Full Proceeding MFU HS Research 2020

Page 1



The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คำนำ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันการศึกษาที่พัฒนาองค์ความรู้ในรูปแบบของสห สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม และ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาที่มีศักยภาพ นอกจากนี้สำนัก วิชาฯ ได้พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อนำไปใช้พัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคมตามมาตรฐาน วิชาชีพ ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต รวมถึง การเตรียมความพร้อมเพื่อเป็น ส่วนหนึ่งของประชาคมโลกในระยะเวลาอันใกล้ และการก้าวสู่ยุคของ Thailand 4.0 สอดคล้องกับปรัชญาของสำนักวิชาฯ ที่มุ่งมั่น เป็นสถาบันผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรมซึ่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สาธารณชนระดับชาติและนานาชาติ สืบเนื่องจากหลั กการดังกล่าวข้างต้น สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ร่วมกับสภาการ สาธารณสุขชุมชน การกีฬาแห่งประเทศไทย สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และ องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) จัดให้มีโครงการประชุมวิ ชาการระดับชาติงานวิจัยและนวัตกรรมทางด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2563 (ครั้งที่ 2) ภายใต้หัวข้อ “การปรับเปลี่ยนความรู้สู่ยุคประเทศไทย 4.0” เพื่อเป็นเวทีในการ เผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมตลอดจนส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มสังคมนักวิชาการ และนัก วิชาชีพ นักศึกษา บัณฑิต และผู้ที่สนใจ รวมถึงเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพทั้งภาครัฐภาคเอกชน อันจะนำไปสู่การพัฒนางาน วิชาการและงานบริการด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยั่งยืนต่อไป การจัดทำ Proceeding ในครั้งนี้ ทางผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิ ดประโยชน์กับนักวิชาการ นักวิชาชีพ นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจทุกท่าน

1


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สารบัญ รายการ รายละเอียดโครงการ กำหนดการงานประชุมวิชาการ กำหนดการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่า กองบรรณาธิการจัดทำหนังสือสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ประสิทธิผลของเบาะรองนั่งเพื่อลดความสั่นสะเทือนของกลุ่มพนักงานขับรถยกชนิดนั่งขับ ในท่าเรือแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาระดับซีเทอมินอลเทโลเปปไทด์ของคอลลาเจนชนิดที่หนึ่งในน้ำลายผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกร ตายจากการใช้ยา การปนเปื้อนของสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น เครือ่ งเล่น และสีทาผนังห้องเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จากของเสีย การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำส้มสายชูและน้ำมะกรูดในการลดปริมาณ Escherichia coli ที่ ปนเปื้อนในผักกาดหอม Ammonia Removal from Chicken Manure by Using Air Stripping Process การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ประโยชน์ของโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับประชาชนทั่วไปที่มาตรวจสุขภาพที่ โรงพยาบาลศิริราช ปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศภายในแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร ผลของการพัฒนาระบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผูส้ ูงอายุ ในพื้นที่ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัด สมุทรสงคราม การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและคุณภาพน้ำดื่มสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัด เชียงราย การศึกษาการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสียอุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs ภาวะซึมเศร้าของผูม้ ารับบริการคลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลกระทุม่ แบนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

หน้า i - iii iv - v vi – ix x - xi 1-13 14-15 26-35 36-45 46-53 54-59 60-70 71-81 82-90 91-101 102-112 113-121 122-131 132-142 143-154 155-161

i


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

รายการ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก Epidemiology and trend of needle stick injuries among nursing students in China: A systematic review แนวคิดการจัดการที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมและการพัฒนารูปแบบสำหรับผูส้ ูงอายุ ชนชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเชียงราย การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวรยางค์บนของการเต้นจะคึเผ่าลาหู่ ปัจจัยส่วนประสมการตลาด 4C’s ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชน ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี ผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อคุณภาพชีวิต ในผู้สงู อายุ การศึกษาระดับความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาของสื่อสุขภาพในสถานบริการสุขภาพ คุณภาพชีวิตของประชาชน: กรณีศึกษาลุ่มน้ำยมตอนบน ความรู้ การรับรูเ้ รื่องฉลากโภชนาการและการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุ จังหวัด อุบลราชธานี การมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ 9 บ้านควน ยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ความชุกและความสัมพันธ์ของแบบแผนการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภายหลังการเล่นกีฬาฟุตบอลเพศ ชายเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนามาตรการป้องกัน ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ รูปแบบที่ดีในการประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติที่ไม่มี MOU : กรณีศึกษา M-Fund

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

หน้า 162-169 170-182 183-188 189-197 198-210 211-218 219-228 229-246 247-258 259-268 269-280 281-291 292-299

ii


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เกี่ยวกับการประชุม สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ในฐานะของสถาบันการศึกษาที่เห็นถึงความสำคัญของการ พัฒนาองค์ความรู้ในรูปแบบของสหสาขาวิชา อันประกอบด้วย สาธารณสุขศาสตร์ วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ อนามัย สิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทั้งระดับปริญญาบั ณฑิตและบัณฑิตศึกษาออกมารับใช้สังคมและประชาชน เกี่ยวกับสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นองค์กรที่พัฒนาและนำองค์ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพไปใช้พัฒนาสังคม ทั้ง ด้านงานวิจัยและด้านงานบริการต่อการพัฒนาคุณภาพวิชาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งที่ผ่านมาสำนักวิช าวิทยาศาสตร์ สุขภาพมีเอกลักษณ์ของสำนักวิชาคือการขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชน โดยสอดคล้องกับปรัชญาของสำนักวิชาที่มุ่งมั่นเป็นสถาบันผลิต บัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรมซึ่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ สาธารณชนระดับชาติและนานาชาติ เป็นองค์กรที่พัฒนาและนำองค์ ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพไปใช้พัฒนาสังคม และเป็นองค์กรที่มีความสุขอย่างมีดุลยภาพ ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลงของ สังคม และบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล กอปรกับปีนี้เป็นปีที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้มีทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อ ยกระดับการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพให้ได้รับการพัฒนาไปให้ถึงจุดสูงสุดของมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต รวมถึงการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลกในระยะเวลาอันใกล้ และการก้าว สู่ยุคของ Thailand 4.0 โดยต้องกำหนดรูปแบบและวิธีการดำเนินการที่มีความเหมาะสมกับความเป็นสังคมโลกอย่างแท้จริง สืบเนื่องจากหลักการดังกล่าวข้างต้น สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ร่วมกับสภาวิชาชีพ สาธารณสุขชุมชน การกีฬาแห่งประเทศไทย องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) และสมาคมอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยในการทำงาน จึงได้จัดให้มีโครงการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 2 สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ประจำปี 2563 ภายใต้หัวข้อ “The 2nd National Conference on Health Sciences Research and Innovation: Knowledge Transformation towards Thailand 4.0” เพื่อเป็ นเวทีในการนำเสนอผลงานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมถึงเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ และยังเป็นการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน อันจะนำไปสู่การพัฒนางานวิชาการและงานบริการด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยั่งยืนต่อไป สถานบัน/หน่วยงานจัดการประชุม 1. สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2. สภาวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน 3. การกีฬาแห่งประเทศไทย 4. องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) 5. สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน

i


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผู้สนับสนุน 1. บริษัทเคโมซายเอ็น ประเทศไทย จำกัด 1. บริษัท สิงห์ปาร์ค เชียงราย จำกัด 2. ศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ สถานทีจ่ ัดงาน ณ อาคารพลเอกสำเภา ชูศรี (E4) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย 16-17 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 8.00 – 16.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุม ผู้ปฏิบัติงานทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณาจารย์ นักศึกษา และผู้ที่สนใจจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมจำนวน 200 คน รูปแบบการประชุม 1. การบรรยายพิเศษโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิรับเชิญ 2. การนำเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายและแบบโปสเตอร์ 3. การนำเสนอนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ หัวข้อการนำเสนอผลงานวิชาการ 1. Medical Sciences 2. Movement Sciences and Therapy 3. Health Science 

Environmental Health

Occupational Health and Safety

Community Health/Public Health

Infectious and Non-infectious Diseases

Health Behavioral and Health Promotion

Health Administration and Economics

Border Health

 Mental Health 4. Health Innovations

ii


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กำหนดการลงทะเบียน และส่งผลงานวิชาการ กิจกรรม 1. เปิดรับบทความวิจยั (บทคัดย่อ และ/หรือ บทความวิจัยฉบับเต็ม) 2. แจ้งผลการพิจารณาบทความวิจัยเพื่อการแก้ไข 3. วันสุดท้ายของการส่งบทความฉบับแก้ไข 4. การชำระค่าลงทะเบียน

5. การประชุมวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินการ บัดนี้ถึง วันที่ 15 มกราคม 2563 ภายในวันที่ 15 มกราคม 2563 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 บัดนี้ถึงวันที่ 17 มกราคม 2563 (16 - 17 มกราคม 2563 ชำระค่าลงทะเบียน ณ งาน ประชุมฯ) วันที่ 16-17 มกราคม 2563

อัตราค่าลงทะเบียน ประเภทของผู้เข้าร่วมงาน

ระยะเวลาที่ลงทะเบียน ก่อนวันที่ 5 ธันวาคม 2562 หลังวันที่ 5 ธันวาคม 2562

1. อาจารย์ / นักวิชาการ / บุคคลทั่วไป - นำเสนอผลงาน 1,800 2,000 - ไม่นำเสนอผลงาน 1,500 1,800 2. นักศึกษา 1,000 1,500 หมายเหตุ 1. อาจารย์ / นักวิชาการ / บุคคลทั่วไป กรณีส่งผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมมากกว่า 1 เรื่อง อัตราค่าลงทะเบียนเรื่องถัดไป เรื่อง ละ 1,500 บาท 2. การชำระเงินค่าลงทะเบียนโดยโอนผ่านทางบัญชีธนาคารจะเปิดรับถึงภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้หากต้องการชำระ ค่าลงทะเบียนภายหลังวันดังกล่าว กรุณาชำระค่าลงทะเบียนด้วยเงินสด ณ จุดลงทะเบียน ในวันงานประชุมวิชาการ

iii


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กำหนดการ งานประชุมวิชาการระดับชาติงานวิจัยและนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2563 (ครั้งที่ 2) ภายใต้หัวข้อ “การปรับเปลี่ยนความรู้สู่ยุคประเทศไทย 4.0” วันที่ 16-17 มกราคม พ.ศ. 2563 ณ อาคารพลเอก สำเภา ชูศรี (E4) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ********************************** วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563 08.00 - 09.00 น. 09.00 - 09.15 น. 09.15 - 09.45 น. 09.45 - 10.45 น.

10.45 - 11.00 น. 11.00 - 12.00 น.

12.00 - 13.00 น. 13.00 - 15.00 น. 15.00 - 16.00 น.

ลงทะเบียน พิธีเปิดและกล่าวต้อนรับ โดย อธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “มุมมองการพัฒนาวิทยาศาสตร์สุขภาพในอนาคต” โดย อธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง สภาการสาธารณสุขชุมชน : ทิศทางการพัฒนาวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดย ผู้แทนจาก ● ดร.ปริญญา จิตอร่าม กรรมการสภาการสาธารณสุขชุมชน พักรับประทานอาหารว่าง (ในห้องประชุม) อภิปรายพิเศษ หัวข้อ “อนาคตและความท้าทาย มุมมองการข้ามพรมแดนกับสุขภาพข้ามแดน ในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง” Transboundary to Border Health among GMS Countries; Forward and Challenge นำการอภิปรายโดย ● คุณพิมณฑิพา มาลาหอม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ● อาจารย์ ดร. พิษณุรักษ์ กันทวี สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พักรับประทานอาหารกลางวัน นำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายและนำเสนอผลงานนวัตกรรม นำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ และพักรับประทานอาหารว่าง

iv


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 09.00 - 11.00 น.

ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “ศาสตร์ฮวงจุ้ยและการประยุกต์ใช้เพื่อสันติสขุ ในชีวิต” โดย ดร.ธรรมวัฒน์ อุปวงษาพัฒน์ 11.00 -12.00 น. ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “Action Research for Community Development in Thailand 4.0” โดย ศาสตราจารย์ ดร.เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 11.00 - 12.00 น. นำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายและนำเสนอผลงานนวัตกรรม 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. พิธีมอบเกียรติบตั รและพิธีปิด *กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง

v


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กำหนดการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่า ห้องย่อยที่ 1: วิทยาศาสตร์สุขภาพ ห้อง: E4A-507 16 มกราคม 2563 ประธาน: อาจารย์ ดร.ภมรศรี ศรีวงศ์พันธ์ รองประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ กรรมการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ตรงสกุล เวลา ชื่อผู้นำเสนอ ชื่อเรื่อง 13:30-13:45 นิโลบล เอี่ยมเย็น การเปรียบเทียบประสิทธิผลของคลอเฮกซิดีน กลูโคเนต และโพวิโดนไอโอดีนในการทำ ความสะอาดลิ้นสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง 13:45-14:00 ณัฏฐธิดา จันทศิลา ผลการลดเชื้อแบคทีเรียบนลิ้นโดยการใช้โพวิโดนไอโอดีนในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะปาก แห้ง 14:00-14:15 สมตระกูล ราศิริ คุณภาพชีวิตของประชาชน: กรณีศึกษาลุ่มน้ำยมตอนบน 14:15-14:30 เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง ภาวะซึมเศร้าของผู้มารับบริการคลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลกระทุ่มแบนและปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง 14:30-14:45 รัศมี สุขนรินทร์ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 14:45-15:00 สุภา วิตตาภรณ์ รูปแบบที่ดีในการประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติที่ไม่มี MOU : กรณีศึกษา M-Fund 15:00-15:15 พิริยะ แก้วปัญญา The effectiveness of Health Education program to improve health literacy and decrease prediabetes mellitus among Prediabetes mellitus in rong kee village, Pa sang sub district, Mae chan district, Chiang rai province 17 มกราคม 2563 ประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ รองประธาน: อาจารย์ ดร.พีรดนย์ ศรีจันทร์ กรรมการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ตรงสกุล 11:00-11:15 บรรณกร เสือสิงห์ ผลการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 11:15-11:30 มนัสนันท์ มาทอง ความชุกและความสัมพันธ์ของแบบแผนการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภายหลังการเล่น กีฬาฟุตบอลเพศชายเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนามาตรการป้องกัน 11:30-11:45 วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 11:45-12:00 สิรินันท์ สุวรรณภรณ์ Knowledge, attitude, and practice of dengue prevention among population in Moo 3 Sri Wiang Village, Wiang Chai District, Chiang Rai, Thailand.

vi


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ห้องย่อยที่ 2: วิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว ห้อง: E4A-508 16 มกราคม 2563 ประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาริสา ภูมิภาค ณ หนองคาย รองประธาน: อาจารย์ ดร.วิภพ สุทธนะ กรรมการ : อาจารย์ ดร.กรกช จันทร์เสรีวิทยา เวลา ชื่อผู้นำเสนอ ชื่อเรื่อง 13:30-13:45 อรรถพล ปิดสายะ การระบุตำแหน่งระดับจุลภาคของ Vesicular Inhibitory Amino Acid Transporter ในต่อมน้ำลายหลักของหนูไมซ์ 13:45-14:00 เตชภณ ทองเติม SSKRU Muscle Fit Test: ความเที่ยงและความเป็นปรนัยของเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อวัดความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 14:00-14:15 ภานุพงศ์ ภัทรเชาว์ รูปแบบกิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมสมรรภาพทางกายของกลุ่มชนชาติพันธุ์ 14:15-14:30 พลอยไพลิน นามกร การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวรยางค์บนของการเต้นจะคึเผ่าลาหู่ 14:30-14:45 ภาณุพงศ์ อุปละ Factors associated with low-cholinesterase level among the hill tribe agriculturalists, Chiang Rai, Thailand 14:45-15:00 วโรดม เสมอเชื้อ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับดัชนีมวลกายของชาวอาข่าในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

vii


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ห้องย่อยที่ 3: อนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ห้อง: E4A-509 16 มกราคม 2563 ประธาน: อาจารย์ ดร.ไกรลักษณ์ ฟักแก้ว รองประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ นามบุญมี กรรมการ: อาจารย์ ดร.วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก เวลา ชื่อผู้นำเสนอ ชื่อเรื่อง 13:30-13:45 ณัชชา แก้วจันดี Electricity Generation from Wastewater of Chicken Farm 13:45-14:00 ปิยะนุช ยินดีผล การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาล เมืองน่าน จังหวัดน่าน 14:00-14:15 สุดารัตน์ พูนศรี Ammonia Removal from Chicken Manure by Using Air Stripping Process 14:15-14:30 DONGYANG-WANG Prevalence of needle stick injuries among nursing students in China: A systematic review 14:30-14:45 ศิรประภา สินใจ ประสิทธิผลของเบาะรองนั่งเพื่อลดความสั่นสะเทือนของกลุ่มพนักงานขับรถยกชนิด นั่งขับในท่าเรือแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร 14:45-15:00 จิตตราภรณ์ บุญดี ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและคุณภาพน้ำดื่มสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวง จังหวัดเชียงราย 17 มกราคม 2563 ประธาน: อาจารย์ ดร.วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก รองประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ นามบุญมี กรรมการ: อาจารย์ ดร.ไกรลักษณ์ ฟักแก้ว 11:00-11:15 นริศรา เพิ่มพล การศึกษาการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสียอุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs 11:15-11:30 ณัฏฐธิดา พัฒนเจริญ การศึกษาปริมารสารส้มเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำประปาภูเขา ของชาวเขาจังหวัด เชียงราย 11:30-11:45 อารีย์ จอแย ความเครียดที่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพของชาวอาข่า ใน จังหวัดเชียงราย

viii


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ห้องย่อยที่ 4: สุขภาพชนชาติพันธุ์ ห้อง: E4A-518 16 มกราคม 2563 ประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกศมณี มูลปานันท์ รองประธาน: อาจารย์ ดร.ฉัตรชฎา สุตาลังกา กรรมการ: อาจารย์ ดร.พิลาสินี วงษ์นุช เวลา ชื่อผู้นำเสนอ 13:30-13:45 สุภาพันธ์ จันทร์ศิริ

13:45-14:00

เอกลักษณ์ สิทธิพรวรกุล

14:00-14:15

ฟาติมา ยีหมาด

14:15-14:30

อรนลิน สิงขรณ์

14:30-14:45

บุญญาภัทร ชาติพัฒนานันท์

14:45-15:00

วิลาวัณย์ ไชยอุต

ชื่อเรื่อง การพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นเสริมสร้างความรู้และบริการสุขภาพเพื่อป้องกัน การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์สำหรับวัยรุ่นกลุ่มชาติพันธุ์ อาข่า จังหวัดเชียงราย ความน่าเชื่อถือได้ของการประเมินลุกนั่ง 5 ครั้ง ด้วยอุปกรณ์ MFU smart Sit to Stand Test (MFU sSTS) โดยการวัดซ้ำในผู้สูงอายุชาวชนชาติพันธุ์ Public policy development in improving quality of life for the hill tribe elderly population: a community level Prevalence and factors associated with depression among the hill tribe populations in northern, Thailand อุปสรรคในการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินกลุ่มชนชาติพันธุ์ เขตพื้นที่สูง จังหวัด เชียงราย: ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่สุขภาพ แนวคิดการจัดการที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมและการพัฒนารูปแบบสำหรับ ผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเชียงราย

17 มกราคม 2563 ประธาน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกศมณี มูลปานันท์ รองประธาน: อาจารย์ ดร.ฉัตรชฎา สุตาลังกา กรรมการ: อาจารย์ ดร.พิลาสินี วงษ์นุช 11:00-11:15 ศุภลักษณ์ อยู่ยอด Development of multimedia on surveillance and promotion of early childhood development for Akha primary caregivers 11:15-11:30 โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยและการใช้ยาปฏิชีวนะในชนเผ่าลาหู่ที่อาศัย ในพื้นที่ห่างไกล 11:30-11:45 ทรงวุฒิ สังข์บุญ ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจอาสาสมัครสอนสุขศึกษาต่อความรู้เรื่องการ เจ็บป่วยฉุกเฉินในประชาชนกลุ่มชาติพันธุ์ 11:45-12:00 เขมจิรา จามกม วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์เมี่ยน จังหวัดเชียงราย

ix


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กองบรรณาธิการจัดทำรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์.ดร.รัชนี สรรเสริญ

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

บรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.พรรณิภา ดอกไม้งาม

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

คณะกรรมการผู้ประเมินผลงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.อารีวรรณ กลั่นกลิ่น รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริประภา กลั่นกลิ่น รองศาสตราจารย์ ดร.สุนสิ า ชายเกลี้ยง รองศาสตราจารย์ ดร.สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประภาพิมนต์ ปริวัติ

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (เกษียณ) คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย รองศาสตราจารย์ ดร.วีรวัฒน์ ลิ้มรุ่งเรืองรัตน์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา รองศาสตราจารย์ ดร.ไกรชาติ ตันตระการอาภา คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ดนัย บวรเกียรติกลุ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.จินตนา ยาโนละ คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.สุวิทย์ ด้วงมะโน คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร. ธวัชชัย อภิเดชกุล สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.สุภาพร ตรงสกุล สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.โกวิทย์ นามบุญมี สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.มาริสา ภูมภิ าค ณ หนองคาย สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ศศิมา พกุลานนท์ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.วิรยิ ะ มหิกลุ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ดร.จตุพงศ์ สิงหราไชย สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.ภาวินี ชุ่มใจ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.ธีรศักดิ์ บุญวัง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.ไกรลักษณ์ ฟักแก้ว สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.วีรยุทธ สิริรตั น์เรืองสุข สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดร.พิลาสินี วงษ์นุช สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

x


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ดร.กรกช จันทร์เสรีวิทยา ดร.วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก ดร.วิภพ สุทธนะ ดร.พิษณุรักษ์ กันทวี ดร.ภมรศรี ศรีวงค์พันธ์ ดร.พีรดนย์ ศรีจันทร์ ดร.วุฒิชัย นาชัยเวียง ดร.จงกล สายสิงห์ ดร.นิเวศน์ กุลวงค์ ดร.ปวีณ วิยาภรณ์

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

จัดการและจัดพิมพ์รูปเล่มรายงานการประชุม ดร.ปภามญชุ์ ซีประเสริฐ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดพิมพ์โดย สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้น 6-7 อาคาร E3B หมู่1 ต. ท่าสุด อ. เมือง จ. เชียงราย 57100 โทรศัพท์: 053-916-821 โทรสาร: 053-916-821

xi


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ประสิทธิผลของเบาะรองนั่งเพื่อลดความสั่นสะเทือนของกลุม่ พนักงานขับรถยกชนิดนั่งขับ ในท่าเรือแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ศิรประภา สินใจ*1 ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์2 และธีรยุทธ์ เสงี่ยมศักดิ์2 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 ภาควิชาสุขศาสตร์อสุ าหกรรมและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา *Corresponding author E-mail: joysinjai1989@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ: กิจการท่าเรือขนส่งมีรถเครื่องมือทุ่นแรงหลายประเภทตามลักษณะการใช้งาน ผู้ที่ปฏิบัติงานขับรถยกมีโอกาส ได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงานและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น ความสั่นสะเทือน เป็นต้น วัตถุประสงค์: 1. เพื่อ ประเมิ น การรั บ สั ม ผั ส ความสั ่ น สะเทื อ นของพนั ก งานขั บ รถยกของพนั ก งานขั บ รถยกชนิ ด นั ่ งในท่ า เรื อ แห่ งหนึ ่ ง จั งหวั ด กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับความสั่นสะเทือนก่อนหลัง การใช้เบาะรองนั่ง และความสั่นสะเทือนที่ลดลงจากการใช้รูปแบบ 2 เบาะรองนั่ง และเพื่อเปรียบเทียบระดับพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองนั่งทั้ง วิธีวิจัย: งานวิจัยนี้ศึกษาผลก่อนและหลังการ ทดลองผลของการใช้เบาะรองนั่งสำหรับรถยกชนิดนั่งขับ กลุ่มตัวอย่างคือ รถยกขนาดพิกัดน้ำหนัก คัน 28 ตัน จำนวน 5เครื่องมือ ที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และเครื่องวัดความสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย ใช้สถิติ Wilcoxon Signed-Ranks Test ทดสอบความสัมพันธ์ ความสั่นสะเทือนระหว่างก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่ง และเปรียบเทียบความสั่นสะเทือนที่ลดลง ผลการวิจัย: การรับสัมผัส ความสั่นสะเทือนเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความเร่งความสัน่ สะเทือนก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ 1 และ 2 พบว่า ก่อนการใช้ เบาะรองนั่งมีค่าเท่ากับ 2. 42m/s2 หลังใช้เบาะรองนั่งที่ 1 เท่ากับ 2. 03m/s2 หลังใช้เบาะรองนั่ง 2 เท่ากับ 1.89 m/s2 คะแนน เฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้เบาะนั่ง โดยรวมหลังการใช้เบาะรองนั่ง เท่ากับ 2. มีความพึงพอใจต่อเบาะรองนั่งแบบที่ 661 และ แบบที่ 2 โดยรวมระดับปานกลาง อภิ ป รายและสรุ ปผลการวิ จัย : หลังการใช้เบาะรองนั่ งทั้ งสองรูปแบบสามารถลดความ สั่นสะเทือน แต่ยังมีค่าสูงกว่ามาตรฐานกำหนดที่ 0. 5m/s2 อาจมีปัจจัยจากสภาพเครื่องยนต์ของรถยก สภาพพื้นผิว จำเป็นต่อ การหาแนวทาง การควบคุมความสั่นสะเทือนด้านอื่น ๆ คำสำคัญ: เบาะรองนั่ง, ความสั่นสะเทือนทั่วร่างกาย, รถยกชนิดนั่งขับ

1


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

THE EFFECTIVENESS OF SEAT CUSHION IN REDUCING WHOLE BODY VIBRATION AMONG COUNTERBALANCE FORKLIFT DRIVERS IN A SEAPORT, BANGKOK Siraprapha Sinjai1, Srirat Lormphongs2 and Teerayut Sangiamask2 1

Master of Science Program in Occupational Health and Safety Faculty of Public Health, Burapha University 2 Industrial Hygiene and Safety Program, Faculty of Public Health, Burapha University *Corresponding author E-mail: joysinjai1989@gmail.com

Abstract Introduction: Shipping ports have a number of laborsaving devices such as forklifts for storing and transporting goods. The forklift drivers are possible to encounter accidents from working and factors affecting health i.e. vibration etc. Objectives: 1. To evaluate sensation of vibration of counterbalance forklift drivers in a port of Bangkok. 2.To compare vibration level before and after using a seat cushion and vibration decreased from the use of seat cushion. And compare satisfaction with 2 types of seat cushion. Methodology: This study is research to examine the result of pre- and post-experiment regarding the use of seat cushion for counterbalance forklift drivers. The samples were 28 5-ton forklifts in the depot with counterbalance forklift drivers as the informants. The study instruments included a general questionnaire, satisfaction survey form and whole-body vibration measuring device. The statistics of Wilcoxon SignedRanks Test were employed to test relation of vibration before and after using two types of the seat cushion compared with the benchmark in terms of decreased vibration upon the use of the two types of seat cushion and satisfaction with the use of seat cushion. Results: The sensation of vibration, with comparison of average vibration acceleration before and after using the 1st and the 2nd cushions, was found that before using the seat cushion, the value was 2.42 m/s2, after using the 1st seat cushion, the value was 2.03 m/s2 and 1.89 m/s2 after using the 2nd cushion. The mean score of satisfaction with the seat cushion was 2.66 in overall after using the 1st seat cushion and at moderate level for the 2nd cushion. Discussion and conclusion: After using both seat cushions, the researcher found that they could diminish vibration, but it was higher than the standard at 0.5 m/s2 (ISO 2631-1, 1997). Therefore, there may be factors of forklift’s engine condition and surface condition that are necessarily considered to find a guideline for controlling vibration in other aspects. Keywords: Seat cushion, whole body vibration, counterbalance forklift

2


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ประเทศไทยตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เป็นคาบสมุทร จึงเป็น ศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นฐานอยู่บนการปลูกข้าวและการค้าระหว่างประเทศ ,กมลวรรณ(2557) ปัจจุบันประเทศไทยมีระบบการขนส่งโลจิสติกส์ ที่สำคัญคือ การขนส่งทางน้ำ เนื่องจากการขนส่งทางน้ำเป็นการขนส่งที่ต้นทุนต่ำ เรือที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าเป็นเรือ ขนาดใหญ่ การดำเนินการขนถ่ายสินค้า คราวเดียวจะได้สินค้าจำนวนมาก มีความปลอดภัย เนื่องจากการขนส่งทางน้ำจะใช้ความเร็วต่ำ อัตราการเกิดอุบัติเหตุจึงค่ อนข้างน้อย และมีการจราจรทางน้ำน้อย ประเทศไทยมี ท่าเรือที่เปิดใช้งานอยู่ แห่ง ที่ได้รับอนุญาตให้จัดการสินค้าในตู้สินค้า 4 แห่ง และมีท่าเรือส่วนบุคคลอีก 8 ,อภิสิทธิ์(2560) ท่าเรือมีเครื่องมือทุ่นแรงตามลักษณะกิจกรรมการจัดเก็บ การขนย้าย หรือการบรรจุสินค้าเข้า ตู้สินค้า รถยกนับเป็น เครื่องมือทุ่นแรงที่สำคัญและมีบทบาทในการจัดเก็บสินค้า การขนย้ายสินค้าในโรงพักสินค้า ซึ่งผู้ที่ปฏิบัติงานขับรถยกมีความเสี่ยง ต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน หรือการรับสัมผัสความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ด้านเคมี เช่น การรับสัมผัสฝุ่นละ ออง ควันขณะปฏิบัติงาน ด้านการยศาสตร์ เช่น การรับสัมผัสท่าทาง การนั่งทำงานที่ไม่ถูกต้อง และด้านกายภาพ เช่น สั่นสะเทือนทั่ว ร่างกาย ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม ,อนามัย ธีรวิโรจน์ ( 2540) โดย Directive 2002/44/EC of European Parliament of the Council ในส่วนของข้อกำหนดที่ออกโดยกลุ่มสภากลางของสหภาพยุโรปกำหนดมาตรฐานค่าการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนในการ ทำงาน 0 วัน ที่ความเร่ง/ชั่วโมง 8. 5m/s2 (ISO2631-1, 1997) ด้านผลกระทบต่อร่างกายผู้ปฏิบัติมีการศึกษา การระบาดวิทยา เกี่ยวกับการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนในระยะเวลานาน พบว่า ความสั่นสะเทือนทั่วร่างกายนำไปสู่ความผิดปกติของระบบกระดูก และกล้ามเนื้อและยังเป็นสาเหตุของอาการปวดหลังส่วนล่าง (Deshmukh, 2009) มีการศึกษาเกี่ยวกับการลดการรับสัมผัส แรงสั่นสะเทือนทั้งร่างกายจากการปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสุภาพของผู้ปฏิบัติงาน เช่น การออกแบบและสร้าง ตัวดูดซับความสั่นสะเทือนแบบปรับค่าได้ ทำให้ความถี่ธรรมชาติของตัวดูดซับความสั่นสะเทือนเท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบ หลักหรือแหล่งกำเนิดทำให้เกิดการหักล้างกันทำให้ตัวดูดซับสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ ,สุรัตน์ ปัญญาแก้ว(2548เช่นเดียว )กับ การศึกษาผลของเบาะรองนั่งเพื่อลดความสั่นสะเทือนในพนักงานขับรถติดตั้งตัวตอกเสาเข็มพืดระบบสั่นสะเทือนโดยใช้ย าง ธรรมชาติ ยางไนไตรล์ และยางบิวไทล์สามารถลดความสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านจากรถติดตั้งตัวตอกเสาเข็มพืดระบบสั่นสะเทือนได้ ,สุภาวดี บุญจง(2560และการประเม )ินการสั่นสะเทือนทั้งร่างกายของพนักงานขับรถยกประเภทนั่งขับในบริเวณคลังสินค้าโดย การออกแบบเบาะรองนั่งและพนักพิงหลัง พบว่าสามารถลดความสั่นสะเทือนจากการขับรถยกประเภทนั่งขับและความรู้สึกไม่ สบายของผู้ปฏิบัติงานขับรถยกได้ ,ปริยาภรณ์ โทนหงส์สา(2557) จากผลกระทบทางสุขภาพต่าง ๆที่เกิดจากความสั่นสะเทือน จึงมีแนวคิดการออกแบบเบาะรองนั่งโดยใช้วสั ดุท่มี ีคุณสมบัติ ลดความสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านจากรถยกประเภทนั่งขับสู่ร่ างกายผู้ปฏิบัติงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับสัมผัสความ สั่นสะเทือนของพนักงานขับรถยกของพนักงานขับรถยกชนิดนั่ง เปรียบเทียบระดับความสั่นสะเทือนก่อน หลัง การใช้เบาะรองนั่งและความสั่นสะเทือนที่ลดลงจากการใช้เบาะรองนั่ง รวมถึงระดับพึงพอใจต่อการใช้เบาะร องนั่งเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของผู้ปฏิบัติงาน และเป็นแนวทางการพัฒนาในการออกแบบเบาะรองนั่ง เพื่อลดความสั่นสะเทือนในเครื่องมือทุ่นแรง ประเภทอื่น ๆ ที่ใช้ในกิจกรรมการขนถ่ายสินค้าในกิจการท่าเรือขนส่งสินค้าต่อไป

3


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง โดยเก็บข้อมูลก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่ง เพื่อลดความสั่นสะเทือนของพนักงาน ขับรถยกชนิดนั่งขับ และเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบเบาะรองนั่ง โดยมีกลุ่มประชากร คือ รถยกชนิดนั่งขับขนาด พิกัดน้ำหนัก ( คัน จากสูตรของเครจซี่และมอร์แกน 30 ตัน จำนวน 5Krejcie & Morgan) ในการประมาณค่าสัดส่วนของ ประชากร และกำหนดให้สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 5% และระดับ ความเชื่อมั่น 95% สามารถคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างกับประชากรที่มีขนาดเล็กได้ตั้งแต่ ธีรวุฒิ เอกะกุล( ขึ้นไป 10, 2543( และได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ ตัวอย่าง 28 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มตัวอย่างด้วยให้พนักงานขับรถยกสมัครใจเป็นผู้ให้ ข้อมูล มีเกณฑ์การคัดเข้า คือ ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้พนักงานขับรถยกชนิดนั่งขับขนาดพิกัดน้ำหนัก ตัน ที่ผ่านการทดลองงาน โดยการ 5 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและความพึงพอใจต 1 ส่วนคือ ส่วนที่ 2 วิจัยครั้งนี้มีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล่อการใช้เบาะรอง นั่ง โดยมีระดับความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วน ( ระดับ ตามเทคนิคของลิเคอร์ท 5Likert scale) (สุภาวดี บุญจง, 2560( โดย แปลผลคะแนนแบบคะแนนเฉลี่ยของแต่ละระดับชั้น ซึ่งใช้การหาค่าพิสัย และการคำนวณหาค่าความกว้างของ )น้อยสุด-มากสุด( อัตราภาคชั้น สามารถแบ่งคะแนนเฉลี่ย เป็น คือ เครื่องวัดความสั่นสะเทือนทั่ว 2 ระดับ คือ น้อย ปานกลาง และมาก ส่วนที่ 3 ร่างกาย ยี่ห้อQuest Technologies, lnc. รุ่น VI- 410SN : 21729Sensor : ( ได้ทำการตรวจสอบความตรง 4146Calibration) เมื่อเดือนสิงหาคม พ .ศ.2561 เลขที่อ้างอิงการสอบเทียบความตรง No. 0310/1279,โดยกรมวิทยาศาสตร์บริการ 6 และได้รับการ รั บ รองผลการพิ จารณาจริยธรรมในมนุ ษ ย์จ ากคณะกรรมการพิจ ารณาจริ ยธรรมในมนุษ ย์ มหาวิ ทยาลั ยบู รพา เลขที่รหัส โครงการวิจัย IRB 020/2561 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2562 การออกแบบเบาะรองนั่ง พิจารณาวัสดุที่สามารถลดความสั่นสะเทือนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพตามมาตรฐานISO 2631 ที่ ช่วงความถี่ 0.5-80 Hz โดยแบบที่ 1 ใช้วัสดุประกอบกัน 2 ชั้น คือ โพลียูรีเทน หนา 1 นิ้ว และซิลิโคน หนา 1 นิ้ว และเย็บคลุม ด้วยหนังเทียม ดังภาพที่ 1 ซึ่งโพลียูรีเทนมีคุณสมบัตลิ ดความสัน่ สะเทือนที่ระดับความถี่ 16, 125, 250, 500 Hz (ประภัสสร ธรรม พิทักษ์, 2560) และยางซิลิโคนมีคุณสมบัติลดความสั่นสะเทือนที่ระดับความถี่ 3-40 Hz. รวมถึงสามารถลดการกระแทก สุภาวดี( บุญจง, 2560) แบบที่ 2 ใช้วัสดุประกอบกัน 2 ชั้น คือ โพลียูรีเทน หนา 1 นิ้ว และยางบิวไทล์ หนา 1 นิ้ว และเย็บคลุมด้วยหนัง เทียม ดังภาพที่ 2 ซึ่งโพลียูรีเทนมีคุณสมบัติลดความสั่นสะเทือนที่ระดับความถี่ 16 125 250 500 Hz และยางบิวไทล์มีคุณสมบัติ ลดความสั่นสะเทือนที่ระดับความถี่ 25-250 Hz. (ประภัสสร ธรรมพิทักษ์, 2560) โดยเบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบมีความกว้างของ เบาะ 14 นิ้ว ความลึกของเบาะ 15 นิ้ว ความหนารวม 2 นิ้ว การวัดค่าความสั่นสะเทือนก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบดังนี้ 1. ติดตั้งหัววัดบริเวณที่นั่งของผู้ปฏิบัติงาน กำหนดวิธีการวัดทิศทางแกน x แกน y แกน z ตั้งฉากกันทั้งสามแกนตาม ระบบพิกัดชีวกลศาสตร์ (ISO 2631,1997) ที่เบาะรถยกชนิดนั่งขับ โดยทำการวัด ที่ระยะเวลา นาที และทำการวัดซ้ำจำนวน 15 รอบ 3 2. ติดตั้งเบาะรองนั่งรูปแบบที่ กับเบาะของรถยกชนิดนั่งขับ และติดตั้งหัววัดบนเบาะรองนั่ง กำหนดวิธีการ 1วัดทิศทางแกน x แกน y แกน z ตั้งฉากกันทั้งสามแกนตามระบบพิกัดชีวกลศาสตร์ (ISO 2631,1997) ที่เบาะรถยกชนิดนั่งขับ โดยทำการวัดที่ ระยะเวลา รอบ 3 นาที และทำการวัดซ้ำจำนวน 15

4


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

3. ติดตั้งเบาะรองนั่งรูปแบบที่ กับเบาะของรถยกชนิดนั่งขับ และติดตั้งหัววัดบนเบาะรองนั่ง 2 กำหนดวิธีการวัดทิศทางแกน x แกน y แกน z ตั้งฉากกันทั้งสามแกนตามระบบพิกัดชีวกลศาสตร์ (ISO 2631,1997) ที่เบาะรถยกชนิดนั่งขับ โดยทำการวัดที่ ระยะเวลา รอบ 3 นาที และทำการวัดซ้ำจำนวน 15 4. ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม เพื่อวัดระดับความพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบคำนวณหาค่าความ สั่นสะเทือนและแปลผล โดยกลุ่มตัวอย่างขับรถยกชนิดนั่งขับในระยะทาง 100 เมตร และยกวัตถุปริมาณน้ำหนัก 1 ตัน ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้มีการ สร้างสถานีจำลองการทดสอบประสิทธิภาพของเบาะรองนั่งโดยการจำลองสถานที่ที่สภาพพื้นผิวของเส้นทางการขับรถยกให้เสมือน กับสภาพพื้นผิวของพื้นที่ในโรงพักสินค้า รวมถึงการจำกัดระยะทาง และขนาดน้ำหนักของสิ่งของที่ยก เพื่อเป็นการควบคุมปัจจัย หรือตัวตัวแปรอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อผลของการศึกษา

ผลการวิจัย เบาะรองนั่งรูปแบบที่ ทำ 1จากโพลียูรีเทนโฟมและยางซิลิโคน มีขนาดความกว้าง 14 นิ้ว ความลึกของเบาะ 15 นิ้ว ความ หนารวม 2 นิ้ว ดังภาพที่ 1)ง ทำจากแผ่นโพลียูรีเทนโฟมและยางบิวไทล์ ขนาดความกว้าง 2 รูปแบบที่ )14 นิ้ว ความลึกของเบาะ 15 นิ้ว ความหนารวม 2 นิ้ว ดังภาพที่ 2)ง) ก) แผ่นยางซิลิโคน

ข) แผ่นโพลียูรีเทนโฟม

ก) แผ่นยางบิวไทล์

ข) แผ่นโพลียูรีเทนโฟม

ค) ทากาววัสดุทั้ง 2

ง) หุ้มชิ้นงานด้วยหนังหุ้มเบาะ

ค) ทากาววัสดุทั้ง 2

ง) หุ้มชิ้นงานด้วยหนังหุ้มเบาะ

ภาพที่ 1 เบาะรองนั่งแบบที่ 1

ภาพที่ 2 เบาะรองนั่งแบบที่ 2

ผลการตรวจวัดค่าความเร่งความสั่นสะเทือนก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่ง ปรากฏตามตารางที่ 1 โดยก่อนการใช้เบาะ รองนั่งมีค่าความเร่งความสั่นสะเทือนเฉลี่ยต่ำสุด เท่ากับ 1.971 m/s2 ค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 2.988 m/s2 และค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 2.428 m/s2 มีค่าเฉลี่ยแกน Z มากกว่าแกน Y และแกนX ตามลำดับ หลังจากการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ 1 มีค่าความเร่งความ สั่นสะเทือนเฉลี่ยต่ำสุด เท่ากับ 1.564 m/s2 ค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 2.440 m/s2 และค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 2.031 m/s2 มีค่าเฉลี่ย

5


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

แกน Z มากกว่าแกน Y และแกน X ตามลำดับ และเบาะรองนั่งแบบที่ 2 มีค่าความเร่งความสั่นสะเทือนเฉลี่ยต่ำสุด เท่ากับ 1.674 m/s2 ค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 2.221 m/s2 และค่าเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 1.894 m/s2 มีค่าเฉลี่ยแกน Z มากกว่าแกน Y และแกน X ตามลำดับ ตารางที่ 1 ความเร่งความสั่นสะเทือนของแต่ละแกน ก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบ ตัวอย่าง ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 เฉลี่ย

หลังการใช้วัสดุ (m/s2)

ก่อนการใช้วัสดุ (m/s2) X 0.260 0.260 0.260 0.262 0.254 0.261 0.264 0.261 0.265 0.267 0.268 0.275 0.272 0.262 0.280 0.288 0.300 0.300 0.304 0.310 0.316 0.311 0.326 0.337 0.356 0.308 0.309 0.403 0.291

Y 0.141 0.226 0.226 0.149 1.454 0.567 0.434 0.356 0.361 0.369 0.368 0.373 0.369 0.369 0.406 0.403 0.417 0.418 0.420 0.412 0.416 0.423 0.423 0.433 0.387 0.358 0.267 0.354 0.404

Z 1.995 2.047 2.047 2.067 1.896 1.988 2.001 1.996 2.012 2.004 2.006 2.011 2.035 2.472 2.584 2.641 2.836 2.836 2.916 2.877 2.099 2.593 2.781 2.846 2.689 2.632 1.928 2.536 2.335

รวม 2.017 2.076 2.076 2.089 2.404 2.084 2.064 2.044 2.061 2.055 2.057 2.064 2.086 2.513 2.631 2.687 2.882 2.882 2.962 2.923 2.988 2.646 2.832 2.898 2.739 2.674 1.971 2.592 2.428

X 0.484 0.254 0.254 0.245 0.253 0.254 0.249 0.247 0.254 0.251 0.254 0.248 0.253 0.246 0.234 0.255 0.285 0.285 0.277 0.287 0.300 0.290 0.300 0.298 0.324 0.282 0.345 0.431 0.284

เบาะที่ 1 Y Z 0.691 1.447 0.261 1.892 0.262 1.900 0.518 1.855 0.625 1.813 0.262 1.900 0.558 1.823 0.324 1.698 0.326 1.729 0.328 1.777 0.330 1.765 0.332 1.799 0.358 1.883 0.323 2.122 0.266 1.933 0.350 2.217 0.385 2.260 0.385 2.260 0.382 2.347 0.369 1.973 0.378 2.006 0.401 2.980 0.390 2.305 0.375 2.392 0.309 2.184 0.315 2.149 0.298 2.140 0.293 2.185 0.371 2.026

รวม 1.588 1.936 1.943 1.942 1.935 1.943 1.922 1.746 1.778 1.824 1.814 1.846 1.933 2.161 1.965 2.258 2.310 2.310 2.394 2.027 2.063 1.564 2.357 2.440 2.229 2.190 2.188 2.248 2.031

X 0.243 0.243 0.241 0.241 0.243 0.243 0.237 0.238 0.236 0.225 0.225 0.225 0.239 0.676 0.222 0.237 0.259 0.259 0.241 0.259 0.272 0.261 0.268 0.264 0.267 0.256 0.309 0.409 0.269

เบาะที่ 2 Y Z รวม 1.095 1.570 1.931 1.105 1.584 1.949 1.095 1.554 1.918 0.494 1.668 1.756 1.095 1.570 1.931 1.095 1.570 1.931 0.211 1.675 1.674 0.215 1.646 1.676 0.211 1.644 1.674 0.214 1.671 1.700 0.213 1.665 1.694 0.209 1.649 1.677 0.339 1.200 1.680 0.763 1.887 1.917 0.251 1.829 1.860 0.296 1.806 1.845 0.324 2.022 2.064 0.324 2.022 2.064 0.347 2.181 2.221 0.333 1.773 1.822 0.349 1.760 1.815 0.377 1.935 1.988 0.360 1.951 2.002 0.365 2.124 2.171 0.324 0.900 2.101 0.281 1.967 2.003 0.267 1.928 1.971 0.251 1.948 2.006 0.457 1.739 1.894

6


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ค่าความเร่งของความสั่นสะเทือน m/s2

3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

ตัวอย่างที่ ก่อน

เบาะที่ 1

เบาะที่ 2

ภาพที่ 3 ค่าความเร่งของแรงสั่นสะเทือนที่กล่มตัวอย่างรับสัมผัสก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบ ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความเร่งความสั่นสะเทือนของแต่ละความถี่ พบว่า ก่อนและหลังการใช้ของเบาะรอง นั่งที่ 1 มีความแตกต่างกันอย่างมีนับสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยแกน X ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz, 5.0Hz, 10.0Hz และ 12.5 Hz โดยแกน Y ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz และ 8.00Hz โดยแกน Z ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz, 5.0Hz, 6.30Hz, 8.00Hz, 10.00Hz, 16.00Hz, 20.00Hz, 25.00Hz, 31.5Hz, 40.00Hz, 50.00Hz, 63.0Hz และ 80.00 Hz ตามปรากฏดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของค่าความเร่งของความสั่นสะเทือนก่อนและหลังของการใช้เบาะรองนั่ง ความถี่

แกน X Xˉ (SD)

0.63 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 0.80 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 1.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.00)

P-value

ค่าความเร่งความสั่นสะเทือน (m/s2) แกน Y P-value Xˉ (SD)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.001* 0.000*

0.03 (0.05) 0.01 (0.00) 0.01 (0.01)

0.000* 0.000*

0.02 (0.01) 0.01 (0.01) 0.17 (0.41)

แกน Z Xˉ (SD)

P-value

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.000* 0.000*

0.01 (0.00) 0.01 (0.00) 0.00 (0.00)

0.000* 0.000*

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.000* 0.000*

7


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 ผลเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของค่าความเร่งของความสั่นสะเทือนก่อนและหลังของการใช้เบาะรองนั่ง (ต่อ( แกน X

ความถี่ Xˉ (SD) 1.60 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 2.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 2.50 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 3.15 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 4.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 5.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 6.30 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 8.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 10.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2

0.00 (0.00) 0.01 (0.00) 0.00 (0.00)

P-value

ค่าความเร่งความสั่นสะเทือน (m/s2) แกน Y P-value Xˉ (SD)

แกน Z Xˉ (SD)

P-value

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.003* 0.001*

0.001* 0.000*

0.008* 0.001*

0.03 (0.07) 0.01 (0.00) 0.01 (0.01)

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.031* 0.001*

0.02 (0.07) 0.01 (0.00) 0.00 (0.00)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.00 (0.00) 0.01 (0.00) 0.00 (0.00)

0.007* 0.002*

0.01 (0.00) 0.00 (0.00) 0.01 (0.01)

0.009* 0.003*

0.00 (0.00) 0.01 (0.00) 0.00 (0.00)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.001* 0.000*

0.02 (0.06) 0.01 (0.04) 0.01 (0.04)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.006* 0.000*

0.00 (0.02) 0.00 (0.00) 0.00 (0.02)

0.531 0.170

0.00 (0.00) 0.03 (0.07) 0.01 (0.05)

0.373 0.000*

0.02 (0.00) 0.01 (0.00) 0.01 (0.01)

0.001* 0.002*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.005* 0.002*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.00

0.06 (0.03) 0.06 (0.03) 0.06 (0.03)

0.000* 0.245

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.083 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.317 0.317

0.05 (0.01) 0.04 (0.01) 0.04 (0.02)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.739 0.132

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.006* 0.002*

0.07 (0.01) 0.06 (0.02) 0.06 (0.03)

0.002* 0.001*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.046* 0.056

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.317 0.317

0.44 (0.68) 0.39 (0.50) 0.32 (0.39)

0.011* 0.001*

8


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 ผลเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของค่าความเร่งของความสั่นสะเทือนก่อนและหลังของการใช้เบาะรองนั่ง (ต่อ( แกน X

ความถี่ Xˉ (SD) 12.50 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 16.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 20.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 25.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 31.50 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 40.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 50.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 63.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 80.00 Hz ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

P-value

ค่าความเร่งความสั่นสะเทือน (m/s2) แกน Y P-value Xˉ (SD)

แกน Z Xˉ (SD)

P-value

0.080 0.000*

0.034* 0.705

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.64 (0.73) 0.48 (0.41) 0.37 (0.33)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

1.69 (0.96) 0.99 (0.50) 0.83 (0.36)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

1.27 (0.47) 0.83 (0.33) 0.62 (0.22)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.317 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.73 (0.19) 0.54 (0.15) 0.39 (0.14)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 0.317

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.42 (0.08) 0291 (0.06) 0.23 (0.04)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.23 (0.05) 0.17 (0.03) 0.14 (0.03)

0.000* 0.000*

1.000 0.317

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

0.157 0.157

0.12 (0.03) 0.09 (0.02) 0.08 (0.02)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.06 (0.01) 0.05 (0.01) 0.04 (0.01)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

1.000 1.000

0.03 (0.00) 0.02 (0.00) 0.02 (0.00)

0.000* 0.000*

0.00 (0.00) 0.00 (0.00) 0.00 (0.00)

9


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความเร่งความสั่นสะเทือนของแต่ละความถี่ พบว่า ก่อนและหลังการใช้ของ เบาะรองนั่งที่ 2 มีความแตกต่างกันอย่างมีนับสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยแกน X ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz, 4.0Hz, และ 8.00 Hz โดยแกน Y ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz และ 8.00Hz โดยแกน Z ที่ความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz, 4.0Hz, 6.30Hz, 8.00Hz, 10.00Hz, 12.50Hz, 16.00Hz, 20.00Hz, 25.00Hz, 31.5Hz, 40.00Hz, 50.00Hz, 63.0Hz และ 80.00 Hz ตามปรากฏดังตารางที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความเร่งความสั่นสะเทือนก่อนและหลังการใช้ เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2 โดยการใช้สถิติ Wilcoxon Signed-Ranks Test พบว่า ก่อนการใช้เบาะรองนั่งมีค่าเท่ากับ 2.42 (m/s2) (SD) = 0.37 ใช้เบาะรองนั่งที่ 1 มีค่า เท่ากับ 2.03 (m/s2) (SD) = 0.23 หลังการใช้เบาะรองนั่งที่ 2 มีค่าเท่ากับ 1.89 (m/s2) (SD) = 0.16 ค่าเฉลี่ยความเร่งความ สั่นสะเทือนเบาะ 1 มีค่าน้อยกว่าก่อนการใช้เบาะรองนั่ งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่าเฉลี่ยความเร่ง ความสั่นสะเทือนเบาะรองนั่งที่ 2 มีค่าน้อยกว่าก่อนการใช้เบาะรองนั่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตาม ปรากฏดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของค่าความเร่งของความสั่นสะเทือนก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้ง สองรูปแบบ เบาะรองนั่ง ก่อน เบาะรองนั่งที่ 1 เบาะรองนั่งที่ 2

Xˉ 2.42 2.03 1.89

N 28 28 28

SD 0.37 0.23 0.16

df 27 27 27

t

Sig.

7.59* 9.45*

.000 .000

คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจหลังการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ 1 พบว่า ความพึงพอใจโดยรวม เท่ากับ 2.66 (±0.56) คือ มี ความพึงพอใจระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองนั่ง เท่ากับ 3.10 (±0.31) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ ต่อขนาดเหมาะสมสำหรับการใช้งาน เท่ากับ 2.53±0.57 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจไม่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน เท่ากับ 2.92 (±0.53) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจมีความน่าใช้ เท่ากับ 2.42 (± 0.69) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสามารถทำให้ท่านปฏิบัติงาน ได้ดีกว่าเดิม เท่ากับ 2.35(± 0.73) และคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจหลังการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า 2 ความพึงพอใจโดยรวมหลังการใช้เบาะรองนั่ง เท่ากับ 2.92 ± 0.คือ มีความพึงพอใจระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ 56 3 ต่อการใช้เบาะรองนั่ง เท่ากับ.14 ± 0.2 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อขนาดเหมาะสมสำหรับการใช้งาน เท่ากับ 35.78±0. 68 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจไม่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน เท่ากับ 3.07±0. คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจมีความน่าใช้ เท่ากับ 60 3.25± 0.2 คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสามารถทำให้ท่านปฏิบัติงานได้ดีกว่าเดิม เท่ากับ 51.39±0.4 ตามปรากฏดังตารางที่ 68

10


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 4 ผลการศึกษาความพึงพอใจหลังการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ 1 และเบาะรองนั่งแบบที่ 2 คำถาม เบาะที่ 1 ความพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองนั่ง เบาะรองนั่งมีขนาดเหมาะสมสำหรับการใช้งาน เบาะรองนั่งไม่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานของท่าน เบาะรองนั่งมีความน่าใช้ เช่น ความนุ่มของเบาะ หรือ รูปแบบ เบาะรองนั่งสามารถทำให้ท่านปฏิบัติงานได้ดีกว่าเดิม ความพึงพอใจรวม เบาะที่ 2 ความพึงพอใจต่อการใช้เบาะรองนั่ง เบาะรองนั่งมีขนาดเหมาะสมสำหรับการใช้งาน เบาะรองนั่งไม่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานของท่าน เบาะรองนั่งมีความน่าใช้ เช่น ความนุ่มของเบาะ หรือ รูปแบบ เบาะรองนั่งสามารถทำให้ท่านปฏิบัติงานได้ดีกว่าเดิม ความพึงพอใจรวม

n

ความพึงพอใจ SD Xˉ

ระดับ

28 28 28 28 28 28

3.10 2.53 2.92 2.42 2.35 2.66

0.31 0.57 0.53 0.69 0.73 0.56

มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

28 28 28 28 28 28

3.14 2.78 3.07 3.25 2.39 2.92

0.35 0.68 0.60 0.51 0.68 0.56

มาก มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง

อภิปรายผล การเปรียบเทียบค่าความสั่นสะเทือนก่อนและหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบค่าแรงสั่นสะเทือนสูงสุดอยู่ในแกน Z แกน X แกน Y ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกับงานวิจัย Blood et al. ที่พบว่า การควบคุมเครื่องจักรกลมีการรับสัมผัสแรงสั่นสะเทือน ในแกน X มากที่สุด หากพิจารณาตามความถี่ที่เป็นต่อสุขภาพของพนักงานหลังการใช้เบาะรองนั่งแบบที่ 1 พบว่า ค่าความเร่ง ความสั่นสะเทือนทั้ง 3 แกน มีค่าลดลง โดยแกน Z มีค่าลดลงสูงสุด เช่นกับค่าความเร่งความสั่นสะเทือนหลังการใช้เบาะรองนั่ง แบบที่ 2 จากการทดลองใช้เบาะรองนั่ง แบบที่ 1 และแบบที่ 2 เมื่อพิจารณาช่วงความถี่ของแรงสั่นสะเทือนที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพตามฐาน ISO 2631-1, 1997 คือ ช่วง 6.3 Hz ถึง 80 Hz พบว่าเบาะรองนั่งสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ในช่วงความถี่ 0.8Hz, 1.0Hz, 1.25Hz, 1.60Hz, 2.0Hz, 2.5Hz, 3.15Hz, 5.0Hz, 10.0Hz และ 12.5 Hz ของทั้ง 3 แกน สอดคล้องกับการศึกษา เกี่ยวกับวัสดุที่ทำมาจากยางสังเคราะห์สามารถลดความสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรได้ )อุมารินทร์ เตมีย์ ,2552) โดยยางซิลิโคน สามารถลดความสั่นสะเทือนที่ความถี่ 3-40Hz. (สุภาวดี บุญจง, 2560) และยางบิวไทล์ เป็นยางที่นิยมนำมาผลิตยางกัน กระแทก มีคุณสมบัติลดความสั่นสะเทือนมีค่าความกระเด้งกระดอน )Rebound resilience) ที่อุณหภูมิห้องต่ำ )พงษ์ธร แซ่อุ้ย ,2547) มี คุณสมบัติลดความสั่นสะเทือนที่ความถี่ 25-250Hz. (Farrat,2016) รวมถึงการศึกษาการออกแบบเบาะรองนั่งรถบรรทุก เพื่อลด ความสั่นสะเทือนและความเมื่อยล้าของพนักงานขับรถ โดยการใช้โพลียูรีเทน พบว่าเบาะรองนั่งสามารถลดความสั่นสะเทือนได้ )มยุรี หน่อพัฒน์, 2547) การเปรียบเทียบค่าความสั่นสะเทือนหลังการใช้เบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบกับค่ามาตรฐาน พบว่า หลังการใช้เบาะรองนั่ง ทั้งสองรูปแบบสามารถลดความสั่นสะเทือนได้ แต่ยังมีค่าการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนสูงกว่าค่ามาตรฐานที่ 0.5 m/s2 (ISO 11


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2631-1,1997) แม้การออกแบบเบาะรองนั่งทั้งสองรูปแบบไม่สามารถลดค่าความสั่นสะเทือนให้อยู่ในระดับมาตรฐานกำหนดได้ อาจมีสาเหตุจากสภาพพื้นผิวของถนน อายุการใช้งานของรถยก หรือระดับความเร็วที่ใช้ในการยก )ประภัสสร, 2560) แต่อย่างไรก็ ตาม การศึกษาครั้งนี้สามารถเป็นประโยชน์ต่อแนวทางการพัฒนาเบาะรองนั่งที่ใช้วัสดุชนิดอื่น หรือการควบคุมความสั่นสะเทือนที่ ส่งผ่านจากรถยกชนิดนั่งขับสู่ร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน หรือรถเครื่องมือทุ่นแรงประเภทอื่น ๆ ที่ใช้ในกิจกรรมการขนส่ง สินค้าของ ท่าเรือได้ การวัดความพึงพอใจในการใช้เบาะรองทั้งสองรูปแบบ โดยอยู่รวมในระดับปานกลาง ซึ่งอาจมีปัจจัยจากเมื่อกลุ่มตัวอย่าง ใช้เบาะรองนั่ง ทำให้ระดับความสูงของเบาะเพิ่มขึ้นจากเดิม กลุ่มตัวอย่างจึงไม่คุ้นชินการใช้เบาะรองนั่ง สรุปและข้อเสนอแนะ การออกแบบเบาะรองนั่งด้วยวัสดุที่มีคุณสมบัติลดความสั่นสะเทือน พบว่า เบาะรองนั่งแบบที่ สามารถ 2 และแบบที่ 1 วัน ที่/โมงการทำงาน 8 ลดการรับสัมผัสความสั่นสะเทือน แต่ยังมีค่าความสั่นสะเทือนที่สูงกว่าค่ามาตรฐานที่สามารถรับสัมผัสได้ใน 0. 5m/s2 (ISO 2631-1,1997) แต่สามารถเป็นแนวทางในการนำมาพัฒนาเบาะรองนั่งด้วยวัสดุที่มีคุณสมบัติลดความสั่นสะเทือน ชนิดอื่น ๆ และการประเมินความเสี่ยงการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนของผู้ปฏิบัติงานที่ขับเครื่องมือทุ่นแรงชนิดอื่น ๆ ที่ปฏิบัติงาน ในกิจการท่าเรือขนส่ง รวมถึงการควบคุมการรับสัมผัสความสั่นสะเทือนที่แหล่งกำเนิด การเลือกใช้วัสดุสำหรับทำเบาะรองนั่งเพื่อลดค่าความสั่นสะเทือน ควรเลือกใช้วัสดุที่หาได้ง่าย มีจำหน่ายทั่วไปตาม ท้องตลาดและมีราคาถูก เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ผู้วิจัยควรเรื่อง BMI ของกลุ่มตัวอย่างกับการรับสัมผัสความสั่นสะเทือน และควรศึกษาการใช้วัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ทำเบาะรองนั่ง ที่มีคุณสมบัติในการลดความสั่นสะเทือนให้อยู่ในเกณฑ์ค่ามาตรฐาน 0. 5m/s2 กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมวิจัยจากพนักงานขับรถยกประเภทนั่งขับในโรงพักสินค้าของท่าเรือแห่งหนึ่งที่ให้ความอนุเคราะห์ใน การสนับสนุนการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาวิจัยในครั้งจนสำเร็จลุล่วงด้วยดี เอกสารอ้างอิง กมลวรรณ เกตุสุวรรณ. )2557). ภูมิศาสตร์ไทย ความรู้เรื่อง ภูมิ ศาสตร์ไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน,2562 ,จาก https://kamonwanja1234.wordpress.com/2014/05/ เกศินี โกศลเมธี. )2552). การเตรียมและสมบัติเชิงกลของยางคอมโพสิทเตรียมจากยางธรรมชาติ เทอร์โมพลาสติกผสมเส้นใยปอ กระเจา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ , บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ธีรวุฒิ เอกะกุล. )2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมและสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี. ประภัสสร ธรรมพิทักษ์. )2560). การศึกษาประสิทธิผลของวัสดุห่อหุ้มด้ามจับเพื่ อลดความเสี่ยงที่มือและแขนในพนักงานควบคุม เครื่องตบดินแบบกระโดนในอุตสาหกรรมก่อสร้างประเภทงานดินและปรับพื้นที่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชาอาชีวอนมัยและความปลอดภัย, คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. ปริยาภรณ์ โทนหงส์สา, ไอลดา ตรีรัตน์ตระกูล และเลิศชัย ระตะนะอาพร. )2558). การประเมิน การสั่นสะเทือนทั้งร่างกายของ พนักงานขับรถยกในบริเวณคลังสินค้า. วิศวกรรมสาร ม ก. )Kasetsart Engineering Journal), 29(95), 63-70.

12


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

มยุรี หน่อพัฒน์. )2547). การออกแบบเบาะรองนั่งรถบรรทุกเพื่อลดความสั่นสะเทือนและความรู้ สึกเมื่อยล้าของพนักงานขับ รถบรรทุกหนัก. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย , บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. สุภาวดี บุญจง )2560). ผลของเบาะรองนั่งเพื่อลดความสั่นสะเทือนในพนักงานขับรถติดตั้งตัวตอกเสาเข็มพืดระบบสั่นสะเทือน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาอาชีวอนมัยและความปลอดภัย , คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัย บูรพา. สุรัตน์ ปัญญาแก้ว. )2557).การออกแบบและสร้างตัวดูดซับการสั่นสะเทือนแบบปรับค่าได้. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์,มหาวิทยาลัยนเรศวร. อภิ ส ิ ท ธิ ์ อำไพรฉลวย. ) 2560). วิ ว ั ฒ นาการขนส่ ง ในประเทศไทย. สื บ ค้ น เมื ่ อ 20 พฤศจิ ก ายน, 2562 , จาก https://sites.google.com/site/wiwathnakarnkarnkhonsong/home อนามัย )ธีรวิโรจน์( เทศกระทึก. )2556). อาชีวอนามัยละความปลอดภัย )พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์. อุมารินทร์ นามีย์. )2552). การศึกษาการลดความสั่นสะเทือนโดยใช้วัสดุสังเคราะห์ที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว. วิทยานิพนธ์วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล. ACE. (2018). Rubber metal isolators. Retrieved October 8, 2018, from https://www.aceace.com/com/products/ vibration-control/rubber-metal-isolators/bm.html Bovenzi, M. (2010). A longitudinal study of low back pain and daily vibration exposure in professional drivers. Industrial Health, 48(5), 584-595. Farrat, A. (2018). Detailed vibration isolation theory. Retrieved from www.farrat.com/resources/detailedvibration-isolation-theory ISO 2631-1, 1997 Retrieved October 8, 2018, from https://www.sis.se/api/document/preview/912430/ Haworth, V. (2008). The ergonomic sating guide handbook. Retrieved October 8, 2019, from http://media.haworth.com/asset/13337/Ergonomic_Seating_Guide_Handbook.pdf Hoy, J., Mubarak, N., Nelson, S., De Landas, M. S., Magnusson, M., Okunribido, O., & Pope, M. (2005). Whole body vibration and posture as risk factors for low back pain among forklift truck drivers. Journal of Sound and Vibration, 284(3), 933-946.

13


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การศึกษาระดับซีเทอมินอลเทโลเปปไทด์ของคอลลาเจนชนิดที่หนึ่งในน้ำลายผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา อัจฉรา วงศ์หล้า1 วรกัญญา บูรณพัฒนา2 และคธาวุธ เตชะสุทธิรัฐ1 1 ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ภาควิชาชีววิทยาช่องปากและวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทคัดย่อ บทนำ: ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาเป็นภาวะที่พบการเผยผึ่งของกระดูกบริเวณกระดูกขากรรไกรและ ใบหน้า โดยเป็นผลจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก ซึ่งสาเหตุการเกิดโรคยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจน นอกจากนี้ ปัจจุบันยังไม่มี เครื่องมือทางชีวเคมีของกระดูกในการตรวจประเมินความเสีย่ งการเกิดโรค วัตถุประสงค์: ศึกษาเปรียบเทียบระดับซีเทอมินอลเทโล เปปไทด์ของคอลลาเจนชนิดที่หนึ่ง(ซีทีเอ็กซ์) ในน้ำลายของผู้ทเี่ กิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา ผู้ที่เคยหรือกำลังได้รบั ยายับยั้งการสลายกระดูกแต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มควบคุม วิธีวิจัย: งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ ช่วงเวลาหนึง่ ในกลุ่มประชากรทั้งหมด 24 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน กลุ่มแรกคือ ผู้ที่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตาย จากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก กลุ่มสองคือ ผู้ที่เคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มสามคือ ผู้ที่ไม่มีประวัติการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก โดยทำการเก็บน้ำลายแบบไม่กระตุ้น แล้วนำไปตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay ผลการวิจัย: ระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายของทั้ง สามกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.015) โดยพบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกร ตายจากการใช้ยาและกลุ่มเสี่ยงที่ระดับความเชื่อมั่ น 95% อธิปรายและสรุปผลการวิจัย: ซีทีเอ็กซ์สามารถตรวจพบในน้ำลายได้ โดยกลุ่มผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรจากการใช้ยามีระดับ ซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายที่ลดลง ซึ่งอาจเป็นผลจากการใช้ยายับยั้งการสลาย กระดูก ดังนั้นการตรวจวัดระดับ ซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายอาจเป็น วิธีทางเลือกหนึ่งในการนำมาตรวจประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะ กระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา คำสำคัญ: ซีทีเอ็กซ์ ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา ค่าทางชีวเคมีของกระดูก

14


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Salivary C-terminal Telopeptide of Type 1 Collagen (CTX) Levels in Patients with Medication-Related Osteonecrosis of the Jaw Atchara Wongla1, Worakanya Buranaphatthana2 and Kathawut Tachasuttirut1 1

Department of Oral and Maxillofacial Surgery, Faculty of Dentistry, Chiangmai University Department of Oral Biology and Diagnostic Sciences, Faculty of Dentistry, Chiangmai University

2

Abstract Introduction: Medication-related osteonecrosis of jaw (MRONJ) is an adverse effect of bone antiresorptive drugs consisting of progressive bone destruction. Currently, there is no definitive biomarker for determining patients who are at risk for MRONJ development. Objective: We hypothesized that saliva can be used in alternative to serum to detect bone resorption biomarker. The objectives of this study were to examine and compare the level of saliva C-terminal telopeptide (CTX) in MRONJ patients, at-risk patients and the control group.Patients and methods: A cross-sectional study compared the level of saliva CTX in three groups (n=8): MRONJ patients, patients receiving anti-resorptive drugs without MRONJ development and participants without drug use. Unstimulated saliva samples were collected and analyzed by using enzyme linked immunosorbent assay (ELISA). One-way ANOVA was used for statistical analysis with p-value < 0.05. Results: Saliva CTX was detected in all samples. We found the lowest saliva CTX levels in MRONJ patients. A statistically significant reduction of the saliva CTX levels was found in MRONJ patients compared with at-risk patients (p=0.011). Conclusion: CTX a bone resorption biomarker, can be detected in saliva. The level of saliva CTX in patient with MRONJ may decrease from the effect of antiresorptive drug. This suggests that saliva CTX might be used to predict the risk of MRONJ development in patients who are taking anti-resorptive drugs. Keywords: C-terminal telopeptide (CTX), Medication-related osteonecrosis of jaw (MRONJ), Bone biomarker

15


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา (medication-related osteonecrosis of jaw: MRONJ) เป็นภาวะที่พบการ เผยผึ่งของกระดูก (exposed bone) บริเวณกระดูกขากรรไกรและใบหน้า โดยเป็นผลจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก (antiresorptive drug) ถูกพบครั้งแรกในปี ค.ศ.2003 ในผู้ป่วยที่มีประวัติการได้รับบิสฟอสโฟเนต (bisphosphonate) ทางหลอดเลือด ดำ (R. E. Marx, 2003) หลังจากนั้นได้มีรายงานจำนวนผู้ป่วยที่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก กลุ่มอื่น เช่น ดีโนซูแมบ (denosumab) และ ยายับยั้งการสร้างหลอดเลือดใหม่ (anti-angiogenic therapies) เพิ่มมากขึ้น ในปี ค.ศ.2014 สมาคมศั ล ยแพทย์ ช ่ อ งปากและแม็ ก ซิ ล โลเฟเชี ย ลแห่ ง สหรั ฐ อเมริ ก า (American Association of Oral and Maxillofacial Surgeons: AAOMS) จึงได้เปลี่ยนชื่อจากภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้บิสฟอสโฟเนต (bisphosphonaterelated osteonecrosis of jaw: BRONJ) เป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา โดยได้กำหนดลักษณะอาการของผู้ป่วย เพื่อใช้ในการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกตายจากการใช้ยา ไว้ดังต่อไปนี้ (1)เคยหรือ กำลังได้รับการรักษาด้วยยายับยั้งการสลาย กระดูก หรือ ยายับยั้งการสร้างหลอดเลือด (2)มีกระดูกเผยผึ่งหรือมีกระดูกที่สามารถโพรบ (probe) ผ่านรูทะลุในหรือนอกช่องปาก (intraoral/extraoral fistula) ในบริเวณกระดูกขากรรไกรและใบหน้า ระยะเวลานานกว่า 8 สัปดาห์ และ(3)ไม่มีประวัติการได้รับ การฉายรังสีรักษา หรือมีการแพร่กระจายของมะเร็งมายังบริเวณกระดูกขากรรไกรและใบหน้า (Ruggiero et al., 2014) นอกจากนี้ อาจพบร่วมกับการมีอาการปวด บวม มีหนอง และมีแผลในช่องปาก บิสฟอสโฟเนต และ ยายับยั้งการสลายกระดูก เช่น ดีโนซูแมบ จะทำหน้าที่ในการยับยั้งการทำงานและการแปรสภาพ (differentiation) ของเซลล์สลายกระดูก กระตุ้นการทำลายตัวเองของเซลล์ ทำให้การสลายและการปรับรูปของเซลล์กระดูกลดลง โดยปกติแล้วเซลล์สลายกระดูกจะทำหน้าที่ในกระบวนการหายของแผลของกระดูกในบริเวณส่วนต่างๆของร่างกาย แต่พบว่าภาวะ กระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาจะเกิดขึ้นฉพาะที่กระดูกขากรรไกรเท่านั้น โดยมีข้อสันนิษฐานว่า เนื่องจากกระดูกขากรรไกร เป็นบริเวณที่มีเลือดมาเลี้ยงมากกว่ากระดูกบริเวณอื่น มีอัตราการหมุนเวียนของกระดูกที่สูง และจากการที่มีแรงเครี ยดเชิงกลมา กระทำอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้บิสฟอสโฟเนต ซึ่งมักจะสะสมในบริเวณที่มีอัตราการหมุนเวียนของกระดูกสูง จึงมาสะสมที่กระดูก ขากรรไกรในปริมาณที่มากกว่าบริเวณอื่น (Beth-Tasdogan, Mayer, Hussein, & Zolk, 2017; Fehm et al., 2009; Lehrer et al., 2009; Ruggiero et al., 2014) ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา เป็นภาวะแทรกซ้ อนที่พบได้น้อยจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก แต่เมื่อ เกิดขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ค่อนข้างมาก เช่น การมีอาการปวด แผลหายช้า มีกลิ่นปาก การเคี้ยวอาหาร ลำบาก เกิดการหักของกระดูกขากรรไกร ซึ่งผู้ป่วยอาจต้องใช้เวลาในการรักษาที่ค่อนข้างนาน และ ไม่สามารถคาดการณ์ถึง ผลการรักษาได้ โดยปัจจัยที่กระตุ้นการเกิดโรค ได้แก่ การถอนฟัน การทำหัตถการที่ทำให้เกิดบาดเจ็บต่อกระดูกเบ้าฟัน (alveolar bone) การติดเชื้อ การได้รับยากดภูมิคุ้มกัน และการได้รับยาเคมีบำบัด โดยปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุและกลไกเกิดโรค ที่แน่ชัด (Fliefel, Troltzsch, Kuhnisch, Ehrenfeld, & Otto, 2015; Holtmann et al., 2018) แต่คาดว่าอาจเป็นผลจากการ รบกวนการหมุนเวียนของกระดูก (bone turnover) โดยแนวทางการรักษาในผู้ป่วยภาวะกระดูกตายจากการใช้ยานั้นขึ้นอยู่กับ ความระยะความรุนแรงของโรค เริ่มตั้งแต่การรักษาเชิงอนุรักษ์ ประคับประคอง หรือกรณีที่รอยโรคมีความรุนแรง อาจต้องทำการ รักษาด้วยการผ่าตัดศัลยกรรม (surgical resection) ดังนั้นการป้องกันการเกิดโรคจึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการดูแลจัดการผู้ปว่ ยที่

16


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกตายจากการใช้ยา ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีเครื่องมือหรือวิธีการในการตรวจหาผู้ป่วยที่ มีความเสี่ยง ในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา (Kolokythas et al., 2015) จากหลายการศึกษา พบว่ามีการตรวจวัดระดับซีเทอมิ นอลเทโลเปปไทด์คอลลาเจนชนิดที่ หนึ่ง หรือซีทีเอ็กซ์ (Cterminal telopeptide of collagen I:CTX) ในเลือด ซึ่งเป็นค่าทางชีวเคมีของกระดูก (biological bone biomarker) ที่แสดง ถึงอัตราการสลายกระดูก ซึ่งนำมาใช้ประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา (Enciso et al., 2016; Fleisher et al., 2 0 1 0 ; Friedlander, Chang, Hazboun, & Garrett, 2 0 1 5 ; Hutcheson et al., 2 0 1 4 ; Kunchur, Need, Hughes, & Goss, 2009; Kwon, Kim, Ohe, Yoo, & Walter, 2009; R. E. Marx, Cillo, & Ulloa, 2007; Rosen et al., 2000) โดยเชื่อว่าในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคจะมีระดับของซีทีเอ็กซ์ในเลือดที่ลดลง ซึ่งเป็นผลจากการได้รับยายับยั้งการสลาย กระดูก โดยแนะนำให้ตรวจวัดระดับของซีทีเอ็กซ์ในผู้ป่วยก่อนการเริ่มรับบิสฟอสโฟเนตเพื่อรักษาโรคกระดูกพรุน รวมถึงนำมาใช้ ประเมินความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหักในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน หรือโรคกระดูกบาง แต่ในปัจจุบันมีทั้งการศึกษาที่สนับสนุนและ ไม่สนับสนุนการนำระดับ ซีทีเอ็กซ์ในเลือดมาใช้เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์การเกิดโรค (O'Connell, Ikeagwani, & Kearns, 2012) น้ำลาย มีส่วนประกอบของดีเอนเอ (DNA) อาร์เอนเอ (RNA) และไมโครโปรตีนอาร์เอนเอ (microprotein RNA) ที่อาจมี ความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคได้เช่นเดียวกับที่พบในเลือด (Wang, Kaczor-Urbanowicz, & Wong, 2017) ในปัจจุบันจึงมีการนำ น้ำลายมาใช้ในการตรวจหาโรคทั้งโรคในช่องปากและโรคทางระบบ (systemic disease) เนื่องจากการตรวจน้ำลายเป็นวิธีการที่ สามารถทำได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว ไม่รุกล้ำ ไม่จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ประหยัดค่าใช้จ่าย โอกาสในการแพร่เชื้ อน้อยกว่าเมื่อ เที ย บกั บ การเก็ บ ตั ว อย่ า งเลื อ ด(Pellegrini, Gonzales, Somoza, Friedman, & Zeni, 2008; Qin, Steel, & Fazel, 2017; Rocha, 2013) ดังนั้นการเก็บตัวอย่างน้ำลาย เพื่อ นำมาตรวจวัดระดับของค่าทางชีวเคมีของกระดูก จึ งอาจเป็นวิธีการหนึ่งที่ นำมาใช้ในการตรวจประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาได้ การศึกษานี้จึงต้องการศึกษาถึงระดับของซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายของผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่มยับยั้งการสลายกระดูก เปรียบเทียบในกลุ่มที่ เกิดและไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และในคนปกติที่ไม่มีประวัติการใช้ยายั บยั้งการสลายกระดูก โดยมีข้อ สันนิษฐานว่า การตรวจหาระดับค่าทางชีวเคมีของกระดูก สามารถตรวจได้จากน้ำลายเช่นเดียวกับการตรวจจากตัวอย่างเลือดของ ผู้ป่วย และในผู้ป่วยที่ได้รับยายับยั้งการสลายกระดูกจะมีระดับของซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายน้อยกว่าคนปกติ ซึ่งอาจนำมาใช้เป็นเครื่องมือ และวิธีการในการตรวจประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาต่อไปได้ ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (cross-sectional analytic study) ในกลุ่มอาสาสมัครทีม่ ารับการรักษาที่ ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 24 คน ในการศึกษา วิจัยครั้งนี้ จะแบ่งกลุ่มศึกษา เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน กลุ่มแรกคือ ผู้ที่มีประวัติเคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก (บิสฟอสโฟเนต หรือดีโนซูแมบ) และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาตามเกณฑ์ของสมาคม ศัลยแพทย์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลแห่งสหรัฐอเมริกาปี ค.ศ.2014 กลุ่มที่สอง คือ ผู้ที่มีประวัติเคยหรือกำลังได้รับยายับยั้ง การสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มที่สามคือ ผู้ที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีประวัติ การใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก โดยเกณฑ์การคัดเลือดอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (inclusion criteria) มีดังนี้ จะต้องเป็นผู้ที่อยู่ 17


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ในช่วงอายุ 50-90 ปี บริบูรณ์ สามารถอดอาหารได้อย่างน้อย 6 ชั่วโมงก่อนการเก็บตัวอย่างน้ำลาย และเป็นผู้ที่ยินยอม หรือ สามารถลงนามรับการเข้าร่วมวิจัย และเกณฑ์การไม่รับอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (exclusion criteria) ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในระยะ ดำเนินของโรคมะเร็ง (active malignancy) เป็นผู้ที่กำลังได้รับยากลุ่มพาราไทรอยด์ฮอร์โมน มีถุงน้ำหรือเนื้องอกบริเวณกระดูก ขากรรไกร หรือเป็นผู้ที่มีประวัติการได้รับการฉายรังสีรักษาบริเวณศีรษะและลำคอ รวมถึงบริเวณกระดูกขากรรไกร การศึกษานี้ ผ่านการพิจารณาและรับรองจากคณะกรรมการพิทักษ์สิทธิสวัสดิภาพและป้องกันภยันตรายของผู้ถูกวิจัย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยผู้เข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมดจะได้รับการเก็บน้ำลาย (อ้างอิงจาก Kolokythas ค.ศ.2015) ก่อนทำการเก็บ น้ำลาย ผู้เข้าร่วมงานวิจัย จะต้องงดรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม อย่างน้อย 6 ชั่วโมง และงดแปรงฟันหรือทำความสะอาดช่อง ปาก ก่อนเก็บตัวอย่างน้ำลายอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยการเก็บน้ำลายจะทำในตอนเช้าเพียงครั้งเดียว ในช่วงเวลา 07.00-09.00 น. ให้ผู้เข้าร่วมวิจัย นั่งในท่าที่สบาย จากนั้นให้บ้วนน้ำลายใส่หลอดเก็บตัวอย่าง ให้ได้ปริมาตรอย่างน้อย 5 มิลลิลิตร โดยไม่นับรวม ฟอง ซึ่งตัวอย่างน้ำลายที่เก็บได้จ ะเป็นชนิดที่ไม่ได้รับการกระตุ้น (unstimulated saliva) หลังจากการเก็บน้ำลายให้นำตัวอย่าง น้ำลายมาปั่นด้วยเครื่องหมุนเหวี่ยง ที่ระดับความเร็วรอบ 2400 g นาน 15 นาที และนำไปเก็บไว้ในตู้แช่แข็ง อุณหภูมิ -80 องศา เซลเซียส จนกว่าจะทำการวิเคราะห์ผล ทำการตรวจวัดระดับ ซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายของผู้เข้าร่วมวิจัย โดยวิธี Enzyme-linked immunosorbent assay (Serum Crosslaps® (CTX-1) ELISA, immunodiagnosticsystems, UK.) และวิเคราะห์ข้อมูลทาง สถิติ ด้วยวิธีการหาความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว (One-way ANOVA) เพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ระดับ ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 หรือ p < 0.05 ผลการวิจัย จากการเก็บน้ำลายจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 3 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน รวม 24 คน โดยกลุ่มแรกคือกลุ่มผู้ที่มปี ระวัติเคยหรือ กำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูกและได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา กลุ่มสองคือกลุ่มผู้ที่มี ประวัติเคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลาย แต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และ กลุ่มสามคือ กลุ่มผู้ที่มี สุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีประวัติการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก พบว่าเป็นเพศหญิง 22 คน เพศชาย 2 คน มีช่วงอายุ 55-89 ปี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 73.1 ปี ในจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก จำนวน 16 คน พบว่า ได้รับยาในรูปแบบการกิน 8 คน ได้รับยาในรูปแบบการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 8 คน โดยแบ่งเป็นผู้ป่วยที่ได้รับยาบิสฟอสฟอเนตจำนวน13 คน และได้รับยาดีโนซู แมบจำนวน 3 คน โดยสาเหตุของการได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก คือ ภาวะโรคกระดูกพรุน 15 คน และโรคมัลติเพิลมัยอีโลมา 1 คน และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา คือ การถอนฟัน โดยในกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากการใช้ยาทั้ง 8 คน พบว่าตำแหน่งที่เกิดรอยโรค คือกระดูกขากรรไกรล่าง ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของอาสาสมัคร จำนวน 24 คน MRONJ จำนวน (คน) 8 เพศ ชาย 1 หญิง 7

At-risk 8 0 8

Control 8 1 7

Total 24 2 22

18


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของอาสาสมัคร จำนวน 24 คน (ต่อ) MRONJ อายุเฉลี่ย (ปี) 75.2 ชนิดยา บิสฟอสโฟเนต 6 ดีโนซูแมบ 2 รูปแบบการใช้ยา ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 3 กิน 5 ปัจจัยเสี่ยง การถอนฟัน 8 ตำแหน่ง กระดูกขากรรไกรล่าง 8 กระดูกขากรรไกรบน 0 โรคผิดปกติทางกระดูก กระดูกพรุน 7 มัลติเพิลมัยอีโลมา 1

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

At-risk 74.1

Control 70.8

Total 73.1

7 1

N/A N/A

13 3

5 3

N/A N/A

8 8

8

N/A

16

N/A N/A

N/A N/A

8 0

8 0

N/A N/A

15 1

* N/A ไม่แสดงข้อมูล

ผลการศึกษาพบว่า ซีทีเอ็กซ์สามารถตรวจพบในน้ำลายได้ในทุกกลุ่มตัวอย่าง โดยค่าเฉลี่ยของระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลาย ของกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา มีค่าเท่ากับ 0.076 ng/ml กลุ่มผู้ที่มีประวัติเคยหรือ กำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา เท่ากับ 0.106 ng/ml และกลุ่มควบคุมมี ค่าเท่ากับ 0.092 ng/ml ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายของทั้งสามกลุ่มพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p=0.015) โดยพบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา เปรียบเทียบกับกลุ่มผู้ที่มีประวัติเคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูกแต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในทางตรงข้าม ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลาย ระหว่างกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยากับกลุ่มควบคุม และระหว่างกลุ่มผู้ที่มีประวัติเคยหรือกำลังได้รับยา ยับยั้งการสลายกระดูกแต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยากับกลุ่มควบคุม ดังแสดงในภาพที่ 1 อภิปรายผล ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ย า เป็นภาวะที่มี กระดูกตายบริเ วณกระดูก ขากรรไกรและใบหน้ า ซึ่งเป็ น ผลข้างเคียงหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูกในผู้ป่วยกระดูกพรุน หรือโรคมะเร็ง เช่น มะเร็งเต้มนม มะเร็งต่อมลูกหมาก มัลติเพิลมัยอีโลมา โดยปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนในการเกิดโรค แต่คาดว่า อาจเป็นผลจากการรบกวน การหมุนเวียนของกระดูก (Lazarovici et al., 2010) ซึ่งปัจจุบันสามารถตรวจประเมินได้จากค่าทางชีวเคมีของกระดูก ทั้งใน ตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ โดยนิยมใช้การตรวจหาระดับของโบนอัลคาน์ฟอสฟาเทส (bone alkaline phosphatase) และออสที

19


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

โอแคลซิน (osteocalcin) เพื่อประเมินการสร้างกระดูก และตรวจวัดระดับของไพริดิโนลิน (pyridinoline) ดีออกซีไพริดิโนลิน (deoxypyridinoline) ในปัสสาวะ และตรวจระดับเทอมินัลเทโลเปปไทด์คอลลาเจนชนิดที่ 1 (terminal telopeptide of type I collagen) จากตัวอย่างเลือดหรือปัสสาวะ ซึ่งได้แก่ เอ็นเทอมินัลเทโลเปปไทด์คอลลาเจนชนิดที่หนึ่ง หรือเอ็นทีเอ็กซ์ (N-terminal telopeptide of type I collagen:NTX) ซีทีเอ็กซ์ และระดับของฮอร์โมนพาราไทรอยด์ เพื่อประเมินการสลายตัวของกระดูก (Lazarovici et al., 2010; R.E Marx, 2007)

p = 0.011

ภาพที่ 1 กราฟแสดงระดับของซีทีเอ็กซ์ในน้ำลาย (ng/ml) การตรวจวัดระดับของซีทีเอ็กซ์ในเลือด เป็นการตรวจเพื่อหาระดับการสลายตัวของกระดูกโดยวัดส่วนของคอลลาเจน ชนิดที่ 1 ซึ่งถูกเซลล์สลายกระดูกย่อยสลายออกมา โดยการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์จะมีความคงที่ (stable) และให้ผลที่แม่นยำ (reliable) มากกว่าการตรวจวัดระดับเอ็นทีเอ็ กซ์ (Greenspan, Rosen, & Parker, 2000; Kwon et al., 2009) ซึ่งมีช่วงการ เปลี่ยนแปลงค่าที่มากกว่า โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือดมีหลายปัจจัย ได้แก่ การหลั่งตามรอบวัน ( circadian rhythm) ซึ่งมีจะมีการหลั่งสูงสุดในช่วงเช้า และลดลงในช่วงบ่าย การทำงานของตับและไต การได้รับยากลุ่มพาราไทรอยด์ฮอร์โมน รวมถึงภาวะอดอาหาร ในทางตรงกันข้ามภาวะวัยหมดประจำเดือน (menopausal status) การรับยากลูโคคอร์ติคอยด์ หรือแคลซิ โทนิน (calcitonin) และภาวะนอนติดเตียงนั้นไม่มีผลต่อระดับของซีทีเอ็กซ์ (Chubb, 2012) การวัดระดับของซีทีเอ็กซ์ในเลือดถูก แนะนำให้นำมาใช้เป็นค่าทางชีวเคมีการหมุนเวียนของกระดูกเพื่อประเมินระดับของการสลายกระดูกที่น่าเชื่อถือและเหมาะสมมาก ที่สุด (Chubb, 2012; Kwon et al., 2009) โดยคอลลาเจนชนิดที่ 1 เป็นโครงสร้างหลักชนิดอินทรีย์ของกระดูก โดยคิดเป็น 98% ของโปรตีนในกระดูก (R. E. Marx et al., 2007) จึงมีความสัมพันธ์กับกระบวนการสลายตัวของกระดูก กล่าวคือเมื่อเกิดการ สลายตัวของกระดูก ซีทีเอ็กซ์จะถูกปล่อยออกมาในเลือด ดังนั้นผู้ป่วยที่ถูกกดการสลายตัวของกระดูกจากการใช้บิสฟอสโฟเนตหรือ ดีโนซูแมบจะพบระดับของซีทีเอ็กซ์ที่ลดลง โดยแนะนำให้ตรวจวัดระดับของซีทีเอ็กซ์ในผู้ป่วยก่อนการเริ่มรับบิสฟอสโฟเนตเพื่อ รักษาโรคกระดูกพรุน รวมถึงนำมาใช้ประเมินความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหักในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน หรือโรคกระดูกบาง แต่

20


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังมีข้อถกเถียงกันสำหรับการตรวจระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือด เพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากการใช้ยา (Dal Pra, Lemos, Okamoto, Soubhia, & Pellizzer, 2017; Enciso et al., 2016; Friedlander et al., 2015; Kunchur et al., 2009; Kwon et al., 2009) Marx ในปี ค.ศ.2007 ได้แนะนำว่า การตรวจวัดระดั บซีทีเอ็กซ์ในเลือด สามารถใช้เป็นค่าทางชีวเคมีการสลายตัวของ กระดูกเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา (R. E. Marx et al., 2007) Kwon และคณะ ค.ศ. 2009 (Kwon et al., 2009) ได้รายงานความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างระดับความรุนแรงของภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากการใช้ยากับการประเมินความเสีย่ งการเกิดโรคโดยใช้ระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือด เช่นเดียวกับ Kunchur และคณะใน ปี ค.ศ.2009 (Kunchur et al., 2009) เสนอว่าการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือดไม่ได้เป็นตัวทำนายการเกิดโรคที่แน่นอน แต่ สามารถนำมาใช้เป็นตัวประเมินความเสี่ยงก่อนการถอนฟัน การศึกษาของ Bagan และคณะในปี ค.ศ.2008 (Bagan et al., 2008) ในกลุ่มผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาในรูปแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง ระดับของซีทีเอ็กซ์ในเลือดกับจำนวน ตำแหน่งและขนาดของบริเวณที่พบกระดูกโผล่ แต่เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมในคนปกติ พบว่า ในกลุ่มผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา มีระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือดต่ำกว่าอย่างมีนัยสำคัญ แต่ยังมีอีกหลายการศึกษา ที่พบว่าการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือดไม่สามารถนำมาใช้เป็นเครื่ องมือในการประเมินความเสี่ยงของการเกิดภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากใช้ยาในผู้ป่วยที่ได้รับบิสฟอสโฟเนต (Dal Pra et al., 2017; Enciso et al., 2016) น้ำลายสามารถนำมาใช้ในการประเมินโรคทางระบบ รวมถึงโรคในช่องปากได้ เนื่องจากมีข้อดี เช่น สามารถเก็บได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ผู้ป่วยไม่เจ็บตัว โดยเฉพาะการตรวจในเด็กหรือผู้สูงอายุ ไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดโอกาส การแพร่เชื้อ ไม่มีการตกตะกอน (coagulation) เมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บตัวอย่างเลือด ปัจจุบันจึงได้มีการนำน้ำลายมาเป็นค่า ทางชีวเคมีเพื่อตรวจดูการหมุนเวียนของกระดูก นอกเหนือจากการตรวจผ่านทางเลือดและปัสสาวะ (Kolokythas et al., 2015; Pellegrini et al., 2008; Qin et al., 2017; Radhika, Jeddy, Nithya, & Muthumeenakshi, 2016; Rocha, 2013; Zian, Bakkach, Barakat, Ghailani Nourouti, & Bennani Mechita, 2018) Pellegrini และคณะ ในปี ค.ศ.2008 (Pellegrini et al., 2008) ตรวจพบความสัมพันธ์ของระดับซีทีเอ็กซ์ในตัวอย่าง เลือดและน้ำลาย ในหนูทดลองที่เป็นโรคกระดูกบางเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม Totan และคณะ ในปี ค.ศ.2015 (Totan, Miricescu, Parlatescu, Mohora, & Greabu, 2015) ศึกษาระดับของซีทีเอ็กซ์ในเลือดและน้ำลายของผู้ป่วยกลุ่มโรคไลเคนพ ลานัสเทียบกับกลุ่มควบคุม และพบว่าการตรวจหาค่าทางชีวเคมีในน้ำลาย เพื่อดูการสลายกระดูก จะมีความไวมากกว่าการตรวจ จากตัวอย่างเลือด ทางผู้ศึกษาจึงได้ตั้งสมมติฐานว่า การตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ สามารถตรวจพบได้ในน้ำลายเช่นเดียวกับในเลือด และเนื่องจากภาวะกระดูกขากรรไกรตาย เป็นรอยโรคที่เกิดขึ้นในเฉพาะช่องปาก ซึ่งเป็นบริเวณมีน้ำลายหลั่งออกมาตลอดเวลา ดังนั้นการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลาย อาจจะนำมาใช้เป็นค่าทางชีวเคมีของกระดูกเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโร คที่ ความจำเพาะมากขึ้น ซึ่งจากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า ในทุกกลุ่มการทดลอง สามารถตรวจพบระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายได้ เช่นเดียวกับในเลือด โดยในกลุ่มผู้ที่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา มีระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายต่ำกว่ากลุ่มผู้ที่มีประวัติ เคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา หรือกลุ่มเสี่ยง อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ สอดคล้องกับ Peisker และคณะในปี ค.ศ.2018 (Peisker et al., 2018) พบว่าระดับของค่าซีทีเอ็กซ์ในเลือดระหว่างกลุ่ม ผู้ป่วยที่เป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ย ามีค่าต่ำกว่ากลุ่มได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูก 21


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ขากรรไกรตายจากการใช้ยา แต่อย่างไรก็ตาม ในการศึกษานี้พบว่าระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายมีค่าที่น้อยมาก (0.045-0.169 ng/ml) อาจเป็นผลมาจากปัจจัยรบกวนที่แตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน เช่น อัตราการไหลของน้ำลาย ความข้นหนืดของน้ำลาย ช่วงเวลา ในการเก็บ โภชนาการ รวมถึงยาที่ผู้ป่วยได้รับที่อาจทำให้เกิดภาวะน้ำลายแห้ง จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าการศึกษานี้ เป็นการศึกษาแรกที่มีการนำน้ำลายมาใช้ในการตรวจหาระดับซีทีเอ็กซ์ใน กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยายับยัง้ การสลายกระดูก ทั้งในกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มควบคุม ซึ่งจากผลการศึกษา สามารถตรวจพบระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายได้ทุกกลุ่ม ดังนั้นการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ใน น้ำลาย จึงอาจนำมาใช้เป็นทางเลือกหนึ่ง ในการตรวจประเมินความเสี่ ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาได้ เช่นเดียวกับในเลือด แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้มีข้อจำกัดคือ อาสาสมัครที่เข้าร่วมวิจัยมีจำนวนน้อย เนื่องด้วยภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจาการการใช้ยาเป็นโรคที่พบได้น้อยมาก และเป็นการศึกษากลุ่มประชากรในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจมีผลต่อ การวิเคราะห์ผลทางสถิติ จึงควรเพิ่มจำนวนอาสาสมัครในแต่ละกลุ่ม และเพิ่มช่วงเวลาในการศึกษา เช่น การศึกษาแบบไปข้างหน้า (prospective study) หรือ อาจมีการศึกษาระดับซีทีเอ็กซ์ในเลือดน้ำลายเปรียบเทียบกับในเลือดเพิ่มเติม ซึ่งจะช่วยให้ผล การศึกษามีความถูกต้อง และยืนยันผลการศึกษาในครั้งนี้ ข้อสรุปและเสนอแนะ ผลการศึกษานี้ พบว่า สามารถตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายได้ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย ว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรการตายจากการใช้ยา และกลุ่มเสี่ยง พบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นภาวะกระดูกขากรรการ ตายจากการใช้ยามีระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายต่ำกว่ากลุ่มเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น การตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลาย อาจใช้เป็นทางเลือกหนึ่งในการประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา ในผู้ป่ วยที่ได้รับยับยั้งการ สลายกระดูก แต่อย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในกลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่กว่านี้ เอกสารอ้างอิง Bagan, J. V., Jimenez, Y., Gomez, D., Sirera, R., Poveda, R., & Scully, C. (2008). Collagen telopeptide (serum CTX) and its relationship with the size and number of lesions in osteonecrosis of the jaws in cancer patients on intravenous bisphosphonates. Oral Oncology, 44(11), 1088-1089. Beth-Tasdogan, N. H., Mayer, B., Hussein, H., & Zolk, O. (2017). Interventions for managing medication-related osteonecrosis of the jaw. Cochrane Database Syst Rev, 10, Cd012432. Chubb, S. A. (2012). Measurement of C-terminal telopeptide of type I collagen (CTX) in serum. Clinical Biochemistry, 45(12), 928-935. Dal Pra, K. J., Lemos, C. A., Okamoto, R., Soubhia, A. M., & Pellizzer, E. P. (2017). Efficacy of the C-terminal telopeptide test in predicting the development of bisphosphonate-related osteonecrosis of the jaw: a systematic review. International Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 46(2), 151-156. Enciso, R., Keaton, J., Saleh, N., Ahmadieh, A., Clark, G. T., & Sedghizadeh, P. P. (2016). Assessing the utility of serum C-telopeptide cross-link of type 1 collagen as a predictor of bisphosphonate-related

22


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

osteonecrosis of the jaw: A systematic review and meta-analysis. Journal of the American Dental Association, 147(7), 551-560.e511. Fehm, T., Beck, V., Banys, M., Lipp, H. P., Hairass, M., Reinert, S., . . . Krimmel, M. (2009). Bisphosphonateinduced osteonecrosis of the jaw (ONJ): Incidence and risk factors in patients with breast cancer and gynecological malignancies. Gynecologic Oncology, 112(3), 605-609. Fleisher, K. E., Welch, G., Kottal, S., Craig, R. G., Saxena, D., & Glickman, R. S. (2010). Predicting risk for bisphosphonate-related osteonecrosis of the jaws: CTX versus radiographic markers. Oral Surgery, Oral Medicine, Oral Pathology, Oral Radiology and Endodontics, 110(4), 509-516. Fliefel, R., Troltzsch, M., Kuhnisch, J., Ehrenfeld, M., & Otto, S. (2015). Treatment strategies and outcomes of bisphosphonate-related osteonecrosis of the jaw (BRONJ) with characterization of patients: a systematic review. International Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 44(5), 568-585. Friedlander, A. H., Chang, T. I., Hazboun, R. C., & Garrett, N. R. (2015). High C-Terminal Cross-Linking Telopeptide Levels Are Associated With a Minimal Risk of Osteonecrosis of the Jaws in Patients Taking Oral Bisphosphonates and Having Exodontia. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 73(9), 17351740. Greenspan, S. L., Rosen, H. N., & Parker, R. A. (2000). Early changes in serum N-telopeptide and C-telopeptide cross-linked collagen type 1 predict long-term response to alendronate therapy in elderly women. Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism, 85(10), 3537-3540. Holtmann, H., Lommen, J., Kubler, N. R., Sproll, C., Rana, M., Karschuck, P., & Depprich, R. (2018). Pathogenesis of medication-related osteonecrosis of the jaw: a comparative study of in vivo and in vitro trials. Journal of International Medical Research, 46(10), 4277-4296. Hutcheson, A., Cheng, A., Kunchar, R., Stein, B., Sambrook, P., & Goss, A. (2014). A C-terminal crosslinking telopeptide test-based protocol for patients on oral bisphosphonates requiring extraction: a prospective single-center controlled study. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 72(8), 14561462. Kolokythas, A., Karras, M., Collins, E., Flick, W., Miloro, M., & Adami, G. (2015). Salivary Biomarkers Associated With Bone Deterioration in Patients With Medication-Related Osteonecrosis of the Jaws. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 73(9), 1741-1747. Kunchur, R., Need, A., Hughes, T., & Goss, A. (2009). Clinical investigation of C-terminal cross-linking telopeptide test in prevention and management of bisphosphonate-associated osteonecrosis of the jaws. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 67(6), 1167-1173 Kwon, Y. D., Kim, D. Y., Ohe, J. Y., Yoo, J. Y., & Walter, C. (2009). Correlation between serum C-terminal crosslinking telopeptide of type I collagen and staging of oral bisphosphonate-related osteonecrosis of the jaws. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 67(12), 2644-2648.

23


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Lazarovici, T. S., Mesilaty-Gross, S., Vered, I., Pariente, C., Kanety, H., Givol, N., . . . Yarom, N. (2010). Serologic bone markers for predicting development of osteonecrosis of the jaw in patients receiving bisphosphonates. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 68(9), 2241-2247. Lehrer, S., Montazem, A., Ramanathan, L., Pessin-Minsley, M., Pfail, J., Stock, R. G., & Kogan, R. (2009). Bisphosphonate-induced osteonecrosis of the jaws, bone markers, and a hypothesized candidate gene. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 67(1), 159-161. Marx, R. E. (2003). Pamidronate (Aredia) and zoledronate (Zometa) induced avascular necrosis of the jaws: a growing epidemic. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 61(9), 1115-1117. Marx, R. E. (2007). Oral and intravenous bisphosphonate-induced osteonecrosis of the jaws: risks,prevention, and Management of oral bisphosphonate - induced osteonecrosis ofthe jaws: Quintessence Publishing. Marx, R. E., Cillo, J. E., Jr., & Ulloa, J. J. (2007). Oral bisphosphonate-induced osteonecrosis: risk factors, prediction of risk using serum CTX testing, prevention, and treatment. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 65(12), 2397-2410. O'Connell, J. E., Ikeagwani, O., & Kearns, G. J. (2012). A role for C-terminal cross-linking telopeptide (CTX) level to predict the development of bisphosphonate-related osteonecrosis of the jaws (BRONJ) following oral surgery? Irish Journal of Medical Science, 181(2), 237-242. Peisker, A., Raschke, G. F., Fahmy, M. D., Guentsch, A., Roshanghias, K., Konig, K. C., & Schultze-Mosgau, S. (2018). Cross-Sectional Study of four Serological Bone Turnover Markers for the Risk Assessment of Medication-Related Osteonecrosis of the Jaw. Journal of Craniofacial Surgery, 29(2), e137-e140. Pellegrini, G. G., Gonzales, C. M., Somoza, J. C., Friedman, S. M., & Zeni, S. N. (2008). Correlation between salivary and serum markers of bone turnover in osteopenic rats. Journal of Periodontology, 79(1), 158-165. Qin, R., Steel, A., & Fazel, N. (2017). Oral mucosa biology and salivary biomarkers. Clinics in Dermatology, 35(5), 477-483. Radhika, T., Jeddy, N., Nithya, S., & Muthumeenakshi, R. M. (2016). Salivary biomarkers in oral squamous cell carcinoma - An insight. J Oral Biol Craniofac Res, 6(Suppl 1), S51-s54. Rocha, F. R. G. e. a. (2013). Use of salivary biomarkers for diagnosis of periodontal disease activity: a literature review. World Journal of Dentistry, 4, 250-255. Rosen, H. N., Moses, A. C., Garber, J., Iloputaife, I. D., Ross, D. S., Lee, S. L., & Greenspan, S. L. (2000). Serum CTX: a new marker of bone resorption that shows treatment effect more often than other markers because of low coefficient of variability and large changes with bisphosphonate therapy. Calcified Tissue International, 66(2), 100-103.

24


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Ruggiero, S. L., Dodson, T. B., Fantasia, J., Goodday, R., Aghaloo, T., Mehrotra, B., & O'Ryan, F. (2014). American Association of Oral and Maxillofacial Surgeons position paper on medication-related osteonecrosis of the jaw--2014 update. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, 72(10), 1938-1956. Totan, A., Miricescu, D., Parlatescu, I., Mohora, M., & Greabu, M. (2015). Possible salivary and serum biomarkers for oral lichen planus. Biotechnic and Histochemistry, 90(7), 552-558. Wang, X., Kaczor-Urbanowicz, K. E., & Wong, D. T. (2017). Salivary biomarkers in cancer detection. Medical Oncology, 34(1), 7. Zian, Z., Bakkach, J., Barakat, A., Ghailani Nourouti, N., & Bennani Mechita, M. (2018). Salivary Biomarkers in Systemic Sclerosis Disease. Biomed Res Int, 2018, 3921247.

25


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การปนเปื้อนของสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น เครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สมัญญา แจ่มเพ็ง อัญชลี สุขสูงเนิน รุ่งทิวา เกวียนสูงเนิน ศรีวรรณ กระจ่างโพธิ์ กมลพรรณ ยางศิลา และประพัฒน์ เป็นตามวา* สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี นครราชสีมา 30000 *Corresponding author E-mail: prapat@sut.ac.th บทคัดย่อ บทนำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่ส่งเสริมพัฒนาเด็กเล็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสังคมที่สมบูรณ์ โดย สิ่งแวดล้อมและอุปกรณ์การเรียนการสอนที่สะอาดและปลอดภัยส่งผลต่อพัฒนาการที่ดีของเด็กเล็ก วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณของสารตะกั่ วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และ สีทาผนังห้องเรียนในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก วิธีวิจัย การศึกษานี้ทำการเก็บตัวอย่างจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 8 แห่ง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การเก็บตัวอย่างสีจากของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน ด้วยวิธีการ Scraping Method (ASTM E1729-05) สำหรับสี ไม้ สีเทียน และดินน้ำมัน ทำการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการ Scraping Method (EN71-3) และทำการวิเคราะห์สารตะกั่วจากตัวอย่าง ด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรมิเตอร์ (Atomic Absorption spectroscopy) ชนิด Graphite furnace และนำค่าที่ได้ เทียบกับค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่าสีทาเครื่องเล่นมีการปนเปื้อนสารตะกั่วมากที ่สุด รองลงมาคือสีไม้ ดินน้ำมัน สีเทียน และสีทาผนังห้องเรียน ตามลำดับ โดยมีค่าเท่ากับ 9.39, 8.84, 7.79, 7.49, 5.38 และ 0.42 mg/l ตามลำดับ โดยสีไม้มีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.57 – 8.84 mg/l สีเทียนมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.11 – 5.38 mg/l ดิน น้ำมันมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.22 – 7.79 mg/l สีจากของเล่นมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.07 – 7.79 mg/l สีทาเครื่อง เล่นมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.80 – 9.39 mg/l และสีทาผนังห้องเรียนมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ใ นช่วง 0.13 – 0.42 mg/l อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ปริมาณสารตะกั่วในสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน สีจากของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนมีค่า อยู่ในช่วงในเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คำสำคัญ: สารตะกั่ว, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, นครราชสีมา

26


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Lead contamination from color pencils, crayons, plasticines, toys, playgrounds and classroom wall paints in Childcare Centers, Muang, Nakhon Ratchasima Samanya Jampang, Aunchalee Suksoonnarn, Rungthiwa Kwansoonnarn, Sriwan Krajangpho, Kamonwan Yangsila and Prapat Pentamwa* School of Environmental Health, Institute of Public Health, Suranaree University of Technology, Nakorn Ratchasima, 30000, Thailand *Corresponding author E-mail: prapat@sut.ac.th Abstract Introduction: The childcare center is a place to pursue and develop young children to have good physical, mental and social health. The clean and safe environment and teaching tools are all effect of young children development. Objective: The objective of this study was to analyze the lead contamination from color pencils, crayon, plasticine, toy paint and classroom wall paint in the 8 childcare centers in Mueang District, Nakhon Ratchasima. Methodology: The samples collected from toys paint, playground paint and wall paint in the classroom using the scraping method by ASTM E1729-05. The color pencils, crayon and plasticine samples were analyzed by using the scraping EN7 1 - 3 method. The lead compounds were analyzed by using the atomic absorption spectrophotometer with graphite furnace. The obtained values were compared with the industrial products standard. Results: Results showed that the lead contamination from playground paint had the highest levels followed by color pencils, crayons and wall paint with the values of 9.39, 8.84, 7.79, 7.49, 5.38 and 0.42 mg/l, respectively. The lead levels of pencils color ranged at 0.57 - 8.84 mg/l. Crayon has the lead content in the range of 0.11 - 5.38 mg/l. Plasticine contains lead in the range of 0.22 - 7.79 mg/l. The color from the toys has the lead content in the range of 0.07 - 7.79 mg/l. The paint from the playground has the lead content in the range 0.80 - 9.39 mg/l. Wall paint in the classroom has the amount of lead in the range of 0 . 1 3 - 0 . 4 2 mg/l. Discussion and conclusion: The lead contents from all samples were in the range of industrial product standard. Keywords: Lead, Childcare center, Nakorn Ratchasima

27


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ เด็กเป็นจุดเริ่มต้นของทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าในการพัฒนาประเทศ คุณภาพของเด็กในวันนี้สะท้อนถึงอนาคตของ ประเทศชาติ ดังนั้นเด็กควรมีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การพัฒนาที่สำคัญ ที่สุดในชีวิตของเด็ก จึงเกิดขึ้นในช่วงปฐมวัยหรือช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต การพัฒนาในเด็กปฐมวัย จึงเป็นสิ่งสำคัญของครอบครัวและ ประเทศชาติ (ยูนิเซฟ, 2559) ประเทศไทยมีเด็กปฐมวัยบางส่วนที่ขาดการดูแลและการกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม และอาจมี แนวโน้มที่จะมีพัฒนาการล่าช้าเกือบทุกด้าน และผู้ปกครองยังขาดความเข้าใจในการเสริมพัฒนาการทางร่างกายด้านต่าง ๆ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2561) โรงเรียนอนุบาลหรือสถานรับเลี้ยงเด็ก จึงเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยแก้ปัญหา เหล่านี้ได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงถูกจัดตั้งขึ้น โดยมีบทบาทสำคัญในการสร้างพื้นฐานให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมวัย (จิรพิศ สังข์เพชร , 2561) และมีการจัดพื้นที่ให้เด็กได้ออกกำลังกาย มีอุปกรณ์เสริมสร้างพัฒนาการ เช่น การเล่นของเล่น กิจกรรมวาดภาพระบายสี ปั้นดินน้ำมัน กิจกรรมการปีนป่าย ซึ่งอุปกรณ์เสริมสร้างพัฒนาการเหล่านี้จะต้องมีความสะอาด ปลอดภัย ปราศจากการปนเปื้อ น ของโลหะหนักที่อาจมีการสัมผัสจากเด็กเล็กเข้าสู่ร่างกาย จากรายงานการศึกษาที่ผ่านมาพบว่ามีการปนเปื้อนของสารตะกั่วใน สิ่งแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น ในของเล่น โต๊ะ ABC สีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน สีทาเครื่องเล่น สีทาผนังห้องเรียน อาหาร ภาชนะใส่อาหาร ดิน ฝุ่น และน้ำดื่ม จากการศึกษาความเสี่ยงต่อการได้รับสารตะกั่วของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานครในปี 2553 พบว่า มีการปนเปื้อนของสารตะกั่วมากที่สุดในสี ฝุ่น และดิน คิดเป็นร้อยละ 55 รองลงมา คือ อาหารร้อยละ 20 อากาศร้อยละ 15 น้ำร้อยละ 10 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 16.9ของของเล่นในประเทศไทย มี ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน (อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์, 2556) และร้อยละ 79 พบสีน้ำมันทาอาคารมีสารตะกั่วปนเปื้อนสูง กว่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง, 2558) สารตะกั่วที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอาจก่อ อันตรายต่อสุขภาพอย่างร้ายแรงต่อเด็ก โดยเฉพาะมีผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายและสมอง รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันอีกด้วย โดย ในปี 2557 องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าโรคปัญญาอ่อนจากสารตะกั่ว เป็น 1 ใน 10 โรคร้ายแรงที่สุด ซึ่งมีปัจจัยเสี่ ยงด้าน สิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนสารตะกั่ว รวมไปถึงปัจจัยด้านพฤติกรรมของเด็กที่อาจเพิ่มโอกาสการรับตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย เช่น การ คลาน การเล่นตามพื้นดินที่ปนเปื้อนด้วยตะกั่ว เช่น สีที่ลอกหลุดและปะปนอยู่กับฝุ่นภายในบ้านและโรงเรียน ของเล่นที่มีการทาสี และหลุดลอกของสี ซึ่งถ้าหากได้รับสารตะกั่วปริมาณมากในวัยเด็กจะมีผลโดยตรงต่อระดับสติปัญญา สมองและระบบประสาท อย่างถาวรได้ (อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ , 2556) ดังนั้น เพื่อให้เด็กมีความปลอดภัยจากการได้รับสารตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย องค์การ อนามัยโลกได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกจัดทำกฎหมายควบคุมการใช้สารตะกั่วในผลิตภัณฑ์สีทาอาคารภายในปี 2563 และในปี 2560 ประเทศไทยมีการออกกฎหมายควบคุมสารตะกั่วในสีทาอาคาร นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในการ กำหนดค่ามาตรฐานตะกั่วที่ควรมีในผลิตภัณฑ์ การศึกษานี้คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาการปนเปื้อนสารตะกั่วจากสีไม้ สี เทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน โดยการเก็บตัวอย่างเพื่อนำมาวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้วย เทคนิค Scraping (ASTM E1729-05 ) โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ ำมัน ของ เล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพและการประเมินความเสี่ยงต่อการได้รับสัมผัสจากตะกั่วในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต่อไป

28


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ และ วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยศึกษาการปนเปื้อนสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น เครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชลประทานสงเคราะห์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสวนหม่อน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียน บ้านหลักร้อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเคหะประชาสามัคคี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปรุใหญ่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบล เมืองใหม่โคกกรวด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลไชยมงคล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสุรนารี โดยทำการศึกษา ในช่วงเดือน มีนาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2562 โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น 3 ส่วนหลักดังนี้ 1. การสำรวจบัญชีรายชื่อสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องในท้องตลาดในร้านค้าที่ศู นย์ พัฒนาเด็กเล็กนิยมไปซื้อผลิตภัณฑ์จำนวน 11 แห่ง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 2. การศึกษาปริมาณสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การเก็บตัวอย่างสีจากของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน ด้วยวิธกี าร Scraping Method (ASTM E1729-05) สำหรับสีไม้ สีเทียน และดินน้ำมัน ทำการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการ Scraping Method (EN71-3) และทำการวิเคราะห์สารตะกั่วจากตัวอย่างด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรมิเตอร์ (Atomic Absorption spectroscopy) ชนิด Graphite furnace (NIOSH, 1994, 1996) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2.1 การเก็บตัวอย่างสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน โดยจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเก็บตัวอย่างและสำรวจพื้นที่เป้าหมาย การกำหนดบริเวณที่จะเก็บตัวอย่าง เลือกสีไม้ที่เด็กเล็กมีโอกาสเสี่ยงต่อ การสัมผัสสารตะกั่วมากที่สุด และทำการสวมถุงมือเพื่อป้องกันการปนเปื้อนสารตะกั่ว จากนั้นทำการใช้มีดคัตเตอร์ ขูดหรือกะเทาะเอาตัวอย่าง ออกมาให้ได้เป็นตัวอย่างสีของแต่ละตัวอย่างมาประมาณ 2 กรัม และทำการเก็บ ตัวอย่างใส่ในถุงซิปล็อค บันทึกชนิดของตัวอย่างวันที่เก็บตัวอย่าง นำตัวอย่างที่ทำการเก็บตัวอย่างมาแล้วไปเก็บ รักษาแช่เย็นและทำการวิเคราะห์ต่อไป 2.2 ทำการวิเคราะห์หาปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่าง โดยทำการชั่งตัวอย่างตัวอย่างละ 0.25 กรัม ใส่ในบีกเกอร์ขนาด 100 ml ที่ใช้ในการย่อยตัวอย่าง เติมกรดไนตริกเข้มข้นร้อยละ 65 ปริมาตร 20 ml ลงในบีกเกอร์ขนาด 100 ml จากนั้นบรรจุตัวอย่างที่ได้ในตู้ดูดควัน ปิดบีกเกอร์ที่บรรจุตัวอย่าง ขนาด 100 ml ด้วยกระจกนาฬิกาและทำการ ย่อยสารละลายด้วยความร้อนบนเตาให้ความร้อน ที่อุณหภูมิ 180 °C เป็นเวลา 5 นาที จนได้สารละลายใส ไม่มีสี หรือให้เหลือปริมาตรประมาณ 10 ml นำตัวอย่างลงจากเตาให้ความร้อนและตั้งทิ้งไว้ในตู้ดูดควันให้เย็นประมาณ 5 นาที เมื่อครบ 5 นาที ให้ปิเปตกรดไนตริกเข้มข้น 65% ปริมาตร 10 ml ในบีกเกอร์ตัวอย่าง แล้วทำการย่อย ตัวอย่างอีกครั้ง 5 นาที จนสารละลายเหลือปริมาตร 10 ml หรือจนกว่าสารละลายตัวอย่างจะใส และเมื่อทำการ ย่อยสารละลายตัวอย่างเสร็จแล้ว นำตัวอย่างลงจากเตาให้ความร้อนอีกครั้งและตั้งทิ้งไว้ในตู้ดูดควันให้เย็นประมาณ 5 นาที จากนั้นให้นำสารละลายที่ได้มาทำการกรองด้วยกระดาษกรองทนกรด ยี่ห้อ Whatman เบอร์ 1 เพื่อกรอง ของแข็งออก เทสารละลายจากการกรองใส่ลงในขวดปรับปริมาตรขนาด 50 ml และทำการปรับปริมาตรด้วยน้ำ กลั่นให้ได้ 50 ml จากนั้นนำสารละลายที่ได้ไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer (AAS) ชนิด Graphite furnace แบบอัตโนมัติ ยี่ห้อ Perkin Elmer รุ่น PinAAcle 900 Z 29


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย ในรูปของค่าเฉลี่ย พิสัย และ ร้อยละ โดยปริมาณสารตะกั่วที่พบในตัวอย่างแต่ละ ชนิดนำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานที่เกี่ยวข้องต่อไป ผลการวิจัย ผลการศึกษาของการศึกษาประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก โดยมีรายละเอียดผลการศึกษาดังนี้ 1. การสำรวจบัญชีรายชื่อ สีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนั งห้องเรียน ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบว่า 1.1) ยี่ห้อสีไม้ที่พบมากที่สุด คือ Master Art และ House โดยพบทั้ง 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ยี่ห้อ Colleen พบ 10 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 91 ยี่ห้อ Staedtler พบ 9 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ82 และ ยี่ห้อ Master Art master series พบ 8 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 73 ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 รูปแสดงผลการสำรวจยีห่ ้อสีไม้ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 1.2) ยี่ห้อสีเทียนที่พบมากที่สุด คือ Master Art โดยพบทั้ง 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ยี่ห้อ Horse และ Staedtler luna พบ 7 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64, ยี่ห้อ Staedtler พบ 5 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 45 และ ยี่ห้อ Kid Art และ Sakura พบเพียง 3 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27 ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 รูปแสดงผลการสำรวจยี่ห้อสีเทียน ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

1.3) ยี่ห้อดินน้ำมันที่พบมากที่สุด คือ Kid Art โดยพบ 5 แห่ง จาก 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 45 ยี่ห้อ ยากิย่า และ Zaja พบ 4 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36 และ ดินน้ำมันยี่ห้อ Kiddyclay Nara P-clay และ Proto พบเพียง 2 แห่ง จากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18 ดังภาพที่ 3

รูปที่ 3 รูปแสดงผลการสำรวจยี่หอ้ ดินน้ำมันในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 1.4) ยี่ห้อของเล่นที่พบมากที่สุด คือ Melissa & doug และ Plan toys โดยพบอย่างละ 1 แห่งจากทั้งหมด 11 แห่ง คิดเป็นร้อย ละ 9 ดังภาพที่ 4

ภาพที่ 4 รูปแสดงผลการสำรวจยี่ห้อของเล่นในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 1.5) ยี่ห้อสีทาเครื่องเล่นที่พบมากที่สุด คือ TOA โดยพบทั้ง 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ยี่ห้อ Beger, Captain และ ICI พบ 4 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80 ยี่ห้อ Nippon, Delta และ Jotun พบ 3 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 ยี่ห้อ JBP พบ 2 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40 และสีทาเครื่องเล่นยี่ห้อ Dyno และ Rust-Oleun พบยี่ห้อละ 1 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20 ดังภาพที่ 5

31


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ภาพที่ 5 รูปแสดงผลการสำรวจยี่ห้อสีทาเครื่องเล่นในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 1.6) ยี่ห้อสีทาผนังห้องเรียนที่พบมากที่สุด คือ TOA โดยพบทั้ง 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ยี่ห้อ ICI, Beger และ Captain พบ 4 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80 ยี่ห้อ Nippon, Jotun และ Delta พบ 3 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 60 ยี่ห้อ JBP และ National พบ 2 แห่งจากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40 และ RTB, Golden Arrow, Turbo และ Endura พบยี่ห้อละ 1 แห่ง จากทั้งหมด 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20 ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 6 รูปแสดงผลการสำรวจยีห่ ้อสีทาผนังห้องเรียนในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 2. ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 8 แห่ง จากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวนทั้งหมด 8 แห่ง ด้วยเครื่อง AAS with graphite furnace และทำการเก็บตัวอย่างทั้ง 6 ประเภทตัวอย่าง รวมจำนวนทั้งสิ้น 69 ตัวอย่าง โดยตัวอย่างสีไม้ ทำการ เก็บตัวอย่างทั้งหมด 16 ตัวอย่าง จากการวิเคราะห์ตัวอย่างสีไม้พบว่ามีปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 8.84 mg/l และสี ไม้มีปริมาณสารตะกั่วต่ำสุด เท่ากับ 0.57 mg/l สีเทียนทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 22 ตัวอย่าง ซึ่งจากการวิเคราะห์ตัวอย่างสีเทียนมี

32


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ค่าปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 5.38 mg/l และสีเทียนมีปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างต่ำสุด เท่ากับ 0.11 mg/l ดิน น้ำมัน ทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 4 ตัวอย่าง เฉพาะที่พบในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งจากการวิเคราะห์ตัวอย่างดินน้ำมัน มีค่าปริมาณ สารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 7.49 mg/l และดินน้ำมันมีปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างต่ำสุด เท่ากับ 0.22 mg/l ของเล่น ทำ การเก็บตัวอย่างทั้งหมด 15 ตัวอย่าง ซึ่งจากการวิเคราะห์ตัวอย่างของเล่น มีค่าปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 7.79 mg/l และของเล่นมีปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างต่ำสุด เท่ากับ 0.07 mg/l สีเครื่องเล่นทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 5 ตัวอย่าง ซึ่ง จากการวิเคราะห์ตัวอย่างสีเครื่องเล่น มีค่าปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 9.39 mg/l และสีเครื่องเล่น มีปริมาณสาร ตะกั่วในตัวอย่างต่ำสุด เท่ากับ 0.80 mg/l และสีทาผนังห้องเรียน ทำการเก็บตัวอย่ างทั้งหมด 7 ตัวอย่าง ซึ่งจากการวิเคราะห์ ตัวอย่างสีทาผนังห้องเรียน มีค่าปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างที่สูงสุดเท่ากับ 0.42 mg/l และสีทาผนังห้องเรียนมีปริมาณสารตะกั่วใน ตัวอย่างต่ำสุด เท่ากับ 0.13 mg/l รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปผลการวิเคราะห์ตัวอย่าง ค่าปริมาณสารตะกั่ว (mg/l) ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด สีไม้ 16 8.84 0.57 สีเทียน 22 5.38 0.11 ดินน้ำมัน 4 7.49 0.22 ของเล่น 15 7.79 0.07 สีเครื่องเล่น 5 9.39 0.80 สีทาผนังห้องเรียน 7 0.42 0.13 สรุป 69 9.39 0.07 หมายเหตุ: *ค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ประเภทตัวอย่าง

จำนวนตัวอย่าง

มาตรฐานของสารตะกั่วในตัวอย่าง (mg/l) *90 mg/l *100 mg/l *90 mg/l *90 mg/l *90 mg/l *90 mg/l

อภิปรายผล 1. ผลการวิเคราะห์การปนเปื้อนสารตะกั่วในตัวอย่างแต่ละประเภท จากผลการวิเคราะห์หาปริมาณสารตะกั่วในสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียน พบว่า ตัวอย่างของสีทาเครื่องเล่นมีการปนเปื้อนของสารตะกั่วมากที่สุด รองลงมา คือ ตัวอย่างสีไม้ ของเล่น ดินน้ำมัน สีเทียน และสีทา ผนังห้องเรียน ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอโนชา ชื่นงาม (2559) ซึ่งได้ทำการศึกษาระดับสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อมศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขนาดใหญ่ พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี โดยผลการศึกษา พบว่า สีทาเครื่องเล่น มี การปนเปื้อนสารตะกั่วมากที่สุด รองลงมา คือ ผนัง/เสา และของเล่น ตามลำดับ และปริมาณสารตะกั่วที่พบในตัวอย่างในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมดมีค่าต่ำกว่าค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 2. การคืนข้อมูลผลการสำรวจต่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากการลงพื้นที่เก็บตัวอย่างสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีเครื่องเล่น และสีทาผนังห้อง ในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ในอำเภอ เมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 8 แห่ง คณะผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์แจ้งผลให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในแต่ละแห่งทราบ

33


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

พร้อมทั้งระบุค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของตัวอย่าง ข้อควรปฏิบัติในการจัดการสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูก สุขลักษณะ ที่ลดการปนเปื้อนของสารโลหะหนักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สรุปและข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาการปนเปื้อนสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมั น ของเล่น เครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่าจากการลงพื้นที่สำรวจบัญชีรายชื่อสีไม้ ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัด นครราชสี มา พบว่ า ยี ่ ห ้ อ สีไ ม้ ท ี ่พ บมากที ่ส ุด คื อ Master Art, Horse, Colleen, Staedtler และ Master Art master series ตามลำดับ สีเทียน ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ยี่ห้อสีเทียนที่พบมากที่สุด คือ Master Art, Horse, Staedtler luna, Staedtler, Kid Art และ Sakura ตามลำดับ ดินน้ำมัน ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ยี่ห้อดินน้ำมันที่พบมากที่สุด คือ Kid Art, ยากิย่า, Zaja, Kiddyclay, Nara, P-clay และ Proto ตามลำดับ ของเล่น ในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ยี่ห้อของเล่นที่พบมากที่สุด คือ Melissa & doug และ Plan toys สีทาในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่ายี่ห้อสีทาเครื่องเล่นที่พบมากที่สุด คือ TOA, Beger, Captain, ICI, Nippon, Delta, Jotun, JBP, Dyno และ Rust-Oleun ตามลำดับ และสีทาผนังห้องเรียนในท้องตลาด อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ยี่ห้อสีทา ผนั งห้ อ งเรี ย นที ่ พ บมากที ่ส ุด คื อ TOA, ICI, Beger, Captain, Nippon, Jotun, Delta, JBP, National, RTB, Golden Arrow, Turbo และ Endura ตามลำดับ และผลการวิเคราะห์หาปริมาณสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และ สีทาผนังห้องเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์มีปริมาณสารตะกั่วมาก ที่สุด คือ สีทาเครื่องเล่น สีไม้ ของเล่น ดินน้ำมัน สีเทียนและสีทาผนังห้องเรียน ตามลำดับ ซึ่งปริมาณสารตะกั่วในตัวอย่างมีปริมาณ ต่ำกว่าข้อแนะนำในค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) สำหรับข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรมีก ารตรวจ วิเคราะห์หาปริมาณสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อมอื่นบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น ดิน น้ำ และอากาศ และประเมินความเสี่ยงต่อ สุขภาพจากสารตะกั่วในเด็กที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวมถึงการศึกษาสารปนเปื้อนและ โลหะหนักชนิดอื่น ๆ ในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก กิตติกรรมประกาศ การศึกษานี้ขอขอบคุณ บุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 8 แห่ง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา และ นักวิทยาศาสตร์ประจำศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เอกสารอ้างอิง จิ ร พิ ศ สั ง ข์ เ พ ชร . ( 25 6 1 ). ศู นย์ พั ฒ นา เ ด็ กเ ล็ กส ร้ า งเ ด็ กโ ต ส ม วั ย . สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/43285-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสร้างเด็กโตสมวัย.html เพ็ ญ โฉม แซ่ ตั้ ง. (2558). สี ป ลอดสารตะกั่ ว ใกล้ เ ป็ น จริ ง . แถลงข่ า วผลวิ จั ย โดยมู ล นิ ธิ บู ร ณะนิ เวศ. สืบค้นจาก https://www.citizenthaipbs.net/node/11878 ยูนิเซฟ. (2559). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. สืบค้นจาก https://www.unicef.org/thailand/ สำนั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ. (2561). ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก สร้ า งเด็ ก โตสมวั ย . สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/43285-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสร้างเด็กโตสมวัย.html

34


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. (2556). สีทาบ้านอันตราย “สารตะกั่วเกิน”ทำเด็กไอคิวต่ำ. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/14088.html อโนชา ชื่นงาม. (2559). ระดับสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขนาดใหญ่พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10, 14 (2), 5-14. NIOSH. (1994). Lead by Flame AAS. NIOSH Manual of Analytical Methods (NMAM), 4(2), 2-7. NIOSH. (1996). LEAD in Surface Wipe Samples. NIOSH Manual of Analytical Methods (NMAM), 4(2), 2-2.

35


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จากของเสีย นิตยา สิทธิพรหม1, ปณรรฐพร ใจวัน1, สุธาสินี โพธิ์ศรี1 และประดับดวง เกียรติศักดิ์ศิริ1* 1 สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง *Corresponding author E-mail: pradabduang.k@fph.tu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: ลำปางเป็นจังหวัดที่พบปริมาณฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำบาดาลสูงเกินมาตรฐานน้ำบาดาลที่จะใช้บริโภค (0.7 มิลลิกรัมต่อลิตร) โดยพบฟลูออไรด์ในช่วง 0.8 - 5.9 มิลลิกรัมต่อลิตร การบริโภคน้ำที่มีฟลูออไรด์สูงเป็นประจำ ทำให้เกิดภาวะฟัน ตกกระและภาวะกระดูกพรุน วัตถุประสงค์: 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จาก เปลือกสับปะรด กากกาแฟ เปลือกไข่ไก่ และกระดูกหมู 2) เพื่อศึกษาผลของความเป็นกรด-ด่างและปริมาณวัสดุดูดซับต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำ วิธีวิจัย: งานวิจัยนี้ทดลองกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์ที่มีฟลูออไรด์ 5.66 ±0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยใช้ผงวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จากของเสีย 4 ชนิด และศึกษาผลของความเป็นกรด-ด่าง (pH 4 - 8) และปริมาณ วัสดุดูดซับ (5 - 20 กรัมต่อลิตร) ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ ผลการวิจัย: สภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับฟลูออไรด์ คือ pH 6 และใช้วัสดุดูดซับ 10 กรัมต่อลิตร โดยพบว่าผงวัสดุดูดซับจากกระดูกหมูสามารถดูดซับฟลูออไรด์ในน้ำได้มากที่สุด (ร้อย ละ 53.58 ±0.00) ในเวลา 120 นาที ประสิทธิภาพในการดูดซับเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 82.12±1.60 เมื่อใช้ผงถ่านกระดูกซึ่งผ่านการ เผาที่ 650 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่าผงถ่านกระดูกหมูช่วยลดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาลที่มี ฟลูออไรด์ 4.64 มิลลิกรัมต่อลิตรได้ถึงร้อยละ 82.56 ±0.88 ในเวลา 180 นาที อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ประสิทธิภาพในการ กำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสูงสุดที่ pH 6 เนื่องจากที่ pH 4 และ pH 8 เกิดการรบกวนการดูดซับจากกรดไฮโดรฟลูออริก และไฮดรอก ไซด์ไอออน การเผากระดูกหมูช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวและขนาดของรูพรุนของวัสดดูดซับ การลดปริมาณวัสดุดดู ซับทำให้พื้นที่ผิวในการดูด ซับน้อยลง และการเพิ่มปริมาณวัสดุดูดซับ ทำให้เกิดการซ้อนกันของตำแหน่งที่จะเกิดการดูดซับ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการดูดซับ ลดลง คำสำคัญ: การดูดซับ, ฟลูออไรด์, ถ่านกระดูกหมู

36


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Water defluoridation using waste-based adsorbents Nittaya Sittiprom1, Panattapron Jaiwan 1, Sutasinee Phosri1 and Pradabduang Kiattisaksiri1* 1

Major of Environmental Heath, Faculty of Public Health, Thammasat University, Lampang Center *Corresponding author E-mail: pradabduang.k@fph.tu.ac.th

Abstract Introduction: Lampang province have high fluoride level in water. The amount of fluoride in Lampang was found in the range of 0.8-5.9 mg/L, which exceeds the ground water quality standards for drinking purposes (0.7 mg/L). Long-term consumption of high fluoride in the drinking water results in dental and skeletal fluorosis. Objectives: 1) To study the fluoride removal efficiency by using waste-based adsorbents prepared from pineapple peel, eggshell, coffee ground and pig bone. 2) To investigate the effect of water pH and adsorbents dose on the fluoride removal efficiency in water. Methodology: All experiments were carried out by batch adsorption mode. Defluoridation of water using waste-based adsorbents prepared from pineapple peel, eggshell, coffee ground and pig bone was investigated. An initial fluoride concentration was 5.66±0.03 mg/L. The effect of pH (4-8) and adsorbent dose (5-20 g/L) was studied. Results: The optimum pH and adsorbent dose were found to be pH 6 and 10 g/L, respectively. Pig bone powder exhibits the highest adsorption efficiency (53. 5 8 ±0.00 %) within 120 min. The adsorption efficiency was increased to 8 2 . 1 2 ±1 . 6 0 % when using pig bone char powder, obtained at a pyrolysis temperature of 650oC for 3 h, as an adsorbent. Moreover, the possibility of pig bone char powder for ground water defluoridation was examined. The result found that, pig bone char powder can remove fluoride from ground water (initial concentration 4.64 mg/ L) by 82.56 ±0.88 % within 180 min. Discussion and conclusion: The maximum fluoride reduction was obtained at a solution pH of 6. This is because at a solution pH of 4 and 8, the formation of weak hydrofluoric acid and the hydroxide ions could be competition with the fluoride, respectively. Pig bone char powder exhibits the greater adsorption than pig bone powder. This is because the preparation of pig bone char powder by a pyrolysis method can increase the specific surface area and porosity of the adsorbent. A decrease in the fluoride adsorption was found when using 5 g/L of pig bone char powder due to low surface area at low adsorbent dosage. At high adsorbent dosage (20 g/L), the removal efficiency was also decreased due to the overlapping of active sites.

Keywords: Adsorption, Fluoride, Pig bone char

37


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ฟลูออไรด์เป็นธาตุชนิดหนึ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและพบได้ในดิน น้ำ และแหล่งแร่ทั่วไป ในประเทศไทยพบฟลูออไรด์มากใน เขตภาคเหนือและภาคตะวันตก ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง พะเยา กาญจนบุรี และราชบุรี โดยพบใน ปริมาณเฉลี่ย 10.72 มิลลิกรัมต่อลิตร พบสู งสุด 17.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่จังหวัดลำพูน (สมทรัพย์และสุกัญญา, 2538) ซึ่งเกินค่า มาตรฐานที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทาง วิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2551 ที่กำหนดให้มีปริมาณฟลูออไรด์ ในน้ำบาดาลที่จะใช้บริโภคได้ไม่เกิน 0.70 มิลลิกรัมต่อลิตร จังหวัดลำปางเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่พบปริมาณฟลูออไรด์ในน้ำบาดาลสูง จากการสำรวจของสำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 1 ลำปางในปีพ.ศ. 2562 พบปริมาณฟลูออไรด์สูงเกินค่ามาตรฐานน้ำบาดาลที่จะใช้บริโภค ในเขตอำเภอห้างฉัตร อำเภอเกาะ คา อำเภอแจ้ห่ม อำเภอเถิน อำเภอสบปราบ และอำเภอวังเหนือ โดยพบฟลูออไรด์ในช่วงความเข้มข้น 0.8-5.9 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งปริมาณฟลูออไรด์ที่สูงเกินกว่า 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร จะทำให้เกิดภาวะฟันตกกระ จากการศึกษาในพื้นที่บ้านลุ่มกลาง ตำบลแม่ สัน อำเภอห้างฉัตร พบภาวะฟันตกกระในเด็กอายุ 10-14 ปี ถึงร้อยละ 62.75 (99 คน จากเด็กทั้งหมด 151 คน) (เย็นจิต , 2551) ภาวะฟันตกกระที่มีอาการไม่รุนแรงจะพบลายเส้นสีขาวตัดกับสีของเนื้อฟัน ถ้าอาการรุนแรงจะเกิดสีน้ำตาลเข้มในเนื้อฟัน เนื้อฟัน กะเทาะได้ง่ายเมื่อเคี้ยวหรือกัดของแข็ง รวมทั้งก่อให้เกิดความผิดปกติของกระดูก (อภิวรรณ , 2557) ในคนที่บริโภคน้ำที่มี ฟลูออไรด์สูง 8-10 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 ปีขึ้นไป กระดูกจะหนาตัว และข้อกระดูกจะแข็งเมื่ออายุมากขึ้น นอกจากนี้ ยังพบว่าหากร่างกายได้รับฟลูออไรด์เกิน 0.70 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นประจำ ในระยะแรกจะมีอาการคล้ายภาวะข้ออักเสบ ปวด เหน็บชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง มีแคลเซียมเกาะที่กระดูกและเส้นเอ็น หากเป็นระยะที่รุนแรงจะมีภาวะกระดูกพรุน กระดูกหยุดการ เจริญเติบโต อาจทำให้พิการ และเป็นมะเร็งที่กระดูกได้ (ธนิดาและพรสุดา, 2552) งานวิจัยที่ผ่านมาได้ศึกษาการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยกระบวนการตกผลึก (สราวุฒิ, 2540) กระบวนการแลกเปลี่ยนประจุ (ธนิดาและพรสุดา, 2552) และกระบวนการดูดซับ (สุรศักดิ์ , 2541; อนันต์ และคณะ, 2552) โดยพบว่าประสิทธิภาพการกำจัด ฟลูออไรด์ด้วยกระบวนการตกผลึกเท่ากับร้อยละ 99.00 กระบวนการแลกเปลี่ยนประจุเท่ากับร้อยละ 90.40 และกระบวนการดูด ซับเท่ากับร้อยละ 70.00 แม้ว่ากระบวนการตกผลึกและการแลกเปลี่ยนประจุจะสามารถกำจัดฟลูออไรด์ได้ดี แต่มีข้อจำกัดในเรื่อง ราคาสารเคมี ราคาสารแลกเปลี่ยนประจุและค่าใช้จ่ ายในการดูแลระบบ ดังนั้นกระบวนการดูดซับจึงเป็นกระบวนการที่เหมาะสม เนื่องจากใช้ต้นทุนต่ำ การเดินระบบทำได้ง่าย มีวัสดุดูดซับที่หลากหลาย หากใช้วัสดุดูดซับที่สังเคราะห์ได้จากวัสดุธรรมชาติหรือ ของเสีย จะเป็นการลดต้นทุนและลดการใช้สารเคมีได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำโดยใช้วัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จากเปลือกสับปะรด กากกาแฟ เปลือกไข่ไก่ และกระดูกหมู ซึ่งเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ไม่เป็นพิษ ทั้งยังเป็นการใช้ประโยชน์จากของเสียหรือวัสดุเหลือทิ้ งได้ อีกด้วย ระเบียบวิธีวิจัย (1) ขั้นตอนการวิจัย (1.1) ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะห์วัสดุดูดซับจากเปลือกสับปะรด กากกาแฟ เปลือกไข่ไก่ และกระดูกหมู (1.2) ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาผลของปริมาณวัสดุดูดซับ ( 5 10 และ 20 กรัมต่อลิตร) (1.3) ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาผลของความเป็นกรด-ด่างของน้ำ (pH 4 6 และ 8)

38


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

(1.4) ขั้นตอนที่ 4 การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาล โดยเลือกใช้วัสดุดูดซับที่ดีที่สุดใน ขั้นตอนที่ 1 ใช้ปริมาณวัสดุดูดซับที่เหมาะสมที่สุดจากขั้นตอนที่ 2 และ pH ที่ดีที่สุดจากขั้นตอนที่ 3 (2) วิธีการสังเคราะห์วัสดุดูดซับ (2.1) วิธีการสังเคราะห์วัสดุดูดซับจากเปลือกสับปะรด กากกาแฟ เปลือกไข่ไก่ มีรายละเอียดดังนี้ (2.1.1) ล้างทำความสะอาดเปลือกสับปะรด กากกาแฟ และเปลือกไข่ไก่ (2.1.2) ผึ่งแดดให้แห้ง แล้วนำไปอบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8-12 ชั่วโมง (เปลือกสับปะรดใช้ เวลานานที่สุดเนื่องจากมีความชื้นสูง) (2.1.3) บดให้ละเอียดด้วยครกบด (2.1.4) คัดขนาดเปลือกสับปะรด กากกาแฟ และเปลือกไข่ไก่ โดยร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 30 และค้าง บนตะแกรงเบอร์ 50 จะได้ผงวัสดุดูดซับจากเปลือกสับปะรด กากกาแฟ และเปลือกไข่ไก่ (ภาพที่ 1) (2.2) วิธีการสังเคราะห์วัสดุดูดซับจากกระดูกหมู มีรายละเอียดดังนี้ (2.2.1) นำกระดูกหมูมาล้าง และทุบให้แตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ (2.2.2) ต้มและล้างเอาไขกระดูกออก (2.2.3) อบให้แห้งที่อุณภูมิ 150 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง (2.2.4) แบ่งกระดูกหมูเป็นสองส่วน - ส่วนแรก นำไปบดให้ละเอียดและคัดขนาดผงกระดูกหมู โดยร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 30 และค้างบนตะแกรงเบอร์ 50 จะได้ผงกระดูกหมูที่ไม่ผ่านการเผา - ส่วนที่สอง นำกระดูกหมูไปเผาที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง ทิ้งให้เย็นก่อน นำไปบดให้ละเอียด และคัดขนาดผงถ่านกระดูกหมูโดยร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 30 และค้าง บนตะแกรงเบอร์ 50 จะได้ผงถ่านกระดูกหมู (ภาพที่ 1)

(ก) (ข) (ค) (ง) ภาพที่ 1 ผงวัสดุดูดซับ (ก) เปลือกสับปะรด (ข) กากกาแฟ (ค) เปลือกไข่ไก่ (ง) ถ่านกระดูกหมู (3) การทดลองปฏิกิริยาดูดซับ การทดลองนี้เป็นการทดลองแบบกะ (Batch experiment) โดยทำการทดสอบปฏิกิริยาดูดซับฟลูออไรด์ในเครื่องเขย่า (Shaker) ดังภาพที่ 2

39


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ภาพที่ 2 การทดสอบปฏิกิรยิ าดูดซับฟลูออไรด์ สภาวะในการทดลอง มีดังนี้ (1) ปริมาตรตัวอย่างน้ำ 50 มิลลิลติ ร บรรจุในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 มิลลิลิตร (2) ปรับสภาพ pH ของน้ำสังเคราะห์เท่ากับ pH 4 6 และ 8 ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และ สารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) (3) เขย่าที่ความเร็วรอบ 200 รอบต่อนาที (4) ระยะเวลาในการเก็บตัวอย่าง คือ 30 60 90 120 และ 180 นาที (4) การวิเคราะห์ปริมาณฟลูออไรด์ด้วยวิธี SPADNS (4.1) หลักการวิเคราะห์ฟลูออไรด์ด้วยวิธี SPADNS การวิจัยนี้ใช้วิธีวิเคราะห์มาตรฐาน APHA method 4500-F– D. SPADNS method ซึ่งเป็นวิธีวิเคราะห์ฟลูออไรด์ ที่อาศัยหลักการฟอกสีโดยการสร้างปฏิกิริยาเคมีระหว่างอิออนเซอโคเนียม (Zirconium Ion) และสีย้อม SPADNS จะเกิดสีแดง เข้ม ความเข้มของสีจะลดลงตามปริมาณเซอโคเนียมที่น้อยลง อิออนเซอโคเนียมจะทำปฏิกิริยารวมตัวกับฟลูออไรด์ เกิดเป็นอิออน เซิงซ้อน (Complex Ion) ZrF62− ซึ่งจะคงรูปและไม่มีสี การเกิดปฏิกิริยากับฟลูออไรด์ทำให้เซอโคเนียมมีปริมาณลดลง ทำให้ ปฏิกิริยากับสีย้อม SPADNS ลดลง ดังนั้นความเข้มข้นของสีจึงลดลง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแสดงดังสมการที่ (1) Zr-SPADNS + 6F − สีแดงเข้ม

ZrF62− + SPADNS ไม่มีสี สีแดงจางๆ

(1)

(4.2) วิธีวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ (4.2.1) ตวงตัวอย่างน้ำ 50 มิลลิลติ ร ใส่ในขวดรูปกรวย (4.2.2) เติมสารละลาย SPADNS และสารละลายกรดเซอโคนิลอย่างละ 5 มิลลิลิตร หรือ สารละลายผสม ACID-Zirconyl-SPADNS 10 มิลลิลติ ร ลงในตัวอย่างน้ำ (4.2.3) เขย่าสารละลายให้เข้ากัน (4.2.4) วัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) ที่ความยาวคลื่น 570 นาโนเมตร

40


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

(5) การคำนวณประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ ประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำ สามารถคำนวณได้จากสมการที่ (2) ร้อยละการกำจัด โดยที่

=

(𝐶𝑖 − 𝐶𝑓 ) 𝐶𝑖

(2)

𝑥 100

𝐶𝑖 คือ ความเข้มข้นของฟลูออไรด์เริ่มต้น (มิลลิกรัมต่อลิตร) 𝐶𝑓 คือ ความเข้มข้นของฟลูออไรด์คงเหลือหลังผ่านการบำบัด (มิลลิกรัมต่อลิตร)

ผลการวิจัย (1) เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ของวัสดุดูดซับแต่ละชนิด ประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ของวัสดุดดู ซับแต่ละชนิด แสดงดังภาพที่ 3 โดยใช้ปริมาณวัสดุดูดซับ 10 กรัมต่อลิตร ในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์ที่มีความเข้มข้นฟลูออไรด์ 5.66±0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าผงถ่านกระดูก (Pig bone char) กระดู ก หมู (Pig bone) ผงเปลื อ กสั บ ปะรด (Pineapple peel) ผงกากกาแฟ (Coffee ground) และผงเปลื อ กไข่ ไ ก่ (Eggshell) สามารถกำจัดฟลูออไรด์ในเวลา 120 นาทีได้ร้อยละ 82.12±1.60 ร้อยละ 53.58±0.00 ร้อยละ 28.96±0.98 ร้อยละ 23.06±2.09 และร้อยละ 12.30±0.77 ตามลำดับ [F] 5.66 0.03 mg/L, [Adsorbent] 10 g/L 100

% reduction

80 60 40 20 0 Pig bone char

Pig bone

Pineapple peel Coffee ground

Eggshell

ภาพที่ 3 ประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ด้วยวัสดุดูดซับแต่ละชนิด (2) ประสิทธิภาพของถ่านกระดูกหมูและผงกระดูกหมูที่ผ่านการเผา และที่ไม่ผ่านการเผา ประสิทธิภาพของถ่านกระดูกหมูที่ผ่านการเผา (Pig bone char) และผงกระดูกหมูที่ไม่ผ่านการเผา (Pig bone) แสดงดัง ภาพที ่ 4 โดยพบว่ า ประสิ ท ธิ ภ าพในการกำจั ด ฟลู อ อไรด์ ใ นเวลา 180 นาที เพิ ่ ม ขึ ้ น จากร้ อ ยละ 59.41±0.00 เป็ น ร้ อ ยละ 87.69±8.75 เมื่อใช้ผงถ่านกระดูกหมูเป็นวัสดุดูดซับ

41


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

[Adsorbent] 10 g/L, pH 6 100 % reduction

80 60 40 Pig bone char Pig bone

20 0 0

30

60

90 120 Reaction time (min)

150

180

ภาพที่ 4 ผลของวัสดุดูดซับกระดูกหมูที่ผ่านการเผา (Pig bone char) และไม่ผา่ นการเผา (Pig bone) (3) ผลของความเป็นกรด-ด่าง (pH) ในน้ำ ผลของ pH ในน้ำสังเคราะห์ แสดงดังภาพที่ 5 โดยพบว่าที่ pH 6 สามารถกำจัดฟลูออไรด์ได้ดีที่สุด (ร้อยละ 87.69 ±8.75) ในเวลา 180 นาที รองลงมาคือ pH 4 (ร้อยละ 81.47±3.23) และ pH 8 (ร้อยละ 79.69 ±3.24) ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์ one way ANOVA พบว่าประสิทธิภาพการกำจัดมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value 0.982) [Pig bone char] 10 g/L, pH 4–8

100

% reduction

80 60

pH 4 pH 6 pH 8

40 20 0 0

30

60

90 120 150 Reaction time (min) ภาพที่ 5 ผลของความเป็นกรด-ด่างในน้ำ

180

(4) ผลของปริมาณวัสดุดูดซับ ผลของปริมาณวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จากถ่านกระดูก แสดงดังภาพที่ 6 โดยพบว่าถ่านกระดูกหมูปริมาณ 10 กรัมต่อ ลิตร มีประสิทธิภาพสูงสุดในการกำจัดฟลูออไรด์ (ร้อยละ 87.69 ±8.75) เมื่อทดลองลดและเพิ่มปริมาณถ่านกระดูกหมูเป็น 5 และ 20 กรัมต่อลิตร พบว่าประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ลดลงเป็นร้อยละ 69.71 ±0.89 และร้อยละ 78.93 ±0.72 ตามลำดับ 42


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

[Pig bone char] 5–10 g/L, pH 6

100

% reduction

80 60 5 g/L 10 g/L 20 g/L

40 20 0 0

30

60

90 120 Reaction time (min) ภาพที่ 6 ผลของปริมาณวัสดุดูดซับ

150

180

(5) ผลของการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาล ผลของประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาล แสดงดังภาพที่ 7 เมื่อนำถ่านกระดูกหมู 10 กรัมต่อลิตร ไปใช้ในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาลจากชุมชนแห่งหนึ่งในอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง (ฟลูออไรด์เข้มข้น 4.64 มิลลิกรัมต่อลิตร) พบว่าถ่านกระดูกหมูสามารถลดฟลูออไรด์ได้ร้อยละ 80.89±1.15 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะนำถ่าน กระดูกหมูไปเป็นวัสดุดูดซับฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาลต่อไป Groundwater: [F] 4.64 mg/L

100

% reduction

80 60 40 20 0 0

30

60

90 120 150 Reaction time (min) ภาพที่ 7 ประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาล

180

อภิปรายผล จากผลการศึกษาพบว่ากระดูกหมูเป็นวัสดุดูดซับที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากกระดูกประกอบด้วยไฮดรอกซีอะพา ไทต์ (Hydroxyapatite) ประมาณร้อยละ 75 แคลเซียมและคาร์บอนร้อยละ 9-11โดยไฮดรอกซีอะพาไทต์ [Ca10(PO4). (OH)2] เป็นแร่แคลเซียมอะพาไทต์ที่อยู่ในฟันและกระดูก (เบญญาภา, 2558) ดังนั้นฟลูออไรด์จึงถูกกำจัดออกเมื่อส่วนประกอบไฮดรอก ไซด์ในไฮดรอกซีอะพาไทต์ถูกแทนที่ด้วยฟลูออไรด์ไอออน (เบญญาภา, 2558) รองมาเป็นเปลือกสับประรดเนื่องจากเปลื อก

43


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สับปะรดมีลักษณะเป็นเส้นใยเมื่อนำมากสังเคราะห์แล้วทำให้มีรูพรุนมากกว่ากากกาแฟและเปลือกไข่ไก่ (วรินธร, 2561) ส่วน เปลือกไข่ไก่มีประสิทธิภาพในการกำจัดน้อยที่สุดเนื่องจากผงเปลือกไข่ไก่มีน้ำหนักมากทำให้เวลาเขย่าเปลือกไข่ไก่จะกระจุกตัวอยู่ ตรงกลางไม่เกิดการกระจายอย่างทั่วถึง อาจส่งผลให้เกิดการซ้อนกันของตำแหน่งที่จะเกิดการดูดซับ (ศุภกิจ, 2560) ประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสูงสุดที่ pH 6 เนื่องจากในสภาวะที่ pH 4 กรดสามารถรวมตัวกับฟลูออไรด์แล้ว เกิดเป็นกรดฟลูออริก (Fluoric acid) ซึ่งอาจส่งผลรบกวนต่อประสิทธิภาพในการกำจัดได้ และที่ pH 8 จะเกิดไฮดรอกไซต์ไอออน ซึ่งอาจส่งผลรบกวนต่อประสิทธิภาพในการกำจัดเช่นกัน (Mourabet et al., 2012; Papari et al., 2016) วัสดุดูดซับผงถ่านกระดูกหมูกำจัดฟลูออไรด์ได้ดีกว่าผงกระดูกหมู เนื่องจากอุณหภูมิในการเผาช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวจำเพาะ และเพิ่มขนาดของรูพรุนให้กับวัสดุ และยังส่งผลต่อโครงสร้างทางจุลภาคและขนาดผลึกของถ่านกระดูก (เบญญาภา, 2558 ; Mourabet et al., 2012; Papari et al., 2016) เมื่อทดลองลดและเพิ่มปริมาณผงถ่านกระดูกหมูเป็น 5 และ 20 กรัมต่อลิตร พบว่าประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ ลดลง เนื่องจากการลดปริมาณวัสดุดูดซับที่น้อยเกินไปไม่เพียงพอต่อการดูดซับฟลูออไรด์ในน้ำ และปริมาณวัสดุดูดซับที่มากเกินไป ส่งผลให้เกิดการรวมตัวของอนุภาคหรือเกิ ดการซ้อนกันของตำแหน่งที่จะเกิดการดูดซับ (Active site) ทำให้พื้นที่ผิวทั้งหมด (Surface area) ของวัสดุดูดซับลดลง (สุดารัตน์, 2551; ศุภกิจ, 2560) สรุปและข้อเสนอแนะ ประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์ที่มีฟลูออไรด์เข้มข้น 5.66±0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียงลำดับได้ดังนี้ กระดูกหมู > เปลือกสับปะรด > กากกาแฟ > เปลือกไข่ไก่ เมื่อทดลองนำกระดูกหมูมาทดสอบกำจัดฟลูออไรด์ที่สภาวะความเป็นกรด-ด่าง 4-8 พบว่าประสิทธิภาพในการกำจัด ฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์สูงสุดที่ pH 6 และหากเปรียบเทียบวัสดุดูดซับจากกระดูกหมูที่ผ่านการเผาและไม่ผ่านการเผา พบว่า กระดูกหมูที่ผ่านการเผาไหม้ที่ 650 องศาเซลเซียส จนเป็นผงถ่าน สามารถกำจัดฟลูออไรด์ได้ดีกว่ากระดูกหมูที่ไม่ผ่านการเผาถึง ร้อยละ 30 จากการศึกษาหาปริมาณวัสดุดูดซับที่เหมาะสม พบว่าผงถ่านกระดูกหมูปริมาณ 10 กรัมต่อลิตร มีประสิทธิภาพสูงสุดใน การกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์ เมื่อทดลองนำผงถ่านกระดูกหมูไปใช้ในการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาลจากชุมชนแห่ง หนึ่งซึ่งพบการปนเปื้อนของฟลูออไรด์ในน้ำประมาณ 4.64 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าผงถ่านกระดูกหมูสามารถกำจัดฟลูออไรด์ได้ถึง ร้อยละ 82.56±0.08 ในเวลา 180 นาที ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะนำถ่านกระดูกหมูไปใช้เป็นวัสดุดู ดซับฟลูออไรด์ใน น้ำประปา ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป คือ ควรศึกษาผลของความเข้มข้นฟลูออไรด์ และศึกษาหาแนวทางการฟื้นฟู ประสิทธิภาพวัสดุดูดซับกลับมาใช้ใหม่ และศึกษาวิธีในการเพิ่มพื้นที่ผิวและปริมาณไฮดรอกซีอะพาไทต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดูดซับฟลูออไรด์ให้มากขึ้น กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ งบประมาณสนั บ สนุ น ในการทำวิ จ ั ย จากกองทุ น ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาเพื ่ อ การพั ฒ นา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และขอขอบคุณสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 1 ลำปาง ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลปริมาณฟลูออไรด์ใน พื้นที่จังหวัดลำปาง

44


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ขอขอบคุณ ผศ.ดร. ธัญลักษณ์ ราษฎร์ภักดี (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ที่เอื้อเฟื้อวัสดุอุปกรณ์ในการ ทำวิจัย ขอขอบคุณ รศ.ดร. ปฏิภาณ ปัญญาพลกุล ดร. ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา (คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ผศ.ดร. อรรณพ วงศ์เรือง ผศ.ดร.ภาคภูมิ รักร่วม (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ที่เอื้อเฟื้อสารเคมี และให้ คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร. ญาณสินี สุมา สำหรับคำแนะนำที่มีประโยชน์ในการสังเคราะห์วัสดุดูด ซับ ขอขอบคุณอาจารย์ ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย และขอขอบคุณนักวิทยาศาสตร์ประจำคณะสาธารณสุข ศาสตร์ ศูนย์ลำปาง (คุณสุภาวิณี ศรีคำ และคุณพงศพัศ ชาวงิ้ว) ที่อำนวยความสะดวกตลอดระยะเวลาการทำวิจัยในห้องปฏิบัตกิ าร เอกสารอ้างอิง เบญญาภา สว่างแจ้ง. (2558). กลไกการดูดซับฟลูออไรด์โดยถ่านกระดูกออกจากน้ำใต้ดิน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. ธนิดา โพธิ์ดี และ พรสุดา หน่อไชย. (2552). การสำรวจฟลูออไรด์ในน้ำดื่ม จ.พิษณุโลก. (รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์). พิษณุโลก: ภาควิชาทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาลัยนเรศวร. เย็นจิต คุรภุ าภรณ์. (2551). บทวิทยาการพฤติกรรมการบริโภคน้ำของประชาชนในพื้นที่ฟลูออไรด์ในแหล่งน้ำสูงเกินมาตรฐานบ้าน ลุ่มกลาง ตำบลแม่สัน อำเภอห้างฉัตร จ.ลำปาง: วิทยาสารทันตสาธารณสุขปีที่ 13 ฉบับที่ 3 วรินธร พลศรี. (2561). กระดาษดูดซับเอทธีลีนจากเปลือกสับปะรด. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี. ศุภกิจ แซ่เจียม. (2560). การดูดซับสี Malachite Green และ Reactive Red 31 จากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยเปลือกกล้วย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย. สมทรัพย์ อธิคมรังสฤษฎ์ และ สุกญ ั ญา อรุณส่ง.(2538). ฟลูออไรด์ในแหล่งน้ำบาดาล. การประชุมวิชาการ กทธ. ปี2538 เรื่อง ความก้าวหน้าและวิสัยทัศน์ของการพัฒนาทรัพยากรธรณี, (11-13 มกราคม 2538), 655 สุดารัตน์ เลิศวิทยาพนธ์. (2551). การกำจัดตะกั่วเเละเคียดเมียมด้วยสารดูดซับจากกระดูกหมู. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย. สุรศักดิ์ มานะรัตนสุวรรณ. (2541). การกำจัดฟลูออไรด์จากน้ำทิ้งอุตสาหกรรมและจากน้ำธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. วิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย. อภิวรรณ เสาเวียง. (2557). ฟลูออไรด์ภัยเงียบในน้ำดืม่ น้ำใช้. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส). (พฤศจิกายน 2557), 28 Papari, F., Najafabadi, P. R., & Ramavandi, B. (2016). Fluoride ion removal from aqueous solution, groundwater, and seawater by granular and powdered Conocarpus erectus biochar. Desalination and Water Treatment, 65, 375–386. Mourabet, M., Rhilassi, A. El, Boujaady, H. El, Bennani-Ziatni, M., Hamri, R. El, & Taitai, A. (2012). Removal of fluoride from aqueous solution by adsorption on hydroxyapatite (HAp) using response surface methodology. Journal of Saudi Chemical Society, 19(6), 603–615.

45


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำส้มสายชูและน้ำมะกรูดในการลดปริมาณ Escherichia coli ที่ปนเปื้อนในผักกาดหอม ศิริลักษณ์ สายะหมี¹ พัชรพร สุขศรีราษฎร์¹ และญาณสินี สุมา1* 1 สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง * Corresponding author E-mail: yanasinee.s@fph.tu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: ผักกาดหอมเป็นผักที่นิยมนำมาบริโภคสดและใช้ปุ๋ยจากมูลสัตว์ในการเพาะปลูก ทำให้ผักมีแนวโน้มที่จะมีการ ปนเปื้อนแบคทีเรีย Escherichia coli (E. coli) ซึ่งพบในอุจจาระและเป็นเชื้ อก่อโรคทางเดินอาหารได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อ เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้น้ำมะกรูด น้ำส้มสายชูและเกลือในการล้างผักกาดหอมเพื่อลดปริมาณ E. coli ที่ปนเปื้อนมา กับผักกาดหอม วิธีวิจัย: ทำการทดสอบกับผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีการสร้างสภาวะปนเปื้อนด้วยเชื้อ E. coli โดยหา ปริมาณเชื้อ E. coli หลังจากการแช่ผักกาดหอมในสารทดสอบ และนับจำนวนด้วยวิธี Spread Plate Technique บนอาหารเลี้ยง เชื้อ Eosin Methylene Blue (EMB) agar โดยใช้น้ำกลั่นปราศจากเชื้อเป็นตัวควบคุม ผลการวิจัย: การทดลองประสิทธิภาพการ ลดปริมาณเชื้อ E. coli ในผักกาดหอมจากการสร้างสภาวะการปนเปื้อนเปรียบเทียบกับน้ำกลั่น พบว่าน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูที่ ความเข้มข้นร้อยละ 5, 10 และ 15 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ ภายในเวลา 30 นาที โดยลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ มากกว่าน้ำกลั่นประมาณ 6.50 log10 CFU / g ส่วนน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นร้อยละ 5,10 และ15 จะลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ มากกว่าน้ำกลั่นประมาณ 0.01, 0.02 และ 0.11 log10 CFU / g ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย :น้ำมะกรูดและ น้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ทั้งหมด ในเวลา 30 นาที จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าน้ำ มะนาวที่ความเข้มข้นร้อยละ 15 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ ในการลดปริมาณเชื้อ E. coli พบว่าสารละลายโซเดียมคลอไรท์และสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ทำลาย E. coli บนผักกาดหอม ได้หมดในเวลา 15 และ 30 นาที ตามลำดับ ทั้งนี้จึงพิจาณาว่าน้ำมะกรูดน่าจะสามารถนำมาพัฒนาเป็นน้ำยาล้างผักจากธรรมชาติ ได้ เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเชื้อ E. coli ที่ปนเปื้อนในผักกาดหอม หาง่ายและราคาถูก คำสำคัญ: ประสิทธิภาพ การล้างผัก น้ำมะกรูด ผักกาดหอม E.coli น้ำส้มสายชู น้ำเกลือ

46


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Comparison of Efficacy of Vinegar and Kaffir Lime Juice in Reducing Contaminated Escherichia coli in Lettuce Siriluck Saiyamee1, Padcharapon sugseerad1, Yanasinee Suma1* 1

Major of Environmental Health, Faculty of Public Health, Thammasat University (Lampang Campus) *Corresponding author E-mail: yanasinee.s@fph.tu.ac.th

Abstract Introduction: Fresh lettuce is widely consumed and is cultivated by manure fertilizer. It is resulted to make vegetables more likely to be contaminated Escherichia coli (E. coli) bacteria, which are found in feces and cause gastrointestinal diseases. Objective: To compare the effectiveness of kaffir lime juice, vinegar and saltwater as vegetable-washing liquid to reduce the number of contaminated E. coli in lettuce. Methodology: The experiment was conducted with lettuce (Lactuca sativa) which has been contaminated with artificially inoculated E. coli. After lettuce was separately soaked in tested materials, the number of E. coli was determined using Spread Plate Technique on Eosin Methylene Blue (EMB) agar. Sterile distilled water was used as control. Results: The efficiency of reducing the number of artificially inoculated E. coli in lettuce of tested materials was compared with that of distilled water. It was found that kaffir lime juice and vinegar at concentrations of 5, 10 and 15 % were effective in reducing the number of E. coli within 30 minutes by reducing the number of E. coli greater than 6.50 log10 CFU/g that of distilled water. The saltwater at concentrations of 5, 10 and 15 % were effective in reducing the number of E. coli greater than 0.01, 0.02 and 0.11 log10 CFU / g that of distilled water, respectively. Discussion and conclusion: Kaffir lime juice and vinegar at 5% concentration can reduce the total amount of E. coli within 30 minutes. When compared to previous research, lemon juice at a concentration of 15 % was the most effective in reducing the amount of E. coli. When comparing the efficacy of reducing E. coli contamination of sanitizers including sodium chlorite and sodium hypochlorite solutions destroyed E. coli on lettuce within 15 and 30 minutes, respectively. Therefore, we consider that kaffir lime juice can be developed as a natural vegetable washing liquid because it is effective in reducing the amount of contaminated E. coli in lettuce, easy to find and cheap. Keywords: Efficiency, Vegetables washing, Kaffir lime juice, Lettuce, E. coli, Vinegar, Saltwater

47


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันมีคนไทยรับประทานผักมากขึ้น เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการมีทั้งวิตามินและเกลือแร่สูง คนไทยนิยมบริโภค ทั้งผักสดและผักที่นำมาปรุงให้สุกแล้วโดยผักสดบางชนิดนิยมนำมาเป็นเครื่องเคียงเพื่อรับประทานร่วมกับอาหารพื้นเมืองอื่นๆและ การตกแต่งบนจานอาหารเพื่อให้อาหารดูน่ารับประทานยิ่งขึ้นโดยเฉพาะผักกาดหอมนั้นนิยมใช้ตกแต่งจานอาหารและนำมาบริโภค เป็นผักสดกันอย่างแพร่หลาย จากรายงานสถานการณ์การเพาะปลูกผักกาดหอม (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรม ส่งเสริมการเกษตร, 2562) พบว่าเนื้อที่ปลูกผักกาดหอมในประเทศไทยของปี 2561 ประมาณ 12,128 ไร่ ซึ่งมากกว่าปี 2559 ถึง 602 ไร่ (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร, 2560) โดยเกษตรกรนิยมนำปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์มา เพาะปลูกผักกาดหอม เพื่อลดต้นทุนในการผลิตและเพิ่มมูลค่าให้กับผักมากขึ้น เนื่องจากผักที่ปลูกแบบอินทรีย์และไม่ใช้สารเคมีจะ มีราคาสูงขึ้น ทำให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยคอกกันมากขึ้น จากการใช้ปุ๋ยคอกในการเพาะปลูกนั้น อาจทำให้ผักสดมีการปนเปื้อนของ เชื้อจุลินทรีย์สูง (ณัฐพงศ์ การถึงและคณะ, 2558) ดังนั้นอาจทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในมูลสัตว์ตกค้างอยู่ในผักเหล่านี้ จากรายงานจากสำนักมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติพบว่าสินค้าส่งออกไปสหภาพยุโรป เช่น ผักสวนครัว ตรวจพบจุลินทรีย์ปนเปื้อนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ Salmonella spp. และ Escherichia coli (E. coli) ดังนั้นผักที่ไม่เคยผ่าน กรรมวิธีหรือกระบวนการล้างใดๆ หรือผ่านการล้างที่ไม่ถูกวิธี อาจจะมีเชื้อโรคหลงเหลืออยู่และตกค้างได้ หากนำมารับประทาน หรือนำมาตกแต่งจานอาหาร อาจก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารต่อผู้บริโภคได้ วิธีกำจัดเชื้อโรคที่ปนเปื้อนในผักสด สามารถใช้ วิธีการทางเคมีได้ เนื่องจากประหยัดและสะดวก (Lee et al., 2009) ทั้งนี้พบว่าขั้นตอนการล้างนั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการ ลดปริมาณจุลินทรีย์ในผักสดที่มีการหั่น โดยสารเคมีที่นิยมใช้มากที่สุดในการฆ่าเชื้อที่ผิวของอาหารที่ได้รับการรับรองจากองค์การ อาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกาได้แก่ คลอรีน สำหรับการล้างผักสดด้วยคลอรีนที่ความเข้มข้นต่างๆตั้งแต่ 50 – 200 ppm มักใช้เวลาในการล้างนาน 2 นาทีขึ้นไป (Chungsamanukool et al., 2553) อย่างไรก็ตามการล้างผักด้วยคลอรีนประชาชนเข้าถึง ได้ยาก ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่มักจะใช้น้ำประปาในการล้างผัก ซึ่งคุณ ภาพน้ำประปามีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้พบว่าการล้างผักด้วยน้ำที่ผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อแล้ว นาน 10 นาที นั้นสามารถลดปริมาณเชื้อที่ผ่านการสร้าง สภาพปนเปื้อนเชื้อในผักกาดหอมได้ประมาณ 1 log10 CFU E. coli O157:H7/g (Singh et al., 2002) และประชาชนบางส่วน นิยมที่ใช้น้ำส้มสายชู หรือผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างผักที่จำหน่ายทั่วไปในการล้างผัก โดยน้ำยาล้างผักเหล่านี้จะเน้นการลดสารตกค้าง จำพวกสารกำจัดศัตรูพืชหรือสารเคมีอื่นๆ มากกว่าการลดเชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อน อีกทั้งผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างผักที่มีการระบุว่าสามารถ ลดปริมาณแบคทีเรียได้ มักราคาแพง จากการสำรวจราคาน้ำยาล้างผักที่จำหน่ายทั่วไปตามห้างสรรพสินค้า ราคาประมาณ 280359 บาท โดยมีปริมาตรประมาณ 350-400 มิลลิลิตร (Central, 2562) ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบหาสาร จากธรรมชาติที่ราคาถูก หาได้ง่าย และประชาชนทั่วไปสามารถเตรียมได้เอง เช่น การประยุกต์ใช้น้ำมะกรูดในการล้างผัก แม้ว่าจะ ไม่มีรายงานเกี่ยวกับการใช้น้ำมะกรูดในการล้างผักแต่มีงานวิจัยพบว่าน้ำมะนาวมีฤทธิ์ในการลดปริมาณเชื้อได้ น้ำมะนาวมีค่าความ เป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ที่ 2.02 ซึ่งน้ำมะกรูดมีค่าความเป็นกรดมากกว่าน้ำมะนาว โดยน้ำมะกรูดจะมีค่า pH หรือค่าความเป็นกรด อยู่ที่ 1.87 (ชาลิสา อนาวงศ์และคณะ, 2556) ทั้งนี้น้ำมะกรูดไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ สามารถรับประทานได้ และเป็นสิ่งที่หาได้ ง่าย ผู้วิจัยจึงสนใจนำมาทดสอบในการล้างผักเพื่อลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย โดยทดสอบหาประสิทธิภาพในการลดปริมาณ E. coli ที่ปนเปื้อนมากับผักกาดหอม โดยเหตุที่เลือกเชื้อ E. coli นั้นเนื่องจาก E. coli เป็นแบคทีเรียในกลุ่มโคลิฟอร์มแบคทีเรียประเภทฟี คัลโคลิฟอร์ม (Fecal coliform) ซึ่งเป็นโคลิฟอร์มที่พบในอุจจาระของมนุษย์และสัตว์ เลือดอุ่น ใช้เป็นดัชนีชี้สุขลักษณะของอาหาร 48


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

และน้ำ เมื่อได้สารทดสอบที่มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเชื้อได้มากที่สุดจะนำมาทดสอบกับ E. coli ในโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ที ่ พ บในผั ก จริ งๆ ซึ ่ งหากน้ ำ มะกรู ด มี ป ระสิ ท ธิภ าพในการลดปริ ม าณ E. coli ได้ จ ริ งก็ ส ามารถพั ฒ นาเป็ น น้ ำ ยาล้ า งผั ก ที่มี ประสิทธิภาพหาได้ง่าย ราคาถูกและปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้น้ำมะกรูด น้ำส้มสายชูและเกลือในการล้างผักกาดหอมเพื่อลดปริมาณ E. coli ที่ปนเปื้อนมากับผักกาดหอม ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบทดลอง (Experimental research) ในระดับห้องปฏิบัติการ (Lab-scale experiment) เพื่อ เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้น้ำมะกรูด น้ำส้มสายชูและน้ำเกลือแกงในการล้างผักกาดหอมเพื่อลดปริมาณ E. coli ที่ ปนเปื้อนมากับผักกาดหอมโดยมีขั้นตอนการศึกษา ดังต่อไปนี้ การเตรียมตัวอย่างผัก คัดเลือกผักกาดหอมที่ซื้อจากตลาดในท้องถิ่นโดยเด็ดใบที่อยู่ด้านนอกออก 2-3 ใบ เลือกใช้ใบที่มีขนาดใบและ ความยาวของก้านใบใกล้เคียงกัน ล้างคราบดินออกด้วยน้ำประปา แล้วล้างด้วยน้ำกลั่นที่ปราศจากเชื้อ 2 ครั้ง ตัดให้เป็นสี่เหลี่ยม จัตุรัสขนาด 5 × 5 เซนติเมตร ด้วยมีดที่ผ่านการฆ่าเชื้อ และน้ำหนักผักกาดหอมเฉลี่ยประมาณ 0.52±0.03 กรัม การเตรียมสารทดสอบ (1) น้ำมะกรูดความเข้มข้นร้อยละ 0.5, 1, 2, 3, 4, 5, 10 และ 15 (ปริมาตร/ปริมาตร): นำมะกรูดมาคั้น โดยนำมาล้างด้วย น้ำ กลั่นที่ปราศจากเชื้อ ผ่ามะกรูดด้วยมีดที่ผ่านฆ่าเชื้อและผู้คั้นสวมถุงมือ จากนั้นเติมน้ำมะกรูดในปริมาตร 1, 2, 4, 6, 8, 10, 20 และ 30 มิลลิลิตร ตามลำดับ ลงในบีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร แล้วปรับปริมาตรโดยการเติมน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วให้มี ปริมาตร 200 มิลลิลิตร (2) น้ำส้มสายชูความเข้มข้นร้อยละ 0.5, 1, 2, 3 ,4, 5, 10 และ 15 (ปริมาตร/ปริมาตร): เติมน้ำส้มสายชูในปริมาตร 1, 2, 4, 6, 8, 10, 20 และ 30 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์ 250 มิลลิลิตร ตามลำดับ จากนั้นปรับปริมาตรโดยการเติมน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ แล้วให้มีปริมาตร 200 มิลลิลิตร (3) น้ำเกลือแกงเข้มข้นร้อยละ 0.25, 0.5, 15, 10 และ 15 (น้ำหนัก/ปริมาตร): ชั่งเกลือแกงให้ได้น้ำหนัก 0.5, 1, 2, 10, 20 และ 30 กรัม นำไปใส่บีกเกอร์ ตามลำดับ คนให้ละลายเข้ากัน จากนั้นปรับปริมาตรโดยการเติมน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วให้มี ปริมาตร 200 มิลลิลิตร (4) น้ำกลั่น: เทน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วให้มีปริมาตร 200 มิลลิลิตร ทั้งนี้ภาชนะและอุปกรณ์ที่ใช้ทุกชิ้นผ่านการทำให้ปราศจากเชื้อ โดยอบในหม้อนึ่งฆ่าเชื้อภายใต้ความดันไอน้ำ (Autoclave) ซึ่ง อาศัยความร้อนจากไอน้ำเดือดภายใต้ความดันของ มีอุณหภูมิสูงถึง 121 °C ภายใต้ ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว นาน 15 นาที การเตรียมเชื้อ E. coli วิธีการเตรียมเชื้อ E. coli ปรับเปลี่ยนจากวิธีการของณัฐพงศ์ การถึงและคณะ (2558) โดยถ่ายเชื้อ E. coli (สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ) จากอาหารเลี้ยงเชื้อ Nutrient Agar ( NA ) 1 ลูป ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Nutrient 49


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Broth ( NB ) 10 มิลลิลิตรนำไปบ่มที่อุณหภูมิ 35°C เป็นเวลา 24 ชั่วโมงจากนั้นถ่ายเชื้อในทำนองเดียวกันอีก 2 ครั้ง ในวันที่ 3 จึงปิเปตอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีเชื้อเจริญอยู่ปริมาตร 3 มิลลิลิตร ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ NB 300 มิลลิลิตรที่บรรจุในขวดลูกชมพู่ขนาด 500 มิลลิลิตร จำนวน 4 ขวด เพื่อให้ได้ปริมาตรรวม 1 ลิตร นำไปบ่มที่อุณหภูมิ 35°C เป็นเวลา 18 ชั่วโมง จากนั้นนำเชื้อ E. coli ที่ได้ทั้งหมดเทรวมกันในขวดที่ฆ่าเชื้อแล้ว ขนาด 1 ลิตร เพื่อให้เชื้อทั้งหมดที่นำไปทดลองมีความเข้มข้นเท่ากัน จึงใช้เป็นเชื้อ ทดสอบในการสร้างสภาพปนเปื้อนในผักกาดหอม วิธีทดสอบ ใช้วิธีการทดสอบดัดแปลงมาจากวิธีการของณัฐพงศ์ การถึงและคณะ( 2558) โดยนำตัวอย่างผักกาดหอมที่ได้มาจาก การเตรียมในวิธีข้างต้นที่กล่าวมาแช่ในน้ำกลั่น 5 นาที ตั้งบนตะแกรง 1 ชั่วโมง จึงจุ่มตัวอย่างผักกาดหอมในอาหารเลี้ยงเชื้อ NB ที่ มีเชื้อ E. coli ที่เตรียมไว้จากวิ ธีข้างต้น 2 นาที ทิ้งให้แห้งบนตะแกรงนาน 30 นาที แล้วนำตัวอย่างผักกาดหอมแยกแช่ในสาร ทดสอบแต่ละชนิดได้แก่ น้ำกลั่น น้ำมะกรูด น้ำส้มสายชู และน้ำเกลือ ปริมาตร 200 มิลลิลิตร โดยแช่ผักกาดหอมในสารทดสอบ เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นใช้ปากคีบที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วคีบผักกาดหอมนำมาผ่านน้ำกลั่นที่ปราศจากเชื้อ 1 ครั้ง เพื่อล้างสาร ทดสอบออก ก่อนนำมาใส่ลงใน บีกเกอร์ที่มีน้ำเกลือโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้นร้อยละ 0.85 (น้ำหนัก/ปริมาตร) เพื่อรักษาสภาพ ของเซลล์ไว้ไม่ให้ถูกทำลายจากแรงดันออสโมติก จากนั้นตรวจนับจำนวน E. coli โดยใช้วิธี Spread Plate Technique ลงใน อาหารเลี้ยงเชื้อ EMB Agar และบ่มในตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิที่ 35ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยมีผักกาดหอมที่แช่ในน้ำกลั่น ปราศจากเชื้อเป็นชุดควบคุม ทำการวิเคราะห์ตัวอย่างละ 2 ซ้ำ

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการศึกษา ผลการวิจัย จากการทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมะกรูด น้ำส้มสายชูและน้ำเกลือในการลดปริมาณเชื้อ E. coli จากการสร้าง สภาพการปนเปื้อนในผักกาดหอมเปรียบเทียบกับน้ำกลั่น พบว่า การล้างผักด้วยการแช่ในสารทดสอบทั้ง3 ชนิด มีประสิทธิภาพใน การลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ โดยน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้นร้อยละ 5, 10 และ 15 มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณ เชื้อ E. coli ได้ โดยสามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้มากกว่าน้ำกลั่นถึง 6.50 log10 CFU / g และน้ำเกลือความเข้มข้นที่ร้อยละ 5,10 และ15 ถึง 0.01 , 0.02 และ 0.11 log10 CFU / g (ตารางที่ 1) จากผลการทดสอบพบว่าน้ำเกลือไม่สามารถลดปริมาณเชื้อ

50


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

E. coli ได้ดี ดังนั้นในการทดสอบในขั้นต่อไป จึงทดสอบการลดปริมาณเชื้อ E. coli ในผักกาดหอมโดยใช้เฉพาะน้ำมะกรูดและ น้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้นต่ำลงเท่านั้น ตารางที่ 1 ผลการทดสอบการลดปริมาณเชื้อ E. coli ในผักกาดหอมของสารทดสอบแต่ละชนิด สารทดสอบ ความเข้มข้น E. coli (log10 CFU/ g) Population Mean reduction น้ำกลั่นปราศจากเชื้อ 6.50±0.05 น้ำมะกรูด 5% v/v 0 6.50 10% v/v 0 6.50 15% v/v 0 6.50 น้ำส้มสายชู 5% v/v 0 6.50 10% v/v 0 6.50 15% v/v 0 6.50 น้ำเกลือ 5% m/v 6.49±0.01 0.01 10% m/v 6.48±0.04 0.02 15% m/v 6.39±0.08 0.11 จากการทดสอบประสิทธิภาพน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูในการลดปริมาณเชื้อ E. coli ที่ความเข้มข้น ร้อยละ 0.5, 1, 2, 3 และ 4 พบว่าไม่สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ ดังแสดงในภาพที่ 2 โดยจากการสังเกตพบว่ามีโคโลนีสี Metallic green sheen บนอาหารเชื้อ EMB อยู่ทั้งหมด

A1

A2

A3

A4

A5

B1

B2

B3

B4

B5

ภาพที่ 2 ลักษณะโคโลนีที่พบบนอาหารเลี้ยงเชื้อ EMB จากการทดสอบด้วยชนิดสารทดสอบและระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน (A1-A5) น้ำมะกรูดที่ความเข้มข้นร้อยละ 4, 3, 2, 1 และ 0.5 ตามลำดับ และ (B1-B5) น้ำส้มสายชูทคี่ วามเข้มข้นร้อยละ 4, 3, 2, 1 และ 0.5 ตามลำดับ 51


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล ในการศึกษานี้พบว่าประสิทธิภาพของน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้นเพียงร้อยละ 5 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ทั้งหมด ภายในเวลา 30 นาที และเมื่อเปรียบเทียบระดับความเข้มข้นของสารทดสอบจากงานวิจัยที่ผ่านมาซึ่งใช้น้ำ มะนาวที่มีความเข้มข้นถึงร้อยละ 15 จึงสามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli บนผักกาดหอมได้ แต่อย่างไรก็ตามการใช้น้ำมะนาวที่ความ เข้มข้นร้อยละ 15 ไม่ได้ทำลายเชื้อ E. coli ได้ทั้งหมด จึงเห็นว่า น้ำมะกรูดจึงน่าจะสามารถนำมาพัฒนาเป็นน้ำยาล้างผักจาก ธรรมชาติได้ เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเชื้อ E. coli ที่ปนเปื้อนในผักกาดหอมได้ (ณัฐพงศ์ การถึงและคณะ, 2558) ในการทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมะกรูดที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้หมดภายในเวลา 30 นาที เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในการลดปริมาณจุลินทรี ย์ทั้งหมดและเชื้อ E. coli ในผัก พบว่า สารละลายโซเดียมคลอไรท์ทำลายจุลินทรีย์ทั้งหมดบนผักกาดหอมภายใน 30 นาที และทำลาย E. coli บนผักกาดหอมได้หมด ภายในเวลา 15 นาที สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์สามารถทำลายจุลินทรีย์ทั้งหมดและทำลาย E. coli ผักกาดหอมได้หมด ภายในเวลา 15 นาที (วราภา มหากาญจนกุลและคณะ, 2544) สรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาพบว่าน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูที่มีความเข้มข้นร้อยละ 5 (ปริมาตร/ปริมาตร) มีประสิทธิภาพในการลด ปริมาณเชื้อ E. coli ที่ปนเปื้อนในผักกาดหอมได้ดีที่สุด ในเวลา 30 นาที สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ที่มาจากการสร้างสภาวะ ปนเปื้อนในผักกาดหอมได้หมด ในขณะที่น้ำเกลือไม่มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเชื้อ E. coli ในผักกาดหอมได้หมด ดังนั้นน้ำ มะกรูดสามารถพัฒนาต่อยอดเป็นน้ำยาล้างผักจากธรรมชาติเพื่อลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ อย่างไรก็ตามในการศึกษาต่อไปควรมี การศึกษาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพน้ำมะกรูดในการลดเชื้อ E. coli ในผักกาดหอมและผักชนิดอื่นๆ ศึกษาระยะเวลาในการแช่ ผักกาดหอมที่ปนเปื้อนเชื้อ E. coli ใน สารทดสอบในระยะเวลาที่น้อยกว่า 30 นาที และศึกษาความเป็นไปได้ในการนำน้ำมะกรูด มาพัฒนาต่อยอดเป็นน้ำยาล้างผักโดยปรับอัตราส่วนการผสมร่วมกับผลิตภัณฑ์ธรรมชาติชนิดอื่น เช่น น้ำมะนาว เป็นต้น กิตติกรรมประกาศ การวิจัยครั้งนี้สำเสร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีด้วยความอนุเคราะห์งบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากกองทุนค่าธรรมเนียม การศึกษาเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และขอขอบคุณอาจารย์ประจำสาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกท่าน คณะ สาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปางที่ให้ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย และขอขอบคุณนักวิทยาศาสตร์ประจำ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ศูนย์ลำปาง (คุณสุภาวิณี ศรีคำ และคุณพงศพัศ ชาวงิ้ว) ที่อำนวยความสะดวกในการทำวิ จ ั ย ใน ห้องปฏิบัติการ เอกสารอ้างอิง ณัฐพงศ์ การถึง, สร้อยสุวรรณ อั้นทอง และอรุณศรี ว่องปฏิการ.(2558). การทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมะนาวในการลดปริมาณ Escherichia coli และโคลิฟอร์ม แบคทีเรียที่ปนเปื้อนในผักกาดหอมเพื่อพัฒนาเป็นน้ำยาล้างผัก . วารสารสาธารณสุข ศาสตร์ ปีที่45 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2558) วราภา มหากาญจนกุ ล,ปรียา วิบูลย์เศรษฐ์ และวชิราภรณ์ เทียมพันธ์. (2544). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารฆ่ า เชื้อจุลินทรีย์ในการลดปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดและ Escherichia coli ในผักใบ. การประชุมทางวิชาการของมหาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน 52


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารกรมส่ ง เสริ ม การเกษตร , 2560 สื บ ค้ น เมื ่ อ 28 ธั น วาคม 2562 จาก http://www.agriinfo.doae.go.th/year60/plant/rortor/veget/43.pdf ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารกรมส่ ง เสริ ม การเกษตร , 2562 สื บ ค้ น เมื ่ อ 28 ธั น วาคม 2562 จาก http://www.agriinfo.doae.go.th/year62/plant/rortor/veget/43.pdf Central, 2562 สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2562 จาก https://www.central.co.th/ Chungsamanukool, P., Rattanadilok Na Phuket, N., & Kantaeng, K. (2553). Microbial Contamination in Raw Vegetables. Bulletin of the Department of Medical Sciences, 52 (1-2): 30-39. Lee, Y. U., Jo, S. H., Cho, S. D., Kim, G. H., Kim, Y. M., & Lee D.H (2009) Effects of Chlorine concentrations and Washing Conditions on the Reduction of Microbiological Contamination in Lettuce. Journal of the Korean Society for Applied Biological Chemistry, 52(3):270-274. Singh, N., Singh, R. K., Bhunia, A. K. & Stroshine, R L. (2002) Efficacy of Chlorine Dioxide, Ozone and Thyme Essential Oil or a Sequential Washing in Killing Escherichia coli O157:H7 on Lettuce and Baby Carrots. Lebensmittel-Wissenschaft und-Technologie, 35(8): 720–729.

53


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Ammonia Removal from Chicken Manure by Using Air Stripping Process Krailak Fakkaew1,*, Sudarat Phoonsri1, Thunsuda Kaewsai1, Panadda Pancahi1, Prajakjit Pabjatooras1 1 Environmental Health, School of Health Science, Mae Fah Luang University *Co-responding e-mail: krailak.fak@mfu.ac.th Abstract Introduction: Wastewater and odor from chicken manure of Champa Farm Company at Tha Khao Plueak Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province, are serious environmental problems to the villagers living nearby. The company has a measure to treat its generated wastewater by using an anaerobic digestion process. However, it cannot overcome these problems. Objective: To study the effects of temperature and time on the efficiency of the air stripping process for ammonia removal from chicken manure wastewater. Methodology: A lab-scale of air striping was used to remove ammonia from chicken manure wastewater at various temperatures and stripping times. Results: The experimental results showed that increasing temperature and striping time resulted in increased ammonia removal efficiency. The high removal efficiency of 98% was found when the air stripping process conducting at a temperature of 90 °C for 240 minutes. Conclusion and Recommendation: From the experimental results, it found that the air stripping process was an effective method for ammonia removal from chicken manure wastewater up to 98%. Keywords: chicken manure, ammonia, air striping

54


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Introduction The world food economy is driven by the shift in consumption patterns towards livestock products, as reflected by the extraordinary performance of the global poultry meat production. Since 2000, the poultry meat and egg consumption increased by almost 50% and 36.5%, respectively (Fuchs et al., 2018). As a result, large amounts of chicken manure are accumulated in concentrated areas. The use of raw chicken manure as an organic fertilizer is simple but excessive use may cause eutrophication in soil and water bodies, pathogen spread, air pollution, and greenhouse gas emission (Kelleher et al., 2002). Composting is a possible treatment for stabilization. However, distinct disadvantages are the loss of nutrients with reducing fertilizer value and cause odor and nuisance. An alternative treatment process is anaerobic digestion, which is effective, environmentally friendly, and produces useful biogas. Unfortunately, the high nitrogen content of chicken manure is prohibitive to efficient anaerobic digestion. During microbial degradation, organic nitrogen is converted to ammonia. At high concentrations, ammonia exerts a strong inhibitory effect on microbiological conversion (Angelidaki et al., 1993). Therefore, the key to successful anaerobic digestion of chicken manure is to overcome ammonia inhibition. Numerous studies have reported that chicken manure is a potential source of renewable energy through anaerobic digestion (Afazeli et al., 2014, Batzias el al., 2005, Chen et al., 2017, Li et al., 2016, Meyer et al., 2018). A huge variety of techniques, including dilution, change in process parameters (pH or temperature), biomass adaptation, bioaugmentation, and use of additives (zeolites or trace elements), have been under investigation. The Champa Farm Company at Tha Khao Plueak Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province, is a chicken-egg farm to sale in Chiang Rai and nearby areas. From their operation, there were a lot of complaints from the villages living nearby about odor from the farm. The Champa Farm Company has built a wastewater treatment system for treating the produced chicken manure wastewater and odor by applying an anaerobic digestion process. Anaerobic digestion is a process that typically used for treating a high concentration of wastewater. However, because of the high concentration of ammonia in the chicken manure, it will act as an inhibitor to active bacteria in the anaerobic digestion. To overcome this problem, reducing ammonia in chicken manure is recommended. Several techniques that have been applied in the anaerobic digestion process either at a lab or full scale include stripping, membrane, struvite precipitation, biological removal, and some other techniques that are not well investigated. In this study, an air striping process was used for ammonia removal from chicken manure wastewater, and the study of the effects of temperature and time on the efficiency of the air stripping process was conducted. Methodology The experiments were carried out at the Environmental Health Laboratory, Mae Fah Luang University. 2.1. Material Chicken Manure wastewater samples were collected from the Champa Farm Company at Tha Khao Plueak Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province, and were analyzed for their characteristics (APHA, 2005).

55


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2.2. Striping process A lab-scale reactor of the air stripping process was set up as shown in Figure 1. A water bath was used to control the temperature during the stripping process. The 1-L Duran bottles were used as a string reactor and a receiving bottle. An air compressor was used for supplying air into the striping reactor.

Figure 1: Lab-scale reactor of striping process 2.3 Air striping process The schematic of the air stripping process shows in Figure 2. The chicken manure samples were filled into the air striping reactor and set up in the temperature-controlled water bath. Silicone tubes were used for connecting the air compressor with the striping reactor, and connecting the striping reactor with the receiving bottle which contained a 5M H2SO4 solution. To determine the effects of temperature, the air striping process experiments were conducted at various temperatures including 40 °C, 50 °C, 70 °C, 80 °C and 90 °C, for 2 hrs. To determine the effect of striping time, the air striping process experiments were conducted with the selected temperature from the previous experiments and various striping times including 30, 60, 90, 120, 150, 180, 210, 240, 270, and 300 min.

Figure 2: Schematic of air striping process 2.4 Analytical method

56


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

The concentration of ammonia (NH3-N) in the chicken manure wastewater was measure by using an automatic distillation unit machine (UDK149, VELP SCIENTIFICA, USA). Ammonia removal efficiency can be calculated by using equation as follows, E = (C0 - Ce) x 100/C0 Where; E = removal efficiency (%) C0 = influent concentration of NH3-N in chicken manure wastewater (mg/L) Ce = effluent concentration of NH3-N in chicken manure wastewater (mg/L) Results The main physicochemical characteristics of the chicken manure wastewater sample are presented in Table 1. Because of the different sources of chicken manure, the pH, COD, TS, and TVS values for the wastewater sample in this study were very low compared to the reference. However, the TKN and NH3-N values were high in both the wastewater sample in this study and the reference. Table 1: Physico-chemical characterization of chicken manure wastewater samples. Parameter pH COD (g/L) TS (g/L) TVS (g/L) TKN (g/L) NH3-N (g/L)

Chicken manure wastewater samples 7.3 ± 0.2 28.2 ± 2.4 29.0 ± 1.8 16.1 ± 0.6 12.7 ± 1.6 1.0 ± 0.1

Reference (Ivan et al., 2018) 9.5 ± 0.1 78.3 ± 1.5 80.6 ± 5.9 49.0 ± 6.1 22.5 ± 1.4 0.8 ± 0.2

*COD: chemical oxygen demand; TS: total solid content; TVS: total volatile solid content; TKN: total Kjeldahl nitrogen; NH 3-N: ammonium nitrogen

The experimental results of ammonia removal efficiency at different temperatures were shown in Figure 3. The efficiencies of ammonia removal at the temperatures of 40 °C, 50 °C, 70 °C, 80 °C and 90 °C were found to be 2.97%, 4.37%, 11.62%, 26.49%, and 87.84%, respectively. It indicated that increasing temperature resulted in increased ammonia removal efficiency. At a temperature of 90 °C, the ammonia removal efficiencies were increased by increasing striping time as the results shown in Figure 4. The efficiencies of ammonia removal at the striping times of 30, 60, 90, 120, 150, 180, 210, 240, 270, and 300 min were found to be 54.76%, 67.57%, 84.32%, 92.27%, 92.97%, 94.05%, 95.68%, 98%, 94.43% and 90.65%, respectively. The efficiencies of ammonia removal could reach to over 90% when operating at the stripping times equal or more than 120 min. Conclusion and Recommendations From the experimental results, it can be concluded that, 1. Increasing temperature and striping time resulted in increased ammonia removal efficiency. 2. The high ammonia removal efficiency of over 90% was found when the air stripping process conducting at a temperature of 90 °C at the stripping time equal or more than 120 min. 3. The air striping process was an effective method for ammonia removal from chicken manure wastewater up to 98%.

57


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Figure 3: Ammonia removal efficiency at various temperatures and striping time of 2 hrs

Figure 4: Ammonia removal efficiency at temperature of 90 °C and various striping times For further study and implementation, some recommendations are made, 1. Further studies on the effect of other parameters such as pH, aeration rate, and concentration of wastewater which affect ammonia removal efficiency, are recommended. 2. In practical work, operation at 90 °C for 120 min may not be worthwhile in economics. Therefore, temperature and striping time could be modified to meet the operation cost and economic requirements. Acknowledgement The authors would like to acknowledgment the Champa Farm Company for the donation of chicken manure wastewater samples used in this research. References Afazeli H., Jafari A., Rafiee S., Nosrati M., (2014). An investigation of biogas production potential from livestock and slaughterhouse wastes. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 34, 380–386.

58


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Angelidaki I., Ahring B.K., (1993). Thermophilic anaerobic digestion of livestock waste: the effect of ammonia. Apply Microbiology Biotechnology, 38, 560–564. APHA/AWWA/WEF. (2005). Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater, (21st edition). Washington, D.C.: American Public Health Association/ American Water Works Association/Water Environment Federation. Batzias F.A., Sidiras D.K., Spyrou E.K., (2005). Evaluating livestock manures for biogas production: a GIS based method. Renewable Energy, 30, 1161–1176. Chen L., Cong R.G., Shu B., Mi Z.F., (2017). A sustainable biogas model in China: the case study of Beijing Deqingyuan biogas project. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 78, 773–779. Fuchs W., Wang X., Gabauer W., Ortner M., Li Z., (2018). Tackling ammonia inhibition for efficient biogas production from chicken manure: Status and technical trends in Europe and China. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 97, 186–199. Ivan R.V., Leticia R., Juan M.L., Marta C., (2017). Blending based optimisation and pretreatment strategies to enhance anaerobic digestion of poultry manure. Waste Management, 71, 521–531. Kelleher B.P., Leahy J.J., Henihan A.M., O’Dwyer T.F., Sutton D., Leahy M.J., (2002). Advances in poultry litter disposal technology - a review. Bioresource Technology, 83, 27–36. Li F., Cheng S., Yu H., Yang D., (2016). Waste from livestock and poultry breeding and its potential assessment of biogas energy in rural China. Journal of Cleaner Production, 126, 451–460. Meyer A.K.P., Ehimen E.A., Holm-Nielsen J.B., (2018). Future European biogas: animal manure, straw and grass potentials for a sustainable European biogas production. Biomass- Bioenergy, 111, 154164.

59


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ปิยะนุช ยินดีผลและพรรณทิสชา อุทปา* คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ *Corresponding author E-mail:pantitcha.o@fph.tu.ac.th บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมือง น่าน จังหวัดน่าน โดยศึกษาปริมาณการปล่อยก๊าซเรือ นกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอย การเก็บขนและการกำจั ด ดำเนินการวิจัยโดยการเก็บข้อมูล ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง องค์ประกอบของมูลฝอย และปริมาณมูลฝอยที่ นำไปฝังกลบ ด้วยวิธีการคำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าสัมประสิทธิ์และปริมาณการระบายก๊าซเรือน กระจกผลการศึกษาพบว่า จากการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการกระบวนการจัดการมูลฝอย จากการการ เก็บขนและการกำจัดของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอยทั้งหมด 1,531.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน จากกระบวนการการเก็บขนมูลฝอยมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรง จากการเก็บขนมูลฝอย 34 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน และจากกระบวนการ การฝังกลบมูลฝอย มีปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจากการฝังกลบมูลฝอย 1,497.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน การวิเคราะห์องค์ประกอบมูล ฝอยจากการสุ่มตัวอย่างจากยานพาหนะเก็บขนมูลฝอยและนำมาทิ้งที่บ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน ซึ่งจากการวิเคราะห์ องค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก พบว่า มูลฝอยประเภทเศษอาหารและสารอินทรีย์มีสัดส่วนที่มากที่สุด (41 %) รองลงมาคือ พลาสติก (25 %) กระดาษ (13 %) มูลฝอยประเภทอื่น ๆ (12 %) แก้ว (5 %) ผ้า (3 %) และโลหะ (1 %) ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า การใช้มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและสารอินทรีย์และมาตรการการลดปริมาณมูลฝอย ประเภทกระดาษส่งผลให้การปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลง 3.8 % - 21.2 % คำสำคัญ: มูลฝอย, ก๊าซเรือนกระจก, เทศบาล

60


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Evaluation of Greenhouse Gases Emission from MunicipalSolid Waste Management in Nan Municipality Piyanut Yindeephol and Panticha Outapa* Faculty of Public Health,Thammasat University *Corresponding author E-mail:pantitcha.o@fph.tu.ac.th Abstract The study aims to evaluate of greenhouse gases emissions from Municipal Solid Waste (MSW) Management in Nan municipality. Transportation and disposal processes (sanitary landfill) were considered. Primary data and secondary data including amount of solid wastes, diesel fuel, solid waste composition and populations were collected in the base year of 2019. GHG emissions were estimated from the GHG calculation model developed by Institute for global environmental strategies (IGES). The results show that greenhouse gases emissions emitted from Nan municipality was approximately 1,531.4 tonCO2eq/month. That were 34 tonCO2eq/ month, 1,497.4 tonCO2eq/month emitted from solid waste disposal process and transportation process, respectively. Moreover, solid waste composition by mass are food/organic (41 %), plastic (25 %), paper (13%), others (12 %), glass (5 %), fabric (3 %) and metal (1 %). Additionally, GHG emission can be lowered around 3.8 % -21.2 % by the mitigation measures including reducing of food waste and reducing of paper waste (10-50%). Keywords:Solid Waste, Greenhouse Gases, Municipal

61


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัญหามูลฝอยชุมชนในประเทศไทยยังคงเป็นปัญหาที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง (ปิยชาติ ศิลปะสุวรรณ, 2558) ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 มีปริมาณมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.8 ล้านตัน และมีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 เมื่อเปรียบเทียบ กับปีพ.ศ. 2560 เนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง การเพิ่มขึ้นของประชากรการส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมเมือง ส่งผลให้ปริมาณมูลฝอยในหลายพื้นที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นอย่างไรก็ ตามการจัดการมูลฝอยในปี พ.ศ. 2561 มีแนวโน้มที่ดีขึ้น โดยมูลฝอยชุมชนได้มีการคัดแยกจากต้นทาง (แหล่งกำเนิด) และนำ กลับไปใช้ประโยชน์ (34 %) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2560 (13 %) ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากมูลฝอยรีไซเคิลและการทำปุ๋ย อินทรีย์ ส่วนใหญ่การจัดการมูลฝอยชุมชนมีการกำจัดมูลฝอยได้อย่างถูกต้อง ประมาณ 10.88 ล้านตัน (39 %) และการกำจัดมูล ฝอยชุมชนอย่างไม่ถูกต้องประมาณ 7.36 ล้านตัน (27 %)ซึ่งแนวโน้มการจัดการมูลฝอยดีขึ้นเป็นผลจากนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งสู่ การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) บนแนวคิด 3R โดยการคัดแยกมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง สำหรับใน 76 จังหวัดทั่ว ประเทศมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นทั้งหมด ประมาณ 22.97 ล้านตัน (83 % ของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมด) มาจากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบเก็บรวบรวมและขนส่งมูลฝอยไปกำจัดยังสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยจำนวน 4,894 แห่ง ส่วนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 2,881 แห่งยังไม่มีการเก็บรวบรวมขนส่งขยะมูลฝอยไปกำจัด โดยประชาชนต้องกำจัดขยะในพื้นที่ ของตนสถานที่กำจัดมูลฝอยชุมชนและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชนทั่วประเทศ ในปี 2561 มีจำนวน 3,205 แห่ง เปิดดำเนินการ 2,786 แห่ง และปิดดำเนินการ 419 แห่ง (กรมควบคุมมลพิษ, 2562) ในปัจจุบันประเทศไทยเผชิญกับปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในระดับโลกจากการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศพัฒนา ทําให้ปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมี ความรุนแรงขึ้น อย่างมีนัยสําคัญ ประเทศไทยต้องรับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของฤดูกาล การเกิดภัยพิบัติที่รุนแรงและมีความถี่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบและการ แพร่กระจายของเชื้อโรคและพาหะนําโรค ซึ่งนํามาซึ่งการเกิดโรคอุบัติซ้ำ และโรคอุบัติใหม่ ทั้งนี้ ประเทศไทยที่เป็นประเทศ เกษตรกรรม มีรูปแบบการพัฒนา และวิถีชีวิตที่ต้องพึ่งพาความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศจึงเป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบที่สําคัญต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งส่งผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ การขจัดปัญหาความ ยากจนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น อีกประเด็นหนึ่งที่ประเทศไทยต้องเผชิญ คือ การเพิ่มขึ้นของปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้มีความสําคัญอย่างมาก ทําให้นานาประเทศมีความร่วมมือกันใน การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประเทศไทยจึงต้องมีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นในการร่วมกันแก้ไขปัญหาก๊าซเรือนกระจกกับนานาประเทศ และจากประเทศคู่ค้าต่างๆ ซึ่งได้นําประเด็นต่างๆ มาเป็นข้อกําหนดหรือข้อบังคับทางการค้าในลักษณะต่างๆเช่น การเก็บ ค่าธรรมเนียมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเที่ยวบินที่บินเข้าน่านฟ้าของสหภาพยุโรปการบังคับให้ติดฉลากรอยเท้าคาร์บอน (carbon footprint) เป็นต้น (สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2558) จากข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขาในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 พบว่า ประเทศไทยมีการปล่อยก๊าซเรือน กระจกรวมเท่ากับ 232.56 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าโดยเพิ่มขึ้นจาก ปีพ.ศ. 2543 ประมาณ 0.64 % ซึ่งการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกในภาคของเสียมีปริมาณการระบายเท่ากับ 11.83 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยกิจกรรมที่มีการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกหลัก ได้แก่ การบําบัดน้ำเสีย (Wastewater handling) มีปริมาณเท่ากับ 6.38 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (53.90 %) และการฝังกลบมูลฝอย (Solid waste disposal on land) มีปริมาณเท่ากับ 5.35 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์

62


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เทียบเท่า (45.19 %) ในขณะที่การกําจัดมูลฝอยด้ วยเตาเผา (Waste incineration) เป็นกิจกรรมที่มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกต่ำสุดในภาคส่วนนี้ เท่ากับ 0.11 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (0.91 %) (Ministry of Natural Resources and Environment, 2019). นอกจากนี้ ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจากภาคของเสีย จากกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2556 พบว่า มีปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกประมาณ 4.93 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า คิดเป็น 42 % ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาค ของเสียของประเทศไทย โดยกรุงเทพมหานคร ได้มีมาตรการพัฒนาและยกระดับเทคโนโลยีในการกำจัดมูลฝอยและการบำบัดน้ ำ เสีย ประกอบกับการส่งเสริมในการลดปริมาณมูลฝอยและส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยจากต้นทาง คาดว่าจะสามารถลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 0.2 ล้านตัน (สำนักสิ่งแวดล้อม, 2558) สำหรับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่จังหวัดต่างๆในประเทศไทย ได้มีการดำเนินการในรูปแบบของการ ประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสำนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ และยังไม่ครอบคลุมครบ ทุกพื้นที่ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทที่สำคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดำเนินการ ป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษในเขตพื้นที่ท้องถิ่นของตนเอง รวมทั้งการตอบสนองนโยบายชาติในด้านการบริหารจัดการปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในท้องถิ่น และการจัดการ มูลฝอยเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมในการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกในองค์กร (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน), 2561) จังหวัดน่านเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคเหนือและมีปริมาณนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นถึง 20 % ในปี 2561 (กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2561) จากปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นอาจจะส่งผลต่อปริมาณมูลฝอยที่เพิ่มขึ้น ซึ่งใน การบริหารจัดการปริมาณก๊าซเรือนกระจกตามนโยบายชาติด้านการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการที่จะต้องมี ฐานข้อมูล เพือ่ การบริหารจัดการในพื้นที่ ดังนั้น ในการศึกษานี้จึงสนใจประเด็นการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก การจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการบริหารจัดการปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจาก การจัดการมูลฝอยต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยนี้จะดำเนินการศึกษาการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมือง น่าน จังหวัดน่าน โดยการประเมินปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการเก็บขนและกำจัดด้วยวิธีการฝังกลบ ซึ่งใช้ทั้ง ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ จากนั้นประเมินปริมาณการระบายด้วยโปรแกรมคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรม การจัดการมูลฝอยพัฒนาขึ้นโดย Institute for Global Environmental Strategies : IGES (Nirmala Menikpuraและ จรรยา แสงอรุณ, 2556) โดยมีรายละเอียดการประเมิน ดังนี้ 1) การรวบรวมและเก็บข้อมูล โดยเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ปริมาณน้ำมันที่ใช้ต่อวัน (ลิตร) ปริมาณมูลฝอยต่อ วัน (กิโลกรัม) จำนวนประชากร รวมทั้ง การวิเคราะห์องค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก ด้วยวิธีการ สุ่มตัวอย่างมูลฝอย จากยานพาหนะเก็บขนมูลฝอยขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่นำมูลฝอยมาทิ้งในบ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน เพื่อให้ ได้ตัวแทนมูลฝอยของทุกองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้วิธีการถ่ายเทมูลฝอยภายในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย สุ่ มตัวอย่างมูล ฝอยประมาณ 1 ลูกบาศก์เมตรและทำการชั่งน้ำหนักเพื่อวิเคราะห์หาลักษณะทางกายภาพโดยน้ำหนักซึ่งประเภทมูลฝอยที่มีการ

63


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วิเคราะห์องค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก ประกอบไปด้วยเศษอาหารและอินทรีย์สารกระดาษพลาสติกแก้วโลหะไม้ (ลังไม้/กิ่งไม้) ยางผ้าหนังของเสียอันตราย (ถ่านไฟฉาย/โทรศัพท์/หลอดไฟ/แบตเตอร์รี่/กระป๋องสารเคมีและอื่นๆ เช่น ผ้าอนามัย/ ผ้าอ้อมสำเร็จรูป/กระดาษทิชชู่ เป็นต้น สำหรับข้อมูลทุติยภูมิ จะทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลทั่วไปจากเทศบาลเมืองน่าน ในปี ฐาน 2562 (มกราคมถึงตุลาคม) เช่น ปริมาณน้ำมันที่ใช้ต่อเดือน (ลิตร) ปริมาณมูลฝอย (ตัน/เดือน) ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ใน ยานพาหนะและกิจกรรมอื่นๆ ที่เกิดบริเวณสถานที่กำจัดมูลฝอย (ลิตร/เดือน) เป็นต้น การแยกองค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพ โดยน้ำหนัก บริเวณบ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน แสดงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงการแยกองค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก 2. การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในปีฐาน พ .ศ.2562 ทำการประเมิ น ปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก จากการกระบวนการจั ด การมู ล ฝอย จากการการเก็บขนและการกำจัด ของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่านในกระบวนการการเก็บขนมูลฝอย โดยบ่อกำจัดมูลฝอย ของเทศบาลน่านมีการรับมูลฝอยจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 16 แห่ง โดยใช้พาหนะแบบรถบรรทุก ซึ่งจะทำการเก็บ 64


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ข้อมูลจากปริมาณน้ำมันที่ใช้ของแต่ละแห่งโดยกระบวนการนี้จะนำมาคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ระบายจากยานพาหนะ ด้วยวิธีการคำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าสัมประสิทธิ์และปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจกที่พัฒนาขึ้น โดย Institute for Global Environmental Strategies (IGES) และกระบวนการการกำจัดมูลฝอย โดยบ่อกำจัดมูลฝอยของ เทศบาลเมืองน่าน ได้มีการกำจัดมูลฝอยแบบ Sanitary landfill ซึ่งในการจัดการมูลฝอยดังกล่าวสามารถคำนวณปริมาณก๊าซเรือน กระจกที่ปล่อยออกมา โดยใช้ วิธีการคำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าสัมประสิทธิ์และปริมาณการระบาย ก๊าซเรือนกระจกเช่นกัน โปรแกรมคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมการจัดการมูลฝอย พัฒนาขึ้นโดยInstitute for Global Environmental Strategies(IGES) ประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล นำเข้ า ใน 2 กระบวนการ ได้ แ ก่ การฝั ง กลบ )Landfill)และ กระบวนการเก็บขน )Transportation) โดยการฝังกลบ )Landfill) มีข้อมูลนำเข้า ได้แก่ ปริมาณมูลฝอยทั้งหมดที่ฝังกลบ /ตัน) ) และองค์ประกอบของมูลฝอยที่นำมาฝังกลบ (เดือน/ลิตร) ปริมาณน้ำมันที่ใช้ในเครื่องยนต์ในการทำงานที่หลุมฝังกลบ (เดือน%( สำหรับกระบวนการเก็บขน มีข้อมูลนำเข้า ได้แก่ การขนส่งมูลฝอยโดยใช้ยานพาหนะที่ใช้เชื้อเพลิงดีเซล และปริมาณมูล ฝอยที่ทำการเก็บขน ซึ่งการคำนวณจากปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง ปริมาณมูลฝอยที่ขนส่งแต่ละรอบ ค่าพลังงานของ (เดือน/ตัน) เชื้อเพลิงที่ใช้ และค่าสัมประสิทธิ์การระบายจะใช้ค่า default โดยแบบจำลองจะพิจารณาจากก๊าซที่ปล่อยออกจากยานพาหนะ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ )CO2) แต่จะไม่พิจารณาก๊าซมีเทน )CH4) และไนตรัสออกไซด์ )N2O) เนื่องจากมีการปล่อยก๊าซใน ปริมาณน้อยมาก ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการขนส่งมูลฝอย สามารถคำนวณโดยใช้ สมการ ดังนี้ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากยานพาหนะ = คาร์บอนไดออกไซด์ของเชื้อเพลิง โดยที่

น้ำมันเชื้อเพลิง

ปริมาณมูลฝอย

X ค่าพลังงานเชื้อเพลิง X ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซ

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีหน่วยเป็น กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ต่อตันมูลฝอยที่ขนส่ง ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในการขนส่งต่อเดือน มีหน่วยเป็น ลิตรตัน/ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ขนส่งต่อเดือน มีหน่วยเป็น ตันมูลฝอยต่อเดือน ค่าพลังงานของเชื้อเพลิง ใช้ค่า Default ใช้น้ำมันดีเซล = 36.42MJ/L ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของเชื้อเพลิง ใช้ค่า Default ใช้น้ำมันดีเซล = 0.074 Kg CO2/MJ 3. การจัดทำบัญชีก๊าซเรือนกระจก

ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในหน่วยปริมาณต่อเวลา ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากยานพาหนะในการ เก็บขนขยะมูลฝอย และ จากการกำจัดแบบฝังกลบแบบถูกหลักวิชาการจะนำมารวมกันและคำนวณการปล่อยก๊า ซเรือนกระจก ทั้งหมดในหน่วยคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 4. จำลองสถานการณ์ในการลดสัดส่วนของประเภทมูลฝอยในองค์ประกอบมูลฝอย เพื่อเสนอมาตรการทางเลือกที่ เหมาะสม

65


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2500

14,000

2000

13,500 13,000

1500 12,500 1000 12,000 500

11,500

0

11,000

มกราคม

ปริ มาณมูลฝอย

ปริ มาณน้ ามัน (ลิตร)

ปริ มาณมูลฝอย (ตัน)

ในการศึกษานี้จะทำการจำลองสถานการณ์ เพื่อเสนอมาตรการที่เหมาะสมในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจาก กระบวนการจัดการมูลฝอยเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน โดยมาตรการที่ทำการจำลองสถานการณ์ ได้แก่ การลดปริมาณมูลฝอยที่ อยู่ในประเภทองค์ประกอบมูลฝอยได้แก่ ประเภทเศษอาหารสารอินท/รีย์และประเภทกระดาษ ที่ระดับ 10 % 20 % 30 % 40 % และ 50 % จากนั้นทำการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผลการวิจัย จากผลการเก็บรวบรวมข้อมูล ในปีฐาน พ .ศ.2562 พบว่า ปริมาณมูลฝอยที่ทำการเก็บขนเพื่อกำจัด ในเดือน สิงหาคม มีปริมาณมากที่สุด และในเดือนกุมภาพันธ์ มีปริมาณมูลฝอยน้อยที่สุด ซึ่งคิดเป็นปริมาณมูลฝอยเฉลี่ยรายเดือนได้เท่ากับ 2,070 ตัน คิดเป็น 24,840 ตันปี นอกจากนี้ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง มีการใช้น้ำมันดีเซล ในเดือ /น กรกฎาคม มากที่สุด ซึ่งเป็นผล มาจาก ในเดือนกรกฎาคมมีวันหยุดติดต่อกันหลายวัน จึงทำให้นักท่องเที่ยวเข้ามาในพื้นที่ ทำให้ปริมาณน้ำมันที่ใช้ในการเก็บขน เพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มรอบของการให้บริการเก็บขนมูลฝอย และปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงน้อยที่สุดในเดือนสิงหาคม และมีการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยรายเดือนเท่ากับ 12,630 ลิตรต่อเดือน เมื่อคิดเป็นสัดส่วนมูลฝอยต่อน้ำมันเชื้อเพลิง พบว่า มีค่าสัดส่วนเฉลี่ย เท่ากับ 0.16 ตัน .ศ.ลิตร โดยปริมาณมูลฝอยและปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ ในเดือนมกราคมถึงตุลาคม พ/2562 แสดงได้ ดังภาพ ที่ 2

มิถุนายน

ปริ มาณน้ ามันดีเซล

ภาพที่ 2 แสดงปริมาณมูลฝอยและปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง ในเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ .ศ.2562 ของบ่อกำจัดมูลฝอยเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ผลจากการวิเคราะห์องค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก ของมูลฝอยที่นำมากำจัด ณ บ่อกำจัดมูลฝอยเทศบาล เมืองน่าน จังหวัดน่าน พบว่า สัดส่วนเศษอาหารและอินทรียส์ ารมีสดั ส่วนมากทีส่ ุด รองลงมา คือ กระดาษและ พลาสติก ตามลำดับ โดยองค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนักมูลฝอยของมูลฝอยที่นำมากำจัด ณ บ่อกำจัดมูลฝอยเทศบาลเมืองน่าน จังหวัด น่าน แสดงได้ดังภาพที่ 3

66


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อัตราการเกิดมูลฝอย (กิโลกรัม/คน/วัน)

ภาพที่ 3 แสดงองค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนักมูลฝอยของมูลฝอยที่นำมากำจัด ณ บ่อกำจัดมูลฝอยเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน 1.4

1.3

1.2 1

0.8 0.56

0.6 0.4 0.2

0.28 0.06 0.05

0.22 0.19

0.27

0.52

0.36

0.06

0.3 0.15

0.1

0.15

0.23

0

องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น

ภาพที่ 4 แสดงอัตราการเกิดมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่นำมูลฝอยมากำจัด ณ บ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมือง น่าน จหน่วย) น่าน.: กิโลกรัมต่อคนต่อวัน( คือ เทศบาลเมืองน่าน.ทม); ทตคือ เทศบาลตำบล .; อบต(คือ องค์การบริหารส่วนตำบล .

67


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากภาพที่ 4 แสดงอัตราการเกิดมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 16 แห่ง ในหน่วย กิโลกรัมต่อคนต่อวัน พบว่า เทศบาลเมืองน่าน มีอัตราการเกิดมูลฝอยมากที่สุด เนื่องจากเป็นเมืองที่มีประชากร นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนมากที่สุด โดยมีอัตราการเกิดมูลฝอยประมาณ 1.3 กิโลกรัมต่ อคนต่อวันจากการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการ กระบวนการจัดการมูลฝอย จากการการเก็บขนและการกำจัดของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่านด้วยวิธีการคำนวณจากแบบจำลอง ทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าสัมประสิ ทธิ์และปริมาณการระบายก๊าซเรือ นกระจกที่ พั ฒนาขึ้ นโดย Institute for Global Environmental Strategies (IGES) พบว่า ปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจกของการจัดการมูลฝอยเทศบาลเมืองน่าน จังหวัด น่านมีปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยต่อเดือน มีปริมาณ 1,531.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยการฝังกลบ มูลฝอยมีสัดส่วนถึง 97% และปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจกจากการเก็บขนมูลฝอยซึ่งมีปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจก เพียง 3% รายละเอียดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน แสดง ได้ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน กระบวนการ

ปริมาณ

หน่วย

การเก็บขนมูลฝอย ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจากการ เก็บขนมูลฝอยต่อเดือน

34.0 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน

การฝังกลบมูลฝอย ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจากการ ฝังกลบมูลฝอย

1,497.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด

1,531.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน

สำหรับมาตรการการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ประกอบไป ด้วย 1) มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์โดยสัดส่วนการลดปริมาณมูลฝอยอยู่ที่ 10 %, 20 %, 30 %, 40 % และ 50 % 2) มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทกระดาษ โดยสัดส่วนการลดปริมาณมูลฝอยอยู่ที่ 10 %, 20 %, 30 %, 40 % และ 50 % และ3) มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทพลาสติก โดยสัดส่วนการลดปริมาณมูลฝอยอยู่ที่ 10 %, 20 %, 30 %, 40 % และ 50 % ผลการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการต่างๆ พบว่ามาตรการลดปริมาณ มูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์ในสัดส่วน 10 % - 50 % มีปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงจากเดิมประมาณ 52.0 – 520.1 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน ส่วนมาตรการลดปริมาณมูลฝอยประเภทกระดาษ ในสัดส่วน 10 % - 50 % มีปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกลดลงจากเดิมประมาณ 84.4 – 313.6 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน และมาตรการลดปริมาณมูลฝอย ประเภทพลาสติกในสัดส่วน 10 % - 50 % มีปริมาณก๊าซเรือนกระจกไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ซึ่งปริมาณก๊าซเรือนกระจกใน แต่ละมาตรการ แสดงดังตารางที่ 2

68


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 แสดงปริมาณก๊าซเรือนกระจก หน่วย) : ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/เดือนลดลงของ/และสัดส่วนการเพิ่มขึ้น ( ) ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก%)ในแต่ละมาตรการ มาตรการ 1) ลดมูลฝอยประเภทเศษอาหารและ สารอินทรีย์ 2) ลดมูลฝอยประเภทพลาสติก 3) ลดมูลฝอยประเภทกระดาษ

10% 1445.4 (-5.6 %) 1,497.4 (0 %) 1413.0 (-7.7%)

สัดส่วนการลดปริมาณมูลฝอย/เดือน 20% 30% 40% 1387.3 1328.8 1264.9 (-9.4 %) (-13.2%) (-17.4 %) 1,497.4 1,497.4 1,497.4 (0 %) (0%) (0%) 1373.3 1311.2 1247.4 (-10.3 %) (-14.4 %) (-18.5 %)

50% 977.3 (-36.1%) 1,497.4 (0 %) 1183.8 (-22.7 %)

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการกระบวนการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน ได้แก่ กระบวนการเก็บขนและกระบวนการกำจัดด้วยวิธีการคำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าปริมาณการ ระบายก๊าซเรือนกระจกที่พัฒนาขึ้นโดย Institute for Global Environmental Strategies (IGES)โดยมีการเก็บข้อมูลเพื่อนำเข้า ไปคำนวณในโปรแกรม ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของยานพาหนะเก็บขน (ลิตร) ปริมาณ มูลฝอยที่นำไปกำจัด (ตัน) พบว่า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอยทั้ งหมด 1,531.4 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือนได้แก่ จากกระบวนการ การเก็บขนมูลฝอย ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจาก การเก็บขนมูลฝอยต่อเดือน มีปริมาณ 34 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน กระบวนการ การฝังกลบมูลฝอย ปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจากการฝังกลบมูลฝอย มีปริมาณ 1,497.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเดือน ซึ่งเป็น กระบวนการหลักที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน การวิเคราะห์องค์ประกอบมูลฝอยโดยน้ำหนักทางกายภาพจากการสุ่มตัวอย่างจากยานพาหนะเก็บขนมูลฝอยและนำมา ทิ้งทีบ่ ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จากจำนวนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 16 แห่ง ที่นำมูลฝอยมากำจัด ณ บ่อกำจัดมูล ฝอยของเทศบาลเมืองน่าน โดยทำการสุ่มจากยานพาหนะเก็บขนมูลฝอยด้วยวิธีการ Quartering พบว่า จากการวิเคราะห์ องค์ประกอบมูลฝอยโดยน้ำหนักทางกายภาพ ปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและสารอินทรีย์มีสัดส่วนที่มากที่สุด ( 41 %) รองลงมาคือ พลาสติก (25 %) กระดาษ (13 %) มูลฝอยประเภทอื่น ๆ (12 %) แก้ว (5 %) ผ้า (3 %) และโลหะ (1 %) ตามลำดับ จากนั้นนำผลจากการวิเคราะห์มูลฝอยมาพิจารณาเพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากจัดการ มูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน ทั้งหมด 3 มาตรการ ได้แก่ มาตรการลดสัดส่วนมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์ มาตรการ การลดสัดส่วนมูลฝอยประเภทพลาสติกและมาตรการการลดสัดส่วนมูลฝอยประเภทกระดาษ ซึ่งเป็นมูลฝอยที่มีสัดส่วนที่มีปริมาณ มากที่สุดสามอันดับแรก พบว่า ทั้งสองมาตรการสามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในช่วงระหว่าง 5.6 % - 22.7 % ได้แก่ มาตรการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์และมาตรการลดปริมาณมูลฝอยประเภทกระดาษ ตามลำดับ โดย มาตรการที่ลดการปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้มากที่สุด คือ มาตรการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์ 50 % และมาตรการที่ลดการปล่อยปริมาณก๊าซเรือ นกระจกได้น้อยที่สุด คือ มาตรการลดปริมาณมูลฝอยประเภทกระดาษ 10 %

69


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

นอกจากนี้ พบว่า มาตรการที่ยังไม่สามารถลดการปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ในระยะสั้น ได้แก่ มาตรการการลดสัดส่วนมูล ฝอยประเภทพลาสติก เนื่องจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้ จะประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือ นกระจกจากกระบวนการฝัง กลบจะพิจารณาการย่อยสลายมูลฝอยที่มีส่วนประกอบของสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ในระยะเวลา 1 เดือน และเกิดเป็นก๊าซมีเทน จากการใช้วิธีการแบบการฝังกลบเท่านั้น นอกจากนี้ จะเห็นได้ว่า ถึงแม้จะมีมาตรการในการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/ สารอินทรีย์ ด้วยการส่งเสริมให้มีการนำมาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักในหลายๆพื้นที่ ปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์ ยังคงมีสัดส่วนมากที่สุดในองค์ประกอบมูลฝอย ดังนั้น มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทเศษอาหาร/สารอินทรีย์ ยังมี ความสำคัญและควรมีการผลักดันให้เกิดผลสำเร็จให้ได้มากที่ สุด นอกจากนี้มาตรการการลดปริมาณมูลฝอยประเภทกระดาษ สามารถทำได้ โดยเริ่มต้นจากแนวนโยบายมุ่งสู่การเป็นเมืองคาร์บอนต่ำอย่างจริงจัง เช่น เริ่มการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ใน สำนักงาน การลดมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด เป็นต้น กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเทศบาลเมืองน่านเทศบาลตำบลเชียงกลางเทศบาลตำบลดู่ใต้เทศบาลตำบลกองควายเทศบาล ตำบลปัวเทศบาลตำบลกลางเวียงเทศบาลตำบลเวียงสาอบต.ถืมตองอบต.ท่าน้าวอบต.ฝายแก้วอบต.ฝายแก้วอบต.ม่วงตื๊ด อบต. ไชยสถานอบต.เรืองอบต.ผาสิงห์อบต.สะเนียนและอบต.น้ำปั้ว ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2561 สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศ รายจังหวัด ปี 2561 สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2563, จาก https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=525 กรมควบคุมมลพิษ. (2562). สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561,กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. ปิยชาติ ศิลปะสุวรรณ. (2558). ขยะมูลฝอยชุมชนปัญหาที่ประเทศกำลังเผชิญ , กรุงเทพฯ : สํานักวิชาการสํานักงานเลขาธิการ วุฒิสภา. สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2558). แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593, กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สำนักสิ่งแวดล้อม. (2558). รายงานฉบับผู้บริหาร แผนแม่บทกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.25562566, กรุงเทพมหานคร. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2561). แนวทางการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment : LPA)เรื ่ อ ง รายงานข้ อ มู ล ปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก. กรุ ง เทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. Ministry of Natural Resources and Environment. (2019). Thailand’s Third National Communication. Retrieved fromhttps://unfccc.int/sites/default/files/resource/Thailand%20TNC.pdf Nirmala Menikpuraและ จรรยา แสงอรุณ. (2556). คู่มือการใช้โปรแกรมคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการ จัดการขยะมูลฝอยโดยใช้วิธีการประสานวัฏจักรชีวิต. ภายใต้โครงการการตรวจวัดรายงานผลและการทวนสอบ (MRV) สำหรับการพัฒนาแบบคาร์บอนต่ำในเอเชีย, องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

70


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ประโยชน์ของโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับประชาชนทั่วไปที่มาตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลศิริราช กนกทิพย์ พัฒผล, วีรศักดิ์ เมืองไพศาล, ณรงค์ภณ ทุมวิภาต, สมบูรณ์ อินทลาภาพร, ปิติพร สิริทิพากร, หฤษฎ์ ปัณณะรัส ,อภินัทธ์ จรูญพิพัฒน์กุล คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล *Corresponding author E-mail: kanokthip.2533@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional study) ศึกษาผลการตรวจสุขภาพประจำปี 4 รายการ คือ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) การทำงานของเอนไซม์ตับ (AST, ALT) ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin : Hb) และ Stool occult blood ในกลุ่มผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปี ณ หน่วยตรวจสุ ขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช วัตถุประสงค์: เพื่อหาความชุกความผิดปกติของภาพถ่า ยรังสีทรวงอก การทำงานของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ระดับฮีโมโกลบิน และ Stool occult blood วิธีวิจัย: รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลสำหรับผู้มารับบริการตรวจ สุขภาพที่หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ จัดเตรียมไว้สำหรับประเมินความเสี่ยงของผู้รับบริการก่อนส่ งตรวจ คัดกรองสุขภาพตามช่วงอายุ และนำผลการตรวจสุขภาพมาแสกนเข้าฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ระหว่าง เดือนมิถุนายน 2560 - เมษายน 2561 และนำมาวิเคราะห์ความชุกของความผิดปกติ ด้วยวิธี Descriptive statistics ผลการวิจัย: พบความผิดปกติอย่างน้อย 1 ชนิด จำนวน 675 คน จากผู้รับบริการทั้งหมด 1,789 คน โดยพบความชุกของความผิดปกติของ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก การทำงานของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ระดับฮีโมโกลบิน และ Stool occult blood ร้อยละ 21.1, 4.8, 7.3, 17.8 และ 5.7 ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: การศึกษานี้เป็นการคัดกรองเบื้องต้นเท่านั้น อาจมีผลทำให้พบความ ชุกของความผิดปกติของผลตรวจสุขภาพน้อยกว่าที่ควร และไม่ได้ติดตามผลสุดท้ายหลังส่งต่อไปรับบริการหน่วยงานอื่นๆ ดังนั้น ควรมีการศึกษาต่อในส่วนของผลลัพธ์สุดท้าย เพื่อทราบความชุกที่แท้จริง โดยการตรวจคัดกรองสุขภาพตามชุดบริการยังค งมี ประโยชน์ หากตรวจพบว่าคนที่ยังไม่มีอาการหรืออาการแสดงของโรค แล้วสามารถพบความผิดปกติที่นำไปสู่การตรวจเพิ่มเติม มี ผลให้สามารถวินิจฉัยโรคได้ตั้งแต่ระยะแรก ลดความรุนแรงของโรคและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาได้ รวมถึงวางแผนการดูแล สุขภาพหรือให้คำแนะนำผู้รับบริการ คำสำคัญ: CHECK-UP, CHEST X-RAY, LIVER ENZYME, HEMOGLOBIN, STOOL OCCULT BLOOD

71


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

USEFULNESS OF THE ANNUAL HEALTH CHECK-UP PROGRAM IN GENERAL POPULATION AT SIRIRAJ HOSPITAL Kanokthip phatphon, Weerasak Muangpaisan, Narongpon Dumavibhat, Somboon Intalapaporn, Pitiporn Siritipakorn, Harisd Phannarus, Apinut Jaroonpipatkul Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University *Corresponding author E-mail: kanokthip.2533@gmail.com Abstract Introduction: The study was a cross-sectional study to investigate the results of medical check-up of 4 annual health examinations: chest X-ray, liver enzyme (AST, ALT), hemoglobin (Hb) and stool occult blood among service recipients attending the annual health at the health check-up unit, Siriraj Hospital. Objective: Find the prevalence of abnormal test results and their associated factors of chest radiography, liver enzyme, hemoglobin and stool occult blood test. Methodology: Data were collected from medical records of the health check-up unit at Siriraj Hospital. The data included baseline demographic profiles and risk factors of the participants. The laboratory and chest X-ray results were collected from the medical database and were reviewed by the researchers. Chest X-ray were read by radiologists and chest physician. The prevalence of abnormal results of each test was described with a descriptive statistic. Results: There were 675 persons of 1,789 persons who had at least 1 test abnormality of chest radiography, liver enzyme function, hemoglobin and stool occult blood test. The prevalence of abnormal chest radiography, liver enzyme (AST, ALT) function, hemoglobin and stool occult blood test were 21.1, 4.8, 7.3, 17.8 and 5.7 percent, respectively. Discussion and conclusion: This study was only a preliminary screening. The results showed that the prevalence of the annual health check-up results was lower than expected. The researcher did not follow the final results after the patients were seen by other units. Therefore, the final results should be further studied to better understand the actual prevalence of the disease. The annual health check-up by such service is still beneficial if it is found in those who have not yet had symptom and sign of the disease. The abnormal test can lead to the additional examination thus being possible to diagnose the early stage of the disease and health care plan. Keywords: CHECK-UP, CHEST X-RAY, LIVER ENZYME, HEMOGLOBIN, STOOL OCCULT BLOOD

72


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ประเทศไทยมีการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับประชาชนทั่วไปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นกิจกรรมการตรวจประเมินสุขภาพ โดยที่ผู้รับการตรวจไม่มีอาการผิดปกติและรู้สึกว่าร่างกายยังสมบูรณ์แข็ งแรงดี ไม่มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน การ ตรวจสุขภาพประจำปีเป็นการตรวจที่ทำในทุกๆ ปี ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ หรือสอบถามประวัติอาการ และประวัติทาง การแพทย์ต่างๆ มีการตรวจร่างกายโดยละเอียด และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น อาจจะรวมถึงการให้วัคซีนป้องกันโรค และการให้ ค ำปรึ ก ษาสุ ข ภาพที ่ ส อดคล้ อ งกั บ ช่ ว งอายุ ข องผู ้ ร ั บ การตรวจแต่ ล ะราย โดยส่ ว นใหญ่ ย ึ ด ถื อ ตามแนวทางของ กรมบัญชีกลาง [1] ซึ่งในปัจจุบันโรงพยาบาลส่วนใหญ่ได้ให้ความสำคัญกับการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีเป็นอย่างมาก ดังจะ เห็นได้จากการที่มีการจัดตั้งศูนย์ตรวจเฉพาะทางหรือศูนย์ตรวจสุขภาพขึ้นทั้งในโรงพยาบาลรัฐและเอกชนมากมาย รวมถึงการ กำหนดเป็นสวัสดิการการรักษาพยาบาลให้กับข้าราชการ พนักงานและลูกจ้างในหน่วยงานต่างๆ ผลการศึกษาส่วนใหญ่พบในกลุ่ม ของบุคลากรสาธารณสุข หรือกลุ่มเสี่ยงของโรคนั้นๆ ในกลุ่มของประชาชนทั่วไปที่มารับบริการตรวจสุขภาพที่หน่วยบริการพบน้อย การศึกษาบางรายการในชุดโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับประชาชนทั่วไปที่ยึด ถือตามแนวทางของกรมบัญชีกลาง ของประเทศไทย ไม่แนะนำให้มีการตรวจเป็น ประจำสำหรับผู้ ที่ไม่มีความเสี่ยง หรือในผู้ที่ไม่มีอาการ ซึ่งโอกาสการพบความ ผิดปกตินั้นมีได้น้อย [1-7] ความผิดปกตินั้นอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษา [8-9] ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น ปี 2558 หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช มีผู้มารับบริ การตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 3,568 ราย โดยชุดโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีที่กำหนดไว้ยึดถือตามแนวทางของกรมบัญชีกลางซึ่งแสดงให้เห็นได้ ว่าประชาชนให้ความสนใจและเห็นความสำคัญในการตรวจสุขภาพเป็นอย่างมาก จากการรวบรวมข้อมูลการศึกษาวิจัยในประเทศไทย พบว่ามีการศึกษาที่ นำชุดโปรแกรมการตรวจสุขภาพดังกล่าวศึกษา ในประชาชนทั่วไปที่มารับบริการตรวจสุขภาพที่หน่วยบริการยังมีไม่มาก ส่วนใหญ่จะพบการศึกษาในบุคลากรสาธารณสุขหรือ หน่วยงานใหญ่ๆ ที่จัดสวัสดิการสำหรั บเจ้าหน้าที่ ดังนั้นงานวิจัยนี้จะทำการสำรวจความชุกของความผิดปกติที่ตรวจพบใน ประชาชนทั่วไป ซึ่งในหน่วยตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลศิริราช มีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมากในแต่ละปี แต่ไม่มีการเก็บสถิติ หรือทำการศึกษามาก่อน จึงทำให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาประโยชน์ของตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อการคัดกรองโรคให้กับผู้มารับบริการ และ นำไปสู่การค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงของโรคต่างๆ เพื่อวางแผนการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ให้คำแนะนำให้มีสุขภาพดีหรือได้รับ การดูแลรักษาที่เหมาะสม โดยการศึกษานี้ผู้วิจัยสนใจศึกษาผลการตรวจสุขภาพประจำปี แบบ Voluntary screening จำนวน 4 รายการ คือ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) เอนไซม์ตับ (AST, ALT) Hemoglobin (Hb) และ Stool occult blood ซึ่งเป็นรายการ ตรวจที่สามารถพบได้บ่อยที่สุดในทุกช่วงอายุบรรจุอยู่ในชุดโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีตามแนวทางของกรมบัญชีกลาง [1] และยังมีหลักฐานยืนยันความคุ้มค่าในการตรวจไม่เพียงพอ หรือไม่แนะนำให้ตรวจในผู้ที่ไม่มีข้อบ่งชี้ ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเชิงพรรณนา(Cross-sectional study) ผู้เข้าร่วมวิจัยครั้ ง นี้ เ ป็ น ผู้ กรอกข้ อ มู ล ตามแบบบั น ทึ กข้ อ มู ลสำหรั บ ผู้ ม ารั บบริ การตรวจสุ ข ภาพที่ ห น่ ว ยตรวจสุ ข ภาพและให้ คำแนะนำทางโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราชจัดเตรียมไว้ สำหรับประเมินความเสี่ยงของผู้รับบริการก่อนส่งตรวจคัดกรองสุขภาพตามช่วงอายุด้วยตนเอง จากนั้นเจ้าหน้าที่ประเมินความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมวิจัยพร้อมส่งตรวจคัดกรองสุขภาพและนำผลการตรวจสุขภาพจากผู้ป่วยมาแสกน 73


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เข้าฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล พร้อมแนบในเวชระเบียนก่อนส่งพบแพทย์ และนำมาวิเคราะห์ความชุกของ ความผิดปกติ ด้วยวิธี Descriptive statistics Inclusion criteria 1. ผู้รับบริการที่มาตรวจสุขภาพประจำปี อายุ 18 ปีขึ้นไป 2. ผู้รับบริการที่มาตรวจสุขภาพประจำปี ที่ได้รับการตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) หรือตรวจระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin :Hb) หรือตรวจเอนไซม์ตับ (AST, ALT) หรือตรวจ Stool occult blood โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ อการ ตรวจสุขภาพประจำปี ในระหว่างเดือนมิถุนายน 2560 – เมษายน 2561 Exclusion criteria 1. ผู้รับบริการที่ได้รับการตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) หรือตรวจระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin : Hb) หรือ ตรวจเอนไซม์ตับ (AST, ALT) หรือตรวจ Stool occult blood โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสุขภาพก่อนการสมรส หรือ ตั้งครรภ์ ขอใบรับรองแพทย์ไปต่างประเทศ ศึกษาต่อ ขอวีซ่า ไปอบรม 2. ผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถามไม่ครบ จนไม่สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้ Sample size ผู้มารับบริการตรวจสุขภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสุขภาพประจำปี ณ หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทาง โภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช ในระหว่างเดือนมิถุนายน 2560 – เมษายน 2561 ทุกรายที่ได้รับการตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) หรือตรวจระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb) หรือตรวจการทำงานของเอนไซม์ตับ (AST, ALT) หรือตรวจ Stool occult blood การวัดผล การตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest radiography) • ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indicator) : เพื่อตรวจหาความผิดปกติของปอด • การแปลผล : ความผิดปกติที่พบโดยรังสีแพทย์ การตรวจเอนไซม์ตับ ได้แก่ AST และ ALT (Liver enzyme: AST and ALT) [13] การทดสอบ : Aspartate aminotransferase (AST) • ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indicator) : Hepatobiliary disease • การรายงานผล : รายงานเป็นหน่วย U/L โดยใช้ค่าอ้างอิง (reference value) ผู้ชาย 0 – 40 U/L ผู้หญิง 0 - 32 U/L การทดสอบ : Alanine aminotransferase (ALT) • ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ(indicator) : Hepatobiliary disease • การรายงานผล : รายงานเป็นหน่วย U/L โดยใช้ค่าอ้างอิง (reference value) ผู้ชาย 0 – 41 U/L ผู้หญิง 0 - 33 U/L

74


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin level) [18] • ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indicator) : - เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคทางโลหิตวิทยา หรือมีการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา - เพื่อตรวจกรองความสมบูรณ์ของสุขภาพ • การรายงานผล : รายงานเป็นค่า โดยใช้ค่าอ้างอิง (reference value) ดังนี้ Hb (g/dl): หญิง อายุ 18 ปีขึ้นไป = 12 : ชาย อายุ 18 ปีขึ้นไป = 13 Stool occult blood (A stool occult blood examination) • ชื่ออื่น (Other Name) : Fecal occult blood (FOB) หรือ Fecal occult blood test (FOBT) โดยใช้วิธี Immunochemical- Fecal Occult Blood Test (I -FOBT) • ข้อบ่งชี้ในการส่งตรวจ (indicator) : เพื่อตรวจหาเลือดปริมาณน้อยๆ ที่ปนอยู่ในอุจจาระ(occult blood) ซึ่งไม่สามารถ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า • การรายงานผล : ผลบวก (positive) = พบเลือด occult blood ในอุจจาระ ผลลบ (negative) = ไม่พบเลือด occult blood ในอุจจาระ ผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพ ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี ณ หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2560 ถึง เมษายน 2561 จำนวน 1,789 คน รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี ข้อมูลทั่วไป เพศ 1. ชาย 2. หญิง อายุ X̄ = 52.7 S.D. =12.6 MIN = 18, MAX = 86 ดัชนีมวลกาย 1. ผอม (<18.5) 2. ปกติ (18.5-22.9) 3. น้ำหนักเกิน (23-24.9) 4. อ้วน ระดับ 1 (25-29.9) 5. อ้วน ระดับ 2 (≥30)

จำนวน

ร้อยละ

482 1,307

26.9 73.1

92 708 374 486 129

5.1 39.6 20.9 27.2 7.2 75


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป จำนวน สถานภาพสมรส 1. โสด 529 2. สมรส/ไม่สมรสแต่อยู่ด้วยกัน 1,048 3. หม้าย/หย่า/แยก 209 4. นักบวช 3 ระดับการศึกษา 1. ไม่ได้เรียน/ประถมศึกษา 201 2. มัธยมศึกษา 468 3. สูงกว่ามัธยมศึกษา 1,120 อาชีพ 1. ข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ/เจ้าหน้าที่รัฐ รัฐวิสาหกิจ 600 2. ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว/อิสระ 397 3. พนักงานบริษัทเอกชน 100 4. เกษตรกร 45 5. นักเรียน/นักศึกษา 31 6. รับจ้างทั่วไป 127 7. ว่างงาน/ไม่ได้ประกอบอาชีพ/ผูส้ ูงอายุ/พ่อบ้าน/แม่บ้าน 413 8. อื่น ๆ 76 ประวัติการตรวจสุขภาพประจำปี 1. ไม่เคยตรวจ 473 2. เคยตรวจ 1,316

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ร้อยละ 29.5 58.6 11.7 0.2 11.2 26.2 62.6 33.5 22.2 5.6 2.5 1.7 7.1 23.1 4.2 26.4 73.6

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้มารับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 1,307 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.1 มีอายุเฉลี่ย 52.7 ปี (อยู่ระหว่าง 18 – 81 ปี) ส่วนใหญ่มีระดับดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในระดับปกติ จำนวน 708 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.6 มีสถานภาพ สมรส/ไม่สมรสแต่อยู่ด้วยกัน จำนวน 1,048 ราย คิดเป็นร้อยละ 58.6 มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับดี คือ ระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา ประกอบด้วย ระดับอนุปริญญา/ปวส. จำนวน 49 ราย ปริญญาตรี จำนวน 458 ราย และปริญญาโท จำนวน 164 ราย ส่วนใหญ่มี อาชีพเป็นข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ/เจ้าหน้าที่รัฐ รัฐวิสาหกิจ รองลงมา คือ ว่างงาน/ไม่ได้ประกอบอาชีพ/ผู้สูงอายุ/พ่อบ้า น/ แม่บ้าน ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว/อิสระ และเคยได้รับบริการตรวจสุขภาพมาแล้ว 3 ใน 4 ของผู้มารับบริการ รวมถึงโรคประจำตัวที่ พบบ่อยจากผู้ที่ตอบแบบบันทึกข้อมูล 501 คน พบมากที่สุดคือ โรคภูมิแพ้/ระบบทางเดินหายใจ รองลงมา คือ โรคความดันโลหิต สูง โรคกระดูกและข้อ โรคกระเพาะอาหาร/กรดไหลย้อน โรคมะเร็ง/เนื้องอก โรคไทรอยด์ และอื่น ๆ ตามลำดับ และผลการตรวจ สุขภาพของคนที่ไม่มีประวัติเคยตรวจสุขภาพประจำปีกับคนที่เคยตรวจสุขภาพประจำปี พบว่าผู้ที่ไม่เคยตรวจสุขภาพจำนวน 473

76


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คน ตรวจพบความผิดปกติอย่างน้อย 1 รายการในจำนวน 4 รายการที่ศึกษาวิจัย จำนวน 194 คน คิดเป็นร้อยละ 41.0 และผู้ที่เคย ตรวจสุขภาพจำนวน 1,316 คน ตรวจพบความผิดปกติอย่างน้อย 1 รายการ จำนวน 481 คน คิดเป็นร้อยละ 36.6 ส่วนที่ 2 ความชุกของความผิดปกติของภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) เอนไซม์ตับ (AST, ALT) Hemoglobin (Hb) และ Stool occult blood ผลการวิเคราะห์จำนวน ร้อยละ ของความผิดปกติที่พบในผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี จำแนกเป็นภาพถ่ายรังสี ทรวงอก (Chest X-ray) เอนไซม์ตับ (AST, ALT) Hemoglobin (Hb) และ Stool occult blood รายละเอียดแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ความชุกของความผิดปกติของภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) เอนไซม์ตับ (AST, ALT) Hemoglobin (Hb) และ Stool occult blood ผลตรวจพบความ ผลตรวจปกติ Total รายการ ผิดปกติ (n, %) (n, %) (n, %) ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) 1,069 (78.9) 286 (21.1) 1,355 (100.0) - ผลตรวจพบความผิดปกติ 286 คน มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly) 82 (28.7) 2. Infiltration 24 (8.4) 3. ก้อน/จุดในปอด (Mass) 23 (8.0) 4. Extrapulmonary lesion 7 (2.4) 5. ความผิดปกติอื่นๆ ที่ไม่มีนัยสำคัญทางคลินิก (Others) 150 (52.4) การทำงานของเอนไซม์ตับ 1. Aspartate aminotransferase (AST) 1,689 (95.2) 85 (4.8) 1,774 (100.0) 2. Alanine aminotransferase (ALT) 1,645 (92.7) 129 (7.3) 1,774 (100.0) Hemoglobin (Hb) 1,466 (82.2) 317 (17.83) 1,783 (100.0) Stool occult blood 548 (94.3) 33 (5.7) 581 (100.0) จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี มีผลตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก(Chest X-ray) พบความ ผิดปกติร้อยละ 21.1 โดยส่วนใหญ่พบภาวะหัวใจโต (Cadiomegaly) คิดเป็นร้อยละ 28.7 ของจำนวนผู้ที่พบความผิ ด ปกติ รองลงมา คือ Infiltration มีก้อน/จุดในปอด (Mass) และ Extrapulmonary lesion คิดเป็นร้อยละ 8.4, 8.0, และ 2.4 ตามลำดับ และมีความผิดปกติอื่นๆ ที่ไม่มี นัยสำคัญทางคลินิก (Others) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกระดูกและโครงสร้าง รวมถึ งระบบหลอดเลื อ ด ที ่ ไ ม่ ม ี ผ ลต่ อ การดู แ ลรั ก ษา หรื อ ส่ งต่ อ ในครั ้ งนี ้ ส่ ว นเอนไซม์ ต ั บ พบความผิ ด ปกติ ใ น Alanine aminotransferase (ALT) มากกว่า Aspartate aminotransferase (AST) Hemoglobin (Hb) พบความผิดปกติประมาณ 1 ใน 5 ของผู้รับบริการ และ Stool occult blood ร้อยละ 5.7

77


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล ข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 52.7 ปี หรืออยู่ในช่วงวัยทำงานจนถึงเกษียณอายุ มีสถานภาพสมรส/ไม่สมรสแต่อยู่ด้วยกัน ระดับการศึกษาสูงกว่ามัธยม มีค่าดัชนีมวลกาย ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงปกติ และเป็นกลุ่มข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ/เจ้าหน้าที่รัฐ รัฐวิสาหกิจ ซึ่งสามารถเบิกค่าใช้จ่ายในการตรวจ สุขภาพจากสวัสดิการของต้นสังกัดได้ รวมถึงมีประวัติเคยตรวจสุ ขภาพประจำปีประมาณ 3 ใน 4 ของผู้รับบริการทั้งหมด ซึ่ง สอดคล้องกับรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 [11] พบว่า เพศหญิงมารับ บริการตรวจสุขภาพมากกว่าเพศชาย ในทุกช่วงอายุ ซึ่งอาจเกิดจากเพศหญิงมี Health concern สูงกว่าเพศชาย และอาจมีผลต่อ ผลการตรวจสุขภาพ สถานภาพสมรสส่วนใหญ่มีสถานะสมรสและอยู่ด้วยกัน รองลงมา คือ สถานะโสด ส่วนระดับการศึกษา พบว่า กลุ่มคนที่มีอายุน้อยจะมีจำนวนปีที่ศึกษามากที่สุด และลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ยกเว้นค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและกลุ่มอาชีพแตกต่าง จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ที่พบว่าค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายของประชากรชายและหญิงอยู่ในช่วงภาวะน้ำหนักเกิน และส่วนใหญ่มีอาชีพ แรงงาน รองลงมา คือ เกษตรกร และบริการ อาจสืบเนื่องมาจากระดับการศึกษาที่สูง ทำให้มีการเข้าถึงสื่อ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสุขภาพ การตรวจสุขภาพประจำปีจากหน่วยงานต่างๆ และเกิดความตระหนักถึงผลเสียหากไม่ดูแลสุขภาพ หรือตรวจคัดกรองสุขภาพตั้งแต่ยังไม่มีอาการแสดงของโรค สำหรับประเทศไทยแนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสม สำหรับประชาชน ในช่วงอายุ 18 – 60 ปี แนะนำให้มีการตรวจคัดกรองเฉพาะความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete blood Count: CBC) 1 ครั้งในช่วงอายุนี้ และในผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป ตรวจปีละครั้ง รวมถึงการตรวจ Stool occult blood เพื่อคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ด้วยวิธี Fecal occult blood test ในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไปปีละครั้ง ส่วนช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป แนะนำให้มีการตรวจคัดกรองเฉพาะความสมบูร ณ์ของเม็ดเลือด (Complete blood Count: CBC) ในผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไปปีละ ครั้ง [10] เท่านั้นสำหรับการตรวจคัดกรองสุขภาพทั้ง 4 รายการที่ศึกษา โดยการตรวจคัดกรองด้วยภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) และเอนไซม์ตับ (AST, ALT) ยังไม่มีการแนะนำให้ตรวจในผู้ที่ไม่มีข้อบ่งชี้ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) ในการศึกษานี้พบความผิดปกติมากถึงร้อยละ 21.1 อาจเนื่องมาจากการอ่านผลผู้ ประเมินเป็นรังสีแพทย์ที่เป็นอาจารย์แพทย์ รวมถึงมีอาจารย์แพทย์เฉพาะทางด้านอายุรศาสตร์โรคปอดช่วยอ่านผล ซึ่งคว าม ผิดปกติส่วนใหญ่ คือ ภาวะหัวใจโต รองลงมาคือ มีก้อน/จุดในปอด (Mass) Infiltration (Fibrosis) และความผิดอื่นๆ ที่ไม่มี ลักษณะอาการของโรคทรวงอก และไม่มีผลต่อการรักษา ในการศึกษาอื่นๆ เช่น การศึกษาของอัญชลี วงค์ใน [3] พบความผิดปกติ ของภาพถ่ายรังสีทรวงอกในโปรแกรมคั ดกรองสุขภาพของผู้รับบริการที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว ร้อยละ 3.15 โดยพบ ความผิดปกติส่วนใหญ่คือ ภาวะหัวใจโตมีความผิดปกติเกี่ยวกับปอดน้อย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการถ่ายภาพรังสีทรวงอก (Chest Xray) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจคัดกรองโรคปอดน้อยกว่าการตรวจหาความผิดปกติของหัวใจ เอนไซม์ตับ (Liver enzyme) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ AST และ ALT จากการศึกษาความชุกของความผิดปกติของ เอนไซม์ตับ พบความผิดปกติของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ร้อยละ 4.8 และ 7.3 ตามลำดับ ใกล้เคียงกับผลการศึกษาของ วิฑูรย์ โล่สุนทร [15] พบความผิดปกติของเอนไซม์ตับ AST ร้อยละ 4.3 และ ALT ร้อยละ 12.5 ในผู้มารับบริการตรวจสุขภาพที่คลินิกเวช ศาสตร์ป้องกัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเมื่อเทียบกับการศึกษาอื่นๆ เช่น เพ็ญศิริ ชูส่งแสง และบุญเลิศ วิไลรัตน์ [16] ศึกษา ผลการตรวจเลือดทางเคมีคลินิกของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ซึ่งส่วนใหญ่ มีอายุมากกว่า 35 ปี พบความชุกความผิดปกติของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ร้อยละ 10.1 และ 17.7 ตามลำดับ และ ปภาวดี หงส์อาจ และคณะ [17] ศึกษาความชุกของผลการตรวจเลือดทางเคมีคลินิกในผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปีที่โรงพยาบาลศรี นครินทร์ ในผู้มารับ บริการที่มีอายุ 19 -97 ปี เป็นผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 1,035 คน พบความชุกความผิดปกติของเอนไซม์ตับ สูงถึงร้อยละ 47.7 อาจ

78


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เนื่องมาจากผู้รับบริการส่วนใหญ่พบความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการบ่งชี้ภาวะเบาหวาน ความผิดปกติของไต ตับ และไขมัน ร่วม ด้วย ในจำนวนนี้ยังพบว่ามีเชื้อไวรัสตับอักเสบบี จำนวน 57 ราย Hemoglobin (Hb) พบความผิดปกติ ร้อยละ 17.8 สูงกว่าผลการศึกษาของรัชฎา จอปา [14] ที่ศึกษาโครงการตรวจ สุขภาพประจำปีเชิงรุก เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้รับบริการในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีความประสงค์ตร วจสุขภาพ เล็กน้อย คือ พบความชุกของความผิดปกติ ร้อยละ 15.85 อาจเป็นเพราะกลุ่มผู้รับบริการมีช่วงอายุแตกต่างกันเล็กน้อย แต่ ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอาชีพเป็นข้าราชการหรือพนักงานเอกชนเช่นกัน ซึ่งถือว่าพบในปริมาณน้อย เมื่อเทียบกับ รายงานจำนวนผู้มีภาวะโลหิตจางขององค์การอนามัยโลก [30] พบความชุกร้อยละ 24.8 และสามารถพบได้ทุกเพศทุกวัย โดยส่วน ใหญ่จะพบมากในเด็ก วัยรุ่น สตรีมีครรภ์ และผู้สูงอายุ หรืออาจกล่าวได้ว่าในปัจจุบันคนส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับที่ดี ส่งผลให้มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองได้ดี อี กทั้งในปัจจุบันมีสื่อให้ความรู้ที่สามารถเข้าถึงมากมายจากสื่อออนไลน์ ต่างๆ Stool occult blood พบความผิดปกติ ร้อยละ 5.7 ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในผู ้สู งอายุ (59.5±8.0 ปี) ใกล้เคียงกั บ ผล การศึกษาของรัชฎา จอปา [14] ที่ศึกษาโครงการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้รับบริการใน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีความประสงค์ตรวจสุขภาพ พบความชุกของความผิดปกติ ร้อยละ 6.7 อาจเป็นเพราะกลุ่ม ผู้รับบริการมีช่วงอายุแตกต่างกันเล็กน้อย จุดแข็งของการศึกษานี้ 1) กลุ่มประชากรที่ศึกษามีจำนวนมาก จึงทำให้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลอาจจะมีความแม่นยำมาก 2) ศึกษาในกลุ่มประชากรทั่วไป มีความหลากหลายทางอาชีพและการศึกษา 3) เมื่อพบความผิดปกติจากการตรวจสุขภาพประจำปี สามารถส่งต่อไปพบแพทย์เฉพาะทาง เพื่อให้การดูแล วินิจฉัย และรักษา ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ 4) การอ่านผลภาพถ่ายรังสีทรวงอก (chest X- ray) ใช้วิธีการประเมินโดยรังสีแพทย์ที่เป็นอาจารย์แพทย์ รวมถึงมีอาจารย์ แพทย์เฉพาะทางด้านอายุรศาสตร์โรคปอดช่วยอ่านผล เพื่อการยืนยันผลที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ข้อจำกัดของการศึกษานี้ 1) ลักษณะทั่วไปของผู้มารับบริการมีระดับการศึกษาอยู่ในระดับดี คือส่วนใหญ่สูงกว่ามัธยมศึกษา ซึ่งอาจจะส่งผลให้มีความ ตระหนักหรือตื่นตัวที่จะดูแลสุขภาพ หรือเฝ้าระวังโรคมากกว่ากลุ่มคนทั่วไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดอคติชนิด Volunteer bias ได้ อย่างไรก็ตาม ลักษณะประชากรดังกล่าวเป็นเรื่องปกติของคลินิกตรวจสุ ขภาพที่ผู้รับบริการส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มที่มีความ ตระหนักในการดูแลสุขภาพสูง 2) ไม่มีการติดตามผลการรักษาสุดท้ายหลังจากส่งต่อไปรับบริการ ณ หน่วยตรวจโรคอื่นๆ เนื่องจากระยะเวลาการศึกษาจำกัด สรุปและข้อเสนอแนะ ผู้รับบริการที่มาตรวจสุขภาพประจำปี ทั้งหมด 1,789 คน มีอายุเฉลี่ย 52.7 ปี (±12.6) ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง 1,307 คน (ร้อยละ 73.1) ค่าดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติ (ร้อยละ 39.6) มีสถานภาพสมรส/ไม่สมรสแต่อยู่ดว้ ยกัน 1,048 คน (ร้อยละ 58.6) ระดับการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษา 1,120 คน (ร้อยละ 62.6) มีอาชีพข้าราชการ/ข้าราชการบำนาญ/เจ้าหน้าที่รัฐ รัฐวิสาหกิจ 600 คน (ร้อยละ 33.5) และเคยมีประวัติการตรวจร่างกายประจำปี 1,316 คน (ร้อยละ 73.6) สรุปผลการศึกษาได้ ดังนี้ 1. ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray) มีผู้รับบริการตรวจ จำนวน 1,355 คน ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน 286 คน แบ่ง ออกเป็น ก้อน/จุดในปอด (Mass) จำนวน 23 คน (ร้อยละ 8)

79


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2. การทำงานของเอนไซม์ตับ แบ่งออกเป็น AST และ ALT พบว่า AST มีผู้รับบริการตรวจ จำนวน 1,773 คน ตรวจพบความ ผิดปกติ 85 คน (ร้อยละ 4.8) ส่วน ALT มีผู้รับบริการตรวจ จำนวน 1,770 คน ตรวจพบความผิดปกติ 129 คน (ร้อยละ 7.3) 3. Hemoglobin (Hb) มีผู้รับบริการตรวจ จำนวน 1,782 คน ตรวจพบความผิดปกติ 317 คน (ร้อยละ 17.8) 4. Stool occult blood มีผู้รับบริการตรวจ จำนวน 548 คน ตรวจพบความผิดปกติ 33 คน (ร้อยละ 5.7) จากผลการศึกษาข้างต้น อาจกล่าวได้ว่าการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับคนที่ไม่มีอาการผิ ดปกติ หรือมีความเสี่ยง ยัง พบความผิดปกติน้อย แต่เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การตรวจคัดกรองโรคในประชากรขององค์การอนามัยโลก [12] การตรวจคัดกรอง สุขภาพด้วยชุดบริการข้างต้นยังคงมีประโยชน์ หากตรวจพบว่าคนที่ยังไม่มีอาการหรืออาการแสดงของโรค แล้วสามารถพบความ ผิดปกติที่นำไปสู่การตรวจเพิ่มเติม มีผลให้สามารถวินิจฉัยโรคได้ตั้งแต่ระยะแรก เพื่อลดความรุ นแรงของโรคและค่าใช้จ่ายในการ ดูแลรักษาได้มาก ถ้าเทียบกับการพบในระยะรุกลาม รวมถึงสามารถนำผลการศึกษาที่ได้นำไปวางแผนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผู้มารับบริการตรวจสุขภาพได้ กิตติกรรมประกาศ การศึกษาวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพราะความกรุณาและช่วยเหลืออย่างดียิ่ง จากผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ได้กรุณาให้ คำแนะนำ คำปรึกษาและให้ความรู้ในการการทำวิจัย รวมถึงการแก้ไขหรือเพิ่มเติมเนื้อหา ทำให้การศึกษาวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุล่วง ด้วยดี

เอกสารอ้างอิง [1] กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง. (2559). ข้อมูลน่ารู้: อัตราค่าบริการสาธารณสุขเพื่อใช้สำหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ในสถานพยาบาลของทางราชการ ว 246. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์] สืบค้นจาก https://www.cgd.go.th [2] Frank P. Hadlock, Seung K. Park, Richard J. Wallace. (1979). Routine radiographic screening of the chest in pregnant women: Is it indicated?. Obstetrice Gynecol, 54(4), 433-36. [3] อัญชลี วงค์ใน. (2558). การประเมินความชุกของความผิดปกติในฟิล์มเอกซเรย์ปอดในโปรแกรมตรวจคัดกรองสุขภาพ. วารสาร วิจัยระบบสาธารณสุข, 9(2), 160-67. [4] รัตนาวดี ณ นคร. (2556). คุณประโยชน์และข้อพึงระวังของการคัดกรองทางสุขภาพ. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 7(3), 32530. [5] Priorityhealth. (2015). 2015 Preventive health care guidelines. Retrieved from https://www.priorityhealth.com/member/health-wellness/preventive-care/~/media/documents/preventivecare/2015-preventive-health-care-guidelines.pdf [6] University of Missouri School of Medicine. Screening Recommendations for Other Cancers. Retrieved from https://www.muhealth.org [7] U.S. Preventive Services Task Force. (2008, November). Screening for colorectal cancer: U.S. Preventive Services Task Force recommendation statement. Ann Intern Med, 149(9), 627-637. [8] Moyer VA. (2014, March). Screening for lung cancer: US Preventive Services Task Force recommendation statement. Ann Intern Med, 160(5), 330-38.

80


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

[9] ยศ ตีระวัฒนานนท์, ปฤษฐพร กิ่งแก้ว, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส และธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร. (บรรณาธิการ). (2557). เช็คระยะสุขภาพ ตรวจดีได้ ตรวจร้ายเสีย. นนทบุรี: บริษัท ดีเซมเบอรี่ จำกัด. [10] กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์. (2559). แนวทางการตรวจสุขภาพที่ จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. [11] วิชัย เอกพลากร. (บรรณาธิการ). (2559). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 2 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์ [12] J.M.G. Wilson, G. Jungner. (1968). Principles and practice of screening for disease [Public health Paper, #34]. World health Organization. Geneva. [13] มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. (2559). คู่มือการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิก ภาควิชา พยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก: http://www.si.mahidol.ac.th [14] รัชฎา จอปา, ลฎาภา อุสม. (2549). โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเชิงรุก. พิษณุโลก: ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก. สืบค้นจาก: http://hpc2.anamai.moph.go.th/research/index.php/2549 [15] วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร. (2542). การประเมินความพึงพอใจและผลการตรวจสุขภาพของผู้มารับการตรวจสุขภาพที่คลินิกเวชศาสตร์ ป้องกัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). [16] เพ็ญศิริ ชูส่งแสง และ บุญเลิศ วิไลรัตน์. (2549). ผลการตรวจเลือดทางเคมีคลินิกของผู้รับบริการตรวจสุขภาพของโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ ในปี 2547. สงขลานครินทร์เวชสาร, 24(3), 215-22. [17] ปภาวดี หงส์อาจ, ศิริพร ภัทรกิจกำจร, สัมฤทธิ์ คะมะปะเต, ปริญญา ประสงค์ดี, จัทนร์เพ็ญ ศรีพรรณ์, สุนทร กัณหาสุระ และ คณะ. (2554). ความชุกของผลการตรวจเลือดทางเคมีคลินิกที่สูงกว่าปกติในผู้มารับบริการตรวจสุขภาพประจำปีที่โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ ระหว่าง เม.ย. – มิ.ย. พ.ศ. 2554. ศรีนครินทร์เวชสาร, การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 2, น.136. [18] World Health Organization. (2001). Iron Deficiency Anaemia: Assessment, Prevention, and Control: A Guide for Programme Managers. Geneva.

81


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศภายในแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร กุลยา สุวินัย1, พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล2, นพนันท์ นานคงแนบ3, สุคนธา ศิริ4 1 นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด คณะสาธารณสุขศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 2 คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร 3 ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 4 ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ บทนำ: โรงพยาบาลเป็นแหล่งรวมทั้งผู้ป่วยจำนวนมาก ทำให้โรงพยาบาลเป็นแหล่งรวมเชื้อจุลชีพและอาจเป็นแหล่ง แพร่กระจายของเชื้อโรค ดังนั้น การทราบปริมาณของเชื้อจุลชีพในอากาศโดยเฉพาะในแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาล สามารถใช้ เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลได้ วัตถุประสงค์: เพื่อ ประเมินปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศจากแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ กรุงเทพมหานคร วิธีวิจัย: การศึกษานี้เป็น การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เก็บตัวอย่างจุลชีพในอากาศจากแผนกที่สะอาด 5 แห่ง คือ หอผู้ป่วยวิกฤติ แผนกไตเทียม ห้อง ผ่าตัด ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด และห้องคลอด รวมทั้งอากาศภายนอกอาคาร ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เก็บตัวอย่างจุลชีพในอากาศ 2 ช่วงเวลา (ช่วงเช้าและช่วงเที่ยง) จำนวน 132 ตัวอย่างโดยใช้เครื่องเก็บตัวอย่างอากาศ เพื่อตรวจวัด ปริมาณแบคทีเรียและปริมาณเชื้อรา ด้วยวิธี Gram’s stain และย้อม Lactophenol cotton blue วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราใน 5 แผนก ดังกล่าว ช่วงเช้าคือ 314.0 CFU/m3 และ 90.4 CFU/m3 ช่วงเที่ยงคือ 202.7 CFU/m3 และ 55.8 CFU/m3 ตามลำดับ (ปริมาณเชื้อนอกอาคารช่วงเช้าคือ 231.1 CFU/m3 และ 280.5 CFU/m3 ตามลำดับ ช่วงเที่ยงคือ 341.0 CFU/m3 และ 321.0 CFU/m3 ตามลำดับ) ชนิดของเชื้อแบคทีเรียที่ตรวจพบ ส่วนใหญ่ ได้แก่ Staphylococcus spp. และ Bacillus spp. ชนิดของเชื้อราที่ตรวจพบส่วนใหญ่ ได้แก่ Penicillium spp. และ Aspergillus spp. อภิปรายและสรุปผลการวิจัย : ปริมาณเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราที่พบในแผนกที่ทำการศึกษาเกิน กว่าที่จะ ยอมรับได้สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำหรือร่างกายอ่อนแอ (100 cfu/ m³) แต่ไม่เกินค่าที่ยอมรับได้สำหรับคุณภาพอากาศ ภายในอาคารทั่วไปตามเกณฑ์ของประกาศกรมอนามัยของไทยและสิงคโปร์ ( 500 cfu/m³)ดังนั้นการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะ การระบายอากาศและการดูแลรักษาความสะอาดภายในห้องเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดปริมาณเชื้อจุลชีพได้ คำสำคัญ: เชื้อจุลชีพในอากาศ, แผนกที่สะอาด, โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครแห่งหนึ่ง

82


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Microbial counts in air samples of clean departments in a hospital Bangkok Kullaya Suwinai1 Pipat Luksamijarulkul2 Noppanun Nankongnap3 Sukhontha Siri4 1

Master of Science (Public Health), Program in Infectious Disease and Epidemiology, Faculty of Public Health/ Graduate Studies, Mahidol University, Bangkok, Thailand 2 Faculty of Health Sciences, Siam Technology College, Bangkok, Thailand 3 Department of Occupational Health and Safety, Faculty of Public Health, Mahidol University, Bangkok, Thailand 4 Department of Epidemiology, Faculty of Public Health, Mahidol University, Bangkok, Thailand

Abstract Introduction: The hospital is a source of many patients making the hospital as a source of the spread of pathogens. Therefore, knowing the amount of microbe in the air, especially in the clean department, can be used as the basic information for developing the methods to control and prevent microbial infection in the hospital. Objective: To assess microbial counts in air samples from clean departments of Wetchaksrunrasm Hospital, Bangkok. Methodology: This study is a cross-sectional survey of microbes in the air samples collected from 5 clean departments; intensive care unit, hemodialysis unit, recovery room and labor room between 1 June and 31 August 2018. The air sampler was used to collect the air microbes and measured the microbial counts by using Gram’s stain and Lactophenol cotton blue method. Data were analyzed using descriptive statistics. Results: Average counts of bacterial and fungi count in departments of this study in the morning were 314.0 CFU/m³ and 90.4 CFU/m3, respectively. In the midday were 202.7 CFU/m3 and 55.8 CFU/m3, respectively. In the morning, average counts of bacterial and fungi count in outdoors were 231.1 CFU/m3 and 280.5 CFU/m3, respectively and in midday were 341.0 CFU/m3 and 321. 0 CFU/m3 , respectively. The most common bacteria were Staphylococcus spp. and Bacillus spp. while the most common fungi were Penicillium spp. and Aspergillus spp. Discussion and conclusion: The amount of bacteria and fungi found in the studied departments exceeds the standard for patients with low resistance (100 cfu/m³) but it was in the limit of acceptable level for indoor air in the general office followed the levels of the Department of Health in Thailand and Singapore (500 CFU/m3). Therefore, environmental management, especially ventilation and clean lines of the room is important to reduce the amount of microbes in indoor air. Keywords: Microorganisms in the air, Clean departments, A Hospital in Bangkok

83


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ โรงพยาบาลเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อและโรคเรื้อรัง รวมถึงยังเป็น แหล่งรวมของญาติ และเจ้าหน้าที่ อาจทำให้สิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล รวมถึงอากาศมีการปนเปื้อนของเชื้อจุลชีพ นอกจากนี้ แผนกหรือหอผู้ป่วยที่ต้องการความสะอาด เช่น ห้องผ่าตัด หอผู้ป่วยวิกฤต เป็นต้น จัดเป็นบริเวณที่ต้องการความสะอาดมีการ ปนเปื้อนเชื้อจุลชีพน้อยที่สุด (Clean area) เนื่องจากต้องรองรับผู้ป่วยที่อ่อนแอ มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำในหอผู้ป่วยหนักซึ่งง่ายต่อการ ติดเชื้อ ซึ่งหากมีปริมาณเชื้อจุลชีพที่เกินกำหนดตามมาตรฐานแล้วผู้ป่วยในแผนกนั้นก็มีโอกาสได้รับเชื้อเข้าสู่ร่างกาย ก่อให้เกิดการ ติดเชื้อได้ การตรวจวัดคุณภาพอากาศของโรงพยาบาลจึงเป็นสิ่งจำเป็น (ภารดี ช่วยบำรุง, 2557)ตามประกาศของกรมอนามัยโลก ปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศแผนกผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ ร่างกายอ่อนแอไม่ควรเกิน 100 CFU/m³ (World Health Organization, Regional Office for Europe, 1990) โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ มีผู้มารับบริการที่หลากหลาย สาเหตุของโรคที่ม ากั บผู ้ป ่วยจึ งหลากหลายไปด้ วย อย่างไรก็ ตาม การศึกษาในแผนกที่สะอาดและประเมิ นเชื้ อจุลชี พ ของ โรงพยาบาลเวชการุณรัศมิ์ยังมีข้อมูลอยู่อย่างจำกัด ดังนั้นการศึกษาเพื่อประเมินปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศจากแผนกที่สะอาดจึงมี ความจำเป็น เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อจุลชีพในโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศจากแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลเวชการุณย์ รัศมิ์ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการติด เชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลได้ ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เก็บตัวอย่างจุลชีพในอากาศโดยใช้ Biostage Impactor จำนวน 132 ตัวอย่าง จากแผนกที่สะอาด 5 แห่ง คือ หอผู้ป่วยวิกฤติ แผนกไตเทียม ห้องผ่าตัด ห้องคลอด และห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด รวมทั้งอากาศภายนอกอาคาร โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 การเก็บตัวอย่างจุลชีพในอากาศจะใช้เครื่อง Biostage Impactor ที่มีรูดูดอากาศ 400 รูใน 1 ชั้น โดยอากาศจะถูกดูดเข้าเครื่อง ด้วยความเร็ว 28.3 ลิตร/นาที นาน 4 นาที ในการศึกษาครั้งนี้อากาศที่ถูกเก็บจะเท่ากับ 113.2 ลิตร เทคนิคการเก็บอากาศนี้ อ้ า งอิ งจากการศึ ก ษาของ Pasquarella และคณะ (Pasquarella et al., 2008) และ การศึ ก ษาของ Luksamijarulkul และ Pipitsangjan (Luksamijarulkul and Pipitsangjan, 2015) ดู ด อากาศลงบนอาหารเลี ้ ย งเชื ้ อ แบบวุ ้ น เพื ่ อ ตรวจหาปริ ม าณ แบคทีเรีย (Total bacterial counts) และเชื้อราในอากาศ (Total fungal counts) อาหารเลี้ยงเชื้อในการตรวจหาแบคทีเรียใช้ Plate Count Agar (PCA) บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง ส่วนการตรวจหาปริมาณเชื้อราใช้อาหารเลี้ยงเชื้อ ชนิด Sabouraud Dextrose Agar (SDA) บ่มเชื้อที่อุณหภูมิห้องนาน 5 วัน การเก็บตัวอย่างเชื้อจุลชีพในอากาศจะเก็บทั้งภายใน และภายนอกตัวอาคาร 2 ช่วงเวลา คือช่วงเช้า เวลา 09.00 น.–10.00 น. จำนวนตัวอย่างอากาศภายในแผนก 46 ตัวอย่าง จำนวน ตัวอย่างภายนอกแผนก 20 ตัวอย่าง และช่วงเที่ยง เวลา 12.00 น.–13.00 น. อากาศภายในแผนก 46 ตัวอย่าง ภายนอกแผนก 20 ตัวอย่าง และนำส่งห้องปฏิบัติการเพื่อเพาะเชื้อ จากนั้นทำการนับและสุ่มพิสูจน์ชนิดของเชื้อจุลชีพด้วยวิธี Gram’s stain และย้อม Lactophenol cotton blue (Larone, 1987) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (mean) และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

84


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผลการวิจัย แผนกที่ทำการเก็บอากาศตรวจ ซึ่งมี 5 แผนก ประกอบด้วย หอผู้ป่วยวิกฤต ลักษณะเป็นห้องปิด ระบบบแอร์จ่ายกลาง มี 5 เตียง แผนกไตเทียม ลักษณะเป็นห้องปิด ระบบแอร์จ่ายกลาง มี 6 เตียง ห้องผ่าตัด ลักษณะเป็นห้องปิด ระบบอร์แยกแต่ละ ห้องผ่าตัด มีทั้งหมด 6 ห้อง ห้องคลอด ลักษณะเป็นห้องปิด ระบบแอร์จ่ายกลางแยกแต่ละห้อง และห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด ลักษณะ เป็นห้องเปิดเชื่อมกับทางเดิน ระบบแอร์จ่ายกลางไม่ได้เปิดแอร์ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ลักษณะแผนกที่ทำการเก็บอากาศตรวจ แผนกที่ทำการเก็บอากาศตรวจ • หอผู้ป่วยวิกฤติ • แผนกไตเทียม • ห้องผ่าตัด • ห้องคลอด • ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด

• • • • •

ลักษณะ ห้องปิด ระบบแอร์จ่ายกลาง มี 5 เตียง ห้องปิด ระบบแอร์จ่ายกลาง มี 6 เตียง ห้องปิด ระบบแอร์แยกแต่ละห้องผ่าตัด มี 6 ห้อง ห้องปิด ระบบแอร์จ่ายกลางแยกแต่ละห้อง ห้องเปิดเชื่อมกับทางเดิน ระบบแอร์จ่ายกลางไม่ได้เปิดแอร์

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อแบคทีเรียในอากาศจากแผนกที่ศึกษาจำแนกตามช่วงเวลา (CFU/m3) แผนกที่ทำการเก็บอากาศตรวจ ภายในอาคาร (n = 46) • หอผู้ป่วยวิกฤติ (n = 12 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • แผนกไตเทียม (n = 10 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องผ่าตัด (n = 8 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องคลอด (n = 12 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด (n = 4ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) ภายนอกอาคาร (n = 20 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) SD, Standard Deviation

09.00 น.–10.00 น. ค่าเฉลี่ย ± SD (ค่าต่ำสุด – ค่าสูงสุด) 314.0 ± 261.2 (18 – 894) 312.5 ± 173.5 (177 – 646) 446.0 ± 246.1 (239 – 858) 130.5 ± 219.7 (18 – 460) 253.8 ± 84.6 (44 – 265) 836.0 ± 82.0 (778 – 894) 231.1 ± 153.0 (71 – 540)

12.00 น.–13.00 น. ค่าเฉลี่ย ± SD (ค่าต่ำสุด – ค่าสูงสุด) 202.7 ± 170.4 (9 – 522) 308.3 ± 163.5 (133 – 522) 355.8 ± 119.8 (204 – 522) 35.5 ± 35.0 (18 – 88) 56.0 ± 37.0 (9 – 115) 278.5 ± 19.1 (265 – 292) 341.0 ± 127.5 (71 – 628)

ค่าเฉลี่ย แบคทีเรียทั้งหมด 258.4 ± 225.2 (9 – 894) 310.4 ± 160.8 (133 – 646) 400.9 ± 188.6 (204 – 858) 83.0 ± 154.2 (18 – 460) 104.9 ± 80.5 (9 – 265) 557.3 ± 325.5 (265 – 894) 286.0 ± 148.3 (71 – 540)

ผลการตรวจหาปริมาณจุลชีพในอากาศ แผนกที่ทำการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อแบคทีเรียในอากาศช่วงเวลา 09.00น. –10.00 น. เท่ากับ 314.0 ± 261.2 CFU/m3 และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. เท่ากับ 202.7 ± 170.4 CFU/m3 และ พบว่าค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อแบคทีเรียในอากาศภายนอกแผนกที่ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. เท่ากับ 231.1 ± 153.0 85


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0 3

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง 3

CFU/m และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. เท่ากับ 341.0 ± 127.5 CFU/m โดยพบว่าห้องพักฟื้น หลังผ่าตัดมีปริมาณเชื้อ แบคทีเรียในอากาศสูงสุดคือ 557.3 ± 325.5 CFU/m3 รองลงมาคือ แผนกไตเทียม 400.9 ± 188.6 CFU/m3 และหอผู้ป่วยวิกฤต 310.4 ± 160.8 CFU/m3 ตามลำดับ (ตารางที่ 2) ค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อราภายในอากาศภายในแผนกที่ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. เท่ากับ 90.4 ± 71.7 CFU/m3 และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. เท่ากับ 55.8 ± 66.3 CFU/m3 ค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อราในอากาศภายนอกแผนกที่ ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. เท่ากับ 280.5 ± 144.0 CFU/m3 และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. เท่ากับ 321.0 ± 207.8 CFU/m3 แผนกที่มีปริมาณเชื้อราในอากาศสูงสุดคือ ห้องคลอดเท่ากับ 105.7 ± 79.6 CFU/m3 รองลงมาคือ ห้องพักฟื้ น หลังผ่าตัด 88.5 ± 41.7 CFU/m3 และแผนกไตเทียม 82.2 ± 60.8 CFU/m3 ตามลำดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยปริมาณเชื้อราในอากาศจากแผนกที่ศึกษาจำแนกตามช่วงเวลา (CFU/m3) แผนกที่ทำการเก็บอากาศตรวจ ภายในอาคาร (n = 46) • หอผู้ป่วยวิกฤติ (n = 12 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • แผนกไตเทียม (n = 10 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องผ่าตัด (n = 8 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องคลอด (n = 12 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) • ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด (n = 4 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) ภายนอกอาคาร (n = 20 ตัวอย่างในแต่ละช่วงเวลา) SD, Standard Deviation.

09.00 น.–10.00 น. ค่าเฉลี่ย ± SD (ค่าต่ำสุด – ค่าสูงสุด) 90.4 ± 71.7 (17 – 265) 38.0 ± 12.3 (17 – 53) 127.2 ± 54.5 (44 – 186) 26.8 ± 17.5 (18 – 53) 153.8 ± 84.6 (44-265) 93.0 ± 18.4 (80 – 106) 280.5 ± 144.0 (44 – 540)

12.00 น.–13.00 น. ค่าเฉลี่ย ± SD (ค่าต่ำสุด – ค่าสูงสุด) 55.8 ± 66.3 (18 – 327) 84.0 ± 119.7 (18 – 327) 37.2 ± 16.9 (18 – 62) 20.3 ± 4.5 (18 – 27) 57.5 ± 34.9 (18-115) 84.0 ± 69.3 (35 – 133) 321.0 ± 207.8 (44 – 531)

ค่าเฉลี่ย เชื้อราทั้งหมด 73.1 ± 70.5 (17 – 327) 61.0 ± 84.6 (17 – 327) 82.2 ± 60.8 (18 – 186) 23.5 ± 12.3 (18 – 53) 105.7 ± 79.6 (18-265) 88.5 ± 41.7 (35 – 133) 300.8 ± 175.2 (44 – 540)

ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย ในอากาศภายในแผนกที่ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. พบ Staphylococcus spp. สูงสุด คือ ร้อยละ 45.6 รองลงมาคือ Bacillus spp. ร้อยละ 28.3 และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. พบ Staphylococcus spp. สูงสุด ร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ Bacillus spp. ร้อยละ 35.0 ชนิดของเชื้อแบคทีเรียในอากาศภายนอกอาคารช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. พบ Bacillus spp. สูงสุด ร้อยละ 43.5 ภายนอกอาคารช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. พบ Bacillus spp. สูงสุด ร้อยละ 37.5 เช่นเดียวกัน (ตารางที่ 4)

86


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 4 ชนิดของเชื้อแบคทีเรียในอากาศที่จำแนกได้จากแผนกที่ศึกษาตามช่วงเวลา แผนกที่ทำการ เก็บอากาศตรวจ

ช่วงเวลา

ภายในอาคาร

เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง

• หอผู้ป่วยวิกฤติ • แผนกไตเทียม • ห้องผ่าตัด • ห้องคลอด • ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด ภายนอกอาคาร

Bacillus spp. n (%) 13 (28.3) 14 (35.0) 4 (33.3) 4 (33.3) 3 (30.0) 3 (30.0) 1 (20.0) 1 (50.0) 3 (23.1) 3 (27.3) 2 (33.3) 3 (60.0) 7 (30.4) 8 (33.3)

Gram negative bacilli n (%) 9 (19.6) 6 (15.0) 2 (16.7) 1 (8.3) 2 (20.0) 2 (20.0) 1 (20.0) 0 (0.0) 1 (7.7) 1 (9.1) 3 (50.0) 2 (40.4) 10 (43.5) 9 (37.5)

Staphylococcus spp. n (%) 21 (45.6) 20 (50.0) 6 (50.0) 7 (58.4) 4 (40.0) 5 (50.0) 2 (40.0) 1 (50.0) 8 (61.5) 7 (63.6) 1 (16.7) 0 (0.0) 4 (17.4) 7 (29.2)

Gram negative cocci n (%) 3 (6.5) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 1 (10.0) 0 (0.0) 1 (20.0) 0 (0.0) 1 (7.7) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 2 (8.7) 0 (0.0)

ตารางที่ 5 ชนิดของเชื้อราในอากาศที่จำแนกได้จากแผนกที่ศึกษาตามช่วงเวลา แผนกที่ทำการ เก็บอากาศตรวจ ภายในอาคาร • หอผู้ป่วยวิกฤติ • แผนกไตเทียม • ห้องผ่าตัด • ห้องคลอด • ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด ภายนอกอาคาร

ช่วงเวลา เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง เช้า เที่ยง

Aspergillus spp. n (%) 9 (19.1) 7 (17.1) 1 (7.1) 0 (0.0) 3 (27.3) 3 (33.3) 0 (0.0) 0 (0.0) 3 (23.1) 3 (20.0) 2 (40.0) 1 (25) 7 (30.4) 8 (32.0)

Penicillium spp. n (%) 29 (61.7) 25 (61.0) 13 (92.9) 11 (100.0) 8 (72.7) 5 (55.6) 4 (100.0) 5 (100.0) 1 (7.7) 1 (6.7) 3 (60.0) 3 (75) 14 (60.9) 11 (44.0)

Fusarium spp. n (%) 8 (17.0) 8 (19.5) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 1 (11.1) 0 (0.0) 0 (0.0) 8 (61.5) 7 (46.6) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 5 (20.0)

Mucor spp. n (%) 1 (2.2) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 1 (7.7) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0)

Other n (%) 0 (0.0) 1 (2.4) 0 (0.0) 0 (0.0) 0(0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 0 (0.0) 1 (6.7) 0 (0.0) 0 (0.0) 2 (8.7) 1 (4.0)

87


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ชนิดของเชื้อราในอากาศภายในแผนกที่ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. พบ Penicillium spp. สูงสุด ร้อย ละ 61.7 รองลงมาคือ Aspergillus spp. ร้อยละ 19.1 และช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. พบ Penicillium spp. สูงสุด ร้อยละ 61.0 รองลงมาคือ Fusarium spp. ร้อยละ 19.5 ชนิดของเชื้อราในอากาศภายนอกอาคารช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. พบ Penicillium spp. สูงสุด ร้อยละ 60.9 รองลงมาคือ Aspergillus spp. ร้อยละ 30.4 ภายนอกอาคารช่วงเวลา 12.00 น.–13.00 น. พบ Penicillium spp. สูงสุด ร้อยละ 44.0 รองลงมาคือ Aspergillus spp. ร้อยละ 32.0 (ตารางที่ 5) อภิปรายผล การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณเชื้อจุลชีพในอากาศจากแผนกที่ สะอาดของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมในอากาศภายใน แผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ส่วนใหญ่มีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานค่าเฝ้าระวังคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ กำหนดโดยกรมอนามัย (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2559) และประเทศสิงคโปร์ (Institute of Environmental Epidemiology, Ministry of the Environment Singapore, 1996) ที ่ ก ำหนดไว้ ไ ม่ เ กิ น 500 CFU/m3 และ สอดคล้องกับผลการศึกษาของปานทิพย์ ธิโนชัย และคณะ ที่พบว่า ปริมาณเชื้อแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมภายในอาคาร โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ไม่เกินค่าแนะนำที่ยอมรับได้ตามที่กำหนดในประกาศกรมอนามัย และประเทศสิงคโปร์ (ปานทิพย์ ธิโนชัย, มนทิรา เตี้ยเล็ก และจิรา คงปราณ, 2019) ทั้งนี้ อาจขึ้นกับระยะเวลา การเปิดให้บริการ จำนวน ผู้ใช้บริการ ของโรงพยาบาลแต่ละแห่ง ซึ่งโรงพยาบาลที่เปิ ดดำเนินการมาเป็นระยะเวลานานถ้าไม่ได้ดูแลรักษาระบบระบาย อากาศให้มี ประสิทธิภาพ และการทำความสะอาดเครื่อง ปรับอากาศไม่เหมาะสม ในขณะที่จำนวนผู้ป่วยเพิ่มมาก ขึ้นก็อาจส่งผลต่อปริมาณ แบคทีเรียและเชื้อราในอากาศ ได้ โดยโรงพยาบาลที่ทำการศึกษาถึงแม้จะมีการให้บริการผู้ป่วยที่มากขึ้นทุกปี แต่ก็ มีการเช็ดทำ ความสะอาดเช็ดถูภายในแผนกสม่ำเสมออย่างน้อยเวรละครั้ง และมีการดูแลบำรุงเครื่องปรับอากาศอย่างต่อเนื่องทุก 6 เดือน อย่างไรก็ตาม ภายในห้องพักฟื้นหลังผ่าตัดของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ พบว่า ปริมาณเชื้อแบคทีเรียรวมในอากาศเกินเกณฑ์ มาตรฐานของประกาศกรมอนามัย และประเทศสิงคโปร์ ซึ่งอยู่ที่ 557.3 CFU/m3 อาจเกิดจากการที่ต้องมีการควบคุมอุณหภูมิ ร่างกายผู้ป่วยให้เกิดความอบอุ่น จึงมีการปิดเครื่องปรับอากาศขณะที่ผปู้ ่วยนอนพักในห้องพักฟื้นหลังผ่าตัดเป็นบางช่วง ทำให้มีการ ระบายอากาศที่ไม่ต่อเนื่องส่งผลให้ปริมาณแบคทีเรียรวมที่นับได้เกินมาตรฐานที่กำหนด (โดยกรมอนามัย (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2559) และประเทศสิงคโปร์ (Institute of Environmental Epidemiology, Ministry of the Environment Singapore, 1996) ที่กำหนดไว้ไม่เกิน 500 CFU/m3 ) และพบว่าปริมาณแบคทีเรียรวมภายในหอผู้ป่วยวิกฤต แผนกไตเทียม และห้องคลอด มีค่ามากกว่า 100 CFU/m3 ซึ่งมีการศึกษาที่สนับสนุนว่าบุคลากรสุขภาพและผู้ป่วยที่นอนรักษาใน หอผู้ป่วยดังกล่าว อาจมีความเสี่ยงในการได้รับเชื้อที่แพร่ผ่านทางอากาศและทางละอองฝอยหากมีการระบายอากาศไม่เพียงพอ และหากมีปริมาณแบคทีเรียและเชื้อราที่นับได้มากกว่า 100 CFU/m3 อาจส่งผลกระทบกับผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำได้ (World Health Organization, Regional Office for Europe, 1990) (Zweers, Preller, Brunekreef, and Boleij, 1992) ชนิดของเชื้อแบคทีเรียภายในอาคารที่ทำการศึกษาช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. พบ Staphylococcus spp.สูงสุด ร้อย ละ 36.9 สอดคล้องกั บการศึกษาของ Verde และคณะ ที่สำรวจคุณภาพของ Bioaerosol ในอากาศภายในอาคารต่าง ๆ ของ Portuguese Hospital และพบว่า Staphylococcus spp.เป็นชนิดเชื้อแบคทีเรียในอากาศที่พบสูงสุด ร้อยละ 88.0 (Verde et al., 2015) ชนิดของเชื้อราภายในอาคารช่วงเวลา 09.00 น.–10.00 น. ที่พบสูงสุด คือ Penicillium spp. รองลงมาคือ Aspergillus spp. สอดคล้องกับการศึกษาของ Verde และคณะ และการศึกษาของ Azimi และคณะ ซึ่งพบเชื้อราภายในอาคารที่ทำการศึกษา คือ Penicillium spp. สูงสุด รองลงมาคือ Aspergillus spp. (Verde et al., 2015) (Azimi et al., 2013) และสอดคล้องกับการศึกษา 88


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ของ Chaivisit และคณะ ที่ ป ระเมิน ความเข้ มข้น และขนาดของจุลชี พในหออภิบ าลผู ้ป ่ว ยหนั กอายุรกรรมและศั ลยกรรมของ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และพบราเด่นคือ Penicillium spp. และ Aspergillus spp. (Chaivisit, Suksaroj, Romyen, and Choosong, 2016) อย่ า งไรก็ ต าม การศึ ก ษาครั ้ ง นี้ พ บเชื ้ อ Aspergillus spp. ร้ อ ยละในสั ด ส่ ว นที ่ น ้ อ ยกว่ า การศึ ก ษาของ Luksamijarulkul และคณะ ทีท่ ำการประเมินคุณภาพอากาศภายในอาคารในสถานที่ต่าง ๆ ของโรงพยาบาลของรัฐในภาคเหนือของ ประเทศไทย และพบเชื้อราชนิด Aspergillus spp. สูงสุด (Luksamijarulkul, 2019) เชื้อราทั้ง Penicillium spp. และ Aspergillus spp. มีความสามารถเป็นเชื้อก่อโรคฉวยโอกาส (Opportunistic fungal pathogens) ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องได้ (Institute of Medicine (U.S.): Committee on Damp Indoor Spaces and Health, 2004). สรุปและข้อเสนอแนะ ปริมาณเชื้อแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมภายในแผนกที่ทำการศึกษา พบว่า เกินค่ามาตรฐานของค่าที่ยอมรับได้สำหรับ ผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำร่างกายอ่อนแอ (100 CFU/m³) แต่ไม่เกินค่าที่ยอมรับได้ตามประกาศกรมอนามัยและประเทศสิงคโปร์ เรื่อง เกณฑ์ค่าเฝ้าระวังคุณภาพอากาศภายในอาคารที่กำหนดไว้สำหรับปริมาณแบคทีเรียรวมไม่เกิน 500 CFU/m3 และเชื้อรารวมไม่ เกิน 500 CFU/m3 ซึ่งอาจส่งผลในการเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่ เข้ารับการรักษาและบุคลากรใน โรงพยาบาลได้ ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการระบายอากาศและการดูแลรักษาความสะอาดภายในห้องเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะช่วยลดปริมาณเชื้อจุลชีพได้ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผู้อำนวยการและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ในการอนุเคราะห์การเก็บตัวอย่างเชื้อจุลชีพ ให้ ข้อมูล คำแนะนำ และการประสานงานต่าง ๆ อย่างดี จนทำให้งานวิจัยสำเร็จลงได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม. (2559). คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อการตรวจประเมินคุณภาพอากาศ ภายในอาคารสำหรับเจ้าหน้าที่. นนทบุรี. ปานทิพย์ ธิโนชัย, มนทิรา เตี้ยเล็ก และ จิรา คงปราณ. (2562). คุณภาพอากาศภายในอาคารโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาล ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 28(2), 325-333. ภารดี ช่วยบำรุง. (2557). เทคโนโลยีการกำจัดจุลินทรีในอากาศในโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Azimi, F., Naddafi, K., Nabizadeh, R., Hassanvand, M. S., Alimohammadi, M., Afhami, S., & Musavi, S. N. (2 0 1 3 ). Fungal air quality in hospital rooms: a case study in Tehran, Iran. Journal of environmental health science & engineering, 11(1), 30. Cabo Verde, S., Almeida, S.M., Matos, J., Guerreiro, D., Meneses, M., Faria, T., Botelho, D., Santos, M., & Viegas, C. (2015). Microbiological assessment of indoor air quality at different hospital sites. Research in Microbiology, 166(7):557-563. Chaivisit, P., Suksaroj, T.T., Romyen, D., & Choosong, T. (2016). Bioaerosols assessment in the intensive care units of a tertiary care hospital. Songklanagarind Medical Journal, 34(1), 11-25. Institute of Medicine (U.S.): Committee on Damp Indoor Spaces and Health. (2004). Damp Indoor Spaces and Health. Washington: The National Academy Press.

89


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Larone, D. H. (1987). Medically important fungi: a guide to identification. New York: Elsevier. Luksamijarulkul, P., Pipitsangjan, S. (2015). Microbial air quality and bacterial surface contamination in ambulances during patient services. Oman medical journal, 30(2), 104. Luksamijarulkul, P., Somjai, N., Nankongnap, N., Pataitiemthong, A., Kongtip, P., & Woskie, S. (2019). Indoor air quality at different sites of a governmental hospital, Thailand. Nursing and Palliative Care, 4, 1-5. Ministry of the Environment Singapore, Institute of Environmental Epidemiology. (1996). Guidelines for good indoor air quality in office premises. Singapore. Pasquarella, C., Albertini, R., Dall'aglio, P., Saccani, E., Sansebastiano, G.E., Signorelli, C. (2008). Air microbial sampling: the state of the art. Igiene e Sanita Pubblica, 64(1), 79-120. World Health Organization. Regional Office for Europe. (1990). Indoor air quality: biological contaminants: report on a WHO meeting, Rautavaara, 29 August -2 September 1988. World Health Organization. Regional Office for Europe. Zweers, T., Preller, L., Brunekreef, B., & Boleij, J. S. M. (1992). Health and indoor climate complaints of 7043 office workers in 61 buildings in The Netherlands. Indoor Air, 2, 127-136.

90


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผลของการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ บรรณกร เสือสิงห์1* อรุณี เสือสิงห์1 พงศ์พิษณุ บุญดา2 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเหล่าหญ้า อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก สถาบันพระบรมราชชนก Corresponding author: bunnagone@hotmail.com บทคัดย่อ บทนำ: การดูแลระยะยาวเกี่ยวข้องกับบริการที่หลากหลาย การบูรณาการการแพทย์แผนไทยเข้ากับระบบบริการสุขภาพ ควรเน้นการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้ากับระบบบริการสาธารณสุข ดังนั้นจุดตรวจผู้ป่วยนอก ควรอยู่ติดกับ และเชื่อมต่อกัน ด้วยระบบการส่งต่อ นอกจากนี้ต้องมีการกำหนดโรคหรืออาการที ่ชัดเจนสำหรับการใช้ย าแผนโบราณและยาแผนปัจ จุ บั น วัตถุประสงค์: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ ท างเลื อ ก ตำบลแคมป์ สน อำเภอเขาค้ อ จั งหวั ด เพชรบู รณ์ วิ ธ ี ก าร: กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที ่ ใ ช้ ใ นการวิจ ั ยถู ก สุ ่ มแบบ เฉพาะเจาะจงตาม Inclusion Criteria จากประชาชน ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่ผ่านการคัดกรองโดยบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขในปี 2561 ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างที่ 1 ผู้สูงอายุ 31 คน มีระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน Barthel Activities of Daily Living (ADL) น้อยกว่า 12 คะแนน (กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง) และ กลุ่มตัวอย่างที่ 2 ผู้สูงอายุ 50 คน มีระดับ ADL ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป ที่พึ่งตนเองได้ (กลุ่มติดสังคม) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล แบบ ประเมินระบบ แบบประเมิน ADL และแบบประเมิน CIPP Model วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์เอกสาร ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย: ผลการทดลองใช้ระบบ พบว่า กลุ่มติดสังคมมีระดับ ADL คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 98 กลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติด เตียง มีระดับ ADL คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 100 และผลการประเมินระบบ พบว่า เกิดพื้นที่ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว พื้นที่ต้นแบบการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สามารถลดภาระงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ความแออัดใน สถานพยาบาล ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคในผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย สรุปได้ว่า: ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะ ยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก มีประสิทธิภาพในการป้องกันการลดระดับความสามารถในการ ประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุ่มติดสังคม และมีประสิทธิภาพในการเพิ่มระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตร ประจำวัน (ADL) ในกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ, ระบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว, การแพทย์แผนไทย, การแพทย์ทางเลือก

91


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Results of Development a long-term care system with combination Thai traditional and alternative medicine, Camp Son Sub-district, Khao Kho District, Phetchabun Province Bunnagone Suesing1*, Arunee Suesing1, Phongpisanu Boonda2 1

Lhao Ya Health Promoting Hospital, Khao Kho District, Phetchabun Province 2 Sirindhorn College of Public Health, Phitsanulok, Praboromarajchanok Institute of Health Workforce Development Corresponding author: bunnagone@hotmail.com

Abstract Introduction: Long-term care involves a variety of services designed. The integration of Thai traditional medicine into the health service system should focus on the combination of traditional Thai medicine into the public health service system. So the outpatient checkpoints should be adjacent to and connected by a referral system. In addition, diseases or conditions must be clearly set for the use of both Thai traditional medicine and modern medicine. Aims: The main aim of this study was to develop a longterm care system with combination Thai traditional medicine and alternative medicine, Camp Son Subdistrict, Khao Kho District, Phetchabun Province. Methodology: The samples used in the research were randomly selected according to inclusion criteria from people (aged 60 years and older) that has been screened by medical and public health personnel in 2018, consisting of; Group 1: 31 samples of elderly who can move Self-help (home-bound and bed-bound), the Barthel Activities of Daily Living (ADL) <12 and Group 2: 50 samples Self-reliant elderly (social-bound), ADL≥ 12 were selected with purposive sampling according to inclusion criteria from elderly, the instruments for data collection were data recording form, system evaluation form, ADL assessment (formative evaluation) form was used after already implemented quasi-experiment, and CIPP Model evaluation (summative evaluation) form. Documents were analyzed, descriptive statistics such as means, standard deviations were computed, and the percentage was used to compare post-test with ADL criteria. Results: the experiment showed that the social-bound group had ADL maintained and improved 98%, the home-bound and bed-bound group had ADL maintained and improved 100%. The system evaluation results showed that establishing a prototype area for long-term care, prototypes of Thai traditional and alternative medicine could reduce the budget burden on health expenses, congestion in hospitals, and reducing complications of the disease in the elderly by the involvement of networks. Discussion and Conclusion: It can be concluded that this system effective in preventing the reduction of ADL in the social-bound and effective in increasing ADL in the home-bound and bed-bound group. Keywords: elderly; long-term care system; Thai traditional medicine; alternative medicine

92


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข จากการสำรวจข้อมูลของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คือสูงขึ้น ร้อยละ 4.00 ต่อปี และ สังคมไทยจะก้าวสู่ สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ตามนิยามของสหประชาชาติในปี 2568 หรืออาจกล่าวได้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศ หนึ่งในอาเซียนที่เข้าสู่สังคมของผู้สูงวัย (Aging Society) การเป็นสังคมสูงวัย คือ การที่มีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น (ประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10.00 ของประชากรทั้งหมด) ข้อมูลจากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกาย พบว่า โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ หอบหืด เบาหวานความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไต วาย อัมพฤกษ์หรืออัมพาต วัณโรค และ ข้อเสื่อม นอกจาก โรคเรื้อรังแล้ว สิ่งที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ คือความสามารถใน การประกอบกิจวัตรประจำวันทั้งนี้ ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง กลุ่มผู้สูงวัยตอนต้นและตอนกลาง จะมีความสามารถในการ ทำหน้าที่อยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 90.00 และพบว่าลดลงเป็น ร้อยละ 80.00 ในกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย 80 ปี ขึ้นไป ระบบการ ดูแลระยะยาวเป็นการจัดบริการสาธารณสุขและบริการสังคมเพื่อตอบสนองความต้องการความช่วยเหลือของผู้ที่ประสบภาวะ ยากลำบาก อันเนื่องมาจากภาวการณ์เจ็บป่วยเรื้อรัง การประสบอุบัติเหตุความพิการต่างๆ ตลอดจนผู้สูงอายุที่ชราภาพไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองในการประกอบกิจวัตรประจำวัน มุ่งเน้นในด้านการฟื้นฟู บำบัด รวมถึงการส่งเสริมสุขภาพให้แก่กลุ่มคนเหล่านี้ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีชีวิตอยู่ได้ด้วยความเป็นจริง โดยอยู่บนพื้นฐานของการเคารพศักดิ์ศรี ของความเป็นมนุษย์ ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 776 คน คิดเป็นร้อยละ 19.76 จากการสำรวจประเมิน ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน Barthel Activities of Daily Living (ADL) ร่วมกับประเมินการจำแนกผู้สูงอายุ Typology of aged with Illustration (TAI) เพื่อการดูแล พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม กลุ่มติดบ้านและติ ดเตียง คิดเป็นร้อยละ 97.29 และร้อยละ 1.80 , 0.90 ตามลำดับ เป็นพื้นที่ชนบทที่มีความเป็นเมืองแทรก ทำให้วิถีการดำรงชีวิตเปลี่ยนไป โดยมีผู้สูงอายุ อยู่คนเดียว ร้อยละ 6.40 อยู่กับคู่สมรส ร้อยละ 50.00 (รายงานประจำปี 2561 คณะทำงานประสานงานสาธารณสุขอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์, 2561) การบูรณาการการแพทย์แผนไทยเข้ากับระบบบริการสุขภาพควรเน้นการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้ากับระบบ บริการสาธารณสุข ดังนั้นจุดตรวจผู้ป่วยนอก ควรอยู่ติดกับและเชื่อมต่อกันด้วยระบบการส่งต่อ นอกจากนี้ต้องมีการกำหนดโรค หรืออาการที่ชัดเจนสำหรับการใช้ยาแผนโบราณและยาแผนปัจจุบัน ในการนี้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์ สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็นความต้องการ การสร้างและตรวจสอบระบบ การทดลอง ใช้และศึกษาผลการทดลองใช้ และการวัดประเมินผลระบบ เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาที่เหมาะสมกับพื้นที่ และตอบสนองนโยบายของ กระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวให้ครอบคลุมทุกตำบล ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพอย่าง ถ้วนหน้าเท่าเทียม และปรับพฤติกรรมด้านการดำเนินชีวิตให้เหมาะสมตามวัยสำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้หลักการแพทย์แผนไทยและ แพทย์ทางเลือก มีคุณภาพชีวิตที่ดี และส่งผลต่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็น และแนวทางการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

93


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2. เพื่อสร้างและตรวจสอบระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบล แคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. เพื่อทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. เพื่อประเมินผลระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์ สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สมมติฐานการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอ เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีประสิทธิภาพหรือไม่ ระเบียบวิธีวิจัย การวิ จ ั ย นี ้ เป็ น การวิ จ ั ย กึ ่ ง ทดลอง (Quasi-Experimental) ซึ ่ ง ใช้ แ นวคิ ด การวิ จ ั ย และพั ฒ นา (Research and Development) ของ Phongpisanu Boonda (Phongpisanu B.,2018; Phongpisanu B.,2019) และ Semantic Model เพื่อให้เห็นโครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของปรากฎการณ์นั้นๆ เช่น รูปแบบการสอน ของ Joyce and Well (1985:41) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็น และ แนวทางการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธี ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและ ตรวจสอบระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขั้นตอนที่ 3 การทดลอง และศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขั้นตอน ที่ 4 การประเมินผลระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็น และแนวทางการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้วิจัยได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็น และแนวทางการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จากแหล่งข้อมูลสรุปผลงานประจำปีของรพ.สต. เหล่าหญ้า ปี 2561 ตัวแปรที่ศึกษา คือ สถานการณ์ ปัญหา ความจำเป็น และแนวทางการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ใช้เครื่องมือแบบ บันทึกข้อมูลเพื่อนำเข้าข้อมูลจากสรุปผลงานประจำปี ส่วนที่ 2 ศึกษาแนวคิด ในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธี ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารตำรา รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการ และศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องจาก ฐานข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เนต ขั้นตอนที่ 2 สร้างและตรวจสอบระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

94


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ส่วนที่ 1 การสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก - ขั้นที่ 1 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มายกร่างระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก โดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดเป็นกรอบแนวคิดในการสร้างระบบ กำหนดองค์ประกอบของระบบ และสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูล แล้วจึงเขียนรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบให้สมบูรณ์ จนได้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะ ยาว ด้วยวิธผี สมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกฉบับร่าง - ขั้นที่ 2 จัดทำเอกสารประกอบระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ได้แก่ คู่มือ การใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระบบ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกตามกระบวนการพัฒนาระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จำนวน 1 แผ่น ส่วนที่ 2 การตรวจสอบระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยพิจารณาความเหมาะสมของ องค์ประกอบของระบบ และเอกสารประกอบระบบ โดย ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก โดยพิจารณาจากความเหมาะสม แบบ ประเมินคู่มือการใช้ระบบ โดยมีรายละเอียดของระบบ ดังนี้ คือ ความ เป็นมาของระบบ แนวคิดที่ใช้เป็นพื้นฐานใน การพัฒนาระบบ การกำหนดองค์ประกอบของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วย วิธีผสมผสาน ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กระบวนการ และการประเมินผล ซึ่งในส่วนกระบวนการมี 4 ขั้นตอน หลัก คือ 1) การประเมินสภาวะสุขภาพ 2) การวางแผนดูแลระยะยาว 3) การดูแลระยะยาว และ 4) การประเมินผล โดยในส่วน ของการดูแลระยะยาว ซึ่งมีที่มาจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ ยวชาญ โดยมีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 60 ขึ้นไป จำนวน 10 ขั้นตอน คือ 1) สร้างค่านิยมในการเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นด้วยจิตเมตตา (100.00%) 2) สร้างความศรัทธาและมีชีวิตอยู่กับความจริง (80.00%) 3) สามารถบริหารจัดการอารมณ์ได้ทั้งทางบวกและทางลบ (80.00%) 4) สร้างสัมพันธภาพด้วยความไว้เนื้อเชื่อใจ (100.00%) 5) ยอมรับความรู้สึกทางบวกและทางลบ โดยสร้างบรรยากาศสู่ความสุข (80.00%) 6) มีการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ รู้จักคิดรอบด้าน แล้วคัดเลือกคำตอบที่ดีตรงประเด็นที่สุด (100.00%) 7) ช่วยเหลือกันอย่างไว้วางใจ เพื่อการดำรงชีวิตตามแบบ แผนที่ต้องการมีการประคับประคองสถานการณ์ให้สามารถเผชิญปัญหาได้ (100.00%) 8) ภาคีเครือข่ายร่วมสนับสนุนดูแลแก้ไข สิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพ จิตสังคม และจิตวิญญาณ (80.00%) 9) พึงพอใจที่จะช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล อื่น(100.00%) 10) ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยพลังที่มีอยู่ (80.00%) ซึ่งกล่าวโดยสรุป ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธี ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นทดลองและศึกษาผลการใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกที่พัฒนา ในการทดลองใช้และศึกษาผลการใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบ ระดับ ADL ก่อนและหลังการพัฒนาตามระบบที่พัฒนา กลุ่มตัวอย่าง เป็นกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 31 คน โดยมี เกณฑ์คัดเข้า ดังนี้ อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และมีระดับ ADL น้อยกว่า 12 ที่ผ่านการคัดกรองโดยบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุข เกณฑ์คัดออก ดังนี้ เสียชีวิต และย้ายภูมิลำเนาออก และกลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 50 คน โดยมีเกณฑ์คัดเข้า ดังนี้ อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และมีระดับ ADL ตั้งแต่ 12 ขึ้นไป ที่เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ เกณฑ์คัดออก ดังนี้ เสียชีวิต ย้ายภูมิลำเนาออก ที่สุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มีแบบแผนการวิจัยเป็นแบบสองกลุ่ม ทดสอบก่อนและหลังการ 95


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

พัฒนาใช้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบระดับ ADL ก่อนและหลังการพัฒนา (One group pretest-posttest design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบประเมิน ADL เก็บรวบรวมข้อมูล โดยให้ผู้จัดการผู้ดูแลผู้สูงอายุ ประเมินตามแบบประเมิน ADL วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ร้อยละ คำนวณค่าเฉลี่ย ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธี ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลื อ ก ตำบลแคมป์ ส น อำเภอเขาค้ อ จั งหวั ด เพชรบู ร ณ์ โดยการใช้ CIPP Model ประกอบด้ ว ย บริ บ ท ปั จ จั ย นำเข้ า กระบวนการ ผลผลิต ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้สูงอายุ 776 คน ร้อยละ 19.76 ประเมิน ADL พบว่า กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม กลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง คิดเป็นร้อยละ 97.29 และร้อยละ 1.80 , 0.90 ตามลำดับ 2. ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ และผลการตรวจสอบคุณภาพ อยู่ในระดับดี

ภาพที่ 1 ระบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

96


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 รายละเอียดกระบวนการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาว ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ กระบวนการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว

กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม

1.การประเมินสภาวะ สุขภาพ

ประเมิน ADL = 12 คะแนนขึ้นไป

2.การวางแผนดูแล ระยะยาว

ชักชวนเข้าร่วมกิจกรรมในโรงเรียนสร้างสุขผู้สูงอายุ

3.การดูแลระยะยาว

กิจกรรมในโรงเรียนสร้างสุขผู้สูงอายุ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ พัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ เน้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ตรวจ คัดกรองโรคในผู้สูงอายุ รักษาพยาบาลเบื้องต้น ฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่างกายโดยผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การคลายเครียดด้วยวิธี อโรมาเธอราปี (สุคนธบำบัดการบำบัด ด้วยกลิ่นน้ำมันหอมระเหย, ดนตรีบำบัด, สมาธิบำบัด, การฝึกการ หายใจเพื่อผ่อนคลาย, การปรับสมดุลของร่างกายด้วยมณีเวช 5 ท่า, อาหารตามธาตุ อาหารสุขภาพและน้ำสมุนไพร, การฝึกนวด กดจุดเพื่อผ่อนคลาย, การแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพรเพื่อบำบัดและ ผ่อนคลาย, การประคบและอบสมุนไพรเพื่อรักษาอาการปวดเมื่อย , การดูแลสุขภาพด้วยวิถีพุทธ ยา 9 เม็ด, นาฬิกาชีวิต , การฝึก อาชีพเสริม, งานอดิเรกของผู้สูงอายุ, ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยนัก กายภาพบำบั ด , จั ด กิ จ กรรมสร้ า งเสริ มความสุ ข 5 มิ ต ิ , มี ก าร พัฒนาศักยภาพสมองเป็นสองเท่า ให้กับผู้สูงอายุ ร่วมกับการดูแล ระยะยาวของวัตสัน (Watson’s Caring Theory) ดังนี้ 1) สร้างค่านิยมในการเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นด้วยจิตเมตตา 2) สร้างศรัทธา และมีชีวติ อยู่ได้ด้วยความเป็นจริง 3) สามารถบริหารจัดการอารมณ์ได้ทั้งทางบวกและทางลบ 4) สร้างสัมพันธภาพด้วยความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ 5) ยอมรับความรูส้ ึกทางบวกและทางลบ โดยสร้างบรรยากาศสู่ ความสุข 6) มีการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ รู้จกั คิดรอบด้าน แล้วคัดเลือกคำตอบที่ดีตรงประเด็นที่สุด 7) ช่วยเหลือกันอย่างไว้วางใจ เพื่อการดำรงชีวิตตามแบบแผนที่ ต้องการมีการประคับประคองสถานการณ์ให้สามารถเผชิญปัญหา ได้ 8) ภาคีเครือข่ายร่วมสนับสนุนดูแลแก้ไขสิ่งแวดล้อมทั้งด้าน กายภาพ จิตสังคม และจิตวิญญาณ 9) พึงพอใจที่จะช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล อื่น 10) ยอมรับสิ่งที่เกิดขึน้ ด้วยพลังที่มีอยู่ ประเมิน ADL คงสภาพและเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขนึ้

4.การประเมินผล

กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ประเมิน ADL < 12 คะแนน ร่วมกับ TAI กลุ่มติดบ้าน 1, กลุ่มติดบ้าน 2, กลุ่มติดเตียง 3, กลุ่มติดเตียง 4 จัดทำ Care Plan ร่วมกับสหวิชาชีพ ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ สปสช. อปท. ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม สหวิชาชีพ ร่วมกับ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) จัดบริการสุขภาพตามชุด สิทธิประโยชน์ ร่วมกับสปสช. และภาคีเครือข่ายภาครั ฐ อปท. ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ดูแลผู้สูงอายุ 2, 4, 6, 8 ครั้งต่อ เดือน ตามกลุ่มติดบ้าน 1, กลุ่มติดบ้าน 2, กลุ่มติดเตียง 3, กลุ่มติด เตี ย ง 4 ด้ ว ยวิ ธี ผ สมผสานการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ทางเลื อ ก มี ก ารประชุ ม กลุ ่ ม เพื ่ อ ปรึ ก ษารายกรณี Care conference ประเมินทุกเดือนร่ วมกับ ผู้จัดการผู้ดูแลผู้สูงอายุ Care Manager และทีมสหสาขาวิชาชีพ ดูแลระดับบุคคลอย่างมี คุณภาพ 4 ระดับ คือ การดูแลแบบทั่วๆไป (Case Approach), ดู แ ลแบบองค์ รวม (Holistic Approach), ดู แ ลโดยครอบครัวมี ส่ ว นร่ ว ม (Family Orientation Approach), ดู แ ลโดยชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ วม (Community Approach) ร่ ว มกับการดูแลระยะยาว ของวัตสัน (Watson’s Caring Theory) ดังนี้ 1) สร้างค่านิยมในการเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นด้วยจิตเมตตา 2) สร้างศรัทธา และมีชีวติ อยู่ได้ด้วยความเป็นจริง 3) สามารถบริหารจัดการอารมณ์ได้ทั้งทางบวกและทางลบ 4) สร้างสัมพันธภาพด้วยความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ 5) ยอมรับความรูส้ ึกทางบวกและทางลบ โดยสร้างบรรยากาศสู่ ความสุข 6) มีการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ รู้จกั คิดรอบด้าน แล้วคัดเลือกคำตอบที่ดีตรงประเด็นที่สุด 7) ช่วยเหลือกันอย่างไว้วางใจ เพื่อการดำรงชีวิตตามแบบแผนที่ ต้องการมีการประคับประคองสถานการณ์ให้สามารถเผชิญปัญหา ได้ 8) ภาคีเครือข่ายร่วมสนับสนุนดูแลแก้ไขสิ่งแวดล้อมทั้งด้าน กายภาพ จิตสังคม และจิตวิญญาณ 9) พึงพอใจที่จะช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคล อื่น 10) ยอมรับสิ่งที่เกิดขึน้ ด้วยพลังที่มีอยู่

ประเมิน ADL คงสภาพและเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขนึ้

97


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

3. ผลการทดลองใช้ระบบ พบว่า กลุ่มติดสังคมมีระดับ ADL เดือน กันยายน (Post ADL1) คงสภาพ ร้อยละ 96 เดือน ธันวาคม (Post ADL2) คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 98 (ภาพที่ 2) กลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง มีระดับ ADL เดือน กันยายน (Post ADL1) คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 93.54 เดือน ธันวาคม(Post ADL2) คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 100 (ภาพที่ 3 ) 102 100 ระดับ ADL (ร้อยละ) 98 96 94

Pre ADL

92

Post ADL1

90

Post ADL2

88 86

กลุ่มตัวอย่าง(คนที่)

84

1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49

ภาพที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบระดับ ADL ตั้งแต่ 12 ขึ้นไปของผู้สงู อายุ 80 ระดับ ADL (ร้อยละ)

70 60 50

Pre ADL

40

Post ADL1

30

Post ADL2

20 10 0 1

3

5

7

9

กลุ่มตัวอย่าง(คนที่)

11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31

ภาพที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบระดับ ADL < 12 ของผู้สูงอายุ 4. ผลการประเมินระบบ พบว่า Context : ผู้สูงอายุตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความตื่นตัวและ เข้าถึงบริการมากขึ้น Input : มีการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าด้วยผังก้างปลา ผ่านกระบวนการสนทนากลุ่ม ทีม องค์กรและชุมชน เพื่อการตัดสินใจให้มี การพัฒนาตำบลดูแลผู้ สูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกบน พื้นฐานของทฤษฎี ความเชี่ยวชาญ การมีส่วนร่วม Process : มีการพัฒนาวงจรแห่งการเรียนรู้ Plan - Do - Check - Action ตั้งแต่ปี 2559-2561 และการทดลองใช้ตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา และประเมินผลตามทฤษฎีการประเมิน เพื่อให้เกิด นวัตกรรม Product : เกิดพื้นที่ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว พื้นที่ต้นแบบการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลื อก สามารถลดภาระงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ความแออัดในสถานพยาบาล ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคในผู้สูงอายุ โดยการมี ส่วนร่วมของทีมสหสาขาวิชาชีพ เชื่อมโยงภาคีเครือข่าย ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม

98


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล การวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยอภิปรายผลการวิจัยตามสมมติฐานการวิจัย ดังนี้ ผลการวิจัย พบว่า คะแนนร้อยละความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุ่มติดสังคม คงสภาพ ร้อย ละ 96 และคงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 98 กลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง มีระดับ ADL คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 93.54 และร้อย ละ 100 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อรรัตน์ จันทร์เพ็ญ และคณะ (2558) ที่ศึกษาเรื่อง ผลของการฟื้นฟูตามโปรแกรมการ ผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ต่อระดับกำลังกล้ามเนื้อและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันใน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่สามารถใช้การผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในการเพิ่มความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ผลการวิจัย พบว่าค่าเฉลี่ยระดับกำลังกล้ามเนื้อและค่าเฉลี่ยความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 1 , 2 และ 3 เดือน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อ ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ พบว่าค่าเฉลี่ยระดับกำลังกล้ามเนื้อและค่าเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันหลัง การทดลอง 1 , 2 และ 3 เดือน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ยระดับกำลังกล้ามเนื้อและค่าเฉลี่ย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน หลังการทดลอง 2 และ 3 สูงกว่าหลังการทดลอง 1 เดือน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้อธิบายได้ว่าการที่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองฟื้นตัวได้เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ให้การดูแล แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของ โปรแกรมที่ใช้ในครั้งนี้ ซึ่งประกอบด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ช่ วยให้ผู้ป่วยค่อยๆฟื้นตัวตามระยะเวลา กล่าวคือ ยาสมุนไพรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ส่วนใหญ่ยาสุขุมร้อนหรือรสร้อน เพื่อช่วยกระตุ้นและเสริมธาตุไฟและปรับลม ซึ่งใน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีธาตุไฟและธาตุลมหย่อนยาน (บุษบา ประภาพงศ์ และคณะ,2554) ทำให้ธาตุไฟและธาตุลมกลับมา บริบูรณ์ ทั้งนี้องค์ความรู้ในศาสตร์แพทย์แผนไทยพิจารณาโรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคลมอัมพฤกษ์หรือลมอัมพาต ต้นเหตุของ ปัญหาเกิดจากความไม่สมดุลของทิศทางการไหลของลมในร่างกาย กล่าวคือ ลมเบื้องสูงได้แก่ ลมอุทธังคมาวาตา ที่พัดขึ้นเบื้องบน จากเหนือสะดือถึงเหนือศรีษะ และลมเบื้องต่ำ ได้แก่ ลมโธคมาวาตา ที่พัดลงเบื้องล่าง ตั้งแต่ใต้สะดือถึงปลายเท้า ในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองจะมีการไหลของลมทั้งสองสลับทิศกัน ทำให้เลือดถูกพัดเป็นฟองและร้อนดังไฟมีการคั่งของเลือดมีอาการทาง ระบบประสาท เช่น จุกแน่น ชัก มือกำ เท้างอ ลิ้นและขากรรไกรแข็ง พูดไม่ได้ เมื่อได้รับยาสมุนไพรสุขุมร้อนหรือรสร้อน จะช่วย ปรับทางเดินของลมให้เบาลง กระจายทางเดินของลม กระตุ้นธาตุไฟ จึงทำให้การไหลเวียนลมและการทำงานของธาตุไฟกลับมา ดังเดิม ซึ่งรวมถึงการทำงานของกล้ามเนื้อ ส่วนการนวดฟิ้นฟูสภาพจะช่วยกระตุ้นการทำงานของกล้า มเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท และเพิ่มการไหลเวียนเลือด ในขณะที่การประคบสมุนไพรจะเพิ่มการไหลเวียนเลือด และลดอาการปวด การเกร็งของกล้ามเนื้อ (สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข,2553) ซึ่งพบได้ในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทฟื้น การเคลื่อนไหวโดยการฝึกการทำงานของกล้ามเนื้อจะช่วย กล้ามเนื้อแข็งแรงและเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น และการฝึกการทรงตัวทำให้มีความสมดุลของของท่าทางมากขึ้น (วิยะดา ศักดิ์ศรี และสุ รัตน์ ธนานุภาพไพศาล,2552) ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้ สอดคล้องกับการศึกษาก่อนหน้านี้ ที่พบว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับ การดูแลตามรูปแบบการรักษาทางเลือก มีคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันแรกรับการรักษา หลังการรักษา 1 เดือน และหลังการรักษา 3 เดือน ที่ดีขึ้น (เสาวภา เด็ดขาด,2558) สรุปและข้อเสนอแนะ ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอ เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีประสิทธิภาพในการป้องกันการลดระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุ่ม

99


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ติดสังคม และมีประสิทธิภาพในการเพิ่มระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติด เตียง ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ต.แคมป์สน อ.เขาค้อ จ. เพชรบูรณ์ ไปใช้ดำเนินงาน หรือการจัดกิจกรรมในระดับอื่นๆได้ และสามารถนำไปประยุกต์และปรับใช้ได้ตามสภาพและความ เหมาะสมของหน่วยบริการอื่นๆ 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้ ยังมีข้อจำกัดในเรื่องรูปแบบการวิจัยที่เป็นการทดลองในกลุ่มเดียว จึงควรทำการศึกษาต่อไปโดยใช้รูปแบบการทดลองในสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองและมีการวัดซ้ำตามคู่มือของการ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เพื่อให้เห็นผลของการใช้ระบบที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นงานวิจัยของ อรรัตน์ จันทร์เพ็ญ และคณะ (2558) ที่ ศึกษาเรื่อง ผลของการฟื้นฟูตามโปรแกรมการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ต่อระดับกำลังกล้ามเนื้อ และความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขาค้อ ทีมงานเจ้าหน้าที่เครือข่าย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก ในการสนับสนุนผู้ทรงคุณวุฒิ ทำให้งานวิจัยเรื่อง นี้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เลขที่จริยธรรมวิจัย SCPHPL 1/2562 - 33 (วันที่รับรอง : เมื่อวันที่ 17 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2561 การรับรองนี้มผี ลถึง วันที่ 17 ตุลาคม 2563): วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก เอกสารอ้างอิง กลุ่มงานส่งเสริมบริการการแพทย์แผนไทย.(2560).คู่มือการดูแลผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน.(พิมพ์ครั้งที่ 1).กรุงเทพฯ:กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. คณะทำงานประสานงานสาธารณสุขอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. (2561). รายงานประจำปี 2561. งานผู้สูงอายุและผู้พิการ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขาค้อ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบูรณ์. บุษบา ประภาพงศ์ และคณะ.(2554).พระคัมภีร์ชวดาร ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญาทางการแพทย์ และมรดกทาง วรรณกรรมของชาติ.(พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.(2553). ตำราผู้ช่วยแพทย์ แผนไทย 372 ชั่วโมง.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.(2559).คู่มือสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง.(พิมพ์ครั้งที่ 1).กรุงเทพฯ:สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เสาวภา เด็ดขาด (2558).ผลของรูปแบบการฟื้นฟูสภาพโดยใช้การรักษาทางเลือกในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง. วารสารศูนย์การศึกษา แพทย์ศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 32(2), 135-141. วิยะดา ศักดิ์ศรี และสุรัตน์ ธนานุภาพไพศาล.(2552). คู่มือกายภาพบำบัดผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก.กรุงเทพฯ: อมรินทร์สุขภาพ. อรรัตน์ จันทร์เพ็ญ และคณะ.(2558).ผลของการฟื้นฟูตามโปรแกรมการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและ

100


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การแพทย์ทางเลือกต่อระดับกำลังกล้ามเนื้อและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง. Joyce, B. & Weil, M. (1996). Models of teaching. (5th ed). Boston: Allyn and Bacon. Phongpisanu B.(2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud 2018, 2(6): 000183. Phongpisanu B.(2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud 2019, 3(3): 000222. Watson, J. (2008). Nursing: The philosophy and science of caring. Boulder, Cololado.: University Press of Colorado.

101


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ณัฐพล ผึ่งแซ่ม, พรพิมล อมรวาทิน, พิจิตรา อัครวรโชติสกุล, วิลาวรรณ ศรีพล, สุพัตรา ใจเหมาะ, สาลี อินทร์เจริญ, สิริมา วังพยอม, ฉัตรชัย ขวัญแก้ว และกมลรั ต น์ นุ่ น คง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วน ร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน พัฒนากิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ของประชาชน และศึกษาประสิทธิผลของกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่าง คือตัวแทนครัวเรือนที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 60 คน เก็บข้อมูลระหว่าง มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2562 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม และแบบประเมินลูกน้ำยุงลายของ สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อย ละ 65.00 มีอายุเฉลี่ย 55.33 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 13.67) อายุน้อยสุดเท่ากับ 20 ปี อายุมากสุดเท่ากับ 85 ปี นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 88.30 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80.00 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 36.67 และมีสถานภาพสมรส ร้อยละ 78.30 การมีส่วนร่วมภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.51±0.39) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมี ส่วนร่วมในการดำเนินการ (3.65±0.32) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (3.34±0.72) ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลื อดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจกรรมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และหลังการดำเนินกิจกรรมมีการสำรวจพบค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI = 7.89, CI = 0) ลดลงจาก ก่อนการดำเนินกิจกรรม (HI = 31.58, CI =6.82) เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างได้รับความรู้เกี่ยวกับการการป้องกันโรคไข้เลือดออก และ ได้ลงมือปฏิบัติร่วมกัน เพราะฉะนั้น ในการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกควรศึกษาบริบทชุมชน และมีแกนนำการในการทำกิจกรรม ต่างๆ คำสำคัญ: การมีส่วนร่วมของชุมชน, การป้องกันไข้เลือดออก, ความรู้, ทัศนคติ, พฤติกรรม

102


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Community participation for Dengue Fever Prevention Behaviors of the People in Moo 5 Baan Natong, Thungkrabue Subdistrict, Yantakhao District,Trang Province Nathapon Phuengcham, Pornpimol Amornwathin, Pijitra Akkharaworachotsakul, Wilawan Sripon, Supattra Jaimoa, Salee Incharoen, Sirima Wangpayom, Chatchai Kwankaew and Kamonrat Nungkong Sirindhorn College of Public Health, Trang Abstract The purpose of this participatory action research was to study dengue fever prevention behaviors of the people in Moo 5 Baan Natong, Thungkrabue Subdistrict, Yantakhao District,Trang Province. Sixty participants were surveyed by structured questionnaires and mosquito larvae survey form of Bureau of General Communicable Diseases Department of Diseases Control during January to March 2019. The findings showed that the overall participants were female (65%). The mean age of participant was 55.33 years old (S.D.=13.67). The minimum age is 20 years old while the maximum age is 85 years old. The percentage of Buddhist was 88.30. They were graduated from primary school (80%). Agricultural occupation was 36.67%. 78.30% of marital status was marriage. The participation was in high level (3.51±0.39). The highest score was participation in implementation (3.65±0.32). The lowest score was participation in making decision (3.34±0.72). After implementation, knowledge, attitude, and their prevention behaviors were increased with statistically significant level of 0.05 Moreover, mosquito larva index was decreased from HI = 31.58 and CI =6.82 to HI = 7.89 and CI = 0.Keywords : Community participation, Dengue fever prevention, Knowledge, Attitude, Behavior. Because the sample was educated about the prevention of dengue fever. And act together. Therefore, in solving dengue problems, should study the context of the community. And has a leader in doing various activities. Keywords: Community participation, Dengue Fever Prevention, Knowledge, Attitude, Behaviors

103


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever-DHF) เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยในปัจจุบัน เนื่องจาก ความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคม อีกทั้งยังเป็นเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศ (สมชาย แสงสิมมา, 2553) กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2561 ให้ไม่ เกิน 50 ต่อแสนประชากร แต่ สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก พบว่าอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกต่อแสนประชากรของประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2561 เท่ากับ 215.99, 91.88, 74.73 และ 119.23 ตามลำดับ (กรมควบคุมโรค, 2561) ซึ่งเกินกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้ กำหนดไว้ทุกปี โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและลดลงที่ไม่แน่นอน ซึ่งอัตราป่วยโรคไข้เลื อดออกต่อแสน ประชากรในปี พ.ศ. 2558 มีแนวโน้มลดลงแต่ก็มีการเพิ่มขึ้นมาอีกในปี พ.ศ. 2561 และมีแนวโน้มที่จะเกิดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกอีก ในปีต่อ ๆ ไป โดยในจังหวัดตรังมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2558 เท่ากับ 75.93 ต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 96.88 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2561 ส่วนอำเภอย่านตาขาวมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2558 เท่ากับ 60.81 ต่อแสน ประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 142.60 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2561 (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง , 2561) เห็นได้ว่าอัตราป่วย โรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรังและอำเภอย่านตาขาวเกินกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด การป้องกันโรคไข้เลือดออกนั้นสามารถป้องกันได้ด้วยหลัก 5ป. 1ข. คือ 1) ปิด ปิดภาชนะน้ำกิน น้ำใช้ให้มิดชิดหลังการ ตักใช้น้ำทุกครั้งเพื่อป้องกันยุงลายลงไปวางไข่ 2) เปลี่ยน เปลี่ยนน้ำในแจกัน ถังเก็บน้ำ ทุก 7 วันเพื่อตัด วงจรลูกน้ำที่จะกลายเป็น ยุง 3) ปล่อย ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะใส่น้ำถาวร เช่น อ่างบัว ถังซีเมนต์เก็บน้ำขนาดใหญ่ 4) ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ปลอด โปร่ง โล่ง สะอาด ลมพัดผ่าน ไม่เป็นที่เกาะพักของยุงลาย และ 5) ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัย ส่วน 1 ข. คือ ขัด เนื่องจากยุงลาย จะไข่ตามผนังภาชนะ จึงจำเป็นต้องมีการขัดไข่ยุงลายในภาชนะด้วย โดยใช้ใยขัดล้าง หรือแปรงชนิดนุ่มช่วยในการขัดล้าง และทิ้ง น้ำที่ขัดล้างนั้นบนพื้นดินเพื่อให้ไข่แห้งตายไปไม่ควรทิ้งลงท่อระบายน้ำ ซึ่งอาจเป็นแหล่งน้ำใสนิ่งทำให้ไข่บางส่วนรอดและเจริญเป็น ลูกน้ำและยุงลายได้ จากการสำรวจข้อมูลดัชนีลูกน้ำยุงลายของประชาชนหมู่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง พบว่า มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน (HI) เท่ากับ 31.58 และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (CI) เท่ากับ 6.82 สาเหตุสำคัญ ของการไม่ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก คือ การที่ประชาชนคิดว่าหากเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในหมู่บ้านควรจะเป็น ความรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร้อยละ 75.0 และการไม่ปรับปรุงบริเวณบ้านเพื่อกำจัดแหล่งน้ำขังที่ อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ร้อยละ 55.9 อัตราป่วยโรคไข้ เลือดออกของบ้านนาโตง เท่ากับ 322.93 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกิน จากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดไว้ จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยอาศัยการมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความ รับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง ทั้งการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ การมีส่วนร่วม ในการรับผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการประเมินผล เป็นต้น ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรค ไข้เลือดออกของชุมชนจะทำให้การดำเนินกิจกรรมในการมีส่วนร่วมต่าง ๆ นั้นยั่งยืนขึ้น ถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชัก นำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง (ภารดี อินละมัย , 2561) ซึ่ง

104


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันมีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ดังนั้นสิ่งที่สามารถพยากรณ์การเกิดโรคได้ดีที่สุด คือ ค่าดัชนีลูกน้ำ ยุงลาย เพราะทำให้ทราบถึงปริมาณแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายสามารถนำมาทำนายระดับความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออก ได้ โดยวัดได้จากค่า HI (House Index) คือ ร้อยละของบ้านที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านหรือชุมชน ต้องมีน้อยกว่า 10 และ CI (Container Index) คือ ร้อยละของภาชนะสำรวจที่พบลูกน้ำยุงลาย ต้องเป็น 0 จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยจึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จึงได้ร่วมหาแนวทางในการใน การแก้ไขปัญหาโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ประยุกต์ใช้ทฤษฎี ความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับปฏิบัติ (KAP Theory) ที่มี ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ให้ประชาชนมีทัศนคติที่ดีเห็นถึง ความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก พร้อมทั้งสร้างความตระหนักในการช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สิ่ง สำคัญสำหรับการป้องกันโรคไข้เลือดออกอีกอย่างหนึ่งคือ การอาศั ยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ ถูกต้อง จัดเป็นหนทางที่จะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับปัญหาในชุมชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 2. เพื่อพัฒนากิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบล ทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 3. เพื่อประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ กำหนดเป็นประชากรทั้งหมดจำนวน 60 คน เก็บรวมรว มข้อมูลอยู่ในช่วงเดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยตอนที่ 1 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุค คล เป็น แบบสอบถามเลือกตอบ และให้เติมข้อมูลในช่องว่างให้ครบถ้วน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา ระดับการศึกษาอาชีพ ส่วนที่ 2 แบบทดสอบความรู้เรื่อง โรคไข้เลือดออก จำนวน 12 ข้อ คะแนนเต็ม 12 คะแนน เป็นคำถามให้เลือกตอบ 4 ตัวเลือก คือ ก, ข, ค, ง ส่วนที่ 3 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 10 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับส่วนที่ 4 แบบสอบถามการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 12 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับส่วนที่ 5 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค ไข้เลือดออก จำนวน 15 ข้อ ลักษณะคำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับตอนที่ 2 แบบสำรวจลูกน้ำ ยุงลายของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์ ทางสถิติ และประมวลผล ดังนี้1) สถิติเชิงพรรณนา ใช้ในการ วิเคราะห์ ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก การปฏิบัติตน ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และค่ า HI (House index) ค่า CI (Container index) ด้ ว ยสถิ ติ ความถี ่ ร้ อ ยละ ค่ า เฉลี ่ ย และค่ า ส่ วนเบี ่ย งเบนมาตรฐานและ 2) สถิ ต ิ เ ชิงอนุม าน ใช้ ใ นการ

105


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม ด้วยสถิติ Paired T-test ผลการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล ของประชาชนหมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรังพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.00 อายุเฉลี่ย 55.33 ปี (S.D. = 13.67) อายุน้อยสุดเท่ากับ 20 ปี อายุมากสุดเท่ากับ 85 ปี นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 88.30 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 80.00 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 36.67 และมีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 78.30 ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของขุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ภาพรวม

X

S.D.

แปลผล

3.34 3.65 3.60 3.52 3.51

0.72 0.32 0.62 0.71 0.39

ปานกลาง มาก มาก มาก มาก

จากตารางที่ 1 พบว่า ประชาชนหมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ระดับการมีส่วนร่วม ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.53±0.59) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (3.65±0.32) ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (3.34±0.72) เมื่อจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (3.34±0.72) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ ท่านได้วิเคราะห์ปัญหา ค้นหาสาเหตุและความต้องการในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับมาก (3.62±0.87) ข้อ ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกของชุมชนด้วยวิธีต่าง ๆ และร่วมเสนอ กิจกรรมของชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง (3.17±0.83) ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (3.65±0.32) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูง ที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมในการปรับปรุงบริเวณบ้านเพื่อกำจัดแหล่งน้ำขังที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์หรือที่อยู่อาศัยของยุงอยู่ใน ระดับมากที่สุด (4.25±0.47) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมในการแนะนำคนในครอบครัวและเพื่อนบ้านเกี่ยวกับวิธีการ ควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงลายอยู่ในระดับปานกลาง (2.86±0.81) ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (3.60±0.62) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ ท่านได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกของตนเองและครอบครัวอยู่ในระดับมาก (3.68±0.70) ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ท่านได้รับสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงมีเพื่อใช้ในในการป้องกันและกำจัดยุงอยู่ในระดับปานกลาง (3.05±0.72) ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (3.52±0.71) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูง ที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมในการประเมินผลค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และการป้องกันโรคไข้เลือดออกของชุมชนอยู่ในระดับมาก (3.55±0.72) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมในการติดตามและกระตุ้นเตือนการป้องกันโรคไข้เลือดออกในแต่ละสัปดาห์ อยู่ในระดับมาก (3.48±0.83)

106


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัตติ นในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ระหว่างก่อนและ หลังการดำเนินกิจกรรม ก่อนการดำเนิน หลังการดำเนิน กิจกรรม กิจกรรม คะแนนเฉลี่ย df t p - value S.D. S.D. x̅ x̅ ความรู ้ เ กี ่ ย วกั บ การป้ อ งกั น โรค ไข้เลือดออก

8.77

1.29

10.45

0.98

59

11.72

<0.001

ทั ศ นคติ เ กี ่ ย วกั บ การป้ อ งกั น โรค ไข้เลือดออก

3.18

0.32

4.08

0.83

59

8.81

<0.001

การปฏิ บ ั ต ิ ต นในการป้ อ งกั น โรค ไข้เลือดออก

3.16

0.38

3.99

0.42

59

13.12

<0.001

จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบล ทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง พบว่า ก่อนการดำเนินกิจกรรมมีคะแนนความรู้เฉลี่ย (8.77±1.29) ภายหลังการดำเนิน กิจกรรมมีคะแนนความรู้เฉลีย่ (10.45±0.98) เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับ การป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่าน ตาขาว จังหวัดตรัง พบว่า ก่อนการดำเนินกิจกรรมมีคะแนนทัศนคติเฉลี่ย (3.18±0.32) ภายหลังการดำเนินกิจกรรมมีคะแนน ทัศนคติเฉลี่ย (4.08±0.83) เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรค ไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่าน ตาขาว จังหวัดตรัง พบว่า ก่อนการดำเนินกิจกรรมมีคะแนนการปฏิบัติตนเฉลี่ย (3.16±0.38) ภายหลังการดำเนินกิจกรรมมีคะแนน การปฏิบัติตนเฉลี่ย (3.99±0.42) เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม พบว่า คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติตนในการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบค่า HI (House index) และค่า CI (Container index) ก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนิน กิจกรรม (n=190) การสำรวจ ดัชนีลกู น้ำยุงลาย ค่า HI (House index) ค่า CI (Container index)

ครั้งที่ 1 (ร้อยละ) 31.58 6.82

ครั้งที่ 2 (ร้อยละ) 23.68 0

ครั้งที่ 3 (ร้อยละ) 9.47 0

ครั้งที่ 4 (ร้อยละ) 7.89 0

107


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากตารางที่ 3 พบว่า หลังการดำเนินกิจกรรมมีการสำรวจพบค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI = 7.89, CI = 0) ลดลงจาก ก่อนการดำเนินกิจกรรม (HI = 31.58, CI = 6.82) อภิปรายผล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 1.1 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ จากการศึกษา พบว่าการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยการศึกษาครั้งนี้ได้จัดทำเวที ประชาคมในชุมชน ซึ่งเป็นเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมของผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย มีการกระตุ้นให้ประชาชนทุก คนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ร่วมกันคิดวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกแนวทางในการวางแผนการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยผู้วิจัย เป็นผู้นำเสนอข้อมูลจากที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลสภาพการณ์ปัญหาของชุมชนจากการศึกษาชุมชนด้วยการทำเครื่องมือ 7 ชิ้น และ การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพของประชาชนในชุมชนมาเสนอในเวทีประชาคมเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาและคัดเลือกปัญหาเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการของประชาชนและตรงกับบริบทของชุมชน พบว่า ปัญหาจากที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลรวมกับปัญหาที่ประชาชนนำเสนอขึ้นมามีทั้งหมด 13 ปัญหา มาดำเนินการจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหา ให้คะแนนตามระดับความรุนแรงของปัญหา ขนาดของปัญหา ความยากง่ายในการแก้ปัญหา ร่วมกับการลงประชาคม เพื่อให้คะแนนเป็นไปตามการยอมรับของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ได้ร่วมกัน เลือกปัญหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่เกินเกณฑ์ของชุมชน เมื่อได้ปัญหาแล้วจึงสอบถามถึงสาเหตุการพบลูกน้ำยุงลายพบว่าการที่ บริเวณรอบ ๆ บ้านและหมู่บ้านมีแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย ถึงแม้ว่าจะเป็นหน้าร้อนที่ไ ม่น่าจะมีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อีก ทั้งอสม.จะมีการเดินสำรวจลูกน้ำยุงลายตามเขตของบ้านรับผิดชอบก็ตาม เกิดจากการไม่มีความตระหนักของประชาชนในชุมชน เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่จะเกิดขึ้น เนื่องจากคนในบ้านไม่มีใครป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก อีกทั้งจากการสำรวจลูกน้ำ ยุงลายยุงส่วนใหญ่จะไปวางไข่ในภาชนะเก็บน้ำของครัวเรือน เนื่องจากตำบลทุ่งกระบือประสบปัญหาจากการที่น้ำไม่ไหลบ่อยจึง ต้องมีการกักเก็บน้ำไว้ใช้ ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่เพิ่มขึ้น จากกิจกรรมขั้นนี้พบว่าประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่ง กระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง มีส่วนร่วมในการระบุปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอน รวมทั้งเลือกกิจกรรมที่จะทำร่วมกันของ ชุมชนพร้อมทั้งแกนนำในการรับผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆ ได้ 1.2 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ จากการศึกษา พบว่าการมีส่วนร่วมในการดำเนินการอยู่ในระดั บมาก โดยผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยได้ร่วมกัน วิเคราะห์ วางแผนและได้กำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา คือเริ่มต้นจากการส่งเสริมให้ประชาชนเล็งเห็นถึงความสำคัญของการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกว่าเป็นปัญหาของทุกคนที่ควรจะร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยการเปิดโอกาสให้ชุมชนแลกเปลี่ยนแสดงค วาม คิดเห็นต่อการแก้ไขการป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ประชาชนเสนอให้มีการให้ความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านตามหลักสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย การทำสมุนไพรไล่ยุงเพื่อป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด เดินรณรงค์ โรคไข้เลือดออกร่วมกันโดยได้ให้แกนนำ อสม. แต่ละเขตลงเชิญชวนให้ครัวเรือนทุกครัวเรือนมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุก ๆ 7 วัน การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และมีการแจกทรายกำจัดลูกน้ำให้แต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบกับการทำ กิจกรรมทำความสะอาดรอบ ๆ หมู่บ้าน เก็บขยะ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนใน หมู่บ้านระหว่างแกนนำ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คุณครูและนักเรียนของโรงเรียนบ้านนาโตง และพระภิกษุสงฆ์ของสำนัก สงฆ์บ้านนาโตง

108


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

1.3 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ จากการศึกษา พบว่า การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์อยู่ในระดับมาก โดยประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง มีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของตนเอง ได้รับความรู้ จากการเข้าร่วมการอบรมความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านตามหลักสุขาภิบาลที่ อยู่อาศัย ทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก รวมทั้งได้รับข่าวสารการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการกำจัด แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากการประชาสัมพันธ์ และการเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก อีกทั้งยังได้รับผล ประโยชน์จาก การสำรวจลูกน้ำยุงลาย โดยประชาชนจะได้รับผลประโยชน์จากการที่มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณรอบ ๆ บ้านลดน้อยลง เป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ และชุมชนหมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง สำนักสงฆ์บ้านนา โตง และโรงเรียนบ้านนาโตง มีความสะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากกิจกรรมทำความสะอาดรอบ ๆ หมู่บ้าน 1.4 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการประเมินผล จากการศึกษา พบว่าการมีส่วนร่วมในการประเมินผลอยู่ในระดับมาก ในขั้นตอนนี้เป็นการมีส่วนร่วมระหว่าง ทีมผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย โดยผู้วิจัย กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านแต่ละเขต และผู้นำชุมชนมีการ ติดต่อสื่อสารประสานงานซึ่งกัน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมการติดตามและประเมินผลกิจกรรมการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ภายในชุมชน หรือกิจกรรม อสม. เคาะประตูบ้าน จัดขึ้นทั้งหมด 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยแกนนำและผู้วิจัยลงพื้นที่ติดตาม การสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จากที่ได้แจกแบบสำรวจลูกนำยุงลายไว้ตามครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมให้ ตัวแทนครัวเรือนสำรวจลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนของตนเองทุกสัปดาห์ จากนั้นนำไปคำนวณหาค่า HI (House index) และค่า CI (Container index) ซึ่งลดลงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ อีกทั้งยังมีการทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ระหว่างผู้นำชุมชน แกน นำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันหาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน การจัดทำกิจกรรม ดังนั้นผลการศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรังในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในการป้องกั นโรคไข้เลือดออก ระหว่างก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5ป. 1ข. โดยการใช้สื่อรูปภาพ การบรรยายการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านตามหลักสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย ร่วมกับการถามตอบ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และได้ลงมือปฏิบัติร่วมกัน ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับ การศึกษาของ อรพินท์ พรหมวิเศษ (2559) ได้ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออก โดยใช้เทคนิคกระบวนการ Appreciation Influence Control: บ้านช่องอินทนิน หมู่ 10 ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอ วิภาวดีจังหวัด สุราษฎร์ธานี พบว่าการเปรียบเทียบความรู้ เรื่องโรคไข้เลือดออกหลังอบรมอยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 75.00 และยัง สอดคล้องกับการศึกษาของ ญาดา ขลัง (2560) ได้ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของโปรแกรมหาดบายนวลหอมในการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ในบ้านหาดบาย ตำบลริมโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พบว่ากลุ่มทดลองหลังจากได้รับโปรแกรม หาดบ้ายนวล หอมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนป้องกันโรคไข้เลือดออกมากกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value <0.001

109


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากเมื่อได้ให้กลุ่มตัวอย่างได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก และการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5ป. 1ข. โดยการใช้สื่อรู ปภาพ การบรรยายการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ของบ้านตามหลักสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย ร่วมกับการถามตอบ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และได้ลงมือปฏิบัติ ร่วมกัน ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งการทำกิจกรรมประกวดบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลายทำให้กลุ่ม ตัวอย่างมี ทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการจัดบ้านเรือนตามหลักสุขาภิบาลที่พักอาศัย ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเพิ่มขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น ท่านคิด ว่าถ้าเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนของท่านควรจะเป็นความรับผิดชอบของอาสาสมัครสาธารณสุข หลังจากการเข้าร่วม กิจกรรมทำให้กลุ่มตัวอย่างมีความเชื่อว่าถ้าเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชน ควรจะเป็นความรับผิดชอบของทุกคน และหาก ท่านเป็นโรคไข้เลือดออกแล้วจะไม่เป็นโรคไข้เลือดออกอีก หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมทำให้กลุ่มตัวอย่างมีความคิดว่าหากเป็นโรค ไข้เลือดออกแล้วจะไม่เป็นโรคไข้เลือดออกอีก สอดคล้องกับการศึกษาของ ญาดา ขลัง (2560) ได้ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของ โปรแกรมหาดบายนวลหอมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในบ้านหาดบาย ตำบลริมโขง อำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย พบว่ากลุ่มทดลองหลังจากได้รับโปรแกรมหาดบ้ายนวล หอมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนป้องกันโรคไข้เลือดออกมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value <0.001 และยัง สอดคล้องกับการศึกษาของ รุจิเรศ วงศ์เล็ก (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับผลของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อความรู้ ทัศนคติ และการ ปฏิบัติของแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า ทัศนคติใน การป้องกันโรคไข้เลือดออกของแกนนำชุมชนก่อนทดลองอยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย 3.02) หลังทดลองมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้นอยู่ใน ระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.68) คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างมีการเรียนรู้ร่วมกัน มีการร่วมกันเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยผู้วิจัยและแกนนำได้ทำการเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกลงเชิญชวนให้ครัวเรือนทุกครัวเรือนมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุก ๆ 7 วัน มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และมีการแจกทรายกำจัดลูกน้ำให้แต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบการ การทำกิจกรรมความสะอาดรอบ ๆ หมู่บ้าน โดยผู้วิจัย ประชาชนในหมู่บ้าน แกนนำ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คุณครูและ นักเรียนของโรงเรียนบ้านนาโตง และพระภิกษุสงฆ์ของสำนักสงฆ์บ้านนาโตง ร่วมกันทำความสะอาด เก็บขยะ กำจัดแหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และให้ตัวแทนครัวเรือนเป็นคนสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตนเองด้วย เช่น การใส่ทรายกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ บรรจุน้ำที่ไม่มีฝาปิด เป็นต้น ทำให้ประชาชนในชุมชนได้เห็นและตระหนักถึงการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ควรจะ เกิดขึ้น ส่งผลให้การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจกรรม สอดคล้องกับการศึกษาของ ญาดา ขลัง (2560) ได้ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลของโปรแกรมหาดบายนวลหอมในการป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ในบ้านหาดบาย ตำบลริมโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายพบว่ากลุ่มทดลองหลังจากได้รับโปรแกรม หาดบ้ายนวล หอมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนป้องกันโรคไข้เลือดออกมากกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p - value <0.001 และยังสอดคล้องกับการศึกษาของ กูอัณวาร์ กูเมาะ (2559) ได้ ศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกหมู่บ้านบางหมู ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี พบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในทุกระยะของการดำเนินการ โดยไม่พบผู้ปว่ ย ไข้ เ ลื อ ดออก ค่ า HI= 6.63, CI = 0 อยู ่ ใ นเกณฑ์ ป กติ 3. ผลการวิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บค่ า HI (House index) และค่ า CI (Container index) ก่อน ระหว่าง และหลังการดำเนินกิจกรรม

110


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ค่า HI (House index) และค่า CI (Container index) พบว่า หลังการดำเนินกิจกรรมมีการสำรวจพบค่าดัชนีลูกน้ำ ยุงลาย (HI = 7.89, CI = 0) ลดลงจากก่อนการดำเนินกิจกรรม (HI = 31.58, CI = 6.82) เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างได้รับความรู้ เกี่ยวกับการการป้องกันโรคไข้เลือดออกการใช้สื่อรูปภาพ การบรรยายการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านตามหลักสุขาภิบาลที่อยู่ อาศัย ร่วมกับการถามตอบ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และได้ลงมือปฏิบัติร่วมกัน กระตุ้นให้เกิดการเล็งเห็นถึง ความสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ร่วมกันเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ประกอบการทำกิจกรรมความ สะอาดรอบ ๆ หมู่บ้าน เก็บขยะ กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และให้ตัวแทนครัวเรือนเป็นคนสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตนเอง ด้วย ทำให้ประชาชนในชุมชนมีการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เ ลือดออกด้วยการนำหลัก 5ป. 1ข. มาปฏิบัติ คือ 1) ปิด ปิด ภาชนะน้ำกิน น้ำใช้ให้มิดชิดหลังใช้ทุกครั้งเพื่อป้องกันยุงลายลงไปวางไข่ 2) เปลี่ยน เปลี่ยนน้ำในแจกัน ถังเก็บน้ำ ทุก 7 วันเพื่อ ตัด วงจรลูกน้ำที่จะกลายเป็นยุง 3) ปล่อย ปล่อยปลากินลูกน้ำในภาชนะใส่น้ำถาวร เช่น อ่างบัว ถังซีเมนต์เก็บน้ำขนาดใหญ่ 4) ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ปลอดโปร่ง โล่ง สะอาด ลมพัดผ่าน ไม่เป็นที่เกาะพักของยุงลาย และ 5) ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัย ส่วน 1 ข. คือ ขัด ไข่ของยุงลายที่ติดอยู่กับตามผนังภาชนะใส่น้ำ ส่งผลให้ค่า HI (House index) และค่า CI (Container index) ลดลง จากก่อนการดำเนินกิจกรรม สอดคล้องกับการศึกษาของ กูอัณวาร์ กูเมาะ (2559) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกหมู่บ้านบางหมู ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนมี ส่วนร่วมต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในทุกระยะของการดำเนินการ โดยไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ค่า HI= 6.63, CI = 0 อยู่ในเกณฑ์ปกติ และยังสอดคล้องกับการศึกษาของ รุจิเรศ วงศ์เล็ก (2558) ได้ศึกษาผลของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่าค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายก่อนทดลอง ในกลุ่มทดลอง มีค่า HI, CI เท่ากับ 80.00, 71.67 หลังทดลอง กลุ่มทดลอง มีค่า HI และ CI เท่ากับ 0 สรุปและข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา 1.1 จากการศึกษาครั้งนี้สามารถปรับเปลี่ยนความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตน และลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายได้ เนื่องจาก ศึกษาชุมชน และมีแกนนำ อสม. เชิญชวนกลุ่มตัวอย่างเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรม เพราะฉะนั้นควรศึกษาบริบท ชุมชน และมีแกนนำการในการทำกิจกรรมต่าง ๆ 1.2 ในการสำรวจลูกน้ำยุงลายควรให้บุคคลในครอบครัวที่มองเห็นได้ชัดเจนหากครัวเรือนใดมีแต่ผู้สูงอายุที่มองไม่เห็น ควรให้ อสม.หรือเพื่อนบ้านมาช่วยสำรวจลูกน้ำยุงลายให้ 1.3 ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยื่นยืนเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 2.1 ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการเพิ่มกิจกรรมในการดำเนินการวิจัยให้มีความหลากหลายและแปลกใหม่จากกิจกรรม ที่เคยทำมา 2.2 ควรมีการพัฒนากิจกรรมการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ให้เหมาะสมกับบริบทชุมชน 2.3 ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการขยายผลการศึกษากิจกรรมการมีส่วนร่วมในป้องกันโรคไข้เลือดออกสู่ชุมชนอื่น ๆ ที่ มีบริบทใกล้เคียงกัน เพื่อยืนยันผลของกิจกรรม และเพื่อให้เกิดความหลากหลายของชุมชนที่สามารถใช้กิจกรรมการมีส่วนร่วมใน ป้องกันโรคไข้เลือดออกได้

111


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ผู้นำหมู่บ้าน และประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรังที่ให้ความ ร่วมมือในการมีส่วนร่วมในการทำวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมโรค. (2561). สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประจำสัปดาห์ที่ 52 ปี 2561. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2561, จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor/6f4922f45568161a8cdf4 ad2299f6d23/files/ Dangue/Situation/2561/DHF%2052(1).pdf. กูอัณวาร์ กูเมาะ. (2559). การวิจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกหมู่บ้าน บางหมู ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระจังหวัดปัตตานี. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาล พระปกเกล้า, 3(3), 219 – 228. ญาดา ขลัง. (2560). ประสิทธิผลของโปรแกรมหาดบ้ายนวลหอมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในบานหาดบ้ายตำบลริมโขง อำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ไม่ได้ ตีพิมพ์, มหาวิทยาลัยนเรศวร. รุจิเรศ วงศ์เล็ก. (2558). ผลของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของแกนนำ ชุมชนในการป้องกัน ไข้ เ ลื อ ดออก ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวี ย งสระ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี . วารสารการพั ฒ นาสุ ข ภาพชุ ม ชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3(2), 273-291. สำนั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด ตรั ง . (2561). อั ต ราป่ ว ยโรคไข้ เ ลื อ ดออกปี 2561. สื บ ค้ น เมื ่ อ 10 ธั น วาคม 2561, จาก http://www.tro.moph.go.th/index2.php. สมชาย แสงสิ ม มา. (2553). โครงการสั ป ดาห์ ร ณรงค์ ป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคไข้ เ ลื อ ดออก. หนองบัวลำภู: โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนภูทอง ตำบลวังทอง อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู. อรพินท์ พรหมวิเศษ. (2559). กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยใช้เทคนิคกระบวนการ Appreciation Influence Control: บ้านช่องอินทนิน หมู่ 10 ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอ วิภาวดีจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(26), 167-183.

112


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อุบลวรรณ กงมะลิ, นนทิยา ยะหัวฝาย, รัศมี สุขนรินทร์*, กฤษฎนัย ศรีใจ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก Corresponding author*: rassamee.pom@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ: ประเทศไทยมีผู้สูงอายุประมาณ 11.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งจะก้าวเป็นสังคม ผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2564 ร่างกายของสูงอายุจะเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อม เกิดปัญหาสุขภาพง่ายขึ้น รายได้ สถานะ และบทบาททางสังคมลดลง ทั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุไทยเมื่อมีอายุมากขึ้นกลับมีความสุขลดลง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับความสุข และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุ ในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วิธีวิจัย: การวิจัยเชิงสำรวจ แบบ ภาคตัดขวางเชิงพรรณนา (Descriptive cross-sectional studies) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน โดยวิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินคุณค่าในตนเอง การ รับรู้ภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินความสุข วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้วยสถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ สถิติเชิงอนุมานเพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ (Chi-square) และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 64.24 ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษา อาชีพเกษตรกรรม รายได้ต่อเดือน 1001-2000 บาท มีรายรับไม่เพีย งพอ แต่ไม่มีหนี้สิน มีโรคประจำตัว พบว่ามี ความสุขในระดับมาก รองลงมาคือระดับปานกลาง และระดับต่ำ ร้อยละ 66, 32.6 และ 1.4 ตามลำดับ และพบว่าสถานภาพสมรส ความเพียงพอของรายรับ การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ต่อความสุข ของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.01) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย : ครอบครัวและผู้เกี่ยวข้อง ควรจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของตนเองที่มีต่อครอบครัว สังคม สนับสนุนให้มีกิจกรรมและบทบาทร่วมกับ ครอบครัว สังคม และกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน ทั้งนี้ตัวผู้สูงอายุเองควรให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเองให้เหมาะสม ตามวัย ไม่ปล่อยให้เจ็บป่วยจนไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ มองเห็นคุณค่าในตนเองที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับครอบครัวและ สังคมโดยรวม เพราะสิ่งเหล่านี้จะทำให้รู้สึกมีความสุขทั้งในอดีตที่ผ่านมาและในอนาคตที่จะมาถึง คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ, ความสุข, ความสุขของผู้สูงอายุ

113


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Factors Related to Happiness among Elderly, Wongtong district, Phitsunulok province Ubonwan kongmali, Nonthiya Yahuafai, Rassamee Suknarin*, Kridanai Srejai Sirindhorn College of Public Health, Phitsanulok Corresponding author: rassamee.pom@gmail.com Abstract Introduction: Elderly population is approximately 11.7 million or 17.1 % of Thailand population. Aging society of Thailand is completely estimated in 2021. Moreover, previous studied show that happiness was decreased among elderly people. Objective: To investigate happiness levels and factors associated with happiness among elderly in Wongtong district, Phitsunulok province. Methodology: A Cross sectional study was conducted in 368 elderly people. Multi-stage random sampling was collected. A questionnaire was use to investigate, self-assessment, health condition awareness, social supportment and happiness assessment. Data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistic. Results:Most of participants were women, average aged 64.24 years, married, gratduaded from primary school, worked in agriculture field which recieved 1,001-2,000 THB monthly, their income wasn’t enoungh however they ddin’t have debt and mostly have chronic Disease. The results showed that participants were high happiness level, intermediate and low level (66, 32.6 and 1.4 percentage following) and founded that the marital status, sufficiency income, self-esteem, health awareness and social supportment were related to happiness of elderly significance at level 0.01 Discussion and conclusion: Family and other who related with the elderly should conduct activities which encourage them to see their worth and benefit that they have for their family. Society should promote to conduct some activity and role with their family, social, and elderly. However eldery should attach great importance and take care of their own health in proper way. They should recognize their own worth that could makde benefits to their family and thier society. From reasons mentions above, these will make them feel happier from the past to future. Keywords: Elderly, Happiness, Happiness of Elderly

114


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุ (Aging society) เรียบร้อยแล้ว โดยมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุมากเป็นอันดับ สองของภูมิภาคอาเซียน ในปี พ.ศ.2560 มีผู้สูงอายุ จำนวน 11.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ซึ่งคาดว่าจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดย สมบูรณ์ (Complete-Aged Society) ในปี พ.ศ.2564 และเป็นสังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด ในปีพ.ศ. 2579 โดยคาดว่าจะผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 1 ล้านคน (วารสารข้าราชการสำนักงาน ก.พ., 2561) วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมลง เสี่ยงต่อการเกิด ปัญหาสุขภาพและเกิดโรคได้ง่าย การเปลี่ยนแปลงสถานะและบทบาททางสังคมที่ลดลง รวมถึง การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจที่ รายได้ลดลงจากการเกษียณอายุจากงานที่ทำ สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้ผู้สูงอายุอาจรู้สึกสูญเสียคุณค่าของตนเอง ดังนั้นครอบครัวและ สังคมควรตระหนักถึงการสร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้ท่านเหล่านั้นรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่าและเป็นภาระต่อสังคม ทำให้เกิด ความรู้สึกภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการทำประโยชน์ให้กับครอบครัว สังคม และประเทศชาติ เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมี ความสุข ความสุขเป็นภาวะที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ซึ่ งมีความหมายที่ใกล้เคียงกับคำว่า ความพึงพอใจใน ชีวิต ความผาสุกทางใจ (จิตนภา ฉิมจินดา, 2556) มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาที่จะดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข โดยความสุขภายใต้ แนวคิดของ Subjective well-being เป็นความรู้สึกภายในที่ดีจากเป้าหมายการดำเนินชีวิต ประกอบด้วยองค์ ประกอบ 1) ความ พึงพอใจในชีวิต ในสิ่งที่ตนเป็น และสามารถทำได้ตามมาตรฐานที่ตนเองเป็นผู้กำหนด 2) อารมณ์ทางบวก คือการที่บุคคลมีอารมณ์ และความรู้สึกที่ดี ตรงกับความปรารถนาที่จะกระทำในการดำเนินชีวิตของตนเอง 3) อารมณ์ทางลบ คือการที่บุคคลมีอารมณ์และ ความรู้สึกที่เป็นทุกข์กับสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต เช่น ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล (Diener, 1984 อ้างถึงใน ณัฐกานต์ สำเนียงเสนาะ, 2556) อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก มีประชากร จำนวน 82,892 คน เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 17,201 คน ร้อยละ 20.75 ถือว่าเข้า สู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แล้ว ทั้งนี้ผู้สูงอายุตอนต้น มีจำนวน 9,503 คน คิดเป็นร้อยละ 11.45 คน (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพิษณุโลก, 2562) จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผ่านมาพบว่า ยังไม่มีการศึกษาเรื่องความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เพื่อนำผลการวิจัย ที่ได้ไปใช้เป็นประโยชน์ในการสร้างสุขให้ผู้สูงอายุต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับความสุขของผู้สูงอายุ ในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 2. เพื่อศึกษาปัจจัยทีม่ ีความสัมพันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุ ในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) แบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional Descriptive Studies) ประชากร เป็นผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี) ในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 9,503 คน กลุ่มตัวอย่าง คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตามตารางเครจย์ซี่ และมอร์แกน ได้จำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยการ สุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือวิจัย เป็นแบบสอบถาม ทั้งหมด 5 ส่วน ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมิน การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินความสุข ฉบับสั้น ของกรมสุขภาพจิต รวมจำนวน 56 ข้อ

115


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ด้วยการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การวิจัย (IOC: Index of Item Objective Congruence) ทุกข้อมี คะแนน ≥ 0.5 การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยนำเครื่องมือไปทดลองใช้ (Try out) กับผู้สูงอายุที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน พบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach α – Coefficient) เท่ากับ 0.89 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยลงพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตัวเอง ผ่านการนัดหมายของ อสม. ผู้วิจัยแนะนำตนเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์ ขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล และพิทักษ์สิทธิ์ผู้ให้ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาด้วยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลส่วนบุคคล วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยอื่น ๆ กับระดับความสุขของผู้สูงอายุ สถิติเชิงอนุมาน ด้วยสถิติไคสแควร์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.8 อายุเฉลี่ย 64.24 ปี สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 73.4 จบระดับประถม ศึกษา ร้อยละ 88 อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 29.8 ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือน 1001-5000 บาท ร้อยละ 26.4 ส่วนใหญ่รายรับไม่ เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 69 ไม่มีหนี้สิน ร้อยละ 57.1 มีโรคประจำตัวร้อยละ 51.9 รับการรักษาต่อเนื่องและรับประทานยา สม่ำเสมอ ร้อยละ 48.9 ตารางที่ 1 จำนวน และร้อยละข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลส่วนบุคคล

จำนวน (n=368)

ร้อยละ

220 148

59.8 40.2

199 169

54.1 45.9

270 57 29 12

73.4 15.5 7.9 3.3

เพศ เพศหญิง เพศชาย อายุ (ปี) 60 – 64 ปี 65 -69 ปี สถานภาพสมรส คู่ หม้าย โสด หย่า/แยก

116


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 1 จำนวน และร้อยละข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ) ข้อมูลส่วนบุคคล ระดับการศึกษาสูงสุด ไม่ได้เรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อนุปริญญาตรี/ปวส. ปริญญาตรีขึ้นไป อาชีพหลัก เกษตรกรรม ไม่มีอาชีพ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย/ธุรกิจ ข้าราชการบำนาญ พระภิกษุสงฆ์ รายได้ประจำต่อเดือน (บาท) 0-1000 1001-5000 5001--10000 มากกว่า 10000 ความเพียงพอของรายได้ ไม่เพียงพอ เพียงพอ การมีหนีส้ ิน ไม่มีหนี้สิน มีหนี้สิน โรคประจำตัว มี ไม่มี

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวน (n=368)

ร้อยละ

26 324 13 1 4

7.1 88 3.5 0.3 1.1

110 108 79 62 7 2

29.8 29.3 21.5 16.8 1.9 0.5

66 97 60 55

17.9 26.4 16.3 14.9

254 114

69 31

210 158

57.1 42.9

191 177

51.9 48.1

117


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 จำนวน และร้อยละข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ) ข้อมูลส่วนบุคคล สถานการณ์การรักษาต่อเนื่อง รักษาต่อเนื่องตามนัดและรับประทานยาสม่ำเสมอ รักษาต่อเนื่องตามนัดแต่รับประทานยาไม่สม่ำเสมอ รักษาไม่ต่อเนื่องแต่รับประทานยาสม่ำเสมอ รักษาไม่ต่อเนื่องและรับประทานยาไม่สม่ำเสมอ

จำนวน (n=368)

ร้อยละ

180 6 1 4

48.9 1.6 0.3 1.1

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการเห็นคุณค่าในตนเอง อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̅ = 4.27 S.D. =0.63) การรับรู้ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม อยู่ในระดับมาก ( x̅ = 3.77 S.D. =0.81, x̅ = 4.16 S.D. =0.71) ตามลำดับ ตารางที่ 2 ค่าคะแนนเฉลี่ยและระดับของปัจจัยด้านต่าง ๆ ปัจจัยด้านต่าง ๆ การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุข การสนับสนุนทางสังคม

x̅ 4.27 3.77 4.16

S.D. 0.63 0.81 0.71

การแปลผล มากที่สุด มาก มาก

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีความสุขอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 66 รองลงมา คือมีความสุขในระดับปานกลาง และระดับน้อย ร้อยละ 36.4 และ 1.4 ตามลำดับ ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละระดับความสุขของกลุ่มตัวอย่าง ระดับความสุข มีความสุขต่ำ (ต่ำกว่า 42 คะแนน) มีความสุขปานกลาง (43-49 คะแนน) มีความสุขมาก (50-60 คะแนน)

จำนวน 5 120 243

ร้อยละ 1.4 32.6 66

ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ ได้แก่สถานภาพสมรส และความเพียงพอของรายรับ มี ความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ปัจจัยด้านการเห็น คุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคมมีความพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัด พิษณุโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01)

118


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 4 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขของกลุ่มตัวอย่าง ปัจจัย สถานภาพสมรส ความเพียงพอของรายได้ การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม

ความสุขของผู้สูงอายุ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ (r) p-value 0.005 0.020 0.523** <0.001 0.280** <0.000 0.459** <0.000

**p-value<0.01

อภิปรายผล จากการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่ มีความสุขในชีวิตระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ผู้สูงอายุเหล่านี้ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวและคนใกล้ชิด เนื่องจากส่วนใหญ่อาศัยอยู่รวมกันเป็นครอบครัวกับลูกหลาน ถึงแม้บางครอบครัวไม่ได้อาศัยอยู่ด้วยกันกับผู้สูงอายุแต่ก็มีการมาเยี่ยมหาเป็นประจำ นอกจากนี้ยังมีเพื่อนบ้านที่คอยช่วยเหลื อซึ่ง กันและกันสม่ำเสมอ และพบว่าสถานภาพสมรสของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กับความสุข โดยผู้สูงอายุที่มีสถานภาพสมรสคู่มีสัดส่วน ของความสุขในระดับมากมากกว่าผู้สูงอายุที่มีสถานภาพโสด หม้าย และหย่าหรือแยก ทั้งนี้เป็นเพราะผู้สูงอายุที่มีสถานภาพสมรสคู่ มีคู่ชีวิตคอยช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน มีเพื่อนช่วยคิด ช่วยวางแผน ช่วยปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีเพื่อนพูดคุยทำให้มีกำลังใจใน การดำเนินชีวิต ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้องกับการศึกษาของ สุธรรม นันทมงคลชัย และคณะ (2553) ที่พบว่าสถานภาพสมรสมี ความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ และการศึกษาของ ระวิวรรณ แสงฉาย และคณะ (ม.ป.ป.) ที่พบว่าสถานภาพสมรสมี ความสัมพันธ์กับความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่าความเพียงพอของรายได้มีความสัมพันธ์กับความสุข ของผู้สูงอายุทั้งนี้เป็นเพราะรายได้ที่เพียงพอเป็นสิ่งที่บ่งบอกสถานะทางเศรษฐกิจของผู้สูงอายุ รายได้ที่เพียงพอเป็นปัจจัยที่มีความ จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการตอบสนองความต้องงการขั้นพื้นฐานด้านต่าง ๆ ซึ่งผลการวิจัยที่พบมี ความแตกต่างจากการศึกษาของณัฐกานต์ สำเนียงเสนาะ (2556) ที่พบว่าความเพียงพอของรายได้ไม่มี ความสัมพันธ์กับความสุข ของผู้สูงอายุ การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ ซึ่งสามารถอธิบายได้ตามแนวคิดของ คูเปอร์สมิธ (Coopersmith, 1984 : 5) ที่ว่าความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองเป็นการตัดสินความมีคุณค่าของตนเอง ซึ่งแสดงถึงเจตคติของบุคคล มีต่อตนเอง เป็นการยอมรับหรือไม่ยอมรับตนเอง และแสดงถึงขอบเขตของความเชื่อที่บุคคลมีต่อความสามารถ ความสำคัญ ความสำเร็จ และความมีค่าของตนเอง ซึ่งเมื่อเกิดความรู้สึกภูมิใจในตนเองและรู้สึกว่าชีวิตมีความหมายก็จะส่งผลให้ผู้สูงอายุรู้สึกมี ความสุข โดยข้อค้นพบจากการวิ จัยสอดคล้องกับการศึกษาของ ณัฐกานต์ สำเนียงเสนาะ (2556) ที่พบว่าความรู้สึกมีคุณค่าใน ตนเองมีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ การรับรู้ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ ซึ่งอธิบายได้ตามแนวคิด เพนเดอร์ (Pender, 2011) ที่ กล่าวว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพ เป็นส่วนของการสังเกตสถานภาพของสุขภาพ เป็นความคิดเห็นและความเข้าใจของบุคคลเกี่ยวกับ สุขภาพ และประเมินระดับภาวะสุขภาพของพวกเขาที่มีผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ พฤติกรรม ดูแลตนเอง และเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลพฤติกรรมความรับผิดชอบและเอาใจใส่ในการดูแลตนเอง ซึ่งผู้สูงอายุที่รับรู้ภาวะสุขภาพ

119


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตนเองจะรู้แนวทางการส่งเสริมสุขภาพตนเอง รวมถึงการป้องการไม่ให้เกิดโรคขึ้นใหม่หรือไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในกรณีที่ มีโรค ประจำตัวอยู่ ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความสุขได้ ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ ณัฐกานต์ สำเนียงเสนาะ ( 2556) ที่พบว่า ความการรับรู้ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ การสนับสนุนทางทางสังคมมีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ อธิบายได้ว่าการที่ผู้สูงอายุได้ความรัก การดูแลเอาใจ ใส่ ความเคารพนับถือ จากครอบครัว และสังคม รวมถึงการได้รับการสนับสนุนสิ่งของ เงินทอง หรือการบริการด้านสุขภาพ จาก หน่วยงานต่าง ๆ เช่น องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน รวมถึงผู้นำชุมชน อสม. จะทำให้ผู้สู งอายุมี ความสุขได้ ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้อง กับการศึกษาของ จิตนภา ฉิมจินดา (2556) ที่พบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ ทางบวกในระดับปานกลาง กับ ความสุขในชีวิตของผู้อายุ และสอดคล้องกับการศึกษาของ อัมพร เครือเอม (2561) ที่พบว่าแรง สนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสุขของผู้สูงอายุ สรุปและข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าสถานภาพสมรส ความเพียงพอของรายได้ การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ และ การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุ ดังนั้น ครอบครัวและผู้เกี่ยวข้องในชุม ชน ควรจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของตนเองที่มีต่อครอบครัว สังคม สนับสนุนให้มีกิจกรรม และบทบาทร่วมกับ ครอบครัว สังคม และกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน ทั้งนี้ตัวผู้สูงอายุเองควรให้ความสำคัญในกิจกรรมต่างๆ ควรดูแลเอาใจใส่สุขภาพของ ตนเองให้เหมาะสมตามวัย ไม่ปล่อยให้เจ็บป่วยจนไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ มองเห็นคุณค่าในตนเองที่สามารถสร้างประโยชน์ ให้กับครอบครัวและสังคมโดยรวม เพราะสิ่งเหล่านี้จะทำให้รู้สึกมีความสุขทั้งในอดีตที่ผ่านมาและในอนาคตที่จะมาถึง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาที่ครอบคลุมของประชากรผู้สูงอายุทุกช่วงวัย ทั้งผู้สูงอายุตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย เพื่อหาข้อ แตกต่างและหาแนวทางเพื่อส่งเสริมระดับความสุขให้กับช่วงวัยอื่น ๆได้ 2. ควรมีการศึกษาเชิงคุณภาพมาประกอบ เพื่อจะได้ข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความสุขในเชิงลึก เอกสารอ้างอิง จิตนภา ฉิมจินดา. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดนครปฐม. (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต, คณะพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัยคริสเตียน). ณัฐกานต์ สำเนียงเสนาะ. (2556). ปัจจัยทำนายความสุขของผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต, คณะพยาบาลศาสตรมหาลัยวิทยาลัยบูรพา). ระวิวรรณ แสงฉาย และคณะ. (ม.ป.ป.). ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. (ปริ ญ ญานิ พนธ์มหาบัณฑิต , คณะสาธารณสุขศาสตรมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, คณะสาธารณสุขศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล และคณะสาธารณสุขศาสต รมหาวิทยาลัยชินวัตร). วารสารข้าราชการสำนักงาน ก.พ. (2561). ภาครัฐกับการเตรียมความพร้อมเข้าสูงสังคมสูงวัย. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2562. จาก https://www.ocsc.go.th/download/2561 สุธรรม นันทมงคลชัย และคณะ. (2553). ความสุขและวิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศ ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วิฑูรย์การปก (1997) จำกัด.

120


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก. (2562). ฐานข้อมูลประชากร. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2562. จาก http://www.plkhealth.go.th อัมพร เครือเอม. (2561). ความสุขในชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี . หัวหินสุขใจไกลกังวล. 3(1). สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2562. จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/hhsk/article/dowload/175204/125347/ Coopersmith, S. (1984). SEI: Self-esteem Inventories. Pato Alto, CA: Consulting Psychologist Press. Pender, N. J., Murdaugh, C. L., & Parsons, M. A. (2011). Health promotion innursing practice (6th ed.). New Jersey: Pearson Education, Inc.

121


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา1, วีณา จันทรสมโภชน์1, จิรวัฒน์ สุดสวาท1, ผุสดี ละออ2, ธิติพงษ์ สุขดี3 1 วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2 สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ *Corresponding author E-mail: wanvisa.sa@ssru.ac.th บทคัดย่อ บทนำ : ภาวะซึมเศร้าก่อให้เกิดความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลถือเป็นความเปราะบาง ด้านจิตใจทีอ่ าจส่งผลต่อชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุทมี่ ีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของภาวะซึมเศร้าและมีความเสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตายซึ่งนําไปสู่ความสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของการเสียชีวิตในที่สุด วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้า และปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดสมุทรสงคราม วิธีวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ กลุ ่ ม ตัว อย่ า งเป็ น ผู้ สู งอายุ จำนวน 252 คน ในพื ้ น ที ่ ต ำบลแห่ งหนึ่ ง อำเภอเมื อ ง จั งหวั ด สมุ ท รสงคราม เก็บ ข้อ มู ลโดยใช้ แบบสอบถาม ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลทั่วไป และแบบวัดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric depression Scale, TGDS30) สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ตามวิธีของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) และสถิติฟิชเชอร์ (Fisher’s Exact Test) ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีระดับความซึมเศร้าระดับปกติร้อยละ 73.4 ระดับซึมเศร้าเล็กน้อยร้อยละ 21.4 ระดับซึมเศร้าปานกลางร้อยละ 4.8 และระดับซึมเศร้ารุนแรงร้อยละ 0.4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัย ทางด้านบุคคล พบว่า รายได้มีความสัมพันธ์เชิงลบอยู่ระดับต่ำมากกับภาวะซึมเศร้า อย่า งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.192) ส่วนปัจจัยด้านอายุ เพศ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่อาศัย และโรคประจำตัวของ ผู้สูงอายุ พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 26.6 และปัจจัยที่ทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้า ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่อาศัย และรายได้ ซึ่งสามารถนำผลการวิจัยมาใช้วางแผนและเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต และส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สงู อายุ ที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ต่อไป คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ, ภาวะซึมเศร้า, ปัจจัย

122


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Factors relating to Depression among Elderly in one Sub-District area of Mueang District Samut Songkhram Province Wanvisa Saisanan Na Ayudhaya1, Veena Chantarasompoch1, Jirawat Sudsawart1, Pussadee Laor2, Thitipong Sukdee3 1

College of Allied Health Sciences, Suan Sunandha Rajabhat University 2 School of Health Science, Mae Fah Luang University 3 Faculty of Education, Thailand National Sports University *Corresponding author E-mail: wanvisa.sa@ssru.ac.th

Abstract Introduction: Depression is considered a psychological fragility that could affect their daily lives. This caused great economic loss and medical expenses. Especially, among the elderly who have a tendency to increase depression and are at increased risk of suicide, which eventually leads to an increase in deaths. Objective: To examine the level and factors associated with depression among the elderly in Samut Songkhram Province. Methodology: The study was a analytical cross-sectional study. The sample consisted of 252 elderly in one Sub-District area of Mueang District Samut Songkhram Province. Data were collected by using demographic questionnaires and Thai Geriatric Depression Scale (TGDS30). Data were analyzed by using descriptive statistics; frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Correlation Coefficient, and Fisher’s Exact Test. Results: The result showed 73.4% were normal level, 21.4% were mild depression, 4.8% were moderate depression and 0.4% were severe depression. Factors which remained significantly related to depression in older people was a significant negative associated was found income (r=-.192) were significantly at level p<.05. However, age, gender, religion, marital status, education level, occupation, living status and underlying disease factors have no significant associative with depression. Discussion and conclusion: The elderly with total depression were 26.6%. In addition, Factors relating to depression were Marital Status, Education level, Occupation, Living status, and income. The finding of this study can be used for planning and as a guideline for solving mental problems among elderly appropriately. Furthermore, they can be implemented in developing mental health service for Thai elderly in the future. Keyword: Elderly, Depression, Factors

123


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ประเทศไทยได้กลายเป็น “สังคมสูงวัย” มาตั้งแต่ปี 2548 แล้ว เมื่อสัดส่วนประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) สูงถึงร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” เมื่อประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมีมากถึงร้อยละ 20 ในปี 2564 หรือในอีกเพียง 7 ปีข้างหน้า และคาดว่า จะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในอีกไม่ถึง 20 ปีข้างหน้านี้เมื่อประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนถึงร้อยละ 28 ของประชากร ทั้งหมด (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2557) เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามมามากมาย ในด้าน ร่างกายพบการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะส่วนต่างๆที่เกิดจากกระบวนการสูงอายุแสดงให้เห็นชัดเจนในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป ส่วน ในด้านจิตใจ ผู้สูงอายุอาจได้รับอิทธิ พลจากภาวะสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ สังคม ความบกพร่องของอวัยวะรับ ความรู้สึกเป็นอุปสรรคต่อการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม อาจเกิดความรู้สึกไร้ค่า แยกตัว นำไปสู่อาการซึมเศร้าใน ผู้สูงอายุซึ่งพบถึงร้อยละ 20 (วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์, 2551) ภาวะซึมเศร้าก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ 43 พันล้ านเหรียญต่อปี เป็นการสูญเสียไปกับค่ารักษาพยาบาล 12 พันล้านเหรียญ เกิดความสูญเสียทางอ้ อม คือ เกิดจากการขาดงาน หรือ ไม่ สามารถทํางาน 8 พันล้านเหรียญ จะเห็นได้ว่า โรค ซึมเศร้า ทําให้เกิดผลกระทบในหลายทาง ทั้งในแง่การสูญเสีย โดยตรงกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และการสูญเสียทางอ้อม จากการที่ผู้ป่วยไม่สามารถทําางานได้ และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ข้อมูลจากการศึกษาต่ างๆ พบว่า โรคซึมเศร้ าในผู้สูงอายุมี ความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงต่ อการเกิดทุพพลภาพ การเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงต่ อการฆ่าตัวตาย การเสื่อมลงของ สุขภาพ การเสื่อมลงของความคิดความจํา และ ความสามารถทางสังคม ซึ่งทั้งหมดนี้จะนําไปสู่ความสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของการ เสียชีวิตในที่สุด (Blazer DG, 2003 and Kouzis A, Eaton WW, Leaf PJ., 1995) ภาวะซึมเศร้าถือเป็นความเปราะบางด้านจิตใจ ของผู้สูงอายุ ซึ่งอาจส่งผลต่อชีวิตประจำวัน เช่น นอนไม่หลับ เสียสมาธิ หดหู่ เศร้าหมองไม่อยากทำอะไร ไม่อยากรับประทาน อาหาร ส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกาย ประกอบกับการเผชิญการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้รู้สึกไร้ค่า ว้าเหว่ ถูกทอดทิ้ง ส่งผลต่อ ความรู้สึกและจิตใจซึ่งผู้สูงอายุต้องปรับตัวมากมายให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น สภาวการณ์เช่นนี้ส่งผลกระทบต่อ ผู้สูงอายุโดยเฉพาะต่อสุขภาพจิตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และบ่อยครั้งที่ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุถูกมองว่าเป็นเรื่องปกติ ทำให้ผู้สูงอายุ ทีซ่ ึมเศร้ากลายเป็นภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ทำให้เกิดผลเสียต่อผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ สำหรับจังหวัดสมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่อยู่ในภาคกลาง เป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย มีการประกอบอาชีพอาทิ เช่น อาชีพการทำประมง อาชีพค้าขาย อาชีพทำนาเกลือ โดยสามารถเลี้ยงชีพตัวเองอยู่ได้ จากข้อมูลประชากร ของสำนัก บริหารงานทะเบียน กรมการปกครอง พบว่า ประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป มีจำนวนถึง 8,734,101 คน และดัชนีการสูงวัยอยู่ที่ ร้อยละ 68.77 โดยจังหวัดสมุทรสงครามมีดัชนีการสูงวัยมากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 โดยมีดัชนีการสูงวัยอยู่ที่ร้อยละ 111.30 (กรมการ ปกครอง, 2556) จากความเป็นมาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะทำวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในตำบล แห่งหนึ่ง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม” เพื่อศึกษาถึงภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุและนำผลข้อมูลการวิจัยเป็น ข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สถานบริการสุขภาพ ใช้เป็นแนวทางในการวางแผน ดำเนินงานส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุสืบต่อไป

124


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด สมุทรสงคราม ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้สูงอายุตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสมุ ทรสงคราม จำนวน 684 คน (ข้อมูลจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, 2562) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยใช้การคำนวณขนาดตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ Taro Yamane (1973) ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 252 คน ซึ่งพื้นที่ของตำบลมีทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1, หมู่ 2, หมู่ 3, หมู่ 7 และหมู่ 8 แบ่งตามสัดส่วนประชากรแต่ละหมู่บ้าน (ดังตารางที่ 1) จากนั้นใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธกี าร จับฉลาก โดยกลุ่มตัวอย่างสามารถได้ยิน สื่อสารภาษาไทยได้ และเป็นผู้ยินดีให้ความร่วมมือในการให้ ข้อมูล โดยงานวิจัยครั้งนี้ได้ ผ่านการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ COA.2006/2019 ตารางที่ 1 การสุ่มกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามหมู่บ้าน หมู่ หมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 7 หมู่ 8 รวม

ประชากร (คน) 45 195 226 78 140 684

กลุ่มตัวอย่าง (คน) 17 72 83 29 51 252

ร้อยละ 6.58 28.51 33.04 11.40 20.47 100.00

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่อาศัย และโรคประจำตัว 2. Thai Geriatric Depression Scale; TGDS ของกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพสมองซึ่งพัฒนาโดยกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพสมอง จาก 14 สถาบันทั่วทั้งประเทศซึ่งพัฒนาโดยกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพสมอง โดยนิพนธ์ พวงวรินทร์ และคณะ (2534) มีค่าความเที่ยงตรง รวมเท่ากับ 0.93 มีเกณฑ์การแปลผล 4 ระดับ ได้แก่ คะแนน 0-12 คะแนน เป็นค่าปรกติในผู้สูงอายุของไทย คะแนน 13-18 คะแนน ถือว่าเป็นผู้มีความเศร้าเล็กน้อย คะแนน 19-24 คะแนน ถือว่าเป็นผู้มีความเศร้าปานกลาง และคะแนน 25-30 คะแนน ถือว่าเป็นผู้มีความเศร้ารุนแรง โดยประเมินความรู้สึกของผู้สูงอายุ ในแต่ละคำถามลักษณะคำถามจะเป็นความรู้สึก เกี่ยวกับ ตนเองทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม มีจำนวน 30 ข้อ ทดสอบด้วยตนเองในช่วงระยะเวลา 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา โดยตอบคำถามว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่”มีข้อความที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกทางบวก 10 ข้อ ได้แก่ข้อ 1, 5, 7, 9, 15, 19, 21,

125


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

27, 29, 30 และข้อความเกี่ยวข้องกับความรู้สึกทางลบ 20 ข้อ ได้แก่ ข้อ 2, 3, 4, 6, 8, 10, 11, 12, 13, 14, 16, 17, 18, 20, 22, 23, 24, 25, 26, 28 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เนื่องจากแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทยเป็นเครื่องมือมาตรฐาน ที่นิยมใช้คัดกรองในผู้สูงอายุไทย ซึ่งมีความตรงในการ เป็นแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย จึงไม่ได้หาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) และได้นำเครื่องมือ ไปทดลองใช้กับ กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นเดียวกับกลุ่มตัว อย่างที่ต้องการศึกษาวิจัย จำนวน 30 ราย แล้วนำค่าที่ได้คำนวณหาความ เชื่อมั่น โดยแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale ,TGDS) ตรวจสอบหาความเที่ยงของเครื่องมือ (Reliability) โดยใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาตามวิธีของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่าความเที่ยง 0.81 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ข้อมูลทั่วไปและระดับภาวะซึมเศร้า ใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า ใช้สถิติฟิชเชอร์ (Fisher’s Exact Test) สําหรับ ข้อมูลที่เป็นตัวแปรจัดกลุ่ม ในการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการ อยู่อาศัย และโรคประจำตัวกับภาวะซึมเศร้า และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตามวิธีของเพียร์สัน (Pearson correlation Coefficient) ระหว่างอายุ และรายได้กับภาวะซึมเศร้ า ผู้วิจัยกําหนดเกณฑ์การแปลผลค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Hinkle D. E., 1998) ไว้ดังนี้ ค่า r ระดับของความสัมพันธ์ .90 - 1.00 มีความสัมพันธ์กันในระดับสูงมาก .70 - .90 มีความสัมพันธ์กันในระดับสูง .50 - .70 มีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง .30 - .50 มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ .00 - .30 มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ผลการวิจัย 1. ข้อมูลส่วนบุคคล จากการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ด้านอายุ ผู้สูงอายุมีอายุเฉลี่ย 69.83 ปี ด้านเพศ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 61.9 และเป็นเพศชายร้อยละ 38.1 ด้านศาสนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 98.4 และศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.6 ด้านสถานภาพสมรส ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสหรื อคู่ร้อยละ 62.7 รองลงมามีสถานภาพหม้าย ร้อยละ 23.0 สถานภาพโสดร้อย ละ 11.9 และสถานภาพหย่าร้างหรือแยกกันอยู่รอ้ ยละ 2.4 ด้านระดับการศึกษา ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อย ละ 77.4 มากที่สุด รองลงมาไม่ได้เรียนหนังสือร้อยละ 19.0 ด้านอาชีพ ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไปร้อยละ 35.3 รองลงมาคือ อาชีพค้าขายร้อยละ 19.4 ไม่ได้ประกอบอาชีพร้อยละ 19.0 ด้านลักษณะการอยู่อาศัย ส่วนใหญ่อยู่กับคู่สมรส/บุตรมากที่สุดร้อย ละ 67.1 รองลงมาอยู่กับญาติร้อยละ 25.8 และอยู่ตามลำพังร้อยละ 7.1 ด้านรายได้ ส่วนใหญ่มีค่ามัธยฐานของรายได้เฉลี่ย 800 บาท รายได้ต่ำสุด 600 บาท รายได้สูงสุด 30,000 บาท ด้านโรคประจำตัว ส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวร้อยละ 77.0 และไม่มีโรค ประจำตัวร้อยละ 23.0 (ดังตารางที่ 2)

126


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคล (n=252) ข้อมูลส่วนบุคคล เพศ ชาย หญิง อายุ 60-69 70-79 ≥80 ขึ้นไป ค่าเฉลี่ย= 69.83, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.45, ต่ำสุด= 60, มากสุด = 94 ศาสนา พุทธ คริสต์ สถานภาพสมรส โสด สมรส หม้าย หย่าร้างหรือแยกกันอยู่ ระดับการศึกษา ไม่ได้เรียนหนังสือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุปริญญา / ปวส. ปริญญาตรี / สูงกว่า อาชีพ ไม่ได้ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ประมง ค้าขาย รับจ้างทั่วไป ข้าราชการบำนาญ แม่บ้าน/พ่อบ้าน ธุรกิจส่วนตัว

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวน (คน)

ร้อยละ(%)

96 156

38.1 61.9

137 87 28

54.4 34.5 11.1

248 4

98.4 1.6

30 158 58 6

11.9 62.7 23.0 2.4

48 195 4 2 2 1

19.0 77.4 1.6 0.8 0.8 0.4

48 9 19 49 89 1 32 5

19.0 3.6 7.5 19.4 35.3 0.4 12.7 2.0

127


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ข้อมูลส่วนบุคคล

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวน (คน)

ร้อยละ(%)

18 169 65

7.1 67.1 25.8

224 16 1 11

88.9 6.3 0.4 4.4

58 194

23.0 77.0

ลักษณะการอยู่อาศัย อาศัยอยู่ตามลำพัง อาศัยอยู่กับคู่สมรสและบุตร อาศัยอยู่กับญาติ รายได้ 0-5,000 บาท 5,001-10,000 บาท 10,001-15,000 บาท 15,001 บาทขึ้นไป ค่ามัธยฐาน = 800, ค่าพิสัยควอไทล์ = 2,400, ต่ำสุด = 600, สูงสุด = 30,000 โรคประจำตัว ไม่มีโรคประจำตัว มีโรคประจำตัว

2. ระดับภาวะซึมเศร้า พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีระดับความซึมเศร้าในระดับ ปกติร้อยละ 73.4 โดยมีภาวะซึมเศร้า ระดับเล็กน้อยร้อยละ 21.4 ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางร้อยละ 4.8 และมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรงร้อยละ 0.4 นอกจากนี้ยัง พบว่าคะแนนภาวะซึมเศร้ามีค่าเฉลี่ย 8.32 (S.D. =7.00) (ดังตารางที่ 3) ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้สูงอายุจำแนกตามระดับภาวะซึมเศร้า (n=252) ระดับภาวะซึมเศร้า จำนวน ระดับปกติ (คะแนน 0-12) ระดับเล็กน้อย (คะแนน 13-18) ระดับปานกลาง (คะแนน 19-24) ระดับรุนแรง (คะแนน 25-30) ค่าเฉลี่ย = 8.32, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 7.00

185 55 12 1

ร้อยละ 73.4 21.4 4.8 0.4

3. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า ปัจจัยด้านสถานภาพสมรส ด้านระดับการศึกษา ด้าน อาชีพ และด้านลักษณะการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุพบว่า มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยด้านรายได้ของผู้สูงอายุพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 และมี ความสัมพันธ์กันทางลบ ในระดับต่ำมาก ส่วนปัจจัยด้านอายุ เพศ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่ อาศัย และโรคประจำตัวของผู้สูงอายุ พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กัน (ดังตารางที่ 4)

128


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยส่วนบุคคล โดยใช้สถิติ Pearson correlation และ Fisher’s Exact Test ภาวะซึมเศร้า ปัจจัยส่วนบุคคล Pearson Correlation (r) P-value อายุ .149 .438 รายได้ -.192 .002* Fisher’s Exact Test P-value เพศ 5.711 .097 ศาสนา 2.946 1.000 สถานภาพสมรส 13.407 .144 ระดับการศึกษา 23.050 .525 อาชีพ 28.018 .295 ลักษณะการอยู่อาศัย 7.336 .665 โรคประจำตัว 3.371 .341 อภิปรายผล 1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ส่วนใหญ่มีระดับภาวะซึมเศร้าอยู่ใน ระดับปกติร้อยละ 73.4 ภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยร้อยละ 21.4 ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางร้อยละ 4.8 และมีภาวะซึมเศร้า ระดับรุนแรงร้อยละ 0.4 นอกจากนี้ยังพบว่าคะแนนภาวะซึมเศร้ามีค่าเฉลี่ย 8.32 โดยรวมพบว่ามีผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 26.6 ซึ่งจากการศึกษาทางระบาดวิทยา ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่ กับเกณฑ์การวินิจฉัยที่ผู้วิจัยใช้ในการศึกษาของตนเอง จากการศึกษาที่ผ่านมาในต่างประเทศพบว่า ความชุกของโรคซึมเศร้า ใน ระดับชุมชนของกลุ่มประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป จะอยู่ในช่วงร้อยละ 1-5 ส่วนความชุกของอาการซึมเศร้าที่มีผลอย่าง สำคัญต่อทางคลินิกจะอยู่ในช่วง ร้อยละ 8-16 สำหรับในประเทศไทยนั้น ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา พบว่าค่าความชุกของโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนอยู่ในช่วง ร้อยละ 17.5 - 82.3 ขึ้นอยู่กับประชาชนที่ศึกษาและ เครื่องมือที่ใช้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วใช้เครื่องมือที่วัดอาการซึมเศร้าที่มีผลอย่างสำคัญต่อทางคลินิก โดยในเขตเมืองพบค่าความชุกอยู่ ในช่วงร้อยละ 19.9 - 80.3 ส่วนในเขตชนบทพบค่าความชุกอยู่ในช่วงร้อยละ 17.0 - 84.8 นอกจากนี้โรคซึมเศร้ายังจัดเป็นปัญหา สุขภาพจิตที่พบได้บ่อยที่สุดอย่างหนึ่งในกลุ่มผู้สูงอายุไทยอีกด้วย (เทพฤทธิ์ วงศ์ภูมิ และคณะ, 2554) จากการศึกษาต่างๆที่ผ่านมา พบค่าความชุกสูงกว่าที่ศึกษาในครั้งนี้ และได้ศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โดยใช้เครื่องมือ Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) พบค่าความชุกเป็นร้อยละ 12.8 (Thong tang และคณะ, 2002) สำหรับการศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ เครื่องมือ Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) ซึ่งพบค่าความชุกของภาวะซึมเศร้าที่ได้ คือ ร้อยละ 26.98 ซึ่งเป็นค่าความ ชุกที่คอนข้างสูงเมื่อเทียบกับค่าความชุกที่ได้จากการศึกษาในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เป็นไปได้ว่าจะมีความชุกเพิ่มมากขึ้นใน อนาคต

129


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า ปัจจัยที่มีความความสัมพันธ์ต่อภาวะ ซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ปัจจัยด้านรายได้ของผู้สูงอายุ พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และมีความสัมพันธ์กันทางลบ ในระดับต่ำมาก ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยด้านอายุ เพศ ศาสนา สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่อาศัย และโรคประจำตัวของผู้สูงอายุ พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยพบว่า รายได้ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้า เนื่องจากผู้สูงอายุเมื่อมี อายุมากขึ้น ร่างกายและการ ทำงานของหน้าที่ต่าง ๆ มีความเสื่อมสภาพลงทำให้ไม่สามารถทำงาน หรือทำงานได้ไม่เต็มที่ และทำให้มีรายได้ลดน้อยลงไม่ เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ซึ่งเมื่อรายได้ลดลง ส่งผลให้ภาวะซึมเศร้ามากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับสุจรรยา แสงเขียวงาม (2560) ที่พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้า คือ รายได้ เนื่องจากไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ มีรายได้ลดลง ไม่สอดคล้องกับ รายจ่ายที่เพิ่มขึ้น มีการใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น สรุปและข้อเสนอแนะ ในการศึกษาภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุครั้งนี้ พบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าส่วนใหญ่ มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อย และ ระดับปานกลาง ซึ่งการศึกษาด้านภาวะซึมเศร้าจะมีประโยชน์ทางคลินิก ในการเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าที่อาจจะเพิ่มระดับความ รุนแรงมากขึ้น จนนําไปสู่การฆ่ าตัวตายในผู้สูงอายุ จึงควรเฝ้าระวังและติดตามกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าตั้งแต่ขั้นระดับปาน กลางขึ้นไป โดยจากการศึกษาในภาพรวมพบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 26.6 และปัจจัยที่มีค วาม ความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ คือ รายได้ที่มีความสัมพันธ์กันทางลบ ในระดับต่ำมาก ซึ่งจากผลการวิจัยสามารถ นำมาใช้วางแผนและเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพจิตและส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสภาพ พื้นที่ และควรจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วม ในด้านการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพื่อลด ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า และควรจัดให้มีการเสริมสร้างอาชีพ การเพิ่มรายได้ในกลุ่มผู้สูงอายุ รวมทั้งควรสนับสนุนให้มี การสนับสนุนทางครอบครัว กลุ่มเพื่อน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น เพื่อเสริมสร้างสุขภาพจิต และลดปัญหาภาวะซึมเศร้าอัน อาจเกิดขึ้นในอนาคต อย่างไรก็ตามในการศึกษาต่อไปควรมีการศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุใน เขตชนบทและเขตเมือง เพื่อที่จะนำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยไปใช้ต่อยอดในการทำวิจัยเชิงทดลองหรือกึ่งทดลอง ที่เน้นเรื่องการจัด กิจกรรมช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า เป็นต้น ข้อจํากัด เครื่องมือที่ใช้วัดเป็นแบบสอบถามที่ประเมินด้วยตนเอง ทําให้ข้อมูลมีโอกาสคลาดเคลื่อนได้ตามความรู้สึกของผู้ตอบ ซึ่ง อาจจะไม่ตรงกับความเป็นจริงทั้งหมด กิตติกรรมประกาศ การวิจัยนี้ได้ รับทุนสนับสนุน จากงบประมาณรายได้ ประจําปี งบประมาณ 2562 คณะผู้วิจัยใคร่ ขอขอบพระคุ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ให้ความร่วมมือ ความสะดวกในการเข้าเก็บข้อมูลและผู้สูงอายุทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามเป็นอย่างดี จนงานวิจัยดำเนินสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง กรมการปกครอง. (2556). ข้อมูลประชากรผู้ที่มีสัญชาติไทยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านจากทะเบียนราษฎร์ของสำนักบริหารการ ท ะ เ บ ี ย น . ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง . ส ื บ ค ้ น เ ม ื ่ อ ว ั น ท ี ่ 31 ส ิ ง ห า ค ม 2562, จ า ก https://www.msociety.go.th/article_attach/13225/17347.pdf

130


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เทพฤทธิ์ วงศ์ภูมิ และคณะ. (2554). ความชุกของโรคซึมเศร้าในประชากรสูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ . วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง ประเทศไทย. นิพนธ์ พวงวรินทร์ และคณะ. (2537). แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย. สารศิริราช ,ปีที่ 46 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2557). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พรินติ้งแอนด์พบั ลิช ชิ่ง จำกัด (มหาชน). ระบบสถิติทางการระเบียน. (2558). สถิติประชากรและบ้าน–จำนวนประชากรแยกรายอายุ. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562, จากhttp://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์. (2551). การพยาบาลผู้สูงอายุ ความท้าทายกับภาวะประชากรสูงอายุ. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์ สุจรรยา แสงเขียวงาม. (2560). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มาใช้บริการในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลบึงคำพร้อย หมู่ 11 อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี . สืบค้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562, จาก www.western.ac.th › media › attachments › 2017/09/13 › depress-elder Blazer DG. (2003). Depression in late life: review and commentary. J Gerontol A Biol Sci Med Sci; 58:249-65 Hinkle, D.E, William, W. and Stephen G. J. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences. 4th ed. New York: Houghton Mifflin. Kouzis A, Eaton WW, Leaf PJ. (1995). Psychopathology and mortality in the general population. Soc Psychiatry Psychiatr Epidemiol; 30: 165-70. Thongtang O, Sukhatunga K, Nagmthipwatthana T, Chulakadabba S, Vuthiganond S, Pooviboonsuk P, et al. (2002). Prevalence andincidence of depression in the Thai elderly. JMed Assoc Thai. May; 85(5):540-4. Yamane, T. (1976). Statistics: An introductory analysis. (2nd ed.). New York: Harper and Row.

131


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและคุณภาพน้ำดื่มสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย จิตตราภรณ์ บุญดี1, ปณวัฒน์ แซ่ตัน1, จุฬารัตน์ ศรีสุวรรณ1, ทรรศศิกา ธะนะคำ1, สุนทร สุดแสนดี1’* 1 สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง * Corresponding author E-mail: suntorn.sud@mfu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: น้ำดื่ม เป็นปัจจัยที่สำคัญของการดำรงชีวิตของมนุษย์ น้ำดื่มที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภคทำให้ไม่เกิดโรคที่ เกิดจากน้ำเป็นสื่อ ปัจจุบันผู้บริโภคมีน้ำดื่มหลายประเภทให้เลือก เช่น น้ำดื่มบรรจุขวด น้ำประปาดื่มๆได้ เป็นต้น วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์ศึกษาประเภทน้ำดื่มและทัศนคติการเลือกน้ำดื่มของนักศึกษา และวิเคราะห์คุณภาพน้ำดื่มในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วิธีวิจัย: การศึกษานี้ทำการสัมภาษณ์พฤติกรรมการเลือกน้ำดื่มของนักศึกษาจำนวน 360 คน และเก็บตัวอย่างน้ำดื่มจำนวน 46 ตัวอย่าง วิเคราะห์ค่าความขุ่น ค่าพีเอช, โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด และ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ผลการวิจัย: นักศึกษานิยม บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดมากที่สุด ถึงร้อยละ 45.28 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจในการเลือกประเภท ของน้ำดื่มระหว่างน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง พบว่า มาตรฐานอาหารและยา (อย.) , ยี่ห้อและการโฆษณาหรือ การประชาสัมพันธ์, และรายละเอียดกระบวนการผลิตน้ำดื่ม ของน้ำดื่มบรรจุขวดมากกว่าน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรอง อย่างมี นัยสำคัญ (p<0.05) การศึกษานีส้ ัมภาษณ์กลุ่มนักศึกษาที่บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดถึงสาเหตุสำคัญที่ไม่เลือกน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการ กรอง โดยนักศึกษาให้เหตุผล 3 ลำดับแรก คือ (1) สภาพแวดล้อมรอบข้างก๊อกน้ำดื่มที่ผ่านการกรองไม่เหมาะสม เช่น ใกล้ห้องน้ำ ใกล้ถังขยะ เป็นต้น, (2) ก๊อกน้ำสกปรก, และ (3) ไม่มั่นใจในคุณภาพน้ำดื่ม ผลสำรวจประเภทระบบเครื่องกรองน้ำในมหาวิทยาลัย พบประเภทการบำบัดน้ำ Resin + Ceramic + Carbon + UV จำนวน 32 จุด คิดเป็นร้อยละ 69.57 และผลการวิเคราะห์ค่า ความขุ่น ค่าพีเอช, โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด และ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย พบว่าคุณภาพน้ำผ่านมาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มของ กรมอนามัยและองค์การอนามัยโลกกำหนด อภิปรายผล: ทัศนคติของนักศึกษาในการเลือกประเภทน้ำดื่มมีความแตกต่างกัน นักศึกษาส่วนใหญ่เลือกน้ำดื่มบรรจุขวดเนื่องจากปัจจัยด้านมาตรฐานความปลอดภัยและคุณภาพน้ำ ในทางตรงกันข้ามน้ำก๊อกที่ ผ่านการกรองและคุณภาพน้ำผ่านมาตรฐานถูกเลือกบริโภคน้อยกว่าน้ำดื่มบรรจุขวด เนื่องจากไม่มั่นใจคุณภาพและการบำรุงรักษา ของมหาวิทยาลัย คำสำคัญ: น้ำดื่มบรรจุขวด, น้ำก๊อก, ความขุ่น,โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด,ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย

132


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Study of drinking water behaviors and quality for students in Mae Fah Luang University, Chiang Rai Jidtraporn Boondee 1, Panawat Saetan 1, Jularat Srisuwan1, Tatsika Thanakhum 1, Suntorn Sudsandee1’* 1

Environmental Health Program, School of Health Science, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thiland * Corresponding author E-mail: suntorn.sud@mfu.ac.th

Abstract Introduction: Drinking water is an important factor in human life. Drinking water is clean and safe which support human do not cause by water-borne diseases. Currently, consumers have many types of drinking water to select such as bottled water, drinking tap water etc. Objective: The aim to study the type of drinking water and the attitude of drinking water selection of students and analyzed the drinking water quality in Mae Fah Luang University. Research Methodology: This study interviewed student about the drinking water selection behavior of 360 students and collected 46 drinking water samples. Turbidity, pH, total coliform and fecal coliform bacteria were all analyzed. Results: Most students consumed the bottled water about 45.28 %. Compared the average scores about attitude of water type selection between bottled water and dispenser water, it found that the food and drug standards (FDA), brand and advertising or public relations, and water production process details of bottled water more than drinking water from dispenser water (p <0.05) This study interviewed a group of students who consumed bottled water about important reasons not to select the dispenser water. The students give the top 3 reasons as follows: (1) the surrounding environment is not properly location, such as near the toilet, near the garbage bin, etc. (2) the dispenser is dirty, and (3) they are not confident in the water quality. To survey the dispenser water systems were 32 spots in Resin + Ceramic + Carbon + UV, accounting for 69.57%. The turbidity, pH, total coliform bacteria and fecal coliform bacteria were found that water quality has passed the drinking water quality standards of the Department of Health and the World Health Organization. Discussion: The attitude of students in choosing drinking water types are different. Most students choose bottled water because of safety and water quality standards. In contrast, dispenser water which good water quality was fewer consumers than bottled water due to lack of confidence in the quality and maintenance from university. Keywords: Bottled water, dispenser water, turbidity, total coliform bacteria, fecal coliform bacteria

133


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ: น้ำดื่ม เป็นปัจจัยที่สำคัญของการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในร่างการของมนุษย์มีน้ำเป็นองค์ประกอบมากว่า 80% หาก มนุษย์ไม่ได้ดื่มน้ำจะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้เพียง 3-4 วัน ดังนั้นน้ำดื่มจึงมีหน้าที่ความสำคัญต่อการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่าง ยิ่งยวด น้ำดื่มที่สะอาดปลอดภัยและเพียงพอเป็นสิ่งสำคัญระดับต้นๆที่องค์การอนามัยโลก ให้ความสนใจ สถานการณ์โลกใน ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ น้ำดื่มที่สะอาดและปลอดภัย เป็นน้ำดื่มที่ประชาชนหรือผู้บริโภคดื่มแล้วไม่เกิดโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ หรือ โรคที่ เกี่ยวข้องกับน้ำ น้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อโรคทางชีวภาพโดยการปนเปื้อนกับ ที่ เป็นสาเหตุของการระบาดของโรคต่างๆ เช่น โรค อหิวาตกโรค โรคบิด โรคตับอักเสบไวรัส เอ และ โรคไทฟอยด์ เป็นต้น ซึ่งการปนเปื้อนเชื้อโรคอาจมีหลายสาเหตุหลายประการ ตัวอย่างเช่น การไม่อุจจาระในห้องส้วม การไม่มีส้วมที่ถูสุขลักษณะ ทำให้เชื้อโรคจากอุจาระปนเปื้อนกับแหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ ดินรวมถึงน้ำดื่ม การระบาดของโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อส่วนใหญ่จะมีความเกี่ยวข้องกับระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล นอกจากนี้แล้วการ ปนเปื้อนเชื้อโรคกับน้ำดื่มอาจเกิดจากการกักเก็บน้ำดื่มในภาชนะที่ไม่ถูกสุขลักษณะและไม่มีการดูแลรักษาทำให้เกิดการปนเปื้อน การปนเปื้อนทางเคมี ในน้ำดื่มในปริมาณที่มากเกินทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคเช่นกัน (WHO, 2010; 2019) โดย ปกติแล้วในน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำดื่ม มักพบแร่ธาตุต่างๆที่เป็นองค์ประกอบหลักของเปลือกโลก เช่น เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สาร หนู (As) ฟลูออไรด์ (F) เป็นต้น หากบริโภคน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อนที่เกินมาตรฐานอาจทำให้เกิดโรคต่างๆ ตัวอย่างเช่น การ ปนเปื้อนสารหนูในน้ำบาดาลและน้ำดื่มของ อำเภอร่อนพิบูรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรวจพบผู้ป่วยจำนวน 20 รายที่มีอาการ โรคไข้ดำ หรือโรคมะเร็ง (ผิวหนัง, กระเพาะปัสสาวะ, ปอด) ที่เกิดจากสารหนู การปนเปื้อนสารฟลูออไรด์ที่เกินมาตรฐานน้ำดื่มของ กลุ่มเด็กในภาคเหนือ ส่งผลทำให้เนื้อฟันตกกระ (WHO, 2010) การจัดหาน้ำดื่มที่มีประสิทธิภาพ เริ่มจาการหาแหล่งน้ำดิบที่มีคุณภาพ มีสิ่งเจือปนทางกายภาพ (ของแข็ง ความขุ่น สี) ทางชีวภาพ (เชื้อโรค) และทางเคมีให้น้อยที่สุด เพื่อผ่านกระบวนการผลิตน้ำดื่มตามมาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกจะได้น้ำดื่มที่สะอาดและปลอดภัย และสามรถลดปัจจัยเสี่ยงของโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อและ โรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำ โดยทั่วไปกระบวนการผลิตน้ำประปาหรือน้ำดื่มจะเริ่มต้นจาก (1) กระบวนการจัดหาน้ำดิบ เช่น แหล่งน้ำผิว ดิน (แม่น้ำ ลำธาร, คลอง, บึง, เขื่อน, อ่างเก็บน้ำ) แหล่งน้ำบาดาล และน้ำฝน (2) กระบวนการผ่านตะแกรง เพื่อกำจัดเศษวัสดุ ขนาดใหญ่ออกจากแหล่งน้ำดิบ (3) กระบวนการสร้างตะกอนและรวมตะกอน เพื่อรวบรวมสารแขวนลอยในน้ำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น (4) กระบวนการตกตะกอน เพื่อตกตะกอนและแยกชั้นน้ำใส (5) กระบวนการกรอง เพื่อกรองสารแขวนลอยขนาดเล็ก (6) กระบวนการฆ่าเชื้อโรค เพื่อฆ่าเชื้อโรคที่สามารถก่อโรคในมนุษย์ได้ (7) กระบวนการกับเก็บน้ำ (8) กระบวนการกระจายน้ำสู่ ผู้บริโภค จากการผลิตน้ำประปาเบื้องต้นต้องมีคุณภาพน้ำดื่มต้องได้รับการตรวจสอบคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรม อนามัยและองค์การอนามัยโลก (MWA, 2019; PWA, 2019; มั่นสิน, 2542) นอกจากนี้บางชุมชนมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ปรับปรุงคุณภาพน้ำดื่มเพิ่มเติมเพื่อให้สะอาดและมั่ นใจในการบริโภค เช่น กระบวนการออสโมซิส กระบวนการแลกเปลี่ยนประจุ กระบวนการผ่านถ่านกัมมันต์ เป็นต้น กลุ่มนักศึกษา เป็นกลุ่มประชากรหนึ่งที่มักอาศัยอยู่ในมหาวิทยาลัยที่ใช้ทำการเรียนการสอน ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่มี อายุ ระหว่าง 18 - 24 ปี ใช้ชีวิตอยู่ ในหอพัก อาคารเรียน ห้องสมุด รวมถึงโรงอาหารสำหรับ ทำกิจ กรรมต่า งๆ ทั้งนี้น้ำดื่ ม เป็ น ปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิต มหาวิทยาลัยทุกแห่งจะต้องมีการจัดเตรียมน้ำดื่มให้เพียงพอและปลอดภัยต่อนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงราย มีสถิติจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เข้าเรียนในปี 2561 จำนวน 3,353 คน จากทั่วประเทศไทย (ส่วนทะเบียนและวัดผล, 2562) ดังนั้นคณะผู้ศึกษาจึงให้ความความสำคัญเรือ่ งพฤติกรรมการบริโภคน้ำดืม่

134


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

และคุณภาพน้ำดื่มสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 รวมถึงวิเคราะห์แนวโน้มการเลือกน้ำดื่ม เพื่อใช้ข้อมูลในการพัฒนาระบบการจัดหาน้ำ ดื่มในมหาวิทยาลัยให้ปลอดภัยและยั่งยืน วัตถุประสงค์ (Objective) 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มของนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย 2) ศึกษาคุณภาพน้ำดื่มสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย วิธีวิจัย: กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การศึกษานี้เน้นกลุ่มประชากรนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2561 จำนวน 3,353 คน ทำการคำนวณกลุ่ม ตัวอย่าง ตามสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane’) ได้กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 358 คน n= โดยที่

N 1+N(e2 )

………………………(1)

n = ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ N = ขนาดประชากร e = ความคาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ (Margin of error)

พื้นที่ศึกษา พื้นที่ศึกษาคลอบคลุมอาคารเรียน โรงอาหาร หอพัก โรงพยาบาลและอาคารต่างๆในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัด เชียงราย พิกัด N20o 02’43.49’’ E099o 53’34.92’’ - N20o 02’44.23’’ E099o 55’34.03’’ ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 พื้นที่ศึกษา ออกแบบแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่ม ออกแบบแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มจากการทบทวนวรรณกรรมคุณภาพน้ำดื่มและพฤติกรรมการบริโภค น้ำดื่ม (WHO, 2010; 2019) โดยแบ่งเป็น 3 หมวด ได้แก่ (1) ข้อมูลทั่วไป, (2) พฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดสนิท, และ(3) พฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มที่ผ่านการกรองจากเครื่องกรองน้ำที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัย โดยแบบสอบถามทดสอบความเที่ยงของ แบบสอบถาม (IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญ ตรงพบว่ามีค่าระหว่าง 80-100 %

135


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่ม ดำเนินสัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน สำรวจจุดบริการน้ำดื่มจากก๊อกน้ำที่ผ่านการกรอง สำรวจจำนวนจุดบริการน้ำดื่มที่ผ่านการกรองครอบคลุมพื้นที่ในอาคารต่างๆ ในหมาวิทยาลัย ทั้งหมด 52 จุด ทำการ คำนวณกลุ่มตัวอย่าง ตามสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane’) ได้กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 46 จุด เก็บตัวอย่างน้ำดื่มและวิเคราะห์คุณภาพน้ำดื่ม เก็บตัวอย่างน้ำโดยใช้ขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร สำหรับใช้วิเคราะห์ค่าพีเอช (pH) โดยใช้เครื่องพีเอชมิเตอร์ (Becthai Bangkok Equiment & Chemical Co., Ltd) และค่ า ความขุ ่ น โดยใช้ เ ครื ่ อ งเทอร์ บ ิ ท ลิ ต ี ้ ม ิ เ ตอร์ (Turb 43 IE,WTW Wissenschaftlich Company, Germany) เก็บตัวอย่างน้ำโดยใช้ขวดแก้ว 1 ลิตร ที่ผ่านการฆ่าเชื้อโรคแล้ว เก็บรักษาน้ำตัวอย่างในกล่องน้ำแข็งและป้องกันการ สัมผัสกับแสงเพื่อป้องกันการแบ่งตัวของแบคทีเรีย วิเคราะห์ตัวอย่างเพื่อหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดและ ฟีคัลโคลิฟอร์ม แบคทีเรียในตัวอย่างน้ำดื่ม ตามมาตรฐาน 9221 B และ 9221 E (APHA, 2017) ภายใน 24 ชั่วโมง. วิเคราะห์ผลการศึกษา รวมรวมข้อมูลวิเคราะห์สถิติในรูปของจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการเปรียบเทียบระหว่าง สองกลุ่มตัวอย่างใช้สถิติ t-test โดยใช้โปรแกรม SPSS Version 22.0 ผลการวิจัย: ข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา ผลการศึกษาการตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประจำปี 2561 จำนวน 360 คน เพศชาย 180 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง 180 คน คิดเป็นร้อยละ 50 มีจำนวนนักศึกษาสังกัดสำนักวิชาการจัดการเป็น ผู้ตอบแบบสอบถามมีจำนวนสูงสุดถึง 132 คน คิดเป็นร้อยละ 36.67 พิจารณารายได้ของนักศึกษาที่ได้รบั จากผู้ปกครอง พบว่านักศึกษา มีรายได้ระหว่าง 5,001-10,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 50.56 รองลงมามีรายได้ระหว่าง 10,001-15,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 26.39 , รายได้ระหว่าง 15,001-20,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 16.67, รายได้มากกว่า 20,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 4.17 และรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ร้อยละ2.22 ตามลำดับ ประเภทน้ำดื่ม นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 360 คน นิยมบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดอย่างเดียวเท่านั้น สูงสุดถึงร้อยละ 45.28 รองลงมาคือ บริโภคทั้งดื่มบรรจุขวดและน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง ร้อยละ 36.11 และบริโภคน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองอย่างเดียวเท่านั้น ร้อยละ 18.61 ดังแสดงในภาพที่ 2 พฤติกรรมการเลือกน้ำดื่ม พิจารณาสัดส่วนระหว่างเพศและประเภทน้ำดื่มที่นักศึกษา พบว่า เพศหญิงบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดมากว่าเพศชาย แต่ ในทางตรงกันข้าม สำหรับน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง มีเพศชายบริโภคมากกว่าเทศหญิง ดังแสดงในภาพที่ 3 เมื่อพิจารณารายได้ของนักศึกษากับการเลือกประเภทของน้ำดื่ม พบว่า นักศึกษาที่มีรายต่ำกว่า 10,000 บาทต่อเดือน นิยมบริโภคน้ำดื่มจากก๊อกน้ำที่ผ่านการกรองมากที่สุด ในทางตรงกันข้ามนักศึกษาที่มีรายได้มากว่า 10,000 บาทขึ้นไป นิยมบริโภค น้ำดื่มจากขวดบรรจุสนิท มากที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 4

136


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ภาพที่ 2 ประเภทน้ำดื่ม

ภาพที่ 3 การเลือกประเภทน้ำดืม่ ระหว่างเพศชายและเพศหญิง

ภาพที่ 4 แนวโน้มการเลือกประเภทน้ำดื่มและระดับรายได้

137


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กลุ่มนักศึกษาที่เลือกบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดเพียงอย่างเดียว จำนวน 163 คน มี โดยส่วนมากซื้อน้ำดื่มวันละ 2 ขวด (ขนาด 600 มิลลิลิตร หรือ 0.6 ลิตร) ร้อยละ 49.68 รองลงมาซื้อน้ำดื่มวันละ 3 ขวด ร้อยละ 17.18 และ ซื้อน้ำดื่มวันละ 4 ขวด ร้อยละ 14.11 ของนักศึกษาที่บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวด นักศึกษามีรายจ่ายเพื่อซื้อน้ำดื่มประมาณ 11-20 บาทต่อวัน ร้อยละ 50.00 รองลงมาประมาณ 21-30 บาทต่อวัน ร้อยละ 21.00 ตามลำดับ กลุ่มนักศึกษาที่เลือกบริโภคน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองเพียงอย่างเดียว จำนวน 67 คน โดยนัดศึกษามีความถี่ใ นการใช้ บริการจุดกดน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองจำนวน 4 ครั้งต่อวัน ถึงร้อยละ 41.80 และรองลงมา 3 ครั้งต่อวัน ถึงร้อยละ 32.80 ทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่ม ตารางที่ 1 คะแนนเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่ม Attitudes Factors (1=disagree , 5= strong agree) Bottled water Dispenser water (n = 163) (n = 67) Mean (SD) Mean (SD) Colorless 4.24 (0.49) 4.13 (0.69) No odour 4.09 (0.70) 4.47 (0.63) Sufficiency 3.72 (0.84) 4.32 (0.74) Low cost 3.63 (0.88) 4.46 (0.76) Health safety 4.37 (0.71) 4.32 (0.75) Treatment process 3.80 (0.76) 3.44 (1.14) details FDA standard 4.23 (0.70) 3.94 (0.85) Brand 3.60 (0.85) 3.16 (1.13) Advertiser or promotion 3.33 (0.83) 2.83 (0.97) Easy accession 3.55 (0.85) 4.34 (0.61)

t-test (p<0.05)

0.288 *0.000 *0.000 *0.000 0.744 *0.008 *0.005 *0.003 *0.000 *0.000

พิจารณาของนักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มชนิดบรรจุขวด 3 อันดับแรก ได้แก่ ความปลอดภัยต่อสุขภาพ , น้ำใส, และได้รับมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) ส่วนน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง ได้แก่ ไม่มีกลิ่น , ราคา ประหยัด, และ ความเพียงพอต่อการบริโภค ดังแสดงในตารางที1่ เมื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปัจจัยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ บริโภคน้ำบรรจุขวด และน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง โดยใช้สถิติ t-test พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือก ประเภทของน้ำดื่ม ได้แก่ น้ำไม่มีกลิ่น , ความเพียงพอ, ความประหยัด, รายละเอียดกระบวนการผลิต, มาตรฐาน อ.ย. , ยี่ห้อ, การ โฆษณาหรือการประชาสัมพันธ์และการเข้าถึงง่าย มีความแตกต่างต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05)

138


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยปัจจัยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มระหว่างน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำ ก๊อกที่ผ่านการกรอง พบว่าคะแนนเฉลี่ยรายละเอียดกระบวนการผลิต, มาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) , ยี่ห้อและการโฆษณาหรือ การประชาสัมพันธ์ของน้ำดื่มบรรจุขวด มากว่าน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในทางตรงข้ามคะแนนเฉลี่ย ปัจจัยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มจากน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง มีคะแนนเฉลี่ย ไม่มีกลิ่น, ความเพียงพอ, ความประหยัด, และการเข้าถึงง่าย มากว่าน้ำดื่มบรรจุขวด อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ดังแสดงในตารางที่ 1 การศึกษานี้ยังสัมภาษณ์นักศึกษาที่บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวด จำนวน 163 ราย ถึงสาเหตุสำคัญที่ไม่เลือกน้ำก๊อกที่ผ่านการ กรองในการบริโภค โดยพบสาเหตุ 3 ลำดับแรก คือ (1) สภาพแวดล้อมที่ว่างก๊อกน้ำดื่มที่ผ่านการกรองไม่เหมาะสม เช่น ใกล้ ห้องน้ำ ใกล้ถังขยะ เป็นต้น, (2) ก๊อกน้ำความสกปรก, และ (3) ไม่มั่นใจในคุณภาพน้ำดื่ม ดังแสดงภาพที่ 5นอกจากนี้ยังสัมภาษณ์ นักศึกษากลุ่มผู้บริโภคน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรองจำนวน 67 ราย เกี่ยวกับสภาพปัญหาที่พบจากการดื่มน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง พบว่า ไม่เคยพบปัญหาเกี่ยวกับน้ำดื่ม จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 76.10 และ พบปัญหาเกี่ยวกับน้ำดื่ม เช่น กลิ่น ความขุ่นและ สี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 23.90

ภาพที่ 5 เหตุผลกลุ่มนักศึกษาที่ไม่เลือกน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรอง คุณภาพน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง สำรวจจำนวนก๊อกน้ำที่ผ่านการกรองในมหาวิทยาลัยทั้งหมดจำนวน 53 จุด ทำการสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำและสำรวจลักษณะ เครื่องกรองน้ำจำนวน 46 จุด พบว่าเครื่องกรองน้ำที่ใช้ในมหาวิทยาลัยมีลักษณะกระบวนการบำบัดน้ำดื่มแบ่งออกเป็น 5 ประเภท โดยพบประเภทการบำบัดน้ำ Resin + Ceramic + Carbon + UV สูงสุด 32 จุด คิดเป็นร้อยละ 69.57 ดังแสดงในตารางที่ 2 เก็บตัวอย่างน้ำดื่มจำนวน 46 ตัวอย่าง พบว่าความขุ่นของน้ำดื่มมีค่าระหว่าง น้อยกว่า 0.01 – 1.27 NTU โดยทุก ตัวอย่างน้ำดื่มผ่านมาตรฐานความขุ่นของน้ำดื่มของกรมอนามัยและองค์การอนามัยโลก ค่าพีเอช (pH) ของน้ำดื่มอยู่ระหว่าง 6.90 - 7.68 โดยทุกตัวอย่างน้ำมีค่าพีเอชอยู่ในช่วงที่กรมอนามัยกำหนด และได้ตรวจตัวชี้วัดการปนเปื้อนทางชีวภาพ ได้แก่ โคลิฟอร์ม แบคทีเรียทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) และ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) พบว่า ไม่พบการ ปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดและ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ในตัวอย่างน้ำดื่ม และผ่านมาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มของกรม อนามัยและองค์การอนามัยโลกกำหนด ดังแสดงในตารางที่ 3

139


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 2 ลักษณะเครื่องกรองน้ำ No. 1 2 3 4 5

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Process Resin+Ceramic+ Carbon + UV Resin +Ceramic+ Carbon Resin+ Carbon + UV Ceramic+ Carbon + UV Unknown Total

ตารางที่ 3 คุณภาพน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองแล้ว Sample name Number of water samples Turbidity (NTU)

Dispenser water

46

Drinking Water Standard

Min-Max <0.01 – 1.27

Parameters pH Total Coliform Bacteria (MPN per 100 ml) Min-Max Min-Max 6.90 - 7.68 All no detection

Less than 5 a, 6.50 - 8.50 b

Ratio: Meet standard/Total sample (%)

46/46 (100%)

Number (%) 32 (69.57%) 5 (10.87%) 3 (6.52%) 1 (2.17%) 5 (10.87%) 46 (100%)

46/46 (100%)

Must not be detected a, b 46/46 (100%)

Fecal Coliform Bacteria (MPN per 100 ml) Min-Max All no detection Must not be detected a 46/46 (100%)

a MOPH, b

2010, Standard of drinking water from water supply system. WHO, 2011, Standard of drinking water.

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: พฤติกรรมการบริโภคน้ำดื่มของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย นิยมบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวด อย่างเดียวมากที่สุด รองลงมาบริโภคทั้งน้ำบรรจุขวดและน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง และนิยมบริโภคน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองอย่างเดียว เท่านั้นน้อยที่สุด นักศึกษาเพศหญิงนิยมบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดมากว่าเพศชาย ในทางกันข้ามกลุ่มนักศึกษาเพศชายนิยมบริโภคน้ำ ก๊อกที่ผ่านการกรองมากกว่าเพศหญิง นักศึกษาที่มีรายได้จากผู้ปกครองมากว่า 10,000 บาทขึ้นไป มีแนวโน้มบริโภคน้ำดื่มบรรจุ ขวดมากที่สุด โดยส่วนมากซื้อน้ำดื่มวันละ 2 ขวด (ขนาด 600 มิลลิลิตร หรือ 0.6 ลิตร) สูงสุดถึงร้อยละ 49.68 และมีรายจ่ายเพื่อ ซื้อน้ำดื่มประมาณ 11-20 บาทต่อวัน สูงสุดถึงร้อยละ 50.00 ซึ่งการบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ (Delina & Dasinaa, 2016)

140


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คะแนนเฉลี่ยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มระหว่างน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง พบว่าคะแนนเฉลี่ยปัจจัยเกี่ยวกับรายละเอียดกระบวนการผลิต, มาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) , ยี่ห้อและการโฆษณาหรือการ ประชาสัมพันธ์ของน้ำดื่มบรรจุขวด มากว่าน้ำก๊อกที่ผ่ านการกรอง อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในทางตรงข้ามคะแนนเฉลี่ยปัจจัย เกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของน้ำดื่มจากน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง มีคะแนนเฉลี่ย ไม่มีกลิ่น, ความเพียงพอ, ความ ประหยัด, และการเข้าถึงง่าย มากว่าน้ำดื่มบรรจุขวด อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) สอดคล้องกับการศึกษาของ Neng Qian ในปี 2018 พบว่าการบริโภคน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรองของนักศึกษาสิงคโปร์มมากกว่าน้ำดื่มบรรจุขวดเพราะนักศึกษาส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึงน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรอง (Qian, 2018). การศึกษานี้ยังสัมภาษณ์นักศึกษาที่บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดถึงสาเหตุสำคัญที่ไม่เลือกน้ำก๊อกที่ผ่านการกรองในการบริโภค โดยพบสาเหตุ 3 ลำดับแรก คือ (1) สภาพแวดล้อมที่ว่างก๊อกน้ำดื่มที่ผ่านการกรองไม่เหมาะสม เช่น ใกล้ห้องน้ำ ใกล้ถังขยะ เป็น ต้น, (2) ก๊อกน้ำความสกปรก, และ (3) ไม่มั่นใจในคุณภาพน้ำดื่ม จากปัญหาดังกล่าวหากผู้ดูแลระบบเครื่องกรองน้ำและตรวจสอบ คุณภาพอยูเ่ สมอจะทำให้สามารถป้องกันการปนเปื้อนในน้ำดื่มได้ (Liguori et al., 2010) ระบบเครื่องกรองน้ำ พบประเภทการบำบัดน้ำ Resin + Ceramic + Carbon + UV สูงสุด 32 จุด คิดเป็นร้อยละ 69.57 จากการสำรวจทั้งหมด 46 จุด และเก็บตัวอย่างน้ำวิเคราะห์ค่าความขุ่น ค่าพีเอช และ ตั วชี้วัดการปนเปื้อนทางชีวภาพ ได้แก่ โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด และ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย พบว่าคุณภาพน้ำผ่านมาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มของกรมอนามัย และองค์การอนามัยโลกกำหนด จากข้อมูลการศึกษาสามารถนำเสนอให้บุคลากรมหาวิทยาลัยควรบำรุงรักษาระบบเครื่องกรองน้ำ เป็นประจำและตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรองอยู่เสมอ เพื่อให้กลุ่มนักศึกษามีความมั่นในในการบริโภคอย่าง ยั่งยืน กิตติกรรมประกาศ การศึกษาครั้งนี้ขอขอบคุณสำหรับการร่วมมือของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และบุคลกรห้องปฏิบัติการ อนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เอกสารอ้างอิง APHA, 2017. Standard methods for the examination of water and wastewater; 9221 B and 9221 E, 23th edition. American Public Health Association, American Water Works,Association, Water Environment Federation, USA. Delina P.J.E. and Dasinaa S. (2016) Consumer perception and factors influence in adapting of bottled water consumption in Batticaloa District, Sri Lanka. International Journal of Interdisciplinary Research methods. 3, 4:1-13. Liguori G.. Cavallotti I., Arnese A., Amiranda C., Anastasi D., Angelillo I.F. (2010) Microbiological quality of drinking water from dispensers in Italy. BMC Microbiology, 2020, 10:19. MOPH., 2010. Standard of drinking water from water supply system (In Thai). http://foodsan.anamai.moph.go.th/more_news.php?cid=87&filename=index. Assessed date: 20 October 2019. MWA, (Metropolitan Waterworks Authority), 2019. Water supply process (In Thai). https://www.mwa.co.th/main.php?filename=treat_water. Assessed date: 18 October 2019.

141


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

PWA, (Provincial Waterworks Authority), 2019. Producing of water supply. In Thai. https://reg5.pwa.co.th/km/index.php/2018-09-11-02-52-23/16-menufacture-pwa. Assessed date: 18 October 2019. Qian N. (2018) Bottled water or tap water? A copative study of drinking water choices on university campuese. Water, 2018,10:59. Doi:10.3390/w10010059. WHO. 2010. Drinking water quality in the South-East Asia region. Indraprastha Estate, Mahatma Gandhi Marg, New Delhi. WHO, 2011. Guidelines for drinking-water quality, fourth ed. WHO Graphics, Switzerland. WHO, 2019. Drinking water: key facts. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/drinking-water. Assessed date: 18 October 2019 มั่นสิน ตัณฑุลเวศน์ม (2542) วิศวกรรมการประปา เล่ม 1. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เขตปทุมวัน กรุงเทพ. ส่วนทะเบียนและประมวนผล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (2562) จำนวนนักศึกษา. เข้าถึงข้อมูลที:่ http://registrar.mfu.ac.th/Devision_Register_Page/index.php. วันที่เข้าถึง 31 ธันวาคม 2562.

142


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การศึกษาการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสียอุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs วีรยุทธ สิรริ ัตน์เรืองสุข* ศรัณย์พร เนื่องอุดม และ จุฑาภรณ์ มณีก้อน สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง *Correspondence E-mail: weerayuth.sir@mfu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: การศึกษาการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสียอุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ซึ่งเป็นแนวทางในการเพิ่มศักยภาพของของเสียที่เกิดขึ้นในโรงงานและเป็นแนวทางในการจัดการของเสียอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์: เพื่อลดปริมาณของเสียที่ต้องกำจัดด้วยวิธีการฝังกลบ และเสนอแนะแนวทางการจัดการของเสียตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของ ของเสียอุตสาหกรรมตามหลัก 3Rs วิธีวิจัย: การศึกษานี้ทำการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประเภทอุตสาหกรรม การจัดการของเสีย และข้อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอุตสาหกรรมภายในโรงงาน รวมทั้งการตรวจสอบกิจกรรมและแหล่งกำเนิดของเสียของ โรงงาน โดยทำการระบุชนิดของเสียที่มาจากกระบวนการผลิตหลัก กระบวนการสนับสนุน และจัดทำเกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน เมื่อ พบโรงงานที่มีปัญหาและมีความเป็นอันตรายของของเสียมากที่สุดแล้ว จึงทำการเสนอแนะแนวทางการจัดการของเสียตามศักยภาพ การใช้ประโยชน์ของของเสียแต่ละชนิดตามหลัก 3Rs เพื่อช่วยลดปริมาณของของเสียที่ต้องนำไปฝังกลบ ผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่าจากโรงงานทั้ง 13 แห่ง มี 2 โรงงานที่มีศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากของเสียอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นของเสียประเภทเศษผ้า ถุง มือเปื้อนน้ำมัน และเศษยาง โดยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยการนำไปเผาเพื่อเอาพลังงานซึ่งช่วยลดการนำของเสียไปฝังกลบ จึง สรุปได้ว่าการใช้ประโยชน์ของเสียของทั้ง 2 โรงงานมีความเหมาะสมที่จะนำไปเป็นแนวทางการเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสีย อุตสาหกรรมในโรงงาน สำหรับบางโรงงานที่มีแนวทางการปฏิบัติในการจัดการของเสียที่ดี และของเสียภายในโรงงานสามารถใช้ ประโยชน์ได้ทั้งหมด และไม่มีการนำของเสียไปฝังกลบหรือเผาทำลาย ยกเว้นประเภทของเสียที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมอนุญาตให้ฝัง กลบได้ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ของเสียอุตสาหกรรมที่เกิดจากกระบวนการผลิต และกระบวนการสนับสนุนภายในโรงงานที่ ได้ทำการคัดเลือกมาแล้วนั้น สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายตามวิธีการปฏิบัติที่ดีในการจัดการของเสียภายในโรงงานตามที่ ได้แนะนำ นอกจากนี้ของเสียอุตสาหกรรมจากโรงงานทั้งหมดยังสามารถพิจารณาแนวทางการใช้ประโยชน์อื่นๆได้ โดยวิธีการเปลี่ยน รหัสการกำจัดของเสียอุตสาหกรรมให้เหมาะสมกับชนิดของของเสียและถูกต้องตามกฎหมาย คำสำคัญ: ของเสียอุตสาหกรรม หลักการจัดการของเสีย หลักการ 3Rs การใช้ประโยชน์ของเสีย

143


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

A study of the potential development of industrial waste utilization by using 3Rs principle Weerayuth Siriratruengsuk,*, Saranphorn Nuangudom, and Chutaporn Maneekon Environmental Health Program, School of Health Science, Mae Fah Luang University *Correspondence E-mail: weerayuth.sir@mfu.ac.th Abstract Introduction: A study of the potential development of industrial waste utilization by using the 3Rs principle (Reduce, Reuse, Recycle). The way to increase the potential of waste generated in the factory and a way to manage industrial waste. Objective: To reduce the amount of waste that needs to be disposed by landfill and suggestions for the waste management based on the potential utilization of industrial waste according to 3Rs principles Methodology: This study collected data about industry waste types, waste management and laws related to industrial waste management in factories. Moreover, inspecting activities and sources of waste from factories by specifying the type of waste that comes from the main production process, support process and set up the factory selection criteria. After that, finding the factory that has the most problematic and hazardous waste, therefore commend waste management recommendations based on the potential utilization of each type of waste according to 3Rs principles on behalf of reduce the amount of waste that needs to be landfilled. Results: The results show that from all 13 factories, there are 2 factories that have the potential to utilize industrial waste. Which is a waste of cloth waste, gloves contaminated with oil and rubber scraps that be utilized by incineration to produce energy. It can be concluded that the utilization of waste in both factories is appropriate to be used as a guideline to increase the potential of industrial waste utilization. In addition, the industrial wastes from factories can all be used and there is no waste to landfill or incineration, except types of waste that the Department of Industrial Works allows to landfill. Discussion and conclusion: Industrial waste from production processes, support process within the selected factory. It can be used for a variety of purposes as well as waste management practices within the factory as suggested. In addition, all industrial waste from all factories can be considered for other uses by changing the industrial waste disposal code to be suitable for the type of waste and legal. Keywords: Industrial waste, Waste management principles, 3Rs principles, Waste utilization

144


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมมีการประกอบกิจการเพิ่มมากขึ้น เป็นส่วนสำคัญในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการก็ย่อมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ส่งผลทำให้เกิดปัญหามูลฝอยและของเสียอัน เป็นผลมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม หากภาคอุตสาหกรรมไม่มีการจัดการที่เหมาะสมแล้วย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้าน ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเสื่อมคุณภาพของดิน การปนเปื้อนของน้ำ มลพิษทางอากาศ รวมทั้งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศด้วย เช่นกัน ซึ่งท้ายที่สุดปัญหาที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือกากอุตสาหกรรม ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 “สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” หมายความว่า สิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการ ประกอบกิจการโรงงาน รวมถึงของเสียจากวัตถุดิบ ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ของเสียที่เป็นผลิตภัณฑ์เสื่อมคุณภาพ และ น้ำทิ้งที่มีองค์ประกอบหรือมีคุณลักษณะที่เป็นอันตราย “ของเสียอันตราย” หมายความว่า สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีองค์ประกอบ หรือปนเปื้อนสารอันตราย หรือมีคุณสมบัติที่เป็น อันตราย ตามที่กำหนดในภาคผนวกที่ ๒ ท้ายประกาศนี้ “การจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว” หมายความว่า การบำบัด ทำลาย ฤทธิ์ ทิ้ง กำจัด จำหน่ายจ่ายแจก แลกเปลี่ยน หรือนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปแบบต่างๆ [1] การส่งเสริมการใช้ประโยชน์กากอุตสาหกรรมและลดปริมาณกากที่ต้องฝังกลบเพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจึงเป็นแนวทางที่ดีสำหรับภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในปัจจุบันมีการส่งเสริมและสร้างความรู้ความเข้าใจในการ จัดการกากอุตสาหกรรมตามหลัก 3Rs และนำไปประยุกต์ใช้ภายในโรงงานอย่างกว้างขวาง เพื่อมีการจัดการของเสียที่ดี และลด ผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบได้ รวมถึงการกำหนดนโยบายใช้ประโยชน์ของเสียให้ได้มากที่สุด 3Rs คือ การจัดการของเสียโดยให้ความสำคัญในการลดการเกิดของเสีย (Reduce) ให้เหลือน้อยที่สุดเป็นลำดับแรก โดย มุ่งเน้นการใช้วัตถุดิบหรือทรัพยากรการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อมาเมื่อเกิดของเสียแล้วต้องพยายามหาแนวทางการนำกลับไปใช้ ซ้ำ (Reuse) หรือการแปรรูปมาใช้ใหม่ (Recycle) ให้ได้มากที่สุด โดยพิจารณาถึงศักยภาพการใช้ประโยชน์ของของเสียแต่ละประเภท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เหลือของเสียที่จะต้องบำบัดหรือกําจัดในปริมาณน้อยที่สุด โดยเลือกใช้วิธีการกําจัดของเสียเป็นวิธี สุดท้าย กล่าวคือ 3Rs เป็นการดำเนินการจัดการของเสียที่เหมาะสมกับลักษณะสมบัติของของเสีย ด้วยการคำนึงถึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน รวมทั้งการป้องกันรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพที่ดีอย่างยั่งยืน โรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจัดการของเสียที่ดีภายในโรงงานตามหลัก 3Rs อาจมีการปรับปรุงที่กระบวนการผลิต หรือมี การปรับปรุงเครื่องจักร หรือมีการปรับปรุงวิธีการทำงาน แล้วแต่ความเหมาะสมเฉพาะกรณี แต่โดยสรุปแล้วจะต้องมีการดำเนินการ ดังนี้ 1) มีการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานทั้งในส่วนของการผลิตและกิจกรรมสนับสนุนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อ ลดการเกิดของเสียให้เหลือน้อยที่สุด 2) เมื่อเกิดของเสียขึ้นแล้ว ใช้วิธีจัดการกับของเสียแต่ละประเภทตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสียเหล่านั้น เพื่อให้มีของ เสียที่ต้องถูกส่งไปกำจัดโดยวิธีฝังกลบในปริมาณน้อยที่สุด 3) มีการจัดการของเสียเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ตั้งแต่การจัดเก็บของเสีย การนำไปใช้ประโยชน์ภายในโรงงาน และการ นำออกไปบำบัด/กำจัดภายนอกโรงงาน [2] ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินการส่งเสริมการใช้ประโยชน์กากอุตสาหกรรม และลดปริมาณของเสียที่ต้องฝัง กลบ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการศึกษาการใช้ประโยชน์ของเสียอุตสาหกรรมที่

145


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เกิดจากกระบวนการผลิตหลักของโรงงานนั้นๆ พบว่าของเสียที่ถูกกำจัดด้วยวิธีการฝังกลบหลายประเภทมีศักยภาพในการใช้ ประโยชน์เชิงอุตสาหกรรมในรูปแบบต่างๆ ซึ่งเป็นการเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ของเสีย โดยการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลด ปริมาณของเสียที่ต้องบำบัด กำจัดด้วยวิธีการฝังกลบ และเสนอแนะแนวทางการจัดการของเสียที่ดีตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของ ของเสียอุตสาหกรรมแต่ละชนิดที่เกิดจากกระบวนการผลิต และกระบวนการสนับสนุนของโรงงานตามหลัก 3Rs ระเบียบวิธีวิจัย ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมวัสดุ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์และพลาสติก หลักการการจัดการของเสียที่ดีตามหลัก 3Rs และข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรมภายในโรงงาน จากนั้นทำการตรวจสอบกิจกรรมและแหล่งกำเนิดของเสียของ โรงงาน โดยทำการระบุชนิดของเสียที่ออกมาจากกระบวนการผลิตหลัก และกระบวนการสนับสนุน ต่อมาจั ดทำเกณฑ์การคัดเลือก โรงงานและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้โรงงานที่มีของเสียที่มีปัญหาและมีความเป็นอันตรายมากที่สุดแล้ว จึงทำการเสนอแนะแนว ทางการจัดการของเสียตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของของเสียแต่ละชนิดตามหลัก 3Rs เพื่อช่วยลดปริมาณของของเสียที่ต้องนำไป ฝังกลบ ตารางที่ 1 ชนิดของเสียของโรงงานที่ยังกำจัดโดยวิธีฝังกลบ หรือไม่มีการนำไปใช้ประโยชน์ หรือมีศักยภาพในการเพิ่มมูลค่าการใช้ ประโยชน์มากกว่ารูปแบบที่โรงงานใช้ในปัจจุบัน โรงงานที่ก่อกำเนิดของเสีย ประเภทกิจการโรงงาน 1. อุตสาหกรรมยานยนต์ โรงงาน A

โรงงาน B

โรงงาน C โรงงาน D

โรงงาน E

ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์

ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ โดยมีการ หลอมเหล็ก ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์

กิจกรรมที่ก่อให้เกิดของเสีย

ชนิดของเสีย

กระบวนการทำความสะอาดชิ้นงาน กระบวนการทำความสะอาดชิ้นงาน กระบวนการทำความสะอาดชิ้นงาน กระบวนการบำบัดน้ำเสีย กระบวนการเจียรชิ้นงาน กระบวนกลึงชิ้นงาน

ตะกอนไซยาไนด์ ตัวกรองไซยาไนด์ ภาชนะปนเปื้อนสารเคมี กากตะกอนจากระบบบำบัด ฝุ่นเหล็กจากการเจียร น้ำมันหล่อเย็น

ห้องปฎิบัติการวิเคราะห์ ซ่อมบำรุง ผลิตชิ้นส่วน กระบวนการบำบัดน้ำเสีย ยานยนต์ กระบวนการผลิต กระบวนการผลิต ผลิตล้อ และชิ้นส่วน การบำบัดน้ำเสีย ยานยนต์จากอลูมิเนียม กระบวนการตัดแต่ง ปรับสภาพผิวโลหะ

สารเคมีใช้แล้ว จาระบีเสื่อมสภาพ กากตะกอนจากระบบบำบัด กากตะกอนหินเจียร เศษใบหินเจียรปนเปื้อนน้ำมัน กากตะกอนจากระบบบำบัด เศษอลูมิเนียม

146


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โรงงาน F ผลิตชิ้นส่วน อิเล็คทรอนิคส์ โรงงาน G

3. อุตสาหกรรมอาหาร โรงงาน H

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กระบวนการขัด/เจียร/กลึง กระบวนการบำบัดน้ำเสีย

ผลิต ซ่อมแซม จำหน่าย กระบวนการประกอบชิ้นส่วน หม้อแปลงไฟฟ้า กระบวนการประกอบชิน้ ส่วน กระบวนการตัดตกแต่ง กระบวนการซ่อมงานหม้อแปลง

เศษใบหินเจียรปนเปื้อนน้ำมัน กากตะกอนจากระบบบำบัด น้ำเสีย เศษลูกถ้วย เศษฝุ่นจากการเชื่อมมีขยะปน ขี้เลื่อย ใบหินเจียร

ผลิตสับปะรดและผลไม้ คลังสินค้า รวมบรรจุกระป๋องและ น้ำสับปะรดเข้มข้น

ผลิตภัณฑ์ผลไม้หมดอายุ

โรงงาน I

ผลิตแป้งสำปะหลัง

กระบวนการผลิตผลิตแป้งสำปะหลัง

เถ้าจากเตาความร้อน

4. อุตสาหกรรมวัสดุ โรงงาน J

ผลิตอลูมเิ นียมแผ่น

กระบวนการบำบัดน้ำเสีย

โรงงาน K

ผลิตเครื่องมือช่าง

กระบวนการผลิต กระบวนการผลิตตลับเมตร

กากตะกอนน้ำเสีย (Phosphate) เศษผ้า ถุงมือปนเปื้อน น้ำล้างฟิล์ม

5. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลาสติก โรงงาน L ผลิตเคมีภัณฑ์งาน ก่อสร้าง

กระบวนการผลิต

โรงงาน M

กระบวนการผลิต

ผลิตน้ำยางข้น

ภาชนะปนเปื้อน น้ำเสีย (จากการล้างถังน้ำยา ผสมคอนกรีต) เศษขี้ยาง

จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่า ของเสียบางชนิดยังไม่มีเทคโนโลยีภายในประเทศที่สามารถจัดการนำของเสียไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เป็นต้น ปัจจุบันทางโรงงานจัดการด้วยวิธีนำไปฝังกลบอย่างปลอดภัยซึ่งเป็นแนวทางที่เหมาะสม ณ สถานการณ์ปัจจุบันอันเนื่องมาจากข้อกำจัดด้านเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังมีกากของเสียหลายประเภทที่มีข้อจำกัดในเรื่องของความ เป็นอันตรายที่ทำให้ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ด้วยวิธีอื่นนอกจากวิธีการเผาทำลาย แต่ยังมีของเสียอีกหลายชนิดที่สามารถ นำมาใช้ประโยชน์ได้แต่วิธีการจัดการของโรงงานยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสม อีกทั้งของเสียเหล่านั้นยังมีแนวโน้มที่สามารถเพิ่มศักยภาพ ด้วยวิธีการจัดการที่เหมาะสมได้ ดังนั้นจึงได้ทำการคัดเลือกโรงงานที่มีแนวโน้มการนำของเสียไปใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการอื่นๆ ตาม เกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน

147


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 2 เกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

เกณฑ์

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เกณฑ์การตัดสิน

1. ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ 1.1 ภาวะโลกร้อน สิง่ แวดล้อม

เกี่ยวข้องทั้งหมด = 1 เกี่ยวข้องบางสาเหตุ = 2 ไม่เกี่ยวข้อง = 3 1.2 ความเป็นกรด-ด่าง เกิดทั้งความเป็นกรดและด่าง = 1 เกิดความเป็นกรดหรือด่าง = 2 ไม่เกิดความเป็นกรดด่าง = 3 1.3 มลพิษทางดิน ส่งผลกระทบต่อชุมชน = 1 ส่งผลกระทบแต่ป้องกันไม่ให้กระทบต่อชุมชน = 2 ไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชน = 3 1.4 มลพิษทางอากาศ ส่งผลกระทบต่อชุมชน = 1 ส่งผลกระทบแต่ป้องกันไม่ให้กระทบต่อชุมชน = 2 ไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชน = 3 1.5 มลพิษทางน้ำ ส่งผลกระทบต่อชุมชน = 1 ส่งผลกระทบแต่ป้องกันไม่ให้กระทบต่อชุมชน = 2 ไม่สง่ ผลกระทบต่อชุมชน = 3 2. ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ 2.1 ผลกระทบเฉียบพลัน เกิดอาการทั้งหมด = 1 สุขภาพ (อาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ไอ จาม ผิวไหม้ เกิดบางอาการ = 2 การบาดเจ็บจากการทำงาน) ไม่เกิดอาการเลย = 3 2.2 ผลกระทบระยะยาว เกิดโรคทั้งหมด = 1 (มะเร็ง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจ แขนขาชา เกิดบางโรค = 2 โรคทางเดิ น อาหาร โรคทางเดิ น หายใจ ระบบ ไม่เกิดโรคเลย = 3 ประสาท, โรคไต โรคหัวใจ โรคปอด เป็นต้น) 3. ด้านเศรษฐกิจ 3.1 แนวโน้มการเจริญเติบโต แนวโน้มการเติบโตมากกว่า 3% = 1 แนวโน้มการเติบโตอยู่ระหว่าง 1% ถึง 3% = 2 แนวโน้มการเติบโตน้อยกว่า 1% = 3 4. ด้านสังคม 4.1 นโยบายสิ่งแวดล้อม ไม่มีนโยบาย = 1 มีนโยบายแต่ไม่มีการปฏิบัติ = 2 มีนโยบายและปฏิบัติได้ดี = 3 4.2 เจ้าหน้าที่จัดการของเสีย ไม่มีเจ้าหน้าที่จัดการของเสีย = 1 มีเจ้าหน้าทีจ่ ัดการของเสียแต่ไม่มีการปฏิบัติ = 2 มีเจ้าหน้าที่จัดการของเสียและมีการปฏิบัติที่ดี = 3 4.3 ทางเลือกการใช้ประโยชน์ ไม่มีของเสียนำไปใช้ประโยชน์ = 1 มีของเสียบางประเภทนำไปใช้ประโยชน์ = 2 มีของเสียนำไปใช้ประโยชน์ทั้งหมด = 3

148


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 3 ระดับและช่วงคะแนนของเกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน ระดับ ช่วงคะแนน คำนิยาม น้อย 25.00 – 41.67 กากของเสียในโรงงานไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้และกำจัดโดยวิธีการฝังกลบหรือเผา ทำลาย ปานกลาง 41.68 – 58.35 มีแนวทางการปฏิบัติในการจัดการของเสียที่ดี อย่างไรก็ตามของเสียบางประเภทในโรงงาน ควรปรับวิธีการใช้ประโยชน์ของเสียใหม่เพื่อลดของเสียส่งไปกำจัดในอนาคต มาก 58.36 – 75.00 มีแนวทางการปฏิบัติใ นการจัดการของเสีย ที่ด ี และของเสียภายในโรงงานสามารถใช้ ประโยชน์ได้ทั้งหมด และไม่มีการนำของเสียไปฝังกลบหรือเผาทำลาย ยกเว้นประเภทของ เสียที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมอนุญาตให้ฝังกลบได้ ผลการวิจัยและอภิปรายผล จากการผลการศึกษาพบว่าโรงงาน 12 แห่ง ทั้งในอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมวัสดุ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลาสติก มีผลการประเมินปัจจัยด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม สุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องสำหรับโรงงานที่ศึกษา ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม

เกณฑ์ 1.1 ภาวะโลกร้อน

1.2 ความเป็นกรด-ด่าง 1.3 มลพิษทางดิน 1.4 มลพิษทางอากาศ 1.5 มลพิษทางน้ำ 2. ผลกระทบต่อ 2.1 ผลกระทบ สุขภาพ เฉียบพลัน 2.2 ผลกระทบระยะ ยาว 3. ด้านเศรษฐกิจ 3.1 แนวโน้มการ เจริญเติบโต 4. ด้านสังคม 4.1 นโยบาย สิ่งแวดล้อม 4.2 เจ้าหน้าที่จัดการ ของเสีย 4.3 ทางเลือกการใช้ ประโยชน์ คะแนนรวม %

คะแนนการประเมินของแต่ละโรงงาน A

B

C

D

E

F

G

H

I

J

K

L

M

16

8

16

8

8

8

8

16

8

24

16

24

8

24 16 24 8 10

24 8 16 8 10

16 8 16 8 10

24 16 24 16 10

24 8 24 16 10

24 24 16 16 10

24 24 16 16 10

16 24 24 24 15

24 16 8 24 10

8 16 24 24 10

8 16 8 16 10

16 16 24 8 10

8 16 16 24 10

5

10

10

10

10

10

10

15

10

10

10

10

10

10

10

10

10

10

5

5

5

5

5

5

5

5

14

14

14

21

14

14

14

7

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

14

7

21

14

21

21

21

21

21

21

7

14

21

7

148 143 136 174 159 162 162 181 154 156 131 162 132 64.9 62.7 59.6 76.3 69.7 71.1 71.1 79.4 67.5 68.4 57.5 71.1 57.9

149


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากผลการคัดเลือกโรงงาน โรงงานที่ถูกคัดเลือกคือ โรงงาน K และ M คะแนนที่ได้คือ 57.5 และ 57.9 ตามลำดับ ซึ่ง จากเกณฑ์คะแนนที่กำหนดไว้คะแนนที่ได้อยู่ระหว่าง 41.68 - 58.35 คะแนน และช่วงคะแนนของโรงงาน K และ M อยู่ในช่วง คะแนนระดับปานกลาง หมายความว่ามีแนวทางการปฏิบัติในการจัดการของเสียที่ดี แต่อย่างไรก็ตามของเสียบางประเภทใน โรงงานควรปรับวิธีการใช้ประโยชน์ของเสียใหม่เพื่อลดของเสียที่ต้องส่งไปกำจัดในอนาคต สำหรับโรงงานที่ มีคะแนนอยู่ในช่วง 58.36 - 75.00 คะแนน หมายความว่ามีแนวทางการปฏิบัติในการจัดการของเสียที่ดี และของเสียภายในโรงงานสามารถใช้ ประโยชน์ได้ทั้งหมด และไม่มีการนำของเสียไปฝังกลบหรือเผาทำลาย ยกเว้นประเภทของเสียที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมอนุญาตให้ ฝังกลบได้ แนวทางการใช้ประโยชน์กากของเสียอุตสาหกรรม จากผลของเกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน พบว่าโรงงาน K และ M มีของ เสียที่เป็นปัญหาและมีความรุนแรง ซึ่งโรงงานยังใช้วิธีการกำจัดโดยการนำไปฝังกลบ กักเก็บไว้ในโรงงาน รวมถึงการเผาทำลาย ยัง ไม่มีการนำไปใช้ประโยชน์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะแนวทางในการจัดการของเสียตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของกากของเสีย ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แนวทางการจัดการของเสียตามศักยภาพการใช้ประโยชน์ของกากของเสีย โรงงาน ชนิดของของเสีย แนวทางการใช้ประโยชน์ K ผ้าและถุงมือปนเปื้อนน้ำมัน เผาเพื่อเอาพลังงาน น้ำล้างฟิล์ม M เศษขี้ยาง เผาเพื่อเอาพลังงาน การนำมาเผาเพื่อเอาพลังงาน โดยกระบวนการเผาไหม้ (Combustion) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชั่นอย่างรวดเร็วระหว่าง ออกซิเจนกับเชื้อเพลิง ดังนั้นของเสียที่มีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงจึงต้องมีสารที่เผาไหม้ได้เป็นองค์ประกอบ และเมื่อเกิดการเผาไหม้ แล้วจะปลดปล่อยค่าความร้อนออกมา ซึ่งได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน (กำมะถันที่ถูกเผาไหม้จะปลดปล่อยค่าความร้อนออกมาน้อย มากเมื่อเทียบกับคาร์บอนและไฮโดรเจน) สำหรับวัสดุชีวมวลและของเสียที่มีการนำมาแปรรูปให้เป็นเชื้อเพลิงในปัจจุบัน จำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1.) ชีวมวลหรือของเสียที่มีเส้นใยเป็นองค์ประกอบ 2.) ชีวมวลหรือของเสียที่มีแป้งและน้ำตาลเป็นองค์ประกอบ 3.) ชีวมวลหรือของเสียที่มีน้ำมันเป็นองค์ประกอบ ของเสียที่สามารถนำมาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิง จะต้องได้รับการตรวจสอบความเหมาะสมทั้งในแง่การปนเปื้อนสารอันตราย และคุณสมบัติทางเชื้อเพลิง ดังนี้ 1.) การปนเปื้อนสารอันตราย สารอันตรายไม่ควรมีอยู่ในของเสียที่จะนำมาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากมีโอกาสสูงที่จะ ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานและความเสียหายต่ออุปกรณ์ที่นำไปใช้งาน ได้แก่ 1.1) สารออกซิไดเซอร์ (Oxidizer) เช่น อะลูมิเนียมไนเตรท แอมโมเนียมไนเตรท แบเรียมคลอเรต โบรมีนเพน ตะฟลูออไรด์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ อะเซทิลอะซีโตนเปอร์ออกไซด์ 1.2) สารที่ก่อให้เกิดการระเบิดเมื่อถูกทำให้ร้อน เช่น สารประกอบแอมโมเนีย สารประกอบไดโครเมต

150


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

1.3) สารกัดกร่อนที่เป็น Strong Oxidizing Agent เมื่อได้รับความร้อนหรือทำปฏิกิริยากับโลหะ ซึ่งมีทั้งกรดอ นินทรีย์ ได้แก่ กรดไนตริก กรดไฮโดรฟลูออริก กรดเปอร์คลอริก และสารประกอบฮาโลเจน ได้แก่ คลอรีน และฟลูออรีน นอกจากสารอันตราย 3 กลุ่มนี้แล้ว ยังต้องตรวจสอบการปนเปื้อนสารอนินทรีย์อันตรายและสารอินทรีย์อันตราย รวมถึง โลหะหนักชนิดต่างๆ ในของเสียเปรียบเทียบกับเกณฑ์ คุณสมบัติของเสียที่เป็นอันตรายตามภาคผนวกที่ 2 ท้ายประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม พ.ศ.2548 ด้วย โดยชนิดสารอันตรายปนเปื้อนในของเสียที่ควรตรวจสอบ สามารถพิจารณาได้จากสารเคมีที่ใช้งานใน กระบวนการที่ก่อให้เกิดของเสียนั้นๆ 2.) คุณสมบัติทางเชื้อเพลิง 2.1) ค่าความร้อน (Calorimetric Value or Heating Value) คือ ปริมาณความร้อนที่เกิดขึ้นเมื่อของเสียถูก เผาไหม้อย่างสมบูรณ์ หรือเรียกว่า ความร้อนของการเผาไหม้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ค่าความร้อนสูงและค่าความร้อน ต่ำ มีหน่วยเป็นกิโลจูล (kJ) หรือ กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัมของเสีย (kcal/kg) 2.1.1) ค่าความร้อนสูง (High Heating Value, HHV) เป็นปริมาณความร้อนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจาก การเผาไหม้ของเสีย ซึ่งรวมถึงปริมาณความร้อนแฝงที่ถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อไอน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้น้ำที่ เป็นองค์ประกอบของของเสียเกิดการควบแน่น 2.1.2) ค่าความร้อนต่ำ (Low Heating Value, LHV) เป็นค่าความร้อนจากการเผาไหม้ของเสียที่ไม่ รวมค่าความร้อนแฝง ค่าความร้อนสูง และค่าความร้อนต่ำที่ตรวจวัดได้ในของเสียชนิดหนึ่งจะแตกต่างกันเสมอ โดยค่าความแตกต่างขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำหรือความชื้นที่อยู่ในของเสีย ดังนั้น ในกรณีของเสียมีความชื้นมากๆ อาจใช้วิธีการตากแดดหรือผึ่งลมเพื่อลดความชื้นในของเสีย แล้วตรวจวัดเฉพาะค่าความร้อนสูงก็ได้ 2.2) ปริมาณสารที่ระเหยได้ (Volatile Matters) คือ องค์ประกอบในของเสียที่สามารถระเหยได้เมื่อได้รับ ความร้อน ของเสียที่มีปริมาณสารระเหยได้สูง จะมีแนวโน้มที่มีค่าความร้อนสูงด้วย 2.3) ปริมาณความชื้น (Moisture Content) คือ ปริมาณน้ำที่คงเหลืออยู่หลังจากที่ตากแห้งของเสีย ความชื้น ของของเสียมีผลต่อค่าความร้อนโดยตรง โดยหากของเสียมีความชื้นมากจะทำให้มีการสูญเสียความร้อนไปกับการระเหย ความชื้นในระหว่างการเผาไหม้ ทำให้ค่าความร้อนที่ได้ต่ำลง 2.4) ปริมาณคาร์บอนคงตัว (Fixed Carbon) คือ ปริมาณสารประกอบคาร์บอนซึ่งระเหยได้ยาก โดยจะคง เหลืออยู่ในของเสียหลังจากที่เผาสารระเหยออกไปแล้วที่อุณหภูมิ 750 องศาเซลเซียส 2.5) กำมะถันรวม (Total Sulfur) เมื่อกำมะถันทำปฏิกิริยาสันดาปกับออกซิเจน จะกลาย เป็นซัลเฟอร์ได ออกไซด์ ดังนั้นหากของเสียที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบอยู่ในปริมาณมาก จึงไม่เหมาะจะเป็นเชื้อเพลิงเนื่องจากจะเกิดมล สารซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากการเผาไหม้ในปริมาณมากด้วย 2.6) เถ้า (Ash) คือ ส่วนของสารอนินทรีย์ที่เหลือจากการสันดาป ภายในเตาเผาที่อุณหภูมิ 950 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ซึ่งประกอบด้วย ซิลิกา แคลเซียมออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ โดยสรุปคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงของของเสียที่เหมาะสมสำหรับนำมาเผาเพื่อเอาพลังงาน และโครงสร้างทางเคมีของวัสดุที่ มีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงแสดงดังตารางที่ 6 และรูปที่ 1 ตามลำดับ

151


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 6 คุณสมบัติของเสียที่เหมาะสมสำหรับนำมาเผาเพื่อเอาพลังงาน ค่าความร้อน มากกว่า 4,000 แคลลอรี/กรัม ปริมาณคาร์บอนคงตัว สูง ปริมาณความชื้น น้อยกว่า 20% ปริมาณสารที่ระเหยได้ น้อยกว่า 20% ปริมาณเถ้า ต่ำ

รูปที่ 1 โครงสร้างทางเคมีของวัสดุที่มีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิง ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม [3] สรุปและข้อเสนอแนะ กากของเสียอุตสาหกรรมที่เกิดจากกระบวนการผลิต และกระบวนการสนับสนุนภายในโรงงานที่ได้ทำการคัดเลือกมาแล้ว นั้น สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายตามวิธีการปฏิบัติที่ดีในการจัดการของเสียภายในโรงงานตามที่ได้แนะนำไปข้างต้น นอกจากนี้กากของเสียอุตสาหกรรมจากโรงงานทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น ยังสามารถพิจารณาแนวทางการใช้ประโยชน์อื่นๆได้ โดย วิธีการเปลี่ยนรหัสการกำจัดกากของเสียอุ ตสาหกรรมให้เหมาะสมกับชนิดของของเสียและถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งได้ทำการ เสนอแนะดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 แนวทางการใช้ประโยชน์กากของเสียของโรงงานในระดับอุตสาหกรรม โรงงาน ชนิดของเสีย แนวทางการใช้ประโยชน์ (รหัสวิธีกําจัด) โรงงาน A ตะกอนไซยาไนด์ 1. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 2. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น โรงงาน A ตัวกรองไซยาไนด์ 1. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 2. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 3. เผาเพื่อเอาพลังงาน (043) 4. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 5. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 6. เข้ากระบวนการนำโลหะกลับมาใหม่ (052) 7. นำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วอื่นกลับคืนมาใหม่ (059)

152


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

โรงงาน โรงงาน A, L

ชนิดของเสีย ภาชนะปนเปื้อนสารเคมี

โรงงาน B, G

ฝุ่นเหล็กจากการเจียร

โรงงาน B

น้ำมันหล่อเย็น

โรงงาน A, D, E, F, และ J กากตะกอนจากระบบ บำบัด โรงงาน E

เศษอลูมิเนียม

โรงงาน D, F, G โรงงาน H

เศษใบหินเจียรปนเปื้อน น้ำมัน ผลิตภัณฑ์ผลไม้หมดอายุ

โรงงาน I

เถ้าจากเตาความร้อน

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

แนวทางการใช้ประโยชน์ (รหัสวิธีกําจัด) 1. คัดแยกประเภทเพื่อจำหน่ายต่อ (011) 2. ส่งกลับผู้ขายเพื่อนำกลับไปบรรจุใหม่ หรือใช้ซ้ำ (033) 3. นำกลับมาใช้ซ้ำด้วยวิธีอื่น (039) 4. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 5. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 6. เผาเพื่อเอาพลังงาน (043) 7. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 8. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 1. คัดแยกประเภทเพื่อจำหน่ายต่อ (011) 2. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 3. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049 1. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 2. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 3. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 1. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 2. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 3. หมักทำปุ๋ยหรือสารปรับปรุงดิน (083) 1. คัดแยกประเภทเพื่อจำหน่ายต่อ (011) 2. นำกลับมาใช้ซ้ำด้วยวิธีอื่น (039) 3. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 4. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 5. เข้ากระบวนการนำโลหะกลับมาใหม่ (052) 1. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 2. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 1. นำกลับมาใช้ซ้ำด้วยวิธีอื่น (039) 2. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 3. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 4. เผาเพื่อเอาพลังงาน (043) 5. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 6. หมักทำปุ๋ยหรือสารปรับปรุงดิน (083) 7. ทำอาหารสัตว์ (084) 1. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042)

153


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

โรงงาน โรงงาน J

ชนิดของเสีย กากตะกอนน้ำเสีย (Phosphate)

โรงงาน K

เศษผ้า ถุงมือปนเปื้อน

โรงงาน K

น้ำล้างฟิล์ม

โรงงาน M

เศษยาง/ขี้ยาง

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

แนวทางการใช้ประโยชน์ (รหัสวิธีกําจัด) 1. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 2. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 3. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 4. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 1. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 2. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 3. เผาเพื่อเอาพลังงาน (043) 4. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 5. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 6. เข้ากระบวนการนำโลหะกลับมาใหม่ (052) 7. นำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วอื่นกลับคืนมาใหม่ (059) 1. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 2. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 3. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049) 1. คัดแยกประเภทเพื่อจำหน่ายต่อ (011) 2. นำกลับมาใช้ซ้ำด้วยวิธีอื่น (039) 3. เป็นเชื้อเพลิงทดแทน (041) 4. ทำเป็นเชื้อเพลิงผสม (042) 5. เผาเพื่อเอาพลังงาน (043) 6. เป็นวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ (044) 7. นำกลับมาใช้ประโยชน์ด้วยวิธีอื่น (049)

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2561 [4] กิตติกรรมประกาศ การศึกษานี้ขอขอบคุณโรงงานอุตสาหกรรมและบุคลากรที่เข้าร่วมทั้ง 13 แห่ง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เอกสารอ้างอิง [1] Department of Industrial Work. (2015). คู่มือการจัดการกากอุตสาหกรรม. p. 100. [2] Department of Industrial Work. (2017). Manual of how to 3Rs with waste management within the factory, 64, p. 1-7. [3] Department of Industrial Work. (2012). Manual to the guidelines and characteristic criteria of waste for the processing of fuel bars and interlocking blocks. 85, p. 4-32. [4] Department of Industrial Work. (2018). Industrial waste utilization. Available at: http://induswaste.com

154


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ภาวะซึมเศร้าของผู้มารับบริการคลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลกระทุ่มแบนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง1 และ สายสุดา โภชนากรณ์2 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2 โรงพยาบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร Corresponding author: benjamaporn.run@mahidol.ac.th บทคัดย่อ บทนำ : ภาวะซึมเศร้าพบได้บ่อย และเป็นปัญหาทางสุขภาพจิตซึ่งส่งผลต่ออารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้า และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการคลินิกสุขภาพจิต วิธีวิจัย : การวิจัยแบบพรรณนาโดย การเก็บข้อมูลย้อนหลัง รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่มารับบริการที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลกระทุ่มแบน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง เดือน กันยายน 2561 ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลจากแฟ้ม ประวัติผู้ป่วย และแบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม (9Q) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ ถดถอยไบนารี ผลการวิจัย : ผลการศึกษาพบว่า ผู้รับบริการมีภาวะซึมเศร้าในระดับน้อย (Mean = 9.59, S.D. = 8.49) และพบว่าเพศหญิง วัย สูงอายุและประวัติการทำร้ายตนเองเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในผู้รับบริการ โดยผู้รับบริการเพศหญิงมีโอกาสเกิดภาวะ ซึมเศร้ามากกว่าผู้รับบริการเพศชาย 3.1 เท่า (OR = 3.07, CI = 1.65 - 5.71) ผู้รับบริการที่เป็นผู้สูงอายุมีโอกาสที่จะเกิดภาวะ ซึมเศร้ามากกว่า ผู้รับบริการในวัยอื่น 1.2 เท่า (OR = 1.24, CI = 1.06 - 1.44) ในขณะที่ผู้รับบริการที่มีประวัติทำร้ายตนเอง โอกาสที่จะเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าผู้รับบริการที่ไม่ประวัติทำร้ายตนเอง 1.1 เท่า (OR = 1.08, CI = 1.06 - 1.11) อภิปรายและ สรุป : ผลการวิจัยครั้งนี้ ให้ข้อเสนอแนะว่าพยาบาลและผู้มีหน้าที่ เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้รับบริการควรนำผลการวิจัยนี้ไปใช้ เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมหรือโปรแกรม เพื่อให้การดูแลผู้รับบริการเพศหญิงที่เป็นผู้สูงอายุ และมีประวัติทำร้ายตนเอง เพื่อลดและป้องกันภาวะซึมเศร้าในผู้รับบริการ คำสำคัญ: ภาวะซึมเศร้า, เพศ, ผูส้ ูงอายุ

155


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Depression among Patients in psychiatric clinic of Krathum Baen Hospital and Its Associated Factors Benjamaporn Rungsang1 and Saysuda Pochnagone2 1

Faculty of Liberal Arts, Mahidol University 2 Krathum Baen Hospital Corresponding author: benjamaporn.run@mahidol.ac.th Abstract Introduction: Depression is a common and mental health problem that negatively affects emotion, thought and human behaviors. Objective: To determine depression and other related factors among patients in psychiatric clinic. Methodology: The patients in psychiatric clinic from October 2015 to September 2018 were conducted from out-patient department records and psychiatric clinic records. Descriptive statistics and binary logistic regression were used to analyze the data. Results: The overall depression level was mild (Mean = 9.59, S.D. = 8.49). Gender was the highest potential risk factor, followed by elderly and having a history of attempted suicide. Participants who were female and elderly age had the greater risks of depression 3.1 (OR = 3.07, CI = 1.65 - 5.71) and 1.2 times (OR = 1.24, CI = 1.06 - 1.44) of their counterparts, respectively. In addition, participants with a history of attempted suicide were 1.1 times (OR = 1.08, CI = 1.06 - 1.11) more likely to have depression compared with those without a history of attempted suicide. Discussion and conclusion: These findings suggested that nurses and related personnel for patients could obtain these results to utilize for planning an activity or a program should be targeted to female, elderly age, especially those with a history of attempted suicide. Consequently, suicidal ideation in adolescents would be lessen and preventable. Keywords: Depression, Gender, Elderly

156


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ภาวะซึมเศร้า (Depression) หมายถึง ภาวะจิตใจที่แสดงออกถึงความผิดปกติของอารมณ์ เช่น อารมณ์เศร้า ไม่มี ความสุข เบื่อหน่าย หดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง เซื่องซึม นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ขาดสมาธิ วิตกกังวล มองโลกในแง่ลบ (นันทิรา หงส์ศรี สุวรรณ์, 2559; Beck, 1967) ภาวะซึมเศร้า นับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากข้อมูลองค์การอนามัย โลกรายงานว่าโรคซึมเศร้าเป็นโรคที่พบบ่อยโดยคาดว่ามีผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าถึง 121 ล้านคนทั่วโลก (WHO, 2011) สำหรับ ประเทศไทย จากข้อมูลกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 พบคนไทยป่วยโรคซึมเศร้า 1.5 ล้านคน และพบว่ามี แนวโน้มที่จะรุนแรงขึ้น โดยการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ความชุกของโรคซึมเศร้าในปี 2551 ในประชากรทั่วไปคิดเป็นร้อยละ 3.45 ในขณะที่ความชุกของโรคซึมเศร้าในประชากรที่อายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนที่สูงกว่าประชากรทั่วไปและ มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตามช่วง อายุ โดยพบความชุกของ โรคซึมเศร้าร้อยละ 4.3 ในช่วงอายุ 60-69 ปี และร้อยละ 5.6 และ ร้อยละ 8.0 ในช่วงอายุ 70-79 ปี และมากกว่าหรือเท่ากับ 80 ปีขึ้นไป ตามลำดับ (หวาน ศรีเรือนทอง และคณะ, 2554) ต่อมากรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการดูแล อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งใน ปี 2557 ภาวะซึมเศร้าในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความชุกลดลงเท่ากับร้อยละ 3.0 โดยความ ชุกในเพศหญิง มากกว่าชาย (ร้อยละ 3.8 และ 2.1 ตามลำดับ)พบว่า ความชุกเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ในเพศชายสูงสุดในกลุ่ม 80 ปีขึ้นไป ร้อยละ 5.0 ส่วนในเพศหญิงสูงสุดในกลุ่ม 70-79 ปี ร้อยละ 8.5 (วิชัย เอกพลากร, 2557) การแก้ปัญหาภาวะซึมเศร้าที่ ผ่านมาจึงมุ่งเน้นไปยังกลุ่มวัยผู้สูงอายุ โดยภาวะซึมเศร้ามีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย อาทิ ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความ ผิดปกติ ของสารชีวเคมีในสมอง ปัญหาทางด้านจิตใจ และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม จะเห็นได้ว่าสาเหตุของการเกิด ภาวะซึมเศร้าเกิด จากปัจจัยภายในและภายนอก ทั้งที่สามารถควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ (นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์ , 2559) และในปัจจุบันพบว่า ปัจจัยทางสังคม เช่น การไม่มีทาง เลือกในชีวิต การขาดกำลังใจ ประกอบกับการสูญเสียในชีวิต ทำให้เกิดความรู้ สึกท้อแท้ สิ้น หวัง จนเกิดอาการซึมเศร้าที่รุนแรงได้ (กฤตนัย แก้วยศ และคณะ, 2557) ภาวะซึมเศร้านั้นก่อให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะไป 1.4 ล้านปี (ร้อยละ 2.4) และ 1.9 ล้านปี (ร้อยละ 7.1) ในชายและ หญิงตามลำดับ (วิชัย เอกพลากร, 2557) ยิ่งไปกว่านั้นภาวะซึมเศร้าก็เป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของการฆ่าตัวตาย (Beck, 1967; กฤตนัย แก้วยศ และคณะ, 2557; นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์, 2559) จึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องทำการศึกษาเพื่อหาแนวทางใน การดูแลและป้องกันผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า งานวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของผู้ที่มารับบริการที่คลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลกระทุ่มแบน รวมทั้งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยรวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยนอกและแฟ้มประวัติผู้ป่วยของ กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด ทั้งนี้งานวิจัยนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมของโรงพยาบาลกระทุ่มแบน กลุ่ม ตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้ที่เข้ามารับบริการที่คลินิกจิตเวช ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือน กันยายน 2561 ซึ่งได้จากการเลือกแบบ เจาะจง จำนวน 374 คน เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ชุด ดังนี้ 1. แบบบันทึกข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และประวัติการทำร้ายตนเอง

157


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2. แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม (9Q) พัฒนาขึ้นโดย ธรนินทร์ กองสุขและคณะ (2561) มีคำถาม 9 ข้อแบ่งเป็น 4 ระดับ ความรุนแรงคือ ได้คะแนน < 7 หมายถึง ปกติ ได้คะแนน 7-12 หมายถึง mild ได้คะแนน 13-18 หมายถึง moderate ได้ คะแนน >18 หมายถึง severe ค่า Cronbach’s Alpha เท่ากับ .812 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .719 (P < .001) การวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย ใช้สถิติเชิงพรรณนา 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยอื่นๆ ใช้ สถิติไคว์สแควร์ (chi-square test) และการวิเคราะห์การ ถดถอยโลจิสติก (logistic regression analysis) ผลการศึกษา พบว่าในช่วงระยะเวลาที่ศึกษามีผู้มารับบริการที่กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติดโรงพยาบาลกระทุ่มแบนทั้งสิ้น 374 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 74.3 ช่วงอายุที่พบบ่อยอยู่ระหว่าง 20 – 29 ปี (ร้อยละ 30.5) ส่วนใหญ่(ร้อยละ 68.4) มีสถานภาพ สมรส อาชีพที่พบได้สูงสุดคือรับจ้าง (ร้อยละ 58.8) ผู้รับบริการส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจำตัว (ร้อยละ 72.2) ในจำนวนผู้รับบริการที่มี โรคประจำตัวทั้งหมด (ร้อยละ 27.8) พบว่าส่วนใหญ่เป็นโรคทางกาย (ร้อยละ 25.7.) และส่วนใหญ่ไม่มีประวัติทำร้ายตนเอง (ร้อยละ 79.7) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ข้อมูล ภาวะซึมเศร้า

เพศ

จำนวนคน

ร้อยละ

Mean = 9.59, S.D. = 8.49 ไม่มี เล็กน้อย ปานกลาง สูง ชาย หญิง

150 86 76 62 96 278

40.1 23.0 20.3 16.6 25.7 74.3

น้อยกว่า 20 20- 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 ขึ้นไป

53 114 68 44 32 63

14.2 30.5 18.2 11.8 8.6 16.8

โสด คู่ หม้าย

79 256 21

21.1 68.4 5.6

อายุ

สถานภาพสมรส

158


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

หย่า / แยก ไม่ระบุ

16 2

4.3 0.5

จำนวนคน

ร้อยละ

เกษตรกรรม รับจ้าง ค้าขาย นักเรียน/นักศึกษา ไม่ได้ประกอบอาชีพ

16 220 15 39 84

4.3 58.8 4.0 10.4 22.5

ไม่มี มี - โรคทางกาย - โรคทางจิต

270 104 96 8

72.2 27.8 25.7 2.1

ไม่มี มี

298 76

79.7 20.3

ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) ข้อมูล อาชีพ

โรคประจำตัว

ประวัติการทำร้ายตนเอง

จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า โดยวิธี logistic regression พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ เพศหญิง วัยสูงอายุและประวัติการทำร้ายตนเอง โดยโดยผู้รับบริการเพศหญิงมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าผู้รับบริการเพศชาย 3.1 เท่า (OR = 3.07, CI = 1.65 - 5.71) ผู้รับบริการที่เป็นผู้สูงอายุมีโอกาสที่จะเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่า ผู้รับบริการในวัยอื่น 1.2 เท่า (OR = 1.24, CI = 1.06 - 1.44) ในขณะที่ผู้รับบริการที่มีประวัติทำร้ ายตนเองโอกาสที่จะเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าผู้รับบริการที่ไม่ประวัติทำร้ายตนเอง 1.1 เท่า (OR = 1.08, CI = 1.06 - 1.11) ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 Logistic regression ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า variables Suicide attempted Elderly age Gender Constant

B .079 .211 1.121 -2.339

S.E. .013 .078 .317 .476

Sig. <.001 <.01 <.001 <.001

Exp(B) 1.083 1.235 3.067 .096

95% C.I.for EXP(B) Lower Upper 1.055 1.111 1.059 1.440 1.648 5.709

159


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปราย การศึกษาครั้งนี้พบว่าความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้รับบริการ รพ.กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร พบร้อยละ 16.6 (62/374) และปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศหญิง (OR = 3.07, CI = 1.65 - 5.71) ผู้สูงอายุ (OR = 1.24, CI = 1.06 - 1.44) มีประวัติทำร้ายตนเอง (OR = 1.08, CI = 1.06 - 1.11) ซึ่งผลการศึกษามีความสอดคล้องกับ การศึกษาของ นภา พวงรอด (2558) และ นัฏศรา ดํารงค์พิวัฒน์ และคณะ (2562) ที่พบว่าส่วนใหญ่เพศหญิงมีภาวะซึมเศร้า มากกว่าเพศชาย และเพศหญิงยังมีโอกาสป่วยเป็นโรคทางจิตเวช major depression มากกว่าเพศชาย (ธัญชนก, 2559) อาจเป็น เพราะเพศหญิงมีลักษณะของอารมณ์ที่มีความอ่อนไหวและไม่สามารถหาทางระบาบออกได้ง่ายเหมือนเพศชาย ทำให้เก็บกดเอาไว้ จนกระทั่งเกิดความเจ็บป่วยทางจิต สอดคล้องกับ การศึกษาของ Beck (1967) กล่าวถึงเพศหญิงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับค่า ของคะแนนภาวะซึมเศร้าแสดงว่าเพศหญิงมีค่าคะแนนภาวะซึมเศร้า มากกว่าเพศชาย มีแนวโน้มที่จะพบภาวะซึมเศร้า ในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย การศึกษาครั้งนี้ยังพบว่า ช่วงอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป หรืออยู่ในวัยสูงอายุเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าซึ่ง ค่อนข้างสอดคล้องกับการศึกษาของโชติมันต์ ชินวรารักษ์และ พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย (2559) ที่พบว่า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าชนิด major depressive disorder ที่แผนกผู้ป่วยนอกจิตเวชส่วนใหญ่มีอายุ 51-60 ปี และการศึกษาของสุจรรยา แสงเขียวงาม (2559) พบว่า ผู้รับบริการที่มีภาวะซึมเศร้าที่มาใช้บริการที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส่วนใหญ่ร้อยละ 62.5 มีอายุ 60 – 69 ปี ซึ่งอาจเนื่องมากจากปัจจุบันสังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุและภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหา ด้านจิตใจและอารมณ์ที่พบได้บ่อยใน ผู้สูงอายุ (นภา พวงรอด, 2558; นัฏศรา ดํารงค์พิวัฒน์ และคณะ,2562) ส่วนประวัติการทำร้ายตนเอง พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผูร้ ับบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สอดคล้องกับการศึกษา ของรจนพรรณ นนัททิรรภ (2559) และธัญชนก บุญรัตน์ (2559) พบว่าการพยายายามฆ่าตัวตายซ้ำในกลุ่ม mood disorder มี ความเสี่ยงสูงที่จะฆ่าตัวตายซ้ำ ซึ่งคล้ายกับการศึกษาในประเทศมาเลเซียที่พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าร้อยละ 83 เคยมีประวัติทำร้าย ตนเองและมีความพยายามที่จะฆ่าตัวตายซ้ำ (Chan , Shamsul, Maniam , 2014) อาการซึมเศร้า ท้อแท้ เบื่อหน่าย สิ้นหวัง มอง ชีวิตไม่มีคุณค่า ดำเนินไปจนสามารถคิดทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายในที่สุด (นัฏศรา ดํารงค์พิวัฒน์ และคณะ, 2562; Beck, 1967; กฤตนัย แก้วยศ และคณะ, 2557; นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์, 2559) ข้อจำกัดของการศึกษานี้ คือเป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง เฉพาะกลุ่มผู้ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพจิต ในโรงพยาบาล กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาครเท่านั้น ไม่ได้ครอบคลุมผู้รับบริการทั้งหมดของโรงพยาบาลกระทุ่มแบนจึงอาจทำให้ความชุกต่ำกว่า ความเป็นจริงเมื่อเทียบทางการศึกษาของคนอื่น สรุป ความชุกของภาวะซึมเศร้าของผู้มารับบริการคลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลกระทุ่มแบนเท่ากับ ร้อยละ 16.6 และพบ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าได้แก่ เพศหญิง อายุ และประวัติทำร้ายตนเอง พยาบาลและผู้มีหน้าที่ เกี่ยวข้องในการดูแล สุขภาพผู้รับบริการควรนำผลการวิจัยนี้ไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมหรือโปรแกรม เพื่อลดและป้องกันภาวะซึมเศร้าใน ผู้รับบริการต่อไป เอกสารอ้างอิง กฤตนัย แก้วยศ, วิญญู ชะนะกลุ, ดษุฏี อุดมอิทธิพงศ์. (2557) ภาวะซึมเศร้าและปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท.

160


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา, 8 (1), 31-41. โชติมันต์ ชินวรารักษ์, พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย.(2559). อาการทางกายและความสัมพันธ์กับความรุนแรงของอาการซึมเศร้าใน ผู้ป่วย โรคซึมเศร้าในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 61(4), 293-306. ธัญชนก บุญรัตน์. (2559).พฤติกรรมการฆ่าตัวตายของผู้ป่วยที่มารักษาที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลหาดใหญ่. วารสารวิชาการ แพทย์เขต 11, 30 (1), 101-110. ธรณินทร์ กองสุข, สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล, ศุภชัย จันทร์ทอง, เบญจมาศ พฤกษ์กานนท์, สุพัตรา สุขาวห, จินตนา ลี้จงเพิ่มพูน. (2561). ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าของแบบประเมินอาการซึมเศร้า 9 คำถามฉบับปรับปรุง ภาษากลาง,วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 63 (4), 321-334. นภา พวงรอด. (2558). การศึกษาภาวะซึมเศร้าของผูส้ ูงอายุในจังหวัด.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2, 63-74. นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์.(2559). ภาวะซึมเศร้า. วารสาร มฉก.วิชาการ, 19 ( 38), 105 – 118. นัฏศรา ดํารงค์พิวัฒน์, โชติมันต์ ชินวรารักษ์, สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย. (2562). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าใน ผู้สูงอายุ ณ หมู่บ้านประชานิเวศน์. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 27(3), 183-195. รจนพรรณ นนัททิรรภ. (2559). ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยอายุรกรรมโรงพยาบาลนครพิงค์. วารสารสวน ปรุง, 32 (1), 1-15. วิชัย เอกพลากร. (บก.). (2557) รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สุจรรยา แสงเขียวงาม.(2559). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรังทีม่ าใช้บริการในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบึงคำพร้อย หมู่ 11 อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2562 จาก https://www.western.ac.th/images/NurseW/RESEARCHPROJECT/2559/depress-elder06.pdf หวาน ศรีเรือนทอง, ธรณินทร์ กองสุข, วชิระ เพ็งจันทร์, พันธุ์นภา กิตติรตั นไพบูลย์, เกษราภรณ์ เคนบุปผา, รุ่งมณี ยิ่งยืน และ คณะ. (2554). ความเสี่ยงการฆ่าตัวตายของคนไทย: การสำรวจระดับชาติ.วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 56,413-424. Beck, A. T. (1967). Depression: Clinical, experimental and theoretical aspects. New York: Heber Medical Division. Chan LF, ShamsulAS, Maniam T. (2014). Are predictors of future suicide attempts and the transition from suicidal ideation to suicide attempts shared or distinct: A 12-month prospective study among patients with depressive disorder. Psychiatry Research, 220, 867-873. World Health Organization. (2011). Depression. สืบค้นวันที่ 5 พฤศจิกายน 2562 จาก http://www.who.int/mental_health/management/depression/definition/en

161


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิสิษฐ์ ดวงตา*, ชุติกาญจน์ ช่วยเมือง และนภัสกร ค้าเจริญ วิทยาลัยการสาธารณสุขสินธร จังหวัดพิษณุโลก *Corresponding author E-mail: pisith@scphpl.ac.th บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่าง เป็ น ผู ้ ป ่ ว ยโรคไตเรื ้ อ รั ง ตำบลวั ด โบสถ์ อำเภอวั ด โบสถ์ จั งหวั ด พิ ษ ณุ โลก จำนวน 137 คน เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ ใ นการวิจั ยคือ แบบสอบถาม 4 ส่วน ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ความเชื่อด้านสุขภาพ ทัศนคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลและ สถิติที่ใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62 อายุ 71-80 ปี ร้อยละ 33.6 สถานภาพสมรสร้อยละ 75.9 จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษาร้อยละ 87.6 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 26.3 รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 75.2 มีโรค ประจำตัวของบุคคลในครอบครัวร้อยละ 91.2 มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าร้อยละ 94.9 ไม่สูบบุหรี่ร้อยละ 77.4 ไม่ดื่ม แอลกอฮอล์ร้อยละ 65.7 พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ในระดั บ ปานกลาง ร้ อ ยละ 80.29 และมี พ ฤติ ก รรมการดู แ ลตนเองในระดั บ สู ง ร้ อ ยละ19.71 ตั ว แปรด้ า น อาชี พ การรับประทานอาหารจานด่วน การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง การไม่ออกกำลังกายและภาวะน้ำหนักเกิน การรับการรักษา ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าเดินทาง การเสียรายได้จากการหยุดงาน บรรจุภัณฑ์ของอาหาร การจัดรายการสินค้าราคา พิเศษ การมีความรู้เรื่องโรคไต การที่เคยได้รับผลกระทบจากการบริโภคอาหารรสเค็ม การรับประทานยา หรืออาหารเสริมที่มี โฆษณาสรรพคุณเกินจริง มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คำสำคัญ: โรคไตเรื้อรัง, พฤติกรรมการดูแลตนเอง, ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

162


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Factors related to self-care behaviors of chronic kidney disease patients at Watbot Sub-District, Watbot District, Phitsanulok Province Pisith Duangta ,Chutikan Chuaymueang, Napatsakorn Kajaroen *Corresponding author E-mail: pisith@scphpl.ac.th Abstract This research was descriptive research. The purposes of this study were 1) to study self-care behaviors of chronic kidney disease patients 2) to study factors related to self-care behaviors of chronic kidney disease patients. Samples were chronic kidney disease patients at Wat Bot Phitsanulok Province 137 people. The tools used in the research were 4 parts questionnaire contains general information, health belief, attitude, self-care behavior. Analysis of data and statistics using descriptive statistics using frequency, percentage, mean, standard deviation and chi-square. The study found that most of samples were female 62 %, aged 71-80 years 33.6 %, married status 75.9 %, 87.6 % of primary school graduates, agricultural workers 26.3 %, and monthly income was less than 10,000 baht 75.2 %. They have 91.2% of family diseases. They had a universal health insurance card 94.9 %, 77.4 % of non-smokers and not drinking alcohol 65.7 %. Self-care behaviors of chronic kidney disease patients at moderate level were 80.29 % and high level were 19.71 %.Variables that were related to self-care behaviors of chronic kidney disease patients were occupation ,fast food, avoiding risk behaviors, not exercising and overweight, receiving treatment medical expenses and travel expenses ,loss of income from work, breaks food packaging Special item pricing, knowledge of kidney ,disease being affected by the consumption of salty , food Taking medication or supplements with advertisements informing properties, was related to self-care behaviors of chronic kidney disease patients with statistical significance at the level 0.05 Keywords: chronic kidney disease, self-care behavior, chronic kidney disease patients

163


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ โรคไตเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ต่ำและมีอัตราการเสียชีวิตสูงเมื่อ เทียบกับโรคเรื้อรังชนิดอื่นๆ (สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย, 2561) สาเหตุของโรคไตเรื้อรัง ที่พบบ่อยเกิดจากโรคเบาหวานและ ภาวะความดันโลหิตสูง อีกทั้งโรคไตเรื้อรังในระยะแรกมักไม่พบอาการผิดปกติทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคไต โดยมักตรวจพบเมื่อโรคดำเนินไปมากแล้วหรือเมื่อโรคดำเนินเข้าสู่ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ประเสริฐ ธนกิจจารุ, 2558) ซึ่ง เป็นระยะที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไต เช่น การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางช่องท้องหรือ การผ่าตัดปลูกถ่ายไต ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอย่างเลี่ยงไม่ได้ (สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย, 2561) ค่าใช้จ่ายในการ บำบัดทดแทนไตโดยการล้างไตทางช่องท้องหรือการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเฉลี่ยประมาณ 240,000 บาทต่อคนต่อปี ซึ่งยังไม่ รวมถึงค่าใช้จ่ายด้วยยา ค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ โดยในปีพ.ศ.2558 มีค่าใช้จ่ายสูงถึง5,247ล้านบาท และจะเพิ่มสูงขึ้นเป็น 6,318 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งถ้ารวมงบประมาณ สำหรับบริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรังในสิทธิ อื่นๆ ได้แก่สิทธิประกันสังคมและ สวัสดิการข้าราชการแล้ว รัฐจำเป็นต้องใช้งบสูงกว่า 10,000 ล้านบาทต่อปี (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2559 ) สถานการณ์ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังกับเชื้อชาติส่วนใหญ่ในประเทศทางตะวันตกพบมีความชุกของโรคไตเรื้อรังประมาณ 1015%ของประชากรผู้ใหญ่ แต่การศึกษาในประเทศแถบเอเชียพบว่าอาจมีความชุกของโรคไตเรื้อรังสูงกว่าในประเทศทางตะวันตก 9,19 นอกจากนี้จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตในประเทศแถบเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น มาเลเซีย ก็มีรายงาน จำนวนเพิ่มขึ้นสาเหตุของความชุกที่เ พิ่มขึ้นอาจเนื่องจากมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สะสมตัวเพิ่มขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูงเบาหวาน โรคอ้วน ไขมันในเลือดสูง โดยเชื่อว่าสาเหตุส่วนหนึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเลียนแบบประเทศตะวันตก มากขึ้น ตัวอย่างเช่น ในประเทศสหรัฐอเมริกาในประชากรอายุ มากกว่า 20 ปีขึ้นไป จากการสำรวจ NHANES 1988-1994 (n = 15,488) และNHANES 1999-2004 (n = 13,233)17 พบว่ามีความชุกของโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-4 จาก 10.0% เพิ่มขึ้นเป็น 13.1% ยุโรปในประชากรชาวนอร์เวย์จำนวน 65,181 คนพบว่ามีความชุกรวม 10.2% โดยแจกแจงเป็นโรคไตเรื้ อรังระยะที่ 1-4 และมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับความชุกของโรคไตเรื้อรังในประชากรชาวอเมริกัน พบว่ามีความชุกของโรคไตเรื้อรังใกล้เคียงกัน แต่การเกิดโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ในประชากรชาวอเมริกันนั้นสูงกว่านอร์เวย์ (ประเสริฐ ธนกิจจารุ,2558) จากสถานการณ์โรคไตเรื้อรังในปัจจุบันที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก คนไทยมีแนวโน้มป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยคนไทย ป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังติดอันดับ 3 ของอาเซียน รองจากมาเลเซียและสิงคโปร์ สาเหตุส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เกิดจากเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ซึ่งมีสถิติผู้ป่วยรวมเกือบ 15 ล้านคน ผลที่ตามมาคือมีภาวะไตเสื่อมและไตเสื่อมเร็วขึ้นหากปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2559 ) ในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไตเรือ้ รังร้อยละ 17.6 ของประชากร หรือประมาณ 8 ล้านคน ในจำนวนนี้ประมาณ 100,000 คน เป็น ผู้ป่วยระยะสุดท้ายต้องรับการบำบัดทดแทนไตด้วยการฟอกเลือด หรือล้างไตทางช่องท้อง ซึ่งต้องใช้งบประมาณในการดูแลรักษา กว่า 20,000 ล้านบาทต่อปี และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องประมาณ 15-20% ต่อปี ในขณะเดียวกันผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังต้องได้รับ ความเจ็บปวด และเสียเวลาในการฟอกเลือดครั้งละ 4-5 ชั่วโมง โดยต้องเดินทางไปโรงพยาบาลทำการฟอกเลือดไม่ตํ่ากว่าสัปดาห์ ละ 2-3 ครั้ง ผู้ป่วยและญาติต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากชีวิตที่ไม่สมบูรณ์ มีความทุกข์ ทั้งกายใจ ในขณะที่แพทย์และ พยาบาลผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาด้านโรคไต ยังไม่เ พียงพอกับปริมาณผู้ป่วยที่มากขึ้น (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2559) รายงานภาวะโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยพ.ศ.2557 พบว่ามีการเสียชีวิตจากไตอักเสบและไตพิการ ในเพศ หญิงสูงถึงร้อยละ 4 (ลำดับที่4) ในเพศชาย ร้อยละ2.3 (ลำดับที่12) เพศหญิงตายด้วยโรคไตอักเสบและไตพิการ มากถึง 8,000 คน

164


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

และ 6,000 คนในเพศชาย เมื่อมองในภาพรวมประชากรไทยสูญเสียปีสุขภาวะจากการป่วยและตายก่อนวัยอันควร (YLL) ด้วยโรค นี้มากถึง 130,000คน/ปีในเพศหญิงและ101,000คน/ปี ในเพศชาย (เภสัชกรรมคลินิกโรงพยาบาลลำพูน , 2557) และจากข้อมูล ในวันที่ 30 กันยายน 2560 มีจำนวนผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ เป็นผู้หญิงจำนวน 20,125 ราย คิดเป็นร้อยละ 51 ของ ผู้ป่วยทั้งหมด ซึ่งกว่า 1 ใน 4 ของผู้ป่วยทั้งหมดนี้ เป็นหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 15-49 ปี และพบประวัติโรคร่วม ได้แก่ โรคเบาหวาน ร้อยละ 49 โรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 81 และโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะร้อยละ 4.2 เพศหญิงก็มีความเสี่ยงที่ต่างจากเพศชาย ในบางกรณี เช่น ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับตั้งครรภ์ อาทิ ภาวะครรภ์เป็นพิษ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการ เจ็ บ ครรภ์ เป็ น ต้ น รวมถึ ง โรคภู ม ิ ค ุ ้ ม กั น ทำลายตั ว เอง และจากประมาณการณ์ ผ ู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง ในอี ก 2 ปี ข ้ า งหน้ า (ปี 2564) จะมีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบเพิ่มเป็นจำนวน 59,209 ราย (กรมควบคุมโรค, 2559) การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีความหลากหลาย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองมีภาวะการทำงานของไตที่แย่ ลงแล้ว งานวิจัยที่ผ่านมาเน้นการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดหรือล้างไต และ การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของ การเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรค การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบั ติเพื่อ ป้องกันโรค แรงจูงใจด้านสุขภาพ และยังมีปัจจัยร่วมอื่นๆที่ เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เช่น อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป โรคแพ้ภูมิตนเองที่อาจก่อให้เกิดไตผิดปกติ โรคติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดโรคไต โรคติดเชื้ อ ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบนซ้ำหลายครั้ง โรคเก๊าท์ หรือระดับกรดยูริกในเลือดสูง การได้รับยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs หรือสารที่มี ผลกระทบต่อไต ประจำ มีประวัติโรคไตเรื้อรังในครอบครัวทั้งที่เป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นในภายหลัง (กรมควบคุมโรค สำนักโรค ไม่ติดต่อ, 2559) ซึ่งจะเห็นว่างานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ผ่านมายังมีน้อยมาก และมีหลากหลายปัจจัยที่อาจ เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้จากปัญหาดังกล่าว งานวิจัยนี้จึงศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เพื่อนำข้อมูลที่ได้ด้านความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติตัว ไปพัฒนาเป็นแนวทางการคัดกรองและการดูแลผู้ป่วยที่ เหมาะสมเพื่อเพิ่มแนวทางการรักษาให้สอดคล้องกับความรู้และการรับรู้ รวมถึงเพื่อเป็นแนวทางเพิ่มอัตราความร่วมมือในการใช้ยา ของผู้ป่วยให้สูงขึ้น และผู้ป่วยมีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา(Descriptive research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือกลุม่ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ข้อมูลปี พ.ศ.2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 214 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 ถึง ระยะที่ 3 ในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ใช้สูตรในการคำนวณตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน(Krejcie & Morgan, 1970) ที่ระดับความ เชื่อมั่น 95% และวิธีการเลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบเจาะจงโดยพิจารณาจากพื้นที่ หมู่1,3,4 ,5 ,7 เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีผู้ป่วยโรคไต เรื้อรังสูง ได้จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 137 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามโดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน ดังนี้

165


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป จำนวน 11 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ การศึกษา อาชีพ รายได้ต่อ เดือน โรคประจำตัว โรคประจำตัวของคนในครอบครัว สิทธิในการรักษา การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความเชื่อด้านสุขภาพแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคไต เรื้อรัง การรับรู้ความรุนแรงของโรคไตเรื้อรัง การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัตเิ พื่อป้องกันโรคไตเรื้อรัง แรงจูงใจด้านพฤติกรรมการ ดูแลโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-3 เป็นคำถามปลายปิด(Closed Question) แบบประเมินค่า(Rating scale) แบ่ง 3 ระดับจำนวน 24 ข้อ ส่วนที่ 3 ทัศนคติ ประกอบด้วย ผู้ที่มีความรู้เรื่องโรคไต ทำให้หลีกเลีย่ งในการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณเกลือสูง ค่านิยมทางวัฒนธรรมมีผลต่อการบริโภคอาหารรสจัด ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการบริโภคอาหารรสเค็มหรือเผ็ด ทำให้บริโภค อาหารรสเค็มหรือเผ็ดน้อยลง แหล่งข่าวสารด้านสุขภาพ มีผลต่อการเลือกบริโภคอาหาร ผู้ที่ออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา มีโอกาสที่ อาการป่วยทรุดลงน้อยกว่าผู้ทไี่ ม่ออกกำลังกาย การรับประทานยา/อาหารเสริมทีม่ ีโฆษณาบอกกล่าวสรรพคุณเกินจริงมีผลทำให้ ท่านเลือกซื้อมารับประทาน เป็นคำถามปลายปิด(Closed Question) แบบประเมินค่า(Rating scale) แบ่ง 3 ระดับจำนวน 6 ข้อ ส่วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ประกอบด้วย ท่านเคยรับประทานยาที่ไม่ได้รับการรับรอง เช่น ยาชุด ยาลูกกลอน ท่านกลั้นปัสสาวะ ท่านรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ท่านรับประทานผักประเภท ใบชะพลู ใบเมี่ยง ผัก เม็ก ผักแว่น ผักกระโดน ผักโขม ท่านรับประทานอาหารที่มรี สชาติเค็มจัด ท่านติดตามผลการตรวจเลือดทุกครั้งถ้าโปแตสเซียมสูง ท่านจะงดการรับประทานผักสดและผลไม้สุก ถ้าความดันโลหิตสูงท่านจะระมัดระวัง เรื่องน้ำดื่มและอาหารที่มีรสเค็ม ท่านปรึกษา แพทย์ พยาบาล หรือนักโภชนาการ เมื่อมีปญ ั หาสงสัยเกี่ยวกับอาหารผู้ป่วยโรคไต เมื่อครอบครัวของท่านรับประทานอาหารรสจัด ท่านจะแยกทำอาหารรับประทานต่างหาก ท่านพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับผู้ป่วยไตวายคนอื่น ๆ เกี่ยวกับการเลือก รับประทานอาหาร โรคไต เป็นคำถามปลายปิด(Closed Question) แบบประเมินค่า(Rating scale) แบ่ง 4 ระดับ จำนวน 10 ข้อ ผู้วิจัยได้ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความน่าเชื่อถือ (Reliability) และความตรง (Validity) ดังนี้ 1. การตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงด้านเนื้อหา(Content validity) ให้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง ความครอบคลุมของเนื้อหา ภาษาและความตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด นำมาวิเคราะห์ด้วยดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.92 2. การตรวจสอบความเชื่อมั่น(Reliability) โดยการนำแบบสอบถามที่ผ่านการแก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วไปทดลองใช้(Try out) วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นโดยสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbrach’s alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ 0.84 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอ วัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ผู้วิจัยดำเนินการดังนี้ คือ 1. ขอพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จากคณะกรรมการจริยธรรมวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดพิษณุโลก 2. ขอหนังสือจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดโบสถ์และผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านท้อแท้ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อขออนุญาตดำเนินการวิจัยผู้ปว่ ยโรคไตเรื้อรังใน ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์และขอความร่วมมือในการจัดทำวิจัย 3. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาปัจจัยทีม่ ีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

166


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

4. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ 5. เขียนรายงานการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติพรรณนา ใช้ในการพรรณนาข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. สถิติทดลองความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามโดยใช้สถิติไค-สแควร์ (chi-square) ผลการวิจัย 1. ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62 อายุอยู่ในช่วง 71 – 80 ปี คิดเป็นร้ อยละ 33.6 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 26.3 รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 75 ไม่สูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ 77.4 ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ คิดเป็นร้อยละ 65.7 2. ความเชื่อด้านสุขภาพ ผลการศึกษาความเชื่อด้านสุขภาพ พบว่า อยู่ในระดับสูง ได้ แก่ การรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัดทำให้โรคไตมีความ รุนแรงมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 2.82 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.388 ความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ 75 อยู่ใน พฤติกรรมระดับปานกลาง การรับประทานอาหารจานด่วน การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง การไม่ออกกำลังกายและภาวะน้ำหนัก เกิน การรับการรักษา ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าเดินทาง การเสียรายได้จากการหยุดงาน บรรจุภัณฑ์ของอาหาร การ จัดรายการสินค้าราคาพิเศษ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.05 3. ทัศนคติ ผลการศึกษาทัศนคติพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการบริโภคอาหารรสเค็ม ทำให้ บริโภคอาหารรสเค็ม มีค่าเฉลี่ย 2.29 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.487 ทัศนคติของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ 100 อยู่ในพฤติกรม ระดับปานกลาง ผู้ที่มีความรู้เรื่องโรคไต ทำให้หลีกเลี่ยงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณเกลือสูง ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการ บริโภคอาหารรสเค็ม ทำให้บริโภคอาหารรสเค็ม การรับประทานยา/อาหารเสริมที่ มีโฆษณาบอกกล่าวสรรพคุณเกินจริง มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. พฤติกรรมการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแลตนเอง ผลการศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองพบว่า อยู่ในระดับสูงคือ ถ้าความดันโลหิตสูงท่านจะ ระมัดระวัง เรื่องน้ำดื่มและอาหารที่มีรสเค็ม มีค่าเฉลี่ย 2.35 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.613 พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรค ไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่มีพฤติกรมระดับปานกลางและระดับสูง ร้อยละ 80.29,19.71 ตามลำดับดังกราฟ 5.ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลก ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลาง และมี พฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 20.4 และ 0.7 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดตามลำดับ จากการทดสอบไคสแควร์ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างอาชีพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลก พบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

167


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การอภิปรายผล 1. ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุอยู่ในช่วง 71 – 80 ปี มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับชั้น ประถมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท มีโรค ประจำตัว บุคคลภายนครอบครัวส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว ใช้สิทธิการรักษาคือ บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ทำให้ทราบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง อยู่ในระดับปานกลาง 2. ความเชื่อด้านสุขภาพ พบว่า ความเชื่อด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่มีความเชื่อด้านสุ ขภาพ อยู่ในระดับปานกลาง และความเชื่อ ด้านสุขภาพ ที่พบส่วนใหญ่การรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัดทำให้โรคไตมีความรุนแรงมากขึ้น รองลงมาได้แก่ อายุที่ มากขึ้นทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเพิ่มมากขึ้น 3. ทัศนคติ พบว่า ทัศนคติที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัด โบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่มีทัศนคติอยู่ในระดับปานกลาง และทัศนคติที่พบส่วนใหญ่ คือ ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบ จากการบริโภคอาหารรสเค็มหรือเผ็ด ทำให้บริโภคอาหารรสเค็ม รองลงมาได้แก่ แหล่งข่าวสารด้านสุขภาพ มีผลต่อการ เลือกบริโภคอาหาร 4. พฤติกรรมการดูแลตนเอง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับปานกลาง และพฤติกรรมที่ พบส่วนใหญ่ ได้แก่ ถ้าความดันโลหิตสูงท่านจะระมัดระวัง เรื่องน้ำดื่มและอาหารที่มีรสเค็ม รองลงมา การรับประทานผัก ประเภท ใบชะพลู ใบเมี่ยง ผักเม็ก ผักแว่น ผักกระโดน ผักโขม 5. ด้านความสัมพันธ์และความสอดคล้อง ข้อมูลทั่วไปที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง คือ อาชีพ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ภทรพรรณ อุณาภาค และ ขวัญชัย รัตนมณี,2558 ที่ได้ทำการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไต ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของโรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า ปัจจัย ด้านประชากร คือ อายุ อาชีพ รายได้ ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปฏิบัติตวั เพื่อชะลอไตเสือ่ มของผู้ป่วยโรคไต เรื้อรัง ความเชื่อด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง คือ การรับประทานอาหารจานด่วนหรืออาหารที่มี คอเลสเตอรอลสูง เช่น กุ้ง ปลาหมึก ไข่แดง ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคไต โรคไตสามารถป้องกันได้โดยการหลีกเลีย่ งพฤติกรรมเสีย่ ง เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกายและภาวะน้ำหนักเกิน หากท่านไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้เสียชีวิต กะทันหันได้ การมาพบแพทย์แต่ละครั้งทำให้ท่านเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าเดินทางเป็นจำนวนมาก การมาพบแพทย์ตามนัด ทำให้ท่านเสียรายได้จากการหยุดงาน บรรจุภัณฑ์ของอาหารรสจัดเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ท่านเลือกซื้อมาบริโภค การจัดรายการ สินค้าราคาพิเศษเช่น ซื้อ 1 แถม 1 ทำให้ท่านเลือกซื้อและบริโภคซอสปรุงรสอาหารมากสอดคล้องกับงานวิจัยที่พบว่า ความรู้ เกี่ยวกับโรคไต การรับรู้ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนและภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อ ชะลอไตเสื่อม และการรับรู้ความสามารถตนเองในการปฏิบัติเพื่อชะลอไตเสื่อม มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปฏิบัติตัวเพื่อ ชะลอการเสื่อมของไต (ภทรพรรณ อุณาภาค และ ขวัญชัย รัตนมณี,2558) ทัศนคติที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง คือ ผู้ที่มีความรู้เรื่องโรคไต ทำให้หลีกเลี่ยงในการบริโภค ผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณเกลือสูง ผู้ที่เคยได้รับผลกระทบจากการบริโภคอาหารรสเค็ม ทำให้บริโภคอาหารรสเค็มลดลง การ รับประทานยา/อาหารเสริมที่มีโฆษณาบอกกล่าวสรรพคุณเกินจริงมีผลทำให้ท่านเลือกซื้อมารับประทาน สอดคล้องกับงานวิจัย

168


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ทศพล ดวงแก้ว และ พัชรินทร์ สิรสุนทร, 2560 ที่ได้ทำการวิจัยเรื่อง การประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ของ Marshall H. Beckerในการศึกษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนเมือง จังหวัดพิษณุโลก พบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่วน ใหญ่มีการรับรู้ในประเด็นการรับรู้ความรุนแรงของโรคมากที่สุด กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเทศบาลเมืองน่าน เทศบาลตำบลเชียงกลาง เทศบาลตำบลดู่ใต้ เทศบาลตำบลกองควาย เทศบาล ตำบลปัว เทศบาลตำบลกลางเวียง เทศบาลตำบลเวียงสา อบต.ถืมตอง อบต.ท่าน้าว อบต.ฝายแก้ว อบต.ฝายแก้ว อบต.ม่วงตื๊ด อบต.ไชยสถาน อบต.เรือง อบต.ผาสิงห์ อบต.สะเนียน และอบต.น้ำปั้ว ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา, 2561 สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศ รายจังหวัด ปี 2561 สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2563, จาก https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=525 กรมควบคุมมลพิษ. (2562). สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561,กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม. ปิยชาติ ศิลปะสุวรรณ. (2558). ขยะมูลฝอยชุมชนปัญหาที่ประเทศกำลังเผชิญ , กรุงเทพฯ : สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการ วุฒิสภา. สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2558). แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593, กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สำนักสิ่งแวดล้อม. (2558). รายงานฉบับผู้บริหาร แผนแม่บทกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.25562566, กรุงเทพมหานคร. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2561). แนวทางการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment : LPA)เรื่อง รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก. กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.Ministry of Natural Resources and Environment. (2019). Thailand’s Third National Communication. Retrieved from https://unfccc.int/sites/default/files/resource/Thailand%20TNC.pdf Nirmala Menikpura และ จรรยา แสงอรุณ. (2556). คู่มือการใช้โปรแกรมคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการ จัดการขยะมูลฝอยโดยใช้วิธีการประสานวัฏจักรชีวิต. ภายใต้โครงการการตรวจวัดรายงานผลและการทวนสอบ (MRV) สำหรับการพัฒนาแบบคาร์บอนต่ำในเอเชีย, องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

169


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Epidemiology and trend of needle stick injuries among nursing students in China: A systematic review Dongyang Wang1*, Kessarawan Nilvarangkul 1, Amornrat Anuwatnonthakate 1 1

School of Health Science, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, THAILAND *Corresponding Author: wangdongyang1994@gmail.com Abstract

Introduction: Needle stick injury (NSI) is a common occupational injury in all clinician who are working in health care setting. It leads to increase the risk of getting blood-borne diseases infections. Nursing students are the main victims of needle stick injuries among health workers, and needle stick injuries expose higher risks among them in developing countries, especially in populous countries such as China. More than half of Chinese nursing students face the risk of needle stick injuries in their clinical internship. Objective: This study aims to assess the prevalence, reporting rate and trend associated with needle stick injuries among nursing students in China. Methodology: Systematic review based on PRISMA guidelines. Literature from the PubMed, Science Direct, DOAJ, SinoMed and CNKI databases were reviewed and imported Citavi software for article management. By removing duplicate articles, filtering articles by relevance of titles and abstracts to the study, and further filtering articles by inclusion criteria, the final 18 articles were included in the study. The article data was processed and analyzed using Stata16.0 software. Results: The prevalence of needlestick injuries among Chinese nursing students in the past decade was 10% to 90%. The combined data showed that the prevalence of needle stick injuries among nursing students was 60.0% (95%CI 0.42-0.77) and the reporting rate was 21.0% (95%CI 0.11-0.31). The prevalence of needle stick injuries among nursing students has declined in the past decade. Discussion and conclusion: Nursing students have a high prevalence and low reporting rate of needle stick injuries.Therefore, effective measures should be taken to reduce the needle stick injuries occurred to nursing students. It is necessary to let the nursing student strengthening occupational safety training, using occupational protection equipment and understanding the process of reporting needle stick injuries, it may be more effective to reduce the factors that cause increased exposure. Keywords: Needlestick injuries, China, Nursing students, Occupational health, Prevalence

170


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Introduction Based on the "Healthy China 2020" initiative and the 13th Five-Year Plan for Health and Wellness Development of the People’s Republic of China, the number of Chinese nurses has grown significantly in recent years (Fang, 2016; Y. Sun, Gregersen, & Yuan, 2017). As of 2015, the total number of registered nurses in China was 3.24 million, and the number of registered nurses per thousand population reached 2.36 (Y. Xu, Wu, & Zhang, 2016). Most of them face many contradictions and problems in their clinical work, but they have not yet been effectively solved. Medical violence and occupational injuries, nurses are unable to obtain adequate recognition and respect from patients and society, heavier financial burden, heavier clinical workload and psychological burden are the most important contradictions and problems faced by current nurses. Among them, the most important challenge in the clinical work of nurses is how to reduce sharp and needle stick injuries, due to about 79.0% of nurses have suffered sharp and needle stick injuries at work (China Social Welfare Foundation, 2017). Needle stick Injuries (NSI) are common occupational injuries caused by the clinical needle in clinical work by health care workers, such as hypodermic needles, blood collection needles, intravenous (IV) cannula or needles used to connect part of IV delivery systems. These injuries give health care workers the opportunity to be infected with blood-borne diseases (Matsumoto, Sunakawa, Suda, & Izumi, 2019; Senthil et al., 2015; Muralidhar, Singh, Jain, Malhotra, & Bala, 2010). After a needle stick injury, infected blood or body fluids can enter the body through the wound, which may cause medical personnel to contract hepatitis B, and the risk of hepatitis C and HIV/AIDS is high (Leong et al., 2019). Among the health workers, the most common needle stick injury is the nurse group (Jończyk, Szczypta, & Talaga-Ćwiertnia, 2018). The needle stick injury has more or less influence on them in different aspects, which exacerbates their psychological and mental burden such as anxiety and depression (Wang, Huang, Li, & Dai, 2019). At the same time, the occurrence of needle stick injuries has also caused the economic burden on the government and medical and health institutions. According to reports, the annual economic burden of government and medical institutions after needle stick injuries averages 747 US dollars per case (Cooke & Stephens, 2017). Because nursing students lack of clinical experience, knowledge, attitudes, and practical skills, nursing students become the largest group of nurses who suffer from needle stick injuries. According to statistics, the number of graduates of nursing students worldwide is 184,000 per year (Buerhaus, Auerbach, & Staiger, 2016). In this large group of nursing students, because of the differences among students in different countries, the prevalence of needle stick injuries in different countries is also different. The high prevalence of needle stick injuries among nursing students is mainly reflected in the Asian regions with more developing countries (H. Sun, Junli, Chen, & Hong, 2014). In China, the average incidence rate of NSIs among nursing students is 65%, much lower than India (98.4%) and Jordan (83.5%), but higher than Southeast Asian countries such as Malaysia (19.9%) and Thailand (27%) ((H. Sun, Junli, Chen, & Hong, 2014; Mitra, Mallik, Das, & Roy, 2010; Suliman et al., 2018; Swe, Somrongthong, Bharwaj, & Lutfi Abas, 2014; Setthamas et al., 2018). In China, some studies reported the prevalence of NSIs among nursing students in the western region is 75.9%, which is much higher than the 60.3% reported in the eastern region and 23.1% reported in the southern region (Ren, Xu, Hua, Peng, & Ni, 2015; H. Huang, Yi, Tang, & An, 2016; X. Zhang et al., 2018). However, these studies also show that nursing students have a lower reporting rate for needle stick injuries. At present, reports on NSIs for health workers have become more common, However, there are relatively few studies on the prevalence and reporting rate of needle stick injuries and recent trends in

171


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Chinese nursing students. Therefore, the researchers aim to study the prevalence and trend of needle stick injuries among nursing students in China through systematic review. Methodology This study was to review and analysis the prevalence and trend of needle stick injuries among nursing students in China. Literature search, inclusion, data extraction and reporting results were in accordance with PRISMA guidelines. This study set inclusion and exclusion criteria in four areas, including the database, publications, keywords and study methods of the literature (See details in Table 1). Table 1 Inclusion criteria and exclusion Criteria Characteristic Inclusion criteria Database Literature published in PubMed, Science Direct, Directory of Open Access Journals (DOAJ), SinoMed, China National Knowledge Infrastructure (CNKI). Publications  Peer reviewed.  English and Chinese language articles.  Published in January 2010 to October 2019.  Full-length publication of original data. Keywords The following keywords appear in the title or abstract: “needle stick injury”, “occupational exposure”, “prevention”, “sharp injury”, “nursing student” Study methods  Cross-sectional study  Respondents should include nursing students

Exclusion Criteria Literature published in other databases.

Articles not published in English or Chinese, or not peer-reviewed.  Published before January 2010 and After October 2019.  Not original data including editorials, letters to the editor, opinion pieces. Other keywords

 

Other study designs Other study population

In the data processing process, all included articles were managed by Citavi6.3 software. The researchers first evaluated the quality of the article using the Joanna Briggs Institute (JBI) article evaluation tool (Joanna Briggs Institute, 2016). Evaluation tools include evaluation of sampling frames, techniques, sample size, research settings, statistical analysis, inclusion criteria, etc. Divided into high risk bias and low risk bias by setting a threshold of 50%. Articles with scores greater than 50% were low-risk articles. The researchers combined the data in all the literature to get the prevalence of needle stick injuries for nursing students. The researchers also tested the heterogeneity of data using chi-square test. The standard of heterogeneity was as follows: 25.0% was low grade heterogeneity, 25.0%-50.0% was medium grade heterogeneity, >50% was high grade heterogeneity. When p-value >0.100 and I2 were satisfied, there was no heterogeneity between studies. Stata 15.1 software was used to analysis data. The result showed the prevalence of needle stick injury from the forest plot, and the prevalence of needle stick injuries in different years from the line graph.

172


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Results Inclusion of the article Figure 1 shows the process of research articles retrieval. Through keyword search, a total of 855 research articles were included, including 473 Chinese articles and 382 English articles. Then, through reading the title of article excluded 142 duplicate articles. After reading the titles and abstracts of the remaining literature, 489 articles unrelated to the study were excluded. Finally, by reading the full text, exclude 206 articles that are not related to the inclusion criteria. The number of articles eventually included in this systematic review is 18. All included articles were tested for low risk bias. The total number of nursing students included in this study was 20,492. The year of inclusion in the study was 2010 to 2019.

Figure 1 Process of selecting articles for review. Characteristics of inclusion in the study This systematic review included 18 cross-sectional research articles with a total sample of 20,400 nursing students. The minimum sample size in the included study was 45, with a maximum of 15131. The earliest article was published in 2010 (Chen & Guo, 2010; C. Li, Deng, & Lin, 2010). Recent research published in 2019 (Kong, Yang, Li, Yang, & Yang, 2019). The included studies were from five regions of China including the Eastern, Northern, Central, Northwest, and Southwest regions. There was also an article investigating the entire mainland China region (S. L. Huang et al., 2017). The bias assessment tool confirmed that all included studies were low risk bias (Table 1).

173


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Table 1 Characteristics of the included studies of prevalence of needle stick injuries among nursing students in China, 2010-2019 First author

Year

Region

Respondents

Li

2010

Southwest

NS

Chen

2010

Eastern

NS

Liang

2010

Eastern

NS

Yang

2010

Northern

NS

Ayixiamu

2011

Northwest

NS

Xu

2012

Eastern

NS

Luo

2012

Central

NS

Zhang

2012

Eastern

NS

Yu

2014

Northern

NS

Shen

2014

Central

NS

Ren

2015

Northwest

NS

Liu

2015

Eastern

NS

Bao

2015

Eastern

NS

Li

2015

Southwest

NS

Li

2017

Central

NS

Huang

2017

Mainland China

HCWs

Zhang

2018

Northwest

NS

Kong

2019

Northwest

NS,

Article quality Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk Low risk

Sampling technique

Sample Size (n)

Responde nts of NSI

Probability

106

60

Probability

100

90

Probability

45

32

Probability

120

55

Probability

240

166

Probability

155

88

Probability

506

399

Probability

331

241

Probability

153

72

Probability

412

259

Probability

141

107

Probability

334

204

Probability

431

328

Probability

255

143

Probability

1408

605

Probability

15131(NS)

1451(NS)

Probability

248

149

Probability

154

64

174


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Prevalence of needle stick injuries In the articles included in the study, 4,777 of the 20,492 nursing students had had at least one needle stick injuries. Because the heterogeneity of the analysis results of the prevalence of needle stick injuries in nursing students in this study is as high as 99.8%, p-value<0.01, the data were combined by using the random effects model. The final analysis showed that the prevalence of needle stick injuries among nursing students was 60.0% (95%CI 0.42-0.77). Details had shown in Figure 2.

Figure 2 The prevalence of needle stick injuries among nursing students in China Reporting rate of needle stick injuries 11 articles investigated the report after needle stick injuries, and 1826 of 2405 nursing students with needle stick injuries in these studies did not report after needle stick injuries. The random effects model was also applied to the meta-analysis of the reporting rate of nursing students due to the high heterogeneity (I2=98.5%, p-value< 0.01). The final meta-analysis showed that the reporting rate of needle stick injuries among nursing students was 21.0% (95%CI 0.11-0.31). Details had shown in Figure 3.

175


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Figure 3 The reporting rate of needle stick injuries among nursing students in China Trend of needle stick injuries Figure 4 shown the trend of needle stick injuries among nursing students in the past decade. From 2010 to 2018, the prevalence of needle stick injuries among nursing students had been decreasing year by year. Publication bias and sensitivity analysis Egger test was used in the process of combining prevalence of needle stick injuries. The researcher didn’t find the significant publication bias in this study, p-value>0.05.

176


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Figure 4 The trend of needle stick injuries among nursing students in China, 2010-2019 Discussion Through literature review, the researchers found that there is a large difference in the prevalence of needle stick injuries among nursing students in China and other countries. In the United States, the prevalence of needle stick injuries was only 16.3%, while the prevalence of needle stick injuries in Germany (20.6%) and Canada (25%) were also low (Trinkoff, Le, Geiger-Brown, & Lipscomb, 2007; Siegmann, 2016; Ouyang et al., 2017). However, the prevalence of needle stick injuries among nursing students in this study was 61%, this shows that there is still a big gap between the level of prevention of needle stick injuries in China and the level of developed countries. This gap is mainly reflected in the lack of knowledge, attitudes and practical ability of Chinese students to prevent needle stick injuries, imperfect nursing education system, and environmental pressure caused by shortage of hospital health workforce (Luo, 2012; Zhang et al., 2018). There are some more notable reasons that some hospital managers do not effectively manage occupational exposures such as needle stick injuries, even a viable needlestick treatment and reporting process thereby to increase the risk of needle stick injuries among nursing students. These mostly occur in private hospitals with poor medical quality control because of lack of government oversight than public hospitals (Kong, Yang, Li, Yang, & Yang, 2019). It is worthy of recognition that through time stratification analysis, the prevalence of needle stick injuries in Chinese nursing students has declined in the past decade, this has been related to the increase the number of occupational protection courses in China's nursing education institutions and the medical institutions have increased their pre-job training before the internship in recent years (Yanting Zhang & Wang, 2013). However, due to the high prevalence

177


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

of needle stick injuries among nursing students, nursing education institutions still need to strengthen occupational protection education in the future. Medical institutions should also optimize the structure of human resources, pay attention to the proportion of nurses and patients, and provide a better working environment for health workers and nursing students. Although the prevalence of needle stick injuries among nursing students is high, but their reporting rate is unacceptably low. However, this is a serious problem facing the world. In the United States (66%), Iran (42%) and the United Kingdom (33.7%) also have low reporting rate of needle stick injuries (Deipolyi, Prabhakar, Naidu, & Oklu, 2017; Rezaei, Hajizadeh, Zandian, Fathi, & Nouri, 2017; Vijendren, Sanchez, & Yung, 2016). A British study also warned that the low reporting rate of needle stick injuries will lead health workers to high risk of blood-borne infections. At the same time, it will also cause the medical institution to blame the hospital's occupational exposure processing procedure after the staff has a needle stick injury, thereby taking on some unnecessary legal problems (Thomas & Murray, 2009). The researchers found through further literature review that the low reporting rate of needle stick injuries is mainly related to three factors as follows: Firstly, the reporting procedure for needle stick injuries in hospitals is complicated and lengthy. Secondly, the nursing students are timid or indifferent to this and have not paid enough attention. Thirdly, department management personnel believe that the reporting process is cumbersome, affecting the honor of the department, and checking the medical records to see patients without infectious diseases will not pay attention to this. Fourthly, some hospital infection control departments, especially in private hospitals, only collect statistics on needle stick injuries for hospital employees. They do not believe that needle stick injuries by nursing intern students should be reported to their hospitals, thus lacking data and supervision of nursing students (Kong, Yang, Li, Yang, & Yang, 2019; C. Li, Deng, & Lin, 2010; F. Li, 2015). In view of the low reporting rate of needle stick injuries and related factors, it is recommended that medical institutions optimize the hospital reporting procedure of needle stick injuries, and nursing educators strengthen the education of nursing students on the reporting procedure of needle stick injuries. Chinese Centers for Disease Control and Prevention (CDC) and hospital infection control departments should also strengthen supervision of hospital reports on needle stick injuries. The limitation of this study is that due to the large differences in factors such as time span, research area, education level, and hospital environment, the study has a large heterogeneity, which limits the scope of interpretation of the research results. Researchers hope that there will be qualitative research in the future on the prevalence and reporting rate of needle stick injuries for nursing students, so as to more deeply study the factors related to the high prevalence and low reporting rate of nursing students. Conclusion Nursing students have a high prevalence and low reporting rate of needle stick injuries. However, the prevalence of needle stick injuries among nursing students has declined in the past decade. It is hoped that nursing education institutions and medical institutions will strengthen the education of students to prevent needle stick injuries and optimize the health workforce structure, thereby reducing needle stick injuries. Acknowledgement This research is part of the author's master's research project. The author thanks to Mae Fah Luang University for supporting research funding during the research process.

178


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Reference Ayixiamu, S., Mayinuer, M., & Guo, X. (2011). Analysis of sharp injure in 240 practice nurses and its low reporting rate. Chinese Journal of Modern Nursing, 17(24), 2931–2933. Bao, J., Wang, F., & Hu, C. (2015). Investigation of needlestick injuries among nursing students in the general hospital. Journal of Nursing Administration, 15(2), 135–136. Buerhaus, P. I., Auerbach, D. I., & Staiger, D. O. (2016). Recent changes in the number of nurses graduating from undergraduate and graduate programs. Data Watch, 34(1), 2014–2016. Chen, Y., & Guo, S. (2010). Nursing Students Analysis of Needle Stick Injuries. Hebei Medicine, 16(10), 1261–1263. China Social Welfare Foundation. (2017). White Paper on the Survey of the Status of Chinese Nurses. Retrieved October 14, 2019, from Xinhuanet website: http://www.xinhuanet.com//gongyi/201705/11/c_129601688.htm Cooke, C. E., & Stephens, J. M. (2017). Clinical, economic, and humanistic burden of needlestick injuries in healthcare workers. Med Devices (Auckl), 1(10), 225–235. Deipolyi, A. R., Prabhakar, A. M., Naidu, S., & Oklu, R. (2017). Needlestick injuries in interventional radiology are common and underreported. Radiology, 285(3), 870–875. https://doi.org/10.1148/radiol.2017170103 Fang, H. (2016). The Chinese Health Care System. Retrieved October 17, 2019, from The Commonwealth Fund website: https://international.commonwealthfund.org/countries/china/ Huang, H., Yi, Q., Tang, S., & An, R. (2016). Occupational exposure among Chinese nursing students: Current status, risking factors and preventive interventions. International Journal of Clinical and Experimental Medicine, 9(8), 16578–16586. Huang, S. L., Lu, Q., Fan, S. H., Zong, Z. Y., Hou, T. Y., Chen, B. Y., … Wang, N. N. (2017). Sharp instrument injuries among hospital healthcare workers in mainland China: A cross-sectional study. BMJ Open, 7(9), 1–8. https://doi.org/10.1136/bmjopen-2017-017761 Joanna Briggs Institute. (2016). Checklist for Prevalence Studies. In Checklist for prevalance studies. Retrieved from http://joannabriggs.org/assets/docs/critical-appraisal-tools/JBI_Critical_AppraisalChecklist_for_Prevalence_Studies.pdf. Jończyk, A., Szczypta, A., & Talaga-Ćwiertnia, K. (2018). Injures as exposure events in providing medical services by nursing staff. Przeglad Epidemiologiczny, 72(3), 371–381. https://doi.org/10.32394/pe.72.3.13

179


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Kong, D., Yang, X., Li, X., Yang, X., & Yang, Y. (2019). Analysis and reflection on ethical issues of occupational exposure to needle-stick injuries of nurses in teaching hospitals. Chinese Medical Ethics, 32(9), 1192–1197. Leong, X., Yee, F., Leong, Y., Tan, S., Amin, I., Ling, M., & Tay, S. (2019). Incidence and analysis of sharps injuries and splash exposures in a tertiary hospital in Southeast Asia: a ten-year review. Singapore Medical Journal, (July 2019), 1–16. https://doi.org/10.11622/smedj.2019082 Li, C., Deng, Y., & Lin, D. (2010). Investigation about needle stick injuries of nursing students. Medical Journal of West China, 22(2), 375–376. Li, F. (2015). Investigation and countermeasures of needle stick injuries in nursing students. Shanxi Medical Journal, 43(5), 576–577. Li, J., Li, F., Yue, Y., & Tan, X. (2017). Analysis of current situation and causes of needle stick injuries in basic nursing experiment teaching. Chongqing Medicine, 46(12), 1–2. Liang, W., Wu, J., Ye, L., & Lin, J. (2010). Internship midwife occupational protection behavior analysis and clinical teaching strategies. Journal of Nursing, 17(22), 25–27. Liu, C., Liu, X., Zhu, Y., & Liu, Y. (2015). Influencing factors for needlestick injuries in student nurses. Chinese Journal of Industrial Hygiene and Occupational Diseases, 33(7), 528–531. Luo, X. (2012). Investigation and analysis on the circumstances of 506 probationers suffered pricking wound. Modern Preventive Medicine, 39(8), 2118–2120. Retrieved from http://www.ghbook.ir/index.php?name=‫فرهنگ و رسانه های‬ ‫&نوین‬option=com_dbook&task=readonline&book_id=13650&page=73&chkhashk=ED9C9491B4& Itemid=218&lang=fa&tmpl=component Matsumoto, H., Sunakawa, M., Suda, H., & Izumi, Y. (2019). Analysis of factors related to needle-stick and sharps injuries at a dental specialty university hospital and possible prevention methods. Journal of Oral Science, 61(1), 164–170. https://doi.org/10.2334/josnusd.18-0127 Mitra, S. P., Mallik, S., Das, M., & Roy, A. S. (2010). Injection safety: Perception and practice of nursing student in tertiary setting. Indian Journal Prev. Soc. Med, 41(3), 5–7. Muralidhar, S., Singh, P. K., Jain, R. K., Malhotra, M., & Bala, M. (2010). Needle stick injuries among health care workers in a tertiary care hospital of India. Indian Journal of Medical Research. Ouyang, B., Li, L. D. X., Mount, J., Jamal, A. J., Berry, L., Simone, C., … Tai, R. W. M. (2017). Incidence and characteristics of needlestick injuries among medical trainees at a community teaching hospital: A cross-sectional study. Journal of Occupational Health, 59(1), 63–73. https://doi.org/10.1539/joh.15-0253-FS

180


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Ren, X., Xu, S., Hua, Y., Peng, J., & Ni, C. (2015). Survey on the needle stick injuries and occupational protective education of nursing students in different stages of clinical practice. Chinese Journal of Practical Nursing, 31(25), 1882–1884. Rezaei, S., Hajizadeh, M., Zandian, H., Fathi, A., & Nouri, B. (2017). Period Prevalence and Reporting Rate of Needlestick Injuries to Nurses in Iran: A Systematic Review and Meta-Analysis. Research in Nursing and Health, 40(4), 311–322. https://doi.org/10.1002/nur.21801 Senthil, A., Anandh, B., Jayachandran, P., Thangavel, G., Josephin, D., Yamini, R., & Kalpana, B. (2015). Perception and prevalence of work-related health hazards among health care workers in public health facilities in Southern India. International Journal of Occupational and Environmental Health, 21(1), 74–81. https://doi.org/10.1179/2049396714Y.0000000096 Setthamas, M., Sawaengdee, K., Theerawit, T., Tangcharoensathien, V., Pitaksanurat, S., Thinkamrop, B., … Thinkhamrop, W. (2018). Incidence and risk factors of needle stick and sharp injuries among registered nurses in Thailand. Journal of Public Health and Development, 16(1), 17–28. Shen, L. (2014). Analysis and countermeasure of needle stick injury of intern nurses. Chinese Journal of Practical Nursing, 30, 230. Siegmann, S. (2016). Needlestick Injuries to Medical Students. Gesundheitswesen, 78(1), 22–27. Suliman, M., Al Qadire, M., Alazzam, M., Aloush, S., Alsaraireh, A., & Alsaraireh, F. A. (2018). Students nurses’ knowledge and prevalence of Needle Stick Injury in Jordan. Nurse Education Today, 60(September 2017), 23–27. https://doi.org/10.1016/j.nedt.2017.09.015 Sun, H., Junli, Y., Chen, G., & Hong, X. (2014). Incidence of needlestick injury in Chinese nursing interns: a Meta-analysis. Chinese Journal of Practical Nursing, 30(10), 37–40. https://doi.org/10.3760/cma.j.issn.1672-7088.2014.10.011 Sun, Y., Gregersen, H., & Yuan, W. (2017). Chinese health care system and clinical epidemiology. Clinical Epidemiology, 9, 167–178. https://doi.org/10.2147/CLEP.S106258 Swe, K. M. M., Somrongthong, R., Bharwaj, A., & Lutfi Abas, A. (2014). Needle Sticks Injury among Medical Students during Clinical Training, Malaysia. International Journal of Collaborative Research on Internal Medicine & Public Health, 6(5), 121–131. Retrieved from http://www.iomcworld.com/ijcrimph/files/v06-n05-02.pdf Thomas, W. J. C., & Murray, J. R. D. (2009). The incidence and reporting rates of needle-stick injury amongst UK surgeons. Annals of the Royal College of Surgeons of England, 91(1), 12–17. https://doi.org/10.1308/003588409X359213 Trinkoff, A. M., Le, R., Geiger-Brown, J., & Lipscomb, J. (2007). Work Schedule, Needle Use, and Needlestick Injuries Among Registered Nurses. Infection Control & Hospital Epidemiology, 28(2), 156–164. https://doi.org/10.1086/510785

181


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Vijendren, A., Sanchez, J., & Yung, M. (2016). Incidence and reporting of sharps injuries amongst ENT surgeons. Journal of Laryngology and Otology, 130(6), 581–586. https://doi.org/10.1017/S0022215116000724 Wang, C., Huang, L., Li, J., & Dai, J. (2019). Relationship between psychosocial working conditions, stress perception, and needle-stick injury among healthcare workers in Shanghai. BMC Public Health, 19(1), 1–11. https://doi.org/10.1186/s12889-019-7181-7 Xu, Q., Yuan, S., & Xie, H. (2012). Analysis of the causes of needle stick injury in nursing students and intervention measures. Nursing and Rehabilitation Journal, 11(6), 582–583. Xu, Y., Wu, Y., & Zhang, Y. (2016). Investigation of nursing human resources in Chinese hospitals. Chinese Journal of Nursing, 51(7), 819–822. Yang, Y. (2010). Investigation and countermeasures on the current situation of needle stick injury in intern nurses. Shanxi Medical Journal, 39(5), 470–471. Yu, W., & Qin, H. (2014). Survey on the nurse students’ recognition of liver disease safety and needle stick injuries during the internship. Chinese Journal of Modern Nursing, 20(5), 534–536. Zhang, X., Chen, Y., Li, Y., Hu, J., Zhang, C., Li, Z., … Xiang, H. (2018). Needlestick and Sharps Injuries Among Nursing Students in Nanjing, China. Workplace Health and Safety, 66(6), 276–284. https://doi.org/10.1177/2165079917732799 Zhang, Yanting, & Wang, L. (2013). Protection Education towards Needle Stick Injuries among Nursing Students in China:A Meta-Analysis. Chinese Journal of Evidence-Based Medicine, 13(6), 754–759. Zhang, Yunmei. (2012). Investigation and analysis on clinical accidental injury in probationer nurses and preventive countermeasures. Journal of Clinical Medicine in Practice, 16(22), 184–186.

182


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

แนวคิดการจัดการที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมและการพัฒนารูปแบบสำหรับผู้สูงอายุ ชนชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเชียงราย 1,3 2,3 วิลาวัณย์ ไชยอุต สิตางค์ คงกระโทก ฉัตรชฎา สุตาลังกา1,3 พลอยไพลิน นามกร1,3 เอกลักษณ์ สิทธิพรวรกุล1,3 1 สาขาวิชากายภาพบำบัด สำนักวิชาการแพทย์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3 ศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ Corresponding author: Wilawan.chai@mfu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: สภาพสิ่งแวดล้อมการสร้างหมู่บ้านและการสร้างบ้านเรือนของชาวไทยภูเขานั้น สร้างตามสังคม วัฒนธรรมและ ประเพณี ที่เฉพาะเจาะจงตามความเชื่อของแต่ละชนเผ่า ซึ่งชาวไทยภูเขาเผ่าม้งมีลักษณะวิถีชีวิตที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติ ส่งผลทำ ให้การจัดที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมต้องปรับ ไปตามโครงสร้างของพื้นที่ โดยเฉพาะการสร้างบ้านบนเนินภูเขาที่เสี่ยงต่อความ ปลอดภัยและความมั่นคงของที่อยู่อาศัย วัตถุประสงค์ : เพื่อสำรวจระดับความคิดเห็นต่อแนวคิดการจัดการที่พักอาศัยและ สภาพแวดล้อม และพัฒนารูปแบบที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ชนชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเชียงราย วิธีวิจัย: อาสาสมัครชนเผ่าม้งจำนวน 67 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็น แบบสอบถามที่จะใช้ในการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง ผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์หรือผู้อยู่อาศัยที่พักอาศัยในครัวเรือนที่เป็นเป้าหมาย และแบบประเมินความเสี่ยงต่อการจัดที่พักอาศัยและ สภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุชนชาติพัน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุ อายุเฉลี่ยเท่ากับ 60+14.80 ปี และปัญหาสุขภาพสูงถึงร้อยละ 80.59 ส่วนใหญ่เป็นโรคความ ดัน เบาหวาน และ โรคกระดูกและ ข้อ นอกจากนี้พบว่าผู้สูงอายุหกล้มภายในบ้าน ร้อยละ15.78 สำหรับสภาพแวดล้อม ของบ้านที่อยู่ปัจจุบันมีจุดเสี่ยงภายในบ้านโดย ร้อยละ 66.7 มีพื้นผิวที่ลื่นหรือไม่มั่นคง เสี่ยงต่อ การหกล้มภายในบริเวณบ้าน และพบการเกิดภัยพิบัติภายในระยะเวลา 1 ปี มากถึงร้อยละ 43.3 ได้แก่ แผ่นดินไหว ดินโคลนถล่มหรือดินสไลด์ น้ำท่วม พายุลูกเห็บ และพายุฝน ลมแรง ซึ่งทำให้เกิดความ เสียหายแก่ที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อม ส่งผลทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์อยู่ในระดับ 50.36+10.44 อภิปราย และสรุปผลการวิจัย: การออกแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมในผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ ยังมีความเสี่ยงต่อการหกล้ม และเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายในผู้สูงอายุ ดังนั้นควรมีการพัฒนารูปแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดการเกิดภาวะทุพพลภาพและเอื้อต่อการติดตามระบบสุขภาพระยะยาวมากยิ่งขึ้น คำสำคัญ: ความปลอดภัยที่อยู่อาศัย, การล้ม, ผู้สูงอายุ, ชนชาติพันธุ์

183


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ องค์การอนามัยโลกได้กล่าวว่าผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป (WHO, 2010) จากข้อมูลการคาดประมาณ ประชากรของประเทศไทย ปี 2558 -2573 จะเห็นว่าภาพรวมประเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ “สังคมสูงวัย” (aged society) และ ในอีก 10 ปี ข้างหน้าจะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (completed aged society) (สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์, 2557) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการพัฒนาประเทศทางด้านระบบสุขภาพอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจากครอบครัวและชุมชน ดังนั้นนโยบายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจึงช่วยเพิ่มขีด ความสามารถการดูแลผู้สูงอายุให้ดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีในครอบครัว ชุมชนโดยเชื่อมโยงกับระบบบริการสุขภาพและบริการทาง สังคม อย่างมีประสิทธิภาพ สภาพสิ่งแวดล้อมการสร้างหมู่บ้านและการสร้างบ้านเรือนของชาวไทยภูเขานั้น สร้างตามสังคม วัฒนธรรมและประเพณี ที่เฉพาะเจาะจงตามความเชื่อของแต่ละชนเผ่า ซึ่งชาวไทยภูเขามีลักษณะวิถีชีวิตที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติ ที่ส่งเสริมการเพิ่มสุนทรีย บำบัดจากธรรมชาติ ที่ช่วยปลอบประโลมจิตใจในยามที่มีความทุกข์ และช่วยบำบัดรักษาความเจ็บป่วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่มี ภาวะซึมเศร้า แต่อย่างไรก็ตามจากการประเมินความเสี่ยงจากที่อยู่อาศัย ในกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยภูเขาในจังหวัดเชียงราย พบว่ามี ประเด็นความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพหลายอย่าง เช่น ความสว่างของไฟ ในห้องน้ำ การจัดการขนาดของการหน้าต่างเพื่อให้ เกิดการถ่ายเทอากาศในห้องนอน การจัดห้องน้ำไว้นอกตัวบ้าน และทางเดินไปยังห้องน้ำที่เป็นอันตรายโดยเฉพาะในฤดูฝน ซึ่งการ ดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ ล้วนแต่เป็นกิจวัตรประจำวันที่ดำเนินในบ้านและในชุมชน เนื่องจากเป็นวัยที่ละเว้นจากการทำงาน เนื่องจากสภาพร่างกาย สิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ภายในบริเวณบ้าน ล้วนเป็นปัจจัยที่สำคัญสำหรับเพิ่มความเสี่ยงต่อการ ล้มในผู้สูงอายุได้ (Lecktip, 2019) เป็นเหตุทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะทุพ พลภาพตามมาได้จากการเกิดอุ บัติเหตุสะดุดหกล้ ม Sophonratanapokin และคณะ ในปี 2012 ได้รายงานอุบัติการณ์การหกล้มในบ้านตนเองของผู้สูงอายุนั้นสูงถึงร้อยละ 34.6 มัก เกิดจากสภาพพื้นบ้านที่ลื่นร้อยละ 31.6 ความสว่างภายในบ้านที่ไม่เพียงพอ ทางเดินภายในห้องนอนและห้องน้ำ การวางสิ่งของ ขวางทางเดิน และการเคลื่อนย้ายสิ่งของออกจากตำแหน่งเดิม เป็นต้น อีกทั้งจากทำเลที่ตั้งชุมชนก็เป็นอีกสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุชน ชาติพันธุ์อาจประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น พายุลมแรง ดินสไลด์ แผ่นดิน ไหว น้ำท่วม เป็นต้น ซึ่งความปลอดภัยภายในบ้าน สภาพแวดล้อมภายในชุมชน และการเกิดภัยพิบัติในชุมชนจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อระบบการบริการสุขภาพ และการติดตามการดูแล รักษาทางสุขภาวะชุมชนนั้นเอง จากบทความข้างต้นจะพบว่าสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุนั้นเป็นสิ่ง สำคัญที่จะบ่งบอกถึงระดับคุณภาพ ชีวิต ระบบสุขภาพ และสาธารณสุขขั้นพื้นฐานได้ แต่จากการศึกษาก่อนหน้าพบว่ายังไม่มีรายงานใดที่สำรวจความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมต่อการดำรงชีวิตประจำวันในผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์อย่างชัดเจน ดังนั้นการศึกษานี้จัดขึ้นเพื่อสำรวจแนวคิดการจัดการที่ พักอาศัยและสภาพแวดล้อม และพัฒนารูปแบบที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ม้ง จังหวัดเชียงราย เพื่อสร้างความปลอดภัยของที่อยู่อาศัย ป้องกันการหกล้มและการเกิดอุบัติเหตุจากสภาพที่อยู่อาศัยในผู้สูงอายุซึ่งนำไปสู่ภาวการณ์ พึ่งพิงตามมาในผู้สูงอายุ ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้ใช้การสัมภาษณ์แบบสอบถาม สำรวจและประเมินโดยใช้การเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์ มี รายละเอียดดังนี้ 1.การประสาน ชี้แจง ทำความเข้าใจ ร่วมกัน กับหน่วยงานภายในพื้นที่เกี่ยวข้อง การเตรียม ความพร้อมของหน่วยงานโดยความ ร่วมมือจากภาครัฐ องค์กรที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น ศึกษา รวบรวมข้อมูลทุติย ภูมิในภาพรวมของพื้นที่ 2. การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยพิจารณา อำเภอที่มีชุมชนผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ เผ่าม้งมากที่สุด อำเภอที่ทำการศึกษา ได้แก่ พื้นที่อำเภอพญาเม็งราย จังหวัด

184


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เชียงรายเป็นกลุ่มตัวอย่าง 3. สร้างเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบ แบบสอบถามการสำรวจกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ ชนชาติ พันธุ์หรือผู้อยู่อาศัยที่พักอาศัยใน ครัวเรือนชนเผ่าม้งที่เป็นเป้าหมาย และแบบประเมินการจัดการสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัย สำหรับผู้สูงอายุ เมื่อสร้าง ขึ้นเสร็จเรียบร้อยให้ผู้ทรงคุณ วุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ ความตรง ความครอบคลุมของเนื้อหา และ ตัวแปรต่างๆ จำนวนห้าท่าน พร้อมทั้งการหาความ เชื่อมั่นของแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ของ คอนบาค (Cronbach’ s alpha coefficient) เท่ากับ 0.89 4. อบรมผู้ช่วยวิจัยในการใช้เครื่องมือในการ เก็บข้อมูล 5. การลงพื้นที่สำรวจสภาพแวดล้อม การอยู่ อาศัยและที่พักอาศัยโดยแยกตามวิธีการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1) การสังเกตและประเมิน เป็นการเก็บ ข้อมูลสภาพการใช้งาน สภาพแวดล้อมของพื้นที่ศึกษา และพฤติกรรมการใช้งานของประชาชนในพื้นที่ศึกษา 2) การสำรวจ สภาพปัจจุบันของพื้นที่ศึกษา เพื่อศึกษาสภาพทางกายภาพ 3) การสัมภาษณ์และประเมินคุณภาพชีวิตด้วยแบบประเมิน เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การ อนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL – BREF – THAI) โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลดัดแปลง จากคู่มือการ จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัย สำหรับผู้สูงอายุ ส่วนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป และ ความเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุ มี 3 ข้อใหญ่ 24 ข้อย่อย ส่วนที่ 2 เป็นแบบสำรวจความคิดเห็นต่อความปลอดภัยสำหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อม ของผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ มี 2 ข้อใหญ่ 17 ข้อย่อย การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS version 20 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ ข้อมูล พื้นฐาน อายุ ประวัติการล้ม ลักษณะทั่วไปของที่อยู่อาศัยการประเมินสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยที่อยู่อาศัยในกลุ่มผู้สูงอายุ ชนชาติพันธุ์ และการสำรวจความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุสำหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ โดยใช้ Descriptive Statistic แสดงผลเป็น ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัย ผู้สูงอายุมีอายุเฉลีย่ 60.10+14.80 ปี โดยส่วนใหญ่อายุ 50 – 59 ปี (32 คน)คิดเป็นร้อยละ 47.76 รองลงมาคือ อายุ 60-69 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.82 (24 คน) ผู้สูงอายุ เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 53.73 (36 คน) และ เป็นเพศ ชาย คิดเป็นร้อยละ 46.27 (31คน) (ตารางที1่ ) ผลการสำรวจลักษณะทั่วไปของที่อยู่อาศัยการประเมินสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยที่อยู่อาศัยในกลุ่มผู้สูงอายุชน ชาติพันธุ์ พบว่าลักษณะบ้านส่วนใหญ่เป็ นแบบผสมผสาน ร้อยละ 49.25 (33 คน) บ้านปูน ร้อยละ 37.31 (25 คน) และบ้านแบบ ดั้งเดิม ร้อยละ 13.43 (9 คน) ซึ่งผู้สูงอายุส่วนมากใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บริเวณ รอบตัวบ้านมากที่สุดร้อยละ 73.13 (49 คน) รองลงมาคือ บริเวณนอกตัวบ้านร้อยละ 7.46 (5 คน) และใช้แหล่งน้ำสำหรับการดื่มหรือน้ำใช้จากแหล่งน้ำธรรมชาติ มากที่สุดร้อย ละ 89.55 (60 คน) ตามด้วยแหล่งน้ำประปาหมู่บ้านร้อยละ 8.95 (6 คน) และจากน้ำฝนร้อยละ 1.49 (1 คน) และบ้านแต่ละหลังมี อุปกรณ์ตัดไฟฟ้าเมื่อลัดวงจรเพียงร้อยละ 10.45 (7 คน) จากการสำรวจความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ สำหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ ชนชาติพันธุ์ ในช่วง ระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมาพบว่า ร้อยละ 26.87 (18 คน) เคยสะดุด หกล้มหรือลื่น และร้อยละ 4.48 (3 คน) เคยประสบเหตุตกจากที่ สูงหรือพื้นต่างระดับ ร้อยละ 7.47 (5 คน) เคยชน หรือกระแทกกับสิ่งของที่วางอยู่ในบริเวณบ้านจนได้รับบาดเจ็บ และภัยพิบัติที่ ประสบจนที่พักอาศัยเสียหายพบว่า เคยประสบพายุฝนฟ้า ลมแรง ร้อยละ 4.48 (3 คน) พายุลูกเห็บ ร้อยละ 2.99 (2 คน) น้ำท่วม ร้อยละ 1.50 (1 คน) และประสบเหตุดินโคลนถล่ม ดินสไลด์ร้อยละ 1.50 (1 คน)

185


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของอาสาสมัคร จำนวน 67 คน ข้อมูลทั่วไป เพศ ชาย หญิง อายุ อายุเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) การศึกษา ไม่ได้เรียนหนังสือ ประถมศึกษาและสูงกว่า การพักอยู่อาศัย อยู่กับครอบครัว อยู่คนเดียว การประกอบอาชีพในปัจจุบัน เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ไม่ทำ การดื่มสุราและแอลกอฮอล์ การออกกำลังกาย โรคประจำตัว ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเส้นเลือดสูง อาการผิดปกติทางระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ อาการผิดปกติทางระบบประสาท อาการผิดปกติทางสายตา อาการเวียนศีรษะ การล้มในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา คุณภาพชีวิตโดยรวม เฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวน

ร้อยละ

31 36

53.73 46.27

60.10 (14.80) 59 8

88.06 11.94

42

62.69 37.31

25 35 7 25 8 21 54 43 17 13 20 5 17 24 18 50.36 (10.44)

52.24 10.45 37.31 11.94 31.34 80.60 64.18 25.37 19.40 29.85 7.46 25.37 35.82 26.87

186


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล จากการสำรวจแนวคิดการจัดการที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อม และพัฒนารูปแบบที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อม สำหรับผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ม้ง พบว่าผู้สูงอายุชนเผ่าม้งมีปัญหาสุขภาพสูงถึงร้อยละ 80.59 ส่วนใหญ่เป็นโรคความ ดัน เบาหวาน และ โรคกระดูกและข้อ นอกจากนี้พบว่าผู้สูงอายุหกล้มภายในบ้าน ร้อยละ15.78 สำหรับสภาพแวดล้อมของบ้านที่อยู่ปัจจุบันมีจุด เสี่ยงภายในบ้านโดยร้อยละ 66.7 มีพื้นผิวที่ลื่นหรือไม่มั่นคง เสี่ยงต่อ การหกล้มภายในบริเวณบ้าน และพบการเกิดภัยพิบัติ ภายในระยะเวลา 1 ปี มากถึงร้อยละ 43.3 ได้แก่ แผ่นดินไหว ดินโคลนถล่มหรือดินสไลด์ น้ำท่วม พายุลูกเห็บ และพายุฝน ลมแรง ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายแก่ที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อม ส่งผลทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์อยู่ในระดับ 50.36+10.44 โดยวัฒนธรรมการออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมมีแนวคิดมาจากครอบครัวชนเผ่าม้งทีอ่ ยู่รวมกันแบบครอบครัว ขยาย ทำให้ครัวเรือนของชนเผ่าม้งมีขนาดค่อนข้างใหญ่ มีความสัมพันธ์แบบแซ่ตระกูลซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องทางสายเลือด นับถือผี บรรพบุรุษเดียวกัน เพื่อพึ่งพากันได้ในวงกว้าง สิ่งสำคัญในเรือนม้ง คือความสัมพันธ์ในครัวเรือนตามสายฝ่ายชาย ทั้งการสืบสาย การรับมรดก และอำนาจในครัวเรือน ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการจัดวางพื้นที่แนวราบ แบบมีบรรพบุรุษเป็นศูนย์กลาง หมู่บ้านม้งตั้งอยู่บนพื้นที่สูง แต่ไม่ลาดชันมาก มักปรับไหล่เขาให้เป็นระดับราบเป็นชั้นๆ เพื่อวางเรือนบนระดับดินให้สัน หลังคาขนานกับแนวปรับระดับ หันหน้าออกสู่ท้องฟ้า ทางเข้าหมู่บ้านมีสะพานเล็กๆที่ใช้ในพิธีกรรม รอบหมู่บ้านมีการกั้นรั้วรอบ กันการหลงของสัตว์และเด็ก แต่ไม่นิยมกั้นรั้วระหว่างบ้าน แต่ใช้การล้อมอาคารนอกเรือน เช่น คอกสัตว์ ยุ้งข้าว ลักษณะของเรือน เป็นเรือนปลูกคร่อมดิน โดยบดอัดดินให้แน่นและสูงกว่าภายนอก และทำรางระบายน้ำ กันน้ำเข้าเรือน ขนาดเรือนแปรตามจำนวนสมาชิกในครอบครัวที่สืบตระกูลทางพ่อ เรือนขนาดเล็กสำหรับครัวเรือนเดี่ยวมักเป็นเรือนโถง เดียว ขนาดเกือบจัตุรัส มีประตูเข้าออก 2-3 ประตู นิยมใช้ประตูข้างที่ไม่ตรงกับหิ้งผี ส่วนในพิธีกรรม จะใช้ประตูกลางตรงกับหิ้ง ผี ในการเข้าออก ในเรือนแบ่งใช้พื้นที่ไปตามกิจกรรม เช่น การนอน การทำงาน การวางของ เตรียมอาหาร โดยให้ศูนย์กลาง เรือนเป็นที่กินข้าว ดื่มชา รับรองแขก เมื่ อครัวเรือนขยาย จะขยายขนาดบ้านเรือนออกตามยาวไปทีละช่วงเสาทั้งซ้ายและขวา โดยรักษาสมดุลให้หิ้งผีอยู่กลางเรือน ตรงประตูทางเข้าเสมอ ส่งผลทำให้การออกแบบบ้านเรียนมีความสืบถอดตามมรดกและ วัฒนธรรมของชนเผ่า แม้จะเป็นรูปแบบบ้านที่มีความทันสมัยมากขึ้น แต่จะพบจุดที่บงบอกถึงวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะ จุดที่เป็นแหล่งของการไหว้บรรพบุรุษที่ต้องมีทุกหลังคาเรือน และด้วยเหตุนี้จึงทำให้การออกแบบบ้านยัง มีความเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุ และการหกล้มได้ง่ายในผู้สูงอายุ เนื่องจากแปลนบ้านไม่ได้แบ่งห้องต่าง ๆไว้อย่างชัดเจน เป็นเพียงการทำฉากหรือการนำ ตู้เสื้อผ้า มากั้นแบ่งเป็นที่นอนเท่านั้น โดยมากการทำกิจกรรมระหว่างวันผู้สูงอายุจะใช้พื้นที่บริเวณรอบบ้าน โดยเฉพาะหน้าบ้านใน การทำหัตถกรรม การตากพืชผลทางการเกษตร และการจิบน้ำชา ทำให้ บริเวณทางเดินค่อยข้างถูกจำกัดด้วยพืชผลทางการเกษตร และฟืนไฟต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้จึงควรมีการพัฒนารูปแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิต ที่ดี โดยการให้ความรู้ความเข้าใจหลักการออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ โดย ยึดหลักการออกแบบเพื่อทุกคน (universal design) มาปฏิบัติเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้งานได้อย่าง สะดวกและปลอดภัย (นันทวุฒิ จำปางาม, 2019) ซึ่งจะส่งผลต่อการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดียิ่งขึ้น สรุปและข้อเสนอแนะ การออกแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมในผู้สูงอายุชนชาติพันธุ์ ยังมีความเสี่ยงต่อการหกล้ม และเสี่ยงต่อ การเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายในผู้สูงอายุ ดังนั้นควรมีการพัฒนารูปแบบการจัดการที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมี คุณภาพชีวิตที่ดี ลดการเกิดภาวะทุพพลภาพและเอื้อต่อการติดตามระบบสุขภาพระยะยาวมากยิ่งขึ้น

187


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณบุคลากร หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประชาชนทุกครัวเรือนในพื้นที่ สำหรับ การสนับสนุน ให้ข้อมูล และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานวิจัยอย่างดีเยี่ยม งานวิจัยฉบับนี้ได้รับโอกาสจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศูนย์ ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงที่ได้อนุมัติทุนอุดหนุนการวิจัย อีกทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องภายใน หน่วยงาน ที่สนับสนุน ส่งเสริมในการดำเนินงานวิจัยฉบับนี้ลุล่วง ด้วยดี ผู้วิจัยใคร่ขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ คุณค่าประโยชน์ทาง วิชาการและสาระความรู้อันจะส่งผลในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คุณภาพด้านวิชาการของผู้วิจัย และผู้ที่เกี่ยวข้องของผลงานวิจัยนี้ ขอมอบคุณงามความดีนี้แด่คุณบิดามารดา ครูบาอาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง Lecktip, C., Woratanarat, T., Bhubhanil, S., & Lapmanee, S. (2019). ปัจจัย เสี่ยง ต่อ การ หกล้ม ใน ผู้ สูงอายุ. Journal of Medicine and Health Sciences, 26(1), 85-103. Mary-Beth Coty, Colette McCammon, Carlee Lehna, Stephanie Twyman, Erin Fahey. (2015) Home fire safety beliefs and practices in homes of urban older adults. Geriatric Nursing, In Press, Corrected Proof, Available online 27 January 2015 Sophonratanapokin, B., Sawangdee, Y., & Soonthorndhada, K. (2012). Effect of the living environment on falls among the elderly in Thailand. Southeast Asian Journal of Tropical Medicineand Public Health, 4 3 ( 6 ) , 1537. นันทวุฒิ จำปางาม. (2019). การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม: สุขภาวะที่ดีในสั งคมผู้สูงวัย. EAU Heritage Journal Science and Technology, 13(2), 63-73. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย. บริษัทเอสเอสพลัสมีเดีย จำกัด; 2556. สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2557). ประชากรสูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต. สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและคามมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: กรุงเทพฯ, พิมพ์ครั้งที่ 1: 1-18 .

188


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวรยางค์บนของการเต้นจะคึเผ่าลาหู่ พลอยไพลิน นามกร1,3 ฤทธิชัย พิมปา2,3 ฉัตรชฎา สุตาลังกา1,3 วิลาวัณย์ ไชยอุต1,3 อ้อมขวัญ ทิมินกุล1,3 เอกลักษณ์ สิทธิพรวรกุล1,3 1 สาขาวิชากายภาพบำบัด สำนักวิชาการแพทย์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สำนักวิชาการแพทย์บรู ณาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3 ศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Corresponding author: ploypailin.nam@mfu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: การเต้นจะคึของเผ่าลาหู่มีการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะดนตรีที่หลากหลายรูปแบบ เป็นการนำท่าทาง จากกิจวัตรในชีวิตประจำวันมาปรับเป็นท่าเต้น เช่น การทำนาและการกินข้าว ซึ่งมีท่าทางการเคลื่อนไหวของรยางค์บนในส่วนของ ไหล่ แขน ข้ อ ศอก ปลายแขน ข้ อ มื อ และมื อ โดยมี ก ารทำงานของกล้ า มเนื ้ อ และข้ อ ต่ อ ของรยางค์ บ นในรู ป แบบต่ า ง ๆ วั ตถุ ป ระสงค์ : เพื ่ อ ศึ ก ษารู ป แบบการเต้ น จะคึ แ ละวิ เ คราะห์ ก ารเคลื ่ อ นไหวรยางค์ บ นของการเต้ น จะคึ เ ผ่ า ลาหู่ วิ ธ ี วิ จ ั ย : บันทึกท่าเต้นจะคึเป็นภาพเคลื่อนไหว จำนวน 3 รอบ จากนั้น ผู้วิจัยเป็นผู้บันทึกผลโดยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านกายภาพบำบัดจำนวน 3 คน สังเกตและวิเคราะห์ผลเพื่อหาความตรงเชิงเนื้อหา ซึ่งประยุกต์ใช้ IOC (Item-Objective Congruence Index) เพื่อหาความ สอดคล้องระหว่างผลและภาพที่บันทึกไว้ ผลการวิจัย: วิเคราะห์การเคลื่อนไหวท่าเต้นจะคึที่มีการเคลือ่ นไหวของรยางค์บน จำนวน 6 ท่า ได้แก่ ท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่าเกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าว และท่ากินข้าว พบว่ามีการทำงานของกล้ามเนื้อและการ เคลื่อนไหวของข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ และมือ การเคลื่อนไหวส่วนมากมีความสอดคล้องกันค่าคะแนน IOC เท่ากับ 1 และมีการ เคลื่อนไหวบางส่วนที่มีค่าคะแนน IOC เท่ากับ 0.67 และ 0.33 อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: การเต้นจะคึในท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่าเกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าว และท่ากินข้าว ครอบคลุมการเคลื่อนไหวของข้อต่อและการทำงานของกล้ามเนื้อของรยางค์บนซึ่ง เป็นแนวทางบริหารร่างกายในส่วนของไหล่ ข้อศอก แขน ข้อมือ และมือ คำสำคัญ: การวิเคราะห์การเคลื่อนไหว, การเต้นจะคึ, เผ่าลาหู่

189


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Movement Analysis of Upper Extremities in Lahoo Ja Khue Dancing Ploypailin Namkorn1,3, Ritichai Pimpa 2,3, Chatchada Sutalangka1,3, Wilawan Chaiut1,3 , Aomkhwan Timinkul1,3, Ekalak Sitthipornvorakul1,3 1

2

Physical Therapy, School of Integrative Medicine, Mae Fah Luang University Applied Thai Traditional Medicine, School of Integrative Medicine, Mae Fah Luang University 3 Center of Excellence for the Hill-tribe Health Research, Mae Fah Luang University Corresponding author: ploypailin.nam@mfu.ac.th

Abstract Introduction:The Lahoo Ja Khue Dancing is contributing various body movements with rhythmic music. This dancing is adapting from daily activities to adjust choreography such as farming and eating. The posture of this dancing are various forms of upper limbs movements consists of shoulders, arms, elbows, forearms, wrists, and hands with the action of muscles and joints. Objective: This study purpose to analyze the upper limb movement of the Lahoo Ja Khue Dancing. Methodology: The Lahoo Ja Khue Dancing 3 choreography records as animation. The result observed and analyzed by 3 physiotherapy specialists then find content validity which uses the IOC (Item-Objective Congruence Index) to find the consistency between recorded results and animation. Results: Movement analysis of the Lahoo Ja Khue Dancing 6 upper limb movements consists of Samakkhi (unity), Sawasdee (greeting), Keiwkhaw (rice harvest), Ti Khaw (rice distraction), Hung Khaw (rice cooking), and Kin Khaw (rice-eating). This study found that the muscle action and joints movement of the shoulders, elbows, wrists, and hands most movements are consistent with IOC score of 1 and some movements with IOC score of 0.67 and 0.33. Discussion and conclusion: The Lahoo Ja Khue Dancing consists of Samakkhi (unity), Sawasdee (greeting), Keiwkhaw (rice harvest), Ti Khaw (rice distraction), Hung Khaw (rice cooking), and Kin Khaw (rice-eating) are promote the movement of the joints and the muscles of the upper limbs. Keywords: the first keywords, the second keywords, the third keywords

190


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเขาเพื่อให้มีสุขภาพดีแบบองค์รวมเป็นนโยบายของชาติ ปัจจุบันพบว่าชาวเขามีปัญหา ทางด้านต่างๆ ที่ต้องได้รับการดูแลทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และปัญหาทางด้านสุขภาพ โดยพบว่าแม้จะมีการพัฒนา คุณภาพชีวิตจากผลของความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและการเข้าถึงระบบสาธารณสุขที่ดีขึ้น แต่ชาวเขายังคงมีความเชื่อและวิถี ชีวิตดั้งเดิมที่สืบต่อกันมาอีกทั้งต้องทำงานเพื่อหารายได้ซึ่งส่งผลให้ละเลยการใส่ใจดูแลสุขภาพและการป้องกันอาการเจ็บป่วย (มูลนิธิโครงการหลวง) การพัฒนาสมรรถภาพทางกายส่งผลให้ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและมีสุขภาพดี ช่วยควบคุมน้ำหนัก ลดการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง สร้างความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อ สร้างทักษะการเคลื่อนไหว เพิ่มความสามารถในการทรงตัว ป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ การพัฒนาสมรรถภาพทางกายสามารถทำได้หลายวิธีตามความ เหมาะสมของแต่ละช่วงวัยหลากหลายหมวดหมู่ ได้แก่ การทำงาน การเคลื่อนไหวร่างกาย การทำกิจกรรมต่างๆ เช่นการออก กำลังกาย การเล่นกีฬา การทำกิจกรรมนันทนาการ ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ตามวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพทางกายในแต่ละ ด้าน (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, World Health Organization 2010) การเต้นจะคึของเผ่าลาหู่มีการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะดนตรีที่หลากหลายรูปแบบ เป็นการนำท่าทางจาก กิจวัตรในชีวิตประจำวันมาปรับเป็นท่าเต้น เช่น การทำนาและการกินข้าว ซึ่งมีท่าทางการเคลื่อนไหวของรยางค์บนในส่วนของไหล่ แขน ข้อศอก ปลายแขน ข้อมือ และมือ โดยมีการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อต่อ ของรยางค์บนในรูปแบบต่างๆ การศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเต้นจะคึและวิเคราะห์การเคลื่อนไหวรยางค์บนของการเต้นจะคึเผ่าลาหู่ ระเบียบวิธีวิจัย รูปแบบการศึกษา สามารถแบ่งเป็นขั้นตอนการดำเนินงาน (ภาพที่ 1) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเต้นจะคึ จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นลงพื้นที่สำรวจ ชนเผ่าในจังหวัดเชียงราย จากนั้นคัดเลือกหมู่บ้านและชนเผ่า ดั้งนี้ มีการเต้นจะคึอย่างต่อเนื่องมากกว่า 10 ปี มีรูปแบบตายตัว เป็น ที่รู้จักและสมาชิกของหมู่บ้านมีความสามารถเต้นได้ จากนั้นจัดแบ่งท่าเต้น จากการสัมภาษณ์ผู้เต้นเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 2 บันทึกภาพท่าเต้นจะคึเป็นภาพเคลื่อนไหว โดยสุ่มสมาชิกชนเผ่าที่สามารถเต้นจะคึได้ คละเพศ คละอายุ ให้ เต้นจะคึ ทั้งหมด 6 ท่า จำนวน 3 รอบ ขั้นตอนที่ 3 บันทึกผล โดยผู้วิจัย ประกอบด้วยชนิดข้อต่อ การเคลื่อนไหว และกล้ามเนื้อหลักจากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน กายภาพบำบัด ของสาขาวิชากายภาพบำบั ดสำนักวิชาการแพทย์บูรณาการ ที่มีคุณวุฒิตั้งแต่ปริญญาโทขึ้นไป และประสบการณ์ ด้านการทำงานด้านกายภาพบำบัด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 5 ปี จำนวน 3 ท่าน เป็นผู้สังเกตจากภาพเคลื่อนไหว จำนวน 6 ท่า 3 รอบ โดยไม่มีการหารือระหว่างกันเพื่อให้คะแนนโดยอิสระ ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และประเมินผล เพื่อหาความตรงเชิงเนื้อหา ซึ่งประยุกต์ใช้ IOC (Item-Objective Congruence Index) เพื่อหาความสอดคล้องระหว่างผลและภาพที่บันทึกไว้

191


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิดทฤษฏีการเต้นจะคึ ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและคัดเลือกหมู่บ้านและชนเผ่า จากนั้นคัดเลือกท่าเต้นที่มีการเคลือ่ นไหวของรยางค์บนจากการสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ 2 บันทึกภาพท่าเต้นเป็นภาพเคลื่อนไหว ให้ผู้เต้นจะคึ เต้นท่าละ 3 รอบ ขั้นตอนที่ 3 บันทึกผล ผู้วิจัยบันทึกผล และผู้เชี่ยวชาญด้ายกายภาพบำบัด 3 ท่านให้คะแนน ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และประเมินผล ประยุกต์ใช้ IOC (Item-Objective Congruence Index) ภาพที่ 1 แผนภูมิรูปแบบการศึกษา ผลการวิจัย วิเคราะห์การเคลื่อนไหวท่าเต้นจะคึที่มีการเคลื่อนไหวของรยางค์บน จำนวน 6 ท่า ได้แก่ ท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่าเกี่ยว ข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าว และท่ากินข้าว (ภาพที่ 2) แสดงรายละเอียดของท่าทางการเคลื่อนไหวของข้อต่อและการทำงานของ กล้ามเนื้อและประยุกต์ใช้ IOC (Item-Objective Congruence Index) เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ ในตารางที่ 1

192


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 ท่าทางการเคลื่อนไหวของข้อต่อและการทำงานของกล้ามเนื้อและคะแนน IOC (Item-Objective Congruence Index) ท่าเต้น สามัคคี

ข้อต่อ ข้อไหล่ (Glenohumeral joint)

การเคลื่อนไหว Flexion Extension

สวัสดี

ข้อศอก (Elbow and radioulnar joint) กระดูกสันหลังระดับคอ (Cervical spine) ข้อศอก (Elbow and radioulnar joint)

ข้อมือ (Wrist joint radiocarpal joint)

เกี่ยวข้าว

ข้อไหล่ (Glenohumeral joint)

Flexion Extension Flexion

Biceps brachii Brachialis Brachioradialis Supination Supinator Pronation Pronator teres Pronator quadratus Combined movements Forearm flexor group of flexion, extension, Forearm extensor group radial deviation, ulnar Flexor carpi radialis deviation Extensor carpi radialis longus Flexion

Adduction

ตีข้าว

ข้อไหล่ Glenohumeral joint ข้อไหล่ Scapulothoracic joint

Pectoralis major (Clavicular part) Deltoid (Anterior part) Deltoid (Posterior part) Latissimus dorsi Biceps brachii Triceps brachii Sternocleiomastoid

Flexion

Abduction

ข้อไหล่ Scapulothoracic joint ข้อศอก Elbow and radioulnar joint

กล้ามเนื้อหลัก

Scapular protraction Flexion

Extension Flexion Scapular protraction

Pectoralis major (Clavicular part) Deltoid (Anterior part) Supraspinatus Deltoid Trapezius Pectoralis major Biceps long head Triceps short head Serratus anterior Pectoralis minor Biceps brachii Brachialis Brachioradialis Triceps brachii Pectoralis major (Clavicular part) Deltoid (Anterior part) Serratus anterior Pectoralis minor

คะแนน IOC 1 1 1 1 0.67 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0.67 0.67 0.67 1 0.67 0.67 1 0.67 1 1 1 0.33* 1 1 1 1

193


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ท่าเต้น

ข้อต่อ

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การเคลื่อนไหว Scapular retraction

ข้อศอก Elbow and radioulnar joint

หุงข้าว

ข้อไหล่ Glenohumeral joint

Flexion

Extension Flexion Abduction

Adduction

ข้อไหล่ Scapulothoracic joint

Protraction Retraction

กินข้าว

ข้อศอก Elbow and radioulnar joint

Flexion

ข้อมือ Wrist joint radiocarpal joint ข้อไหล่ Glenohumeral joint ข้อศอก Elbow and radioulnar joint

Ulnar deviation

Flexion Flexion

Extension Pronation Supination ข้อมือและข้อนิ้ว Wrist joint radiocarpal joint finger joint * คะแนนค่า IOC <0.50

Wrist and finger flexion

Rhomboid major and minor Trapezius middle fiber Biceps brachii Brachialis Brachioradialis Triceps brachii Pectoralis major (Clavicular part) Deltoid (Anterior part) Supraspinatus Deltoid Trapezius Pectoralis major Biceps long head Triceps short head Serratus anterior Pectoralis minor Rhomboid major and minor Trapezius middle fiber Biceps brachii Brachialis Brachioradialis Flexor carpi ulnaris

คะแนน IOC 0.67 0.67 1 1 1 1 1 1 0.33* 0.33* 0.33* 1 1 1 1 1 0.67 0.67 1 1 1 0.33*

Pectoralis major (Clavicular part) Deltoid (Anterior part) Biceps brachii Brachialis Brachioradialis Triceps brachii Supinator Pronator teres Pronator quadratus Flexors digitorum superficialis

1 0.67 1 1 1 1 1 1 1 1

กล้ามเนื้อหลัก

194


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

2ก ท่าสามัคคี

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2ข ท่าสวัสดี

2ง ท่าตีข้าว

2ค ท่าเกี่ยวข้าว

195


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

2จ ท่าหุงข้าว

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2ฉ ท่ากินข้าว ภาพที่ 2 ท่าเต้นจะคึที่มีการเคลื่อนไหวของรยางค์บน

อภิปรายผล การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวท่าเต้นจะคึที่มีการเคลื่อนไหวของรยางค์บน จำนวน 6 ท่า ได้แก่ ท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่า เกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าว และท่ากินข้าว โดยผู้เชี่ยวชาญด้ายกายภาพบำบัด 3 ท่าน ได้มีการวิเคราะห์และประเมินผลโดย พิจารณาถึงความสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญด้วยคะแนน IOC พบว่าการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อต่อในแต่ละท่าเต้นมีความเห็น ตรงกันและมีความเห็นต่างกัน ท่าเต้นที่มีการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ Glenohumeral joint ในทิศทางยกแขนไปด้านหน้า (Shoulder flexion) และ เหยียดแขนไปด้านหลัง (Shoulder extension) มีค่าคะแนน IOC อยู่ในเกณฑ์ที่สูง เนื่องจากท่าทางการเต้นมีการเคลื่อนไหวของ ข้อไหล่ในทิศทางดังกล่าวในมุมการเคลื่อนไหวที่กว้าง มีการทำงานของกล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวนั้นได้ชัดเจน โดยพบ การเคลื่อนไหวของข้อไหล่ที่มีมุมการเคลือ่ นไหวกว้างในท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่าเกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าวและท่ากินข้าว ในขณะ ที่การเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในทิศทางกางแขน (Shoulder abduction) และหุบแขน (Shoulder adduction) พบการเคลื่อนไหว ที่มีช่วงการเคลื่อนไหวที่น้อยค่าคะแนน IOC อยู่ในระดับ 0.67 พบในท่าเกี่ยวข้าวและท่าหุงข้าว ท่าเต้นที่มีการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ Scapulothoracic joint พบในท่าเกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว และท่าหุงข้าวในทิศทางที่มี่ Scapular protraction พบว่ามีค่าคะแนน IOC เท่ากับ 1 ในขณะที่ทิศทาง Scapular retraction มีค่าคะแนน IOC 0.67 การ เคลื่อนไหวของข้อไหล่ Scapulothoracic joint ซึ่งเป็นข้อต่อระหว่างกระดูกสะบักและทรวงอกเป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดร่วมกันกับ การเคลื ่ อ นไหวของข้ อ ไหล่ แ ละแขนเรี ย กว่ า Shoulder girdle (Moore et al., 2013) การเคลื ่ อ นไหวในทิ ศ ทาง Scapular protraction จะเกิดขึ้นขณะเอื้อมมือไปด้านหน้า ส่วนการเคลื่อนไหวในทิศทาง Scapular retraction เกิดขึ้นขณะที่มีการเคลื่อน สะบักไปด้านหลัง เช่น การหุบแขนไปด้านหลัง สามารถสังเกตเห็นการเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย อย่างไรก็ตามหากมีการจำกัดการ เคลื่อนไหวของข้อต่อนี้ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของข้อไหล่และแขนได้ (Lawrence et al., 2014) ท่าเต้นที่มีการเคลื่อนไหวของข้อศอกในทิศทางงอศอก (Elbow flexion) และเหยียดศอก (Elbow extension) พบได้ใน ท่าเต้นทุกท่า ในขณะที่การเคลื่อนไหวของข้อศอกในทิศทางหงายมือ (Supination) และคว่ำมือ (Pronation) พบได้ในท่าสวัสดี และท่ากินข้าว มีค่าคะแนน IOC เท่ากับ 1 การเคลื่อนไหวในท่าทางเหยียดศอกในท่าเต้นท่าเกี่ยวข้าว มีคะแนน IOC 0.33

196


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เนื ่ อ งจากการแกว่ งแขนส่ ว นปลายเกิ ด การเคลื ่ อ นไหวร่ ว มกั น ระหว่ า งการหมุ นคว่ ำ หงายแขนส่ ว นปลาย (pronation and supination) ร่วมกับการเหยียดข้อศอกเป็นช่วงการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในหลายระนาบ (Galloway & Koshland, 2002) จึงอาจ ส่งผลให้มีค่าคะแนน IOC ที่ต่ำในการเคลื่อนไหวนี้ ท่าเต้นที่มีการเคลื่อนไหวของข้อมือและมือ พบในท่าสวัสดี โดยมีการเคลื่อนไหวร่วมกันในหลายทิศทาง ท่ากินข้าวมีการ เคลื่อนไหวของข้อมือและข้อนิ้ว มีค่าคะแนน IOC เท่ากับ 1 ในขณะที่ ท่าหุงข้าว การเคลื่อนไหวข้อมือในทิศทาง Ulnar deviation มีค่าคะแนนของ IOC 0.33 เนื่องจากการเคลื่อนไหวของข้อมือและนิ้วเป็นข้อต่อและกล้ามเนื้อขนาดเล็กมีการเคลื่อนไหวร่วมกัน ลักษณะที่เป็นการเคลื่อนไหวละเอียด (Fine movement) ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นพร้อมกันในหลายระนาบ นอกจากนี้ ตำแหน่งของข้อศอก และข้อมือส่งผลต่อการทำงานของกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อมือ (Finneran et al., 2013) สรุปและข้อเสนอแนะ การเต้นจะคึ 6 ท่า ได้แก่ ท่าสามัคคี ท่าสวัสดี ท่าเกี่ยวข้าว ท่าตีข้าว ท่าหุงข้าว และท่ากินข้าว ครอบคลุมการเคลื่อนไหว ของข้อต่อและการทำงานของกล้ามเนื้อของรยางค์บน การเต้นจะคึเป็นแนวทางบริหารร่างกาย ของรยางค์บนในส่วนของไหล่ แขน ข้อศอก ปลายแขน ข้อมือ และมือ กิตติกรรมประกาศ การวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีจากความอนุเคราะห์หลายภาคส่วนได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชนเผ่า ชาวเขาเผ่าลาหู่ นักดนตรี นักเต้นและผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน ตลอดจนศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงที่สนับสนุน ทุนวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง มูลนิธิโครงการหลวง Royal project foundation http://www.royalprojectthailand.com/node/1748 สำนั ก โรคไม่ ต ิ ด ต่ อ กรมควบคุ ม โรค [ online] Available at: http://thaincd.com/good-stories-view.php?id=8362 [Accessed 18 Sep. 2018]. Finneran, A., & O'Sullivan, L. (2013). Effects of grip type and wrist posture on forearm EMG activity, endurance time and movement accuracy. International Journal of Industrial Ergonomics, 43(1), 91-99. Galloway, J. C., & Koshland, G. F. (2002). General coordination of shoulder, elbow and wrist dynamics during multijoint arm movements. Experimental Brain Research, 142(2), 163-180. Lawrence, R. L., Braman, J. P., LaPrade, R. F., & Ludewig, P. M. (2014). Comparison of 3-dimensional shoulder complex kinematics in individuals with and without shoulder pain, part 1: sternoclavicular, acromioclavicular, and scapulothoracic joints. Journal of Orthopaedic & Sports Physical Therapy, 44(9), 636-645. Moore, K. L., Dalley, A. F., & Agur, A. M. (2013). Clinically oriented anatomy. Lippincott Williams & Wilkins. World Health Organization. ( 2010). Global recommendations on physical activity for health. World Health Organization.

197


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปัจจัยส่วนประสมการตลาด 4C’s ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชน ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี ภูษณพาส สมนิล สหรัฐฯ ศรีพุทธา นวพรรษ เขตวัฒนานุสรณ์ พิมภรณ์ ชุมดาวงษ์ ลลิตา แก้วใส สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี *Corresponding author E-mail: poo.somnil@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ: งานวิจัยนี้ศึกษาการให้บริการของธุรกิจเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่อยู่ในรูปแบบศูนย์บริการฟิตเนส โดยศึกษา การให้บริการด้านราคา ด้านการออกกำลังกาย และด้านต่างๆ ที่ทางศูนย์บริการฟิตเนสให้บริการแก่สมาชิก ในปัจจุบัน ประชาชน มีอัตราการใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนสที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในรูปแบบของ 4C’s ต่อการเลือกใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนส วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาด 4C’s ที่ส่งผล ต่อการเลือกใช้บริการศูนย์บริการ ฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี วิธวี ิจัย: การเก็บรวบรวมข้อมูลสำรวจ จำนวน 277 คน จากกลุ ่ มตั วอย่ า งประชาชนที ่ เป็ น สมาชิก ศู น ย์ บริ ก ารฟิ ตเนส ในเขตอำเภอเมื อง จั งหวั ด อุ ดรธานี โดยใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.16) ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อ การเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ (ค่าเฉลี่ย = 3.72) รองลงมา คื อ ด้ า นการบริ ก ารของผู ้ บ ริ โ ภค ( ค่ า เฉลี ่ ย =3.60) ด้ า นราคา (ค่ า เฉลี ่ ย =3.31) และ ด้านการสื่อสารทางการตลาด (ค่าเฉลี่ย =2.00) ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ด้วยเหตุนี้ผู้จัดการศูนย์บริการฟิตเนส จึงควรพิจารณา 4C’s ได้แก่ ความสะดวกสบายของสถานที่ การบริการผู้บริโภค ราคา และการสื่อสารทางการตลาด ตามลำดับ ปัจจัย 4C’s นี้อาจจะกระตุ้นให้ประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มาใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนสมากขึ้น คำสำคัญ: ส่วนประสมทางการตลาด, ศูนย์บริการฟิตเนส, อุดรธานี

198


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

The Marketing Mix Model 4C’s Factors Affecting the Selection of Fitness Center of People in Mueang District, Udon Thani Province. Poosanapas Somnil, Saharat Sriputta, Nawapat Khetwattananusorn, Phimphon Chumdawong and Lalita Kaewsai Sports Science Program, Faculty of Science, Udon Thani Rajabhat University *Corresponding author E-mail: poo.somnil@gmail.com

Abstract Introduction: This research studied the services of the fitness-related business in the fitness centers by investigating the price, services, exercise, and others that the fitness center provides to the members. In addition, the ratios of people who prefer to use the fitness centers are increased. Therefore, we studied the influence of the marketing mix model 4C’s factors for selecting the fitness center’s service. Objective: This research aims to study the impact of the marketing mix 4C’s factors on the selection of fitness centers of people in Mueang district, Udon Thani province. Methodology: The data were collected totally 277 members of the fitness centers in Mueang district, Udon Thani province by using the questionnaire. The descriptive statistical methods including frequency, percentage, mean, and standard deviation were used. Results: The results found that the average of the marketing mix factors was at a medium level (mean = 3.16). The average of the marketing mix factors affecting the selection of the fitness center, the convenience of the place (mean = 3.72), followed by consumer services (mean = 3.60), price (mean = 3.31) and marketing communication (mean = 2.00), respectively. Discussion and conclusion: For this reason, the managers of the fitness center should consider the marketing mix 4C’s factors including the convenience of the place, consumer services, cost, and communications, respectively. This marketing mix 4C’s factor results might promote the service rate of the fitness center in the Muang district, Udon Thani province. Keywords: Marketing Mix 4C, Fitness Center, Udon Thani.

199


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ การส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนหั น มาออกกำลั ง กายให้ ม ากขึ ้ น มี ค วามสำคั ญ นั ก เพราะ เป็ น ที ่ ท ราบกั น อย่างกว้างขวางถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายนั้นทำให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทำให้มีสมรรถภาพทางกาย ด้านต่างๆ สูง ทำงานด้านต่างๆ ได้มากขึ้น และมีความอดทนมากขึ้น ช่วยควบคุมน้ำหนักและทรวดทรง ช่วยฟื้นฟูสภาพในผู้ที่มีโรคต่างๆ ทำ ให้สภาพร่างกายสมบูรณ์ถึงขีดสุด สร้างความสมดุลให้กับส่วนต่างๆ ของร่างกายรวมทั้งช่วยในเรื่องสมาธิและจิตใจ ทำให้เกิด แนวโน้มพฤติกรรมของคนไทยที่หันมาดูแลสุขภาพร่างกายและรูปร่างของตนเองมากยิ่งขึ้น จะเห็นได้จากกระแสความนิยมในการ ออกกำลังกายทั้งการวิ่งมาราธอน มินิมาราธอน การปั่นจักรยาน รวมถึงการเข้าฟิตเนสที่เติบโตเป็ นอย่างมาก ทำให้ตลาดธุรกิจ สินค้าและบริการเกี่ยวกับสุขภาพมีอัตราการเติบโตแบบก้าวกระโดดและมีการแข่ งขันกันอย่างรุนแรง โดยมีสินค้าและบริการ ที่เกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มมากขึ้นอย่างแพร่หลายในท้องตลาด ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจเกี่ยวกับอุปกรณ์กีฬา อาทิ รองเท้าวิ่ง รองเท้าสำหรับ ปั่นจักรยาน ธุรกิจแฟชั่น เช่น ชุดออกกำลังกาย กระเป๋า ธุรกิจอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพ และผลิตภัณฑ์เสริม อาหาร โดยเฉพาะพวกวิตามิน อาหารเสริม เวย์โปรตีนที่ช่วยเสริมกล้ามเนื้อ หรือธุรกิจที่ให้บริการเกี่ยวกับสุขภาพ เช่น สปอร์ต คลับ สปา ฟิตเนสเซ็นเตอร์ เป็นต้น โดยปัจจัยที่ส่งผลให้คนมาใส่ใจดูแลสุขภาพ เพราะนอกจากที่มีสุขภาพที่ดี ร่างกายแข็งแรงแล้ว ยังต้องการรูปลักษณ์ภายนอกที่ดูดี รูปร่างสมส่วนด้วย อีกทั้งเป็นแฟชั่นตามเทรนด์ของกลุ่มอ้างอิง ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ดารา นักแสดง นักร้อง หรือเน็ตไอดอล จึงทำให้คนไทยหันมาออกกำลังกายจำนวนมาก ส่งผลให้ธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพในประเทศไทย ยัง มีแนวโน้มการเติบโตได้อีกมาก (จิรศักดิ์ ชาพรมมา, 2560) ปัจจุบันคนให้ความสนใจตนเองด้วยการออกกำลังกายเพื่อให้มีสุขภาพดีเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งนำไปสู่การเติบโตของสถานที่ ออกกำลังกายหลากหลายประเภท สามารถเห็นได้จากสถานออกกำลังกายในปัจจุบันที่แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ สโมสร ศูนย์ กีฬา ฟิตเนสเซ็นเตอร์ และศูนย์บริการเฉพาะ สถานออกกำลังกายที่เติบโตเร็วที่สุดคือ ฟิตเนสเซ็นเตอร์ โดยฟิตเนสเซ็นเตอร์ ใน ประเทศไทยแบ่งออกเป็น 4 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ ก และฟิตเนสเซ็นเตอร์เฉพาะองค์กร การออกกำลังกาย ทัว่ ไปแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 1) การออกกำลังกายแบบเกร็งกล้ามเนื้ออยู่กับทีไ่ ม่มีการเคลื่อนไหว 2) การออกกำลังกายแบบมี การยืด-หดของกล้ามเนือ้ 3) การออกกำลังกายแบบทำให้กล้ามเนื้อทำงานเป็นไปอย่างสม่ำเสมอตลอดการเคลื่อนไหว 4) การออก กำลังกายแบบไม่ต้องใช้ออกซิเจนในระหว่างที่มีการเคลื่อนไหว และ 5) การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน ซึ่งในฟิตเนสเซ็นเตอร์ จัดให้มีบริการออกกำลังเพียง 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 2, 3 และ 5 ฟิตเนสเซ็นเตอร์แบ่งพื้นทีใ่ นการให้บริการออกเป็น 2 ส่วน คือ พื้นที่เปิดใช้ในการวางอุปกรณ์ที่ให้บริการ และพื้นที่ปิด เป็นห้องเพื่อการออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน (จิราภา พึ่งบางกรวย, 2550) จากข้อมูลดังกล่าวส่งผลให้คนไทยหันมาให้ความสนใจในด้านตลาดธุรกิจสินค้าและบริการเกี่ยวกับสุข ภาพและมีอัตรา การเติบโตสูงสังเกตได้จากสินค้าและบริการเกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มมากขึ้นอย่างแพร่หลายในท้องตลาดตัวอย่างเช่นธุรกิจเกี่ยวกับ อาหารเพื่อสุขภาพ ธุรกิจที่ให้บริการเกี่ยวกับศูนย์บริการการออกกำลังกายฟิตเนส เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ที่รักการออก กำลังกาย รวมทั้งประชาชนที่มีปัญหาในเรื่องของการออกกำลังกายฟิตเนส ผู้ดำเนินธุรกิจของศูนย์บริการฟิตเนสในด้านการตลาด จะดำเนินการในรูปแบบของการสื่อสารทางการตลาดเกี่ยวกับกิจกรรมที่ท างศูนย์บริการฟิตเนสจัดขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้บริโภคและมีความเหมาะสมสำหรับผู้บริโภค ทุกเพศทุกวัยเพื่อดึงดูดผู้บริโภคให้มาใช้บริการให้มากที่สุด เมื ่ อ ผู ้ บ ริ โ ภคเริ ่ ม เปลี ่ ย นพฤติ ก รรมในการซื ้ อ สิ น ค้ า และบริ ก าร ทำให้ ก ลยุ ท ธ์ 4P’s (Product, Price, Place, Promotion) ที ่ ค ุ ้ น เคยกลายเป็ น กลยุ ท ธ์ ท ี ่ ล ้ า หลั ง ไปเสี ย แล้ ว สำหรั บ ปั จ จุ บ ั น นั ก การตลาดจึ ง เริ ่ ม หั น มาจั บ กลยุทธ์ใหม่ที่เรียกว่า 4C’s (Customer, Cost, Convenience, Communication) แทน นั่นคือ นักการตลาดหันมามองมุมใหม่ ที่

200


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เป็นมุมมองของผู้บริโภคว่าผู้บริโภคต้องการอะไร (Consumer Wants and Needs) ผู้บริโภคมีต้นทุนเท่าไหร่ (Consumer’s Cost to Satisfy) จะเพิ่มความสะดวกในการซื้อ สินค้าให้กับผู้บริโภคได้อย่างไร (Convenience to buy) ควรจะสื่อสารอย่างไร เพื่อให้ผู้บริโภครับฟัง (Communication that Connects) และด้วยหลัก 4C’s นี้เองที่จะทำให้นักการตลาดสามารถเข้าถึง ผู้บริโภคในปัจจุบันได้ง่ายขึ้น (ศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศทางธุรกิจ, ม.ป.ป.) กลยุทธ์การตลาด 4C คือ เป็นแนวคิดทางด้านการตลาดแนวใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ของ ผู้บริโภคให้ตรง ประเด็นได้มากที่สุด เพราะปัจจุบันจากพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภคเปลี่ยนไป กลยุทธ์การตลาด 4C ประกอบด้วย C ตัวที่ 1 มาจากคำว่า Consumer Wants and Needs หมายถึงความต้องการของผู้บริโภค การผลิต สินค้าใน ปัจจุบันต้องคำนึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก และนักการตลาดต้องรู้ก่อนว่าลูกค้าหรือผู้บริโภคต้องการสินค้าแบบไหน C ตัวที่ 2 มาจากคำว่า Consumer’s Cost to satisfy หมายถึง ต้นทุนของผู้บริโภค การตั้งราคาของผู้ผลิตต้ องคำนึงต้นทุนของ ผู้บริโภคมากกว่าต้นทุนของผู้ผลิต C ตัวที่ 3 มาจากคำว่า Convenience to buy หมายถึง ความสะดวกในการซื้อ ผู้ประกอบการ หรือนักการตลาดจะต้องคำนึงถึงความสะดวกสบายในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคเป็นสำคัญ โดยอาจเพิ่มช่องทางในการซื้อให้กับ ลูกค้า และ C ตัวที่ 4 มาจากคำว่า Communication that Connects หมายถึง การสื่อสาร การสื่อสารที่ดีจะทำให้ลกู ค้าเกิดความ เชื่อใจและเชื่อถือในตัวสินค้า ที่จะส่งผลให้เกิดการสั่งซื้อเพิ่มมากขึ้น จากเหตุ ผ ลข้ า งต้ น คณะผู้ ว ิ จ ั ย จึ ง ม ี ค วามสนใจ ที ่ จ ะศึ กษา การให้ บ ร ิ ก ารของธุ ร กิ จ เ กี ่ ย วก ั บ กา ร ออกกำลังกายที่อยู่ในรูปแบบศูนย์บริการฟิตเนส โดยศึกษาการให้บริการด้านราคา ด้านการออกกำลังกาย และด้านต่างๆ ที่ทาง ศูนย์บริการฟิตเนสให้บริการแก่สมาชิก คณะผู้วิจัยยังพบอีกว่าประชาชนส่วนมากมาใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนสค่อนข้างสูงทำให้ สนใจที่จะศึกษาปัจจัยทางการตลาดในรูปแบบของ 4C’s ประกอบด้วย ด้านผู้บริโภค ด้านราคา ด้านความสะดวกสบาย และด้าน การสื่อสารทางการตลาด ทำการศึกษาในเชิงพื้นที่อีกทั้งจังหวัดอุดรธานีเป็นจังหวัดขนาดใหญ่และมีประชาชนให้ความสนใจต่อการ ออกกำลังกายเป็นจำนวนมากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยต้องการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้บริการ ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยประโยชน์ที่ได้รับจะทำให้ทราบถึงการเลือกใช้ศูนย์บริการ ฟิตเนส ทราบถึงปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส และได้แนวทางการให้บริการของศูนย์บริการฟิตเนสที่ เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยและประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนที่ออกกำลังกายศูนย์บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี รวมทั้งสิ้นประมาณ 700 คน ที่ได้จากการสำรวจ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ กำหนดขนาดโดยใช้ตารางของเครจซี่และ มอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 248 คน ซึ่งภายหลังผู้วิจัยสามารถเก็บกลุม่ ตัวอย่างมาได้ 277 คน และใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามซึ่งมีลักษณะคำถามเป็นแบบปลายปิด (Close ended questionnaire) และคำถามปลายเปิด (Open ended questionnaire) โดยเป็นการตอบแบบสอบถามด้วยตัวเองดังนี้ แบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของสมาชิกซึ่งเป็นแบบสำรวจรายการ (Check list) ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้สุทธิต่อเดือน สถานภาพของสมาชิก ระยะเวลาในการใช้บริการ ความถี่ในการใช้บริการ

201


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดย คำนึงถึงปัจจัยการตลาด 4C’s ดังนี้ 1. การเลือกใช้ในด้านบริการของผู้บริโภค (Consumer) 2. การเลือกใช้ในด้านราคา (Cost) 3. การเลือกใช้ในด้านความสะดวกสบายของสถานที่ (Convenience) 4. การเลือกใช้ในด้านการสื่อสารทางการตลาด (Communications) ตอนที่ 3 ปั ญ หาอุ ป สรรคและข้ อ เสนอแนะเป็ น คำถามปลายเปิ ด (Open ended questionnaire) เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ ต อบ แบบสอบถามสามารถให้ความเห็นและข้อเสนอแนะได้โดยอิสระ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนดังนี้ 1. ติ ด ต่ อ เพื ่ อ ขออนุ ญ าตและขอความร่ ว มมื อ ไปยั ง เจ้ า หน้ า ที่ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งของศู น ย์ บ ริ ก ารฟิ ต เนส ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำนวน 6 ศูนย์ 2. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง และฝากให้พนักงานศูนย์บริการเก็บแบบสอบถาม เพิ่มบางส่วนและเข้าไปรับแบบสอบถามคืนในภายหลัง การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้วผู้วิจัยได้น ำข้อมูลมาตรวจสอบความสมบูรณ์จากนั้นนำมา วิเคราะห์หาค่าสถิติตามลักษณะที่ต้องการศึกษาดังนี้ 1. นำผลที ่ ไ ด้ จ ากแบบส อบ ถามต อนที่ 1 ข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ของผู ้ ต อบแ บบส อบ ถามมา หาค ่ า ค วา ม ถี่ ค่าร้อยละ แล้วนำเสนอในรูปแบบตารางและความเรียง 2. นำผลที่ได้จากแบบสอบถามตอนที่ 2 ได้แก่ ปัจจัยการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ปัจจัยทางการตลาด 4C’s ประกอบด้วย - ผู้บริโภค (Consumer) - ราคา (Cost) - ความสะดวกสบายของสถานที่ (Convenience) - การสื่อสารทางการตลาด (Communications) โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำมาวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบตารางและความ เรียง 3. นำผลจากตอนที่ 3 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะมาเขียนเป็นความเรียง ผลการวิจัย 1. ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย จำนวน 165 คน คิดเป็นร้อยละ 59.57 รองลงมาเป็นเพศหญิง จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 40.43 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 18-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 39.71 รองลงมามีอายุระหว่าง 26-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.99 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน/นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 33.94 รองลงมาเป็นธุรกิจส่วนตัว คิดเป็นร้อยละ 31.41 ส่วนใหญ่อยู่ระดับ การศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 62.45 รองลงมาต่ำกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 23.10 ส่วนใหญ่มีรายได้สุทธิต่อเดือน มากกว่า 20,001-30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 38.27 รองลงมา มากกว่า 15,001 - 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ33.57 ส่วนใหญ่มี

202


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สถานะภาพของสมาชิกรายเดือน คิดเป็นร้อยละ 68.59 รองลงมามีสถานะภาพสมาชิกประเภท 3 เดือน คิดเป็นร้อยละ 14.08 ส่วน ใหญ่ความถี่ในการใช้บริการ 3-4 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 61.37 รองลงมา 5-6 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 24.55 และส่วน ใหญ่ ร ะยะเวลาใช้ บ ริ ก ารประมาณ 1.30-2 ชั ่ ว โมง/วั น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 50.18 รองลงมาระยะเวลาใช้ บ ริ ก ารมากกว่ า 1-1.30 ชั่วโมง/วัน คิดเป็นร้อยละ 32.13 ตามลำดับ ประเภทของสมาชิกทีใ่ ช้ บริการ 6 เดือน 6%

รายวัน 4%

รายปี 8%

ตลอดชีพ 0%

3 เดือน 14%

รายเดือน 68%

ภาพที่ 1 ประเภทของสมาชิกที่กลุ่มตัวอย่าง

ความถี่ในการใช้ บริการต่ อสัปดาห์

1 - 2 ครั้ง/สัปดาห์ 14%

5 - 6 ครั้ง/สัปดาห์ 25%

ต่ากว่า 1 ครั้ง/สัปดาห์ 0%

3 - 4 ครั้ง/สัปดาห์ 61%

ภาพที่ 2 ความถี่ในการเข้าใช้บริการต่ออาทิตย์ของกลุม่ ตัวอย่าง

203


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ระยะเวลาในการเข้ าใช้ บริการต่ อครั้ง

2 – 2.30 ชัว่ โมง/วัน 16%

1 – 1.30 ชัว่ โมง/วัน 32%

ต่ากว่า 1 ชัว่ โมง / วัน 2%

1.30 – 2 ชัว่ โมง/วัน 50%

ภาพที่ 3 ระยะเวลาในการเข้าใช้บริการต่อครั้งของกลุ่มตัวอย่าง 2. การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ ปั จ จั ย ส่ ว นประสมการตลาด 4C’s ที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การเลื อ กใช้ ศ ู น ย์ บ ริ ก าร ฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้าน การให้บริการของผู้บริโภค ส่วนเบี่ยงเบน การแปล ปัจจัยด้านการบริการสำหรับผู้บริโภค ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความหมาย บุคลิกภาพและการแต่งกายของครูฝึก 4.12 0.75 มาก การบริการของพนักงานต้อนรับ 3.93 0.77 มาก การบริการของครูฝึก 3.92 0.79 มาก ความมีมนุษย์สัมพันธ์ของครูฝึก 3.85 0.78 มาก ความมีมนุษย์สัมพันธ์ของพนักงานต้อนรับ 3.84 0.77 มาก บุคลิกภาพและการแต่งกายของพนักงานต้อนรับ 3.79 1.25 มาก การเอาใจใส่ของครูฝึก 3.78 0.84 มาก การสอนและให้ความรู้การออกกำลังกายครูฝึก 3.77 0.88 มาก ความสวยงามของสถานที่ 3.52 0.91 มาก การให้บริการล็อคเกอร์ 3.47 0.88 ปานกลาง มีคู่มือการใช้บริการ 2.64 1.13 ปานกลาง การให้บริการมุม Kids club 2.53 1.12 ปานกลาง รวม 3.60 0.83 มาก

204


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ในด้านบริการ ของผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.60) เมื่อพิจารณาสามารถเรียงลำดับด้านที่มีคะแนนมากที่สุด 3 ลำดับแรกได้แก่ บุคลิกภาพและการแต่งกายของครูฝึก การบริการของพนักงานต้อนรับ และการบริการของครูฝึก ตามลำดับ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้าน ราคา ส่วนเบี่ยงเบน การแปล ปัจจัยด้านราคา ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความหมาย ความเหมาะสมของราคาด้านการเป็นสมาชิก 3.79 0.74 มาก ความเหมาะสมของราคาด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3.40 0.81 ปานกลาง ความเหมาะสมของราคาด้านการบริการฝึกสอนส่วนตัว 3.29 0.89 ปานกลาง ความเหมาะสมของราคาบริการเสริมอื่นๆ 2.75 1.03 ปานกลาง เช่น ชุดออกกำลังกายของฟิตเนส อุปกรณ์เสริมออกกำลังกาย รวม 3.31 0.87 ปานกลาง ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อ การเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสในด้านราคาอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย =3.31) เมื่อพิจารณาสามารถเรียงลำดับด้านที่มีคะแนนมากที่สดุ 3 ลำดับแรกได้แก่ ความเหมาะสมของราคาด้านการเป็น สมาชิก ความเหมาะสมของราคาด้านการบริการอาหารและเครื่องดื่ม และความเหมาะสมของราคาด้านการบริการฝึกสอนส่วนตัว ตามลำดับ ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้าน ความสะดวกสบายของสถานที่ ส่วนเบี่ยงเบน การแปล ปัจจัยด้านความสะดวกสบายของสถานที่ ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความหมาย ความสะดวกในการเดินทาง 4.00 0.91 มาก ความสะอาดของศูนย์บริการฟิตเนส 3.99 0.76 มาก อุปกรณ์/เครื่องออกกำลังกายเพียงพอ 3.98 0.81 มาก ความปลอดภัยของอุปกรณ์ออกกำลังกายแต่ละชนิด 3.90 0.82 มาก ความสวยงามของศูนย์บริการฟิตเนส 3.68 0.76 มาก ความปลอดภัยของสถานที่จอดรถ 3.64 1.04 มาก สิ่งอำนวยความสะดวกสบายของศูนย์บริการฟิตเนส เช่น 2.86 1.08 ปานกลาง เคาน์เตอร์ ช็อปต่างๆ รวม 3.72 0.73 มาก

205


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสในด้านความสะดวกสบายของสถานที่ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.72) เมื่อพิจารณาสามารถเรียงลำดับด้านที่มีคะแนนมากที่สุด 3 ลำดับแรกได้แก่ ความสะดวกในการ เดินทาง ความสะอาดของศูนย์บริการฟิตเนส และอุปกรณ์/เครื่องออกกำลังกายเพียงพอ ตามลำดับ ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้าน การสื่อสารทางการตลาด ส่วนเบี่ยงเบน การแปล ด้านการบริการด้านการสื่อสารทาง การตลาด ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความหมาย การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางอินเตอร์เนต เช่น 3.99 0.86 มาก Facebook, Line, Instragram การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางบุคคลปากต่อปาก 3.73 1.06 มาก การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสจากพนักงานฝ่ายขายตรง 2.19 0.43 น้อย การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางโปสเตอร์ป้ายประกาศ 1.82 0.94 น้อย กิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น Gift Voucher 1.62 0.81 น้อย การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสจากการจัดงานอีเว้น (Event maketing) 1.24 0.72 น้อยที่สุด การขายตรงผ่านโทรศัพท์ 1.18 0.57 น้อยที่สุด การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางนิตยสาร 1.15 0.72 น้อยที่สุด การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสจากทางโฆษณาทางโทรทัศน์ 1.12 0.60 น้อยที่สุด รวม 2.00 0.75 น้อย ค่ า เฉลี ่ ย ของปั จ จั ย ส่ ว นประสมการตลาดที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การเลื อ กใช้ ศ ู น ย์ บ ริ ก ารฟิ ต เนส ในด้ า นการสื ่ อ สาร ทางการตลาดอยู่ในระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.00) เมื่อพิจารณาสามารถเรียงลำดับด้านที่มีคะแนนมากที่สุด 3 ลำดับแรกได้แก่ การ รับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางอินเตอร์เนต เช่น Facebook, Line, Instragram การรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสทางบุคคล ปากต่อปาก และการรับรู้ข่าวสารศูนย์บริการฟิตเนสจากพนักงานฝ่ายขายตรง ตามลำดับ ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อ การเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ใน ภาพรวม ส่วนเบี่ยงเบน การแปล ปัจจัยทางการตลาด ค่าเฉลี่ย มาตรฐาน ความหมาย ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ 3.72 0.73 มาก ด้านบริการของผู้บริโภค 3.60 0.83 มาก ด้านราคา 3.31 0.87 ปานกลาง ด้านการสื่อสารทางการตลาด 2.00 0.75 น้อย รวม 3.16 0.80 ปานกลาง

206


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อ การเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.16) และเมื่อพิจารณาสามารถเรียงลำดับตามคะแนนที่มากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านความสะดวกสบายของสถานที่ ปัจจัยด้านการบริการของผู้บริโภค ปัจจัยด้านราคา และ ปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาด ตามลำดับ อภิปรายผล การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ ส่ ว นประสมการตลาดที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การเลื อ กใช้ บ ริ ก ารศู น ย์ บ ริ ก ารฟิ ต เนส ของประชาชนในเขตอำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ ด รธานี โดยคำนึ ง ถึ ง ปั จ จั ย การตลาด 4C’s พบว่ า ประชาชน ในเขต อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ส่วนใหญ่มีการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสโดยคำนึงถึงปัจจัยทางการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง และ สามารถแบ่งเป็นรายด้านจากการการเรียงลำดับคะแนนสูงที่สุดได้ดังนี้ 1. ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ (Convenience) ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ พบว่า ปัจจัยการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี อยู่ในระดับมาก ประชาชนมีการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนส ด้านความสะดวกของการเดินทางในการออกกำลังกายเป็น อย่างมาก ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ชุติภา โอภาสานนท์ (2543) โดยกล่าวว่าการทำธุรกิจนั้นจะมีผลสำเร็จหรือไม่อยู่ทผี่ ลการ เลือกทำเลที่เหมาะสมเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย มีที่จอดรถ และการศึกษาของ นรเศรษฐ กมลสุทธิ และคณะ (2550) ทำการศึกษาปัจจัยที่ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม การสมัครสมาชิกฟิตเนสเซ็นเตอร์ พบว่า ผู้สมัครสมาชิกให้ความสำคัญเรื่องทำเลที่ตั้งที่มีความเหมาะสม และสะดวกสบายต่อการเดินทางมาใช้บริการศูนย์ออกกำลังกายมากที่สุด เช่นเดียวกับศูนย์บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี ถ้าศูนย์บริการฟิตเนสมีชื่อเสียงแต่อยู่ในสถานที่ที่เดินทางไม่สะดวก ไม่ปลอดภัย อาจท ำให้ผู้บริโภคหรือประชาชนไม่ ตัดสินใจเลือกใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนสแห่งนั้น แต่ถ้าศู นย์บริการฟิตเนส อยู่ในทำเลที่เหมาะสม อยู่ในที่ที่มีการเดินทางสะดวก มีความปลอดภัย และมีความสวยงาม จะส่งผลให้ผู้บริโภคหรือประชาชนเกิดความต้องการหรือความพึงพอใจมีการเลือกใช้บริการ ศูนย์บริการฟิตเนส 2. ด้านบริการของผู้บริโภค (Consumer) ด้านบริการของผู้บริโภค พบว่าอยู่ในระดับมาก และในด้านบริการซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภคกล่าวว่ากลยุทธ์ ด้านผลิตภัณฑ์ซึ่งในงานวิจัยนี้คือด้านผลิตภัณฑ์ที่ให้บริการแก่ผู้บริโภคเป็นสิ่งที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ และตอบสนองต่อความ ต้องการ ทำให้ทราบถึงความต้องการซื้อและการใช้ของผู้บริโภค คำตอบที่ได้จะช่วยให้นักการตลาดสามารถจัดกลยุทธ์ทาง การตลาดที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภคได้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2541) กล่าวว่าตาม ความต้องการของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งศูนย์ออกกำลังกายที่มีครูฝึกคอยเอาใจใส่ดูแล ให้ความรู้ด้านการออกกำลังกาย และ ให้บริการในเรื่องออกกำลังกายจะยิ่งทำให้ประชาชนนั้นมีการตัดสินใจในการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสได้อย่างเร็วขึ้ น อีกทั้ง ยังสอดคล้องกับการศึกษาของ สาธิต เชื้ออยู่นาน (2562) ที่กล่าวว่าความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการให้บริการ คือ ด้าน ลักษณะที่สัมผัสได้ ด้านความเข้าใจลูกค้า ด้านความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการ ด้านความแน่นอนในการให้การ บริการ และด้านความเชื่อถือ และวิโรจนี พรวิจิตรจินดา (2556) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานออก กำลังกาย กรณีศึกษา ทรู ฟิตเนส และ ฟิตเนส เฟิรส์ท พบว่า ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการในเรื่องความสามารถของพนักงาน ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การให้บริการลูกค้าด้วยความรวดเร็ว การจัดคลาสออกกำลังกายอย่างเป็นระบบ และความเหมาะสม ในเรื่องเวลา ของแต่ละคลาสมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในระดับมาก และปัจจัยด้านบุคลากรผู้ให้บริการในเรื่องพนักงานที่ ให้บริการมีอัธยาศัยดี ให้บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในระดับมาก ซึ่งเป็นไปในทิศทาง เดียวกับแนวคิดของ Engel Blackwell & Miniard (1995)ในการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความตั้งใจนั้นจำเป็นต้องทำความเข้าใจกับ

207


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ปัจจัยต่างๆ ที่จะใช้กำหนดความตั้งใจของผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยที่มาจากตัวบุคคลหรือปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้น โดยปัจจัยที่มา จากตัวบุคคล ได้แก่ ลักษณะบุคลิกภาพของตัวผู้บริโภค ซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการ แรงจูงใจ ทั ศ นคติ ความสามารถในการรั บ รู้ ข ่า วสาร ความสามารถในการปรั บ ตั ว แต่ ใ นกรณี ของปัจ จั ยที ่เ ป็ น ตั วกระตุ้ น นั ้ นจะต้อง ทำการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของตัวกระตุ้นเพื่อที่จะได้สามารถนำมาใช้ในการกระตุ้นความสนใจของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเราจะต้องทำการพิจารณาในด้านที่เกี่ยวข้องกับขนาด สีสัน การเปรียบเทียบกับสินค้าชนิดอื่น จุดยืนของสินค้าความแปลกใหม่ ซึ่งตัวกำหนดเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราสามารถควบคุมได้ และ นำมาใช้ในการวางแผนดึงดูดความสนใจและกระตุ้นให้ผู้บริ โภคเกิดความ ตั้งใจในการรับข้อมูล 3. ด้านราคา (Cost) ด้ า นราคา พบว่ า อยู ่ ใ นระดั บ ปานกลาง ซึ ่ ง ความพึ ง พอใจต่ อ ราคาสมาชิ ก ของศู น ย์ บ ริ ก ารฟิ ต เนสใน ระดับมาก มีคะแนนมากที่สุด สิ่งนี้ทำให้เห็นว่าประชาชนต้องการความเหมาะสมของราคาด้านการเป็นสมาชิก ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของ รัตนาวลี รักษาแสง (2550) ที่ทำการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ศูนย์ฟิตเนส มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยา เขตร่มเกล้า ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามพึงพอใจในระดับมากด้านราคา ความเหมาะสมของราคาอัตราค่าใช้บริการ เช่นเดียวกับประชาชนที่ต้องการเรื่องของความเหมาะสมของราคาในการออกกำลังกายในศูนย์บริการฟิตเนส ที่ราคาไม่สูงจนเกินไป ที่ทำให้ประชาชนสามารถตัดสินใจใช้บริการได้ทั้งในเรื่องของความเหมาะสมของราคาสมาชิก ความเหมาะสมของราคาการบริการ ต่างๆ ที่ทางศูนย์บริการฟิตเนสให้บริการแก่ผู้บริโภคหรือสมาชิก อีกทั้ง อริสรา สุดสระ (2550) ยังได้ศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสมัครสมาชิกฟิตเนสเซ็นเตอร์ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่าปัจจัยทางการตลาดมี ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่ การส่งเสริมการตลาด มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสมัครสมาชิกฟิตเนสเซ็นเตอร์ ดังนั้นทำให้กล่าวได้ ว่าปัจจัยการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสของประชาชนในเขต อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จะคำนึงถึงความเหมาะสมด้านราคาใน การบริการที่ทางศูนย์บริการฟิตเนสกำหนดขึ้นมา ถ้าราคาสูงเกินไป ประชาชนอาจไม่เลือกใช้บริการ แต่ถ้าศูนย์บริการฟิตเนสมี ราคาที่เหมาะสม ประชาชนจะใช้บริการศูนย์บริการฟิตเนสที่เพิ่มมากขึ้น 4. ด้านการสื่อสารทางการตลาด (Communications) ด้านการสื่อสารทางการตลาด ประชาชนส่วนใหญ่มีความต้องการในระดับน้อย แต่ประชาชนให้ความสำคัญเรื่องการรับรู้ ข่ า วสารศู น ย์ บ ริ ก ารฟิ ต เนสทางอิ น เตอร์ เ น็ต เช่ น Facebook, Line, Instragram มากเป็ น อั น ดั บ แรกและการรั บ รู ้ ข ่า วสาร ศูนย์บริการฟิตเนสทางบุคคลปากต่อปาก มากรองลงมา ซึ่งมีความสอดคล้องกับการศึกษาของ วิริยะ แก้วเจริญศรี (2558) ทีศ่ ึกษา อิทธิพลของรูปแบบการตลาดแบบปากต่อปากที่มีต่อทัศนคติของการตลาดแบบปากต่อปาก ผลการศึกษาสรุปได้ว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ได้รับข่าวสารหรือการโฆษณาเกี่ยวกับตัวสินค้าหรือบริการ จากสื่อมวลชน จากแหล่งที่เป็นผู้มีประสบการณ์ในสินค้าหรือ บริการนั้นๆ โดยได้รับข้อมูล จาก Facebook ซึ่งมีความเห็นว่าการสื่อสารแบบปากต่อปากทำให้ได้รับประโยชน์และทำให้รู้ทันต่อ สถานการณ์โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการตลาดแบบปากต่อปากอยู่ในระดับมากในทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด ้ า น ก า ร ใ ห ้ ค วา ม รู้ ( Informativeness) ร อ ง ล ง ม า ค ื อ ด ้ า น ค ว า ม บ ั น เ ท ิ ง ( Entertainment) ด ้ า น ส ิ ่ ง ท ี ่ ส ร ้ า ง ความรำคาญ (Irritation) และด้านแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ (Source credibility) ตามลำดับ ผลที่ได้จากการศึกษานี้พบว่า ด้านการสื่อสารทางการตลาด ประชาชนส่วนใหญ่มีความต้องการในระดับน้อย ซึ่งแปลผลได้ว่าการสื่อสารทางการตลาดอาจไม่ จำเป็นมากสำหรับการออกกำลังกายของประชาชน จึงทำให้ประชาชนมีความสนใจในด้านการสื่อสารการตลาดในการเลือก ศูนย์บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ Don Schultz, Stanley Tannenbaum & Robert Lauterborn (1994) ที่กล่าวไว้ว่า ในด้านการสื่อสาร นักการตลาดเริ่มมองว่า “โปรโมชั่น”

208


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เป็นคำที่แคบไป เพราะในกระบวนการส่งเสริมการขายนั้นการสื่อสารสำคัญที่สุด โดยให้มองเป็นองค์รวม เป็นการสื่อสารที่สื่ อสาร กับผู้บริโภคในภาพรวม ซึ่งในยุคปัจจุบันเมื่อผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมในการซื้อสินค้าและบริการ ทำให้กลยุทธ์ 4 P’s (Product, Price, Place, Promotion) ที่คุ้นเคยกลายเป็นกลยุทธ์ที่ล้าหลังไปเสียแล้วสำหรับปัจจุบัน นักการตลาดจึงเริ่มหันมาจับ กลยุทธ์ใหม่ที่เรียกว่า 4C’s (Consumer, Cost, Convenience, Communication) แทน นั่นคือ นักการตลาดหันมามองมุมใหม่ที่ เป็นมุมมองของผู้บริโภคว่าผู้บริโภคต้องการอะไร (Consumer wants and needs) ผู้บริโภคมีต้นทุนเท่าไหร่ (Consumer’s cost to satisfy) จะเพิ่มความสะดวกในการซื้อสินค้าให้กับผู้บริโภคได้อย่างไร (Convenience to buy) ควรจะสื่อสารอย่างไรเพื่อให้ ผู้บริโภครับฟัง (Communication that connects) และด้วยหลัก 4C’s นี้เองที่ผู้วิจัยให้ความสนใจเนื่องจากเป็นมุมมองที่เน้น ผู้บริโภคเป็นศูนย์กลาง (Customer - centric) เป็นไปในทิศทางเดียวกับแนวคิด สอดคล้องกับงานวิจัยของเว็ปไซต์ Nielsen (2013) ที่ว่า สื่อที่ครองอันดับ 1 ในแง่ที่มีสามารถสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผู้บริโภคและส่งผลในการโฆษณามากที่สุด เป็นสื่อ สังคมออนไลน์ และสื่อที่สร้างโดยผู้บริโภคเอง (Consumer-generated media) โดยผลสำรวจจาก Nielsen พบว่า สื่อประเภท Earned media ไม่ว่าจะเป็นคำแนะนำของเพื่อน หรือคนรู้จัก เป็นสื่อที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่เชื่อถือมากเป็นอันดับ 1 โดยมากถึง 92% สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ให้ความสำคัญ มากที่สุดต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการฟิตเนสคือ ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ ผู้จัดการศูนย์บริการฟิตเนสจึงควรให้ความสำคัญ เกี่ยวกับสถานที่ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชนให้ได้มากที่สุด และคำนึงถึงผู้บริโภค เพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจแก่ประชาชนให้ความสนใจถึงความสะดวกสบายของสถานที่ ในการใช้บริการ มากกว่า การบริการผู้บริโภค ราคาผลิตภัณฑ์ และการสื่อสารทางการตลาด ด้วยเหตุนี้ผู้จัดการศูนย์บริการฟิตเนส จึงควรพิจารณา 4C’s ได้แก่ การบริการผู้บริโภค ราคา ความสะดวกสบายของสถานที่ และการสื่อสารทางการตลาด เป็นพื้นฐานในการสร้าง 4P’s อันได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา สถานที่จำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด เพื่อที่จะทำให้ศูนย์บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สามารถทำให้ประชาชนมาใช้บริการได้มากที่สุด ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไปอาจต้องศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังของ ผู้บริโภคที่มาใช้บริการศูนย์ฟิตเนส กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เอกสารอ้างอิง จิรศักดิ์ ชาพรมมา. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการฟิตเนสเซ็นเตอร์ที่เปิดให้บริการ 24 ชั่วโมง ของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. จิราภา พึ่งบางกรวย. (2550). กลยุทธ์การตลาดของฟิตเนสเซ็นเตอร์ในประเทศไทย. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 6(2), 26-37. ชุติภา โอภาสานนท์. (2543). คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบผลสำเร็จ. กรุงเทพฯ: นามบุ๊คส์. นรเศรษฐ กมลสุทธิ และคณะ. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจสมัครสมาชิกฟิตเนสเซ็นเตอร์ . สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด, มหาวิทยาลัยสยาม รัตนาวลี รักษาแสง. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการศูนย์ฟิสเนส มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบริการบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตพัฒนาการ. วิริยะ แก้วเจริญศรี. (2558). กรณีศึกษาอิทธิพลของรูปแบบการตลาดแบบปากต่อปาก ที่มีต่อทัศนคติของการตลาดแบบปากต่อ ปาก. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

209


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วิโรจนี พรวิจิตรจินดา. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานออกกำลังกาย กรณี ศึกษา ทรู ฟิตเนส และ ฟิต เนสเฟิรส์ท. สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: พัฒนศึกษา. ศูนย์พัฒนาความเป็นเลิศทางธุรกิจ. (ม.ป.ป.). การตลาดแนวคิดใหม่ ด้วยกลยุทธ์ 4C's. ที่มา: http://www.bizexcenter.com/ บทความทางธุรกิจ/การตลาดแนวคิดใหม่-ด้วยกลยุทธ์-4Cs.html สาธิต เชื้ออยู่นาน. (2562). ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการบิ๊กแบร์ยิม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา. วารสารวิทยาการ จัดการปริทศั น์, 21(1), 1-6. อริสรา สุดสระ. (2550). สำรวจทัศนคติของประชาชนเกี่ยวกับปัญหาการใช้บริการฟิ ตเนสเซ็นเตอร์. ภาคนิพนธ์ปริญญาบริการ ธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอรงกรณ์. Don E. Schultz; Stanley I. Tannenbaum; & Robert F. Lauterborn. (1994). The new marketing paradigm: integrated marketing communications. Lincolnwood: NTC Business Books. Nielsen, A. (2013). Nielsen global trust in advertising survey. Retrieved from www.nielsen.com. Engel, J., Blanckwell, R., & Miniard, W. (1995). Promotional strategy (5th ed.). Irwin: Richard

210


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อ คุณภาพชีวิต ในผู้สูงอายุ จิราพร แข็งขัน, สหรัฐ ศรีพุทธา, วัฒนา สุขเสนา, วรวิทย์ แวววงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี *Corresponding author E-mail: aji_kka@hotmail.com บทคัดย่อ บทนำ: บาสโลบ คือการเต้นรำเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นชาวลาวในงานรื่นเริงต่างๆ เพื่อสร้างความสนุกสนาน มีรูปแบบการ เต้นเป็นหมู่คณะ มีจังหวะการเต้นเดินหน้าถอยหลัง และไขว้ขา ประกอบดนตรี ซึ่งการออกกำลังกายเป็นกลุ่มด้วยโปรแกรมการเต้น บาสโลบ อาจจะช่วยเพิ่ม คุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อ คุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ วิธีวิจัย: อาสาสมัครเพศหญิงจำนวน 30 คน อายุระหว่าง 60-80 ปี ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มออก กำลังกายจำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุม 15 คน ในกลุ่มออกกำลังกายได้รับการฝึกบาสโลบเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 50 นาที โดยทำการทดสอบคุณภาพชีวิต ก่อนและหลังการเข้าร่วมวิจัยในทั้ง 2 กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย pair sample ttest เพื่อเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการฝึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย independent t-test เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง กลุ่ม ผลการวิจัย: ในอาสาสมัครกลุ่มออกกำลังกาย หลังการเข้าร่วมโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าผลการประเมินคุณภาพชีวิต ด้ านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านคุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 แต่ในอาสาสมัครกลุ่มควบคุมไม่พบการเปลี่ยนแปลง อภิปรายและสรุปผลการวิจัย : การออกกำลังกายโดยการเต้น บาสโลบเป็นเวลา 8 สัปดาห์ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ คำสำคัญ: บาสโลบ, ผู้สูงอายุ, คุณภาพชีวิต

211


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Effects of Pasalop Dancing Exercise on Quality of Life in Elderly Chiraphorn Khaengkhan, Saharat Sriputha, Watthana Suksana , Worrawith Worwang Udon Thani Ratchabath University *Corresponding author E-mail: aji_kka@hotmail.com

Abstract Introduction: Pasalop is Loas traditional dancing which dancing in the carnival. Paslop dancing exercise is group exercise by the pattern of walk and twisting with music. Pasalop may affect improvement quality of life in elderly. Objective: The purpose of this study was to evaluate the effect of Paslop dancing exercise on quality of life in elderly. Methodology: Thirty women elderly, age more than 60 years old saved as participants. The participants were divided into two group is exercise group and control group. Exercise group, Paslop dancing exercise was use for 8 weeks, 3 days a week and 50 minutes a day. Quality of life was measured before and after 8 weeks of exercise program. The pair sample t-test was used to analyze data within group, whereas the independent t-test was used to analyze data between groups, respectively. Results: The result of this study found that, in exercise group, after 8 weeks of Paslop dancing exercise quality of life in psychological domain and environment was significant increase (p<0.05) but did not show significant difference in control group Discussion and conclusion: Pasalop dancing exercise can improve quality of life in elderly. Keywords: Pasalop, Elderly, Quality of life

212


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งกำลังเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจมาทั้งใน ระดับชาติและในระดับโลก จากการที่ประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มปริมาณสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ที่สามารถควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อต่างๆ ทำให้อัตราการตายลดลง ตลอดจนโครงการวางแผนครอบครัว ที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดอัตราการเกิดของประชากร สิ่งเหล่านี้มีส่วนในการเพิ่มขึ้นของ ประชากรผู้สูงอายุทั้งปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรทั้งหมด ในปี พ.ศ.2568 จะอาจมีประชากรโลกทั้งสิ้น 8,200 ล้านคน และใน จำนวนนี้จะเป็นประชากรผู้สูงอายุจำนวน 1,100 ล้านคน (สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2018) ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มี การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ทั้งร่างกายและจิตใจ การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ และยังพบว่ามีการมีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ ในผู้สูงอายุ ซึ่งอาจเกิดจากการรับรู้ในเรื่องของอายุและการยอมรับของสังคม ผู้สูงอายุยังพบปัญหาการไม่เป็นที่ต้องการของผู้ที่ อ่อนวัยกว่า จึงมักมีบุคลิกภาพใจน้อย อ่อนไหวง่าย รู้สึกไม่มั่นคง ไม่ปลอดภัย ช่างบ่นโกรธง่าย คิดถึงแต่ตนเอง ผลการสำรวจสะ ภาวะสุขภาพ ของผู้สูงอายุในประเทศไทย ผลของความวิตกกังวลในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ปัจจัยที่มีผลต่อความ วิตกกังวลในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บุคลิกภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาวะสุขภาพ การมีส่วนร่วมในสังคมและ สัมพันธภาพในครอบครัว ปัจจัยที่มีอิทธิพล ทั้งทางตรงและทางอ้อม (นิรมล แสงทองจี, 2005) คุณภาพชีวิต คือความผาสุกในชีวิต ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญาเป็นการรับรู้ความพึงพอใจ และรับรู้สถานะ ของบุคคลในการดำรงชีวิตในสังคม ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ด้านร่า งกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ในสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ได้มีการศึกษาที่พบว่าการออกกำลังกายสามรถช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุทั้งรูปแบบการออกกำลังกาย บนบก และการออกกำลังกายในน้ำ (สมฤดี , 2018) เป็นที่ทราบดีว่าการออกกำลังกายในผู้สูงอายุผู้สูงอายุ ช่วยลดโรคที่เกิดจาก ความชรา ชะลอความเสื่อมของร่างกาย ทำให้หัวใจ หลอดเลือด และปอดแข็งแรงรวมถึงช่วยให้การทรงตัวดีขึ้น เพิ่มความแข็งแรง ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อขา และข้อเท้าช่วยพัฒนาการทรงตัว ระบบการเคลื่อนไหว และลดปัจจัยเสี่ยงต่อ การหกล้มของ ผู้สูงอายุได้ (Janyacharoen, Laophosri, Kanpittaya, Auvichayapat, & Sawanyawisuth, 2013; Janyacharoen, Phusririt, Angkapattamakul, Hurst, & Sawanyawisuth, 2015; Noopud, Suputtitada, Khongprasert, & Kanungsukkasem, 2018) บาสโลบ เป็นการเต้นรำหมู่ของประเทศลาว เป็นกิจกรรมเต้นในงานมงคล หรืองานรื่นเริง บาสโลบ ทำให้เกิดช่วงเวลา แห่งความอบอุ่น ในหมู่เครือญาติเพื่อนฝูง ซึ่งเป็นการเต้นรำประกอบดนตรีมีจังหวะสนุกๆ การเต้นชนิดนี้ คือ มีความมั่นคงในการ ทรงตัวบนขาหนึ่งข้างของผู้เต้นและอาจ มีการเต้นไขว้ขามีการเคลื่อนไหวสะโพกและเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องตลอดเวลา ประกอบด้วย จากลักษณะของการเคลื่อนไหวดังกล่าว เชื่อว่าการเต้นบาสโลบ จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ การทรงตัว และ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวของร่างกายได้ ซึ่งมีการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า การที่กล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวมีความ แข็งแรงมีความสำคัญต่อการทรงตัว (วิลาวัลย์ กันหาชน, 2014) แต่ในปัจจุบัน ยังพบว่า มีการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับผล ของบาสโลบค่อนข้างน้อย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีวัตถุประสงค์ ศึกษาโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อ คุณภาพชีวิตใน ผู้สูงอายุเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการลดปัญหา จากการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ และเพื่อสร้างความสุขทั้งทาง ร่างกายและจิตใจในผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อสมรรถนะการรู้คิด คุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ

213


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ระเบียบวิธีวิจัย 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประชากรผู้สูงอายุเพศหญิงที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ในจังหวัดอุดรธานี เลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน เกณฑ์คัดเข้า เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 60-80 ปี สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้อย่างอิสระ สมัครใจเข้าร่วม การออกกกำลังกายด้วยบาสโลบ 3 ครั้ง/สัปดาห์ ไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรค์ต่อการออกกำลังกาย เกณฑ์คัดออก ประวัติโรคหัวใจ ประวัติโรคปอด ความจำเสื่อมและเสียสติ โรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ที่ไม่สามารถเข้าร่วมการออกกำลังกายแบบบาสโลบได้ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินวิจัย 2.1 แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับข้อมูลของผู้สูงอายุ 2.2 แบบทดสอบคุณภาพชีวิต (WHOQOL – BREF – THAI) 2.3 โปรแกรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกด้วยบาสโลบ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ชี้แจงกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับการเต้นบาสโลบในขณะที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 อธิบายรายละเอียดและสาธิตวิธีการปฏิบัติตามรูปแบบของโปรแกรมการฝึกด้วยการเต้นบาสโลบ ให้กลุ่ม ตัวอย่างเข้าใจ 3.3 ทดสอบคุณภาพชีวิต ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม 3.4 นำโปรแกรมการเต้นบาสโลบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาจัดกิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่าง 8 สัปดาห์ โดยฝึกวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ เป็นเวลา 3 วันต่อสัปดาห์ วันละ 50 นาที 3.5 ทดสอบทดสอบ คุณภาพชีวิต ในอาสาสมัครทั้ง 2 กลุ่ม หลังสัปดาห์ที่ 8 3.6 นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์แปลผล เพื่อสรุปและอภิปลายผลการวิจัย 4. การวิเคราะห์ข้อมูล นำผลการทดสอบ สมรรถนะการรู้คิด คุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุก่อนการฝึกและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองมาวิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงภายในกลุ่มก่อนและหลังการฝึกวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยสถิติ Paired t-test และวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ด้วยสถิติ Independent t-test ที่ระดับดับนัยสำคัญ 0.05 วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Microsoft® Excel 2007 และ SPSS ผลการวิจัย อาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการวิจัยในครั้งนี้ เป็นผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวน 30 คนถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มออก กำลังกาย และกลุ่มควบคุม ในกลุ่มควบคุมอาสาสมัครมีอายุเฉลี่ย 67.23± 6.36 ปี อาสาสมัครกลุ่มออกกำลังกายมีอายุเฉลีย่ 69.14 ± 6.12 ปี ผลการเปรียบเทียบค่า เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของของอายุ ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ ของ อาสาสมัครกลุ่มควบคุมและกลุ่มออกกำลังกาย ในช่วงเวลาก่อนและหลังการฝึกโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ พบว่า อาสาสมัครกลุ่มควบคุม และอาสาสมัครกลุ่มออกกำลังกาย อายุ ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจก่อน และหลังการ ฝึกเข้าร่วมโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ

214


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูล อายุ ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ ของอาสาสมัครกลุ่มควบคุมและกลุ่มออกกำลังกายในช่วงเวลา ก่อนฝึกและหลังการฝึกเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ข้อมูล กลุ่ม ช่วงเวลา Mean SD P-value ก่อน 67.23 6.36 Control group 1.000 หลัง 67.23 6.36 อายุ ก่อน 69.14 6.12 Exercise group 1.000 หลัง 69.14 6.12 ก่อน 129.38 12.18 Control group 0.875 หลัง 132.61 14.92 ความดันโลหิต (SBP) ก่อน 127.64 18.37 Exercise group 0.683 หลัง 125.42 17.34 ก่อน 79.76 15.89 Control group 0.556 หลัง 78.07 10.29 ความดันโลหิต (DBP) ก่อน 77.21 7.80 Exercise group 0.506 หลัง 77.14 10.39 ก่อน 78.76 9.09 Control group 0.925 หลัง 74.61 6.31 อัตราการเต้นของหัวใจ (bpm) ก่อน 77.92 9.43 Exercise group 0.753 หลัง 76.21 7.98 SD คือ standard deviation ตารางที่ 2 แสดงผลเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพ ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ของอาสาสมัครกลุ่มควบคุมและกลุม่ ออกกำลังกาย ในช่วงเวลาก่อนฝึกและ หลังการฝึกโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ พบว่าในกลุ่มควบคุมก่อน การฝึกและหลังการฝึกการเต้นบาสโลบ เป็น เวลา 8 สัปดาห์ คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่พบว่ากลุ่มออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบเป็นเวลา 8 สัปดาห์ คุณภาพชีวิตด้านจิต ใจ และด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 อภิปรายผล การศึกษาผลการออกกำลังกายแบบแอโรบิกโดยการเต้นบาสโบลต่อคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ จากการประเมินโดยใช้ เครื่องมือชี้วัดคุณภาพชีวิต ขององค์กรอนามัยโลก ผลการศึกษาพบว่าการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบเป็นเวลา 8 สัปดาห์ อาสาสมัครมีคะแนนการประเมินคุณภาพชีวิตดีขึ้น และพบว่าคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ และคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งเกณฑ์การประเมินคุณภาพชีวิตของอาสาสมัครกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง คุณภาพ ชีวิตด้านจิตใจเป็นการประเมินการรับรู้จิตใจของตนเอง การรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเอง การรับรู้ถึงความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง

215


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 แสดงผลเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประเมินคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ของอาสาสมัครกลุ่ม ควบคุมและกลุ่มออกกำลังกาย ในช่วงเวลาก่อนฝึกและหลังการฝึกโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ประเภท กลุ่ม ช่วงเวลา Mean SD P-value ก่อน 18.2 7.80 Exercise group 0.286 หลัง 18.53 2.44 ด้านสุขภาพ ก่อน 17.86 8.65 Control group 0.858 หลัง 17.46 4.13 ก่อน 17.2 4.85 Exercise group 0.007* หลัง 18.4 0.98 ด้านจิตใจ ก่อน 15.73 6.41 Control group 0.858 หลัง 15.86 2.53 ก่อน 9.33 2.95 Exercise group 0.397 หลัง 9.86 1.35 ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ก่อน 8.46 3.25 Control group 0.564 หลัง 8.4 1.76 ก่อน 21.4 7.73 Exercise group 0.001* หลัง 25.66 2.35 ด้านสิ่งแวดล้อม ก่อน 21.06 9.10 Control group 0.885 หลัง 21 4.73 ก่อน 71.13 25.11 Exercise group 0.006* หลัง 77 5.07 ทุกๆด้าน ก่อน 69 29.53 Control group 0.666 หลัง 68.53 10.48 SD คือ standard deviation *คือ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 การรับรู้ถึงความมั่นใจในตนเอง การรับรู้ถึงความคิด ความจํา สมาธิการตัดสินใจ และความสามารถในการเรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ของตนการรับรู้ถึงความสามารถในการจัดการกับความ เศร้า หรือกังวล การรับรู้เกี่ยวกับความเชื่อต่าง ๆ ของตนที่มีผลต่อการ ดำเนินชีวิต เช่น การรับรู้ถึง ความเชื่อด้านวิญญาณ ศาสนา การให้ความหมายของชีวิต และความเชื่ออื่น ๆ ที่ มีผลในทางที่ดีต่อ การดําเนินชีวิต มีผลต่อการเอาชนะอุปสรรค คุณภาพชีวิตในด้านสิ่งแวดล้อม (environment) คือ การรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ที่ มีผลต่อการดําเนิน ชีวิต เช่น การรับรู้ว่าตนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่ถูกกักขัง มีความปลอดภัยและมั่นคงในชีวิต การรับรู้ว่า ได้อยู่ใน สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ดี ปราศจากมลพิษต่าง ๆ การคมนาคมสะดวก มีแหล่งประโยชน์ ด้านการเงิน สถานบริการทางสุขภาพ และสังคมสงเคราะห์ การรับรู้ว่าตนมีโอกาสที่จะได้รับข่าวสาร หรือฝึกฝนทักษะต่าง ๆ การรับรู้ว่าตนได้มีกิจกรรมสันทนาการ และ

216


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

มีกิจกรรมในเวลาว่าง ในโปรแกรมการออกกำลังการโดยการเต้นบาสโลบครั้งนี้เป็นการออกกำลังกายแบบกลุ่ม จึงทำให้ผู้สูงอายุได้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้เกิดความรูสึกคึกคัก สนุกสนาน คลายเครียดและลดความเหงาจากการทำสันทนาการร่วมกัน ทั้งนี้ สอดคล้องกับการศึกษาของ กัตติมา และคณะ ในปี 2556 ได้ทำการศึกษาผลของการออกรำไม้พองเชิงเมืองน่านต่อสมรรถภาพทาง กายในผู้สูงอายุ จำนวน 48 ราย เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น ในผลของ โปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบที่พบว่าหลังการออกกำลังกายผู้สูงอายุมีสภาพจิตใจดี ขึ้น มีความผาสุกทางใจ เพิ่มขึ้น และมีความเครียด ความวิตกกังวลลดลงอย่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 (Eyigor,et al, 2009; Hui,et al 2009) และ การศึกษาผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบทำให้ผู้สูงอายุ มีคุณภาพชีวิตด้านจิตใจดีขึ้น สรุปและข้อเสนอแนะ เนื่องจากการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี ในอนาคตควรทำการศึกษาการออกกำลังกายแบบแอ โรบิดด้วยการเต้นบาสโลบในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต หรือโรคหลอดเลือดสมอง เป็น ต้น เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาใช้โปรแกรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในสภาวะต่าง ๆ ต่อไป กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณอาสาสมัครวิจัย ทุก ท่า นที่เสียสละเวลาเข้าร่ วมงานวิจัยจนเสร็จสิ้ นและขอบพระคุณ คณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง Eyigor S., Karapolat, H., Durmaz B., Ibisoglu U, & Cakir, S. (2009). A Randomized controlled Trial of Turkis folklore dane on the physical performance, balance, depression quality of life in older women. Archives of Gerontology and Geriatrics, 48, 84-88. Hui, E., Chui, B.T., & Woo, j. (2009). Effects of dance on physical and psychological Well-being in older posons. Archives of Gerontology and Geriatrics, 49, e45-e50 Janyacharoen, T. , Laophosri, M. , Kanpittaya, J. , Auvichayapat, P. , & Sawanyawisuth, K. ( 2013) . Physical performance in recently aged adults after 6 weeks traditional Thai dance: a randomized controlled trial. Clin Interv Aging, 8, 855-859. doi:10.2147/CIA.S41076 Janyacharoen, T., Phusririt, C., Angkapattamakul, S., Hurst, C. P., & Sawanyawisuth, K. (2015). Cardiopulmonary effects of traditional Thai dance on menopausal women: a randomized controlled trial. J Phys Ther Sci, 27(8), 2569-2572. doi:10.1589/jpts.27.2569 Noopud, P., Suputtitada, A., Khongprasert, S., & Kanungsukkasem, V. (2018). Effects of Thai traditional dance on balance performance in daily life among older women. Aging Clin Exp Res. doi: 10. 1007/ s40520- 0181040-8 นิรมล อินทฤทธิ์. (พฤติกรรมส่งเส .(2547ริมสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัด ปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

217


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วิลาวัลย์ กันหาชน. (2557). เปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายด้วยการเต้น Paslop และการออกกำลังกายกล้ามเนื้อแกนกลาง ลำตัวแบบจำเพาะต่อการทรงตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวในอาสาสมัครที่ไม่ได้ออกกำลังกายเป็น ประจำ.วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่. เชียงใหม่ สมฤดี หาญมานพ, และภูวรินทร์ นามแดง. (2018) . ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายในน้ำและบนบกต่ อคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ. วรสารความปลอดภัยและสุขภาพ. สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2561). จำานวนและสัดส่วนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ วัยเด็ก วัยทำงาน วัย สูงอายุ เพศและภาค พ.ศ. 2550-2560. from http://www.statbbi.nso.go.th/staticreport/page/ sector/th/ อานนท์ ภาคมาลี (หมอแดง) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/551910 (27 มี.ค. 2017)

218


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การศึกษาระดับความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาของสื่อสุขภาพในสถานบริการสุขภาพ ยุพาวดี ศรีภักดี1, ปพิชญา ตาทอง2,อุรารัช บูรณะคงคาตรี3, เกศิณี หาญจังสิทธิ3์ 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุเปือย 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองยอ 3 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี *Corresponding author E-mail: payu86heechul@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นหนึ่งในตัวทำนายสภาวะสุขภาพที่ดีที่สุด สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนำมาใช้แพร่หลายในการให้ ความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชน จึงมีความจำเป็นในการเขียนเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับทักษะการอ่านของบุคคล การประเมิน ความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาจึงมีความจำเป็นในการผลิตสื่อเพื่อให้บุคคลเข้าใจในเนื้อหานั้น วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินระดับ ความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาของสื่อสุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว ในสถานบริการสุขภาพของรัฐ วิธีวิจัย: การศึกษาเป็นวิจัยแบบภาคตัดขวาง โดยเก็บรวบรวมเฉพาะสื่อ สิ่งพิมพ์สุขภาพ แผ่นพับและใบปลิว ของหน่วยงานบริการสุขภาพ ในจังหวัดอุบลราชธานี และเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข จำนวนทั้งสิ้น 102 ฉบับ ที่มีการเผยแพร่ให้แก่ประชาชน ในช่วง ระยะเวลา เดือนเมษายน – สิงหาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ คือ SMOG Test ที่นำมาหาค่าความสอดคล้องกับแบบทดสอบการอ่าน มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา และ Chi-square test (χ²) ผลการวิจัย: สื่อสุขภาพจากสถานบริการสุขภาพ มีระดับความยากง่ายในการอ่านสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐาน (สูงกว่าระดับประถมศึกษาปีที่ 6) ถึงร้อยละ 78.4 โดยสื่อแผ่นพับมีระดับความยากง่ายในการอ่านสูงกว่าเกณฑ์ (ร้อยละ 74.4) และยังพบว่าสื่อสุขภาพจากแหล่งที่แตกต่างกันและประเภทของสื่อที่แตกต่างกัน มีระดับความยากง่ายต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: สื่อสุขภาพที่มีเผยแพร่ให้กับประชาชน มีระดับความยากง่ายในการ อ่านอยู่ในระดับที่ยากต่อการอ่านซึ่งจะส่งผลต่อความความใจในสื่อนั้น ดังนั้นการผลิตสื่อสุขภาพจำเป็นต้องคำนึงระดับความยาก ง่ายในการอ่านให้มีความเหมาะสมกับระดับการอ่านของประชาชนทั่วไป คำสำคัญ: การประเมิน, ระดับความยากง่ายในการอ่าน, สื่อสุขภาพ

219


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Readability assessment on Printed Health Educational Materials Yupawadee Sripakdee1, Paphitchaya Tathong2, Urarat Buranakongkatree3, Kesinee Hanjangsit3 1

Bupyeui Health Promoting Hospital Nongyoa Health Promoting Hospital 3 Sirindhorn College of Public Health, Ubonratchathani 2

*Corresponding author E-mail: payu86heechul@gmail.com Abstract Introduction: Health literacy is one of the best predictors of individual’s health status. It is essential to tailor education materials suitable for individual’s reading skills. Readability of those materials is measurement of reading skills that one should have to comprehend the written materials. Objective: To assess the readability level of printed health educational materials. Methodology: This cross-sectional study was performed. Propulsive sampling from website and health care sectors,102 total of sampling were collected including brochures and flap published between April and August 2015. SMOG Test was used to test readability level which is validated by Thai standard readability test (correlation coefficient =0.92). Data were analyzed using descriptive statistics and Chi-square test (χ²). Results: The results had been shown that 78.4 percent of health media collected from health care sectors were over the standard criteria (Grade 6), while brochures was about 74.4 percentage over standard. Both sources and type were associated to the readability level (P <0.05). Discussion and conclusion: Our finding can be used as a guideline to improve the quality of media that is appropriate for the reading level of the general public. To lever age the intelligence of the public health truly next. Keyword: Evaluation, Readability assessment, Printed health education materials

220


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ความฉลาดทางสุขภาพ (Health literacy) เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่จะนำไปสู่การลดอัตราการป่วยและการตาย ของ ประชาชน และเป็นปัจจัยพื้นฐานนำไปสู่การมีสุขภาพดี ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยเริ่มมีการให้ความสำคัญ กับเรื่องนี้ในระดับหนึ่ง (อารยา ทิพย์วงศ์ & จารุณี นุ่มพูล, 2014) ปัจจัยพื้นฐานสำคัญของความฉลาด คือการอ่านหนังสือได้หรือการรู้หนังสือ (บุญยง เกี่ยว การค้า, 2554) แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจข้อมูลของธนาคารโลกพบว่า อัตราการรู้หนังสือของคนไทยอยู่ที่ร้อยละ 94.1 ซึ่งเป็น อันดับ 4 ของกลุ่มประเทศในอาเซียน ปัญหาเรื่องการรู้หนังสือ และการอ่านหนังสือ ของคนไทยตกอยู่ในสภาวการณ์ที่น่าเป็นห่วง คนไทยทั้งประเทศอ่านหนังสือร้อยละ 81.8 คือ คนไทย จำนวน 50.8 ล้านคน อ่านหนังสือ ซึ่งเพิ่มขึน้ จากการสำรวจครั้งก่อนในปี 2554 ถึงร้อยละ 13 ขณะที่ 11.3 ล้านคน ไม่อ่านหนังสือ สาเหตุที่เป็นปัญหาที่สำคัญ คือเพราะอ่านหนังสือไม่ออก มีมากถึงร้อยละ 27.5 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2556) ประชาชนรู้หนังสือน้อยหรือมีระดับการรู้หนังสือต่ำ (low literacy) ย่อมจะส่งผลทั้งทางตรง และทางอ้อมต่อสภาวะสุขภาพ (บุญยง เกี่ยวการค้า, 2554) ผู้ที่มีความฉลาดทางสุขภาพต่ำ หรือยังไม่ฉลาดพอเช่น การอ่านเอกสาร ทางสุขภาพไม่เข้าใจส่งผลกระทบในวงกว้างต่อการเข้าถึงการรักษาพยาบาลต่ำการดูแลตนเองต่ำการคัดกรองโรคน้อยลง (Kutner, Greenburg, Jin, & Paulsen, 2006) ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องยกระดับความฉลาดเรือ่ งสุขภาพของประชาชนอย่าง แท้จริง สื่อสุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อทีเ่ ข้ามามีบทบาทสำคัญที่เผยแพร่ความรู้ และเข้าถึงประชาชนได้ง่าย ดังนั้นสถาน บริการของรัฐ จึงใช้สื่อสิ่งพิมพ์ในการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย (บุญเรือง เนียมหอม, กำพล ดำรงค์วงศ์, & ปรียาพร ฤกษ์ พินัย, 2547) จากการศึกษาการเลือกใช้สื่อสุขภาพประเภทต่างๆ (หทัยรัตน์ ทองเขียว, 2545) พบว่าประชาชนสามารถเข้าถึง สื่อ สุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ คือ แผ่นพับ ใบปลิว ได้ง่าย แต่สื่อสุขภาพบางชนิดที่ผลิตออกมามีเนื้อหาที่ยากเกินไปสำหรับประชาชน (สรณา บุบผชาติ, 2547) เนื่องจากมีระดับการอ่านที่อยู่ในเกณฑ์สูง (High readability level) และมีการใช้คำศัพท์ทางวิชาการซึ่ง เป็นศัพท์เฉพาะทางการแพทย์ ส่งผลให้ประชาชนไม่สามารถทำความเข้าใจในเนื้อหาของสื่อสุขภาพได้ โดยทั่วไปสื่อที่ดี เนื้อหาควร ถูกเขียนขึ้นให้มีระดับความยากง่ายในการอ่าน อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) (Estrada, Hryniewicz, Higgs, Collins, & Byrd, 2000) จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินระดับความยากง่ายในการอ่าน ส่วนใหญ่จะใช้สูตร SMOG Test. (สูตร การวัดระดับความยากง่ายในการอ่าน) ในการประเมิน เนื่องจากเป็นสูตรที่มีการปรับปรุงและมีตรวจสอบความถูกต้องกับ MacCall-Crebbs. มีคะแนนความถูกต้อง 100% ในขณะทีส่ ูตรทดสอบอื่น ส่วนใหญ่มีคะแนน ความถูกต้อง 50-75% (Mc Laughlin, 1969) ผลการศึกษาเรือ่ งการประเมินการอ่านข้อมูลสุขภาพในอินเตอร์เน็ตของผู้บริโภค ส่วนใหญ่มีเนื้อหาอยู่ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 (Walsh & Volsko, 2008) และการศึกษาสื่อสุขภาพสำหรับผู้ป่วยส่วนใหญ่มีเนื้อหาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 (Stossel, Segar, Gliatto, Fallar, & Karani) จากการทบทวนวรรณกรรมของต่างประเทศ พบว่าการประเมินระดับความยากง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพ ที่มีการผลิตออกมาเพื่อเผยแพร่ ส่วนใหญ่มีเนื้อหาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไป (DuBay, 2004; Hoffman-Goetz & Friedman, 2004; Stossel et al.) ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) (Estrada et al., 2000) สำหรับในประเทศไทย ยังไม่มีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นถึงระดับความยากง่ายในการอ่านของสื่อสุขภาพว่ามีความเหมาะสมกับประชาชน เพียงใด

221


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากปัญหาและผลกระทบดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำการศึกษาระดับความยากง่ายในการ อ่านสื่อสุขภาพ ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงเนื้อหาของสื่อสุขภาพให้เหมาะสมกับระดับการอ่านของ ประชาชน วัตถุประสงค์งานวิจัย เพื่อประเมินระดับความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาของสื่อสุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว ในสถานบริการ สุขภาพของรัฐ วิธีดำเนินการวิจัย การศึกษาครั้งนีเ้ ป็นงานวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional) เพื่อศึกษาระดับความยาก–ง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพ แผ่นพับและใบปลิวของหน่วยงานบริการสุขภาพทุกระดับในจังหวัดอุบลราชธานี และเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สื่อสิ่งพิมพ์สุขภาพประเภทแผ่นพับและใบปลิว ของหน่วยงานบริการสุขภาพ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพระดับตำบล โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลค่าย ศูนย์วิชาการในจังหวัด อุบลราชธานี จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สำนักงานป้องควบคุมโรค และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และเว็บไซต์ของกระทรวง สาธารณสุข รวมทั้งหมด 9 แห่ง โดยมีตัวอย่างของสื่อสิ่งพิมพ์ ที่มีการเผยแพร่ ในช่วงระยะเวลา เดือนเมษายน – สิงหาคม 2558 จำนวน 102 ฉบับ การคัดเลือกตัวอย่างใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (โรคความดันโลหิตสูง รอบรู้เกี่ยวกับไข้หวัดใหญ่ โรค ไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบประเมินระดับความยาก-ง่ายในการอ่าน สื่อสุขภาพ SMOG Test. (Mc Laughlin, 1969) เป็นสูตรที่มีการปรับปรุงและมีการตรวจสอบความถูกต้องกับ MacCall-Crebbs ผลที่ได้เกณฑ์คะแนนความ ถูกต้อง 100% ในขณะที่ส่วนใหญ่สูตรทดสอบคะแนนความถูกต้องอยู่ที่ 50-75% การตรวจประเมินระดับความยากง่ายในการ อ่านสื่อสุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ผู้วิจัยดำเนินการคัดเลือกคำที่มีในสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีลักษณะเหมือนกับแบบทดสอบความสามารถในการอ่านและเขียน (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต2, 2015) และนำแบบทดสอบการอ่านทั้ง 2 ชุด ไปทดลองใช้กับประชากรที่ อาศัยอยู่ใน ตำบลเมืองศรีไคอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 30 คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของชุดทดสอบ เท่ากับ 0.92 การเก็บข้อมูล 1. เก็บรวบรวมสื่อสุขภาพประเภทสือ่ สิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว จากหน่วยงานบริการสุขภาพทุกระดับในจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งกลุ่มสื่อที่ผลิตจากแต่ล่ะหน่วยงาน 3 ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมแิ ละตติยภูมิ 2. อบรมผู้วิจยั ร่วมในการประเมินสื่อสุขภาพ โดยใช้สูตร SMOG Test. 3. ทำการประเมินระดับความยากง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพด้วยสูตร SMOG Test. ดังนี้ 3.1 ผู้ร่วมวิจยั ทั้ง 3 คน ทำการทดสอบโดยการอ่านแผ่นพับสุขภาพที่เหมือนกันทุกคน คนละ 1 ครั้ง

222


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

3.2 ผู้วิจัยทั้ง 3 คน ต้องไม่มีการพูดคุยหรือปรึกษากันระหว่างการทดสอบ จนกว่าจะทำการทดสอบเสร็จ 3.3 ให้แต่ละคนประเมินว่าสื่อทีต่ นอ่านมีคะแนนตรงกับระดับการอ่านในตาราง SMOG Test. 3.4 นำระดับการอ่านในตาราง SMOG Test.ของทั้ง 3 คนมาเปรียบเทียบกัน ถ้าสื่ออยู่ในระดับการอ่านทีต่ รงกันให้ถือว่า ผ่าน แต่ถ้าระดับการอ่านของแต่ละคนต่างกัน ให้นำแผ่นพับและใบปลิว มาตรวจสอบร่วมกันทั้ง 3 คน อีกครั้งเพื่อ สรุปว่า เนื้อหาในสื่ออยู่ที่ระดับการอ่านเท่าใดเมื่อเทียบกับตาราง SMOG Test. วิธีการใช้สูตร SMOG Test 1. นับจำนวนประโยค 10 ประโยค ในย่อหน้าแรกของเอกสาร นับ 10 ประโยคที่อยู่ตรงกลาง และนับอีก 10 ประโยคที่อยู่ย่อหน้า สุดท้าย (รวม 30 ประโยค) 2. นับทุกคำที่มี 3 พยางค์ หรือมากกว่านั้นในแต่ละกลุ่มของประโยค (จากข้อ 1) แม้จะเป็นคำเดียวกันก็ให้นับซ้ำ 3. นับจำนวนคำทั้งหมดที่นับได้จากข้อ 2 นำมารวมกัน แล้วนำไปเทียบกับตาราง SMOG Test แล้ว แปรผลเพื่อหาระดับ การศึกษาที่สามารถอ่านเอกสารนัน้ ได้ *กฎการนับ 1. ประโยค คือ กลุ่มคำ หรือคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป มาเรียงกันแล้วมีความหมายทีส่ มบูรณ์ ถ้ามีประโยคที่ยาวแยกออกวลี ให้ถือว่า เป็น 1 ประโยค ซึ่งนับวลีว่าเป็นส่วนหนึ่งของประโยค เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) หรือเครื่องหมายคำถาม (?) 2. คำที่มีเครื่องหมายยัตภิ ังค์ (-) หรือคำวิสามานยนาม นับเป็น 1 คำ 3. อ่านตัวเลขดังๆเพื่อนับจำนวนพยางค์ 4. ประโยคที่คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) หรือเครื่องหมายอัฒภาค (;) ให้นับแต่ละส่วนเป็นวลีของประโยค 5. นับคำที่ย่อเป็นคำเต็มทั้งหมด ผลการศึกษา สื่อสุขภาพทั้งหมด 102 ฉบับ พบมากที่สุดจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข (ร้อยละ 50) รองลงมาคือ โรงพยาบาล ศูนย์ (ร้อยละ 29.4) ในจำนวนนีม้ ากที่สุดเป็นแผ่นพับ (ร้อยละ 76.5) รองลงมาคือ ใบปลิว (ร้อยละ 23.5) รายละเอียดตารางที่ 1 ระดับความยากง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพตามแหล่งที่มาของสื่อ พบว่า สื่อสุขภาพที่รวบรวมมาจากสถานบริการสุขภาพ มีระดับความยากง่ายในการอ่านอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มากที่สุด (ร้อยละ 49) รองลงมาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ำกว่า (ร้อยละ 21.6) ในขณะที่สื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข มีระดับความยากง่ายในการอ่านอยู่ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ำกว่ามากที่สุด (ร้อยละ 41.2) รองลงมาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ร้อยละ 31.3) ตามลำดับ (ตาราง ที่ 2) เมื่อจำแนกตามประเภทของสื่อ พบว่า แผ่นพับมีระดับความยากง่ายในการอ่านอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ร้อยละ 42.3) รองลงมาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ำกว่า (ร้อยละ25.6) ส่วนใบปลิว มีระดับความยากง่ายในการอ่านอยู่ ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 หรือต่ำกว่า (ร้อยละ 50) รองลงมาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ร้อยละ 33.3) ตามลำดับ (ตารางที่ 3)

223


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามแหล่งทีม่ า จำนวน 102 ฉบับ รายการ จำนวน แหล่งที่มา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 8 โรงพยาบาลชุมชน 9 โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ 30 ศูนย์วิชาการ 4 เว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข 51 ประเภทสื่อ แผ่นพับ 78 ใบปลิว 24

ร้อยละ 7.8 8.8 29.4 4.0 50.0 76.5 23.5

ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของระดับความยากง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพ จำแนกตามระดับชั้นและแหล่งที่มา ระดับความยากง่ายในการอ่าน เอกสารจำแนกตามแหล่งที่มา รวม ในการอ่าน สถานบริการสุขภาพ เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข จำนวน (ร้อยละ) จำนวน (ร้อยละ) ต่ำกว่าหรือเท่ากับ ป.6 11 (21.6%) 21 (41.2%) 32 (31.4%) ม.1 25 (49.0%) 16 (31.3%) 41 (40.1%) ม.2 9 (17.6%) 13 (25.5%) 22 (21.6%) ม.3 6 (11.8%) 1 (2.0%) 7 (6.9%) รวม 51 51 102 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของระดับความยากง่ายในการอ่านสือ่ สุขภาพ จำแนกตามประเภทของสื่อ เอกสารจำแนกตามประเภทของสือ่ สุขภาพ ระดับความยาก-ง่ายในการอ่าน แผ่นพับ ใบปลิว รวม จำนวน (ร้อยละ) จำนวน (ร้อยละ) จำนวน (ร้อยละ) ต่ำกว่าหรือเท่ากับ ป.6 20 (25.6%) 12 (50%) 32(31.4%) ม.1 33 (42.3%) 8 (33.3%) 41 (40.1%) ม.2 ม.3

18 (23.1%) 7 (9.0%)

4 (16.7%) 0 (0.0%)

22 (21.6%) 7 (6.9%)

รวม

78

24

102

224


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างระดับความยากง่ายในการอ่าน พบว่า ทั้งแหล่งที่มาและประเภทของสื่อมีระดับความยากง่าย ความแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยสื่อจากสถานบริการสุขภาพมีระดับการอ่านสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (สูง กว่าระดับประถมศึกษาปีที่ 6) เท่ากับ 2.54 เท่าของสื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข และพบว่าแผ่นพับมีระดับความยาก ง่ายในการอ่านสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.9 เท่าของสื่อที่ตีพิมพ์แบบใบปลิว รายละเอียดในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของระดับความยากง่ายในการอ่านกับแหล่งที่มาของสื่อและประเภทของสื่อ ระดับความยากง่ายในการอ่าน รายการ สูงกว่า ป.6 ต่ำกว่าหรือเท่ากับ ป.6 p-value OR 95%CI จำนวน (%) จำนวน(%) (n=70) (n=32) แหล่งที่มา สถานบริการสุขภาพ 40 (78.4%) 11 (21.6%) 4.55 0.03 2.54 1.07-6.07 เว๊บไซต์ของกระทรวง 30 (58.8%) 21 (41.2%) ประเภทสื่อ แผ่นพับ 58 (74.4%) 20 (25.6%) 5.05 0.02 2.9 1.12-7.48 ใบปลิว 12 (50.0%) 12 (50.0%) สรุปและอภิปรายผล การประเมินระดับ ความยากง่ายในการอ่านสื่อสุขภาพ ส่วนใหญ่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) โดยเฉพาะสื่อจากสถานบริการสุขภาพ และเมื่อ จำแนกตามประเภทสื่อ พบว่าแผ่นพับ มีระดับความยากง่ายในการอ่านสูงกว่า ใบปลิว แหล่งที่มาและประเภทสื่อมีระดับความยากง่ายในการอ่านแตกต่างกัน จากผลการศึกษาระดับความยากง่ายในการอ่านสื่ อสุขภาพแผ่นพับและใบปลิว พบว่าเนื้อหาส่วนใหญ่อยู่ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ (Walsh & Volsko, 2008) ที่ศึกษาการประเมินการอ่านข้อมูลสุขภาพใน อินเตอร์เน็ตของผู้บริโภค พบว่าเนื้อหาส่วนใหญ่ของบทความเกินระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีเนื้อหาอยู่ในระดับที่ยาก และผล การศึกษาของ (Wha, Jin, Hyun, Ra, & Sinhye) ศึกษามาตรฐานความเหมาะสมและการประเมินการอ่านเอกสารเกี่ยวกับโรค ความดันโลหิตสูง ผลการศึกษาพบว่าสื่อทั้งหมด 19ฉบับ มีระดับการอ่านอยู่ที่ชั้นประถมศึกษาปีที่1 (เฉลี่ย 36.1% - 50.5%) ซึ่งสูง เกินกว่าระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จะอ่านได้ แต่จากผลการวิจัยของต่างประเทศพบว่าเนื้อหาของสื่อส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่สูง กว่ า ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ 3 ไป (DuBay, 2004; Hoffman-Goetz & Friedman, 2004; Stossel et al.) ทั ้ งนี ้ จ ะเห็ น ได้ ว ่ า ผล การศึกษาระดับความยาก-ง่ายในการอ่านสื่อของประเทศไทยอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าต่างประเทศ และยังมีความฉลาดทางสุขภาพอยู่ ในระดับต่ำ ซึ่งความฉลาดทางสุขภาพถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่จะนำไปสู่การลดอัตราการป่วยตายของประชาชน และเป็น ปัจจัยพื้นฐานนำไปสู่การมีสุขภาพดี ประชาชนรู้หนังสือน้อยหรือมีระดับการรู้หนังสือต่ำ (low literacy) ย่อมจะส่งผลทางตรงและ ทางอ้ อ มต่ อ สภาวะสุ ข ภาพ (บุ ญ ยง เกี ่ ย วการค้ า , 2554) ซึ ่ งแตกต่ า งกั บประเทศสหรั ฐ อเมริ กา ตามรายงานขององค์การ สหประชาชาติประจำปี 2007/2008 คนอเมริกันมีอัตราการอ่านออกเขียนได้เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 99 อยู่ในอันดับที่ 17 ของโลก (สำนักงานอุทยานการเรียนรู้สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้, 2553) ชี้ให้เห็นว่าอัตราการรู้หนังสือ หรืออัตราการอ่านออก

225


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เขียนได้ของต่างประเทศดีกว่าของไทย จึงทำให้เนื้อหาของสื่อที่ผลิตออกมามีระดับความยาก-ง่ายสูงตามไปด้วย ประเทศ สหรัฐอเมริกาที่มีอัตราการอ่านออกเขียนได้สูงกว่าประเทศไทย แต่เนื้อหาในสื่อสุขภาพที่ผลิตออกมาก็ยังคงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เช่ น เดี ย วกั น (DuBay, 2004; Hoffman-Goetz & Friedman, 2004; Parikh, Parker, Nurss, Baker, & Williams, 1996; Stossel et al.; Walsh & Volsko, 2008; Wha et al.) จากผลการศึกษาระดับความยากง่ายในการอ่าน จำแนกตามแหล่งที่มา พบว่าสื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข มี ระดับความยากง่ายในการอ่านอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าสื่อจากสถานบริการสุขภาพ เนื่องจากทางกระทรวงสาธารณสุขได้มี การจัดโครงการฝึกอบรมการผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อสุขภาพประชาคมอาเซียน เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตสื่อ วีดิทัศน์เพื่อให้ความรู้ทางสุขภาพประชาคมอาเซียนที่ถูกต้อง แก่บุคลากรของหน่วยงานกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สถาบันกันตนา, 2556) ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า สื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุขมีหน่วยงานกองสุขศึกษาและบุคคลากรที่มี เชี่ยวชาญในการผลิตสื่อ เข้ามามีบทบาทหรื อมีส่วนสำคัญในการผลิตสื่อให้มีเนื้อหาที่เหมาะสมกับประชาชน ซึ่งต่างจากสถาน บริการสุขภาพที่อาจมีการผลิตสื่อขึ้นมาเอง และยังขาดบุคลากรที่มีความชำนาญในด้านนี้ จึงทำให้สื่อที่ผลิตออกมานั้นมี เนื้อหาอยู่ ในระดับที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าสื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุขโดยตรง อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสื่อจากเว็บไซต์ ของกระทรวงสาธารณสุขจะมีระดับการอ่านที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าสถานบริการสุขภาพ แต่สื่อจากทั้งสองแหล่ง ยังคงมี ระดับความยากง่ายในการอ่านที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน อีกทั้งยังไม่มีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าการเข้าถึงสื่อจากเว็บไซต์ของกระทรวง สาธารณสุขมีมากกว่าสื่อของสถานบริการสุขภาพจึงควรมีการศึกษาในเรื่องดังกล่าวต่อไป จากผลการศึกษาระดับความยากง่ายในการอ่าน จำแนกตามประเภทของสื่อ พบว่าใบปลิวมีระดับความยากง่ายในการ อ่าน อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าแผ่นพับ เนื่องมาจากในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ใบปลิวส่วนใหญ่ได้ทำการเก็บรวบรวมจาก เว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข และแผ่นพับส่วนใหญ่เก็บมาจากสถานบริการสุขภาพ จากการสังเกตเบื้อ งต้น ใบปลิวมีลักษะที่ เป็นแผ่นหรือใบเดียวโดดๆ อาจตีพิมพ์เพียงหน้าเดียวหรือสองหน้า มีเนื้อหาที่สั้น กะทัดรัด ส่วนมากไม่เกิน 30 ประโยค และจะเน้น ไปที่การใช้รูปภาพประกอบและขนาดตัวหนังสือที่ใหญ่(มนูญ ไชยสมบูรณ์, 2552) จึงอาจทำให้ใบปลิวมีระดับความยากง่ายในการ อ่านอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าแผ่นพับ ข้อเสนอแนะ 1. เนื้อหาของสื่อสุขภาพควรได้รับการตรวจสอบระดับความยากง่ายในการอ่าน ก่อนที่จะมีการนำเผยแพร่แก่ประชาชน 2. นำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพสื่อให้มีเนื้อหาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ ต่ำกว่าเพื่อให้ประชาชน สามารถอ่านและเข้าใจความหมายของสื่อทางด้านสุขภาพ กิตติกรรมประกาศ วิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจยั จากวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี คณะผู้วิจัย ขอขอบพระคุณ ประชาชนตำบลเมืองศรีไคในการร่วมมือทำแบบทดสอบ ทำให้การศึกษาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เอกสารอ้างอิง DuBay, W. H. (2004). The Principles of Readability. Online Submission.

226


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Estrada, C. A., Hryniewicz, M. M., Higgs, V. B., Collins, C., & Byrd, J. C. (2000). Anticoagulant patient information material is written at high readability levels. Stroke, 31(12), 2966-2970. Hoffman-Goetz, L., & Friedman, D. B. (2004). Disparities in the coverage of cancer information in ethnic minority and mainstream mass print media. Ethnicity & Disease, 15(2), 332-340. Kutner, M., Greenburg, E., Jin, Y., & Paulsen, C. (2006). The Health Literacy of America's Adults: Results from the 2003 National Assessment of Adult Literacy. NCES 2006-483. National Center for Education Statistics. Mc Laughlin, G. H. (1969). SMOG grading-a new readability formula. Journal of reading, 12(8), 639-646. Parikh, N. S., Parker, R. M., Nurss, J. R., Baker, D. W., & Williams, M. V. (1996). Shame and health literacy: the unspoken connection. Patient education and counseling, 27(1), 33-39. Stossel, L. M., Segar, N., Gliatto, P., Fallar, R., & Karani, R. Readability of patient education materials available at the point of care. Journal of general internal medicine, 27(9), 1165-1170. Walsh, T. M., & Volsko, T. A. (2008). Readability assessment of internet-based consumer health information. Respiratory care, 53(10), 1310-1315. Wha, L. T., Jin, K. S., Hyun, K. H., Ra, W. S., & Sinhye, K. Suitability and Readability Assessment of Printed Educational Materials on Hypertension. Journal of Korean Academy of Nursing, 41(3). บุญเรือง เนียมหอม, กำพล ดำรงค์วงศ์, & ปรียาพร ฤกษ์พินัย. (2547). การศึกษาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพ. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บุญยง เกี่ยวการค้า. (2554). พัฒนาการคำนิยามและความหมาย. ความฉลาดทางสุขภาพ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นิวธรรมดา การพิมพ์(ประเทศไทย). มนูญ ไชยสมบูรณ์. (2552). แผ่นปลิว. from https://www.gotoknow.org/posts/225891 สถาบันกันตนา. (2556). การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อสุขภาพประชาชนอาเซียน. from http://www.kantanainstitute.ac.th/wpcontent/uploads/2013/12/เอกสารประกอบการอบรม.pdf สรณา บุบผชาติ. (2547). การศึกษาความยากง่ายต่อการอ่านของภาษาในบทสารคดีนติ ยสารเนชั่นจูเนียร์. มหาวิทยาลัย รามคำแหง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต2. (2015). แบบทดสอบประเมินคัดกรองภาษาไทย อ่านออกเขียนได้ ต่ำกว่า เกณฑ์ ป.1 ถึง ม. 3. from http://www.ret2.go.th/ict/ดาวน์โหลดไฟล์/article/740/ป.๖.pdf: สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). การสำรวจการอ่านของประชากร. from http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/readingRep56.pdf สำนักงานอุทยานการเรียนรูส้ ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2553). โครงการ"การศึกษานโยบายส่งเสริมการอ่านของไทย: ศึกษาเปรียบเทียบนโยบายกับต่างประเทศ" from www.tkpark.or.th/stocks/extra/0005a8.pdf หทัยรัตน์ ทองเขียว. (2545). ความคิดเห็นเกี่ยวกับสื่อสุขศึกษาที่ผลิตโดยกรมอนามัยของข้าราชการกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัด แม่ฮ่องสอน. from http://search.lib.cmu.ac.th/search/?searchtype=.&searcharg=b1309096

227


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อารยา ทิพย์วงศ์, & จารุณี นุ่มพูล. (2014). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางด้านสุขภาวะเกี่ยวกับโรคอ้วนกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารและการออกกำลังกายในเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลสาธารณสุข

228


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คุณภาพชีวิตของประชาชน: กรณีศึกษาลุ่มน้ำยมตอนบน สมตระกูล ราศิร,ิ ธิติรัตน์ ราศิร,ิ ประกฤต ประภาอินทร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก *Corresponding author E-mail: somtakul@hotmail.com บทคัดย่อ บทนำ: การพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านเศรษฐกิจ สัง คม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ลุ่มน้ำยมตอนบนนับได้ว่ามีปัญหาความขัดแย้ง ความเห็นต่างในการสร้างแหล่งเก็บน้ำขนาดใหญ่เป็น ปัญหาในสังคมดังกล่าวมายาวนาน จึงควรมีการศึกษาคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ เพื่อที่จะนำข้อมูลมากำหนดแผนงานและ โครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ลุ่มน้ำให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเด็นข้อมูลทั่วไป ข้อมูลปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแลสุขภาพตนเอง หรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมชน และ ความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงข้อเสนอแนะอื่น ๆ วิธีวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ใช้ ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สุ่มตัวอย่างโดยเจาะจงพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงในลุ่มน้ำยมตอนบน ได้แก่ ตำบลเตาปูน และ ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จำนวน 384 คน เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาเชิงคุณภาพประกอบด้วยประชาชนใน 2 พื้นที่ จำนวนพื้นที่ละ 12 คน รวมจำนวน 24 คน ใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ประกอบด้วยจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาในการประกอบอาชีพ เมื่อเจ็บป่วยรักษาโดยวิธีไปสถานีอนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และซื้อยามารับประทานเอง ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีปัญหามากภายในชุมชนได้แก่ มลพิษทางเสียง การจราจร อาชญากรรม และความ สะอาดของแหล่งท่องเที่ยว ปัญหาปานกลางได้แก่ ฝุ่น ควัน อากาศ การขาดแคลนน้ำสะอาด อุบัติเหตุ โรคระบาด และยาเสพติด ปั ญ หาระดั บ น้ อ ยได้ แ ก่ ขยะ ไม่ ม ี ป ั ญ หาได้ แ ก่ น้ ำ เสี ย สิ ่ งอำนวยความสะดวกในชุ ม ชน ต้ อ งปรั บ ปรุ งได้ แ ก่ น้ ำ ใช้ สภาพ สถานพยาบาลในชุมชน และการดูแลความเป็นอยู่ในชุมชน ความต้องการมากที่สุดในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คือ อาชีพ/การทำกิน อาชีพเสริม กรรมสิทธิ์ที่ดิน น้ำช่วงฤดูแล้ง และบุคลากรทางการแพทย์ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: จากผลการศึกษาพบว่า อาชีพ กรรมสิทธิ์ที่ดิน น้ำในช่วงฤดูแล้ง และบุคลากรทางการแพทย์ เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนยินดีและ เห็นด้วยกับการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กและขนาดกลาง เพื่อการมีน้ำที่เพียงพอในการอุปโภคบริโภค และต้องการให้มีการพัฒนา บุคลากรทางการแพทย์ ดังนั้นจึงควรมีแผนการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในอนาคต เพื่อรองรับปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น คำสำคัญ: คุณภาพชีวิต ประชาชน ลุ่มน้ำยม

229


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

People’s Quality of Life: A Case Study ofUpper Yom Watershed Somtakul Rasiri, Thitirus Rasirk,Prakrit Prapha-inthara Siirindhorn College of Public Healthof Phitsanulok Province *Corresponding author E-mail: somtakul@hotmail.com Abstract Introduction: There was a great development of technology which affected people's quality of life (QOL) in terms of economic, society, culture and environment. Upper Yom Basin was considered as a conflict. Different opinions of stakeholders in building large water reservoirs had been a problem in this society for a long time. Therefore, the QOL of the community should be studied in order to use information for formulation of a plan and projects/activities according to people’s needs that would lead to develop people’s better QOL in the basin. Objective: This aimed to study the people’s QOL in general information, occupational problems, health care for oneself or family when illness occurred, environmental problems in the community, condition/ characteristics of facilities within the community and needs for developing QOL and other suggestions. Methodology: This was a cross-sectional study using quantitative and qualitative data collection methods. Purposive sampling was used and conducted in specific areas, which directly affected in the Upper Yom Basin, including Tao Poon and Sa-eab Subdistricts, Song District, Phrae Province. In collection of quantitative data, the total of samples were 384 persons. A questionnaire was a research instrument. In qualitative study, 24 key informants from the two subdistricts (12 samples per a subdistrict) in total were collected using focus group discussion. Frequency, percentage, mean and standard deviation were used for quantitative data analysis. Content analysis was performed for qualitative data. Results: Most samples had no problem in their careers. When illness occurred, they went to be treated at a health center/subdistrict health promotion hospital and purchased medicines to use. There were many environmental problems in the community such as noise pollution, traffic, crime and cleanliness in places of tourist attraction. Dust, smoke, air, lacks of safe water, accidents, epidemics, and addictive substances were moderate problems. A waste problem was at low level. There was no problem in water pollution. In the community, water supply, surroundings of health centers and management of being were facilities that needed for improvement. Most needs for development of QOL were occupation, additional occupation, land ownership, water supply during the dry season and development of medical practitioners. Discussion and conclusion: Based on the study findings, occupations, land ownership, water supply in the dry season and medical practitioners were important for the QOL development. The samples preferred and agreed with creation of medium and small-sized reservoirs in order to have sufficient water supply for consumption as well as development of medical practitioners. Therefore, there should be a future integrated plan of related organizations so as to solve problems might happen. Keywords: Quality of life, people, Yom Watershed

230


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันมีการพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ อย่างมาก ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมของ ประชาชน เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้พฤติกรรม และแบบแผนชีวิตของประชาชน เปลี่ยนแปลงไป (พรรณี ปานเทวัญ, 2556) เกิดช่องว่างของการกระจายรายได้ความเหลื่อมล้ำในสังคม ระบบการศึกษาที่มุ่งการ แข่งขันและสภาพแวดล้อมที่เป็นภัยต่อชีวิตและสุขภาพคุณภาพชีวิตที่ดีจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ไม่ว่าจะอยู่ในภาวะปกติหรือ ภาวะเจ็บป่วย คุณภาพชีวิตเป็นความพึงพอใจและสถานะของบุคคล ในการดำรงชีวิตสังคม โดยจะสัมพันธ์กับเป้าหมายและความ คาดหวังของตนเอง ภายใต้บริบทของวัฒนธรรม ค่านิยม มาตรฐานของสังคมและสิ่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ชุมพลภัทร์ คงธนจารุอนันต์, 2550) ซึ่ง มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ (2552) และ World Health Organization (1993)ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับบทความคุณภาพชีวติ ที่ดีว่าด้วยการทำให้ความยุติธรรม ความเป็นธรรมในสังคมและการทำให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ลุ่มน้ำยมตอนบนนับได้ว่ามีปัญหาความขัดแย้ง และความเห็นต่างในเรื่องแนวคิดการสร้างแหล่งเก็บกักน้ำขนาดใหญ่ในลำ น้ำสายหลักบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนบน เป็นปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทยมายาวนานกว่า 25 ปี ในขณะที่ปัญหาภัยแล้งและ อุทกภัยยังเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และทวีความรุนแรงขึ้นทุกปี รัฐบาลในหลายยุคสมัยได้มีความพยายามผลักดันให้เกิด โครงการพัฒนาลุ่มน้ำยมตอนบน แต่ก็ถูกยกเลิกไป เนื่องจากมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน และยังไม่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนถึงแนวทางที่ ยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาที่เป็นที่ยอมรับของคนในลุ่มน้ำอย่างแท้จริง (หน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม, 2558) จึงก่อให้เกิดปัญหาความคุณภาพชีวิตสภาพของการขาดโอกาสในการทำมาหากินที่เสมอภาคและเท่าเทียม ปัญหาคุณภาพ ของการศึกษาปัญหาการกระจายความเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยและที่ดิ นทำกินปัญหาความไม่แน่นอนและไม่เป็นธรรมของราคา ผลผลิตทางการเกษตรรวมไปถึงการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพ (พรรณี ปานเทวัญ, 2556) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงความสนใจที่จะศึกษา คุณภาพชีวิตของประชาชน : กรณีศึกษาลุ่มน้ำยมตอนบน เพื่อที่จะได้ทราบว่า คุณภาพชีวิตของประชาชนในลุ่มน้ำยมตอนบน เป็นอย่างไร เพื่ อที่จะได้นำข้อมูล ไปกำหนดแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ในการ บริหารจัดการลุ่มน้ำยมตอนบนแบบมีส่วนร่วมที่เหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำ รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถนำข้อมูลไป ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม อันจะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในประเด็น ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมือ่ เกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมขน และความต้องการในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional study) โดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สุ่มตัวอย่างโดยเจาะจงพื้นที่ที่ได้รบั ผลกระทบโดยตรง ได้แก่ ตำบลเตาปูน และตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ซึ่งมีประชากร ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนบน จำนวน 90,519 คนกลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ ใช้สูตรคำนวณของ Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 384 คน จากนั้นนำมาแบ่งตามสัดส่วนให้ครอบคลุมกระจายทุกพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนบน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างการศึกษาเชิงคุณภาพคือ ตัวแทนบุคคลในแต่ละพื้นที่ กระจายครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนบน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ประกอบด้วยประชาชนพื้นที่ละ 12 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 24 คน โดยใช้ กระบวนการสนทนากลุ่ม แสดงตามตารางที่ 1 231


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนบน ลำดับ แพร่ รวม

อำเภอ สอง

ตำบล เตาปูน สะเอียบ

จำนวนประชากร (คน) 8,282 5,631 13,913

จำนวนตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง เชิงปริมาณ (คน) เชิงคุณภาพ(คน) 128 12 662 12 790 24

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แบบสอบถาม/แนวคำถามการสนทนากลุ่ม และเครื่องมือที่ใช้ในการ ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการสนทนากลุ่ม ได้แก่ เครื่องบันทึกเสียงกล้องถ่ายรูป และสมุดบันทึกการสนทนากลุ่มเครื่องมื อที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามและแนวคำถามการสนทนากลุ่ม แบ่งเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย  ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ และภูมิลำเนา เป็นลักษณะการเลือกตอบ  ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหา สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมชน และความต้องการในการพัฒนา คุณภาพชีวติ และข้อเสนอแนะอื่นๆ ในลุ่มน้ำยมตอนบน เป็นลักษณะการเลือกตอบและมาตราส่วนประเมินค่า  ตอนที่ 3 การสนทนากลุ่ม เป็นแนวคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับประเด็น ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุม ชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความ สะดวกภายในชุมขน และความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และข้อเสนอแนะอื่นๆ ในลุ่มน้ำยมตอนบน การตรวจสอบความตรงของเนื้อหาแบบสอบถาม และแนวคำถามการสนทนากลุ่ม ให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน เป็นผู้ตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือ จากนั้นดำเนินการปรับแก้และนำเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน แบบสอบถามได้ ค่าความเชื่อมั่น 0.77และดำเนินการปรับแก้ ก่อนนำไปใช้จริงการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณสถิติที่ใช้ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามพื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ จากตารางที่ 2 พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 71.61 อายุเฉลี่ย 46 ปี ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 64.05 สถานภาพสมรส ร้อยละ 80.82ภุมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ตั้งแต่กำเนิด ร้อยละ 83.54

232


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลทั่วไป พื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ รายละเอียด 1. เพศ 1.1 ชาย 1.2 หญิง 1.3 ไม่ระบุ 2. อายุเฉลี่ย (ปี) 3. การศึกษา 3.1 ประถมศึกษา 3.2 มัธยมศึกษา/ปวช. 3.3 ปวส./อนุปริญญา 3.4 ปริญญาตรี 3.5 สูงกว่าปริญญาตรี 3.6 อื่นๆ 3.7 ไม่ระบุ 4. สถานภาพ 4.1 โสด 4.2 สมรส 4.3 หย่า 4.4 แยกกันอยู่ 4.5 ไม่ระบุ 5. ภูมิลำเนา 5.1 อยู่ในพื้นที่ตั้งแต่กำเนิด 5.2 ย้ายมาเพื่อการศึกษา 5.3 ย้ายตามหน้าที่การงาน 5.4 ย้ายตามครอบครัว 5.5 อื่นๆ 5.6 ไม่ระบุ

จำนวนตัวอย่าง (662 คน)

ร้อยละ

474 184 4

71.61 27.79 0.60 46.33

424 153 14 18 1 27 25

64.05 23.11 2.11 2.72 0.15 4.08 3.78

85 535 11 6 25

12.83 80.82 1.66 0.91 3.78

553 3 4 71 3 28

83.54 0.45 0.60 10.73 0.45 4.23

233


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภายในชุ มชน สภาพ/ลัก ษณะของสิ ่ งอำนวยความสะดวกภายในชุ มขน และความต้ อ งการในการพัฒ นาคุณภาพชีว ิ ต และ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหา สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมขน และความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และข้อเสนอแนะอื่นๆ ในลุ่มน้ำยมตอนบน พื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ รายละเอียด 1. ปัญหาในการประกอบอาชีพ 1.1 มี 1.2 ไม่มี 1.3 ไม่ระบุ 2. เมื่อเจ็บป่วยรักษาโดยวิธีใด 2.1 ซื้อยามารับประทานเอง 2.2 ไปหาแพทย์ที่คลินิก 2.3 ไปสถานีอนามัย/รพสต. 2.4 ไปโรงพยาบาลของรัฐ 2.5 ไปโรงพยาบาลเอกชน 2.6 ไม่ระบุ 3. ระดับความรุนแรงของปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 3.1 น้ำเสีย 3.2 มลพิษทางอากาศ (ฝุ่น, ควัน) 3.3 มลพิษทางเสียง 3.4 การจราจร 3.5 ขยะมูลฝอย 3.6 การขาดแคลนน้ำสะอาด 3.7 ปัญหาอาชญากรรม 3.8 อุบัติเหตุ 3.9 ภัยแล้ง 3.10 โรคระบาด

จำนวนตัวอย่าง (662 คน)

ร้อยละ

144 381 137

21.75 57.56 20.69

93 19 112 44 3 391

14.05 2.87 16.92 6.65 0.45 59.06

3.43 3.02 3.40 3.32 2.68 2.35 3.55 3.21 2.17 3.20

ไม่มีปญ ั หา มีปัญหาปานกลาง มีปัญหามาก มีปัญหามาก มีปัญหาปานกลาง มีปัญหาปานกลาง มีปัญหามาก มีปัญหาปานกลาง ปัญหาเล็กน้อย มีปัญหาปานกลาง

234


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

รายละเอียด 3.11 ปัญหายาเสพติด 3.12 ความสะอาดของแหล่งท่องเที่ยว 3.13 อื่นๆ 4. สิ่งอำนวยความสะดวกในชุมชนของท่านเป็นอย่างไร 4.1 ถนน 4.2 การจราจร 4.3 ไฟฟ้า 4.4 น้ำดื่ม 4.5 น้ำใช้ 4.6 การระบายน้ำ 4.7 แหล่งเก็บกักน้ำ 4.8 การป้องกันภัยแล้ง 4.9 การติดต่อสื่อสาร อาทิ โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต 4.10 การจัดการขยะมูลฝอย 4.11 สภาพสถานพยาบาลในชุมชน 4.12 ตลาด 4.13 การดูแลความเป็นอยู่ในชุมชน (อบต./เทศบาล) 4.14 อื่นๆ 5. ท่านต้องการให้พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านใดมากที่สุด 5.1 อาชีพ/การทำกิน 5.2 สาธารณูปโภค 5.3 สุขภาพอนามัย 5.4 ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 5.5 ด้านการศึกษา 5.6 ด้านสุขภาพ อาทิ สุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดีขึ้น 5.7 ด้านการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือจัดการท้องถิ่น 5.8 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5.9 ด้านจิตใจในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข 5.10 ไม่ระบุ

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวนตัวอย่าง (662 คน) 2.65 3.38 3.41

ร้อยละ มีปัญหาปานกลาง มีมีปัญหามาก มีปัญหามาก

2.56 3.08 2.73 2.66 2.45 3.07 3.22 2.97 3.01 2.81 2.80 3.18 2.63 3.14

มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีแต่ต้องปรับปรุง มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้

340 98 2 35 8 7 6 2 4 160

51.36 14.80 0.30 5.29 1.21 1.06 0.91 0.30 0.60 24.17

235


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จากตารางที 3 พบว่า ส่วนใหญ่ ไม่มีปัญหาในการประกอบอาชีพ ร้อยละ 57.75 เมื่อเจ็บป่วยรักษา โดยวีธีไปสถานี อนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 16.92 ซื้อยามารับประทานเอง ร้อยละ 14.05 ระดับความรุนแรงของปัญหา สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน มีปัญหามาก ได้แก่ มลพิษทางเสียง การจราจร อาชญากรรม ความสะอาดของแหล่งท่องเที่ยว มีปัญหา ปานกลาง ได้แก่ ฝุ่น ควัน อากาศ ขยะมูลฝอย การขาดแคลนน้ำสะอาด อุบัติเหตุ โรคระบาด ยาเสพติด มีปัญหาระดับน้อย ได้แก่ ภัยแล้ง ไม่มีปัญหา ได้แก่ น้ำเสีย สิงอำนวยความสะดวกในชุมชนของท่าน ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพพอใช้ ต้องปรับปรุง ได้แก่ น้ำใช้ ความต้องการในการให้พัฒนาคุณภาพชีวิต มากที่สุด คือ อาชีพ/การทำกิน ร้อยละ 51.36 ตอนที่ 3 ผลการสนทนากลุ่ม ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า อาชีพส่วนใหญ่ ปลูกข้าว ข้าวโพด เลี้ยงสุกร ทำสุราชุมชน มีน้ำพอเพียงในฤดูฝน แต่ฤดูแล้ง ไม่มีน้ำ ส่วนใหญ่ไปรักษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ขยะมีการกำจัดที่ไม่ถูกต้อง ที่ฝังกลบไม่ เพียงพอ เพราะพื้นทีอ่ ยู่ในเขตอุทยาน ติดพื้นที่ป่า ควันจากการเผาป่า ภัยแล้ง และเสียงรถช่วงเทศกาล การเกิดโรคไข้เลือดออก สิ่ง อำนวยความสะดวก ไฟฟ้า สัญญาณโทรศัพท์ยังไม่ทั่วถึง ประปาไม่เพียงพอ โดยเฉพาะฤดูแล้ง น้ำดิบไม่เพียงพอในการผลิตสุรา ชุมชน บางหมู่บ้าน จำเป็นต้องมีถนนเชื่อมระหว่างหมู่ 7 ถึง หมู่ 10 จะได้ประโยชน์อย่างมาก เช่น การขนส่งพืชผล การส่งต่อผู้ปว่ ย ต้องการกรรมสิทธิ์ที่ดิน ต้องการอ่างเก็บน้ำ ซึ่งจะทำให้การเกษตรดีขึ้น น้ำดิบผลิตสุราชุมชน น้ำบริโภค การทำระบบประปาหรือถัง กรองในหมุ่บ้าน ด้านสุขภาพต้องการบุคลากรด้านการแพทย์ ทัน ตสาธารณสุข กายภาพบำบัด หมออนามัยที่มาจากคนในท้องถิ่น ไปเรียน ลดปัญหาการย้ายไปภูมิลำเนาอื่น ต้องการสนับสนุนเครื่องมือแพทย์ รถสำหรับส่งคนใช้ไปยังโรงพยาบาลที่มีอุปกรณ์ได้ มาตรฐาน ดังข้อมูลการสนทนาที่สำคัญ ดังนี้ “อาชีพส่วนใหญ่ ปลูกข้านาปี แต่มีพื้นที่ทำมาหากินน้อย” “อาชีพปลูกข้าวโพด แต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ที่ดิน” “เลี้ยงสุกร แต่ไม่มีพ่อแม่พันธ์ที่ดี” “น้ำพอเพียงทำนาปี แต่ฤดูแล้งไม่มีน้ำ ลำบากมาก ปุ๋ยแพง ยาแพง” “ส่วนใหญ่ไปรักษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล” “ปัญหาขยะไม่มีการกำจัด ที่ฝังกลบไม่เพียงพอ เนื่องจากติดเขตอุทยาน” “อบต. อยากทำ แต่พื้นที่ผิดกฎหมาย เป็นพื้นที่ป่า” “ควัน จากการเผาป่า ภัยแล้ง เสียงรถตอนมีเทศกาล” “มีโรคไข้เลือดออก ยาเสพติด ควรมีการสุ่มตรวจคนเสพ คนชาย” “สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น โทรศัพท์ ไฟฟ้า ไม่ทั่วถึง” “เพิ่มไฟฟ้าสว่างทางหลวง และทางแคบ/เล็ก เพิ่มไฟสัก 2-3 ดวง” “มีน้ำประปาจากน้ำภูเขา ไม่เพียงพออุปโภค บริโภค” “อบต. ขนน้ำมาให้ตอนฤดูแล้ง” “น้ำดิบไม่พอการผลิตสุราชุมชน” “ต้องการน้ำดื่มที่เพียงพอ น้ำดิบผลิตสุราชุมชน” “ควรมีอ่างเก็บน้ำที่เพียงพอต่อการเกษตร” 236


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

“พัฒนาระบบประปา/ถังกรองน้ำ” “มีอ่างเก็บน้ำจะพลิกชีวิตทางการเกษตร” “ต้องการจ้าหน้าที่ โดยให้คนท้องถิ่นไปเรียนด้านหมออนามัย ทันตกรรม กายภาพบำบัด แพทย์” “ลดปัญหาหมอย้ายกลับภูมิลำเนา” “ขอสนับสนุนเครื่องมือแพทย์กรณีพิเศษในพื้นที่ และรถส่งต่อที่มีอุปกรณ์ครบ” แสดงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงคุณภาพชีวิตของประชาชนในลุ่มน้ำยม ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่

237


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

พื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลทั่วไป พื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ รายละเอียด จำนวนตัวอย่าง (128 คน) 1. เพศ 1.1 ชาย 81 1.2 หญิง 44 1.3 ไม่ระบุ 3 2. อายุเฉลี่ย (ปี) 49.67 3. การศึกษา 3.1 ประถมศึกษา 77 3.2 มัธยมศึกษา/ปวช. 42 3.3 ปวส./อนุปริญญา 3 3.4 ปริญญาตรี 2 3.5 ไม่ระบุ 4 4. สถานภาพ 4.1 โสด 13 4.2 สมรส 102 4.3 หย่า 8 4.4 แยกกันอยู่ 1 4.5 ไม่ระบุ 4 5. ภูมิลำเนา 5.1 อยู่ในพื้นที่ตั้งแต่กำเนิด 92 5.2 ย้ายมาเพื่อการศึกษา 1 5.3 ย้ายตามหน้าที่การงาน 2 5.4 ย้ายตามครอบครัว 23 5.5 อื่นๆ 1 5.6 ไม่ระบุ 9

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ร้อยละ 63.28 34.38 2.34

60.16 32.81 2.34 1.56 3.13 10.15 79.69 6.25 0.78 3.13 71.88 0.78 1.56 17.97 0.78 7.03

จากตารางที ่ 4 พบว่ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เพศชาย ร้ อ ยละ 63.28 อายุ เ ฉลี ่ ย 50 ปี ระดั บ ประถมศึ กษา ร้ อ ยละ 60.16 มัธยมศึกษา/ปวช. ร้อยละ 32.81 สถานภาพสมรส ร้อยละ 79.69 และภูมิลำเนา อยู่ในพื้นที่ตั้งแต่กำเนิด ร้อยละ 71.88

238


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรื อครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภายในชุ มชน สภาพ/ลัก ษณะของสิ ่ งอำนวยความสะดวกภายในชุ มขน และความต้ อ งการในการพัฒ นาคุณภาพชีว ิ ต และ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ในลุ่มน้ำยมตอนบนพื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษาตนเองหรือครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย ปัญหา สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน สภาพ/ลักษณะของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมขน และความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และข้อเสนอแนะอื่นๆ ในลุ่มน้ำยมตอนบน พื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ รายละเอียด จำนวนตัวอย่าง (128 คน) ร้อยละ 1. ปัญหาในการประกอบอาชีพ 1.1 มี 31 24.22 1.2 ไม่มี 67 52.34 1.3 ไม่ระบุ 30 23.44 2. เมื่อเจ็บป่วยรักษาโดยวิธีใด 2.1 ซื้อยามารับประทานเอง 15 11.71 2.2 ไปหาแพทย์ที่คลินิก 8 6.25 2.3 ไปสถานีอนามัย/รพสต. 22 17.19 2.4 ไปโรงพยาบาลของรัฐ 60 46.88 2.5 ไม่ระบุ 23 17.97 3. ระดับความรุนแรงของปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 3.1 น้ำเสีย 3.55 มีปัญหามาก 3.2 มลพิษทางอากาศ (ฝุ่น, ควัน) 2.76 มีปัญหาปานกลาง 3.3 มลพิษทางเสียง 3.33 มีปัญหามาก 3.4 การจราจร 3.23 มีปัญหาปานกลาง 3.5 ขยะมูลฝอย 2.12 มีปัญหาน้อย 3.6 การขาดแคลนน้ำสะอาด 2.33 มีปัญหาน้อย 3.7 ปัญหาอาชญากรรม 3.47 มีปัญหามาก 3.8 อุบัติเหตุ 3.03 มีปัญหาปานกลาง 3.9 ภัยแล้ง 1.68 มีปัญหาน้อยทีส่ ุด 3.10 โรคระบาด 2.71 มีปัญหาปานลาง 3.11 ปัญหายาเสพติด 1.83 มีปัญหาน้อย 3.12 ความสะอาดของแหล่งท่องเที่ยว 2.67 มีปัญหาปานลาง

239


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

รายละเอียด 4. สิ่งอำนวยความสะดวกในชุมชนของท่านเป็นอย่างไร 4.1 ถนน 4.2 การจราจร 4.3 ไฟฟ้า 4.4 น้ำดื่ม 4.5 น้ำใช้ 4.6 การระบายน้ำ 4.7 แหล่งเก็บกักน้ำ 4.8 การป้องกันภัยแล้ง 4.9 การติดต่อสื่อสาร อาทิ โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต 4.10 การจัดการขยะมูลฝอย 4.11 สภาพสถานพยาบาลในชุมชน 4.12 ตลาด 4.13 การดูแลความเป็นอยู่ในชุมชน (อบต./เทศบาล) 5. ท่านต้องการให้พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านใดมากที่สุด 5.1 อาชีพ/การทำกิน 5.2 สาธารณูปโภค 5.3 สุขภาพอนามัย 5.4 ความเป็นอยูท่ ี่ดีขึ้น 5.5 ด้านการศึกษา 5.6 ด้านสุขภาพ อาทิ สุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดีขึ้น 5.7 ด้านการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือจัดการท้องถิ่น 5.8 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5.9 ด้านจิตใจในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข 5.10 ไม่ระบุ

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวนตัวอย่าง (128 คน) 2.17 2.32 1.63 2.20 2.24 2.70 2.74 2.82 1.98 2.62 1.87 2.14 1.94 61 8 0 24 1 4 5 2 9 14

ร้อยละ มีแต่ต้องปรับปรุง มีแต่ต้องปรับปรุง ไม่มี มีแต่ต้องปรับปรุง มีแต่ต้องปรับปรุง มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีสภาพพอใช้ มีแต่ต้องปรับปรุง มีสภาพพอใช้ มีแต่ต้องปรับปรุง มีแต่ต้องปรับปรุง มีแต่ต้องปรับปรุง 47.65 6.25 0.00 18.75 0.78 3.13 3.91 1.56 7.03 10.94

จากตารางที่ 5 พบว่า ส่วนใหญ่ มีปัญหาในการประกอบอาชีพ ร้อยละ 52.34 เมื่อตนเองเจ็บป่วยหรือครอบครัวไปรักษา ที่โรงพยาบาลของรัฐ ร้อยละ 46.88 สถานีอนามัย/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร้อยละ 17.19 ซื้อยามารับประทานเอง ร้อย ละ 11.71 ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน มีปัญหาปานกลาง ได้แก่ มลพิษทางอากาศ ฝุ่น ควัน การจราจร อุบัติเหตุ โรคระบาด ความสะอาดของแหล่งท่องเที่ยว มีปัญหามาก ได้แก่ เสียง อาชญากรรม มีปัญหาน้อยได้แก่ ขยะมูลฝอย การขาดแคลนน้ำสะอาด

240


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ยาเสพติด มีปัญหาน้อยที่สุด ได้แก่ ภัยแล้ง สิ่งอำนวยความสะดวก ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต้องปรับปรุง ได้แก่ ถนน การจราจร น้ำดื่ม น้ำใช้ การติดต่อสื่อสาร สภาพสถานพยาบาลในชุมขน ตลาด การดูแลความเป็นอยู่ในชุมชนต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่วนใหญ่ ด้านอาชีพ/การทำกิน ร้อยละ 47.65 ตอนที่ 3 ผลการสนทนากลุ่ม ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า ส่วนใหญ่ ปลูกข้าวนาปี ข้าวโพด ยาสูบ พริ ก กระหล่ำปลี มันสำปะหลัง รับจ้างทั่วไป พืชผล ราคาตกต่ำ ไม่มีน้ำฤดูแล้ง ต้นทุนผลิตสูง มีปัญหาด้านยาเสพติดในวัยรุ่น การจัดการขยะ ควันจากการเผาป่า ภัยแล้ง ส่วนใหญ่ไป รับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เจ็บป่วยเป็น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไข้เลือดออก ยาเสพติด มีความ ต้องการน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค ถนนเพื่อการเกษตรไม่ทั่วถึง และทรุดโทรม ไฟฟ้าเข้าไม่ถึงด้านการเกษตร ต้องการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตในด้านการจัดการน้ำให้เพียงพอ การส่งเสริมอาชีพเสริม และที่ดินทำกิน ดังข้อมูลการสนทนาที่สำคัญ ดังนี้ “อาชีพปลูกข้าวนาปี” “อาชีพทำยาสูบ พริก กระหล่ำปี มันสำปะหลัง รับจ้างทั่วไป” “ข้าวโพด ราคาตกต่ำ ไม่มีน้ำ ฤดูแล้ง ต้นทุนการผลิตสูงมาก” “ปัญหายาเสพติด ในวัยรุ่น” “ขยะที่ทิ้งไม่มี เผาไม่ถูก มีรถเก็บแต่เก็บไม่ถูก” “ควัน จากการเผาป่า” “ไปรักษาที่ รพสต.” “เกิดโรคไข้เลือกออก ความดัน (โลหิตสูง) เบาหวาน ยาเสพติดก็มี” “ต้องการน้ำ อุปโภคบริโภคเพื่อการเกษตร” “ถนน ไฟฟ้า ไม่ทั่วถึง ถ้าไฟฟ้าเข้าถึงจะประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง” “ต้องการอาชีพเสริม ที่มั่นคง” “ต้องการมีแหล่งน้ำ เพียงพอ มีที่ทำกิน” “ส่งเสริมอาชีพเสริม เช่น ตัดเย็บผ้าพื้นเมือง เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์โค” “ส่งเสริมอาชีพเสริมใหม่อย่างต่อเนื่อง” “ต้องการมีแหล่งเก็บกักน้ำ” “โครงการนี้ดี เพื่อน้ำการเกษตร” “หมู่ 7 ขาดปัจจัยในกาสร้างอุโบสถ” แสดงดังภาพที่ 2

241


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ภาพที่ 2 แสดงคุณภาพชีวิตของประชาชนในลุ่มน้ำยม ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ อภิปรายผล จากการศึกษาพื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความต้องการในการให้พัฒนา คุณภาพชีวิต มากที่สุด คือ อาชีพ/การทำกิน ต้องการกรรมสิทธิ์ที่ดิน รวมถึงความต้องการพ่อพันธุ์แม่พันธ์สัตว์ในการประกอบ อาชีพ การขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง การเกิดภัยแล้ง ประชาชนมีความต้องการอ่างเก็บน้ำให้เพียงพอกับการเกษตร องค์การ บริหารส่วนตำบลขนน้ำมาให้ในฤดูแล้ง ซึ่งยังไม่เพียงพอปัญหาสิ่งแวดล้อม ในเรื่องของการจัดการขยะที่มี่การกำจัดไม่ถูกต้ อง ที่ฝัง กลบไม่เพียงพอ หาพื้นที่ไม่ได้ เนื่องจากพื้นที่เป็นเขตอุทยาน ติดพื้นที่ป่า ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลต้องการดำเนินการแต่ติดเป็น พื้นป่าไม้การเผาป่า ทำให้เกิดควัน เป็นอันตรายกับสุขภาพการเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในหมู่บ้าน ปัญหายาเสพติด ประชาชน ต้องการให้มีการสุ่มตรวจ คนเสพ คนขายสิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ไฟฟ้าโทรศัพท์ ยังไม่ทั่วถึง ประชาชนต้องการเพิ่มแสงสว่าง ในเส้นทางหลวงหลักที่ยังไม่มีไฟฟ้า ส่วนทางแคบ/เล็ก ควรเพิ่ม 2-3 ดวงระบบน้ำประปาไม่เพียงพอ โดยเฉพาะฤดูแล้ง ไม่มีน้ำ ประชาชนต้องการพัฒนาระบบประปาหรือถั งกรองน้ำในหมู่บ้าน การไม่มีน้ำดิบในการทำสุราชุมชนเนื่องจากขาดน้ำโดยเฉพาะ ในช่วงฤดูแล้งการทำถนนเชื่อมระหว่างหมู่ 7 ถึง หมู่ 10 จะได้รับประโยชน์อย่างมาก ในการขนส่งพืชผล การส่งต่อผู้ป่วยประชาชน มีความต้องการบุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ ทันตสาธารณสุข กายภาพบำบัด หมออนามัยที่มาจากคนในชุมชนไปเรียน และ กลับมาพัฒนาชุมชนตนเอง ลดปัญหาการย้ายไปภูมิลำเนาอื่นความต้องการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ และ

242


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ต้องการรถรับส่งคนไข้ กรณีฉุกเฉินที่มีมาตรฐานซึ่งจากผลการศึกษา จะพบว่า อาชีพ ที่ดิน แหล่งน้ำ การสาธารณสุขแล ะ สิ่งแวดล้อม สภาพสังคมและวัฒนธรรม การดำรงชีวิต ล้วนเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตสอดคล้องกับกับชุม พลภัทร์ คงธนจารุอนันต์ (2550) ได้ได้ศึกษาการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรใน หมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แผก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เกษตรกร ยังคงมีปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ ปัญหา เศรษฐกิจ ปัญหาการศึกษาและการเรียนรู้ ปัญหาด้านสาธารณสุข ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคมและวัฒนธรรม ตามลำดับ และสอดคล้องกับ พรรณี ปานเทวัญ (2556) ที่ได้ศึกษาความจำเป็นพื้นฐานและสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตพื้นที่ ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ความจำเป็นพื้นฐานยังไม่ผ่านเกณฑ์ ในด้านสุขภาพดี การมีบ้าน อาศัย การศึกษา รายได้ จากการศึกษาพื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ พบว่าประชาชนต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่ วนใหญ่ด้าน อาชีพ/การทำกิน โดยต้องการการส่งเสริมอาชีพเสริมที่มั่นคง ต่อเนื่อง เช่น ตัดเย็บผ้าพื้นเมือง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์โค อาชีพเสริม ใหม่ๆ เพื่อให้มีรายได้ตอนหน้าแล้ง ซึ่งไม่มีงานทำ ความต้องการมีที่ดินทำกิน การจัดการขยะยังขาดสถานที่ที่ทิ้งชยะ การเผาไม่ถูก หลัก มีรถเก็บขยะแต่เก็บไม่ถูกต้องควั นจากการเผาป่า ทำให้เกิดปัญหากับสุขภาพการเกิดภัยแล้งไม่มีน้ำในฤดูแล้ง ประชาชนมี ความต้องการน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค มีการจัดการน้ำให้เพียงพอ ต้องการแหล่งน้ำ โครงการนี้ดี เพื่อให้มีน้ำทางการเกษตรการเกิด โรคเบาหวาน ความดันโลหิ ตสูง ไข้เลือดออก ยาเสพติดในวัยรุ่นการถนนเพื่อการเกษตรไม่ทั่วถึง และพื้นผิวถนนทรุดโทรมสิ่ง อำนวยความสะดวก ได้แก่ ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึงด้านการเกษตร ถ้ามีจะประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงได้มากสอดคล้องกับพรรณี ปานเทวัญ (2556) ที่ได้ศึกษาความจำเป็นพื้นฐานและสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลหนองสาหร่ าย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ความจำเป็นพื้นฐานยังไม่ผ่านเกณฑ์ ในด้านสุขภาพดี การมีบ้านอาศัย การศึกษา รายได้ และสอดคล้อง กับกับชุมพลภัทร์ คงธนจารุอนันต์ (2550) ได้ได้ศึกษาการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตตามแนวปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพียงของ เกษตรกรในหมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แผก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เกษตรกร ยังคงมีปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการศึกษาและการเรียนรู้ ปัญหาด้านสาธารณสุข ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคมและวัฒนธรรม ตามลำดับ สรุปและข้อเสนอแนะ จากสถานการณ์ภาพรวม ประชาชนยินดีและเห็นด้วยกับการพัฒนาแหล่งน้ำ ขนาดเล็ก ขนาดกลางมีน้ำในการอุปโภคและ บริโภค สอดคล้องความต้องการที่ได้สำรวจ ควรมีการจัดลำดับความสำคัญเพื่อให้เกิดการพัฒนาในจุดที่จำเป็นและเร่งด่วนในแต่ละพื้นที่ อาชีพ การทำมาหากินด้านการเกษตร การพัฒนาอาชีพเสริมรองรับในปัจจุบั นและอนาคตกับการกลับมาทำงานในพื้นที่โดยเฉพาะในช่วง หน้าแล้งการพัฒนาแหล่งน้ำ ไม่ควรเกิดผลกระทบจากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่ง เพราะอาจส่งผลให้เกิดการแย่งชิงน้ำ ดังนั้นควรดำเนินการให้ สอดคล้องกับความต้องการที่ได้สำรวจฤดูฝนหากมีพื้นที่เก็บกักน้ำ ฤดูแล้งจะทำให้มีน้ำใช้ ระบบประปามีน้ำ สามารถดำเนินการผลิตสุรา ชุมชนทำได้การพิสูจน์กรรมสิทธิที่ดิน ควรมีการดำเนินการร่วมกันไปด้วยกับการพัฒนาแหล่งน้ำ พิจารณาตามกฎหมาย ซึ่งประชาชนยินดี พิสูจน์สิทธิ อย่างไรก็ตามควรมีการเยียวยาคนรายได้น้อยและเกิดความเป็นธรรมการพัฒนาแหล่งน้ำจะทำให้มีการพัฒนาไฟฟ้า ถนน การ สื่อสาร เมื่อมีการพัฒนาแหล่งน้ำทางการเกษตรควบคู่กันไปการจัดการขยะมูลฝอย การเผาป่า อาชญากรรม ยาเสพติด การใช้สารเคมีทาง การเกษตร ปัญหาสิ่งแวดล้อม โรคระบาด โรคไข้เลือดออก โรคไม่ติดเชื้อ ความต้องการทางด้านสุขภาพ เช่น จำนวนบุคลากรทางด้านสุขภาพ

243


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ ดังนั้นจึงควรมีแผนการบูรณาการหน่วยงานรองรับปัจจุบัน และอนาคต เพื่อรองรับปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นใน ส่วนข้อเสนอแนะ สามารถแยกเป็นพื้นที่ ได้ดังต่อไปนี้ พื้นที่ตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรอำเภอ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาชุมชน สหกรณ์การเกษตร ควรมีมาตรการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพประชาชน โดยให้ตรงกับความต้องการและ สอดคล้องกับบริบทของประชาชน เช่น การสนับสนุนพ่อพันธุ์แม่พันธ์สัตว์ในการประกอบอาชีพ 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมชลประทาน กรมป่าไม้ มหาวิทยาลัย เป็นต้น ใน การศึกษาพื้นที่ที่มีการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง การเกิดภัยแล้ง รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ใน การสร้าง พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก ขนาดกลาง เช่นอ่างเก็บน้ำให้เพียงพอกับการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบล สนับสนุนน้ำให้กับประชาชนในฤดูแล้ง หากไม่เพียงพอต่อความต้องการ 3. องค์การบริหารส่วนตำบล ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมที่ดิน กองจัดกรรมสิทธิ์ ในการดำเนินการพิสูจน์สิทธิ์ กรรมสิทธิ์ที่ดิน และหาวิธีการเยียวยา กับประชาชนในชุมชน 4. องค์การบริหารส่วนตำบล วางแผนและบริหารจัดการขยะ ให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การจัดการขยะ รวมถึงจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการกำจัด 5. กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รณรงค์ เฝ้าระวังการเผาป่า ซึ่งทำให้เกิดควัน เป็นอันตรายกับสุขภาพ 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการควบคุมและ ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในระดับหมู่บ้าน 7. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ตำรวจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด โดยจัดให้มีการสุ่มตรวจ คนเสพ คนขายในชุมชน 8. องค์การบริหารส่วนตำบล สำรวจสิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ไฟฟ้าโทรศัพท์ ที่ยังดำเนินการไม่ทั่วถึง วางแผน จัดสรร งบประมาณ ให้เหมาะสมตามความจำเป็นและเร่งด่วนสำรวจ ความเป็นไปได้ จัดทำแผน และงบประมาณการทำถนน เชื่อมระหว่างหมู่บ้าน ตามความจำเป็นและเร่งด่วนชองพื้นที่ 9. สำนักงานสิ่งแวดล้อ มภาค ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สำรวจคุณภาพน้ำ ปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้าน ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน 10. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมชลประทาน กรมป่าไม้ มหาวิทยาลัย เป็น ต้น ใน การศึกษาพื้นที่ที่มีการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง สร้าง พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก ขนาดกลาง เพื่อให้เพียงพอต่อการทำ สุราชุมชน 11. มหาวิทยาลัยนเรศวร ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศึกษาความเป็นไปได้ในการสนับสนุน การเข้าศึกษาบุคลากร ทางการแพทย์ เช่น แพทย์ ทันตสาธารณสุข กายภาพบำบัด และหมออนามัยที่มาจากคนในชุมชนไปเรียน และกลับมา พัฒนาชุมชนตนเอง ลดปัญหาการย้ายไปภูมิ ลำเนาอื่นรวมถึงการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ จาก มหาวิทยาลัยนเรศวรให้กับสถานบริการสาธารณสุขในชุมชน 244


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

12. องค์การบริการส่วนตำบล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด วางแผน สนับสนุน รถรับส่งคนไข้ ให้กับสถานบริการในชุมชน พื้นที่ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรอำเภอ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาชุมชน สหกรณ์การเกษตร เป็นต้น ควรมีมาตรการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพประชาชน โดยให้ตรงกับความต้องการ และสอดคล้องกับบริบทของประชาชน เช่น ตัดเย็บผ้าพื้นเมือง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์โค อาชีพเสริมใหม่ๆ เพื่อให้มีรายได้ ตอนหน้าแล้ง ซึ่งไม่มีงานทำ 2. องค์การบริหารส่วนตำบล ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมที่ดิน กองจัดกรรมสิ ทธิ์ ในการดำเนินการพิสูจน์สทิ ธิ์ กรรมสิทธิ์ที่ดิน และหาวิธีการเยียวยา กับประชาชนในชุมชนวางแผนและบริ หารจัดการขยะให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดย เน้นในเรื่องการรณรงค์ไม่เผาขยะ และการให้ความรู้การจัดการขยะกับผู้มีหน้าที่เก็บขนขยะ รวมถึงจัดหาพื้นที่ที่ เหมาะสมกับการกำจั ด สำรวจ จัดทำแผน และงบประมาณการทำถนน ซ่อมปรับปรุงถนน รวมถึง ไฟฟ้าเพื่อใช้ใน การเกษตร ตามความจำเป็นและเร่งด่วน 3. กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รณรงค์เฝ้าระวังการเผาป่า ซึ่งทำให้เกิดควัน เป็นอันตรายกับสุขภาพ 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมชลประทาน กรมป่าไม้ มหาวิทยาลัย เป็นต้น ใน การศึกษาพื้นที่ที่มีการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง การเกิดภัยแล้ง รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ใน การสร้าง พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก ขนาดกลาง เช่นอ่างเก็บน้ำให้เพียงพอกับการเกษตร องค์การบริหารส่วนตำบล สนับสนุนน้ำให้กับประชาชนในฤดูแล้ง หากไม่เพียงพอต่อความต้องการ 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ดำเนินการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออก รวมถึงการรณรงค์ ป้อง ปรามการใช้ยาเสพติดในกลุ่มวัยรุ่น กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณหน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลับนเรศวร ที่ได้ให้ทุน สนับสนุนการวิจัยในครั้งนี้ และขอขอบคุณประชาชน ตำบลเตาปูนและตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ที่ได้ให้ความร่ว มมือ และให้ข้อมูลจนงานวิจัยสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เอกสารอ้างอิง มนสิกุล โอวาทเภสัชช์. คุณภาพชีวิตที่ดี, คมชัดลึก. 8 : 24 สิงหาคม 2552, หน้า 30. หน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม (2558) รายงานการเริ่มงาน (Inception Report) โครงการศึกษาหาทาง ออกแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาการพัฒนาแหล่งเก็บกักในลุ่มน้ำยมตอนบน. หน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและ สิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยนเรศวร. ชุมพลภัทร์ คงธนจารุอนันต์ (2550) การดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในหมู่บ้าน หนองมะจับ ตำบลแม่แผก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เกษตรศาสตร์ ส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 245


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

พรรณี ปานเทวัญ (2556) ความจำเป็นพื้นฐานและสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอ ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3): 607- 610.World Health Organization. (1993). Report of WHOQOL Focus Group Work. Geneva: WHO (MNH/PSF/93.4).

246


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ความรู้ การรับรู้เรื่องฉลากโภชนาการและการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุ จังหวัดอุบลราชธานี ธิญาพร รอบโลก1, พีรชญา ไขปัญญา2, อุรารัช บูรณะคงคาตรี3, สารสิทธิ์ โรจน์ธนะธัญญา3 , เกศิณี หาญจังสิทธิ์3 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโพธิ์, 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปงน้อย 3 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี Corresponding author: you.smile181@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ การรับประทานอาหารที่ดีจะช่วยลดความเสี่ยง ของโรคติดต่อเรื้อรังที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในผู้สูงอายุ ฉลาก โภชนาการเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยในการเลือกอาหารเหมาะสมกับสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการใช้ฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานี วิธีวิจัยการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง โดยกลุ่ม ตัวอย่างเป็นผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 105 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื่องมือมีความเที่ยง 0.66 และมี ความเชื่อมั่นตั้งแต่ 0.89-0.98 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติเชิ งพรรณนา Chi-Square Test และ fisher's exact test ผลการวิจัย ผู้สูงอายุ ร้อยละ 69.52 รู้จักฉลากโภชนาการ แต่ใช้ฉลากในการซื้อหรือบริโภคเพียง 42.86% ของผู้สูงอายุทั้งหมด ผู้สูงอายุที่รู้จัก และใช้ฉลากเป็นประจำจะสนใจข้อมูลวันเดือนปีที่หมดอายุมากที่สุดถึง 73.3% ผู้ที่ไม่ใช้ฉลากส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าตัวอักษรมีขนาด เล็ก กลุ่มที่รู้จักฉลากจะมีคะแนนความรู้เฉลี่ย (x̄= 13.4, SD.=0.95) และการรับรู้ประโยชน์ (x̄= 3.6, SD.=0.65) ในระดับสูง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ได้แก่ อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด รายได้ ความรู้และการรับรู้ประโยชน์ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับฉลากโภชนาการ แต่ยังมี ความสนใจในระดับน้อย รวมทั้งมีความตระหนักในการใช้ประโยชน์จาก ฉลากโภชนาการค่อนข้างต่ำ ดังนั้นควรมีการการวางแผนส่งเสริมให้ความรู้ให้มีความเข้าใจ ปรับปรุงรูปแบบของฉลากโภชนาการ ให้มีความน่าสนใจ อ่านและเข้าใจง่าย สร้างความตระหนักถึงคุณประโยชน์และความสำคัญที่จะได้รับจากการอ่านฉลากโภชนาการ คำสำคัญ: ความรู้, การรับรู้, ฉลากโภชนาการ, ผู้สูงอายุ

247


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Knowledge, perception, and use of the nutrition labeling among seniors in Ubon Ratchathani province Thiyaporn Lobrok1, Peerachaya Khaipanya2, Urarat Buranakongkatree3, Sarasit Rojtanatanya3,Kesinee Hanjangsit3 1

Na Pho Health Promoting Hospital,2Pong Noi Health Promoting Hospital, 3 Sirindhorn College of Public Health, Ubon Ratchathani Corresponding author: you.smile181@gmail.com Abstract

Introduction: Good nutrition helps to reduce the risk of chronic diseases that are highly prevalent among seniors. The Nutrition Label is an important tool to support them to decide on food which are supposed to promote their good health. Objective: This study aimed to identify knowledge, perception, and the use of the Nutrition Label, including investigated factors associated with the use of nutrition information on the food label. Methodology: Total 105 seniors aged 60 years old or more who lived in Ubon Ratchathani were selected by using simple random sampling. The instrument was questionnaire in order to determine knowledge, skill, perception and the use of the nutrition label. The IOC and reliability of the questionnaire were 0.66 and 0.92, respectively. Data was collected by interviewing. Descriptive statistics, chi-square test and fisher's exact test were used for data analysis. Results: The results showed that 69.52 % of seniors recognized the Nutrition Label but only 42.86% used the label. 73.3% of seniors who recognized and normally used the label were interested in the detail of an expired date. Most of seniors did not use the label because of the small text size. Seniors who recognized the label were at the high level of scores in knowledge (xˉ = 13.4, SD=0.95) with perceived benefit of the Nutrition Label (xˉ = 3.6, SD.=0.65). Factors were significantly related to the use of the Nutrition label were occupation, income, and knowledge and perceived benefit of the Nutrition Label (p<0.05). Discussion and conclusion: Although the knowledge scores are high, the use of the Nutrition Label for seniors is quite low due to the design, particularly text size of the label and the lack of perceived benefit. The improvement of the text size and design of the nutrition label multiplied with the promotion on benefit perception of the Nutrition Label are needed in this senior group. Keywords: Knowledge, Perceptions, Nutrition Labelling, Seniors

248


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ส่วนใหญ่พบใน ประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข , 2555) จากสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2552 มีผู้สูงอายุที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึงร้อยละ 52.6 และในปี 2551 - 2555 พบว่า โรคความดันโลหิตสูงมีอัตราความชุก 5,288.01 ต่อประชากรแสนคน โรคเบาหวานมีอัตราความชุก 2,800.81 ต่อประชากรแสนคน (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2555) ซึ่งโรคเหล่านี้ยังส่งผลให้ผปู้ ่วย เกิดความพิการ และอาจเสียชีวิตได้ ในปี 2551 รัฐเสียค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประมาณปีละสามแสนล้านบาท (สมยศ ดีรัศมี, 2555) พฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม เกินความต้องการของร่างกาย เป็นอีกปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ชาญยุทธน์ วิหกโต และนิตยา พันธุเวทย์, 2556) จากข้อมูลสถิติแห่งชาติพบว่าในปี 2550 คนไทยบริโภคน้ำตาลเฉลี่ยวันละ 25 ช้อนชาต่อคนต่อปี บริโภคเกลือ 10.8 กรัมต่อวัน (โสภณ เมฆธน, 2555) และคนไทยส่วนใหญ่ชอบบริโภคอาหารไขมันสูง ส่งผลให้ เกิดภาวะไขมันในเลือดสูงและโรคอ้วน (สุรจิต สุนทรธรรม และสามารถ นิธินันทน์, 2543) อีกกลยุทธ์ที่ช่วยป้องกันและควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้สูงอายุ คือ การใช้ฉลากโภชนาการ (ชาญยุทธน์ วิหกโต และนิตยา พันธุเวทย์, 2556) ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจ เลือกซื้ออาหาร เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์อาหารและยังช่วยให้ผู้บริโภคหลีกเลี่ยงสารอาหารที่ไม่ต้องการได้ (สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา, 2551) การใช้ฉลากโภชนาการในแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศหญิงมีความรู้และการรับรู้ เกี่ยวกับข้อมูลบนฉลากโภชนาการสูงกว่าเพศชาย (บัณฑิตา ศรีวิชัย , 2551; สุจิณณา ศักดิ์ ถาวร, 2545) ปัจจัยด้านความรู้มี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ (สุพรรษา ยาใจ ชัยทัต หนูเกลี้ยง และศนิปรียา ยิ่งทวีสิทธิกุล , 2547) ซึ่งผู้ที่มีความรู้ต่ำจะส่งผลให้มีการใช้ฉลากโภชนาการน้อย (EunSeok Cha et al., 2014) และปัจจัยด้านการรับรู้ความ สนใจข้อมูลบนภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์อาหารนั้น พบว่า ส่วนใหญ่คนอ่านฉลากโภชนาการก่อนการเลือกซื้ออาหาร และสนใจข้อมูล ด้าน วัน เดือน ปีที่ผลิตและหมดอายุของผลิตภัณฑ์ (บัณฑิตา ศรีวิชัย, 2551) อย่างไรก็ตามการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ การใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการส่ว นใหญ่ทำในกลุ่มของนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร ด้านสาธารณสุข แต่ในกลุ่มผู้สูงอายุมีการศึกษาเรื่องนี้น้อยมาก ดังนั้นผู้ทำวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ เพื่อศึกษาความรู้ การรับรู้ เรื่องฉลากโภชนาการและการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุ รวมไปถึงการหาความสั มพันธ์เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับฉลากโภชนาการ และการรับรู้เกี่ยวกับฉลากโภชนาการที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ฉลากโภชนาการ ซึ่งผลการศึกษาที่ได้จะนำไปใช้ในการวางแผนส่งเสริมและพัฒนาด้านความรู้ การรับรู้เรื่องฉลากโภชนาการและการนำข้ อมูลบน ฉลากโภชนาการไปใช้ในด้านการเลือกซื้อและเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อลดภาวะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้สูงอายุต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เรื่องฉลาก โภชนาการและการรับรู้ประโยชน์

249


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วิธีวิจัย การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ จุดใดจุดหนึ่ง (Cross sectional Analytical Study Design) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในตำบลเมืองศรีไคและ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำ ราบ จังหวัดอุบลราชธานี โดยใช้สูตรการคำนวณการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) โดยใช้สูตร 𝑍 2 𝑝(1−𝑝)

โดย

𝑛= 𝛼 2 𝑒 𝑛 = ขนาดตัวอย่าง 𝛼 = ความผิดพลาดจากการสุ่มตัวอย่างเพื่อสรุปลักษณะประชากรจากค่าสถิติของตัวอย่าง Z = สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น (confidence coefficient) ได้จากความเชื่อมั่นที่กำหนด (1- 𝛼) 𝑝 = ค่าการรู้จักฉลากโภชนาการจากการทำ pilot test 0.84 𝑒 = ความกระชับของการประมาณค่า 𝑛 = (1.96)2 × (0.84) × (1-0.84) (0.07)2

= 105

กลุ่มสุ่มขนาดตัวอย่างใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอนโดยสุ่มตำบลในอำเภอวารินชำราบจำนวน 2 ตำบล แล้วในแต่ละตำบล ตามเกณฑ์กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน (เล็ก กลางและใหญ่) หลังจากนั้นก็สุ่มหมู่บ้านตามขนาดหมู่บ้านละ 1 หมู่บ้าน ในแต่ละตำบลรวม 6 หมู่บ้าน และคำนวณสัดส่วนผู้สูงอายุตามจำนวนของผู้สูงอายุ และสุ่มผู้สูงอายุโดยการจับฉลากอย่างง่ายโดย ตำบลเมืองศรีไคได้ตัวอย่างจำนวน 53 คน และตำบลธาตุ 52 คน รวม 105 คน โดยผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการศึกษามีความยินดีและให้ ความยินยอมทางวาจา การพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ผ่า นการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัด อุบลราชธานี (หมายเลขใบรับรอง S008/2558) เครื่องมือและคุณภาพเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ส่วน โดยการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม ทำโดยศึกษา ข้อมูลจากตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านตรวจสอบ ปรับแก้ตามคำแนะนำ นำไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คนที่มีคุณลักษณะเหมือนประชากร แบบสอบถามประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ความรู้เรื่องฉลากโภชนาการ เป็นข้อคำถามเกี่ยวกับการแปลความหมายและความเข้าใจข้อมูลโภชนาการบน ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร ลักษณะคำถามเป็นแบบปลายปิด ให้เลือกตอบเพียง 1 คำตอบ มีคำถาม 14 ข้อ มีคะแนนเต็ม เท่ากับ 14 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ทราบได้ 0 คะแนน ได้ค่าความเชื่อมั่นโดย KR-20 250


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เท่ากับ 0.98 และนำมาจัดกลุ่มเป็น 2 กลุ่มโดยใช้ค่าเฉลี่ย (ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยและสูงกว่าหรือเท่ากับค่าเฉลี่ย) เพื่อใช้ในการหา ความสัมพันธ์ ส่วนที่ 3 การรับรู้ประโยชน์ของฉลากโภชนาการ ลักษณะคำถามเป็นแบบปลายปิดให้เลือกตอบเพียง 1 คำตอบ ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน มีคำถาม 4 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นโดย KR-20 เท่ากับ 0.89 และในการหาความสัมพันธ์นำมา จัดกลุ่มเป็น 2 กลุ่มโดยใช้ค่าเฉลี่ย (ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยและสูงกว่าหรือเท่ากับค่าเฉลี่ย) ส่วนที่ 4 ความสนใจข้อมูลบนภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร มีความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.83 ส่วนที่ 5 การรู้จักฉลากโภชนาการ เป็นคำถามตัวเลือกจำนวน 1 ข้อ และการใช้ฉลากโภชนาการ เป็นคำถามเกี่ยวกับ ความถี่ของการนำข้อมูลที่ได้รับรู้บนฉลากโภชนาการไปใช้ในด้านการเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหาร ลักษณะคำถาม เป็นแบบมาตราส่วนจำนวนคำถาม 1 ข้อ 3 ระดับ (ประจำ บางครั้งและไม่เคยเลย) โดยมีคุณภาพเครื่องมือ มีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.92 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย เก็บในเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม 2558 ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัยที่ผ่านการอบรมมาอย่างดี แล้วดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป R version 3.3.2 สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ปัจจัยที่มคี วามสัมพันธ์ โดยใช้ สถิติเชิงอนุมาน Chi-Square Test และ fisher's exact test ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 63.81) มีอายุอยู่ระหว่าง 70 – 79 ปี (ร้อยละ 42.86) ประกอบอาชีพทำนา หรือค้าขายหรือรับจ้าง (ร้อยละ 61.90) ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 90.48) ค่ามัธยฐานของรายได้เฉลี่ย ต่อเดือนเท่ากับ 700 บาท (ตารางที่ 1) ร้อยละ 69.52 ของผู้สูงอายุรู้จักฉลากโภชนาการ แต่มีการใช้ฉลากโภชนาการในการซื้อหรือบริโภคอาหารเป็นประจำ เพียงร้อยละ 20.00 สำหรับผู้สูงอายุที่รู้จักฉลากแต่ไม่เคยใช้ ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าขนาดตัวอักษรมีขนาดเล็ก ทำให้อ่านลำบาก ส่วน ผู้สูงอายุที่ไม่รู้จักและไม่เคยใช้ฉลากโภชนาการให้เหตุผลว่าไม่ได้สนใจเนื่องจากสมัยก่อนไม่มีฉลาก (ตารางที่ 2)

251


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ตารางที่ 1 แสดงคุณลักษณะของผู้สูงอายุ จำนวน 105 คน ข้อมูลทั่วไป เพศ ชาย หญิง อายุ 60 - 69 ปี 70 - 79 ปี 80 ปีขึ้นไป อาชีพ ข้าราชการบำนาญ ทำนาหรือค้าขายหรือรับจ้าง ไม่ได้ประกอบอาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด ชั้นประถมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาขึ้นไป ไม่ได้เข้ารับการศึกษา รายได้ต่อเดือน มัธยฐาน(ส่วนเบี่ยงเบนคลอไทล์) ของรายได้ต่อเดือน ช่วงรายได้ (ต่ำสุด:สูงสุด)

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จำนวน

ร้อยละ

38 67

36.19 63.81

42 45 18

40.00 42.86 17.14

3 65 37

2.86 61.90 35.24

95 7 3

90.48 6.66 2.86 700 บาท (400) 600 : 27,000

ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของการรู้จักและพฤติกรรมการใช้ขอ้ มูลฉลากโภชนาการของผูส้ ูงอายุ พฤติกรรมการใช้ฉลากโภชนาการ จำนวน (N =105) รู้จักและใช้เป็นประจำ 21 รู้จักแต่ใช้บางครั้ง 24 รู้จักแต่ไม่เคยใช้ 28 ไม่รู้จักและไม่เคยใช้ 32 เหตุผลทีไ่ ม่รู้จักฉลากโภชนาการ 12 ไม่สนใจเพราะสมัยก่อนไม่เคยมีฉลาก 11 อาศัยอยู่กับบุตรหลานไม่ได้ซื้อของเอง 9 ไม่มีความรู้เรื่องฉลากโภชนาการ

ร้อยละ 20.00 22.85 26.67 30.48 37.50 34.38 28.12

252


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของความสนใจข้อมูลบนภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์อาหารของผู้สูงอายุที่รจู้ ักและใช้ข้อมูลฉลาก โภชนาการ (N=45) ระดับความสนใจ มาก จำนวน (%)

ปานกลาง จำนวน(%)

1.ชื่อของอาหาร

29 (64.4)

9 (20.0)

น้อย จำนวน (%) 2 (4.4)

2.วัน เดือน ปี ที่ผลิต 3.วัน เดือน ปี ที่หมดอายุ

30 (66.7) 33 (73.3)

5 (11.1) 3 (6.7)

4.น้ำหนักของอาหาร

8 (17.8)

5.เครื่องหมาย อย.

ไม่สนใจ จำนวน(%)

รวม

5 (11.1)

45 (100)

4 (8.9) 5 (11.1)

6 (13.3) 4 (8.9)

45 (100) 45 (100)

5 (11.1)

6 (13.3)

26 (57.8)

45 (100)

19 (42.2)

8 (17.8)

10 (22.2)

8 (17.8)

45 (100)

6.ข้อมูลของสารอาหาร

11 (24.4)

7 (15.6)

7 (15.6)

20 (44.4)

45 (100)

7.ราคา

31 (68.9)

8 (17.8)

3 (6.7)

3 (6.7)

45 (100)

ข้อมูลบนฉลาก

ความรู้เรื่องฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุที่รู้จักฉลากโภชนาการ พบว่าคะแนนความรู้เฉลี่ย 13.4 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.95) จากคะแนนเต็ม 14 คะแนน โดยข้อคำถามความรู้ทั่วไปของฉลากโภชนาการ (ข้อ 1-5) พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถตอบได้ถูก มากที่สุดคือ เรื่องการใช้ประโยชน์จากฉลากโภชนาการในการเปรียบเทียบสินค้าก่อนซื้อ (100%) และข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่ตอบผิดมากที่สุด คือ เรื่องความหมายของคำว่าหนึ่งหน่วยบริโภค สำหรับความรู้จากฉลากโภชนาการชนิดเต็ม (ข้อ 6-11) และ ชนิดต่อ (ข้อ 12-14) พบว่าผู้สูงอายุสามารถตอบได้ถูกต้องมากกว่าร้อยละ 90.0 ขึ้นไป รายละเอียดตามตารางที่ 4 การรับรู้ประโยชน์จากการอ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการ คะแนนเฉลี่ยของการรับรู้ประโยชน์จากการอ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุเท่ากับ 3.6 คะแนน จากคะแนน เต็ม 4 คะแนน โดยผู้สูงอายุรับรู้ว่าฉลากโภชนาการช่วยให้ท่านเลือกซื้ออาหารได้ตามความต้องการได้ตามความต้องการของ ร่างกายมากที่สุด (ร้อยละ 97.3) ส่วนฉลากโภชนาการไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับท่าน เป็นความรู้เรื่องประโยชน์น้อยที่สุด (ร้อยละ 57.14) ดังตารางที่ 5 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้และการรับรู้ประโยชน์ของฉลากโภชนาการกับพฤติกรรมการใช้ ฉลากโภชนาการ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับการใช้ ข้อมูลบนฉลากโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 6)

253


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละความรู้เรื่องฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุที่รู้จักฉลากโภชนาการจำแนกรายข้อ (N=73) ข้อที/่ คำถาม 1. ฉลากโภชนาการ หมายถึง สิ่งทีบ่ อกชนิดและจำนวนของสารอาหาร 2. ฉลากโภชนาการ หมายถึง ฉลากที่แสดงชื่ออาหาร วัน เดือน ปี ที่ผลิต 3. วันหมดอายุ หมายถึง วันที่อาหารนั้นหมดอายุ และไม่ควรกินอาหารชนิดนั้นแล้ว 4. หนึ่งหน่วยบริโภค หมายถึง จำนวนที่กินได้ใน 1 ครั้งต่อวัน 5. ฉลากโภชนาการช่วยในการเปรียบเทียบสินค้าก่อนตัดสินใจซื้อ 6. ปลากระป๋อง ก ให้พลังงานทั้งหมดเท่าไหร่ (กี่กิโลแคลอรี) 7. ปลากระป๋อง ข มีน้ำตาลเท่าไหร่ (กี่กรัม) 8. ถ้าท่านต้องการกินปลากระป๋องที่มี ไขมันน้อย ท่านจะเลือกปลากระป๋องใด 9. ปลากระป๋องใดมี เกลือ สูงกว่ากัน 10. ถ้าท่านป่วยเป็นโรคไต ท่านจะเลือกปลากระป๋องใด 11. ถ้าท่านป่วยเป็นโรคไขมันในเลือดสูง ท่านจะเลือกปลากระป๋องใด 12. เมื่อท่านกินอาหารทั้งซองนี้ ท่านจะได้รับน้ำตาลกี่กรัม 13. เมื่อท่านกินอาหารทั้งซองนี้ ท่านจะได้รับไขมันกี่กรัม 14. อาหารซองนี้ ควรจะแบ่งกินได้กี่ครั้ง คะแนนรวมความรู้

= 13.36,

S.D. = 0.95,

Min = 10,

ตอบถูก จำนวน (%)

ตอบผิด จำนวน (%)

70 (95.9) 69 (94.5) 69 (94.5) 65 (89.0) 73 (100.0) 71 (97.3) 71 (97.3) 69 (94.5) 69 (94.5) 68 (93.2) 68 (93.2) 72 (98.6) 71 (97.3) 70 (95.9)

3 (4.1) 4 (5.5) 4 (5.5) 8 (11.0) 0 (0.0) 2 (2.7) 2 (2.7) 4 (5.5) 4 (5.5) 5 (6.8) 5 (6.8) 1 (1.4) 2 (2.7) 3 (4.1)

Max = 14

ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละ การรับรู้ประโยชน์จากการอ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการ ของผู้สูงอายุ (N=73) ตอบถูก ข้อที/่ คำถาม จำนวน (%) 1.ฉลากโภชนาการช่วยให้ท่านเลือกซื้ออาหารได้ตามความต้องการของร่างกาย 71 (97.3) 2.ข้อมูลโภชนาการทำให้ท่านรู้ว่าอาหารชนิดนั้นมีสารอาหารอะไรบ้าง 70 (95.9) 3.การอ่านฉลากโภชนาการช่วยป้องกันการเกิดโรคบางชนิดได้ 68 (93.2) 4.ฉลากโภชนาการไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับท่าน 51 (69.9) คะแนนรวมการรับรู้ประโยชน์ x̄ = 3.6, S.D. = 0.65, Min = 1, Max = 4

ตอบผิด จำนวน (%) 2 (2.7) 3 (4.1) 5 (6.8) 22 (30.1)

254


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน กับการ ใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ การใช้ฉลากโภชนาการ คุณลักษณะประชากร ใช้ (N=45) ไม่ใช้ (N=60) p-vale 𝝌𝟐 จำนวน (%) จำนวน (%) เพศ : หญิง 24 (35.8) 17 (44.7) 3.74 0.053 ชาย 21 (55.2) 43 (64.2) อายุ : 60-70 ปี 26 (52.0) 24 (48.0) 3.26 0.071 71 ปีขึ้นไป 19 (34.5) 36 (65.5) การศึกษา : ประถมศึกษา 38 (38.8) 60 (61.2) 0.028*£ สูงกว่าประถมศึกษา 7 (100.00) 0 (0.00) อาชีพ : ไม่ได้ประกอบอาชีพ 11 (29.7) 26 (70.3) 4.02 0.044* ประกอบอาชีพ 34 (50.00) 34 (50.0) รายได้ : ≤1,000 บาท 25 (34.7) 47 (65.3) 6.19 0.013* >1,000 บาท 20 (60.6) 13 (39.4) การรู้จัก : ไม่รู้จัก 0 (0.0) 32 (100.0) <0.001*£ รู้จัก 45 (61.6) 28 (38.4) ความรู้ : ไม่มี 0 (0.0) 32 (100.00) <0.001*£ มี 45 (61.6) 28 (38.4) การรับรูป้ ระโยชน์ : ไม่มีการับรู้ 0 (0.0) 35 (100.0) <0.001*£ มีการรับรู้ 45 (64.3) 25 (35.7) £ Fisher's Exact Test ; p-value <0.05 สรุปและอภิปรายผล ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ ปัจจัยส่วนบุคคล คือ อาชีพ ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้ เฉลี่ยต่อเดือน ปัจจัยด้านความรู้เรื่องฉลากโภชนาการ และปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ของฉลากโภชนาการ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการพบว่า อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อ เดือน มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ สอดคล้องกับการศึกษาของ ณัฐพล ภิรมย์เมือง (2551) ที่พบว่าอาชีพ และระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการใช้เครื่องหมายบนฉลาก ยกเว้นรายได้ อาจเป็นไปได้เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่แตกต่างกัน ทำให้รายได้จึงมีความสัมพันธ์กับการใช้ฉลากต่างกัน โดยในกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุมีรายได้ต่อเดือนน้อย จึงมีความตระหนักในเรื่อง ของเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก

255


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ความรู้มีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ สอดคล้องกับการศึกษาของ สุพรรษา ยาใจ, ชัยทัต หนูเกลี้ยง และ ศนิปรียา ยิ่งทวีสิทธิกุล (2547) ที่พบว่าความรู้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ และส่วนคะแนนความรู้ พบว่ากลุ่มตัวอย่างได้คะแนนมากกว่าค่าคะแนนเฉลี่ย สอดคล้องกับ สุจิณณา ศักดิ์ถาวร (2545) พบว่าครูมีระดับความรู้อยู่ใน ระดับสูง แต่ประเด็นความรู้ที่กลุ่มตัวอย่างยังขาดอยู่มาก คือ ความหมายของคำว่า หนึ่งหน่วยบริโภค ซึ่งอาจจะเป็นได้ เนื่องจาก เป็นภาษาทางการ และอาจเป็นภาษาเฉพาะ (Jargon) ที่ยากแก่การเข้าใจ (Rachel L Hendrickson, Coleen E Huebner and Christine A Riedy, 2006) ความสนใจของข้อมูลบนฉลากโภชนาการมีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ กล่าวคือ การรับรู้ความ สนใจมีผลทำกลุ่มตัวอย่างใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการสอดคล้องกับ Bernstein (1999) ว่าการรับรู้ คือขบวนการที่เกิดขึ้นภายหลัง จากที่สิ่งเร้ากระตุ้นความรู้สึกและถูกตีความเป็นสิ่งที่มีความหมายโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์และความเข้าใจของบุคคล และจาก การศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้ความสนใจอยู่ในระดับน้อย ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ บัณฑิตา ศรีวิชัย (2551) ที่พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความสนใจอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนประเด็นข้อมูลบนฉลากที่กลุ่มตัวอย่างสนใจอ่านมากที่สุด คือ วัน เดือน ปีที่หมดอายุสอดคล้องกับการศึกษาของสุดารัตน์ ศรีสุภา (2555) การรับรู้ประโยชน์จากการอ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการมีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ สอดคล้อง กับการศึกษาของ ณัฐพล ภิรมย์เมือง (2551) พบว่าการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมายบนฉลากอาหารมีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า และส่วนใหญ่มีการรับรู้ในระดับมาก ประเด็นที่รับรู้มากที่สุด คือ การแสดงข้อมูลของ สารอาหารบนฉลากโภชนาการ สอดคล้องกับการศึกษาของ บัณฑิตา ศรีวิชัย(2551) ที่พบการรับรู้ประโยชน์อยู่ในระดับมาก แต่ แตกต่างกันในประเด็นการรับรู้ประโยชน์ที่กลุ่มตัวอย่างรับรู้มากที่สุด คือ ฉลากโภชนาการช่วยให้สามารถเลือกซื้อและบริโภค อาหารได้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย การใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ กลุ่มตัวอย่างส่ว นใหญ่ ไม่อ่านฉลากโภชนาการก่อนการเลือกซื้อ ขัดแย้งกับการศึกษา ของ วรรณี สุขจันทร์ (2546) พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะอ่านฉลากโภชนาการก่อนตัดสินใจซื้อสินค้า ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษาแตกต่างกัน และอาจเป็นไปได้เพราะผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่อ่านฉลากโภชนาการก่อนการเลือกซื้อ และคิด ว่าการอ่านฉลากไม่มีความจำเป็นเนื่องจากอาศัยบุตรหลานเป็นคนซื้อมาให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการนำผลการศึกษาไปใช้ 1. ถึงแม้ผู้สูงอายุจะมีความรู้ค่อนข้างสูง แต่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ใช้ฉลากโภชนาการ ดังนั้น ควรมีการรณรงค์ให้อ่านและใช้ ฉลากโภชนาการก่อนตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องฉลากโภชนาการ โดยในการให้ความรู้อาจจะต้อง มีการให้ในรูปแบบอื่นที่พัฒนาหรือปรับปรุงกลวิธีเพิ่มความน่าสนใจในเนื้อหาของสื่อให้มีความน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น 2. ควรมีการหาแนวทางปรับปรุงรูปแบบของฉลากโภชนาการให้มีความน่าสนใจ ปรับข้อความบนฉลากโภชนาการให้มีการอ่าน และเข้าใจง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะขนาดของตัวอักษร พร้อมทั้งเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อก่อให้เกิดการรับรู้ที่ดีและถูกต้องเกี่ยวกับฉลากโภชนาการ 3. ควรกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงคุณประโยชน์ และความสำคัญที่จะได้รับจากการอ่านฉลากโภชนาการ เพื่อที่จะ ก่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อฉลากโภชนาการ 256


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในเมืองและอาศัยอยู่ชนบท เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ ความแตกต่าง 2. ควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ การรับรูเ้ รือ่ งฉลากโภชนาการกับการใช้ข้อมูลบนฉลากโภชนาการว่าปัจจัยด้านใดทีม่ ี ความสัมพันธ์กับการใช้ฉลากโภชนาการมากที่สุด กิตติกรรมประกาศ วิจัยเรื่องนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ประชาชนในพื้นที่ทุกท่านที่ให้ข้อมูลต่างๆ ที่เอื้อต่อการทำงานวิจัย และให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามจนทำให้งานวิจัยนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี บรรณานุกรม ชาญยุทธน์ วิหกโตและนิตยา พันธุเวทย์. (2556). ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันโรคเรื้อรังในปัจจุบันและพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://thaincd.com/document/file/download/leaflet/factsheet05-0656.pdf ณัฐพิมณฑ์ ภิรมย์เมือง. (2551). การรับรู้ในเครื่องหมายบนฉลากอาหารและการใช้ข้อมูลบนฉลากอาหารในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ อาหารของผู้มารับบริการ ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี. วิทยานิพนธ์ปริญญา, สาขาวิชาเอกโภชนวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. ณัฐพิมณฑ์ ภิรมย์เมือง เรวดี จงสุวัฒน์ และดวงใจ มาลัย. (2555). การรับรู้เครื่องหมายในฉลาก อาหารและการใช้ข้อมูลบนฉลากอาหารในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี. วารสารสาธารณสุข 2555. 42(2): 17-28. บัณฑิตา ศรีวิชัย. (2551). การรับรู้เรื่องฉลากโภชนาการและการใช้ของบุคลากรด้านสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาโภชนศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วรรณี สุขจันทร์. (2546). ความรู้เรื่องฉลากโภชนาการของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขา วิชาโภชนศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (9 มกราคม 2557) รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ.2555. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2558, จาก HYPERLINK "http://www.moph.go.th" http://www.moph.go.th /files/report/20140109_40197220.pdf สุจิณณา ศักดิ์ถาวร. (2545). ความรู้และเจตคติเกีย่ วกับฉลากโภชนาการของครู โรงเรียนประจำจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาโภชนศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุพรรษา ยาใจ ชัยทัต หนูเกลี้ยง และศนิปรียา ยิ่งทวีสิทธิกุล. (2547). พฤติกรรมการอ่านฉลากโภชนาการก่อนเลือกซื้ออาหาร (รายงานการวิจัย), คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

257


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สุรจิต สุนทรธรรม และสามารถ นิธินันทน์. (2543). การให้คำแนะนำ ปรึกษาเพื่อป้องกันโรคและสร้างเสริมสุขภาพทางเวชปฏิบัติ. ใน สุรจิต สุนทรธรรม, บรรณาธิการ. แนวทางการตรวจและสร้างเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนชาวไทย ฉบับพิมพ์พระ ชนม์ 72 พรรษามหาราช. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลมงกุฏเกล้า. EunSeok Cha.et al. (2014). Health Literacy, Self-efficacy, Food Label Use, and Diet in Young Adults. American Journal of Health Behavior. 2014 ; 38(3) : 331-339. Klaus G. Grunert, Josephine M. Wills, & Laura Ferandez-Celemin. (2010). Nutrition knowledge, and use and under standing of nutrition information on food labels among consumers in the UK. Research report, MAPP Centre for Research on Customer Relations in the Food Sector, Aarhus School of Business, Aarhus University.

258


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ณดา นาสวนนิวัตน์, รจนา คงมั่นกวีสุข, สาวิตรี ลำใยเจริญ, กมลรั ต น์ นุ่ น คง, สาลี อินทร์เจริญ, สิริมา วังพยอม, วิลาวรรณ ศรีพล, ฉัตรชัย ขวัญแก้ว และสุพัตรา ใจเหมาะ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) ตามแนวคิดการมีส่วน ร่วมของ Cohen & Uphoff โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ออกกำลังกาย และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออกกำลังกายก่อน และหลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วย ยอด จังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังที่ไม่ออกกำลังกาย และออกกำลังกายไม่ครบ 150 นาที/สัปดาห์ จำนวน 35 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบ หลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม – มีนาคม เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินวิจัย คือ รูปแบบการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังก าย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ก่อนและหลังการใช้รูปแบบด้วยสถิติ Paired t-test ผล การศึกษา พบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง (2.93±0.52) ได้รูปแบบการมีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย คะแนนเฉลี่ย ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้ รูปแบบ (11.85±0.88) สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ (8.69±1.99) คะแนนเฉลี่ยทัศนคติ เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบ (3.03±0.38) สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ (2.34±0.48) และ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม การออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบ (3.27±0.25) สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ (2.52±0.50) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 คำสำคัญ: ความรู้, ทัศนคติ, พฤติกรรมการออกกำลังกาย, การมีส่วนร่วม

259


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Community participation for exercise behavior modification in Moo 9 Kuanyaimom village, Huaiyod district, Trang province Nada Nasuanniwat, Rotchana Kongmankaweesuk, Sawitree Lamyaicharoen, Kamonrat Nungkong, Salee Incharoen, Sirima Wangpayom, Wilawan Sripon, Chatchai Kwankaew and Supattra Jaimoa Sirindhorn College of Public Health, Trang Abstract This participatory action research followed by Cohen & Uphoff participation theory aimed to study community participation for exercise behavior modification, to develop exercise activities participation and to compare the knowledge, attitude and exercise behavior in community participation for exercise behavior modification of Moo 9 Kuanyaimom Village, Huaiyod district, Trang province. The sample defined by multistage sampling consists of 35 people aged over 15 years old who do not exercise or exercise less than 150 minutes per week. The information was collected by the questionnaires from January to March. The descriptive statistics (frequency, percentage, average, standard deviation) and paired t-test were applied. The results indicated that community participation was moderate (2.93±0.52), the average knowledge after activities participation was higher (11.85±0.88) than the pretest (8.69±1.99), the average attitudes score was increased from (2.34±0.48) to (3.03±0.38), and the average exercise behavior point was up from (2.52±0.50) to (3.27±0.25) at statistically significant level of 0.001 Keywords: Knowledge, Attitude, Exercise behavior, Community participation

260


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ปัญหาสุขภาพของคนไทยในปัจจุบัน เกิดโรควิถีชีวิตหรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) และมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบ ทำให้ขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพ (แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย พ.ศ. 2554 2563, 2554) โดยพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ การขาดการออกกำลังกาย ร้อยละ 27.1 (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ, 2559) ซึ่งจะทำให้สมรรถภาพร่างกายเสื่อมลงเรื่อยๆ และเป็นหนึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค โรคหลอดเลือดหัวใจ เสื่อมสภาพ โรคประสาทเสียสมดุลยภาพ โรคความดันโลหิตสูงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคกระดูก และข้อ จากเหตุผลดังกล่าวทำให้ ในปี พ.ศ.2558 กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกาย เพื่อสร้าง สุขภาพให้แข็งแรง ลดการป่วยจากโรคต่างๆ และสร้างค่านิยมให้ประชาชนออกกำลังกาย โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตรประจำวัน หรืออย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ เพื่อให้มีการเคลื่อนไหวร่างกาย (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2559) จากการสำรวจพฤติกรรมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกายของประชาชน อายุตั้งแต่ 15 ปีขั้นไป ในปี พ.ศ. 2559 พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ จำนวน 42.60 ล้านคน ไม่ออกกำลังกาย มีผู้เล่นกีฬาหรือออกกำลังกายเพียง 15.10 ล้านคนหรือ ประมาณ 1 ใน 4 ของประชาชนทั้งหมด และจากผลสำรวจเดียวกันนี้ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย ของผู้ป่วย พบว่า มีผู้ป่วยในรอบ 1 เดือน ก่อนสำรวจ จำนวน 17.10 ล้านคน เป็นผู้ที่ไม่ได้เล่นกีฬาหรือออกกำลังกายมากถึงร้อย ละ 73.00 ขณะเดียวกันในผู้ป่วยที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลที่มี 3.2 ล้านคน พบว่า เป็นผู้ที่ไม่ได้เล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย ร้อยละ 76.0 ชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างชัดเจนว่าการออกกำลังกายป้องกันการป่วยได้โดยผู้ที่ไม่ออกกำลังกายจะมีโอกาสป่วย มากกว่าผู้ที่ออกกำลังกายมากถึง 3 เท่าตัว (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2559) สำหรับจังหวัดตรัง ได้มีการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อตอบรับกับนโยบายส่งเสริมการออกกำลังกายของกระทรวง สาธารณสุข ด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ (สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง , 2559) และจากการศึกษาความต้องการการ ออกกำลังกายของประชาชนในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง พบว่า ประชาชนมีความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ด้านการออกกำลังกาย อย่างเพียงพอ รองลงมาด้านการบริการวิชาการเพื่อจัดอบรมให้ความรู้ และมีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่าง ต่อเนื่อง และจริงจัง เนื่องจากประชาชนบางกลุ่มยังขาดข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เช่น กลุ่มคนยากจน ที่ต้องใช้เวลา ในการหาเลี้ยงชีพ ทำให้ขาดโอกาสในการออกกำลังกาย ดังนั้น จึงต้องมีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายมากขึ้น (จีรวรรณ ภักดี ฉนวน, 2554: 70-76) และจากการทบทวนวรรณกรรมที่ผ่านมา พบว่า ยังไม่มีการพัฒนาโปรแกรมหรือสร้างการมีส่วนร่วมในการ ออกกำลังกายในจังหวัดตรัง การวินิจฉัยอนามัยชุมชนและการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหา พบว่าปัญหาที่ประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่นอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ร่วมกันตัดสินใจในการแก้ปัญหา คือ เรื่องการออกกำลังกาย พบว่า ประชาชนอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปไม่ออกกำลังกายและออกกำลังกายไม่ครบ 150 นาที/สัปดาห์ ร้อยละ 64.74 และจากการ วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่แท้จริงของปัญหาดังกล่าว พบว่า เกิดจากความรู้ และทัศนคติในการออกกำลั งกาย ได้แก่ การ ประกอบอาชีพคือการออกกำลังกาย ร้อยละ 71.40 รองลงมา คือ ขาดทักษะในการออกกำลังกายไม่มีเวลาและไม่จำเป็นต้องออก กำลังกายร้อยละ 65.50, 64.30 และ 57.10 ตามลำดับ จากประเด็นปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงเห็นความความสำคัญในการดูแล สุขภาพของประชาชน จึงได้จัดทำวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการออกกำลังกายของ ประชาชน หมู่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

261


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควน ยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 3. เพื่อเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ก่อน และหลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านควน ยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ระเบียบวิธีวิจัย รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) ตามแนวคิดการมี ส่วนร่วมของ Cohen & Uphoff (1977) และใช้ทฤษฎี KAP (Singh & Malaviya, 1994) เก็บรวมรวมข้อมูลอยู่ในช่วงเดือน มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2562 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ประชาชน อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ไม่ออกกำลังกายและออกกำลังกายไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน 210 คน กลุ่มตัวอย่าง คือประชาชน อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ไม่ออกกำลังกายและออกกำลัง กายไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน 35 คน ได้ จากการคำนวณ โดยใช้โปรแกรม G*power ใช้การสุ่มตัวอย่างเชิงระบบ (Systematic Random Sampling) และใช้เกณฑ์การ คัดเข้าคัดออก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย เป็นกิจกรรมการมีส่วนร่วม 5 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อ มูลด้วยแบบสอบถาม โดยดัดแปลงจาก แบบสอบถามของ วราภรณ์ คำรศ และคณะ (2556) ประกอบด้วยส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ส่วนที่ 2 แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย จำนวน 15 ข้อ ส่วนที่ 3 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย จำนวน 13 ข้อ ส่วนที่ 4 แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 13 ข้อ และส่วนที่ 5 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของชุมชนใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย จำนวน 15 ข้อ เครื่องมือในการวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ได้ค่า IOC = 0.67 -1.00 และแบบสอบถามผ่านการหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สูตร สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราค ได้เท่ากับ 0.87 การวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ทัศนคติต่อการออกกำลังกาย และ พฤติกรรมการออกกำลังกาย ก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรมด้วย paired t-test

262


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การพิทักสิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้ผ่านการรับรองจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง ผลการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงทั้งหมด จำนวน 35 คน ร้อยละ 100 อายุเฉลี่ย 48.46 ปี (S.D. = 10.15) ปี อายุน้อยสุด 32 ปี อายุมากสุด 66 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 26 คน ร้อยละ 74.30 รองลงมา คือ รับจ้าง จำนวน 4 คน ร้อยละ 11.40 และแม่บ้าน จำนวน 3 คน ร้อยละ 8.60 ตามลำดับ ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย การมีส่วนในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย X ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 2.67 1. ท่านมีส่วนร่วมประชุมเพื่อค้นหาหรือรับทราบปัญหา และสาเหตุของปัญหาการไม่ออก 2.46 กำลังกาย 2. ท่านมีส่วนร่วมประชุมเพื่อนำเสนอเรื่องต่างๆ ที่มีความจำเป็นในการปรับเปลี่ยน 2.83 พฤติกรรมการออกกำลังกาย 3. ท่านมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมหรือวิธีการในการกำหนดรูปแบบในการออก 3.00 กำลังกาย 4. ท่านมีส่วนร่วมในการกำหนดการใช้ทรัพยากร แหล่งของทรัพยากรทีจ่ ะใช้ในกิจกรรม 2.40 โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ 3.00 5. ท่านมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์หรือการติดต่อประสานงานในการปรับเปลี่ยน 2.89 พฤติกรรมการออกกำลงกาย 6. ท่านมีส่วนร่วมในการให้หรือรับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น 2.66 7. ท่านมีส่วนร่วมในการแนะนำคนในครอบครัวและเพื่อนบ้านเกีย่ วกับการออกกำลังกาย 2.30 8. ท่านมีส่วนร่วมสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ สถานทีเ่ พื่อใช้ในการออกกำลังกาย 2.40 ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 3.23 9. ท่านมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นหรือ แนวทางการแก้ไข/ปรับปรุง การดำเนิน 3.86 กิจกรรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการออกกำลงกาย 10. ท่านมีส่วนร่วมสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ สถานทีเ่ พื่อใช้ในการออกกำลังกาย 2.40 ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 3.23 11. ท่านมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ไข/ปรับปรุง การดำเนิน 3.86 กิจกรรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการออกกำลงกาย 12. ท่านมีส่วนร่วมในการเป็นแกนนำประชาชนในกิจกรรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการ 3.57 ออกกำลังกาย

S.D. 0.95 1.12

แปลผล ปานกลาง ต่ำ

1.10

ปานกลาง

1.44

ปานกลาง

1.14

ต่ำ

0.53 1.18

ปานกลาง ปานกลาง

1.03 1.00 1.10 0.67 0.70

ปานกลาง ต่ำ ต่ำ ปานกลาง มาก

1.10 0.67 0.70

ต่ำ ปานกลาง มาก

0.50

มาก

263


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย (ต่อ) การมีส่วนในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 13. ท่านมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์จากกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ที่เกิดขึ้นในชุมชนบ้านควนยายม่อม 14. ท่านได้พัฒนาความรู้และทักษะต่างๆ จากการเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมการออกกำลังกาย 15. กิจกรรมการออกกำลังกายทั้ง 2 รูปแบบช่วยพัฒนา และกระตุ้นพฤติกรรมการออก กำลังกายในชุมชนของท่านได้ดีขึ้น ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล 16. ท่านมีส่วนร่วมประเมินผลพฤติกรรมการออกกำลังกายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการ 17. ท่านมีส่วนติดตามและกระตุ้นเตือนการดำเนินงานของกิจกรรมการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมการออกกำลังกาย ภาพรวม

X

3.23 3.17

S.D. 0.67 1.24

แปลผล ปานกลาง ปานกลาง

3.23

1.14

ปานกลาง

3.29

1.05

ปานกลาง

2.76 2.86 2.66

1.00 1.22 1.00

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

2.93

0.52

ปานกลาง

จากตารางที่ 1 การมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกำลังกาย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วม ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2.93±0.52) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (3.23±0.67) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (2.67±0.95) เมื่อจำแนกรายด้านพบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (2.67±0.95) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมหรือวิธีการในการกำหนดรูปแบบในการออกกำลังกายอยู่ในระดั บปานกลาง (3.00±1.44) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการกำหนดการใช้ทรัพยากร แหล่งของทรัพยากรที่จะใช้ในกิจกรรม โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอยู่ในระดับต่ำ (2.40±1.14) ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (3.00±0.53) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์หรือการติดต่อประสานงานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลงกายอยู่ใน ระดับปานกลาง (2.89±1.18) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการแนะนำคนในครอบครัวและเพื่อนบ้านเกี่ย วกับการ ออกกำลังกายอยู่ในระดับต่ำ (2.30±1.00) ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (3.23±0.67) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นหรือ แนวทางการแก้ไข/ปรับปรุง การดำเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการออกกำลงกายอยู่ในระดับมาก (3.86±0.70) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์จากกิจกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายที่เกิดขึ้นในชุมชนบ้านควนยายม่อมอยู่ในระดับปานกลาง (3.17±1.24) ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมิ นผลมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (2.76±1.00) เมื่อจำแนกรายข้อพบว่า ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือท่านมีส่วนร่วมประเมินผลพฤติกรรมการออกกำลังกายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง

264


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

(2.86±1.22) ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือท่านมีส่วนติดตามและกระตุ้นเตื อนการดำเนินงานของกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกำลังกายอยู่ในระดับปานกลาง (2.66±1.00) ผลของการพัฒนากิจกรรมการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า เป็นรูปแบบกิจกรรม มี ระยะเวลา 5 สัปดาห์ มี 8 กิจกรรม ดังนี้ 1) การสนทนากลุ่ม 2) การประชาสัมพันธ์และประสานงาน 3) การประเมินสุขภาพ เบื้องต้น 4) จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย 5) สาธิตวิธีการออกกำลังกาย 6) การออกกำลังกาย 3 รูปแบบ ได้แก่ การ เต้นแบบบาสโลบ การเต้นแบบผ้าขาวม้า และการเดิน -วิ่งเพื่อสุขภาพ 7) การติดตามและกระตุ้นเตือนการออกกำลังกายในแต่ละ สัปดาห์ และ 8) การประเมินผลการออกกำลังกายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการ ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ก่อนและหลังการใช้รูปแบบของ ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ก่อนการใช้รูปแบบ

หลังการใช้รูปแบบ

คะแนนเฉลี่ย ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย

x̅ 8.69 2.34 2.52

S.D. 1.99 0.48 0.50

x̅ 11.85 3.03 3.27

S.D. 0.88 0.38 0.25

df

t

p - value

5 5 5

6.91 7.66 8.65

<0.001 <0.001 <0.001

จากตารางที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ระหว่างก่อนและหลังการใช้รูปแบบ ของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ก่อนและหลัง การใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้าง แล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง พบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบของชุมชนในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย(11.85±0.88) สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออก กำลังกาย (8.69±1.99) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกายก่อนและหลังการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง พบว่า คะแนนเฉลี่ย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย (3.03±0.38) สูง กว่าก่อนการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย (2.34±0.48) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกำลังกายก่อนและหลังการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมการออก กำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง พบว่า คะแนนเฉลี่ย พฤติกรรมการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย (3.27±0.25) สูงกว่าก่อน การใช้รูปแบบของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย (2.52±0.50) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001

265


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกำลังกาย 1.1 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ จากผลการศึกษา พบว่า การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลางในการศึกษาครั้งนี้เวทีประชาคมใน ชุมชนเป็นเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมของผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย โดยจะมีการกระตุ้นให้ประชาชนทุกคนได้มี โอกาสแสดงความคิดเห็น ร่วมกันคิด วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกแนวทางในการวางแผนการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยทีมวิจัยจะเป็น ผู้นำข้อมูลจากที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลสภาพการณ์ปัญหาของชุมชนมาเสนอในเวทีประชาคมเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินใจ เลือกและแก้ไขปัญหาเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการของประชาชนและตรงกับบริบทของชุมชนพบว่าปัญหาจาก ที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลรวมกับปัญหาที่ประชาชนนำเสนอขึ้นมามีทั้งหมด 13 ปัญหา มาดำเนินการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ให้คะแนนระดับความรุนแรงของปัญหา ขนาดของปัญหา ความยากง่ายในการแก้ปัญหา ร่วมกับการลงประชาคมเพื่อให้คะแนน เป็นไปตามการยอมรับของกลุ่มตัว อย่าง ได้ร่วมกันเลือกปัญหาการไม่ออกกำลังกายที่เกิดขึ้นของชุมชน เมื่อได้ปัญหาแล้วจึง สอบถามถึงสาเหตุการไม่ออกกำลังกายร่วมกัน และหาสาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี จนได้สาเหตุของปัญหาที่แท้จริง พบว่าเกิดจาก ความรู้ และทัศนคติในการออกกำลังกาย ได้แก่ การประกอบอาชีพคือการออกกำลังกาย ร้อยละ 71.40 รองลงมา คือ ขาดทักษะ ในการออกกำลังกายไม่มีเวลาและไม่จำเป็นต้องออกกำลังกาย ร้อยละ 65.50, 64.30 และ 57.10 ตามลำดับ จากกิจกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในการระบุปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอน รวมทั้งเลือกกิจกรรมที่จะทำร่วมกันของชุมชน แต่เนื่องจากความไม่ สะดวกของประชาชนในระยะเวลาจัดเวทีประชาคม ซึ่งเป็นเวลาช่วงเช้า และประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีดยาง ซึ่งเป็น เวลากลับจากการกรีดยาง ต้องรับประทานอาหาร และเป็นเวลาพักผ่อน อีกทั้งมีงานฌาปนกิจศพภายในชุมชน 1.2 การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน จากผลการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการอยู่ในระดับปานกลางจากการศึกษาครั้งนี้ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชน ได้ร่วมกันประชาสัมพันธ์หรือการติดต่อประสานงานในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการออกกำลงกาย การวิเคราะห์ วางแผน และหาแนวทางในการแก้ ไขปัญหา คือเริ่มต้นจากการส่งเสริมให้ประชาชน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการไม่ออกกำลังกายว่าเป็นปัญหาของทุกคนที่ควรจะร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยการเปิดโอกาสให้ชุมชน แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นต่อการแก้ไขปัญหาการไม่ออกกำลังกายในหมู่บ้าน ประชาชนเสนอให้มีการออกกำลังกายเต้นแบบ บาสโลบ เต้นแบบผ้าขาวม้า และการเดิน – วิ่งภายในหมู่บ้าน ออกกำลังกายร่วมกันระหว่างประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน และกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนและพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายและสาธิตวิธีการออกกำลังกาย 1.3 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ จากผลการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์อยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมใน การได้รับผลประโยชน์จากการออกกำลังกาย คือ กลุ่มตัวอย่างได้รูปแบบการออกกำลังกายด้วยเต้นแบบบาสโลบ เต้นแบบ ผ้าขาวม้า และการเดิน – วิ่งภายในหมู่บ้าน ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีร่างกายแข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้รับความรู้จาก การเข้าร่วมการอบรมเรื่องการออกกำลังกาย ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการออกำลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย และ พฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มมากยิ่งขึ้น เช่น ท่านมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็ นหรือ แนวทางการแก้ไข/ปรับปรุง การ ดำเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย

266


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

1.4 ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการประเมินผล จากการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมในการประเมินผลอยู่ในระดับปานกลางในขั้นตอนนี้เป็นการมีส่วนร่วม ระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชน สรุปได้ว่า ประชาชนมีส่วนร่วมประเมินผลพฤติกรรมการออกกำลัง กาย คือ มีการติดตามและกระตุ้นเตือนการออกกำลังกาย โดยมีการประเมินสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง/รอบเอว พร้อมทั้งบันทึกผล และติดตามผลการออกกำลังกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากแบบบันทึกสุขภาพการออกกำลังกาย แบบสอบถาม การออกกำลังกาย และทำการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ร่วมกันเสนอความคิดเห็นปรับเปลี่ยนรูปแบบการออกกำลังกายจาก ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน เปลี่ยนเป็นออกกำลังกายทุกวัน 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลังกายระหว่างก่อนและหลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออก กำลังกาย คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัย สำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.001 เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายการเต้นแบบบาสโลบและผ้าขาวม้า ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิด ประสบการณ์ แสดงความคิดเห็น ร่วมกันอภิปราย และ ได้ออกกำลังกายร่วมกัน ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น เช่น ออกกำลังกายช่วยทำให้ปอดขยายตัวได้ดี และการออกแรงให้ มากขึ้นจากการทำงานต่าง ๆ ตามปกติจะทำให้สุขภาพดีขึ้น เป็นต้น สอดคล้องกับการศึกษาของ สมเด็จ มุ่งวิชา และคณะ (2557) ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายตามวิถีชุมชน บ้านศรีสง่า ตำบลโนนสะอาด อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู ผลการศึกษา ความรู้ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยหลังเสร็จสิ้นโครงการ คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินรูปแบบ การมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการการออกกำลัง กายเต้นแบบบาสโลบ เต้นแบบผ้าขาวม้า และการเดิน – วิ่งภายในหมู่บ้าน ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ กระตุ้นให้ เล็งเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายเช่น คนที่มีสุขภาพที่ดีแล้วไม่จำเป็นต้องออกกำลังกาย หลังจากการเข้าร่วมรูปแบบการมี ส่วนร่วมทำให้กลุ่มตัวอย่างมีความเชื่อว่าคนทุกคนต้องออกกำลังกายถึงแม้ว่าจะสุขภาพดี เป็นต้นสอดคล้องกับการศึกษาของ สุ วัฒนา เกิดม่วง และคณะ (2559) ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบวิถีไทยของ ประชาชนบ้านท่าระหัด จังหวัดสุพรรณบุรีพบว่าทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เพิ่มขึ้นเล็กน้อยหลังเสร็จสิ้นโครงการ คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการออกกำลังกาย หลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการใช้ รูปแบบการมี ส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างมีการร่วมกันการออกกำลังกายการเต้นแบบบาสโลบและการ เต้นแบบผ้าขาวม้าการเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ ทำให้ประชาชนในชุมชนได้เห็นและตระหนักถึงการออกกำลังกายที่ควรจะเกิดขึ้น ส่งผล ให้พฤติกรรมการออกกำลังกายหลังการดำเนินรูปแบบการมีส่วนร่วมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการดำเนินกิจรูปแบบการมีส่วนร่วม เช่น การดำรงชีวิตประจำวันไม่ส่งผลกระทบต่อระยะเวลาในการออกกำลังกาย เป็นต้น สอดคล้องกับการศึกษาของอารี พุ่มประไวทย์ และจรรยา เสียงเสนาะ (2560) ได้ศึกษา การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ หลังการเข้าร่วมโครงการ สูงกว่าก่อน เข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.001

267


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สรุปและข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา 1.1 จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำรูปแบบการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายไป ปรับใช้กับชุมชนอื่นที่มีบริบทใกล้เคียงกัน 1.2 จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากว่าประชาชนที่เข้า ร่วมกิจกรรมมีเวลาว่างไม่ตรงกัน เช่น ติดงานฌาปนกิจศพ การประกอบอาชีพ เป็นต้น ดังนั้นควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ แสดงความคิดเห็น ในการศึกษาครั้งต่อไปควรหาเวลาในการดำเนินที่เหมาะสมกับทุกฝ่าย 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 2.1 การทำวิจัยในครั้งนี้มีข้อจำกัดด้านเวลา เนื่องจากการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วม ซึ่งมุ่งศึกษา กระบวนการพัฒนารูปแบบการมีส่วน จากนั้นนำรูปแบบที่ได้ไปทดลองใช้ และประเมินผลตามการดำเนินกิจ กรรมจึงควรเพิ่ม ระยะเวลาการศึกษาและติดตามผล เพราะการศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลัง กายที่ยั่งยืนนั้นต้องใช้เวลาในการศึกษาระยะยาว มีการติดตามผลเป็นระยะ ๆ เพื่อที่จะทำให้เห็นผลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 2.2 ระดับการมีส่วนร่วมในทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง จึงควรมีการเพิ่มกิจกรรมเพื่อให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมให้มากขึ้น เช่น การดึงผู้นำชุมชนมาเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรม การพัฒนาบุคคลต้นแบบทางด้านสุขภาพ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ผู้นำหมู่บ้าน และประชาชน หมู่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ที่ให้ ความร่วมมือในการมีส่วนร่วมในการทำวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย พ.ศ. 2554 – 2563. (2554). สถานการณ์ความรุนแรของโรควิถีชีวิต. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2561, จาก http://wops.moph.go.th/ops/oic/data/20110316100703_1_.pdf. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559). รายงานประจำปี 2559 กองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สุวัฒนา เกิดม่วง. (2559). การพัฒนารูปแบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบวิถีไทยของประชาชนบ้านท่า ระหัด จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข,13(3), 66-78. สมเด็จ มุ่งวิชา และคณะ. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายตามวิถีชุมชน บ้านศรีสง่า ตำบล โนนสะอาด อำเภอศรีบุญเรืองจังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 17(2), 90-99. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง. (2559). การสนับสนุนให้ประชาชนออกกำลังกาย. สืบค้นเมื่อ วันที่ 22 มกราคม 2562, จาก trang.mots.go.th. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). คู่มือปฏิบัติงานสนามการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 และการ สํารวจกิจกรรมทาง กายของประชากร พ.ศ. 2558. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานสถิติแห่งชาติ. อารี พุ่มประไวทย์ และจรรยา เสียงเสนาะ. (2560). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาพฤติกรรมการสร้างเสริม สุขภาพของ ผู้สูงอายุ. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4(3), 160-175.

268


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ความชุกและความสัมพันธ์ของแบบแผนการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภายหลังการเล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนามาตรการป้องกัน มนัสนันท์ มาทอง หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์และสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Corresponding author E-mail: manutsanunmt@gmail.com บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสบการณ์และความหมายของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชาย 2) เพื่อศึกษาความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย 3) เพื่อศึกษารูปแบบ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย ที่ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อการดื่มหนักในผู้เล่นกี ฬา ฟุตบอล โดยการสัมภาษณ์ผู้เล่นกีฬาจำนวน 7 คน และสุ่มเก็บแบบสอบถามจำนวน 400 ฉบับภายหลังจากการเตะเสร็จ จากสนาม กีฬาฟุตบอลภายในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ผลจากการศึกษาพบว่า ณ ปัจจุบันผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เลือกที่จะดื่มเบียร์เพราะเชื่อว่าเป็นเครื่องดื่มชูกำลังช่วยให้ร่างกายหายจากการเจ็บปวดและช่วยให้ผ่อนคลายจากความตรึงเครียด อีกทั้งช่วยเพิ่มอรรถรสในวงสนทนาแบบฉบับของความเป็นชาย และมีจำหน่ายในสนามกีฬาฟุตบอล ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลส่วนใหญ่ เริ่มดื่มภายหลังจากการเตะเสร็จและดื่มอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าผู้เล่นจะรับรู้ถึงผลเสียของการใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นอย่างดี เกี่ยวกับความเสี่ยงของการเกิดโรคและอุบัติเหตุ แต่ยังคงปรากฏ7พฤติกรรมการดื่มที่ซ้ำๆกัน ซึ่งเป็นสาเหตุของการดื่มหนักอย่าง ต่อเนื่อง ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามที่ดัดแปลงมาจาก Alcohol Use Disorder Identification Test ขององค์กรอนามัยโลกเริ่มต้น เก็บข้อมูลทางประชากรศาสตร์ พบพฤติกรรมการดื่มหนักโดยเฉพาะเมื่อผู้เล่นกีฬาฟุ ตบอลที่มีอายุเพิ่มขึ้น โดยอายุ 36 ปีขึ้นไปมี โอกาสเกิดภาวะการดื่มหนักมากกว่าคนอายุต่ำกว่า 35 ปี 4.0 เท่า (OR = 4.014, 95% CI = 2.018 - 7.986) และพบความชุกของ การดื่มหนักอยู่ที่กลุ่มอายุ 26-35 ปี คิดเป็นร้อยละ 79.20 ขณะที่ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลส่วนใหญ่ให้ข้อมูลที่ตรงกันว่า การดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ภายหลังจากการเตะนั้นเป็นเพียงเครื่องดื่มที่ช่วยดับกระหายและเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสังคมผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เท่านั้น ทัศนคติดังกล่าวทำให้ปริมาณการดื่มเพิ่มขึ้นอย่างไม่รู้ตัว และพบผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยนี้ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิตจากการเมาและขับ แต่กระนั้นผู้เล่นกีฬาฟุตบอลในทีมเดียวกันยังคงใช้ชีวิตกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายหลังจาก การเตะ คำสำคัญ: ผู้เล่นกีฬาฟุตบอล, เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, การดื่มหนัก, แบบแผนพฤติกรรม

269


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Prevalence and Correlates of Alcohol Drinking Patterns after the game Among Male Football Players: Implication for Alcohol Prevention Manutsanun Mathong Master of Arts Program in Social Sciences and Health Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University Corresponding Author E-mail: manutsanunmt@gmail.com ABSTRACT The three objectives of this research are, 1) to study the experience of alcohol drinking among male football players after the game, 2) to study the prevalence of alcohol drinking among male football players after the game, 3) to study the factors and patterns of alcohol drinking among male football players after the game that correlate with “Binge Drinking”. The researcher did in-depth interviews on 7 male football players who drink after the game, and sampled 400 male football players who drink after the game, using a The Alcohol Use Disorder Identification Test questionnaire, adapted from World Health Organization, in Bangkok and its vicinity. The key informants were 18 years old and over. The study found that beer is currently a popular alcoholic drink amongst male football players after the game; because, they believe alcohol helps provide power, relief, and escape from muscle pain and any other suffering. Moreover, it provides a sense of masculinity, which empowers them within their group. Lastly, alcohol can be easily found at the convenience store beside the field, where they can constantly drink. Though they perceive their experience as being both a disease and an accident, they like the pattern of drinking and binge drinking has increased. The two-part questionnaire was used as an overview of the demography. Age was the main factor that correlated with binge drinking with participants who were >36 years old was associated with a 4.0 fold greater risk for binge drinking (95% CI: 2.018 - 7.986). Binge drinking is prevalent amongst 26- 35 year old with percentage of 79. 20 of 145 questionnaires. Finally, I found that the male football players all gave the same answers: that alcohol drinking after the game is viewed as normal drinking that quenches their thirst and lets them be a part of the group. In additional, my key informants had died during the research as a result of a binge drinking accident; however, his friends continue to spend time drinking, which implies the need for Alcohol Prevention for this population KEYWORDS: FOOTBALL PLAYER, ALCOHOL, BINGE DRINKING, PATTERN OF BEHAVIER

270


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ วันเวลาเปลี่ยนผ่าน มิติสังคมเพิ่มพูนขึ้น แนวคิด มุมมองหลากหลายแตกต่างกันจากยุคสู่ยุค พัฒนาการทางสั งคม เทคโนโลยี การสื่อสารที่ล้ำสมัย สร้างค่านิยมของคนหมู่มาก ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่หันมาสนใจสิ่งเดียวกัน เช่น เทรนด์การรักสุขภาพ อย่างกลุ่มกีฬายอดนิยม “กีฬาฟุตบอล” ที่เข้าถึงทุกเพศ ทุกวัย กระนั้นการรวมกลุ่มย่อมก่อให้เกิดการสังสรรค์ เพื่อผ่อนคลาย เพื่อ ความสนุกสนาน จากความตรึงเครียดของวันที่ผ่านมา เมื่อค่านิยมแผ่ขยายเป็นวงกว้าง ย่อมเกิดการแทรกแทรงของกลุ่มธุรกิจเพื่อ การโฆษณา กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มจึงเป็นหัวใจสำคัญของกลุ่มผู้เล่นกีฬา เพื่อจะได้ใช้เป็นจุดศูนย์กลางเวลาอยู่ร่วมกันฉันเพื่อนในเพศ เดียวกันมากขึ้น สังคมไทยปัจจุบันเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่สร้างรายได้มหาศาล ความชุกของการดื่มเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์ในประเทศไทยแผ่ขยายออกเป็นวงกว้าง แบบแผนพฤติกกรรมของการดื่มเปรียบเสมือนวัฒนธรรมที่ถูกหล่อหลอมและ สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ความเชื่อ ทัศนคติ การให้ความหมาย ฝังรากลึกในสังคมไทยให้ใช้ชีวิตกับการดื่มเสมือนเป็นกิจวัตร ประจำวัน แม้กระทั้งผู้เล่นกีฬาที่กลายมาเป็นกลุ่มเสี่ยงมากที่สุดในสังคมปัจจุบัน ข้อมูลจากองค์กรอนามัยโลกชี้ว่า ความซับซ้อน ของสังคมและวัฒนธรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มียาวนานมากว่าพันปียังคงเป็ นสิ่งที่ยากจะเข้าใจและยับยั้งได้ ข้อมูล ดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่สามารถนำมาอภิปรายได้กับปรากฏการณ์การดื่มหนักของสังคมที่เกิดขึ้น ณ เวลานี้ การใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผู้รักสุขภาพอย่างผู้เล่นกีฬาฟุตบอลมีอิทธิพลต่อกลุ่มสังคมอย่างกว้างขวางต่อ ปริมาณการดื่มหนักที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนนักศึกษา กลุ่มแรงงาน และกลุ่มผู้สูงวัยที่กำลังมีเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าองค์กรส่วนใหญ่พยายามชี้ให้เห็นว่าการเลือกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นเป็นทางเลือกที่ผิด ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ขนาดใหญ่ แต่ปริมาณการดื่มนั้นไม่ได้ลดลง กับตรงกันข้าม ปริมาณการดื่มหนักกลับเพิ่มมาขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ปรากฏการณ์ ดังกล่าว ทำให้กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานต่างๆ ของแต่ละประเทศออกมาตรการกำหนดปริมาณการดื่มที่เหมาะสม เพื่อ ลดความเสี่ยงจากการดื่ม (Hazardous Drinking) เช่น ประเทศไทยกำหนดปริมาณการดื่มที่เหมาะสมคือ 10 กรัม เพศชายไม่ควร ดื่มเกิน 2 ดื่มมาตรฐานต่อวัน เพศหญิงไม่ควรดื่มเกิน 1 ดื่มมาตรฐานต่อวัน ขณะที่นักสังคมวิทยาและนักระบาดวิทยาได้ อธิบายไว้ ว่า แบบแผนของการดื่มหนัก หรือ Binge Drinking นั้นขึ้นอยู่กับ “โอกาส” ในการดื่มแต่ละครั้งบวกกับขนาดและความเข้มข้นของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ องค์การอนามัยโลกจึงกำหนดปริมาณการดื่มที่เหมาะสมตามมาตรฐานเป็นปริมาณการดื่มที่ไม่ทำให้เกิดโทษ ต่อร่างกาย กำหนดให้ 1 ดื่มมาตรฐาน เท่ากับ แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 14 กรัม(12 ออนซ์) หรือเบียร์ปริมาณดีกรี 5% (ALC 5.0 VOL) โดยมีสูตรการคำนวณปริมาณการดื่มมาตรฐาน ดังนี้ ดื่มมาตรฐาน =

ดีกรีหรือความเข้มข้นของแอลกอฮอล์(AVB) X ปริมาณของเครื่องดืม่ (ml) 1,000

ด้วยเหตุนี้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จึงถูกจัดให้เป็นสารเสพติดที่ถูกกฎหมาย หาซื้อได้ง่าย เข้าถึงทุกเพศ ทุกวัย ทำให้ ประเทศไทยนั้นประสบปัญหาประชากรกับการใช้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนักมาเป็นระยะเวลานาน แต่ประเทศไทยก็มิได้นิ่ง นอนใจต่อการเร่งแก้ไขปัญหาดังกล่าว หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ จึงเร่งช่วยกันแก้ไขสถานการณ์ ทั้งสนับสนุนด้านการเล่นกีฬา การรณรงค์เพื่อลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ หรือ สสส. การออก พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปี 2551 รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณมหาศาล เพื่อหวังเปลี่ยนแปลงสังคมนักดื่ม ถึงแม้ผลที่ได้รับ

271


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

จะพบว่า ปริมาณผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะลดลงบางส่ วน แต่กระแสข่าวในสังคมกลับสวนทาง เมื่อยังพบปัญหาที่เกิดขึ้นจาก กลุ่มผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างต่อเนื่องตามกระแสข่าวของสังคม สภาวะดังกล่าวบ่งชี้ว่าปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างหนัก (Binge Drinking) ยังคงอยู่คู่สังคมไทย ไม่ต่างจากนานาประเทศทั่วโลกที่มีวัฒนธรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาช้า นาน “เครื่องดื่มแอลกอฮอล์” จึงเป็นกลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มยอดนิยมที่น่าจับตามองสำหรับกลุ่มผู้บริโภคอย่างผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เพราะยังมีกลุ่มผู้เล่นกีฬาบางส่วนมีความเชื่อที่ว่าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “ช่วยให้ผ่อนคลายจากความเหน็ดเหนื่อย อ่อนล้า และ อาการบาดเจ็บ” “เบียร์” จึงเป็นเครื่องดื่มที่นิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย จะเห็นได้จากการจำหน่ายใน สนามกีฬา ผู้วิจัยจึงเห็นว่าผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเป็นกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มต้นแบบของผู้รักสุขภาพระดั บต้นๆ ที่ดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์อย่างหนัก เป็นปรากฏการณ์ที่สังคมไทยควรเฝ้าระวัง เพราะพฤติกรรมกลุ่มตัวอย่างมีอิทธิพลต่อสังคม เป็นจุดเริ่มต้น ของความสัมพันธ์ของคนหมู่มากที่ยากต่อการควบคุม จากการศึกษางานวิจัยของ ดร. เคอร์รี่ โอบราวน์ ชี้ให้เห็นว่าสถานการณ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นในกลุ่มผู้เล่น กีฬานั้นเกิดจากเหตุปัจจัยทางสังคมมากมาย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สนับสนุนจากอุตสาหกรรมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีอิทธิพลต่อการ ดื่มของผู้เล่นกีฬาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอิทธิพลทางด้านความรู้สึกที่ทำให้ผู้เล่นกีฬาอยากตอบแทนแบรนด์ที่สนับสนุนทีมของตน เกิดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับผู้เล่นกีฬา เมื่อใดที่กล่าวถึงผู้เล่นกีฬามักจะคิดถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ด้ว ย เช่นกัน ผลจากการโฆษณาโดยใช้ผู้เล่นกีฬาเป็นสื่อจึงประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก ผู้วิจัยจึงคิดว่างานการศึกษาเกี่ยวกับเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ยังคงเป็นประเด็นที่น่าสนใจ ที่สังคมควรตระหนัก การศึกษาแบบแผนพฤติกรรมเฉพาะกลุ่มยังขาดแคลนการศึกษาเรือ่ ง การดื่มในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย การศึกษาดังกล่าวจึงเกิดขึ้น เพื่อทำให้เข้าใจความคิด ทัศนคติ การให้ความหมาย ระดับปัจเจกบุค คลและกลุ่มสังคมที่มีความซับซ้อน ตลอดจนปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนักในกลุ่มผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชาย ด้วยหลักการและเหตุผลที่ว่า หากสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผูด้ ูแลสุขภาพ ลงได้และกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงเป็นที่ประจักษ์ งานวิจัยนี้จะมีอิทธิพลต่อการลดปัญหาการดื่มหนัก (Binge Drinking) ของกลุ่มเป้าหมายอื่นและให้องค์ความรู้ใหม่กับนักวิจัยต่อไป กรอบแนวคิดการวิจัย ปัจจัยทางประชากร อายุ, การศึกษา, อาชีพ, รายได้, ศาสนา, ที่พักอาศัย, สุขภาพ, สถานภาพทางสังคม, การเลือกดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, ทัศนคติ

การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างหนัก

ปัจจัยทางสังคม การให้ความหมาย, วิถีชีวิต

272


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

วัตถุและวิธีการ งานวิจัย ชิ้น นี้ ใ ช้ แ บบผสมผสาน แสดงข้อเท็จจริงของผู้เล่น กีฬ าฟุตบอลเพศชาย แบบตัดขวาง (Cross sectional research) โดยการเก็ บ ข้ อ มู ล แบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้ แ บบสอบถาม The Alcohol Use Disorders Identification Test หรือ AUDIT ตามแบบฉบับของ WHO: World Health Organization พื้นที่ในการศึกษา ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล กำหนดกรอบพื้นที่เฉพาะสนามฟุตบอลทั่วไปที่มีการแข่งขันสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง กลุ่มประชากรตัวอย่างและวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง มุ่งเน้นศึกษากลุ่มประชากรแบบเฉพาะเจาะจงในกลุ่มผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชายที่มีทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลและเข้าร่วมการแข่งขันในทุกกิจกรรมทางสังคม กำหนดตั้งแต่ช่วงอายุ 18 ปีขึ้นไป เก็บข้อมูลงานวิจัยเชิงคุณภาพ แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 7 คน จากการสุ่มเก็บแบบสอบถาม จำนวน 400 คนจากการสมัครเข้า ร่วมเป็นสมาชิกของสนามฟุตบอลและจำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในแต่ละรายการ การคัดเลือกกลุ่มประชากร การวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มประชากรตัวอย่างจำนวน 7 คน กำหนดเพศชายที่เป็นผู้เล่นกีฬาฟุตบอล อยู่ในช่วงอายุ ตั้งแต่ 18-24 จำนวน 3 คน และอยู่ในช่วงอายุ 25 ปีขึ้นไป จำนวน 4 คน ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลทั้งหมดต้องมีประวัติการเล่นกีฬา ฟุตบอลอย่างน้อย 1–2 ครั้งต่อสัปดาห์ และมีประวัติการใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายหลังจากการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างน้อย 1-2 ครั้งต่อการเล่นในหนึ่งสัปดาห์ งานการวิจัยเชิงปริมาณ กำหนดเพศชาย ที่เป็นผู้เล่นกีฬาฟุตบอลในเขตกรุงเทพและปริมณฑล มี ประวัติการเล่นกีฬาฟุตบอลอย่างน้อย 1-2 ครั้งในหนึ่งสัปดาห์ คุณสมบัติที่คัดออกจากการเป็นกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้เล่นกีฬาฟุตบอล แต่ไม่มีทักษะในการแข่งขันกีฬาฟุตบอล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ เริ่มเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรอย่างมีสว่ นร่วม เป็นการเก็บข้อมูลเบื้องต้น โดยใช้วิธี การศึกษาจากบุคคลใกล้ชิด การสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์อย่างเจาะลึก เพื่อคัดเลือกกลุ่มประชากรแบบเจาะจง ตามจำนวนที่ กำหนด และเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เป็นการตั้งคำถามเพื่อจุดประเด็นการสนทนาและซักถาม พร้อมทั้งขออนุญาต บันทึกเสียง จนกระทั้งถึงจุดอิ่มตัวที่เป็นข้อเท็จจริงต่อการศึกษาแบบแผนพฤติกรรมการดื่มของกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย การเก็บรวบรวมข้อมูลและออกแบบเครื่องมือเชิงปริมาณ เลือกเก็บผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายจำนวน 400 คน ตามจำนวนแบบสอบถามที่กำหนด โดยวิธีการกระจายแบบสอบถาม ตามจำนวนผู้ช่วยวิจัย 16 คน ซึ่งเป็นกลุ่มทีมผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายที่มีความเหมาะสมทั้งวัยวุฒิและคุณวุฒิ ผ่านการฝึกอบรม วิธีการเก็บข้อมูลตามผู้วิจัยกำหนด แบบสอบถามประกอบด้วยชุด A - E จำนวนชุดละ 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบสอบถาม ผู้วิจัยเลือกใช้แบบสอบถาม The Alcohol Use Disorders Identification Test หรือ AUDIT ที่ผ่านการวัดความเที่ยงตรงของ World Health Organization เพื่อใช้คัดกรองกลุ่มผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก เกินไปและมีเวลาจำกัดต่อการประเมิน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ศาสนา ที่พักอาศัย สุขภาพ สถานภาพทางสังคม การเลือก เครื่องดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทัศนคติต่อการดื่ม ส่วนที่ 2 แบบสอบถาม The Alcohol Use Disorders Identification Test หรือ AUDIT

273


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

แบบสอบถามงานวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง จากการเก็บรวมรวม ข้อมูลเชิงชาติพันธุ์วรรณนาประกอบกับการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณมาอ้างอิงข้อเท็จจริงจากค่าร้อยละของการดื่ม และการ วิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิภาค (Logistic Regression) ที่ใช้ระดับความเชื่อมั่นที่ P = 0.05 นำมาแจกแจงความถี่ของตัวแปรกับ กลุ่มประชากร และนำมาทำนายความหน้าจะเป็นของการดื่มในอนาคต โดยตัวแปรตามของการศึกษาที่ถูกกำหนดไว้ คือ ปริมาณ ของการดื่มหนัก (Binge Drinking) และตัวแปรต้นของการศึกษาตามกรอบแนวคิด ผลการศึกษา ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาตรฐานกับคุณลักษณะทั่วไปของผู้เล่นกีฬาฟุตบอล พบว่าคุณลักษณะ ด้านอายุ กลุ่มผู้เล่นอายุ 26 – 35 ปี จัดเป็นกลุ่มอายุที่มีปริมาณการดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานหรือมากกว่านั้นถึงร้อยละ 79.2(145) จากผู้ดื่ม ทั้งหมด 297 คน ซึ่งกลุ่มอายุดังกล่าวจัดเป็นกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลมากที่สุดและเป็นกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่กำลังจะก้าวเข้าสู่วัย ผู้ใหญ่ กลุ่มผู้ดื่มดังกล่าว จึงควรจัดเป็นกลุ่มวัยที่ควรเฝ้าระวังจากพฤติกรรมการดื่มหนักที่จะส่งผลถึงอนาคตต่อปริมาณผู้สูงวัยที่ เสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนักในอนาคต คุณลักษณะทางด้านสถานภาพ พบว่ากลุ่มผู้ไม่สมรสจะพบมากในปริมาณการดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานหรือมากกว่านั้น ร้อยละ 77.4(222) เมื่อเทียบกับกลุ่มผู้สมรส คุณลักษณะทางด้านรายได้ พบว่ารายได้ของผู้เล่น กีฬาฟุตบอลเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้กลุ่มผู้เล่นมีแรงจูงใจที่จะอยู่ต่อภายหลังจากการเตะฟุตบอลแล้วเสร็จ ปริมาณการดื่มหนักจะ พบว่าทุกกลุ่มรายได้มีปริมาณการดื่มที่เกินกว่ามาตรฐาน เกินร้อยละ 70 ทุกกลุ่ม คุณลักษณะทางด้านการศึกษาพบว่ากลุ่มผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชายที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จะพบปริมาณการดื่มมาตรฐานและมากกว่า 5 ดื่มมาตรฐานเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ขึ้นไปจากผู้ดื่มทั้งหมด 297 คน คุณลักษณะทางด้านโรคประจำตัว จากการเก็บข้อมูลจะพบว่าผู้เล่นกีฬาฟุตบอลส่วนใหญ่จัดเป็น กลุ่มผู้มีสุขภาพดี ไม่มีโรคประจำตัว จะพบปริมาณการดื่มน้อยกว่ากลุ่มผู้มีโรคประจำตัวอย่างเห็นได้ชัด การดื่มในปริมาณมาตรฐาน และการดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานหรือมากกว่านั้นจึงพบได้สูงสุดในกลุ่มผูม้ ีโรคประจำตัว คุณลักษณะทางด้านอาชีพ เป็นที่น่าตกใจไม่นอ้ ย เมื่อพบกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่ประกอบอาชีพราชการ/รัฐวิสาหกิจ จัดเป็นกลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากถึง ร้อยละ 90.90 อีกทั้งยังจัดเป็นกลุ่มอาชีพที่ดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานมากที่สุด คุณลักษณะทางด้านศาสนา จากการเก็บแบบสำรวจพบผู้เล่นกีฬาฟุตบอล นับถือศาสนาคริสต์เพียงเล็กน้อย แต่พบปริมาณการดื่มมาตรฐานสูงสุดถึงร้อ ยละ 92.9(26) จากผู้ดื่มทั้งหมด 307 คน และการดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานหรือมากกว่านั้น ร้อยละ 89.3(25) จากผู้ดื่มทั้งหมด 297 คน ถึงแม้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะนับถือศาสนา พุทธก็ตาม และเป็นที่น่าตกใจว่าผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่นับถือศาสนาอิสลามปรากฎการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ด้วยเช่นกัน ถึงแม้การ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะเป็นสิ่งต้องห้ามตามหลักศาสนาก็ตาม7 คุณลักษณะทางด้านที่พักอาศัย ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่พักอาศัยอยู่ คอนโด/อพาร์ทเม้นจะพบการดื่มมาตรฐานและการดื่ม 5 ดื่มมาตรฐานหรือมากกว่านั้นสูงสุดกว่าผู้พักอาศัยแหล่งอื่น ๆ 2. ความชุกกับปริมาณการดื่มหนัก “Binge Drinking” ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าคุณลักษณะพื้นฐานมีส่ วน สำคัญในการวิเคราะห์ความถี่ของปริมาณการดื่มหนัก ณ ปัจจุบันและในอนาคต การศึกษา จะพบกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่ประกอบ อาชีพรับจ้าง/บริษัทเอกชนมีการดื่มแบบเสี่ยงมากที่สุดถึง ร้อยละ 69.3(201) ผู้ดื่มส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มสถานะไม่สมรส คิดเป็น ร้ อ ยละ 74.4(230) ระดั บ การศึ ก ษาอยู ่ ท ี ่ ป ริ ญ ญาตรี ร้ อ ยละ 56.7(178) รายได้ ร ะหว่ า ง 15,001 – 30,000 บาท ร้ อ ยละ 55.8(134) และพักอาศัยอยู่ในบ้านของตนเองเป็นส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.5(192) อย่างไรก็ตามปัจจัยดังกล่าวไม่มีผลต่อปริมาณการ

274


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ดื่มหนักของนักกีฬาฟุตบอล ยกเว้นปัจจัยในเรื่องของอายุ พบว่า ความชุกของการดื่มหนักนั้นมีผลต่อช่วงอายุอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ แต่จะไม่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยอื่นอาจเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดการดื่มหนัก ตารางที่ 1 คุณลักษณะทางประชากรศาสตร์กับการดื่มเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ (*) ข้อมูลประชากร อายุ 18 - 25 26 - 35 36 ปีขึ้นไป

Alcohol Use* ไม่ดื่ม (n, %) ดื่ม (n, %)

รวม

38(44.2%) 27(31.4%) 21(24.4%) 86(100.0%)

รวม

60(69.8%) 26(30.2%) 86(100.0%)

230(74.4%) 79(25.6%) 309(100.0%)

38(44.7%) 40(47.1%) 7(8.2%) 85(100.0%)

108(34.4%) 178(56.7%) 28(8.9%) 314(100.0%)

สถานภาพ ไม่สมรส สมรส การศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี รวม รายได้ ต่ำกว่า 15,000 15,001 - 30,000 สูงกว่า 30,000 รวม โรคประจำตัว ไม่มี มี รวม อาชีพ รับจ้าง/บริษัทเอกชน ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ อื่นๆ รวม

122(39.0%) 160(51.1%) 31(9.9%) 313(100.0%)

2

p-value

16.961a

.000

.751a

.386

3.114a

.211

22(34.4%) 34(53.1%) 8(12.5%) 64(100.0%)

72(30.0%) 134(55.8%) 34(14.2%) 240(100.0%)

.481a

.786

79(95.2%) 4(4.8%) 83(100.0%)

293(96.7%) 10(3.3%) 303(100.0%)

.430a

.512

59(71.1%) 9(10.8%) 15(18.1%) 83(100.0%)

201(69.3%) 36(12.4%) 53(18.3%) 290(100.0%)

.163a

.922

275


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

ข้อมูลประชากร ศาสนา คริสต์ พุทธ อิสลาม ไม่ระบุ

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Alcohol Use* ไม่ดื่ม (n, %) ดื่ม (n, %)

รวม

6(7.0%) 65(75.6%) 13(15.1%) 2(2.3%) 86(100.0%)

22(7.0%) 246(78.3%) 31(9.9%) 15(4.8%) 314(100.0%)

ที่พักอาศัย บ้านของตนเอง บ้านเช่า คอนโด/อพาร์ทเม้น รวม

60(69.8%) 10(11.6%) 16(18.6%) 86(100.0%)

192(61.5%) 34(10.9%) 86(27.6%) 312(100.0%)

2

p-value

2.708a

.439

2.865a

.239

*AUDIT SCORE เท่ากับและมากกว่า 8 คะแนนขึ้นไป มิติความสัมพันธ์ของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย ผลจากการศึกษาความชุกของการ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ตารางที่1) ผู้วิจัยได้นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ขั้นสอง เพื่อหาความน่าจะเป็นของการดื่มหนัก “Binge Drinking” ในอนาคต โดยใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยลอจิสติด (Logistic Regression) เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร ผู้วิจัยใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอดแบบ Binary Logistic Regression เพื่อทำนายตัวแปรตาม (Dependent Variable) กับตัว แปรอิสระ (Independent Variable) หาค่าความสัมพันธ์ Adjusted Odd Ratios ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลจากการวิเคราะห์ พบว่าผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายกลุ่มอายุ 18 – 25 ปี และ 36 ปีขึ้น มีความสัมพันธ์ต่อการดื่มหนักของผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P < 0.05 หรือความเสี่ยงที่ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายกลุ่มอายุ 18 – 25 ปี และ 36 ปีขึ้นไปมีโอกาส ของการดื่มหนักที่ 100% ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายกลุ่มอายุ 26 – 35 ปีขึ้น มีความสัมพันธ์ต่อการดื่มหนักของผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P < 0.05 หรือ มีค่า Odd Ratios เท่ากับ 2.175 ( 95% C.I for Odd Ratios) นัยว่าผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชายกลุ่มอายุ 26 – 35 ปี มีโอกาสของการดื่มหนักในอนาคตที่ค่าเท่ากับ 2.175 ค่าความเชื่อมั่นที่ 95% (ตารางที่3) และผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย 36 ปีขึ้นไปมีโอกาสของการดื่มหนักในอนาคตที่ค่าเท่ากับ 4.014 ค่าความเชื่อมั่นที่ 95% (ตารางที่ 2)

276


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตาราง 2 การวิเคราะห์ Binary Logistic Regression เพื่อทำนายการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์* ข้อมูลประชากร

OR

95% CI

อายุ 18 - 25 26 - 35 2.175 1.121 - 4.220 36 ปีขึ้นไป 4.014 2.018 - 7.986 สถานภาพ ไม่สมรส 1.446 0.689 - 3.032 สมรส การศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี .309 0.76 - 1.251 สูงกว่าปริญญาตรี .676 0.192 - 2.371 รายได้ ต่ำกว่า 15,000 15,001 - 30,000 .670 0.177 - 2.536 สูงกว่า 30,000 .647 0.214 - 1.955 โรคประจำตัว ไม่มี 1.264 0.280 - 5.702 มี อาชีพ รับจ้าง/บริษัทเอกชน ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 1.94 0.810 - 4.650 อื่นๆ 1.207 0.378 - 3.855 อาชีพ รับจ้าง/บริษัทเอกชน ศาสนา คริสต์ 1.288 0.331 - 5.009 พุทธ อิสลาม 2.439 0.767 - 7.753 ไม่ระบุ ที่พักอาศัย บ้านของตนเอง บ้านเช่า .671 0.301 - 1.499 คอนโด/อพาร์ทเม้น 1.229 0.341 - 4.421 a. Variable(s) entered on step 1: Age1, Status1, EDU, Salary1, DISEASE, Occupation, Religion, Habitation

p-value .000 .022 .000 .329

.136 .100 .540 .743 .556 .441 .761

.255 .137 .751 .255 .715 .156 .131

.388 .331 .753

277


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

นอกจากนี้ผู้วิจัยยังพบว่าทัศนคติ ความเชื่อ ประสบการณ์ วิถีชีวิตของผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย และความสัมพันธ์ ใน กลุ่มสังคมเพื่อน มีความสัมพันธ์อย่างมากต่อปริมาณการดื่มหนัก เช่นคำกล่าวว่า “ในกลุ่มนักฟุตบอล เตะบอลชนะก็ดื่ม ได้เงินอัด ฉีกจากการเล่นมาก็ดื่มจัดสักหน่อย เลือกดื่มเพราะมันเย็นๆ” (คุณซาลาห์, อายุ ไม่ระบุ, สัมภาษณ์เชิงลึก) และคำกล่าวที่ว่า “จุดเริ่มต้นของการดื่ม ได้รวมกลุ่มกับเพื่อนในวัยเรียน อยากกิน แล้วดื่ม ให้มันเมา ต้องการให้คนอื่นเห็นว่าเราโตแล้ว เริ่มดื่มมาก เพราะพบปะกันมากขึ้น เจอหน้าก็ชวนกันกินดื่มกัน ดื่มแบบปกติ รวมตัวกันดื่ม ดื่มแถวบ้าน สนามบอลที่เตะ เล็กน้อย อยู่ที่ว่าเรา จะเลือกดื่มอะไร เครื่องดื่มแอลกอฮลล์ช่วยบรรเทาความเครียด ลืมสิ่งที่เครียดได้” (คุณลิเวอร์, อายุ 25 ปี, สัมภาษณ์เชิงลึก) จะเห็นว่าคำกล่าวข้างต้นทำให้ทราบว่า นอกจากอายุของผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายแล้ว ตัวแปรทางด้านสังคมยังเป็น จุดเริ่มต้นของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตลอดจนการดื่มหนัก โดยเริ่มจากกลุ่มเพื่อนที่เป็นกลุ่มสังคมเดียวกัน มีทัศนคติ ความ เชื่อ วิถีชีวิตที่คลายคลึง นอกจากนี้ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลยังให้ความหมายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เปลี่ยนไปเมื่อมีประสบการณ์มาก ขึ้น คือ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากเป็นตัวแทนของความเป็นชาย ที่น่ายำเกรงแล้ว เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังหมายถึง เครื่องดื่มชูกำลัง แก้ดับกระหาย ช่วยผ่อนคลายความเครียด กล้าแสดงออกมากขึ้น และเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่ตนอยากอยู่ ร่วมด้วยนานๆ จะเห็นว่าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นมีความสัมพันธ์ต่อทุกช่วงอายุของผู้เล่นกีฬาฟุตบอล และการให้ความหมายของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นจะแตกต่างกันไปตามช่วงอายุเมื่อเติบโตขึ้นและประสบการณ์ การให้ความหมายทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป แบบแผนพฤติกรรมการดื่มและรูปแบบของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายหลังการเล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย พบว่ากลุ่ม ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายมีแบบแผนพฤติกรรมการดื่มที่ชัดเจน ใช้เวลาภายหลังจากการเล่นกีฬาฟุตบอล เลือกซื้อเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ประเภท เบียร์ และสุรา เนื่องจากราคาถูก หาซื้อง่ายหลังการเตะ มีจำหน่ายในสนามฟุตบอล เมื่อมีการดื่มเกิดขึ้น อีก คนในกลุ่มจะดื่มตาม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทำให้อรรถรสของการสนทนาภาษาเดียวกัน มีความสนุกสนานฉันเพื่อน ในกลุ่มของเพศ ชาย และจะมีปริมาณการดื่มหนักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างมิอาจคาดเดาใด ผู้วิจัยใช้การสำรวจแบบคนใน เข้าไปมีส่วนร่วมในวงสนทนา เป็นครั้งคราว เป็นระยะเวลาหลายเดือน ทำให้พบว่า ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลจะมีพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายหลังจาก การเล่นแบบเดิมทุกๆ ครั้ง แต่มีความแตกต่างกันในปริมาณของการดื่มแต่ละครั้ง โดยเฉพาะช่วงเวลาภายในสนามกี ฬาฟุตบอลที่มี ซุ้มโฆษณาพร้อมพนักงานขายสาวสวยวัยรุ่น หรือที่เรียกว่า พริตตี้ คอยเชียร์ และชักชวนให้ดื่ม มีคำกล่าวมากมายของผู้ให้ข้อมูลที่ ทำให้การศึกษานี้มีข้อมูลสนับสนุนเกี่ยวกับความชุกของการดื่มมหนักในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอล รูปแบบของการดื่มที่เป็นไปอย่าง ช้าๆ แต่หนักแน่นไปด้วยปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นอย่างมีแบบแผน รวมถึงองค์ประกอบอื่นที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น เงินรางวัลที่ได้ จากการแข่งขันทำให้มีงบประมาณในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากขึ้น การดื่มในปริมาณมากทำให้เกิดอุบัติเหตุระหว่างทางกลับ บ้าน จากเคลสของผู้เล่นกีฬาฟุตบอลท่านหนึ่ง ที่ประสบอุบัติเหตุรถมอเตอร์ไซต์ถึงขั้นเสียชีวิต จากอาการการเมาสุราอย่างไรก็ตาม กลุ่มเพื่อนยังคงปรากฏการดื่มหนักอย่างต่อเนื่องกลายเป็นแบบแผนพฤติกรรมที่ทำต่อๆกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ความชุกของการดื่มหนัก จึงเกิดขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจนในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอล ณ ปัจจุบัน อภิปรายผล ผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันเป็นอย่างมาก คือ กีฬาฟุตบอลเป็นที่นิยมมาในสังคมปัจจุบัน เช่นเดียวกับปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ปรากฏเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะมีนโยบายเพื่อลดปริมาณการดื่มหนักโดยใช้ กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือการรณรงค์เพื่อลดการดื่มแต่ความชุกกับปริมาณการดื่มหนักในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เพศชายยังคงมีอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน จากข้อมูลทางสถิติจะพบว่าปัจจัยทางด้านอายุมีผลต่อความสัมพันธ์ของการดื่มหนัก ของ

278


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

กลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายที่เห็นได้ชัดเจนกว่าปัจจัยด้านอื่น อายุมีความสัมพันธ์กับปริมาณการดื่มหนักอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ที่ P < 0.05 หรือ กลุ่มอายุที่มากขึ้นมีความเสี่ยงต่อการดื่มหนักที่มากขึ้นในอนาคต ซึ่ง อาจมีผลจากปัจจัยร่วมอื่นๆร่วมด้วย เช่น สถาภาพทางสังคม การศึกษา โรคประจำตัว รายได้ของผู้เล่นกีฬาฟุตบอล ศาสนา ที่พักอาศัย อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์ ทำให้พบว่าผู้เล่นกีฬาฟุตบอลล้วนมีประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาตัง้ แต่วัยเรียนเมือ่ เขาเหล่านี้โตขึ้น แบบแผนการใช้ ชีวิตเปลี่ยนแปลงไป กลับกลายเป็นกลุ่มผู้รักสุขภาพที่ยังคงเลือกดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมดังกล่าวจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ พวกเขาเกิดการเสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้น และกลับกลายเป็นกลุ่มผู้ดื่มหนักในอนาคตได้ด้วยเช่นกัน จากการ อภิปรายข้างต้นพบเพียงงานวิจัยของ ดร. เคอร์รี่ โอบราวน์ ที่ทำการวิจัยในกลุ่มนักฟุตบอลประเทศนิวซีแลนด์ ที่ว่าการดื่มของนัก ฟุตบอลนั้นเกิดจากจิตสำนึกที่อยากตอบแทนกลุ่มผู้สนับสนุนทีมของตน อย่างไรก็ตามยังขาดงานการวิจัยในประเทศไทย ที่จะ ศึกษาอย่างแท้จริงในกลุ่มผู้รักสุขภาพที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งถือเป็นกลุ่มต้นแบบที่อาจทำให้เกิดกลุ่มนักดื่มหน้าใหม่ใน ทุก เพศ ทุกวัย จากกระแสนิยมของกีฬาฟุตบอล ณ ปัจจุบัน สรุปผลการศึกษา ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายมีประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มแลกอฮอล์ตั้งแต่วัยเรียนจากการถูกชักชวน อยากทดลอง และ ความเชื่อที่ว่าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะทำให้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เมื่อเติมโตขึ้นการให้ความหมายอาจเปลี่ยนแปลงไป แต่ปริมาณ การใช้เครื่องดื่มแลกอฮอล์กลับเพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความชุกของการดื่มในกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวจึงมีความสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่ม มากขึ้น อันเป็นผลจากแบบแผนพฤติกรรมและรูปแบบของการดื่มที่ทำต่อๆกันมาอย่างยาวนาน ข้อเสนอแนะ รัฐบาลไทยควรมีมาตรการทางกฎหมายที่เข้มงวดเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกินกว่า มาตรฐานในผู้ ที่เคยกระทำความผิดเกินกว่า 1 ครั้งขึ้นไป ควรมีการจัดเก็บภาษีป้ายโฆษณาเครื่องดื่มสุราและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ตามสถานที่ ต่างๆเพิ่มขึ้น หรืองดการขึ้นป้าย การโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกช่องทาง ควรให้การรักษาฟรีต่อผู้ติดสิ่งเสพติดทุกชนิดรวมถึงผู้ เสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลทุกท่านรวมถึงผู้จากไปอย่างไม่มีวันกลับ และขอขอบคุณอาจารย์ที่ปรึกษาทุกท่านที่ทำให้ งานวิจัย ชิ้นนี้บรรลุผลสำเร็จเป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง 1. บทลงโทษของการเสพสุรา.[ออนไลน์]. เข้าถึง เมื่อ 20 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก http://www.islammore.com/view/2212 2. พระราชบัญญัติ ความคุมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551.[ออนไลน์]. เข้าถึง เมื่อ 10 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก http://old.ddc.moph.go.th/law/showimg5.php?id=77 3. รัชณัน ชินกุลกิจนิวัฒน์ และปัณฑิณี ตัณฑ์ศรีสุวรรณ. (2555). การบำบัดรักษาและวิธีการเลิกดื่ม แอลกอฮอล์. เข้าถึงได้จาก http://www.thaiantialcohol.com/l_l.m 4. ALCOHOL UNITS ดื่มมาตรฐาน – หน่วยอ้างอิงของปริมาณการดืม่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์.[ออนไลน์]. เข้าถึง เมื่อ 20 มิถุนายน 2562. สืบค้นจาก https://www.honestdocs.co/alcohol-units

279


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

5. 6.

7. 8.

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ICAP Blue Book: Practical Guides for Alcohol Policy and Targeted Interventions. Executive Summary. Washington, DC: International Center for Alcohol Policies; 2005 Kerry S. O’Brien.(2011).POLICY AND PREVENTION: Alcohol Industry and Non-Alcohol Industry Sponsorship of Sportspeople and Drinking: School of Political and Social Inquiry, Monash University.Vol.46(2).pp.210213. R.W Connell. (2005). Masculinities Second Edition: Relation among Masculinities: Hegemony, Subordination, Complicity, Marginalization The ICAP Blue Book: Practical Guides for Alcohol Policy and Prevention Approaches.(2011).“ Binge” Drinking

280


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ผลของโปรแกรมการส่ ง เสริ ม ความรอบรู้ ด้ า นสุ ข ภาพในการป้ อ งกั น โรคพิ ษ สุ นั ข บ้ า ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา โรงเรี ย นนามนพิ ท ยาคม อำเภอนามน จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ จริยา ลาเลิศ1, เจนจิรา ผลผาด1, ปวีณา วงศรีลา1 , นิตยา แสงประจักษ์2 1 นักศึกษาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2 อาจารย์ประจำสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ บทคัดย่อ บทนำ : ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าปีละกว่า 59,000 รายต่อปี ซึ่งส่วนมากมาจากการ ถูกสุนัขกัด และจำนวนคนที่ฉีดวัคซีนหลังถูกสุนัขกัดมีมากถึง 15 ล้านครั้งต่อปี ส่วนใหญ่ในทวีปเอเชียและแอฟริกา (องค์การ อนามัยโลก, 2562) ประเทศไทยโรคพิษสุนัขบ้ ายังคงเป็นโรคที่ต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากในระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยยังคงพบผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้ามาตลอด จากข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ. 2556 จนถึง พ.ศ. 2561 พบจำนวนผู้ป่วยเฉลี่ย 8 ราย ต่อปี หรือมีอัตราการเกิดโรค 0.01- 0.02 รายต่อประชากรแสนคน (ข้อมูลถึง ณ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2561) แม้ว่าในช่วงเวลา ดังกล่าว แนวโน้มของโรคจะลดลงจากในอดีต แต่โรคนี้ก็ยังเป็นโรคที่มีความสำคัญ เพราะผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับรายงานเสียชีวิตทุก ราย (พักต์เพ็ญ สิริคุตต์, 2561) สำหรับสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยในพ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา ตรวจพบ สุนัขติดเชื้อจำนวน 33 ตัวอย่าง ในพ.ศ. 2561 ตรวจพบ 31 ตัวอย่าง ในเขตพื้นที่ 6 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอกมลาไสย อำเภอดอนจาน อำเภอนาคู อำเภอร่องคำ และอำเภอนามน (สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกาฬสินธุ์, 2561) การศึกษา ครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม วิธีการศึกษา : เป็นการศึกษากึ่งทดลอง (Quasi-experimental) แบบสองกลุ่มวัดผลก่อนหลัง คำนวณ ขนาดตัวอย่างด้วยสูตรประมาณค่าเฉลี่ย ทำการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 55 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 55 คน กลุ่มทดลองได้รับ โปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ า ซึ่งพัฒนาจากแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของ Nutbeam โดยเป็นแนวความคิดที่ผ่านการพัฒนาและประยุกต์มาจากองค์การอนามัยโลก โดยแบ่งออกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ ด้านดาร เข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ ด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะการสื่อสาร ด้านทักษะการตัดสินใจ ด้านทักษะการ จัดการตนเอง และด้านการรู้ทันสื่อ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบไม่ได้รับโปรแกรม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามก่อนและหลัง การทดลอง โดยแบบสอบถามได้ ผ่านการทดสอบคุณภาพเครื่องได้ค่าความเชื่อมั่น = และผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ทําการ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เปรียบเทียบผลของโปรแกรมด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Independent t-test ผลการศึกษา : พบว่า หลังการใช้โปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กลุ่มทดลอง ในด้านการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า การจัดการตนเองในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปและข้อเสนอแนะ : จากผล การศึกษาโปรแกรมดังกล่าว สามารถส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในนักเรียน ดังนั้นบุคลากร ทางด้านสุขภาพควรจัดกิจกรรมให้ต่อเนื่อง เพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ควรใช้รูปแบบในการส่งเสริมความรอบรู้ที่หลากหลาย และพัฒนาการมีส่วนร่วมของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู ผู้นำชุมชนในการแก้ไขและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อก่อให้เกิดการปฏิบัติที่ดี คำสำคัญ : ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, โรคพิษสุนัขบ้า, การป้องกันโรค

281


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

The Effects of Health Literacy Enhancement Program on Rabies prevention of secondary school students at a Namonpittayacom school in Namon district, Kalasin province Chariya Lalerd1 , Chenchira Phonphat1 , Paweena Wongsila1 , Nittaya Saengprajak2 1

Student of Master of Public Health, Faculty of Science and Health Technology, Kalasin University 2 Lecture of Public Health, Faculty of Science and Health Technology, Kalasin University Abstract Background : This study is quasi-experimental purpose to study the effects of health literacy enhancement program on rabies prevention of secondary students at a Namonpittayacom school Methods : This study of two groups pretest-posttest design calculate sample size with the average estimation formula The samples were randomly assigned to the experimental and control groups equally. The experimental group received the health literacy enhancement program which was developed from Nutbeam’s health literacy concept the questionnaire was used as an instrument in this study. Data was collected before and after implementing the program. Mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test were used to compare the effect of program described were the sample. Results : The results showed that after participating in the health literacy enhancement program, the experimental group had higher scores in Access skill, Cognition skill, Communication skill, Self-Management skill, Decision skill and Media literacy skill than before participating in the program and then those in the control group at a .05 significant level. Suggestions: Should make activities continuously, Increase the duration of activities. Should have variety of activities and development of participation of students, parents, teachers, community leaders for prevention of Rabies Disease. Keywords: Health literacy, Rabies Disease, Prevention

282


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าปีละกว่า 59,000 รายต่อปี สาเหตุของการเสียชีวิต ร้อยละ 99 มาจากการถูกสุนัขกัด และจำนวนคนที่ฉีดวัคซีนหลังถูกสุนัขกัดมีมากถึง 15 ล้านครั้งต่อปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่เกิดจากสัตว์ (zoonosis) พบใน 150 ประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่ในทวีปเอเชียและแอฟริกา จึงทำให้องค์การอนามัยโลก องค์การสุขภาพสัตว์แห่ง โลก องค์การอาหารและเกษตรกรรมแห่งสหประชาชาติ เกิดความตระหนักและได้ร่วมกันตั้งความหวัง ที่จะกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้ หมดไปในปี 2030 (องค์การอนามัยโลก, 2562) สำหรับประเทศไทยโรคพิษสุนัขบ้ายังคงเป็นโรคที่ต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากในระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ประเทศ ไทยยังคงพบผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้ามาตลอด จากข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ. 2556จนถึง พ.ศ. 2561 พบจำนวนผู้ป่วยเฉลี่ย 8 รายต่อปี หรือมี อัตราการเกิดโรค 0.01-0.02 รายต่อประชากรแสนคน (ข้อมูลถึง ณ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2561) แม้ว่าในช่วงเวลาดังกล่าว แนวโน้มของโรคจะลดลงจากในอดีต แต่โรคนี้ก็ยังเป็นโรคที่มีความสำคัญ เพราะผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับรายงานเสียชีวิตทุกราย จาก ข้อมูลของกรมปศุสัตว์ ผลการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อตรวจหาการติดเชื้อโรคพิษ สุนัขบ้าในสัตว์ตั้งแต่ พ.ศ. 2556 จนถึง พ.ศ.2561 พบว่า แนวโน้มการตรวจพบการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าจากสัตว์สงู ขึ้นเป็นเท่าตัวในแต่ละปี โดยเฉพาะ พ.ศ. 2561 พบสิ่งส่งตรวจที่มี การติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าสูงถึง 1,189 สิ่งส่งตรวจ จากทั้งหมด 7,434 สิ่งส่งตรวจ คิดเป็นร้อยละ 15.9 ซึ่งสูงกว่าทุกปีที่ผ่านมาที่ พบเพียงร้อยละ 2.4-10.0 (ข้อมูลถึง ณ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2561) สำหรับจังหวัดที่ควรได้รับการเฝ้าระวัง และแจ้งเตือน ประชาชนให้ระมัดระวังโรคพิษสุ นัข บ้าเป็น พิเ ศษ 11 จังหวัด ได้แก่ ระยองประจวบคีรีขัน ธ์ กาฬสินธุ์ หนองคาย บุ รีรัมย์ นครราชสีมา สุรินทร์ ยโสธร พัทลุง สงขลา และตรัง (ข้อมูลวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2561) ส่วนจังหวัดที่กรมปศุสัตว์ประกาศเป็น เขตระบาดในสัตว์ (ข้อมูลวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561) มีทั้งหมด 28 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง สระแก้ว นครราชสีมา ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด หนองคาย เชียงราย พิจิตร นครสวรรค์ เพชรบุรี สมุทรสงคราม นครศรีธรรมราช พัทลุง สุราษฎร์ธานี และ สงขลา (พักต์เพ็ญ สิริคุตต์, 2561) สำหรับสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยในพ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา ตรวจพบสุนขั ติดเชื้อจำนวน 33 ตัวอย่าง ในพ.ศ. 2561 ตรวจพบ 31 ตัวอย่าง ในเขตพื้นที่ 6 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอกมลาไสย อำเภอดอน จาน อำเภอนาคู อำเภอร่องคำ และอำเภอนามน โดยประกาศให้ทั้ง 6 อำเภอ เป็นพื้นที่โรคระบาดพิษสุนัขบ้าชั่วคราว และได้ตรวจ พบในพื้นที่บ้านนาขาม ตำบลคลองขาม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้นำสุนัขที่ได้รับเชื้อพิษสุนัขบ้า จำนวน 40 ตัว ส่งไปยัง ศูนย์พักพิงชั่วคราว หรือด่านกักกันสัตว์ จังหวัดนครพนม ซึ่งก่อนหน้านี้ได้ส่งสุนัขที่ได้รับเชื้อในพืน้ ที่บ้านเก่าน้อย ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จำนวน 22 ตัว และในเขตพื้นที่ตำบลหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ 17 ตัว ไปยังศูนย์พักพิงชั่วคราวแล้วเช่นกัน ซึ่งพบ ผู้ได้รับเชื้อจากสัตว์ดังกล่าวและเสียชีวิต 1 ราย ที่อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ (สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกาฬสินธุ์, 2561) ดังนั้น จาก ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าโรคพิษสุนัขบ้ายังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุข ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จากการศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของโรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ (บังอร รัตน์ราช และคณะ, 2561) พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมอยู่ในระดับปรับปรุง ผู้วจิ ัยจึงสนใจที่จะศึกษาเพื่อใช้โปรแกรมในการส่งเสริมให้นักเรียนมีความ รอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า อีกทั้งยังมีการสื่อสารการป้องกัน โรคไปยังครอบครัว และชุมชน เพื่อให้ตระหนักถึง

283


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

โรคพิษสุนัขบ้ามากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 2. เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ก่อนและหลังทดลองของกลุ่มทดลอง 3. เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ภายหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและ กลุ่มเปรียบเทียบ สมมติฐานของการวิจัย 1. ภายหลังการเข้าร่วมรับโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพบ้า สูงกว่าก่อนทดลอง 2. ภายหลังการเข้าร่วมรับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง จัดกิจกรรมให้กลุ่มทดลองตามโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 9 วัน วัดผลกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ 2 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง ใน วันที่ 1 และหลังการ ทดลองในวันที่ 9 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวนทั้งหมด คน คำนวณ ขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณหาประชากร กรณีไม่ทราบจำนวนประชากร พบว่าต้องใช้กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 55 คน เพื่อ ป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอย่างระหว่างการวิจัย ผู้วิจัยจึงเพิ่มขนาดตัวอย่างอีก 15% (กลุ่มละ คน) จึงได้กลุ่มตัวอย่างในการ วิจัย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบสอบถามนักเรียนแบ่งออกเป็น 7 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นการตรวจสอบรายการ(checklist) จำนวน 7 ข้อ ประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับชั้น ประเภทของสัตว์เลี้ยง การพาสัตว์เลี้ยงไปฉีดวัคซีน ประวัติการถูกสัตว์เลี้ยงกัด ช่องทางการได้รับข้อมูลข่าวสาร ตอนที่ 2 แบบสอบถามการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีข้อความจำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 3 แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีข้อความจำนวน 15 ข้อ ตอนที่ 4 แบบสอบถามการสื่อสารสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 5 แบบสอบถามการจัดการตนเองในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีข้อความจำนวน 6 ข้อ ตอนที่ 6 แบบสอบถามการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง ซึ่งมีข้อความ จำนวน 15 ข้อ ตอนที่ 7 แบบสอบถามการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีข้อความจำนวน 6 ข้อ วิธีวิจัยและการวางแผนการทดลองทางสถิติ 1. ระยะเตรียมการ 1.1 ชี้แจงเรื่องรายละเอียดและระยะเวลาของการวิจัย

284


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

1.2 ติดต่อประสานงานกับท่านผู้อำนวยการโรงเรียนนามนพิทยาคม เพื่อชี้แจงขั้นตอนและกิจกรรมต่างๆ ในการ ดำเนินงานและเพื่อขอความร่วมมือในการดำเนินการวิจัย 2. ระยะดำเนินการวิจัย 2.1 คณะผู้ศึกษาได้ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค พิษสุนัขบ้าโรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 2.2 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มเปรียบเทียบคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 2.3 จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 2.4 ควบคุมตัวแปรกวนโดยหลังการให้โปรแกรมของกลุ่มทดลองเสร็จสิ้น ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทันที 3. ติดตามผลดำเนินการประเมินผล การเก็บข้อมูล 1. ผู้ศึกษาเก็บข้อมูลก่อนการดำเนินงานวิจัยโดยใช้แบบสอบถามกับนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม แล้วรวบรวมผล ในระยะเวลา 1 สัปดาห์ 2. ดำเนินการทดลองด้วยกลุ่มทดลอง โดยมีกิจกรรมที่จดั ขึ้นซึ่งประยุกต์แนวคิดของ Nutbeam ตามกิจกรรมดังนี้ 2.1 แลกเปลี่ยนความรู้เดิมด้วยการให้ตัวแทนกลุ่มเล่าถึงความเข้าใจเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า 2.2 สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดยใช้หลัก 5 ย. 2.3 เล่นเกมส์ ถาม-ตอบ เกี่ยวกับความรอบรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2.4 จัดกลุ่มโดยให้นักเรี ยนมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อให้เกิดการสื่อสารและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคล 2.5 จัดให้มีการสื่อสารโดยการนำความรู้ที่นักเรียนได้รับจากการทำกิจกรรม มาเผยแพร่ต่อและเป็นกระบอกเสียงให้เพือ่ น ภายในโรงเรียน เพื่อสร้างกระแสและการรับรู้ให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินการป้องกันโรคพิษสุขนัขบ้า 2.6 แนะนำช่องทางการเข้าถึงข้อมูลที่ง่าย สะดวก และถูกต้อง เกี่ยวกับการป้องกันโรคพิษสุนัข 2.7 แนะนำสถานบริการทางสุขภาพที่สามารถรับบริการที่สะดวก 2.8 จัดกลุ่มให้นักเรียนทำกิจกรรมโดยให้นำแผ่นข้อความมาให้นักเรียนสุ่มเลือก แล้วให้นักเรียนวางแผนการนำเสนอ ข้อความในรูปแบบต่างๆ เพื่อสื่อถึงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2.9 ให้ข้อมูล/เนื้อหาที่ถูกต้องทั้งข้อดีและข้อเสีย เพื่อการตัดสินใจ 2.10 จัดบทบาทสมมติ เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 2.11 สรุปสิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม 2.12 ประเมินผลหลังดำเนินงาน โดยใช้แบบสอบถามชุดเดิมเพื่อประเมินหลังสิ้นสุดการทดลองและสรุปผลการปฏิบัตงิ าน ในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ

285


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลข้อมูล 1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่ออธิบายข้อมูลทั่วไปของตัวแปรระดับความรอบรู้ โดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) โดย 2.1 เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพในแต่ละด้านระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่ม เปรียบเทียบใช้สถิติ Independent t -test 2.2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ก่อนการ ทดลองและหลังการทดลองทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Paired t – test 2.3 เปรี ย บเที ย บผลของค่ า เฉลี ่ ยคะแนนความรอบรู ้ ใ นการป้ องกั น โรคพิ ษสุ นั ข บ้ าของกลุ ่ม ทดลองและ กลุ่ม เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Independent t -test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ช่วงเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ผลการศึกษา 1. ข้อมูลคุณลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 55 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 55 คน พบว่าในกลุ่มทดลอง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 56.40 กลุ่มเปรียบเทียบเป็นเพศหญิง จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 52.70 กลุ่มทดลอง มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 16.71 และกลุ่มเปรียบเทียบ มีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 16.62 กลุ่มทดลองส่วนใหญ่มีระดับ การศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 54.50 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 25.50 กลุ่มเปรียบเทียบส่วนใหญ่มีระดับ การศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 41.80 รองลงมา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 34.50 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 23.60 การเลี้ยงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบว่า ในกลุ่มทดลอง มีการเลี้ยงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จำนวน 36 คน คิดเป็น ร้อยละ 65.50 และกลุ่มเปรียบเทียบจำนวน 41 คิดเป็นร้อยละ 74.50 ประเภทของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พบว่า ในกลุ่มทดลอง ส่วนใหญ่เลี้ยงสุนัข แมว โค กระบือ และสุกร คิดเป็นร้อยละ 61.82, 7.27, 5.46, 1.82, 1.82 ตามลำดับ การพาสัตว์เลี้ยงไปฉีด วัคซีนของกลุ่มทดลองมี จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 34.50 และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 30.91 ประวัติการถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัดของกลุ่มทดลอง มีจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 23.6 กลุ่มเปรียบเทียบมีจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 14.50 การเคยได้รับข้อมูลข่าวสาร ในกลุ่มทดลอง จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 89.10 กลุ่มเปรียบเทียบพบ จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 21.80 แหล่งของข้อมูลข่าวสารที่พบมากที่สุดในกลุ่มทดลอง คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข , ครู,สมาชิกในบ้าน, โทรทัศน์ และ google คิดเป็นร้อยละ 50.91, 43.64, 32.73, 30.91 และ 14.55 ตามลำดับ

286


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลอง ภายในกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลอง ภายหลังการทดลอง พบว่า มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ ด้านการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพใน การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การจัดการตนเองในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การ รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า มากกว่าก่อนการทดลองอย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนการ สื่อสารสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามน พิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลอง ตัวแปร 1. การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและ บริการสุขภาพในการป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า 2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค พิษสุนัขบ้า 3. การสื่อสารสุขภาพในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 4. การจัดการตนเองในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 5. การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ ถูกต้อง 6. การรู้เท่าทันสื่อและ สารสนเทศในการป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า

ก่อนทดลอง S.D. X̄

หลังทดลอง S.D. X̄

Mean Diff

95%CI Lower Upper

t

p-value

15.85

3.246

17.49

2.680

-1.636

-2.882

-0.391

-2.633

0.011

10.04

2.524

12.76

1.527

-2.727

-3.569

-1.886

-6.500

<0.001

15.67

3.261

16.13

2.269

-0.455

-1.523

0.614

- 0.853

0.398

19.98

5.645

23.53

3.553

-3.545

-5.358

-1.733

- 3.922

<0.001

48.93

8.291

48.24

6.949

0.691

-2.447

3.828

- 0.441

0.661

19.29

6.822

23.02

4.305

-3.727

-5.910

-1.544

-3.423

0.001

3. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มเปรียบเทียบ ภายหลังการทดลอง พบว่าเมื่อเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคพิษสุนขั บ้า ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) ส่วนด้านการเข้าถึงข้อมูล สุขภาพและบริการสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การสื่อสารสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การจัดการตนเองในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง และการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่ 2

287


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามน พิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการทดลอง ตัวแปร 1. การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและ บริการสุขภาพในการป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า 2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค พิษสุนัขบ้า 3. การสื่อสารสุขภาพในการ ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 4. การจัดการตนเองในการป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า 5. การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ ถูกต้อง 6. การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

กลุ่มทดลอง S.D. X̄

กลุ่มควบคุม S.D. X̄

Mean Diff

95%CI Lower Upper

t

p-value

17.49

2.680

16.75

3.134

0.745

-0.357

1.848

1.314

0.183

17.26

1.527

10.67

2.237

2.091

1.366

2.816

5.726

<0.001

16.13

2.269

15.84

3.155

0.291

-0.749

1.331

0.555

0.580

23.53

3.553

23.22

4.421

0.309

-1.208

1.826

0.404

0.687

48.24

6.949

51.33

9.212

-3.091

-6.178

-0.004

-1.987

0.050

23.02

4.305

21.13

5.716

1.891

-0.023

3.805

1.960

0.053

สรุปและอภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัย จะอภิปรายผลตามสมมติฐานของการวิจัยและผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ สมมติฐานข้อที่ 1 ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพ สูงกว่าก่อนทดลอง การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ พบว่า ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม มีคะแนนเฉลี่ย สูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 และข้อ 2 สอดคล้องกับแนวคิดของ ขวัญเมือง แก้วดำเกริง, และนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร (2554) ซึ่งกล่าวไว้ว่า หากประชาชนเข้าถึงข้อมูลด้านและบริการสุขภาพ จะทำให้รู้ทัน โฆษณา รู้ข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพ สามารถเลือกวิธีปฏิบัติและสอนคนอื่นได้ ซึ่งประชาชนควร 1) รู้จักแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย 2) เลือกแหล่งข้อมูลสุขภาพตรงกับความต้องการได้ 3) รู้วิธีค้นหาข้อมูลทางสุขภาพ 4) สามารถค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง จากอินเตอร์เน็ต ที่น่าเชื่อถือได้ และ 5) ตรวจสอบยืนยันความถูกต้องของข้อมูล การสื่อสารสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการให้โปรแกรม และหลังการให้ โปรแกรมของกลุ่มทดลองอยู่ในระดับพอใช้ แต่เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยหลังการทดลองในกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value>0.05) ไม่เป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 เนื่องจากระยะเวลาในการดำเนินงานที่จำกัด การจัดการตนเองในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า ภายหลังการทดลอง นักเรียนที่ได้รับโปรแกรม มีระดับระดับการ จัดการตนเองอยู่ในระดับดี และพบว่า คะแนนเฉลี่ยของการจัดการตนเองหลังการทดลองเพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 สอดคล้องกับแนวคิดของ Creer (2000) ซึ่งกล่าวไว้ว่า การ จัดการสุขภาพด้วยตนเองเป็นทักษะที่ต้องพัฒนาเพื่อเพิ่มความฉลาดด้านสุขภาพ (Health literacy) ของประชาชนให้ทันต่อการ

288


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เปลี่ยนแปลงสภาพของสังคมและโรคภัยไข้เจ็บ หากประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองได้ ก็นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ ถูกต้องและจะนำไปแนะนำบุคคลใกล้ชิด ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนการชี้นำสังคม อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพที่ยั่งยืน การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีระดับการ รู้เท่าทันสื่ออยู่ในระดับดี และพบว่าค่าเฉลี่ยการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p-value<0.05) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 สอดคล้องกับ กองสุขศึกษา (2558) ได้สรุปไว้ว่า การรู้เท่าทันสื่อ เป็น คุณลักษณะขั้นพื้นฐานที่ต้องพัฒนาเพื่อความฉลาดทางสุขภาพ ที่ประชาชนต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของโลกยุค 4.0 และ สามารถปรับตัวให้มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ข้อมูลข่าวสารและองค์ ความรู้ด้านสุขภาพจำนวนมากทุกทิศทุกทาง ทั้งข้อมูลที่เป็นจริง หรือโฆษณาเกินจริง โดยเฉพาะสังคมออนไลน์ ถ้าประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและองค์ความรู้ที่ถูกต้องและทันสมัย ก็จะเป็น ประโยชน์ต่อตนเองและสามารถเผยแพร่สู่คนใกล้ชิดครอบครัวและชุมชนได้ สมมติฐานข้อที่ 2 ภายหลังการเข้าร่วมรับโปรแกรมกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม มีระดับความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้องที่สุด และพบว่าคะแนนเฉลี่ยของความรู้ความเข้าใจสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1 และข้อ 2 และสอดคล้องกับแนวคิดของ นฤมล ตรีเพชรศรีอไุ ร และเดชา เกตุฉ่า (2554) การรับรู้ เข้าใจ การอ่าน และการใช้ข้อมูลด้านสุขภาพ (Cognitive skill) เป็นการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติในบริบทของสุขภาพและการป้องกันปัญหา สุขภาพของเด็กวัยเรียนไปประยุกต์ ตรวจสอบด้วยหลักเหตุผลความ น่าเชื่อถือ ความชอบ ธรรมดาตามสิทธิและหน้าที่ และวัฒนธรรมอันดีของสังคม เพื่อแก้ปัญหา ลดความเสี่ยง และเพิ่มคุณภาพชีวิต การจัดการตนเองในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า ภายหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ไม่เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 ผลการวิจัยดังกล่าวที่เกิดขึ้น เนื่องจากระยะเวลาในการ ทดลองใช้โปรแกรมมีจำกัด การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม มีการ ตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอยู่ในระดับพอใช้ และไม่แตกต่างกัน ไม่เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 ผลการวิจัยดังกล่าวที่เกิดขึ้น เนื่องจากระยะเวลาในการดำเนินงานมีจำกัด ส่งผลให้ความน่าเชื่อถือของข้อมูลในการ ตัดสินใจเลือกปฏิบัติน้อย การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในการป้ องกันโรคพิ ษสุน ัข บ้า ภายหลังการทดลอง ระหว่า งกลุ่มทดลองและกลุ่ ม เปรียบเทียบ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ไม่เป็นไปตามสมมติฐานข้อ 2 ผลการวิจัยดังกล่าวที่เกิดขึ้น เนื่องจาก ระยะเวลาในการดำเนินงานมีจำกัด ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการศึกษา จากการศึกษา ผลของโปรแกรมผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ค่าเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค

289


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

พิษสุนัขบ้าทั้ง 6 องค์ประกอบ ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มทดลอง มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ในทางที่ดี ขึ้นและผลของโปรแกรมการประยุกต์ใช้ โดยศึกษาจากแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของ Nutbeam (2561) ในครั้งนี้ กระตุ้นให้ กลุ่มตัวอย่างสามารถที่จะปรับตัวในการป้องกันโรค ซึ่งเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ควรจะได้รับการสนับสนุนและขยายผลไปยังชุมชน อื่นต่อไป ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการสอดแทรกความรูเ้ กี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ในการเรียนการสอน และควรเพิ่มสื่อประกอบกิจกรรมต่างๆในโรงเรียน โดยครู อาจารย์ควรให้ความสนับสนุนในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนขั บ้าให้แก่นักเรียน 2. ควรจัดกิจกรรมให้ต่อเนื่องและเพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาทักษะที่ต่อเนื่องและสามารถ นำไปปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้อง 3. ศึกษาการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของนักเรียน ผู้นำชุมชน ครู และผูป้ กครองในการแก้ไขและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตัวทีด่ ีขึ้น 4. การให้ความรู้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในครั้งต่อไป ควรใช้รูปแบบที่หลากหลายโดยได้รับความร่วมมือจากครูและ ผู้ปกครอง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญทีจ่ ะช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความรอบรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างเหมาะสมและ ต่อเนื่อง 5. การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษากลุ่มนักเรียน ดังนั้นควรมีการศึกษาที่ครอบคลุมถึงประชาชน กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์นิตยา แสงประจักษ์อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ที่กรุณาให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางที่ถูกต้องตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความละเอียดถี่ถ้วนและเอาใจใส่ด้วยดีเสมอมา ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในการสอบการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่กรุณาให้ความรู้ให้คำปรึกษา ตรวจ แก้ไขและวิจารณ์ผลงาน ทำให้การศึกษาค้นคว้าอิสระมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ ทุกท่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบ รวมทั้งให้คำแนะนำแก้ไขเครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระให้มีคุณภาพ นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากนักเรียนโรงเรียนนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยดี คุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ ผู้ศึกษาขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทิตาแด่ บุพการี บูรพาอาจารย์ และผู้ที่มีพระคุณทุกท่านทั้งในอดีตและปัจจุบัน ที่ทำให้ข้าพเจ้าเป็นผู้มีการศึกษา และประสบความสำเร็จมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ เอกสารอ้างอิง กองสุ ข ศึ ก ษา กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ. (2558). ความฉลาดทางสุ ข ภาพ: เส้ น ทางสู ่ ห มู ่ บ ้ า นปรั บ เปลี ่ ย นพฤติ ก รรม. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ขวัญเมือง แก้วดำเกริง, และนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร. (2554). ความฉลาดทางสุขภาพ.กรุงเทพมหานคร: นิวธรรมดาการพิมพ์. นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร และเดชา เกตุฉ่ำ. (2554). ความฉลาดทางสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2562, เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/NumSai/Downloads/071120161001448526menuhome%20(1).pdf

290


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สำนั ก ปศุ ส ั ต ว์ . (2558). ระบบสารสนเทศเพื ่ อ การเฝ้ า ระวั ง โรคพิ ษ สุ น ั ข บ้ า . สื บ ค้ น เมื ่ อ 20 กรกฎาคม 2562, เข้ า ถึ งได้ จาก http://www.thairabies.net/trn/ สำนั ก ปศุ ส ั ต ว์ จ ั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ . (2561). ประกาศเขตโรคระบาดพิ ษ สุ น ั ข บ้ า สื บ ค้ น เมื ่ อ 20 กรกฎาคม 2562, เข้ า ถึ งได้ จาก http://www.msn.com/pl-pl/zdrowie/naze-zdowie Creer, L. T. (2000). Self-management of chronic illness. อ้างใน ชดช้อย วัฒนะ. (2558). การสนับสนุนการจัดการตนเอง: กลยุทธ์ในการส่งเสริมการควบคุมโรค. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 26, 117-127 Word Health Organization. Rabies epidemiology and burden of disease. สืบค้นเมื่อเมื่อ 30 กรกฎาคม 2562, เข้าถึง ได้จาก http://www.who.int/rabies/epidemiology/en/ Nutbeam, (2008). Health Literacy and adolescents: a framework and agenda for future research. Health Education Research. 23(5). Published by Oxford University Press.\

291


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

รูปแบบที่ดีในการประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติที่ไม่มี MOU : กรณีศึกษา M-Fund สุภา วิตตาภรณ์1 พิมพวัลย์ บุญมงคล2 1 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง 2 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจยั เพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล supa.v@fph.tu.ac.th บทคัดย่อ บทนำ: ประเทศไทยมีแรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่ประมาณ 5 ล้านคน รัฐบาลไทยได้ทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อ ความร่วมมือด้านแรงงานไว้กับรัฐบาลของประเทศเพื่อนบ้าน ในปี 2562 มีแรงงานที่ผ่านกระบวนการ MOU จำนวน 989,145 คน แรงงานข้ามชาติจำนวนมากที่ไม่มีเอกสารการทำงานที่ถูกต้ องตามกฎหมาย ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติกลุ่มนี้กลายเป็นกลุ่ม เปราะบาง มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิและบริการที่จำเป็น โดยเฉพาะบริการสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการจัด กองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติที่ไม่ผ่านกระบวนการ MOU วิธีวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึก บุคคลสำคัญ (Key Informants) ที่ทำงานด้านแรงงานข้ามชาติ ภาครัฐ 3 คน ภาคเอกชน 15 คน ผลการวิจัย: มีหน่วยงานเอกชน เพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่ดำเนินการกองทุนสุขภาพแรงงานข้ามชาติที่ไม่ผ่านกระบวนการ MOU คือ Deamlopments ได้ จัดตั้งกองทุน The Migrant Fund หรือ “M-Fund” เพื่อเสริมพลังอำนาจแรงงานข้ามชาติให้สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ อย่างยั่งยืน บนพื้นฐานของการช่วยเหลือกันเองของแรงงาน “เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข” ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดตาก 3 อำเภอ และ กำลังขยายกองทุนไปดำเนินการที่จังหวัดสระแก้ ว ครอบคลุมทุกอำเภอ และปรับเปลี่ยนแผนประกันสุขภาพถึง 3 แผน ปัจจุบัน กองทุนประกันสุขภาพ M-Fund มีสมาชิกที่จ่ายค่าประกันสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 4,000 คน จากสมาชิกกองทุนเกือบ 8,000 คน อภิปรายและสรุป: การออกแบบแผนความคุ้มครองสุขภาพ และกำหนดจ่ายเบี้ยขั้ นต่ำใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ แรงงานข้ามชาติ โดยพิจารณาจากผลการสำรวจก่อนเริ่มดำเนินโครงการ และมีการออกแบบแผนจ่ายค่าประกันสุขภาพแต่ละกลุ่ม อย่างชัดเจน เพื่อกระจายความเสี่ยง โดยกลุ่มที่ใช้สิทธิประกันสุขภาพมากจ่ายในอัตราที่สูงกว่ากลุ่มคนสุขภาพดี สมาชิกกองทุ น บางคนไม่เข้าใจแนวคิดการประกันสุขภาพ จึงสมัครเมื่อจำเป็นต้องรับบริการ และไม่จ่ายค่าประกันสุขภาพต่อเนื่อง คำสำคัญ: กองทุนประกันสุขภาพ, แรงงานข้ามชาติ, รูปแบบที่ดี

292


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

A good model for health insurance for migrant workers without MOU: Case study of the M-Fund Supa Vittaporn; 1, Prof.Pimpawun Boonmongkol; 2, 1

2

Faculty of Public Health, Thammasat University Lampang Campus Center of Excellence in Research on Gender, Sexuality and Health, Mahidol University supa.v@fph.tu.ac.th

Abstract Introduction: Thailand has about 5 million migrants. Currently, the Thai government has agreed a Memorandum of Understanding (MOU) for labor cooperation with the government of neighboring countries. There were 3,090,825 legal migrant workers, of which 989,145 entered according to the MOU. There are many more migrant workers who do not have legal work documents, resulting in this group of migrant workers becoming vulnerable through restrictions on their access to rights and necessary services, especially health services. Objective: To study models for health insurance funds for non-MOU migrant workers. Methodology: A qualitative research approach was used using interviews in government and non - government sector working with migrant workers. Results: From interviews with migrant working group, it appears that there is only one organization that has established a health insurance fund for migrant workers, the Dreamlopments Organization, which has set up The Migrant Fund (or the M-Fund). It has the goal of development to empower migrant workers to enable them to access quality services. The target group are unregistered migrant workers and migrant workers who unable to access health services. The idea for establishment of the M-Fund was to enable migrant workers to have increased access to health insurance, based on self-help: “average pain, average well-being”. The M-Fund is available in three districts in Tak and is in the process of expanding its activities to all districts in Sakaew. The M-Fund has around 4,000 members who regularly pay insurance fees, out of a total of 8,000 foreign workers who applied to join the M-Fund. Discussion and summary: The design of the health coverage plans and setting of low premiums adopted a participatory process with migrant workers. The care plan was based on the results of a survey, which informed the design of a care plan for payment of the health insurance premium. To spread the M-Fund's risk, the groups using their rights to health insurance rights under the M-Fund more often pay at a higher rate than general healthy people. Some members still do not understand the concept of health insurance and therefore apply for membership only when it is necessary to receive health services, rather than pay health insurance continuously. Keywords: health insurance fund, migrant workers, good model

293


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนํา ประเทศไทยมีแรงงานข้ามชาติ คนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ผู้ลี้ภัย และผู้ติดตามไม่ได้อยู่ในวัยทำงาน อาศัยอยู่ประมาณ 5 ล้าน คน (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2562) กลุ่มของแรงงานข้ามชาติเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด คือ แรงงานย้ายถิ่นจากประเทศเพื่อน บ้าน ได้แก่ ประเทศเมียนมา กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ปัจจุบันรัฐบาลไทยได้ทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อความร่วมมือ ด้านแรงงานไว้กับรัฐบาลของประเทศเพื่อนบ้านทั้ง 4 ประเทศดังกล่าว เพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติด้านแรงงานที่ดี ปรับปรุงศักยภาพ ทักษะ และความสามารถของแรงงาน ปรกันสังคม และเพิ่มความโปร่งใสกระบวนการจัดส่งแรงงานระหว่าง ประเทศ ดังนั้นนายจ้างต้องแจ้งจำนวนแรงงานข้ามชาติ โดยระบุทักษะและความสามารถที่ต้องการไปที่กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม แล้วกรมการจัดหางานจะประสานต่อไปยังสถานฑูตแต่ละประเทศ เพื่อขอให้หน่วยงาน ราชการที่ทำหน้าที่จัดหางานของประเทศนั้นๆ ดำเนินการตามคำขอ หากนายจ้างไทยตกลงก็แจ้งกลับไปยังหน่วยงานจัดหางาน ของประเทศนั้นๆ เพื่อให้แรงงานข้ามชาติไปขอวีซ่ากับสถานทูตไทย แล้วเดินทางผ่านชายแดน เพื่อตรวจวีซ่าและขอใบอนุญาต ทำงานในประเทศไทยในลำดับต่อไป ปัจจุบันมีแรงงานข้ามชาติ ที่ได้รับอนุญาตทำงานถูกต้องตามกฎหมาย 3,090,825 คน ใน จำนวนนี้มีผู้ที่นำเข้าตาม MOU จำนวน 989,145 คน และมีแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทำงานในลักษณะ ไป-กลับหรือตามฤดูกาล ได้รับอนุญาตทำงานตาม มาตรา 64 จำนวน 58,748 คน (สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว, 2562) ในกรณีที่แรงงานข้ามชาติประเทศไทยมาแล้วและเข้ามาโดยผิดกฎหมาย นายจ้างต้องให้แรงงานข้ามชาติที่ทำงานอยู่ใน ประเทศไทยเดินทางกลับประเทศต้นทาง เพื่อรอให้เราทำเรื่องขอตัวกลับมาตามขั้นตอน MOU ที่ถูกต้อง หรือนายจ้างมอบหมาย ให้บริษัทตัวแทนจัดหาแรงงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมการจัดหางานไว้ประสานงานดำเนินการกับหน่วยงานประเทศต้นทาง นอกจากนี้รัฐบาลได้มีกำหนดมาตรการให้แรงงานข้ามชาติที่อยู่ในประเทศไทยอยู่แล้ว สามารถทำงานได้ถูกกฎหมาย ด้วย กระบวนการพิสูจน์สัญชาติซึ่งก็คือการออกหนังสือเดินทาง และขอใบอนุญาตทำงานในประเทศไทย โดยไม่ต้องเดินทางออกนอก ประเทศตามขั้นตอน MOU โดยรัฐบาลได้แบ่งแรงงานช้ามชาติที่ไม่ได้ทำตาม MOU ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.) กลุ่มแรงงานต่างด้าวที่รัฐบาลอนุญาตให้ทำงานในประเทศไทยได้ชั่วคราว ได้แก่ แรงงานต่างด้าวที่ลงทะเบียนรับบัตร อนุญาตทำงานชั่วคราว ระหว่างรอการพิสูจน์สัญชาติให้แล้วเสร็จ ซึ่งบัตรชมพูปิดลงทะเบียนไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 (บัตรชมพู) ต้องไปลงทะเบียนกับศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ที่เปิดให้บริการ 80 แห่งทั่วประเทศ เพื่อสแกนม่านตา ตรวจ ร่างกาย แสดงอัตลักษณ์บุคคลเก็บเป็นข้อมูลไว้ เพื่อดำเนินการเข้าสู่กระบวนการเพื่อขออนุญาตทำงานในประเทศไทย โดยแรงงาน ข้ามชาติต้องผ่านการพิสูจน์สัญชาติและออกหนังสือเดินทางจากประเทศต้นทาง โดยไม่ต้องเดินทางกลับประเทศ เนื่องจากรัฐบาล ของประเทศเพื่อนบ้าน 3 ประเทศ ได้จัดตั้งศูนย์พิสูจน์สัญชาติและออกหนังสือเดินทางในประเทศไทย ได้แก่ ศูนย์พิสูจน์สัญชาติ ลาวตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ ศูนย์พิสูจน์สัญชาติกัมพูชาตั้งอยู่ ที่กรุงเทพฯ และระยอง และศูนย์พิสูจน์สัญชาติพม่าตั้งอยู่ที่สมุทรสาคร สมุทรปราการ ตาก ระนอง เชียงราย เชียงใหม่ นครสวรรค์ และสงขลา และผู้ที่ดําเนินการตาม ม.44 ที่ 33/2560 คือแรงงานต่าง ด้าวที่มีหนังสือรับรองความสัมพันธ์นายจ้าง - ลูกจ้าง (ใบจับคู่) ซึ่งปิดลงทะเบียนไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ต้องไปลงทะเบียนกับ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ตั้งแต่การตรวจสอบเอกสาร คัดกรอง ตรวจสอบสิทธิ์ประกันสังคม บันทึกข้อมูลประวัติ ตรวจตราลงวีซ่า จนไปถึงการออกใบอนุญาตทำงาน 2.) กลุ่มแรงงานต่างด้าว หลบหนีเข้ามาทำงานโดยไม่มีการลงทะเบียน แรงงานเหล่านี้ไม่อยู่ในข่ายที่ได้รับการพิสูจน์ สัญชาติภายในประเทศไทยได้ ต้องกลับไปประเทศต้นทางเพื่อดำเนินการตามขั้นตอนที่ MOU กำหนดไว้ หรือนายจ้างให้บริษัท ตัวแทนจัดหาแรงงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมการจัดหางานไว้ประสานงานดำเนินการกับหน่วยงานประเทศต้นทางแทนก็ได้

294


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ส่วนหนึ่งของแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยไม่มเี อกสารการทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติกลุม่ นี้กลายเป็นกลุ่มเปราะบาง มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิและบริการที่จำเป็น โดยเฉพาะบริการสุขภาพ การวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษารูปแบบ การจัดกองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติที่ไม่ผ่านกระบวนการ MOU ในประเทศไทย ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีวิจัย เชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์สมาชิกในเครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ เพื่อค้นหา หน่วยงานที่ดำเนินงานกองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลสำคัญ (Key Informants) คือ คน ที่อยู่ในไลน์กลุ่ม Migrant Working Group มีประสบการณ์ในการขับเคลื่อนงานด้า นแรงงานข้ามชาติไม่ต่ำกว่า 1 ปี บางคนมี ประสบการณ์มากกว่า 20 ปี ทำงานอยู่องค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศ 11 คน และองค์กรระหว่างประเทศ 1 คน ผู้ให้ข้อมูล เหล่านี้สามารถให้ข้อมูลเบื้องต้นถึงองค์กรที่ดำเนินการด้านประกันสุขภาพในแรงงานข้ามชาติได้ โดยสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ในประเด็นสถานการณ์และปัญหาแรงงานข้ามชาติที่ไม่เข้าถึงประกันสุขภาพ ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะในการเข้าถึงบริการสุขภาพ ของแรงงานข้ามชาติกลุ่มนี้ องค์กรหรือกลุ่มที่ดำเนินกิจกรรมกองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติที่ไม่มี MOU เพื่อ ค้นหาองค์กรที่ทำงานแก้ปัญหาประกันสุขภาพของแรงงานข้ามชาติ เมื่อทราบถึงองค์กรที่ดำเนินกิจกรรมกองทุน ประกันสุขภาพจึงได้ประสานงานไปยังองค์กรดังกล่าว และสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้จัดการกองทุน ผู้ประสานงาน และอาสาสมัครในพื้นที่อีก 3 คน หลังจากนี้นำเสนอข้อมูลเบื้องต้นให้ทีมผู้วิจัยทีไ่ ด้ศึกษาดูงาน ในพื้นที่จังหวัดตากร่วมกับทีมศูนย์ ความเป็นเลิศด้านการวิจัยเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ดำเนินการ โครงการชายแดนไทยลาว ผู้วิจัยจึงได้สัมภาษณ์คณะที่มาร่วมศึกษาดูงาน ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ภาครัฐอีก 3 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดยในบทความวิจัยนี้นำเสนอเฉพาะในส่วนของ การบริหารจัดการกองทุนประกันสุขภาพในแรงงานข้ามชาติที่ไม่มี MOU เพื่อเป็นต้นแบบและเผยแพร่ให้กับผู้สนใจนำไปใช้ ประโยชน์ในอนาคต งานวิจัยนีไ้ ด้รับการพิจารณารับรองคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนมหาวิทยาลัยมหิดล ผลการวิจัย ในประเทศไทยมีหลายหน่วยงานที่ต้องการจัดตั้งกองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติที่ไม่มีประกันสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มคนต่างด้าวมาตรา 64 ซึ่งหมายถึง คนต่างด้าวสัญชาติเมียน มา ลาว และกัมพูชา ที่เข้ามาทํางานบริเวณชายแดนใน ลักษณะไป – กลับ หรือตามฤดูกาลในพื้นที่ความตกลง ว่าด้วยการสัญจรข้ามแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน มี จำนวนมาถึง 58,748 คน (สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว, 2562) และแรงงานที่เข้าเมืองโดยไม่มีใบอนุญาตให้พักอาศัยในประเทศ ไทย จากการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวช้องกับการทำงานด้านสุขภาพในแรงงานข้ามชาติพบว่ า มีเพียงหน่วยงานเดียวที่จัดตั้งกองทุน ประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติ คือ องค์กรดรีมลอปเมนส์ (Dreamlopments) ซึ่งได้จัดตั้งกองทุน The Migrant Fund หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่า “M-Fund” การจัดตั้งกองทุน M-Fund โดย นพ.นิโคลัส ดูริเยอร์ เริ่มดำเนินการ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 โดยได้รับงบ สนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศส สหภาพยุโรป และกองทุนโลก มีเป้าหมายเพื่อพัฒนากลไกที่เสริมพลังอำนาจให้กับแรงงานข้ามชาติ ให้สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย คือ แรงงานข้ามชาติที่ไม่ขี้นทะเบียน หรือขึ้นทะเบียนแต่ไม่เข้าถึง สิทธิประกันสุขภาพของภาครัฐ ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดตาก 3 อำเภอ คือ อำเภอแม่ระมาด อำเภอแม่สอด และอำเภอพบพระ และกำลังขยายกองทุนไปดำเนินการที่จังหวัดสระแก้ว ครอบคลุมทุกอำเภอ

295


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บริบทการจ้างแรงงานข้ามชาติและสิทธิด้านประกันสุขภาพ เนื่องจากจังหวัดตากเป็นจังหวัดชายแดนติดกับประเทศเมียนมา การจ้างงานแรงงานข้ามชาติจากประเทศเมียนมาเป็น ลักษณะที่ไม่มีสัญญาจ้าง และไม่ได้ดำเนินการตามข้อตกลงที่รัฐบาลไทยและเมียนมาได้ตกลงกันไว้ แรงงานส่วนใหญ่เข้ามาทำงาน โดยอาศัย มาตรา 64 ที่อนุญาตให้คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่เข้ามาทํางานบริเวณชายแดนในลักษณะไป – กลับ หรือตามฤดูกาลในพื้นที่ความตกลง แรงงานส่วนใหญ่จะมาทำงานที่จังหวัดตากเพียง 3 เดือนแล้วกลับประเทศเมียนมา ในขณะทีผ่ ู้ติดตามที่อายุเกิน 7-14 ปีไม่สามารถซื้อประกันสุขภาพได้ เนื่องจากตามระเบียบการขายประกันสุขภาพให้กับผู้ติดตาม นั้น ผู้ติดตามต้องซื้อประกันสุขภาพในอัตราเดียวกับพ่อแม่ แต่ผู้ที่เป็นพ่อแม่เป็นแรงงานที่เข้ามางานในประเทศไทยโดยใช้บัตรผ่าน แดนจึงไม่มีประกันสุขภาพ ทำให้ผู้ติดตามไม่มีสิทธิซื้อประกันสุขภาพเช่นเดียวกับพ่อแม่ และแรงงานข้ามชาติที่อายุเกิน 50 ปี ไม่มี สิทธิซื้อประกันสุขภาพเช่นกัน รูปแบบและพัฒนาการของหลักประกันสุขภาพ M-Fund จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงได้เกิดแนวคิดในการจัดตั้งกองทุน M-Fund เพื่อให้แรงงานข้ามชาติมีหลักประกันสุขภาพ ขึ้น โดยอยู่บนพื้นฐานของการช่วยเหลือกันเองของแรงงาน “เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข” ทางองค์กรดรีมลอปเมนส์ได้ให้เจ้าหน้าที่ แรงงานข้ามชาติสำรวจความสามารถในการจ่ ายของแรงงาน จึงได้อัตราค่าประกันสุขภาพเดือนละ 100 บาท / คน เป็นอัตราที่ แรงงานข้ามชาติมีความสามารถและเต็มใจจ่าย (affordable and willingness to pay) แผนประกันสุขภาพเริ่มต้นในครั้งแรก เรียกว่า แผนความคุ้มครอง 1.0 มีข้อผูกพันการให้สิทธิด้านการรักษาสุขภาพกับสมาชิกทุกคนเป็นวงเงินสูงถึง 100,000 บาท โดยไม่จำกัดการรักษาทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในแผนความคุ้มครอง 1.0 นี้ จัดเก็บค่าประกันสุขภาพคนละ 100 บาท/เดือน โดยไม่ได้แบ่งประเภทผู้ซื้อประกันสุขภาพตามสถานะสุขภาพ และเริ่ม ใช้ได้ 6 เดือนหลังจากสมัครสมาชิก ผลที่เกิดขึ้นคือ โครงการประกันสุขภาพดังกล่าวประสบปัญหาขาดทุนอย่างหนัก ไม่สามารถดำเนินต่อไปได้ เพราะแรงงานข้ามชาติที่สมัครเป็น สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ที่ตั้งครรภ์ ที่เข้ามาเป็นสมาชิกกองทุนและใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลในจำนวนสูงมาก ในระยะต่อมา M-Fund ได้ทบทวนผลการทำงานที่ผ่านมา จึงปรับเปลี่ยนแผนความคุ้มครองสุขภาพใหม่ และให้ อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติที่เก็บค่าสมาชิกกองทุน รายเดือนชี้แจงและทำความเข้าใจให้กับสมาชิกกองทุนแต่ละคนทราบถึง วัตถุประสงค์สำคัญของกองทุนที่มุ่งเน้นให้แรงงานข้ามชาติช่วยเหลือกันเอง และพึ่งตัวเองด้านสุขภาพได้ พร้อมทั้ง ปรับแผนความ คุ้มครองเป็นแผน 2.0 โดยปรับลดวงเงินคุ้มครองการรักษาสุขภาพเหลือเพียง 50,000 บาท โดยแบ่งเป็นค่าใช้จ่ายบริการสุขภาพ สำหรับผู้ที่เข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก 5,000 บาท และแผนกผู้ป่วยใน 45,000 บาท รวมทั้งปรับกลยุทธ์เชิงบังคับเพื่อเพิ่ม จำนวนสมาชิกที่มีสุขภาพดีเข้ามาร่วมเป็นสมาชิก ในกองทุนประกันสุขภาพมากขึ้น และเพิ่มอัตราค่าประกันสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วย เรื้อรัง และผู้ตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่เข้ามาใช้สิทธิมากที่สุดในกองทุน โดยเปลี่ยนเงื่อนไขการรับสมัครสมาชิกใหม่ คือ ผู้ป่วยเรื้อรัง จ่ายค่าประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท และต้องมีคนที่สุขภาพดีมาสมัครร่วมด้วยอย่างน้อย 2 คน สำหรับผู้ตั้งครรภ์เข้าสมัคร เป็นสมาชิก ต้องมีผู้ที่สุขภาพดีร่วมสมัครเป็นสมาชิกกองทุนด้วย 1 คน และจ่ายค่าสมัครสมาชิกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 3 เดือนใน อัตราค่าประกันสุขภาพเดือนละ 200 บาท สมัครสมาชิกเมื่ออายุครรภ์ 3 – 6 เดือน คิดค่าสมัครสมาชิกแรกเข้า 400 บาท และ ค่าประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท สมัครสมาชิกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 6 เดือน คิดค่าสมัครสมาชิกแรกเข้า 600 บาท และค่า ประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท สมาชิกประเภทที่มีโอกาสในการใช้ประกันสุขภาพค่อนข้างสูง ทุกคนต้องมีผู้ที่สุขภาพดีร่วม สมัครเป็นสมาชิกกองทุนด้วยอย่างน้อย 1 คน จึงทำให้กองทุนเริ่มมีเงินสะสมในกองทุนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้น M-Fund ได้ปรับแผนความคุ้มครอง 3.0 โดยแผนความคุ้มครองนี้ให้สิทธิประโยชน์เท่ากับแผน 2.0 แต่ขยาย ความครอบคลุมแรงงานข้ามชาติที่อายุมากกว่า 50 ปีด้วย โดยคิดค่าสมัครสมาชิกแรกเข้า 150 บาท และจ่ายค่าประกันสุขภาพ

296


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

เดือนละ 150 บาท / เดือน และต้องมีสมาชิกสุขภาพดีเข้ามาร่วมในกองทุนด้วยอย่างน้อย 1 คน นอกจากนี้ยังปรับอัตราค่า ประกันสุขภาพในกลุ่มผู้ตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น คือ ผู้ที่ตั้งครรภ์อายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน จ่ายค่าประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท ผู้ ตั้งครรภ์ที่เข้ามาสมัครสมาชิกตอนอายุครรภ์ 3 – 6 เดือน เสียค่าธรรมเนียมแรกเข้า 600 บาท และจ่ายค่าประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท ผู้ตั้งครรภ์ที่เข้ามาสมัครสมาชิกตอนอายุครรภ์มากกว่า 6 เดือนขึ้นไป เสียค่าสมัครสมาชิกแรกเข้า 1,200 บาท และจ่าย ค่าประกันสุขภาพเดือนละ 300 บาท ผู้ตั้งครรภ์ทุกคนที่สมัครสมาชิกต้องมีผู้ที่สุขภาพดีเข้าร่วมสมัครกองทุนประกันสุขภาพอย่าง น้อย 2 คน สำหรับแผนความคุ้มครอง 3.0 จะเริ่มต้นใช้ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ในพื้นที่ 3 อำเภอ จังหวัดตาก และในทุก อำเภอของจังหวัดสระแก้ว ตารางที่ 1 ข้อมูลสรุปแผนประกันสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนถึงปัจจุบัน แผนประกันสุขภาพ ความคุ้มครอง

แผนความคุ้มครอง 1.0 100,000 บาท

คนสุขภาพดี ผู้ป่วยเรื้อรัง

100 บาท / เดือน 100 บาท / เดือน

ผูต้ ง้ั ครรภ์

100 บาท / เดือน

ผู้สูงอายุ (50 ปีขึ้นไป)

แผนความคุ้มครอง 2.0 OPD = 5,000 บาท IPD = 45,000 บาท 100 บาท / เดือน 300 บาท / เดือน (+ คนสุขภาพดี 2 คน) หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 = 200 บาท / เดือน หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 = ค่าสมาชิก แรกเข้ า 400 บาท + 300 บาท / เดือน หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 = ค่าสมาชิก แรกเข้ า 600 บาท + 300 บาท / เดือน (+ คนสุขภาพดี 1 คน)

แผนความคุ้มครอง 3.0 OPD = 5,000 บาท IPD = 45,000 บาท 100 บาท / เดือน 300 บาท / เดือน (+ คนสุขภาพดี 2 คน) หญิ ง ตั ้ ง ครรภ์ ไ ตรมาสที ่ 1 = 300 บาท / เดือน หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 = ค่าสมาชิก แรกเข้ า 600 บาท + 300 บ าท / เดือน หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3 = ค่าสมาชิก แรกเข้ า 1,200 บาท + 300 บาท / เดือน (+ คนสุขภาพดี 2 คน) แรกเข้า 150 บาท 150 บาท / เดือน (+ คนสุขภาพดี 1 คน)

การออกแบบแผนความคุ้มครองสุขภาพ และกำหนดจ่ายเบี้ยขั้นต่ำใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของแรงงานข้ามชาติ โดย พิจารณาจากผลการสำรวจก่อนเริ่มดำเนินโครงการ ทำให้กองทุนประกันสุขภาพ M-Fund มีสมาชิกที่ยังจ่ายค่าประกันสุขภาพ อย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 4,000 คน จากจำนวนแรงงานข้ามชาติ ที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนเกือบ 8,000 คน รวมทั้งการ ออกแบบแผนจ่ายค่าประกันสุขภาพแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจน เพื่อกระจายความเสี่ยงของกองทุน โดยกลุ่มที่ได้ใช้สิทธิประกันสุขภาพ ในกองทุนมากจะจัดเก็บในอัตราที่สูงกว่ากลุ่มคนสุขภาพดีทั่วไป อย่างไรก็ตามสมาชิกกองทุนบางคนยังไม่เข้าใจแนวคิดการ ประกันสุขภาพ จึงสมัครเมื่อจำเป็นต้องรับบริการสุขภาพ และไม่จ่ายค่าประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง กองทุน M-Fund ขยาย จำนวนสมาชิกรวดเร็ว โดยอาสาสมัครแรงงานข้ามชาติและสมาชิกบอกเล่าแบบปากต่อปาก ทำให้แรงงานข้ามชาติมีความเชื่อมั่น ใจให้กับผู้ที่ต้องการเป็นสมาชิกว่า สามารถใช้บริการในโรงพยาบาลคู่สัญญาของ M-Fund ได้จริง ทั้งรัฐและเอกชนในประเทศไทย และประเทศเมียนมา การจ่ายค่าประกันสุขภาพความคุ้มค่า และมีบริการส่งต่อผู้ป่วยได้

297


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

อภิปรายผล นโยบายและแนวการปฏิบัติด้านการบริการสุขภาพแรงงานข้ามชาติในต่างประเทศ สำหรับสหภาพยุโรป แต่ละประเทศ ให้สิทธิประโยชน์ในการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน (ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ และคณะ, 2558) จัดแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) ประเทศที่ให้บริการเฉพาะอุบัติเหตุฉุกเฉิน ได้แก่ ประเทศออสเตรีย บัลแกเรีย ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เดนมาร์ค เยอรมนี กรีซ เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฮังการี ไอร์แลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา โปแลนด์ โรมาเนีย สาธารณรัฐสโลวัค สโลเวเนีย และ สวีเดน (2) ประเทศที่ให้บริการครอบคลุมสิทธิประโยชน์พื้นฐานบางส่วนและเฉพาะบางกลุ่ม ของคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน ได้แก่ ประเทศเบลเยียม อิตาลี นอร์เวย์ และอังกฤษ และ(3) ประเทศที่ครอบคลุมบริการสุขภาพเกือบทั้งหมด ได้แก่ ประเทศ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน และสวิตเซอร์แลนด์ รูปแบบการให้บริการประกันสุขภาพที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน ไปในแต่ละประเทศขึ้นกับบริบททางการเมือง โครงสร้างระบบสาธารณสุข และทิศทางนโยบายแรงงานข้ามชาติของประเทศนั้น กรณีประเทศเนเธอร์แลนด์ คนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนมีสิทธิเข้ารับบริการสุขภาพในสถานบริการของรัฐแต่จะต้องจ่าย ค่าบริการ ณ จุดบริการ หากไม่สามารถจ่ายค่า บริ การได้ รัฐจะสนับสนุนค่าใช้ จ่า ยที่เ ป็ นบริการทางการแพทย์ ที ่จ ำเป็ น (medically necessary care) ให้ร้อยละ 80 โดยสถานพยาบาลที่ให้บริการต้องทำเรื่องเบิกค่าใช้จ่ายไปที่รัฐ แต่ไม่ครอบคลุม ค่าใช้จ่ายในการฝากครรภ์และคลอดบุตร สำหรับประเทศฝรั่งเศส องค์กร State Medical Assistance เป็นหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐที่ทำหน้าที่จัดระบบ ประกันสุขภาพให้แรงงานข้ามชาติ โดยรัฐจัดสรรบริการให้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยผู้ประกันตนต้งอมีเอกสารเพื่อสมัครใช้บริการ ได้แก่ หนังสือเดินทาง หลักฐานวีซ่าที่หมดอายุ และอยู่ในประเทศฝรั่งเศสมาแล้วไม่ต่ำกว่า 3 เดือน และหลักฐานแสดงรายได้วา่ มี น้อยกว่า 631 ยูโร แรงงานข้ามชาติเหล่านี้จะได้ สิทธิประโยชน์คุ้มครอง 1 ปี ซึ่งค่อนข้างครอบคลุ ม บริการสุขภาพเกือบทั้งหมด ยกเว้นบริการทำฟันเทียม (dental prosthesis) สำหรับนโยบายด้านสุขภาพแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 ได้อนุมัติใน หลักการให้จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 งบกลางรายการเงินสำรองจ่ายกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เพื่อ ใช้จ่ายให้บริการสุขภาพตามความจำเป็นให้กับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ โดยกลุ่มงานบริหารจัดการการประกันสุขภาพ บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งเป็น กองทุนชื่อว่า “กองทุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ” ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับรองสถานะให้อยู่อาศัยถาวร ตาม พ.ร.บ.คนเข้ าเมือง พ.ศ.2552 และคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายมีสิทธิอาศัยถาวร รวมถึงผู้ติดตามด้วย ผู้ที่ใช้สิทธิจะต้องขี้นทะเบียน กับกระทรวงมหาดไทย (มีเลขประจำตัว 13 หลัก) นอกจากนี้ยังมีการบริหารจัดการการทำงานของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ด้านการตรวจสุขภาพและการประกันสุขภาพ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2561 กลุ่ มงานบริหารกองทุนประกัน สุขภาพคนต่างด้าวและแรงงานต่างด้าว กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็น ผู้รับผิดชอบดำเนินการ โดยแบ่งกลุ่มแรงงานข้ามชาติและกำหนดอัตราค่าบริการตรวจสุขภาพ และประกันสุขภาพ ซึ่งทั้งสอง กองทุนนี้ ไม่ครอบคลุมแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทำงานตามมาตรา 64 และแรงงานข้ามชาติที่ลักลอบเข้าเมืองผิดกฏหมายที่ไม่ได้ ขึ้นทะเบียนเพื่อพิสูจน์สัญชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ดังนั้น M-Fund จึงเป็นทางเลือกหนึ่งของแรงงานข้ามชาติในการเข้าถึงบริการ สุขภาพ ซึ่งเป็นบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็น บทเรี ย นในการขั ด บริ ก ารสุ ข ภาพและประกั น ตนให้ ก ั บ แรงงานข้ า มชาติ ท ี ่ ไ ม่ ม ี เ อกสาร หรื อ นอกระบบทะเบี ย น (undocumented migrant) ในสหภาพยุโรป พบว่า แม้ประเทศจะมีนโยบายเปิดกว้างในเรื่องการประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติ นอกระบบทะเบียน แต่คนเหล่านี้ก็ไม่ได้รับการประกันสุขภาพ เนื่องจากความหวาดกลัวที่จะเปิดเผยตัวตนต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ดังนั้น

298


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

รูปแบบการประกันสุขภาพของกองทุน M-Fund ที่ได้ริเริ่มก่อตั้งในประเทศไทยจึงเป็นการลดเงื่อนไข หรืออุ ปสรรคในการเข้าสู่ ระบบสุขภาพ เนื่องจาก M-Fund ดำเนินการโดยองค์กรเอกชน และแรงงานข้ามชาติได้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการด้วย สรุปและข้อเสนอแนะ การมีหลักประกันสุขภาพของแรงงานข้ามชาติทุกคนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย ไม่ว่าจะมาด้วยเงื่อนไขใด นับว่าเป็น สิ่งที่ยืนยันได้ว่า แรงงานข้ามชาติเหล่านี้จะเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้อย่างไม่มีข้อจำกัด ดังนั้นหน่วยงานที่ทำงานด้าน สุขภาพแรงงานข้ามชาติควรคำนึงถึงการเข้าถึงบริการสุขภาพที่ทั่วถึงและเท่าเทียมของทุกคน บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนเข้ามารับบริการสุขภาพได้น้อย คนทำงานต้องทำความเข้าใจช่องว่างของปัญหา และ เข้าใจเรื่องสถานะบุคคลและสิทธิด้วย จะทำให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีสิทธิประกันสุขภาพได้ชัดเจนมากขึ้น รวมถึงการนำ รูปแบบการประกันสุขภาพในแรงงานข้ามชาติที่ไม่ผ่าน MOU ไปปรับใช้อย่างเหมาะสมกับบริบทของแต่พื้นที่ด้วย กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่องค์กรดรีมลอปเมนส์ สมาชิกเครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant Working Group) และเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ทุกท่าน งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนสุขภาวะประชากรเฉพาะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผ่านทางศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล เอกสารอ้างอิง ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, คนางค์ คันธมธุรพจน์, วีระศักดิ์ พุทธาศรี, ศุภกิจ ศิริลักษณ์. (2558). การทบทวนวรรณกรรมการ จัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับ คนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึง เรียนรู.้ วารสารสังคมศาสตร์บรู ณาการ. มหาวิทยาลัยมหิดล 2(1), 186-209. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2562.) รายงานสุขภาพคนไทย 2562 : สื่อสังคม สื่อสองคม สุขภาวะคนไทยในโลกโซเชียล. พิมพ์ครั้งที่ 1. - - นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562. (เอกสารทางวิชาการ / สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล; หมายเลข 483) สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2562.) สถานการณ์แรงงานต่างด้าว ณ เดือนกันยายน 2562. เข้าถึงได้ https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/alien_th/7b0d583df7ce92f43760c3d07c6ee66f.pdf กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2561). กองทุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ. เข้าถึงได้ที่ http://state.cfo.in.th/Portals/0/PUI%2060/%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B 8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0 %B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A %E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8 %94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0% B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E 0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5 %E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1.pdf

299


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก อารีรัตน์ ทะนอ1*, มนสินี อ่อนทอง1, วิไลพร สายบุญตั้ง1, พงศ์พิษณุ บุญดา1, ภัสสร นันทพลชัย1 1 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก, สถาบันพระบรมราชชนก *Corresponding author: areerat.j40@gmail.com บทคัดย่อ บทนำ ปัญหาฟันผุและสุขภาพช่องปาก ยังคงเป็นปัญหาทางด้านทันตสาธารณสุขในทุก ๆ ระดับ ไปจนถึงระดับโลก โดย บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้พยายามแก้ปัญหาในหลายๆ รูปแบบ แต่ก็ได้ผลเพียงบางส่วน วัตถุประสงค์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก การวิจัยถูกดำเนินการใน 3 ขั้นตอน คือ (1) ประเมินความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแล สุขภาพช่องปาก และแนวทางการพัฒนาโปรแกรม (2) การสร้างและศึกษาคุณภาพโปรแกรม (3) การทดลองและศึกษาผลการใช้ โปรแกรม วิธีวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกโรงเรียนที่มี คุณสมบัติคล้ายกัน 2 โรงเรียน จากนั้นสุ่ม เลือกนักเรียนที่มีอายุ 12 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 และชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนละ 30 คน เพื่อเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่อง ปากและกลุ่มควบคุมได้ รับการให้ทันตสุขศึกษาตามปกติ การเก็บรวบรวมข้อมูล กระทำ 2 ครั้ง คือก่อนการทดลองและหลังการ ทดลองโดยใช้แบบสำรวจ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และแบบบันทึกการตรวจคราบจุลิน ทรีย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัย ผล การศึกษาพบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่ มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแลสุขภาพ ช่องปาก คะแนนเฉลี่ยทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปาก และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปาก สูงกว่าก่อนการ เข้าร่วมโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ต่ำ กว่า ก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมและต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อภิปรายและสรุปผลการวิจัย การ ศึกษาวิจัยในครั้งนี้สามารถพิสูจน์ให้เห็นว่า โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก สามารถเพิ่ม คะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแล สุขภาพช่องปาก คะแนนเฉลี่ยทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปาก และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปาก และ สามารถลดค่าเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ของนักเรียน อายุ 12 ปี ในเขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก คำสำคัญ: โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก, พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก, ปริมาณคราบจุลินทรีย์, นักเรียนอายุ 12 ปี

300


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Development of an Oral Health Promotion Program on Oral Health Behavior among 12 Year-old Students in Watbot District, Phitsanulok Province Areerat thano1*, Monsinee Onthong1, Wilaiporn saibuntang1, Phongpisanu Boonda1, Passorn Nuntapolchai 1 1

Sirindhorn College of Public Health Phitsanulok, Praboromarajchanok Institute of Health Workforce Development *Corresponding author: areerat.j40@gmail.com Abstract Introduction: Dental caries and oral health problems Dental problems are still at every level up to the world level. The relevant personnel have tried to solve problems in many ways but only partially. Objective: The research aimed to evaluate the effectiveness of an oral health promotion program on oral health behavior among 1 2 - year-old students in Watbot District, Phitsanulok Province. The research methodology was conducted into three stages of research and development: (1) assess knowledge, attitude and behavior in oral health care and guidelines for program development; (2) creation and justification of program; and (3) implementation and dissemination of results. Methodology: This quasi-experimental. Two schools with similar features were selected by purposive sampling as the study groups. The experimental group received an oral health promotion program on oral health behavior. The controlled group received the routine oral health instruction. The data were collected twice at the beginning and the end of program using tests, questionnaires and plaque records. The data were analyzed by percentage, mean score, standard deviation, independent t-test and paired sample t-test. Results: The results revealed that after receiving the oral health promotion program, the experimental group had significantly higher mean score for oral health care knowledge, oral health care attitude and behavioral performance of oral health care and significantly lower plaque score than before receiving the program and control group at the 0.05 level. Discussion and conclusion: The findings of this research have showed that an oral health promotion program could improve mean score of oral health care knowledge, oral health care attitude and behavioral performance of oral health care. It could also reduce plaque scores among 12 year-old students in Watbot District, Phitsanulok Province.

Keywords: oral health promotion program, behavioral performance of oral health care, plaque, 12 yearold students

301


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

บทนำ โรคฟันผุเป็นโรคที่พบเห็นได้ทั่วไปในทุกๆ กลุ่มวัยเป็นโรคที่เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งทำให้เกิดการสูญเสียแร่ธาตุของฟัน ซึ่งโรคฟันผุมีหลายปัจจัยที่ทำให้การดำเนินโรคมีกระบวนการที่ต่างกันจากพฤติกรรมด้าน สุขภาพ และสภาวะร่างกายของแต่ละคน โดยปัญหาฟั นผุและสุขภาพช่องปาก ยังคงเป็นปัญหาทางด้านทันตสาธารณสุขในทุกๆ ระดับ ไปจนถึงระดับโลก โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และพยายามแก้ปัญหาในหลายๆ รูปแบบ แต่ก็ได้ผลเพียงบางส่วน โดยจากการ สำรวจภาวะทันตสุขภาพครั้งที่ 8 ในปี พ.ศ. 2560 แสดงให้เห็นว่าในระดับประเทศ เด็กนักเรียนอายุ 12 ปี มีสภาวะการณ์เกิดฟันผุ สูงถึงร้อยละ 52.0 (สำนักทันตสาธารณสุข , 2560) และมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซี่ต่อคน (สำนักทันตสาธารณสุข , 2560) โดย ในระดับภาคเหนือ การสำรวจใช้ข้อมูลจากการตรวจนักเรียนจาก 6 จังหวัดตัวแทน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแพร่ จังหวัด เพชรบูรณ์ จังหวัดตาก จังหวัดกำแพงเพชร และจังหวัดอุทัยธานี แสดงให้เห็นถึงสภาวะของโรคฟันผุในเขตภาคเหนือ ซึ่งพบว่าเด็ก นักเรียนอายุ 12 ปี ในเขตภาคเหนือมีสภาวะการเกิดฟันผุสูงถึงร้อยละ 51.1 (สำนักทันตสาธารณสุข , 2560) และมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.3 ซี่ต่อคน (สำนักทันตสาธารณสุข, 2560) ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนอายุ 12 ปี ในเขตภาคเหนือมีสภาวะการเกิดโรค ฟันผุที่ต่ำกว่าสภาวะการเกิดโรคฟันผุในระดับประเทศ โรคฟันผุเป็นปัญหาหลักที่เป็นสาเหตุของการสูญเสียฟัน ฟันผุมหี ลายระยะ มีตั้งแต่ระยะเริ่มต้นที่เป็นเพียงจุดสีขาวบนตัวฟันไปจนถึงผุเป็นโพรงขนาดใหญ่ที่มีการติดเชื้อเข้าไปในโพรงประสาทฟัน ซึ่งหาก ปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษาตั้งแต่ฟันผุระยะเริ่มต้น ฟันผุก็จะติดเชื้อเข้าไปในโพรงประสาทฟัน และกระดูกรอบรากฟัน หรืออาจจะลุกลาม ไปจนถึงการติดเชื้อในช่องว่างบริเวณขากรรไกร และใบหน้าได้ อาจจะเกิดอาการปวด บวม มีไข้ตัวร้อน ซึ่งหากยังปล่อยไว้ไม่รีบ รักษา อาจจะเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในกระแสเลือด หรือสภาวะช็อค (shock) จากพิษไข้ได้เช่นกัน นอกจากเชื้อจากโรคฟันผุจะ ลุกลามบริเวณขากรรไกร และใบหน้าแล้ว ยังพบว่า เชื้อแบคทีเรียสาเหตุของโรคฟันผุ เพิ่มความเสี่ยงให้กับการเกิดโรคหัวใจติดเชื้อ จากแบคทีเรีย (bacterial infective endocarditis) ได้อีกด้วย จังหวัดพิษณุโลก มีการสำรวจสภาวะการเกิดโรคฟันผุของนักเรียนอายุ 12 ปี ในทุกปี โดยข้อมูลจากการ ตรวจสภาวะช่องปากในเด็กอายุ 12 ปี พ.ศ. 2561 พบว่าเด็กนักเรียนอายุ 12 ปี ในเขตจังหวัดพิษณุโลกมีสภาวะการเกิดฟันผุสูงถึง ร้อยละ 47.39 (รายงานประจำปี, 2561) โดยเมื่อมองในภาพของอำเภอวัดโบสถ์ พบว่าเด็กนักเรียนอายุ 12 ปี มีสภาวะการเกิดฟัน ผุสูงถึงร้อยละ 77.56 (รายงานประจำปี, 2561) ซึ่งสภาวะการเกิดฟันผุของอำเภอวัดโบสถ์ สูงกว่าสภาวะการเกิดฟันผุของทั้งระดับ จังหวัด ระดับภาคเหนือ และระดับประเทศ ซึ่งน่าจะเกิดจากการผลการดำเนินงานส่วนใหญ่ยังขาดความต่อเนื่องและไม่สามารถทำให้เด็กนักเรียนเกิดพฤติกรรมที่ยั่งยืนจน เป็น นิสัยได้ ซึ่งจากผลการสัมภาษณ์เด็กอายุ 12 ปีพบว่าจำนวน เด็กนักเรียนที่แปรงฟันที่โรงเรียนและความสม่ำเสมอในการแปรงฟัน ของเด็กลดลง (Dental Health Division, 2012) แสดงถึงการขาดความระมัดระวังในการทำพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากทีด่ ี จนทำให้เกิดโรคในช่องปาก ซึ่งจากข้อมูลการทำงานของทันตบุคลากรในปัจจุบันจะพบว่า ยังคงมีปั ญหา ในเรื่องของวิธีการที่ทันต บุคลากรใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลอนามัยช่องปาก ของวัยรุ่น โดยที่ผ่านมาทันตบุคลากรมักจะใช้เพียงแค่การสอน ทันตสุขศึกษาแบบดั้งเดิม (Conventional) โดยมักจะไม่อ้างอิงหรือประยุกต์ใช้จากทฤษฎีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งนำไปสู่ การทำงานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่สำเร็จ และท้ายที่สุดปัญหา สุขภาพช่องปากก็ยังคงอยู่ ดังนั้น การศึกษา เพื่อพัฒนา โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกลุ่มวัยรุ่น โดยการใช้ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์และทันตแพทยศาสตร์จำเกี่ยวข้องกับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของวัย รุ่นตอนต้นจึง เป็นสิ่งจำเป็น จึงเป็นที่มาของการศึกษาในครั้งนี้ ที่จะศึกษา การพัฒนาโปรแกรม 302


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

การส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลก ที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ในลักษณะ ชุดกิจกรรมที่มีก ารประยุกต์แนวคิดจากทฤษฎี การเรียนรู้ปัญญาสังคม (Social Cognitive Theory of Learning) ของแบนดูรา (Bandura A. , 1997) ซึ่งเป็นแนวคิด ที่ใช้เพื่อพัฒนาปัจจัยภายในของบุคคล เช่น การรับรู้ความสามารถของตนเอง การควบคุมตนเอง ร่วมกับแนวคิดเสริมที่ใช้ในกระบวนการจัดกิจกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมิน ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 2. เพื่อสร้างและตรวจสอบองค์ประกอบของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่ องปาก ของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 3. เพื่อทดลองใช้และศึกษาผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของ นักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ระเบียบวิธีวิจัย กรอบแนวคิดการวิจยั

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยเรื่อง การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา ( Research and Development) ตามแนวคิดของพงศ์พิษณุ บุญดา (Phongpisanu B., 2018; Phongpisanu B., 2019, Phongpisanu B.,

303


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

2020) เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental) แบ่งกลุ่มศึกษาเป็นกลุ่มทดลอง (Experiment Group) และกลุ่ม เปรียบเทียบ (Control Group) วัดก่อนและหลังการทดลอง (Two Group Pretest-Posttest Design) ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลก ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 352 คน กลุ่ม ตัวอย่างได้จากจำนวนนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั่วไปเครื่องมือ ที่ใช้รวบรวมการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก เครื่องมือใช้ประเมินความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และเครื่องมือ ใช้ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับชั้น และห้องเรียน ส่วนที่ 2 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก ประกอบด้วย เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวน 10 ข้อ ซึ่งแบ่งเป็นข้อคำถามเชิงบวก จำนวน 3 ข้อ และเชิงลบ จำนวน 7 ข้อ ส่วนที่ 3 แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก ประกอบด้วย ทุกวัน 5-6 วัน/สัปดาห์ 3-4 วัน/สัปดาห์ 1-2 วัน/สัปดาห์ และไม่ได้ปฏิบัติ จำนวน 10 ข้อ ซึ่งแบ่งเป็นข้อคำถามเชิงบวก จำนวน 8 ข้อ และเชิงลบ จำนวน 2 ข้อ ส่วนที่ 4 แบบประเมินความรู้เกี่ ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ 2 ตัวเลือก ประกอบด้วย ถูก และผิด จำนวน 10 ข้อ ซึ่งแบ่งเป็นข้อคำตอบถูก จำนวน 5 ข้อ และผิด จำนวน 5 ข้อ เป็นแบบสอบถาม ที่สร้างขึ้นโดยผ่านการตรวจสอบความตรง ตามเนื้อหา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญ ทาง สาธารณสุขศาสตร์และทันตแพทยศาสตร์ จำนวน 2 ท่าน และด้านพฤติกรรมศาสตร์และการ สร้างเครื่องมือวัด จำนวน 2 ท่าน รวมทั้งสิ้นจำนวน 4 ท่าน และตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบัค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ค่า Reliability ทีไ่ ด้ เท่ากับ 0.80 ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบองค์ประกอบของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแล สุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนที่ 1 การสร้างโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างในการดำเนินการวิจัย เป็นองค์ความรู้จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล เป็นแบบบันทึกเอกสาร ตำรา และวิจัยที่เกี่ยวข้อง (matrix) ซึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบของประเด็นศึกษา และชื่อผู้ทำวิจัย การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เป็ น การวิ เ คราะห์ เ นื ้ อ หา และการวิ เ คราะห์ เ อกสาร (Content analysis and Document analysis)

304


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ส่วนที่ 2 การตรวจสอบองค์ประกอบของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิที่พิจารณาประเมินโปรแกรม จำนวน 3 คน ที่มีประสบการณ์ในการสร้ าง โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เครื่องมือ และลักษณะเครื่องมือในการดำเนินการวิจัย เป็นแบบประเมินโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิในส่วนที่ เป็นมาตราส่วนประมาณค่าจากการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ได้ 5 องค์ประกอบของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ดังนี้ 1.หลั ก การ ใช้ ท ฤษฎี ค วามสามารถตนเอง (Self-Efficacy Theory) (Bandura, 1989) ใช้ Semantic Model เป็ น รูปแบบที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพื่อให้เห็นโครงสร้างทาง ความคิด องค์ประกอบ และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของปรากฏการณ์นั้น ๆ เช่น รูปแบบการสอนของ (Joyce and Weil, 1985) 2.วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก อันประกอบด้วย ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม ด้านการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 3.เนื้อหา พัฒนาทั้งความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ และกระบวนการพัฒนาทักษะ ตามรูปแบบ การพัฒนาทักษะ โดยมี องค์ความรู้ และทักษะ ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งเป็นคุณลักษณะ ของผู้ดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานในชุมชน อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เนื้อหาที่ใช้ ภายในรูปแบบที่พัฒนา ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วย ได้แก่ โรคฟันผุ โรคเหงือกอักเสบ อาหารกับอวัยวะในช่องปาก และการตรวจฟันด้วยตนเอง 4.กระบวนการ ครั้งที่ 1 กิจกรรมสันทนาการ ทำแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม (Pre-test) และย้อมคราบจุลินทรีย์ 1) ผู้วิจัยชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ใช้เวลา 5 นาที 2) ทำแบบสอบถามก่อนการวิจัย ใช้เวลา 20 นาที 3) ย้อมคราบจุลินทรีย์ ใช้เวลา 60 นาที 4) สร้างสัมพันธภาพ เล่นเกมประกอบกิจกรรม ใช้เวลา 15 นาที ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ ประกอบด้วย โรคฟันผุ โรคเหงือกอักเสบ อาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ การตรวจฟันด้วย ตัวเอง การแปรงฟัน และการใช้ไหมขัดฟัน ใช้เวลา 120 นาที

305


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ครั้งที่ 3 กิจกรรมทบทวนความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยจัดเป็นเกมทบทวนความรู้ ประกอบด้วย เกมภาพปริศนา เกมทายคำตอบ และค้นหานักเรียนแกนนำ 5 คน เล่าประสบการณ์การดูแลสุขภาพช่องปากเป็น แบบอย่างให้กับนักเรียนคนอื่นๆ ครั้งที่ 4 กิจกรรมการสาธิตการแปรงฟัน การใช้ไหมขัดฟัน ทำแบบทดสอบ (Post-test) และย้อมคราบ จุลินทรีย์ 4.การประเมินผล 4 ด้านคือ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และปริมาณคราบจุลินทรีย์ ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้และศึกษาผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ศึกษาในอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 60 คน โดยได้ ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้โปรแกรม G*powerได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างขั้นต่ำจำนวน 42 คนเพื่อลดความเสี่ยงในการถอนตัวออก จากการวิจัยจึงใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างรวม 60 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ใช้การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากเลือกห้อง เข้า กลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน - กลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 1 โรงเรียนวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก) - กลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก) การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานของคะแนนที่ได้จาการประเมินการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การรับรู้ สมรรถนะแห่งตนในการดูแลสุขภาพช่องปาก ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และปริมาณ คราบจุ ล ิ น ทรี ย์ ข องกลุ ่ ม ทดลองและกลุ ่ ม ควบคุ มหลั งการเข้ าร่ ว มโปรแกรมการส่ งเสริ ม สุ ข ภาพช่ อ งปากให้ ใ ช้ ก ารทดสอบ independent t-test และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การ รับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลสุขภาพช่องปากทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และปริมาณ คราบจุลินทรีย์ ของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการ เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ให้ใช้การทดสอบ paired sample t-test ผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์การประเมินความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พบว่า กลุ่มประชากรนักเรียนอายุ 12 ปี ในเขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เป็นเพศหญิงมากกว่า จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 50.3 และเพศชาย จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 49.7

306


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ความรู้ กลุ่มประชากร มีคะแนนความรู้อยู่ในระดับสูง จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 49.71 รองลงมา คือ ระดับปาน กลาง จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 37.71 และระดับต่ำ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 12.57 คำถามที่กลุ่มประชากรตอบถูกมากที่สุด คือ ข้อ 1) อาหารที่มีน้ำตาลทำให้เกิดฟันผุ เช่น ลูกอม น้ำอัดลม ขนมหวาน ร้อยละ 98.9 รองลงมา คือ ข้อ 9) การทานอาหารเหนียวติดฟัน เช่น ตังเม ช็อคโกแลต ทำให้เกิดฟันผุ ร้อยละ 93.7 และข้อ 2) ควรแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพื่อช่วยป้องกันฟันผุ และข้อ 8) การไปพบหมอฟันทุกๆ6เดือนจะช่วยตรวจพบปัญหาโรคฟันผุ ระยะเริ่มแรกได้ เช่น มีรอยสีขาวขุ่นบนผิวฟัน ร้อยละ 89.7 ข้อที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ข้อ 4) วิธีแปรงฟันที่ถูกต้อง คือถูไปมาให้ทั่ว ทุกซี่ ร้อยละ 138 ทัศนคติ กลุ่มประชากร มีคะแนนความรู้อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 55.4 รองลงมา คือ ระดับสูง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 43.4 และระดับต่ำ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.1 คะแนนทัศนคติของกลุ่มประชากรนักเรียนอายุ 12 ปี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 60.29±1.34 ข้อที่ได้คะแนนสูงคือ ข้อ 10) ท่านคิดว่าการบ้วนปากด้วยน้ำสะอาดช่วยให้ฟันสะอาด โดยไม่ต้องแปรงฟัน 84.57±3.68 รองลงมาระดับปานกลาง คือ ข้อ 8) ท่านคิดว่าการรับประทานอาหารวันละหลายๆครั้ง ไม่ทำให้เกิดโรคฟันผุ 72.34±1.06 และระดับต่ำ คือ ข้อ 7) ท่านคิดว่า คราบขี้ฟันที่อยู่บนตัวฟันจะทำให้เกิดฟันผุได้ 45.26±0.95 พฤติกรรม กลุ่มประชากร มีคะแนนความรู้อยู่ในระดับสูง จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 77.7 รองลงมา คือ ระดับปาน กลาง จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และระดับต่ำ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3 คะแนนพฤติกรรมของกลุ่มประชากรนักเรียนอายุ 12 ปี โดยรวมอยู่ในระดับต่ำ 47.91±1.33 ข้อที่ได้คะแนนปานกลาง คือ ข้อ 9) ท่านไปพบหมอฟันทุกๆ 6 เดือน 67.09±1.64 และระดับต่ำสุด คือ ข้อ 5) ท่านใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ 29.14±0.93 2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนที่ 1 ผลการพิจารณาความเหมาะสมของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ช่องปากของนักเรียน อายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พบว่าระดับความเหมาะสมของคู่มือการใช้ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากความเหมาะสมของโปรแกรมการส่งเสริม สุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน อายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลกอยู่ใน ระดับมาก โดยคะแนนเฉลี่ยโดยรวม คือ 4.18±0.53 คะแนน ส่วนที่ 2 ผลการพิจารณาแบบประเมินคู่มือการใช้ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากความเหมาะสมของโปรแกรม การส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน อายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัด พิษณุโลก พบว่าระดับความเหมาะสมของคู่มือการใช้ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากความเหมาะสมของโปรแกรมการส่งเสริม สุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน อายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลกอยู่ใน ระดับมาก โดยคะแนนเฉลี่ยโดยรวม คือ 3.90±0.49 คะแนน

307


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จากผลการศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของ นักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมี ทั้งหมด 42 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 21 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกตามคุณลักษณะทั่วไปทางประชากร ดังแสดงในตารางที่ 4.12 มีดังนี้ ตารางที่ 1 ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อมูลทั่วไปของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก คุณลักษณะประชากร กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม เพศ ชาย 38.1 61.9 หญิง 61.9 38.1 ห้องเรียน ห้อง 1 100 0 ห้อง 2 0 100 จากตาราง 1 พบว่า กลุ่มทดลองนักเรียนอายุ 12 ปี ในโรงเรียนวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลกเป็นเพศหญิง มากกว่า คือ ร้อยละ 61.9 และเพศชาย ร้อยละ 38.1 ส่วนกลุ่มควบคุมมีเพศชายมากกว่า คือ ร้อยละ 61.9 และเพศหญิง ร้อยละ 38.1 กลุ่มทดลองเป็นนักเรียนห้อง 1 คือ ร้อยละ 100 ส่วนกลุ่มควบคุมเป็นนักเรียนห้อง 2 คือ ร้อยละ 100 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อน และ หลังการทดลอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก 72.38±14.80 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 84.76±11.23 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.002) โดยหลัง การทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการทดลอง ส่วนกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพช่องปาก 76.19±17.16 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 71.90±12.09 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนน เฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าคะแนนความหลังการทดลอง ไม่แตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.699) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนการทดลอง การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปาก ภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อน และ หลังการทดลอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเรื่องการดูแลสุขภาพช่อง ปาก 61.71±10.32 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 63.14±11.01 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนทัศนคติเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.694) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการทดลอง ส่วนกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก 59.43±9.69 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 55.24±9.15 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบ

308


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คะแนนเฉลี่ยทัศนคติเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าคะแนนความหลังการทดลอง ไม่แตกต่างอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.186) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนการทดลอง การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปาก ภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อน และ หลังการทดลอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่อง ปาก 58.38±14.38 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 48.57±15.63 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.019) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนการทดลอง ส่วนกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปาก 54.29±13.16 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 47.14±12.27 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าคะแนนความหลังการทดลอง ไม่แตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.384) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนการทดลอง ทั้งนี้เป็น เพราะนักวิจัยไม่สามารถควบคุมการประเมินพฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้ เนื่องจากอยู่ในช่วงเวลาการเดินทางกลับบ้านของเด็ก นักเรียน ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของคราบจุลินทรีย์ ภายในกลุ่มทดลอง และกลุม่ ควบคุม ก่อน และหลังการทดลอง คราบจุลินทรีย์ N ̅ 𝒙 กลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง 21 1.7 หลังการทดลอง 21 0.64 กลุ่มควบคุม ก่อนการทดลอง 21 1.6 หลังการทดลอง 21 1.6 *กำหนดคำนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (หมายเหตุ : คะแนนเต็ม 5 คะแนน)

S.D.

T

p-value

0.72 0.31

6.139

.000*

0.46 0.51

-1.451

.162

จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก 1.7±0.72 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 0.64±0.31 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) โดยหลังการทดลองมี คะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนการทดลอง ซึ่งแสดงถึงสามารถลดคราบจุลินทรีย์ในช่องปากได้ดีกว่า ส่วนกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก 1.6±0.46 คะแนน หลังการทดลองมี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 1.6±0.51 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก ก่อน และหลังการทดลอง พบว่า ถึงแม้คะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์หลังการทดลอง ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.162) โดยหลัง การทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการทดลอง แสดงถึงสามารถลดคราบจุลินทรีย์ในช่องปากได้น้อยกว่าก่อนการทดลอง

309


The 2nd National Conference of Health Science Research

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ

Knowledge transformation towards Thailand 4.0

มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของคราบจุลินทรีย์ ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อน และหลังการทดลอง คะแนนคราบจุลินทรีย์ N ̅ 𝒙 ก่อนการทดลอง กลุ่มทดลอง 21 1.7 กลุ่มควบคุม 21 1.6 หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง 21 0.64 กลุ่มควบคุม 21 1.6 *กำหนดคำนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (หมายเหตุ : คะแนนเต็ม 5 คะแนน)

S.D.

T

p-value

0.72 0.46

.384

.703

0.31 0.51

-7.749

.000*

จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก 1.7±0.72 คะแนน และกลุ่มควบคุมมีคะแนนคราบจุลนิ ทรีย์ 1.6±0.46 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคราบจุลนิ ทรีย์ในช่อง ปาก ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม พบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.703) โดยก่อนการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มควบคุม ส่วนหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก 0.64±0.31 คะแนน และกลุ่มควบคุมมี ค่าเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ 1.6±0.51 คะแนน เมื่อเปรียบเที ยบคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) โดยหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยว่ากลุ่มควบคุม ซึ่งแสดงถึ งสามารถลดคราบจุลินทรีย์ในช่องปากได้ ดีกว่า อภิปรายผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมช่องปากส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการ ดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีเกี่ยวกับรูปแบบการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รูปแบบ Keeves ประเภทที่ 2 คือ Semantic Model, ทฤษฏี KAP และทฤษฎีความสามารถตนเอง ( SelfEfficacy Theory ) ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ประกอบด้วยกิจกรรม 4 กิจกรรม 1) การแนะนำตนเอง 2) การให้ความรู้ 3) การ ทบทวนความรู้ และการสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพช่อง และ 4) การสาธิต และปฏิบัติเกี่ยวกับการแปรงฟัน และการใช้ อุปกรณ์เสริม จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่ า โปรแกรมเสริมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของ นักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน สามารถอภิปราย ผลได้ดังนี้ ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของก ลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 72.38) หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมแล้วกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากขอ งกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 84.76) มีความแตกต่างอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.002)

310


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

สอดคล้องกับการศึกษาของ จิตพิสุทธิ์ มั่นศิล และคณะ (2561) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมทันตสุขภาพโดย ประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมต่อ การป้องกันโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่าหลังการ ทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกั บการดูแลสุขภาพช่องปาก และการป้องกันฟันผุ ดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001), อัสมาพร สุรินทร์ (2560) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมผู้ปกครองในการป้องกันฟันผุของเด็ก ปฐมวัย (อายุ 3-5 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัด ตรัง พบว่าหลังจากได้รับโปรแกรมส่งเสริม ผู้ปกครองในการป้องกันฟันผุ กลุ่มทดลองมีความรู้ในการป้องฟันฟันผุ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001 ) ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีความรู้ในการป้องกันฟันผุ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดั บ 0.05 (p-value =0.832) โดยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้ ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับปานกลาง (11.29±1.82 ) และความรู้ หลังเข้า ร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับสูง (14.43±1.10) ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีคะแนนความรู้ ในการป้องกันฟันผุก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ใน ระดับปานกลาง (11.14±1.88) และความรู้ หลังเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับปานกลาง (12.05±1.24 ), ณัฐนันท์ โกวิทวัฒนา และ ศิริพร ส่งศิริประดับบุญ (2561) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายเขต หนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร พบว่าโปรแกรมทันตสุขศึกษาทั้ง 2 รูปแบบที่จัดให้มีผลเพิ่มคะแนนความรู้ของกลุ่มตัวอย่างได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนความรู้ก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และมีค่ามากกว่าคะแนนของกลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001), อุมาพร ชมโฉม, อารยา ปรานประวิตร และวันเพ็ญ แก้วปาน (2560) ได้ศึกษาผล ของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อ.พุนพิน จ. สุราษฎร์ธานี พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เรื่องโรคเหงือกอักเสบ มากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่าก ลุ่ม ควบคุมที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05, สิริลักษณ์ รสภิรมย์(2556) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดย ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม พบว่าภายหลังได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเอง กลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับการ ดูแลทันตสุขภาพดีกว่าก่อนได้รับทันตสุขศึกษา และดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, และกิติศักดิ์ วาท โยธา และศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร (2562) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแล สุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปีเขตพื้นที่อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้านทัศนคติการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปากขอ งกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 61.71) หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมแล้วกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเรื่องทัศนคติการดูแลสุขภาพช่อง ปากปากของกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 63.14) มากกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.694) สอดคล้องกับการศึกษาของจิตพิสุทธิ์ มั่นศิล และคณะ (2561) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมทันตสุขภาพ โดย ประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมต่อ การป้องกันโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่าหลังการ ทดลอง กลุ่มทดลองมี การรับรู้ความสามารถตนเองในการดูแลสุขภาพช่องปาก ความคาดหวังผลของการดูแลสุขภาพช่องปาก ดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001), ยุทธนา พินิจกิจ (2559) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุข

311


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ศึกษาต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง พบว่า ผู้ปกครองเด็ก 30 คน มีทัศนคติในการดูแล สุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนหลังการทดลองดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, อุมาพร ชมโฉม, อารยา ปรานประวิตร และวันเพ็ญ แก้วปาน (2560) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี พบว่า กลุ่มทดลองมี การรับรู้ความสามารถ ตนเองต่อการป้องกันโรคเหงือกอักเสบ ความคาดหวังในผลที่เกิดจากการปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคเหงือกอักเสบ โรคเหงือก อักเสบ มากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05, กิติศักดิ์ วาทโยธา และศิวิไลซ์ วนรัตน์ วิจิตร (2562) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน อายุ 12 ปีเขตพื้นที่อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลสุขภาพช่อ งปากสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และไม่สอดคล้องกับการศึกษาของสิริลักษณ์ รสภิรมย์(2556) ได้ศึกษาประสิทธิผล ของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พบว่าภายหลังได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองกลุ่ม ทดลองมีการรับรู้ความสามารถตนเองต่อการดูแลทันตสุขภาพไม่แตกต่างจากก่อนได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาและพบว่าคะแนน เฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ต่อการดูแลทันตสุขภาพระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมเมื่อควบคุมตัวแปรร่วมแล้วไม่ แตกต่างกัน ด้านพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่อง ปากของกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 58.38) หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมแล้วกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเรื่องพฤติกรรมการดูแล สุขภาพช่องปากปากของกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 48.57) น้อยกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (pvalue = 0.019) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐาน เนื่องจาก นักวิจัยไม่สามารถควบคุมการประเมินพฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้ เพราะอยู่ใน ช่วงเวลาการเดินทางกลับบ้านของเด็กนักเรียน จึงส่งผลคะแนนของนักเรียนกลุ่มทดลองมีความรู้ความเข้าใจ และความจำได้ไม่ต่าง จากกลุ่มควบคุม ดังนั้นจึงทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่อ งปากน้อยกว่าก่อนทดลอง และกลุ่มควบคุม ซึ่ง สอดคล้องกับการศึกษาของสิริลักษณ์ รสภิรมย์(2556) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี ความสามารถตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พบว่าภายหลัง ได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการตรวจฟันอย่างง่ายด้วยตัวเองไม่ แตกต่างจากก่อนได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษา และพบว่าเฉลี่ย คะแนนพฤติกรรมการตรวจฟันอย่างง่ายด้วยตนเองระหว่างกลุ่ม ทดลอง และกลุ่มควบคุมเมื่อควบคุมตัว แปรแล้วไม่แตกต่างกัน และไม่สอดคล้องกับการศึกษาของชิงชัย บัวทอง, ยินดี พรหมศิริ ไพบูลย์, และอัจริยา วัชราวิวัฒน์ (2558) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฝันผุของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบางเหียน อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ พบว่าคะแนนเฉลี่ยจากการใช้โปรแกรม ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก พบว่าจากการเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุพบว่าคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มทดลองสูงกว่าคะแนน ในกลุ่มควบคุมทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, จิตพิสุทธิ์ มั่นศิล และคณะ (2561) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม

312


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

ทันตสุขภาพโดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมต่อ การป้องกันโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการปฏิบัติตนในการดูแลทันตสุขภาพดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001), จิตพิสุทธิ์ มั่นศิล และคณะ (2561) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมทันตสุขภาพโดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมต่อ การป้องกันโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการปฏิบัติตน ในการดูแลทันตสุขภาพดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001), ยุทธนา พินิจกิจ (2559) ได้ศึกษาผลของ โปรแกรมทันตสุขศึกษาต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง พบว่า ผู้ปกครองเด็ก 30 คน มีการ ปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนหลังการทดลองดีกว่าก่อนการทดลองอย่ างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, อุ มาพร ชมโฉม, อารยา ปรานประวิตร และวันเพ็ญ แก้วปาน (2560) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี พบว่า กลุ่มทดลองมีการปฏิบัติ ในการป้องกัน โรคเหงือกอักเสบ มากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมที่ระดับนัยสำคัญทางสถิ ติที่ 0.05, ณัฐวุธ แก้ว สุทธา, อังศินันท์ อินทรกำแหง, และพัชรี ดวงจันทร์ (2559) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัย ช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น พบว่านักเรียนที่ได้รับโปรแกรมการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้นจะมี การทำความสะอาดช่องปาก การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก และสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจิตสังคมกับรูปแบบการฝึกอบรมที่มีต่อการทำความ สะอาดช่องปาก การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก และสภาวะอนามัยช่องปาก, กิติศักดิ์ วาทโยธา และศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร (2562) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปีเขตพื้นที่อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร พบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มทดลองมี คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการตรวจฟันอย่างง่ายสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ปริมาณคราบจุลินทรีย์ ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปากของกลุ่ มตัวอย่าง นักเรียน (𝑥̅ = 1.7) หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมแล้วกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปากของกลุ่มตัวอย่างนักเรียน (𝑥̅ = 0.64) น้อยกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน และเป็น การช่วยยืนยันในเรื่องของพฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้อย่างดีว่า แม้จะมีข้อจำกัดของนักวิจัยที่ไม่สามารถควบคุมการประเมิน พฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้ เพราะอยู่ในช่วงเวลาการเดินทางกลับบ้านของเด็กนักเรียน จึงส่งผลให้คะแนนพฤติกรรมเรื่องการ ดูแลสุขภาพช่องปากภายหลังการทดลองน้อยกว่าก่อนทดลอง และกลุ่มควบคุม แต่ผลคะแนนคราบจุลินทรีย์ในช่องปากของกลุ่ม ตัวอย่างนักเรียนมีค่าน้อยลง ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี และบ่งบอกถึงประสิทธิภาพของโปรแกรมด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของชิงชัย บัวทอง, ยินดี พรหมศิริไพบูลย์ , และอัจริยา วัชราวิวัฒน์ (2558) ได้ศึกษาผลของ โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฝันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบางเหียน อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ พบว่าปริมาณแผ่นคราบจุลินทรีย์ที่พบในกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05, จิตพิสุทธิ์ มั่นศิล และคณะ (2561) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมทันตสุขภาพโดยประยุกต์ทฤษฎีปัญญา สังคมต่อ การป้องกันโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่า

313


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

คะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันน้อยลงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001), ยุทธนา พินิจกิจ (2559) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง พบว่า เด็กมีคราบ จุลินทรีย์บนตัวฟันลดลงหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, ณัฐนันท์ โกวิทวัฒนา และศิริพร ส่งศิริประดับบุญ (2561) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุ ขศึก ษาในเด็ก นักเรียนชั้ นประถมศึกษาตอนปลายเขตหนองจอก จังหวัด กรุงเทพมหานคร พบว่าเฉพาะกลุ่มที่มีการจัดกิจกรรมผ่านตัวแบบแกนนำเพื่อนนักเรียนเท่านั้นที่มีระดับคราบจุลินทรียห์ ลังสิ้นสุด โปรแกรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) เมื่อเปรียบเทียบกับระดับคราบจุลนิ ทรีย์ก่อนเริ่มโปรแกรม แสดงให้เห็นว่าการ ให้ทันตสุขศึกษาโดยครูอนามัยเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแปรงฟันเมื่อใช้ระดับคราบจุลินทรีย์ เป็นตัวชี้วัด และการจัดกิจกรรมผ่านตัวแบบโดยให้แกนนำเพื่อนเข้ามามีส่วนร่วมสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุข ศึกษาในโรงเรียนได้, อุมาพร ชมโฉม, อารยา ปรานประวิตร และวันเพ็ญ แก้วปาน (2560) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษา ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึก ษาปีที่ 6 อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี พบว่า กลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของปริมาณคราบจุลินทรีย์ และสภาวะเหงือกอักเสบในกลุ่มทดลอง ลดลงกว่าก่อนการทดลอง และลดลงกว่า กลุ่มควบคุม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05, สิริลักษณ์ รสภิรมย์(2556) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดย ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัด นครปฐม พบว่าภายหลังได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองนักเรียนมีปริมาณคราบจุลินทรีย์ บนตัวฟันน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาน้อยกว่านักเรียนที่ได้รับทันตสุขศึกษาตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05, และกิติศักดิ์ วาทโยธา และศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร (2562) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่อง ปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร พบว่า และ พบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ต่ำกว่าก่อนการเข้า ร่วมโปรแกรมและต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปและข้อเสนอแนะ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของ นักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยพบว่า 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คือ ร้อยละ 61.9 และเพศชาย ร้อยละ 38.1 กลุ่มควบคุม นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คือ ร้อยละ 61.9 และเพศหญิง ร้อยละ 38.1 2. ด้านความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก คะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพช่องปาก 72.38±14.80 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 84.76±11.23 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนน ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.002) โดยหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการทดลอง คะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก หลังเข้า ร่วมโปรแกรมระหว่างกลุ่มทดลอง 84.76±11.23 คะแนน แตกต่างกับกลุ่มควบคุม 71.90±12.09 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.001) ดังนั้นเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

314


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

3. ด้านทัศนคติการดูแลสุขภาพช่องปาก คะแนนเฉลี่ยทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปากระหว่างกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเรื่องการ ดูแลสุขภาพช่องปาก 61.71±10.32 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 63.14±11.01 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนน ทัศนคติเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (pvalue = 0.694) คะแนนเฉลี่ยทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปาก หลังเข้าร่วมโปรแกรมระหว่างกลุ่มทดลอง 63.14±11.01 คะแนน แตกต่างกับกลุ่มควบคุม 55.24±9.15 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.015) ดังนั้นเป็นไป ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4. ด้านพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากระหว่างกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการ ดูแลสุขภาพช่องปาก 58.38±14.38 คะแนน และกลุ่มเปรียบเทียบมีคะแนนพฤติกรรม 51.13±14.93 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.019) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก หลังเข้าร่วมโปรแกรมระหว่างกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก 48.57±15.63 คะแนน และกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรม 47.14±12.27 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = 0.744) ดังนั้นไม่ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (ด้วยข้อจำกัดของนักวิจัยที่ไม่สามารถควบคุมการประเมินพฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้ เพราะอยู่ใน ช่วงเวลาการเดินทางกลับบ้านของเด็กนักเรียน) 5. ปริมาณคราบจุลินทรีย์ คะแนนเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ระหว่างกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก 1.7±0.72 คะแนน หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 0.64±0.31 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก ก่อน และหลังการทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) คะแนนเฉลี่ยปริมาณคราบ จุลินทรีย์ หลังเข้าร่วมโปรแกรมระหว่า งกลุ่มทดลอง 0.64±0.31 คะแนน แตกต่างกับกลุ่มควบคุม 16±0.51 คะแนน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) ดังนั้นเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมช่องปากส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของนักเรียนอายุ 12 ปี เขตพื้นที่อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ในการนำผลการวิจัยไปใช้ ควรนำโปรแกรม ส่งเสริมสุขภาพช่องปากไปปรับปรุงให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ต่างๆ แล้วนำไปปรับใช้ในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อไป และในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการวัดซ้ำ ใน 2 กลุ่มการทดลองเพื่อความเชื่อมั่นของโปรแกรม กิตติกรรมประกาศ การวิจัยครั้งนี้สำเร็จลุล่วงได้ ด้วยความร่วมมือของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริม สุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้อำนวยการ คุณครูและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจึงขอขอบคุณทุกท่าน ที่

315


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

มีส่วนเกี่ยวข้องมา ณ ที่นี้ เอกสารอ้างอิง Bandura A. (1997). Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change. PSYCHOL REV, 84(2): 191-215. Buathong C, Promsiripaiboon Y, Vatchalavivat A. (2015). The Effects of Oral Health Promotion Program on Dental Caries Prevention behaviors of Grade Six Students at Ban Banghean School at Plaipraya District, Krabi Province. J Commun Health Develop KKU, 3(2): 293-306. Dental Health Division. (2012). The 7th Thailand national oral health survey report. Nontaburi: Department of Health, Ministry of Public Health. 68-9. Division of Dental Health, Department of Health, Ministry of Public Health. (2012). The 7th National Oral Health Survey Report. Bangkok: Samcharoen Panich. Greene JC, Vermillion JR. (1964). The Simplified Oral Hygiene Index. JADA, 68: 7-13. Iamsupasit S. (2006). Theories and techniques in behavior modification. 5th ed. Bangkok: Chulalongkorn University. Inpun W. (2015). Effect of Dental Health Program to Dental Caries Prevention Behavior among Sixth Grade Students of Anubanprachinburi School. PRRJ, 10(1): 131-142. Kampolngam N . (2015). The Effects of a Health Education Program and Tooth Decay Prevention for The Primary School Students Through The Application of a Self-Efficacy Theory and Social Support Theory. J Rajanagarindra; 2015: 179186. Kittipongpittaya P, Tansakul S, Kengkanpanich T, Youngnoi T. (2008). Application of Self-Efficacy Theory to Promote Dental Health Care Behavior among Matthayomsuksa 1 Students in Aranyaprathet District, Sa Kaeo Province. J Health Edu, 31(108): 7-25. Kongmuangpuk M. (2019). Effects of a Dental Health Program on Oral Hygiene of Elementary School Students. OJED , 4(1): 1400-1414. Maphunthana Y, Rujira Duangsong R.(2011). The Effects of Dental Health Education Program by Applying The Protection Motivation Theory and Social Support on Behavioral Modification for Gingivitis Prevention among The Six Grade Students, Muang District Nakhon Ratchsima Province. Thesis of Master of Public Health in Health Education and Health Promotion, Graduate School Khon Kaen University. Peter BL, Michael TB, Martin T, et al. (2009). Poor oral hygiene as a risk factor for infective Endocarditis related bacteremia. JADA; 140: 12381244. Phongpisanu B. (2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 2(10): 000183. DOI: 10.23880/mjccs-16000183 Phongpisanu B. (2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 3(4): 000222. DOI: 10.23880/mjccs-16000222

316


The 2nd National Conference of Health Science Research Knowledge transformation towards Thailand 4.0

สำนักวิชำวิทยำศำสตร ์สุขภำพ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง

Phongpisanu B. (2020) Process of Research and Development in Public Health. Int J Clin Case Stud Rep, 2(1): 61-65. Rosphirom S. (2013). The Effectiveness of a Dental Health Education Programme Appying Self- Efficacy Theory on Dental Health Behavior of Prathomsuksa 4 Students in Muang District, Nakronpathom Province. Thesis of Master of Science Degree in Health Education, Graduate School, Srinakharinwirot University. Tansakul S. (2005). Theories and Models Applied to Health Education and Behavioral Science. 2nd ed. Bangkok: Yutharint Printing.

317


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.