Museum Academic 10 ตามรอยเส้นทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต : เชียงตุง เมืองลา สามต้าว

Page 1

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

1


สิ่งพิมพวิชาการลําดับที่ 10 ฉบับ “ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต : เชียงตุง เมืองลา สามตาว” ISBN : จัดทําโดย : โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง อ.เมือง จ.เชียงราย พิมพครั้งที่ 1 : จํานวน 500 เลม พิมพที่ : สํานักพิมพลอ ลานนา 223/6 หมู 5 ถนนศรีดอนชัย ตําบลรอบเวียง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000

2

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


คํานํา โครงการจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑอารยธรรมลุม นํา้ โขง มหาวิทยาลัย แมฟา หลวง ไดดาํ เนินกิจกรรมทางวิชาการวัฒนธรรมมาอยางตอเนือ่ ง ตั้งแตป พ.ศ. 2547 เปนตนมา เพื่อเตรียมการจัดทําพิพิธภัณฑจาก การวิจัยในอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขง กิจกรรมทางวิชาการที่กําหนดไวใน แผน คือ การเผยแพรความรูด า นนิทรรศการชัว่ คราว สือ่ อิเลคทรอนิกส และการพิมพหนังสือเลมนี้ ซึ่งเปนสื่อทางวิชาการที่จัดทําขึ้นจาก การศึกษางานภาคสนามและการคนควาองคความรูต ามวัตถุประสงค ในการจั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ อ ารยธรรมลุ  ม นํ้ า โขงของมหาวิ ท ยาลั ย แมฟาหลวง ดินแดนแหงลุมแมนํ้าโขง เปนที่กําเนิดของอาณาจักรใหญ นอย มีนครรัฐมากมาย มีความหลากหลายทางนิเวศวิทยา ดวยความ สัมพันธหลายรูปแบบ ทัง้ ความกลมกลืนทางดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การปกครอง และภูมิปญญา ดินแดนแหงนี้จึงเปนแหลง อารยธรรมที่สําคัญที่สุดแหงหนึ่งของโลก สิ่งเหลานี้สงผลถึงวิถีชีวิต ที่งดงาม มีระเบียบของชีวิตที่ชัดเจนและมีการสรางสรรคศิลปวัฒนธรรมที่สื่อถึงความเชื่อและคานิยมดังกลาว ภูมิปญญาและ ศิลปวัฒนธรรมทัง้ หลายไดผา นกระบวนการวิวฒ ั นาการจนกลายมา เปนแองอารยธรรมลุมนํ้าโขงที่ทรงคุณคา กอกําเนิดศิลปวัฒนธรรม ที่ทรงคุณคาและสุนทรียภาพที่มีอัตลักษณ ทามกลางกระแสความ ผันแปรทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองระหวางรัฐตอรัฐ เมืองตอเมือง โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

3


ชุมชนตอชุมชน บนความสัมพันธระหวางชาติพันธุและเครือญาติที่ ผสมผสานอย า งกลมกลื น เป น เอกภาพบนความหลากหลายใน ดินแดนที่เปนแองอารยธรรมที่เรียกวา “ลุมนํ้าโขง” นอกจากนั้ น ระบบการค า เศรษฐกิ จ ของเมื อ งเชี ย งตุ ง และเมืองลายังมีความสําคัญทางประวัติศาสตรเศรษฐกิจในดินแดน ลานนา คือเปนเมืองที่ตั้งอยูบนเสนทางการคาของภูมิภาค ถือเปน ชุมชนทางการคาที่ใหญ มีการเคลื่อนไหวของผูคนและสินคาอยาง หลากหลาย เรียกวา “เสนทางสายทองคํา” เพราะเปนเสนทางทีเ่ ริม่ จากตนทาง คือ ยูนนาน-เชียงตุง-เชียงราย-จนสุดทางที่มะละแหมง (เมาะลําเลิง) กลุมพอคาที่มบี ทบาทสูงในการคาทางไกล คือ กลุม ไท ใหญ (เงี้ยว) และกลุมจีนยูนนาน (จีนฮอ) เนื่องดวยคนกลุมนี้ไมอยู ในระบบไพรที่ตองเขาเวร และผูกพันกับระบบสวย หรือไมก็สงเงิน สินคา แทนการเกณฑแรงงานได ทําใหมีอิสระ สามารถไปคาขายใน ทองถิ่นตางๆ ไดอยางกวางขวาง และเปนเวลายาวนาน แตหลังทศวรรษที่ 2500 เปนตนมาการคาขามแดนเริ่มลด ความสําคัญเนื่องดวยปจจัยความแตกตางทางดานการเมือง และ สงครามในพื้นที่ตอนในทั้งในลาว รัฐฉาน และจีน ทําใหการคาทาง ไกลหยุดชะงักลง แตการคาระหวางเมือง และขามประเทศขนาดเล็ก ยังคงดําเนินอยู แตความ “ตึงตัว” ของเสนเขตแดนก็ทําใหการคา ขามแดนลดลงอยางมาก โดยเฉพาะ “เสนทางสายทองคํา” ที่มี บทบาทนอยลงไปเรื่อยๆ เนือ่ งในโอกาสที่ ASEAN จะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน(Asean Economics Community - AEC) และเริ่มมีผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เปนตนไป เพื่อผลประโยชนในอํานาจ 4

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


การตอรองทางเศรษฐกิจ การสงออก และการนําเขาของสินคาของ ประเทศในกลุมภูมิภาคนี้ ที่จะสงผลใหการคาระหวางชายแดนเกิด ความคึ ก คั ก มากขึ้ น รวมถึ ง การใช จ  า ยด า นการท อ งเที่ ย วทาง วัฒนธรรมทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ มากจากการคลายความตึงตัวของเสนเขตแดน ระหวางประเทศ ทําใหการเดินทางระหวางประเทศในกลุมภูมิภาค นี้ทําไดสะดวกยิ่งขึ้น ทางโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มีความ สนใจและเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ในประเด็ น เชิ ง วั ฒ นธรรมที่ ไ ด เกิดขึ้นบน “เสนทางสายทองคํา” ในอดีต ทั้งกลุมชนชาติพันธุ วิถีชีวิต วัฒนธรรม และรูปลักษณสถาปตยกรรม ที่สามารถนําไปสู การสรางสรรคทางเศรษฐกิจได จึงไดทําการสํารวจเสนทางการคา เหลานัน้ เพือ่ แสดงใหเห็นวงแหวนการคาและอารยธรรมทีเ่ ชือ่ มโยง ผูคนในภูมิภาคนี้ และนําผลที่ไดจากการสํารวจนั้นมาจัดทําหนังสือ “ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว” เลมนี้ โดยหวังวาจะเปนประโยชนตอ การสรางและขยาย องคความรูในอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขงตอไป

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

5


การเมืองเรื่องสุนทรียศาสตร : พุทธศิลปกับการเมืองเรื่องรัฐ และชาติพันธุ (เชียงตุง และ เมืองลา)1 พลวัฒ ประพัฒนทอง 2

บทความนี้ปรับปรุงจากเอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมวิชาการ ประจําปของมูลนิธิโครงการตํารามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร วันที่ 12-14 ธันวาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 2 ผูชวยคณบดีสํานักวิชาศิลปศาสตร และหัวหนาโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ อารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1

6

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


บทนํา ã¹¾×é¹·Õ觴§ÒÁ ËÃ×Íã¹¾×é¹·Õè¢Í§¤ÇÒÁʧº ઋ¹ÈÒʹʶҹ ÁÑ¡ÁÕàÃ×èͧÃÒǢͧ¡Òõ‹ÍÊÙŒ«‹Í¹ÍÂÙ‹àÊÁÍ งานศิลปะรวมสมัยแนวพุทธศาสนา ที่เสนอเรื่องราว ความ สงบสุขและความศรัทธาในพุทธศาสนา แสดงอุดมคติในชาติภพหนา จักรวาลวิทยา สรางความกลมกลืนกันเปนหนึ่งเดียวที่เชื่อมโยงกัน ดวยศาสนา แตความมีอยูของความจริงอีกชุดหนึ่งทางศิลปกรรม แนวพุทธศาสนา ไดกลาวถึงพรมแดนระหวางศาสนาที่สรางความ แตกตางกันผานความศรัทธา และมีเรื่องราวและรูปแบบศิลปกรรม ที่พยายามสรางพรมแดนทางชาติพันธุของกลุมสังคมวัฒนธรรม ซึ่งในความแตกตางกันนั้นไมใชเรื่องของรูปแบบศิลปกรรมแตเปน เรื่องการเมืองระหวางกลุมคนที่ดูเหมือนกลมกลืนกันดวยโครงสราง ทางสังคมแต ในความเปนหนึ่งเดียวกันนั้น ก็แสดงความแตกตาง เชิงการเมืองเรื่องอํานาจที่ซอนตัวอยูเสมอ กลุ  ม ชาติ พั น ธุ  ที่ เ ป น คนตั ว เล็ ก ตั ว น อ ยในสั ง คม มั ก ถู ก ขอสงสัยในเรื่องความสามารถในการสราง ผลงานศิลปะ โดยสิ่งที่ เรียกวา “ความโรแมนติกของนักวิชาการ” ที่มีขอสงสัยในผลงาน ศิลปะที่พบเห็น วาชาวบานที่เปนเจาของศิลปะในปจจุบัน ไมนาจะ มีความสามารถในการสรางผลงานที่ยิ่งใหญเชนนี้ได ผลงานที่เยี่ยม โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

7


ยอดในชุมชน หรือกลางปาลึก จะตองเปนการสรางโดยชนชาติที่มี อารยธรรมสูงที่สาบสูญไปแลว เปนแนแท หรือถาชาวบานจะสราง ได ก็ตองสรางดวยความเมตตาของเจานคร หรือจากจักรพรรดิที่ ยิ่งใหญ ตอคนเล็กๆ เทานั้น ในระเบียบวิธกี ารหาความจริงของของนักประวัตศิ าสตรศลิ ปะ ที่เพียรพยายามหาหลักฐานวา รูปแบบศิลปะในชุมชนที่หางไกลนั้น เหมือนกับสิ่งที่เคยเกิดขึ้นมาในอารยธรรมอันสูงสงที่ไหนบาง หรือ ชาวบานนั้นไดรับอิทธิพล แนวคิด จากอารยธรรมที่ยิ่งใหญ มาจาก แดนไกล แตไมเคยมีขอถกเถียงวาความหมายเชิงรูปแบบทางศิลปะ มาจาก การเมืองเรื่องของวัฒนธรรม การตอสูของคนตัวเล็กตัวนอย ทีถ่ กู กดทับจากโครงสรางสังคม ทีพ่ วกเขาคัดสรรรูปแบบศิลปะ เพือ่ สรางความเปนชาติพันธุของเขาขึ้นมา บทความทางสั ง คมศาสตร นี้ เ ขี ย นขึ้ น เพื่ อ จะเสนอข อ ถกเถียงทางวิธวี ทิ ยาในการศึกษารูปแบบศิลปกรรมและการกําหนด รูปแบบในสาขาประวัติศาสตรศิลป และศิลปะรวมสมัยที่ยังไมมี พื้นที่ ที่จะเอื้อใหกลุมชาติพันธุตางๆ สรางผลงานที่มีวิธีวิทยาทาง ศิ ล ปะเป น ของตนเอง รวมถึ ง แนวทางในการกํ า หนดรู ป แบบ ทางศิลปกรรมที่แสดงถึงความเปนเจาของรูปแบบทางศิลปะของ ตนเองได ในเมื่องานที่คนเหลานั้นสรางสรรคขึ้นนั้นไปไกลเกินกวา วัตถุทางวัฒนธรรม ในพิธกี รรม และความเชือ่ ของวิถวี ฒ ั นธรรมของ ตนเองแลว เปรียบไดกบั งานศิลปะรวมสมัยทัว่ ไปแตผลงานกลับถูก ละเลยเมื่อมีการอธิบายในวิธีวิทยาของศิลปะกระแสหลัก และรูป แบบงานของกลุม ชาติพนั ธุต า งๆไดถกู ศิลปนนําไปใชเปนแรงบันดาล ใจในการสรางผลงานศิลปะเปนจํานวนมาก สรางชือ่ เสียงและรายได 8

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ใหกับผูคนในวงการศิลปะมาอยางยาวนาน โดยละเลยศักดิ์ศรีความ เทาเทียมกันของมนุษย ที่พึงมีในฐานะเจาของวัฒนธรรม ขอถกเถียงทีส่ บื เนือ่ งจากขอแรกคือ คําเรียกชือ่ รูปแบบทาง ศิลปกรรมมีความสัมพันธกับความเปนชาติพันธุหรือไม และนัก ประวัติศาสตรศิลป ควรใชชื่อชาติพันธุหนึ่งชาติพันธุใดในฐานะผู สรางรูปแบบเปนชื่อรูปแบบทางศิลปกรรมหรือไม เปนขอถกเถียงที่ ยังคงดํารงอยูแ ละมีความหมายไปตามบริบททางการเมืองของแตละ รัฐชาติ การตั้งชื่อรูปแบบทางศิลปะไดกลายเปนประเด็นทางรัฐชาติ อาณาเขต การเมืองเรือ่ งรสนิยม ในรัฐทีเ่ ชือ่ วามีเปนหนึง่ เดียวทีแ่ บง แยกไมไดในทุกสิ่ง ผานอาณาเขต เขตแดน และอํานาจอธิปไตย ถึ ง แม ว  า ข อ ถกเถี ย งทั้ ง สองข อ นี้ ยั ง ไม มี ข  อ ยุ ติ ที่ ชั ด เจน แต เป นประเด็นปญหาของศิลปะรวมสมั ย ที่ กํ า ลั ง เผชิ ญ กั บสิ่ ง ที่ เรียกวา “ชาติพันธุสัมพันธ (Ethnicity)” ที่กลุมคนหนึ่งใชความ เปนชาติพันธุที่เชื่อกันวามีอยูจริงนั้นใชเปนเครื่องมือในการธํารง ชาติพันธุและใชเปนกลุมการเมืองเรื่องวัฒนธรรม เพื่อตอรองที่จะมี ชีวติ ตามวิถที างวัฒนธรรมของตนเองในฐานะรัฐทีจ่ ะตองปรับตัวเปน รัฐพหุวัฒนธรรม

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

9


การเมืองเรื่องรหัสชาติพันธุ ในรัฐฉาน สาธารณรัฐแห งสหภาพเมียนมา ชาติ พั น ธุ  เ ป น ข อ ถกเถี ย งในวงวิ ช าการว า มี อ ยู  จ ริ ง ใน สังคมศาสตรหรือไม และสามารถศึกษาไดหรือไม เราเคยเชื่อกัน วา การสืบสายเลือดนัน้ เปนเครือ่ งชีใ้ หเห็นถึง “เชือ้ ชาติ” แตเมือ่ การ ฆาลางเผาพันธุเกิดขึ้นโดยทั่งไปและการพิสูจนวาใครมีเลือดบริสุทธิ์ นัน้ เปนไปไมได แตความเปนชาติพนั ธุน นั้ มีองคประกอบทีม่ ถี กู สราง ขึ้นเปนโครงสราง ทางสังคม และเปนเครื่องมือที่บางรัฐยังใชในการ แยกแยะผูคนออกจากกันและกลายเปนสิ่งที่เปนจริงทางสังคมและ เปนหนวยที่สามารถศึกษาได สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมานั้ นได เ ป นพื้ นที่ ในการ ศึกษาเรือ่ งชาติพนั ธุใ นวงวิชาการตะวันตกมาอยางยาวนาน และการ แบงลําดับชั้น กลุมคน อาชีพ ตลอดจน การเขาถึงทรัพยากรโดย กําหนดกลุมคนเอาไวถึงแมจะไมเปนทางการก็ตามเชนอาจารยใน มหาวิทยาลัย ในรัฐฉานจะเปนคนกลุมชาติพันธุพมาและบางกลุม ชาติพันธุเทานั้น ไมมีอาจารย และเจาหนาที่ในมหาวิทยาลัยเปนคน ไต หรือคนเขินเลย ทั้งที่เปนพื้นที่ของกลุมคนเหลานี้และมีศักยภาพ เพียงพอที่จะเปนอาจารยก็ตาม สาธารณรั ฐ แห ง สหภาพเมี ย นมาได กํ า หนดให มี ก ารขึ้ น ทะเบียนประชาชน3 ในระหวางกลางเดือนกุมภาพันธ ถึงกลางเดือน ประวัติศาสตร ในการสํารวจสํามะโนประชากรในพมานั้นมีดังนี้ครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ.2474 ชวงทีอ่ ยูภ ายใตอาณานิคมของอังกฤษ ครัง้ ที่ 2 เมือ่ พ.ศ.2526 การ สํารวจสํามะโนประชากรไมไดนบั รวมประชาชนทีอ่ ยูใ นพืน้ ทีช่ นกลุม นอยหลาย พื้นที่และสวนประชากรเกิดหลังปดังกลาวไมเคยไดรับการสํารวจครั้งที่ 3 3

10

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


มีนาคม พ.ศ. 2557 เพื่อเตรียมความพรอมที่จะเลือกตั้ง ในระดับรัฐ หรือเขต ประมาณปลายป พ.ศ.2558 เพราะวา พรรคการเมือง สามารถสงผูส มัครในฐานะตัวแทนชาติพนั ธุ (ถามีจาํ นวนมากพอตาม ที่กําหนด) เพื่อเปนตัวแทนในสภาได แตทนี่ า สนใจของการลงทะเบียนนีค้ อื การทีท่ างรัฐบาลไดมี การแบงกลุมชาติพันธุในเมียนมาเพื่อใหคนในประเทศของตนได เลือกระบุวาคนแตละคนจะตองการแสดงตนในรัฐวา เปนกลุม ชาติพันธุใดตามความตองการของตนเอง โดยที่มีการกําหนดรหัส กลุมชาติพันธุใหประชาชนในรัฐเปน 8 กลุมชาติพันธุ (ethnic groups) โดยแตละกลุมนั้นจะมีกลุมที่แสดงความชาติพันธุยอย (ethnicity) อีก 134 กลุม จาก 8 กลุมนั้นอีกทีหนึ่ง (ปจจุบัน) พ.ศ. 2557 โดยรัฐบาลพมา สนับสนุนทุนการสํารวจโดยกองทุน ประชากรแหงสหประชาชาติ (United Nations Population Fund–UNFPA) โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเตรียมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2558 เพื่อใหมั่นใจไดวา จะไดตัวแทนประชาชนของทุกชนชาติทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ อยางยุตธิ รรม เพือ่ ประเมินการพัฒนาเศรษฐกิจไดแมนยํา เชน ผลิตภัณฑมวล รวมในประเทศ (GDP) รายไดประชาชาติ ขอมูลทีเ่ กีย่ วกับเศรษฐกิจและสังคม สําหรับการพัฒนาประเทศและการวางแผนเศรษฐกิจ การศึกษา ระบบสุขภาพ อาคารสงเคราะห การจางงาน การสุขาภิบาล การคมนาคมขนสง รวมถึงการ สือ่ สาร เปนตนโดยมีนายขิน่ ยี รัฐมนตรีกระทรวงตรวจคนเขาเมืองรับผิดชอบ เปาหมายชนชาติในพมา 135 ชนชาติ จาก 11 ลานครัวเรือน ราว 60 ลานคน โดยใชวธิ กี าร 1. จางครูประถมราว 100,000 คน จัดทํารายชือ่ ประชากร และ 2. จางครูจากโรงเรียนมัธยมประมาณ 20,000 คน ตรวจสอบรายชื่อเหลา นัน้ อีกทีหนึง่ ผลทีค่ าดวาจะไดรบั ไดรจู าํ นวนประชากรในพมาทุกกลุม ชาติพนั ธุ ที่แนนอน โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

11


โดยเรียงลําดับตามตัวเลขดังนี้ กลุมคะฉิ่น มี 12 กลุมยอย กลุมกะยามี 9 กลุมยอย กลุมกะยินมี 11 กลุมยอย ชินมี 52 กลุม ยอย กลุมพมามี 9 กลุมยอย กลุมมอญมีเพียงกลุมเดียว กลุม กะเหรีย่ งมี 7 กลุม ยอย กลุม ฉานมี 33 กลุม ยอย และกลุม สุดทายคือ กลุมพมาที่เปนลูกผสมระหวางพมากับคนตางชาติ อีก 13 กลุมยอย และในกลุมนี้จะมีกลุมที่ไมมีอยูในรหัสที่กําหนดโดยใหเปนอื่นๆ อีก 1 กลุม การจัดกลุมชาติพันธุในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมานี้ รัฐเองนั้นไดอางอิงวา การดําเนินงานนี้ไมใชเรื่องใหมแตเปนการทํา ทีส่ บื เนือ่ งจากผลงานการสํารวจของอาณานิคมอังกฤษเมือ่ ปกครอง พมา และเมื่อป พ.ศ.2504 รัฐบาลเนวินไดนํามาจัดกลุมใหมตาม พื้นที่ที่อยู คือ 7 รัฐและ รวม พมา ไดจํานวน 8 กลุม ทั้งนี้เปนการ แบงที่ไมไดแบงตามเกณฑลักษณะ ภาษา วัฒนธรรม หรือเผาพันธุ แตอยางใด การแบงลักษณะนี้ไดใชในการดําเนินงานมาจนถึงการ สํารวจสํามะโนประชากร ระหวางวันที่ 30 มีนาคม ถึง 10 เมษายน พ.ศ.2557 ทั้งนี้ในการดําเนินงานไดเพิ่มกลุมขึ้นใหมที่ไมใชกลุม ชาติพันธุอีกกลุมหนึ่งคือกลุมที่เปนชาวตางชาติโดยรวมกลุมที่ไม สามารถระบุความเปนชาติพันธุไดอยูดวย โดยกําหนดรหัสใหกลุม ใหมทั้งหมดนี้เปนกลุมที่ 9 การสรางกลุมทั้ง 8 กลุมนั้นจากการสํารวจของเจาหนาที่ เมื่อสมัยอาณานิคมใชเกณฑการตอบจากภาษที่ใชตอบ จึงสืบเนื่อง มาจนถึงการกําหนดในปจจุบนั นีด้ ว ย ดัง้ นัน้ ในกรณีของ กลุม รัฐฉาน

12

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


หรือกลุมไต ที่มีจํานวน 33 กลุมและ มีรหัสแตกตางกัน4 จากรหัส ชาติพันธุ ในกลุมฉานนั้น เราพบวา นอกจากคําวา “ฉาน” หมายถึง กลุมชาติพันธุแลว ฉานยังหมายถึงพื้นที่รัฐ ดวยเชนกัน เราพบวา ในฉานที่เปนรหัสชาติพันธุนั้นประกอบดวยกลุมคนจํานวนหนึ่ง แต ความเปนชาติพนั ธุฉ านนัน้ ไมไดเปนองคประกอบรวมแตอยางใด ในบางกลุมนอกเหนือจากความสัมพันธที่เกิดขึ้นในพื้นที่เดียวกันมา อยางยาวนาน กลุมตางๆ ไดมาจากการสํารวจของเจาหนาที่อาณานิคม ที่ไมเขาใจเรื่องของชาติพันธุดีมากนัก การตอบดวยภาษาไต จะเปน กลุมหนึ่งถาตอบดวยภาษาพมาก็จะกลายเปนอีกกลุมหนึ่ง เชน ไต ทางภาคเหนือ คือไตโหลง ตอบภาษาไต เปนกลุม Tai-Lon ตอบเปน ภาษาพมาถูกจัดเปน Shan-Gyi และกลุมบางกลุมที่ไมใช ไต แตใช ภาษาไต เชน กลุม ปลังหรือทีถ่ กู เรียกวา ดอย หรือหลอยนัน้ ใชภาษา ไตในการตอบ เลยไดชื่อรหัสวา ไตดอย (Tai-Loi) เพราะเนื่องจาก กลุม ไตดอย นีเ้ ปนกลุม ภาษามอญ-เขมร ทีเ่ ปนกลุม เดียวกับลัวะ ขมุ 801 ไทใหญ (ฉาน) (Shan) 802 โยน (ลาว) (Yun, Lao) 803 ไกว (กวิ) (Kwi) 804 ปยิน (Pyin) 805เยา (Yao) 806 ตะนอ (Danaw) 807 ปะเล (Pale) 808 แอน (En) 809 แซง (แซน) (San) 810 คะมุ (Khamu) 811 กอ (อะขา-อี-กอ) (Kaw) (Akha-E-Kaw) 812 โกกาง (Ko Kang) 813คําตี่ฉาน (Khamti Shan) 814 ขึน (Hkun) 815 ตวง โย (Taung Yo) 816 ทะนุ (Danu) 817ปะลอง (Palaung) 818 โมง (Mong) 819ยินขา (Yin Kha) 820 ยินเน็ต (Yin Net) 821 ฉานกะเล (Shan Gale) 822 ฉานจี (Shan Gyi) 823 ลาหู (Lahu) 824 อินทา (Intha) 825 เอ็กสแวร (Eikswair) 826 ปะโอ (Pa-O)827 ไตลอย (ดอย) (Tai-Loi) 828 ไตแลง (Tai-Len) 829ไตโหลง (Tai-Lon) 830 ไตลือ้ (Tai-Lay) 831 เมียงทา (Maingtha) 832 มอฉาน (Mao Shan) 833 วา (Wa)

4

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

13


ประหลอง กลุมคนเหลานี้มีประวัติความเปนมาที่สืบเนื่องมาวาเคย เปนเจาของดินแดนแถบเชียงตุง เมืองลา สามตาว มากอนทีพ่ วกกลุม พระญามังรายจะเขามาสรางเมืองเชียงตุง โดยพวกเขาเหลานี้ได อพยพขึ้นไปอยูบนพื้นที่สูง แตดวยความสัมพันธเชิงโครงสรางของ รัฐ กลุม ไตดอยไดเขามารับศาสนาพุทธดวย และเรียนรูภ าษาไต ดังนัน้ กลุม ไตดอยจึงสรางสถานภาพทางสังคมทีใ่ ชพทุ ธศาสนาเปนเครือ่ งมือ ที่สรางสถานภาพแตกตางจากกลุมคนบนพื้นที่สูงอื่นๆ และหางไกล จากกลุม ลัวะดวยกัน เขาไปใกลกลุม ไต และกลุม เขินมากขึน้ การยอมรับ วาเปนไต จึงหมายความวาเขาเหนือกวา เขิน (ขึน) ทีป่ กครองเขาอีก ทีหนึ่ง ซึ่ง เขิน (ขึน) ไมยอมรับคําวาไต (ในยุคอาณานิคม) สวน กลุม เขิน (ขึน) และยวน นั้นไมไดถูกกําหนดใหมีชื่อ คําวา ไต (Tai) นําหนา เราอาจ สันนิษฐานไดจากทีก่ ลุม เจาฟาไตเขิน ทีม่ อี าํ นาจในเมืองเชียงตุงในขณะนัน้ ไมไดเปนหนึง่ เดียวกันกับเจาฟา รัฐฉานทัง้ ทางการเมืองทีเ่ ปนเมืองทีเ่ ปนอิสระจากกัน และภาษาทีไ่ ม ไดใชรวมกัน รวมถึงที่เมื่อยังเปนอาณานิคมของอังกฤษ เชียงตุงเอง นั้นไมไดขึ้นตรงกับรัฐฉาน จึงไมมีคําวา ไต ในการกําหนดคนใน เชียงตุงขณะนั้น และมาจวบจนปจจุบันดั้งนั้นการกําหนดกลุม ชาติพันธุยอยหรือ ความเปนชาติพันธุ จึงเปนเรื่องที่ซับซอนและ แยกยอยออกไปไมเปนขอยุติ สําหรับกลุมชาติพันธุที่ตื่นตัวทางการเมืองหลายกลุมไดมี ความพยายามทีจ่ ะรณรงค ใหทกุ คนในพืน้ ทีร่ ฐั ลักษณะเดิมนัน้ หันมา ใช รหัสชาติพันธุเดียวกันเพื่อประโยชนในเรื่องจํานวนของคะแนน เสียงเลือกตั้ง ที่ไมมีเสียงที่แตกออกยอยตามกลุมออกไป เชนคนใน รัฐฉานนั้น ใหเลือกรหัส ฉาน คือ 801 เทานั้นแตการที่กลุมคนตางๆ 14

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ที่ถูกผนวกรวมกับในสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา หลังจากได รับเอกราชจากอังกฤษ ไดแสดงเจตจํานงอยางแรงกลาที่ไมยอม ให “ชนชาติตัวเอง” ถูกระบุไวในบัตรประจําตัวประชาชนวาเปน “ชาวพมา” ซึ่งเปนความประสงคของรัฐบาล และเพื่อปองกันการ ถูกผนวกรวมแบบกลืนชาติพันธุ (Assimilation) ในกรณีนี้เราจะเห็นชัดวาเรื่องชาติพันธุนั้นเปนสิ่งที่มีอยู จริงในสังคม และจับตองได ศึกษาไดทางสังคมศาสตร และการทําให ชาติพันธุถูกทําใหกลายเปนพื้นบาน ที่แสดงถึงกระบวนการสราง ความเปนพื้นบานทางชาติพันธุที่ดําเนินการสรางขึ้นเพื่อตอสูทาง ในการสรางกลุมชาติพันธุใดๆ ใหเขมแข็ง ดวยการสรางเกณฑขึ้น เพื่อระบุความเปนชาติพันธุ และลําดับชั้นของความเปนชาติพันธุ ที่เปนการเมืองของรัฐชาติโดยที่ชาติพันธุเปนสิ่งที่ถูกประกอบสราง ขึ้น ไมไดมีอยูแลวตามธรรมชาติ ที่แสดงใหเห็นวากลุมหนึ่งกลุมใดที่ มีการสืบเนื่องกันดวยลําดับขั้นและเงื่อนไขทางสังคมอยางยาวนาน มีความแตกตางจากอีกกลุม หนึง่ ทีม่ กี ารสืบเนือ่ งกันดวยลําดับขัน้ และ เงื่อนไขทางสังคมอีกแบบหนึ่งอยางไร การสรางใหอีกกลุมหนึ่งที่มี ความแตกตางกันเพื่อผลประโยชนทางการเมืองในรัฐ การตอรอง หรือการเขาถึงทรัพยากร ดังนัน้ ทางเลือกทีค่ นคนหนึง่ ทีจ่ ะสังกัดกลุม ชาติพันธุใด ก็ตองมีองคประกอบของชาติพันธุนั้นใหครบถวน ไมได สามารถกลายเปนกลุม ชาติพนั ธุใ ดดวยความตองการอยางมีเสรีภาพ ความเปนชาติพันธุจึงกลายเปนโครงสรางทางสังคม บทความนี้จะเปนผลการศึกษาการเมืองเรื่องสุนทรียภาพ ทีป่ รากฏในศาสนสถาน อนุสาวรีย และสถาปตยกรรมเชิงสัญลักษณ ของรัฐ ในการสรางความเปนชาติพันธุใหธํารงอยู หรือ การทําลาย โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

15


สุนทรียะของชาติพันธุเพื่อการผนวกรวมใหเปนสวนหนึ่งของรัฐ ในพื้นที่ตามเสนทาง เชียงราย เชียงตุง เมือง ลา และสวนหนึ่งของ สิบสองปนนา เมืองเชียงเจิง โดยกลาวถึงพรมแดนทางชาติพันธุที่ ทับซอนกันในมิติทางสุนทรียศาสตร กลาวคือ กลุมแรกสยามและ พมากับเชียงตุง กลุม ทีส่ องเชียงตุงกับกลุม ชาติพนั ธุเ มืองลา สามตาว ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของเสนทางการคาโบราณทีส่ บื เนือ่ งมาอยายาวนาน แตดวยปญหาทางการเมืองทําใหการเชื่อมตอในพื้นที่นี้ไมเปนผล ในปจจุบัน การขาดความเชื่อมตอนั้นทําให ภูมิทัศนในสุนทรียภาพ ของศาสนสถานเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปในเชิงการเมืองของรัฐที่มี อํานาจดวย

16

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


อํานาจรัฐกับสุนทรียภาพในพุทธศิลป เชียงตุง ในพื้นที่รัฐฉาน สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา เปนพื้นที่ ทีเ่ คยเปนอาณาจักร ทีย่ งิ่ ใหญมากอน แตมเี มืองหนึง่ ทีไ่ มไดเกีย่ วเนือ่ ง ทางชาติพันธุกับคนรัฐฉานที่เปนกลุมชาติพันธุไต แตเปนเมืองที่อยู ในพื้นที่รัฐฉานตะวันตก คือ เมืองเชียงตุง เมืองนี้มีความเปนมาที่ สัมพันธกบั อาณาจักรลานนา โดยพระญามังรายเปนผูส ถาปนาเมืองนี้ และเมืองเชียงตุงนี้เปนเสนทางการคาระหวางจีนในมณฑลยูนนาน กับอาณาจักรตอนใต เพื่อออกทะเลที่เมืองเมาะตะมะ การสถาปนา เมืองเชียงตุงนี้ คลายกับเมืองอื่นๆ ที่ไมไดเปนที่วางเปลา เปนพื้นที่ ที่มีคนอยูอาศัยแลว ในกรณีเมืองเชียงตุง คือกลุมคนพื้นถิ่นที่เรียก ตัวเองวา หลอย หรือ ปลัง ที่คนในเวลาตอมาเรียกวาลัวะ เปนกลุม ภาษามอญเขมร เชนเดียวกับ ขมุ ถิ่น ไปร เมืองเชียงตุงมีความสัมพันธระหวางอาณาจักรกับศาสนจักร มาก แทบเปนสวนเดียวกัน เนื่องจากการตั้งเมืองในครั้งแรกนั้น พุ ท ธศาสนาเถรวาทจากล า นนาเข า มาในดิ น แดนรั ฐ ฉานหรื อ อาณาจักรไทใหญ (อาณาจักรมาว) ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 19 และ จากพมาเขาไปในพุทธศตวรรษที่ 20 เรียกกันวานิกาย “กึงจอง” ในรัชสมัยพระเจาบุเรงนอง แตสําหรับหัวเมืองทางตะวันออกของ แมนํ้าสาละวิน คือ แถบเมืองเชียงตุง เมืองยอง และเมืองลื้อ (เชียงรุง) พุทธศาสนาแบบ “กึงโยน” จากลานนาไดเขาไปรุงเรื่อง อยูกอนหนาเปนเวลานานแลวโดยการที่พระญามังรายไดสงหลาน คือ เจานํา้ ทวม เขาไปปกครองเมืองเชียงตุงในครัง้ นัน้ ไดสง พระสงฆไป 2 รูป และพระพุทธรูปอีก 4 องค โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

17


ตอมาในหลักฐานพงศาวดารเมืองเชียงตุงซึ่งไดบันทึกไววา ในสมัยพระญาผายู ไดสง โอรสชือ่ เจาเจ็ดพันตู ไปปกครองเมืองเชียงตุง หลังจากเปนเมืองราง โดยเชื่อวาตองถวายเมืองใหกับพระสงฆกอน จึงจะแกเคล็ดไดจงึ มีพระสงฆไปดวยโดยกระทําตัง้ แตสมัยเจานํา้ ทวม เปนตนมา (ทวี สวางปญญางกูร, 2533:33) ในครั้งพระเจาเจ็ดพันตู ไดนิมนตพระมหาหงสาวดี พระมหาสิริปุญญะ พระเถรนันทะ และ พระเถรพุทธโฆษะ ไปดวยโดยการจัดพิธีถวายเมืองเชียงตุงแดพระ สงฆนั้นจัดที่วัดลีเชียงพระ (วัดพระสิงห) โดยที่เมืองเชียงตุงเจาเจ็ด พันตูไดสรางวัดขึ้น 4 วัด เปนที่จําพรรษาแกหัวหนาคณะทั้ง 4 รูป ไดแก วัดพระแกว วัดหัวขวง วัดฟากาง และวัดจอมทอง (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552, หนา89) พระพุทธศาสนาทีเ่ จาเจ็ดพันตู นําเขาไปในเมืองเชียงตุงนัน้ จากการอางถึง เสมอชัย พูลสุวรรณ นาจะเปนนิกายหริภญ ุ ชัย ทีอ่ าจ แพรเขาไปในเชียงตุงในสมัยพระญามังราย โดยพุทธศาสนานิกายนี้ ไดรวมกับนิกายรามัญวงศ (ลังกาเกา) ทีพ่ ระสุมนเถระจากสุโขทัยนํา เขาไปเผยแผในลานนาในสมัยพระเจากือนา (พ.ศ.1898-1928) ตั้ง ศูนยกลางอยูที่วัดสวนดอก ในเมืองเชียงใหม และไดเผยแผตอไปถึง เมืองเชียงตุง นําโดยพระมหาสามีเจาสุชาโตจากเมืองเชลียงและศิษย อีกสองรูป คือ พระอินทปญญา และพระธรรมรังสี พุทธศาสนานิกาย รามัญวงศตงั้ ศูนยกลางอยูท วี่ ดั ยางกวง นอกเมืองเชียงตุง จึงเรียกวา “หนยางกวง” (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552, หนา89)

18

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


พระพุทธรูปที่ประดับดวยอัญมณีหลากสี ชาวบานเรียกวา พระเกล็ดนาค ประดิษฐาน ณ วัดยางกวง ซึ่งตั้งอยูนอกตัวเมืองเชียงตุง

ศาสนาพุทธจากลังกาวงศอีกนิกายหนึ่งไดเขาไปสูเชียงตุง ในราวป พ.ศ.1989 โดยเรียกวานิกาย “ปาแดง” ที่กระจายตัวมา เผยแผในเชียงตุงโดยพระมหาญาณคัมภีร ไดสงพระโสมจิตเถระ โดยมีเรื่องเลาวา มีเปรตมารบกวนชาวบานแตนิกายหนยางกวงไม สามารถไลเปรตไปได แตเมื่อชาวบานนิมนตพระนิกายปาแดง ก็สามารถไลเปรตไปได แตที่เปนปญหาของสองนิกายก็คือการ กลาวหากันในเรื่องวัตรปฏิบัติทางศาสนา และเรื่องมายุติโดยมีการ ขอรองจากทางเชียงใหมโดยพระแกวเมือง (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552, หนา90-91 และ บําเพ็ญ ระวิน, 2538) วัฒนธรรมอยางหนึ่งที่สืบเนื่องจากพุทธศาสนาจากลานนา ที่เขามาสูเมืองเชียงตุงนั้นคือ การใชระบบอักษรตัวเขียนที่เรียกวา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

19


“อักษรธรรม” หรือ “ตัวธรรม” ของลานนา โดยตอมาไดพัฒนาให มีลักษณะเฉพาะเรียกวา “ตัวเขิน” โดยอักษรธรรมแบบลานนานี้ได ใชในการเขียนเรือ่ งราวในพุทธศาสนาจึงถือวาเปนตัวอักษรศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยอั ก ษรธรรมนี้ แ พร ก ระจายไปทั่ ว ภู มิ ภ าคตอนบนของเอเชี ย อาคเนย ในถิ่นฐานที่คน “ไต” นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทใน ดินแดนเมืองเชียงตุง เมืองยอง เมืองเชียงรุง เมืองแลม เมืองจิงกู เมืองซือเหมา เขตใตคง และเมืองแสนหวี ความรูทางอักษรศาสตร ของเชียงตุงสามารถแปลพระไตรปฎกทัง้ ชุดรวมถึงคัมภีรว สิ ทุ ธิมรรค จากภาษาบาลีเปนภาษาเขินได (เสมอชัย พูลสุวรรณ ,2552,หนา93)

วัดพระเจาหลวง หรือ วัดมหาเมียะมุณี

20

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


วัดพระเจาหลวง หรือ วัดมหาเมียะมุณี

กลุ  ม เชี ย งตุ ง มี ค วามแตกต า งกั บ กลุ  ม เมื อ งที่ อ ยู  ท างทิ ศ ตะวันตกของแมนํ้าสาละวินที่มีตัวอักษรที่เรียกวา “ลิกตัวปอง” ซึ่งใชในการจารึกเรื่องราวตางๆ เปน “ภาษาไต” ไดแตไมสามารถ แทนเสียงบาลีไดครบถวน ดังนัน้ กลุม ไต (โหลง) และกลุม พุทธศาสนา นิกายกึงจองแบบพมา จึงไดใชอกั ษรพมาในการถายเสียงบาลีในเรือ่ ง ทางพุทธศาสนา ในสวนรูปแบบทางศิลปกรรมนั้นในระยะแรกที่เชียงตุงกับ เชียงใหมมีสัมพันธไมตรีในฐานะเมืองเครือญาติกันถึงแมวาการตก เปนเมืองขึน้ ของพมาของทัง้ สองเมือง เชียงใหม เชียงตุง ก็เปนอิสระ ตอกันในฐานะประเทศราชของพมา ศิลปกรรมตางๆ ก็ยังคงเปนรูป แบบเดียวกันจนมาถึงสมัยเจากาวิละนั้นไดมีการกวาดตอนผูคน จน เมืองเชียงตุงเกือบเปนเมืองราง เมื่อมีการฟนฟูเมืองขึ้นมาใหมโดย เชียงตุงแยกตัวไปขึ้นกับพมานั้น ศิลปกรรมทางพุทธศาสนาไดมีการ โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

21


ผสมผสานกับสกุลชางทางมัณฑะเลย เชน การสรางพระมหามุนีใน สมัยเจากอนแกวอินแถลงเปนเจาฟาเชียงตุง ทางการพม า ได เ ข า มาจั ด การทางพุ ท ธศาสนาในเมื อ ง เชียงตุงหลักจากจากที่มีการทําลายหอคําเจาฟาเชียงตุงในป พ.ศ. 2534 โดยมีพระสงฆจํานวนมากคัดคานการทําลายหอคําดังกลาว และพระเหลานั้นไดถูกจับไปเปนจํานวนมากและรัฐบาลพมาได กําหนดใหพระสงฆในเชียงตุงมีการใหเลือกนิกาย โดยสวนใหญเลือก ที่จะเขารวมนิกายสุธรรมาซึ่งเปนนิกายสงฆที่ใหญที่สุดในพมา โดย มีนิกายรองลงมาคือนิกายสวยจิน และลดฐานะของประมุขสงฆของ เชียงตุงลงเทียบเทาเจาคณะสงฆระดับจังหวัด นอกจากนี้แลว ทางการพมายังไดสรางพระพุธรูปแบบพมาประทับยืนชีน้ วิ้ สูงราว 60 ฟุต สกุลชางทางมัณฑะเลย บนดอยจอมสักสรางเสร็จในป พ.ศ.2541 โดยสรางแบบเดียวกันที่เมืองลา อีกดวย โดยเปนคติความเชื่อเรื่อง พระเจาเลียบโลกที่ทํานายเมืองตางๆ การสรางครั้งแรกที่ยอดเขา เมืองมัณฑะเลย ในสมัยพระเจามินดง นับเปนความพยายามของ รั ฐ บาลพม า ที่ จ ะสร า งรู ป แบบพุ ท ธศาสนาในแบบพม า ในภาค ตะวันออกของแมนาํ้ สาละวิน ทีม่ ปี รากฏพบเห็นโดยทัว่ ไป ในรัฐฉาน เชน การสรางเจดีย เชวดากองจําลอง การสรางอนุสาวรียพระเจา บุเรงนอง การปรับปรุงวัดไทใหญ ใหเปนแบบพมา การสรางเจดีย ชเวดากองจําลองใหโดดเดนกวาอนุสาวรียเ สรีภาพ (อนุสาวรียส ญ ั ญา ปางโหลง) ที่เมืองปางโหลง (เครือขายปฏิบัติงานผูหญิงไทใหญ, 2552)

22

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


พระพุทธรูปปางชี้นิ้วบนดอยจอมสัก เมืองเชียงตุง

พระพุทธรูปปางชี้นิ้ว ณ วัดจอมคําหลวง (วัดพระธาตุจินตะ) เมืองลา

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

23


ในการเดินทางสํารวจวัดในเชียงตุงพบวา ตรงกลางแทน พระประธานในวิหารนั้นจะมีพระพุทธรูปแบบกรุงเทพฯ มาวางไว ตรงกลางเสมอ การไปหลายครัง้ ระยะหางกันหนึง่ ปกพ็ บวาพระพุทธ รูปแบบกรุงเทพไดเปลีย่ นองคใหมไปแลว แสดงวามีการนําพระพุทธ รูปมาวางไวโดยคนไทยเปนจํานวนมากและตองวางไวตรงกลางหนา พระประธานเสมอ นับวาเปนการเมืองเรือ่ งศาสนาระหวางพมา ไทย และมีพื้นที่เชียงตุงเปนสนามทางการเมือง

การเปลีย่ นแปลงในชวงนีเ้ ปนการเปลีย่ นแปลงภูมทิ ศั นเมือง เชิงสัญลักษณแหงอํานาจ การทุบทําลายหอคําสัญลักษณของรัฐ เจาฟาหรือแมกระทั่งการลดความสําคัญ กู (ที่ไวอัฐิ) ของเจาฟาใน เชียงตุง วาเปนสถานทีต่ อ งหาม ถาเรามีผนู าํ เทีย่ วเปนเจาหนาทีข่ อง 24

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


รัฐเขาก็จะไมแนะนําใหไป แตถาเราจะไปเขาจะไมเดินเขาใกลเลย ใหนักทองเที่ยวเดินไปเอง

กูเจาฟาเมืองเชียงตุง

การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนทางศาสนาที่นาสนใจในป พ.ศ. 2557 นี้ หลังออกพรรษา จะมีการธรรมยาตรา ของกลุมองคกร สงฆ ข นาดใหญ จ ากประเทศไทย ซึ่ ง มี ส าขาเป น อาคารสามชั้ น ในเมื อ งเชี ย งตุ ง เดิ น ทางมาประชุ ม จั ด งานมี ก ารจั ด รถทางการ พมานําเปนขบวนขนาดใหญ การจัดงานแบบนี้ที่เคยจัดมาแลว ในกรุงเทพมหานคร ครัง้ นีจ้ ดั กลางเมืองเชียงตุงรอบวิหารพระมหามุนี โดยมีการรณรงคอาสาสมัครมากมาย จากนักศึกษามหาวิทยาลัย เชียงตุงดวย

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

25


ภาพจาก : http://www.dmc.tv/pages/ขาวประชาสัมพันธ /ขอเชิญรวม พิธีถวายมหาสังฆทาน-315-วัด-นครเชียงตุง.html

26

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ภาพจาก : https://www.facebook.com/pages/มั่นใจวา-1000000ลานคน-รักเชียงตุง/230383263669381

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

27


พัฒนาการทางศาสนากับรัฐที่เปนหนึ่งเดียวกันนี้ เปนรูป แบบเชิงอํานาจ ที่ไดรับอิทธิพลจากศูนยกลางอํานาจศาสนาที่มีตอ รัฐเชียงตุง สามารถแบงไดเปนสามระยะคือ สมัยอยูภายใตอิทธิพล ลานนา เปนสวนหนึ่งของอาณาจักรพมา สมัยอยูภายใตอาณานิคม อังกฤษ และเมือ่ เปนสวนหนึง่ ของรัฐฉานสหภาพพมา ตอพัฒนาการนี้ ไมไดมีความเปนหนึ่งเดียวเสมอไปทั้งระหวางพมากับเจาฟาเชียงตุง และระหวางเจาฟาเชียงตุงและ กลุมชาติพันธุภายใตโครงสราง อํานาจรัฐแบบจารีต

28

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


หลอย (ปลัง) ในเศรษฐกิจรัฐเชียงตุง และความสัมพันธ ทางชาติพันธุ ในเขตรัฐฉานตะวันออกของแมนาํ้ สาละวินไปจรดแมนาํ้ โขง นั้นประกอบดวยกลุมชาติพันธุจํานวนมาก ในพื้นราบไดแก กลุม “เขิน” “ลื้อ” และ “ยอง” ในสวนบนพื้นที่สูงไดแก กลุม “หลอย “กอ” “มูเซอ” “วา” “ลัวะ” “อาขา” “แอน” ในสวนของกลุม ไต (โหลง) จากรัฐฉานตอนใต และกลุม “ไต (เหนอ)” จากเขตใตคง ของมณฑลยูนนาน โดยกลุมชาติพันธุหลอย (ปลัง) นี้ถูกอธิบายในงานทาง วิชาการของไทยหลายชิ้นวา เปนกลุม ภาษามอญ-เขมร ที่บางครั้ง ถูกเรียกวากลุมลัวะ5 ที่ถูกเลาวาเปนเจาของถิ่นเดิมในลานนาและ เชียงตุง โดยที่จิตร ภูมิศักดิ์ไดกลาวถึง การกลืน กลายลัวะใหเปน ไตหลอยดังนี้ “โดยเจาของถิ่นเดิมเชียงตุงนั้นเปนลัวะ (ลา,วา) ซึ่ง เปนผูสรางบานแปลงเมืองมากอน ในคํากลาวที่วา สางกอผา ลากอ เมือง คือเทวดาสรางฟา ลา (ลัวะ) สรางเมือง เมื่อไตไดกลืนคน ในความเปนกลุมชาติพันธุระหวางปลัง กับลัวะนั้นแตกตางกันโดยไมมีความ สัมพันธุเชิงชาติพันธุถึงแมวาในทางภาษาศาสตรจะจัดใหอยูในกลุมภาษาที่มี รากฐานเดียวกันก็ตาม โดยกลุม ลัวะในพืน้ ทีป่ ระเทศไทยนัน้ จะนับถือขุนหลวง วิลังคะเปนวีรบุรุษในตํานานรวมกันซึ่งกลุมปลังนี้จะไมมี และการเรียกตนเอง วาปลังนั้นไดเรียกตัวเองมาตั้งแตอาศัยอยูใน พื้นที่ของสิบสองปนนา มณฑล ยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และกระจายตัวตามเสนทางการคาโบราณ จากคุนหมินในมณฑลยูนนาน สิบสองปนนา สามเตา เมืองลา เมืองมา เชียงตุง เชียงราย เชียงใหม ตาก และออกทะเลที่เมาะตะมะ โดยกลุมไทใหญเรียกคน ปลัง วา ไตหลอย หรือไตดอย (ฉวีวรรณ และคณะ,2555, 67-73)

5

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

29


เหลานีไ้ ปพวกลา จึงหันมานับถือพุทธศาสนา และพูดไต แตยงั คงอยู ตามดอยอยางบรรพบุรุษ เรียก “ไตหลอย”โดยไตลื้อรียกกลุมนี้วา “ขาสามตาว”6 แตสําหรับนักวิชาการอีกหลายคนไมไดเหมารวมวา หลอย (ปลัง) เปนไต หรือไท เชนบทความเรื่องคนไทกับเพื่อนบาน : กรณีเชียงตุง ของ มรว.รุจยา อาภากร7 โครงสรางอํานาจของสังคมเชียงตุงนั้น ประกอบดวยกลุม เจาที่เปนคนไตเขิน (ขึน) กลุมพระ และกลุมคนดอย ความสัมพันธ ระหวางคนดอย หรือ หลอย หรือปลัง8 ในงานภาคสนาม เมื่อ สัมภาษณ คนแกกลุมหลอย ในบานแงก ชายแดนเมืองเชียงตุงกับ เมืองลา จะไดรับคําตอบวา “àÃÒË¹Õ ¾Ç¡ÁѧÃÒ ÁÒÍÂÙ‹º¹´Í ᵋà´ÔÁ¹Ñé¹àÃÒ໚¹ ਌ҢͧàÁ×ͧàªÕ§µØ§”

จิตร ภูมิศักดิ์(2544) ความเปนมาของคําสยาม ไทย ลาว ขอม และลักษณะ ทางสังคมของชื่อชนชาติฉบับสมบูรณ เพิ่มเติมขอเท็จจริงวาดวยชนชาติ ขอม พิมพครั้งที่ 5 สํานักพิมพศยาม กรุงเทพหนา 303-309 7 รุจยา อาภากร, ม.ร.ว. 2545. “คน “ไท” กับเพือ่ นบาน : กรณีเมืองเชียงตุง” การศึกษาประวัติศาสตร และวรรณกรรมของ กลุมชาติพันธุไท. กรุงเทพฯ : อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่งหนา178 8 กลุมคนที่เรียกตนเองวา ลัวะจัดอยูในกลุมภาษามอญ-เขมร ที่เรียกวาตระกู ลออสโตรเอชียติก ทีเ่ ปนภาษา “ปลัง” สาขาภาษาปะหลอง โดยกลุม คนทีพ่ ดู ภาษานีส้ ว นใหญอาศัยอยูใ นมณฑลยูนนานประเทศจีน บางสวนอพยพไปเมือง เชียงตุง รัฐฉานประเทศพมา และภาษาปลั้งยังมีภาษาถิ่นอีก 7 สําเนียงคือ กอนตอย จงมอย สะเตง แบมยอง กอนมา ปงโลชิ และกอนกลาง 6

30

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


กลุมหลอย (ปลัง) นี้เปนสวนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจและ การปกครองของรัฐเจาฟาเชียงตุงในการรวบรวมภาษี ไปสูส ว นกลาง และไดรับความไววางใจในการทํางานในหอคําเจาฟาเชียงตุงเพราะ มีความซื่อสัตยสุจริตในการดํารงชีวิต การไดใกลชิดกับอํานาจของ เจาฟาเชียงตุงทําใหกลุมคนหลอย (ปลัง) ไดรับวัฒนธรรมทางพุทธศาสนาในเชียงตุงเขาไวและนําไปสรางศาสนสถานทางพุทธศาสนา ในหมูบ า นตนเองโดยมีลกั ษณะเฉพาะทางทําใหเห็นถึงความสัมพันธ ระหว า งศาสนากั บ ความเป น ชาติ พั น ธุ  ไ ด อ ย า งไรในฐานะกลุ  ม ชาติพันธุที่ไมใช “ไต” แตใชอักษรไต (เขิน) เปนภาษาทางศาสนา

กลุมชาติพันธุหลอย (ปลัง) มีสถานะภาพทางสังคมใน รัฐเจาฟาเชียงตุงในฐานะกลุมคนที่เก็บภาษีใหกับรัฐเชียงตุงโดยมี ตําแหนง ปูม นั่ (ปูแ ก) ปูแ สน สีเ่ สา ปูล า ม (พอลาม) ในระดับหมูบ า น และส วนหนึ่งเปนคนที่ทํางานในหอคํ า เจ า ฟ า เชี ย งตุ ง เนื่ อ งจาก โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

31


เปนกลุมชาติพันธุที่ไดรับการยอมรับวาซื่อสัตยเปนอยางยิ่ง ดังนั้น หลอย (ปลั ง ) เป น กลุ  ม ชาติ พั น ธุ  ที่ มี ค วามใกล ชิ ด กั บ อํ า นาจรั ฐ เปนสวนหนึง่ ของระบบการจัดเก็บรายได และมีหนาทีต่ ามจารีตของ เจาฟาเมืองเชียงตุงในการตีกลองบูชาผีเมืองในชวงวันสังขารลอง และสงขุนสังขาร หนาที่ของหลอยนี้กลายเปนสวนหนึ่งของอํานาจ และการทําใหพุทธศาสนาเปนสวนหนึ่งของสังคมชาติพันธุหลอย (ปลัง) ในฐานะทีพ่ ทุ ธศาสนากลายเปนสถานภาพของชนชัน้ ปกครอง รัฐเจาฟาเชียงตุง รวมถึงการปลูกฝาย เก็บใบชา ที่เปนพืชทาง วัฒนธรรม เปนกลุมคนที่ทํางานในหอคําเจาฟาเชียงตุง เนื่องจาก คนหลอย (ปลัง) จะมีความซื่อสัตย จงรักภักดี แมกระทั่งปจจุบัน ที่อํานาจเจาฟาหมดไปจากเมืองเชียงตุงแลวก็ตาม กลุมคนหลอย (ปลัง)ยังไดรับหนาที่เฝาบาน หรือสถานที่ ของเครือญาติเจาฟา เชียงตุงอยู พุทธศาสนสถานของหลอย (ปลัง) ชุมชนและวัดของกลุม ชาติพนั ธุห ลอย (ปลัง) ในเขตเชียงตุง เมืองลา สามตาว กระจายตัวไปตามภูเขาตามเสนทางเดินเทา ระหวางกลุมหมูบานในเขตภูเขาเปนเสนทางการคา หางจากถนน เชื่อมตอระหวางเชียงตุงเมือลามาก เชน บานแสน บานแยก (แง็ด) จะหางจากถนนราว 15 กิโลเมตร ขึน้ ไปบนเขา สวนบานหนองหลวง นัน้ หางจากถนนประมาณ 30 กิโลเมตรทางเขาหมูบ า นจะพบประตู หมูบานที่เปนไมแบบเสากับคาน มีทางเดินที่วางดวยหินในระยะ กาวเดินผูใหญเปนระยะจากนอกประตูหมูบานเขามาในหมูบาน กลุมบานจะอยูตํ่ากวาวัด 32

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

33


สภาพภายในเรือนยาว (Long House) ของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลัง)

34

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


สําหรับบานของหลอย นั้นมีลักษณะพิเศษกวาบานในเขต เอเชียอาคเนยตอนบนกลาวคือมีลักษณะเรือนยาว (Long House) เรือนหนึ่งจะอาศัยอยูกันราว 5-7 ครอบครัวแตละครอบครัวจะมี เตาไฟในบานของตนเอง การสอบถามชาวบานในพบวาการอาศัยใน เรือนยาวนั้นเปนการเลี่ยงภาษีจากการนับหลังคาเรือน นับวาเปน เรือนยาวที่มีในเขตภูเขาที่นาศึกษาความสัมพันธระหวางเครือญาติ ในเรือนยาว (จากการสังเกตของผูรวมเดินทางที่เปนนายแพทยให ความเห็นวาเมือ่ ดูจากรูปใบหนาและอาการทีพ่ บภายนอกคาดวาจะ มีการแตงงานในเครือญาติใกลชดิ ) ขณะนีเ้ รือนยาวเหลืออยูเ พียงสอง หมูบ า นเทานัน้ คือ หมูบ า นแง็ด หมูบ า นแสน ในเขตเชียงตุงของพมา สวนหมูบ า นอืน่ ๆ ในเขตเมืองลา เมืองสามตาวนัน้ ไดถกู เขตปกครอง ตนเองเมืองลาบังคับใหแยกครอบครัวออกจากกันไปเปนครอบครัว ละหนึ่งหลัง โดยอางวาจะเปนการปองกันโรคติดตอได บานที่สราง ใหมนี้จางชางจากเชียงตุงในราคาหลังละหาหมื่นบาทไทย นับวาจะ ตองเปนครอบครัวทีเ่ งินเก็บมากพอสมควรหลังจากการขายขาวและ พืชผลทางการเกษตรประจําป ในสวนความเชือ่ อืน่ ๆ นัน้ พบวาในหมูบ า นจะมีตาํ ราทํานาย โชคชะตา และที่สําคัญคือตําราการทํานายดวยกระดูกขาไก ที่มีทุก หมูบ า น แมกระทัง่ หมูบ า นหวยนํา้ ขุน ทีจ่ งั หวัดเชียงราย ก็พบตํารานี้ เชนกัน และตํารานีม้ จี าํ นวนตัวทายมากกวาทีเ่ คยพบในกลุม ชาติพนั ธุ อื่นๆ คือมีถึง 160 ตัวทาย9 โดยความเชื่อเรื่องนี้อาจเชื่อมโยงเรื่อง 1. เผไก ของ อาหม 132 แบบ เขียนดวยอักษรภาอาหม 2. เผไกหลวงฟา ของไทพาเก 59 แบบ เขียนดวยอักษรไทพาเก 3. พับหมอดูไก ของไทลือ้ 112 แบบ อักษรไทลื้อแบบเกา

9

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

35


ขุนลู ขุนไล ในตํานานกลุมไทใหญในจีน เราจะพบวัดและชุมชนของกลุม หลอย (ปลัง) นี้ ตามรายทาง การคาโบราณ วัดบานแง็ด วัดบานแสน วัดหนองหลวง และตามเสน ทางไปเมืองสามตาว เมืองลา จะมีวัดหลวงปาหา วัดปากลาง วัดปา ไกล วัดบานเกน วัดหนองคํา วัดทะปางหลวง (โดยเรียงลําดับระยะ หางจากเมืองเชียงตุงออกไปถึงเขตสามตาว)10 ซึ่งยังมีวัดของกลุม ชาติพันธุหลอย ในพื้นที่นี้อีกจํานวนหนึ่งที่ยังไมมีใครเขาไปสํารวจที่ เปนเขตสุดทายของการแบงอํานาจระหวางเชียงตุง กับเชียงรุง คือ เขตสามตาว ที่ใชคําวา “เอาปฏิญานเปนนํ้าหลังดินที่หัวดอยสามเสา นํ้ายอยพาย เมื อ งสามต า ว เป น พื้ น ที่ ที่ อ ยู  ร ะหว า งเมื อ งลา กั บ เมื อ งนํ้ า ปาด ในประวัติศาสตรเมืองนี้ เปนพื้นที่ที่แบงอํานาจระหวาง สามเมืองใหญคือ เชียงตุง เชียงรุง และเชียงแสน ดังเอกสารโบราณทีป่ ริวรรตแลวดังนี้ “เอาปฏิญาน เปนนํ้ า หลั ง ดิ น ที่ หั ว ดอยสามเส า นํ้ า ย อ ยพายทางหนเหนื อ เป น ดิ น แดน เมืองแลม (เมืองในเขตเชียงรุง-สิบสองปนนา) นํ้ายอยทางหนไตเปนแดน เมืองเชียงตุง” (อรุณรัตน วิเชียรเขียว, 2531, หนา74-76) จ.ศ.926 ฟาสุทโธ ธรรมราชามาแบงขามอน (ชาวดอย) ออกเปนสามปุน แตละปุนตั้งเปนทาว หนึ่ง ทาว 1 เขากับเมืองลื้อ (เชียงรุง) ทาว 1 เขากับเชียงตุง ทาวหนึ่งเขากับ เชียงแสน ตั้งหั้นมาจึ่งรองวาสามทาวแล (จากเชื้อเครือเจาแสนหวีสิบสองพัน นาหนา159) เมื่อภายหลังนี้ แดนดินเมืองลื้อรอดผาสามเสานํ้าเขารู พนเมือง หลวงนํ้าทาไป 2 วันทาง ผาสามเสานํ้าเขารูนั้น เปนแดนดิน 3 สม คือเมือง ลาว เมืองยวน แลดินแดนเมืองลื้อ ชุมกัน (จากเชื้อเครือเจาแสนหวีสิบสอง พันนาหนา 155) การแบงพื้นที่นี้โดยใชเกณฑระบบปนนํ้าระหวางกลุมภูเขา สามลูก หรือดอยสามเสา มาใช ดังนั้นพื้นที่สามตาว นี้จึงเปนพื้นที่ที่เปนจุด เชื่อมตอระหวางอํานาจของรัฐโบราณ

10

36

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ทางหนเหนือเปนดินแดนเมืองแลม (เมืองในเขตเชียงรุง-สิบสอง ปนนา) นํ้ายอยทางหนไตเปนแดนเมืองเชียงตุง” (อรุณรัตน วิเชียร เขียว, 2531, หนา74-76) ปจจุบันสามตาวอยูในเขตการปกครอง ตนเองชนกลุมนอยเมืองลา11

เมืองลาเปนเขตแดนติดตอกับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เดินทางจาก เชียงตุง ไปทางตอนเหนือของรัฐฉาน เสนเขตแดนระหวางเมืองเชียงตุงและ เมืองลาคือ แมนํ้าหลวย เมื่อขามแมนํ้าหลวยแลวก็จะเขาเขตปกครองตนเอง เมืองลา โดยเขตปกครองตนเองนี้เรียกวา เขตปกครองพิเศษที่ 4 มี 3 เมือง ดวยกัน คือ (1) เมืองลา ที่ตั้งกองบัญชาการใหญของ NDAA (2) เมืองสือลือ ทางเหนือของเมืองลา และ (3) เมืองนํ้าปาน ทางตอนใตเมืองลา เมืองลาเปน ศูนยกลางการปกครองของเขตเขตปกครองพิเศษมาที่ 4 มาตั้งแตป 2532 โดยมีชื่อเรียกกองกําลังนี้วา “กองกําลังสัมพันธมิตรประชาธิปไตยแหงชาติ” ภาษาอังกฤษใชคําวา National Democratic Alliance Army (NDAA) แต จะเรียกงายๆ วา “กองกําลังเมืองลา”กองกําลังเมืองลา NDAA ในอดีตเปน กองกําลังในสังกัดพรรคคอมมิวนิสตพมา ตอสูกับรัฐบาลพมา โดยมีจีนใหการ สนับสนุน ตอมาในป 2532 ไดถอนตัวจากพรรคคอมมิวนิสตพมาและเจรจา หยุดยิงกับรัฐบาลทหารพมา และตั้งกองบัญชาการและพื้นที่เคลื่อนไหวอยูใน ภาคตะวันออกรัฐฉาน ติดชายแดนจีนปจจุบนั (2553)กองกําลังเมืองลา NDAA มีกําลังพลราว 3,500–4,000 นาย มีเจาจายลืน หรือ หลินหมิ่งเสียน เปนผูนํา 11

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

37


มีบทความทางวิชาการเกี่ยวกับวัดของกลุมชาติพันธุหลอย ไดแกงานของเกรียงไกร เกิดศิริ ทีศ่ กึ ษาตัวสถาปตยกรรม วัดบานแง็ด วัดบานแสน และกลาววาเปนสถาปตยกรรมรวมลานนา-หลวงพระบาง (เกรียงไกร เกิดศิริ,2550) อีกงานหนึ่งของไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา เปนการศึกษาในเรื่องสถาปตยกรรมพื้นถิ่นของชนชาติไทในรัฐฉาน กรณีศึกษา : อาคารทองถิ่นเมืองเชียงตุง เมืองมา เมืองลา (http:// www.kmitl.ac.th/ader/) ในสวนการศึกษาเรือ่ งประวัตศิ าสตรศลิ ป นั้นมีการศึกษาของศูนยโบราณคดีภาคเหนือ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในรายงานการวิจยั เรือ่ ง การศึกษาเปรียบเทียบ งานศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ของชุมชนไท เมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา และชุมชนแมทะ จังหวัดลําปาง (พ.ศ.2552) รวมถึง งานของศิรพงศ ศักดิ์สิทธิ์ ในวัดบานเกณ เมืองลา หลักฐานทาง โบราณคดีทมี่ ชี วี ติ ทัง้ สองเรือ่ งเปนการศึกษาทางเปรียบเทียบวัดของ กลุม ชาติพนั ธุห ลอยกับลานนา ในแงมมุ ของศิลปกรรมและโบราณคดี วามีลักษณะทางศิลปกรรมประเพณีรวมกันอยางไร

38

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


บทความนี้จึงไมไดมุงไปในเรื่องความเหมือนที่มีลักษณะ รวมกันระหวางลานนา เชียงตุง ลานชาง เชียงรุง แตเปนการศึกษา เรื่องความแตกตางที่มีลักษณะเฉพาะของกลุมชาติพันธุ โดยกลุม หลอย (ปลัง) สามารถใชความแตกตางในการเขาถึงผลประโยชน ทางการเมืองระหวางกลุมชาติพันธุไดอยางไรในสัญลักษณที่ชาว หลอยไดสรางขึ้นในพุทธศาสนสถานของตน

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

39


วัดพระธาตุจอมดอย ความกลมกลืนระหวางชาติพันธุนั้นไมไดราบรื่นทุกมิติทาง สังคมวัฒนธรรม การแสดงออกทางศิลปกรรมในพุทธศาสนาก็เปน สวนหนึง่ ทีส่ รางเขตแดนทางศิลปกรรมระหวางกันได ในกรณีระหวาง กลุมหลอย(ปลัง) กับ กลุมเจาเชียงตุงก็เชนกัน ในพื้นที่นอกเมือง เชียงตุงบนภูเขาจอมดอย มีวัดและเจดียที่สรางขึ้นโดยคนหลอย (ปลัง) โดยมีเรื่องเลาที่อาจหมายถึงการนับถือศาสนาพุทธมาอยาง ยาวนานจากไตเขิน กลาวคือ นอกเมืองเชียงตุงมีพระธาตุเจดียชื่อ พระธาตุจอมดอยมีตํานานกลาววาสรางโดยสองตายายชาวหลอย เมือ่ แรกสรางมีอาํ มาตยของเจาเมืองเชียงตุงไปหามไมใหสรางพรอม ทั้งดูถูกวาเปนคนปาจะสรางเจดียใหสําเร็จไดอยางไรสองตายายจึง 40

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


สาปแชงวาถาเจาฟาเชียงตุงองคใดมานัสการพระธาตุของใหปวย และมีอันเปนไป

นายกางไออุน และนางเอยแกว สองตายายผูสรางพระธาตุจอมดอย ตามตํานานที่ไดกลาวไว

นอกจากนี้ ที่วัดราชฐานหลวงเชียงยืนมีพระพุทธรูปสําริด ยืนจีบนิ้วที่ชาวลัวะนับถือและตองจัดเครื่องบรรณาการมาสักการะ ทุกป12 แตมีเรื่องเลาที่ซอนทับในเมืองเชียงตุงที่กลาวถึงพระพุทธรูป องคนี้วา ไดนํามาจากที่ไหนไมทราบ แตนํามาประดิษฐานไวที่วัด เชียงยืนนี้เพื่อที่จะใชหลอมเปนลูกกระสุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งทหารใชพื้นที่วัดเปนสวนหนึ่งของกองบัญชาการดวย ความทับ ซอนของเรือ่ งเลานีแ้ สดงใหเห็นความพยายามทีจ่ ะสรางความหมาย ใหมทับซอนความหมายเดิมระหวางคนสองกลุม 12

เสมอชัย พูลสุวรรณ อางแลว ,2552,หนา 84 โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

41


จากตํานานเรื่องนี้เราอาจจะกลาวไดวากลุมหลอย (ปลัง) หรือ ไตดอย มักจะนิยมสรางพระธาตุทมี่ หี ลังคาคลุม และเกรียงไกร เกิดศิริไดกลาววา จากการสํารวจวัดไตหลอยเกือบทุกวัดพบวา พระธาตุ ของวัดไตดอยเกือบทุกหลังจะมีหลังคาคลุม ในศรีลงั กามีวหิ ารครอบ เจดียที่เรียกวา “วฏทาเค” สวนถาอยูในเชียงตุง เปนเรื่องปกติของ พมาที่ชอบสรางอาคารคลุมเจดีย มีบางในบานเราที่ติดอิทธิพลนี้มา เชนวิหารหลังหนึ่งในวัดพุทไธสวรรย อยุธยาแนวคิดเรื่องเจดียที่ทํา อาคารครอบ แมจะมีตนกําเนิดจากอินเดีย แตมีความนิยมอยางสูง มากในลังกา เรียกวา “ถูปาฆระ” ซึ่งแปลวา สถูปมีหลังคาคลุมใน เชียงตุงพบมากเนือ่ งจากทําเจดียอ งคไมใหญมากนักครับ และนาจะ สัมพันธกับการเผยแพรศาสนาของนิกายปาแดงนอกจากที่เชียงตุง ยังพบที่เชียงแสนอยูดวยจํานวนหนึ่งครับ ลองสังเกตรอบฐานเจดีย จะมีกอ นหินนอนอยู นัน่ คือตีนเสาหินซึง่ เสาโครงสรางไมไดพงั ทลาย ลงไปแลวแตเราพบที่เชียงใหมนอยมากๆ อาจเปนเพราะเจดียตางๆ ในพุทธศาสนาไดถูกสถาปนาขึ้นจนหมดแลวตามวัดตางๆ ในเมือง เชียงใหม และเมื่อมีนิกายใหมเขามาจึงไมไดสถาปนาเจดียองคใหม ขึ้ น ในเชี ย งตุ ง จะมี ห ลายที่ ค รั บ ที่ สํ า คั ญ คื อ พระธาตุ จ อมดอย พระธาตุเปงใจ วัดอิน และวัดในของกลุมไตดอยแถบเมืองลา เชน วัดนํา้ ยือ้ วัดนํา้ ไค วัดกาดใหม เปนตนกลุม ไตดอยนิยมสรางเจดียบ น ภูเขา และมีขนาดไมใหญโตนัก จึงเปนมูลเหตุใหสรางอาคารคลุม เจดีย เพือ่ เกิดทีว่ า งภายในสําหรับประกอบพิธกี รรมลักษณะเชนเดียว กับการสรางวิหารหนาเจดียใ นวัฒนธรรมลานนา สุโขทัย อยุธยาครับ หากแตเมื่อเจดียไมใหญมากก็สรางสวมเลย 42

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


เสอชัย พูลสุวรรณ ในรัฐฉาน (เมืองไต) หนา 84 โดยอางอิงใน บุญชวย ศรีสวัสดิ์ อีกทีจากหนังสือคนไทยในพมา (2503 หนา 349380) พวกหลอย นี้ไดรับวัฒนธรรมพุทธศาสนาจาก เขิน มานาน แลว ที่นอกเมืองเชียงตุงไมสูไกลนัก มีพระธาตุเจดียสําคัญเปนของ โบราณองคหนึ่งเรียกวาพระธาตุจอมหลอย มีตํานานกลาววาสราง ขึน้ โดยชาวหลอยสองคนตายาย เมือ่ แรกสรางมีอาํ มาตยของเจาเมือง เชียงตุงมาหามปราม แลวยังปรามาสดูหมิน่ วาเปนชาวปาชาวเขาจะ สรางเจดียสําเร็จไดอยางไรทั้งสองตายายจึงผูกใจเจ็บสาปแชงไววา ผูใดขึ้นเปนเจาฟาเชียงตุง ถาหากขึ้นพระธาตุจอมหลอย ขอให ประสบโรคาพยาธิภยันตรายมีอนั เปนไปตางๆ นานาเทาทีผ่ า นมาจึง ยังไมเคยมีเจาเมืองเชียงตุงพระองคใดกลาทดลองขึ้นนมัสการพระ ธาตุจอมหลอยไดทั้งที่พระธาตุนี้ถือเปนเจดียสถานสําคัญของเมือง เชียงตุงแหงหนึ่ง มีอีกเรื่องเลาจากหนังสือรายงานการวิจัยเรื่องการศึกษา เปรียบเทียบศิลปกรรมทางพุทธศาสนาของชุมชนไทเมืองเชียงตุง รั ฐ ฉานสหภาพเมี ย นมาและชุ ม ชนแม ท ะจั ง หวั ด ลํ า ปาง โดยมี บทความวิจยั ยอยในรายงานนีเ้ รือ่ ง การนับถือ ผี หรือ “เทวดา” ของ เชียงตุง-แมทะ โดยอนุกูล ศิริพันธุ หนา 252 ดังนี้ ที่วัดพระธาตุจอมดอย ภายในหอ (ศาล) มีรูปปนชายหญิง หันหนาไปทางพระธาตุ โดยมีตํานานกลาววา มีเศรษฐีสองผัวเมีย เปนเจาศรัทธาสรางพระธาตุจอมดอย ในเวลานัน้ เจาฟาสัง่ ใหชาวบาน ทั้งหมดชวยสรางกําแพงเมืองแตสองผัวเมียเศรษฐี ขึ้นมาสรางพระ ธาตุไมไดไปสรางกําแพงตามคําสั่งเจาฟา ความรูถึงเจาฟาฯ จึงสั่ง โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

43


ประหารชีวิตและกอนโดนประหารชีวิตสองผัวเมียไดอธิษฐานไมให เจาฟาและเจาผูครองนครเชียงตุงไดขึ้นมาไหวพระธาตุจอมดอยอีก มีเรื่องเลาวาครั้งหนึ่งเจาฟาจะขึ้นมาไหวพระธาตุแตไมสามารถขึ้น มาไดเพราะชางไมยอมขึน้ ตัง้ แตนนั้ มาเจาฟาจึงไมไดขนึ้ มาไหวพระธาตุ อีกเลย ชาวบานจึงยกยองผัวเมียเศรษฐีเปนเทวดารักษาพระธาตุ ผู  เ ขี ย นได เ ดิ น ทางไปสั ม ภาษณ พ ระสงฆ ซึ่ ง จํ า พรรษาที่ วัดพระธาตุจอมดอยนี้แหงนี้ไดกลาวเพิ่มเติมวา คนหลอย (ปลัง) สองคนนีม้ ชี อื่ วา กางไออุน และนางเอยแกว เปนผูส รางเจดียน บี้ รรจุ พระเกศาพระพุทธเจา 4 เสนและเรือ่ งเกศาพระพุทธเจานีไ้ ดปรากฏ ในจิตรกรรมลายคํา ภายในวิหารของวัดพระธาตุจอมคํา วาเปนการ ประดิษฐานพระพุทธศาสนากอนคนไตเขินจะเขามาตั้งถิ่นฐาน ดังนั้นเราจะพบวิหารครอบเจดีย ในกลุมศาสนสถานของ กลุมคนหลอย (ปลัง) ในบทความนี้จะอธิบายถึงการที่กลุมชาติพันธุ หนึ่งกําลังหลบซอนสิ่งที่ตนเองศรัทธาและมีความสามารถในการ ประดิษฐานศาสนาไดมาอยางยาวนานกวากลุมคนที่มีอํานาจ เพื่อ ตนเองจะไดใชศาสนาเปนสวนหนึ่งของการเลื่อนชั้นทางสังคมใน โครงสรางสังคมระบบเจาฟาไดอยางแนบเนียน และยังรักษาความ เปนอัตลักษณตนเอง ทําใหเจาฟาเห็นวา คนหลอยไมไดแขงบุญบารมี กับกลุม เจาฟาเลยและยังเปนสวนหนึง่ ของพิธกี รรมตางๆ ประจําปอกี การสรางเจดียจึงเปนสิ่งที่หลบซอนไว เชน วัดบัวงาม วัดบานแยก วัดบานแสน วัดหนองหลวง วัดหลวงบานหา วัดปาไกล วัดปากลาง วัดปาตะ วัดบานกาง วัดหนองคํา วัดบานเกณ วัดทะปางหลวงเปน วัดตามเสนทางการคาโบราณจากสิบสองปนนามายังสามตาว เมือง ลาและเชียงตุง 44

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ลักษณะการสรางวิหารครอบเจดีย พบมากตามเสนทางจากสิบสองปนนา มายังสามตาว เมืองลาและเชียงตุง

แมสถานะทางสังคมระหวางไตเขินกับหลอยจะตางกัน แตความศรัทธาในศาสนานัน้ ไปในแนวทางเดียวกัน กลุม หลอย (ปลัง) เองนัน้ ไดรบั เอาพุทธศาสนามาเปนสวนหนึง่ ของกลุม เพือ่ สรางความ แตกตาง จากกลุมคนชาวเขาที่อยูบนดอยหางไกลศูนยกลางอํานาจ รัฐ ศาสนาไดสรางสถานภาพของกลุม ชาติพนั ธุห ลอย (ปลัง) แตกตาง ไปที่อยูระหวางคนไมมีศาสนากับกลุมผูมีอํานาจรัฐ แตความมี สถานภาพนี้ ดํ า รงอยู  บ นความแตกต า งทางการเมื อ ง และทาง ศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ขอสังเกตนั้นกลาวคือ เหตุที่ ธาตุเจดียที่ เปนวัดของกลุมหลอย (ปลัง) นั้น มีขนาดเล็กและ ถูกคลุมดวยวิหาร อีกชัน้ หนึง่ ทีแ่ ตกตางจากงานพุทธศิลปของกลุม คนไท ทีแ่ สดงถึงธาตุ เจดียท มี่ ขี นาดใหญและเดน แตของกลุม หลอย (ปลัง)เองนัน้ แสดงถึง ความซอนเรน ความศรัทธา ไมใหอํานาจของรัฐแบบจารีตเจาฟา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

45


พบเห็น เพื่อที่ตนเองจะแสดงความศรัทธาของตนได โดยอยูภายใต อํานาจรัฐจารีต สิ่งที่แตกตางอีกประเด็นหนึ่งคือการจัดลําดับชั้น การตั้งถิ่นฐานเขากับระบบจักรวาลวิทยา ทางพุทธศาสนา โดยจะ มีพระธาตุของศาสนาสถาน อยูในพื้นที่สูงที่สุด ลําดับตอมาเปน ศาสนสถานทีอ่ าศัยของพระสงฆ ตอมาเปนพืน้ ทีห่ มูบ า น ทําใหระบบ ของกลุม ชาติพนั ธุน แี้ มวา จะเปนคนดอยทีห่ า งไกล แตใหความหมาย เปนสวนหนึง่ ของระบบของศาสนา ซึง่ จะแตกตางจาก กลุม คนไตเขิน ทีเ่ มืองเชียงตุงทีไ่ มสามารถเชือ่ มตอบานของตนเขากับระบบจักรวาล วิทยาไดเลย การที่กลุมชาติพันธุหลอยในเชียงตุงเปนสวนหนึ่งในระบบ เศรษฐกิจแบบเจาฟา และการเขาใกลชดิ กับศูนยกลางอํานาจทัง้ ทาง เศรษฐกิจ การเมือง พิธกี รรม และศาสนา ทําใหศาสนสถานของกลุม ชาวหลอย (ปลัง) มีลักษณะที่เปนการสรางอัตลักษณลักษณทาง ชาติพันธุถึงแมวาจะเปนสวนหนึ่งในลําดับชั้นทางสังคม แตมีความ แตกตางทีพ่ บเห็นทางกายภาพ ในศาสนสถานทีแ่ ตกตางจากมิตขิ อง ศาสนาของรัฐเจาฟาเชียงตุง ที่ไมใชการไดรับอิทธิพลทางรูปแบบ ศิลปกรรมเพียงอยางเดียว แตกลายเปนการคัดสรรรูปแบบทาง ศิลปกรรม เพื่อการสรางอัตลักษณทางชาติพันธุ

46

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ไตรภูมิ ภาพและสัญลักษณ ในพุทธศาสนสถาน ของกลุ มชาติพันธุ หลอย (ปลัง) พุทธศาสนาไดอธิบายลักษณะจักรวาลทีเ่ ราอยูน วี้ า มีสณ ั ฐาน ทรงกลมหนึง่ วงกลมจะเทากับหนึง่ จักรวาล แตละจักรวาลจะเรียงตัว ตอกันเปนจํานวนมหาศาล (อนันตจักวาล) ในหนึ่งจักรวาลนั้นจะมี ศูนยกลางจักรวาลคือเขาพระสุเมรุ วางอยูบนกอนหินสามเสา (เขา ตรีกูฏ) ยอดเขาพระสุเมรุ คือ สวรรคชั้นดาวดึงส หรือเมืองไตรตรึง เปนทีอ่ ยูข องพระอินทร และเปนทีป่ ระดิษฐานพระเกตุแกวจุฬามณี เชิงเขาพระสุเมรุเปนบริเวณของปาหิมพานต รอบๆ เขาพระสุเมรุ เปนเขาสัตบริภณ ั ฑทงั้ 7 คัน่ ดวยมหานทีสที นั ดร ภูมมิ นุษยจะอยูช นั้ กลาง มีที่อยูอาศัยบนแผนดิน 4 ทวีป สวรรคมี 16 ชั้น กอนจะถึง ชั้นพรหม และชั้นนิพพาน ที่หลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด ใน ปาหิมพานตเชิงเขาพระสุเมรุจะมีสตั วหมิ พานตจากคติความเชือ่ ตาม เสนทางการสํารวจนี้พบวามี นาค นาคเกี้ยว หงส หงสไปคอ มอม กินรี กินนร นกหัสดีลิงค สิงห ตามคติทางพุทธศาสนาเรือ่ งไตรภูมนิ นั้ จะแตกตางจากกลุม ของศาสนาพราหมณในรายละเอียด เชน ในเรือ่ งการจัดระบบในคติ ทางพุทธศาสนานั้นบนยอดเขาพระสุเมรุนั้นมีสวรรคของพระอินทร ตั้งอยู ขางบนเหนือไปเปนชั้นพรหมตางๆ ตํ่าลงมาจากยอดเขาดาน ขางเขาพระสุรุเปนสวรรคชั้นของจตุมหาราชิกา (ทาวจตุโลกบาล) และตํา่ ลงไปเปนกลุม ภพของอมนุษย อสูร ใตลงไปเปนนาคพิภพ และ ใตดินลงไปเปนนรก ในสวนของพราหมณ ถือวาเขาพระสุเมรุเปน ศูนยกลางเหมือนกัน แตสวรรคของพระอินทรไมไดอยูบนยอดเขา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

47


พระสุเมรุ แตไปอยูท างทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ สวนทางทิศใตเปน ทีอ่ ยูอ ยูข องพระวิษณุ พระศิวะ เรียกไวกูณฐและไกรลาส ความแตก ต า งที่ สํ า คั ญ ยั ง มี อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ เรื่ อ งสถานภาพของเทพ เช น พระอินทรของพราหมณ นั้นเปนสถานภาพคงที่ ไมตาย เปนนิรันดร สวนเทพของคติทางพุทธศาสนานั้นเปนกลุมที่เวียนวายตายเกิด สวรรคชั้นไหนก็ไมเที่ยงในคติทางพุทธศาสนา ไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของหลอยนั้นมีลักษณะที่เฉพาะ ทางกลุม ชาติพนั ธุแ ละเปนสัญลักษณทปี่ รากฏอยางเดนชัด ในการใช พื้นที่ภูมิประเทศในการจัดลําดับชั้นของศาสนสถานกับชุมชนตาม ลําดับความสูงของพื้นที่โดยมีเจดียเปนยอดสูงสุดเหมือนกับเขา พระสุเมรุ ทางเขากอนถึงพื้นที่ของวัดนั้นจะเปนตนไมใหญ(ตนสะรี) เปรียบเสมือนการเขาสูแกนกลางของเขาพระสุเมรุที่ตองผานปา หิมพานต ที่ประตูวิหารมีสัญลักษณสําคัญคือ หงสปายคอ และกินรี เปนสัญลักษณของการเขาสูแกนกลางของจักรวาล กลุม ชาติพนั ธุห ลอยไดใชสญ ั ลักษณ “นาคเกีย้ ว” จํานวน 8 ตัวเปนสัญลักษณ ที่สื่อถึงไตรภูมิแบบ แนวแกนตั้ง การเกี่ยวกันของ นาคมีลักษณะเปนรูประนาบทรงกลมและบนระนาบพื้นที่สี่เหลี่ยม บางรูปนัน้ เปนรูปนาคทีเ่ กีย่ วรัดกันเปนผังตารางในลักษณะ “หูกทอ ผา” โดยเปรียบการทอผาเหมือนการสรางจักวาล (เอเดรียน สนอด กราส, 2541, หนา145-147) สัญลักษณนี้เปนการมองจักรวาลจาก เบื้องลางในฐานะสวนหนึ่งของจักรวาล แตมีการพบสัญลักษณ “ไตรภูมิแบบสยาม” ในวิหารวัดบานเกน ฝงตรงขามพระประธาน โดยเปนการมองจักรวาลจากดานขางโดยผูมองเปนผูอยูภายนอก 48

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


จักรวาลนี้ นอกจากนาคเกี้ยวแลวยังมีเขาพระสุเมรุจําลองและทาว จตุมหาราชิกา (ทาวจตุโลกบาล) โดยมีพระแมธรณีบีบมวยผมตั้งอยู ขางๆ กัน ในสวนดานหลังพระประธานนั้นจะมีเสาที่เปรียบเสมือน แกนกลางจักรวาลดวย บนโครงสรางวิหารทั้งสองขางพระประธานทั้งสองขางนั้น จะมีไมทาํ เปนรูปเรือ ดานในประกอบดวยพระพุทธรูปองคเล็กๆเรียง อยู ในลานนาเรียกวา “สะเปา” หมายถึงเรือประเภทหนึ่งที่ใชใน พิธีกรรมทางพุทธศาสนาในลานนา เชื่อวาจะเปนพาหนะนํามนุษย ขามมหานทีสีทันดร ไปสูภพภูมิหลังความตาย ในสวนโครงหลังคา นัน้ จะประกอบดวยเครือ่ งกระเบือ้ งดินเผาประดับเปนรูปนกหัสดีลงิ ค และรูปเทวดานมัสการพระธาตุจุฬามณี

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

49


แผนผังจักรวาลตามคติ ไตรภูมิตามคติทางพุทธศาสนา ระนาบราบ

ระนาบดิ่ง

50

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


บทสรุป : ศาสนา กับ การคัดสรรทางวัฒนธรรม ชาติพนั ธุใ นพมาเปนสิง่ ทีม่ อี ยูจ ริงทัง้ ทีถ่ กู สรางจากโครงสราง ของรัฐและการตอสูของผูคนที่จะดํารงความเปนชาติพันธุนั้นไวเพื่อ แสดงความเปนอิสระจากอํานาจทีก่ ดทับ ดวยการตอตานทีม่ ที งั้ การ กลมกลืนกับอํานาจเพื่อที่จะไดมีพื้นที่ในโครงสรางสังคมที่ไดรับการ ยอมรับในฐานะสวนหนึ่งของโครงสรางทางสังคม และใชเพื่อเลื่อน ชั้ น ทางสั ง คม แต ส  ว นหนึ่ ง ก็ ยั ง สร า งความต อ ต า นในพื้ น ที่ ท าง ศิลปกรรมโดยเฉพาะศาสนาสถานดวย และเมื่อการสรางความเปน ชาติพนั ธุข องรัฐยังดําเนินตอไปชาติพนั ธุก ย็ งั เปนความจริงทางสังคม ที่ตองมีการศึกษาในฐานะหนวยทางสังคมตอไปเชนกัน เราจะพบวามีการเคลือ่ นไหวเรือ่ งศาสนาของคนรุน ใหมทมี่ ี การศึกษาเปนคนชั้นกลาง เปนนักวิชาชีพที่เปนผลจากการพัฒนา เศรษฐกิ จ และสั ง คม และประกอบกั บ ความเป น รั ฐ อ อ นแอลง มีกระบวนการแยกประชาชนออกจากอัตลักษณทเี่ คยมี ทําใหศาสนา จะเขามาแทนที่ การสรางอัตลักษณเหลานี้จะเกิดขึ้นขามพรมแดน และรวมเอาคนในอารยธรรมเดียวกันในทีต่ า ง ๆ เขาดวยกันเชือ่ มตอ อัตลักษณดวยความเปนหนึ่งเดียวทางศาสนา ทําใหกลุมคนเหลานี้ กลายเป น กลุ  ม จารี ต นิ ย ม (Fundamentalist) จะก อ เกิ ด การ ปฏิสังสรรคกัน กระทั่งขัดแยงกัน ทําใหขอสงสัยเรื่องงานศิลปะ รวมสมัยเกี่ยวกับพุทธศาสนาจะไมมีทางแตกตางไปจากแสดงความ กลมกลืน จากการสรางความศรัทธาหรืออุดมคติ ทีก่ าํ หนดใหมนุษย ไมสามารถหลุดพนจากศาสนาได

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

51


ในพื้นที่ที่มีขอถกเถียงกันระหวางรัฐศาสนา (Religious State) คือรัฐที่เปนหนึ่งเดียวกับศาสนา กับรัฐโลกวิสัย (Secular state) คือรัฐทีแ่ ยกศาสนากับรัฐออกจากกัน และในสถานการณโลก ปจจุบนั ทีก่ แ็ สดงใหเห็นถึงความขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากคุณลักษณะ ทางวัฒนธรรม ศรัทธา ศาสนา ยากจะประนีประนอมหรือตกลงกัน ได ไมเหมือนกับความแตกตางทางการเมืองหรือทางเศรษฐกิจ บทความนี้เสนอวาการวิพากษการแสดงออกทางศิลปะที่ เกีย่ วพันกับศาสนา ยังมีเสนทางอีกอยางหลากหลาย รวมถึงการตอสู อยางไมเคยหยุดนิง่ ของผูค นทีจ่ ะดํารงอัตลักษณตนเองพยายามตอสู กับการ “ถูกคัดสรรทางวัฒนธรรม” ที่มีความพยายามสรางความ กลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรมในรูปแบบของศาสนา ทีก่ าํ ลังสราง ผลงานศิลปะที่ซอนความซับซอนเรื่องการตอสูเชิงอัตลักษณศิลปะ ภายใตเงา “เสื้อคลุมสีขมิ้น”

52

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


เอกสารอางอิง เกรียงไกร เกิดศิริ (2550) วัดและชุมชนบานแสน : ลมหายใจของ ชุมชนบุพกาลกลางปาเชียงตุง วารสารเมืองโบราณ ปที่ 33 ฉบับที่2 ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา (2553) การศึกษาในเรื่องสถาปตยกรรม พืน้ ถิน่ ของชนชาติไทในรัฐฉานกรณีศกึ ษา : อาคารทองถิน่ เมืองเชียงตุง เมืองมา เมืองลา ( online http://www kmitl ac th/ader/) เครือขายปฏิบตั งิ านผูห ญิงไทใหญ (SWAN) (2552) ทิวทัศนตอ งหาม ในรัฐฉาน มปท. จิตร ภูมิศักดิ์ (2544) ความเปนมาของคําสยาม ไทย ลาว ขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติฉบับสมบูรณ เพิ่ม เติมขอเท็จจริงวาดวยชนชาติขอม พิมพครัง้ ที5่ สํานักพิมพ ศยาม กรุงเทพ สถาบั น วิ จั ย สั ง คม (2538) ตํ า นานวั ด ป า แดง บํ า เพ็ ญ ระวิ น บรรณาธิ ก าร โครงการวิ จั ย คั ม ภี ร  ใ บลานในภาคเหนื อ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม เชียงใหม เสมอชัย พูลสุวรรณ (2552) รัฐฉาน (เมิงไต) ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร กรุงเทพ ศูนยโบราณคดีภาคเหนือ (2552) รายงานการวิจยั เรือ่ ง การศึกษา เปรียบเทียบงานศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ของชุมชนไท เมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมา และชุมชนแมทะ จังหวัดลําปาง คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เชียงใหม โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

53


ศิรพงศ ศักดิ์สิทธิ์ (2552) วัดบานเกณ เมืองลา หลักฐานทาง โบราณคดีที่มีชีวิต วารสารเมืองโบราณ ปที่ 35 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2552 หนา42-45 อรุณรัตน วิเชียรเขียว (2531) ตํานานตุงครสีเมืองเชียงตุง หนังสือ ปริ ว รรตคํ า ภี ร  ใ บลานฃุ ด ตํ า นานเมื อ งและกฎหมาย: เอกสารลําดับที8-15 คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม เชียงใหม เอเดรียน สนอดกราส (2541) สัญลักษณแหงพระสถูป พิมพครั้ง ที่ 2 สํานักพิมพอัมรินทรวิชาการ กรุงเทพ Matecmawan Suwannawat, 2003. LANGUAGE USE AND LANGUAGE ATTITUDE OF PLANG ETHNICGROUP IN BAN HUY NAM KHUN, CHIANG RAI PROVINCE, Master of Arts Thesis , Mahidol University ,Thailand

54

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


สองฝงภูเขาของเมืองลา เปนที่ตั้งของศาสนสถานสําคัญคือ ศาสนา พุทธและคริสต ซึ่งอยูบริเวณใกลเขตแดนระหวางประเทศสาธารณรัฐแหง สหภาพเมียนมารและสาธารณรัฐประชาชนจีน โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

55


ความสัมพันธกับสยาม (ไทย)

56

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


การบวชเพื่อเรียน

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

57


ประตูปาแดง ซุมประตูเมืองเกาที่ยังคงเหลืออยูกําลังอยูระหวางบูรณะ (ถายเมื่อ 25 กุมภาพันธ 2556)

ตางความนับถือศรัทธา แตเครื่องแบบคลายกัน

58

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


มัสยิดในเชียงตุง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

59


หลังคาบานของชาวไทลื้อในเมืองมา เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงวัสดุมา ใชกระเบื้องสีมากขึ้น เนื่องจากวัสดุเดิมนั้นหายาก นอกจากนี้แลวกระเบื้องสี ยังเปนเครื่องแสดงสถานะของเจาของบานอีกดวย

60

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ภาพเปรียบเทียบหลังคาวิหารวัดราชฐานหลวงเชียงตุง เมืองมา กอน และหลังการปรับปรุง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

61


ทอผาหอคัมภีร

62

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


การสํารวจเอกสารพับสา-ใบลาน ณ วัดทะปางหลวง สามตาว เมืองลา

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

63


คัมภีร – พับสาดานศาสนา ในวัดทะปางหลวง สามตาว

64

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


สามเณรวัดทะปางหลวง สามตาว

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

65


ผูหญิงกับภาระหนาที่การงาน

66

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


วิถีชีวิตของชาวไตหลอยที่บานทะปางหลวงเหนือ จะสัมพันธกับ การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว โดยหัวเรีย่ วหัวแรงหลักในการทํางานคือผูห ญิง วัยหนุมสาว เนื่องจากผูชายที่อายุถึงเกณฑสวนใหญจะไปเปนทหาร และเด็ก ผูชายจะบวชเรียนและกลับมาชวยเมื่อวางเวนจากการปฏิบัติหนาที่ทางการ ทหารและการศึกษาพระธรรมวินัย คนเฒาคนแกในหมูบานจะคอยเลี้ยงลูก เลี้ยงหลาน ภาพที่ผูเฒาใชผาผูกสะพายหลานไวที่หลังและพาไปไหนมาไหน ดวย จึงเปนภาพที่ชินตา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

67


ภาพเปรียบเทียบเจดียวัดหนองคํา ระหวางป พ.ศ.2553 (ค.ศ.2010) กับ พ.ศ.2556 (ค.ศ.2013) ซึ่งมีระยะเวลาหางกันเพียง 3 ป แตกลับมีการ เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว

68

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


กลวยดอกบัวทอง รูจักกันในฐานะของ ‘ดอกไม’ ที่เปนไมประดับไมใช ‘ผลไม’ มีถนิ่ กําเนิดทางทิศตะวันตกเฉียงใตของมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชน จีน พบขึ้นอยูบนยอดเขาในระดับความสูง 2,500 เมตร ซึ่งมีอากาศหนาวเย็น เปนพันธุที่แปลกและพบไดยากมากชนิดหนึ่ง มีชื่อเปนภาษาอังกฤษวา “Golden Lotus” แปลวา ดอกบัวทอง หรืออีกชื่อหนึ่งวา “Dwarf Banana” แปลวา กลวยแคระ ชาวจีนในมณฑลยูนนาน ซึ่งนับถือพุทธศาสนา ไดถือวากลวยดอกบัว ทองเป น หนึ่ ง ในดอกไม ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อาจเป น เพราะความน า พิ ศ วงที่ ดู เ หมื อ น ดอกบัวและมีสีเหลืองทอง

(ผูจ ดั การออนไลน.(2548). กลวยดอกบัวทอง ดอกไมศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ หงยูนนาน.(ออนไลน).แหลง ที่มา http://www.manager.co.th/Dhamma/ViewNewsaspx?NewsID=948 0000118060. 31 กรกฎาคม 2557.) โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

69


ภาพจิตรกรรมฝาผนังและบานประตูของวิหารวัดหนองคํา สามตาว เมืองลา

70

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


วัดบานแสน : ความมั่งคั่งและศรัทธาที่มาจากการคาฝาย

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

71


72

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

73


วัดบานแสน เปนวัดประจําชุมชนตั้งอยูบนยอดเนินถัดไปจากหมูบาน ดานหนาติดเสนนทางสัญจรโบราณทีเ่ ชือ่ มตอไปเมืองยาง หนาวัดมีกระบะกอ อิฐปลูกตนโพธิ์ตามธรรมเนียมการบูชาตนโพธิ์ในพุทธศาสนา บานแสนเปน ชุมชนเกษตรกรรมเพาะปลูกขาวและชา ในไรชามีตนไมขนาดใหญเปนไมเนื้อ ออนที่ไมมีประโยชนทางเศรษฐกิจ เชน ตนไทร ตนงิ้ว เปนตน ถัดจากปาเมี่ยง เปนปาไม เปนแหลงอาหาร เชื้อเพลิง ยารักษาโรค และใชสอยตางๆ (เกรียงไกร เกิดศิริ. (2550). วัดและชุมชนบานแสน: ลมหายใจของชุมชน บุพกาลกลางปาเมืองเชียงตุง. ออนไลน แหลงที่มา : http://www.muangboranjournal.com/modules.php?name=Sectio ns&op=viewarticle&artid=162. 31

74

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


วัดบานแงก (บานแยก)

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

75


76

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ดานหนาวิหารวัดบานแงก (บานแยก)

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

77


เจดียวัดบานแงก (บานแยก) ที่ถูกสรางอาคารครอบอีกชั้นหนึ่ง

78

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


สามเณรชาวไตหลอย มี ค วามสั ม พั น ธ ที่ แ น น แฟ น อย า งมากกั บ ครอบครัว แมวาจะเขาพิธีบวชเรียนเปนพระแลว เวลาที่นอกเหนือจากการ ศึกษาพระธรรมวินัย พระชาวไทลื้อจะกลับบานเพื่อชวยเหลือการงานใน ครอบครัว เชน ดูแลนองๆ เปนตน ขณะเดียวกันพระชาวไทลื้อไมจําเปนตอง ออกบิณฑบาต เพราะทางครอบครัวจะนําอาหารมาถวายใหที่วัดทุกๆ วัน ซึ่ง แตกตางจากคติความเชื่อของชาวพุทธในประเทศไทย ที่จะแยกเรื่องสงฆและ ฆราวาสออกจากกันอยางสิ้นเชิง โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

79


บานทะปางหลวงเหนือ เปนหมูบานที่มีการจัดการสาธารณูปโภค สําหรับสวนกลาง เชน พืน้ ทีส่ าํ หรับเก็บขาว (ยุง ) ทรงสีเ่ หลีย่ ม ทําจากไม ยกพืน้ สูง มีหลังคา พื้นที่เก็บนํ้าสวนรวมที่ใชไมไผผาครึ่งทําเปนหลังคา ครอบครัวที่ มีฐานะจะมีเครือ่ งสีขา วหรือโรงสีขนาดเล็กเปนของตนเอง และหากครอบครัว อื่นตองการใชจะตองเสียเงินใหกับเจาของ แตละครัวเรือนจะมีอาชีพทําไรทํา นา เก็บของปาขาย เลี้ยงสัตวเพื่อการบริโภคและงานสําคัญๆ เชน งานบวช งานแตงงาน นอกเหนือจากความตองการจึงจะนําไปขาย

80

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


กาดหลวงเชียงตุง เปนกาดที่มีชีวิต เพราะทุกๆ วันตั้งแตเชาเรื่อยไป จนถึงบาย จะคับคั่งไปดวยผูคนหลากหลายเผาพันธุ ตั้งแตไตลื้อ ไตเขิน ละวา ปะหลอง วา อาขา กระทั่งจีนฮอที่นําสินคาที่ผลิตไดในทองถิ่นของตนมาซื้อ ขายแลกเปลีย่ นกันอยางครืน้ เครง ในยามเชาวันพระสัปดาหสดุ ทายของเดือน กุมภาพันธ บรรยากาศรอบนอกของกาดก็ยงั คงความมีชวี ติ ชีวา แตอาจจะแตก ตางจากภายในทีอ่ าจจะดูไรสสี นั ไปบาง เนือ่ งจากปดการคาขายในทุกๆ วันพระ นั่นเอง (จําลอง บุญสอง).กาดหลวงเชียงตุง.ออนไลน แหลงทีม่ า www.http:posttoday. com/กิน-เทีย่ ว/เทีย่ วทัว่ โลก/251232/กาดหลวงเชียงตุง.31 กรกฎาคม 2557. โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

81


รถโดยสารรุนเกาแกที่ยังคงทําหนาที่รับ-สงผูคนไป-มา ระหวางทาขี้เหล็ก-เชียงตุง

82

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


แมคาในตลาดเชาเมืองลาที่ยังคงใชตาชั่งจีนในการขายสินคา

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

83


นอกจากไขเยี่ยวมาแลว ยังมีโรตีโอง อาหารอีกชนิดที่ขึ้นชื่อในตลาดเชียงตุง

84

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ณ มุมๆ หนึ่งในกาดหลวงเชียงตุง บริเวณนี้มีรานขายอาหารแบบนั่งกินอยูหลายราน

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

85


ตลาดของแตละทองถิ่นเปนแหลงที่แสดงถึงความหลากหลายของ วัฒนธรรมและชาติพันธุของพื้นที่บริเวณนั้นไดเปนอยางดี นอกจากสินคาที่มี ความหลากหลายแลว ผูคนที่มาสัมพันธกับตลาดก็มีความหลากหลายดวย เชนกัน

86

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ชุดพื้นเมืองที่ขายในตลาดเชียงตุง สวนมากนําเขาจากประเทศไทย

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

87


พระพุทธรูปเกล็ดนาค ประดิษฐานภายในวิหารวัดยวงกวง หรือ ยางกวง มีลักษณะเดน คือ จีวร ประดับดวยอัญมณีหลายสีมองดูคลายเกล็ดพญานาค แสดงถึงศรัทธาและฝมือชางที่ประณีตสวยงาม

88

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ซุมประตูวัดยางกวง เมืองเชียงตุง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

89


ภาพเขียนฝาผนังวัดบานหาที่แสดงความเชื่อมโยงกันระหวางวิถีชีวิต ผูคนกับศาสนสถานในทองถิ่นนั้นๆ

90

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ความเปลี่ยนแปลงของวัดอินทร เมืองเชียงตุง เปรียบเทียบระหวางป พ.ศ.2498 (ค.ศ.1955) และป พ.ศ.2556 (ค.ศ.2013)

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

91


ภายในวิหารวัดพระธาตุจอมดอย เมืองเชียงตุง

92

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ยางพาราไดกลายมาเปนพืชทางเศรษฐกิจหลักทีป่ ลูกกันแพรหลายใน พื้นที่รัฐฉานทางตอนใต รวมไปถึงทางภาคเหนือของประเทศไทย มณฑล ยูนนานของจีน และทางภาคเหนือของลาว ในภาพเปนการฝกกรีดยางพารา ของหมูบานแหงหนึ่งระหวางทางไปเมืองลา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

93


อุโบสถทรงมณฑปแปดเหลี่ยม วัดบานหา สามตาว

94

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ภายในและภายนอกของวิหารวัดบัวงาม เมืองเชียงตุง ที่มีการสราง อาคารทรงแปดเหลี่ยมครอบเจดียไวอีกชั้นหนึ่ง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

95


รูปปนสัตวตางๆ ที่อยูรายรอบวิหารวัดบัวงาม เมืองเชียงตุง ซึ่งมี ลักษณะราวกับวาเปนสัตววัยเยาว

96

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


รูปปนสัตวตางๆ ที่อยูรายรอบวิหารวัดบัวงาม เมืองเชียงตุง ซึ่งมี ลักษณะราวกับวาเปนสัตววัยเยาว

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

97


ภาพเขียนฝาผนังภายในวิหารวัดบัวงาม ทีแ่ อบซอนเรือ่ งราวเหตุการณ บานเมืองไว

98

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ภาพพระพุทธบาท หนาวัดบานแสน

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

99


วิหารวัดบานเกน สามตาว เมืองลา

100

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ภายในวิหารและกุฏิ วัดบานหา สามตาว เมืองลา

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

101


บานยางกวง เมืองเชียงตุง เปนแหลงผลิตเครื่องปนดินเผาประดับ หลังคาวัดไปขายทั้งในพื้นที่รัฐฉานและพื้นที่ใกลเคียง เชน สิบสองปนนา

102

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


ในแทบทุกวัดที่ไดไปสํารวจทั้งในเมืองเชียงตุง เมืองลา และสามตาว จะปรากฏพระแมโพสพอยูในรูปแบบตางๆ เชน ภาพวาดฝาผนัง รูปแกะสลัก หรือแมแตภาพในตุงที่ถวายวัด

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

103


ชายแกผูที่เรียกตัวเองวา “เจาอูเมือง” ผูดูแลกูบรรจุอัฐิของเจาฟา เชียงตุง ซึ่งตั้งเรียงรายจํานวน 9 กู

104

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


การเลี้ยงหมู ทําปศุสัตว ในแบบชาวไตหลอย

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

105


เราสามารถพบเห็นภาพของสามเณรตัง้ โตะรับเงินบริจาคเพือ่ บํารุงวัด ไดตามทาง ระหวางเมืองเชียงตุงไปยังเมืองลา และสามตาว

ยามเชาขณะที่เด็กหญิงกําลังจะเขาไปในโรงเรียน ซึ่งอยูใกลกับ กาดหลวงเมืองเชียงตุง

106

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


อาหารแบบปงยางหมาหลา หรือ มะหลา เปนอาหารยอดนิยมในชวง หัวคํ่าของคนในเมืองลา ซึ่งเปนเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ ลูกคา สวนมากจะเปนคนจีนและไต

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

107


บรรยากาศรานขายหมากยามคํ่าคืนในเมืองเชียงตุง

108

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


จากไมหมายเมืองสูไมหมายรัก ณ ดอยจอมสัก เมืองเชียงตุง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนํ้าโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

109


110

ตามรอยเสนทางทางเศรษฐกิจ สมัยรัฐจารีต เชียงตุง เมืองลา สามตาว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.