คู่มือนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สำนักวิชาพยาบาล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2563

Page 1

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


คานา คู่มือการศึก ษาหลัก สูตรพยาบาลศาสตรบั ณ ฑิตเล่ม นี้ สานัก วิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้ทราบรายละเอียดการจัดการเรียน การสอนตลอดหลักสูตร ตลอดจนข้อบังคับ ระเบียบปฏิบัติ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจและเตรียมความพร้อมในการ เรียน สามารถเรียนได้ตามแผนการศึกษาตลอดหลักสูตรของมหาวิทยาลัย รวมทั้งทราบถึง เรื่องสาคัญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์การวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ตลอดจน แหล่งสืบค้นข้อมูลที่จาเป็นต่อการเรียนในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ในด้านกิจการนักศึกษา นัก ศึ ก ษาจะได้ ท ราบถึ ง กิ จ กรรมและวั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามต่ า งๆ ของส านั ก วิ ช าพยาบาล ศาสตร์ ที่ถื อเป็ นประเพณี ป ฏิ บั ติสื บ ทอดกั นมาและยั ง คงดาเนิน ต่อ ไป รวมทั้ง สานั กวิ ช า พยาบาลศาสตร์ มี ร ะบบอาจารย์ ที่ป รึ ก ษาเพื่อ ให้ก ารช่ว ยเหลื อและดู แ ลสาหรับ นั กศึ ก ษา พยาบาลทุกคนอย่างใกล้ชิด จึงอาจกล่าวได้ว่าหากนักศึกษาใช้เวลาในการทาความเข้าใจเนื้อหาในคู่มือ ฉบับนี้อย่าง ถ่องแท้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็น “คนเก่ง คนดี มีสุข ” และเตรียมความพร้อมในการก้าวเข้าสู่การเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ดีต่อไปในอนาคต สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


สารบัญ ประวัติความเป็นมา

1

ผู้บริหารตาแหน่งคณบดี

3

โครงสร้างการบริหารงานของสานักวิชา

4

อาจารย์และบุคลากรประจาสานักวิชา

5

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

8

แผนการศึกษาของนักศึกษาปีการศึกษา 2563-2566

12

กิจการนักศึกษา

18

ทุนการศึกษา

24

อาจารย์ที่ปรึกษา

25

คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์

28

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตสานักวิชาพยาบาลศาสตร์

30

ข้อบังคับ ระเบียบและหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

32

ภาคผนวก ก ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย สี และดอกไม้ประจามหาวิทยาลัย สัญลักษณ์พยาบาลไทย และพยาบาลสานักวิชาพยาบาลศาสตร์

44 46

ภาคผนวก ข องค์กรวิชาชีพพยาบาล

48

ภาคผนวก ค เครื่องแต่งกายนักศึกษา

50


แนะนำสำนักวิชำ


ประวัติความเป็นมาของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ จัดตั้งเพื่อ เป็นอนุสรณ์สถานแห่งความจงรักภักดีของปวงชนชาวไทยที่มีต่อสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี ผู้ ท รงมี พ ระคุ ณ อั น ประเสริ ฐ ต่ อ จั ง หวั ด เชี ย งราย ส่ ง เสริ ม ให้ ประชาชนผู้ด้อยโอกาสและยังมุ่งหมายให้เกิดสถาบันอุดมศึกษาที่จะเป็นศูนย์กลางการ พั ฒ นาความรู้ ข องกลุ่ ม ประเทศอนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม แม่ น้ า โขง รวมถึ ง เสริ ม สร้ า งความ เจริญ เติบ โตทางเศรษฐกิจ และสังคมในเขตภาคเหนือตอนบน รัฐ บาลมี ม ติให้จั ดตั้ง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงขึ้น โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวงขึ้น เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2541 ส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์ ได้รับอนุมัติให้จั ดตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยแม่ ฟ้า หลวงเป็นส้านักวิชาที่ 9 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2549 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. ทัศนา บุ ญ ทอง ท้า หน้า ที่เ ป็นคณบดีและได้เ ปิดรับนักศึกษารุ่นแรก ในปีการศึกษา 2550 ซึ่งสภาการพยาบาลได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิ ต และ ให้ ก ารรั บ รองส้ า นั ก วิ ช าพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง ในการเปิ ด ด้าเนินการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตต่อเนื่องทุกปีนับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน

ปณิธานของสานักวิชา มุ่งสร้างพยาบาลที่มีจิตวิญญาณ เพื่อสืบสานพระราชปณิธาน “สมเด็จย่า” ใช้ ภูมิปัญญา และภูมิธรรมน้าการพัฒนา รักษาเอกลักษณ์ไทย

วิสัยทัศน์ของสานักวิชา ส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์ มีวส ิ ัยทัศน์ที่จะเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลชั้น น้าระดับสากลและศูนย์กลางการศึกษาต่อเนื่องในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง

1


มีสมรรถนะหลัก คือ จัดการศึกษาที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง มีความสามารถสื่อสารด้านสุขภาพด้วยภาษาต่างประเทศ และ สร้างสรรค์นวัตกรรมทางการพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ

พันธกิจ ส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พันธกิจหลัก คือ 1. การผลิตบัณฑิต 2. การวิจัย 3. การบริการวิชาการแก่สังคม

ค่านิยม NSMFU N=Nurturing; ใส่ใจดูแล S= Service mind มีจิตบริการ M= Moral ยึดมั่นคุณธรรมและจรรยาบรรณ F= Focus on Quality; มุ่งเน้นคุณภาพ U= Unity; เป็นน้​้าหนึ่งน้​้าใจเดียวกัน)

อัตลักษณ์ ส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์ ได้ก้าหนดอัตลักษณ์เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัย คือ “บั ณ ฑิตที่มี คุณ ภาพ” ซึ่งสอดคล้ อ งกั บปรั ชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์

เอกลักษณ์ ส้า นักวิช าพยาบาลศาสตร์ ได้ก้าหนดจุ ดเด่น จุ ดเน้นซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ข อง ส้ า นั ก วิ ช า คื อ “เป็ น ที่ พึ่ ง พาทางปั ญ ญาของสั ง คม” เช่ น เดี ย วกั บ เอกลั ก ษณ์ ข อง มหาวิทยาลัย

2


ผู้บริหารตาแหน่งคณบดี ผู้บริหารตาแหน่งคณบดี มีลาดับดังนี้ 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ทัศนา บุญทอง 2. รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี 3. รองศาสตราจารย์ ดร. ชมนาด พจนามาตร์

พ.ศ. 2549-2551 พ.ศ. 2551-2561 พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน

รายชื่อผู้บริหารสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด พจนามาตร์

รองคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชมพูนชุ โสภาจารีย์

ผู้ช่วยคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรทิพย์ สารีโส

3


โครงสร้างการบริหารงาน ส้ า นั ก วิ ช าพยาบาลศาสตร์มี ค ณบดี เ ป็ น ผู้ บริ ห ารสู ง สุ ด รั บ ผิ ด ชอบบริ หาร ส้านักวิชา มีรองคณบดีและผู้ช่วยคณบดี จ้านวน 2 คน หัวหน้ากลุ่มสาขาวิชาทางการ พยาบาลจ้านวน 5 คน และหัวหน้าศูนย์เสริมศึกษาและสาธิตทางการพยาบาลจ้านวน 1 คน รับ ผิดชอบบริห ารงานของฝ่ ายและกลุ่ม สาขาวิชาทางการพยาบาล/ศูนย์ ให้ เป็ น ไปตามภารกิ จ หลั ก ทั้ ง 4 ด้ า น โดยมี ค ณะกรรมการประจ้ า ส้ า นั ก วิ ช าพยาบาล ศาสตร์เป็นที่ปรึกษาและให้ค้าแนะน้าในการบริหารงานของส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์ โดยโครงสร้างการบริหารงานส้านักวิชาพยาบาลศาสตร์แสดงดังแผนภูมิที่ 1 อธิการบดี

รองอธิการบดี

คณบดี

คณะกรรมการประจาสานักวิชา วิชา

รองคณบดี

ผู้ช่วยคณบดี

ฝ่ายจัดการทั่วไป

ฝ่ายวิชาการ

กลุ่มสาขาวิชาการ พยาบาล เด็กและวัยรุน ่

กลุ่มสาขาวิชาการพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

กลุ่มสาขาวิชาการพยาบาล มารดาทารกและการผดุงครรภ์

กลุ่มสาขาวิชาการ พยาบาล ชุมชน

กลุ่มสาขาวิชาสุขภาพจิต และการพยาบาลจิตเวช

ศูนย์เสริมศึกษาและสาธิต ทางการพยาบาล

แผนภูมท ิ ี่ 1 โครงสร้างการบริหารงานของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

4


อาจารย์และบุคลากรประจาสานักวิชา สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประกอบด้วย 5 กลุ่มสาขาวิชา ประกอบด้วยคณาจารย์ดังนี้ ชื่อ-สกุล

ห้อง โทรศัพท์

E-mail

กลุ่มสาขาวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1. ผศ.ดร. เกศมณี มูลปานันท์ 2. อาจารย์ ณฐมน สีธิแก้ว 3. อาจารย์ จินตนา เทพเสาร์ 4. อาจารย์ ศลิษา โกดยี่ 5. อาจารย์ สุภัสสร เครืออิน 6. อาจารย์ ศรีสุรก ั ษ์ เกียรติมณีรัตน์

320 320 320 320 320

6885 6884 6887 6884 6887

katemanee.moo@mfu.ac.th nathamon.sri@mfu.ac.th Jintana.the@mfu.ac.th salisa.kod@mfu.ac.th supatsorn.kur@mfu.ac.th ลาศึกษาต่อ

กลุ่มสาขาวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 1. รศ. อ้าไพ จารุวัชรพาณิชกุล 2. ผศ.ดร.ชมพูนุช โสภาจารีย์ 3. อาจารย์ ดร. จิราณี ปัญญาปิน 4. อาจารย์ เครือวัลย์ คนอยู่ 5. อาจารย์ ดรรชนี ลิม ้ ประเสริฐ 6. อาจารย์ ปรางวลี อนุภาพวิเศษกุล 7. อาจารย์ ผ่องศรี จิตมโนวรรณ 8. อาจารย์ สินีนาฏ หงษ์ระนัย 9. อาจารย์ สินีนาท วราโภค 10. อาจารย์ สุภาพันธ์ จันทร์ศิริ 11. อาจารย์ อมรรัตน์ ดีบุญโณ

323 302 320 323 323 323 323 323 323 323

6879 6880 6886 6876 6876 6877 6877 6878 6879 6878

umpai.cha@mfu.ac.th chompunut.sop@mfu.ac.th jiranee.pan@mfu.ac.th kruawan.kon@mfu.ac.th dutchanee.lim@mfu.ac.th prangwalee.anu@mfu.ac.th pongsri.jit@mfu.ac.th sineenat.hon@mfu.ac.th sineenat66@gmail.com suphaphan.cha@mfu.ac.th ลาศึกษาต่อ

กลุ่มสาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1. ผศ.ดร. บุญญาภัทร ชาติพัฒนานนท์ 2. ผศ.ดร. สมพร สันติประสิทธิ์กุล 3. ผศ. ปิยะภร ไพรสนธิ์

315 317 314

5

6872 6881 6871

boonyapat.sha@mfu.ac.th somporn@mfu.ac.th piyaporn.pra@mfu.ac.th


ชื่อ-สกุล

ห้อง โทรศัพท์

4. ผศ. พรทิพย์ สารีโส 5. ผศ. ภาวดี วิมลพันธุ์ 6. ผศ. นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช 7. ผศ. วราภรณ์ แย้มมีศรี 8. อาจารย์ ดร. จิตราภรณ์ สุทธิพงศ์ 9. อาจารย์ ดร. ทัศนีย์วรรณ กันทากาศ 10. อาจารย์ ดร. วิภาดา ศรีมันทยามาศ 11. อาจารย์ พัชรี จิตรเอื้ออังกูร 12. อาจารย์ พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน 13. อาจารย์ ภัทริกา ปัญญา

314 316 314 314 316 314 315 316 314 316

6873 7744 6874 6872 7745 6873 6874 7744 6871 7745

E-mail porntip.sar@mfu.ac.th pawadee.wim@mfu.ac.th nongyao.mon@mfu.ac.th waraphorn.yae@mfu.ac.th chittraphorn.sut@mfu.ac.th tadsaneewan.gan@mfu.ac.th vipada.sri@mfu.ac.th patcharee.jit@mfu.ac.th phornsawan.chu@mfu.ac.th pattarika.pan@mfu.ac.th

กลุ่มสาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 1. ผศ.ดร. อัศวินี ตันกุริมาน 2. ผศ. อรนลิน สิงขรณ์ 3. อาจารย์ ดร.พิมพ์รัตน์ บุณยะภักดิ์ 4. อาจารย์ เฉลิมพรรณ เมฆลอย 5. อาจารย์ สุริย์ฉาย คิดหาทอง 6. อาจารย์ อรัญญา อินสอน 7. ผศ. ฉันทนา แรงสิงห์

317 317 317 317 317 317

6882 6883 6925 6883 6882 6925

asawinee.ton@mfu.ac.th onnalin.sin@mfu.ac.th pimrat@mfu.ac.th chaleormphan.mek@mfu.ac.th surichai.kid@mfu.ac.th arunya.ins@gmail.com ลาศึกษาต่อ

การพยาบาลชุมชน 1. รศ.ดร. ชมนาด พจนามาตร์ 2. ผศ.ดร. รัชนี มิตกิตติ 3. ผศ.ดร. โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก 4. ผศ. ขนิษฐา พิศฉลาด 5. อาจารย์ ดร.ปิยธิดา จุลละปีย 6. อาจารย์ ดร. ถาวร ล่อกา 7. อาจารย์ นาตญา พแดนนอก 8. อาจารย์ ณัณัฐชยาภรณ์ ตั้งด้ารงศิลป์ 9. อาจารย์ บุบผา วิริยรัตนกุล

311 318 319 318 319 319 319 319 319

6

6868 6889 6891 6889 6890 6892 6892 6890 6891

chomnard.pot@mfu.ac.th ratchanee.mit@mfu.ac.th sophaphan.int@mfu.ac.th khanittha.pit@mfu.ac.th piyatida.jun@mfu.ac.th thaworn.lor@mfu.ac.th nattaya.phad@mfu.ac.th natchayaporn.tan@mfu.ac.th buppar.vir@mfu.ac.th


ชื่อ-สกุล

ห้อง โทรศัพท์

10. อาจารย์ ประภัสสร ธรรมเมธา 11. อาจารย์ พงษ์ภัทร์ รัตนสุวรรณ 12. อาจารย์ มัลลิกา มาตระกูล 13. ผศ. นภมน พุ่มโสภา

318 319 319

7153 6893 6893

E-mail prapatsorn.chu@mfu.ac.th pongpat@mfu.ac.th mulika.mat@mfu.ac.th ลาศึกษาต่อ

ฝ่ายจัดการทั่วไป 1. นางสาวมณีนุช มโนหาร 2. นางสาวนิศานาถ เตรียมทะนะ 3. นางสาวสุมาลี บุรีแก้ว 4. นางสาวสุพิน อ้วนยะ

303 303 303 311

6870 6869 6926 6867

maneenuch.man@mfu.ac.th nisanat@mfu.ac.th sumalee.bur@mfu.ac.th supin.aun@mfu.ac.th

ศูนย์เสริมศึกษาและสาธิตทางการพยาบาล 1. อาจารย์ พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน 2. นางสาวจิตรลดา ก้างออนตา 3. นางสาวจินดา ฝายแก้ว

314 303 511

7

6871 6871 6562

phornsawan.chu@mfu.ac.th jitrada.kan@mfu.ac.th jinda.fay@mfu.ac.th


แผนการศึกษา


หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Nursing Science Program

ปรัชญาของหลักสูตร สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีความเชื่อว่าสุขภาพเป็น มิติที่มีความสาคัญยิ่งต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน บุคลากรทางสุขภาพโดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ประกอบวิช าชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ มีบทบาทสาคัญในการ ให้บริการทางสุขภาพที่จะทาให้การพัฒนาคุณภาพชีวิตบรรลุเป้าหมาย โดยพยาบาล ต้ อ งมี ค วามรู้ ความสามารถ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในการพั ฒ นาสุ ข ภาพของ ประชาชนให้ ดี ที่ สุ ด ภายใต้ ส ภาวะแวดล้ อ ม ที่ อ ยู่ อ าศั ย และสถานที่ ท างานของ ผู้ใช้บริการ ในการช่วยเหลือบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยการสร้าง เสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการบาดเจ็บ การรักษาพยาบาล เจ็บป่วยพิการ หรือ อยู่ใ นระยะสุดท้า ยของชี วิต รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ การปกป้องสิทธิป ระโยชน์ของ ผู้ใช้บริการ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย การมีส่วนร่วมในการวิจัย การกาหนด นโยบายและระบบการจัดการการดูแลสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ใช้บริการได้รับการดูแล อย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่อง การผลิตพยาบาลให้มีความรู้ความสามารถดังกล่าว ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้ และเข้าใจบุคคลในลักษณะองค์รวม ซึ่งมีภูมิปัญญา มีศักยภาพ มีเกียรติและศักดิ์ศรี นาไปสู่การเสริมสร้างพลังอานาจให้บุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัวและชุมชน สามารถ ดูแลและพึ่งพาตนเองในเรื่องสุขภาพได้อย่างเต็มศักยภาพ การเรียนการสอนจึงมุ่งให้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาความคิดอย่าง มีวิจารณญาณ สามารถพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต สามารถ ทางานในบทบาทของตนเองและร่วมกับ บุคลากรทีมสหสาขาวิชาชีพ ประสานงานและ จัดการระบบสุขภาพที่มีความสลับซับซ้อน มีความยืดหยุ่น และสามารถปรับตัว ต่อ ความเปลี่ ย นแปลงและความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมได้ อ ย่ า งเหมาะสมและมี ความสุข

8


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้บัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตรมีคุณลักษณะและความสามารถ ดังนี้ 1. มีความรู้ในศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2. มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดารงชีวิตและการปฏิบัติงาน มีเจตคติที่ดีต่อ วิชาชีพการพยาบาล 3. ใช้ ก ระบวนการพยาบาลในการคิ ด วิ เ คราะห์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ และสามารถ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ 4. ปฏิบั ติการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่องตามมาตรฐานวิชาชี พ ให้แก่บุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว และชุมชน 5. ปฏิบัติการพยาบาลโดยครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการบาดเจ็บ การรักษาพยาบาล รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ โดยคานึงถึงความเป็น ปัจเจกบุคคล ความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม 6. บริ ห ารจั ด การเบื้ อ งต้ น ในการบริ ก าร เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารได้ รั บ การ รักษาพยาบาลอย่างครอบคลุม ต่อเนื่องและปลอดภัยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โดย คานึงถึงสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้ใช้บริการ 7. มีภาวะผู้นา มีความสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้บริการ รวมทั้งบุคลากร ทีมสหสาขาวิชาชีพ และผู้ร่วมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8. มีความสนใจ ใฝ่รู้เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

9


กรอบแนวคิดในการจัดทาหลักสูตร กรอบแนวคิดในการจัดทาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ตั้งอยู่บนพื้นฐาน การเรียนรู้เพื่อให้การพยาบาลแก่บุคคลทุกวัย ตั้งแต่ก่อนเกิด วัยเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ครอบคลุมทุกภาวะสุขภาพ ตั้งแต่สุขภาพดี ภาวะเสี่ยง ภาวะเจ็บป่วย ภาวะ เจ็บป่วยเรื้อรังและพิการ โดยการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และ ฟื้นฟูสมรรถภาพในบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการเรียนรู้ตั้งแต่การ พยาบาลพื้นฐานจนถึงการพยาบาลที่ซับซ้อน

กรอบแนวคิดหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต

ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงว่าด้วย การศึกษาชั้นปริญญาตรี โดยระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาทั้งสิ้นสูงสุด ไม่เกิน 8 ปี

การลงทะเบียนเรียน การลงทะเลียนเรีย นให้ เ ป็ น ไปตามข้ อบั งคับ มหาวิท ยาลั ยแม่ ฟ้ าหลวงว่ า ด้ ว ย การศึกษาระดับปริญญาตรี หมวด 3 เรื่อง การลงทะเบียนเรียน

10


เกณฑ์การวัดผลและการสาเร็จการศึกษา เกณฑ์การวัดผล เกณฑ์ ก ารวั ด ผลให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวงว่ า ด้ ว ย การศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2542 หมวด 7 เรื่อง การประเมินผลการศึกษา

เกณฑ์การสาเร็จการศึกษา 1. เรียนครบตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 2. ต้องได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 2.00 3. ทุกรายวิชาที่เป็นกลุ่มวิชาชีพการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาลต้อง ได้ระดับเกรดไม่ต่ากว่า C 4. สอบวั ด ความรู้ ก่ อ นส าเร็ จ การศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี เ กี่ ย ว กั บ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ความสามารถในการใช้เ ทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ ใ นเรื่ อ งโลกาภิ วั ต น์ การมี โ ลกทั ศ น์ การใช้ วิ จ ารณญาณ และวิ สั ย ทั ศ น์ ต่ อ เหตุการณ์ในโลกปัจจุบัน และความรู้ความสามารถในเนื้อหาและการประยุกต์ใช้ความรู้ ในสาขาวิชาทางการพยาบาล รวมทั้งหมด 8 รายวิชา โดยแต่ละรายวิชาจะต้องสอบ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60

การสาเร็จการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษา ต้องศึกษาครบตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดในแผนการ ศึกษาของหลักสูตร และได้ แต้มไม่ต่ากว่าระดับ 2.00 ของทุกรายวิชาในกลุ่มวิชาชีพ ตามข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการให้การเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ระดับวิชาชีพ พ.ศ. 2554 ส่วนที่ 4 ว่าด้วยการสาเร็จ การศึกษา

11


แผนการศึกษาของนักศึกษา ปีการศึกษา 2563-2566 แผนการศึกษาของนักศึกษา ปีที่ 1 รหัสรายวิชา 1101105 1301104 1006134 1005120 1103100 1901104 MFU333

รหัสายวิชา 1601104 2408101 1006135 1104100 2102141 1901101

ภาคการศึกษาต้น ชื่อรายวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์รอบตัว เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้ น ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร หลักชีววิทยา บุหรี่กบั สุขภาพ (วิชาเลือกเสรี 1) ความเป็ นแม่ฟ้าหลวง

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-3-5) 2(2-0-4) 0(0-6-2)

รวม 17 หน่วยกิต (ท.15, ป. 5 ชั่วโมง = 20) ภาคการศึกษาปลาย ชื่อรายวิชา ความเป็ นพลเมืองโลก ภาษาจีน 1 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 หลักฟิ สิกส์ ชีวเคมีพ้ ืนฐานทางการแพทย์สาหรับนักศึกษาพยาบาล ระบบสุขภาพและวิชาชีพการพยาบาล

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(2-3-5) 2(2-0-4)

รวม 17 หน่วยกิต (ท. 15, ป.5 ชั่วโมง = 20) ภาคฤดูร้อน รหัสายวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต 1901102 พัฒนาการมนุษย์ 2(2-0-4) 1901103 การสร้างเสริมสุขภาพ 2(2-0-4) 1901105 นวัตกรรมและหลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาล(วิชาเลือกเสรี 2) 2(2-0-4) รวม 6 หน่วยกิต (ท. 6, ป.0 ชั่วโมง = 6)

12


แผนการศึกษาของนักศึกษา ปีที่ 2 รหัสรายวิชา 1001127 1901213 1901214 2102201 2102271

ภาคการศึกษาต้น ชื่อรายวิชา

จิตวิทยาในชีวิตประจาวัน การประเมินภาวะสุขภาพ ทฤษฏีทางการพยาบาลและกระบวนการพยาบาล กายวิภาคและสรีรวิทยา 1 พื้นฐานภูมิคุ้มกันวิทยาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาสาหรับนักศึกษา พยาบาล 2408102 ภาษาจีน 2 1901325 การสื่อสารภาษาอังกฤษ สาหรับบุคลากรสุขภาพ (วิชาเลือกเสรี 3) รวม 18 หน่วยกิต (ท.15, ป. 7 ชั่วโมง = 22) ภาคการศึกษาปลาย รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1203102 การจัดการองค์กรและการเป็นผู้ประกอบการ 1802203 พยาธิสรีรวิทยา 1901215 เภสัชวิทยาสาหรับพยาบาล 1901216 การพยาบาลพื้นฐาน 2102202 กายวิภาคและสรีรวิทยา 2 รวม 15 หน่วยกิต (ท. 12, ป.7 ชั่วโมง = 19) ภาคฤดูร้อน รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1901217 ปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน 1901218 การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 1901302 การพยาบาลผู้สูงอายุ 1901309 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น รวม 8 หน่วยกิต (ท. 7, ป.3 ชั่วโมง = 10)

13

หน่วยกิต 3(3-0-6) 2(1-3-3) 2(2-0-4) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 2(2-0-4)

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-3-5) 3(2-2-5)

หน่วยกิต 1(0-3-1) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 3(3-0-6)


แผนการศึกษาของนักศึกษา ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1901320 การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 1901307 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 1 1901316 การพยาบาลชุมชน 1 1901323 การพยาบาลฉุกเฉินและอุบัติภัย สาหรับนักศึกษากลุ่ม A 1901318 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 1901420 ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช สาหรับนักศึกษากลุ่ม B 1901317 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 1 1901319 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น กลุ่ม A รวม 17 หน่วยกิต (ท.10, ป. 21 ชั่วโมง = 31) กลุ่ม B รวม 18 หน่วยกิต (ท.10, ป. 24 ชั่วโมง = 34) ภาคการศึกษาปลาย รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1901304 การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 1901306 กฤหมายวิชาชีพและจริยธรรมทางการพยาบาล 1901321 การพยาบาลชุมชน 2 1901322 ศักยภาพการนาและการบริหารจัดการทางการพยาบาล สาหรับนักศึกษากลุ่ม A 1901317 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 1 1901319 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น สาหรับนักศึกษากลุ่ม B 1901318 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 1901420 ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช กลุ่ม A รวม 17 หน่วยกิต (ท.9, ป. 24 ชั่วโมง = 33) กลุ่ม B รวม 16 หน่วยกิต (ท.9, ป. 21 ชั่วโมง = 30)

14

หน่วยกิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 4(0-12-4) 3(0-9-3) 4(0-12-4) 4(0-12-4)

หน่วยกิต 3(3-06) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4) 4(0-12-4) 4(0-12-4) 4(0-12-4) 3(0-9-3)


ภาคฤดูร้อน รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1901401 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 2 1901405 การรักษาโรคเบื้องต้น รวม 5 หน่วยกิต (ท. 5, ป.0 ชั่วโมง = 5)

15

หน่วยกิต 3(3-0-6) 2(2-0-4)


แผนการศึกษาของนักศึกษา ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา สาหรับนักศึกษากลุ่ม A 1901324 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 1901417 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 2 1901422 ปฏิบัติการศักยภาพการนาและการบริหารทางการพยาบาล สาหรับนักศึกษากลุ่ม B 1901324 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 1901418 ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้น 1901421 ปฏิบัติการพยาบาลชุมชน กลุ่ม A รวม 11 หน่วยกิต (ท.0, ป. 33 ชั่วโมง = 33) กลุ่ม B รวม 11 หน่วยกิต (ท.10, ป. 33 ชั่วโมง = 33) ภาคการศึกษาปลาย รหัสรายวิชา ชื่อรายวิชา 1901407 ประเด็นและแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล 1901419 การวิจัยทางการพยาบาล สาหรับนักศึกษากลุ่ม A 1901418 ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้น 1901421 ปฏิบัติการพยาบาลชุมชน 1901423 ปฏิบัติการเสริมทักษะทางการพยาบาล สาหรับนักศึกษากลุ่ม B 1901417 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 2 1901422 ปฏิบัติการศักยภาพการนาและการบริหารทางการพยาบาล 1901423 ปฏิบัติการเสริมทักษะทางการพยาบาล กลุ่ม A รวม 13 หน่วยกิต (ท.3, ป. 29 ชั่วโมง = 32) กลุ่ม B รวม 13 หน่วยกิต (ท.3, ป. 29 ชั่วโมง = 32)

16

หน่วยกิต 4(0-12-4) 4(0-12-4) 3(0-9-3) 4(0-12-4) 3(0-9-3) 4(0-12-4)

หน่วยกิต 2(2-0-4) 2(1-2-3) 3(0-9-3) 4(0-12-4) 2(0-6-2) 4(0-12-4) 3(0-9-3) 2(0-6-2)


กิจการนักศึกษา

17


กิจการนักศึกษา กิจการนักศึกษาเป็นงานที่ช่วยส่งเสริมพัฒนานักศึ กษาและอานวยความ สะดวกให้แก่นักศึกษาในด้านต่างๆ เพื่อให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถใช้ชีวิต ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ส านักวิ ช าพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เห็นความสาคัญของงานกิจการนักศึกษา จึงจัดให้มี งานกิจกรรมนักศึกษา งานทุนการศึกษา งานแนะแนวและให้คาปรึกษา

18


งานกิจกรรมนักศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. กิจกรรมที่จัดโดยส่วนพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงร่วมกับ สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ 2. กิจกรรมที่จัดโดยสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ 3. กิจกรรมที่จัดโดยนักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์

19


กิจกรรมที่จัดโดยส่วนพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวง ร่วมกับสานักวิชาพยาบาลศาสตร์

กิ จ กรรมที่ จั ด โดยส่ ว นพั ฒ นานั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวงจั ด รวมกั บ สานักวิชาพยาบาลศาสตร์โดยเป็นกิจกรรมที่จัดให้นักศึกษาในภาพรวมเพื่อส่งเสริม ให้นักศึกษาในแต่ละสานักวิชาของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ฝึกประสบการณ์ใน การทางานร่วมกัน รู้จักการสร้างเครือข่ายในต่างสาขาวิชาชีพ อาทิ โครงการ How to live and learn กิจกรรมรับน้องมหาวิทยาลัย กิจกรรมปลูกป่า เป็นต้น

20


กิจกรรมที่จัดโดย สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ การปฐมนิเทศนักศึกษา จัดขึ้นเมื่อเปิดภาคการศึกษาใหม่เพื่อเตรียมความพร้อม ให้แก่นักศึกษาโดยให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเรียนการสอนในหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต ระเบียบข้อบังคับ ต่างๆ และการปฏิบัติตัวตลอดระยะเวลาที่ศึกษา ตลอดจน เป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างคณาจารย์ นักศึกษาและผู้ปกครอง

การปลู ก จิ ต ส านึ ก การมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมของนั ก ศึ ก ษาพยาบาล เพื่ อ ปลูกฝังค่านิยมหรือคุณธรรมจริยธรรมอันดีงามให้แก่นักศึกษา ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และใฝ่ดีที่จะสามารถนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาเล่าเรียน การดาเนินชีวิตประจาวันและการประกอบวิชาชีพการพยาบาลในอนาคต

พิธีมอบหมวกและดวงประทีป สานักวิชาพยาบาลศาสตร์จัดพิธีมอบหมวกและ ดวงประทีปให้แก่นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน เพื่อให้นักศึกษา ตระหนักถึงภาระความรับผิดชอบต่อชีวิตผู้ป่วยผู้ใช้บริการด้านสุขภาพและวิชาชีพการ พยาบาลและเป็นการสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของวิ ช าชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์

21


พิธีมอบรางวัล สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ จัดพิธีมอบรางวัลให้กับนักศึกษา ดีเด่น ที่เรียนดี ความประพฤติดี บาเพ็ญตนเป็นประโยชน์ และสร้างชื่อเสียงให้แก่ สถาบัน การปัจฉิมนิเทศ จัดสาหรับนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษา เป็นการเตรียมความ พร้อมในการปฏิบัติงานในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

พิธีประกาศสาเร็จการศึกษา สานักวิช าพยาบาลศาสตร์ จัดพิธีมอบหมวก ประดั บ ขี ด และเข็ ม วิ ท ยฐานะให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาที่ ผ่ า นการศึ ก ษาครบตามเกณฑ์ ที่ มหาวิทยาลัยกาหนด เพื่อเป็นการแสดงวิทยฐานะของการเป็นพยาบาลวิชาชีพและ แสดงความยินดีแก่ผู้สาเร็จการศึกษา โครงการพัฒนาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) กิจกรรมบ้าน NS 2) กิจกรรม Unique and Unity 3) กิจกรรม พยาบาลนักคิด และ 4) SMART NURSE

22


กิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษา สโมสรนักศึกษา สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมของนักศึกษาที่ ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้าน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรวมถึงกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สถาบัน ท้องถิ่น และสังคม โดยมีค ณะกรรมการสโมสรนักศึ กษาที่ ได้มาจากการเลือกตั้งของ นัก ศึก ษาทุก ชั้น ปี รวมถึง ประธานชั้ นปี ร่ว มเป็ นคณะกรรมการในการด าเนิ น กิ จ กรรมภายใต้ ร ะเบี ย บว่ า ด้ ว ยสโมสรนั ก ศึ ก ษาส านั ก วิ ช าพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2557 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2557 โดยมีคณะกรรมการกิจการนักศึกษาและมีอาจารย์ที่ปรึกษาสโมสรนักศึกษาทา หน้าที่ประสานงานให้คาปรึกษา แนะนาและดูแลติดตามการปฏิบัติงานรวมถึง ประเมินผลเกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมต่างๆของสโมสรนักศึกษา เพื่อเป็นการ พัฒนานัก ศึกษาให้มีวุฒิภ าวะทั้ ง ทางด้านสติปัญญา บุค ลิ กภาพ คุณธรรม จริยธรรม และทักษะทางสังคม

23


ทุนการศึกษา สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้จัดหาแหล่ง ทุนให้แก่นักศึกษาที่เรียนดี ความประพฤติดีและยากจน นอกจากนั้นนักศึกษา สามารถขอทุ น จากกองทุ น กู้ ยื ม เงิ น เพื่ อ การศึ ก ษา และทุ น การศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง เพื่ อ ใช้ ใ นการศึ ก ษาเล่ า เรี ย น ดั ง ค าปรารถของ อธิการผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยที่ว่า

“ต้องไม่มีใครต้องออกจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้เพราะความยากจน”

24


อาจารย์ที่ปรึกษา

จัดให้นักศึกษาทุกคนมีอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อช่วยชี้แนะแนวทางในด้านการเรียน ให้ค าปรึก ษาแนะนาในเรื่อ งการลงทะเบียนเรี ยน การเพิ่ม หรือ ถอนรายวิ ช า การ วางแผนการเรียนตลอดทุกภาคการศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาพร้อมที่จะรับฟังปัญหา

ส่วนตัวของนักศึกษาโดยจะเก็บรักษาไว้เป็นความลับ และช่วยชี้แนะแนวทางในการ แก้ปัญหานักศึกษาพยาบาลทุกคน นักศึกษาสามารถขอเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา ของตนหรืออาจารย์ท่านอื่นที่นักศึกษาต้องการเพื่อขอคาปรึกษาช่วยเหลือในปัญหา ต่างๆ ได้ อาจารย์ทุกท่านพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาอยู่เสมอ

25


อาจารย์ที่ปรึกษาชั้นปี สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาประจาทุกชั้นปี โดยมี วัต ถุ ประสงค์ เพื่ อให้ก ารดูแ ลนั กศึ กษาอย่า งใกล้ ชิด และต่ อเนื่อ ง ให้ คาปรึ กษาแก่ นักศึกษาในชั้นเรียน ชี้แนะแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นแก่นักศึกษา ติดตามผลการ เรียนของนักศึกษา รวมถึงประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การสอนของนักศึกษา ทั้งทางด้านวิชาการ และประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ นักศึกษา รวมทั้งสร้างความสามัคคีในหมู่นักศึกษาด้วยกันตลอดหลักสูตร

26


คณะกรรมการกิจการนักศึกษา

สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ ได้แต่งตั้งให้ มีคณะกรรมการกิจการนักศึกษา ซึ่งจะให้คาปรึกษาแนะนาดูแลความเป็นอยู่ในมหาวิ ทยาลัย ความเป็นระเบียบ วิ นั ย ประสานงานและติ ด ตามการด าเนิ น กิ จ กรรมของนั ก ศึ ก ษา ตลอดจน พิ จ า ร ณ า ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก ม ห า วิ ท ย า ลั ย

27


คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสำนักวิชำพยำบำลศำสตร์

28


คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 1. มี ค วามรู้ ความสามารถในศาสตร์ ทั่ ว ไปและศาสตร์ ก ารพยาบาล สามารถ บูรณา การความรู้ จ ากศาสตร์ ส าขาต่ า งๆ เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารพยาบาลแบบองค์ ร วมอย่ า งมี ประสิทธิภาพ 2. สามารถให้บริการพยาบาลแก่บุคคลทุกช่วงอายุ ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุ ม ชน ครอบคลุ ม การสร้ า งสุ ข ภาพ การป้ อ งกั น โรคและการบาดเจ็ บ การ รั ก ษาพยาบาลเมื่ อ เจ็ บ ป่ ว ย หรื อ อยู่ ใ นระยะสุ ด ท้ า ยขอ งชี วิ ต รวมทั้ ง การฟื้ น ฟู สมรรถภาพ 3. ยึดมั่นในคุณธรรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ เป็นพลเมืองดีของสังคม และสามารถ ดารงตนในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ 4. มีศักยภาพการนา คิดวิเคราะห์ และการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล 5. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งข้อมูลอย่างมี ประสิทธิภาพ 6. มีทักษะการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถทางานเป็นทีมกับ บุคลากรในทีมสุขภาพ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. สนใจใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

พฤติกรรมด้ำนคุณธรรมจริยธรรม สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้กาหนดพฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม คือ

“ซื่อสัตย์ มีวน ิ ัย ใฝ่ควำมดี”

29


มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ทักษะด้ำนคุณธรรม จริยธรรม 1. มีความซื่อสัตย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา 2. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3. มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเองในการศึกษาเล่าเรียนและพฤติกรรม ที่แสดงออกต่อบุคคลอื่น 4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงชีวิตและปฏิบัติการพยาบาล

ทักษะด้ำนควำมรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต 2. มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ด้านวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และ ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัย และการนาผลการวิจัยมาใช้ในการ ปฏิบัติการพยาบาล มีความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะทำงปัญญำ 1. คิดเชิงวิเคราะห์ คิดอย่างเป็นระบบ และการแก้ไขปัญหาในการจัดการดูแล สุขภาพทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน 2. ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย

30


ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. ทางานเป็นทีมในบทบาทการเป็นผู้นาและสมาชิกในทีม 2. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน เพื่อนร่วมชั้นเรียน ทีมสุขภาพและผู้ใช้บริการ 3. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง ในการเรียนอย่างต่อเนื่อง

ทักษะกำรวิเครำะห์เชิงตัวเลข กำรใช้เทคโนโลยีและกำรสือ่ สำร 1. สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูลและสามารถแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิง ปริมาณและคุณภาพ 2. สื่อสารทั้งการพูด การอ่าน การเขียน การฟัง และ ถ่ายทอดข้อมูลให้แก่ผู้อื่น 3. เลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าและนาเสนอ

ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ 1. ปฏิบัติการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมโดยใช้ศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ 2. ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลครอบคลุม 4 ด้าน การสร้าง เสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสุขภาพ แก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน

31


ข้อบังคับ ระเบียบและหลัก เกณฑ์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง


ประกาศสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เรือ่ ง หลักเกณฑ์การพิจารณาความผิดของนักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ ขณะศึกษา ภาคปฏิบัติ พ.ศ. 2551 ข้อ 1 ความผิด 1.1 การให้ยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อร่างกายแก่ผู้ป่วย การกระทาเกีย่ วกับการให้ยาทีจ่ ะ ถือเป็น ความผิด มีดังนี้ 1.1.1 เตรียมยาผิด 1.1.2 ให้ยาผิดจากแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ 1) ผิดชนิด โดยจาแนกตามประเภทของยา ดังนี้ (1) ยาทีเ่ ป็นอันตรายต่อร่างกาย (2) ยาที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย 2) ผิดขนาดของยา 3) ผิดวิถีทาง เช่น ยาที่ฉดี เข้ากล้ามเนือ้ แต่ฉดี เข้าทางหลอดเลือดดา 4) ผิดกาหนดเวลา เช่น ยาก่อนอาหารแต่ให้หลังอาหาร 5) ผิดตัวผู้ป่วย 6) ลืมให้ยา 1.2 การปฏิบัตพิ ยาบาลแก่ผู้ป่วย การปฏิบัติการพยาบาลที่ถือว่าเป็นความผิดอันอาจก่อหรือ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย มีดังนี้ 1.2.1 ปฏับติการพยาบาลผิดเทคนิค เชน การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพกผิดวิธีและเกิด อันตรายแก่ sciatic nerve 1.2.2 ปฏิบัติการพยาบาลแก่ผู้ป่วยผิดคน 1.2.3 ปฏิบัติการพยาบาลผิดแผนการรักษา เช่น ผิดกาหนดเวลา 1.2.4 ลืมปฏิบัติการพยาบาล

32


1.3 ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ การปฏิบัติทถี่ ือว่าเป็นความผิด มีดังนี้ 1.3.1 ความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ อันอาจก่อหรือก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย ได้แก่ 1) รับคาสั่งการรักษาผิด 2) ออกคาสั่งผิด 3) ทอดทิ้งผู้ป่วย เช่น ไม่สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย 1.3.2 ความบกพร่องในจรรยาวิชาชีพ 1) ประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นเหตุให้เสื่อมเสียอย่างร้ายแรงต่อวิชาชีพ 2) เปิดเผยความลับของผู้ป่วยอันอาจก่อหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วยหรือกระทาตามกฏหมาย 3) รายงานเท็จ ข้อ 2 เหตุแห่งการกระทาความผิด 2.1 การกระทาใดๆ ที่นักศึกษากระทาลงไป โดยต้องการให้เกิดผลร้ายต่อผู้ป่วยไม่ว่าผู้ป่วย จะ ได้รบั ผลกระทบนั้นหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าการกระทานั้นเป็นการกระทาโดยเจตนา 2.2 การกระทาใดๆ ทีน่ ักศึกษากระทาลงไป โดยขาดความรอบคอบ ระมัดระวังสมควร ทัง้ ที่ ทราบข้อเท็จจริงอยู่ว่าการกระทานั้นต้องใช้ความรอบคอบมิฉะนั้นผู้ป่วยอาจได้รบั อันตราย ให้ถือว่า กระทานั้นเป็นการกระทาผิดโดยประมาท เลินเล่อ ขาดความตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และขาดความสนใจ 2.3 การกระทาใดๆ ทีน่ ักศึกษากระทาลงไป โดยไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นหรือมีความรู้ไม่เพียงพอ ให้ถือว่าการกระทานั้นเป็นการกระทาความผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ 2.4 การกระทาใดๆ ที่นักศึกษากระทาลงไปโดยไม่ทราบหรือไม่อาจทราบถึงข้อเท็จจริงว่าเป็น ความผิด เช่น ให้เลือดผิดหมู่ เพราะความบกพร่องของทางห้องเลือดที่เขียนสลากหมูเ่ ลือดผิด ให้ถือว่า การกระทานั้นเป็นการกระทาที่เกิดจากเหตุสุดวิสัย ข้อ 3 ผลของการกระทาความผิด 3.1 อาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทีจ่ ะถือว่าเป็นผลจากการกระทาความผิดของนักศึกษา ให้ถือ ตามการวินิจฉัยของแพทย์และให้เรียงลาดับความรุนแรงของอาการผิดปกติไว้ดงั ต่อไปนี้ 3.1.1 ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงผิดปกติ 3.1.2 มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ไม่สาหัส 3.1.3 มีอาการสาหัส 3.1.4 พิการ 3.1.5 ถึงแก่กรรม

33


3.2 ความบกพร่องในจรรยาวิชาชีพถือว่าเป็นผลจากการกระทาผิดของนักศึกษา ได้แก่ 3.2.1 เกิดความเสื่อมเสียอย่างร้ายแรงต่อวิชาชีพ 3.2.2 เกิดความเสียหายต่อผู้ป่วย ข้อ 4 บทกาหนดโทษ 4.1 โทษสาหรับนักศึกษาที่กระทาผิดตามระเบียบนี้มี 5 สถานะ คือ 4.1.1 ตักเตือน หรือ ตักเตือนและเขียนรายงานการค้นคว้าทางวิชาการ 4.1.2 ภาคทัณฑ์ 4.1.3 ปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานทีฝ่ ึกภาคปฏิบัติตามการตัดสินของคณะกรรมการ 4.1.4 พักการศึกษาไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ 4.1.5 พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 4.2 ลักษณะความผิดและการลงโทษให้เป็นไปตามเอกสารแนบท้ายระเบียบนี้ ข้อ 5 การลดหรือเพิ่มโทษ 5.1 การลดโทษ 5.1.1 เหตุลดโทษ นักศึกษาผู้กระทาผิดโดยไม่เจตนา อาจได้รบั การพิจารณาลด โทษ ในกรณีต่อไปนี้ 1) กระทาผิดเป็นครั้งแรก 2) รีบรายงานความผิดทีเ่ กิดขึ้นแก่อาจารย์ประจาหอผู้ป่วยหรือหัวหน้าเวร 3) มีความประพฤติดี มีความตั้งใจ และสนใจในการปฏิบัติงานมาโดยตลอด 4) รู้สึกผิด และพยายามบรรเทาผลร้ายแห่งความผิดนั้น 5.1.2 เมือ่ ปรากฏว่านักศึกษาทีก่ ระทาผิดมีเหตุลดโทษ ตามข้อ 5.1.3 ถ้าคณะกรรมการ เห็นสมควรจะลดโทษ อาจลดโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่นักศึกษาผู้นั้นได้รับ 5.1.3 การลดโทษให้กึ่งหนึ่ง ได้แก่ 1) ทาทัณฑ์บน ลดเป็นการว่ากล่าวตักเตือน และ/หรือ เขียนรายงาน การค้นคว้าทางวิชาการ 2) ปฏิบัติเพิ่มเติมในสถานที่ฝึกภาคปฏิบัติตามการตัดสินของคณะกรรมการ ลดจานวนวันลงกึ่งหนึ่งของจานวนวันทั้งหมดทต้องปฏิบัติงานเพิ่ม 3) พักการศึกษา 2 ภาคการศึกษาปกติ ลดเป็นปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานทีฝ่ ึก ภาคปฏิบัติตามการตัดสินของคณะกรรมการ 30 วัน 4) พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ลดเป็นการพักการศึกษา 2 ภาคการศึกษาปกติ

34


5.2 การเพิ่มโทษ 5.2.1 เหตุเพิ่มโทษ ได้แก่นักศึกษาผู้กระทาผิด 1) ไม่รายงานความผิดทีเ่ กิดขึ้นจนอาจารย์ประจาหอผู้ป่วยหรือหัวหน้าเวร ทราบเองหรือได้รับรายงานจากผู้อื่น 2) ไม่ส่งรายงานการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการตามคาตัดสินของคณะกรรมการ ภายในเวลาที่กาหนด 3) กระทาความผิดซ้าในเรื่องเดียวกัน 5.2.2 เมือ่ ปรากฏว่านักศึกษาทีก่ ระทาผิดมีเหตุเพิ่มโทษตามข้อ 5.1.6 ให้คณะกรรมการ พิจารณาความผิดของนักศึกษาแล้วเพิ่มโทษขึน้ ตามส่วนแต่ไม่เกินเท่าตัว 5.2.3 การเพิ่มโทษไม่ให้มีการเพิ่มโทษถึงพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาหรือพักการศึกษา 2 ภาคการศึกษาปกติ 5.2.4 การเพิ่มโทษเท่าตัว ได้แก่ 1) ว่ากล่าวตักเตือนและ/หรือเขียนรายงานการค้นคว้าทางวิชาการเพิ่ม เป็น ภาคทัณฑ์ 2) ภาคทัณฑ์ เพิ่มเป็นปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานที่ฝึกปฏิบัติจานวน 5 วัน 3) ปฏิบัติงานเพิ่มเติมในสถานฝึกปฏิบัติตามการตัดสินของคณะกรรมการให้ เพิ่มจานวนวันขึ้นเท่าตัวของจานวนวันทั้งหมดที่จะต้องปฏิบัติงานเพิ่ม ข้อ 6 การปฏิบัติเมือ่ นักศึกษากระทาผิด 6.1 เมือ่ นักศึกษาเตรียมยาผิด ลืมให้ยา ลืมปฏิบัติการพยาบาล ปฏิบัติการพยาบาลผิดเทคนิค รับคาสั่ง/ออกคาสั่งผิด แต่ไม่ทาให้ผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงทีผ่ ิดปกติ กรณีดังกล่าวให้อาจารย์ประจา หอผู้ป่วยใช้ดลุ ยพินิจว่ากล่าวตักเตือน ตัดคะแนนภาคปฏิบัติ เขียนรายงานการค้นคว้าทางวิชาการ และ/ หรือทาบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อรายงานต่อผู้ประสานรายวิชา ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องรีบรายงาน เหตุการณ์ต่ออาจารย์ประจาหอผู้ป่วยและหัวหน้าเวรทันทีที่ทราบว่ามีการผิดพลาดเกิดขึ้น 6.2 เมือ่ นักศึกษาลืมให้ยา ลืมปฏิบัติการพยาบาล โดยผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงทีผ่ ิดปกติ หรือ ให้ยาผิด ปฏิบัติการพยาบาลผิดไปจากแผนการรักษา (ผิดตัวผู้ป่วย ผิดเวลา) บกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งอาจก่อหรือก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย กรณีดังกล่าวให้ปฏิบัติตามลาดับต่อไปนี้ 6.2.1 นักศึกษาต้องรีบรายงานเหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้นต่อหัวหน้าทีม หัวหน้าเวร และ อาจารย์ประจาหอผู้ป่วย

35


6.2.2 อาจารย์ประจาหอผู้ป่วยตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยและให้การช่วย เหลือตามสถานการณ์ทันที แล้วสอบถามรายละเอียดจากผู้ทเี่ กีย่ วข้องเพื่อค้นหาสาเหตุ และป้องกันมิให้ เกิดขึ้นอีก รวมทั้งให้นักศึกษาเขียนบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลาดับและเขียนรายงานทางวิชาการ 6.2.3 นักศึกษาเขียนบันทึกเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ โดยละเอียด ตลอดจนวิเคราะห์ว่า ความผิดนั้นเกิดขึน้ จากสาเหตุใดและจะป้องกันไม่ให้เกิดขึน้ อีกได้อยางไร และเสนอต่ออาจารย์ประจาหอ ผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากเกิดเหตุการณ์ 6.2.4 นักศึกษาต้องเขียนรายงานการค้นคว้าทางวิชาการซึ่งเกี่ยวข้องกับการกระทาผิด นั้นโดยละเอียด เช่น เทคนิคหรือวิธีปฏิบัติทถี่ ูกต้อง สรรพคุณ ผลข้างเคียง ข้อบ่งชี้ ข้อห้ามของการให้ยา ทีน่ ักศึกษาให้ผิด และเสนอรายงานต่ออาจารย์ประจาหอผู้ป่วยภายใน 3 วัน หลังจากเกิดเหตุการณ์ 6.2.5 เมื่ออาจารย์ประจาหอผู้ป่วยได้รับบันทึกเหตุการณ์จากนักศึกษาให้รีบนาเสนอ ต่ออาจารย์ผู้ประสานรายวิชา พร้อมทั้งความคิดเห็นของอาจารย์ประจาหอผู้ป่วยต่อเหตุการณ์นั้น 6.3 อาจารย์ผู้ประสานรายวิชา นาบันทึกเหตุการณ์ของนักศึกษาพร้อมความคิดเห็นของอาจารย์ ประจาหอผู้ป่วยเสนอคณบดีหรือผู้ที่คณบดีได้มอบหมายทันที เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ ต่อไป ข้อ 7 การพิจารณาความผิด 7.1 คณบดีแต่งตั้งคณะกรรมการตามความเหมาะสมโดยให้มีจานวนกรรมการครึ่งหนึ่งไม่เกิน 5 คน และไม่น้อยกว่า 3 คน 7.2 ให้คณะกรรมการที่ได้รบั การแต่งตั้งรีบประชุมเพื่อพิจารณาบันทึกเหตุการณ์ของนักศึกษา และวิเคราะห์ในประเด็นประเภทของความผิด เหตุแห่งการกระทาผิด ความรุนแรงของผลของการกระทา ความผิดทีเ่ กิดขึน้ กับผู้ป่วยและพิจารณาโทษตามเอกสารแนบท้ายระเบียบนี้ 7.3 คณะกรรมการอาจเรียกนักศึกษาผู้เกี่ยวข้องหรือผู้เห็นเหตุการณ์มาสอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ในกรณีทบี่ ันทึกเหตุการณ์ที่อาจารย์ประจาหอผู้ป่วยเสนอผ่านอาจารย์ผู้ประสานรายวิชาไม่ ชัดเจนพอ 7.4 ถ้าผลของการกระทาผิดของนักศึกษาครัง้ เดียวนั้นส่งผลแก่ผู้ป่วยมากกว่า 1 ราย ให้ถือ อาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยรายที่มีอาการหนักที่สุดมาพิจารณาผลของการกระทาความผิดนั้นๆ 7.5 เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาและกาหนดโทษแก่นักศึกษาเรียบร้อยแล้ว ให้ทารายงาน เกีย่ วกับความผิด สาเหตุของการกระทาผิด ผลของการกระทาผิด โทษทีน่ ักศึกษาควรจะได้รบั ขอ เสนอแนะเกีย่ วกับการลดหรือเพิ่มโทษ รวมทั้งเหตุผลการพิจารณาเสนอต่อคณบดี

36


7.6 เมื่อคณบดีได้รบั รายงานจากคณะกรรมการแล้ว ให้นารายงานนั้นเข้าพิจารณาในการ ประชุมคณะกรรมการประจาสานักวิชาเพื่อพิจารณาความผิดและโทษทีน่ ักศึกษาควรได้รบั 7.7 คณะกรรมการประจาสานักวิชา มีอานาจเรื่องการกระทาความผิดของนักศึกษาดังต่อไปนี้ 7.7.1 ส่งให้คณะกรรมการพิจารณาใหม่ในส่วนที่เห็นว่ายังบกพร่อง ซึ่งเป็นสาระสาคัญ ของการพิจารณาโทษ 7.7.2 พิจารณาลดหรือเพิ่มโทษตามที่เห็นสมควร ข้อ 8 อานาจการลงโทษและข้อพึงปฏิบัติในการลงโทษ 8.1 การลงโทษตามข้อ 4.1.1, 4.1.2 และ 4.1.3 ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณบดี ข้อ 4.1.4 ต้องได้รบั การอนุมัตจิ ากคณบดี ส่วนข้อ 4.1.5 นายกสภามหาวิทยาลัยเป็นผู้วินิจฉัยสั่งการ 8.2 การลงโทษนักศึกษาทุกกรณีให้คณะกรรมการจัดทาบันทึกเหตุการณ์และรวบรวมเอกสาร รวมทัง้ มติของคณะกรรมการประจาสานักวิชา ส่งให้งานวินัยนักศึกษาบันทึกประวัติไว้ และคณบดี มอบหมายให้ประธานคณะกรรมการดาเนินงานหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องเป็นผู้แจ้งให้นักศึกษาและผู้ปกครอง ทราบเป็นลายลักษณ์อักษรทราบทุกครั้ง 8.3 ให้คณบดีหรือผู้ที่คณบดีมอบหมายเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ 12 เดือน มิถุนายน พศ. 2551

ลงชื่อ (รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี) รักษาการแทนคณบดี

37


เอกสารแนบทายประกาศสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยแม่ฟา้ หลวง เรื่อง หลักเกณฑ์การกาหนดโทษนักศึกษาทกระทาความผิดขณะศึกษาภาคปฏิบัติ การกาหนดโทษให้พิจารณาถึงองค์ประกอบดังต่อไปนี้ ลักษณะของความผิด 1. ความผิดทุกกรณี

สาเหตุแห่งความผิด เหตุสุดวิสัย

2. ความผิดทุกกรณี

เจตนา

3. ลืมปฏิบัติการพยาบาล ปฏิบัติการพยาบาลผิด เทคนิค ปฏิบัติการพยาบาลผิด แผนการรักษา

รู้เท่าไม่ถึงการณ์

ประมาท เลินเล่อ ขาดความ ตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และ ขาดความสนใจ 4. ลืมให้ยา

รู้เท่าไม่ถึงการณ์

ประมาท เลินเล่อ ขาดความ ตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และ ขาดความสนใจ 5.ให้ยาผิด (ผิดคน ผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ชนด ผิดขนาด ผิดวิธี และ ผิดเวลา)

ประมาท เลินเล่อ ขาดความ ตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และ ขาดความสนใจ

ผลของการกระทาผิด ไม่วาผลของกระทาอยู่ใน ระดับใด ไม่วาผลของกระทาอยู่ใน ระดับใด

การลงโทษ ไม่มีการลงโทษ

พักการศึกษาในภาคการ ศึกษานั้นและภาคการ ศึกษาถัดมาอีก1 ภาค 1. มีอาการเปลี่ยนแปลง แต่ 1. ทาทัณฑ์บน ไม่สาหัส 2. อาการสาหัส 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 3. พิการ 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 15 วัน 4. ถึงแก่กรรม 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 1. มีอาการเปลี่ยนแปลง แต่ 1. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 5 วัน ไม่สาหัส 2. อาการสาหัส 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 3. พิการ 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 25 วัน 4. ถึงแก่กรรม 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 30 วัน 1. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ 1. ทาทัณฑ์บน ไม่สาหัส 2. อาการสาหัส 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 5 วัน 3. พิการ 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 4. ถึงแก่กรรม 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 15 วัน 1. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ 1. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน ไม่สาหัส 2. อาการสาหัส 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 3. พิการ 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 25 วัน 4. ถึงแก่กรรม 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 30 วัน 1. ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงที่ 1. ทาทัณฑ์บน ผิดปกติ 2. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 5 วัน ไม่สาหัส 3. อาการสาหัส 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 4. พิการ 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 15 วัน 5. ถึงแก่กรรม 5. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 1. ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงที่ 1. ทาทัณฑ์บน ผิดปกติและเป็นยาที่ไม่ อันตราย 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 5 วัน

38


ลักษณะของความผิด

6. มีความบกพร่องใน การฏิบัติหน้าที่อันก่อ ให้เกิด อันตรายต่อผู้ป่วย - รับคาสั่งการรักษาผิด - ออกคาสั่งการรักษาผิด - ทอดทิ้งผู้ป่วย

สาเหตุแห่งความผิด

ผลของการกระทาผิด 2. ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงที่ ผิดปกติแต่เป็นยาอันตราย 3. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ ไม่สาหัส 4. อาการสาหัส 5. พิการ 6. ถึงแก่กรรม รู้เท่าไม่ถึงการณ์ 1. ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงที่ ผิดปกติ 2. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ ไม่สาหัส 3. อาการสาหัส 4. พิการ 5. ถึงแก่กรรม ประมาท เลินเล่อ ขาดความ 1. ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงที่ ตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และ ผิดปกติ ขาดความสนใจ 2. มีอาการเปลี่ยนแปลงแต่ ไม่สาหัส 3. อาการสาหัส 4. พิการ 5. ถึงแก่กรรม ประมาทเลินเล่อ ขาดความ ตั้งใจ ขาดการเอาใจใส่ และ ขาดความสนใจ

7. มีความบกพร่องใน จรรยาวิชาชีพ - เปิดเผยความลับของ ผู้ป่วยอันก่อให้เกิดหรือ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ขาดการเอาใจใส่และขาด ผู้ป่วย ความสนใจ - ประพฤติตนไม่เหมาะสม เป็นเหตุให้เกิดความเสื่อม เสียอย่างร้ายแรงต่อ วิชาชีพ

39

การลงโทษ 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 5. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 25 วัน 6. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 25 วัน 1. ทาทัณฑ์บน 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 5 วัน 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 15 วัน 5. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 1. ทาทัณฑ์บน 2. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 10 วัน 3. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 20 วัน 4. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 25 วัน 5. ฝึกปฏิบัติเพิ่ม 30 วัน ปฏิบัติงานเพิ่ม 5 วัน และ ตัดสิทธิ์การได้รับรางวัลทุก ประเภทและ/หรือ ทุนการศึกษา ปฏิบัติงานเพิ่ม 30 วัน จนถึงพ้นสภาพการเป็น นักศึกษา ตามความรุนแรง ของความผิดและตัดสิทธิ์ การได้รับรางวัลทุกประเภท และ/หรือทุนการศึกษา


ประกาศสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เริ่อง การลาป่วยและลากิจของนักศึกษา ---------------------------------เพื่อให้เป็นไปตามความในระเบียบมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงว่าด้วยการศึกษาขัน้ ปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ข้อที่ 17 การลาเรียน ทัง้ การลาป่ายและลากิจในระหว่างเรียนให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้สอน สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจึงขอออกประกาศเรื่องการลาป่วยและลากิจของ นักศึกษา ดังต่อไปนี้ การลาป่วย 1. หากเจ็บป่วยขณะอยู่ในมหาวิทยาลัยและไม่สามารถเขาเรียนได้ ให้แจ้งอาจารย์ทปี่ รึกษาและ อาจารย์ผู้สอนชั่วโมงที่ขาดเรียน/อาจารย์ประจาชั้นทันที เขียนใบลาตามแบบใบลาป่วยส่งอาจารย์ผู้สอน รายวิชาทีข่ าดเรียนและรับผิดชอบติดตามการเรียนการสอนในรายวิชาทีข่ าดเรียน 2. หากเจ็บป่วยขณะทีน่ ักศึกษาอยู่ที่บ้านและไม่สามารถเข้าเรียนได้ ให้ผู้ปกครองรีบแจ้งอาจารย์ที่ ปรึกษา/อาจารย์ประจาชั้น และเขียนใบลาตามแบบใบลาป่วยส่งอาจารย์ผู้สอนชั่วโมงที่ขาดเรียนทันทีที่กลับ เข้ามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงและรับผิดชอบติดตามการเรียนการสอนในรายวิชาที่ขาดเรียน 3. หากเจ็บป่วยในระยะฝึกปฏิบัติงานในสถานพยาบาลและไม่สามารถฝึกปฏิบัติได้ให้แจ้งอาจารย์ ประจาหอผู้ป่วยหรืออาจารย์ผู้ประสานรายวิชาทราบทันทีและเขียนใบลาป่วยตามแบบใบลาป่วยส่งอาจารย์ ประจาหอผู้ป่วยฯ กรณีทฝี่ ึกปฏิบัติประสบการณ์ไม่ครบตามข้อกาหนดในรายวิชานั้น เนื่องจากเหตุการลาต้อง ฝึกชดเชยในภายหลงโดยประสานกับอาจารย์ประจาหอผู้ป่วยฯ ทีข่ าดการฝึกปฏิบัติงาน

40


การลากิจ สานักวิชาพยาบาลศาสตร์ถือว่า นักศึกษาไม่ควรมีกิจธุระที่ทาให้ต้องขาดการเรียนหรือการฝึก ปฏิบัติงานใดๆ ให้ลากิจ นอกจากกรณีจาเป็นเท่านั้น เช่น บิดา มารดา ซึ่งเป็นญาติสายตรงป่วยหนักหรือ เสียชีวิต ซึ่งจะพิจารณาตามควรแก่กรณี วิธีปฏิบัติ 1. การลากิจจะต้องได้ส่งใบลากิจล่วงหน้าอย่างน้อย 2 วัน ยกเว้นกรณีที่มีเหตุการณ์ฉุกเฉินกะทันหัน ให้แจ้งอาจารย์ทปี่ รึกษา/อาจารย์ผู้ประสานรายวิชาทันที 2. กรณีทมี่ ีเหตุการณ์ฉุกเฉินกะทันหัน ให้แจ้งอาจารย์ทปี่ รึกษา/อาจารย์ผู้ประสานรายวิชาเพื่อขอ อนุมตั ิเป็นเบื้องต้นและต้องดาเนินการในข้อ 2 ทันทีทกี่ ลับจากลากิจ 3. ช่วงเวลาที่ได้รบั อนุมัตใิ ห้ลากิจ นักศึกษาจะต้องรับผิดชอบติดตามการเรียนการสอนภาคทฤษฎี และกรณีทฝี่ ึกปฏิบัติประสบการณ์ไม่ครบตามข้อกาหนดในรายวิชานั้นอันเนื่องมาจากเหตุการลาต้องฝึก ชดเชยในภายหลัง โดยประสานกับอาจารย์ประจาหอผู้ป่วยฯ ทีข่ าดการฝึกปฏิบัติงานเพื่อวางแผนการฝึก ปฏิบัติชดเชยในสวนที่ขาดก่อนหรือทันทีที่กลับจากการลากิจนั้น หมายเหตุ การลากิจหรือลาป่วยอาจทาให้เวลาเรียนหรือการฝึกปฏิบัติไม่เพียงพอตามลักษณะกระบวน รายวิชาซึ่งจะส่งผลให้ไม่มสี ิทธิ์ในการสอบ โดยต้องมีเวลาเรียนหรือฝึกปฏิบัติร้อยละ 80 ทัง้ นี้นักศึกษาต้อง ได้รบั ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติครบตามข้อกาหนดของแต่ละรายวิชา

ประกาศ ณ วันที่ 12 เดือน มกราคม พศ. 2554

ลงชื่อ (รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี) คณบดี

41


แบบใบลาป่วย/ลากิจ สาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันท..............เดือน...........................พ.ศ.................... เรื่อง ขออนญาตลา.............................. เรียน ................................................... ข้าพเจ้านาย/นางสาว.......................................................................................... นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้นปีท.ี่ ....... โดยมีอาจารย์ทปี่ รึกษาคือ.............................................................. มีความประสงค์ขอลา (

) ลากิจ เนื่องจาก.......................................................................................................................

(

) ลาป่วย เนื่องจากอาการ/โรค...................................................................................................

โดย ( ) ไม่ได้รบั การตรวจจากแพทย์ ( ) ได้รบั การตรวจรักษาจากแพทย์และให้หยุดพักรักษาตัว.....................................................วัน จึงขออนญาตลา..............มีกาหนด...........วัน ตั้งแต่วันที…่ …....เดือน..............................พ.ศ............ ถึงวันที.่ ....เดือน......................พ.ศ.............................พร้อมกันนี้ได้แนบเอกสารประกอบการพิจารณาคือ .......................................................................................มาด้วยแล้ว ในระหว่างการลาสามารถติดต่อข้าพเจ้าได้ทบี่ ้านเลขที่..............หมู่……..........ถนน……………….................. ตาบล.............................อาเภอ.......................................จังหวัด...............................โทรศัพท์..................... ขอแสดงความนับถือ ..................................................... (.....................................................)

ลงชื่อ

เรียน คณบดี ............................................................................................................................. .................... ลงชื่อ..................................................... (.....................................................) อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ประจาหอผู้ป่วย (......) อนุญาติ (......) อื่น ๆ ระบุ........................................................................ ลงชื่อ......................................................... (.................................................................) คณบดี

42


แบบรายงานการขาดเรียน/ขาดการฝึกปฏิบัติโดยไม่แจ้ง สาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที.่ ...................เดือน.................................พ.ศ.................... เรื่อง รายงานการขาดเรียน/ขาดการฝึกปฏิบัติโดยไม่แจ้ง เรียน ...................................................................... ข้าพเจ้านาย/นางสาว............................................................................ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้นปีท.ี่ ....... โดยมีอาจารย์ทปี่ รึกษาคือ................................................... ได้ ขาด เรียน/ฝึกปฏิบัติงาน โดยไม่ได้แจ้งอาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ประจาหอผู้ป่วย ในระหว่าง วันที่ .............เดือน......................พ.ศ............ ถึงวันที.่ ....เดือน.....................พ.ศ............ โดยสาเหตุทขี่ าด เรียน/ขาดการฝึกปฏิบัติโดยไม่แจ้งตามประกาศสานักวิชาฯ เนื่องจาก ................................................................................................................................................................ ..... .....................................................................................................................................................................

ขอแสดงความนับถือ ลงชื่อ..................................................... (.....................................................) เรียน คณบดี .................................................................................................................................................................. ลงชื่อ..................................................... (.....................................................) อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ประจาหอผู้ป่วย เรียน ประธานคณะกรรมการพิจารณาวินัยนักศึกษา ................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................... (.................................................................) คณบดี 43


ภาคผนวก ก สัญลักษณ์มหาวิทยาลัย และสานักวิชาพยาบาลศาสตร์


ตราสัญลักษณ์

อักษรพระนามาภิไธยย่อของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี บนพื้นสีทองอักษรย่อ ส. สีแดง และ ว. สีขาว อันเป็นเครื่องหมายแห่งความจงรักภักดีของประชาชน บุคลากร และ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่มีต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและความเป็นสิริมงคล เลข ๘ และ ๙ สีทอง ประกอบตราสัญลักษณ์ ประดิษฐานภายใต้ฉัตรเจ็ดชั้นสีทอง อยู่เหนือ คาว่ามหาวิทยาลัยและแม่ฟ้าหลวง หมายถึง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเป็นพระ ราชชนนีของพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ดอกไม้ (ดอกลาดวน) ความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยที่จะพัฒนาและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของปวงชนอย่างต่อเนื่อง

สีประจามหาวิทยาลัย สีแดง หมายถึง องค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สีทอง หมายถึง ความรุ่งเรืองของมหาวิทยาลัยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

44


ดอกไม้ประจามหาวิทยาลัย

ดอกไม้ประจามหาวิทยาลัย คือ ดอกหอมนวล (ลาดวน) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Melodorum Fruticosum Lour.

ลายตุงประจามหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวงได้ น าแถบประดั บ ตุ ง อั น เป็ น เครื่องหมายแห่งชัย ชนะและความเป็ นสิ ริม งคลอั นสู ง ยิ่ ง มา ประดั บ ไว้ ที่ แ ถบครุ ย วิ ท ยฐานะของมหาวิ ท ยาลั ย ในแถบตุ ง ประกอบด้วย ลายประสาท หมายถึง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลายหนู หมายถึง ปีประสูติของสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีซึ่งตรงกับปีพ.ศ. 2443 ลายพญานาค หมายถึง สัตว์ที่ปรากฏในศิลปวัฒนธรรม ล้า นนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตามตานานกล่า วถึงว่าเป็ น สั ต ว์ ที่ พิทักษ์พระพุทธศาสนา ลายเสือ หมายถึง ปีก่อตั้งมหาวิทยาลัยซึ่งตรงกับปีขาล พ.ศ. 2541

45


ดอกปีบสัญลักษณ์พยาบาลไทย สภาการพยาบาลได้ กาหนดให้ใช้ "ดอกปีบ" เป็น สัญลักษณ์ข องพยาบาลไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เนื่องจาก "ดอกปีบ" เป็นดอกไม้สีขาวที่มี กลิ่นหอม ต้นปีบเป็นไม้ยืนต้นขึ้นได้ในที่ดินแห้งแล้ง ราก ล าต้ น และดอกใช้ เ ป็ น สมุ น ไพรได้ เปรี ย บกั บ พยาบาลในชุดสีข าวผู้พ ร้อ มที่จ ะประกอบคุ ณ งาม ความดี ประดุจ กลิ่นหอมของดอกปีบ และพร้อมที่ สร้างประโยชน์เช่นเดียวกับการเป็นสมุนไพรของ "ดอกปีบ"

ดอกปีบทอง (กาสะลองคา) ดอกไม้ประจาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ ปีบทอง (กาสะลองคา) เป็นดอกสีเหลือง อมส้ม หรือสีส้ม ออกดอกกระจุกตามกิ่ง และลาต้น ต้นปีบทองเป็นไม้ยืนต้นที่ปลูก ง่าย ทนทาน เจริญเติบโตได้ดีในทุกพื้นที่ เปรียบกับพยาบาลแม่ฟ้าหลวงที่เข้ม แข็ ง อดทน มีความสามั คคี และพร้อมให้การ บริการพยาบาลแก่ผู้รับบริการและสังคม

46


เพลงมาร์ชพยาบาล คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลย์สงคราม ทานอง เอื้อ สุนทรสนาน อันความกรุณาปราณี หลั่งมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ ข้อความนี้องค์พระธีรราชเจ้า ใช้คุณค่ากรุณาไว้อาจิณ * อันพวกเราเหล่านักเรียนพยาบาล เรียนวิชากรุณาช่วยปวงชน แม้โรคร้ายจะแพร่พิษถึงปลิดชีพ ยอมเหนื่อยยากตรากตราใจสาราญ

จะมีใครบังคับก็หาไม่ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน ธ โปรดเกล้าฯ ประทานให้ใจถวิล ดั่งวารินจากฟ้าสู่สากล ปณิธานอนุกูลเพิ่มพูนผล ผู้เจ็บไข้ได้พ้นทรมาน จะยึดหลักดวงประทีปคือสงสาร อุทิศงานเพื่อคนไข้ทั้งใจกาย (ซ้า*)

หมายเหตุ คาร้องในท่อนแรก เป็นพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6

47


ภาคผนวก ข องค์กรวิชาชีพพยาบาล


องค์กรวิชาชีพการพยาบาล สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ (The Nurses’ Association of Thailand) สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็น องค์กรหลักในการดูแลและพิทักษ์สิทธิประโยชน์ของ ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและเพื่อเป็นองค์กรที่เป็น ศูนย์กลางองค์ความรู้ในระดับสากล (http://thainurse.org)

สภาการพยาบาล (Thailand Nursing Council) แท่นวงกลม หมายถึง การรวมพลังเป็นปึกแผ่นและ ความยุติธรรม ตะเกียงไนติงเกล หมายถึง ความเมตตา เปลวไฟ หมายถึง ความรุ่งโรจน์ พ.ศ. 2528 หมายถึง ปี พ.ศ. ที่จัดตั้งสภาการ พยาบาล สภาการพยาบาลเป็นองค์กรวิชาชีพที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุง-ครรภ์ พุทธศักราช 2528 ซึ่งได้ออกประกาศในราชกิจจา นุเบกษาฉบับพิเศษ เล่ ม102 ตอนที่ 120 วันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2528 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2528 สภาการพยาบาล มีบทบาทต่อวิชาชีพ 2 ด้าน คือ 1) ด้านการคุ้มครองผู้ใช้บริการจากผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์และ 2) ด้านการคุ้มครองผู้ประกอบวิชาชีพ ในปี พ.ศ. 2540 ได้มีการออกพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2540 เพื่อปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติวิชาชี พ การ พยาบาลและการผดุง ครรภ์ พ.ศ. 2528 และได้ป ระกาศในราชกิจ จานุเ บกษาฉบั บ

48


กฤษฎีกา เล่ม 114 ตอนที่ 75 ก เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2540 มีผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ที่สาคัญหลายประการ ได้แก่ การกาหนดให้ผู้สาเร็จการศึกษาพยาบาลที่จะขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตจะต้อง สอบความรู้ผ่านตามเกณฑ์ที่สภาการพยาบาลกาหนด และการกาหนดอายุใบอนุญาต ให้ มี อ ายุ 5 ปี ทั้ ง พยาบาลและผดุ ง ครรภ์ ที่ ข อขึ้ น ทะเบี ย นรั บ ใบอนุ ญ าตใหม่ และ พยาบาลและผดุงครรภ์ รุ่นเก่า ที่เ คยมี ใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะหรือใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพฯ อยู่เดิมที่ไม่ได้กาหนดวันหมดอายุเอาไว้ว่า ใบอนุญาตจะต้องต่ออายุ ทุก 5 ปี (http://www.tnc.or.th)

49


ภาคผนวก ค เครื่องแต่งกายนักศึกษา


1

50

Jens Martensson


2

51

Jens Martensson


3

52

Jens Martensson


4

53

Jens Martensson


Jens Martensson


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.