AUDIT COMMITTEE
MAE FAH LUANG UNIVERSITY
รายงานผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ปงบประมาณ พ.ศ 2566
โดย นายพายัพ พยอมยนต์ ประธาน นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ กรรมการ รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กฤษฎา เสกตระกูล กรรมการ นางพัชรี พิทยชวาล กรรมการ หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน เลขานุการ (นางสาวสิขรินทร์ แสงจันทร์)
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สารบัญ
บทสรุปผู้บริหาร 1
1. บทนา
1.1 ความเป็นมา
1.2 หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
2. ผลการปฏิบัติหน้าที่ และความเห็น/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.1 กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2.2 กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2.3 ระบบการควบคุมภายใน
2.3.1 ระดับหน่วยงาน
2.3.2 ระดับมหาวิทยาลัย
2.4 กระบวนการบริหารความเสี่ยง และระบบบริหารความเสี่ยงด้านทุจริต
2 4 1 ระดับหน่วยงาน
2.4.2 ระดับมหาวิทยาลัย
2.5 กระบวนการกากับดูแลที่ดี
2.6 ระบบการร้องเรียนของมหาวิทยาลัย
2.7 รายงานการเงิน
2.8 การดาเนินงานของฝ่ายบริหารตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน
2.8 1 การผลิตบัณฑิต
2.8.2 การประกันคุณภาพการศึกษา
2.8.3 การบริการวิชาการ
2.8.4 การวิจัย
2.8.5 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.8.6 การบริหารงบประมาณ
2.8 7 การดาเนินงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2.9 การกากับดูแลระบบงานตรวจสอบภายในให้มีความเป็นอิสระ และปฏิบัติตามหลักการ วิชาชีพตรวจสอบภายใน
2.9.1 การพิจารณาและอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน
2.9.2 ให้ข้อเสนอแนะการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
2.9.3 การประเมินผลการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคของหน่วยตรวจสอบภายใน
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
2.10 รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีโอกาสเกิดการทุจริตที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย
2.11 การประเมินผลงานของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน
2.12 การประชุมหารือร่วมกับสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ภาคผนวก หน้า
ภาคผนวก 1 โครงสร้างองค์กร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ภาคผนวก 2 โครงสร้างการบริหาร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ภาคผนวก 3 คาสั่งสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ 4/2564 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คาสั่งสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ 32/2565 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คาสั่งสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ 27/2566 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ
ภาคผนวก 4 กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2564
ภาคผนวก 5 กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2566
ภาคผนวก 6 สรุปการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ภาคผนวก 7 กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2564
ภาคผนวก 8 กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2566
ภาคผนวก 9 แผนภูมิความเชื่อมโยงแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2565 - 2569)
กับแผนงาน/งาน และงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2566 (สิ้นปีงบประมาณ)
ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ภาคผนวก 10 แผนการตรวจสอบระยะยาว 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2568)
ภาคผนวก 11 แผนการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ภาคผนวก 12 แผนการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ภาคผนวก 13 ตาราง
ตารางที่ 1 แสดงความเสี่ยงระดับหน่วยงาน ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 2 แสดงผลการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับหน่วยงาน ณ สิ้นปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566
ตารางที่ 3 แสดงความเสี่ยงที่สาคัญระดับหน่วยงานที่บริหารจัดการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ตารางที่ 4 แสดงการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 5 แสดงผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
ตารางที่ 6 แสดงสรุปมาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563 และแนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564
ตารางที่ 7 แสดงจานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 10
แสดงแผนและผลการรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาเอก
ปีการศึกษา 2566
ตารางที่ 11
แสดงจานวนนักศึกษาใหม่ชาวต่างชาติ ปีการศึกษา 2566
ตารางที่ 12 แสดงจานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2566
ตารางที่ 13
แสดงจานวนผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565
ตารางที่ 14 แสดงจานวนอาจารย์ วุฒิการศึกษา และตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ประจา ปีการศึกษา 2566
ตารางที่ 15
ตารางที่ 16
แสดงแนวทาง/เกณฑ์/หลักเกณฑ์การประเมินหลักสูตร ปีการศึกษา 2565
แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565
ตามเกณฑ์ สป.อว. (IQA)
ตารางที่ 17 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565
ตามเกณฑ์ AUN-QA
ตารางที่ 18 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับหลักสูตร ระดับอาเซียน (มีผลตั้งแต่ปีการศึกษา 2565 - 2569
ตารางที่ 19 แสดงผลการประเมินระดับสานักวิชา ปีการศึกษา 2565
ตารางที่ 20 แสดงโครงการ/กิจกรรมการบริการวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 21 แสดงโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 22 แสดงโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
ตารางที่ 23 แสดงนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญาที่ยื่นขอรับความคุ้มครอง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 24 แสดงนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญาของหน่วยงานที่ยื่นจดสิทธิบัตร ไม่รวมเครื่องหมายการค้า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
ตารางที่ 25
แสดงผลงานวิจัยที่มีผู้สนใจนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์
ตารางที่
ตารางที่
แสดงการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 30 แสดงรายได้ค่ารักษาพยาบาลจาแนกตามสิทธิ์การรักษาโรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 31 แสดงรายได้โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
ตารางที่ 32 แสดงการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 33 แสดงจานวนข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบภายใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไม่รวมการสอบทานระบบการจัดทารายงาน การเงิน จาแนกตามประเภทการตรวจสอบภายใน
ตารางที่ 34 แสดงรายรับเปรียบเทียบกับประมาณการหน่วยบริการทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 35 แสดงการเบิกจ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับประมาณการ หน่วยบริการ ทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ตารางที่ 36 แสดงรายรับเปรียบเทียบกับรายจ่าย และค่าเสื่อมราคา
หน่วยบริการทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
ตารางที่ 37 แสดงการดาเนินการตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตารางที่ 38 แสดงผลการประเมินตนเองเป็นระยะของหน่วยตรวจสอบภายใน
สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 - 2566
ตารางที่ 39
แสดงผลการประเมินตนเองเป็นระยะของหน่วยตรวจสอบภายใน ตามด้าน
30 กันยายน
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
บทสรุปผู้บริหาร
ผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
สภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการกากับดูแลกิจการให้เป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาล ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทาหน้าที่กากับดูแลให้มหาวิทยาลัยมีระบบ การตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ มีมาตรการการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในที่รัดกุม ให้การบริหารงานโดยรวมเป็นไปอย่างโปร่งใส มีการบริหารจัดการที่ดี เป็นที่เชื่อถือของสาธารณชน ตั้งแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
คณะกรรมการตรวจสอบชุดปัจจุบันได้ปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบ ภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 และฉบับที่แก้ไข นอกจากนี้ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบยังผนวกกับเป้าหมายการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย และ การปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายในแต่ละปีงบประมาณ โดยอธิการบดี และฝ่ายบริหารทุกท่าน
มีส่วนร่วม เป็นที่ประจักษ์ว่าการบริหารมหาวิทยาลัยเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส สามารถตรวจสอบ ได้ มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม นอกเหนือจากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสานักงาน ป.ป.ช.
การปฏิบัติหน้าที่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เสร็จสิ้นแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบจึงได้จัดทารายงาน ฉบับนี้ขึ้น โดยได้ปรึกษาหารือกับคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ในการประชุมคณะกรรมการ
ตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2567 และได้เสนอสภามหาวิทยาลัยฯ แล้ว ในการประชุม
ครั้งที่ 3/2567 วันที่ 20 มีนาคม 2567
ผลการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดประชุม จานวน 7 ครั้ง ซึ่งกรรมการ ทุกคนเข้าร่วมประชุมครบทุกครั้ง ได้มีการประชุมหารือร่วมกับผู้บริหาร หัวหน้าและผู้ปฏิบัติงานหน่วย ตรวจสอบภายใน และสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดเชียงราย คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ อย่างอิสระ โดยไม่มีข้อจากัดในการได้รับข้อมูล ทรัพยากร และความร่วมมือจากผู้บริหาร เมื่อสิ้นสุด ปีงบประมาณ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบในภาพรวม ได้ คะแนนเฉลี่ย 3 88 และประเมินผลการปฏิบัติงานกรรมการตรวจสอบรายบุคคล ได้คะแนนเฉลี่ย 3 73 จาก คะแนนเต็ม 4.00 ซึ่งถือว่า มีการดาเนินการดีเยี่ยมหรือปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการปฏิบัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยสรุป ดังนี้
1. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐาน และหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 3)
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ.
พ.ศ. 2564 และ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2566) และหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0409.4/ว 47 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564 เรื่อง การจัดทากฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
2. อนุมัติการทบทวนกฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งเป็นไปตาม หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงาน
ของรัฐ พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2564 และ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2566) และหนังสือ
กระทรวงการคลังที่ กค 0409.4/ว 47 ลงวันที่ 28 มกราคม 2564 เรื่อง การจัดทากฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
3. ระบบการควบคุมภายใน ได้รับทราบการดาเนินการทั้งระดับหน่วยงาน และระดับมหาวิทยาลัย
มีความเห็นว่า การดาเนินการต่อเนื่อง ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 และคู่มือระบบควบคุมภายในและบริหาร ความเสี่ยงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า การควบคุมภายในเพียงพอ ส่งผลให้มหาวิทยาลัย
สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดาเนินงาน การรายงาน และการปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ การควบคุมภายในด้านการเงิน มีการดาเนินการตามแนวทางการควบคุมภายในด้านการรับเงิน และแนวทาง การควบคุมภายในด้านการจ่ายเงินตามที่กรมบัญชีกลางกาหนด
4. กระบวนการบริหารความเสี่ยง และระบบบริหารความเสี่ยงด้านทุจริต ได้รับทราบการดาเนินการทั้งระดับ
หน่วยงาน และระดับมหาวิทยาลัย มีความเห็นว่า มีการบริหารความเสี่ยงทุกระดับตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 การบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยดาเนินการตามแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับหน่วยงานของรัฐ เรื่อง หลักการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กร มีการจัดการความเสี่ยง จานวน 8 ด้าน คือ (1) ชื่อเสียงและ
ภาพลักษณ์ (2) ด้านกลยุทธ์ (3) ด้านการเงินและทรัพย์สิน (4) ด้านการปฏิบัติงาน (5) ด้านบุคลากร (6) ด้าน นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (7) ด้านวิบัติภัย/เหตุการณ์ และ (8) ด้านการทุจริต ทั้งนี้ การบริหารจัดการ ความเสี่ยง ดาเนินการครบ จานวน 6 การดาเนินการ คือ ระบุ ประเมิน ตอบสนองจัดการ ติดตามประเมินผล และ รายงานการบริหารความเสี่ยง มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า กระบวนการบริหารความเสี่ยง และระบบบริหาร ความเสี่ยงด้านทุจริตเหมาะสม สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้ ไม่มีผลกระทบต่อ
การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยอย่างมีนัยสาคัญ
5. กระบวนการกากับดูแลที่ดี ได้รับทราบผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยได้คะแนนประเมินภาพรวม 92.88 ผ่านเกณฑ์
เป้าหมาย มีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” โดยตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ มีคะแนนเต็มตั้งแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 2 ตัวชี้วัด คือ การเปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต
6. ระบบการร้องเรียนของมหาวิทยาลัย ได้รับทราบการดาเนินการตามประกาศที่เกี่ยวข้อง และระบบ ที่จัดวางไว้ มีความเห็นว่า มีการจัดวางมาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนเป็นระบบ มีการดาเนินการเพื่อนาไปสู่ ข้อเท็จจริงหรือให้ได้ข้อสรุป มีมาตรการเพื่อคุ้มครองและเก็บรักษาความลับของผู้ร้องเรียนอย่างเหมาะสม และ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
มีรายงานตามที่กาหนดไว้ มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า มีความน่าเชื่อถือ สามารถพึ่งพิงได้ ทั้งนี้
คณะกรรมการตรวจสอบเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการร้องเรียน
7. รายงานการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ข้อเสนอแนะให้รายงานการเงินของมหาวิทยาลัย สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566 ถูกต้องและน่าเชื่อถือ นาข้อมูลทางบัญชีทุกส่วนงานที่อยู่ภายใต้สังกัด มาจัดทารายงานตามเกณฑ์คงค้างไว้ในรายงานการเงิน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทารายงานการประจาปีที่
กระทรวงการคลังกาหนด “ให้หน่วยงานของรัฐจัดทารายงานการเงินให้มีข้อมูลทางการเงินบัญชี ประกอบด้วย เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน และเงินอื่นใด รวมทั้งการก่อหนี้” เป็นไปตามรูปแบบที่
กรมบัญชีกลางกาหนด มีการปฏิบัติทางบัญชีโดยใช้หลักการเดียวกันทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่แสดงเปรียบเทียบ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมีการหารือการดาเนินการกับกรมบัญชีกลาง และ ที่ปรึกษาอย่างต่อเนื่อง การปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายในเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่กาหนดไว้แล้ว เชื่อมั่นได้ อย่างสมเหตุสมผลว่า รายงานการเงินจะถูกต้องและน่าเชื่อถือ 8. การดาเนินงานของฝ่ายบริหารตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน ได้รับทราบการดาเนินการ ดังนี้ (1) การผลิตบัณฑิต (2) การประกันคุณภาพการศึกษา (3) การบริการวิชาการ (4) การวิจัย (5) การทานุ
บารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (6) การบริหารงบประมาณ และ (7) การดาเนินงาน ของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีความเห็นว่า มหาวิทยาลัยมีการดาเนินภารกิจ ครบทุกด้านของการเป็นสถาบันการศึกษา ภาพรวมมหาวิทยาลัยรับนักศึกษาได้เกินกว่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จานวน 3 ระดับ คือ ระดับหลักสูตร ระดับสานักวิชา และระดั บ มหาวิทยาลัย สอดคล้องกับมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 มีการดาเนินการบริการวิชาการ การวิจัย และ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
9. การกากับดูแลระบบงานตรวจสอบภายในให้มีความเป็นอิสระ และปฏิบัติตามหลักการวิชาชีพ ตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 รับทราบและให้ข้อเสนอแนะการปฏิบัติงาน ตามแผนการตรวจสอบภายใน และประเมินผลการ
ดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคของหน่วยตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
10. รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริต ที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย รับทราบอธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดีและ ญาติสนิท ไม่มีรายการที่เกี่ยวโยงกันฯ มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า การบริหารงานมหาวิทยาลัย โปร่งใส่ เป็นธรรม รายการต่างๆ เป็นไปตามขั้นตอนที่ถูกต้องปฏิบัติตามกฎหมายและด้วยความรอบคอบ ความระมัดระวัง และ ความซื่อสัตย์สุจริต ไม่ก่อให้เกิดรายการที่โยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิด การทุจริตที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย
11. การประเมินผลงานหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบร่วมกับอธิการบดี ประเมินผลงานหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกาหนด
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
12. การประชุมหารือร่วมกับสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับ สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดเชียงราย ได้รับทราบการคานวณค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี และผลการตรวจสอบ
รายงานการเงินมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
คณะกรรมการตรวจสอบ มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า มหาวิทยาลัยมีการกากับดูแลกิจการให้เป็นไป ด้วยดีตามหลักธรรมาภิบาล กระบวนการบริหารงานของมหาวิทยาลัยเป็นไปตามนโยบาย ยุทธศาสตร์
และแผนงานที่สภามหาวิทยาลัยฯ ให้ความเห็นชอบ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นไปโดยประหยัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยหน้าใหม่ที่ดีที่สุด ในประเทศไทยติดต่อกัน 4 ปีซ้อน จากการประกาศผลการจัดอันดับ Young University Rankings 2023
ซึ่งในการจัดอันดับนี้ มีมหาวิทยาลัยจากประเทศไทยได้รับการจัดอันดับ 4 แห่ง จาก 10 มหาวิทยาลัย
ที่เข้าร่วม โดยมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงอยู่ในกลุ่ม 301-350 และเป็นอันดับที่ 11 ร่วมในอาเซียน ช่วงอันดับ เดียวกับ Universiti Tunku Abdul Rahman (UTAR) นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 65 มหาวิทยาลัยของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในเวทีโลก THE Impact Rankings 2023 ซึ่งเป็น การแสดงบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาต่อการพัฒนาตามเป้าหมาย SDGs (Sustainable Development Goals) ของสหประชาชาติ โดยได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในช่วงอันดับที่ 401-600 จากมหาวิทยาลัยทั้งหมด
1,591 แห่งทั่วโลก และเป็นอันดับที่ 10 ร่วมของไทย ที่เข้าร่วมการจัดอันดับ SDGs
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
1. บทนา
1.1 ความเป็นมา
เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการกากับดูแล และบริหารจัดการที่ดี สภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้มีมติ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภายใน โดยมีวาระดารงตาแหน่ง 2 ปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยได้ กาหนดแนวทางสาหรับปฏิบัติหน้าที่เป็นกฎบัตร ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ต่อมากรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ประกาศหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสาหรับ หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 และฉบับที่แก้ไข สภามหาวิทยาลัยฯ จึงได้เปลี่ยนชื่อคณะกรรมการฯ เป็น “คณะกรรมการตรวจสอบ” ซึ่งปรากฏในโครงสร้างการบริหาร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (ภาคผนวก 2) และ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ (ภาคผนวก 3) ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2564 วันที่ 17 มีนาคม 2564 คราวประชุม
ครั้งที่ 6/2565 วันที่ 21 กันยายน 2565 และคราวประชุมครั้งที่ 6/2566 วันที่ 21 มิถุนายน 2566 โดย คณะกรรมการตรวจสอบ ชุดปัจจุบัน ประกอบด้วย
1. นายพายัพ พยอมยนต์ ประธานกรรมการ
2. นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ กรรมการ
3 รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กฤษฎา เสกตระกูล กรรมการ
4 นางพัชรี พิทยชวาล กรรมการ
1.2 หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2566 (ภาคผนวก 5) กาหนดหน้าที่
ความรับผิดชอบคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปดังนี้
1. จัดทาและสอบทานกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อย่างน้อย 1 ครั้ง
ในแต่ละปีงบประมาณ ก่อนเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ
2. อนุมัติการทบทวนกฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งหน่วยตรวจสอบ ภายในดาเนินการ และอธิการบดีเห็นชอบแล้ว ปีงบประมาณละ 1 ครั้ง
3. สอบทานและให้ข้อเสนอแนะในเรื่อง ดังนี้
3.1 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการควบคุมภายใน กระบวนการบริหารจัดการ ความเสี่ยง และกระบวนการกากับดูแลที่ดี รวมถึงระบบบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตของมหาวิทยาลัย และระบบการรับแจ้งเบาะแส
3.2 การรายงานการเงินอย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ
3.3 การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ หรือมติ คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน รวมทั้งข้อกาหนดอื่นของมหาวิทยาลัย
4. กากับดูแลระบบงานตรวจสอบภายในให้มีความเป็นอิสระ และปฏิบัติเป็นไปตามหลักการ ทางวิชาชีพตรวจสอบภายใน
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีโอกาส เกิดการทุจริตที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย
6. ร่วมกับอธิการบดีให้ข้อเสนอแนะการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย ถอดถอน เลื่อนขั้น เลื่อนตาแหน่ง และประเมินผลงานของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในต่อสภามหาวิทยาลัย
7. พิจารณาและอนุมัติแผนการตรวจสอบภายในประจาปีที่อธิการบดีพิจารณาแล้ว ภายในเดือน สุดท้ายของปีงบประมาณ รวมถึงการปรับ และ/หรือ เปลี่ยนแปลงแผนดังกล่าว
8. ประเมินผลการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคของหน่วยตรวจสอบภายใน โดยพิจารณารายงาน การประกันคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบภายใน เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบ การตรวจสอบภายในและศักยภาพของผู้ตรวจสอบภายใน เสนอสภามหาวิทยาลัยทราบ ปีงบประมาณละ 1 ครั้ง
9. ประชุมหารือร่วมกับสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือผู้สอบบัญชีที่สานักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน เห็นชอบเกี่ยวกับผลการตรวจสอบ และเรื่องอื่นๆ และอาจเสนอแนะให้สอบทาน หรือตรวจสอบ รายการใดที่เห็นว่าจาเป็นเพิ่มเติม รวมถึงพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
10. ปฏิบัติหน้าที่ หรือดาเนินการอื่นใดตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย หรือตามกฎหมายกาหนด
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ.
2. ผลการปฏิบัติหน้าที่ และความเห็น/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดประชุม จานวน 7 ครั้ง โดยการเข้าประชุม (ภาคผนวก 6) สรุปดังนี้
1 นายพายัพ พยอมยนต์ เข้าร่วมประชุม จานวน 7 ครั้ง
2. นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ เข้าร่วมประชุม จานวน 7 ครั้ง
3 รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กฤษฎา เสกตระกูล เข้าร่วมประชุม จานวน 7 ครั้ง
4. นางพัชรี พิทยชวาล เข้าร่วมประชุม จานวน 7 ครั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบได้หารือร่วมกับผู้บริหาร หัวหน้าและผู้ปฏิบัติงานหน่วยตรวจสอบภายใน ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรฯ เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณได้ประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบใน ภาพรวม ได้คะแนนเฉลี่ย 3.88 และประเมินผลการปฏิบัติงานกรรมการตรวจสอบรายบุคคล ได้คะแนนเฉลี่ย
3 73 จากคะแนนเต็ม 4.00 ซึ่งถือว่า มีการดาเนินการดีเยี่ยมหรือปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรฯ อย่างมี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผลการปฏิบัติหน้าที่ และความเห็น/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังนี้ ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.1 กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
คณะกรรมการตรวจสอบ ตามค าสั่งสภามหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวงที่ 27/2566 ได้ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2564 (ภาคผนวก 4) ที่สภา
มหาวิทยาลัยเห็นชอบให้ใช้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ 2566 และเสนอสภามหาวิทยาลัยฯ เห็นชอบร่างกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2566 โดย
สภามหาวิทยาลัยฯ ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2566 เมื่อวันที่ 20
กันยายน 2566 ได้มีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการตรวจสอบ
เสนอ
กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2566 ได้ประกาศใช้ ณ วันที่ 21 กันยายน 2566 (ภาคผนวก 5) และหน่วยตรวจสอบภายในได้เวียนแจ้งให้หน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยทราบแล้ว
2.2 กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง หน่วยตรวจสอบภายในได้สอบทานความเหมาะสม ของกฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ.
2564 (ภาคผนวก 7) ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในคราว
- กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และ กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายในเป็นไปตาม หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติ การตรวจสอบภายในสาหรับหน่วยงาน ของรัฐ พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2564 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2566 และหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.4/ว 47 ลงวันที่ 28 มกราคม
2564 เรื่อง การจัดท ากฎบัตร ของคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตร ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ประชุม ครั้งที่ 2/2565 วันที่ 10 มีนาคม 2565 มีมติอนุมัติให้ใช้
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ 2566 เสนออธิการบดีเห็นชอบ
และคณะกรรมการตรวจสอบมีมติอนุมัติ ในคราวประชุมครั้งที่
5/2566 วันที่ 25 สิงหาคม 2566
กฎบัตรหน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ.
2566 ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2566 (ภาคผนวก 8)
และหน่วยตรวจสอบภายในได้เวียนแจ้งให้ทุกหน่วยงาน ในมหาวิทยาลัยทราบแล้ว
2.3 ระบบการควบคุมภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ การดาเนินการควบคุม ภายใน โดยคณะกรรมการควบคุมภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีหัวหน้าส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรเป็น
เลขานุการฯ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็นหัวหน้าส่วนนโยบายและแผน ดาเนินการตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
2561 แนวทางการควบคุมภายในด้านการรับเงินแนวทางการควบคุม ภายในด้านการจ่ายเงิน และคู่มือระบบควบคุมภายในและบริหาร ความเสี่ยงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 โดย คณะกรรมการควบคุมภายในกากับดูแลการจัดวางระบบควบคุม ภายในของมหาวิทยาลัย จัดระบบการติดตามประเมินผลการควบคุม ภายใน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง จัดทารายงานการควบคุมภายในภาพรวม ซึ่งเป็นการดาเนินการที่ครบ
5 องค์ประกอบ คือ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมิน
ความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และ กิจกรรมการติดตามผล ทั้งระดับหน่วยงานและระดับมหาวิทยาลัย โดยรายงานการควบคุมภายในสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
และการดาเนินการระหว่างปี พ.ศ. 2566 สรุป ดังนี้
- มีการด าเนินการควบคุมภายใน
ระดับหน่วยงาน และระดับมหาวิทยาลัย ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติ การควบคุมภายในสาหรับหน่วยงาน ของรัฐ พ.ศ. 2561 แนวทางการควบคุม ภายในด้านการรับเงิน แนวทางการ ควบคุมภายในด้านการจ่ายเงิน และคู่มือ ระบบควบคุมภายในและบริหาร ความเสี่ยงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มั่นใจได้อย่างสมเหตุ สมผลว่า การควบคุมภายในเพียงพอ ส่งผลให้ มหาวิทยาลัยสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ด้านการดาเนินงาน การรายงาน และ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.3.1 ระดับหน่วยงาน สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานตามโครงสร้างองค์กร
มหาวิทยาลัย (ภาคผนวก 1) จานวน 58 หน่วยงาน ได้รับยกเว้น
ไม่ต้องรายงาน จานวน 2 หน่วยงาน เนื่องจากมีภารกิจประสานงาน ไม่มีบุคลากรประจา คงเหลือหน่วยงานที่ต้องรายงานตามคู่มือระบบ ควบคุมภายในฯ จานวน 56 หน่วยงาน
หน่วยงาน จานวน 56 หน่วยงาน เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่ รับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน (แบบ วค.1) จานวน
1 หน่วยงาน และหน่วยงานไม่ได้จัดตั้งใหม่/ไม่ได้ปรับโครงสร้าง จานวน 55 หน่วยงาน รายงานการประเมินองค์ประกอบการควบคุม ภายใน (แบบ ปค.4) ครบ 5 องค์ประกอบ 17 หลักการ ประกอบด้วย
(1) สภาพแวดล้อมการควบคุม จานวน 5 หลักการ
(2) การประเมินความเสี่ยง จานวน 4 หลักการ
(3) กิจกรรมการควบคุม จานวน 3 หลักการ
(4) สารสนเทศและการสื่อสาร จานวน 3 หลักการ
(5) กิจกรรมการติดตามผล จานวน 2 หลักการ
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานมีการรายงาน ความคืบหน้ากิจกรรมการควบคุมที่กาหนดการดาเนินการไว้
2.3.2 ระดับมหาวิทยาลัย
สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการควบคุมภายในฯ
รายงานการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบ ปค.4) ประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ครบทั้ง 5 องค์ประกอบ 17 หลักการ เช่นเดียวกับระดับหน่วยงาน ตามมาตรฐานการควบคุม ภายใน และได้เสนออธิการบดีรับรองการประเมินผลการควบคุม ภายใน แบบ ปค. 1 เพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ว่า การควบคุมภายในของ มหาวิทยาลัยเพียงพอ และได้ปฏิบัติตามระบบที่กาหนดอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
2561 ภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษาฯ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ทั้งนี้ การควบคุมภายในด้านการรับเงินและจ่ายเงิน ส่วนการเงินและบัญชีเป็นผู้รับผิดชอบในการสารวจและสรุปผล การดานินการ นาแนวทางการรับและจ่ายเงินของกรมบัญชีกลาง มาปรับใช้ ผนวกกับหลักเกณฑ์ ประกาศแนวทาง คู่มือ หรือข้อปฏิบัติ ต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยฯ เวียนแจ้งให้หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ปฏิบัติไปก่อนหน้านี้ ซึ่งหน่วยงานตอบการดาเนินการทั้งการรับเงิน และจ่ายเงิน ร้อยละ 100.00
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีการโอนย้ายหน่วยงาน
ที่กากับดูแล และจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ หัวข้อ “การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง และการป้องกัน การทุจริต” เป็นต้น พร้อมแจ้งปฏิทินการดาเนินงานระบบควบคุม ภายในของมหาวิทยาลัยให้หน่วยงานภายในได้รับทราบ จากการบริหารจัดการการควบคุมภายใน ณ สิ้นปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยมีคดีความที่ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวน 4 คดี และ อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน 22 คดี ประกอบด้วย (1)
คดีปกครอง จานวน 19 คดี (2) คดีแพ่ง จานวน 1 คดี และ (3) การ ยุติคดีแพ่งและอนุญาโตตุลาการ จานวน 2 คดี
คดีที่มหาวิทยาลัยฟ้อง/เป็นโจทย์การฟ้องร้อง จานวน 11 คดี เป็นคดีปกครอง จานวน 10 คดี และคดีแพ่ง จานวน 1 คดี สาเหตุเกิดจากการผิดสัญญารับทุนการศึกษา/วิจัยมากที่สุด จานวน 6 คดี จานวนหนี้ตามคาฟ้อง/คาพิพากษา (ไม่รวม ดอกเบี้ยผิดนัด) จานวน 106,909,020.22 บาท คดีที่มหาวิทยาลัยถูกฟ้อง/เป็นจาเลย จานวน 11 คดี เป็น
คดีปกครอง จานวน 9 คดี และคดีแพ่งและอนุญาโตตุลาการ จานวน 2 คดี สาเหตุส่วนใหญ่ผิดสัญญาซื้อขาย/เพิกถอนคาสั่ง/ ประกาศ และเรียกค่าเสียหาย จานวน 4 คดี และผิดสัญญา นักศึกษานิติศาสตร์ ป.โท จานวน 4 คดี จานวนหนี้ตามคาฟ้อง/ คาพิพากษา (ไม่รวมดอกเบี้ยผิดนัด) จานวน 13,152,225.68
บาท
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.4 กระบวนการบริหารความเสี่ยง และระบบบริหารความเสี่ยง ด้านทุจริต
คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ การบริหารความเสี่ยง
ระดับหน่วยงาน โดยคณะกรรมการควบคุมภายใน มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และระดับมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และคณะอนุกรรมการบริหาร
ความเสี่ยง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีหัวหน้าส่วนนโยบายและ แผน และหัวหน้าส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร เป็นเลขานุการ ดาเนินการตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับ หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 และคู่มือระบบควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2564 ซึ่งกาหนดความเสี่ยงไว้ จานวน 8 ด้าน คือ ด้านชื่อเสียงและ
ภาพลักษณ์ ด้านกลยุทธ์ ด้านการเงินและทรัพย์สิน ด้าน
การปฏิบัติงาน ด้านบุคลากร ด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ด้านวิบัติภัย/เหตุการณ์ และด้านการทุจริต ครอบคลุม การบริหารจัดการความเสี่ยง จานวน 7 การดาเนินการ คือ
การวิเคราะห์องค์กร การกาหนดนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การตอบสนอง
ความเสี่ยง การติดตามและทบทวน และการสื่อสารและการรายงาน สรุป ดังนี้
2.4.1 ระดับหน่วยงาน
สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงาน หน่วยงานที่จัดตั้ง
ขึ้นใหม่ จานวน 1 หน่วยงาน รายงานการจัดวางระบบการควบคุม ภายใน (แบบ วค. 2) โดยระบุความเสี่ยงที่สาคัญ จานวน 3 ประเด็น ความเสี่ยง และกาหนดกิจกรรมการควบคุมที่สาคัญเพื่อป้องกันหรือ ลดความเสี่ยง จานวน 5 กิจกรรม สาหรับหน่วยงานไม่ได้จัดตั้งใหม่/ ไม่ได้ปรับโครงสร้าง จานวน 55 หน่วยงาน รายงานการบริหาร จัดการความเสี่ยงที่กาหนดไว้ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
จานวน 211 ประเด็นความเสี่ยง ซึ่งเป็นความเสี่ยงด้านทุจริต
- มีการบริหารความเสี่ยงทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง ตามหลักเกณฑ์ กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการ ความเสี่ยงสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า เหมาะสม สามารถบริหารจัดการ ความเสี่ยงให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้ ไม่มีผลกระทบต่อการด าเนินงาน ของมหาวิทยาลัยอย่างมีนัยสาคัญ
- มีการวิเคราะห์ ประเมิน และรายงาน การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านทุจริต อย่างต่อเนื่อง
- เห็นควรพิจารณาการบริหารจัดการ ความเสี่ยงรองรับการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยี และจากการตกเป็นจาเลย ของสังคมเมื่อมีผู้ร้องเรียนผ่านสื่อและ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)
เนื่องจากเมื่อเกิดขึ้นแล้ว มีผลกระทบต่อ
จานวน 47 ประเด็นความเสี่ยง หรือร้อยละ 22.27 กาหนดกิจกรรม ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยอย่างมาก
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
เพื่อลดความเสี่ยง จานวน 502 กิจกรรม และกาหนดตัวชี้วัดการ บริหารจัดการความเสี่ยง จานวน 324 ตัวชี้วัด
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานดาเนินกิจกรรม
เพื่อลดความเสี่ยงตามที่ได้ระบุ ประเมิน และกาหนดกิจกรรม การตอบสนอง เมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และรายงาน
ความคืบหน้าต่อคณะกรรมการควบคุมภายในฯ
สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานรายงานผล
การดาเนินการ คือ ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวน 496 กิจกรรม
หรือร้อยละ 91.34 บรรลุผลตามตัวชี้วัด จานวน 252 ตัวชี้วัด หรือ
ร้อยละ 77.78 (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 1-2)
นอกจากนี้ หน่วยงานยังวิเคราะห์ ประเมิน และกาหนด
ประเด็นความเสี่ยงที่สาคัญ ที่มีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์
ตามภารกิจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จานวน 270 ประเด็น
ความเสี่ยง โดยประเภทความเสี่ยง 3 ประเภทแรก เป็นความเสี่ยง
ด้านการปฏิบัติงานมากที่สุด จานวน 77 ประเด็นความเสี่ยง หรือ
ร้อยละ 28.52 รองลงมาด้านการทุจริต จานวน 61 ประเด็น ความเสี่ยง หรือร้อยละ 22.59 และด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ จานวน 59 ประเด็นความเสี่ยง หรือร้อยละ 21.85 (ข้อมูล จากภาคผนวกตารางที่ 3)
2.4 2 ระดับมหาวิทยาลัย
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ได้วิเคราะห์ ประเมิน บริหารจัดการ และติดตามผลการดาเนินการ ความเสี่ยง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 13 ประเด็น
ความเสี่ยงและรายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยง จานวน
16 ตัวชี้วัด ว่า บรรลุผลตามตัวชี้วัด จานวน 11 ตัวชี้วัด
การดาเนินงานยังไม่เสร็จสิ้น จานวน 1 ตัวชี้วัด และไม่บรรลุผล จานวน 4 ตัวชี้วัด (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 4)
สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ อยู่ระหว่างกาหนดประเด็นความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อบริหาร จัดการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ต่อไป
- การบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ดาเนินการตามแนวทางการบริหารจัดการ ความเสี่ยงสาหรับหน่วยงานของรัฐ เรื่อง หลักการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับ องค์กร ครอบคลุมกระบวนการบริหาร จัดการความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วย
การวิเคราะห์องค์กร การกาหนดนโยบาย การบริหารจัดการความเสี่ยง การระบุ ความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง การติดตามและ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ทบทวน และการสื่อสารและการรายงาน
- มีการบริหารจัดการความเสี่ยง จานวน
8 ด้าน คือ (1) ด้านชื่อเสียงและ
ภาพลักษณ์(2) ด้านกลยุทธ์ (3) ด้าน การเงินและทรัพย์สิน (4) ด้าน
การปฏิบัติงาน (5) ด้านบุคลากร
(6) ด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ (7) ด้านวิบัติภัย/เหตุการณ์
และ (8) ด้านการทุจริต
2.5 กระบวนการกากับดูแลที่ดี
คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ ผลการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
ตามข้อก าหนดของส านักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ซึ่งวัด 3 การด าเนินการ จ านวน 10 ตัวชี้วัด
2 ตัวชี้วัด คือ การเปิดเผยข้อมูล และ
การป้องกันการทุจริตติดต่อกัน 3 ปีซ้อน ทั้งนี้ การรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสีย
ภายนอก (EIT) และการรับรู้ ของผู้มี
ประกอบด้วย การรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal - มหาวิทยาลัยได้คะแนนการเปิดเผย ข้อมูลสาธารณะมีคะแนนเต็ มทั้ง
ส่วนได้เสียภายใน (IIT) ได้คะแนนลดลง Integrity and Transparency Assessment; IIT) จ านวน 5 ตัวชี้วัด การรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment; EIT) จานวน 3 ตัวชี้วัด และ การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment; OIT) จานวน 2 ตัวชี้วัด มหาวิทยาลัยได้รับผลการประเมินระดับ “ผ่าน” เป็นลาดับที่
11 ของกลุ่มสถาบันการศึกษา คะแนนภาพรวมหน่วยงาน 92.88 คะแนน ตัวชี้วัดที่ได้รับคะแนน 100.00 ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 จานวน 2 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล และ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (ข้อมูลจากภาคผนวกตาราง ที่ 5)
เห็นควรพิจารณาแนวทางให้ได้รับคะแนน เพิ่มขึ้น
ผลการปฏิบัติหน้าที่
คะแนนภาพรวมลดลงจากปีงบประมาณก่อน ไม่ท าให้ ความตั้งใจในการสร้างความโปร่งใสในการดาเนินงานการส่งเสริม ความพร้อมในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ การปลอดจากการทุจริต
ในการปฏิบัติงาน การสร้างวัฒนธรรม คุณธรรม และส่งเสริม
คุณธรรมทางการทางานในมหาวิทยาลัยลดน้อยลงแต่อย่างใด ทั้งนี้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มหาวิทยาลัยกาหนดเป้าหมาย “ผ่าน”
ทุกตัวชี้วัด
ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.6 ระบบการร้องเรียนของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ ระบบการร้องเรียน เป็นกลไกสาคัญที่ช่วยให้ผู้บริหาร พนักงาน
หรือผู้มีส่วนได้เสียแจ้ง
ความเดือดร้อน หรือได้รับความเสียหาย หรือไม่ได้รับ ความสะดวกจากการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของมหาวิทยาลัย หรือจาเป็นต้องให้มหาวิทยาลัยช่วยเหลือเยียวยา หรือปลดเปลื้อง
ทุกข์ รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น คาชมเชย การสอบถาม หรือขอข้อมูล
มหาวิทยาลัยมีประกาศที่เกี่ยวข้อง จานวน 2 ประกาศ คือ ประกาศมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เรื่อง มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียน การทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563 และประกาศมหาวิทยาลัย
แม่ฟ้าหลวง เรื่อง แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564 (ข้อมูล จากภาคผนวกตารางที่ 6) โดยผู้ร้องเรียนสามารถดาเนินการ ได้หลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นด้วยตนเอง ทาเป็นหนังสือ หรือกรอก
- มีการจัดวางมาตรการจัดการ เรื่องร้องเรียนเป็นระบบ มีการ ดาเนินการเพื่อนาไปสู่ข้อเท็จจริงหรือ ให้ได้ข้อสรุป มีมาตรการเพื่อคุ้มครอง และเก็บรักษาความลับของผู้ร้องเรียน อย่างเหมาะสม และมีรายงานตาม ที่กาหนดไว้ มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผล ว่า มีความน่าเชื่อถือ สามารถพึ่งพิงได้
- คณะกรรมการตรวจสอบเป็นอีกหนึ่ง ช่องทางในการร้องเรียน
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศบนหน้าเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย การดาเนินการกับข้อร้องเรียน ครอบคลุมผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา ดาเนินการ รวมถึงการรายงาน และกาหนดการเก็บรักษาความลับ เกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับ ของทางราชการ พ.ศ. 2544 สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยมีการดาเนินการ
กับข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ/สอบถาม จานวน 278 เรื่อง โดยเป็น เรื่องที่ไม่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินการแล้วเสร็จแล้ว จานวน 277 และเรื่อง
เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ จานวน 1 เรื่อง ซี่งผู้ร้องเรียน ให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน จึงอยู่ระหว่างขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อดาเนินการ ต่อไป
ทั้งนี้ ไม่มีข้อร้องเรียนส่งมายังคณะกรรมการตรวจสอบ
แต่อย่างใด
2.7 รายงานการเงิน
คณะกรรมการตรวจสอบ รับทราบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด เชียงราย รับรองรายงานการเงิน สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
2565 อย่างไม่แสดงความเห็น คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน และให้ข้อเสนอแนะ รายงานการเงิน สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30
กันยายน 2566 เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบาย การบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังก าหนด และที่หารือ
กับกรมบัญชีกลาง พร้อมทั้งเป็นไปตามรูปแบบการนาเสนอ รายงานการเงินของหน่วยงานของรัฐ ที่กรมบัญชีกลางกาหนด
หรือหนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0410 2/ว 479 ลงวันที่ 2
ตุลาคม 2563 ดังนี้
(1) หารือกับอธิการบดี รองอธิการบดี กรรมการการเงิน และ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อเสนอสภามหาวิทยาลัยทราบและ พิจารณาดาเนินการ ดังนี้
- การปรับปรุงข้อมูลรายงานการเงิน สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 ที่แสดงเปรียบเทียบในรายงานการเงินสาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566 เป็นรูปแบบเดียวกัน
- รายงานการเงินของมหาวิทยาลัย สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566
จัดทาโดยนาข้อมูลทางบัญชีทุกส่วนงาน ที่อยู่ภายใต้สังกัด มาจัดทารายงาน ตามเกณฑ์คงค้างไว้ในรายงานการเงิน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทารายงาน การประจาปีที่กระทรวงการคลังกาหนด “ให้หน่วยงานของรัฐจัดท ารายงาน การเงินให้มีข้อมูลทางการเงินบัญชี ประกอบด้วย เงินงบประมาณ เงินนอก งบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน และ เงินอื่นใด รวมทั้งการก่อหนี้” เป็นไป ตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนด มีการปฏิบัติทางบัญชีโดยใช้หลักการ เดียวกันทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่แสดง
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
- การจัดทาคู่มือการจัดทารายงานการเงินรวม เพื่อ ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและการดาเนินงาน ที่เกี่ยวข้องต่อไป
(2) รับทราบ
- มติสภามหาวิทยาลัยฯ เกี่ยวกับการจัดทารายงาน การเงินที่มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินตามหลักการและนโยบายบัญชีสาหรับหน่วยงาน
ภาครัฐมาโดยตลอด ประกอบกับมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ เรื่อง รายงานการเงินรวมก็ยังมิได้ประกาศใช้โดยการดาเนินงานที่ผ่าน มามหาวิทยาลัยก็มิได้รับการทักท้วงจากสานักตรวจเงินแผ่นดิน จังหวัดเชียงราย จึงถือว่ามหาวิทยาลัยได้ดาเนินงานโดยสุจริต ตามหน้าที่แล้ว
- การหารือแนวปฏิบัติการจัดทารายงานการเงิน ภาพรวม และการบันทึกบัญชีรายการระหว่างกันของหน่วยงาน กับกรมบัญชีกลาง
- มหาวิทยาลัยจัดตั้งที่ปรึกษาด้านการบัญชีเป็นการ เฉพาะ เพื่อให้ข้อเสนอแนะการจัดทารายงานการเงินภาพรวม
(3) สั่งการให้หน่วยตรวจสอบภายในเข้าไปมีส่วนร่วม ในฐานะ ผู้สอบทานในการจัดทารายงานการเงินฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีภาครัฐและโนบายการบัญชีภาครัฐ และรายงาน ความคืบหน้าการดาเนินการของมหาวิทยาลัยต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นระยะ
(4) รับทราบความคืบหน้าการจัดทารายงานการเงิน และผล การสอบทานรายงานการเงิน
- ความคืบหน้าการจัดทารายงานการเงิน ส่วนการเงินฯ มีแผนปฏิบัติการที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเงิน
และทรัพย์สิน มีการปฏิบัติ และรายงานความคืบหน้าอย่าง ต่อเนื่อง - การสอบทานระบบการจัดทารายงานการเงิน ไตรมาสที่
2 และ ไตรมาสที่ 3 ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่ารายงานการเงิน ข้างต้นไม่แสดงฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานทางการเงิน ของมหาวิทยาลัย การบันทึกบัญชี ทั้งสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้
เปรียบเทียบ มีการหารือการดาเนินการ กับกรมบัญชีกลาง และที่ปรึกษา
อย่างต่อเนื่อง การปฏิบัติงานของหน่วย
ตรวจสอบภายในเป็นไปตามแนวปฏิบัติ ที่ได้กาหนดไว้ สอบทานเอกสารประกอบ รายงานการเงินฯ ทุกรายการที่ส่วน
การเงินฯ ส่งมา จึงเชื่อมั่นได้อย่าง
สมเหตุสมผลว่า รายงานการเงิน
จะถูกต้องและน่าเชื่อถือ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
และค่าใช้จ่าย ถูกต้อง เอกสารประกอบครบถ้วน มีข้อแก้ไขโดย
ไม่กระทบต่อผลการดาเนินงาน และฐานะการเงินแต่อย่างใด การรับ จ่ายและเอกสาร เป็นไปตามระเบียบ ประกาศ และแนวปฏิบัติที่
เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ผลการสอบทานรายงานการเงิน เมื่อสิ้นสุด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบ จัดทาโดยนาข้อมูลทางบัญชี
ทุกส่วนงานที่อยู่ภายใต้สังกัด มาจัดทารายงานตามเกณฑ์คงค้าง ไว้ในรายงานการเงิน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทารายงาน การประจาปีที่กระทรวงการคลังกาหนด “ให้หน่วยงานของรัฐจัดทา รายงานการเงินให้มีข้อมูลทางการเงินบัญชี ประกอบด้วย
เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน และเงินอื่น ใด รวมทั้งการก่อหนี้” เป็นไปตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนด มีการปฏิบัติทางบัญชีโดยใช้หลักการเดียวกันทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่แสดงเปรียบเทียบ
ส่วนการเงินฯ ได้แก้ไข/ปรับปรุงตามที่หน่วยตรวจสอบภายใน
เสนอแนะ และเป็นผู้จัดเตรีมเอกสารประกอบรายงานการเงิน ให้ครบถ้วน
2.8 การดาเนินงานของฝ่ายบริหารตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ
แผนงาน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับทราบ การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) กับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
แม่ฟ้าหลวง ระยะที่ 5 (พ.ศ. 2565-2569) และแผนงบประมาณ ประจาปี พ.ศ. 2566 (ภาคผนวก 9) การดาเนินการของมหาวิทยาลัย สรุป
ดังนี้
2.8.1 การผลิตบัณฑิต
ปีการศึกษา 2566 สานักวิชา จานวน 15 สานักวิชา เปิดสอน จานวน 69 หลักสูตร กาหนดเป้าหมายรับนักศึกษา จานวน 4,302
คน รับนักศึกษาใหม่ทั้งหมดได้ จานวน 4,077 คน หรือร้อยละ
94.77 แบ่งเป็น นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร จานวน 61 คน ระดับปริญญาตรี จานวน 3,829 คน ระดับปริญญาโท จานวน 165 คน และระดับปริญญาเอก จานวน 22 คน (ข้อมูลจากภาคผนวก ตารางที่ 7-10) ดังนี้
- มหาวิทยาลัยรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีได้ตามเป้าหมายและสูงกว่า เป้าหมายถึง จานวน 8 สานักวิชา หรือ ร้อยละ 53.33 ของสานักวิชาทั้งหมด
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
นักศึกษาใหม่เป็นนักศึกษาต่างชาติ จานวน 391 คน แบ่งเป็น นักศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 349 คน ระดับปริญญาโท จานวน 30 คน และระดับปริญญาเอก จานวน 12 คน (ข้อมูลจากภาคผนวก ตารางที่ 11) นักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2566 มีจานวน 15,547 คน (ข้อมูลจากภาพผนวกตารางที่ 12) และมีผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2566 จานวน 3,023 คน (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 13)
สานักวิชาที่รับนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามเป้าหมายและ สูงกว่าเป้าหมาย จานวน 8 สานักวิชา คือ สานักวิชานวัตกรรมสังคม สานักวิชานิติศาสตร์ สานักวิชาศิลปศาสตร์ สานักวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ ส านักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องส าอาง ส านักวิชา
ทันตแพทยศาสตร์ สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ และสานักวิชา แพทยศาสตร์
การรับนักศึกษาระดับปริญญาโท จานวน 10 สานักวิชา เป็นไป
ตามเป้าหมาย ร้อยละ 38.55
โดยสานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและ ฟื้นฟูสุขภาพรับนักศึกษาได้ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด จานวน 60 คน จากที่กาหนดไว้ จานวน 65 คน หรือร้อยละ 92.31 และการ รับนักศึกษาปริญญาเอก จานวน 8 สานักวิชา เป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 30.56 โดยสานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและ ฟื้นฟูสุขภาพรับ นักศึกษาได้ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด จานวน 4 คน จากที่ กาหนดไว้ จานวน 5 คน หรือร้อยละ 80.00
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ปีการศึกษา 2566 มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ทั้งหมด 755 คน สัดส่วนวุฒิการศึกษา ตรี : โท : เอก คิดเป็นร้อยละ 42.52 : 56.12 :
1 32 และสัดส่วนตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
: รองศาสตราจารย์ : ศาสตราจารย์ คิดเป็นร้อยละ 77.62 : 18.14 : 3.31 : 0.98 (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 14)
จากนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ว่า “นักศึกษาทุกคน
ที่สามารถเรียนได้ จะต้องได้เรียน และจะไม่มีใครต้องออกจาก มหาวิทยาลัยแห่งนี้ เพราะความยากจน” ปีการศึกษา 2566
มหาวิทยาลัยจึงได้จัดสรรทุนการศึกษาจากผู้บริจาค มอบให้
นักศึกษา จานวน 1,197 ทุน วงเงิน 28,577,700.00 บาท
2.8.2 การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยมีการประเมินคุณภาพ
การศึกษาภายใน จานวน 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับหลักสูตร ระดับสานักวิชา และระดับมหาวิทยาลัย โดยกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และระดับสานักวิชา มีหัวหน้าส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร เป็นเลขานุการ สรุปดังนี้
(1) การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 มีหลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับ บัณฑิตศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทั้งหมด 69 หลักสูตร มีหลักสูตร ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องประเมินคุณภาพภายในตามระบบและกลไก ของ สป.อว. เนื่องจากได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพ จานวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต และหลักสูตร จานวน
68 หลักสูตร มีการประเมินคุณภาพภายใน สรุป ดังนี้ (ข้อมูลจาก ภาคผนวกตารางที่ 15)
การประเมินคุณภาพภายใน หลักสูตร (จานวน)
1. เกณฑ์ของสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
- หลักสูตรของมหาวิทยาลัยมีการ ด าเนินการอย่างมีคุณภาพและ สอดคล้องกับมาตรฐานที่เป็นที่ ยอมรับในระดับประเทศและระดับ สากล - มีการบริหารจัดการที่ดี ให้หลักสูตร
ได้การรับรองมาตรฐานในระดับ นานาชาติ จานวน 5 หลักสูตร ตาม แผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ฉบับที่ 5
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ของสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) (IQA) จานวน 33 หลักสูตร พบ ทุกหลักสูตรผ่านการเกณฑ์ระดับคุณภาพดี ร้อยละ 100.00 (ข้อมูล จากภาคผนวกตารางที่ 16)
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบคุณภาพ
ด้วยเกณฑ์ AUN-QA จานวน 35 หลักสูตร เป็นการประเมินภายใน
จานวน 27 หลักสูตร และระดับอาเซียน 8 หลักสูตร (ข้อมูลจาก
ภาคผนวกตารางที่ 17-18) หลักสูตรที่จะเข้ารับการประเมินคุณภาพ ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับอาเซียน จานวน 8 หลักสูตร คือ (1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
ประยุกต์ (2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร เครื่องสาอาง (3) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (4) หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสาอาง (5) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม (6)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย (7) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการสุขภาพชายแดน และ (8) หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ บัณฑิต มีผลการประเมินภายนอกอยู่ในระดับ Adequate as Expected ทั้ง จานวน 8 หลักสูตร
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ฉบับที่ 5 ปีงบประมาณ พ.ศ.
2566 กาหนดหลักสูตรได้การรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ
จานวน 5 หลักสูตร ซึ่งมหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้ตาม
เป้าหมาย หลักสูตรที่ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับนานาชาติ ประกอบด้วย (1) หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (2) หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว (3) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม การบริการ (4) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจการบิน และ (5) หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
(2) ผลการประเมินระดับสานักวิชา จานวน 15 สานักวิชา โดยสานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และสานักวิชาแพทย์บูรณาการ ได้เข้าร่วมโครงการ EdPEx 200 ของสป.อว คงเหลือ สานักวิชา จานวน 13 สานักวิชา ประเมินโดยเกณฑ์ Education Criteria for Performance Excellence: EdPEx พบ มีผลการประเมิน Band 1 : Early Development (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 19)
(3) ผลการประเมินระดับมหาวิทยาลัย ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน โดยเกณฑ์ Education Criteria for Performance
Excellence: EdPEx พบ มีผลการประเมิน Band 1 : Early
Development มหาวิทยาลัยกาหนดเป้าหมายยกดับการพัฒนา คุณภาพมหาวิทยาลัยให้มีผลการประเมินที่สูงขึ้นในปีต่อไป
Band 1 : Early Development มีคาอธิบาย คือ สถาบันแสดง ให้เห็นว่า มีการพัฒนาและการดาเนินการตามแนวทางของข้อกาหนด พื้นฐานของเกณฑ์ EdPEx ในระดับเริ่มต้น โดยยังมีอุปสรรค ในการนา แนวทางต่างๆ ไปถ่ายทอดเพื่อนาไปสู่ปฏิบัติและยังไม่มีความก้าวหน้า การพยายามปรับปรุงกระบวนการต่างๆ เป็นเพียงการแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงแบบพื้นๆ ในระดับเริ่มต้น
2.8.3 การบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยดาเนินโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ ตามความต้องการของชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย จ านวน 211 โครงการ/กิจกรรม จัดหลักสูตรระยะสั้นที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสื่อ หลักในการดาเนินงาน (Online Course) จานวน 9 หลักสูตร ชุมชน ได้รับการพัฒนาจากองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย จานวน 103 ชุมชน - มหาวิทยาลัยมีการดาเนินโครงการ/ กิจกรรมบริการวิชาการที่ตอบสนอง ความต้องการ/กลุ่มเป้าหมายได้เป็น อย่างดีและต่อเนื่อง
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
เกิดแนวปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรมที่เกิดจากการบริการวิชาการ และ
ได้รับการเผยแพร่ขยายผล จานวน 9 รายการ ผู้รับบริการ จานวน
ทั้งสิ้น 34,962 คน (เป้าหมาย 25,000 คน) หรือร้อยละ 139.85
ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 4.59 (ข้อมูลจากภาคผนวกตาราง ที่ 20)
โครงการ/ กิจกรรม หลักสูตรระยะ สั้น ชุมชนที่ได้รับ การพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี
2.8.4 การวิจัย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยดาเนินโครงการวิจัย
จานวน 208 โครงการ จานวนเงิน 145.4 ล้านบาท (ข้อมูลจาก ภาคผนวกตารางที่ 21) โดยโครงการวิจัยที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก แหล่งทุนภายนอก จานวน 131 โครงการ โดยโครงการวิจัยตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2566 (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 22) ดังนี้
- โครงการวิจัยปีงปบระมาณ พ.ศ. 2566 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ถึง
49 โครงการ หรือร้อยละ 159.76
- มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมทรัพย์สิน ทางปัญญาที่เกิดจากการวิจัยเพิ่มขึ้น และมีผู้สนใจนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนื่อง
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
นวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญาที่ยื่นขอรับความคุ้มครอง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 37 รายการ (ข้อมูลจาก ภาคผนวกตารางที่ 23)
สิทธิบัตรการ ประดิษฐ์อนุสิทธิบัตรโสตทัศนวัสดุ
โดยนวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญาที่ยื่นจดทะเบียนใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 24) ดังนี้
ปีงบประมาณ พ ศ 2564 ปีงบประมาณ พ ศ 2565 ปีงบประมาณ พ ศ 2566
จานวนนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา
ผลงานที่ได้มีการลงนามสัญญาเพื่อใช้ จานวน 16 ผลงาน โดยได้รับค่าเปิดเผยเทคโนโลยี จานวน 2 ผลงาน จานวนเงิน 60,000.00 บาท และไม่มีค่าเปิดเผยเทคโนโลยี จานวน 14 ผลงาน (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 25-26)
2.8.5 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมีการดาเนินการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยมีร่วมขับเคลื่อนให้จังหวัดเชียงรายได้รับการ ประกาศรับรองจากยูเนสโกให้เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ด้าน
มีการดาเนินการตามพันธกิจในการ ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม พร้อม ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่การเป็น
“The University for Well-being
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
การออกแบบของยูเนสโก (The UNESCO Creative Cities Network Secretariat has designated Chiang RaiThailand’ s representative as an official member of the UNESCO Creative Cities Network for the field of Design) และ โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน้าโขง มหาวิทยาลัย
แม่ฟ้าหลวง ได้รับการประเมินว่า เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อเป็น
ต้นแบบในการพัฒนาการเรียนรู้ของประชาคมโลกอย่างยั่งยืน จึง ได้รับรางวัลรางวัลระดับชาติ (NATIONAL AWARD) ที่ยกย่อง
เชิดชูเกียรติพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ดีเด่น ประจ าปี
2566 ประเภทรางวัลพิพิธภัณฑ์ไทยสรรเสริญ จัดโดยสมาคม พิพิธภัณฑ์ไทย ในงานประชุมวิชาการสมาคมพิพิธภัณฑ์ไทย ประจาปี 2566
2.8.6 การบริหารงบประมาณ
มหาวิทยาลัยประมาณ การ ราย ได้ จ านวน
3,555,318,285.00 บาท ประกอบด้วย เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
จานวน 1,890,362,800.00 บาท รายได้จากการดาเนินงาน
ประกอบด้วย การจัดการศึกษาและบริการ ผลประโยชน์จาก
ทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลัย แ ละรายได้ อื่น จ านวน
1,664,955,485.00 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 มหาวิทยาลัยได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเต็มจานวน หรือร้อยละ
100.00 และมี รายได้ จากการด าเนินงาน จ านวน
1,955,729,771.32 บาท หรือร้อยละ 82.54 ของประมาณการ รายรับ (ข้อมูลจากภาคผนวก ตารางที่ 27)
1,8904ล้านบาท
1,8904ล้านบาท1,9557ล้านบาท
1,6650ล้านบาท
and Sustainable Future” อย่าง ต่อเนื่อง
- มหาวิทยาลัยมีรายได้จากการจัด การศึกษาและบริการและผลประโยชน์ จากทรัพย์สินฯ 1,955,729,771.32 บาท
เกินกว่าที่ได้รับการอุดหนุนจากรัฐบาล
บาท หรือร้อยละ 55.01 ของประมาณการ
รายรับ สูงกว่าเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
จานวน 65,366,971.32 บาท หรือร้อยละ
103.46 ของเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ.
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
สภามหาวิทยาลัยฯ อนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 2,637,465,523.38 บาท ณ
วันที่ 30 กันยายน 2566 มหาวิทยาลัยใช้จ่ายงบประมาณ
จานวนทั้งสิ้น 2,311,702,160.58 บาท หรือร้อยละ 87.65 ของ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ซึ่งเป็นการใช้จ่ายงบประมาณโดย ประหยัด
ทั้งนี้ การเบิกจ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
การเบิกจ่ายมติรัฐมนตรี (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 28) ดังนี้
รายจ่ายประจา รายจ่ายลงทุน ภาพรวม
การเบิกจ่ายงบประมาณ เป้าหมายการเบิกจ่ายมติรัฐมนตรี
2.8 7 การด าเนินงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โรงพยาบาลศูนย์ฯ ประมาณการ รายได้ จานวน 440,220,000.00 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2566
มีรายได้ จานวน 454,076,137.26 บาท หรือร้อยละ 103.14 (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 29) นอกจากนี้ ยังมีรายได้อื่นที่ ไม่ได้ประมาณการไว้ และเงินบริจาค 826,838,666.23 บาท (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 30)
รายได้ค่ารักษาพยาบาลแยกตามสิทธิ์การรักษา (ข้อมูลจาก ภาคผนวกตารางที่ 30) ดังนี้
- มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการเปิด ดาเนินการในครั้งแรกอย่างต่อเนื่อง
- เห็นควรพิจารณาคานวณจุดคุ้มทุน ( Break even point) หน่วยงาน
ให้บริการด้านสุขภาพ โดยเริ่มจาก
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเป็นลาดับ แรกเนื่องจากได้รับจัดสรรงบประมาณ และมีครุภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงจานวนมาก
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 989,037,412.39 บาท หรือร้อยละ 438.85 (ข้อมูลภาคผนวกตางรางที่ 31)
มหาวิทยาลัยอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่าย จานวน 770,754,525.00 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 โรงพยาบาล ศูนย์ฯ ใช้จ่ายงบประมาณ จานวน 731,732,009.49 บาท หรือ ร้อยละ 94.94 (ข้อมูลภาคผนวกตางรางที่ 32)
2.9 การกากับดูแลระบบงานตรวจสอบภายในให้มีความเป็น อิสระ และปฏิบัติตามหลักการวิชาชีพตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ดาเนินการ ดังนี้
2 9 1 การพิจารณาและการอนุมัติแผนการตรวจสอบภายใน ภายหลังคณะกรรมการตรวจสอบ ในคราวประชุมครั้งที่
3/2565 วันที่ 24 มิถุนายน 2565 มีมติอนุมัติแผนการตรวจสอบ
ภายในระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2566-2568) (ภาคผนวก 10) หน่วย
ตรวจสอบภายในได้เสนอแผนการตรวจสอบภายในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2567 (ภาคผนวก 12) ที่อธิการบดีเห็นชอบ ต่อที่ประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ มีมติอนุมัติ ในคราวประชุมครั้งที่
5/2566 วันที่ 25 สิงหาคม 2566 โดยแผนการตรวจสอบ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยตามแผนการพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2565 -2569) แล้ว ประกอบด้วย การตรวจสอบหน่วยงาน การสอบทานระบบ การดาเนินงานของมหาวิทยาลัย จานวน 9 การดาเนินการ คือ
(1) การรับ-จ่ายงบประมาณ (2) การจัดซื้อ/จัดจ้าง (3) การดาเนิน
โครงการตามแผนปฏิบัติการ (4) การประกันคุณภาพการศึกษา (5) การประเมินผลคารับรองการปฏิบัติงาน (6) การควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยง (7) การจัดทางบการเงินของมหาวิทยาลัย (8) การด าเนินงานของหน่วยบริการทางวิชาการ และ (9) การดาเนินงานของหน่วยงานให้บริการด้านสุขภาพ นอกจากนี้ ยังมีการติดตามประเด็นต่างๆ ซึ่งรวมถึงเรื่องที่อยู่ในความสนใจ ของสภามหาวิทยาลัยและที่ฝ่ายบริหารต้องการให้หน่วย ตรวจสอบภายในติดตามด้วย
- การตรวจสอบภายในในโอกาส
ต่อๆ ไป ให้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ (It audit) มาปรับใช้ในการท างาน มากขึ้น
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.9.2 ให้ข้อเสนอแนะการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ข้อเสนอแนะการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ.
2566 (ภาคผนวก 11) ที่อธิการบดีได้พิจารณาและสั่งการแล้ว ดังนี้
(1) การตรวจสอบและสอบทานตามแผนการตรวจสอบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีข้อเสนอแนะที่หน่วยตรวจสอบ ภายในจะติดตามการดาเนินการในปีงบประมาณถัดไป จานวน
169 การดาเนินการ (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 33)
(2) การสอบทานการดาเนินงานหน่วยบริการทางวิชาการ ซึ่งเป็นการสอบทานรายรับ การเบิกจ่ายงบประมาณ เปรียบเทียบกับประมาณการ พร้อมกับเปรียบเทียบรายรับ รายจ่าย และค่าเสื่อมราคาของหน่วยบริการทางวิชาการ (ข้อมูล จากภาคผนวกตารางที่ 34 - 36)
(3) การติดตามผลการด าเนินงานตามข้อเสนอแนะ ของหน่วยตรวจสอบภายใน (ข้อมูลจากภาคผนวกตารางที่ 37)
2.9.3 การประเมินผลการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค ของหน่วยตรวจสอบภายใน
(1) คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับทราบอัตราก าลัง ของหน่วยตรวจสอบภายในรวมหัวหน้า จานวน 8 อัตรา ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทั้งนี้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงาน
ตามโครงสร้างของมหาวิทยาลัยเพิ่ม จานวน 3 หน่วยงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรรเพิ่มขึ้นร้อยละ 142.34 มีหน่วยงานภายใต้สังกัด ที่บันทึกบัญชีและจัดทารายงานการเงิน จานวน 7 หน่วยงาน รายงาน
การเงินทั้งหมดรวมรายงานการเงินภาพรวม จานวน 9 รายงานการเงิน
จานวนรายการบัญชีหรือชุดเอกสารทางบัญชี สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 เพิ่มขึ้น 403.25 เท่าของปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จึงเห็นชอบ ในเบื้องต้นให้ขออนุมัติมหาวิทยาลัยจัดสรรอัตรากาลังให้หน่วย ตรวจสอบภายในเพิ่ม
(2) คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับทราบผลการปฏิบัติงาน
ตามแผนการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และ พิจารณารายงานการประเมินตนเองเป็นระยะ สาหรับปีสิ้นสุดวันที่
- การตรวจสอบภายในของหน่วย ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาขึ้น ตามลาดับ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์
การตรวจสอบภายใน ภาครัฐที่
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังกาหนด
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
30 กันยายน 2566 ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง เรื่อง แนวปฏิบัติ การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงานตรวจสอบภายใน : การ ประเมินภายในองค์กร (หนังสือที่ กค 0409.2/ว014 ลงวันที่ 10
มกราคม 2565) ที่อธิการบดีได้รับทราบและเห็นชอบให้หน่วย ตรวจสอบภายในเสนอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา และนาส่งไป
ยังกรมบัญชีกลางแล้ว
ผลการประเมิน 3 หัวข้อ คือ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน และจรรยาบรรณการตรวจสอบ ภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สรุป ดังนี้ สรุปเป็น 4 ด้าน คือ ด้านกากับดูแล : ด้านบุคลากร : ด้าน การบริหารจัดการ : ด้านกระบวนการ (ข้อมูลจากภาคผนวก ตารางที่ 38) สรุป ดังนี้
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
2.10 รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริตที่อาจมีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย
สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการตรวจสอบ รับทราบผู้บริหารของมหาวิทยาลัยประกอบด้วย อธิการบดี รองอธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดี ให้การรับรองเกี่ยวกับรายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือ มีโอกาสเกิดการทุจริต โดยนาหลักเกณฑ์ของสานักงานกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สานักงาน ก.ล.ต.) มาปรับใช้
ซึ่งผลการประเมินตนเอง พบ ไม่มีรายการที่เกี่ยวโยงกันที่มี
กับมหาวิทยาลัย ทั้งของตนเอง ญาติสนิท หรือคู่สมรส บิดา มารดา บุตร และคู่สมรสของบุตร ในรายการ (1) ซื้อ/จ้าง (2) เช่า/ให้เข่า อสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี และ(3) ให้/รับความช่วยเหลือ ทางการเงินกับมหาวิทยาลัย
2.11 การประเมินผลงานของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบร่วมกับอธิการบดีประเมินผลงาน
หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน ซึ่งมหาวิทยาลัยกาหนดการประเมิน เช่นเดียวกับพนักงานสายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป ตามคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานสายปฏิบัติการ
วิชาชีพและบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยการประเมิน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1
สิงหาคม 2565 – 31 มกราคม 2566 และครั้งที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 1
กุมภาพันธ์ 2566 – 30 กรกฎาคม 2566
2.12 การประชุมหารือร่วมกับสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับส านัก
ตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดเชียงราย
(1) พิจารณาให้ความเห็นการจัดเก็บค่าธรรมเนียม การปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน เป็นตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การจัดเก็บค่าธรรมเนียมการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบ
- มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า การบริหารงานของอธิการบดี รอง อธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดี
โปร่งใส่ เป็นธรรม รายการต่างๆ เป็นไป ตามขั้นตอนที่ถูกต้อ ง ปฏิบัติ
ตามกฎหมายและด้วยความรอบคอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต
ไม่ก่อให้เกิดรายการที่โยงกันหรือ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริต ที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ของมหาวิทยาลัย
- ได้ปฏิบัติตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบฯ
- ได้ปฏิบัติตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยประชุมหารือร่วมกับ ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
เกี่ยวกับ ผลการตรวจสอบ และ รับทราบการคานวณค่าตอบแทนของ ผู้สอบบัญชี
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ผลการปฏิบัติหน้าที่ ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2562 ซึ่งคานวณ ค่าธรรมเนียมตามตารางแนบท้ายระเบียบฯ ข้อ 5 (1) และข้อ 6 โดย คานวณจากคน/วัน ที่ใช้ปฏิบัติงานตรวจสอบ
(2) รับทราบผลการตรวจสอบและรับรองรายงานการเงิน ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ ข้อติดขัดในการตรวจสอบ
ภาคผนวก
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
1. สานักงานจัดการทรัพย์สินและรายได้
2. ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3. วนาเวศน์
4. วนาศรม
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สรุปการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุม จานวน 7 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมประชุม สรุป ดังนี้
รายชื่อ / ตาแหน่ง ครั้งที่
5/2565
วันที่ 28
พฤศจิกายน
2565
1. นายพายัพ พยอมยนต์
ประธานกรรมการ
2. นางสาววลัยรัตน์ ศรีอรุณ
กรรมการ
3. รองศาสตราจารย์พิเศษ
ดร.กฤษฎา เสกตระกูล กรรมการ
4. นางพัชรี พิทยชวาล กรรมการ
กิจกรรมเพิ่มเติม
1. ประชุมร่วมกับสานักงาน ตรวจเงินแผ่นดิน
2. ประชุมร่วมกับผู้บริหาร
มหาวิทยาลัย
ครั้งที่ 6/2565
วันที่ 29
ธันวาคม 2565
ครั้งที่ 1/2566
วันที่ 27
มกราคม 2566
ครั้งที่ 2/2566
วันที่ 1
มีนาคม 2566
ครั้งที่ 3/2566
วันที่ 28
วันที่ 30
มิถุนายน 2566
เมษายน 2566 ครั้งที่ 4/2566
ครั้งที่ 5/2566
วันที่ 25
สิงหาคม 2566
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ตารางที่ 1 แสดงความเสี่ยงระดับหน่วยงาน ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กลุ่มหน่วยงาน ประเภทความเสี่ยง (จานวน) ด้าน กลยุทธ์ ด้านการ ปฏิบัติงาน
ด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ด้าน บุคลากร ด้าน วิบัติภัย/ เหตุ การณ์ ด้าน การเงิน และ ทรัพย์สิน ด้านการ ทุจริต ด้าน ชื่อเสียง
และภาพ ลักษณ์ รวม
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10)=sum(2)-(9)
4. สานักงานวิชาการ
ตารางที่ 2 แสดงผลการบริการจัดการความเสี่ยงระดับหน่วยงาน ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ประเภทความเสี่ยง ความ เสี่ยง (จานวน)
สถานะการจัดกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยง (จานวน) การบรรลุผลตามตัวชี้วัด
ดาเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ดาเนินการ ยังไม่ได้ ดาเนินการ รวม ตัวชี้วัด (จานวน) บรรลุผล ตามที่ กาหนด
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง ความ เสี่ยง (จานวน)
สถานะการจัดกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยง (จานวน) การบรรลุผลตามตัวชี้วัด
ดาเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ดาเนินการ ยังไม่ได้ ดาเนินการ รวม ตัวชี้วัด (จานวน) บรรลุผล ตามที่ กาหนด ล่าช้ากว่า ที่กาหนด
ตารางที่ 3 แสดงความเสี่ยงที่สาคัญระดับหน่วยงานที่บริหารจัดการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
กลุ่มหน่วยงาน ประเภทความเสี่ยง (แบบการบริหารจัดการความเสี่ยง (หน้า 1-2))
ด้าน กลยุทธ์ ด้านการ ปฏิบัติ
งาน ด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ด้าน บุคลากร ด้าน วิบัติภัย/ เหตุการณ์ ด้าน การเงิน และ ทรัพย์สิน ด้านการ ทุจริต ด้าน ชื่อเสียง และภาพ ลักษณ์
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ตารางที่ 4 แสดงผลการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ประเภทความเสี่ยง/ ประเด็นความเสี่ยง
1. ด้านชื่อเสียงและภาพลักษณ์
1.1 มีข่าวสารและข้อมูลที่สร้างความเสียหาย กับมหาวิทยาลัย
ลดลงส่งผลต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
2. ด้านกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยไม่สามารถปฏิบัติงานบรรลุ ตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติการประจาปี ที่กาหนดไว้
3. ด้านการเงินและทรัพย์สิน รายรับไม่เพียงพอต่อการจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนามหาวิทยาลัย
4. ด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
4.1 การไม่ด าเนินการตามกฎหมาย
ระเบียบ ที่กาหนด ด้านกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
รายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยงฯ ผลการประเมินระดับความเสี่ยง การบรรลุตามตัวชี้วัด ต้นปี งบประมาณ ปลายปี งบประมาณ ตัวชี้วัด (จานวน) ตัวชี้วัดที่ บรรลุ (จานวน) ร้อยละ
ปานกลาง ปานกลาง 1 - 0.00
ปานกลาง ปานกลาง 1 ผลการ
ดาเนิน
งานยังไม่
เสร็จสิ้น ผลการ
ดาเนิน งานยังไม่ เสร็จสิ้น
ประกาศ สูง ปานกลาง 1 1 100.00
4.2 การไม่ด าเนินการตามกฎหมาย
ระเบียบ ที่กาหนด ด้านพัสดุ ปานกลาง น้อยมากน้อย 1 1 100.00
4.3 การไม่ดาเนินการตามกฎหมาย ระเบียบ
ที่กาหนด ด้านการใช้จ่ายบประมาณ สูง ปานกลาง 1 1 100.00
5. ด้านการปฏิบัติงาน
5.1 การถูกคุกคามด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cyber Attack) จนเกิดความเสียหาย
5.2 ระบบบริหารองค์กรที่สาคัญ ไม่สามารถ
ใช้งานได้ (ระบบล่ม) ระบบสารสนเทศ หรือระบบ
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง/ ประเด็นความเสี่ยง รายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยงฯ
ผลการประเมินระดับความเสี่ยง การบรรลุตามตัวชี้วัด
ต้นปี งบประมาณ ปลายปี งบประมาณ ตัวชี้วัด (จานวน) ตัวชี้วัดที่ บรรลุ (จานวน)
โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ไม่สามารถทางานได้
ตามปกติที่ควรเป็น
6. ด้านบุคลากร
การขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ เฉพาะทางบางสาขา
ปานกลาง น้อย (ตัวชี้วัดที่ 1) ปานกลาง (ตัวชี้วัดที่ 2) 2 1
ร้อยละ
7. ด้านวิบัติภัย/เหตุการณ์
7.1 การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ ที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตามพันธกิจ ของมหาวิทยาลัย สูง
ตารางที่ 5 แสดงผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566 แบบ/ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (คะแนน) (คะแนน) (คะแนน)
1. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (IIT)
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
แบบ/ตัวชี้วัด
2. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (EIT)
(OIT)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (คะแนน) (คะแนน) (คะแนน)
ตารางที่ 6 แสดงสรุปมาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563 และ
แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
และประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563
1. ผู้ร้องเรียนได้รับความเดือนร้อนหรือได้รับ ความเสียหาย อันเนื่องมาจากพนักงานของมหาวิทยาลัย กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ใช่เรื่องบอกเล่า ต่อกันมาเพื่อหวังสร้างกระแสหรือสร้างข่าวที่เสียหาย ต่อบุคคลอื่น กรณีบัตรสนเท่ห์ ต้องเป็นบัตรสนเท่ห์ที่มี ลักษณะตาม มติคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2541 ที่เป็นเรื่อง เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวม เช่น แจ้งเบาะแส หรือแสดง ความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ให้พิจารณาส่งเรื่องร้องเรียน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบไว้เป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณา โดยกาหนดลักษณะข้อร้องเรียน การทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังนี้
1.1 กระทาทุจริตต่อหน้าที่
1.2 กระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่
1.3 ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้อง ปฏิบัติ
1.4 ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร
แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564
1. ผู้ร้องเรียนได้รับความเดือดร้อนหรือได้รับ ความเสียหาย หรือไม่ได้รับความสะดวกจากการ ปฏิบัติงานหรือการให้บริการของมหาวิทยาลัย หรือจาเป็นต้องให้มหาวิทยาลัยช่วยเหลือเยียวยา หรือปลดเปลื้องทุกข์
รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะ
ข้อคิดเห็นคาชมเชย การสอบถามหรือขอข้อมูล กรณี บัตรสนเท่ห์ จะรับพิจารณาเฉพาะที่มีลักษณะตามมติ คณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2541 ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับประโยชน์ ส่วนรวม ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบไว้เป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณาแก้ไขปรับปรุงต่อไป โดยกาหนด ข้อร้องเรียนที่ไม่อาจรับไว้พิจารณา ดังนี้
1.1 ข้อร้องเรียนที่มีรายละเอียดไม่ครบถ้วน
1.2 ข้อร้องเรียนที่ไม่มีลักษณะเป็นบัตรสนเท่ห์ ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2541
1.3 ข้อร้องเรียนที่ไม่อยู่ในอ านาจหน้าที่ ของมหาวิทยาลัย
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
และประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563
1.5 กระทาการโดยไม่มีอานาจหรือนอกเหนืออานาจ หน้าที่
1.6 กระทาการโดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
1.7 กระทาการอันมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ ไม่เป็นธรรม
และกาหนดข้อร้องเรียนที่ไม่อาจรับไว้พิจารณา คือ
(1) ข้อร้องเรียนที่ไม่ระบุพยาน หรือหลักฐานเพียงพอ และ (2) ข้อมูลไม่ครบถ้วน
2. ผู้ร้องเรียนสามารถร้องเรียน โดย
2.1 ทาเป็นหนังสือ
2.2 กรอกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ บนหน้าเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัย
3. ช่องทางร้องเรียน กาหนดไว้ 3 ช่องทาง ดังนี้
3.1 ร้องเรียนด้วยตนเองโดยตรง โดยจัดทาเป็นหนังสือ นาส่ง ฝ่ายนิติการ ส่วนสารบรรณ อานวยการและนิติการ
เวลา 8.00 – 16.00 น.
3 2 ส่งข้อร้องเรียนทางไปรษณีย์ โดยจ่าหน้าซอง ถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3 3 กรอกข้อร้องเรียนบนระบบออนไลน์ผ่านทาง เว็บไซต์มหาวิทยาลัย
แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564
1.4 ข้อร้องเรียนที่ไม่ดาเนินการแก้ไขให้สมบูรณ์ ภายในระยะเวลาที่กาหนด
1.5 ข้อร้องเรียนที่หน่วยงานอื่นได้ด าเนินการ
ตรวจสอบ พิจารณาวินิจฉัย และสรุปผลการพิจารณา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
4. เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียนนิติกรจะตรวจสอบ ความครบถ้วนของข้อร้องเรียน ข้อเท็จจริงและ
ข้อกฎหมายเบื้องต้น เสนออธิการบดีหรือผู้ที่อธิการบดี มอบหมายเพื่อพิจารณาดาเนินการต่อไป โดยมีระยะเวลา
ดาเนินการกาหนดไว้ เมื่อแล้วเสร็จ กาหนดให้แจ้ง
ผู้ร้องเรียนทราบ และสรุปรายงานผลการดาเนินการเสนอ อธิการบดี
2. ผู้ร้องเรียนสามารถร้องเรียน โดย
2.1 แจ้งด้วยตนเอง
2.2 ทาเป็นหนังสือ
2.3 กรอกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ บนหน้าเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัย
3. ช่องทางร้องเรียน กาหนดไว้ 4 ช่องทาง ดังนี้
3.1 แจ้งข้อร้องเรียนด้วยตนเอง ที่ส่วนสารบรรณ
อานวยการและนิติการ เวลา 8.00 – 16.00 น.
3 2 ส่งข้อร้องเรียนทางไปรษณีย์ ส่งมายังมหาวิทยาลัย
แม่ฟ้าหลวง
3.3 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่าน E-mail : pr@mfuacth
3 4 ช่องทางอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด เช่น กรอกข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ บนหน้าเว็บไซต์
ของมหาวิทยาลัย ร้องเรียน ณ หน่วยงานภายใน ของมหาวิทยาลัย เป็นต้น
4. เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียน ผู้รับเรื่องที่อธิการบดี มอบหมายหรือส่วนงานที่ได้รับเรื่องตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อร้องเรียน ดาเนินการตามคาขอ ในกรณีไม่อยู่ในอานาจของตน หรือเป็นเรื่องยุ่งยาก ซับซ้อน ให้เสนออธิการบดีพิจารณาด าเนินการ ตามกระบวนการต่อไป หากข้อร้องเรียนมีลักษณะเป็น การร้องเรียนทุจริตและประพฤติมิชอบ อธิการบดี
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
และประพฤติมิชอบ พ.ศ. 2563
5. นิติกรรวบรวมและรายงานสรุปการจัดการ เรื่องร้องเรียนให้ผู้บริหารทราบทุกเดือน และรวบรวม จัดทารายงานสรุปข้อร้องเรียนหลังจากสิ้นปีงบประมาณ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา มหาวิทยาลัยต่อไป
6. การเก็บรักษาความลับเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. 2544
แนวทางการจัดการข้อร้องเรียน พ.ศ. 2564
จะพิจารณาให้ฝ่ายนิติการดาเนินการต่อไป โดยมี ระยะเวลาดาเนินการกาหนดไว้ เมื่อแล้วเสร็จกาหนดให้
แจ้งผู้ร้องเรียนทราบ และสรุปรายงานผลการดาเนินการ เสนออธิการบดี
5. ผู้รับเรื่องที่อธิการบดีมอบหมายหรือส่วนงาน ที่ได้ดาเนินการจัดการข้อเรื่องร้องเรียน รวบรวมและ รายงานสรุปการจัดการเรื่องร้องเรียนเสนออธิการบดี ทราบหลังสิ้นปีงบประมาณ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไป
6. การเก็บรักษาความลับเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
ตารางที่ 7 แสดงจานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2566
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญา ตรี ปริญญาโท ปริญญา เอก รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญา ตรี ปริญญาโท ปริญญา
รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน)
ตารางที่ 8 แสดงแผนและผลการรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา แผน ผล (จานวน) (จานวน) (ร้อยละ)
3.6 สานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ - -รวม 3,742 3,829 102.32
ตารางที่ 9 แสดงแผนและผลการรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาโท
ตารางที่ 10 แสดงแผนและผลการรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2566
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา
1.3
1.4 สานักวิชานิติศาสตร์
3.1 สานักวิชาการแพทย์บูรณาการ
3.2 สานักวิชาทันตแพทยศาสตร์
3.3 สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
3.4
ตารางที่ 11 แสดงจานวนนักศึกษาใหม่ชาวต่างชาติ ปีการศึกษา 2566
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ปริญญาตรี ปริญญาโท
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
2.
3.6 สานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ -
ตารางที่ 12 แสดงจานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2566
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญาตรี ปริญญา โท ปริญญา
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญาตรี ปริญญา โท ปริญญา เอก รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน)
ตารางที่ 13 แสดงจานวนผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญา เอก รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
กลุ่มสาขาวิชา/สานักวิชา ประกาศ นียบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญา เอก รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
129 21 3,023
ตารางที่ 14 แสดงจานวนอาจารย์ วุฒิการศึกษา และตาแหน่งทางวิชาการอาจารย์ประจา ปีการศึกษา 2566
สานักวิชา วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ ปริญญา ตรี ปริญญา โท ปริญญา เอก อาจารย์ ผู้ช่วย ศาสตรา จารย์ รอง ศาสตรา จารย์ ศาสตรา จารย์ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)
1. ศิลปศาสตร์
52 4 67 9 2 -
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ตารางที่ 15 แสดงแนวทาง/เกณฑ์/หลักเกณฑ์การประเมินหลักสูตร ปีการศึกษา 2565
สานักวิชา ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
แนว
ทาง
ของ
สป.อว.
(IQA)
1. ศิลปศาสตร์
2. วิทยาศาสตร์
3. การจัดการ
4. เทคโนโลยี
5. อุตสาหกรรม
6. นิติศาสตร์
7. วิทยาศาสตร์
8. วิทยาศาสตร์
9. พยาบาล
10. เวชศาสตร์
11. แพทยศาสตร์
เกณฑ์ AUNQA หลัก เกณฑ์
องค์กร วิชาชีพ รวม แนว ทาง ของ
สป.อว.
(IQA)
เกณฑ์ AUNQA หลัก เกณฑ์ องค์กร
วิชาชีพ รวม แนว ทาง ของ
สป.อว. (IQA) เกณฑ์ AUNQA หลัก เกณฑ์ องค์กร
วิชาชีพ รวม (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ตารางที่ 16 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 ตามเกณฑ์
ของ สป.อว. (IQA)
สานักวิชา/หลักสูตร การกากับ มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
สานักวิชาศิลปศาสตร์
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยสาหรับ ชาวต่างประเทศ ผ่าน ดี
2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ ผ่าน สภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2563 อนุมัติให้ปิด หลักสูตรแบบ มีเงื่อนไข* สานักวิชาวิทยาศาสตร์
3. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวัสดุเพื่อความยั่งยืน ผ่าน ดี
4. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเชิงคานวณและข้อมูล ผ่าน ดี
5. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์ ผ่าน ดี
6. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์ ผ่าน ดี
7. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเชิงคานวณและข้อมูล ผ่าน ดี
8. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวัสดุเพื่อความยั่งยืน ผ่าน ดี สานักวิชาการจัดการ
9. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี ผ่าน ดี
10. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ผ่าน ดี
11. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ผ่าน ดี
12 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ผ่าน ดี
13 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานระหว่างประเทศ ผ่าน ดี
14. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ผ่าน ดี สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
15 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อนวัตกรรม ทางธุรกิจ ผ่าน ดี
16 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ นวัตกรรม ผ่าน ดี
17 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ผ่าน ดี
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สานักวิชา/หลักสูตร การกากับ มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
18 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการสื่อสารและ สารสนเทศ ผ่าน ดี
19. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ผ่าน ดี
20 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและ การสร้างภาพเคลื่อนไหว ผ่าน ดี
21. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมดิจิทัลและการ สื่อสาร ผ่าน ดี
22 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ผ่าน ดี
23. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ผ่าน ดี สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร -สานักวิชานิติศาสตร์
24 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ผ่าน ดี
25. หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต ผ่าน ดี สานักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง
26 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขานวัตกรรมวิทยาศาสตร์เครื่องสาอางค์ เชิงสร้างสรรค์ ผ่าน ดี สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ -สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ -สานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ - -
27. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาตจวิทยา ผ่าน ดี
28. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟู สุขภาพ ผ่าน ดี
29. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟู สุขภาพ ผ่าน ดี สานักวิชาแพทยศาสตร์ -สานักวิชาทันตแพทยศาสตร์ - -
30. หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต ผ่าน ดี สานักวิชานวัตกรรมสังคม
31 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ ผ่าน ดี
32. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ ผ่าน ดี
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สานักวิชา/หลักสูตร การกากับ มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
สานักวิชาจีนวิทยา
33. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ผ่าน ดี สานักวิชาการแพทย์บูรณาการ - -
หมายเหตุ : 0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพน้อย
2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี
4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
ตารางที่ 17 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 ตามเกณฑ์ AUN-QA
สานักวิชา/หลักสูตร คะแนนการกากับมาตรฐาน สานักวิชาศิลปศาสตร์
1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการพัฒนา วิชาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ)
3. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการพัฒนา วิชาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ)
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected
อยู่ระหว่างรอผล สานักวิชาวิทยาศาสตร์
4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
5 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
6 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
7
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สานักวิชา/หลักสูตร คะแนนการกากับมาตรฐาน สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
8. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอาหาร
9. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และโลจิสติกส์
10. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอาหาร
11. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม หลังการเก็บเกี่ยว
12. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอาหาร
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
4 Adequate as Expected
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
4 Adequate as Expected
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate สานักวิชานิติศาสตร์
13. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจและการสื่อสาร ด้วยภาษาจีน
4 Adequate as Expected สานักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง
14. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีความงาม
15. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอางเชิงสร้างสรรค์
สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
16. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและ สุขภาพ
17. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการวิเคราะห์ทาง สุขภาพและชีวการแพทย์
18. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
4 Adequate as Expected
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
สานักวิชา/หลักสูตร คะแนนการกากับมาตรฐาน สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
19. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
4 Adequate as Expected สานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ
20. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาตจวิทยา
21. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและ ฟื้นฟูสุขภาพ
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected
22. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชะลอวัยและ ฟื้นฟูสุขภาพ อยู่ระหว่างรอผล
สานักวิชาแพทยศาสตร์สานักวิชาทันตแพทยศาสตร์สานักวิชานวัตกรรมสังคมสานักวิชาจีนวิทยา -
23. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา
24. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ
25. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
2 Inadequate and Improvement is Necessary
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate สานักวิชาการแพทย์บูรณาการ
26. หลักสูตรกายภาพบาบัดบัณฑิต
27. หลักสูตรการแพทย์แผนจีนบัณฑิต
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected
รายงานผลการดาเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ
ตารางที่ 18 แสดงผลการประเมินภายนอกระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับอาเซียน (มีผล ตั้งแต่ปีการศึกษา 2565 - 2569)
สานักวิชา/หลักสูตร คะแนนการกากับมาตรฐาน สานักวิชาวิทยาศาสตร์
1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์ 4 Adequate as Expected สานักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอาง
3. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอาง
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
4. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
5. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม
6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย
7. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ สุขภาพชายแดน
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected
4 Adequate as Expected สานักวิชาการแพทย์บูรณาการ
8. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต
4 Adequate as Expected หมายเหตุ คาอธิบายเกณฑ์การให้คะแนนตามหลักการประเมิน AUN-QA
Rating
1 Absolutely Inadequate
Description
The QA practice to fulfil the criterion is not implemented There are no plans, documents, evidences or results available Immediate improvement must be made
2 Inadequate and Improvement is Necessary
The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is inadequate where improvement is necessary There is little document or evidence available Performance of the QA practice shows little or poor results
3 Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate
The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but minor improvement is needed to fully meet them Documents are available but no clear evidence to support that they have been fully used Performance of the QA practice shows inconsistent or some results
4 Adequate as Expected
The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support that it has been fully implemented Performance of the QA practice shows consistent results as expected
Rating
5 Better Than Adequate