รายงานประจำปี 2557

Page 1

M F U Mae Fa h L u a ng U n i ve r s i t y

รายงาน ป ร ะ จ ํา ป ม ห า ว� ท ย า ลั ย แ ม ฟ า ห ล ว ง



M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ํา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


M F U

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รายงานประจำาปี 2557 / มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มหาวิทยาลัย, 2558 เล่ม: ภาพประกอบ, ตาราง ISBN 978-974-9766-79-8 1. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.--หนังสือรายปี. I. ชื่อเรื่อง. 120 หน้า พิมพ์ครั้งที่: 1 จัดทำาโดย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย จำานวนพิมพ์: 1,000 เล่ม ออกแบบ/จัดพิมพ์: ล๊อคอินดีไซน์เวิร์ค 1/19 หมู่บ้านล้านนาวิลล่า ตำาบลช้างเผือก อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์/โทรสาร 0 5321 3558 © มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ



M F U

วาม ปนมา

4

ารจา นาย

ามหาวทยาลั ย ตลอดระยะเวลา 16 ปี ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้เจริญเติบโต เป็นที่ ประจักษ์แก่สาธารณชนทัว่ ไป โดยได้ดาำ เนินการตามปณิธาน ภารกิจ และเป้าหมาย ที่กำาหนดไว้อย่างเคร่งครัด ส่งผลให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล ทัง้ การบริหารจัดการ การสร้างผลงานทางด้านวิชาการ ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง และการพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพที่จะเป็นกำาลัง สำาคัญในการพัฒนาชาติและบ้านเมือง นับเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งของการบริหาร จัดการมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน รายงานประจำาปี 2557 ฉบับนี้ เป็นการรวบรวมผลการดำาเนินงานในรอบปี ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากความทุ่มเทและเสียสละของบุคลากรทุกฝ่ายที่ได้ร่วมกัน ผลัก ดัน สร้า งสรรค์ และพั ฒ นามหาวิ ทยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวงให้ เ จริ ญก้ าวหน้ า อย่างน่าภาคภูมิใจยิ่ง ในนามของสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผมขอแสดงความชื่นชมยินดี ในความ สำาเร็จและความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัย และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านที่ได้ร่วมแรง ร่วมใจกันพัฒนาให้มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีชื่อเสียงไปสู่ ระดับสากลและความเป็นเลิศทางวิชาการ ทั้งยังหวังเป็นอย่างยิ่งว่ามหาวิทยาลัย แห่งนี้จะมีพัฒนาการที่เจริญก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

พลเอก (สำาเภา ชูศรี) นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

5

ารจา

าร มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวงได้ ป ฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในการพั ฒ นาคนและพั ฒ นาชาติ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดตัง้ มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ เพือ่ สืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าในการ “ปลูกป่า สร้างคน” ดำาเนินงานตาม แนวทางการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพร้อมกับพัฒนาคุณภาพชีวิต และ เป็นแหล่งผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพของประเทศ ตลอดระยะเวลา 16 ปี ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ยึดหลักการในการ พัฒนาคน ให้มีความรู้ความสามารถในศาสตร์ที่รำ่าเรียนมาให้สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งในสังคมต่างวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้นักศึกษา มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในสิ่ ง ที่ ต นเองได้ รั บ มอบหมาย มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ ยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น 16 ปี ของความมุ่งมั่นที่จะเติบโตอย่างมี คุณภาพ บนเส้นทางของตัวเอง โดยได้สร้างกรอบแนวคิดในการเติบโตและพัฒนา ตนเองขึ้นในรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของประเทศ บนพื้นฐานของความ เป็นมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงตามที่มุ่งหวัง ผลจากการเสียสละทุ่มเทของประชาคมแม่ฟ้าหลวงได้ก่อให้เกิดพัฒนาการที่ ก้าวหน้ามาตามลำาดับ ดังที่ปรากฏในรายงานประจำาปี 2557 ฉบับนี้ มหาวิทยาลัย ขอขอบคุณผู้ร่วมอุดมการณ์ทุกคนที่ ได้ช่วยกันผลักดัน ส่งเสริม และให้การ สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเติบใหญ่อย่างมั่นคงในปัจจุบัน และขอให้ ประชาคมแม่ฟ้าหลวงได้ร่วมมือร่วมใจ มุ่งมั่นให้มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงพัฒนา อย่างต่อเนื่อง และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและประเทศสืบไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง


M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ํา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

าร ั 7

วาม ปนมา

21

าร ริหารและทรั ยา ร าร ำา นนงาน

35

าร ล ั

69

ารวิจัย

77

าร ริ ารวิ า าร ั นา ัง มและ ม น

85

ารทำาน ำารง ลปวั น รรมและ นรั

89

วามร่วมม ั หน่วยงาน น

93

จ รรม ำา ั และ ลงาน ่น

105

รายนาม ริหาร

งแว ล ม


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

ความเป็นมา

7


วาม ปนมา

M F U

วาม ปนมา งมหาว�ทยาลัยแม ฟ าหลวง 8

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำาเนิดขึ้นจากความต้องการของประชาชนชาวจังหวัดเชียงรายที่ปรารถนาให้มีสถาบัน การศึกษาระดับอุดมศึกษาขึน้ ในจังหวัด การสัมมนาทางวิชาการเรือ่ ง “เชียงรายในทศวรรษหน้า” ทีจ่ งั หวัดเชียงราย เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2534 มีผลสรุปที่สำาคัญประการหนึ่ง คือ ควรมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในจังหวัด เชียงราย เพื่อรองรับการขยายตัวทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเชียงรายและภาคเหนือตอนบนโดยรวม นับตั้งแต่การสัมมนาครั้งนั้นเป็นต้นมา ชาวเชียงรายได้รณรงค์เรียกร้องและระดมความคิดเห็นร่วมกันทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้มีการจัดตั้งสถาบันการศึกษาระดับสูงขึ้นในจังหวัดเชียงราย ดังปรากฏอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2536-2545 ซึ่งได้กำาหนดทิศทางการพัฒนาที่สำาคัญประการหนึ่ง คือ การศึกษา เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทัง้ ในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดภาคเหนือตอนบน ตลอดจนประเทศในกลุม่ อนุภมู ภิ าค ลุ่มแม่นำ้าโขง การดำาเนินการเพื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงหลังจากนั้นมีความต่อเนื่องมาเป็นลำาดับ ดังนี้

ได้มกี ารจัดตัง้ “คณะกรรมการรณรงค์จดั ตัง้ มหาวิทยาลัย” เพือ่ ให้มกี ารจัดตัง้ มหาวิทยาลัย ขึ้นที่จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกภาคส่วนของจังหวัดเชียงราย มีการ ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีดำาเนินการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่ ง สรุ ป ได้ ใ นขณะนั้ น ว่ า อาจทำ าได้ 3 แนวทาง คื อ จั ด ตั้ ง เป็ น วิ ท ยาเขตหนึ่ ง ของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงรายให้เป็นมหาวิทยาลัย หรือ จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นใหม่


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

คณะกรรมการรณรงค์จดั ตัง้ มหาวิทยาลัยร่วมกับหน่วยราชการจังหวัดเชียงรายได้ประชุม ปรึกษาหารือและเห็นพ้องต้องกันว่า หลังจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็ จ สวรรคต ประกอบกั บ พระองค์ ท รงมี พ ระมหากรุ ณาธิ คุ ณ อย่ า งใหญ่ ห ลวง ต่ออาณาประชาราษฎร์ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงรายทีท่ รงใช้เป็นสถานทีส่ ร้างพระตำาหนัก และทรงริเริม่ โครงการพัฒนาดอยตุงขึน้ ซึง่ ได้นาำ ความเจริญรุง่ เรืองมายังจังหวัดเชียงราย และประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง ดังนัน้ เพือ่ แสดงความจงรักภักดีและเป็นอนุสรณ์สถาน รำาลึกถึงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ตลอดจนเพื่อสนองพระราชปณิธาน ของพระองค์ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการพัฒนาคน จึงได้จัดทำาโครงการเสนอต่อรัฐบาล ให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงราย

มนา ม

นายณรงค์ วงศ์วรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่มุ่งหวังและสนับสนุน ที่จะให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงรายได้เป็นผู้ประสานงานโดยนำาคณะกรรมการ รณรงค์จดั ตัง้ มหาวิทยาลัย ซึง่ ประกอบด้วยผูว้ า่ ราชการจังหวัด สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น และสื่อมวลชนเข้าพบนายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ ทีท่ าำ เนียบรัฐบาล โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดในขณะนัน้ (นายคำารณ บุญเชิด ปัจจุบนั คือ นายคำารณ โกมลศุภกิจ) เป็นผูเ้ สนอเหตุผลและความจำาเป็นทีข่ อจัดตัง้ มหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงรายต่อนายกรัฐมนตรี หลังจากนั้นคณะกรรมการรณรงค์ จัดตัง้ มหาวิทยาลัย ได้เข้าพบนายบุญชู ตรีทอง ซึง่ เป็นรัฐมนตรีวา่ การทบวงมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งปลัดและรองปลัดทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อขอให้สนับสนุนโครงการดังกล่าว

มนา ม

คณะรัฐมนตรีในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ได้มมี ติเห็นชอบให้จดั ตัง้ สถาบันอุดมศึกษา ที่จังหวัดเชียงราย โดยอาจยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงรายขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้เป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดีของรัฐบาลและประชาชนที่มีต่อสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชากรในภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งของจังหวัดเชียงราย และ ได้มอบหมายให้ทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนัน้ ศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้รวมถึง ดำาเนินการในขั้นตอนต่างๆ ต่อไป

ม ายน

ทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งได้ดำาเนินการศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับการยกฐานะสถาบัน ราชภัฏเชียงรายขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยสรุปว่ามีความเป็นไปได้ พร้อมทั้ง ได้ดำาเนินการศึกษาเพื่อกำาหนดรูปแบบการดำาเนินงาน ตลอดจนระบบการบริหารงาน ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมาตามลำาดับ และต่อมาได้เสนอร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งมีสาระสำาคัญคือการยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงรายขึ้น เป็นมหาวิทยาลัยต่อคณะรัฐมนตรี

งหา ม

คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติในหลักการตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และให้เสนอ คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตรวจร่าง แต่ต่อมาได้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎร เป็นผลทำาให้ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงฉบับนี้ไม่ได้รับการพิจารณา

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

9


วาม ปนมา

ทบวงมหาวิทยาลัยได้นำาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงฉบับเดิมเสนอต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองงานฝ่ายสังคมของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เพื่อพิจารณาทบทวน คณะกรรมการฯ ได้มีมติเห็นสมควรให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวงขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยที่จัดตั้งใหม่ โดยไม่ยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงราย เป็นมหาวิทยาลัยตามมติเดิม และมอบหมายให้ทบวงมหาวิทยาลัยจัดทำาร่างพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงฉบับใหม่เสนอต่อคณะรัฐมนตรี

M F U

ม า ัน

10

ม า ัน

ที่ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองงานฝ่ายสังคมของรัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ มีมติเห็นชอบในหลักการตามร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ทบวง มหาวิทยาลัยจัดทำาขึ้นใหม่ และให้นำาเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

ม า ัน

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการตามร่างพระราชบัญญัติที่ทบวง มหาวิทยาลัย เสนอ และให้ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตรวจร่าง และดำาเนินการตาม กระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ ต่ อไป และเห็ น ชอบให้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการจั ด ตั้ ง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเพื่อดำาเนินการต่างๆ ให้เรียบร้อยและเสร็จสิ้นโดยเร็ว

ม า ัน

ทบวงมหาวิทยาลัยมีคาำ สัง่ ที ่ 92/2540 ลงวันที ่ 28 กุมภาพันธ์ 2540 แต่งตัง้ คณะกรรมการ จัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ปลัดทบวง มหาวิทยาลัยเป็นประธานโดยให้มีอำานาจหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำาโครงการ จัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ตลอดจนพิจารณากำาหนดที่ตั้งมหาวิทยาลัยให้เหมาะสม รวมทั้งให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ เพื่อดำาเนินการได้ตามความเหมาะสม ในการพิจารณาถึงสถานที่ใช้กอ่ สร้างมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงนัน้ คณะกรรมการจังหวัด เชียงรายได้จัดเตรียมไว้ 3 แห่งคือ บริเวณดอยแง่ม อำาเภอเมืองเชียงราย บริเวณ จอมหมอกแก้ว อำาเภอแม่ลาว และบริเวณดอยโตน อำาเภอเวียงชัย ซึ่งต่อมานายมนตรี ด่านไพบูลย์ รัฐมนตรีวา่ การทบวงมหาวิทยาลัย และรองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิรชิ นะ ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ร่วมกับคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ร่วมกัน พิจารณา และมีมติเลือกพื้น ที่บริเวณดอยแง่ม และจอมหมอกแก้ว เป็น ที่ตั้งของ มหาวิทยาลัย

มนา ม

ทบวงมหาวิทยาลัยจัดตั้งสำานักงานโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยใช้พื้นที่ ทบวงมหาวิทยาลัยเป็นที่ตั้งสำานักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัย มีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่จังหวัดเชียงรายซึ่งได้มีมติอนุมัติให้ใช้พื้นที่บริเวณ ดอยแง่ม จำานวน 4,997 ไร่ เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ต่อมาคณะกรรมการ ของจังหวัดเชียงรายร่วมกับมูลนิธสิ ง่ เสริมสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดเชียงราย ได้รณรงค์ หาทุนทรัพย์เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างถนนเข้ามหาวิทยาลัย และเพือ่ ชดเชยค่าทีด่ นิ ที่มีผู้ถือครองอยู่ในบริเวณนั้น

ร า ม

มนา ม

ชาวเชียงรายทุกหมู่เหล่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน โดยเฉพาะชาวบ้านตำาบล แม่ข้าวต้ม ตำาบลนางแล ตำาบลท่าสุด นับหมื่นคน ได้ร่วมกันนำามีดพร้า จอบ เสียม และ เครือ่ งจักรมาบุกเบิกทางเข้ามหาวิทยาลัยบริเวณดอยแง่มเป็นปฐมฤกษ์ นอกจากนีย้ งั ได้ ร่วมกันปลูกต้นไม้ในบริเวณมหาวิทยาลัย ในโอกาสวันสำาคัญต่างๆ หลายครั้ง


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

11

ันยายน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2541

ันยายน

พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง พ.ศ. 2541 ได้ รั บ การประกาศลงใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 65 ก ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2541

ลา ม

มนา ม

นายประจวบ ไชยสาส์น รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้น ซึ่งดำารงตำาแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยตามบทเฉพาะกาลในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2541 ได้ ล งนามในคำ า สั่ ง มหาวิ ทยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวง ที่ 1/2541 แต่ ง ตั้ ง ให้ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิรชิ นะ ซึง่ ในขณะนัน้ ดำารงตำาแหน่งปลัดทบวงมหาวิทยาลัย และเป็นประธานคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ให้เป็นผู้รักษาการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ตามข้อกำาหนดมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ว่าด้วยการจัดตัง้ ส่วนงาน พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัย ได้มีการจัดตั้งสำานักวิชา 5 สำานักวิชา คือ สำานักวิชาศิลปศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาการจัดการ (ปัจจุบัน คือ สำานักวิชาการจัดการ) สำานักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ และสำานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ปัจจุบัน คือ สำานักวิชาอุตสาหกรรม เกษตร) โดยในช่วงแรกของการดำาเนินงานสำานักวิชาศิลปศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ และสำานักวิชาการจัดการ รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปของ มหาวิทยาลัย


M F U

วาม ปนมา

12

มหาวิทยาลัยได้เปิดรับนักศึกษารุน่ แรกใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สำานักวิชาเทคโนโลยี การเกษตร โดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนเทศบาล 1 ศรีเกิด เป็นสถานทีส่ อบคัดเลือก และสัมภาษณ์นักศึกษารุ่นแรก จำานวน 62 คน และขอใช้อาคารโรงเรียนเทศบาล 6 สลากกินแบ่งรัฐบาล (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย) จากเทศบาลเมือง เชียงรายเป็นสถานที่ทำาการและสถานที่ศึกษาชั่วคราว

ม นายน

เริ่มการก่อสร้างอาคารที่ทำาการชั่วคราว (อาคารส่วนหน้า) บริเวณดอยแง่ม จำานวน 12 หลัง เริ่มการก่อสร้างอาคารที่ทำาการถาวรของมหาวิทยาลัย

ร า ม

ลา ม

มหาวิทยาลัยย้ายที่ทำาการชั่วคราว จากโรงเรียนเทศบาล 6 สลากกินแบ่งรัฐบาล เข้ามา ที่อาคารส่วนหน้าซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จ และใช้เป็นทั้งสำานักงานและอาคารเรียนชั่วคราว ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2542

า ม

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯให้สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ทรงวาง ศิลาฤกษ์อาคารที่ทำาการของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ม นายน

พลตำารวจเอกเภา สารสิน ได้รบั พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดาำ รงตำาแหน่งนายก สภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ลา ม

ม รา ม

สำานักวิชาศิลปศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ และสำานักวิชาการจัดการเริม่ เปิดการเรียน การสอนระดับปริญญาตรี โดยสำานักวิชาศิลปศาสตร์มีนักศึกษารุ่นแรก จำานวน 79 คน สำานักวิชาการจัดการ จำานวน 60 คน และสำานักวิชาวิทยาศาสตร์ จำานวน 33 คน

รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ดำารงตำาแหน่งอธิการบดี คนที่ 1 ดำารงตำาแหน่ง 2 วาระ มีการจัดตั้งสำานักวิชานิติศาสตร์ เพื่อรองรับความต้องการศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตร์ ที่มีอย่างกว้างขวาง และมีการเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2546 จำานวน 276 คน


ม า ัน

า ม

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชดำ า เนิ นแทนพระองค์ ทรงประกอบพิธีเปิดมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงอย่างเป็น ทางการ และพระราชทาน ปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษา ประจำาปีการศึกษา 2545 ซึ่งเป็นบัณฑิตรุ่นแรกของ มหาวิทยาลัย รวมทัง้ ได้เสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิดศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรนิ ธร ยังความปลื้มปีติและสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น

การก่อสร้างมหาวิทยาลัยเสร็จสิ้นตามโครงการพัฒนากายภาพระยะที่ 1

ันวา ม

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์เสด็จฯ แทนพระองค์ทรงประกอบพิธีเททองหล่อพระรูปสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานอนุญาตให้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจัดสร้างพระราชานุสาวรีย์เพื่อประดิษฐานไว้ ณ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง

ม รา ม

มีการจัดตัง้ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ และสำานักวิชาวิทยาศาสตร์เครือ่ งสำาอาง และ มีการเปิดรับนักศึกษารุน่ แรกในปีการศึกษา 2548 โดยมีนกั ศึกษาสำานักวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสำาอาง จำานวน 32 คน และสำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำานวน 49 คน

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

13


M F U

วาม ปนมา

14

ันวา ม

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำาเนินแทนพระองค์ ทรงเปิดพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และทรงเปิดอาคาร เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน นามอาคารจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

ม า ัน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินมาทรงประกอบ พิธีเททองหล่อพระพุทธรูปพระเจ้าล้านทองเฉลิมพระเกียรติฯ ซึ่งได้ทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตให้มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดสร้างขึน้ เนือ่ งในวโรกาสทีท่ รงเจริญพระชนมายุ 50 พรรษา และต่อมาได้พระราชทาน พระราชานุญาตให้อัญเชิญมาเป็นพระพุทธรูปประจำามหาวิทยาลัย เมื่อดำาเนินการ จัดสร้างแล้วเสร็จ มหาวิทยาลัยได้อัญเชิญมาประดิษฐานเป็นการชั่วคราวและจัดพิธี มหาพุทธาภิเษกครัง้ ยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลและความศักดิส์ ทิ ธิ ์ ระหว่างวันที่ 18-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

ันวา ม

มีการจัดตั้งสำานักวิชาพยาบาลศาสตร์ และมีการเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2550 มีนักศึกษา จำานวน 76 คน

ันวา ม

มีการจัดตั้งสำานักวิชาเวชศาสตร์ต้านความชราและฟื้นฟูสุขภาพ (ปัจจุบัน คือ สำานักวิชา เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ) และมีการเปิดรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รุ่นแรกในปีการศึกษา 2551 มีนักศึกษา จำานวน 17 คน

ม า ัน

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำาเนินแทนพระองค์ทรง ประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุบนเศียรพระเจ้าล้านทอง เฉลิมพระเกียรติฯ และ พิธียกช่อฟ้าวิหารพระเจ้าล้านทอง


พระเจ้าวรวงค์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ ได้มีพระกรุณาเสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานครฯ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานที่ศึกษาและฝึกปฏิบัติของนักศึกษา สำานักวิชาเวชศาสตร์ ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ พร้อมให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยด้านเวชศาสตร์ผิวพรรณ และเวชศาสตร์ชะลอวัย

งหา ม

ลา ม

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

นายสัตวแพทย์ รองศาสตราจารย์ ดร.เทอด เทศประทีป ได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งอธิการบดี คนที่ 2

ม ายน

มหาวิทยาลัยได้เปิดใช้อาคารปฏิบัติการด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเชียงราย โดยมีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางการให้บริการการ แพทย์ทางเลือกทีม่ เี ครือ่ งมือทางการแพทย์ บุคลากร และปัจจัยอืน่ ๆ ทีพ่ รัง่ พร้อมสามารถ ให้บริการได้ทั่วถึง รวมถึงเป็นแหล่งบริการด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนโดยรอบ มหาวิทยาลัย และประชาชนชาวจังหวัดเชียงราย ตลอดจนบุคคลทั่วไป

ม ายน

รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ดำารงตำาแหน่งอธิการบดี วาระที่ 3

ม รา ม

มีการจัดตั้งสำานักวิชาแพทยศาสตร์ โดยจะเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2556 จำานวน 32 คน

มนา ม

มีการจัดตัง้ สำานักวิชาทันตแพทยศาสตร์ โดยมีแผนการรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2557 จำานวน 32 คน

า ม

มีการจัดตั้งสำานักวิชานวัตกรรมสังคม ซึ่งได้พัฒนาจากสาขาวิชาการพัฒนาระหว่าง ประเทศ สำานักวิชาศิลปศาสตร์ และได้ทำาการโอนย้ายนักศึกษาจำานวน 76 คน พร้อมทั้ง เปิดรับนักศึกษาใหม่ ในปีการศึกษา 2557

ร า ม

มี ก ารจั ด ตั้ ง สำ า นั ก วิ ช าจี น วิ ท ยา ซึ่ ง ได้ พั ฒ นาจากสาขาวิ ช าภาษาจี น สำ า นั ก วิ ช า ศิลปศาสตร์

นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเป็นต้นมา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้มีพัฒนาการทั้งทางกายภาพและวิชาการควบคู่กันอย่าง ต่อเนื่อง จากปีการศึกษาแรก มีนักศึกษา 62 คน ใน 2 หลักสูตร ปัจจุบันมีนักศึกษาทั้งสิ้น 12,714 ใน 79 หลักสูตร และนับถึงปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยได้ผลิตบัณฑิตไปแล้วรวมทั้งสิ้น 13,634 คน ซึ่งจากที่กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการสืบสานพระราชปณิธานขององค์สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีดว้ ยความจงรักภักดี และมุง่ หวังทีจ่ ะพัฒนามหาวิทยาลัยให้เจริญก้าวหน้าอย่างมัน่ คง เพือ่ เป็นสถาบัน ที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และประเทศชาติสืบต่อไป

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

15


M F U

ค ว า ม เ ป็ น ม า

16


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

17

ปณิธาน สืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในการ “ปลูกป่า สร้างคน” โดยมุ่ง สร้างคน สร้างความรู้ สร้างคุณภาพ สร้างคุณธรรม และอนุรักษ์ธรรมชาติ วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจะเป็นมหาวิทยาลัยขนาดกลางที่มีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระดับสากล มีความเป็นเลิศในศิลปะและวิทยาการสาขาต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ของประเทศและอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ้าโขง เป็นแหล่งสร้างสมและพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ควบคู่กันไป กับการนำาองค์ความรู้ในมหาวิทยาลัยออกไปสู่การประยุกต์ใช้ในสังคมและภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ในขณะเดียวกันก็มุ่งเน้นการศึกษาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ภารกิจ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำากับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พุทธศักราช 2541 มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่มีภารกิจหลักที่สำาคัญของความเป็นสถาบันอุดมศึกษา 4 ประการ คือ 1. การผลิตบัณฑิต 2. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ 3. การบริการวิชาการแก่สังคม 4. การทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม


M F U

วาม ปนมา

18

แนวทางการดำาเนินงาน 1. เป็นมหาวิทยาลัยขนาดกลางที่มีคุณภาพ 2. เป็นศูนย์กลางการศึกษาของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ้าโขง 3. เปิดสอนเฉพาะสาขาวิชาที่จำาเป็นและมีความต้องการสูง 4. เน้นการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา 5. ร่วมมือกับท้องถิ่นและสนองนโยบายของชาติ วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสถาบันการศึกษาระดับสูงที่จะสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีรนครินทราบรมราชชนนี ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำาของประเทศที่จะผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ 3. เป็นแหล่งค้นคว้า วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของประเทศ ตอบสนองความต้องการศึกษาในระดับสูง ของประชาชนในภาคเหนือตอนบน 4. เป็นศูนย์กลางการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศในเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ้าโขง 5. เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำาที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ คุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ในวิชาการที่ศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่มี ในการปฏิบัติภารกิจต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม กอปรด้วยภูมิปัญญาและภูมิธรรม มีความสามารถในด้านภาษา และการสื่อสาร มีศักยภาพในการทำางานต่างวัฒนธรรม มีความคิดริเริ่มที่จะพัฒนาและปรับปรุงตนเองและ หน้าที่การงานอยู่เป็นนิจ ตระหนักถึงความสำาคัญของการอนุรักษ์และสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม มีมนุษยสัมพันธ์ และคุณธรรมในการดำารงชีวิต มีความคิดกว้างไกลและสอดคล้องกับทิศทางของประชาคมนานาชาติ ยึดมั่นใน เอกลักษณ์ของความเป็นไทยและมุ่งประโยชน์ของสังคมและชาติเป็นหลัก


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตรามหาวิทยาลัย อักษรพระนามาภิไธยย่อของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี บนพื้น สีทองอักษรย่อ ส. สีแดง และ ว.สีขาว อันเป็นเครือ่ งหมายแห่งความจงรักภักดี ของประชาชน บุคลากร และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่มีต่อสมเด็จ พระศรีนครินราบรมราชชนนีและความเป็นสิริมงคล เลข ๘ และ ๙ สีทอง ประกอบตราสัญลักษณ์ ประดิษฐานภายใต้ฉัตรเจ็ดชั้น สีทอง เลข ๘ อยู่เหนือคำาว่า มหาวิทยาลัย เลข ๙ อยู่เหนือคำาว่า แม่ฟ้าหลวง หมายถึง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเป็นพระราชชนนีของ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ดอกไม้ (ดอกลำาดวน) หมายถึง ความมุง่ มัน่ ของมหาวิทยาลัยทีจ่ ะพัฒนาและ ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของปวงชนอย่างต่อเนื่อง

สีประจำามหาวิทยาลัย สีแดง หมายถึง องค์สมเด็จ พระศรีนครินทรา บรมราชชนนี สีทอง หมายถึง ความเจริญ รุ่งเรือง ของมหาวิทยาลัย อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ดอกไม้ ประจำามหาวิทยาลัย ดอกลำาดวน (หอมนวล) ชื่อวิทยาศาสตร์ melodorum fruitcosum Lour.

ลายตุงประดับบนครุยบัณฑิต มหาวิทยาลัยได้มีการออกแบบตุงประจำามหาวิทยาลัยและได้นำาแถบซึ่งเป็น องค์ประกอบของตุงประจำามหาวิทยาลัยเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะและ ความเป็นสิรมิ งคลอันสูงยิง่ มาประดับไว้บนแถบสำารดของครุยวิทยฐานะของ มหาวิทยาลัย ในแถบตุงประกอบด้วย ลายปราสาท หมายถึง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลายหนู หมายถึง ปีประสูตขิ องสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งตรงกับปีชวด พ.ศ. 2443 ลายพญานาค หมายถึง สัตว์ทปี่ รากฏในศิลปวัฒนธรรมล้านนาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ตามตำานานกล่าวถึงว่าเป็นสัตว์ทพี่ ทิ กั ษ์พระพุทธ ศาสนา ลายเสือ หมายถึง ปีก่อตั้งมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 ซึ่งตรงกับปีขาล

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

19


M F U

ค ว า ม เ ป็ น ม า

20


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

การบริหาร และทรัพยากร การดำาเนินงาน

21


า ร ริ ห า ร แ ล ะ ท รั ย า ร า ร ำา น น ง า น

M F U

าร ร�หารมหาว�ทยาลัย 22

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเป็นมหาวิทยาลัยในกำากับของรัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสภามหาวิทยาลัยเป็น องค์กรสูงสุดทำาหน้าที่กำากับดูแลการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และกำาหนดนโยบายในการดำาเนินงานด้านต่างๆ นอกจากสภามหาวิทยาลัยแล้วยังมีคณะกรรมการระดับนโยบายอีก 4 ชุด ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย ทำาหน้าที่ให้คาำ แนะนำาปรึกษาแก่สภามหาวิทยาลัยในการ สนับสนุนการดำาเนินกิจการของมหาวิทยาลัย 2. คณะกรรมการการเงินและทรัพย์สนิ ทำาหน้าทีก่ ลัน่ กรองเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการเงินและทรัพย์สนิ เพื่อเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 3. คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ทำาหน้าที่กำากับดูแลระบบการบริหารงานบุคคล 4. คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการดำาเนินงาน ทำาหน้าที่ดูแลและตรวจสอบภายใน ในด้านการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมีสภาวิชาการทำาหน้าที่กำากับดูแลงานด้านวิชาการ การเรียนการสอน มาตรฐานและคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการกำาหนดทิศทางและนโยบายด้านวิชาการและวิจัยของมหาวิทยาลัย ใน พ.ศ.2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้จัดแบ่งหน่วยงานภายในเป็น 4 กลุ่มงาน คือ 1. สำานักวิชา จำานวน 14 สำานักวิชา ทำาหน้าที่ ในการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำานุบำารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. ศูนย์ จำานวน 5 ศูนย์ ทำาหน้าที่ในการสนับสนุนการดำาเนินงานของสำานักวิชา 3. สำานักงาน จำานวน 3 สำานักงาน (22 หน่วยงาน) ทำาหน้าที่สนับสนุนด้านการบริหารจัดการต่างๆ 4. โครงการและหน่วยงานพิเศษ จำานวน 5 หน่วยงาน จัดตั้งขึ้นและทำาหน้าที่ตามภารกิจเฉพาะ ของโครงการและหน่วยงานนั้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

รง ราง ารจั ง ร สภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง คณะกรรมการ ตรวจสอบและติดตาม การดำาเนินการของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการ ส่งเสริมกิจการของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการ การเงินและทรัพย์สิน คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล

สำานักงานสภามหาวิทยาลัย • หน่วยตรวจสอบภายใน

อธิการบดี

ทปร า � าร

าว� า าร

รองอธิการบดี วย � าร ํานั งาน

นย

รง ารและหน วยงาน

สำานักงานวิชาการ สำานักงานบริหารกลาง สำานักงานจัดการ ทรัพย์สินและรายได้

1. ศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. ศูนย์บริการ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3. ศูนย์บรรณสาร และสื่อการศึกษา 4. ศูนย์บริการวิชาการ 5. ศูนย์ภาษาและ วัฒนธรรมจีน สิรินธร

1. สถาบันชา (หน่วยงานพิเศษ) 2. โครงการจัดตั้งหน่วยความ ร่วมมือทางวิชาการฝรั่งเศสอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง 3. โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ อารยธรรมลุ่มนำ้าโขง 4. สถาบันการศึกษาและจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5. โครงการสวนพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

ํานั ว� า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

ศิลปศาสตร์ 1. วิทยาศาสตร์ 2. การจัดการ 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมเกษตร นิติศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา

ํานั งานว� า าร 1. ส่วนจัดหางานและฝึกงานนักศึกษา 2. ส่วนทะเบียนและประมวลผล 3. ส่วนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 4. ส่วนประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาหลักสูตร 5. ส่วนพัฒนานักศึกษา 6. ส่วนรับนักศึกษา 7. หน่วยพัฒนาการเรียนการสอน 8. สำานักงานบัณฑิตศึกษา 9. ส่วนบริการงานวิจัย 10. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง • โครงการทันตกรรมบรมราชชนนี 11. ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 12. สำานักงานจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และพัฒนานวัตกรรม

ํานั งาน ร�หาร ลาง 1. ส่วนการเงินและบัญชี 2. ส่วนการเจ้าหน้าที่ 3. ส่วนนโยบายและแผน 4. ส่วนประชาสัมพันธ์ 5. ส่วนพัสดุ 6. ส่วนสารบรรณ อำานวยการ และนิติการ 7. ส่วนอาคารสถานที่ 8. หน่วยประสานงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพฯ

ํานั งานจั ารทรั ย นและราย 1. สำานักงานจัดการทรัพย์สินและรายได้ 2. หน่วยบริการและหารายได้ • วนาเวศน์ • สถาบันสุขภาพและความงาม วนาศรม • ศูนย์หนังสือ • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพฯ • สถาบันนวัตกรรมสุขภาพผิวพรรณ ความงาม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

23


า ร ริ ห า ร แ ล ะ ท รั ย า ร า ร ำา น น ง า น

M F U

ง ประมา 24

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อใช้ในการดำาเนินงานตามภารกิจ ต่างๆ จำานวนทั้งสิ้น 2,261,703,290 บาท โดยจำาแนกเป็นงบประมาณแผ่นดิน จำานวน 1,107,724,000 บาท (ร้อยละ 49.0) และงบประมาณเงินรายได้ จำานวน 1,153,979,290 บาท (ร้อยละ 51.0) ประเภทรายจ่าย

งบบุคลากร งบดำาเนินงาน งบลงทุน เงินสำารองจ่าย รวม

จำานวน (บาท)

ร้อยละ

500,144,872 922,991,226 825,366,648 13,200,544 2,261,703,290

22.1 40.8 36.5 0.6 100.0

สัดส่วนงบประมาณ ปี พ.ศ. 2557 จำาแนกตามประเภทรายจ่าย

36.5% งบลงทุน 40.8% งบดำาเนินงาน

0.6% เงินสำารองจ่าย 22.1% งบบุคลากร


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

กองทุน

กองทุนทั่วไป กองทุนเพื่อการศึกษา กองทุนวิจัย กองทุนบริการวิชาการ กองทุนกิจกรรมนิสิต/นักศึกษา กองทุนสินทรัพย์ถาวร กองทุนอื่นๆ รวม

จำานวน (บาท)

561,090,374 569,497,272 36,907,167 53,317,391 33,186,782 922,822,121 84,882,183 2,261,703,290

ร้อยละ

24.8 25.2 1.6 2.4 1.5 40.7 3.8 100.0

งบประมาณรายจ่ายประจำาปี พ.ศ. 2557 จำาแนกตามหมวดเงิน หมวดเงิน

หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำา หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน สำารองจ่าย รวม

จำานวน (บาท)

466,836,854 33,308,018 767,706,853 65,682,400 825,366,648 86,091,798 739,274,850 89,601,973 13,200,544 2,261,703,290

ร้อยละ

20.6 1.5 33.9 2.9 36.5 10.4 89.6 4.0 0.6 100.0

งบประมาณรายจ่ายประจำาปี พ.ศ. 2557 จำาแนกตามแผนงาน แผนงาน

แผนงานการเรียนการสอน แผนงานวิจัย แผนงานบริการสุขภาพแก่สังคม แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม แผนงานศาสนา ศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม แผนงานสนับสนุนวิชาการ แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย เงินสำารองจ่าย รวม

จำานวน (บาท)

ร้อยละ

541,171,398 37,755,467 69,414,832 54,170,210 1,793,208 145,487,770 1,398,709,861 13,200,544 2,261,703,290

23.9 1.7 3.1 2.4 0.1 6.4 61.8 0.6 100.0

M F U

งบประมาณรายจ่ายประจำาปี พ.ศ. 2557 จำาแนกตามกองทุน

25


า ร ริ ห า ร แ ล ะ ท รั ย า ร า ร ำา น น ง า น

M F U

ลา ร 26

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีอัตรากำาลังรวมทั้งสิ้น 1,177 คน เป็นสายบริหารวิชาการ 35 คน สายวิชาการ 497 และสายปฏิบัติการ 645 คน โดยในจำานวนบุคลากรสายวิชาการ เป็นบุคลากรต่างชาติ จำานวน 39 คน ประเภทบุคลากร

จำานวน

ร้อยละ

สายบริหารวิชาการ สายวิชาการ สายปฏิบัติการ รวม

35 497 645 1,177

3.0 42.2 54.8 100.0

บุคลากรสายวิชาการจำาแนกตามวุฒิการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม ร้อยละ

คุณวุฒิ ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

22 1 14 7 14 14 -

151 39 25 57 6 24 48 6 26 8 8 115 52 35 11 14 3 314 63.2

41 15 4 15 3 4 73 39 12 9 13 33 14 4 4 11 147 29.6

36 7.2

รวม

214 55 29 86 9 35 121 45 38 17 21 162 80 39 15 25 3 497 100.0


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

สัดส่วนบุคลากรจำาแนกตามประเภทบุคลากร

27

54.8% สายปฏิบัติการ

3.0% สายบริหารวิชาการ 42.2% สายวิชาการ

สัดส่วนบุคลากรสายวิชาการจำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

32.6% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

43.1% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์

24.3% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


า ร ริ ห า ร แ ล ะ ท รั ย า ร า ร ำา น น ง า น

M F U

บุคลากรสายวิชาการจำาแนกตามตำาแหน่งทางวิชาการ

28

ตำาแหน่งทางวิชาการ กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ผู้ช่วย รอง ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

อาจารย์

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม ร้อยละ

198 50 28 80 8 32 109 39 36 15 19 146 78 31 14 20 3 453 91.2

10 4 4 1 1 11 5 2 2 2 11 1 6 4 32 6.4

5 1 1 2 1 1 1 4 1 2 1 10 2.0

1 1 1 1 2 0.4

รวม

214 55 29 86 9 35 121 45 38 17 21 162 80 39 15 25 3 497 100.0

สัดส่วนอาจารย์ประจำาต่อนักศึกษาเต็มเวลา ปีการศึกษา 2557 กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม

นักศึกษาเต็มเวลา

อาจารย์ประจำาต่อนักศึกษาเต็มเวลา

7,736.2 2,317.9 907.4 3,421.7 431.0 658.2 2,493.8 1,013.6 1,049.4 208.4 222.4 1,052.1 632.2 196.3 105.2 116.6 1.8 11,282.1

1:41 1:57 1:36 1:37 1:45 1:32 1:23 1:24 1:32 1:13 1:12 1:8 1:11 1:6 1:9 1:5 1:0.44 1:26


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สำานักวิชา

การจัดการ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ รวม

จำานวน

ร้อยละ

4 20 2 6 1 2 2 1 1 39

10.2 51.3 5.1 15.4 2.6 5.1 5.1 2.6 2.6 100.0

จำานวน

ร้อยละ

1 1 1 6 1 3 13

7.7 7.7 7.7 46.2 7.7 23.0 100.0

Visiting Professor สำานักวิชา

การจัดการ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วิทยาศาสตร์สุขภาพ แพทยศาสตร์ รวม

นอกเหนือจากอาจารย์ชาวต่างชาติและ Visiting Professer ดังกล่าวข้างต้น มหาวิทยาลัยยังมีอาจารย์อาสาสมัคร ต่างชาติ อีกจำานวน 24 คน จาก 4 ประเทศ ประกอบด้วย สาธารณรัฐเกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชน จีน แคนาดา ที่เข้ามาช่วยสอนในสาขาวิชาที่มีความจำาเป็นต้องใช้อาจารย์ที่มีความรู้เฉพาะทาง อาทิ สาขาวิชา จีนวิทยา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาการแพทย์แผนจีน เป็นต้น

M F U

อาจารย์ต่างชาติจำาแนกตามสำานักวิชา

29


า ร ริ ห า ร แ ล ะ ท รั ย า ร า ร ำา น น ง า น

M F U

า าร านท 30

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประกอบไปด้วยกลุ่มอาคารต่างๆ ดังนี้ กลุ่มอาคาร

กลุ่มอาคารการศึกษา 1. อาคารเรียนรวม 2. อาคารปฏิบัติการ 3. อาคารศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร 4. อาคารเรียนปรีคลินิค 5. อาคารศูนย์การเรียนรู้ภาษาและวิจัย 6. อาคารสำานักวิชาการ กลุ่มอาคารสำานักงาน อาคารบริการและสันทนาการ 7. อาคารสำานักงานอธิการบดี 8. อาคารสำานักงานบริหารกลาง 9. อาคารปัญจภูมิ (กรุงเทพมหานครฯ) 10. อาคารศูนย์บริการวิชาการและวิจัย 11. อาคารศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา

พื้นที่ใช้สอย (ตารางเมตร)

35,600 33,900 3,021 16,600 10,393 33,350 6,200 6,200 1,290 8,000 11,800


กลุ่มอาคาร

12. อาคารโรงอาหาร ส่วนการศึกษา 13. อาคารโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าโขง 14. อาคารหอประชุมสมเด็จย่า 15. อาคารเรือนริมนำ้า 16. ศูนย์สุขภาพและความงามวนาศรม 17. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 18. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานครฯ 19. อาคารกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ 20. อาคารกีฬาอเนกประสงค์ 21. อาคารอัฒจันทร์กลางแจ้ง 22. อาคารศูนย์พัฒนาสุขภาพและกีฬาทางนำ้า 23. สนามเทนนิส กลุ่มอาคารที่พักอาศัย 24. บ้านพักอธิการบดีและรับรองแขก 25. บ้านพักผู้บริหารและคณาจารย์ 26. อาคารชุดที่พักอาจารย์และบุคลากร 27. กลุ่มหอพักนักศึกษา 28. วนาเวศน์ กลุ่มอาคารอื่นๆ 29. วิหารพระเจ้าล้านทอง 30. โรงผลิตนำ้าประปา 31. บ่อบำาบัดนำ้าเสีย 32. ศูนย์แจ้งเหตุฉุกเฉิน 33. ป้อมยาม 34. ป้อมตำารวจ 35. สนามฝึกซ้อมกอล์ฟ

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พื้นที่ใช้สอย (ตารางเมตร)

8,500 2,500 2,300 1,376 3,524 17,000 810 7,735 8,857 8,257 4,398 3,232 890 4,705 166,278 58,286 4,750 266 567 120 160 31 12 168

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

31


M F U

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด �ำ เ นิ น ง า น

32


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ �ำ ปี 2 5 5 7

33


M F U

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด �ำ เ นิ น ง า น

34


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

การผลิต บัณฑิต

35


าร ล

M F U

ํานั ว� าและ า าว� า 36

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีสำานักวิชาทั้งสิ้น 14 สำานักวิชา ล ม า าว� า ัง ม า ร

• สำานักวิชาการจัดการ • สำานักวิชานิติศาสตร์ • สำานักวิชาศิลปศาสตร์ • สำานักวิชานวัตกรรมสังคม • สำานักวิชาจีนวิทยา

ล ม า าว� าว�ทยา า รและ ท น ลย

• สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ • สำานักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ • สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสำาอาง • สำานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

ล ม า าว� าว�ทยา า ร า

• สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ • สำานักวิชาพยาบาลศาสตร์ • สำานักวิชาเวชศาสตร์ ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ • สำานักวิชาแพทยศาสตร์ • สำานักวิชาทันตแพทยศาสตร์


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

า M F U

ํานั ว� า หม ป าร

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ดำาเนินการเปิดสำานักวิชาใหม่ โดยความเห็นชอบของสภา มหาวิทยาลัย จำานวน 3 สำานักวิชา รายละเอียดดังนี้ สำานักวิชานวัตกรรมสังคม ท่ามกลางปัจจัยแวดล้อมและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลกหลายประการ ทั้งการรวมตัวกัน ของประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ความเปลีย่ นแปลงอันซับซ้อนของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในระดับโลก ความสำาคัญของภาค ประชาสังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เรื่องการพัฒนาที่มุ่งสู่ หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจึงได้จัดตั้งสำานักวิชานวัตกรรมสังคมขึ้น โดยมีเป้าหมาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการพัฒนาประเทศและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง โดยกระบวนการเรียนรู้ผ่านการวิจัยข้ามพรมแดน (Cross Border Research) การวิจัยเชิงพื้นที่ (Area Based Research) การจัดการศึกษาทางสังคมศาสตร์เพื่อสร้างสรรค์แนวคิด และเครื่องมือที่สามารถใช้แก้ไขปัญหา ทางสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรมอันจะนำาไปสู่สังคมที่ก้าวหน้า โดยมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศ ทางวิชาการและมีความรูใ้ นการปฏิบตั กิ ารทางสังคมแบบสหวิทยาการ สามารถแก้ปญ ั หาสังคมทีม่ คี วามซับซ้อน ได้อย่างเป็นรูปธรรม

37


M F U

าร ล

38

สำานักวิชาจีนวิทยา ปัจจุบนั ประเทศจีนมีบทบาทสำาคัญในเวทีสากลทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม โดยภายหลังจาก ASEAN ได้ทำาข้อตกลงการค้าเสรี จีน-อาเซียน กับประเทศจีนเมื่อปี พ.ศ. 2543 นับเป็นการเปิดประตูการค้าการลงทุน เสรีซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ ส่งผลให้การเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออก เฉียงใต้สูงขึ้นเป็นลำาดับ นอกจากนี้ประเทศจีนยังมีบทบาทสำาคัญในด้านการค้าและการลงทุนกับประเทศไทย และประเทศสมาชิกอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง จากความสำาคัญดังกล่าว เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ ทางด้านกำาลังคนที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจีนรอบด้าน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจึงได้จัดตั้งสำานักวิชา จีนวิทยาขึ้น โดยมีเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนและผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจีน อย่างรอบด้าน ทั้งด้านมนุษยศาสตร์ อาทิ ภาษาและวรรณกรรมจีน วัฒนธรรมประเพณี ธรรมเนียมปฏิบัติ ด้านสังคมศาสตร์ อาทิ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังได้ทาำ ความร่วมมือด้านการแลกเปลีย่ นนักศึกษา บุคลากร และจัดหลักสูตรร่วมกับมหาวิทยาลัย ชั้นนำาหลายแห่งในประเทศจีน อาทิ Beijing Foreign Studies University, Beijing Language and Culture University, East China Normal University, Fudan University, Jinan University, Xiamen University เพือ่ ส่งเสริมให้นกั ศึกษาสามารถพัฒนาทักษะภาษาจีนได้อย่างเต็มที ่ รวมถึงการเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ และเข้าใจแนวคิด แบบจีนจากประสบการณ์ตรง สำานักวิชาทันตแพทยศาสตร์ เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี “พระมารดาแห่งการทันตแพทย์ไทย” ในการพัฒนาคุณ ภาพชีวิตของประชาชนที่ด้อยโอกาสที่อยู่ ในพื้น ที่ห่างไกล และสนองพระราชปณิธาน “ให้ปวงประชามีฟันดี” มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จึงจัดตั้งสำานักวิชาทันตแพทยศาสตร์ขึ้น โดยมุ่งเน้นการผลิต ทันตแพทย์ที่ให้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม การสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ผู้ป่วยและชุมชน การเรียนรู้ อย่างสร้างสุข การมีจิตสาธารณะให้สามารถอยู่ปฏิบัติงานในชุมชนเป็นที่พึ่งของประชาชน และรองรับการ ขยายการให้บริการงานทันตกรรมแก่ชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนทันตแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนบน รวมถึงรองรับการเปิดเสรีดา้ นการศึกษาและการให้บริการสุขภาพของประเทศ ในกลุ่มอาเซียนในอนาคต


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

น ป าร

า M F U

า าว� าท ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงมีสาขาวิชาทีเ่ ปิดรับสมัครเข้าศึกษารวม 79 สาขาวิชา จำาแนกเป็นระดับ ปริญญาตรี 38 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท 26 สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก 15 สาขาวิชา รายละเอียดดังนี้ กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม ร้อยละ

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

15 7 1 2 1 4 13 3 6 2 2 10 7 1 1 1 38 48.1

11 4 1 4 2 11 6 2 1 2 4 1 3 26 32.9

3 1 2 9 6 1 1 1 3 3 15 19.0

รวม

29 12 2 8 1 6 33 15 9 4 5 17 8 1 6 1 1 79 100.0

สัดส่วนสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามระดับการศึกษา

48.1% ปริญญาตรี

32.9% ปริญญาโท

19.0% ปริญญาเอก

39


าร ล

M F U

สัดส่วนสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

21.0% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

40

42.0% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 37.0% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์

สำานักวิชา/สาขาวิชา

การจัดการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน สาขาวิชาการบริหารวิสาหกิจ นิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ นวัตกรรมสังคม สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ จีนวิทยา สาขาวิชาจีนวิทยา สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ สาขาวิชาการสอนภาษาจีน สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน สาขาวิชาการแปลและล่ามภาษาจีน-ไทย สาขาวิชาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ

ปริญญาตรี

• • • • • • • • • •

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

• •

• • •

• • • •

• • • • •

• •

• •


สำานักวิชา/สาขาวิชา

วิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมีประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เชิงคำานวณ สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้างภาพเคลื่อนไหว สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง สาขาวิชาเทคโนโลยีความงาม อุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร วิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชากายภาพบำาบัด สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาการแพทย์แผนจีน พยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ สาขาวิชาตจวิทยา สาขาวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

• •

• • • • • •

• • • • • •

• • • • • • •

• •

• •

• • • • • • •

• • • • • •

• • •

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

41


าร ล

ร หม ป าร

M F U

หลั

42

มหาวิทยาลัยได้ดำาเนินการเปิดหลักสูตรใหม่ โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย จำานวน 5 หลักสูตร ดังนี้ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สำานักวิชาทันตแพทยศาสตร์ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตทันตแพทย์แนวใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนทันตแพทย์เพื่อทำาหน้าที่ดูแลรักษา ผู้ป่วยให้กับประชาชนในเขตภาคเหนือตอนบนและประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง เน้นการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวม การสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ผูป้ ว่ ยและชุมชน การเรียนรูอ้ ย่างสร้างสุข และเป็นผูม้ จี ติ สาธารณะ รวมถึงประสานการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็น สือ่ หลัก พร้อมทัง้ มีการจัดตัง้ คลินกิ ต้นแบบ และมีเครือข่ายความร่วมมือกับประเทศในกลุม่ อนุภมู ภิ าคลุม่ นำา้ โขง ที่สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชน รองรับการเปิดให้บริการสุขภาพของประชาชนในกลุ่มประเทศ อาเซียนในอนาคตโดยมีมาตรฐานการผลิตทันตแพทย์ในระดับสากล สาขาวิชาการแพทย์แผนจีน สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนด้วยการแพทย์แผนจีน ประกอบด้วย การฝังเข็ม ยาสมุนไพรจีน นวดแผนจีน ซึ่งได้พัฒนาจนเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ให้บัณฑิต สามารถนำาความรูม้ าประยุกต์ใช้กบั การแพทย์แผนปัจจุบนั ได้อย่างเหมาะสม ให้บณ ั ฑิตได้ศกึ ษาอย่างมีมาตรฐาน และคุณสมบัตทิ จี่ ะปฏิบตั งิ านในหน่วยงานสาธารณสุขร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์สาขาอืน่ ๆ ได้ โดยหลักสูตร ได้ทาำ ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนกวางโจวซึง่ นักศึกษาจะต้องไปศึกษายังประเทศจีนเป็นระยะ เวลา 1 ปี ณ มหาวิทยาลัยการแพทย์แผนจีนกวางโจว


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

43

สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นการบ่มเพาะวิศวกรวัสดุให้สามารถทำางานกับภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีคุณภาพ โดยการผสมผสาน จุดแข็งของทั้งสาขาวิชาวัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุเข้าด้วยกัน บัณฑิตที่จบหลักสูตรนี้จะมีทั้งความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์และค้นคว้าวิจัยแบบนักวัสดุศาสตร์ ขณะเดียวกันจะสามารถออกแบบ วางแผน และดำาเนิน การผลิตได้แบบวิศวกรวัสดุ และด้วยกระบวนการเรียนรูแ้ บบใช้ปญ ั หาเป็นฐาน จะช่วยพัฒนานักศึกษาให้มที กั ษะ การคิดอย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถในการทำางานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อการจัดการปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยการใช้องค์ความรู้ในศาสตร์พื้นฐานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องและศาสตร์ด้านการสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการจัดการ สิง่ แวดล้อม การป้องกันควบคุมโรค เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัย ลดอัตราเสีย่ งด้านสุขภาพ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งนักสาธารณสุข สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีพื้นฐานองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สามารถแก้ไขปัญหาหรือจัดหาแนวทาง การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมีระบบ มีแนวคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น


าร ล

M F U

นั

44

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยมีนักศึกษารวมทั้งสิ้น 12,714 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี 11,761 คน ระดับปริญญาโท 806 คน และระดับปริญญาเอก 147 คน โดยมีนักศึกษาใหม่ที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2557 จำานวน 4,471 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี 4,152 คน ระดับปริญญาโท 283 คน และระดับปริญญาเอก 36 คน จำาแนกตามสำานักวิชา ได้ดังนี้ จำานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

2,716 1,422 428 294 87 485 750 122 388 139 101 686 495 127 32 32 4,152

107 78 23 6 72 11 4 49 8 104 6 98 283

11 4 7 23 17 5 1 2 2 36

2,834 1,504 451 307 87 485 845 150 397 189 109 792 501 127 100 32 32 4,471

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามระดับการศึกษา

92.9% ปริญญาตรี

6.3% ปริญญาโท 0.8% ปริญญาเอก


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

17.7% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

45

63.4% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์

18.9% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เปรียบเทียบจำานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามสำานักวิชา 1,500

หน่วย : คน

1,504

1,000

500 307 150

189

109

0

1 2 3 1. ศิลปศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ 3. การจัดการ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ

485

501

451

397

4 5 6 5. อุตสาหกรรมเกษตร 6. นิติศาสตร์ 7. วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง 8. วิทยาศาสตร์สุขภาพ

7

127

100

32

87

32

8 9 10 11 9. พยาบาลศาสตร์ 10. เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ 11. แพทยศาสตร์ 12. ทันตแพทยศาสตร์

12

13 14 13. นวัตกรรมสังคม 14. จีนวิทยา

เปรียบเทียบจำานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามภูมิลำาเนา 2,000

หน่วย : คน

1,932

1,500 1,000 861

500

452 252

0

กรุงเทพฯและ ปริมณฑล

ภาคกลาง

497

210

ภาคตะวันออก

ภาคเหนือ

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

ภาคใต้

117

150

ภาคตะวันตก

ต่างประเทศ


M F U

าร ล

จากจำานวนนักศึกษาใหม่ทั้งหมด 4,471 คน จำาแนกเป็นนักศึกษาไทย จำานวน 4,321 คน (ร้อยละ 96.6) และ นักศึกษาต่างชาติ จำานวน 150 คน (ร้อยละ 3.4) จาก 18 ประเทศ

46

BRITAIN CANADA

CHINA SOUTH KOREA JAPAN

UNITED STATES BHUTAN NEPAL INDIA SRI LANKA

MYANMAR LAOS VIETNAM PHILIPINES

MALAYSIA INDONESIA MALAWI

AUSTRALIA

สัดส่วนนักศึกษาใหม่ต่างชาติ ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามระดับการศึกษา

18.7% ปริญญาโท 72.7% ปริญญาตรี

8.6% ปริญญาเอก


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นวัตกรรมสังคม จีนวิทยา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวม

7,590 3,916 1,259 841 169 1,405 2,369 368 1,247 471 283 1,802 1,266 440 64 32 11,761

367 226 69 72 182 34 30 101 17 257 8 249 806

52 17 35 90 71 13 3 3 5 5 147

รวม

8,009 4,159 1,328 948 169 1,405 2,641 473 1,290 575 303 2,064 1,274 440 254 64 32 12,714

M F U

จำานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและและระดับการศึกษา

47


าร ล

M F U

สัดส่วนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามระดับการศึกษา

48

6.9% ปริญญาโท

92.5% ปริญญาตรี

0.6% ปริญญาเอก

สัดส่วนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

16.2% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

63.0% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์

20.8% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เปรียบเทียบจำานวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามสำานักวิชา 5,000

หน่วย : คน 4,159

4,000 3,000 2,000 1,000

1,405

1,274

948 473

0

1,328

1,290

1 2 3 1. ศิลปศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ 3. การจัดการ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ

303

4 5 6 5. อุตสาหกรรมเกษตร 6. นิติศาสตร์ 7. วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง 8. วิทยาศาสตร์สุขภาพ

575

7

440

254

64

8 9 10 11 9. พยาบาลศาสตร์ 10. เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ 11. แพทยศาสตร์ 12. ทันตแพทยศาสตร์

32

12

169

13 14 13. นวัตกรรมสังคม 14. จีนวิทยา


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

จากนักศึกษาปัจจุบันรวมทั้งสิ้น 12,714 คน จำาแนกเป็นนักศึกษาไทย จำานวน 12,265 คน (ร้อยละ 96.5) และ นักศึกษาต่างชาติ จำานวน 449 คน (ร้อยละ 3.5) จาก 22 ประเทศ ดังนี้

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

49

DENMARK BRITAIN CANADA

GERMANY CHINA

FRANCE

SOUTH KOREA JAPAN

UNITED STATES BHUTAN NEPAL INDIA SRI LANKA

MYANMAR LAOS VIETNAM PHILIPINES

MALAYSIA INDONESIA

BRAZIL MALAWI

AUSTRALIA

สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมด ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามระดับการศึกษา

74.8% ปริญญาตรี

13.6% ปริญญาโท 11.6% ปริญญาเอก


M F U

ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต

50


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

า นหลั

ร ป หม ป าร

า M F U

าร ั น จ ล

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ดำาเนินการสำารวจความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครอง ถึงการเลือกเรียนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรการแพทย์แผนจีน สำานักวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ และหลักสูตรทันแพทยศาสตร์ สำานักวิชาทันแพทยศาสตร์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ หลักสูตรการแพทย์แผนจีน จากเป้าหมายการรับนักศึกษา จำานวน 60 คน มีผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อจำานวนทั้งสิ้น 545 คน ผลการสำารวจ มีรายละเอียด ดังนี้ เหตุผลของนักเรียนในการตัดสินเลือกเรียนหลักสูตรการแพทย์แผนจีนที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

1. มหาวิทยาลัยสวยงาม มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนการสอน 2. มหาวิทยาลัยมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ 3. มหาวิทยาลัยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อหลักในการสอน 4. มหาวิทยาลัยมีสถานที่และอุปกรณ์การเรียนการสอนที่สมบูรณ์ 5. มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงและอาจารย์ผู้สอนมีคุณภาพ

ร้อยละ 80.2 ร้อยละ 76.2 ร้อยละ 68.2 ร้อยละ 47.6 ร้อยละ 42.1

หมายเหตุ : คำาตอบจาก 5 อันดับแรก ความคาดหวังต่อบุตรหลานเมื่อสำาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรการแพทย์แผนจีน

1.สามารถนำาความรู้ไปพัฒนาวงการแพทย์ทางเลือกได้ 2. สามารถนำาความรู้ไปพัฒนาตนเองและสังคม 3. มีคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพ

ค่าเฉลี่ย 4.77 ค่าเฉลี่ย 4.74 ค่าเฉลี่ย 4.73

หมายเหตุ : คำาตอบจาก 3 อันดับแรก จากคะแนนค่าเฉลี่ยเต็ม 5

หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์ จากเป้าหมายการรับนักศึกษา จำานวน 32 คน มีผสู้ นใจสมัครเข้าศึกษาต่อจำานวนทัง้ สิน้ 3,437 คน ผลการสำารวจ มีรายละเอียด ดังนี้ เหตุผลของนักเรียนในการตัดสินเลือกเรียนหลักสูตรการแพทย์แผนจีนที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

1. มหาวิทยาลัยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อหลักในการสอน 2. มหาวิทยาลัยสวยงาม มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนการสอน 3. มหาวิทยาลัยมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ 4. หลักสูตรน่าสนใจ 5. มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงและอาจารย์ผู้สอนมีคุณภาพ

ร้อยละ 77.6 ร้อยละ 69.4 ร้อยละ 55.1 ร้อยละ 49.0 ร้อยละ 30.6

หมายเหตุ : คำาตอบจาก 5 อันดับแรก ความคาดหวังต่อบุตรหลานเมื่อสำาเร็จการศึกษาจากหลักสูตรทันตแพทยศาสตร์

1. มีคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพ 2. มีคุณสมบัติของการเป็นทันตแพทย์ที่ดี 3. มีจิตสาธารณะและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพทันตแพทย์ หมายเหตุ : คำาตอบจาก 3 อันดับแรก จากคะแนนค่าเฉลี่ยเต็ม 5

ค่าเฉลี่ย 4.87 ค่าเฉลี่ย 4.82 ค่าเฉลี่ย 4.80

51


าร ล

M F U

ํา รจ าร 52

ในปีการศึกษา 2556 มีผู้สำาเร็จการศึกษา จำานวน 2,209 คน เป็นผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 1,865 คน ระดับปริญญาโท 329 คน และระดับปริญญาเอก 15 คน ผู้สำาเร็จการศึกษาจำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและและระดับการศึกษา กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ รวม ร้อยละ

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวม

1,128 448 288 392 393 73 180 104 36 344 250 94 1,865 84.4

175 99 16 60 76 15 6 53 2 78 3 75 329 14.9

7 7 7 7 1 1 15 0.7

1,310 547 304 459 476 95 186 157 38 423 253 94 76 2,209 100.0

สัดส่วนผู้สำาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 จำาแนกตามระดับการศึกษา

84.4% ปริญญาตรี

14.9% ปริญญาโท 0.7% ปริญญาเอก


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ �ำ ปี 2 5 5 7

53


าร ล

M F U

สัดส่วนผู้สำาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

54

19.2% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

59.3% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์

21.5% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เปรียบเทียบจำานวนผู้สำาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 จำาแนกตามสำานักวิชา 600 500

หน่วย : คน 547 459

400 300

304 253

200

186

100 0

157

95

94

76

9

10

38

1

2

1. ศิลปศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ 3. การจัดการ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ

3

4

5

5. อุตสาหกรรมเกษตร 6. นิติศาสตร์ 7. วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง 8. วิทยาศาสตร์สุขภาพ

6

7

8

9. พยาบาลศาสตร์ 10. เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ป าร

า M F U

าร งานทํา ง ั

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้สำารวจภาวะการได้งานทำาของบัณฑิตระดับปริญญาตรี รุ่นที่ 11 ปีการศึกษา 2555 มีผู้ตอบแบบสำารวจ 1,682 คน เป็นผู้มีงานทำาร้อยละ 81.6 ได้งานทำาภายใน 1 ปี ร้อยละ 97.4 รายละเอียดดังนี้ การได้งานทำาของบัณฑิต ปีการศึกษา 2555 รายละเอียดข้อมูล

สถานภาพการทำางาน ทำางานแล้ว/ศึกษาต่อ ไม่ได้ทำางาน (ไม่รวมผู้ไม่ประสงค์ทำางาน) ประเภทของงานที่ทำา องค์กรเอกชน หน่วยงานภาครัฐ อาชีพอิสระ อื่นๆ ระยะเวลาการได้งานทำาหลังสำาเร็จการศึกษา ได้งานภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี ได้งานระหว่างศึกษา การได้งานทำาตรงสาขาวิชาที่สำาเร็จ ตรง ไม่ตรง

ร้อยละ

81.6 18.4 71.4 13.7 9.9 5.0 97.4 0.3 2.3 64.3 35.7

55


าร ล

จ ง

M F U

วาม ง 56

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้สำารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปีการศึกษา 2555 จำาแนกตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณลักษณะบัณฑิตตามอัตลักษณ์ พบว่าผูใ้ ช้บณ ั ฑิตมีความพึงพอใจในบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.95) ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รุ่นปีการศึกษา 2555 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านคุณลักษณะบัณฑิตตามอัตลักษณ์ (บัณฑิตมีคุณภาพ) ค่าเฉลี่ยรวม

ค่าเฉลี่ย

ระดับความพึงพอใจ

4.16 3.79 3.73 4.10 3.90

มาก มาก มาก มาก มาก

4.00 3.95

มาก มาก


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

า M F U

จ รรมและ าร ั นานั

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมุ่งมั่นในการสร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เป็นผู้ที่มี “ภูมิรู้และ ภูมธิ รรม” โดยมุง่ เน้นให้บณ ั ฑิตแม่ฟา้ หลวงเป็นผูท้ มี่ คี วามรอบรูใ้ นวิชาการทีศ่ กึ ษา เหมาะสมกับระดับปริญญาที่ได้รบั ทั้งทางด้านภาษาและองค์ความรู้ สามาถเปลี่ยนแปลงหรือประยุกต์ใช้ความรู้ที่มีอยู่ในการปฏิบัติภารกิจได้ด้วย ภูมปิ ญ ั ญาและภูมธิ รรม มีศกั ยภาพในการทำางานต่างวัฒนธรรมและมีความคิดริเริม่ ทีจ่ ะพัฒนาและปรับปรุงตนเอง และหน้าที่การงานอยู่เป็นนิจ ตระหนักถึงความสำาคัญของการอนุรักษ์และสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับสังคม มีมนุษยสัมพันธ์และคุณธรรมในการดำารงชีวติ มีความคิดกว้างไกลและสอดคล้องกับทิศทางของประชาคมนานาชาติ ยึดมัน่ ในเอกลักษณ์ของความเป็นไทยและมุง่ ประโยชน์ของสังคมและชาติเป็นหลัก เพือ่ บรรจุการสร้างบัณฑิตให้มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนกิจกรรมด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการส่งเสริมความเป็นนานาชาติ เป็นกิจกรรมที่มุ่งสร้างบรรยากาศความเป็นนานาชาติในมหาวิทยาลัย โดยจัดให้มีการเรียนการสอนเป็นภาษา อังกฤษ และกิจกรรมทีส่ ่งเสริมความเป็นนานาชาติให้แก่นกั ศึกษา ซึง่ ส่วนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และชมรมนานาชาติ (International Club) ร่วมดำาเนินการ โดยเน้นให้นักศึกษาเป็นผู้ดำาเนินกิจกรรมเอง อาทิ กิจกรรมค่ายภาษาฝรั่งเศส Myanmar Independence Day Exhibition 2014 กิจกรรมสานสัมพันธ์มิตรภาพ ไทย-ลาว ครั้งที่ 11 เป็นต้น

57


M F U

าร ล

58

ด้านวิชาการและพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมทีเ่ น้นการเสริมความรูท้ างวิชาการในหลักสูตร รวมถึงความรู้ทางวิชาการอื่นๆ ที่นอกเหนือจากที่ ระบุไว้ในหลักสูตร ซึง่ เป็นความรูท้ นี่ กั ศึกษาสามารถ นำาไปใช้พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย และนำาไปประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิตในสังคม เมือ่ สำาเร็จการศึกษาได้อย่างเหมาะสม อาทิ กิจกรรม สัมมนาผู้นำานักศึกษากับการประกันคุณ ภาพการ ศึกษา

ด้านนักศึกษาสัมพันธ์ กิจกรรมที่มหาวิทยาลัยร่วมกับองค์การนักศึกษาจัดขึ้น เพื่อสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีระหว่าง นักศึกษา รวมทั้งเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำาและเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย ตลอดจนเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ให้กับนักศึกษาก่อนเข้าสู่โลกของการใช้ชีวิตภายหลังจากการสำาเร็จ การศึกษา อาทิ กิจกรรมรับน้องเข้าซุ้ม กิจกรรมพี่น้องร่วมใจ ชิงธงสำานักวิชา และกิจกรรมอุ้มพระขึ้นดอย เป็นต้น ด้านกีฬาและสุขภาพ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีสุขภาพและพลานามัยที่ดี โดยสนับสนุนให้นักศึกษาใช้เวลาว่างในการเล่น กีฬาอย่างถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา ตลอดจนใช้กีฬาเป็นสื่อในการสร้างความ สามัคคี ในหมู่นักศึกษา รวมทั้งเป็นกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธ์ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและระหว่างสถาบัน โดยกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยได้เข้าร่วม อาทิ เจ้าภาพการจัดการแข่งขันกีฬาสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดเชียงราย -พะเยา-แพร่ ครั้งที่ 9 กิจกรรมขับขี่ปลอดภัย วินัยจราจร กิจกรรม เดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมกีฬา เฟรชชี่ และกิจกรรมกีฬาลำาดวนเกมส์ ครั้งที่ 12 เป็นต้น


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

59

ด้านส่งเสริมการทำานุบำารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่มุ่งหวังให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ ในขณะเดียวกัน ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู้ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของต่ า งชาติ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ระบบการเรี ย นการสอนของ มหาวิทยาลัย และส่งเสริมให้นักศึกษาใช้หลักศาสนาที่ตนนับถือเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และเป็นแนวทาง ในการดำารงชีวิต รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยสนับสนุนให้นักศึกษา เข้าร่วมและจัดกิจกรรมทำานุบำารุงส่งเสริมศาสนา และศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง อาทิ กิจกรรมพิธีบายศรี สู่ขวัญและงานเลี้ยงขันโตก กิจกรรมรื่นเริงยี่เป็ง กิจกรรม MFU Green Lifestyle กิจกรรมน้องใหม่ปลูกป่า กิจกรรมถวายเทียนพรรษา และกิจกรรมงานสมโภชผ้ากฐิน ประจำาปี 2556 เป็นต้น ด้านสังคมและบำาเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้มีจิตสาธารณะและมีความเสียสละเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน โดยสนับสนุนให้นักศึกษาจัดกิจกรรมเพื่อบำาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และได้เรียนรู้ถึงการ เป็นผู้ให้และการตอบแทนสังคม อาทิ กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันการโกง โครงการต้นกล้าของแผ่นดิน กิจกรรม วันเด็กแห่งชาติ เป็นต้น


M F U

ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต

60


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

าร รยม วาม ร ม น า รยนมหาว�ทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้เริ่มโครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนมหาวิทยาลัย (How to live and learn on campus) มาตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 โดยเล็งเห็นถึงความแตกต่างของระบบการเรียนรู้ในระดับ มัธยมศึกษาของนักศึกษาที่มาจากหลากหลายแห่ง ซึ่งมีผลกระทบต่อสัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้และการใช้ชีวิตของ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ประกอบกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีระบบการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก มหาวิทยาลัยจึงได้จัดโครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนสำาหรับนักศึกษาใหม่ทุกคน เพื่อให้นักศึกษา ได้มีโอกาสสร้างความคุ้นเคย ปรับตัว และเรียนรู้โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลาง รวมถึงเรียนรู้วิธีการใช้ชีวิตใน มหาวิทยาลัยอย่างมีความสุข โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย การสร้างความพร้อมในการศึกษาเล่าเรียน (How to learn) และการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตในสังคมมหาวิทยาลัย (How to live) นอกจากนี้ยังมี กิจกรรมเสริมอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นกิจกรรมเสริมความคิดเสริมประสบการณ์และได้ร่วมสนุกในเชิงวิชาการ และเชิงสร้างสรรค์ โดยนักศึกษาสามารถเลือกได้เองตามความสนใจ อาทิเช่น กิจกรรม Learning to Live Happily กิจกรรม Math for Survivors กิจกรรม Make Over กิจกรรม Chef for Fun กิจกรรม See you See me กิจกรรม Treasure Hunt กิจกรรม Learning to Love เป็นต้น

61


าร ล

ารและ ง ํานวย วาม ะ ว แ นั

M F U

วั 62

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ให้บริการและจัดสวัสดิการต่างๆ แก่นักศึกษา ทั้งด้านที่พักอาศัย การรักษาพยาบาล การคมนาคม การสนับสนุนทุนการศึกษา รวมถึงการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้สำาเร็จการศึกษาก่อนเข้าสู่ตลาด แรงงาน ด้านทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบายที่สำาคัญในการช่วยเหลือนักศึกษาด้านทุนการศึกษา คือ “จะไม่มีนักศึกษาคนใดที่เรียน ได้จะต้องออกจากมหาวิทยาลัยแห่งนีเ้ พราะความยากจน” เพือ่ สนองตอบนโยบายดังกล่าว ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยได้จัดให้มีทุนการศึกษาสำาหรับนักศึกษาหลายประเภท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 229,662,200 บาท ทุนการศึกษา

ทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล ทุนการศึกษาสำาหรับนักศึกษาต่างชาติ ทุนการศึกษาโครงการพิเศษ ทุนการศึกษาสิรินธร ทุนบริจาคทั่วไป ทุนประเภทอื่นๆ รวม

จำานวนเงิน (บาท)

209,385,400 7,545,900 2,530,600 1,876,000 7,976,800 347,500 229,662,200


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

63

ด้านที่พักอาศัยและการคมนาคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้พัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ ภายในมหาวิทยาลัยและพื้นที่หอพักนักศึกษาที่จะ สามารถบริการนักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านที่พักอาศัย มหาวิทยาลัยได้จัดสวัสดิการแก่ นักศึกษาที่ต้องการพักอาศัยภายในมหาวิทยาลัย จั ด สภาพแวดล้ อ มทางกายภาพที่ เ อื้ อ อำ า นวยให้ นักศึกษาใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยได้อย่างมีความสุข จัดอาคารหอพักให้มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดเหมาะสม ต่อการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตที่ดี ตั้งอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติและทัศนียภาพอันงดงาม มีลานกีฬากลางแจ้งให้นักศึกษาออกกำาลังกาย รวมทั้งจัดเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และจัดสิ่งอำานวยความสะดวกต่างๆ ไว้ให้บริการ อาทิ รถไฟฟ้าสำาหรับบริการรับส่งนักศึกษา ระบบอินเทอร์เน็ตในทุกอาคารหอพัก อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนกลาง ห้องทบทวนความรู้ประจำาแต่ละหอพัก ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดูโทรทัศน์ ตลอดจนร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหาร และร้านบริการซักอบรีด รวมถึงมีบุคลากรประจำาหอพักที่สามารถให้คำาปรึกษาในเรื่องการปรับตัว การใช้ชีวิต ในมหาวิทยาลัย การเรียน และคอยดูแลนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีหอพัก ให้บริการนักศึกษา จำานวน 16 หลัง สามารถรองรับนักศึกษาได้ 4,991 คน


M F U

าร ล

64

ด้านกีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัยมีสนามกีฬาอเนกประสงค์ที่มีมาตรฐาน พร้อมอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการให้บริการแก่นักศึกษา รวมถึงให้บริการสระว่ายนำ้าขนาดมาตรฐานเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาว่างอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีสุขภาพและพลานามัยที่ดี รวมถึงได้จัดสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล โดยความรับผิดชอบของ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ให้บริการแก่นักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

าร ั นา าร รยน าร น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ดำาเนินการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน โดยจัดให้มโี ครงการพัฒนาด้านวิชาการและพัฒนาอาจารย์ทมี่ งุ่ เน้นศักยภาพ และบทบาทของความเป็นอาจารย์ให้เข้าใจในกระบวนการพัฒนาแบบทดสอบ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา การเป็นอาจารย์ทปี่ รึกษาทีด่ ี การสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสำาคัญ โดยมีการดำาเนินกิจกรรมสำาคัญ อาทิ การส่งเสริม กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) English Proficiency Development for MFU Faculty staff เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ Teaching Rehearsal การพัฒนางานวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน Learning Development Club at MFU เป็นต้น

65


าร ล

งนั

M F U

ลงานท ํา ั 66

ผลจากการจัดการเรียนการสอนที่เน้นคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระดับสากลที่ผ่านมา ทำาให้นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงประสบความสำาเร็จในการนำาเสนอผลงานทางวิชาการและได้รับรางวัลในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง มาเป็นลำาดับ โดยในปี 2557 มีผลงานที่สำาคัญดังต่อไปนี้ รายนาม

1. นางสาวสุนันทา เกษนาวา

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

นักศึกษาระดับปริญญาเอก สำานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

ผลงาน

รางวัล “The Best Paper Award” ในการนำาเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “Three-phase Partitioning and Application of Alkaline Protease from Fish Viscera” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ “The 25th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference” (TSB 2013 จัดโดยสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งประเทศไทย (The Thai Society for Biotechnology; TSB) ร่วมกับมูลนิธิ เพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีชีวภาพ มูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 2. นายณรงค์ศักดิ์ ดวงติ๊บ นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชนะเลิศจากการประกวด สำานักวิชาศิลปศาสตร์ สุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง 3. นางสาวขวัญมนัส กุศล นักศึกษาระดับปริญญาตรี โครงการยอดเยี่ยมสาขาการแพทย์และ นางสาวปองวลัย รัตนานุกูล สำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาธารณสุข จากโครงการออกแบบสื่อ นายกิตติชัย เบิดโบ ANIMATION เพือ่ เปลีย่ นแปลงสุขลักษณะ นายชิษณุพงศ์ แสนวิชัย พื้นฐานและยับยั้งโรคหนอนพยาธิ ของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ในโครงการ กระทิงแดง U Project 4. นางสาวจีรนันท์ ศิลป์ศักศรี นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลรองชนะเลิศอันดับที ่ 1 ในโครงการ นางสาวชลิตา เมธา สำานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ประกวดนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหาร นางสาวจุฑารักษ์ ศรีสุวรรณวิเชียร ครั้งที่ 6 Food Innovation Contest นางสาวนิลเนตร ไชยเจริญ 2014 ภายใต้หัวข้อ “Innovation of OTOP Food Products for AEC จัดโดย สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทางอาหารแห่งประเทศไทย และ สำานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

5. นางสาวชลพิสุทธิ์ ตันตาปกุล

6. นางสาวเกศมณี สมอ๊อด

7. นายตะวัน แซ่เติ๋น นายยุทธการ ยองแสงจันทร์ นายวีระพล ชาติชาญ นายอรรถพันธ์ โชคบวรไพศาล 8. นางสาวพิมรักษ์ พันธุ์ประสิทธิ์ 9. นางสาวจุฑาทิพย์ ธีระรุจินนท์ นายสานิตย์ ไชยลวง นางสาวซารีฮาน สุหลง นายชัชชพันธ์ เล็กเจริญ 10. นายปรัชญา วงษ์สุนทร

11. นายธนพล อดิเรกวุฒิกุล

12. นายวิทยา สุวรรณากรรัตน์

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

ผลงาน

นักศึกษาระดับปริญญาเอก สำานักวิชาวิทยาศาสตร์

รางวัล Outstanding Oral Presentation จากการนำาเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “Benzophenones and Xanthones from Cratoxylum Sumatranum Root” ในการประชุมวิชาการ PACCON 2014 นักศึกษาระดับปริญญาเอก รางวัล Outstanding Poster สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ Presentation จากการนำาเสนอผลงาน วิจัยเรื่อง “STRUCTURE AND PROPERTIES OF STARCH-BASED BIONANOCOMPOSITE FOAMS REINFORCED BY BACTERIAL CELLULOSE” ในการประชุมวิชาการ PACCON 2014 นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลที่ 1 จากการแข่งขันแฮคกะธอน สำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ล้านนา 2557 (Hackathon Lanna 2014) โดยบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำากัด และ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

นักศึกษาระดับปริญญาตรี สำานักวิชาศิลปศาสตร์

รางวัลที่ 2 จากการแข่งขันการประกวด สุนทรพจน์ภาษาจีน “สะพานสูภ่ าษาจีน” ครั้งที่ 13 นักศึกษาระดับปริญญาตรี ผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 สำานักวิชาการจัดการ จากการแข่งขันทักษะการใช้ภาษา อังกฤษ ในโครงการ “Singha English Challenge จัดโดย บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่นจำากัด ร่วมกับ บริติช เคานซิล นักศึกษาระดับปริญญาตรี ตัวแทนของประเทศไทยไปทัศนศึกษา สำานักวิชาการจัดการ งาน IMEX 2014 ในโครงการ IMEXMPI-MCI-IT&CMA Future Leaders Forum 2013 นักศึกษาระดับปริญญาตรี แชมป์กลุ่มระดับฝีมือ 2 ดั้ง ในการ สำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ แข่งขันกีฬาหมากล้อมรายการ Bank of China Champ of Champs 2014 จัดโดยสมาคมกีฬาหมากล้อม แห่งประเทศไทย ร่วมกับ ธนาคาร แห่งประเทศจีน จำากัด สาขากรุงเทพฯ (แบงค์ ออฟ ไชน่า) นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชมเชยลำาดับที่ 3 ในการแข่งขัน สำานักวิชาศิลปศาสตร์ โครงการภาษาจีนเพชรยอดมงกุฏ ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 11 (นานาชาติ)

M F U

รายนาม

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

67


M F U

าร ล

68

รายนาม

ระดับการศึกษา/สำานักวิชา

13. นางสาวศิริวรรณ บุญวิเศษ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ SCG Excellent Internship โดยเครือ ปูนซีเมนต์ไทย (Siam Cement Group) นักศึกษาระดับปริญญาตรี ได้รับการคัดเลือกเป็น Google Student สำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ Ambassador Thailand 2014 และ เข้าร่วมการประชุม Google Student Ambassador Southeast Asia (GSA SEA) ประเทศฟิลิปปินส์ นักศึกษาระดับปริญญาโท รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ รอบคัดเลือกโครงการ IDEA to เครื่องสำาอาง Product Contest 2013 โดยโครงการ อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ นักศึกษาระดับปริญญาโท สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ นักศึกษาระดับปริญญาตรี รางวัลชมเชย รอบคัดเลือกโครงการ สำานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร IDEA to Product Contest 2013 โดยโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคเหนือ สำานักวิชาศิลปศาสตร์

14. นางสาวกฤติยากร กิ้มสวัสดิ์ นางสาวอรุณี กำาเหนิด

15. นางสาวอนงค์นุช ต๊ะคำา นางสาววรรณิศา วิชิต นายนัฐดนัย เอี๋ยวสกุล 16. นางสาวสุดกัลยา เผ่าวณิชย์ นางสาวณัฐธิดา ขุนหมุด นางสาวจิราพรรณ อยู่แสง

ผลงาน


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

การวิจัย

69


M F U

า ร วิ จั ย

70

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมุ่งพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัย ทั้งงานวิจัยด้านวิชาการและงานวิจัยประยุกต์เพื่อการ พัฒนาประเทศ โดยเน้นการวิจัยที่สอดคล้องกับทิศทาง การวิจยั ของประเทศ เพือ่ สร้างองค์ความรูแ้ ละถ่ายทอด เทคโนโลยีที่จำาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยทั้งในประเทศ และต่ า งประเทศ นำ า องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ ม าบู ร ณาการ ใช้ประโยชน์ทั้งในหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน รวมทั้ง สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย ทั้ ง ใน ระดับชาติและนานาชาติ

ารว�จัยทางว� า าร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ให้การสนับสนุน ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อผลิตผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีการดำาเนินการวิจัยรวม 110 โครงการ จัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัย จำานวน 42,615,340 บาท จำาแนกเป็นงบประมาณของมหาวิทยาลัย 18,809,320 บาท และงบประมาณจากแหล่งทุน ภายนอก 23,806,020 บาท กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การจัดการ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เครื่องสำาอาง อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สุขภาพ พยาบาลศาสตร์ แพทยศาสตร์ รวม

จำานวนโครงการวิจัย

งบประมาณ (บาท)

ร้อยละ

32 8 4 20 54 29 3 12 10 24 14 7 3 110

14,461,230 7,249,390 2,161,540 5,050,300 20,216,190 13,391,065 445,000 4,230,125 2,150,000 7,937,920 5,578,120 1,518,500 841,300 42,615,340

33.9

47.4

18.7

100.0


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

สัดส่วนโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จำาแนกตามแหล่งงบประมาณ

71

55.9% แหล่งทุนภายนอก

44.1% งบประมาณมหาวิทยาลัย

สัดส่วนงบประมาณโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา

47.4% กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

33.9% กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 18.7% กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ


า ร วิ จั ย

M F U

งบประมาณสนับสนุนการวิจัยเฉลี่ยต่ออาจารย์ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

72

กลุ่มสาขาวิชา/สำานักวิชา

งบประมาณ

กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวม

จำานวนอาจารย์

เฉลี่ย (บาท) ต่อคน

214 121 162 497

67,576 167,076 49,000 85,746

14,461,230 20,216,190 7,937,920 42,615,340

เปรียบเทียบงบประมาณสนับสนุนการวิจัยเฉลี่ยต่ออาจารย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ตามกลุ่มสาขาวิชา 200,000

หน่วย : บาท 167,076

150,000 100,000 67,576

50,000

49,000

0 กลุ่มสาขาวิชา สังคมศาสตร์

กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ

าร ยแ ร ลงานว�จัยและ ลงานทางว� า าร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ ดังนี้ จำานวนผลงานที่เผยแพร่ (เรื่อง) ระดับการเผยแพร่

การเผยแพร่ในระดับนานาชาติ การเผยแพร่ในระดับชาติ รวม

กลุ่มสาขาวิชา สังคมศาสตร์

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

รวม

13 50 63

84 46 130

16 35 51

113 131 244


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

เปรียบเทียบการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จำาแนกตามกลุ่มสาขาวิชาและ ระดับการเผยแพร่ ระดับนานาชาติ

ระดับชาติ

100

หน่วย : เรื่อง 84

80 60 50

46

40

35

20

16

13

0 กลุ่มสาขาวิชา สังคมศาสตร์

ลงานทรั ย นทางป

กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ทั้งสิทธิบัตรและ อนุสิทธิบัตร รวมทั้งสิ้นจำานวน 14 ผลงาน รายละเอียดดังนี้ สิทธิบัตร

1. 2. 3. 4.

กระบวนการเตรียมนำ้ามันเมล็ดยางพาราเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เครื่องสำาอาง การเพิ่มปริมาณนำ้ามันหอมระเหยไม้กฤษณาจากการหมักกับจุลินทรีย์ เตาเผาเซรามิกผนังสองชั้น นาโนคอมโพสิตชีวภาพของไคโตซานและอนุพันธ์เซลลูโลส

อนุสิทธิบัตร

5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

สารผสมสำาหรับบรรเทาอาการปวดและอักเสบที่มีสารสกัดเนระพูสีไทย เจลที่มีส่วนผสมของสารสกัดเนระพูสีไทยสำาหรับบรรเทาอาการอักเสบ สารประกอบเชิงซ้อนเคอร์คูมิน นำ้ามันนวดที่มีส่วนผสมของนำ้ามันหอมระเหยจากผลมะแขว่น สูตรนาโนอิมัลชันจากน้ำามันมะรุมที่มีความคงตัวและกรรมวิธีการเตรียม การเตรียมสารสกัดรวงข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ที่มีปริมาณฟีนอลิครวมสูงเพื่อใช้ในการผลิตเวชสำาอาง แผ่นวัสดุที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบและกรรมวิธีการผลิต สารประกอบโลหะเชิงซ้อนข้าวเหนียวดำา กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดมาตรฐานผลไม้ที่มีฤทธิ์ต้านเอนไซม์อีลาสเตสและคอลลาจีเนส อนุภาคนาโนบรรจุสารสกัดสมุนไพรทิ้งถ่อนที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

73


M F U

ก า ร วิ จั ย

74


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ลงานว�จัย น ECO-Roof Tile ผลพลอยได้จากเหมืองแร่บอลเคลย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธี วัฒนศิริเวช สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแผ่นกระเบือ้ งคอนกรีตของมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงให้แก่บริษทั ท่าจำาปี จำากัด โดยใช้วัตถุดิบที่เป็นผลพลอยได้จากการทำาเหมืองดินบอลเคลย์เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ยังไม่ได้ ถูกนำามาใช้ประโยชน์และมีปริมาณสำารองที่สูงถึงหนึ่งแสนเมตริกตัน นำากลับมาใช้ประโยชน์โดยการผลิตเป็น กระเบื้องคอนกรีต เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านและชุมชน การพัฒนาเห็ดป่าเพื่อเผยแพร่สู่ชุมชน สำานักวิชาวิทยาศาสตร์ และสถาบันความเป็นเลิศทางด้านการวิจัยเห็ดและรา เห็ดเป็นแหล่งอาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการและยังสามารถนำามาบริโภคเป็นยา อีกทัง้ ยังมีการวิจยั และพัฒนา ทางด้านสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอีกทางหนึ่ง งานวิจัยการพัฒนาเห็ดป่าเป็นการวิจัยที่สามารถนำามาเพาะและ ปรับปรุงพันธุ์เพื่อตอบสนองความต้องการผู้บริโภคและยังสามารถพัฒนาเพื่อสร้างรายได้และอาชีพแก่คนใน ชุมชนอีกทางหนึ่ง

75


M F U

า ร วิ จั ย

76

EMG Biofeedback อาจารย์หฤทัย เพ็ชรวิเศษ การพัฒนาเครื่องมือป้อนกลับทางชีวภาพโดยใช้กระแสไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อแบบประดิษฐ์เองเป็นการพัฒนา อุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อทดแทนการนำาเข้าจากต่างประเทศ และทำาให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึง เทคโนโลยีที่ทันสมัย เครื่องมือป้อนกลับทางชีวภาพโดยใช้กระแสไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อแบบประดิษฐ์เอง สามารถแสดงค่าการหดตัว ของกล้ามเนื้อโดยแสดงเป็นกราฟ และมีสัญญาณเสียงและสัญญาณแสงเตือนเมื่อมีการหดตัวของกล้ามเนื้อ ที่ไม่ได้อยู่ในช่วงที่ต้องการ เป็นข้อมูลป้อนกลับเพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ถูกต้อง แผ่นวัสดุที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธี วัฒนศิริเวช และคณะ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นวัสดุ เช่นกระเบื้องคอนกรีตเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง ให้มีนำ้าหนักเบา ต้นทุนตำ่า แต่ยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยได้เลือกเถ้าแกลบข้าวซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการ เกษตรมาเป็นส่วนผสมในการผลิต โดยนำาเถ้าแกลบที่ผ่านการเผาไหม้ซึ่งมีทั้งซิลิกาและคาร์บอนรวมอยู่ผสม ลงในปูนซีเมนต์ จะได้ความแข็งแรงซึง่ เกิดจากการทำาปฏิกริ ยิ าของซิลกิ ากับปูนซีเมนต์ และเนือ่ งจากคุณสมบัติ ทั่วไปของคาร์บอน คือ มีความพรุนสูง จะช่วยลดนำ้าหนักของผลิตภัณฑ์ให้เบาลงและเป็นฉนวนความร้อนได้ดี อีกด้วย อีกทั้งจะให้เนื้อผลิตภัณฑ์มีเฉดสีที่เข้มขึ้นกว่าเดิม โดยไม่ต้องเติมหรือเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยผงสี สังเคราะห์ ซึ่งถือเป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ทางการ เกษตรให้เกิดคุณค่าสูงสุด และลดผลกระทบจากการผลิตปูนซีเมนต์ได้อีกทางหนึ่ง ลักษณะเด่นของงานวิจัย คือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีนำ้าหนักเบากว่าปกติ และเป็นฉนวนความร้อนได้ดี เนื้อผลิตภัณฑ์ มีเฉดสีทเี่ ข้มแปลกตาขึน้ กว่าเดิม โดยไม่ตอ้ งเติมหรือเคลือบผลิตภัณฑ์ดว้ ยผงสีสงั เคราะห์และสามารถนำาไปใช้ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องรับแรงได้ เช่น แผ่นกระเบื้องหลังคา แผ่นปูพื้น หรืออิฐก่อผนัง เป็นต้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

การบริการ วิชาการ พัฒนาสังคม และชุมชน

77


า ร ริ า ร วิ า า ร ั

นา ัง มและ ม น

M F U

าร ร� ารว� า าร 78

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีความมุ่งมั่นส่งเสริมและสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านการบริการทางวิชาการ ในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการจัดทำาโครงการความร่วมมือทางวิชาการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนภาคเหนือตอนบน และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม ทั้งในรูปแบบ ของการฝึกอบรมสัมมนา การประชุมวิชาการ การเผยแพร่บทความทางวิชาการในด้านการเกษตร ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการแพทย์เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และประโยชน์จากองค์ความรู้ในด้านต่างๆ รวมถึงการจัดให้บริการด้านสุขภาพแก่ชุมชน เน้นการมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกัน โดยใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้จัดให้มีการอบรมและสัมมนา การบรรยายพิเศษทางวิชาการ การเผยแพร่ความรู้ บทความ และการจัดนิทรรศการ รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ สรุปได้ดังนี้ ประเภทที่ให้บริการ (กิจกรรม) สาขาที่ให้บริการ

ด้านการเกษตร ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวม

อบรม สัมมนา

วิทยากร

ที่ปรึกษา

เผยแพร่ บทความ

จัดการ แข่งขัน

อื่นๆ

รวม

11 11 3 9 15 49

11 6 10 30 41 98

5 1 2 16 33 57

13 1 5 5 7 31

1 1 2

11 8 8 27

40 30 21 69 104 264


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

สัดส่วนการบริการวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามสาขาที่ให้บริการ

39.4% ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 26.0% ด้านสังคมศาสตร์

15.2% ด้านการเกษตร 11.4% ด้านวิทยาศาสตร์ 8.0% ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

สัดส่วนการบริการวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2557 จำาแนกตามประเภทที่ให้บริการ

18.6% อบรมสัมมนา 10.2% อื่นๆ 0.8% จัดการแข่งขัน 11.7% เผยแพร่บทความ

37.1% วิทยากร 21.6% ที่ปรึกษา

79


า ร ริ า ร วิ า า ร ั

นา ัง มและ ม น

M F U

าร ร� ารว� า ารท ํา ั นป ง ประมา 80

สัมมนาครูแนะแนว เพื่อเดินตามพระราชปณิธานของสมเด็จย่าที่ต้องการให้คนไทยมีการศึกษาที่ดี มีความรู้ความสามารถออกไป รับใช้สงั คม การสัมมนาครูแนะแนวมีจดุ ประสงค์ตอ้ งการให้ครูแนะแนวได้มาสัมผัสประสบการณ์จริงถึงรูปแบบ การเรียนการสอน รวมถึงหลักสูตรของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การบรรยายทางวิชาการ “39 ปี แห่งการสถาปนา ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน” มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยสำานักวิชาศิลปศาสตร์ จัดการบรรยายทางวิชาการด้านจีนศึกษาเนื่องในโอกาส “39 ปี แห่งการสถาปนา ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน” เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจสำาหรับผู้ที่สนใจและ นักศึกษาที่ศึกษาด้านภาษาจีน ซึ่งต้องเรียนรู้ควบคู่ทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เพื่อนำาไปปรับใช้ในโลกยุคใหม่ที่จีนก้าวเข้ามามีบทบาทในเวทีโลกมากขึ้น การประชุมวิชาการ “การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์เพื่อก้าวสู่ป ระชาคมอาเซียน (Medical Preparedness for AEC)” มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้จัดการประชุมวิชาการ หัวข้อ “การเตรียมความพร้อมทางการแพทย์เพื่อก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน (Medical Preparedness for AEC)” เนื่องในโอกาสวันมหิดล ประจำาปี 2557 โดยได้จัด ให้มีการบรรยายและเสวนาในห้อข้อต่าง อาทิ การสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดเชียงราย การเตรียมความพร้อม ด้านการสาธารณสุข การวางแผนเพือ่ รับมือสาธารณภัย โรคอุบตั ใิ หม่ การแพทย์ทางเลือก โดยได้รบั เกียรติจาก บุคคลในวงการสาธารณสุข อาทิ นายแพทย์อาวุธ ศรีสกุ รี เลขาธิการกลุม่ สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ผู้ดูแลมาตรฐานการผลิตแพทย์ในประเทศ รวมถึงการปาฐกถาพิเศษ โดยนายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายก แพทยสภา ในหัวข้อการแพทย์ไทยเมื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การประชุมวิชาการนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำาปี 2557 หัวข้อบทบาทของจีน ที่มีต่อการรวมตัวของประชมคมอาเซียน (Impact of China towards ASEAN Integration) การประชุมวิชาการนานาชาติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำาปี 2557 ในหัวข้อ “บทบาทของจีนที่มีต่อการรวม ตัวของประชาคมอาเซียน (Impact of China towards ASEAN Integration)” ระหว่างวันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2557 โดยได้รบั เกียรติจากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒ ิ คือ ดร.สุรเกียรติ ์ เสถียรไทย ประธานคณะมนตรีเพือ่ สันติภาพ และความปรองดองแห่งเอเชีย (APRC) และอดีตรองนายกรัฐมนตรี และนายหนิง ฟู่ขุย เอกอัครราชทูตจีน ประจำาประเทศไทย นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติจาก นายธนากร เสรีบุรี รองประธานกรรมการบริษัทเครือเจริญ โภคภัณฑ์ จำากัด บรรยายในหัวข้อ “แนวโน้วการลงทุนของจีนในกลุ่มประเทศอาเซียน” โครงการพัฒนาครูชนบท มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงโดยมูลนิธมิ หาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงได้ดาำ เนินโครงการพัฒนาครูชนบทมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยตระหนักถึงความสำาคัญของการพัฒนาการศึกษาไทย ซึง่ ปัจจัยสำาคัญประการหนึง่ คือ คุณภาพของครู จึงได้ จับมือกับโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วจังหวัดเชียงราย จำานวน 46 แห่ง เพื่อร่วมกันพัฒนาครูเพื่อยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระวิชา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ได้จัดกิจกรรม “การอบรมเพื่อพัฒนา เทคนิคการสอนและเนื้อหาสาระวิชา” ให้แก่ครูระดับมัธยมศึกษาทั่วจังหวัดเชียงราย จำานวนกว่า 1,200 คน เพื่อเพิ่มพูนความรู้เนื้อหาตามสาระวิชา 8 กลุ่มสาระ เพื่อให้ครูมีความรู้ด้านเนื้อหาสาระนำาไปสู่การสร้างความ มัน่ ใจในการสอนในชัน้ เรียน รวมถึงเทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายสามารถนำาไปประยุกต์ใช้กบั การเรียนการสอน ในโรงเรียนได้จริง โดยได้วทิ ยาการจากคณาจารย์ ผูท้ รงวุฒ ิ รวมถึงผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละสาขาวิชาในการถ่ายทอด วิชาการเสริมความแข็งแกร่งให้กับครูผู้สอน อันจะนำาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

81


า ร ริ า ร วิ า า ร ั

M F U

าร ร� าร

นา ัง มและ ม น

82

นอกจากการให้บริการวิชาการ และพัฒนาสังคมและชุมชนแล้ว มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงยังให้บริการสุขภาพ แก่ชุมชนโดยรอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตด้านสุขอนามัยให้กับประชาชนในชุมชนต่างๆ และ มุ่งเน้นเป็นศูนย์การแพทย์ในกลุ่มประเทศลุ่มแม่นำ้าโขง ให้บริการทางการแพทย์โดยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง ทั้งแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก เน้นให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางการรักษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ได้เปิดให้บริการคลินกิ แพทย์แผนจีน โดยให้บริการฝังเข็มเพือ่ การรักษาโรคเรือ้ รัง การลด ความปวดด้วยการนวดแบบจีน (Tui na) การนวดนรีเวชศาสตร์ และการรักษาโดยใช้ยาสมุนไพรจีน นอกจากนี้ยัง เปิดให้บริการคลินิกเด็กเพื่อให้บริการเฉพาะทาง เป็นการรักษาพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเด็ก ที่ครอบคลุมทั้งด้าน ทันตกรรมเด็ก การตรวจสุขภาพ รักษาโรค ฉีดวัคซีน โภชนาการ และพัฒนาการ โครงการทันตกรรมบรมราชชนนี มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงได้เริม่ ดำาเนินการโครงการทันตกรรมบรมราชชนนี เมือ่ ปี พ.ศ. 2555 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น การถวายพระเกี ย รติ แ ละสื บ สานพระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ในการตระหนั ก ถึ ง ความสำ า คั ญ ของปั ญ หาสุ ข ภาพฟั น และช่ อ งปากของประชาชน โดยการดำ า เนิ น งาน ของทีมอาสาเฉพาะทันตแพทย์และบุคลากรอาสา ให้การบริการด้านการถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน ตลอดจน โรคต่างๆ ในช่องปาก รวมถึงการให้ความรู้ด้านการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ ยากไร้ ด้อยโอกาส ทีม่ ปี ญ ั หาทางสุขภาพฟันและปาก อีกทัง้ เสริมสร้างและสนับสนุนทันตแพทย์และทันตบุคคล ให้มีจิตบริการและจิตสาธารณะ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ประเภทการให้บริการ

การส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กวัยเรียน การบริการทันตกรรมและการส่งเสริมงานทันตกรรมป้องกันในชุมชน การให้บริการรักษาทางทันตกรรม ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ การส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเยาวชนชายที่เข้าบวชในพระพุทธศาสนา รวม

ผู้รับบริการ (คน)

398 535 332 107 824 2,196

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มร่วมใจต้านภัยหนาว โครงการส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุและกลุม่ ร่วมใจต้านภัยหนาว เป็นโครงการร่วมมือระหว่างชุมชนเทศบาลตำาบล ท่าสุด เทศบาลตำาบลแม่ข้าวต้ม และมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำานัก วิชาพยาบาลศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนพัฒนานักศึกษาและองค์กรนักศึกษา ในการส่งเสริม สุขภาพ โดยการให้บริการตรวจสุขภาพปากและฟัน ให้ความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดช่องปาก วัดความ ดันโลหิต วัดดัชนีมวลกาย วัดมวลกระดูก และจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของบุหรี่และสุรา รวมทั้ง ได้แจกผ้าห่มให้ผู้สูงอายุและผู้ขาดแคลนในชุมชน โครงการ “ส่งเสริมสุขภาพภาวะผูป้ ว่ ยพิการ ผูป้ ว่ ยเรือ้ รังและผูด้ อ้ ยโอกาส และให้บริการทางการ แพทย์แก่ชุมชน” มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง โดยสำานักวิชาพยาบาลศาสตร์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แม่ฟา้ หลวง ศูนย์บรรณสารและสือ่ การศึกษา ศูนย์บริการวิชาการ และส่วนพัฒนานักศึกษา ร่วมกับบริษทั เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) จัดโครงการ “ส่งเสริมสุขภาวะผู้ป่วยพิการ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ด้อยโอกาส และ ให้บริการทางการแพทย์แก่ชุมชน” ให้แก่โรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดน เทศบาลตำาบลท่าสุด และประชาชน ในเขตพื้นที่ตำาบลท่าสุด โดยการนำานักศึกษาเข้าการสำารวจและวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน และ นักเรียนโรงเรียนตำารวจตระเวณชายแดนเทศบาลตำาบลท่าสุด รวมถึงให้บริการตรวจรักษาและให้คำาแนะนำา ให้การดูแลสุขภาพทั่วไป รวมทั้งปัญหาสุขภาพฟัน โดยคณะทันตกรรมเคลื่อนที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน การจัดให้มีห้องสมุดในโรงเรียนและห้องสมุด ของเล่นที่ช่วยสร้างเสริมพัฒนาการความฉลาดทางอารมณ์

M F U

โดยเฉพาะในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีผู้เข้ารับการรักษาเป็นจำานวน 2,196 คน มีการให้บริการสุขภาพ ดังนี้

83


า ร ริ า ร วิ า า ร ั

า งาน

M F U

าร ยยม ม

นา ัง มและ ม น

84

การเยี่ยมชม ศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายในประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีหน่วยงานเข้าเยีย่ มชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ รวม 94 คณะ ได้แก่ ด้านบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้านภูมิทัศน์ ด้านอื่นๆ

56 คณะ 9 คณะ 8 คณะ 15 คณะ 6 คณะ

การเยี่ยมชม ศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่างประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีหน่วยงานจากต่างประเทศเข้าเยีย่ มชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัย จำานวน 13 ประเทศ 24 คณะ ได้แก่ สหราชอาณาจักร สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐเช็ก ราชอาณาจักรภูฎาน มาเลเซีย สาธารณรัฐฝรั่งเศส สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

1 คณะ 3 คณะ 7 คณะ 1 คณะ 1 คณะ 1 คณะ 1 คณะ 3 คณะ 2 คณะ 1 คณะ 1 คณะ 1 คณะ 1 คณะ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

การทำานุบำารุง ศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

85


M F U

า ร ท ำา น ำา ร ง ล ป วั

86

น ร ร ม แ ล ะ น รั

งแว ล ม

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีความมุ่งมั่นส่งเสริมและสนับสนุนการทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ อนุรักษ์และ ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมประเพณีของชาวล้านนาและภาคเหนือตอนบน ร่วมมือกับท้องถิ่นในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือกับท้องถิ่นในการแสดง ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การดำาเนินการส่งเสริมและสนับสนับภารกิจในการทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทั้งการ จัดกิจกรรมประจำาปีเพื่อปลูกฝังจิตสำานึกให้กับนักศึกษา และการให้ความร่วมมือกับท้องถิ่นในการเข้าร่วมและ สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน ได้แก่ พิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษา กิจกรรมสรงนำ้าสงกรานต์พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พิธีสรงนำ้า พระเจ้าล้านทองเฉลิมพระเกียรติฯ พิธีดำาหัวอธิการบดี กิจกรรมถวายผ้ากฐินสามัคคี กิจกรรมตักบาตรหนังสือ กิจกรรมถวายเทียนเข้าพรรษา กิจกรรมน้องใหม่ใส่บาตร เป็นต้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ารย รรมล มแม นํา ง M F U

รง ารจั ัง

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

87

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าโขงจัดขึ้นตามแนวทางของมหาวิทยาลัยที่มีวัตถุประสงค์ในการ ดำาเนินการรวบรวมและอนุรักษ์วัตถุทางวัฒนธรรมตามหลักวิชาการ จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนและรูปแบบ นิทรรศการกึ่งถาวรในพิพิธภัณฑ์ จัดทำาฐานข้อมูลความรู้เกี่ยวกับอนุภูมิภาคลุ่มนำ้าโขง รวมถึงวิจัยหาองค์ความรู้ ทางด้านวัฒนธรรม โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีการดำาเนินงานในรูปแบบโครงการที่สำาคัญ อาทิ โครงการเครือข่ายความร่วมมือวัฒนธรรมลุ่มนำ้าโขง ได้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ อาทิ ปาตานี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น เพื่อนพิพิธภัณฑ์เชียงราย โรงเรียนองค์การบริหารส่วนตำาบลทรายขาว โครงการจัดหาและอนุรักษ์วัตถุทางวัฒนธรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ได้รับวัตถุทางวัฒนธรรมจำานวนทั้งสิ้น 50 ชิ้น เป็นวัตถุทางวัฒนธรรมที่ได้รับการ บริจาค 7 ชิ้น และจัดซื้อ 43 ชิ้น โครงการพิพิธภัณฑ์เสวนา ได้มีการจัดพิพิธภัณฑ์เสวนาในหัวข้อ • เฉี่ยว เสียว ลุ้น กับหนังสั้นที่น่าจะแบน ไปให้สุดขอบเซ็นเซอร์ อย่างมีชั้นเชิงศิลปะ • วาทกรรมเสียดินแดน ปราสาทเขาพระวิหาร และแนวทางการสร้างมรดกวัฒนธรรมร่วมอาเซียน โครงการสำารวจศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ในสิบสองปันนา ได้ดำาเนินการลงพื้นที่ ในเขตปกครองตนเองชนชาติไต สิบสองปันนา มณฑลยูนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ในประเด็นความเชื่อมโยงของศาสนา ความเชื่อ วิถีชีวิต และเส้นทางเศรษฐกิจโบราณ


า ร ท ำา น ำา ร ง ล ป วั

งแว ล ม

า รมหาว�ทยาลัยแม ฟ าหลวง ลม ระ ยร

รร า

M F U

วน

น ร ร ม แ ล ะ น รั

88

ด้วยความพร้อมด้านลักษณะภูมิประเทศและด้วยเจตนาอันแน่วแน่ที่จะสร้างพื้นที่ทุกตารางเมตรของมหาวิทยาลัย ให้มีความร่มรื่นและมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่นักศึกษาและประชาชนสามารถมาศึกษาหาความรู้ทาง พฤกษศาสตร์ได้ในลักษณะทีเ่ ป็นอุทยานการศึกษาทางพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยจึงได้รเิ ริม่ ทีจ่ ะพัฒนาพืน้ ทีท่ งั้ หมด ของมหาวิทยาลัย จำานวน 4,999 ไร่ ให้เป็นสวนพฤกษศาสตร์ และใน พ.ศ. 2550 เป็นปีมหามงคลเนื่องในวโรกาส ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงได้เริม่ ดำาเนินโครงการ “สวนพฤกษศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการสะสม พรรณไม้ทั้งในประเทศ ต่างประเทศ พร้อมจัดแสดงพรรณไม้ในรูปแบบของสวนที่แตกต่างกัน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีการดำาเนินการดังนี้ สวนสมุนไพร : ดำาเนินการสร้างสวนสมุนไพรอาเซียน บนพื้นที่ 2 ไร่ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ภายในบริเวณสวนมีศาลาชมสวน และทางเดินในพื้นที่สวนระยะทางกว่า 200 เมตร พร้อมจัดภูมิทัศน์สวยงาม โดยรอบปีที่ผ่านมามีผู้เข้าเยี่ยมชม 305 คน ทั้งจาก หน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศ นอกจากนี้ ได้มีการพัฒนาพื้นที่รกร้าง พร้อมทั้งออกแบบและปรับพื้นที่ ให้เหมาะสมแก่การเพาะปลูกเพื่อการจำาหน่ายพืชสมุนไพร บนพื้นที่ 9 ไร่ สวนวิวัฒนาการ : ภายในบริเวณประกอบด้วยศาลาไม้ 3 หลัง ลานปูอฐิ มอญเพือ่ เพราะเลีย้ งมอสส์ พร้อมทางเดิน และบันไดคอนกรีตความยาวกว่า 350 เมตร บ่อลำาธารที่ตกแต่งด้วยเฟิร์นและพรรณไม้ต่างๆ อุทยานไม้ดอก : พัฒนาและปรับปรุงพืน้ ทีเ่ ป็นสวนอุทยานไม้ดอก จำานวน 2 ไร่ และทำาการจัดซือ้ ไม้ดอกไม้ประดับ ปลูกในพื้นที่จำานวน 23 ชนิด ทั้งหมดประมาณ 1,200 ต้น สวนนานาชาติ : จัดเตรียมพื้นที่และจัดสร้างโรงเรือนเพาะชำาซากุระ จำานวน 3 โรงเรือน เพื่อรองรับกล้าซากุระ จำานนวน 1,500 ต้น ในส่วนของการเพาะขยายพันธุ์ไม้และสะสมพรรณไม้นั้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีการขยายพันธุ์ไม้ จำานวน 67 ชนิด แบ่งเป็นไม้ดอก 12 ชนิด ไม้ประดับ จำานวน 29 ชนิด และไม้ยืนต้น จำานวน 26 ชนิด


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

ความร่วมมือ กับหน่วยงานอื่น

89


ว า ม ร่ ว ม ม

ั ห น่ ว ย ง า น น

M F U

วามร วมม ั หน วยงาน างประ ท 90

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้พัฒนาความร่วมมือกับสถาบันและองค์กรต่างประเทศภายใต้ข้อตกลงประเภทต่างๆ ทัง้ การพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน การทำาวิจยั การแลกเปลีย่ นบุคลากร นักศึกษา ตลอดจนการจัดกิจกรรมทางวิชาการ โดยได้ขยายเครือข่ายสู่ระดับนานาชาติกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานทุกทวีปทั่วโลก จำานวน 38 แห่ง ภายใต้ ข้อตกลง 46 ฉบับ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ประเทศ

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ญี่ปุ่น

สาธารณรัฐเกาหลี

หน่วยงาน

1. Bogor Agricultural University 2. MoA ASEAN Inter-Universities Collaboration on Food & Agro-based Engineering and Technology Education (Bogor Declaration) 3. Graduate School of Horticulture and Faculty of Horticulture, Chiba University 4. Department of Dermatology, Kagoshima University 5. Juntendo University 6. Nagaoka University of Technology 7. Faculty of Agriculture, Shinshu University 8. Ajou University 9. Duksung Woman’s University 10. The College of Biochemical Sciences, Kangwon National University


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐประชาชนจีน

สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) สาธารณรัฐออสเตรีย ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม สาธารณรัฐเช็ก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

สมาพันธรัฐสวิส สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา

หน่วยงาน

11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38.

National University of Laos (NUOL) Northern Law College (NLC) Souphanouvong University Universiti Putra Malaysia Universiti Sains Malaysia Universiti Teknologi MARA University of Northern Philippines Beijing Language and Culture university Fudan University Guangzhou University of Chinese Medicine Guizhou Academy of Agricultural Xiamen University Asia University National Chung Hsing University Management Center Innsbruck Ghent University GROUP-T Leuven Engineering School The Mendel University in Brno University of South Bohemia Fraunhofer Institute for Factory Operation and Automation Ingolstadt University of Applied Sciences Universita.. t Hohenheim Otto von Guericke University Magdeburg FHS. St. Gallen University of Applied Sciences Breakspear Medical Group Ltd. University of Brighton University of Wisconsin Milwaukee Interlink Language Center

M F U

ประเทศ

91


ว า ม ร่ ว ม ม

ั ห น่ ว ย ง า น น

M F U

วามร วมม ั หน วยงาน นประ ท 92

มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงมีการพัฒนาความร่วมมือและการดำาเนินกิจกรรมความร่วมมือระหว่างสถาบันและองค์กร ในประเทศภายใต้ขอ้ ตกลงความร่วมมือ เป็นจำานวนกว่า 40 ฉบับ ทัง้ ด้านการจัดการเรียนการสอน การแลกเปลีย่ น ข้อมูลทางวิชาการ การวิจัย การบริการวิชาการ และการพัฒนาบุคลากร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ลงนามข้อตกลงแลกเปลี่ยนความร่วมมือเพิ่ม จำานวน 5 ฉบับ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ หน่วยงาน

1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จำากัด 3. ขนส่งจังหวัดเชียงราย 4. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) 5. บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน)

ข้อตกลงแลกเปลี่ยนความร่วมมือ

ความร่วมมือทางวิชาการ การตรวจสอบการลอกเลียน งานวรรณกรรมด้วยโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ ความร่วมมือด้านวิชาการและบุคลากร ความร่วมมือในการจัดอบรมภาคทฤษฎีการทำาใบอนุญาตขับขี่ ความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาองค์กรทีม่ หี น้าทีร่ บั รอง สมรรถนะทางบุคคลตามมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ความร่วมมือด้านการวิจัย การเรียนการสอน และการบริการ วิชาการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

กิจกรรมสำาคัญ และผลงานเด่น

93


จ ร ร ม ำา ั

และ ลงาน ่น

M F U

จ รรม ํา ั นร ป 94

วันที่ 5 ธันวาคม 2556 พิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา


วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินแทนพระองค์ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำาเร็จการศึกษา ประจำาปีการศึกษา 2555

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

95


M F U

จ ร ร ม ำา ั

96

และ ลงาน ่น

วันที่ 22 เมษายน 2557 พิธีสรงนำ้าสงกรานต์พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พิธีสรงนำ้าพระเจ้าล้านทองเฉลิมพระเกียรติฯ และพิธีดำาหัวอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


วันที่ 18 กรกฎาคม 2557 พิธีทานหาแม่ฟ้าหลวง

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

97


M F U

จ ร ร ม ำา ั

98

และ ลงาน ่น

วันที่ 27 กรกฎาคม 2557 พิธีลงนามถวายพระพร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมาร เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ


วันที่ 8 สิงหาคม 2557 พิธีลงนามถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

99


M F U

จ ร ร ม ำา ั

100

และ ลงาน ่น

วันที่ 25 กันยายน 2557 กิจกรรมสถาปนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ครบรอบ 16 ปี


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ �ำ ปี 2 5 5 7

101


จ ร ร ม ำา ั

และ ลงาน ่น

ประ ย น ป

M F U

ลา รททํา 102

รายนามผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณเนื่องในโอกาสครบรอบ 16 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ในวันที่ 25 กันยายน 2557มหาวิทยาลัยได้มอบใบประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ทำาคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย ดังนี้ ใบประกาศเกียรติคุณพนักงานดีเด่น รองศาสตราจารย์ ดร.สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ ใบประกาศเกียรติคุณผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย รายนาม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นางสาวภัสราภรณ์ พรมมูล นางสาวพิมรักษ์ พันธุ์ประสิทธิ์ นายณรงศักดิ์ ดวงติ๊บ นางสาวชลพิสุทธิ์ ตันตาปกุล นางสาวเกศมณี สมอ๊อด นางสาวจิรัชยา อายะวรรณา ทีม วนาสวรรค์ ประกอบด้วย นางสาวธยาดา นุชรุ่งเรือง นางสาวสุจญดา ง๊ะสมัน นายพงศ์ภัทร์ พรพิชณรงค์ 8. ทีม MUSHI RICE ประกอบด้วย นางสาวจีรนันท์ ศิลป์ศักศรี นางสาวชลิตา เมธา นางสาวจุฑารักษ์ ศรีสุวรรณ นางสาวนิลเนตร ไชยเจริญ 9. ทีมจากสำานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย นายกิตติชัย เบิดโบ นางสาวปองวลัย รัตนานุกูล นายชิษณุพงษ์ แสนวิชัย นางสาวขวัญมนัส กุศล 10. ทีม Econine ประกอบด้วย นางสาวจุฑาทิพย์ ธีระรุจินน์ นายสานิตย์ ไชยลวง นางสาวซารีฮาน สุหลง นายชัชชพันธ์ เล็กเจริญ

สำานักวิชา

ประเภทผลงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ ศิลปศาสตร์ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การจัดการ

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านสังคมศาสตร์

อุตสาหกรรมเกษตร

ด้านวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

การจัดการ

ด้านสังคมศาสตร์


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ยง ห ั มหาว�ทยาลัย M F U

ลา รและหน วยงานท ราง

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

บุคลากรและหน่วยงานที่ได้สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ ดังนี้ รายนาม

ผลงาน

1. อาจารย์ ดร.ระริวรรณ์ เจริญทรัพย์ สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

รางวัลดุษฎีนิพนธ์ยอดเยี่ยม เรื่อง การประเมิน ความปลอดภัย ประสิทธิภาพ และมาตรฐาน ของตำารับเบญจมูลใหญ่ ในงาน The 13th International Conferences of Public Health Sciences : Roles of Public Health Sciences Toward ASEAN Economic Community รางวัลนักวิจัยดีเด่น จากสำานักบริหารโครงการส่งเสริม การวิจยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รางวัลสื่อต้นแบบดีเด่น จังหวัดเชียงราย ประจำาปี 2556

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผณินทรา ธีรานนท์ สำานักวิชาศิลปศาสตร์ 3. รายการวิทยุ “ศิลป์สโมสร” สำานักวิชาศิลปศาสตร์

103


M F U

กิ จ ก ร ร ม ส ำ� คั ญ แ ล ะ ผ ล ง า น เ ด่ น

104


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ป

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

2557

รายนาม ผู้บริหาร

105


รายนาม

ริ ห า ร

ะ รรม าร ามหาว�ทยาลัย

M F U

รายนาม 106

นาย

ามหาว�ทยาลัย

พลเอก สำาเภา ชูศรี วาระดำารงตำาแหน่ง 26 มิถุนายน 2556 จนถึงปัจจุบัน

ปนาย

ามหาว�ทยาลัย

ศาสตราจารย์ ดร.ยอดหทัย เทพธรานนท์ วาระดำารงตำาแหน่ง 1 พฤษภาคม 2556 จนถึงปัจจุบัน

1

ทปร า ามหาว�ทยาลัย

1. นายประจวบ ไชยสาส์น 2. นายแสวง เครือวิวัฒนกุล 3. นายเรียบ นราดิศร

2

3


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

1

2

3

รรม าร ามหาว�ทยาลัย ย ําแหน ง

เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1. ศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 27 มิถุนายน 2557) 2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำาจร ตติยกวี (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2557 จนถึงปัจจุบัน) อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3. รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 4. นายทวิช เตชะนาวากุล

4

107


ริ ห า ร

M F U

รายนาม

108

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

รรม าร ามหาว�ทยาลัยประ ท ทรง

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ 2. พลตำารวจเอก ดร.ประสาน วงศ์ใหญ่ 3. นายสุนทร อรุณานนท์ชัย 4. ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย 5. ศาสตราจารย์พิเศษสมชาย พงษธา 6. ศาสตราจารย์ไชยยศ เหมะรัชตะ 7. นายไกรสร จันศิริ 8. นายประเสริฐ พุ่งกุมาร 9. นายชัย โสภณพนิช 10. นายสงคราม ชีวประวัติดำารงค์ 11. นายสุเมธ ตันธุวนิตย์ 12. นายพิทูร พุ่มหิรัญ


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

1

2

3

109

รรม าร ามหาว�ทยาลัยประ ท ร�หาร

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ชยาพร วัฒนศิริ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครา อัครนิธิ 3. รองศาสตราจารย์สุปราณี อัทธเสรี

1

2

รรม าร ามหาว�ทยาลัยประ ท

3

าจารยประจํา

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงมิตรา คาสลี่ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรบุษย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ รอดคืน

ล าน าร ามหาว�ทยาลัย

นางพรทิพย์ ภูติโยธิน


รายนาม

ริ ห า ร

M F U

รายนาม 110

ะ รรม าร รวจ

และ

าม าร ํา นน าร

วาระการดำารงตำาแหน่ง 1 มกราคม 2555 – 26 มิถุนายน 2557 1. นายกำาธร จันทรแสง 2. ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย 3. นายพายัพ พยอมยนต์ 4. นายนนทพล นิ่มสมบุญ 5. หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน วาระการดำารงตำาแหน่ง 27 มิถุนายน 2557 จนถึงปัจจุบัน 1. ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย 2. นายพายัพ พยอมยนต์ 3. นายนนทพล นิ่มสมบุญ 4. หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน

รายนาม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

ะ รรม าร าร ง�นและทรั ย น

วาระการดำารงตำาแหน่ง 13 สิงหาคม 2556 จนถึงปัจจุบัน 1. นายสุเมธ ตันธุวนิตย์ 2. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ) 3. นายสงคราม ชีวประวัติดำารงค์ 4. ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล 7. นางสาวศรีสุนันทา ปาลวัฒน์ 8. รองอธิการบดี (รองศาสตราจารย์ชุษณะ รุ่งปัจฉิม) 9. รองอธิการบดี (นางพรทิพย์ ภูติโยธิน) 10. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด 11. นายกัมพล ไชยเลิศ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ะ รรม าร ง ร�ม จ ารมหาว�ทยาลัย

วาระการดำารงตำาแหน่ง 19 กันยายน 2556 จนถึงปัจจุบัน 1. นายทวิช เตชะนาวากุล 2. นายหาญ เชี่ยวชาญ 3. รองศาสตราจารย์ธัชชัย แสงสิงแก้ว 4. นายอัศวิน ชินกำาธรวงศ์ 5. นายชัย โสภณพนิช 6. นายโยธิน อนาวิล 7. นายสมชาย คูสุวรรณ 8. นายไกรสร จันศิริ 9. นายไพบูลย์ ดำารงชัยธรรม 10. นายวสันต์ ปีติพีรกุล 11. นายสุชาติ เจนพณิช 12. นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 13. นายอนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ 14. นายแสวง เครือวิวัฒนกุล 15. นายวิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา 16. นายแพทย์กอบชัย จิตรสกุล 17. นายแพทย์ปลื้ม ศุภปัญญา 18. นายสัตวแพทย์ถนอมศักดิ์ เสรีวิชยสวัสดิ์ 19. นางสาวอุราวรรณ อัยศิริ 20. นายประชา รุ่งเพ็ชรวิภาวดี 21. นายสุภาพ ปูรานิธี 22. นายปริญญา วิญญรัตน์ 23. นายอุดม ชัยธีระพันธุ์กุล 24. นายเอนก ปิ่นวนิชย์กุล 25. นางสาวสุวิมล พุ่มไพศาลชัย 26. รองอธิการบดี (รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอกยุทธนา ตระหง่าน) 27. อาจารย์ ดร.สุวรรณา เดชาทัย

M F U

รายนาม

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

111


รายนาม

ริ ห า ร

M F U

รายนาม 112

ะ รรม าร ร�หารงาน

วาระการดำารงตำาแหน่ง 13 สิงหาคม 2556 จนถึงปัจจุบัน 1. ศาสตรจารย์ไชยยศ เหมะรัชตะ 2. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ) 3. ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ 5. นายโอภาส เขียววิชัย 6. นางสุจิตร รัตนมุง 7. รองศาสตราจารย์สุปราณี อัทธเสรี 8. รองศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด พจนามาตร์ 9. อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ นิลทอง 10. นางสาวสุชาดา พัฑฒนะ 11. รองอธิการบดี (นางพรทิพย์ ภูติโยธิน) 12. หัวหน้าส่วนการเจ้าหน้าที่ (นางสาวกัลหา หยุ่นตระกูล) 13. ผู้อำานวยการสำานักงานบริหารกลาง (นางสาวกัลยา ทับเกร็ด)

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ะ ร�หารมหาว�ทยาลัย M F U

รายนาม

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

113

� าร

รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ

1

2

3

4

ทปร า � าร

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริตนา ประทีปะเสน 2. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป 3. นายจิโรจน์ สุภาพพงษ์ 4. นายโอภาส เขียววิชัย

1

ร ง � าร

2

3

1. นางพรทิพย์ ภูติโยธิน 2. รองศาสตราจารย์กัลณกา สาธิตธาดา 3. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์

4


ริ ห า ร

M F U

รายนาม

114

5

6

ร ง � าร

5. รองศาสตราจารย์ ดร.ชยาพร วัฒนศิริ 6. รองศาสตราจารย์ชุษณะ รุ่งปัจฉิม 7. อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง 8. อาจารย์ ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ 7

8

วย � าร

1

2

4

5

1. อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร 2. อาจารย์ ดร.พรรณรวี พรหมนารท 3. อาจารย์ ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ 4. อาจารย์ ดร.สิริรุ่ง วงศ์สกุล 5. อาจารย์ ดร.สุวรรณา เดชาทัย 3


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

1

2

3

4

5

6

ํานั ว� า ารจั าร

1. อาจารย์ ดร.ฉัตรฤดี จองสุรียภาส ํานั ว� าน า ร

2. รองศาสตราจารย์กัลณกา สาธิตธาดา – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 25 เมษายน 2557) 3. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 26 เมษายน 2557 จนถึงปัจจุบัน) ํานั ว� า ลป า ร

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครา อัครนิธิ ํานั ว� านวั รรม ัง ม

5. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร วัชชวัลคุ – รักษาการ ํานั ว� าจนว�ทยา

6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราณี โชคขจิตสัมพันธ์

115


ริ ห า ร

M F U

รายนาม

116

7

8

9

11

12

13

ํานั ว� าว�ทยา า ร

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงรักษ์ นันทวิสารกุล (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 30 เมษายน 2557) 8. อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ นิลทอง – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน) ํานั ว� า ท น ลย าร น ท

9. อาจารย์ ดร.สุรพงษ์ อุตมา – รักษาการ ํานั ว� าว�ทยา า ร ร ง ํา าง

10. อาจารย์ ดร.ภานุพงษ์ ใจวุฒิ ํานั ว� า

าห รรม

11. อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร – รักษาการ ํานั ว� าว�ทยา า ร

12. รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนี สรรเสริญ ํานั ว� า ยา าล า ร

13. รองศาสตราจารย์สุปราณี อัทธเสรี

10


ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

14

15

16

17

18

19

ํานั ว� า ว า ร ะล วัยและฟนฟ

14. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 21 พฤษภาคม 2557) 15. นายแพทย์ไพศาล รัมณีย์ธร (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน) ํานั ว� าแ ทย า ร

16. พลโท ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์นพดล วรอุไร ํานั ว� าทัน แ ทย า ร

17. รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สัมพันธ์ ศรีสุวรรณ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 5 เมษายน 2557) 18. รองศาสตราจารย์ชุษณะ รุ่งปัจฉิม – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 25 พฤษภาคม 2557) 19. รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ทะนง ฉัตรอุทัย (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน)

117


รายนาม

ริ ห า ร

M F U

ํานวย าร นย 118

1

2

3

4

5

6

นย ร งม ว�ทยา า รและ ท น ลย

1. อาจารย์ ดร.ประภัสสร ดำารงกุล อึ้งวณิชยพันธ์ นย รร

ารและ

าร

2. อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์ นย ร� ารว� า าร

3. อาจารย์ ดร.ต่อพันธ์ ทันดร นย ร� าร ท น ลย าร น ท

4. อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งสิ้นสุด 31 มกราคม 2557) 5. อาจารย์นชา ชลดำารงกุล – รักษาการ (ดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 จนถึงปัจจุบัน) นย า าและวั น รรมจน ร�น ร

6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครา อัครนิธิ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำา ปี 2 5 5 7

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

M F U

ํานวย าร หัวหนา วน หัวหนา ํานั งาน หัวหนาหน วย ํานวย าร ํานั งาน ร�หาร ลาง

1. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด

หัวหนา วนประ นั และ ั นาหลั ร

า าร

หัวหนา ํานั งาน ั

13. ว่าง

หัวหนา วน าร ง�นและ ั

2. นายกัมพล ไชยเลิศ

14. รองศาสตราจารย์ ดร.ดรุณ ี วัฒนศิรเิ วช – รักษาการ

หัวหนา วน าร จาหนาท

3. นางสาวกัญหา หยุ่นตระกูล

หัวหนา วน ั นา วาม ัม ัน ระหว างประ ท

15. นางสาวนุญา ลีวณิชย์

หัวหนา วนน ย ายและแ น

4. ว่าง

หัวหนา วน ั นานั

16. นายวีระชัย เจริญจิตติชัย

หัวหนา วนประ า ัม ัน

5. อาจารย์ ดร.พรรณรวี พรหมนารท

หัวหนา วนรั นั

หัวหนา วน ั

6. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด – รักษาการ

17. นายเรืองศักดิ์ เกลี้ยงกมล

หัวหนา วน าร รร

หัวหนา ํานั งานจั ารทรั ย นทางป และ ั นานวั รรม

7. นายวิเชียร ขานฤทธี

119

ํานวย ารและน าร

หัวหนา วน า าร านท

19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุกัล กฤตลักษณ์วงศ์ า

9. อาจารย์ ดร.สุวรรณา เดชาทัย – รักษาการ

หัวหนา ํานั งาน ามหาว�ทยาลัย

20. นางสาวพนมพร โพธิวงค์

วนทะ ยนและประมวล ล

หัวหนาหน วยประ านงาน รง ท มหาน ร

รง ยา าลมหาว�ทยาลัยแม ฟ าหลวง ยงราย

หัวหนาหน วย รวจ

10. นางสาวสุชาดา พัฑฒนะ 11. นายแพทย์แสงโรจน์ ประดับแก้ว หัวหนา วน ร� ารงานว�จัย

12. นายฉัตรชัย โรจนวิทิต

18. อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง – รักษาการ หัวหนาหน วย ั นา าร รยน าร น

8. นางสาวดาวลักษณ์ ธนาวงษ์ หัวหนา วนจั หางานและ งานนั

21. นางสาวยศวรรณ วงศ์เสงี่ยม าย น

22. นางสาวสิขรินทร์ แสงจันทร์


M F U



Ma e Fa h Lua ng University

M F U

ม ห า ว� ท ย า ลั ย แ ม ฟ า ห ล ว ง 333 หมู 1 ตําบลท าสุด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทรศัพท 0 5391 6000 โทรสาร 0 5391 6034 www.mfu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.