ถอดรหัสภาษากาย (Body is saying)

Page 1

ถอดรหัสภาษากาย B

O

D

Y

I

S

S

A

Y

I

N

G




สารบัญ


1

การสื่อสารของมนุษย์ ภาษาพูด ภาษามือ และภาษาใบ้ ภาษาสัญลักษณ์ และภาษาเขียน ภาษากาย

15

7

13

วิธีเริ่มต้นการศึกษา ภาษากาย

ประโยชน์ของการอ่าน ภาษากาย

113

115

การสังเกต การศึกษา สถิติ สมาคม สรุป

ประโยชน์ 6 ข้อ

ส่วนประกอบของท่าทาง แบ่งออกเป็น 4 ส่วน

ท่าทางที่พบบ่อย

อาณาเขต และพืน้ ทีส่ ว่ นตัว

ส่วนบน ส่วนกลาง ส่วนล่าง เครื่องแต่งกาย สิ่งของ วัตถุ

ท่าทางที่พบบ่อย

ระยะห่างระหว่างบุคคล ระยะห่างของขอบเขต ระยะห่างที่พอเหมาะ

121

127

129

กฏ 3 ข้อเพื่อการอ่าน ท่าทางที่แม่นยำ� อ่านท่าทางเป็นกลุ่ม มองหาความขัดแย้ง อ่านท่าทางประกอบบริบท

บทสรุป

ภาพรวมของท่าทาง

บทสรุปของภาษากาย

ภาพท่าทางทั้งหมด


การสื่อสาร ของมนุษย์


การสื่อสารของมนุษย์ การสื่ อ สารของมนุ ษ ย์ ห รื อ การติ ด ต่ อ ระหว่ า งมนุ ษ ย์ เ รานั้ น จะเห็ น ได้ ว่ า ไม่ ไ ด้ ติดต่อกันด้วยภาษาพูดเพียงอย่างเดียว แต่มนุษย์เรายังสามารถติดต่อกันด้วยสือ่ อื่นๆ เพื่อแสดงความรู้สึกต่างๆ ต่อกัน

02


ภาษาพูด

03

ภาษาพูด คือ การติดต่อสื่อสารกันโดย ใช้ เ สี ย งที่ เ ป็ น ภาษาคำ � พู ด ของมนุ ษ ย์ แต่ละชาติแต่ละภาษา พูดคุย สนทนา หรือเรียกร้องบอกกล่าวจากคนหนึ่งไป ยังอีกคนหนึ่ง หรือจากกลุ่มหนึ่งไปยัง อีกกลุ่มหนึ่ง วิ​ิธีนี้ผ่านการรับรู้ทางหูซึ่ง เราใช้กันโดยทั่วไปเป็นส่วนใหญ่ไม่ว่าจะ เป็ น การสื่ อ สารทางเดี ย วหรื อ สองทาง ก็ตาม


ภาษาใบ้ หรือภาษามือ

ภาษาใบ้หรือภาษามือ คือ การแสดงของ มือเพื่อสื่อสารแทนคำ�พูด ซึ่งเป็นภาษา สำ�หรับคนหูหนวกและคนที่เป็นใบ้ เวลา จะติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น จะใช้ มื อ ทำ � เป็ น สัญลักษณ์ต่างๆ แสดงแทนคำ�พูดเพื่อ สร้างความเข้าใจต่อกัน วิธนี ผ้ี า่ นการรับรู้ ทางตา

04


ภาษาสัญลักษณ์ หรือภาษาเขียน

05

ภาษาสัญลักษณ์หรือภาษาเขียน คือสื่อ ทีค่ นเราติดต่อกันด้วยรูปภาพ สัญลักษณ์ อุปกรณ์ หรือตัวเขียนออกมาเป็นตัว อักษรต่างๆ ซึ่งรูปภาพสัญลักษณ์หรือ ตัวเขียนนัน้ มนุษย์จะรับรูผ้ า่ นความเข้าใจ ทางตา และการสัมผัสซึ่งการสื่อสารกัน ด้ ว ยตั ว หนั ง สื อ นี้ ก็ คื อ ภาษาที่ ใ ช้ กั น อยู่ โดยปกติธรรมดา


ภาษากาย

ภาษากาย คือ กิริยาท่าทางอาการแทน คำ�พูด เช่น บางครั้งที่อึดอัดใจ พูดไม่ ออก ไม่สามารถหาคำ�พูดมาถ่ายทอด ความรู้ สึ ก ได้ ก็ จ ะแก้ ปั ญ หาโดยการใช้ กิริยาอาการสื่อความหมายแทนคำ�พูด และมั น ก็ ช่ ว ยให้ ค นเราเอาตั ว รอดจาก ภาวะลำ�บากใจได้อยู่เสมอ นั้นก็หมาย ความว่าคนเราสามารถสื่อภาษาได้ทั้ง ภาษาพูด ภาษาใบ้ ภาษาเขียน ภาษากาย

06


วิธีเริ่มต้น การศึกษา ภาษากาย


การสังเกต

การสังเกตควรทีจ่ ะต้องฝึกเป็นนักสังเกต โดยเฉพาะการสังเกตพฤติกรรมที่แสดง ออกของคนเรา เช่น ลูกค้า เพื่อนฝูง หรือ บุคคลที่ติดต่อธุรกิจด้วย ว่าในขณะนั้น เขาคิดอย่างไร และเราควรจะดำ�เนินการ อย่างไรในภาษาท่าทางทีล่ กู ค้าแสดงออก เช่น การแสดงออกทางใบหน้าของคูส่ นทนา จะมีอาการเป็น ดังนี้

ถ้ า สายตาหลบมองต่ำ � หรื อ หลบหน้ า แสดงว่าเขาไม่อยากบอกความจริงกับ เรา หรือเขากำ�ลังปิดปากของเราไม่อยาก ให้เราพูดต่อความยาวสาวความยืด ถ้าเขายิ้มโดยไม่ได้เสแสร้งแกล้งทำ�พร้อม ทั้งเงยศีรษะเล็กน้อยก็พอจะตีความได้ว่า เขาก็คงพอสนใจอยู่บ้าง ถ้าเขามองหน้าขณะสนทนา และซักถาม เราก็พอจะตีความได้ว่าเขากำ�ลังเปรียบ เทียบผลดี และผลเสีย ของเรื่องราวที่คุย กันหรือกำ�ลัง ชั่งน้ำ�หนักของข้อเสนออยู่ ถ้าเราสังเกต เห็นว่าเขาเผชิญหน้าพร้อม ทั้งศีรษะตั้ง ยืดตัว ยิ้ม และก็สบสายตา แสดงว่าเราทำ�สำ�เร็จแล้ว หรือขายได้แล้ว

08


การศึกษา

การศึกษา คือ ต้องพยายามศึกษาโดยใช้ ทฤษฎีหรือหลักการควบคู่กับการปฏิบัติ หรือการสังเกต ในขณะที่เราต้องออกไป พบปะผู้คนต่างๆในสังคมว่าสอดคล้อง กับทฤษฎีที่ได้รับมาหรือไม่ พร้อมศึกษา หาความรู้จากการสังเกตเพิ่มเติม แล้ว ลองตี ค วามหมายของบุ ค คลที่ เ ราเห็ น จากการแสดงออกต่อไปนี้ เป็นทฤษฎีที่ จะให้เราพิสูจน์การอ่านคนจากการเดินที่ จะประเมินอุปนิสัยของคนนั้น เช่น

การเดินเร็ว แกว่งแขนตามสบาย ชีวติ มักมี เป้าหมาย กระตือรือร้น มีความพยายาม มีแผนการณ์

การเดิ น ช้ า หรื อ แม้ แ ต่ พู ด ช้ า ก็ ต ามมั ก จะขาดพลั ง เป็ น ผู้ ต ามมากกว่ า ผู้ นำ � สุขภาพไม่แข็งแรง ใจเย็น ไม่ชอบการ แข่งขัน หรือการเผชิญหน้าต่อสู้

การเดินเอามือไขว้หลัง คือเขามีควาคิด ใคร่ครวญ และไตร่ตรองจะตัดสินใจ แก้ ปั ญ หานั้ น อย่ า งไรหรื อ หาทางออก อย่างไร

การเดิ น ก้ า วเต็ ม ฝี เ ท้ า เป็ น คนมี ค วาม มั่นใจ เชื่อมั่น ทะเยอทะยาน คล่องแคล่ว การเดินย่อง หรือเดินตบเท้า เป็นคน จับจด ย้ำ�คิดย้ำ�ทำ�เป็นเรื่องๆ ไม่กล้า เสี่ยง ชอบใคร่ครวญ และขี้ระแวง 09

การเดินล้วงกระเป๋า มีแผนการณ์ ในใจ ทำ�ตัวลึกลับ มีความลับ ระมัดระวังตัว ชอบคิด การเดินเอามือซุกกระเป๋าพร้อมทั้งก้ม หน้า เป็นคนที่กำ�ลังมีเรื่องราวร้อนใจ หรือหดหู่ใจ แก้ปัญหาไม่ตก


สถิติ

นอกจากการสังเกต และการศึกษาแล้ว ผู้ที่สนใจการอ่านใจลูกค้า หรืออ่านใจ คนจากท่าทางควรที่จะต้องเป็นนักสถิติ หรืออาศัยข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการ วิเคราะห์คน เช่น การพิจารณาคนใน แต่ละพื้นที่หรือแต่ละภูมิประเทศ

ถ้ า หากเป็ น ภาคต่ า งๆของประเทศไทย ซึ่งได้แก่ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาค กลาง และภาคใต้ ภาพรวมที่คนเราส่วน ใหญ่มองกันคือ

บุคลิกของชาวจีน ขยันขันแข็ง ต่อสู้ ไม่ยอมแพ้

ชาวภาคเหนือ เป็นคนอ่อนหวาน พูดจาไพเราะ ชอบความสะดวกสบาย รสนิยมดี

บุคลิกของชาวไทย สุภาพ อ่อนน้อม ยิ้มสยาม เป็นมิตร บุคลิกของชาวยุโรป ทำ�งานเป็นระบบ มีการวางแผน และตรง ไปตรงมา บุคลิกของชาวญี่ปุ่น ชาตินิยม ทำ�งานเป็นทีม และต่อสู้

ชาวภาคอีสาน เป็นคนซื่อ ตรงไปตรงมา เข้มแข็ง อดทน ชาวภาคกลาง เป็นคนอ่อนหวาน ฉลาดในการใช้คำ�พูด ชาวภาคใต้ เป็นคนรักเพื่อพ้อง ไม่ชอบการดูถูก หรือการเอารัดเอาเปรียบ

บุคลิกของชาวยิว ฉลาดในการค้าขายและการเงิน

10


สมาคม

11

สมาคมคื อ เมื่ อ เข้ า ไปอยู่ ใ นแวดวงของ สังคมที่ต้องพบปะผู้คนในสภาวการณ์ ต่างๆ อิริยบทต่างๆ เพื่อทำ�ความรู้จัก และเข้าใจผู้คนให้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น บทบาท ของคนในการแสดงออกในที่ต่างๆ ทาง ร่างกาย เช่น ป้ายรถเมล์ บนรถเมล์ บน โรงพัก ในโรงพยาบาล ในโรงภาพยนตร์ ในสถานบันเทิงต่างๆ เพื่อหาคำ�ตอบใน ความหมายของภาษาท่าทางของคนเรา ที่แสดงออก


สรุป

การอ่านคนให้เก่งกาจสามารถได้นั้น จะ ต้องอาศัยทั้งหลักการ และประสบการณ์ ผสมผสานกัน คือต้องหูไวตาไว ไม่ใช่ มือไวเท้าไว คือต้องหัดสังเกต ตีความ ต้องทดสอบและวัดผล หรือประเมินผลที่ ทดสอบ หรือทดลอง พูดง่ายๆก็คือต้อง ลองวิชาที่เรียนรู้ว่าแน่แค่ไหน ต้องศึกษา จากตำ�รับตำ�ราหลายๆเล่ม (ไม่ใช่เล่มนี้ เล่มเดียว) ต้องเก็บสถิติจากการที่มีผู้อื่น ค้นคว้า และได้สรุปไว้แล้วมาพิสูจน์เพื่อ หาคำ � ตอบในการแสดงออกทางกิ ริ ย า ท่าทาง หรือพฤติกรรมที่เห็นแล้วนำ�มา ฝึกถอดความหมาย

12


ประโยชน์ ของการอ่าน ภาษากาย


ประโยชน์ของการอ่าน ภาษากาย

ผู้อ่านจะได้รับประโยชน์จากการอ่านหรือ การเข้าใจถึงภาษาท่าทางที่แสดงออกมา ซึ่งจะช่วยให้เราได้รับผลดีต่างๆ ในการ ติดต่อกับบุคคลต่างๆ ดังนี้

ช่วยให้การติดต่อกับผู้อื่นนั้นเป็นไปอย่าง ราบรื่น ช่วยลดเวลาในการติดต่อ หรือสูญเสีย เวลาที่ไม่จำ�เป็น ช่วยผ่อนคลายหรือแก้ ไขสถานการณ์ที่ จะเป็นไปในทางลบ หรือขาดสัมพัทธภาพ ที่ดี เป็นประโยชน์ ในทางการขายหรือธุรกิจ ที่จะยุติลงด้วยดี ช่วยตรวจสอบการสื่อสารของบุคคลที่ เราติ ด ต่ อ ด้ ว ยนอกเหนื อ จากภาษาที่ แสดงออกจาก “คำ�พูด” ว่าคำ�พูดนี้น่า เชื่อถือหรือมีน้ำ�หนักมากน้อยแค่ไหน ช่วยปรับปรุงพัฒนาบทบาท และบุคลิก ภาพของเราให้สอดคล้อง และเหมาะสม กับบุคคลต่างๆในสังคม

14


ส่วนประกอบ ของท่าทาง แบ่งเป็น 4 ส่วน


ส่วนบน ส่วนบนของร่างกายแบ่งออกเป็น 11 ส่วน ได้แก่ เส้นผม ศีรษะ หน้าผาก คิว้ ตา จมูก หู แก้ม ปาก คาง คอ

ส่วนกลาง

เครือ่ งแต่งกาย สิง่ ของ วัตถุ

ส่วนกลางของร่างกายแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ไหล่ แขน มือ นิ้วมือ

เครื่องแต่งกาย สิ่งของ วัตถุแบ่งออกเป็น 8 ส่วนได้แก่ นาิกา แว่นตา กระเป๋าถือ เน็คไท เสื้อเชิ�ต ถ้วยกาแฟ ปากกา

ส่วนล่าง ส่วนล่างของร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ขา เท้า

16



ส่วนบน ส่วนบนของร่างกายแบ่งออกเป็น 11 ส่วน ได้แก่ เส้นผม ศีรษะ หน้าผาก คิว้ ตา จมูก หู แก้ม ปาก คาง คอ

18


เส้นผม


เล่นผมตัวเอง

เล่นผม ตัวเอง

ส่วนบน ผม หมายถึง ประหม่า อึดอัด เขินอาย

20


ศีรษะ


ก้มหน้า

ก้มหน้า

ส่วนบน ศีรษะ หมายถึง ซ่อนความรู้สึก เขินอาย ขาดความมั่นใจ

22


เอียงศีรษะ

เอียงศีรษะ 23

ส่วนบน ศีรษะ หมายถึง ประเมิน คิด พิจารณา สงสัย


เชิดศีรษะ

เชิดศีรษะ

ส่วนบน ศีรษะ หมายถึง มั่นใจ สบายใจ รู้สึกปกติ

24


เอามือหนุนท้ายทอย

เอามือหนุน 25

ท้ายทอย

ส่วนบน ศีรษะ หมายถึง มั่นใจ เปิดเผย วางอำานาจ


เกาศีรษะ

เกาศีรษะ

ส่วนบน ศีรษะ หมายถึง ไม่แน่ใจ คิดไม่ออก คันหัว

26


หน้าผาก


ตบหน้าผาก

ตบหน้าผาก ตัวเอง

ส่วนบน หน้าผาก หมายถึง อึดอัดใจ หงุดหงิด

28


คิ�ว


ขมวดคิ�ว

ขมวดคิ้ว

ส่วนบน คิ้ว หมายถึง เคร่งเครียด กังวล อึดอัดใจ

30


ตา


ตาเป ดกว้าง

ตาเปิดกว้าง

ส่วนบน ตา หมายถึง กระตือรือร้น อารมณ์ดี ตื่นเต้น ร่าเริง

32


หลบตา

หลบตา 33

ส่วนบน ตา หมายถึง โกหก พิรธุ ประหม่า หลบหน้า


ช้อนตามอง

ช้อนตามอง

ส่วนบน ตา หมายถึง สงสัย ท้าทาย

34


กรอกตา

กรอกตา 35

ส่วนบน ตา หมายถึง คิด รื้อฟ��นความจำา โกหก


มองค้อน

มองค้อน

ส่วนบน ตา หมายถึง ไม่ชอบ ระแวง สงสัย

36


หรีต่ ามอง

หรี่ตามอง 37

ส่วนบน ตา หมายถึง สงสัย กังวล โกรธ ปัญหาทางสายตา


สบตา

สบตา

ส่วนบน ตา หมายถึง จริงใจ สนใจ

38


หลับตา

หลับตา 39

หรือพักสายตา

ส่วนบน ตา หมายถึง เบือ่ หน่าย ไม่สนใจ วางอำานาจ


ขยี้ตา

ขยี้ตา

ส่วนบน ตา หมายถึง หลบตา โกหก สงสัย

40


ป ดเปลือกตา

ปิดเปลือกตา 41

ส่วนบน ตา หมายถึง ตกตะลึง ไม่เชือ่ ไม่เห็นด้วย


ปรีดา อริยะมิตร


แก้ม


กำามือแนบแก้ม

กำามือ

แนบแก้ม นิ้วชี้ชี้ขึ้น

ส่วนบน ตา หมายถึง สงสัย ปฏิเสธ ปิดบัง

44


นัง่ พ�งแก้ม

นั่งพิงแก้ม 45

ส่วนบน ตา หมายถึง เบือ่ หน่าย ใจลอย


ปรีดา อริยะมิตร


จมูก


แตะจมูก

แตะจมูก

ส่วนบน ตา หมายถึง โกหก สงสัย ปฏิเสธ ปิดบัง

48


หู


เล่นใบหู

เล่นใบหู

ส่วนบน หู หมายถึง เก็บอารมณ์ ไม่อยากฟัง ไม่เชื่อ ไม่เห็นด้วย

50


ปาก


กัดริมฝ ปาก

กัดริมฝีปาก

ส่วนบน ปาก หมายถึง โกหก สงสัย ปฏิเสธ ปิดบัง

52


เลียริมฝ ปาก

เลียริมฝีปาก 53

ส่วนบน ปาก หมายถึง โกหก หลีกเลีย่ งการตอบ


เม้มปาก

เม้มปาก

ส่วนบน ปาก หมายถึง โกหก วิตกกังวล กลัว ไม่แน่ใจ

54


แตะริมฝ ปาก

แตะริมฝีปาก 55

ส่วนบน ปาก หมายถึง ไม่แน่ใจสิ่งที่พูด ปิดบัง


ป ดปากขณะพูด

มือปิดปาก ขณะที่พูด

ส่วนบน ปาก หมายถึง โกหก วิตกกังวล กลัว ไม่แน่ใจ

56


คาง


จับคาง

จับคาง

ส่วนบน คาง หมายถึง นักคิด ใช้สมอง ตัดสินใจ ยืดเยื้อ ประเมินสถานการณ์

58


นัง่ เท้าคาง

นั่งเท้าคาง 59

ส่วนบน คาง หมายถึง ใช้ความคิด จดจ่อ ใจลอย ประเมิน เบื่อหน่าย


ปรีดา อริยะมิตร


คอ


ถูลำาคอ

ถูลำาคอ

ส่วนบน คอ หมายถึง โมโห ลำาบากใจ สงสัย ลังเล ไม่แน่ใจ หงุดหงิด

62



ส่วนกลาง ส่วนกลางของร่างกายแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ไหล่ แขน มือ นิ้วมือ

64


หัวไหล่


ยักไหล่

ยักไหล่

ขึ้นทั้งสองข้าง

ส่วนกลาง หัวไหล่ หมายถึง ไม่รู้ ไม่เข้าใจ ไม่มั่นใจ

66


แขน


กอดอกทั่วไป

กอดอก

แขนสองข้างไขว่กัน

ส่วนกลาง แขน หมายถึง ไม่ไว้ใจ ไม่เห็นด้วย อึดอัด ปิดกั้น ป้องกันตัว

68


มือกำาหมัดกอดอก

กอดอก 69

มือกำาหมัดแน่น

ส่วนกลาง แขน หมายถึง ท้าทาย โมโห รู้สึกเป็นปรปักษ์


กอดอกจับต้นแขน

กอดอก มือจับต้นแขน

ส่วนบกลาง แขน หมายถึง กอดตัวเอง ป้องกัน อดกลั้น

70


เกาะแขนอีกข้าง

กอดแขน 71

มือเกาะแขนอีกข้าง

ส่วนกลาง แขน หมายถึง กลัว ปิดกลั้น ป้องกันตัว ขาดความมั่นใจ


อ้าแขน แล้วแบมือ

อ้าแขน

แล้วแบมือออก

ส่วนกลาง แขน หมายถึง เปิดเผย ซื่อตรง จริงใจ

72


มือและนิ�วมือ


ถูมือไปมา

ถูมือ

สลับขึ้นลงไไปมา

ส่วนกลาง มือ หมายถึง คาดหวัง กังวล ตื่นเต้น

74


กดฝ ามือลงบนโต ะ

กดฝ่ามือ 75

ลงบนโต๊ะทั้งสองข้าง

ส่วนกลาง มือ หมายถึง มัน่ ใจ วางอำานาจ


ประสานมือ

ประสานมือ ระดับปกติ

ส่วนกลาง มือ หมายถึง กระวนกระวาย วิตกกังวล หงุดหงิด เก็บกด

76


มือเท้าสะเอว

มือเท้าสะเอว 77

ทั้งสองข้าง

ส่วนกลาง มือ หมายถึง พร้อม มั่นใจ วางอำานาจ ท้าทาย ก้าวร้าว


ล้วงกระเป ากางเกง

ล้วงกระเป๋า กางเกง

ส่วนกลาง มือ หมายถึง กลัวการเปิดเผย ปกปิด

78


มือไขว้หลัง

มือไขว้หลัง 79

ระดับปกติ

ส่วนกลาง มือ หมายถึง เชื่อมั่นในตัวเอง มั่นใจ โกรธ หงุดหงิด ควบคุมอารมณ์


ดึงปกเสื้อ

ดึงปกเสื้อ

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง โกหก ระคายเคือง

80


หักนิว�

หักนิ้ว 81

หักงอนิ้วทั้งสองข้าง

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง กดดัน กังวล เครียด


กัดเล็บ

กัดเล็บ

กัดปลายเล็บของนิ้ว

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง ครุน่ คิด เครียด กดดัน พิรธุ

82


จรดปลายนิว� มือ

จรด 83

ปลายนิ้วมือ

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง มัน่ ใจ เชื่อมั่นตัวเอง ถกเถียง


โชว์นิ�วโป ง

โชว์นิ้วโป้ง เวลาล้วงกระเป๋า

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง ทะนงตัว แน่วแน่ ก้าวร้าว มัน่ ใจ เท่ห์

84


ชีน้ ว�ิ

ชี้นิ้ว 85

ออกไปด้านหน้า

ส่วนกลาง นิ้วมือ หมายถึง เยาะเย้ย ถากถาง ไร้มารยาท บ่งการ ออกคำาสั่ง


ปรีดา อริยะมิตร



ส่วนล่าง ส่วนล่างของร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ขา เท้า

88


ขา


นั่งคร่อมเก้าอี้

นั่งคร่อม เก้าอี้

ส่วนล่าง ขา หมายถึง ป้องกันตัว ทำาตัวเหนือกว่า

90


นัง่ ค่อนเก้าอี้

นั่งค่อน 91

มาด้านหน้าเก้าอี้

ส่วนล่าง ขา หมายถึง เปิดเผย พร้อมตัดสินใจ ตั้งใจ


นั่งไขว่ห้าง

นั่งไขว่ห้าง

ส่วนล่าง ขา หมายถึง มั่นใจ จินตนาการสูง ใช้ความคิด เบื่อหน่าย

92


ยืนขาชิด

ยืนขาชิด 93

ยืนตรงขาชิดกัน

ส่วนล่าง ขา หมายถึง มัน่ ใจ เตรียมพร้อม


ยืนไขว้ขา

ยืนไขว่ขา สองข้างสลับกัน

ส่วนล่าง ขา หมายถึง ป้องกันตัว ปิดกลั้น เก็บตัว

94


ยืนแยกขา

ยืนแยกขา 95

ทั้งสองข้าง

ส่วนล่าง ขา หมายถึง วางอำานาจ มัน่ ใจ เปิดเผย


ปรีดา อริยะมิตร


เท้า


ยกเท้าวางบนโต ะ

ยกเท้า วางบนโต๊ะ

ส่วนล่าง เท้า หมายถึง มั่นใจ อาวุโส วางอำานาจ

98


เท้าเกีย่ วขา

เท้าเกี่ยวขา 99

ส่วนล่าง เท้า หมายถึง เขิน อาย ไม่มน่ั ใจ กลัว


ปรีดา อริยะมิตร



เครือ่ งแต่งกาย สิง่ ของ วัตถุ เครื่องแต่งกาย สิ่งของ วัตถุแบ่งออกเป็น 8 ส่วนได้แก่ นาิกา แว่นตา กระเป๋าถือ เน็คไท เสื้อเชิ�ต ถ้วยกาแฟ ปากกา

102


มองนาิกา

มองนาิกา 103

สิ่งของ ขา หมายถึง อึดอัด ไม่สบายใจ เร่งรีบ เบื่อหน่าย


กัดขาแว่น

กัดขาแว่น

สิ่งของ กัดขาแว่น หมายถึง โกหก ปิดบัง คาดหวัง

104


มองลอดแว่น

มองลอดแว่น 105

สิ่งของ แว่นตา หมายถึง ตรวจสอบ พิจารณา จับผิด ข้องใจ


กอดกระเป าถือ

กอดกระเป๋า

สิ่งของ กอดกระเป๋าถือ หมายถึง ปิดบัง ป้องกันตัว ไม่กล้าเปิดเผย

106


ขยับเน็คไท

ขยับเน็คไท 107

สิ่งของ เน็คไท หมายถึง กลบเกลื่อนความตื่นเต้น เขิน อาย ทำาอะไรไม่ถูก


ปลดกระดุมเสื้อ

ปลด

กระดุมเสื้อเชิ้ต

สิ่งของ เสื้อเชิ้ต หมายถึง เปิดเผย จริงใจ ผ่อนคลาย

108


จับแขนเสือ้

จับแขนเสื้อ 109

สิ่งของ เสื้อเชิ้ต หมายถึง ไม่แน่ใจ ไม่มั่นใจ


ถือแก้วน้ำาบังตัว

ถือแก้วน้ำา บังตัว

สิ่งของ แก้วน้ำา หมายถึง ปกปิด ป้องกัน ไม่กล้าเปิดเผย

110


กัดปลายปากกา

กัดปลาย 111

ปากกาหรือดินสอ

ส่วนล่าง เท้า หมายถึง เขิน อาย ไม่มน่ั ใจ กลัว


ปรีดา อริยะมิตร


ท่าทางที่ พบบ่อย


114


อาณาเขต และพื้นที่ ส่วนตัว


ระยะห่างระหว่างบุคคล

พื้นที่ส่วนตัวเปรียบเหมือนฟองอากาศ เคลื่อนที่ของมนุษย์ รั ศ มี ข องฟองอากาศของคนชั้ น กลาง ที่ อ า ศั ย อ ยู่ แ ถ บ ช า น เ มื อ ง ใ น ท วี ป อเมริกาเหนือ ยุโรปเหนือ สแกนดิเนเวีย แคนาดา อังกฤษ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย หรือทุกแห่งทีม่ วี ฒ ั นธรรมแบบ “ตะวันตก“ ซึ่งแต่ละที่จะมีขนาดที่แตกต่างกัน และแบ่ง แยกออกได้เป็น 4 ระยะดังนี้

1. ขอบเขตชั้นใน (ระหว่าง 16 -18 นิ้ว) ขอบเขตส่ ว นนี้ เ ป็ น ส่ ว นที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด เพราะคนเราจะปกป้องระยะนี้ราวกับเป็น สมบัติส่วนตัว มีเพียงผู้ที่สนิทสนมกับ เราเท่านั้นที่อณุญาตให้เข้ามาได้ รวมถึง คนรัก พ่อแม่ คู่ชีวิต ลูก เพื่อนสนิท ญาติ และสัตว์เลี้ยง ยังมีระยะย่อยซึ่งห่างจาก ร่างกายไม่เกิน 6 นิ้ว (15 เซนติเมตร) และ จะเข้าได้ก็ระหว่างที่มีการถูกเนื้อต้องตัว กันเท่านัน้ เรียกว่าเป็นเขตหวงห้ามชัน้ ในสุด

116


ขอบเขตชั้นใน 16 - 18 นิ้ว

2. ขอบเขตส่วนบุคคล (ระหว่าง 18 - 48 นิ้ว) เป็ น ระยะที่ เ รามั ก จะยื น อยู่ ใ นงานเลี้ ย ง ต่างๆ งานสังคม งานสังสรรในบริษัท งานสังคม และการสังสรรค์ในหมูเ่ พือ่ นฝูง

117

ขอบเขตส่วนบุคคล 18 - 48 นิ้ว

ขอบเขตสังคม 4 - 12 ฟุต

3. ขอบเขตสังคม (ระหว่าง 4 - 12 ฟุต) ระยะนี้เป็นระยะที่เราใช้เมื่อยืนอยู่กับคน แปลกหน้า เช่น ช่างประปา ช่างไม้ที่เข้ามา ซ่อมแซมงานภายในบ้าน บุรุษไปรษณีย์ ลูกจ้างคนใหม่ที่เพิ่งเข้ามาทำ�งานที่เรายัง ไม่รู้จัก และคนที่เราไม่คุ้นเคย

ขอบเขตสาธรณะ มากกว่า 12 ฟุต

4. ขอบเขตสาธารณะ (มากกว่า 12 ฟุต) ระยะนี้เป็นระยะที่เราเลือกเมื่อจะต้องออก ไปพูดกับคนกลุ่มใหญ่ เพราะเป็นระยะ ปลอดภัย และทำ�ให้รู้สึกสบาย


ระยะห่างของขอบเขต “สำ � หรั บ คนในเมื อ ง และคนในชนบท” ขอบเขตส่ ว นบุ ค คลของแต่ละคนขึ้น อยู่ กับความหนาแน่นของชุมชนในท้องถิ่นที่ เขาเติบโตขึ้นมา ถ้าอยู่ในบริเวณที่กว้าง มากก็ย่อมต้องการขอบเขตส่วนบุคคล ที่กว้างกว่าคนที่อยู่ในเมืองที่แออัด การ เฝ้ามองคนจับมือกันก็จะบอกได้ว่าเขา มาจากเมื อ งใหญ่ ห รื อ มาจากชนบท คนในเมืองจะมีระยะทีห่ า่ งประมาณ 18 นิว้ นับจากข้อมือถึงลำ�ตัว เพราะระยะนี้มือ ที่จับกันจะอยู่ในขอบเขตส่วนบุคคลพอดี คนที่มาจากชนบทจะมีระยะห่างไกลถึง 4 ฟุตหรือมากกว่านั้นเมื่อวัดจากระยะ เดียวกัน

คนชนบทมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะยื น ปั ก หลั ก และโน้ ม ตั ว มาข้ า งหน้ า เพื่ อ จั บ มื อ กั บ คุณ ส่วนคนเมืองจะก้าวมาข้างหน้าเพื่อ ทักทายคุณ คนที่เติบโตมาในพื้นที่ห่าง ไกลอาจมี ค วามต้ อ งการพื้ น ที่ ส่ ว นตั ว มากขึ้นไปอีก โดยอาจกว้างถึง 18 ฟุต (6 เมตร) พวกเขามักจะจับมือ แต่จะยืน ห่างๆ โบกมือให้กันแทน

คนขายของในเมืองพบว่าข้อมูลเหล่านี้มี ความสำ�คัญ เมื่อเขาออกไปขายของให้ ชาวนาหรือคนในพื้นที่ห่างไกล ชาวนา เหล่านี้มี “ฟองอากาศ” 3 - 6 ฟุตหรือ มากกว่า การจับมือจะถูกถือว่าเป็นการ ล่ ว งเกิ น ดั ง นั้ น นั ก ขายที่ ป ระสบความ สำ�เร็จจึงมีความเห็นพ้องต้องกันว่า การ ขายของให้คนในเมืองต้องทักทายด้วย การจับมือ ส่วนชาวนาต้องทักทายด้วย การโบกมือ

118


ระยะห่างที่พอเหมาะ คนทุกคนต้องการระยะห่างที่พอเหมาะ เมื่ออยู่กับคนแปลกหน้า เช่นการนั่งโรง ภาพยนตร์ การนั่งในห้องประชุม หรือ เวลาเลือกขอแขวนผ้าเช็ดตัวในห้องแต่ง ตัวในสนามกีฬา เรามักจะมองหาที่ว่าง ที่สุดระหว่างคนสองคนที่ไม่รู้จักกัน แล้ว เลือกเอาบริเวณนั้นเป็นของตัวเอง

119

ในโรงภาพยนตร์เขาจะเลือกตรงระหว่าง กลางของที่นั่งที่เหลือ หรือในสนามกีฬา เขาจะเลื อ กขอแขวนเสื้ อ ที่ อ ยู่ บ ริ เ วณที่ ว่างมากที่สุด การทำ�เช่นนี้ก็เพียงเพื่อ ไม่ให้รบกวนขอบเขตส่วนบุคคลของคน อื่น ทั้งยังไม่อยากอยู่ห่างเกินไปด้วย

ที่ จ ริ ง แล้ ว คนเราต้ อ งการระยะที่ พ อ เหมาะไม่ เ ข้ า ใกล้ ห รื อ ไกลห่ า งเกิ น ไป นอกจากกรณี เ ดี ย วคื อ การเข้ า ไปถ่ า ย ทุกข์ ในห้องน้ำ�สาธารณะจำ�นวนร้อยละ 90 จะเลือกห้องน้ำ�ที่อยู่ไกลที่สุด


ปรีดา อริยะมิตร


กฎ 3 ข้อ เพื่อการอ่าน ภาษากาย ที่แม่นยำ�


กฎข้อ 1

อ่านท่าทางเป็นกลุ่ม

สิ่ ง ที่ คุ ณ เห็ น หรื อ ได้ ยิ น ในสถานการณ์ ใดๆ ไม่จำ�เป็นต้องสะท้อนความรู้สึก แท้จริงของคนผู้นั้นเสมอไป หนึ่ ง ในความผิ ด พลาดที่ ร้ า ยแรงที่ สุ ด ของมือใหม่อ่านภาษากาย คือ การ ตีความท่าใดท่าหนึ่งโดดๆ โดยไม่สนใจ ท่ า อื่ น หรื อ สถานการณ์ โ ดยรวมยก ตัวอย่าง การเกาศีรษะอาจมีความหมาย หลายอย่าง ทั้งเหงื่อออก ไม่แน่ใจ รังแค หมัด ลืม หรือโกหก ขึ้นอยู่กับท่าอื่นๆ ที่ เกิดขึ้นพร้อมกันด้วย ภาษากายก็เหมือน กับภาษาอื่น ตรงที่ประกอบด้วยถ้อยคำ� ประโยค และเครื่องหมายวรรคตอน แต่ละ ท่าก็เหมือนคำ�แต่ละคำ� และคำ�หนึ่งอาจ มีความหมายแตกต่างกันไปได้มากมาย ยกตัวอย่างในภาษาอังกฤษ คำ�ว่า “dressing” มีอย่างน้อยสิบความหมาย ซึ่งรวมถึงการสวมเสื้อผ้า ราดซอสบน อาหาร ทำ�แผล ทำ�ปุ๋ย และแปรงขนม้า

ต่อเมือ่ คุณนำ�คำ�มาใส่ในประโยค ผสมกับ คำ�อืน่ ๆ คุณจึงจะเข้าใจความหมายแท้จริง ของมัน ท่าทางถูกถ่ายทอดเป็น “ประโยค” ที่เรียกว่าว่ากลุ่มท่าทาง และมันจะเผย ความจริงเกี่ยวกับความรู้สึกหรือนิสัย ของคนได้อย่างชัดเจน กลุ่มท่าทางก็ เหมือนกับประโยค มันต้องการอย่างน้อย 3 ส่วนก่อนที่คุณจะเข้าใจความหมาย ของแต่ละส่วนได้อย่างแน่ชัด คนที่ “มอง ออก” คือผู้ที่อ่านภาษากายเป็นกลุ่ม และ เชื่อมโยงมันเข้ากับภาษาพูดของคนผู้นั้น ได้อย่างถูกต้อง

122


ดังนั้น จงมองภาษาท่าทางที่แวดล้อมอยู่ ทุกครั้งเพื่อให้อ่านความหมายได้ถูกต้อง เราแต่ละคนมีท่าที่ทำ�ซ้ำ�ๆ เป็นประจำ�ซึ่ง บ่งบอกว่าเราเบื่อหรือรู้สึกกดดัน การ แตะผมบ่อยๆ หรือม้วนปอยผมเล่นเป็น ตัวอย่างที่พบบ่อย แต่หากมันปรากฏอยู่ เดี่ยวๆ ก็อาจแปลว่าคนผู้นั้นกำ�ลังรู้สึก ไม่แน่ใจ หรือวิตกกังวล ผู้คนลูบผมหรือ ศีรษะเพราะนั่นคือสิ่งที่แม่ของพวกเขาทำ� เพื่อปลอมโยนสมัยยังเด็ก เพื่อแสดงตัวอย่างเรื่องกลุ่มท่า นี่คือ กลุ่ ม ท่ า ใคร่ ค รวญที่ ใ ครสั ก คนอาจใช้ เมื่อรู้สึกไม่ประทับใจกับสิ่งที่ได้ยิน

123

อิริยบถหลักๆ ของการใคร่ครวญ คือ ท่ายกมือขึ้นแตะหน้า นิ้วชี้ชี้ขึ้นไปที่แก้ม ขณะที่นิ้วอื่นๆปิดปาก และนิ้วโป้งรอง ใต้คาง หลักฐานอื่นๆ ที่ว่าผู้ฟังกำ�ลังใช้ ความคิดใคร่ครวญสิ่งที่ ได้ยินก็คือขาที่ ไขว้ และแขนกอดอก (ป้องกันตัว) ขณะที่ ศีรษะและคางก้มต่ำ� (ปฏิเสธ/ปฏิปักษ์) “ประโยค” ของภาษากายนี้แปลได้ทำ�นอง ว่า “ผมไม่ชอบสิ่งที่คุณกำ�ลังพูด” “ผม ไม่เห็นด้วย” หรือ “ผมกำ�ลังข่มกลั้น ความรู้สึกในแง่ลบ”


กฎข้อ 2

มองหาความขัดแย้ง

การสังเกตจากกลุ่มท่าทาง และความ สอดคล้ อ งกั น ของภาษากายกั บ ภาษา พูดเป็นกุญแจสำ�คัญสู่การตีความภาษา กายอย่างถูกต้อง งานวิ จั ย บ่ ง ชี้ ว่ า สั ญ ญานที่ ป ราศจาก คำ�พูดมีพลังมากกว่าคำ�พูดถึง 5 เท่า และหากสองอย่ า งนี้ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั น ผู้ ฟั ง โดยเฉพาะผู้ ห ญิ ง จะเชื่ อ ภาษา ท่าทางมากกว่าถ้อยคำ�ที่พูดออกมา หากคุณอยู่ในฐานะผู้พูด อยากขอให้ ผู้ ฟังในภาพก่อนหน้านี้แสดงความเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่คุณพูด และเขาตอบว่า เขาไม่เห็นด้วยกับคุณ ภาษากายของ เขาก็สอดคล้องกับคำ�พูด นั่นคือมันไป ในทางเดียวกัน แต่หากเขาตอบว่าเห็น ด้วยกับสิ่งที่คุณพูด ก็มีแนวโน้มสูงว่าเขา โกหก เพราะคำ�พูดกับท่าทางขัดแย้งกัน

หากคุณเห็นนักการเมืองยืนอยู่หลังแท่น ปาฐกถากำ�ลังพูดอย่างมั่นใจ แต่แขน ของเขากอดแน่น (ป้องกันตัว) และหน้า ก้มลงนิดๆ (จับผิด/ไม่เป็นมิตร) ขณะ ที่ บ อกผู้ ฟั ง ว่ า เขาเปิ ด รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็นของคนหนุ่มสาว คุณจะเชื่อเขาไหม แล้วถ้าเขาพยายามกล่อมให้คุณเชื่อว่า วิ ธี ก ารทำ � งานของเขาเปี่ ย มด้ ว ยความ เมตตาและอบอุ่น ในขณะที่ทำ�ท่าสับมือ แบบคาราเต้ใส่แท่นไปด้วยล่ะ ชิกมันด์ ฟรอยด์ เคยรายงานว่าขณะ ที่ ค นไข้ ผู็ห นึ่ ง บรรยายถึ ง ความสุ ข ใน ชีวิตแต่งงาน เธอกลับถอดๆใส่ๆ แหวน แต่งงานโดยไม่รู้ตัว ฟรอยด์รู้ถึงความ สำ � คั ญ ของท่ า ที ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยไม่ รู้ ตั ว นี้ และไม่ประหลาดใจ เมื่อปัญหาชีวิตคู่ของ คนไข้รายนี้เริ่มปรากฏให้เห็น 124


กฎข้อ 3

อ่านท่าทางประกอบ บริบท

ในหนังสือเล่มนี้ เราจะพิจารณาภาษากาย โดยคำ�นึงถึงบริบทของมันเสมอ และหาก เป็นไปได้ก็จะแยกพิจารณาเป็นกลุ่มๆไป ท่าทางทุกอย่างควรได้รับการพิจารณา ในบริบทที่มันเกิดขึ้น ยกตัวอย่าง หาก ใครสั ก คนนั่ ง อยู่ ที่ ป้ า ยรถประจำ � ทาง กอดอกแน่น ไขว่ห้าง ก้มหน้า และวันนั้น เป็นวันในฤดูหนาวที่อุณหภูมิติดลบ ก็ เป็นไปได้สูงที่เขาทำ�ท่านี้เพราะรู้สึกหนาว ไม่ใช่รู้สึกต่อต้าน แต่หากมีใครทำ�แบบ เดี ย วกั น นี้ ข ณะที่ คุ ณ นั่ ง อยู่ อี ก ฟากโต๊ ะ พยายามนำ�เสนอความคิด ผลิตภัณฑ์ หรือบริการให้เขาละก็ เราก็อาจตีความ หมายได้อย่างถูกต้องว่าบุคคลผู้นี้กำ�ลัง รู้สึกติดลบ หรือไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอ ของคุณ

125


ปรีดา อริยะมิตร


บทสรุปของ การอ่าน ภาษากาย


บทสรุป

การสื่ อ ความหมายโดยการใช้ ภ าษา ร่างกายมีมานานแล้วกว่า 1 ล้านปี แต่ เพิ่งมีการศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เมื่อ 20 กว่าปีที่ผ่านมาแล้วเท่านั้น เรื่อง นี้เป็นเรื่องที่ฮือฮากันมากในระยะปี 1970 ก่อนสิ้นศตวรรษนี้ คนทั้งโลกจะมองเห็น ถึงความสำ�คัญของภาษากาย ผู้เขียนมี ความเห็นว่าความหมายของการสื่อสาร ความหมายนีจ้ ะถูกบรรจุเข้าเป็นหลักสูตร ของการศึกษาทั่วไป หนังสือเล่มนี้เป็น เพียงการแนะนำ�ภาษากายเท่านั้น ผู้ เขี ย นอยากจะกระตุ้ น ให้ ผู้อ่ า นค้ น คว้ า หาความหมาย และรู้ในประสบการณ์ของ ตัวคุณเองต่อไป

สังคมเป็นที่ที่คุณสามารถใช้และทดลอง การสื่อความหมายด้วยวิธีนี้ คอยสังเกต ท่าทางของตนเองและของผู้อื่น จะทำ�ให้ คุณมีความเข้าใจวิธีการสื่อสารชนิดนี้ได้ ดียิ่งขึ้น

128


ภาพรวม ท่าทาง


130


131


132


133


ปรีดา อริยะมิตร




B

O

D

Y

I

S

S

A

Y

I

N

G


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.