Museum Academic 16 - ภูมิทัศน์รัฐฉาน LANDSCAPE OF SHAN STATE

Page 1

M C M พิ พิธภัณฑสถานอารยธรรมลุ่มนํา้ โขง

MEKONG BASIN CIVILIZATION MUSEUM

ภูมิทัศน์

รัฐฉาน LANDSCAPE

OF SHAN STATE

Museum Academic 16 โครงการจัดตั้งพิ พิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนํา้ โขง มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง The Project on Establishment of Mekong basin Civilization Museum Mae Fah Luang University



ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

1

ภูมิทัศน์รัฐฉาน LANDSCAPE

OF SHAN STATE

พิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน�้ำโขง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Mekong Basin Civilization Museum Mae Fah Luang University

Mekong basin Civilization Museum


2

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

สิ่งพิมพ์วิชาการ ล�ำดับที่ 16 (Museum Academic 16) ชื่อเรื่อง (Title)

ภูมิทัศน์รัฐฉาน LANDSCAPE OF SHAN STATE

จัดท�ำโดย โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน�้ำโขง The Project on Establishment of มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Mekong basin Civilization Museum Mae Fah Luang University เรื่องและภาพโดย Story and pictures by พลวัฒ ประพัฒน์ทอง Pollavat Praphattong ณัฐกร วิทิตานนท์ Nuttakorn Vititanon ชูชาติ ใจแก้ว Chuchart Jaikaew สิริวรรณ กิตติร่มโพธิ์งาม Siriwan Kittiromphongam เรียบเรียงภาษาอังกฤษ Translated and revised by ธีรนุช อนุฤทธิ์ Teeranuch Anurit ชัยทิพย์ คัดสุระ Chaiyathip Katsura ISBN (e-book) 978-616-470-058-1 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2564 1st edition 2021 พิมพ์ที่ Printing House เอราวัณการพิมพ์ Arawan Printing 28/10 ถนนสิงหราช ต�ำบลศรีภูมิ 28/10, Singharach Rd. Sripoom, อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 Muang District, Chiang Mai Province 50200 โทรศัพท์/โทรสาร: 0 5321 4491 Telephone/FAX: 0 5321 4491 อีเมล : arawanprinting@gmail.com E-mail: arawanprinting@gmail.com

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

3

บทน�ำ

รัฐฉาน เป็นรัฐส�ำคัญรัฐหนึ่งในจ�ำนวนรัฐทั้งเจ็ดของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ซึ่งตั้งอยู่ทางภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ นอกจากชนเผ่าไทใหญ่แล้วยังมีชนเผ่าต่างๆ เช่น ปะโอ ปะหล่อง เป็นต้น โดยมี เมื อ งตองยี เป็นเมืองหลวงของรัฐ ตั้งอยู่ห ่างจากเมื อ งมั ณ ฑะเลย์ ไ ปทางตะวั นออกเฉี ย งใต้ ประมาณ 140 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนความสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 1,400 เมตร จึงท�ำให้เมืองตองยีมีอากาศที่ค่อนข้าง เย็ น สบายตลอดทั้งปี สิ่งที่น่าสนใจของเมือ งตองยี คื อ เมื อ งตองยี เ ป็ นเมื อ งที่ มี วัฒ นธรรมอั นหลากหลาย ผสมผสานกันอยู่มากมาย ทั้งชาวพม่า ชาวไทใหญ่ ชาวกะเหรี่ยง ชาวว้า ฯลฯ และเป็นเมืองเก่าแก่ที่ได้รับความ เปลี่ยนแปลงอย่างมาก แต่กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ยังคงรักษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไว้ได้อย่างมั่นคง โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน�้ำโขงจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ด้านศิลปวัฒนธรรมในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขงในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ และเป็นแหล่งบริการการค้นคว้าและเผยแพร่ ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมสู่สังคมในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการบริการภาคสนามที่มีการเข้าไปสัมผัสและ เรียนรู้วัฒนธรรมของคนลุ่มน�้ำโขงด้วยตนเอง เป็นอีกก้าวหนึ่งในการเปิดหน้าต่างพรมแดนความรู้ของวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลายเพื่อสร้างความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมและสามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนา แนวทางการศึกษาและเรียนรู้ได้อย่างไม่สิ้นสุด สืบเนื่องจากการด�ำเนินงานตามพันธกิจของหน่วยงาน โครงการส�ำรวจภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และ กลุ่มชาติพันธุ์เมืองตองยี รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม -1 สิงหาคม 2560 โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน�้ำโขงได้รับชุดความรู้ ประกอบด้วย ข้อมูล ภาพถ่าย ส�ำเนาเอกสาร โบราณ และพิกัด GPS จากพื้นที่ 9 เมือง ได้แก่ เมืองกะลอ เมืองอ่องปาน เมืองพินดายา เมืองหยองห้วย เมืองชเวยอง เมืองตองยี เมืองพินอูลวิน (หรือเมืองเมเมียว) เมืองสีป้อ และเมืองล่าเสี้ยว ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความ หลากหลายและคุณค่าด้านศิลปวัฒนธรรม รวมไปถึงภูมิทัศน์ที่งดงาม พร้อมมีเรื่องราวบอกเล่าผ่านสถานที่และ วิถีชีวิตของผู้คน สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ เรื่อง ภูมิทัศน์รัฐฉาน จัดท�ำขึ้นเพื่อรวบรวมและเรียบเรียงชุดข้อมูลความรู้จากการ ลงพื้นที่ส�ำรวจ ณ รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถเป็นฐานข้อมูลด้าน ศิลปวัฒนธรรมให้ผู้ที่สนใจน�ำไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และเผยแพร่ องค์ความรู้ไปยังสาธารณชนในวงกว้างต่อไป

Mekong basin Civilization Museum


4

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

INTRODUCTION The Shan State, one of the seven states of the Republic of the Union of Myanmar, is recognised for its ethno-cultural significance. This Northeastern Myanmar state is home to the Shans, as well as other tribes such as Pa’O and Palaung. The state’s capital, Taunggyi, located some 140 kilometres to the southeast of Mandalay, is situated at about 1,400 metres above sea level, a geography that promises a cool and clement climate all year round. One prominent aspect of Taunggyi is that it is richly blessed with cultural diversity. It is where the customs and traditions of the Myanmar, the Shans, the Karens, the Was, amongst others, intermingle. Although Taunggyi is an old city undergoing substantial transformation, the native tribes still firmly uphold their cultures and traditional ways of life.

The Project on Establishment of Mekong Basin Civilization Museum has been established to serve as a museum-mediated center for education, research, and studies on arts and cultures of the peoples in the Mekong Subregion.The museum has also been designed to facilitate art-andculture research and dissemination for the society through a variety of its services. In addition, the museum provides field trip services allowing visitors to learn about and acquire first-hand experience of the peoples of the Mekong basin. These services are another step towards opening the gateway beyond frontier to accumulate bodies of knowledge of cultural diversity. Such knowledge, in turn, can be furthered to promote endless educational and learning development. Between 27 July and 1 August 2017, the Museum project conducted a survey of the local art-and-culture-related wisdom of the ethnic tribes of Taunggyi in the Shan State of the Republic of the Union of Myanmar. The bodies of knowledge acquired through this survey include information, photographs, copies of ancient documents, and GPS coordinates of nine townships, namely, Kalaw, Aung Ban, Pindaya, Nyaungshwe, Shwe Nyaung, Taunggyi, Pyin Oo Lwin (Maymyo), Hsipaw, and Lashio. These materials exhibit diversity of indigenous arts and cultures against the backdrop of spectacular vistas that tell stories of local places and peoples. The academic publication “LANDSCAPE OF SHAN STATE” is a specially organised compilation of the bodies of knowledge acquired through the field survey in the Shan State of the Republic of the Union of Myanmar. We hope that this publication would serve as database for those enthusiastic to pursue further research studies on indigenous arts and cultures and to disseminate them to the wider public.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

5

สารบัญ

CONTENTS บทน�ำ

INTRODUCTION

ภูมิทัศน์รัฐฉาน: ชาติพันธุ์ การเมือง และชีวิต 7 ก�ำเนิดรัฐฉาน 7 อังกฤษเริ่มสนใจพื้นที่ในภูเขาสูง 8 รัฐฉานกับความไม่เป็นหนึ่งเดียว 8 รัฐฉานเผชิญภาวะสุญญากาศของระบบรัฐอารักขา 9 ชะตากรรมรัฐฉานหลังเอกราชไปสู่การอพยพย้ายถิ่น 9 LANDSCAPE OF SHAN STATE: ETHNICITY, POLITICS AND LIFE History of the Shan State England Became Interested in the High Plateau Shan State and Its Inconsistencies Shan State’s Vulnerability in Protectorate System The Fate of the Shan State after Gaining Independence to Migration

10 10 11 12 12 12

บรรยายภาพ

14

ต�ำนานและประวัติการแห่พระบัวเข็ม ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย รัฐฉาน

26

CAPTIONS

THE LEGEND AND HISTORY OF PHAUNG DAW OO PAGODA FESTIVAL, INLE LAKE, NYAUNG SHWE, SHAN STATE

ภาคผนวก

APPENDIX

ก�ำหนดการ โครงการส�ำรวจภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์เมืองตองยี รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

31

ประมวลภาพ

36

Schedule for The Exploration of Wisdom, Arts and Culture, and Ethnic Groups in Taunggyi, Shan State, Republic of the Union of Myanmar Project Image Catalogue

Mekong basin Civilization Museum


6

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

LASHIO

PINDAYA

TAUNGGYI

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

7

ภูมิทัศน์รัฐฉาน ชาติพันธุ์ การเมือง และชีวิต ก�ำเนิดรัฐฉาน รัฐฉาน คือ ดินแดนในพื้นที่สูงของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 รัฐฉาน ยังไม่ก�ำเนิดขึ้นมีเพียงรัฐจารีตเจ้าฟ้าไทใหญ่ เจ้าฟ้าเชียงตุง (ไทขึน) และรัฐเจ้าฟ้ากลุ่มไตต่างๆ (เช่นไตหลวง) ไม่ได้รวมกันเป็นหนึ่งเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐฉานกับกลุ่มพม่าในส่วนกลางเมื่อพม่าตกเป็นเมืองขึ้นอังกฤษ ในการรบครั้งที่ 3 นั้น รัฐฉานยังไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษ แต่การเมืองของอังกฤษในการอภิปรายในสภา ให้ความเห็นว่าการรบนัน้ ต้องใช้เงินจ�ำนวนมากไม่คมุ้ กับการยึดพม่า ท�ำให้องั กฤษไม่รกุ คืบเข้าไปยึดในเขตพืน้ ทีส่ ูง ในกลุ่มไทใหญ่ เนื่องจากมีความเห็นว่ายากล�ำบากเกินไป และรัฐฉานในขณะนั้นกลายเป็นพื้นที่หลบซ่อนของ กลุ่มต่อต้านอังกฤษที่เชียงตุง ความจริงนั้นอังกฤษเองไม่ได้คิดจะยึดพม่าตอนเหนือแต่ก็มีเหตุอันจ�ำเป็นที่ต้องกระท�ำคือการที่กษัตริย์ พม่าได้ติดต่อกับฝรั่งเศสในการท�ำข้อตกลงช่วยเหลือกันเพื่อการค้าและผนวกเรื่องความมั่นคงเข้าไปด้วย อังกฤษ จึงเกรงว่าฝรั่งเศสจะหาทางเชื่อมโยงเข้าจีนจากพม่าซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีกว่าแม่น�้ำโขงเพราะจากการส�ำรวจพบว่า แม่น�้ำโขงมีอุปสรรคมาก ตลอดจนมีข่าวลือว่าฝรั่งเศสจะท�ำทางรถไฟจากตังเกี๋ยมาอินเดีย รวมถึงการผลักดัน จากภาคเอกชนที่เสนอท�ำทางรถไฟจากย่างกุ้งไปจีนผ่านพม่าตะวันออก แต่จุดพลิกผันที่ต้องตัดสินใจยึดพม่าก็คือความขัดแย้งเรื่องรายงานการค้าไม้ซึ่งอังกฤษขอสอบสวนด้วย ศาลอังกฤษเอง และอังกฤษผนวกข้อเสนอที่ให้พม่าเป็นเสมือนรัฐในอารักขาด้วย ทางพม่าเองก็ตอบไปแบบ ไม่เห็นด้วย ดังนัน้ จึงมีการส่งกองก�ำลังเข้ามารบ การรบนัน้ อังกฤษกล่าวว่าไม่ใช่การรบจริงๆ แต่เป็นเพียงการแสดง แสนยานุภาพเท่านั้น โดยสูญเสียทหารน้อยมาก และทางพม่าเองก็ไม่ได้สูญเสียเท่าไรเช่นกันก็ได้มีการเจรจา สงบศึกและเข้ายึดพระราชวัง เพียงแต่ว่ามีการใช้เงินงบประมาณการรบเป็นจ�ำนวนมาก ในขณะที่อังกฤษก�ำลัง เลือกตั้ง อังกฤษมีความลังเลที่จะตัดสินใจอยู่สองทางเลือกว่าจะให้พม่าอยู่ในสถานภาพใดระหว่างให้พม่าเป็นรัฐ ในอารักขาแล้วตั้งเจ้าชายพม่าสักคนหนึ่งที่นิยมอังกฤษมาปกครองแต่ก็หาเจ้าชายไม่ได้ หรือผนวกพม่าเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของอาณานิคม ซึ่งพม่าตอนเหนือมีข้อเสียคือไม่ใช่แหล่งผลิตทางการเกษตรและทรัพยากรมากรังแต่จะ ใช้เงินดูแล สุดท้ายเมื่อส่งคนมาประเมินก็เสนอว่าให้เป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินเดีย แต่การสู้รบหลังจากยึดพม่าตอนเหนือแล้ว เป็นเรื่องที่ยากล�ำบากมากส�ำหรับอังกฤษ เพราะทหารพม่า ที่ตั้งใจรบจริงๆ นั้นยังไม่ได้ออกรบเลย ดังนั้นการต่อต้านจึงเกิดขึ้นทั่วไปในพื้นที่ชายแดนพม่ากับรัฐฉานโดยผู้น�ำ มีทั้งเจ้าพม่าและขุนนางทหาร แต่การปราบปรามต้องใช้ก�ำลังเป็นอย่างมาก การรบที่แท้จริงนั้นยืดเยื้อยาวนาน เป็นทศวรรษ หลังจากรบในพื้นที่ราบแล้วอังกฤษยังต้องรบในพื้นที่หุบเขาอีกสามพื้นที่ คือ หุบเขาฉาน หุบเขา คะฉิ่น และกะเหรี่ยง การรบสูญเสียมาก Mekong basin Civilization Museum


8

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

แต่ที่รัฐฉานนั้นเป็นการรบที่มีการประนีประนอมกันมากเนื่องจากความต้องการของเจ้าฟ้าไทใหญ่ที่ ไม่ได้ตอ้ งการเป็นกษัตริยค์ รอบครองอาณาจักรไทใหญ่ทงั้ หมด แต่ตอ้ งการเพียงดูแลและมีอำ� นาจในเขตของตนเอง เท่านั้น ใครจะมาปกครองก็ได้ ดังนั้นการต่อต้านในช่วงแรกนั้นอยู่ที่เชียงตุง โดยเชียงตุงได้ยกให้เจ้าชายพม่า คนหนึ่ ง เป็ น หลัก ในการต่อต้านอังกฤษ และเกลี้ ย กล่ อ มเจ้ า ฟ้ า ต่ า งๆ ให้ เข้ า ร่ วม แต่ เจ้ า ฟ้ า บางเมื อ ง เช่ น เมืองหยองห้วยและเมืองสีป้อได้รับการช่วยเหลือจากอังกฤษแล้วและอังกฤษเองก็ให้อ�ำนาจอย่างที่เจ้าฟ้า ต้องการ แต่การรบของอังกฤษมีที่เมืองนาย โดยที่เมืองนายนั้นได้แข็งข้อกับพม่ามาก่อนและพม่าไม่สามารถ ปราบเมืองนายได้ จึงคิดว่าจะไม่ยอมต่ออังกฤษและจะรบกับอังกฤษ สุดท้ายเมืองนายก็ยอมอังกฤษโดย ได้รับปากว่าจะช่วยเกลี้ยกล่อมเจ้าฟ้าคนอื่นๆ ให้ยอมเข้ากับอังกฤษด้วย สุดท้ายที่มั่นส�ำคัญที่เชียงตุงก็ได้เจรจา ยอมเข้ากับอังกฤษและเจ้าชายพม่าก็ยอมเดินทางไปอยู่ที่กัลกัตตา ประเทศอินเดีย แต่เจ้าฟ้ารัฐฉานมีข้อเสนอ แลกเปลี่ยนสองสามประการซึ่งสามารถตกลงกันได้ อังกฤษจึงได้รัฐฉานเป็นรัฐในอารักขาและไม่ต้องจัดสรร งบประมาณอาณานิคมมาช่วยเหลือแต่อย่างใด เป็นการกันพื้นที่ให้ชนกับฝรั่งเศสอีกทางหนึ่ง ส่วนการรบที่คะฉิ่น และกะเหรี่ยงนั้นอังกฤษใช้เวลาสู้อยู่อย่างยาวนานมาก ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์รัฐฉานจึงไม่ต้องอธิบายในประวัติศาสตร์ที่ยาวไกลมากนักเพราะรัฐฉาน เพิ่งเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นี้เอง อังกฤษเริ่มสนใจพื้ นที่ในภูเขาสูง เมื่อฝรั่งเศสได้รุกคืบเข้ามายึดลาวตอนเหนือเพื่อที่จะเข้าจีนตอนใต้ทางแม่น�้ำโขง ท�ำให้อังกฤษเกรงว่าจะ มีเขตแดนเข้ามาใกล้กับอาณานิคมตนเอง จึงได้มีความพยายามในการเจรจากับกลุ่มเจ้าฟ้าต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่ รัฐฉานให้เข้าเป็นเมืองในอารักขาของอังกฤษ โดยมีเจ้าฟ้าเมืองนายเป็นคนเจรจารวบรวมกลุม่ เจ้าฟ้าต่างๆ เข้าร่วม กับอังกฤษ ดังนั้นการปกครองระหว่างพื้นที่รัฐฉานกับพม่าส่วนกลางและพม่าส่วนล่างนั้นเป็นคนละระบบกัน กล่าวคือพม่าส่วนกลางและพม่าส่วนล่างเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินเดียของอังกฤษ โดยให้อินเดียปกครอง พม่าอีกทีหนึ่งซึ่งต่อมาได้แยกออกจากอินเดีย ส่วนรัฐฉานที่เป็นพื้นที่สูงนั้นเป็นรัฐอารักขาของอังกฤษ ไม่มี กองทหาร และการจัดการผลประโยชน์สว่ นหนึง่ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ แร่เงิน และสินทรัพย์ธรรมชาติ เช่น ต้นน�ำ้ มัน (ต้นฮุง) เป็นส่วนหนึ่งที่อังกฤษ ในด้านการปกครองเจ้าฟ้ามีอิสระในการปกครองผู้คนที่มีผลประโยชน์ให้อังกฤษ รัฐฉานจึงเกิดขึ้นเมื่อเป็นส่วนหนึ่งของรัฐอารักขาของอังกฤษ โดยเจ้าฟ้าทั้งหลายได้ใช้พื้นที่ส่วนกลาง คือ เมืองตองยี (หรือตองจี) ที่เป็นที่พักตากอากาศและกองก�ำลังอังกฤษเป็นพื้นที่พบปะพูดคุยกัน ดังนั้นเมืองตองยี เลยกลายเป็นศูนย์กลางของรัฐฉานมาจนถึงปัจจุบัน รัฐฉานกับความไม่เป็นหนึ่งเดียว ในความเป็นจริงนั้นรัฐฉานก็ไม่ได้มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน เพราะสาเหตุความเป็นชาติพันธุ์ (Ethnicity) ทีแ่ ตกต่างทัง้ ประวัตศิ าสตร์ ต้นก�ำเนิด และภาษาทีใ่ ช้ โดยเฉพาะเชียงตุงทีเ่ ป็นกลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ทขึน กลุม่ ว้า เป็นต้น รวมถึงอุดมการณ์ทางการเมืองในพื้นที่ที่ติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เคยเป็นที่ตั้งของพรรคคอมมิวนิสต์พม่า มาก่อน และกลายเป็นพื้นที่เขตปกครองตนเองพิเศษว้า และเขตปกครองตนเองพิเศษที่ 4 เมืองลา รวมถึงสถิติ ผลการเลือกตั้งพม่าทั้งสองครั้งพบว่าเขตเชียงตุงและท่าขี้เหล็กมีผลการเลือกตั้งแตกต่างจากรัฐฉานที่เป็น Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

9

กลุม่ ไทใหญ่ทงั้ หมด โดยเชียงตุงจะเลือกพรรคทหารมากกว่าพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพือ่ ประชาธิปไตย (National League for Democracy: NLD) เป็นต้น ดังนั้นการเหมารวมว่าคนรัฐฉานมีบริบทของการย้ายถิ่นที่เหมือนกัน คงเป็นข้อถกเถียงทางวิชาการต่อไป รัฐฉานเผชิญภาวะสุญญากาศของระบบรัฐอารักขา ในปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เกิดจากสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทีญ ่ ปี่ นุ่ บุกเข้ามาในพม่า โดยมีแนวร่วมการปลดปล่อย พม่า คือ นายพลอองซานที่ร่วมกับญี่ปุ่นในตอนแรก (เราจะพบอนุสาวรีย์นายพลอองซานสวมใส่ชุดทหารญี่ปุ่นที่ เมืองหยองห้วย) ต่อมาจึงได้ไปเจรจากับอังกฤษเพื่อที่จะขับไล่ญี่ปุ่นออกไปอีกทีหนึ่ง เมื่ออังกฤษสัญญาว่าจะให้ พม่าเป็นเอกราช ระหว่างที่มีการเจรจากันนั้นกลุ่มเจ้าฟ้าต่างๆ ที่ไม่มีกองก�ำลังทหารของตนเองไม่สามารถ ปกป้องผูค้ นจากการเข้ามาของญีป่ นุ่ ได้ จากนัน้ เมือ่ พม่าได้เอกราชโดยนายพลอองซานได้ใช้การเจรจาให้รฐั ฉาน เข้าเป็นส่วนหนึ่งของพม่าด้วย ซึ่งเป็นการตกลงกับอังกฤษและมาให้ความหวังแก่เจ้าฟ้าว่าจะสามารถแยกตัวเอง ออกมาได้เมื่อครบ 10 ปี แต่สัญญายังไม่ได้รับการรับรองจากสภาของพม่าจึงกลายเป็นปัญหาอยู่จนทุกวันนี้ ระหว่างการเจรจานั้นทหารจีนก๊กมินตั๋ง (KMT) ได้บุกเข้ามาเนื่องจากถอยร่นจากทหารปลดปล่อยประชาชน (PLA) ของฝ่ายสาธารณรัฐประชาชนจีน ท�ำให้รัฐฉานต้องเผชิญกับภาวะสงครามอีกครั้ง เมื่อนายพลเนวินเข้ามา เป็นนายกรัฐมนตรีได้น�ำกองทหารเข้ามาในรัฐฉาน โดยอ้างว่าเพื่อขับไล่ทหารจีนให้ออกไปจากพื้นที่ แต่เมื่อขับไล่ ทหารจีนออกไปจากพื้นที่แล้วทหารพม่าไม่กลับออกไปตามที่เคยบอกไว้และอยู่ในพื้นที่มาโดยตลอด ดังนั้นเมื่อ หมดการอารักขาของอังกฤษ รัฐฉานเผชิญกับญี่ปุ่น จีน และพม่าจนแทบหมดหนทาง และจนถึงปัจจุบันมีความ พยายามที่จะสร้างให้รัฐฉานและรัฐอื่นๆ ที่รวมกันเป็นสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาให้กลายเป็นสหพันธรัฐนั้น ก�ำลังด�ำเนินไปและความหวังที่รัฐฉานจะกลายเป็นประเทศอิสระนั้นยังไร้หนทาง ชะตากรรมรัฐฉานหลังเอกราชไปสู่การอพยพย้ายถิน ่ การอพยพย้ายถิน่ ของกลุม่ ไทใหญ่จากรัฐฉานมีมาอย่างต่อเนือ่ งในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย และส่วนใหญ่เกิดขึน้ หลังเหตุการณ์ 8888 จ�ำนวนประชากรจากรัฐฉานทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่มจี ำ� นวนมากทีส่ ดุ นับว่า เป็นหนึง่ ในสองของปลายทางการอพยพย้ายถิน่ จากนัน้ จึงเดินทางไปกรุงเทพฯ อีกต่อหนึง่ ส�ำหรับแรงงานอพยพ ในส่วนของพื้นที่จังหวัดเชียงรายนั้น เคยเป็นพื้นที่ตั้งกองก�ำลังกู้ชาติ “หนุ่มศึกหาญ” มาก่อน (พื้นที่บ้านห้วยน�้ำขุ่น) ซึ่งหลงเหลือทหารกองก�ำลังอยู่และมีบางส่วนได้เข้าไปที่ศูนย์อพยพ (ไม่ทราบว่าที่ไหน) เพื่อเดินทางไปยัง ประเทศที่ 3 แต่ที่ยังอยู่นั้นไม่ต้องการอพยพไปที่ไหนและมีความหวังว่าจะได้กลับไปที่รัฐฉานอีกครั้งหนึ่งจึง อยู่อาศัยแบบไม่มีสัญชาติจนถึงปัจจุบัน ยังมีพื้นที่ที่ตั้งกองก�ำลังกู้ชาติไทใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายอีกแห่งหนึ่ง คือที่บ้านเทอดไท เคยเป็นกองก�ำลังกู้ชาติไทใหญ่ของขุนส่า ก่อนวางอาวุธยอมเข้ากับทหารพม่าในเวลาต่อมา จึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางอีกพืน้ ทีห่ นึง่ ของการอพยพย้ายถิน่ ของกลุม่ คนในรัฐฉาน แต่จะเพิม่ เติมกลุม่ ไทขึน และไทยองเข้ามาด้วยเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ใกล้กับด่านแม่สายมากขึ้น เมื่อราวทศวรรษ 2540 ได้มีการยกเลิก การห้ามผู้หญิงจากเมืองเชียงตุงที่อายุต�่ำกว่า 25 ปี เดินทางมาที่ท่าขี้เหล็ก ไม่เพียงการอพยพย้ายถิ่นของคนจาก รัฐฉานเท่านั้น ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายยังเป็นพื้นที่ที่มีแรงงานที่ขึ้นทะเบียนเป็นคนพม่าที่มาจากมัณฑะเลย์และ เมืองกุงเหง (แม่น�้ำพันสาย) จ�ำนวนมาก อาจเป็นเพราะสาเหตุคนรัฐฉานไม่มีบัตรประชาชนหรือมีการรับรอง การเดินทางออกนอกประเทศเท่ากับคนกลุม่ พม่าจากตอนกลางประเทศ จึงกลายเป็นกลุม่ คนทีไ่ ร้ความปลอดภัย ในการเดินทางอพยพย้ายถิ่นจ�ำนวนมาก Mekong basin Civilization Museum


10

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

LANDSCAPE OF SHAN STATE: ETHNICITY, POLITICS AND LIFE History of the Shan State Shan State is located in a vast mountainous zone residing in the State of the Union of Myanmar. Before the 19th Century, while the Sao Hpa (Prince) of Tai Yai state, Sao Hpa Kengtung (Tai Khün) and other Sao Hpas of Tai (such as Tai Lung) were not united as one, Shan State was not yet resided. In terms of the relationship between Shan State and Central Burmese ethnic groups, when the Kingdom fell to the British in the Third Anglo-Burmese war, Shan State was firstly overlooked from the British colonization. As concluded in British council debate, politically speaking, the war was considered as wasteful military spending and unprofitable in ruling Burma. As a result, the British left the highlands of Tai Yai because of its hard to access terrain. Shan State, later on, became a hiding area for the British resistance in Kengtung. In fact, Northern Burma was not Britain’s first intention of colonization. Burma signed a trade along with a security agreement with France which disturbed Britain. France could now seek for possibilities to connect with China by making Burma rather a better pathway than the Mekong River which had more difficulties. Moreover, it was believed that France was planning to build a railway from Tonkin to India and also from Yangon to China through the East of Burma. However, the turning point that made Britain decide to occupy Burma was because of an investigation performed by Britain itself regarding the conflict of logging trade reports. The British demanded Burma to become a protectorate but Burmese citizens rejected it. As a consequence, British forces were sent to commence a war which was intended to be a show of might. Both British and Burmese casualties were very few. A truce was arranged and British occupied the palace. The British budget, however, was exceedingly spent during the election in Britain. The British hesitated to alter Burma’s status by making Burma a protectorate and decided to appoint a Burmese prince who would be a British enthusiast, but they could not find one; or having Burma under the colonization. At that time, Northern Burma’s weak point was the unavailability of agriculture production and resources which needed a lot of money to support. After evaluating the situation, it was proposed that this land should be a part of India. After the conclusion of the British occupation in Northern Burma, things became difficult for the British because Burmese soldiers who were eager to fight had not had a chance to battle. A widespread resistance broke out around the border of Burma and Shan State, led by both Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

11

Burmese princes and military nobles. The suppression, on the other hand, needed enormous dedication. This led the war within Burma to continue for decades. After the British invaded the flatlands, they moved forward to the valleys of Shan, Kachin and Karen, where they suffered abundant casualties. Tai Yai prince’s interest was not to become the reigning monarch of the entire Tai Yai but to govern his own region. His interest brought the war to a compromise. The early resistance arose in Kengtung that appointed a Burmese prince as a resistance leader. He convinced other Sao Hpas to unite but some of them, such as Sao Hpas of Nyaungshwe and Hsipaw, rejected his proposal because they had already been supported and offered power by the British. After Mong Nai city rose up against Burma and remained unconquered, Mong Nai, then, refused to submit to British authority. Eventually, Mong Nai surrendered to the British and promised to convince other Sao Hpas to do the same. Finally, the main base in Kengtung had been under negotiation to submit under the British which forced a Burmese prince to migrate to Kolkata, India. The successful bargains raised by Sao Hpa led Shan State to become a protectorate and received no colonial budget support. The bargains were planned to allow the British to have the same land as the French had. The war at Kachin and Karen, on the other hand, wasted time for the British. As a result, studying the history of the Shan State does not require to look back that far because the Shan State has only emerged within the 19th Century.

England Became Interested in the High Plateau When France came to occupy Northern Laos in order to enter southern China from the Mekong River, the British were afraid that the border would be narrowed down close to their colonies. Then, the British tried to negotiate with Sao Hpas in many cities of Shan State to become the protectorate of Britain. Sao Hpa Mong Nai was the leader for this negotiation to join Britain. The governance system of Shan State, Central Burma and Lower Burma were different. In other words, Central Burma and Lower Burma were under British colonization and governed by India. Consequently, Burma was separated from India; while, Shan State, and the plateau becoming a British protectorate without supported troops. Moreover, British managed the interests of forestry, ore, silver and natural assets. In terms of Governance, Sao Hpas had full authority to administer their people in whatever manner benefitted Britain. After becoming a British protectorate, Federated Shan State had been formed. Tuanggyi city became the center city where Sao Hpas and British forces visited for vacation and met up. Therefore, Tuanggyi became the capital city of Shan State.

Mekong basin Civilization Museum


12

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

Shan State and Its Inconsistencies In fact, Shan State was united because of its ethnic differences in history, origins and language, especially Kengtung, an ethic group of Tai Khün, Wa group, and so on. Secondly, there were also political ideology differences in Wa Self-Administered Division as well as Mong La Self-Administered Region 4. Lastly, both Burmese elections’statistics showed that Kengtung and Tachileik results differed from Shan State, Tai Yai group. The majority of Kengtung chose the Military party over the National League for Democracy: NLD. Therefore, claiming the Shan people of sharing the same reasons to migrate remains an academic debate.

Shan State’s Vulnerability in Protectorate System The problems of Burmese’s vulnerability arose from World War II when Japan invaded Burma with the support of General Aung San, a Burma liberation front (the monument of General Aung San will be seen in Japanese military uniform in Nyaungshwe city). Japan was driven out of Burma after a successful negotiation with the British as they promised Burma independence. Unfortunately, many Sao Hpa groups were incapable of protecting their own people from Japanese invasion. After that, when Burma gained its independence, General Aung San negotiated with Burma to welcome the Shan State. However, he asserted Sao Hpas that the agreement which had been firstly made with British would be able to separate them from Britain after 10 years. That is a problem until today, since the agreement has not yet been endorsed by Myanmar’s parliament. While the negotiation was still ongoing, Chinese Kuomintang (KMT) illegally entered Burma right after the People’s Liberation Army of the People’s Republic of China withdrew, causing the Shan State to face another state of war. After the Chinese forces were driven out of the area, the Burmese forces refused to leave as told and stayed in the area all along. Since the British protectorate was at its end, Shan State became vulnerable to Japan, China and also Burma itself to the point of helplessness. Until now, there have been ongoing efforts to make the Shan State and other states that united into the Republic of the Union of Myanmar to become Federal States. Hopes for Shan State to become an independent country are hopeless.

The Fate of the Shan State after Gaining Independence to Migration The migration of the Shan people from Shan State has continued towards Chiang Mai and Chiang Rai provinces, mostly after the 8888 Uprising. The largest number of people from Shan State migrated in Chiang Mai as it was one of the two migration destinations before Bangkok. Chiang Rai, where migrant workers lived, on the other hand, used to be the national army base called ‘Brave Young Warriors’ (Ban Huai Nam Khun area). Some of them moved to an evacuation center (unknown place) to migrate to a third country but some remained there stateless with the hope of returning to Shan State. Ban Thoet Thai, Chiang Rai was the Tai Yai national army of Khun Sa before surrendering to the Burmese soldiers. These destinations for migration did not only Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

13

draw people from the Shan State but also Tai Khün and Tai Yong groups as it is located close to Mae Sai checkpoint. In 1997, the ban on women from Kengtung under the age of 25 from traveling to Tachilek was lifted. Chiang Rai did not only become a migrating destination of people from Shan State, but also an area with many registered Burmese migrants from Mandalay and Kung Heng (Thousand Rivers). The inequity of the Shan group and Central Myanmar may be the cause for the low number of registered Shan people as they do not have any proper identification cards or travel certificates. Therefore, the migration of the Shan people became extremely dangerous.

Mekong basin Civilization Museum


14

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

บรรยายภาพ CAPTIONS

เข้าสัมภาษณ์ “SAO KAE SET” วัย 74 ปี ลูกชายเจ้าส่วยหมุ่งเจ้าฟ้าองค์สุดท้ายแห่งเมืองเกซี คนรุ่น ‘ลูก’ เจ้าฟ้าในรัฐฉาน เพียงไม่กี่คนที่ยังใช้ชีวิตอยู่บนแผ่นดินพม่า (จากจ�ำนวนทั้งสิ้น 34 หัวเมือง)

Interviewing “SAO KAE SET”, a 74-year-old son of Chao Suay Mung, the last prince of Khesi township, one of the few princes of the ‘children’ generation (total of 34 provinces) in Shan State who still lives on Burma’s land.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

15

บนเส้นทางที่ได้เดินทางผ่านในรัฐฉาน พบอนุสาวรีย์นายพลอองซานที่เพิ่งสร้างใหม่อยู่หลายเมือง เช่น เมืองอ่องปาน เมืองหยองห้วย หรือเมืองที่เคยมีมานานแล้วอย่างเมืองตองยีก็รู้สึกได้ว่าถูกเน้นย�้ำให้ดูมีคุณค่า ขึ้นมา ทั้งหมดตั้งอยู่ภายในบริเวณลานหรือสวน ‘เอกราช’ ประจ�ำเมือง อนุสาวรีย์นายพลอองซานแต่ละแห่งมีอิริยาบถท่าทางที่แตกต่างกัน และยังพอเห็นร่องรอยของการ จัดงานวันผู้พลีชีพ (Martyrs’ Day) ซึ่งเพิ่งผ่านไปเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม เพื่อร�ำลึกถึงวันที่นายพลอองซาน ถูกลอบสังหารในปีค.ศ. 1947 ระหว่างรอขั้นตอนการตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ก่อนจะข้ามกลับเข้าประเทศไทย ก็ได้เหลือบไปเห็น วัยรุ่นที่ถือพาสปอร์ตพม่า (ดูไม่ออกว่าใช่คนไทใหญ่หรือไม่) พกทั้งธนบัตร (รุ่นเก่า) และรูปที่มีนายพลอองซาน ไว้ในกระเป๋าสตางค์อีกต่างหาก ต้องเรียกว่าเป็นการกลับมาเกิดใหม่ของ “The Father of the Nation” อีกครา

อนุสาวรีย์นายพลอองซานเมืองอ่องปาน Monuments of General Aung San, Aung Ban

On the way to Shan state, the newly built monuments of General Aung San stand in the fields or the cities’ “Independence” garden, such as in Aung Ban, Nyaungshwe, and the old town of Taunggyi, that bestows more value to the people. Every General Aung San’s monument has a different pose. Moreover, around the garden, we could see some waste and marks left from the commemoration day that General Aung San was assassinated in 2947 A.D., named the Martyrs’ Day that has just passed on 19th July. Before crossing back to Thailand and waiting for the immigration process (Immigration Office), there was a teenager holding a Burmese passport (unidentified as a Shan or not), carrying both the banknotes (old version) and a picture of General Aung San in his wallet. This gesture should be called the rebirth of “The Father of the Nation”.

Mekong basin Civilization Museum


16

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

อนุสาวรีย์นายพลอองซานภายในบริเวณลาน หรือสวน ‘เอกราช’ ประจ�ำเมืองหยองห้วย Monuments of General Aung San stand in the fields or the cities’ “Independence” garden, Nyaungshwe

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

17

อนุสาวรีย์นายพลอองซานเมืองตองยี Monuments of General Aung San, Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


18

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ทุ่งข้าวโพดชนิดสุดลูกหูลูกตา คือ ภาพวิวสองข้างทางที่คุ้นชินเมื่อได้เดินทางในรัฐฉานภาคเหนือ โดยเฉพาะช่วงจากหนองเขียว-จ๊อกเม-สีป้อ ทางรถไฟ ทราบจากคนแถวนั้นว่าผลผลิตที่เห็นถูกป้อนเข้าจีน เป็นหลัก คาดการณ์กันว่าปริมาณข้าวโพดที่พม่าผลิตได้จะเพิ่มจาก 2.1 ล้านตันไปเป็น 2.25 ล้านตันในปี ค.ศ. 2017-2018 โดยเฉพาะจากการขยายพื้นที่เพาะปลูกในเขตภาคตะวันออก ชาวไร่เลือกใช้เมล็ดพันธุ์แบบ ลูกผสม (hybrid seeds) มากกว่า 90% ของข้าวโพดทั้งหมด และการเพาะปลูกผ่านรูปแบบเกษตรพันธสัญญา เป็น 50% ของข้าวโพดทั้งหมดที่ปลูกในรัฐ The endless corn fields laying on both sides of the road in Northern of Shan state, especially from Naung Hkio-Kyaukme-Hsipaw Railway, are the main products exported to China, said the locals. The amount of corn was expected to increase from 2.1 to 2.25 million tons in 2017-2018 due to the expansion of cultivable areas in the Eastern region. The peasants choose more than 90% hybrid seeds and 50% of all corn products in the state are under contract farming.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

19

KBZ anywhere in Burma KBZ นี้คือตัวอักษรที่พบเจอบ่อยจนคุ้นตาเมื่ออยู่ในพม่า กลุ่ม KBZ ท�ำธุรกิจหลายอย่างทั้งธนาคาร, สายการบิน, ปูนซีเมนต์, สัมปทานเหมืองแร่ (หยก-ทอง-เพชร), โรงพยาบาล, โรงแรม, ตัวแทนจ�ำหน่ายบุหรี่ (ยี่ห้อ London ในรัฐฉานและรัฐคะยา) กระทั่งทีมฟุตบอล Shan United FC เจ้าของ คือ “ออง โก วิน” (Aung Ko Win) มหาเศรษฐีพนื้ เพคนตองยี ด้วยความใกล้ชดิ ผูน้ ำ� ทางทหาร (ภรรยาเป็นหลานสาวนายพลวินมิน, เขาเคยเป็นครูให้กับลูกสาวนายพลหม่องเอ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่รัฐบาลทหารจ�ำต้องผ่อนถ่ายอ�ำนาจไปยัง รัฐบาลพลเรือนท�ำให้เครือ KBZ โดดเด่นขึน้ มาในห้วงหนึง่ ทศวรรษหลัง ล่าสุด Air KBZ เพิง่ เปิดเส้นทางการบินใหม่ คือ เส้นทางจากย่างกุ้ง-เชียงใหม่ จ�ำนวน 3 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ น่าคิดตรงที่ KBZ มาจากค�ำว่า “กันบอซา” ซึ่งใช้กันในภาษาพม่า (รากศัพท์บาลี) มีความหมาย คือ “แผ่นดินไต” หรือรัฐฉาน

KBZ anywhere in Burma KBZ are alphabets commonly seen in Myanmar because of the impact of the Kanbawza (KBZ) group. The KBZ group owned various businesses including banks, airlines, cement, mining concessions (jade-gold-diamond), hospitals, hotels, cigarette factories as a dealer (London brand in Shan State and Kayah State), and even Shan United FC football team. The owner of KBZ is “Aung Ko Win”, a billionaire from Taunggyi. He maintains close relationships with military leaders (his wife is the granddaughter of General Win Min and he used to be a teacher for General Mung Aye’s daughter). The KBZ group remarkably arose in the most recent decades after the Military government’s control sharing together with the Civil government. Recently, Air KBZ has just opened a new route, Yangon - Chiang Mai, with 3 flights per week. It is interesting that KBZ comes from the word “Ganbosa” which is used in Burmese (Pali root) meaning “land of the Tai” or Shan State.

ธนาคารกันบอซา, เมืองพินอูลวิน (เมืองเมเมียว) Kanbawza Bank (KBZ Bank), Pyin Oo Lwin (Maymyo)

Mekong basin Civilization Museum


20

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ธนาคารกันบอซา ตลาดเช้าเมืองกะลอ KBZ Bank, Kalaw Morning Market

สายการบินแอร์กันบอซา สนามบินเฮโฮ เมืองตองยี AIR KBZ, Heho Airport, Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

ป้ายโฆษณา กันบอซา ซีเมนต์ (KBZ CEMENT) เมืองตองยี “KBZ CEMENT” billboard in Taunggyi

LANDSCAPE OF SHAN STATE

21

“KBZ CEMENT” billboard, Taunggyi Stadium

Myanmar National League (MNL)

ทีมฟุตบอล Shan United FC Shan United FC football team Mekong basin Civilization Museum


22

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ราวปีพ.ศ. 2481 มอริส คอลลิส อดีตข้าราชการอังกฤษประจ�ำกรุงย่างกุ้งได้เดินทางกลับพม่าเพื่อ ท่องเที่ยวรัฐฉาน โดยการสนับสนุนของส�ำนักพิมพ์เพื่อเขียนหนังสือซึ่งเกี่ยวกับการตามรอยคดีลอบสังหาร เจ้ากองไทแห่งเมืองเชียงตุงที่เชื่อกันว่าเจ้าพรหมลืออยู่เบื้องหลัง - เขานั่งเรือจากอังกฤษไปบอมเบย์ (1 เดือน) ขึ้นรถไฟไปกัลกัตตา (2 วัน) ต่อเรือไปย่างกุ้ง (2 วัน) ปลายทางอยู่ที่เชียงตุง - จากย่างกุ้งทางรถไปพะโค-ตองอู-ปยินมานา หรือเนปิดอว์ในปัจจุบัน ต่อไปเมียะติลา-ต้าสี่-กะลอ จากนัน้ ก็ได้ไปเฮโฮ-ตองยี, ปเวลา-พินดยา, โหปง-เมืองป่อน-ลายค่า-เมืองหนอง-เมืองสู,่ สีปอ้ -จ๊อกเม เมืองหลวง-เมืองกุด๊ -เมืองมีด, น�ำ้ สัน่ , ล่าเสีย้ ว-แสนหวี-กุด๊ ข่าย-หมูเ่ จ้-น�ำ้ ค�ำ, เมืองไหญ-ขุนฮิง-เมืองปิง เชียงตุง, ดอยเหมย, เมืองนาย ประเด็นที่น่าสนใจ 1. ในเล่มพูดถึงถ�้ำพินดายะหลายหน้าเลย แน่นอนว่าต้องมีเล่าขานต�ำนานใยแมงมุมปิดปากถ�้ำด้วย 2. เจ้าฟ้าในรัฐฉานไม่ได้มีฐานะร�่ำรวย มีการศึกษาสูง (จากอังกฤษ) และมีโลกทัศน์กว้างเหมือนกัน หมดทุกองค์ มีเฉพาะบางเมืองใหญ่เท่านั้นที่มีรายได้จากเหมืองแร่ ป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ กระทั่งฝิ่นซึ่งในสายตาเขามองว่าเจ้าฟ้าเมืองสีป้อร�่ำรวยและทันสมัยที่สุด 3. ธรรมเนียมการมีชายาหลายองค์ก่อให้เกิดปัญหาทางการเมือง เป็นสาเหตุให้เกิดการแย่งชิงอ�ำนาจ กันโดยเฉพาะในแง่ของการตั้งรัชทายาท 4. สถาปัตยกรรมหอเจ้าฟ้าแบ่งได้ 2 แบบ คือ แบบมัณฑะเลย์และแบบตะวันตก ดูได้จากห้วงเวลาใน การสร้างว่าสร้างก่อนหรือสร้างหลังพม่าเสียเมือง มีน้อยมากที่พบว่าเป็นแบบไตแท้ 5. หนังสือพูดถึงเหตุการณ์ที่คณะรัฐบาลจีนเข้าพบเจ้าฟ้าสีป้อเพื่อเจรจาความเรื่องขยายเส้นทางถนน จากจีน (คุนหมิง) ไปพม่า ขณะที่ญี่ปุ่นได้ปิดปากอ่าวด้านทิศตะวันออกของจีนเอาไว้ ซึ่งต่อมาก็คือ Burma Road ที่มีความส�ำคัญมากในสงครามโลกครั้งที่ 2 ถ�้ำพินดายะ เมืองพินดายา Pindaya Natural Cave, Pindaya

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

23

Around the year 1938 B.E., Maurice Collis, a former British government official in Yangon, returned to visit Shan State, Burma. He was supported by a publisher to write a book about the assassination of Sao Kawng Tai of Kengtung and believed that Chao Prom Lue ordered the assassination. - He took a boat from England to Bombay (1 month), a train to Kolkata (2 days) and a boat to Yangon (2 days) leading to Kengtung. - From Yangon, he traveled by car to Bago-Toongoo-Pyinmana, the present known as Nay Pyi Taw. He continued traveling to Myatila-Tasi-Kalaw, Heho-Taunggyi, Pwela Pindaya, Ho Pong-Mueang Pon-Laika-Mueang Nong-Mueang Su, Hsipaw-Kyaukme Muang Luang-Mueang Kut-Mid City, Namhsam City, Lashio-Saenwee-Gud Khai Mue Jae-Nam Kham, Muang Yai-Khun Hing-Muang Ping-Kengtung, Doi Mei, and Muang Nai Interesting Points 1. Pindaya Natural Cave is mentioned on many pages in the book. The legend of the spider web covering the mouth of the cave must also be told. 2. Not all Sao Hpas were wealthy, highly educated (educated in England), and had a sweeping vision. There were only some of them living in big cities who were wealthy from ore mining, forestry, industries from resources and even opium. In addition, Sao Hpa Si Por (Hsipaw) was seen as the wealthiest and considered as a modern person. 3. Most political conflicts came from the tradition of having many wives, especially in terms of appointing the rightful heirs to the throne. 4. The architecture of Sao Hpa Towers can be divided into two types which are Mandalay style and Western style. These towers can be specified when it was built, before or after Burmese lost to Britain. Only a few towers were found to be truly built in Tai traditional style. 5.The book talks about the negotiation of China (Kunming) - Burma Road extension between China’s government and Sao Hpa Si Por (Hsipaw) while Japan closed the Eastern gulf of China which later became Burma Road, an important road in World War II.

Mekong basin Civilization Museum


24

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

หอค�ำเจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงในเมืองตองยี ปัจจุบันเป็นสถานที่ส�ำหรับวิปัสสนา Mogok Vipassana Mogok Vipassana Meditation Hall; This structure was converted from the residence of the Prince of Kengtung in Taunggyi.

โรงเรียน Basic Education High School No. 2 เมืองตองยี (ในอดีตคือ Shan Chief School โรงเรียนส�ำหรับเจ้าฟ้าหรือ ผู้ปกครอง) Basic Education High School No. 2 in Taunggyi (formerly Shan Chief School, exclusively serving noblemen’s and rulers’ children)

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

25

หอค�ำเจ้าฟ้าองค์สุดท้ายของเมืองสีป้อ The last Prince’s Tower of Si Por, Hsipaw

Shan State Cultural Museum เมืองหยองห้วย ในอดีตคือหอค�ำเก่าของ เจ้าฟ้าเมืองหยองห้วย ปัจจุบันปรับเปลี่ยนเป็น พิพิธภัณฑ์ The Shan State Cultural Museum, Nyaungshwe The structure now housing the museum was converted from the residence of the Prince of Nyaungshwe.

Mekong basin Civilization Museum


26

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ต�ำนานและประวัติ การแห่พระบัวเข็มทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย รัฐฉาน 1

ตามต�ำนานเล่าว่าในสมัยพระเจ้าสิรธิ รรมะอโสกะมหาราช ผูม้ บี ญ ุ ญาธิการมากผูป้ กครองอาณาจักรพุกาม มีพระประสงค์อยากเสด็จไปเทีย่ วเมืองสวรรค์ แต่มนุษย์นนั้ ไม่สามารถเดินทางไปเมืองสวรรค์ได้ แต่ด้วยที่พระองค์ท่านมีบุญญาธิการจึงใช้ไม้เท้าชี้ลงบนแผ่นดินให้กลายเป็นแม่น�้ำเพื่อเป็นเส้นทางไป เมืองสวรรค์ จากนั้นจึงสร้างเรือขนาดใหญ่พร้อมไพร่พลจ�ำนวนมากออกเดินทางล่องตามล�ำน�้ำที่ท่านสร้างขึ้น เพื่อเดินทางไปเมืองสวรรค์ เมื่อเดินทางทางล�ำน�้ำมาหลายวันและในขณะที่ก�ำลังแล่นเรืออยู่นั้นได้มองเห็นคนชรา สองสามีภรรยาพายเรือผุๆ อยู่กลางล�ำน�้ำ ซึ่งความจริงเป็นเทวดาจ�ำแลงลงมาเตือนว่าอย่าเดินทางด้วยเรือ เพื่อไปเมืองสวรรค์เลย เมือ่ พระเจ้าสิรธิ รรมะอโสกะมหาราชทอดพระเนตรเห็นสองสามีภรรยา จึงตรัสถามว่าพวกท่านจะไปไหน สองสามีภรรยากล่าวว่าตนทั้งสองนั้นก็ปรารถนาไปเมืองสวรรค์เช่นกัน ออกเดินทางตั้งแต่ตอนหนุ่มสาวบัดนี้ แก่เฒ่าแล้วยังไม่เห็นเมืองสวรรค์ ฉะนั้น มหาบพิตรอย่าคิดเดินทางไปเลยเสียเวลาเปล่าพระเจ้าค่ะ พระเจ้าสิริธรรมะอโสกะมหาราชได้ยินเช่นนั้น จึงกล่าวว่า นั่นเป็นเพราะเรือของพวกเจ้าล้วนผุพังและ มีคนพายเพียงสองคน ส่วนเรือเรานั้นเป็นเรือยนต์สามารถวิ่งได้ไวมีฝีพายห้าร้อยกว่าคนย่อมไปถึงเมืองสวรรค์ ได้แน่ สองสามีภรรยาจึงกล่าว หากเช่นนั้น เรามาแข่งกันไหม หากพระองค์ชนะข้าพุทธเจ้าจักยอมเป็นทาส แต่หากพระองค์พ่ายแพ้แล้วไซร้ โปรดเสด็จกลับเถิดอย่าพยายามอีกเลย ผลปรากฏว่าเรือยนต์ของพระองค์นั้น พ่ายแพ้วิ่งตามไม่ทันเรือของสองสามีภรรยา พระองค์จึงทรงทราบว่าแท้ที่จริงแล้วสองสามีภรรยานั้นเป็นเทวดา แปลงกายมาเพื่อมาห้ามไม่ให้พระองค์เสด็จอีก พระองค์จึงตัดสินพระทัยเดินทางกลับ ในระหว่างการเดินทาง กลับพระองค์ได้ทรงพบนางยักษ์ก�ำลังนั่งร้องไห้ เหตุเพราะในขณะที่นางอุ้มลูกน้อยอยู่นั้น นางเผลอหลับไป ท�ำให้ลูกน้อยของนางหลุดมือร่วงลงน�้ำ เมื่อพระองค์ทราบความจึงใช้ไม้เท้าวิเศษตีเหนือน�้ำ และให้เทวดา ที่รักษาน�้ำออกมาช่วยงมเอาลูกของนางยักษ์คืนให้ได้ เมือ่ นางยักษ์ได้ลกู คืนแล้วนางรูส้ กึ ดีใจและขอบคุณพระเจ้าสิรธิ รรมะอโสกะมหาราชเป็นอย่างยิง่ เพือ่ เป็น การตอบแทนและขอบคุณนางจึงเข้าไปเอาไม้มงคลในป่าหิมพานต์มาถวาย แต่ในขณะเดินทางกลับได้มีเทวดา มาขอไม้จากพระองค์โดยกล่าวว่า ไม้นเ้ี ป็นไม้มงคลเห็นสมควรน�ำไปแกะสลักเป็นพระพุทธรูปเพือ่ ให้คนและเทวดา ได้สักการะต่อไป 1

เรียบเรียงจากค�ำบอกเล่าของมัคคุเทศก์ชาวไทใหญ่ผนู้ ำ� เทีย่ วและจากภาพวาดบอกเล่าเรือ่ งราวทีป่ รากฏในวิหารวัดผ่องด่ออู วันที่ 29 กรกฎาคม 2560 ตามโครงการส�ำรวจภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์เมืองตองยี รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2560 NANG KYAN KYILAR, สัมภาษณ์โดย พลวัฒ ประพัฒน์ทอง, วัดผ่องด่ออู เมืองหยองห้วย รัฐฉาน, 29 กรกฎาคม 2560. Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

27

พระองค์จึงมอบไม้นั้นให้แก่เทวดา และเทวดาจึงน�ำไม้มาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปจ�ำนวน 5 องค์ นอกจากนัน้ ได้สร้างพระพุทธรูปด้วยเกสรดอกไม้หอมหลายชนิด จ�ำนวน 1 องค์ และสร้างด้วยไม้มงคลอีก 2 องค์ รวมเป็น 8 องค์ เสร็จแล้วจึงน�ำมาถวายพระเจ้าสิริธรรมะอโสกะมหาราช เมื่อพระองค์ได้รับพระพุทธรูปทั้งหมด แล้ว ท่านก็เสด็จออกเดินทางด้วยช้าง เมื่อเดินทางมาถึงภูเขาแห่งนี้เทวดาก็มาทูลขอพระพุทธรูปจ�ำนวน 5 องค์ และบอกว่าในกาลภายหน้าที่แห่งนี้จะเป็นสถานที่เผยแพร่ศาสนาและศาสนาจะรุ่งเรืองยิ่งนัก ดังนั้นทุกพื้นที่ ที่พระองค์เสด็จพักก็จะสร้างวัดเพื่อเป็นสถานที่พักพระพุทธรูป ส่วนไพร่พลที่ตามมาหลังจากสร้างวัดเสร็จ บางกลุ่มก็ตั้งรกรากเพื่ออยู่รักษาวัด จนเกิดวัดและชุมชนตามเส้นทางที่พระองค์เสด็จผ่านและพักแรม เมื่ อ จะเสด็จมาถึงหุบเขาแห่งนี้จึงโปรดให้ ส ร้ า งวิ ห ารเพื่ อ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ปและได้ อั ญ เชิ ญ พระพุทธรูปลงจากหลังช้าง แต่ปรากฏว่าน�ำลงมาได้เพียง 4 องค์ อีกองค์หนึ่งซึ่งท�ำด้วยเกสรดอกไม้ได้แสดง อิทธิปาฏิหาริย์ไม่ยอมลงจากหลังช้าง จากนั้นพระองค์ก็เดินทางต่อและเห็นว่ามีภูเขาแห่งหนึ่งสวยงามนักและ ไม่ไกลจากวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 องค์ จึงให้สร้างเจดีย์และบรรจุพระพุทธรูปที่สร้างจากเกสรดอกไม้ ไว้ ณ ที่นั้น ล่วงมาสมัยเจ้าฟ้าเมืองหยองห้วย พระนามว่าเจ้าฟ้าสีสายฟ้า ท่านเห็นแสงสว่างจากหุบเขา ท่านจึงให้ คนเดินทางไปสืบหาและพบว่าในหุบเขามีสถูปและมีพระพุทธรูปไม้จ�ำนวน 4 องค์ ท่านจึงให้อัญเชิญมาและ สร้างวิหารและวัดเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 องค์โดยไม่บรรจุในสถูปเหมือนสมัยพระเจ้าสิริธรรมะ อโสกะมหาราช ต่อมาในศักราช 977 เกิดการสูร้ บกันเพือ่ แย่งชิงพืน้ ทีแ่ ละอ�ำนาจระหว่างพม่าและไทใหญ่ เมืองหยองห้วย พ่ายศึกจึงหนีภัยสงครามและได้อัญเชิญพระพุทธรูปทั้ง 4 องค์มาด้วย เบื้องต้นได้อัญเชิญมาประดิษฐานที่ วัดอินเต็ง ซึ่งมีพระพุทธรูปที่สร้างด้วยเกสรดอกไม้อยู่ที่นี่เช่นกัน ต่อมาในยุคพระเจ้าอโนรธา ผู้ก่อตั้งอาณาจักร พุกามก็ได้เสด็จมาบูรณะวัดอินเต็ง ในปี ศัก ราช 1133 เกิดเหตุไฟไหม้ วัดอิ นเต็ ง จึ ง ได้ ย ้ า ยและอั ญ เชิ ญ พระพุ ท ธรู ปมาประดิ ษ ฐานที่ วัดผ่องด่ออูแห่งนี้ และเริ่มมีประเพณีแห่พระบัวเข็มทางน�้ำขึ้น แต่ทุกครั้งที่มีการแห่พระพุทธรูปทั้ง 5 องค์ พร้อมกัน มักมีเหตุให้เรือที่แห่พระพุทธรูปนั้นจมหรือล่มอับปรางทุกครั้ง ต่อมาในปีจุลศักราช 1327 (ตรงกับพุทธศักราช 2508) จึงก�ำหนดให้มีการอัญเชิญเฉพาะพระพุทธรูปที่ แกะสลักจากไม้จ�ำนวน 4 องค์ ส่วนพระพุทธรูปที่สร้างด้วยเกสรดอกไม้นั้นไม่มีการอัญเชิญออกมาร่วมขบวนแห่ ด้วย จึงไม่มีเหตุเรือแห่ล่มหรืออับปรางอีกเลย หมายเหตุ

ประเพณีแห่พระบัวเข็มนั้นนิยมจัดก่อนวันออกพรรษา 14 วัน เป็นประเพณีส�ำคัญของเมืองหยองห้วย หรือชุมชนในทะเลสาบอินเล พระบัวเข็มแต่เดิมนัน้ ตามประวัตคิ อื มีองค์ทแี่ กะสลักด้วยไม้จำ� นวน 4 องค์ และท�ำจากเกสรดอกไม้ 1 องค์ แต่ปัจจุบันไม่อาจมองออกหรือเห็นเป็นพระพุทธรูปอย่างชัดเจนเนื่องจากองค์พระพุทธรูปนั้นถูกห่อหุ้มและ ปิดด้วยทองค�ำเปลวจากผู้มีจิตศรัทธามาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ดังนั้นสิ่งที่เราเห็นรูปร่างคล้ายดั่งก้อนหินนั้น แท้จริงแล้วคือทองค�ำเปลวที่พุทธศาสนิกชนร่วมกันปิดนั่นเอง Mekong basin Civilization Museum


28

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

THE LEGEND AND HISTORY OF PHAUNG DAW OO PAGODA FESTIVAL, INLE LAKE, NYAUNGSHWE, SHAN STATE 2

According to the legend, in the era of King Asoka, Siridhamma the Great of Bagan wished to visit the heavenly city where human beings could not travel to. King Asoka had powerful merits. He pointed his magic staff towards the earth and turned the land to a river creating a route to heaven. King Asoka built a large ship with a large number of sailors and began his journey towards heaven. Few days on the water, he saw deities in the form of an old couple paddling a decayed boat. They warned him that sailing a boat towards heaven is not a great idea. King Asoka asked the old couple where they were heading to. They said they wished for heaven, left when they were young and had yet to see heaven. They also advised the King to give up. King Asoka replied “The decayed boat and the number of sailors, in fact, are the cause of this hardship. My boat, on the other hand, is a motor boat sailed by five hundred oarsmen. It is, surely, fast and it will bring us to heaven.” The old couple said “Well then, shall we complete? If His Highness defeats us, we shall be your slaves but if you are defeated, His Highness must return and give up on this wish.” Unfortunately, King Asoka lost and the truth had been revealed that the old couple were indeed deities. He kept his promise by turning back to where he came from. On the way back, King Asoka saw a crying giant who lost her baby in the water while she was asleep. The King decided to help her by hitting his magic staff on the water surface to call a deity of water. The deities helped find the baby giant and brought the child back to the giant. When the child returned to their mother, the giant felt thankful and gave King Asoka an auspicious wood from the Himmapan forest in return. Then, the King continued heading back home. A deity appeared and asked him for the auspicious wood, saying “This is an auspicious wood that should be carved into a Buddha image for people and deities to worship” King Asoka gave the deity the wood. Then, he carved the wood into five Buddha images. In addition, one Buddha image was built with many kinds of fragrant flower pollens and two were 2

Compiled from a Tai Yai guide’s telling and from paintings in Phaung Daw Oo Pagoda on 29 July 2017 of Shan State’s Wisdom, Culture and Ethnicity Survey Project, 1st edition, during 27 July - 1 August 2017. KYAN KYILAR, interviewed by Pollavat Praphattong, at Hpaung Phaung Daw Oo Pagoda, Nyaungshwe Township, Shan State, 29 July 2017.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

29

built from auspicious plants, in total of eight Buddha images. All eight Buddha images were given to King Asoka. He set off on an elephant, heading to a plateau right after carving the Buddha images. Upon arriving at this plateau, the deity came to ask for five Buddha images and said that in the future, this place will be a place of propagation and religion will be very prosperous. Therefore, in every area where King Asoka stayed, he would build temples for the Buddha images. Some of his fellows settled in each area to maintain the temples until they became communities wherever King Asoka passed and stayed. When King Asoka came to this valley, he built a sanctuary to enshrine the Buddha image and bring the Buddha image down from the elephant’s back. He succeeded in bringing down only four Buddha images while one of them that was created from flower pollens could not be moved. He, then, continued on his route and found a beautiful mountain not far from the temple of four Buddha images. He decided to build a pagoda there to place the fifth Buddha image made out of fragrant flowers. In the era of Sao Hpa Si Sai Hpa of Nyaungshwe, Sao Hpa saw a light emerging from the valley and appointed his people to check. They found pagodas containing four wooden Buddha images. Then, Sao Hpa brought them down from the valley and built temples to house them instead of pagodas. In the year 977, Burmese and Tai Yai people were at war to conquer the lands and gain power. The Nyaungshwe people lost the war and escaped with the four Buddha images. They were placed in Inn Tain temple along with the Buddha image made from fragrant flowers. Later, in the era of King Anawrahta, the founder of the Bagan empire came to renovate the Inn Tain temple. In the year 1133, there was a fire at Inn Tain Temple. Therefore, the Buddha image was relocated and brought to be enshrined at Phaung Daw Oo temple. They formed the tradition of the Phaung Daw Oo Pagoda Festival. Unfortunately, every time the five Buddha statues were paraded at the same time, the boats carrying the Buddha images sunk every time. In the year 1327 (2508 B.E.), it was agreed that only four Buddha images carved from wood would respectfully be engaged in the festival without the Buddha image made out of flower pollen, and thus the boat never sank again. Note Phaung Daw Oo Pagoda Festival is usually held 14 days before the end of Buddhist Lent. It is an important tradition of Nyaungshwe Township, the community of Inle Lake.

According to history, the four Buddha images were crafted from wood and one from flower pollens. Nowadays, however, the Buddha images cannot be clearly seen because they have been covered with gold leaves by the believers for a very long time causing their shape to look like a rock. Mekong basin Civilization Museum


30

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัดผ่องด่ออู ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย Phaung Daw Oo Pagoda Inle Lake, Nyaungshwe

พระบัวเข็ม

The Bua Khem Buddha image

เรือการเวก The Karawik Boat ในประเพณีแห่พระบัวเข็มจะอัญเชิญพระบัวเข็มลงเรือการเวกแล้ว แห่ไปรอบๆ ทะเลสาบอินเล The Karawik Boat This ritual boat is used to carry the Bua Khem Buddha image in the aquatic parade around Inle Lake.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

31

ภาคผนวก

APPENDIX

ก�ำหนดการ โครงการส�ำรวจภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และกลุ่มชาติพันธุ์เมืองตองยี รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ระหว่างวันที่ ๒๗ กรกฎาคม-๑ สิงหาคม ๒๕๖๐

วัน

เวลา

๒๗ ก.ค. ๒๕๖๐ ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๔.๐๐ น. ๑๕.๔๕ น. ๑๘.๓๐ น. ๒๘ ก.ค. ๒๕๖๐ ๐๖.๐๐ น. ๐๗.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น. ๒๙ ก.ค. ๒๕๖๐ ๐๖.๐๐ น. ๐๗.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น.

กิจกรรม ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงไปยังด่านอ�ำเภอแม่สาย ด�ำเนินกระบวนการตรวจคนเข้าเมือง รับประทานอาหารกลางวันทีส่ นามบินท่าขีเ้ หล็กและประชุมวางแผนงาน ออกเดินทางจากสนามบินท่าขี้เหล็กสู่สนามบินเฮโฮ รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาโดยเครื่องบิน เดินทางถึงสนามบินเฮโฮ และเดินทางต่อด้วยรถสู่เมืองกะลอ เดินทางถึงที่พักเมืองกะลอ, รับประทานอาหารเย็น, ส�ำรวจเมืองกะลอ และประชุมประจ�ำวัน ส�ำรวจและเก็บข้อมูลเชิงชาติพันธุ์ที่ตลาดเช้าเมืองกะลอ ประชุมแผนการส�ำรวจและประเด็นการเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ส�ำรวจและเก็บข้อมูลที่วัดพินมากอง-KALAW SHWE OO MIN PHAYA เจดียเ์ รียงรายกันอยูบ่ นเขา-บ้านพักของข้าหลวงอังกฤษ และโบสถ์คริสต์ศาสนาที่สร้างสมัยอาณานิคม-สถานีรถไฟเมืองกะลอ-ถ�้ำพินดายะ (รับประทานอาหารกลางวันระหว่างเดินทาง) ส�ำรวจและเก็บข้อมูลที่ Banyan Tree Garden เดินทางไปเมืองหยองห้วย ระหว่างทางส�ำรวจวัด SHWE YAN PHE-หอค�ำเก่าของเจ้าฟ้าเมืองหยองห้วย เดินทางไปทะเลสาบอินเล และเก็บข้อมูลระหว่างการเดินทาง เดินทางถึงทีพ่ กั ในทะเลสาบอินเล / รับประทานอาหารเย็น และประชุม สรุปการเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ส�ำรวจและเก็บข้อมูลเชิงชาติพันธุ์ที่ตลาดเช้า ประชุมแผนการส�ำรวจและประเด็นการเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ส�ำรวจและเก็บข้อมูลทีว่ ดั โบราณสถาน และสถานทีส่ ำ� คัญ ณ ทะเลสาบ อินเล เมืองโบราณอินเต็ง-สถูปเจดีย์กลางน�้ำ-วัดโบราณ TAR KUANG PAGODA-วัด Phaung Daw Oo-วัด NGA-PHE-KYANNG (รับประทานอาหารกลางวันระหว่างเดินทาง)

Mekong basin Civilization Museum


32

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัน

เวลา กิจกรรม ๑๖.๓๐ น. เดินทางสู่เมืองตองยี เมืองหลวงแห่งรัฐฉาน-ส�ำรวจเจดีย์สุระมะณี (SURAMANEE PAGODA) ซึ่งเลียนแบบมาจาก ANANDA TEMPLE จาก เมืองพุกาม ๑๘.๓๐ น. เดินทางกลับเข้าที่พัก / รับประทานอาหารเย็นและประชุมสรุป การเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ๓๐ ก.ค. ๒๕๖๐ ๐๖.๐๐ น. ส�ำรวจและเก็บข้อมูลเชิงชาติพันธุ์ที่ตลาดเช้า ๐๗.๓๐ น. ประชุมแผนการส�ำรวจและประเด็นการเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ๐๘.๓๐ น. ส�ำรวจและเก็บข้อมูลทีบ่ า้ นพักของเจ้าฟ้า-พิพธิ ภัณฑ์ชาวฉาน-สถานีรถไฟ เมืองตองยี เดินทางไปสนามบิน (รับประทานอาหารกลางวันระหว่างเดินทาง) ๑๕.๕๐ น. เดินทางไปเมืองมัณฑะเลย์โดยสายการบินภายในประเทศ ๑๖.๒๐ น. เดินทางถึงสนามบินเมืองมัณฑะเลย์ และเดินทางต่อไปยังเมืองปยิน่ อูหลุย่ (เมืองเมเมียวหรือเมืองพินอูลวิน) ชายแดนระหว่างรัฐฉานและมัณฑะเลย์ ๑๗.๓๐ น. เดินทางถึงเมืองปยิ่นอูหลุ่ย เมืองฐานบัญชาการของกองทัพอังกฤษ ในอดีต นัง่ รถม้าส�ำรวจเมือง หอนาฬิกา Purcell Tower โบสถ์ All Saints และ Immaculate Conception Church และสถานที่อื่นตามเส้นทาง ๑๙.๐๐ น. เดินทางกลับเข้าที่พัก / รับประทานอาหารเย็นและประชุมสรุป การเก็บข้อมูลประจ�ำวัน ๓๑ ก.ค. ๒๕๖๐ ๐๗.๐๐ น. เดินทางไปเมืองสีป้อโดยรถไฟ (เส้นทางรถไฟเริ่มต้นจากมัณฑะเลย์ผ่านเมืองเมเมียวสิ้นสุดที่เมือง ล่าเสี้ยว Departure Time: 08.30-12.00 a.m. บางช่วงจะผ่านหุบเขา ในส่วนที่สูงที่สุดที่สร้างสะพานรถไฟเรียกว่า Gokteik ซึ่งผ่านหุบเหวสูง ถึง 330 เมตร สร้างใน ค.ศ.1903 ซึง่ ใช้ทงั้ เทคนิคและแรงงานคนสร้างขึน้ ) ๑๓.๐๐ น. ส�ำรวจและเก็บข้อมูลทีห่ อค�ำเจ้าฟ้าองค์สดุ ท้ายของเมืองสีปอ้ (เจ้าจ่าแสง ทีม่ มี หาเทวีเป็นหญิงต่างชาติ ชาวออสเตรีย อิงเง ซาร์เจนท์ ทีห่ อค�ำแห่งนี้ จะมีผู้ดูแลอยู่คือหลานสะใภ้ของเจ้าฟ้าเมืองสีป้อที่มีชื่อว่าเจ้าจ๋ามฝน) เดินทางโดยเรือล่องแม่นำ�้ ตูห้ รือแม่นำ�้ ตุทะวตีเพือ่ ส�ำรวจหมูบ่ า้ นไตทีส่ ร้าง ด้วยไม้และไม้ไผ่ทาสีน�้ำมันเป็นสีด�ำทั้งหมู่บ้านเป็นเอกลักษณ์ของชาว ไตเหนือ-วัดภายในหมู่บ้านที่สร้างจากไม้สักทั้งหลัง (รับประทานอาหารกลางวันระหว่างเดินทาง) ๑๙.๐๐ น. เดินทางกลับเข้าทีพ่ กั / รับประทานอาหารเย็นและประชุมสรุป การเก็บข้อมูลประจ�ำวัน

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

วัน

เวลา

๑ ส.ค. ๒๕๖๐ ๐๖.๐๐ น. ๑๓.๓๐ น. ๑๔.๓๕ น. ๑๖.๐๐ น.

LANDSCAPE OF SHAN STATE

33

กิจกรรม เดินทางไปเมืองล่าเสีย้ ว ระหว่างทางส�ำรวจและเก็บข้อมูลทีว่ ดั บอโจ่พะญา เมืองสีป้อ เดินทางไปสนามบินล่าเสี้ยว (รับประทานอาหารกลางวันระหว่างเดินทาง) ออกเดินทางสู่สนามบินท่าขี้เหล็ก โดยสายการบินภายในประเทศ เดินทางถึงสนามบินท่าขี้เหล็ก ข้ามแดนกลับสู่ประเทศไทยที่ด่าน อ�ำเภอแม่สาย เดินทางถึงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงโดยสวัสดิภาพ

Mekong basin Civilization Museum


34

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

Schedule for The Exploration of Wisdom, Arts and Culture, and Ethnic Groups in Taunggyi, Shan State, Republic of the Union of Myanmar Project During 27 July – 1 August 2017 Date

Time

27 Jul. 2017 10:00 12.00 14.00 15.45 18.30 28 July 2017 06.00 07.30 08.30 13.00 18.00 29 July 2017 06.00 07.30 08.30 16.30

Mekong basin Civilization Museum

Activities Departure from Mae Fah Luang University to Mae Sai checkpoint, followed by the immigration process Have lunch at Tachileik Airport and have a planning meeting. Fly from Tachilek Airport to Heho Airport, Shan State, Republic of the Union of Myanmar Arrive at Heho Airport and travel to Kalaw by car Arrive at the accommodation in Kalaw, have dinner, explore Kalaw and have a daily meeting Do a survey and collect data of ethnicity at the Kalaw Morning Market Have a meeting to plan the survey and daily data collection subjects Conduct a survey and collect data at Pinmagon Monastery-KALAW SHWE OO MIN PAYA which its pagodas line on the hill-the British Governor’s residence and Christian church. Christianity built in colonial period - Kalaw Railway Station-Pindaya Cave (Lunch on the go) Conduct a survey and collect data at Banyan Tree Garden. Travel to Nyaungshwe. Explore SHWE YAN PHE Temple-The old hall of Prince Nyaungshwe on the route. Travel to Inle Lake and collect data during the way Arrive at the accommodation in Inle Lake and have dinner, followed by a meeting to summarize the daily data collection Conduct a survey and collect data of ethnicity at the Morning Market Have a meeting to plan the survey and daily data collection subjects Conduct a survey and collect data at temples, ancient sites and landmarks at Inle Lake. Data collection points include Inn Tain Ancient City-Floating pagoda - Ancient temple, TAR KUANG PAGODA-Phaung Daw Oo Temple - NGA-PHE-KYANNG Temple (Lunch on the go) Travel to Taunggyi, Shan State Capital – Explore SURAMANEE pagoda, a replica of the ANANDA temple from Bagan.


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

Date

Time

LANDSCAPE OF SHAN STATE

35

Activities

18.30 Return to the accommodation / have dinner and have a meeting to summarize the daily data collection. 30 July 2017 06.00 Conduct a survey and collect data of ethnicity at the Morning Market 07.30 Have a meeting to plan the survey and daily data collection subjects 08.30 Conduct a survey and collect data at the prince’s residence-Shan Museum-Taunggyi Railway Station and travel to the airport (Lunch on the go) 15.50 Travel to Mandalay by domestic airlines. 16.20 Arrive at Mandalay Airport and travel to the city of Pyin Wu Lui (City of Maymyo or Pyin Oo Lwin), the border between Shan State and Mandalay 17.30 Arrive at Pyin Wu Lui, the former commanding base town of the British Army. Take a horse carriage to explore Pyin Oo Lwin, Purcell Tower, All Saints and Immaculate Conception Church, and other sites along the route. 19.00 Return to the accommodation / have dinner and have a meeting to summarize the daily data collection. 31 July 2017 07.00 Travel to Hsipaw (Muang Si Por) by train. [The train route starts from Mandalay through Pyin Oo Lwin (Maymyo) and ends at Lashio. Departure Time: 08:30-12:00 a.m. Some parts of the journey are passing through the valley at the highest point where the railway Gokteik bridge was built. The 330 meters cliff was built in 1903, using both technical method and labor.] 13.00 Conduct a survey and collect data at the last Prince’s Tower of Hsipaw. (Sao Kya Seng prince who had an Austrian woman named Inge Sargent as his wife. The tower is supervised by the granddaughter in-law of Prince of Hsipaw, known as Chao Jam Fon)-travel by boat on the Du River, also known as Tutawati River, to explore a Tai village built out of wood and bamboo painted with black oil. The whole village is unique to the Tai Nüa people - a temple within the village built entirely from teak wood. (Lunch on the go) 19.00 Return to the accommodation / have dinner and have a meeting to summarize the daily data collection. 1 August 2017 06.00 Travel to Lashio City. Explore and collect data on the route to Bor Cho Phaya Temple, Hsipaw, then travel to Lashio Airport. (Lunch on the go) 13.30 Fly to Tachileik Airport by domestic airlines 14.35 Arrive at Tachileik Airport. Cross Thailand border through the Mae Sai checkpoint. 16.00 Arrive at Mae Fah Luang University safely

Mekong basin Civilization Museum


36

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ประมวลภาพ

Image Catalogue สนามบินเฮโฮ รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา Heho Airport, Shan State, Republic of the Union of Myanmar

KALAW SHWE OO MIN PAYA เจดีย์เรียงรายกันอยู่บนเขา เมืองกะลอ KALAW SHWE OO MIN PAYA which its pagodas line on the hill, Kalaw

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

37

“Nee Paya” (พระพุทธรูปสานด้วยไม้ไผ่ ลงรักปิดทอง) วัดพินมากอง เมืองกะลอ “Nee Paya” (lacquered and gilded Buddha image made from woven bamboo) Pinmagon Monastery, Kalaw

Mekong basin Civilization Museum


38

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

บ้านพักของข้าหลวงอังกฤษและโบสถ์คริสต์ศาสนาที่สร้างสมัยอาณานิคม เมืองกะลอ The British Governor’s residence and Christian church. Christianity built in colonial period, Kalaw

โบสถ์ Christ The King Church, Kalaw

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

39

โรงเรียน Basic Education High School No. 2, Kalaw

โรงเรียน Basic Education High School No. 1, Kalaw ค�ำว่า No. 1 หมายถึง มีความส�ำคัญเทียบเท่ากับโรงเรียนประจ�ำจังหวัด “No. 1” means “equivalent to a provincial school”

Mekong basin Civilization Museum


40

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ภาพบรรยากาศ ตลาดเมืองกะลอยามเย็น

Evening atmosphere of Kalaw city market

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

41

Evening atmosphere of Kalaw city market Mekong basin Civilization Museum


42

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

สถานีรถไฟเมืองกะลอ

Kalaw Railway Station

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

43

เมืองกะลอ Kalaw

Mekong basin Civilization Museum


44

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ตลาดเช้าเมืองกะลอ

Kalaw Morning Market

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

45

KALAW MORNING MARKET Mekong basin Civilization Museum


46

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

จุดชมวิวเมืองกะลอ และพิพิธภัณฑ์ Museum of the Buddha Kalaw scenic point and Museum of the Buddha

อนุสาวรีย์นายพลอองซาน เมืองอ่องปาน Monuments of General Aung San, Aung Ban

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

47

47

สถานีรถไฟอ่องปาน

Aung Ban Railway Station

Mekong basin Civilization Museum


48

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ถ�ำ้ พิ นดายะ เมืองพิ นดายา

Pindaya Natural Cave, Pindaya

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

49

เส้นทางรถไฟ Ba wa Thantaya แปลว่า วงเวียนชีวิต สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1927 Railway known as “Ba Wa Thantaya” (Cycle of Life), built in 1927

กู่เจ้าฟ้า เมืองหยองห้วย The Tomb of the Prince, Nyaungshwe

อนุสาวรีย์นายพล ออง ซาน ลานเอกราช เมืองหยองห้วย Monuments of General Aung San stand in the fields or the cities’ “Independence” garden, Nyaungshwe Mekong basin Civilization Museum


50

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัดชเวยันเป

เมืองหยองห้วย

Shwe Yan Pyay Monastery, Nyaungshwe

“ชเวยันเป” มีความหมายแปลตามภาษาไทยว่า “ศัตรูพ่าย” มีอายุประมาณร้อยกว่าปี เป็นศิลปะ แบบไทใหญ่ จุดเด่นคือ ศาลาไม้สีน�้ำตาลแดง ยกพื้นสูง ด้วยเสาไม้ขนาดใหญ่ ฉลุไม้เป็นลวดลาย มีบานหน้าต่าง เป็นรูปวงรี (รูปไข่) “Shwe Yan Pyay” The name can be translated into English as “Defeating the Enemy”. This Shan-architecture monastery is more than a century old. Its most prominent building is the red-brown wooden pavilion perched on stout wooden stilts, with fretted gable pediments and wooden windows with oval apertures.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

51

Mekong basin Civilization Museum


52

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

การพายเรือด้วยเท้า วิถีชีวิตของชาวอินทา

Foot-paddling: Intha people’s way of life

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

53

วิถีชีวิต ณ ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย

Way of life around Inle Lake, Nyaungshwe

Mekong basin Civilization Museum


54

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

กลุ่มเจดีย์ยองอ๊ก ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย กลุม่ สถูปเจดียเ์ ก่าแก่อายุประมาณ 1,000 ปี อยู่บริเวณทางเดินขึ้นไปยังเจดีย์ชเวอินเต็ง Nyaung Oak cluster of pagodas, Inle Lake, Nyaungshwe This cluster of millennium-old stupas is located on the ascent towards Shwe Inn Tain Pagoda.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

55

เจดียช์ เวอินเต็ง ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย Shwe Inn Tain Pagoda, Inle Lake, Nyaungshwe

Mekong basin Civilization Museum


56

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัดผ่องด่ออู ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย

Phaung Daw Oo Pagoda, Inle Lake, Nyaungshwe

พระบัวเข็ม วัดผ่องด่ออู The Bua Khem Buddha image, Phaung Daw Oo Pagoda

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

57

วัดงาเพจอง ทะเลสาบอินเล เมืองหยองห้วย Nga Phe Chaung Monastery, Inle Lake, Nyaungshwe

Mekong basin Civilization Museum


58

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

หมู่บ้านชาวอินทาและสวนผักลอยน�้ำ An Intha village and floating vegetable garden

ผ้าทอใยบัวเป็นงานหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวอินทาพบได้เฉพาะที่หมู่บ้านในทะเลสาบอินเลเท่านั้น Lotus fibre textile is the handicraft uniquely characteristic of the Inthas and is practiced exclusively by members of the communities surrounding Inle Lake. Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

59

สวนผักลอยน�้ำจะปลูกมะเขือเทศเป็นหลัก ใช้ดินเลนในการเพาะปลูก โดยปักไม้ เพื่อดักตะกอนต่างๆ เมื่อตะกอนรวมตัวกันในปริมาณมากจะกลายเป็นดินเลน Primarily for tomato plantation, the garden floats over mire. Wooden sticks are driven into the mud so that the trapped sediment accumulates and forms a nutrient-rich mire deposit.

ผ้าทอใยบัว Lotus fibre textile

Mekong basin Civilization Museum


60

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

พิพิธภัณฑ์ Shan State Cultural Museum (หอค�ำเก่าของเจ้าฟ้าเมืองหยองห้วย) Shan State Cultural Museum (The old hall of Prince Nyaungshwe)

สถานีรถไฟชเวยอง Shwe Nyaung Railway Station

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

61

เมืองตองยี สัมภาษณ์ SAO KAE SET ลูกชายเจ้าส่วยหมุ่ง เจ้าฟ้าองค์สุดท้ายแห่งเมืองเกซี Taunggyi, Interviewing SAO KAE SET Son of Chao Suay Mung, the last prince of Khesi township

Mekong basin Civilization Museum


62

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

หอค�ำเจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงในเมืองตองยี ปัจจุบันเป็นสถานที่ส�ำหรับวิปัสสนา Mogok Vipassana Mogok Vipassana Meditation Hall This structure was converted from the residence of the Prince of Kengtung in Taunggyi.

โรงเรียน Basic Education High School No. 2, Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

63

อนุสาวรีย์นายพลอองซาน เมืองตองยี Monuments of General Aung San, Taunggyi

Memorial Monuments of 8888, Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


64

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

เมืองตองยี

TAUNGGYI

Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

65

สถานีรถไฟตองยี

Taunggyi Railway Station

TAUNGGYI RAILWAY STATION Mekong basin Civilization Museum


66

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัดชเว พอง พวิน เมืองตองยี จุดเด่นคือเป็นจุดที่สามารถมองเห็นเมืองตองยีได้ทั้งเมือง Shwe Phone Pwint Temple, Taunggyi A vantage point overlooking the entire city of Taunggyi

นัตที่เจดีย์วัดชเว พอง พวิน เชื่อกันว่าเป็นผู้ปกป้องดูแลสถานที่และ มีความศักดิ์สิทธิ์ขออะไรมักจะสมหวัง Statue of the “Nat” Spirit The sacred spirit of guardianship and wish fulfillment

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

67

ตลาดเมืองตองยี

Taunggyi city market

ศูนย์การค้า Ocean Supercenter

Mekong basin Civilization Museum


68

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

พิ พิธภัณฑ์ Cultural Museum, Taunggyi

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

69

สถานีรถไฟเฮโฮ เมืองตองยี

Heho Railway Station, Taunggyi

น�้ำตก Dat Taw Gyaint หรือ น�้ำตก Anisakan เมืองพินอูลวิน Dat Taw Gyaint (Anisakan) Waterfall, Pyin Oo Lwin

Mekong basin Civilization Museum


70

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

บ้านพักข้าหลวง เมืองพินอูลวิน Governor’s house, Pyin Oo Lwin

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

71

โบสถ์ All Saints เมืองพินอูลวิน All Saints Church, Pyin Oo Lwin

หอนาฬิกา Purcell เมืองพินอูลวิน Purcell Tower, Pyin Oo Lwin Mekong basin Civilization Museum


72

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

โบสถ์ Immaculate Concept เมืองพินอูลวิน Immaculate Concept Church, Pyin Oo Lwin

บ้านเก่า (ค.ศ. 1904) ปัจจุบันคือ โรงแรม Thiri Myaing เมืองพินอูลวิน

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

73

โบสถ์ Sacred Heart Catholic เมืองพินอูลวิน Sacred Heart Catholic Church, Pyin Oo Lwin

Thiri Myaing Hotel was converted the Candacraig House (1904), Pyin Oo Lwin

Mekong basin Civilization Museum


74

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

สถานีรถไฟพินอูลวิน Pyin Oo Lwin Railway Station

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

75

เดินทางไปเมืองสีป้อ โดยรถไฟ Travel to Hsipaw by train.

Mekong basin Civilization Museum


76

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

หุบเขาในส่วนที่สูงที่สุดที่สร้างสะพานรถไฟเรียกว่า Gokteik ผ่านหุบเหวสูงถึง 330 เมตร สร้างใน ค.ศ. 1903 ซึง่ ใช้ทั้งเทคนิค และแรงงานคนสร้างขึ้น The valley at the highest point where the railway Gokteik bridge was built. The 330 meters cliff was built in 1903, using both technical method and labor.

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

77

สถานีรถไฟสีป้อ Hsipaw Railway Station. หอค�ำเจ้าฟ้าองค์สุดท้ายของเมืองสีป้อ The last Prince’s Tower of Hsipaw

Mekong basin Civilization Museum


78

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

เจ้าจ่าแสง และ อิงเง ซาร์เจนท์ Sao Kya Seng and Inge Sargent

หอค�ำแห่งนี้จะมีผู้ดูแลอยู่คือหลานสะใภ้ของเจ้าฟ้าเมืองสีป้อที่มีชื่อว่าเจ้าจ๋ามฝน The tower is supervised by the granddaughterin-law of Prince of Hsipaw, known as Chao Jam Fon

แม่น�้ำตู้หรือแม่น�้ำตุทะวตี เมืองสีป้อ The Du River, also known as Tutawati River, Hsipaw

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

79

หมู่บ้านของชาวไตเหนือ เมืองสีป้อ Village of the Tai Nüa people, Hsipaw

วัดของชาวไตเหนือ เมืองสีป้อ Temple of the Tai Nüa people, Hsipaw

Mekong basin Civilization Museum


80

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

วัด Maha Nanda Kantha Monastery เมืองสีป้อ Maha Nanda Kantha Monastery, Hsipaw

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

81

เมืองสีป้อ

Hsipaw

Mekong basin Civilization Museum


82

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

ตลาดเมืองสีป้อ

Hsipaw city Market

Mekong basin Civilization Museum


ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

83

สถานีรถไฟล่าเสี้ยว Lashio Railway Station

วัดจีนเมืองล่าเสี้ยว Kuan Yin San Chinese Temple, Lashio

Mekong basin Civilization Museum


84

ภูมิทัศน์รัฐฉาน

LANDSCAPE OF SHAN STATE

สนามบินล่าเสี้ยว Lashio Airport

สนามบินท่าขี้เหล็ก Tachileik Airport

Mekong basin Civilization Museum

ด่านอ�ำเภอแม่สาย Mae Sai checkpoint



“การเปิดหน้าต่างพรมแดนความรู้ของวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย เพื่ อสร้างความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรม และสามารถนําไปต่อยอดพั ฒนาแนวทางการศึกษาและเรียนรู้ได้อย่างไม่ส้น ิ สุด” “Opening the gateway beyond frontier to accumulate bodies of knowledge of cultural diversity. Such knowledge, in turn, can be furthered to promote endless educational and learning development.”

โครงการจัดตั้งพิ พิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มนํา้ โขง มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง The Project on Establishment of Mekong basin Civilization Museum Mae Fah Luang University Website

เว็บไซตพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง

Facebook

YouTube

Mekong Basin Civilization Museum

mekong-museum MFU


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.