MFU MAG #34

Page 1

จดหมายข่าวมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

10 3 มฟล. Move on อย่างไร ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

รายงานพิเศษ มฟล.กับการช่วยเหลือแรงงานข้ามชาติ ในสถานการณ์ COVID-19

21

ในรั้ว มฟล. นายวันชัย ศิริชนะ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


สารบัญ

3

เรื่องจากปก

10

รายงานพิเศษ

12

มฟล. วิชาการ

16

มฟล. เพื่อชุมชน

18

คนเก่ง มฟล.

21

ในรั้ว มฟล.

22

มฟล. ในสื่อ

ที่ปรึกษา รศ.ดร.ชยาพร วัฒนศิริ อธิการบดี บรรณาธิการ ดร.พรรณรวี พรหมนารท รองอธิการบดี ดร.พฤทธิ์ พุฒจร ผู้ชว่ ยอธิการบดี กองบรรณาธิการ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ฝ่ ายผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ส่วนประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ติดตามข้ อมูลมหาวิทยาลัยแม่ ฟ้าหลวง www.mfu.ac.th MFUconnect ส่วนประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง MFU E-Magazine 333 หมู่ 1 ต.ท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 0-5391-7064, 0-5391-7002 0-5391-7049 pr@mfu.ac.th

2


เรื่องจากปก

มฟล. Move on อย่างไร

ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

รศ.ดร.ชยาพร วัฒนศิริ อธิการบดี ให้สัมภาษณ์ถึงการบริหารงานท่ามกลางการระบาดของ COVID-19 โดยต้องดูแลทั้งนักศึกษาและบุคลากรให้ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนต่อไปไม่มีสะดุด ทั้ ง ยั ง มี พิ ธี ก ารส� ำ คั ญ อย่ า งพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รที่ ผ ่ า นไปด้ ว ยดี เบื้ อ งหลั ง การตั ด สิ น ใจ แต่ละจังหวะ ตลอดจนวางแผนอนาคตไว้อย่างไร เมื่อเกิดการระบาดCOVID-19 ทีมบริหารรับมือด้วยหลักการใด? สิ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลัย เป็ น ห่ว งมากที่ สุด คื อ ลูก ศิ ษ ย์ ข องเราบางสาขา อยูร่ ะหว่างการเรี ยนที่ประเทศจีน ตรงนันเราดู ้ แลเขาไม่ได้ ใกล้ ชิด และยังอยู่ ในจุดที่มีความเสี่ยงหรื อจุดที่มีกระแสข่าวว่าเป็ นจุดเริ่ มต้ นของการระบาด ตอนนันคิ ้ ดอย่างเดียวว่าจะพาพวกเขากลับบ้ านให้ เร็วให้ ทนั จึงตัดสินใจให้ กลับเมื องไทยทันที นอกจากนัน้ ยังมี นักศึกษาต่างชาติที่เวลานัน้ อยู่ใน ภูมิล�ำเนาตัวเอง บางคนอยูด่ ้ วยกันที่มหาวิทยาลัยรวมกับนักศึกษาไทยที่มี มาจากทัว่ ประเทศ นโยบายทีไ่ ด้ มอบให้ กบั ทีมบริหารคือวางมาตรการเข้ มข้ นตังแต่ ้ เริ่มต้ น มฟล.จึงได้ หยุดบางกิจกรรมตังแต่ ้ ก่อนประกาศของทางการ อย่างการหยุด การเดินทางไปต่างประเทศทังหมด ้ การท�ำงานก็จ�ำกัดเฉพาะในส่วนดูแล

ในเรื่ องความปลอดภัยตามมาตรการของสาธารณสุข หยุดกิจกรรมที่มีคน จ�ำนวนมาก และเมื่อมีการประกาศการระบาดอย่างเป็ นทางการ จึงหยุด ให้ นัก ศึ ก ษากลับ ภูมิ ล� ำ เนา ปรั บ การเรี ย นการสอนเป็ น แบบออนไลน์ เพื่อไม่ให้ การเรี ยนสะดุดจนกระทัง่ ปิ ดภาคการศึกษาที่ผา่ นมา ทังนี ้ ้ในช่วงเวลานันมหาวิ ้ ทยาลัยยังมีพิธีใหญ่ที่สดุ คือพิธีพระราชทาน ปริ ญญาบัตร ซึ่งเกิดขึน้ ในช่วงกุมภาพันธ์ น่าจะเป็ นมหาวิทยาลัยแรกๆ ด�ำเนินการโดยใช้ มาตรการของตัวเอง ติดตังจุ ้ ดบริ การแอลกอฮอล์ล้างมือ และคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของผู้เข้ าร่ วมกิจกรรม รวมถึงก�ำหนดให้ บัณฑิตสวมหน้ ากากอนามัยตลอดการฝึ กซ้ อม ท�ำให้ เราผ่านมาได้ ด้วยดี จนมีคนเรี ยกบัณฑิตรุ่นนี ้ว่า ‘รุ่นโควิด’ รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

3


เรื่องจากปก

การฝึ กซ้ อมใหญ่ พธิ ีพระราชทานปริญญาบัตร

มหาวิทยาลัยดูแลชุมชนโดยรอบและสังคมส่วนรวม โดยตั้งอยู่ในหลักการใด? เราคิ ด ว่ า การที่ ดู แ ลชุ ม ชนก็ เ หมื อ นดู แ ลนั ก ศึ ก ษาของเราเอง เพราะนักศึกษาของเราก็ต้องออกไปใช้ ชีวิตร่ วมกับผู้คนในชุมชนโดยรอบ และโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยของเราในยุคปั จจุบนั ได้ ก้าวเข้ ามาดูแลในเรื่ อง สาธารณสุขอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็ นการตังศู ้ นย์การแพทย์มหาวิทยาลัย แม่ ฟ้ า หลวงหรื อ การมี ส� ำ นัก วิ ช าแพทยศาสตร์ ต้ อ งถื อ ว่ า โครงสร้ าง วิทยาศาสตร์ สุขภาพและสาธารณสุขนัน้ ขับเคลื่อนมาเต็มที่ เราดูแลทัง้

นักศึกษา ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย และสังคมส่วนรวม โดยได้ ท�ำงานร่วมกับ โรงพยาบาลเชี ยงรายประชานุเคราะห์ และสาธารณสุขจังหวัดเชี ยงราย กรณี มี ผ้ ูป่ วยเกิ น จ� ำ นวนรองรั บ 30 เตี ย ง โรงพยาบาลศูน ย์ ก ารแพทย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงสามารถรองรับได้ กว่า 100 เตียง พร้ อมบุคลากร และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ถือว่าเป็ นสิ่งส�ำคัญของการเป็ นมหาวิทยาลัย ที่ก้าวย่างเข้ าสูอ่ ีกระยะหนึง่ ที่ดแู ลในเรื่ องสาธารณสุขได้ แล้ ว

ในทัศนะของอธิการบดี หลัง COVID-19 ตลาดงานจะเปลี่ยนไปอย่างไร และมหาวิทยาลัยจะยกระดับ ความสามารถของบัณฑิตให้รอดในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างไร? เรื่ องระบบการศึกษากระทบทัว่ โลก จะมีบางสาขาวิชาชีพที่ผลกระทบ แรงมาก บางสาขากลายเป็ นมีงานที่เข้ มข้ นขึ ้นมาเนื่องจากเป็ นสิ่งจ�ำเป็ น ต่อไปคนที่อาจจะมองหางานของตัวเองหรื ออาชีพจะได้ เลือกอย่างถูกต้ อง มองอนาคตให้ ขาดว่าเราจะไปทางไหนดี ฉะนันอาชี ้ พต่างๆ จะกลับเข้ ามา นึกถึงความจ�ำเป็ นของชีวิตแบบชัดเจนก่อนว่าอาชีพเหล่านีจ้ �ำเป็ นต้ องมี แล้ วมีอย่างครบถ้ วน จ�ำนวนเพียงพอ แต่อาชีพหลากหลาย ที่ต้องมาช่วย ในด้ านอื่น ไม่ได้ เป็ นตัวหลัก เป็ นตัวเสริ ม ก็ยงั มีความจ�ำเป็ นต้ องมี ต้ องจัด ล�ำดับตัวเองอย่างถูกต้ องไม่เสียสมดุลเกินไป

4

สิ่งหนึ่งคือจะเป็ นการเตรี ยมตัวจากมหาวิทยาลัยซึง่ ไม่ง่าย การสอน ในมหาวิทยาลัยจะสอนแบบเดิมๆ เป็ นไปไม่ได้ แล้ ว สิง่ ที่ต้องท�ำให้ ได้ คอื ต้ อง ช่ ว ยในการสนับ สนุน ทางเลื อ กของคนรุ่ น ใหม่ ที่ อ ยากจะเลื อ กวิ ถี ชี วิ ต เลือกอาชีพของเขาที่เหมาะสม เราจะคิดถึงหลักสูตรที่เคยสอนแบบเดิมๆ วัน นี อ้ าจจะไม่ ต อบโจทย์ ในหลายๆ วิ ช าชี พ อาจไม่ ไ ด้ ห ายไปแต่ ต้ อ ง ปรับตัวเองให้ เป็ นอีกแบบ การศึก ษาวัน นี ส้ ิ่ ง ส� ำ คัญ ต้ อ งดูทัก ษะความจ� ำ เป็ น ของคน ที่ ค วร จะมี จ ะไปต่ อ ในโลกของการงานของสัง คมชัด ๆ ซึ่ง วัน นี ม้ หาวิ ท ยาลัย


เรื่องจากปก

แม่ฟ้าหลวงเรามองว่าสิ่งส�ำคัญมากกว่าความรู้ วิชาชี พที่ทุกคนต้ องเก่ง มีสมรรถนะที่ดีเขาต้ องมีคณ ุ สมบัติอย่างอื่นอีก วันนี ้สิ่งที่ส�ำคัญมากๆ คือ ต้ องมีการปรั บตัวได้ รวดเร็ ว ต้ องรู้ จักคิดเป็ น อย่างเรี ยนมาวิชาชีพหนึ่ง แต่ออกไปท�ำงานและประสบความส�ำเร็ จไม่ใช่ตรงกับสายวิชาชีพ คนที่ ประสบความส�ำเร็จได้ ขึ ้นกับคุณสมบัตบิ างอย่าง อย่างทีเ่ ราอยากสร้ างความ เป็ นแม่ฟ้าหลวงแบบชัดเจนให้ กบั บัณฑิต ผ่านกิจกรรมทังในชั ้ นเรี ้ ยนและ นอกชันเรี ้ ยน สิ่งที่ส�ำคัญคือต้ องมีแรงบันดาลใจ ต้ องมีเป้าหมาย ไม่ว่าจะผิดหวัง อย่างไรก็ลกุ ขึ ้นและไปต่อได้ เป้าหมายที่มีไว้ ให้ ตวั เองไปให้ ถงึ โดยไม่ลดละ สิ่งนี ส้ �ำคัญมากๆ กับความส�ำเร็ จของคน อีกประการคือการปรั บตัวได้ ในภาวะอย่างนี ้ที่โลกเปลี่ยนแปลง Disruptive World แล้ ว COVID-19 แล้ ว และยัง คิ ด ว่า วิ ก ฤตเป็ น โอกาสได้ เ สมอ การปรั บ ตัว เป็ น สมรรถนะของ นักศึกษาที่สามารถจะประสบความส�ำเร็ จในการท�ำอาชีพ นอกจากจะเป็ น อาชีพแล้ ว อีกสิง่ คือช่วยเหลือตัวเองได้ แล้ วยังสามารถไปช่วยคนอื่นได้ ด้วย ปรั บ ตัว เองให้ แ ข็ งแรงพอเดิน ต่อได้ แล้ ว ยัง สามารถช่วยคนอื่ นให้ ลุกขึน้ ตามมาอันนี ้ถือสิง่ เป็ นส�ำคัญมาก นอกจากนี ย้ ัง มี เ รื่ อ งการเป็ น ผู้ป ระกอบการ เป็ น สิ่ ง ที่ น� ำ ไปสู่ก าร ได้ ท�ำงานที่ตนเองรักและอาชีพที่เป็ นอิสระตามความต้ องการของตัวเองได้ ฉะนันสิ ้ ่งเหล่านี ้เป็ นองค์ประกอบส�ำคัญที่สถาบันการศึกษาต้ องให้ บณ ั ฑิต ไปด้ วยนอกจากวิชาการที่เข้ มแข็งแล้ ว เรี ยกว่าติดอาวุธครบมือก่อนเดินหน้ า ออกจากมหาวิทยาลัยไปสู้กบั อนาคตที่ยงั ไม่ทราบเลยว่าจะเป็ นแบบใด การเพิม ่ ความเข้มข้นเพือ ่ ตอบโจทย์อต ุ สาหกรรมหรือตลาดงานท�ำได้อย่างไรบ้าง? เราจัดการเรี ยนการสอนและท�ำงานควบคู่กบั ผู้ประกอบการมานาน พอสมควรและตอนนี ้จะเปิ ดเวทีตรงนี ้ให้ กว้ างมากขึ ้น สิ่งส�ำคัญคือควรจะ จัดการเรี ยนการสอนให้ กับคนที่ต้องการ คนที่ออกไปท�ำงาน แรงงานที่ ต้ อ งการ ต้ อ งตรงประเด็ น ไปเลย ปั จ จุ บัน หลายหลัก สูต ร เราจะท� ำ ร่ วมกับผู้ประกอบการตัง้ แต่ท�ำหลักสูตรใหม่ที่ปรั บปรุ งขึน้ ในสายต่างๆ

อย่างวิทยาศาสตร์ การกีฬาที่ปรับปรุงใหม่ มองภาพว่าเราต้ องท�ำตอบโจทย์ สังคมไปเลย ไม่ใช่สร้ างนักกีฬาหรือโค้ ช แต่สร้ างผู้จดั การกีฬาหรือผู้ออกแบบ ในการออกก�ำลังกาย เป็ นต้ น ยังมีหลักสูตรอื่นๆ อีกหลายหลักสูตร รวมถึง ทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นอะไรที่เปลี่ยนแปลงเร็ วมากแต่วนั นี ้ต้ อง ท�ำให้ เข้ มข้ นกว่าเดิมคือดูทศิ ทางของโลกด้ วยแล้ วปรับหลักสูตรให้ ทนั สิง่ หนึง่ คือว่าถ้ าช้ าก็อาจจะท�ำอะไรไม่ได้ แล้ ว ยังมีหลายประเด็นที่เราต้ องมองให้ รอบด้ าน อย่างการเรี ยนครบ 4 ปี ไปด้ านใดด้ านหนึง่ อาจไม่เพียงพอแล้ วการเรียนโดยการเลือกสิง่ ทีช่ อบได้ เพือ่ น�ำมาเติมให้ คุณลักษณะของตัวเองครบเครื่ อง เราอาจท�ำเป็ นหลักสูตร ระยะสัน้ ทีเ่ ปิ ดให้ ทงนั ั ้ กศึกษาและประชาชนทัว่ ไปได้ เข้ าถึงได้ โดยเฉพาะกลุม่ ศิษย์เก่า ที่อาจจะมีความต้ องการจะเสริ มสมรรถนะการท�ำงานของตัวเอง ให้ เข้ มข้ นมากขึ ้นหรือเพิม่ เติมทักษะบางอย่าง อย่างบางคนจบบางสาขาแล้ ว อยากมีความรู้เพิม่ ด้ านการบริหารจัดการทีด่ ี อยากรู้เรื่องกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้ อง กับธุรกิ จ อยากเรี ยนภาษาจี นแบบพอที่ จะเจรจาธุรกิ จได้ ในหลายส่วน ตอนนี ้เราก�ำลังปรับพัฒนาเรื่ องพวกนี ้เพื่อให้ ตอบโจทย์การพัฒนานักศึกษา ของเราและประชาชนทัว่ ไปด้ วย ทัง้ โลกเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผัน Disruptive World ทัง้ COVID-19 มฟล. ล็อคเป้ าหมายแล้ ว และจะไปให้ ถึงอย่ างไม่ ลดละไม่ ว่าอะไร จะเกิดขึน้ ก็ตามแต่

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

5


เรื่องจากปก

รศ.ดร.ชยาพร วัฒนศิริ อธิการบดี บันทึกวีดทิ ศั น์ พธิ ีปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่

Blended Learning

มฟล. ปรับรูปแบบการเรียนการสอนรับยุคโควิด ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2563 นับเป็ นภาคการศึกษาแรกที่ทาง มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ปรับรูปแบบการเรี ยนการสอนเป็ นแบบ Blended Learning เพื่อให้ เหมาะสมกับยุค COVID-19 และเป็ นยุคที่เทคโนโลยีมี บทบาทมากขึ ้น มีการใช้ สอื่ อิเล็กทรอนิกส์และการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ผสมผสานกับ การเรี ย นในห้ อ งเรี ย น ซึ่ง ยัง มี ส่ว นส� ำ คัญ ที่ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด กระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ รศ.ดร. นัน ทนา คชเสนี รองอธิการบดี เปิ ดเผยว่า มฟล. ได้ มี ก ารเตรี ย มความพร้ อมใน หลายด้ านเพื่ อรองรั บการเรี ยน การสอนของทุ ก ส� ำ นั ก วิ ช า ซึ่ง ผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของ COVID-19 ต่อเนือ่ งจากปี การศึกษาทีผ่ า่ นมา ท� ำ ให้ ทัง้ ผู้เ รี ย นและผู้ส อนต้ อ ง ปรั บตัวเข้ าสู่การเรี ยนการสอน แบบออนไลน์ ม าแล้ ว ในระยะ หนึ่ ง และปี การศึ ก ษาใหม่ นี ้ รศ.ดร. นันทนา คชเสนี รองอธิการบดี

6

ทางมหาวิทยาลัยจึงได้ มีการปรับรูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนให้ เหมาะ สมยิ่งขึ ้น “Blended Learning เป็ นการจัดการเรี ยนการสอน ที่มีการผสมผสาน ระหว่างการเรี ยนทฤษฎีที่เป็ นรู ปแบบออนไลน์ การใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการเรี ยนการสอนที่ยงั ต้ องพบเจอกันในชันเรี ้ ยนแบบ Face-to-Face


เรื่องจากปก

ซึง่ ต้ องค�ำนึงถึง Social distancing โดยทังสองรู ้ ปแบบผสมผสานกันท�ำให้ เกิดการพัฒนาในเรื่ องของ Self-learning skills ท�ำให้ นกั ศึกษาได้ ฝึกฝนใน เรื่ องของการบริ หารจัดการเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง ในส่วนของ Face-to-face ที่นกั ศึกษาจะได้ มาพบกับอาจารย์ จะเป็ นการ Discussion เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การท�ำกิจกรรมที่เป็ น Active activities ซึง่ จะช่วยให้ นักศึกษาได้ พฒ ั นา Soft skills ทังเรื ้ ่ องของ Critical thinking และ Problem solving สิง่ เหล่านี ้มีความจ�ำเป็ นส�ำหรับบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 และด้ วยการ ปรับเปลีย่ นนี ทางมหาวิ ้ ทยาลัยก็ได้ จดั หลายหน่วยงานเพือ่ ให้ การสนับสนุน” รองอธิการบดี กล่าวว่าทางมหาวิทยาลัยเปิ ดโอกาสให้ อาจารย์ผ้ สู อน มี อิ ส รภาพในเรื่ อ งของการเรี ย นการสอนและจั ด กิ จ กรรม ทัง้ การใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสอนในรู ปแบบออนไลน์ รวมถึงการเรี ยนในห้ อง ที่ต้องแบ่งจากเซกชัน่ ใหญ่ให้ มีขนาดเล็กลง อาจจะแบ่งห้ องเรี ยนหรื อแบ่ง ช่วงเวลาโดยยังมีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ได้ อย่างเต็มที่ “ส่วนในเรื่ องของสารสนเทศ ทางมหาวิทยาลัยก็ได้ เตรี ยมความพร้ อมและ ก็พฒ ั นา แต่ก็มีบางประเด็นอาจมีข้อติดขัดบ้ าง แต่ก็หวังว่านักศึกษาและ อาจารย์จะให้ ความร่วมมือ และช่วยกันพิจารณาในการปรับปรุงกระบวนการ เรี ยนให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่เป็ นไปตามเป้าหมายตาม ที่คาดหวังไว้ ในสภาวะที่ยงั ไม่เป็ นปกติ เราก็คงคาดการณ์ไม่ได้ วา่ ข้ างหน้ า จะมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ ้นอีก แต่เราก็ท�ำทุกวันให้ ดีที่สดุ แล้ วก็เป็ นก�ำลังใจ ให้ กนั และกัน” รองอธิการบดี กล่าว ในด้ านการจัดกิจกรรมให้ แก่นักศึกษา ผศ. สุกัล กฤตลักษณ์ วงศ์ ผู้ชว่ ยอธิการบดี และหัวหน้ าส�ำนักงานส่งเสริ มและพัฒนาวิชาการ (AEDO) เผยว่า การจัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยได้ ด�ำเนินการตามแนวนโยบายของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) และกระทรวง สาธารณสุข (สธ.) โดยเฉพาะกิจกรรมเตรี ยมความพร้ อมนักศึกษาชันปี ้ ที่ 1 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง หรื อ How to Live and Learn on Campus ซึ่งจัดต่อเนื่องเป็ นประจ�ำทุกปี แต่เนื่องด้ วยในปี นีเ้ กิดสถานการณ์ โควิด ท�ำให้ ไม่สามารถจัดกิจกรรมแบบรวมกลุม่ กันได้ ตามปกติ จึงได้ เกิดแนวคิด น�ำรูปแบบกิจกรรมออนไลน์มาใช้ “ในตอนทีท่ มี งานออกแบบกิจกรรมนี ้ก็คดิ กันหนักมาก เพราะว่าเราต้ องจัด ให้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรมให้ ครบถ้ วนใน 4 ด้ าน ก็คือ วัตถุประสงค์ แรก ท� ำ ให้ นัก ศึก ษารู้ จัก มหาวิ ท ยาลัย ของเรา เช่ น กิ จ กรรมตามรอย

พระราชปณิธานของสมเด็จย่า กิจกรรมอธิการบดีพบนักศึกษาใหม่ รวมถึง กิจกรรม walk rally ทีจ่ ะท�ำให้ นกั ศึกษาได้ ร้ ูจกั สถานทีภ่ ายในมหาวิทยาลัยโดย การเดินไปตามสถานที่ตา่ งๆ พอปรับมาเป็ นรูปแบบออนไลน์ก็ต้องค�ำนึงว่า จะคงวัตถุประสงค์เดิมได้ อย่างไร เราก็ปรับเป็ นเกมออนไลน์ drag&drop โดยในเกมจะเป็ นแผนที่มหาวิทยาลัย ให้ น้องๆ ลากเอาตึกต่างๆ ในเกม ลงช่องว่างในแผนที่ให้ ถกู ต้ อง” “ส�ำหรับวัตถุประสงค์ที่ 2 ได้ ร้ ูจกั ส�ำนักวิชาของตนเอง และรู้จกั รูปแบบ การเรี ยนการสอนของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะอยู่ในส่วนของกิจกรรม How to learn และวัต ถุป ระสงค์ ที่ 3 ก็ คื อ ได้ ร้ ู จัก วิ ธี ป รั บ ตัว และวิ ธี ใ ช้ ชี วิ ต ในมหาวิทยาลัย ซึ่งเดิมเรามี บุคคลส�ำคัญที่ มีชื่อเสียงจากวงการต่างๆ มาถ่ายทอดแรงบันดาลใจ แนะแนวการก�ำหนดเป้าหมายและเส้ นทางชีวิต และประสบการณ์ ที่เขาจะได้ เจอในรัว้ มหาวิทยาลัย เขาควรจะเตรี ยมตัว รับมืออย่างไร ในปี นี ้ก็จดั ให้ ชมผ่านเว็บไซต์ และบางท่านก็เป็ นการไลฟ์ สด ส่วนวัตถุประสงค์ สุดท้ าย ก็คือเปิ ดพืน้ ที่ให้ นักศึกษาใหม่ได้ แสดงความ สามารถ ซึง่ เดิมจะเป็ นการประกวด Talent contest แต่ปีนี ้เนื่องจากเป็ น รู ป แบบออนไลน์ เราจึ ง เปลี่ ย นเป็ น Content contest เปิ ด กว้ า งให้ น้ อ งๆ ทุก คนที่ มั่น ใจว่ า ตัว เอง มี content ที่ดีและมีประโยชน์ กั บ เพื่ อ นๆ ก็ ใ ห้ ส่ ง คลิ ป วิ ดี โ อ น�ำเสนอ content นันมาประกวด ้ ทางเราก็ จ ะมี ค ณะกรรมการ คัด เลื อ กและให้ เ พื่ อ นชัน้ ปี ที่ 1 ด้ วยกันได้ โหวตหาผู้ชนะ การจัด กิจกรรมปี นี ้เราใช้ สอื่ หลากหลาย มากในแต่ละกิจกรรม ถ้ าออนไลน์ แล้ วเป็ นรู ป แบบเดี ย วก็ จ ะไม่ ผศ. สุกลั กฤตลักษณ์ วงศ์ ผู้ช่วยอธิการบดี น่ า สนใจ เพราะฉะนั น้ แต่ ล ะ กิจกรรมก็จะมีกิมมิกที่ตา่ งกัน” “แม้ ในปี นี ้แม้ วา่ เราจะไม่ได้ เจอหน้ ากันแบบ Face-to-Face แต่ทีมงาน ทุก คนก็ ตัง้ ใจออกแบบกิ จ กรรมออนไลน์ ใ ห้ มี ค วามสนุก และน่ า สนใจ ตามเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยต้ องการให้ นกั ศึกษาใหม่สามารถปรับตัวได้ และใช้ ชีวิตในรัว้ มหาวิทยาลัยได้ อย่างมีความสุข” ผู้ชว่ ยอธิการบดี กล่าว

กิจกรรม How to Live and Learn on Campus แบบออนไลน์ รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

7


เรื่องจากปก

มฟล. จัดกิจกรรมออนไลน์ ปรับตัวรับมือสถานการณ์COVID-19

Live : MFU Job Fair Online

จากผลกระทบการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ท�ำให้ มหาวิทยาลัย ต้ องปรับตัวในหลายด้ าน ทังในการจั ้ ดการเรี ยนการสอน การปฏิบตั งิ านของ พนักงาน การใช้ ชีวติ ของชาวมหาวิทยาลัย รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้ มี การปรับเปลี่ยนรู ปแบบให้ มีความเหมาะสม และสอดรับกับนโยบายของ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ นวัตกรรม ทังในห้ ้ วงเวลาที่มีการล็อกดาวน์และต่อมาที่ได้ มีการผ่อนปรน มาตรการ แต่ยงั คงระมัดระวังความเสีย่ งในการแพร่ระบาดของไว้ รัส โดยได้ มี การจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ การเว้ นระยะห่างในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ เตรี ยมความพร้ อมหน่วยงานสนับสนุนในการจัดกิจกรรมด้ านต่างๆ รศ.ดร.ชยาพร วัฒนศิริ อธิ การบดี ได้ กล่าวในโอกาสการบันทึก วีดิทศั น์พิธีปัจฉิมนิเทศ ที่ใช้ เผยแพร่ ในช่องทางออนไลน์ให้ แก่ผ้ ทู ี่จะส�ำเร็ จ การศึกษา ว่าจากสถานการณ์ COVID-19 ในปั จจุบนั ท�ำให้ โลกเปลี่ยน หมดในทันที ทุกคนต้ องปรับปรุ งตัวเองและปรับแปลงตัวเองสูส่ ิ่งที่เรี ยกว่า New Normal หรื อ ความปกติใหม่ แม้ วา่ แปลกแต่ทกุ คนต้ องเปลี่ยน ไม่วา่ จะเรื่องอะไรก็ตามทีจ่ ะเกิดขึ ้นเป็ นเรื่องใหม่ ต้ องตามโลกให้ ทนั ซึง่ เชื่อมัน่ ว่า บัณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลัย แม่ฟ้า หลวงทุก คนพร้ อม เนื่ อ งด้ ว ยมหาวิ ท ยาลัย ได้ เตรี ยมความพร้ อมให้ นกั ศึกษาสามารถปรับตัวได้ ท่ามกลางโลกยุคใหม่ ที่มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ ้นเสมอ

8

อธิการบดี กล่าวต่อว่า New Normal needs new skills ไม่วา่ จะเป็ น ทักษะในวิชาชีพ รวมทัง้ Soft skills ในเรื่ องความคิดสร้ างสรรค์ การปรับ ตัว การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น การใช้ เทคโนโลยี และความฉลาดทางอารมณ์ ล้ วนเป็ นทักษะที่ต้องมีติดตัวเพื่อก้ าวเดินหน้ าไปสูโ่ ลกกว้ าง นอกจากนี ้แล้ ว ทางมหาวิทยาลัยยังได้ จดั เตรี ยมหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะ ระดับปริ ญญาโท จ�ำนวน 18 หลักสูตร พร้ อมส�ำหรับว่าที่บณ ั ฑิตที่ต้องการ ศึกษาต่อ รวมถึงประชาชนทัว่ ไปที่ต้องการ Upskill และ Reskill โดยมีทงั ้ หลักสูตรในระดับปริญญาและหลักสูตรระยะสัน้ ส�ำหรับต่อยอดในสาขาวิชา หรือวิชาชีพทีส่ นใจ รวมถึงจัดเตรียมหลักสูตรออนไลน์เพือ่ รองรับผู้ทตี่ ้ องการ ศึกษาต่อหรื อเข้ ารั บหลักสูตรวิชาชี พระยะสัน้ ได้ จากทุกที่ โดยที่ ไม่ต้อง เดินทางมาที่มหาวิทยาลัย นอกจากพิธีปัจฉิมนิเทศแบบออนไลน์โดยส่วนพัฒนานักศึกษาแล้ ว ด้ านส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ได้ จดั กิจกรรม MFU Job Fair Online ซึง่ ได้ เชิญผู้เชี่ยวชาญจากวงการต่างๆ ศิษย์เก่าที่ประสบความส�ำเร็จ และผู้ที่คร�่ ำวอดในแวดวงการจัดหางาน มาพูดสร้ างแรงบันดาลใจและ แนะแนวทางการเตรี ยมความพร้ อมเข้ าสู่โลกการท�ำงานยุคใหม่ ในงานนี ้ ยังได้ เปิ ดตัวแอพพลิเคชัน MFU Job Hunting ที่จะเป็ นศูนย์รวมในอนาคต ส�ำหรับนักศึกษาและผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาจาก มฟล. รวมทังหน่ ้ วยงานต่างๆ ที่ต้องการนักศึกษาฝึ กงานหรื อต้ องการค้ นหาผู้ร่วมงานที่เป็ นบัณฑิตจาก


เรื่องจากปก

มฟล. โดยเฉพาะ ได้ มาจับคูก่ นั ได้ ตรงความต้ องการทังสองฝ่ ้ าย ตอบโจทย์ การท�ำงานยุคโควิด อี ก กิ จ กรรมที่ น� ำ รู ป แบบออนไลน์ ม าใช้ ก็ คื อ การประชุม ต่า งๆ โดยมหาวิทยาลัยได้ จดั ประชุมสภาวิชาการ ครัง้ ที่ 4/2563 ผ่านระบบออนไลน์ ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก โดยการประชุมหลักจัดที่ห้องเชียงแสน อาคารส�ำนักงาน อธิการบดี ได้ มีการลดจ�ำนวนผู้เข้ าร่ วมประชุมจ�ำนวนหนึง่ ด้ วยการใช้ การ สื่อสารผ่านแอพพลิเคชันเข้ ามาช่วยเสริ มการประชุมให้ มีประสิทธิภาพ และ ค�ำนึงถึงการเว้ นระยะห่างระหว่างบุคคล (Social Distancing) นอกจากนี ้ ยังส่งเสริ มให้ หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยน�ำรูปแบบการประชุมออนไลน์ ไปใช้ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งในการแพร่ ร ะบาดของไวรั ส และแสดงความ รับผิดชอบต่อสังคม หน่วยงานที่มีบทบาทในการจัดสถานที่ส�ำหรับการเรี ยนการสอนและ จัดกิจกรรมต่างๆ ได้ แก่ ส่วนอาคารสถานที่ ศูนย์เครื่ องวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ส�ำนักงานจัดการทรัพย์สินและรายได้ ซึง่ ได้ สนองนโยบายของ มหาวิทยาลัย ในการจัดท�ำอุปกรณ์ ที่ช่วยเว้ นระยะห่างระหว่างบุคคลใน หน่วยงานต่างๆ เช่น ฉากกัน้ ระหว่างเจ้ าหน้ าที่และบุคคลที่เข้ ามาติดต่อ ฉากกัน้ ในร้ านค้ าและโต๊ ะรั บประทานอาหารในศูนย์ อาหารทุกแห่งของ มหาวิทยาลัย และยังมีการติดสติกเกอร์ น�ำทางในการต่อคิวแบบเว้ นระยะ การติดสติกเกอร์ ก�ำหนดการเว้ นระยะที่นงั่ ในห้ องเรี ยนและห้ องประชุมต่างๆ

ด้ านส�ำนักวิชาแพทยศาสตร์ โดยอาจารย์ นพ.อานนท์ จ�ำลองกุล เปิ ดเผย ว่าในช่วงที่ผ่านมาได้ รับการประสานงานจากหน่วยงานสนับสนุนการเรี ยน การสอนของ มฟล. เพื่อน�ำเครื่ องมือที่มีอยู่มาผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ D.I.Y ส�ำหรับปรับใช้ กบั ผู้มารับบริ การ และเพื่อเป็ นการป้องกันการติดเชื ้อ ให้ กบั บุคลากรทางการแพทย์ “ทางส�ำนักวิชาแพทยศาสตร์ ได้ ร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้ อง ผลิตเครื่องมือ ต่างๆ ทีช่ ว่ ยในการปฏิบตั งิ านให้ มคี วามปลอดภัยมากขึ ้น เช่น กล่องอะคริลกิ ส�ำหรับใช้ งานขณะเจาะเลือด กล่องอะคริ ลิกส�ำหรับพ่นยา กล่องอะคริ ลิก ส�ำหรับตรวจผู้ป่วยบริ เวณห้ องตรวจ ARI clinic อุปกรณ์ดดั แปลงส�ำหรับ กดแอลกอฮอล์เจลแบบเท้ าเหยียบ ชุดหน้ ากากความดันบวกส�ำหรับใช้ งาน เมื่อต้ องสัมผัสใกล้ ชิดผู้ป่วย เป็ นต้ น ซึง่ เป็ นการพัฒนาร่วมกันระหว่างส�ำนัก วิชาแพทยศาสตร์ ส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ และศูนย์เครื่ องมือวิทยาศาสตร์ ฯ โดยน�ำต้ นแบบจากทังในและต่ ้ างประเทศมาดัดแปลง โดยยึดหลักการเลือก ใช้ วสั ดุที่มีความแข็งแรง ท�ำความสะอาดง่าย น�ำ้ หนักเบา และราคาถูก โดยทางส่วนจัดการทรัพย์สนิ ทางปั ญญาและนวัตกรรม (MFii) ได้ สนับสนุน เครื่ อง Laser Cutting มาใช้ ผลิตแผ่นคล้ องสายรัดหน้ ากากส�ำหรับป้องกัน การเสียดสีใบหูอีกด้ วย” อาจารย์ นพ.อานนท์ กล่าว ส�ำหรับในอนาคตอันใกล้ นี ้มหาวิทยาลัยจะได้ ดำ� เนินการวิจยั และพัฒนา หุ่นยนต์ขนส่งเวชภัณฑ์ ระบบโทรเวชส�ำหรับซักประวัติและตรวจร่ างกาย

เบื ้องต้ น เครื่องช่วยหายใจอัตโนมัติ ถุงหุ้มแรงดันลบส�ำหรับเคลือ่ นย้ าย ผู้ ป่ วย และเครื่ อ งฟอกอากาศ ส�ำหรั บก� ำจัดเชื อ้ โรคและฝุ่ นควัน เพื่ อ สนับ สนุน การท� ำ งานภายใน โรงพยาบาล และเพื่อส่งเสริ มองค์ ความรู้ จากมหาวิทยาลัยสู่ชุมชน อีกด้ วย นอกจากให้ การสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงาน ภายในแล้ ว ทางมหาวิทยาลัยยังได้ มีความร่วมมือกับเครื อข่าย ในการ ให้ ความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับไวรัส COVID-19 รวมถึ ง การป้ อ งกั น ตนเองจากการแพร่ ร ะบาด และ เนื่ อ งด้ วยจั ง หวั ด เชี ย งรายเป็ น พื น้ ที่ ที่ มี ผ้ ูค นหลากหลาย ไม่ ว่ า จะเป็ น เชื อ้ ชาติ พัน ธุ์ และภาษา เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสในการเข้ าถึ ง ข้ อมู ล ข่ า วสารให้ พี่ น้ องแต่ ล ะ ชาติ พัน ธุ์ ไ ด้ ติ ด ตามสถานการณ์ ในการเฝ้าระวังตนเองและผู้ใกล้ ชิด ทางมหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง โดยศูนย์วจิ ยั นวัตกรรมสังคมเชิงพื ้นที่ ส�ำนักวิชานวัตกรรมสังคม, ชุดโครงการ ศึกษาวิจยั ‘ระบบและกลไกการจัดการโรคติดต่อข้ ามแดนในพื ้นทีอ่ นุภมู ภิ าค ลุ่มน� ้ำโขง’ โครงการจัดตังพิ ้ พิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน� ้ำโขง และส�ำนักวิชา จี นวิทยา ได้ ร่วมท� ำงานกับเครื อข่าย ได้ แก่ เครื อข่ายสุขภาพชาติพันธุ์ จากพื ้นที่สงู (คชส.), ชุมชนการเรี ยนรู้ เซเวียร์ , มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหา ผลประโยชน์จากเด็ก (ECPAT Foundation) และส�ำนักงานทนายความ นอร์ ธเทิร์นไทย อินเตอร์ ลอว์ เฟิ ร์ม ร่วมจัดท�ำข้ อมูลการรายงานสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 รายวัน โดยอ้ างอิงข้ อมูลของส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ออกมาเป็ น 10 ภาษา ได้ แก่ ไทย, ไทใหญ่, เมียนมาร์ , ลาว, ลื ้อ/ขึน, ปะกาเกอะญอ, เมี่ยน อาข่า จีน และม้ ง โดยมีอาสา สมัครจากกลุม่ ชาติพนั ธุ์ตา่ งๆ เป็ นผู้รายงาน ซึง่ ยังต้ องการอาสาสมัครล่าม ภาษาลีซู ลาหู่ ลัวะ ้ และขมุ ทังนี ้ ้จะมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้ านสุขภาพ ต่างๆ ผ่านแฟนเพจ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง จากการด� ำเนิ นการในหลากหลายด้ านข้ างต้ น เป็ นพี ยงส่วนหนึ่ง ของการท�ำงานอย่างจริ งจังของมหาวิทยาลัย เพื่อรั บมือกับสถานการณ์ COVID-19 ซึ่งได้ สร้ างความเปลี่ยนแปลงในด้ านต่างๆ กับชาวโลกแบบ ฉั บ พลัน ทัน ใด แต่ ด้ วยความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว นทัง้ ภายในและ ภายนอกมหาวิ ท ยาลัย ท� ำ ให้ ส ามารถปฏิ บัติ ง านและจัด กิ จ กรมต่า งๆ ได้ ด้ ว ยความราบรื่ น ซึ่ ง ทุก คนและทุก ภาคส่ ว นยัง ต้ อ งจับ มื อ ร่ ว มแรง ร่ ว มใจฝ่ าวิ ก ฤติ ค รั ง้ นี ต้ ่ อ ไปด้ วยกั น และเป็ นก� ำ ลั ง ใจให้ กั น และกั น ก้ า วผ่ า นทุก อย่ า งไปด้ ว ยดี ท่ า มกลางสิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า New normal หรื อ ความปกติใหม่ ในโลกยุคใหม่ของเรา

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

9


รายงานพิเศษ

มฟล.โดยศูนย์วจิ ยั นวัตกรรมสังคมเชิงพื ้นที่ ในฐานะสถาบันการศึกษา ในพื ้นที่ชายแดน ช่วยเหลือแรงงานข้ ามชาติตกค้ างในพื ้นที่ เริ่ มด�ำเนินการ ตังแต่ ้ กลางมีนาคม 2563 ต่อเนื่องถึงปั จจุบนั ใน 3 รายการ ได้ แก่ รายงาน สถานการณ์ COVID-19 รายวัน เปิ ดเพจทางเฟสบุคเพื่อเพิ่มช่องทางการ สื่อสารให้ เข้ าถึงข้ อมูลข่าวสารโดยง่าย และตังศู ้ นย์ประสานงานช่วยเหลือ แรงงานข้ ามชาติร่วม 10 องค์กร ส่วนใหญ่เป็ นภาคประชาสังคม-ประชาชน รุกให้ ความช่วยเหลือ 3 ด้ าน การยังชีพ สุขภาพ และสิทธิแรงงาน จากระยะ เริ่มต้ นด�ำเนินการใน 3 หอพัก โดยเป็ นคนงาน 180 คน เด็ก 36 คน เมือ่ เมษายน ที่ผ่านมา ปั จจุบนั ขยายผลแล้ ว 20 ชุมชน จ�ำนวน 1,000 คน ตังเป้ ้ าไว้ อย่างน้ อยที่ 5,000 คน จากจ�ำนวนแรงงานข้ ามชาติทงหมด ั้ 29,000 คน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนาหรือ COVID-19 ศูนย์วจิ ยั นวัตกรรมสังคมเชิงพื ้นที่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (มฟล.) ได้ มีส่วนร่ วม ในการช่วยเหลือแรงงานข้ ามชาติในพื ้นที่จงั หวัดเชียงราย โดยนายสืบสกุล กิจนุกร หัวหน้ าศูนย์วิจยั นวัตกรรมสังคมเชิงพื ้นที่ เปิ ดเผยว่า ศูนย์วิจยั ฯ ร่ วมกับเครื อข่ายภาคประชาสังคม เข้ าช่วยเหลือแรงงานข้ ามชาติที่ตกค้ าง และตกงานอยู่ในพื ้นที่จงั หวัดเชียงรายท่ามกลางสถานการณ์การระบาดCOVID-19 ที่มีการยุติกิจการชั่วคราวของผู้ประกอบการที่เป็ นนายจ้ าง ส่วนใหญ่พวกเขาขาดแคลนปั จจัยในการด�ำรงชีพ ขาดโอกาสในการเข้ าถึง ข้ อ มูล ข่าวสารส�ำคัญ ขาดโอกาสในการเข้ าถึงบริ การด้ านสุขภาพหรื อ การได้ รับสิทธิแรงงานตามทีค่ วรได้ รับ จากช่องว่างบางประการท�ำให้ พวกเขา กลายเป็ นกลุม่ ทีถ่ กู หลงลืม เริ่มด�ำเนินการให้ ความช่วยเหลือตังแต่ ้ กลางเดือน มีนาคม 2563 ต่อเนื่องถึงปั จจุบนั

10

มฟล.กับการ ช่วยเหลือ แรงงาน ข้ามชาติ ในสถานการณ์ COVID-19


รายงานพิเศษ

ทังนี ้ ้ศูนย์วจิ ยั นวัตกรรมสังคมเชิงพื ้นที่ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ซึง่ มี หน้ าที่สร้ างความรู้ผา่ นงานวิจยั - งานวิชาการที่รับใช้ สงั คม ประกอบกับที่ตงั ้ ของมหาวิทยาลัยเป็ นพื ้นที่ชายแดน มีหลายเรื่ องน่าสนใจ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ อง สินค้ า บริ การ การลงทุน การค้ าขาย ที่สำ� คัญคือเรื่ องผู้คนและวัฒนธรรม ศูนย์วิจยั ฯ ซึง่ เห็นความส�ำคัญในการดูแลแรงงานข้ ามชาติ ที่ได้ เข้ ามาช่วย สร้ างเศรษฐกิจให้ กบั เชียงราย ทังจากการเข้ ้ ามาท�ำงานสร้ างรายได้ ทังเป็ ้ น ผู้จับ จ่ า ยซื อ้ สิ น ค้ า มาเป็ น ระยะเวลาอย่ า งยาวนาน โดยในช่ ว งนี ไ้ ด้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดCOVID-19 แต่ยงั พักอยูใ่ นพื ้นทีจ่ งั หวัด เชียงรายเพื่อรอสถานการณ์ ฟื้นตัวพร้ อมเข้ าท� ำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เชียงรายต่อไป ศูนย์วิจยั ฯ และเครื อข่าย จึงได้ ด�ำเนินโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ แรงงานข้ ามชาติ เริ่ มจากการรายงานสถานการณ์ COVID-19 ในภาษา ชาติพนั ธุ์ต่างๆ กว่า 10 ภาษาพร้ อมเผยแพร่ ไปตามช่องทางการสื่อสาร ต่างๆ จัดท�ำเพจขึ ้นมาเพื่อเชื่อมโยงข้ อมูลข่าวสารต่างๆ ได้ แก่ เพจมิตรภาพ ข้ ามแดน แม่สาย – ท่าขี ้เหล็ก และโควิด19 กับแรงงานข้ ามชาติเชียงราย ได้ ร่วมกับเครื อข่ายจัดตังโครงการ ้ ‘ศูนย์ประสานงานให้ ความช่วยเหลือ แรงงานข้ ามชาติในจังหวัดเชียงราย ในสถานการณ์ COVID-19’ (ศบค.) จากนัน้ ลงพื น้ ที่ ชุม ชนแรงงานข้ า มชาติ ทั่ว จัง หวัด เชี ย งราย ระยะ แรก จ�ำนวน 3 แห่ง มีแรงงานข้ ามชาติ 180 คน และเด็ก จ�ำนวน 36 คน เพือ่ ส�ำรวจข้ อมูลและให้ ความช่วยเหลือ 3 ด้ านด้ วยกัน คือ การยังชีพ สุขภาพ

และสิทธิแรงงาน เริ่ มด้ วยการคัดกรอง COVID-19 เบื ้องต้ น เยียวยาด้ วย การจัดหาข้ าวสารอาหารแห้ ง นมส�ำหรับเด็กทารก ช่วยประสานหน่วยงาน เกี่ยวข้ องกรณี แรงงานมีประกันสังคมเพื่อขอรั บเงินชดเชยตามกฏหมาย จัดตังคณะท� ้ ำงานของชุมชนดูแลกันเอง โดยร่ วมกับ ดร.พิษณุรักษ์ กันทวี หัวหน้ าสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ มฟล. ฝึ กอบรมให้ ความรู้ COVID-19 ให้ ชมุ ชนแรงงานที่มีคณะท�ำงาน เก็บข้ อมูล คัด กรอง COVID-19 ทุก วัน พร้ อมท� ำ งานร่ ว มกับ หน่ ว ยงานเกี่ ย วข้ อ ง ปั จจุบนั ขยายผลเพิ่มเติม ส�ำรวจเพิ่มเติมพร้ อมให้ ความช่วยเหลือไปแล้ ว 20 ชุม ชน จ� ำ นวน 1,000 คน โดยตัง้ เป้ า ไว้ ที่ อ ย่ า งน้ อ ย 5,000 คน จากจ�ำนวนแรงงานข้ ามชาติทงหมด ั้ 29,000 คน นอกจากนี ้ยังได้ เผยแพร่ขา่ วสารเกี่ยวกับการให้ ความช่วยเหลือแรงงาน ข้ ามชาตินีไ้ ปยังสื่อแขนงต่างๆ เพื่อรายงานการท�ำงานแก่ประชาชนและ หน่วยงานเกี่ยวข้ อง ทังในสื ้ ่อท้ องถิ่นและส่วนกลาง เช่น เพจท้ องถิ่นนิวส์ ชุ ม ชนคนรั ก แม่ ส าย ที่ นี่ เ ชี ย งของ รั ก เชี ย งแสน เวี ย งเก่ า เชี ย งแสน ที่เวียงแก่นนิวซีแลนด์ประเทศไทย กลุม่ ข่าวเชียงรายนิวส์ v.2 กลุม่ HUG เชียงราย มิตรภาพข้ ามแดน แม่สาย-ท่าขี ้เหล็ก สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เป็ นต้ น ทังยั ้ งได้ ร่วมกับ ผศ.ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง หัวหน้ าโครงการจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑ์อารยธรรมลุม่ น� ้ำโขง บันทึกการท�ำงานด้ วยภาพวาดเพือ่ ถ่ายทอด เรื่ องราวเกี่ยวกับมิตรภาพของผู้คนในช่วงเวลาที่ยากล�ำบากร่วมกันนี ้

ขอบคุณภาพประกอบจาก Facebook : kidnukorn.suebsakun

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

11


มฟล. วิชาการ

มฟล. ได้รับจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำในเอเชียจาก Times Higher Education Asia University Rankings 2020 เมือ่ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2563 Times Higher Education (THE) ประกาศผล การจัดอันดับ Times Higher Education Asia University Rankings 2020 โดยในปี นี ้เป็ นปี แรกที่มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง (มฟล.) ได้ รับการจัดล�ำดับ ของทวีปเอเชียในอันดับที่ 134 จากการจัดอันดับกว่า 400 มหาวิทยาลัย ทัว่ เอเชีย ใน 31 ประเทศ/เขตการปกครอง และได้ รับการจัดอันดับเป็ นที่ 2 ของไทย นอกจากนี ้ยังติด 1 ใน 10 ของอาเซียนคูก่ บั มหาวิทยาลัยมหิดล อีกด้ วย (ม.มหิดล อันดับ 6 มฟล. อันดับ 8) การจัด อัน ดับ พิ จ ารณาจากผลการด� ำ เนิ น งานใน 5 ด้ า น ได้ แ ก่ การเรี ยนการสอน (Teaching) 25% การวิจยั (Research) 30% อ้ างอิง ผลงานการวิจยั (Citations) 30% รายได้ จากภาคอุตสาหกรรม (Industry Income) 7.5% และภาพลัก ษณ์ ค วามเป็ น นานาชาติ (International Outlook) 7.5% โดย มฟล. มีคะแนนสูงที่สดุ ด้ านการอ้ างอิง 74.4 และด้ านภาพลักษณ์ ความเป็ นนานาชาติ 50.6 จากมหาวิทยาลัยไทย 16 แห่งที่ผา่ นเกณฑ์เข้ า ร่ วมรับการจัดอันดับในปี นี ้ โดยผลงานของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย แม่ฟา้ หลวงที่อยูใ่ นฐานข้ อมูล SCOPUS มีคา่ เฉลี่ยการอ้ างอิง 13.44 ครัง้ ต่อชิ ้น และผลงานร้ อยละ 58 เกิดจากความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ

ผลคะแนนของ มฟล. 1

การเรียนการสอน (Teaching) 25% ได้รับ 17.2 คะแนน

2 การวิจัย (Research) 30% ได้รับ 11.2 คะแนน

3 อ้างอิงผลงานวิจัย (Citations) 30% ได้รับ 74.4 คะแนน

4 รายได้จากภาคอุตสาหกรรม (Industry Income) 7.5%

ได้รับ 34.5 คะแนน

5 ภาพลักษณ์ความเป็นนานาชาติ

(International Outlook) 7.5%

ได้รับ 50.6 คะแนน

12

1

1


มฟล. วิชาการ

THE "Young University Rankings 2020" มฟล. เป็นมหาวิทยาลัยน้องใหม่ที่ดีที่สุดในไทย และมีผลการอ้างอิงผลงานวิชาการล�ำดับที่ 6 ของอาเซียน เมื่อวันที่ 24 มิถนุ ายน 2563 Times Higher Education (THE) ได้ มกี ารประกาศจัดอันดับ Young University Rankings 2020 โดยพิจารณา มหาวิทยาลัยที่มีอายุน้อยกว่า 50 ปี ทวั่ โลก ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ รั บ การจัด อัน ดับ เป็ น มหาวิ ท ยาลัย น้ อ งใหม่ ที่ ดี ที่ สุด ในประเทศไทย อยู่ใ นกลุ่ม 151-200 ของโลก เป็ น อัน ดับ ที่ สูง ที่ สุด ของมหาวิ ท ยาลัย จากประเทศไทย และอยู่ในล�ำดับที่ 6 ของกลุม่ ประเทศอาเซียน และเป็ น อันดับที่ 76 ของโลก โดยในปี นี ้ มฟล. ได้ รับการจัดอันดับเป็ นปี แรก การพิจารณาจะวัดจากผลการด�ำเนินงานใน 5 ด้ านได้ แก่ การเรี ยน การสอน (Teaching) 30% การวิจยั (Research) 30% การอ้ างอิงผลงาน วิชาการ (Citations) 30% รายได้ จากอุตสาหกรรม (Industry Income) 2.5% และความเป็ นนานาชาติ (International Outlook) 7.5% ทังนี ้ ้ มฟล. ได้ รับคะแนนการประเมินด้ านการอ้ างอิง 74.4 คะแนน สูงเป็ นอันดับที่ 76 ของโลกในกลุม่ มหาวิทยาลัยน้ องใหม่

อันดับมหาวิทยาลัยนองใหมอาเซียน 1 2 3 3 3

Nanyang Technological University Universiti Brunei Darussalam Universiti Tunku Abdul Rahman (UTAR) Universiti Teknologi Petronas Universiti Teknologi Malaysia

6 Mae Fah Luang University 6 6 10 11 11 13 13 13 13 13

Universiti Putra Malaysia Universiti Kebangsaan Malaysia Universiti Utara Malaysia Universiti Tenaga Nasional (UNITEN) Suranaree University of Technology Vietnam National University (Ho Chi Minh City) Multimedia University Universiti Malaysia Sarawak (UNIMAS) Naresuan University Universiti Teknologi MARA

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

13


มฟล. วิชาการ

มฟล. อันดับ 1 ของไทย ด้านความเท่าเทียม ทางเพศ (SDG 5 Gender Equality) ตาม การจัดอันดับ THE Impact Rankings 2020 มฟล. ได้ รบั การจัดอันดับเป็ นที่ 1 ของประเทศไทย ด้ านความเท่าเทียม ทางเพศ (SDG 5 Gender Equality) ตามการจัดอันดับของ THE Impact Rankings ประจ�ำปี 2020 ที่พิจารณาจากสัดส่วนของผู้หญิงในการบริ หาร การเรี ยนการสอน และการวิจยั ตลอดจนมาตรการส่งเสริ มความเท่าเทียม ทางเพศในการศึ ก ษาและการท� ำ งานของมหาวิ ท ยาลัย โดยเป็ น การ จัดอันดับบทบาทของมหาวิทยาลัยตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืนของ สหประชาชาติ (Sustainable Development Goals) หรื อ SDGs 17 ข้ อ ซึง่ พิจารณาจากผลงานที่โดดเด่นที่สดุ ในแต่ละมหาวิทยาลัย โดย มฟล. ได้ คะแนนรวม 56.6 คะแนน อยูใ่ นช่วงอันดับที่ 401-600 ของโลก ถือเป็ นอันดับที่ 9 ร่วมของประเทศไทย และมีคะแนนด้ านความเท่า เทียมทางเพศเป็ นอันดับ 1 โดยมีคะแนนในด้ านต่างๆ ดังนี ้ • ด้ านการมีสขุ ภาพและความเป็ นอยู่ที่ดี (SDG 3 Good Health and Well-being ช่วงอันดับที่ 301-400 ของโลก) • ด้ านความเท่าเทียมทางเพศ (SDG 5 Gender Equality ช่วง อันดับที่ 201-300 ของโลก) • ด้ านการดูแลรักษาระบบนิเวศทางบก (SDG 15 Life on Land อันดับที่ 100 ของโลก) • ด้ านความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (SDG 17 Partnerships for the Goals ช่วงอันดับที่ 401-600 ของโลก)

มฟล.ร่วมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม มฟล. และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดพิธีเปิ ดศูนย์เทคโนโลยี เกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) และ ประชุมผ่านระบบ Application Zoom ร่ วมกับ AIC ทัว่ ประเทศ เมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2563 ที่ห้องประชุมค�ำมอกหลวง ซึง่ ก่อนนี ้ได้ มีการลงนามบันทึก ข้ อตกลงความร่วมมือการจัดตังศู ้ นย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม ไปเมื่อ วันที่ 30 มกราคม 2563 โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการ แข่งขันภาคการเกษตรด้ วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม สนับสนุนและส่งเสริ ม เทคโนโลยีเกษตร การประดิษฐ์ นวัตกรรม รวมทังเครื ้ ่ องจักรกลเกษตร และ เป็ นศูนย์อบรมบ่มเพาะเกษตรกร ผู้น�ำสถาบันเกษตรกร Smart Famer, Young Smart Famer STARTUP เกษตร และ SME เกษตร ภายในจังหวัด และเพื่อผลักดันงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่านการวิจยั การพัฒนาการ ลงทุน การแปรรูป และการบริ การจัดการเชิงพาณิชย์

14


มฟล. วิชาการ

มฟล.-เทศบาลนครเชียงราย ลงนาม ความร่วมมือ ‘โครงการเมืองอาหารปลอดภัย’ มฟล. ร่ วมกับ เทศบาลนครเชียงราย จัดพิธีลงนามความร่ วมมือ โครงการเมืองอาหารปลอดภัย เมื่อวันที่ 9 มิถนุ ายน 2563 ที่ห้องประชุม เชียงแสน อาคารวันชัย ศิริชนะ เพื่อร่ วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัด เชียงราย สูก่ ารเป็ น ‘เมืองอาหารปลอดภัย’ โดยมี รศ.ดร.ชยาพร วัฒนศิริ อธิการบดี และนายวันชัย จงสุทธานามณี นายกเทศมนตรี นครเชียงราย ร่ ว มลงนาม ทัง้ นี ้ บัน ทึก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ครั ง้ นี ้ เกิ ด ขึน้ เนื่ อ งจาก สองหน่วยงานต่างมีความเห็นพ้ องต้ องกันว่า ปัจจุบนั ปัญหาความไม่ปลอดภัย ทางอาหารเริ่ มมีผลกระทบต่อประชาชนชาวจังหวัดเชียงรายเพิ่มมากขึ ้น สังเกตได้ จากปั ญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษปนเปื อ้ น ในขันตอนหรื ้ อกระบวนการก่อนถึงผู้บริ โภค จึงเห็นควรร่ วมกันพัฒนาและ

ยกระดับ สุข ภาวะที่ ดี ข องประชาชน รวมถึง นัก ท่อ งเที่ ย วทัง้ ชาวไทยและ ชาวต่างประเทศที่มาใช้ ชีวิตอยู่ในพืน้ ที่จังหวัดเชียงราย โดยความร่ วมมือ มีผลผูกพันเป็ นระยะเวลาทังสิ ้ ้น 3 ปี นับแต่วนั ที่ลงนามในบันทึกข้ อตกลง ความร่วมมือ

มฟล.จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบต ั ก ิ าร ่ งส�ำอาง ‘การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครือ ่ วข้อง’ และมาตรฐานทีเ่ กีย มฟล. โดยส่วนจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาและนวัตกรรม (MFii) จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ‘การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่ องส�ำอางและ มาตรฐานที่เกี่ ยวข้ อง’ ภายใต้ โครงการยกระดับผู้ประกอบการรายย่อย ปี งบประมาณ 2563 เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน 2563 ที่ห้องภูชีฟ้ ้า และห้ องภูพิงค์ โรงแรมภูฟา้ วารี เชียงราย โดยมี ดร.ชลิดา ธนินนกุลภรณ์ หัวหน้ าส่วน MFii กล่าวเปิ ดโครงการ จากนันเป็ ้ นการบรรยายโดยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญจากหลายหน่วยงานในหัวข้ อต่างๆ คือ ความรู้ เกณฑ์ ข้ อก�ำหนด ประสิทธิภาพเครื่องส�ำอาง, นวัตกรรมกับเครื่องส�ำอางสูต่ ลาดโลก, การสร้ าง และกฎหมายในการผลิตเครื่ องส�ำอาง มาตรฐานผลิตภัณฑ์และมาตรฐาน ตราสินค้ าและพัฒนาแบรนด์ อย่างมีอัตลักษณ์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ โรงงานเครื่ องส�ำอาง, การตังต� ้ ำรับเครื่ องส�ำอาง การควบคุมคุณภาพและ เครื่ องส�ำอาง

มฟล. จัด MOU ถ่ายทอดสิทธิ สูตรต�ำรับ ่ งส�ำอางทีม ่ ส เครือ ี ารสกัดจากชาอัสสัม เป็นส่วนประกอบ เมื่ อวันที่ 17 มิถุนายน 2563 สถาบันวิจัยและนวัตกรรม ส่วน จัดการทรัพย์สินทางปั ญญาและนวัตกรรม จัดพิธีลงนามสัญญาอนุญาต ใช้ สิทธิผลงานทางทรัพย์สินทางปั ญญาเรื่ อง "สูตรต�ำรับเครื่ องส�ำอางที่มี สารสกัดจากชาอัสสัมเป็ นส่วนประกอบ" ระหว่าง มฟล. โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา วงศ์เกษมจิตต์ รองอธิการบดี และ ดร.อดิศร สุดดี ประธานบริหาร บริ ษัท เกลิน อินเตอร์ เนชัน่ แนล จ�ำกัด พร้ อมด้ วยสักขีพยาน ณ ห้ องแม่สาย อาคารวันชัย ศิริชนะ ซึง่ สูตรต�ำรับเครื่ องส�ำอางที่มีสารสกัดจากชาอัสสัมนี ้ ท�ำให้ ชาอัสสัมเกิดมูลค่าเพิ่ม เมื่อผลิตภัณฑ์ออกสู่ท้องตลาดแล้ วคาดว่า เป็ น ผลงานการน� ำ ใบชาบริ เ วณล� ำ ต้ น ที่ นิ ย มน� ำ มาใช้ ท� ำ เป็ น ใบเมี่ ย ง จะท�ำให้ ชาของจังหวัดเชียงรายเป็ นที่ร้ ู จกั และได้ รับความนิยมมากยิ่งขึ ้น ้ างประเทศ มาสกัดสารส�ำคัญเพื่อน�ำไปใช้ เป็ นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เครื่ องส�ำอาง ทังในและต่ รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

15


มฟล. เพื่อชุมชน

มฟล. มอบอุปกรณ์สู้ไฟป่าให้พื้นที่เสี่ยงภัย เมื่อวันที่ 09 เมษายน 2563 รศ.ดร. ชยาพร วัฒนศิริ อธิการบดี มฟล. พร้ อมด้ วย ดร.ปเนต มโนมัยวิบลู ย์ ผู้ช่วยอธิการบดี มอบอุปกรณ์ ในโครงการระบบสนับสนุนและติดตามการใช้ งานอุปกรณ์ ส้ ไู ฟป่ าส�ำหรับ พื ้นที่เสี่ยงภัย ด�ำเนินการ โดยศูนย์ศกึ ษาวิจยั และปฏิบตั ิการเพื่อลดปั ญหา การเกิ ด ไฟป่ าหมอกควัน ในประเทศไทยและในภูมิ ภ าค มหาวิ ท ยาลัย แม่ฟ้าหลวง โดยได้ รับการสนับสนุนจากกองทุนเมื องไทยไร้ หมอกควัน โดยมีผ้ แู ทนหน่วยงานและหมูบ่ ้ านมารับมอบอุปกรณ์ อาทิ นายกเทศมนตรี เทศบาลต�ำบลท่าสุด, รองปลัด อบต.ป่ าตึง, หัวหน้ าหน่วยจัดการต้ นน� ้ำ แม่ยางมิ ้น อ.แม่สรวย, เลขาธิการ มูลนิธิวนเกษตรอินทรี ย์ ประกอบด้ วย เครื่ องเป่ าลมจ�ำนวน 20 เครื่ อง ถังน� ้ำสะพายหลัง 50 ถัง ครอบและไม้ ตบไฟ อย่างละ 50 อัน พร้ อมอุปกรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบุคคลให้ กบั อาสาสมัครจ�ำนวน 200 คน เพื่อเพิ่มศักยภาพและความปลอดภัยให้ กับอาสาสมัครสู้ไฟป่ า ประจ�ำหมูบ่ ้ าน ซึง่ เป็ นด่านหน้ าในการเผชิญเพลิงในพื ้นที่เสี่ยง

มฟล.จัดโครงการสร้างต้นแบบ ศูนย์เด็กเล็ก ปลอดฝุ่น PM 2.5 ศูน ย์ เ ครื่ อ งมื อ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มฟล. จัด โครงการ สร้ างต้ นแบบศูนย์เด็กเล็กปลอดฝุ่ น PM 2.5 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อจัดท�ำ ห้ องปลอดฝุ่ นให้ แก่กลุ่มเสี่ยงเด็กเล็กอนุบาล เพื่อประยุกต์และถ่ายทอด องค์ ค วามรู้ ในการท� ำอุปกรณ์ ดัก จับฝุ่ นต้ น แบบอย่า งง่ายสู่ระดับชุมชน ในครั ง้ นี ไ้ ด้ สร้ างห้ องปลอดฝุ่ นให้ แก่ ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ต.ท่ า สุ ด อ.เมือง จ.เชียงราย โดยได้ ท�ำการส่งมอบอุปกรณ์ ฟอกอากาศ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 น�ำคณะโดย ผู้ชว่ ยอธิการบดี ดร.พฤทธิ์ พุฒจร และ ดร. ปเนต มโนมัยวิบลู ย์ รวมถึง ผศ.ดร. สยาม ภพลือชัย ผู้อ�ำนวยการศูนย์ เครื่ องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส�ำหรับหน่วยงานที่สนใจ สามารถ สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ ศูนย์ เครื่ องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โทร. 0-5391-6212

16


มฟล. เพื่อชุมชน

ทีมวิทยาศาสตร์สุขภาพ มฟล. ออกหน่วยดูแลผู้ป่วยในชุมชน ทีมบุคลากรจาก ส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ ศูนย์บริ การวิชาการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ออกหน่วยให้ บริ การทางด้ านสุขภาพ แก่พี่น้องประชาชนในชุมชนต�ำบลท่าสุดและแม่ข้าวต้ ม ต.ท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563 ในโครงการแพทย์อาสา บรมราชกุมารี ได้ ออกตรวจเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียงจ�ำนวน 10 ราย เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการกล้ ามเนื ้ออ่อนแรง ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย เป็ นต้ น ทังเป็ ้ น การติดตามอาการ ตรวจสอบอุปกรณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วย ตรวจสอบสภาพข้ าวของเครื่ องใช้ และความเป็ นอยู่เบื ้องต้ นภายในที่พกั อาศัย ของผู้ป่วย โดยมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่ชว่ ยเหลือตนเองได้ ล�ำบาก และยกระดับคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชนให้ ดีขึ ้น

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

17


คนเก่ง มฟล.

นศ. IT คว้ารางวัลชนะเลิศรับเงินรางวัล 120,000 บาท ในโครงการ Tech Startup Entrepreneurs Camp

นักศึกษาส�ำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ รับรางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 จากโครงการฝึ กอบรมและส่งเสริ มนักเทคโนโลยีสารสนเทศ รุ่นใหม่ (Tech Startup Entrepreneurs Camp) จัดโดย มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ กองทุนและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ (กทปส.) ส�ำนักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจกรรมโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ณ อาคารสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กรุงเทพมหานคร รับเงิน รางวัลจ�ำนวน 120,000 บาท โครงการ Tech Startup Entrepreneurs Camp เป็ นกิจกรรม ฝึ กอบรมและน�ำเสนอในรูปแบบ Pitching โมเดลธุรกิจส�ำหรับกลุม่ Startup ด้ าน Application เพื่อส่งเสริ มความรู้ความสามารถของนักศึกษาให้ มีความ พร้ อมมากขึ ้น เพื่อที่จะเป็ นผู้ประกอบการด้ าน Startup เพื่อเตรี ยมความ พร้ อมสู่การเป็ นนักธุรกิจรุ่ นใหม่ที่ร้ ู ทันโลกดิจิทลั โดยนักศึกษาที่เข้ าร่ วม สมาชิกในทีมประกอบด้ วย โครงการได้ รับความรู้จาก Commentator ชื่อดังจากองค์กรชันน� ้ ำของเมือง 1.นายธัญวุฒิ เฉลิมพงษ์ ไทย เช่น บริ ษัท เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และ บริ ษัทศรี จนั ทร์ สหโอสถ เป็ นต้ น สมาชิกทีม Pet Guard ที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ในชื่อ 2.นายพสิษฐ์ อยูโ่ ต แอปพลิเคชัน่ Pet Guard ซึง่ เป็ นแอปพลิเคชันเกี่ยวกับการดูแลสัตว์เลี ้ยง โดยสามารถปรึกษากับสัตวแพทย์ผา่ นแอปพลิเคชัน เพือ่ ความสะดวกรวดเร็ว 3.นายนาวิน เด่นดวง

18

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และนวัตกรรม สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และนวัตกรรม สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และนวัตกรรม


คนเก่ง มฟล.

‘อัยยมิญช์ ฉันทศิ ริพันธุ์’ นักศึ กษาทันตแพทย์ มฟล. เจ้าของลายเส้นการ์ตูนสวัสดีประจ�ำวัน จากไลน์ “หมอฟันไทยสู้ภัย COVID”

ในช่ ว งเดื อ นเมษายนที่ ผ่ า นมา จากวิ ก ฤติ ก ารแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 ท�ำให้ มีประกาศล็อกดาวน์ ห้ างร้ านและหน่วยงานหลายแห่ง งดเปิ ดให้ บริ การ รวมทังสถานบริ ้ การด้ านทันตกรรม ท�ำให้ ผ้ ปู ่ วยไม่สามารถ เข้ าถึงการตรวจรักษาแบบปกติ อันเป็ นที่มาของ Line Official Account ในชื่อ “หมอฟั นไทยสู้ภยั COVID” (Dent COVID) ซึง่ เป็ นการรวมตัวของ ทันตแพทย์ อาจารย์ ทันตแพทย์ และนักศึกษาทันตแพทย์ จิตอาสาจาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ทัว่ ประเทศ จัดท�ำโครงการให้ ค�ำปรึกษาด้ านทันตกรรม ผ่านแอพพลิเคชัน LINE ส�ำหรับประชาชนที่มีปัญหาหรื อมีความจ�ำเป็ นต้ อง ได้ รับบริ การทางด้ านทันตกรรมอย่างเร่งด่วน อัยยมิญช์ ฉันทศิริพนั ธุ์ หรื อมินนี่ นักศึกษาสาขาวิชาทันตแพทย์ ส� ำ นัก วิ ช าทัน ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย แม่ ฟ้ า หลวง เป็ น หนึ่ ง ใน ทีมงานเบื ้องหลังท�ำหน้ าที่ประสานงาน ช่วยให้ ผ้ ปู ่ วยเข้ ารับบริ การปรึกษา กับทันตแพทย์เป็ นไปได้ ด้วยดี และอีกหน้ าที่ก็คือการเป็ นเจ้ าของลายเส้ น ตัวการ์ ตนู สวัสดีประจ�ำวันสุดน่ารัก ทีใ่ ช้ แทนความห่วงใยส่งไปถึงผู้ใช้ บริการ ไลน์กลุม่ ตลอดช่วง 20 วันที่เปิ ดให้ บริ การในห้ วงล็อกดาวน์ “จากการท�ำงานในสโมสรนักศึกษาส�ำนักวิชาทันตแพทยศาสตร์ มีโอกาสได้ ท�ำงานกับสหพันธ์ นิสิตนักศึกษาทันตแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่ง ได้ มี รุ่ น พี่ ม าเชิ ญ ชวนขอแรงนัก ศึก ษาทัน ตแพทย์ ไ ปช่ว ยในโครงการ จิตอาสา และพอเราเห็นแล้ วรู้ สกึ ว่าเป็ นโอกาสที่ดีที่จะได้ ท�ำประโยชน์กบั สังคม และในฐานะที่เราจะไปเป็ นบุคลากรทางการแพทย์ในอนาคต จึงได้ ชักชวนเพื่อนๆ และรุ่นพี่ในส�ำนักวิชา หลังจากนันก็ ้ ได้ ร่วมกับนักศึกษาจาก ทัว่ ประเทศรวมเป็ น 14 คน มาจาก มฟล. 4 คน เข้ าไปเป็ นจิตอาสา โดยในส่วน ของนักศึกษาทังหมดจะท� ้ ำหน้ าทีเ่ ป็ นแอดมินอยูเ่ บื ้องหลัง หน้ าทีห่ ลักของเรา เริ่ มตังแต่ ้ เมื่อคุณหมอสมัครเข้ ามา เราก็จะติดต่อคุณหมอกลับไปว่าสะดวก ท�ำการวันไหน จากนัน้ ก็จดั คิวคุณหมอในแต่ละวัน และให้ ค�ำแนะน�ำใน เรื่ องการใช้ งานแอพพลิชนั เพื่อใช้ ระบบท�ำงานได้ อย่างสะดวก ในแต่ละวัน ก็จะเช็คยอดคนไข้ ที่จะเข้ ารับบริ การ ติดต่อคิวคุณหมอว่าจะต้ องเข้ าเวร ช่วงเวลาใด มีปัญหาอะไรเกิดขึ ้นบ้ าง บางครัง้ คนเข้ ามาเยอะท�ำให้ ระบบ ล่มจะแก้ ปัญหายังไง สุดท้ ายในแต่ละวันเราก็จะสรุ ปยอดและสรุ ปปั ญหา ทังหมด ้ เพื่อแจ้ งกับทุกคนในทีม เพื่อจะได้ แก้ ไขและป้องกันปั ญหาของวัน ต่อไป”

“อี ก หน้ า ที่ ข องมิ น นี่ ก็ คื อ เป็ น คนวาดภาพการ์ ตูน เพื่ อ ใช้ ใ นการ ท� ำ ประชาสัม พัน ธ์ ใ นกลุ่ม ไลน์ โดยจะท� ำ ภาพการ์ ตูน สวัส ดี ป ระจ� ำ วัน เพราะตัวโครงการไม่ได้ มีหน้ าเพจที่จะสามารถท�ำการสื่อสารได้ ทีมเราก็คดิ กันว่าอะไรที่จะสื่อแทนใจ แทนความห่วงใยจากคุณหมอส่งไปหาทุกๆ คน เช่น เราเป็ นห่วงนะ สู้ๆนะ ซึง่ ตัวคาแรคเตอร์ ที่สง่ ไปก็จะเป็ นรูปการ์ ตนู คุณ หมอ ที่อกข้ างซ้ ายมีค�ำว่า Dent COVID ส่งไปทักทายสวัสดีผ้ ใู ช้ งานในกลุม่ ทุกวัน ก่อนทีม่ าเป็ นภาพหนึง่ ทีมงานทังคุ ้ ณหมอและนักศึกษาก็จะมาช่วยกัน คิดค�ำที่เป็ นวลีประจ�ำวันด้ วยกัน จากนันเราก็ ้ จะเอาค�ำนันมาตี ้ ความ ว่ามัน สามารถใส่ลกู เล่นอะไรน่ารักๆ เข้ าไปได้ ไหม ที่สามารถสื่อแทนใจของคุณ หมอ หรื อเข้ าถึงจิตใจของคนที่ได้ รับมากน้ อยแค่ไหน ก่อนที่จะวาดออกมา ทังหมด ้ 20 แบบ ใน 20 วันที่เราปฏิบตั งิ าน” “ปกติวาดการ์ ตูนเป็ นงานอดิเ รกอยู่แ ล้ ว ถ้ าน�ำเอามาใช้ ให้ เกิ ด ประโยชน์ ต่อสังคมได้ ก็คงจะดี แล้ วเสียงตอบรั บกลับมาคือดีเกิ นความ คาดหมายมาก มีคนติดตามรอคอยดูตวั การ์ ตนู ในแต่ละวัน รู้ สกึ ดีใจมาก ที่มีตวั การ์ ตนู น่ารักออกมา อาจารย์หรื อพี่ๆ ทันตแพทย์ดแู ล้ วก็ชอบ ทุกคน รู้สกึ รักในตัวละครนี ้รู้สกึ สามารถส่งแทนใจท�ำให้ คนที่ได้ รับรู้สกึ อบอุน่ ใจได้ ” “จากประสบการณ์ที่เราได้ ท�ำงานนี ้ ตอนแรกก็แอบกลัวเพราะเรา เป็ นกลุ่มเด็กที่สดุ ในนันก็ ้ จะมีอาจารย์หมอจากที่ต่างๆ มีพี่ๆ ทันตแพทย์ พอได้ ท�ำงานจริ งๆ มันอบอุน่ ไปมากกว่านัน้ คือทุกคนที่เข้ ามาท�ำด้ วยจิตใจ มีความกระตือรื อร้ น มีความตังใจในการท� ้ ำงาน พอมีปัญหาอะไรก็ให้ ค�ำ แนะน�ำเราได้ ทุกคนเป็ นเพือ่ นร่วมงานทีด่ ตี อ่ กันไม่ได้ แบ่งแยก คอยช่วยเหลือ กัน รู้สกึ ดีใจทีไ่ ด้ เจออาจารย์ผ้ ใู หญ่เก่งๆ ได้ เจอพีๆ่ ทีม่ ปี ระสบการณ์มากมาย ซึง่ คอยให้ ค�ำแนะน�ำเราได้ เสมอ” “พอถึงวันสุดท้ ายที่เราจะได้ สง่ ตัวการ์ ตนู ออกไปทักทาย รู้สกึ ใจหาย เนื่องจากสถานการณ์ต่างๆ เริ่ มคลี่คลาย คลินิกเริ่ มกลับมาเปิ ดบริ การได้ ทุกอย่างเหมือนผ่านไปเร็วมาก ต่อไปนี ้ทุกอย่างก็จะกลายเป็ นความทรงจ�ำไป แล้ ว ถือว่าเป็ นประสบการณ์ชีวิตที่ดีมากๆ หวังว่าจะมีโอกาสได้ วาดการ์ ตนู ออกมาอีก แต่ขอเป็ นสถานการณ์ที่ดีนะคะ” อัยยมิญช์ กล่าวส่งท้ าย

รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

19


20


ในรั้ว มฟล.

นายวันชัย ศิริชนะ

ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง

ราชกิจจานุเบกษาได้ เผยแพร่ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตัง้ นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง เนื่องจาก พลเอก ส�ำเภา ชูศรี ได้ ด�ำรง ต�ำแหน่งมาครบก�ำหนดตามวาระแล้ ว ทีป่ ระชุมสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ในการประชุมครัง้ ที่ 8/2562 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ได้ มีมติเห็นชอบ ให้ เสนอขอพระราชทานโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมแต่งตัง้ นายวันชัย ศิริชนะ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง และส� ำ นั ก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ น� ำ ความกราบบัง คมทู ล พระกรุณาขอพระราชทานโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมแต่งตังแล้ ้ ว บัดนี ้ ได้ มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมแต่งตัง้ นายวันชัย ศิริชนะ ให้ ดำ� รงต�ำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ตังแต่ ้ วนั ที่ 15 มิถนุ ายน 2563 ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถนุ ายน 2563 หลังจากนัน้ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง (มฟล.) ได้ จดั พิธีสืบชาตาและ กิจกรรม‘นายกสภามหาวิทยาลัยพบผู้บริ หาร’ แด่ รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ ในโอกาสได้ รับโปรดเกล้ าฯ แต่งตังเป็ ้ นนายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง เมื่อวันที่ 3 กรกฏาคม 2563 เวลา 08.30-12.00 น. โดยเริ่ มจากพิธีถวาย สักการะพระราชานุสาวรี ย์ ณ พระราชานุสาวรี ย์สมเด็จพระศรี นคริ นทรา บรมราชชนนีกอ่ นทีจ่ ะมีพธิ สี บื ชาตา ณ วิหารพระเจ้ าล้านทองเฉลิมพระเกียรติฯ และกิจกรรมนายกสภามหาวิทยาลัยพบผู้บริ หาร ที่ห้องประชุมเชียงแสน มีผ้ บู ริ หารเข้ าร่วมโดยพร้ อมเพรี ยงกัน นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ มีค�ำปรารถไว้ ว่า การได้ รับ พระบรมราชโองการโปรดเกล้ าโปรดกระหม่อมแต่งตังให้ ้ ดำ� รงต�ำแหน่งนายก สภามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ตังแต่ ้ วนั ที่ 15 มิถนุ ายน 2563 นัน้ นับเป็ น พระมหากรุณาธิคณ ุ เป็ นล้ นพ้ นอย่างหาที่สดุ มิได้ และเป็ นเกียรติยศที่สำ� คัญ ยิ่งของตนและครอบครัว ขอขอบคุณเพื่อนร่ วมงานและบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ทุกคนทุกระดับ ที่ได้ ชว่ ยกันสร้ างสรรค์จรรโลงให้ มหาวิทยาลัยได้ ก้าวเดินมา ถึงทุกวันนี ้อย่างสง่างาม พนักงานทุกคนล้ วนเป็ นแรงผลักแรงดันที่สำ� คัญ ในการขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยของเราให้ มนั่ คง โดดเด่นและได้ รับการยอมรับ อย่างกว้ างขวางในวันนี ้ การสนับสนุนและช่วยเหลือจากภายนอกทีม่ ตี อ่ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ก็ เ ป็ น ส่ว นส� ำ คัญ อย่า งยิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ ความส�ำ เร็ จ ในด้ า นต่า งๆ อย่า ง

มากมาย โดยเฉพาะ ท่านนายกสภา และกรรมการสภามหาวิทยาลัย ที่ผา่ นมาทุกท่าน ทุกสมัย ความสามัคคี มีน� ้ำใจ เข้ าใจกัน ช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน และเมตตาธรรม ทีม่ ตี อ่ กันอันเป็ น วิถปี ฏิบตั ทิ มี่ มี านานในมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ย่อมน�ำมา ซึง่ ความสงบสุข ร่มเย็น และเป็ นพลังอันยิ่งใหญ่ให้ มหาวิทยาลัยก้ าวไปข้ าง หน้ าอย่างมัน่ คง หนทางข้ างหน้ านันไม่ ้ มีที่สิ ้นสุดส�ำหรับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงของ เรา ขอให้ จบั มือกันให้ แน่น ประสานพลังกันให้ เป็ นปึ กแผ่น แม้ นมีอปุ สรรค อย่างไร เราก็ไม่กลัว เราจะน�ำและช่วยกันท�ำสังคมนี ้ให้ เป็ นสุข เราจะตาม รอยสมเด็จย่าและพ่อหลวงของเราตลอดไป จากนัน้ เป็ นพิธีแสดงมุทิตาจิต ที่มีผ้ ูแทนจากหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนจากทัว่ จังหวัดเชียงราย ตลอดจนสื่อมวลชน เข้ าร่วมแสดงมุทิตาจิต ในโอกาสนี ้ อาทิ นายภาสกร บุญญลักษม์ รองผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงราย นายอ�ำนาจ เพียรไทย หัวหน้ าศาลจังหวัดเชียงราย เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ ศาสตรเมธี ดร.เฉลิมชัย โฆษิตพิพฒ ั น์ ศิลปิ นแห่งชาติ ยังเป็ น ผู้ แทนกล่ า วแสดงมุ ทิ ต าจิ ต แด่ น ายกสภามหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง โดยได้ กล่าวชื่นชมถึงคุณงามความดี ยินดีที่ได้ รับโปรดเกล้ าฯ ให้ ด�ำรง ต�ำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย พร้ อมได้ กล่าวขอบคุณต่อ รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ ที่ได้ สร้ างคุโณปการต่อเชียงรายและชาติบ้านเมือง “เมื่ อ เราเคารพผู้ ใด เรานึ ก ถึ ง เรื่ อ งที่ น่ า เคารพที่ สุ ด เรานึ ก ถึ ง คุณงามความดี และเสียสละ ให้ บ้านเมือง รองศาสตราจารย์ ดร. วันชัย ศิริชนะ เป็ นที่สดุ ของคนคนหนึ่งที่ ตัง้ จิ ตตัง้ ใจ เสียสละสร้ างสิ่งส�ำคัญหลาย อย่าง สร้ างมหาวิทยาลัยแม่ ฟ้าหลวงให้ เป็ นมหาวิทยาลัย ที่มีชีวิตมากๆ ยากที่จะมีคน ศาสตรเมธี ดร. เฉลิมชัย โฆษิตพิพฒ ั น์ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ เก่งขนาดนี ้... ...วันนีด้ ีใจที่ท่านได้ เป็ นนายกสภามหาวิทยาลัย ซึ่งเหมาะสมและ สมควรอย่างยิ่งที่ผ้ ูที่ได้ ท�ำงานให้ แก่บ้านเมืองจะได้ เป็ นผู้ที่ได้ ดูแลบุคคล ต่างๆ การคัดเลือกส่งเสริ มคนดีของชาติบ้านเมืองต่อไป ซึง่ อาจารย์เหมาะ สมที่สุด ยิ่งใหญ่ ที่สุด ผมคิดว่าพวกเรามาวันนี เ้ พื่อแสดงความยินดีกับ อาจารย์ โดยเฉพาะชาวเชียงรายที่ถือว่าอาจารย์เป็ นปูชนียบุคคลที่ส�ำคัญ ยิ่งของจังหวัดเชียงราย อาจารย์ได้ สร้ างสรรค์สิ่งที่ยิ่งใหญ่ ให้ ปรากฏให้ แก่ จังหวัดเชียงราย ในนามของคนเชียงราย ผมเกิดที่นี่ก็ต้องขอบคุณอาจารย์ อยูเ่ สมอ ที่ได้ ท�ำเพื่อเชียงรายและบ้ านเมืองมาโดยตลอด ขอบคุณอาจารย์ เป็ นอย่างสูง ขอบคุณมากครับ” รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

21


Section: กีฬา/วันที่: พฤหัสบดี 9 เมษายน 2563 ปีที่: ฉบับที่: 25746 หน้า: 18(บน) Col.Inch: 61.03 Ad Value: 128,163 PRValue (x3): 384,489 คอลัมน์: ฉลาดคิด: จากผู้เล่นสู่นักพัฒนาเกม 'Artheland'

Daily News Circulation: 500,000 Ad Rate: 2,100

มฟล. ในสื่อ

Section: First Section/วันที่: พฤหัสบดี 2 เมษายน 2563 ปีที่: 70 ฉบับที่: 24257 หน้า: 9(ขวา) Col.Inch: 13.69 Ad Value: 11,636.50 PRValue (x3): 34,909.50 หัวข้อข่าว: รพ.ศูนย์การแพทย์มฟล.พร้อมรับ'ผู้ป่วยโควิด'

คลิป: สี่สี

คลิป: ขาว-ดำ

Thai Rath (Mid-Day) Circulation: 800,000 Ad Rate: 1,100

Section: First Section/การศึกษา-ศาสนา-สาธารณสุข วันที่: พฤหัสบดี 9 เมษายน 2563 ปีที่: 71 ฉบับที่: 22724 หน้า: 12(บนซ้าย) Col.Inch: 21.47 Ad Value: 23,617 PRValue (x3): 70,851 หัวข้อข่าว: มฟล.ผุดเครื่องมือวัดประสิทธิภาพหน้ากากผ้า

คลิป: ขาว-ดำ

รหัสข่าว: C-200409004018(9 เม.ย. 63/02:06)

หน้า: 1/2

เดลินิวส์ 9 เมษายน 2563 | หน้ า 9

Thai Rath (Mid-Day) Circulation: 800,000 Ad Rate: 1,100

Thai Rath (Mid-Day) Circulation: 800,000 Ad Rate: 1,100

Section: กีฬา/วันที่: จันทร์ 13 เมษายน 2563 ปีที่: 71 ฉบับที่: 22728 หน้า: 22(บนซ้าย) Col.Inch: 23.09 Ad Value: 25,399 PRValue (x3): 76,197 หัวข้อข่าว: มฟล.รายงานโควิด-19 ภาษาชาติพันธุ์

สยามรั ฐ 2 เมษายน 2563 | หน้ า 9

402021023(2 เม.ย. 63/05:46)

Section: กีฬา/วันที่: พุธ 15 เมษายน 2563 ปีที่: 71 ฉบับที่: 22730 Col.Inch: 8.79 Ad Value: 9,669 ภาพข่าว: สู้ไฟป่า

คลิป: ขาว-ดำ

ไทยรั ฐ 9 เมษายน 2563 | หน้ า 12 หน้า: 1/1

รหัสข่าว: C-200409039166(8 เม.ย. 63/08:42)

ไทยรั ฐ 13 เมษายน 2563 | หน้ า 22

22

หน้า: 22(ล่างซ้าย) PRValue (x3): 29,007

หน้า: 1/1

ไทยรั ฐ 15 เมษายน 2563 | หน้ า 22

คลิป: ขาว-ดำ


n: 950,000 1,100

Section: First Section/ภูมิภาค วันที่: จันทร์ 22 มิถุนายน 2563 ปีที่: ฉบับที่: 25820 Col.Inch: 9.95 Ad Value: 20,895 ภาพข่าว: ร่วมมือ

Daily News (Mid-Day) Circulation: 500,000 Ad Rate: 2,100

หน้า: 10(ซ้าย) PRValue (x3): 62,685

Section: ประชาชื่น/การศึกษา-ศาสนา-วัฒนธรรม วันที่: พฤหัสบดี 23 เมษายน 2563 ปีที่: 43 ฉบับที่: 15383 หน้า: 18(บนขวา) Col.Inch: 31.87 Ad Value: 35,057 PRValue (x3): 105,171 คลิป: ขาว-ดำ คอลัมน์: การศึกษาสู่เศรษฐกิจ: อุปกรณ์ทางการแพทย์ D.I.Y ป้องกัน-ลดการติดเชื้อโควิด-19

ไทยรั ฐ 11 พฤษภาคม 2563 | หน้ า 12

ข่ าวสด 1 พฤษภาคม 2563 | หน้ า 5

ไทยรั ฐ 8 พฤษภาคม 2563 | หน้ า 12

Section: First Section/วันที่: อาทิตย์ 21 มิถุนายน 2563 Section: ประชาชื่น/วันที่: พุธ 3 มิถุนายน 2563 ปีทหน้ี่:า: 71 ฉบับที่: 22797 หน้า: 12(ล่างซ้าย) ปีที่: 43 ฉบับที่: 15424 22(ล่างขวา) Col.Inch: 11.32 Ad Value: 17,546 PRValue (x3): 52,638 คลิป: สี่สี ThaiคอลัRath Col.Inch: 7.34 Ad Value: 8,074 PRValue (x3): 24,222 มน์: แวดวงการศึกษา: มฟล.ชงแนวทางสู้ฝุ่น'PM2.5' Circulation: 800,000 รหัสข่าว: C-200501012037(1 พ.ค. 63/02:18) ภาพข่าว: กอสซิพริมรั้ว: ยิหน้นา:ดี1/1กับ ธัญวุฒิ เฉลิมพงษ์ Ad Rate: 1,100

Matichon Circulation: 950,000 Ad Rate: 1,550

-200511039110(10 พ.ค. 63/06:59) Thai Rath Circulation: 800,000 Ad Rate: 1,100

Section: First Section/วันที่: พุธ 27 พฤษภาคม 2563 ปีที่: 71 ฉบับหน้ทีา่:: 22772 1/1 Col.Inch: 7.44 Ad Value: 8,184 คอลัมน์: ข่าวสั้นทันโลก: มฟล.เพิ่มหมอ

หน้า: 15(ล่าง) PRValue (x3): 24,552

รหัสข่าว: C-200508039146(7 พ.ค. 63/08:55)

หน

คลิป: ขาว-ดำ

เดลินิวส์ 22 มิถนุ ายน 2563 | หน้ า 10 Siam Rath Circulation: 900,000 Ad Rate: 1,050

Section: First Section/วันที่: พุธ 10 มิถุนายน 2563 ปีที่: 70 ฉบับที่: 24306 หน้า: 1(บนซ้าย), 9 Col.Inch: 78.41 Ad Value: 82,330.50 PRValue (x3): 246,991.50 หัวข้อข่าว: รายงานพิเศษ: 'มฟล.' ช่วยแรงงานข้ามชาติเหยื่อโควิด-19 ที่ถูกลืม

คลิป: สี่สี

มติชน 3 มิถนุ ายน 2563 | หน้ า 22

มติชน 23 เมษายน 2563 | หน้ า 18

ว: C-200423020053(23 เม.ย. 63/02:44)

หน้า: 1/1 รหัสข่าว: C-200603020087(3 มิ.ย. 63/03:25)

หน้า: 1/1 รหัสข่าว: C-200622035061(21 มิ.ย. 63/06:52)

รหัสข่าว: C-200622035061(21 มิ.ย. 63/06:52) รหัสข่าว: C-200610021013(10 มิ.ย. 63/05:53)

สยามรั ฐ 10 มิถนุ ายน 2563 | หน้ า 9

หน้า: 1/2

ไทยรั ฐ 27 พฤษภาคม 2563 | หน้ า 15

ไทยรั ฐ 21 มิถนุ ายน 2563 | หน้ า 12 รอบรั้ว มฟล. ฉบับที่ 34 เมษายน - มิถุนายน 2563

23


WELCOME FRESHERS 2020


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.