนิพพาน เช่น สติปัฏฐาน ๔ ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรี ย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรค ๘ อริยสัจ ๔ วิสทุ ธิ ๗ วิปัสสนาญาณ เป็ นต้ น พร้ อมทังลั ้ กษณะกิจหน้ าที่ เหตุผล ความเหมือนความต่าง ของธรรมเหล่านนันก็ ้ ย่อมสามารถเห็นได้ อย่างชัดเจนแจ่มแจ้ งได้ ด้วยเช่นกัน มวลมนุษยชาติ เทพเจ้ า เทวดา พระเจ้ า และพรหม ผู้มีปัญญา เมื่อรู้เห็นแจ้ งชัดด้ วยดวงตาปั ญญาแห่งตนดังนี ้ อย่างนี ้แล้ ว ย่อมแจ่มแจ้ งรู้แก่ใจตนเองว่า พระอริยเจ้ าผู้ประเสริฐทังหลาย ้ สามารถชนะ โลภะ โทสะ โมหะ รากเหง้ าแห่ง พันธนาวุธอันร้ ายกาจของพญามาร และของเสนามารเสียได้ โดยสิ ้นเชิง ด้ วยอริยธรรมาวุธวิเศษอันทรงพลังศักดานุภาพ คือ อริยมรรค ๘ องค์ จนพญามารและเสนามารยอมพ่ายแพ้ อย่างศิโรราบ ไม่อาจแม้ แต่จะคิดต่อสู้ขดั ขวางได้ อีกต่อไป สามารถเข้ าสู่แดนเกษมคือสวรรค์และนิพพานได้ ด้วยตนเองก่อนแล้ วจึงช่วยให้ ผ้ อู ื่น คือ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ให้ ร้ ูจกั วิธีชนะมารและเสนามาร เข้ าถึงสวรรค์และนิพพาน ต่างจากอาวุธวิเศษทังหลายที ้ ่มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ใช้ ดลบันดาลประหารศัตรูด้วยอานาจความไม่พอใจ อันเป็ นโลภะ โทสะ โมหะ กิเลสของตน ซึ่งเป็ น การสร้ างบาป ถึงศัตรูแพ้ ก็อาจจะกลับมาสู้ได้ อีก เพื่อรักษาอานาจความยิ่งใหญ่ของตนไว้ ไม่ให้ สญ ู เสียไป ซึ่ง ณ ขณะนัน้ เขาเหล่านันก็ ้ จะตกอยู่ภายใต้ อานาจพันธนาวุธอันร้ ายกาจของพญามารและเสนามารอย่างมิอ าจเอาตัวรอดได้ ทิศทางไป ของพวกเขาในอนาคตก็คืออบายภูมทิ งสิ ั ้ ้น จะช่วยป้องกันผู้อื่นให้ พ้นจากพญามารและเสนามารผู้ผกู มัดไปสูอ่ บายและ ความตายไม่สิ ้นสุดได้ อย่างไร พระอริยเจ้ าผู้ประเสริฐทังหลาย ้ สามารถขจัดคราบสกปรกในจิต คือ โลภะ โทสะ โมหะ บาปอกุศลให้ ลอยหลุด ออกไปจากจิตได้ อย่างสิ ้นเชิงเด็ดขาด ไม่กลับมาสกปรกอีกด้ วยอริยมรรคธรรมวารี ทงั ้ ๘ องค์ อันวิเศษชาระล้ าง จึงถึง ความเป็ นผู้บริ สทุ ธิ์ที่สดุ สะอาดที่สดุ เข้ าถึงความเป็ นสหายแห่งพรหม ได้ ถึงที่สดุ แห่งพรหมจรรย์ได้ เหนือท้ าวมหาพรหม และพรหมทังปวง ้ เข้ าสูป่ ระตูนิพพานอันเป็ นแดนสันติสขุ ก่อนแล้ วจึงช่วยให้ ผ้ อู ื่น คือ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ให้ ร้ ูวิธีลอยบาปออกจากจิตให้ ถึงความบริ สทุ ธิ์ เป็ นสหายของพรหมเข้ าสูก่ ระแสพระนิพพานเหมือนแบบตนได้ บ้าง ซึ่งต่างจากน ้า เครื่ องชาระวิเศษทังหลายที ้ ่มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ใช้ ชาระ ทาความสะอาดหมดจดให้ เกิดได้ ก็เพียงแต่มลทินภายนอกเท่านัน้ ถึงสะอาดแล้ วก็กลับสกปรกได้ อีก ส่วนจิตก็ยงั สกปรกด้ วยโลภะ โทสะ โมหะ อัน เป็ นมลทินภายในเหมือนเดิม มิอาจบริสทุ ธิ์สะอาดพอที่จะเข้ าถึงความเป็ นสหายแห่งพรหมได้ แต่ประการใด ดังนันจะเข้ ้ าสู่ ประตูสวรรค์ประตูนิพพาน จึงไม่เห็นทางที่จะเป็ นได้ แล้ ว จะช่วยใครให้ ลอยบาปถึงความบริสทุ ธิไ์ ด้ เล่า พระอริยเจ้ าผู้ประเสริฐทังหลาย ้ สามารถประหารทาลายโลภะ โทสะ โมหะ บาปอกุศลอันเป็ นรากเหง้ าแห่ง กุญแจประตูปิดสวรรค์และนิพพาน ให้ เปิ ดออกได้ ด้วยอริยมรรคธรรมมาวุธ ดาบวิเศษ ๘ องค์ อันทรงมหิทธานุภาพสูงที่สดุ เพื่อเข้ าสู่แดนสวรรค์ และแดนนิพพานอันเป็ นแดนที่สดุ แห่งสันติสขุ นิจนิรันดร์ ยอดเยี่ยมมัน่ คงไม่เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป ก่อนแล้ ว จึงช่วยให้ ผ้ อู ื่น คือ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ได้ ให้ ร้ ูจกั ใช้ อริยมรรคธรรมาวุธ ดาบของพระอริ ย เจ้ าคือ อริยมรรค ทาลายกุญแจปิ ดประตูสวรรค์และประตูนิพพานให้ เปิ ดออก เพื่อเข้ าสูแ่ ดนเกษมสันติสขุ นิรันดร์ เหมือน เช่นตน อันเป็ นการทาให้ สนั ติภาพอันแท้ จริงเกิดได้ ในทุกแดนภพไม่เพียงแต่มนุษย์เท่านัน้


ต่างจากดาบและเครื่ องประหารอันวิเศษของมนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ใช้ ประหารศัตรู ทังที ้ ่เป็ น เผ่าพันธุ์เดียวกันหรื อเผ่าพันธุ์อื่น ด้ วยอานาจ โลภะ โทสะ โมหะ แห่งตน เพื่อแสดงอานาจ รักษาอานาจ คือ โลภะ โทสะ โมหะ อันมีในจิตแห่งตนและพวกพ้ องของตน เป็ นเหตุให้ ไฟราคะ โทสะ โมหะ พยาบาทลุกโชติช่วงมากขึ ้นทุกแห่ง ที่มีผ้ ู เป็ นดังนี ้ ทาดังนี ้ นานเข้ าก็จะกลายเป็ นไฟประลัยกัลป์ล้ างผลาญโลก แทนที่จะเป็ นการทาลายกุญแจเพื่อเปิ ดประตูสวรรค์ และนิพพานให้ ตนเองก้ าวเข้ าสูด่ นิ แดนแห่งสันติสขุ กลับจะเป็ นการช่วยกุญแจที่ปิดประตูสวรรค์และประตูนิพพานนันมี ้ มหาศักดานุภาพแข็งแรงมากยิ่งขึ ้น ยากแก่การทาลาย ทาให้ ผ้ นู นห่ ั ้ างไกลจากแดนสันติสขุ หันหน้ ามุง่ ไปสูอ่ บายภูมมิ าก ขึ ้นทุกที แล้ วจะอาสานาผู้อื่นไปให้ ถึงแดนสันติได้ อย่างไร พระอริยเจ้ าผู้ประเสริฐทังหลาย ้ ล้ างบาปด้ วยการใช้ อริ ยมรรคอันประเสริฐ ๘ องค์ เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการ สารภาพบาป คือ โลภะ โทสะ โมหะ อันเป็ นรากเหง้ าของบาป อกุศลทังปวง ้ ให้ ถกู ชาระล้ างหลุดออกไปจากจิตได้ โดย สิ ้นเชิง ไม่อาจกลับมาเกิดได้ อีกต่อไป ถึงความเป็ นผู้บริ สทุ ธิ์บริบรู ณ์ได้ เป็ นสหายอยู่ในแดนอันสงบสันติสขุ ทุกข์แห่งพระ อริยเจ้ าได้ คือ สถิตอยู่ในแดนสวรรค์ และแดนนิพพานได้ ก่อนแล้ ว จึงช่วยให้ ผ้ อู ื่นอันได้ แก่ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ให้ ร้ ูจกั ใช้ อริยมรรค ๘ องค์ ในการสารภาพบาปเพื่อล้ าง โลภะ โทสะ โมหะ อันเป็ นบาปของตนให้ หมดออกจาก จิต ถึงความเป็ นผู้บริสทุ ธิ์บริบรู ณ์ เป็ นสหายอยู่ในดินแดนแห่งพระอริยเจ้ าทังหลายได้ ้ เหมือนตน ซึ่งต่างจากการสารภาพ บาปด้ วยเพียงวาจา แห่งมนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหมทังหลาย ้ ซึ่งไม่อาจชาระล้ างรากเหง้ าแห่งบาป คือ โลภะ โทสะ โมหะ ได้ แม้ แต่น้อย เพียงแต่พดู เพื่อแสดงความบริ สทุ ธิ์เท่านัน้ บาปมิได้ ถกู ลบล้ างจากหายไปไหน ยังคงมีอยู่ ในใจเหมือนเดิม ถ้ ามีโอกาสก็ยงั จะทาอีกอย่างแน่นอน บาปก็มีแต่จะยิ่งเพิม่ ขึ ้นตลอดเวลา ทิศทางเบื ้องหน้ าอบายภูมิ ชัดเจน สวรรค์นิพพานที่ปรารถนาดูทีท่ามีแต่จะห่างไกลอย่างแน่นอน ยังจะช่วยให้ คนอื่นล้ างบาปให้ ถึงความเป็ นผู้บริสทุ ธิ์ สถาพรได้ สาเร็จได้ อย่างไร พระอริยเจ้ าผู้ประเสริฐทังหลายสามารถขนตนเองให้ ้ รอดพ้ นจามหาสมุทรอันเต็มไปด้ วยมหันตภัยในสังสารวัฏ ทุกข์อนั ร้ ายกาจที่มีใน โลภะ โทสะ โมหะ กิเลส อกุศล เป็ นรากเหง้ าเสียได้ โดยสิ ้นเชิง ไม่กลับมาเกิดอีกต่อไป ด้ วยมหา อริยมรรคยานพาหนะใหญ่ ๘ องค์อนั ประเสริฐ ถึงสันติสขุ แห่งมหานิพพาน อันยอดเยี่ยมอันเป็ นที่สดุ แห่งความปลอดภัย คือ มรรค ผล นิพพาน ได้ เรี ยบร้ อยก่อนแล้ วจึงสามารถช่วยชนผู้อื่นอันได้ แก่ มนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ข้ ามห้ วงแห่งมหันตภัยในสังสารวัฏมหาสมุทร ด้ วยมหายานพาหนะ คือ อริยมรรค ๘ องค์ ถึงฝั่ งแห่งมหานิพพานอันสันติ สุขได้ เหมือนตนบ้ าง เพราะพ้ นจากความมัวเมาอยู่ในลาภสักการะอานาจ ยศศักดิ์ ด้ วยมูลเหตุแห่ง โลภะ โทสะ โมหะ ได้ อย่างสิ ้นเชิงแล้ ว ต่างจากยานพาหนะอันมนุษย์ เทวดา พระเจ้ า เทพเจ้ า มาร พรหม ผู้ยงั มีกิเลสทังหลายใช้ ้ สญ ั จรไปมา ถึง จะวิเศษศักดิส์ ทิ ธิแ์ ค่ไหนก็ไม่อาจข้ ามห้ วงแห่งสังสารวัฏทุกข์ได้ ถึงแม้ จะเป็ นพระโพธิสตั ว์ก็ยงั เป็ นปุถชุ นอยู่ ตนเองยังไม่ สามารถข้ ามฝั่ งได้ แล้ วจะอาสาพาคนอื่นข้ ามพ้ นทุกข์ได้ อย่างไร เปรี ยบเหมือนคนตาบอด จะไว้ ใจให้ จงู คนตาบอดด้ วยกัน ไป ยังจะไว้ ใจว่าปลอดภัยได้ อยู่หรื อ

ทัง้ หมดนีจ้ ะเห็นได้ ว่าอริยมรรคทัง้ ๘ องค์ นั่นเอง ถ้ าหากมนุษย์ทาให้ เกิดขึ ้นได้

มนุษย์ก็จะถึงความบริสทุ ธิ์ เป็ นพระอริยเจ้ าได้


ถ้ าหากเทวดาทาให้ เกิดขึ ้นได้

เทวดาก็จะถึงความบริสทุ ธิ์ เป็ นพระอริยเจ้ าได้

ถ้ าหากเทพเจ้ าทาให้ เกิดขึ ้นได้ ถ้ าหากพระเจ้ าทาให้ เกิดขึ ้นได้

เทพเจ้ าก็จะถึงความบริสทุ ธิ์ เป็ นพระอริยเจ้ าได้ พระเจ้ าก็จะถึงความบริสทุ ธิ์ เป็ นพระอริยเจ้ าได้

ถ้ าหากมารทาให้ เกิดขึ ้นได้

มารก็จะถึงความบริสทุ ธิ์

ถ้ าหากพรหมทาให้ เกิดขึ ้นได้

พรหมก็จะถึงความบริสทุ ธิ์ เป็ นพระอริยเจ้ าได้

เป็ นพระอริยเจ้ าได้

ดังนัน้ อริยมรรค ๘ องค์ จึงเป็ นเครื่ องมือสาธารณะ อันสาคัญที่สดุ เพียงชนิดเดียวเท่านันแห่ ้ งมวลสรรพสัตว์ ทังหลาย ้ ที่มวลสรรพสัตว์ทงหลายสามารถใช้ ั้ ชาระล้ างตนเองให้ บริสทุ ธิ์ ถึงขั ้นเป็ นพระอริยเจ้ าได้ นอกจาก มรรค ๘ องค์ แล้ วไม่มีอย่างอื่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงเป็ นผู้คนพบอริยมรรคอันประเสริฐ ๘ องค์นนั ้ แล้ วใช้ อริยมรรคทัง้ ๘ องค์นนดั ั ้ บทุกข์ ดับกิเลส และนิพพานปรากฏได้ สาเร็จ ทาให้ อริยสัจปรากฏแจ้ งชัดแก่พระองค์ครบทัง้ ๔ เป็ นครัง้ แรก เป็ นคนแรกในโลก ทังหลายในยุ ้ คนี ้ พระองค์เข้ าถึงความบริ สทุ ธิห์ มดกิเลสโดยสิ ้นเชิงเป็ นพระอริยสัมมาสัมพุทธเจ้ า แล้ วทรงสอนผู้อื่นทัง้ เทวดาและมนุษย์ทั ้งหลายให้ ถึงความบริสทุ ธิ์ปราศจากกิเลส ข้ ามพ้ นความทุกข์ในสังสารวัฏได้ โดยสิ ้นเชิง เป็ นพระอริย สาวกสัมมาสัมพุทธเจ้ าด้ วยอริยมรรคทัง้ ๘ องค์นนั ้ เป็ นองค์แรกและองค์เดียว และอริยมรรคอันประเสริฐทัง้ ๘ องค์นนั ้ จะสามารถเห็นได้ สมั ผัสได้ และใช้ ประโยชน์ในการดับทุกข์ได้ จะมีเพียงวิธีเดียวคือ การศึกษาวิปัสสนาธุระอย่างถูกต้ อง เพียงพอจนถึงขันจั ้ กขุกรณี ทาตาปั ญญาเกิดได้ เท่านัน้ ท่านทังหลายจึ ้ งเป็ นผู้หนึ่งที่มีสทิ ธิสามารถศึกษาเพื่อพิสจู น์ความ จริงนี ้ได้ ด้วยตนเอง ดังนัน้ บัณฑิตชนทังหลายเมื ้ ่อ มารู้ มาทราบอย่างนี ้แล้ ว ถ้ าต้ องการจะชนะพญามารและเสนามาร ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการจะถึงความบริสุทธิ์ เพื่อเป็ นสหายแห่ งพรหมแล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการจะเปิ ดประตูสวรรค์ ประตูนิพพานให้ ได้ เพื่อเข้ าสู่แดนสันติสุขแล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการสารภาพบาปให้ ถูกต้ อง เพื่อล้ างบาป ให้ หมดสิน้ เชิงได้ จริงแล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการจะขนสัตว์ ทัง้ หลายให้ พ้นทุกข์ จากสังสารวัฏได้ จริงๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการจะดับทุกข์ ได้ จริงโดยไม่ กลับมาทุกข์ อีก จริงๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการปิ ดอบายภูมิให้ ได้ จริงๆ ไม่ ต้องกลับมาเกิดในอบายภูมิอีกต่อไปแล้ ว


ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการไปสู่สวรรค์ หรือมนุษย์ อย่างมั่นคงแล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการเข้ าสู่นิพพาน เห็นนิพพานจริงๆ จังๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการรู้ธรรมเห็นธรรมทัง้ หลาย ที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดงไว้ ในคันถธุระ (ปริยัตศิ าสนา) อย่ างถูกต้ อง จริงๆ จังๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการเห็นธรรมรู้ธรรมในปฏิเวธศาสนาอย่ างแจ้ งชัดจริงๆ จังๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ถ้ าต้ องการสร้ างสันติสุขให้ แก่ โลกทัง้ ปวงจริงๆ จังๆ แล้ ว ต้ องศึกษาวิปัสสนาธุระให้ ถกู ต้ องเพียงพอ ดังนัน้ บัณฑิตผู้มีปัญญา มารู้ดงั นี ้แล้ ว ย่อมรู้วา่ ตนเองควรทาอย่างไร

๗.คาชีแ้ จง พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงเป็ นผู้มีพระปั ญญาอันยิ่งใหญ่ เป็ นผู้เพียบพร้ อมด้ วยวิชาความรู้และความสามารถ ปฏิบตั คิ วามประพฤติเป็ นผู้บริสทุ ธิ์ปราศจากกิเลสเครื่ องเศร้ าหมองทังปวงโดยสิ ้ ้นเชิง เป็ นผู้ออกจากนามรูปได้ แล้ วอย่าง สมบูรณ์ พระเจ้ าผู้เป็ นศาสดาบางท่านโนโลกนี ้ยังหลงใหลในอานาจจอมปลอมที่คนทึกทักขึ ้นมาด้ วยอานาจแห่ง โลภะ โทสะ โมหะ มูลรากกิเลสอกุศล ที่เต็มอัดแน่นอยู่อย่างเต็มที่ เพื่ออวดศักดาโดยอ้ างปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบ้าง และ กรรมแห่งสัตว์เหล่านันบ้ ้ างว่าเกิดจากอานุภาพแห่งตน หรื อศาสดาแห่งพวกตน ทาให้ มนุษย์ผ้ ดู ้ อยปั ญญาเอนเอียงตามไป ด้ วยภยาคติ หลงหวาดกลัวยอมตัวเป็ นทาสรับใช้ ซึ่งพระเจ้ าเหล่านันก็ ้ ไม่แน่นอนว่าจะมีตวั ตนหรื อพระวิญญาณจริงๆ ดัง อ้ างหรื อไม่ แต่เป็ นเพราะศาสดาผู้หลงใหล คลัง่ ไคล้ ในอานาจบางท่านไม่มียางอาย ไม่เกรงกลัวต่อบาปสร้ างเรื่ องขึ ้นมา ขายความคิด เพื่อลวงมวลชนให้ หลงเป็ นทาสความคิดเพ้ อฝั นเพ้ อเจ้ อ ไร้ เหตุผลไปตาม เกิดความหวาดกลัวต่ออานาจ และความบ้ าคลัง่ ของพระเจ้ าที่เขากุขึ ้นมาหลอกลวงให้ หลงเข้ าใจผิด ไม่กล้ าแม้ แต่จะใช้ ปัญญาของตนคิดให้ มีเหตุผล ถูกต้ อง ด้ วยต้ องคอยประจบเอาใจพระเจ้ าตามที่ศาสดาหรื อสาวกเหล่านัน้ จะบงการ ด้ วยเกรงว่าพระเจ้ าจะพิโรธแล้ ว บันดาลโทษให้ ตนและพวกพ้ องเดือดร้ อน กลายเป็ นฐานอานาจทาสความคิดสร้ างลาภสักการะต่างๆ เป็ นต้ น ให้ แก่พวก ศาสดาเหล่านันโดยไม่ ้ ร้ ูตวั การที่สาวกแห่งศาสดาจอมโหดลวงโลกผู้สกปรกเลอะเทอะด้ วยกิเลสหนาเตอะตามศาสดา แห่งตนเหล่านี ้ ประกาศว่า “พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าผู้บริ สทุ ธิ์ผดุ ผ่องโสภณไม่มีกิเลสมลทินหลงเหลืออยู่เลย” ผู้ละนามรูป สังขารไปได้ เด็ดขาดแล้ ว ดับแล้ ว ไม่กลับมาเกิดในสังสารวัฏได้ โดยเด็ดขาดอีกแล้ ว ไม่ว่าในภพไหนๆ แม้ ในเทวโลกหรื อ


พรหมโลกก็ตามเป็ น “ประกาศก” ของพระเจ้ าผู้สกปรก เลอะเทอะ เปรอะเปื อ้ น มอมแมมไปด้ วยกิเลสหนาเตอะของพวก ตนนัน้ จึงหาความจริงมิได้ เป็ นเพียงการกุเรื่ องขึ ้นมาเพื่อลวงโลกให้ หลงเข้ าใจผิด เพื่อลาภสักการะและฐานอานาจทาง ความคิดเพ้ อเจ้ อของพวกตน จึงยอมสร้ างบาปด้ วยการปิ ดบังปั ญญามวลชนให้ เกิดความระสาระสายทางความคิด อย่า ว่าแต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าจะไปเป็ นประกาศกของพระเจ้ าผู้หนาด้ วยกิเลสจนไม่เห็นองค์เหล่านี ้เลย แม้ พระเจ้ าเหล่านัน้ จะมาอ้ อนวอนขอร้ องขอทาหน้ าที่ประกาศกให้ พระองค์ พระพุทธองค์ก็ยงั ทรงต้ องคิดหนัก ที่จะต้ องใช้ พระมหาเมตตา กรุณาอย่างหนักและสูงอย่างยิ่งที่จะทรงรับ เพราะเมื่อรับแล้ วพระองค์หรื อพระอริยสาวกยังจะต้ องลาบาก ในการบอก สอนเคี่ยวเข็ญให้ พระเจ้ ากิเลสหนาเหล่านี ้ เรี ยนรู้วธิ ีสารภาพบาปและล้ างบาปด้ วยอริยมรรค ๘ องค์ ตามวิธีของพระอริ ยเจ้ าอย่างถูกต้ อง ไม่ร้ ูวา่ จะต้ องใช้ เรี่ ยวแรงมากสักเท่าไร ไม่ร้ ูวา่ จะใช้ เวลานานสักเท่าไร จึงจะสะอาดเหมาะสมกับการทา หน้ าที่ประกาศก ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าได้ ดังนัน้ เมื่อพระเจ้ าของตนยังเต็มไปด้ วยกิเลสหนาเตอะอยู่อย่างนัน้ ไม่มีทีท่าว่าจะสะอาดขึ ้นมาได้ เลยรวมถึงยัง มีพระวิญญาณ พระจิต อันเป็ นหลักฐานที่ชดั เจนว่ายังเกิด ยังตาย อยู่ในสังสารวัฏแห่งทุกข์ ถึงแม้ ว่าขณะนันจะประทั ้ บอยู่ บนสวรรค์จริงๆ ก็ตาม เป็ นผู้ยงั ยึดติดในอานาจ ทาร้ ายผู้อื่นด้ วยอานาจ ซึ่งเห็นได้ ชดั ว่า โลภะ โทสะ โมหะ อันเป็ นตัวชี ้นาสู่ อบายยังมีอยู่เต็มเปี่ ยม มิได้ เป็ นพระเจ้ าผู้บริ สทุ ธิ์สะอาดดังคุยแต่อย่างใด แม้ วา่ พวกสาวกจะลวงผู้อื่นให้ เข้ าใจผิดว่า บริสทุ ธิ์ผดุ ผ่องเหลือเกินก็ตาม ก็มิควรใช้ คาพูดเหล่านันเพื ้ ่อแสดงความอิจฉาริษยายกตนข่มท่านของตนให้ โลกรู้ ให้ เป็ น ความเศร้ าหมองแก่ศาสนาของตน เป็ นการหมิน่ พระเจ้ าของตนเองที่มีสาวกอย่างนี ้ ผู้เป็ นบัณฑิตมีปัญญารู้เท่าทันจะ รังเกียจเอาได้ สุดยอดแห่งเทพเจ้ าผู้ปราบปรปั กษ์ ผ้ ยู ิ่งใหญ่บางองค์ มีพระมเหสีนางสนมกานัล ข้ าทาสบริ วารมากมาย เสวย กามสุขอันเป็ นเทวสมบัตอิ ยู่ทกุ ทิวาราตรี มีเทวาศักดานุภาพมากสามารถอวตารแบ่งภาคไปปราบมาร และเหล่าร้ ายด้ วย ศาสตราวุธวิเศษต่างๆ ของพระองค์และที่ท้าวมหาพรหมประทานให้ พร้ อมทั ้งมีเทพวาจาศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่พระองค์สามารถใช้ สาปแช่งศัตรูให้ พนิ าศไปตามที่พระองค์มีเทวประสงค์ เพื่อรักษาความยิ่งใหญ่ในเทวอานาจของพระองค์ สรุปแล้ ว เทพเจ้ าเหล่านั ้นก็ยงั มิใช่ผ้ บู ริสทุ ธิ์ปราศจากกิเลสในพระเทวฤทัยของพระองค์ ยังเต็มไปด้ วยโลภะ โทสะ โมหะ ราคะ มานะทิฐิ หลงใหลในกามสุขแลอานาจ ยังทรงประหัตประหารยังทรงทาบาปอยู่ ยังทรงหนาด้ วยกิเลสต่างๆ อย่างหาที่สดุ มิได้ อยู่อย่างนี ้ตังแต่ ้ อดีตมาจนถึงปั จจุบนั และยังจะเป็ นอย่างนี ้ต่อไปไม่มที ี่สิ ้นสุด ยังมีพระหัตถ์อนั เปื อ้ น เลือดด้ วยอานาจแห่ง โลภะ โทสะ โมหะ ด้ วยเหตุแห่งบาปกรรมที่ทานัน้ อย่าว่าแต่จะอวตารเป็ นโน่นเป็ นนี่ดงั โฆษณาเลย แม้ แต่สถานภาพในสวรรค์ บัณฑิตทังหลายยั ้ งกล่าวว่าอาจเกิดความเข้ าใจผิดหรื อไม่ก็เจตนาลวงโลก ยังจะสามารถ อวตารแบ่งภาคมาเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าผู้มีปัญญามากกว่าผู้บริสทุ ธิ์สงู สุดปราศจากมลทินกิเลส ผู้พ้นแล้ วจากนาม รูปโดยสิ ้นเชิงได้ อย่างไร อย่าว่าแต่เทพเจ้ าเหล่านันจะอวตารแบ่ ้ งภาคมาเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าไม่ได้ เลย แม้ แต่พระ สัมมาสัมพุทธเจ้ าจะทรงอวตารไปเป็ นเทพเจ้ าเหล่านัน้ ยังต้ องทรงคิดหนัก เพราะจะต้ องลงไปอยู่ในกองกิเลส โลภะ โทสะ โมหะ ราคะ และอื่นๆ อย่างมากมาย ยังต้ องฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ ยังจะต้ องทาบาป ความสกปรกตามมาอีกมากมาย เหมือนผู้ มีความสะอาดจะต้ องลงไปคลุกคลีอยู่ในกองมูตรคูถที่ตนแสนรังเกียจขยะแขยงฉะนัน้


ดังนัน้ การกล่าวว่าเทพเจ้ าทังหลายอวตารมาเป็ ้ นพระพุทธเจ้ า ที่บรรดาสาวกของเทพเจ้ ากล่าวเพื่อแสดง เทวา อานาจเทวศักดิส์ ทิ ธิ์แห่งเทพเจ้ าของตน เพื่อแสดงความจงรักภักดีอย่างหลงงมงาย ด้ วยการลวงพวกของตน อนุชนของ ตน และชาวโลกผู้เขลาปั ญญา ขาดการพิจารณาอย่างรอบคอบ ให้ หลงใหลงมงาย เข้ าใจผิดไปตามคาพูดอันไม่อาจเป็ น จริงได้ เลยเหล่านี ้ของตน ด้ วยจิตที่เป็ นบาปเต็มไปด้ วยความโลภ โกรธ หลง อิจฉาริษยา ยกตนข่มท่าน สร้ างเรื่ องเท็จปั น้ น ้า เป็ นตัว บิดเบือนความจริง สร้ างโมหาปิ ดบังปั ญญามวลมนุษย์ เทวดา สมณะ เป็ นบาปมหันต์แก่ตน เป็ นการเสี่ยงต่อ อบายภูมอิ ย่างแน่แท้ ผู้มีปัญญาทังหลายเมื ้ ่อมารู้อย่างนี ้แล้ ว พึงงดการกระทาลวงโลกที่ทาตามบรรพบุรุษสืบมาเหล่านันเสี ้ ย เพราะ เป็ นสิง่ ที่บณ ั ฑิตทังหลายรั ้ งเกียจ บัณฑิตผู้ทรงปั ญญาทังหลายเมื ้ ่อมารู้อย่างถูกต้ องดังนี ้แล้ ว ย่อมไม่ควรถือสา ผู้ที่ทาบาปด้ วยความโง่เขลาเบา ปั ญญาด้ วยอานาจโมหะกิเลสในบุคคลเหล่านัน้ ควรมีเมตตากรุณาในพวกเขา พวกเขาถูกไฟกิเลสเผาลนจนเดือดร้ อน ทุรนทุราย ไฟไหม้ ใจทรมานอยู่นานแล้ วอย่างสุดกลัน้ จึงมีไฟโทสะไปรุกไหม้ คนอื่นให้ เดือดร้ อนบ้ างนันเป็ ้ นธรรมดาก็ควร ให้ อภัย และควรให้ ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือตามสมควรโดยเท่าเที ยมกับคนอื่นๆ เช่นกันดังนี ้ ขอบัณฑิตผู้มีเมตตากรุณาใหญ่หลวง ต่อเพื่อนมนุษย์สตั ว์ร่วมโลกทังหลาย ้ ผู้หวังความสงบร่มเย็นสันติสขุ แก่ โลก จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาการดับทุกข์ ให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั ใช้ ดบั ไฟ ราคะ โทสะ โมหะ ที่เผา ผลาญจิตใจพวกเขาให้ เดือดร้ อนทุรนทุราย ให้ มอดไหม้ ดบั ลง เพื่อปิ ดอบายแห่งพวกเขา จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาชาระล้ างบาป ให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั ใช้ ล้างบาปอันเกิดแก่โลภะ โทสะ โมหะ ที่หมักหมมทับถมจิตพวกเขา ให้ เปื อ้ นเปรอะเลอะเทอะเดือดร้ อน ก้ าวร้ าวร้ ายกาจกลับสะอาดสะอ้ านบริ สทุ ธิ์ เป็ น มนุษย์มีเมตตา ช่วยพัฒนาสันติสขุ ให้ แก่โลก เพื่อเขาจะได้ ไปสู่สวรรค์ในอนาคต จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาปราบมารและเสนา ให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั วิธีปลดปล่อยตนเอง และ ผู้อื่นให้ เป็ นอิสระหลุดรอดพ้ นอย่างเด็ดขาดจากมารและเสนา ให้ ไม่อาจบังคับพวกเขาให้ อยู่ในอานาจได้ อีกต่อไป ให้ เขา ทังหลายเข้ ้ าถึงกระแสแห่งมรรคผลนิพพาน ข้ ามพ้ นนามรูปสังขาร ข้ ามพ้ นโอฆะสงสารได้ นิรันดร์ ทกุ คน จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาเปิ ดประตูสวรรค์และประตูนิพพานให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั วิธีเข้ าสู่แดน สวรรค์และแดนนิพพานตามที่เขาปรารถนา และช่วยผู้อื่นได้ เพื่อให้ พวกเขาเข้ าสูแ่ ดนแห่งสันตินิรันดร์ อนั แท้ จริงในอนาคต โดยทัว่ กัน จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาขนสัตว์ข้ามห้ วงแห่งสังสารทุกข์ให้ พวกเขา เพื่อให้ พวกเขาได้ ร้ ูจัก วิธีขนตนเองและผู้อื่นให้ พ้นทุกข์ สูแ่ ดนแห่งสันติสขุ คือ มรรคผลนิพพานได้ อย่างแท้ จริง จงช่วยกันเผยแผ่อริยมรรค ๘ องค์ อันเป็ นวิชาสร้ างน ้าอมฤตดับไฟไหม้ จิต ให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั วิธีดบั ไฟไหม้ จิต ของตนเองและผู้อื่น เหมือนที่ตนสามารถทาได้ มาแล้ ว ก่อนที่จะลุกลามไปไหม้ โลกให้ เดือดร้ อนอย่างทุกวันนี ้ ไฟไหม้ จะได้ สงบ สยบลงและเลือนหาย โลกที่ร้อนเลวร้ ายจะได้ กลับกลายเป็ นร่ มเย็น ที่ทกุ ข์เข็ญก็จะบรรเทา จะเยือกเย็น ความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน ความเอื ้ออารี มีไมตรี ตอ่ กัน และความเมตตาปราณีที่สญ ู หายไปเนิ่นนาน จะได้ หนั กลับมา


ประดับโลก ความเศร้ าโศกสูญสลายกลายเป็ นร่มเย็นเกษมสันติสขุ หรรษา โลกที่เดือดร้ อนก็จะร่มเย็นกลายเป็ นโลกแห่ง เมตตา เป็ นวิมานอันงามสง่าที่มนุษย์ทั่วหน้ าจะพึงภูมิใจได้ ไม่อบั อายผู้ที่อยู่ในภพอื่น

๘.คาอนุโมทนา ขออนุโมทนาสาธุการ ในพระพุทธคุณ ที่พระพุทธองค์ผ้ ทู รงมีปัญญายิ่งใหญ่ได้ ทรงตรัสรู้พระธรรมแล้ วทรง เมตตากรุณสอนพระธรรมแก่พวกเราเหล่าสัตว์ทงหลาย ั้ ทังเทวดา ้ เทพเจ้ า พระเจ้ า มาร พรหม และมนุษย์ โดยไม่เลือก หน้ า ขออนุโมทนาสาธุการ ในพระธรรมคุณ ที่พวกเราเหล่าสัตว์ทงหลายปฏิ ั้ บตั ิตามถูกต้ องเหมาะสมแล้ วสามารถเห็น กระจ่างแจ้ งชัดประจักษ์แก่ตาปั ญญาตนเองได้ ขออนุโมทนาสาธุการ ในพระสังฆคุณ ที่ช่วยกันศึกษารักษาและทรงธรรมไว้ แล้ วนาสัง่ สอนพวกเราให้ ได้ มี โอกาสปฏิบตั แิ ละรู้ตามอย่างถูกต้ อง ทังพระสงฆ์ ้ สาวกผู้ทรงและสืบทอดการศึกษาวิปัสสนาธุระ คันถธุระได้ ทงั ้ ๒ และ สมมุติสงฆ์ ผู้ทรงและสืบทอดได้ เพียงคันถธุระก็ตาม ขอนุโมทนาสาธุการ ในคุณบิดามารดา และผู้มีพระคุณ ผู้มีบญ ุ คุณต่อพวกเราทุกคน ที่ช่วยกันดูแลส่งเสริม ให้ พวกเราเติบใหญ่เจริญวัยมีความสามารถได้ มีโอกาสพบพระพุทธศาสนา วิปัสสนาธุระ ได้ ประพฤติธรรมเห็นธรรมตามเป็ น จริงจนถึงทุกวันนี ้ ขอนุโมทนาสาธุการ ในคุณแห่งครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์ทงหลาย ั้ ที่ ช่วยอบรมสัง่ สอนส่งเสริมสืบต่อจนพวกเรามี ปั ญญาพัฒนาการมาได้ ถึงอย่างที่เป็ นนี ้ ขอนุโมทนาสาธุการ ในคุณแห่งปั ญญาของพวกเราทังหลายที ้ ่มีปริ มาณและคุณ ภาพเพียงพอในการรับธรรม รู้ ธรรม เห็นแจ้ งในธรรม ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงรู้ ทรงเห็นแล้ ว แสดงไว้ อย่างถูกต้ องแล้ ว ได้ บ้างตามกาลังปั ญญาและ ความเพียรของแต่ละคน ขอนุโมทนาสาธุการ ในคุณแห่งความเพียร และศรัทธาในการศึกษาตามหาพุทธวจนะอย่างมุง่ มัน่ บากบัน่ ไม่ ลดละคลอนแคลน จนมีโอกาสได้ พบครูบาอาจารย์ ผู้ทรงวิปัสสนาธุระจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าต่อๆ กันมาอย่างไม่ขาด สาย ได้ เข้ าใกล้ ท่าน ได้ ฟังธรรมจากท่าน ได้ ร้ ูธรรมที่ท่านทรงมาแล้ วสอน ตามกาลังปั ญญาแห่งตน และได้ มีโอกาสได้ สักการบูชาถวาย ปฏิบตั บิ ชู าในท่าน ขอนุโมทนาแก่บณ ั ฑิตชนผู้ทรงปั ญญา เมื่อมารู้วา่ สิง่ ใด เป็ นความเข้ าใจถูกต้ อง เห็นถูกต้ อง แจ้ งชัดแก่ใจตนอยู่ อย่างนี ้แล้ ว และละความเห็นผิดที่มีในตนแต่เดิมเสีย แล้ วทาตามความเห็นที่ถกู ต้ องโดยไม่รังเกียจ เพื่อเป็ นการแสดงถึง ความเป็ นผู้มีปัญญาแห่งตน ความกตัญญูตอ่ ศาสดาของตน ด้ วยความเป็ นบัณฑิตอย่างแท้ จริง เพราะศาสดาผู้เป็ น บัณฑิตย่อมอนุโมทนาในความเป็ นบัณฑิตกว่าแห่งสาวก ศาสดาผู้มนั่ คงในบุญย่อมอนุโมทนาแก่สาวกผู้มีโอกาสแสวง


บุญได้ ดีกว่า ศาสดาผู้มนั่ คงในคุณงามความดีย่อมอนุโมทนาแก่สาวกผู้มีโอกาสสร้ างคุณงามความดีได้ มากกว่าตนด้ วย ความพึงพอใจฉะนี ้ ขอนุโมทนาแก่สาธุชนทุกท่าน ที่เสียสละกาลังกาย วาจา ใจ กาลังทรัพย์ กาลังปั ญญา สละเวลาความสามารถ เพื่อการทรงธรรม เผยแผ่ธรรม วิชาการดับไฟทุกข์ที่กาลังลุกไหม้ เผารนชาวโลกให้ ทวีความเดือนร้ อนแรงอยู่ทกุ ภูมภิ าคทัว่ โลกขณะนี ้ ได้ ร้ ูได้ เข้ าใจวิธีดบั ไฟทุกข์อย่างมีประสิทธิภาพที่สดุ ตามแบบอย่างอริยะวิธี เพื่อไฟกัลป์เผาโลกนี ้จะได้ ลดระงับ ดับลงบ้ าง โลกจะได้ ทรงอยู่ด้วยสันติร่มเย็น ความเกษมสาราญเบิกบานใจซึ่งหายไปจากโลกเป็ นเวลาเนิ่นนาน ได้ มี โอกาสกลับเบ่งบานมาให้ เห็น ความกรุณาปราณี เมตตาจะได้ มีให้ เห็นทุกภูมภิ าค ความเอื ้ออาทรที่หายไปนานก็พลัน ปรากฏมี ความเอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ แทบแน่วา่ จะสูญพันธุ์ก็จะฟื น้ คืนผันมาให้ พบพานได้ ทกุ สถานที่ ศีลธรรมบัณฑิตวินยั จะได้ ปรากฏสดใสไปทัว่ ทังปฐพี ้ สมบูรณ์ดงั พุทธประสงค์ ดังเราท่านทังหลายตั ้ งใจสร้ ้ างและสืบต่อเพื่อถวายแด่พระพุทธองค์ ทุกประการ ขอนุโมทนาในบุญไมตรี ที่พวกเราได้ มีสว่ นร่ วมสร้ างสานต่อสืบสายและส่งเสริมในอุกฎั ฐมหากุศลอันยิ่ งใหญ่ที่สดุ ในบรรดากุศลทังปวงนี ้ ้ตามหน้ าที่พทุ ธบริ ษัท อันเป็ นสิทธิและหน้ าที่ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงมอบให้ พวกเราผู้เป็ นพุทธ บริษัททังปวง ้ ที่ได้ ร่วมมือร่วมใจร่วมปั ญญากันสถาปนาศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร และองค์กร สนับสนุนให้ ศนู ย์สามารถดาเนินไปสูเ่ ป้าหมายได้ โดยทั่วกันเทอญ

ชินสภเถระ (ชัชวาล ชินสโภ) ศูนย์กลางการศึกษาวิปัสสนาธุระพุทธวิหาร มูลนิธิพทุ ธวิหาร


ปณิธาน ผิจะสู้

ข้ าจะสู้

ส่งเสริมสุข

ผิจะรุก

ข้ าจะรุก

ให้ ทกุ ข์สลาย

ผิจะซื่อ

ข้ าจะซื่อ

ดีจนตาย

ผิชีพวาย

ข้ าจะตาย

ในนิพพาน

จะมีไหม

ใครจะกล้ า

ร่วมข้ าบ้ าง

จะมีไหม

ใครกล้ าสร้ าง

ดัง่ ข้ าฝั น

จะมีไหม

ใครจะช่วย

ภควัน

จะมีไหม

ใครจะสรร

สุขประชา

จะมีไหม

ใครจะใคร่

ให้ โลกเย็น

จะมีไหม

ใคร่ดบั เข็ญ

พระศาสนา

จะมีไหม

ใครจะช่วย

กิจราชา

จะมีไหม

ใครจะกล้ า

เข้ ามาเชิญ ชินสภเถระ ๒ มิถุนายน ๒๕๓๒


กฎ ระเบียบ และข้ อบังคับสาหรับผู้เข้ าปฏิบัติ  เชื่อฟั งและปฏิบตั ติ ามคาสัง่ สอนของพระวิปัสสนาจารย์อย่างเคร่งครัด  มีความตังใจ ้ อดทน และมีวริ ิ ยะ ในการเรี ยนการสอน ให้ มีความเจริญก้ าวหน้ าต่อเนื่องในช่วงที่เข้ าปฏิบตั ิ  ไม่โทรศัพท์ และไม่ตดิ ต่อกับใครตลอดระยะเวลาของการปฏิบตั ิ เว้ นแต่มีเหตุจาเป็ นและต้ องได้ รับอนุญาตจากอาจารย์ ผู้สอนหรื อเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์ฯ เพื่อพิจารณาตามความเหมาะสมก่อน  ผู้ที่มีความประสงค์จะเข้ าปฏิบตั วิ ปิ ั สสนากรรมฐาน จะต้ องแสดงความจานงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในใบสมัครซึ่งทาง ศูนย์ฯ ได้ จดั เตรี ยมไว้ ให้ ต้ องมีบตั รประชาชน หรื อใบสาคัญแสดงสัญชาติ อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ วแต่กรณี เพื่อแสดงแก่ อาจารย์ ผู้ปกครองของศูนย์ฯ จนเป็ นที่พอใจ หรื อกรณีที่จาเป็ นก็ให้ มีวปิ ั สสนาจารย์หรื อเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์ฯ รับรอง  ผู้สงู อายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรื อเด็กที่มีอายุต่ากว่า ๑๕ ปี ซึ่งไม่มีผ้ ปู กครองมาด้ วย (ยกเว้ นได้ รับอนุญาต) ผู้ป่วยโรคจิต โรคติดต่อ โรคที่สงั คมรังเกียจ ทางศูนย์ฯ ไม่สามารถรับไว้ ปฏิบตั ธิ รรมได้ สาหรับผู้ที่มีอวัยวะไม่สมบูรณ์ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของวิปัสสนาจารย์  ห้ ามคุย บอก หรื อถามสภาวะกับผู้ปฏิบตั ิ เพราะจะเป็ นภัยแก่ผ้ ทู ี่กาลังปฏิบตั ทิ งต่ ั ้ อตนเองและผู้อื่น โดยจะทาให้ อารมณ์ฟ้ งซ่ ุ านและเสียสมาธิ อันจะทาให้ ผลการเรี ยนเสื่อม หากมีความสงสัยในข้ อวัตรปฏิบตั อิ ย่างไรแล้ ว ให้ เก็บไว้ สอบถามครูผ้ สู อน ห้ ามสอบถามผู้ปฏิบตั ิด้วยกันเป็ นอันขาด  ขณะที่ยงั อยู่ในระหว่างการปฏิบตั ิ ห้ ามอ่านหนังสือ เขียนหนังสือ ฟั งวิทยุ ดูโทรทัศน์  ผู้ปฏิบตั จิ ะต้ องงดเว้ นจากการเสพติดทุกชนิด ได้ แก่ กาแฟและเครื่ องดื่มที่มีสารคาเฟอีน บุหรี่ หมาก เครื่ องดองของมึน เมา หรื อนายาเสพติดทุกชนิด เข้ ามาในบริเวณศูนย์ฯ เป็ นอันขาด  หากผู้ปฏิบตั เิ กิดเจ็บไข้ ได้ ป่วยขึ ้น ให้ รีบแจ้ งแก่เจ้ าหน้ าที่ โดยเร็ว เพื่อหาทางช่วยเหลือตามสมควรแก่กรณี ไม่ควรละ การปฏิบตั ิ ในเมื่อไม่มีความจาเป็ น  นักปฏิบตั ติ ้ องระลึกเสมอว่า เรามาปฏิบตั เิ พื่อยกระดับจิตใจ ขัดเกลากิเลสตัณหาให้ เบาบางลง มิใช่มาเพื่อหาความสุข ในการอยู่ดี กินดี จึงต้ องใช้ ความอดทนเป็ นพิเศษต่อความไม่สะดวก และกระทบกระทัง่ ซึ่งสิง่ เหล่านี ้ล้ วนเป็ นเครื่ อง ทดสอบความอดทนและคุณธรรมของนักปฏิบตั วิ า่ มีอยู่มากน้ อยเพียงใด  ห้ องหรื อกุฏิที่จดั ไว้ เป็ นห้ องปฏิบตั ิ เฉพาะพระสงฆ์ก็ดีหรื อห้ องที่จดั ไว้ เฉพาะนักปฏิบตั ทิ ี่เป็ นบุรุษก็ดี สตรี ก็ดี ห้ ามมิให้ เพศตรงข้ ามเข้ าไปนอนหรื อใช้ ห้องน ้า ห้ องส้ วมนันเด็ ้ ดขาด  นักปฏิบตั จิ ะต้ องอยู่ในบริเวณที่กาหนดให้ เท่านัน้ ถ้ ามีธุระจาเป็ น ไม่ควรออกนอกสถานที่ปฏิบตั ิ และถ้ ามีธุระ จาเป็ นต้ องออกจากศูนย์ฯ ต้ องได้ รับอนุญาตจากเจ้ าหน้ าที่ผ้ ดู แู ลเสียก่อน  ทางศูนย์ฯ ได้ จดั ที่พกั ไว้ โดยเฉพาะเป็ นห้ องๆ มีไฟฟ้า น ้า ห้ องน ้า ห้ องส้ วมพร้ อม ขอความร่ วมมือได้ โปรดช่วยกัน ใช้ น ้า ไฟอย่างประหยัด (ไม่ควรเปิ ดน ้า ไฟฟ้าและพัดลมทิ ้งเมื่อไม่อยู่ในห้ องพัก) และโปรดทาความสะอาดในห้ อง หน้ าห้ อง ห้ องน ้า ห้ องส้ วม รวมทังดู ้ แลรักษาของใช้ ประจาห้ อง ก่อนส่งคืนเจ้ าหน้ าที่เมื่อเลิกปฏิบตั ิ


 ให้ ผ้ เู ข้ าปฏิบตั เิ ซ็นยืมของใช้ ประจาห้ อง และตรวจสอบให้ ครบ พร้ อมให้ เจ้ าหน้ าที่เซ็นรับ เมื่อเลิกปฏิบตั ิ  ห้ ามมิให้ ผ้ เู ข้ าปฏิบตั ิ ให้ เงินหรื อของมีคา่ ใดๆ ให้ กบั เจ้ าหน้ าที่ในศูนย์ฯ หากต้ องการให้ กรุ ณาบริจาคที่ฝ่ายการเงินของ ศูนย์ เพื่อจัดสรรให้ กบั เจ้ าหน้ าที่อย่างเหมาะสมต่อไป  การรับประทานอาหารมี ๒ เวลา และดื่มน ้าปานะ ๑ เวลา ดังนี ้ ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้ า ๑๑.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๗.๐๐ น. ดื่มน ้าปานะ  นักปฏิบตั จิ ะต้ องไม่นาของที่มีค่าติดตัวมาด้ วย หากสูญหาย ทางศูนย์จะไม่รับผิดชอบไม่วา่ กรณีใดๆ ทังสิ ้ ้น  กรณีมีผ้ มู าเยี่ยมจะต้ องได้ รับอนุญาตจากเจ้ าหน้ าที่เสียก่อน การเยี่ยมนันให้ ้ แขกคุยได้ ไม่เกิน ๑๕ นาที และเข้ าเยี่ยม ได้ ที่ตกึ อานวยการเท่านัน้ ห้ ามใช้ ห้องกัมมัฏฐานเป็ นห้ องรับแขก  นักปฏิบตั จิ ะต้ องไม่คะนองกาย วาจา หรื อส่งเสียงก่อความราคาญ หรื อพูดคุยกับบุคคลอื่น โดยเฉพาะผู้ที่ปฏิบตั ิ ด้ วยกัน ห้ ามเข้ าไปชวนคุย ทังในห้ ้ องหรื อตามที่ตา่ งๆ  ในกรณีที่ผ้ ปู ฏิบตั ไิ ม่สามารถปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ดังกล่าวข้ างต้ น และได้ รับการตักเตือนจากเจ้ าหน้ าที่ศนู ย์ฯ หรื อ วิปัสสนาจารย์ผ้ สู อนแล้ ว แต่ยงั คงประพฤติเช่นเดิมอยู่ ผู้ปฏิบตั ยิ ินยอมที่จะออกจากศูนย์ฯ โดยไม่มีข้อโต้ แย้ งใดๆ ทังสิ ้ ้น และทางศูนย์ฯ จะพิจารณาที่จะไม่รับผู้ปฏิบตั ทิ ี่ฝ่าฝื นกฎ ระเบียบ และข้ อบังคับเป็ นนิจ ในการเข้ าปฏิบตั คิ รัง้ ต่อๆ ไป ทังนี ้ ้ให้ ขึ ้นอยู่กบั ดุลยพินิจของวิปัสสนาจารย์ผ้ สู อน

คุณสมบัติของผู้สมัคร  มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ช่วยเหลือตัวเองได้  มีสขุ ภาพจิตปกติ ไม่เป็ นโรคประสาท โรคจิต ลมชัก ลมบ้ าหมู หรื อร่างทรง  ไม่ตดิ สิง่ เสพติดทุกชนิด  สามารถปฏิบตั ติ ามระเบียบโดยเคร่งครัด

ระเบียบการรับสมัคร  หากนักปฏิบตั ยิ งั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ต้ องได้ รับอนุญาตจากมารดา บิดา สามี หรื อผู้ปกครองเสียก่อน  ยื่นใบสมัครพร้ อมสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนเป็ นหลักฐานในวันรับสมัคร เจ้ าหน้ าที่จะตรวจสอบข้ อมูล หากท่านมี คุณสมบัตติ ามที่ศนู ย์ฯ กาหนด ท่านจะได้ รับอนุญาตให้ เข้ าปฏิบตั ไิ ด้


 ผู้ที่สมัครแล้ วมาไม่ได้ กรุณาแจ้ งให้ ศนู ย์ฯ ทราบก่อนวันเข้ าปฏิบตั อิ ย่างน้ อย ๗ วัน เพื่อศูนย์ฯ จะได้ แจ้ งให้ ผ้ ทู ี่เป็ น สารองได้ เข้ าปฏิบตั แิ ทน หากผู้สมัครไม่มาในวันที่จองไว้ และไม่ได้ โทรมาแจ้ ง ทางศูนย์ฯ จะโอนห้ องให้ แก่ผ้ ปู ฏิบตั ทิ ่าน อื่นทันที  ผู้เข้ าปฏิบตั สิ ามารถมอบอานาจให้ ผ้ อู ื่นมาสมัครแทนได้ แต่ห้ามสมัครโดยที่ยงั ไม่ทราบชื่อผู้เข้ าปฏิบตั ิ

การเตรียมตัวเตรียมใจ  ไม่นาภารกิจไปด้ วย ตัดความกังวลในทุกๆ เรื่ อง  จะละทิ ้งยศศักดิ์ ฐานะ ตาแหน่งไว้ ที่บ้าน  จะตังใจปฏิ ้ บตั ติ ามระเบียบ ข้ อบังคับ

การเตรียมของใช้  เตรี ยมชุดขาวแบบและสีสภุ าพ เป็ นกางเกงขายาว กระโปรงขาวครึ่งน่อง หรื อซิ่น สาหรับท่านที่ไม่ต้องการซักเสื ้อผ้ า เอง สามารถส่งให้ ทางศูนย์ซกั ให้ ในราคาอาทิตย์ละ ๑๐๐ บาท  เตรี ยมของใช้ สว่ นตัว เช่น สบู่ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ยาสระผม ผ้ าเช็ดตัว หวี นาฬกิ าปลุก ไฟฉาย ร่ม ผ้ าห่ม หมอน จาน ช้ อน ส้ อม แก้ วน ้า ขวดน ้า ยากันยุง ผ้ าเช็ดโต๊ ะ ผ้ าเช็ดเท้ า (แต่ถ้าไม่ได้ เตรี ยมของใช้ บางอย่ างมา ได้ โปรดแจ้ งกับทาง ศูนย์ฯ เพื่อจะได้ จดั หาให้ )  ยาประจาตัวที่จาเป็ น

ข้ อแนะนา  ไม่สวมเครื่ องประดับใดๆ  งดใช้ เครื่ องมือสื่อสารทุกชนิด  ทาตนให้ เป็ นผู้อยู่ง่าย กินง่าย มีความเกรงใจและให้ เกียรติผ้ อู ื่น









Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.