Museum Academic 7 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุ่มชาติพันธุ์หลอย (ปลั้ง)

Page 1

M C M MEKONG BASIN CIVILIZATION MUSEUM

พิพิธภัณฑสถานอารยธรรมลุมน้ำโขง

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถาน ของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง)

: รายงานการสำรวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว

Museum Academic 7 โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมน้ำโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง The Project on Establishment of Mekong Basin Civilization Museum


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถาน ของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง): รายงานการสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนําโขง สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

Museum Academic 7 สิ่งพิมพวิชาการลําดับที่ 7


สารบัญ คํานํา ROUTE MAP TACHILEK KYAING TONG MONG HONG บทนํา วัตถุประสงคในการศึกษา วัฒนธรรมพุทธศาสนาในรัฐฉาน เชียงตุง ลัวะ หลอย ปลั้ง ในเศรษฐกิจรัฐเชียงตุงและความสัมพันธทางชาติพันธุ พุทธศาสนสถานของหลอย (ปลั้ง) ไตรภูมิ ภาพและสัญลักษณ ในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) บทสรุปการเมืองเรื่องชาติพันธุในสัญลักษณทางพุทธศาสนา เอกสารอางอิง

2 3 4 5 10 23 32 42 45


คํานํา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนําโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงได ดําเนินกิจกรรมทางวิชาการวัฒนธรรมมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตป พ.ศ. 2547 เปนตนมา เพื่อเตรียมการจัดทําพิพิธภัณฑจากการวิจัยในอนุภาคลุมนําโขง กิจกรรมทางวิชาการ ทีไ่ ดกาํ หนดไวในแผนคือ การเผยแพรความรูด า นนิทรรศการชัว่ คราว สือ่ อิเลคทรอนิกส และการพิมพหนังสือเลมนี้ ซึ่งเปนสื่อทางวิชาการที่จัดทําขึ้นจากการศึกษางาน ภาคสนามและการคนควาองคความรูตามวัตถุประสงคในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ อารยธรรมลุมนําโขง ของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงาน สํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว เลมนี้ จัดพิมพขึ้นเพื่อสรางกรอบความรู อีกกรอบหนึ่งในการอธิบายความสัมพันธระหวางพุทธศาสนาในเสนทางเชียงตุง เมืองลา เมืองมา เมืองสามตาว ในรัฐฉาน ประเทศพมา กับความเปนชาติพันธุ (Ethnicity) ของกลุมหลอย (ปลั้ง) และเพื่อใหเกิดความเขาใจสถานภาพทางสังคมที่สัมพันธกับ อํานาจทางการเมืองผานการตีความสัญลักษณไตรภูมิในพุทธศาสนสถาน มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ในฐานะที่เปนอนุสรณ แหงความจงรักภักดีและ สืบสานพระราชปณิธานในสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี แมฟาหลวงของ ปวงชนชาวไทย ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต และคงไวซึ่งศิลปวัฒนธรรมที่ดีของ ชาติพันธุตางๆ ในอนุภาคลุมนําโขงตอนบน ไดจัดทําหนังสือ ตามรอยไตรภูมิใน พุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว โดยหวังวาจะเปนประโยชนตอการสรางและขยายองคความรูใน อนุภูมิภาคลุมนําโขงตอไป โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนําโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


ROUTE MAP TACHILEK KYAING TONG MONG HONG

ทาขี้เหล็ก - เชียงตุง เชียงตุง - เมืองลา เมืองลา - เชียงตุง

ระยะทาง ระยะทาง ระยะทาง

163 90 130

กม. กม. กม

เสนทางการเดินทาง จุดหมายการเดินทาง

ที่มา : http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/print.pt?content=2149&board=backpacker 6

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


บทนํา ในรัฐฉานประเทศพมามีความหลากหลายทางประวัติศาสตร วัฒนธรรม และกลุม ชาติพนั ธุ แสดงใหเห็นถึงความแตกตาง แมวา จะมีความเปนหนึง่ เดียวกัน ดานเขตการปกครองในอํานาจของรัฐพมา โดยเฉพาะกลุมรัฐฉานทางตะวันออก เฉียงใตที่เรียกวา “เชียงตุง” นั้น ความเชื่อมโยงกับรัฐฉานในสวนตางๆ ไดถูก ผนวกรวมกันเปนหนึ่งเดียวมาตั้งแตสมัยเปนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ) และดําเนินมาจนถึงปจจุบนั สวนอีกประการหนึง่ ของความเปน รัฐฉานที่สามารถพบเห็นโดยทั่วไป คือ วัฒนธรรมทางพุทธศาสนาที่เปนหลักในการ เชื่อมโยงผูคนในรัฐฉานเขาดวยกัน กลุมชาติพันธุในรัฐฉานกลุมใหญ คือ กลุมไทใหญ แตสําหรับเชียงตุงแลว มีกลุม คนทีเ่ รียกตนเองวา “เขิน” “ไตเขิน” เปนกลุม คนจํานวนมากและเคยมีอาํ นาจ ปกครองตนเองมากอน ในอาณาเขตของอํานาจเจาฟาเชียงตุงนั้น มีพื้นที่ที่ ครอบคลุมเสนทางการคาระหวางยูนนาน พมา ลานนา และออกทะเลที่เมาะตะ มะ คือ เมืองลา เมืองมา เชียงตุง เมืองยอง เมืองพยาก และทาขี้เหล็ก โดยในพื้นที่ นี้มีกลุมชาติพันธุตางๆ รวมอยูดวยกันนอกเหนือจากไตเขินแลว ยังมี ลื้อ คะฉิ่น ยอง ลัวะ (หลอย-ปลั้ง) ที่เคยอยูในระบบการปกครองของเจาฟาเชียงตุงในอดีต ในบทความนี้จะกลาวถึงกลุมชาติพันธุที่เรียกตนเองวา “หลอย” หรือ “ปลัง้ ” (Plang) แตในงานวิชาการทีเ่ ขียนถึงนัน้ จะกลาววาเปนกลุม “หลอย” หรือ “ดอย” หรือ “ไตหลอย” “ไตดอย” โดยเปนชาติพนั ธุท จี่ ดั อยูใ นกลุม ภาษามอญ - เขมร บางกรณีถูกเรียกและเรียกตนเองวา “ลัวะ” ดวย ที่เรียกวา ตระกูลออสโตรเอเชียติก ทีเ่ ปนภาษา “ปลัง้ ” สาขาภาษาปะหลอง โดยทีก่ ลุม คนทีพ่ ดู ภาษานีส้ ว นใหญอาศัย อยูในมณฑลยูนนานประเทศจีน บางกลุมอพยพเขาไปยังเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพมา และไดอพยพเขามาในประเทศไทย อาศัยอยูที่จังหวัดเชียงราย เมื่อ ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 7 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ประมาณ พ.ศ.2510 มีจํานวนผูพูดภาษานี้ในประเทศไทยไมมากนัก และภาษา ปลั้งนี้ ยังมีภาษาถิ่นอีก 7 สําเนียง คือ กอนตอย จงมอย สะเตง แบมยอง กอนมา ปงโลชิ และกอนกลาง กลุม หลอย (ปลัง้ ) เปนสวนหนึง่ ของระบบเศรษฐกิจและการปกครองของ รัฐเจาฟาเชียงตุงในการรวบรวมภาษีไปสูสวนกลาง และไดรับความไววางใจให ทํางานในหอคําเจาฟาเชียงตุง เพราะมีความซือ่ สัตยสจุ ริตในการดํารงชีวติ และจาก การไดใกลชดิ กับอํานาจของเจาฟาเชียงตุงทําใหกลุม คนหลอย (ปลัง้ ) ไดรบั อิทธิพล วัฒนธรรมทางพุทธศาสนาจากเชียงตุง และนําไปสรางศาสนสถานทางพุทธศาสนา ในหมูบ า นตนเองโดยมีลกั ษณะเฉพาะทาง ทําใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางศาสนา กับความเปนชาติพนั ธุใ นฐานะกลุม ชาติพนั ธุท ไี่ มใช “ไท” แตใชอกั ษรไท (เขิน) เปน ภาษาทางศาสนา

วัตถุประสงคในการศึกษา เพื่อศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางพุทธศาสนาในเสนทางเชียงตุง เมืองลา เมืองมา เมืองสามตาว ในรัฐฉาน ประเทศพมา กับความเปนชาติพันธุ (Ethnicity) ของกลุมหลอย (ปลั้ง) ผานสัญลักษณไตรภูมิในพุทธศาสนสถาน

8

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


วัฒนธรรมพุทธศาสนาในรัฐฉาน เชียงตุง พุทธศาสนา นิกายเถรวาท ไดเผยแผจากลานนาเขามาในดินแดนรัฐฉาน หรืออาณาจักรไทใหญ (อาณาจักรมาว) ตัง้ แตพทุ ธศตวรรษที่ 19 และไดเผยแผจาก พมาเขาไปยังดินแดนดังกลาว ในพุทธศตวรรษที่ 20 ซึง่ ตรงกับรัชสมัยของพระเจา บุเรงนอง เรียกกันวานิกาย “กึงจอง” แตสําหรับหัวเมืองทางตะวันออกของแมนํา สาละวิน คือ บริเวณเมืองเชียงตุง เมืองยอง และเมืองลื้อ (เชียงรุง) พุทธศาสนา แบบ “กึงโยน” จากลานนาไดเขามาเผยแผและรุงเรืองอยูกอนหนานั้นเปนเวลา นานแลว โดยการที่พญามังรายไดสงเจานําทวมผูเปนหลาน เขาไปปกครองเมือง เชียงตุงใน ครัง้ นัน้ พรอมดวยพระสงฆจาํ นวน 2 รูป และพระพุทธรูปจํานวน 4 องค ตอมาในหลักฐานพงศาวดารเมืองเชียงตุงไดบนั ทึกไววา ในสมัยพระเจาผายู ไดสงโอรสชื่อ เจาเจ็ดพันตู ไปปกครองเมืองเชียงตุงหลังจากเปนเมืองราง ซึ่งเชื่อ กันวาวิธีแกเคล็ด คือ การถวายเมืองใหกับพระสงฆ จึงมีพระสงฆติดตามไปใน การณนั้นดวย โดยการทําพิธีถวายเมืองใหกับพระสงฆนั้น กระทําตั้งแตสมัย เจา นาํ ทวม เปนตนมา (ทวี สวางปญญางกูร, 2533 : 33) ในสมัยเจาเจ็ดพันตู ไดนมิ นต พระมหาหงสาวดี พระมหาสิริปุญญะ พระเถรนันทะ และพระเถรพุทธโฆษะ รวมเดินทางไปดวย และจัดพิธีถวายเมืองเชียงตุงแดพระสงฆขึ้นที่วัดลีเชียงพระ (วัดพระสิงห) โดยที่เมืองเชียงตุง เจาเจ็ดพันตูไดสรางวัดขึ้นจํานวน 4 วัด ไดแก วัดพระแกว วัดหัวขวง วัดฟากาง และวัดจอมทอง เพื่อเปนสถานที่จําพรรษาแด หัวหนาคณะทั้ง 4 รูป (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552 : 89) พุทธศาสนาที่เจาเจ็ดพันตูนําเขาไปเผยแผในเมืองเชียงตุงนั้น มีความ เปนไปไดที่จะเปนนิกายหริภุญชัย ที่เผยแผเขาไปในเชียงตุงสมัยพญามังราย โดย พุทธศาสนานิกายนีไ้ ดรวมกับนิกายรามัญวงศ (ลังกาเกา) ทีพ่ ระสุมนเถระจากสุโขทัย นําเขาไปเผยแผในลานนาในสมัยพระเจากือนา (พ.ศ.1898-1928) ตั้งศูนยกลาง ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 9 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


อยูที่วัดสวนดอก ในเมืองเชียงใหม และไดเผยแผตอไปถึงเมืองเชียงตุง นําโดย พระมหาสามีเจาสุชาโตจากเมืองเชลียง และศิษยอีกสองรูป คือ พระอินทปญญา และพระธรรมรังสี พุทธศาสนานิกายรามัญวงศในเมืองเชียงตุง ตั้งศูนยกลางอยูที่วัด ยางกวง บริเวณนอกเมืองเชียงตุง จึงเรียกวา “หนยางกวง” (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552 : 89) พุทธศาสนาจากลังกาวงศอีกนิกายหนึ่งไดเขาไปสูเมืองเชียงตุง เมื่อ ประมาณป พ.ศ.1989 เรียกวานิกาย “ปาแดง” โดยพระมหาญาณคัมภีรไ ดสง พระ โสมจิตเถระขึ้นไปเผยแผศาสนาถึงเมืองเชียงตุง ตามตํานานมูลศาสนาเลาวามีผี เปรตรังควานชาวบาน ซึ่งนิกายหนยางกวงไมสามารถขับไลเปรตไปได ชาวบาน จึงนิมนตพระสงฆนิกายปาแดง นําโดยพระโสมจิตเถระมาชวยและสามารถขับไล ผีเปรตไปไดในที่สุด ปญหาความขัดแยงระหวางพุทธศาสนานิกายหนยางกวงและพุทธศาสนา นิกายปาแดง คือ การกลาวหากัน เรื่อง วัตรปฏิบัติทางศาสนา ซึ่งความขัดแยง ดังกลาวยุติลง เมื่อมีการขอรองจากทางเชียงใหมโดยพระเมืองแกว (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552 : 90-91 และบําเพ็ญ ระวิน, 2538) วัฒนธรรมอยางหนึง่ ทีส่ บื เนือ่ งจากพุทธศาสนาจากลานนาทีเ่ ขามาสูเ มือง เชียงตุงนั้น คือ การใชระบบอักษรตัวเขียนที่เรียกวา “อักษรธรรม” หรือ “ตัว ธรรม” ของลานนา ซึง่ ตอมาไดรบั การพัฒนาใหมลี กั ษณะเฉพาะเรียกวา “ตัวเขิน” อักษรธรรมแบบลานนาถูกนํามาใชในการเขียนเรือ่ งราวในพุทธศาสนา จึงถือวาเปน ตัวอักษรศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยอักษรธรรมนี้ มีการนํามาใชอยางแพรหลายในภูมภิ าคตอน บนของเอเชียอาคเนย ในถิ่นฐานของคน “ไต” ที่นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาท ในดินแดนเมืองเชียงตุง เมืองยอง เมืองเชียงรุง เมืองแลม เมืองจิงกู เมืองซือเหมา เขตใตคง และเมืองแสนหวี ความรูทางอักษรศาสตรของเมืองเชียงตุงนั้น สามารถ แปลพระไตรปฎกทัง้ ชุด รวมทัง้ คัมภีรว สิ ทุ ธิมรรค จากภาษาบาลีเปนภาษาเขินได 10 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


(เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552 : 93) กลุมเชียงตุงมีความแตกตางจากกลุมเมืองบริเวณทิศตะวันตกของแมนํา สาละวิน ทีม่ ตี วั อักษรทีเ่ รียกวา “ลิกตัวปอง” ซึง่ ใชในการจารึกเรือ่ งราวตางๆ เปน “ภาษาไต” ได แตไมสามารถแทนเสียงในภาษาบาลีไดครบถวน ดังนัน้ กลุม ไต (โหลง) และกลุม พุทธศาสนานิกายกึงจองแบบพมา จึงใชอกั ษรพมาในการถายเสียงภาษา บาลีในเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา สําหรับรูปแบบทางศิลปกรรมนั้น ในระยะแรกที่เมืองเชียงตุงและเมือง เชียงใหมมสี มั พันธไมตรีในฐานะเครือญาติ ถึงแมวา ทัง้ สองเมืองจะตกเปนเมืองขึน้ ของพมา แตกเ็ ปนอิสระตอกันในฐานะเมืองประเทศราช ศิลปกรรมตางๆ ยังคงเปน รูปแบบเดียวกัน จนมาถึงสมัยเจากาวิละที่ไดมีการกวาดตอนผูคนจนกระทั่งเมือง เชียงตุงเกือบเปนเมืองราง เมื่อมีการฟนฟูเมืองขึ้นมาใหม โดยที่เมืองเชียงตุงแยก ตัวไปขึน้ กับพมา ศิลปกรรมทางพุทธศาสนาของเมืองเชียงตุงจึงไดมลี กั ษณะทีผ่ สม ผสานกับสกุลชางทางมัณฑะเลย เชน การสรางพระมหามุนใี นสมัยเจากอนแกวอิน แถลงเปนเจาฟาเชียงตุง ทางการพมาไดเขามาจัดการทางพุทธศาสนาในเมืองเชียงตุงหลังจากที่มี การทําลายหอคําเจาฟาเชียงตุงในปพ.ศ.2534 โดยมีพระสงฆจํานวนมากคัดคาน การทําลายหอคําดังกลาว ซึ่งพระสงฆเหลานั้นไดถูกจับไปเปนจํานวนมากและ รัฐบาลพมาไดกําหนดใหพระสงฆในเชียงตุงมีการเลือกนิกาย พระสงฆสวนใหญ เลือกเขารวมกับนิกายสุธรรมา ซึ่งเปนนิกายสงฆที่ใหญที่สุดในพมา โดยมีนิกาย รองลงมา คือ นิกายสวยจิน และลดฐานะประมุขสงฆของเมืองเชียงตุงลงเทียบ เทากับเจาคณะสงฆระดับจังหวัด นอกจากนีท้ างการพมายังไดสรางพระพุทธรูปแบบ พมาประทับยืน ชี้นิ้ว สูงประมาณ 60 ฟุต สกุลชางทางมัณฑะเลย บนดอยจอมสัก สรางแลวเสร็จในป พ.ศ.2541 โดยสรางแบบเดียวกันกับที่เมืองลาอีกดวย ซึ่งเปน คติความเชื่อเรื่องพระเจาเลียบโลกที่ทํานายเมืองตางๆ การสรางครั้งแรกที่ยอด ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 11 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


เขาเมืองมัณฑะเลย ในสมัยพระเจามินดง นับเปนความพยายามของรัฐบาลพมา ที่จะสรางรูปแบบพุทธศาสนา แบบพมาในภาคตะวันออกของแมนําสาละวิน ที่มี ปรากฏพบเห็นโดยทัว่ ไปในรัฐฉาน เชน การสรางเจดียช เวดากองจําลอง การสราง อนุสาวรียพระเจาบุเรงนอง การปรับปรุงวัดไทใหญใหเปนแบบพมา การสรางเจ ดียชเวดากองจําลองใหโดดเดนกวาอนุสาวรียเสรีภาพ (อนุสาวรียสัญญาปางโหล ง) ที่เมืองปางโหลง (เครือขายปฏิบัติงานผูหญิงไทใหญ, 2552) ในการเดินทางสํารวจวัดในเชียงตุงพบวา ตรงกลางแทนพระประธานใน วิหารนั้นจะมีพระพุทธรูปแบบกรุงเทพฯ มาวางไวตรงกลางเสมอ การไปสํารวจ หลายครั้งในชวงระยะหางกันหนึ่งป พบวาพระพุทธรูปแบบกรุงเทพฯ ไดเปลี่ยน เปนองคใหมแลว แสดงใหเห็นวามีการนําพระพุทธรูปมาวางไวโดยคนไทยเปน จํานวนมาก และตองวางไวตรงกลางแทนพระประธานเสมอ นับวาเปนการเมือง เรื่องศาสนาระหวางพมาและไทย โดยมีพื้นที่เชียงตุงเปนสนามทางการเมือง

พระพุทธรูปประทับยืนชี้นิ้วในลักษณะพุทธทํานาย ที่เปนศิลปะของพมาในยุคปจจุบัน 12 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


พระพุทธรูปประทับยืนชี้นิ้วในลักษณะพุทธทํานาย ที่เปนศิลปะของพมาในยุคปจจุบัน ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 13 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ลัวะ หลอย ปลั้ง ในเศรษฐกิจรัฐเชียงตุงและ ความสัมพันธทางชาติพันธุ ในเขตรั ฐ ฉานทางตะวั น ออกของแม นํ า สาละวิ น ไปจรดแม นํ า โขงนั้ น ประกอบดวยกลุมชาติพันธุจํานวนมาก ในพื้นที่ราบไดแก กลุม “เขิน” “ลื้อ” และ “ยอง” ในสวนบนพื้นที่สูงไดแก กลุม “หลอย” “กอ” “มูเซอ” “วา” “ลัวะ” “อา ขา” “แอน”ในสวนของกลุมไต (โหลง) จากรัฐฉานตอนใต และกลุม “ไต (เหนือ)” จากเขตใตคงของมณฑลยูนนาน กลุม คนทีเ่ รียกตนเองวา หลอย (ปลัง้ ) นัน้ เปนกลุม ชาติพนั ธุท กี่ ระจายตัวไป ในอาณาเขตของอํานาจรัฐเชียงตุง มีความสัมพันธทางสังคมวัฒนธรรมกับ เขิน ลือ้ คะฉิน่ ไทใหญ โดยกลุม ชาติพนั ธุห ลอย (ปลัง้ ) นี้ ไดรบั การอธิบายในงานทางวิชาการ ของประเทศไทยหลายชิ้นวาเปนกลุมภาษามอญ - เขมร ที่บางครั้งถูกเรียกวากลุมลัวะ และถูกเลาวาเปนเจาของถิน่ เดิมในลานนาและเชียงตุง ซึง่ จิตร ภูมศิ กั ดิ์ ไดกลาวถึง การกลืนกลายลัวะใหเปนไตหลอย ดังนี้ “…โดยเจาของถิน่ เดิมเชียงตุงนัน้ เปนลัวะ (ลา, วา) ซึง่ เปนผูส รางบานแปลงเมืองมากอน ในคํากลาวทีว่ า สางกอผา ลากอเมือง คือ เทวดาสรางฟา ลา (ลัวะ) สรางเมือง เมือ่ ไตไดกลืนคนเหลานีไ้ ป พวกลาจึงหันมา นับถือพุทธศาสนาและพูดไต แตยังคงอยูตามดอยอยางบรรพบุรุษ เรียก “ไตหลอ ย” โดย ไตลื้อ เรียกกลุมนี้วา “ขาสามตาว”…” (จิตร ภูมิศักดิ์, 2544 : 303-309) แตสําหรับนักวิชาการอีกหลายทานไมไดเหมารวมวาหลอย (ปลั้ง) เปนไต หรือ ไท เชน บทความเรื่องคนไทกับเพื่อนบาน : กรณีเชียงตุง ของม.ร.ว.รุจยา อาภากร (รุจยา อาภากร, ม.ร.ว., 2545 : 178) กลุมหลอยมีตํานานที่อาจหมายถึงการไดรับวัฒนธรรมพุทธศาสนาจาก เขินมาอยางยาวนาน กลาวคือบริเวณนอกเมืองเชียงตุงมีพระธาตุเจดีย เรียกวา พระธาตุจอมหลอย สรางขึ้นโดยสองตายายชาวหลอย เมื่อแรกสรางมีอํามาตย 14 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ของเจาเมืองเชียงตุงไปหามการสรางพรอมกับดูหมิ่นสองตายายวาเปนคนปาจะ สรางเจดียใหสําเร็จไดอยางไร สองตายายจึงสาปแชงวาหากเจาฟาเชียงตุงองคใด มานมัสการพระธาตุนี้ ขอใหปวยและมีอันเปนไป นอกจากนี้ที่วัดราชฐานหลวง เชียงยืน มีพระพุทธรูปสําริดยืนจีบนิว้ ทีช่ าวลัวะนับถือและตองจัดเครือ่ งบรรณาการ มาสักการะทุกป (เสมอชัย พูลสุวรรณ, 2552 : 84) จากการศึกษาเอกสารในวิทยานิพนธทางภาษาศาสตรของมัชฌิมาวรรณ สุวรรณวัฒน ซึ่งศึกษาภาษาของชาวปลั้งที่บานหวยนําขุน จังหวัดเชียงราย ได อธิบายการเดินทางเขามาในประเทศไทยของชาวปลั้ง วาเปนกลุมที่มาจากเมือง “กอนตอย” (Meng Kon Toj) ในสิบสองปนนา ประเทศจีน ในป พ.ศ.2504 มี ชาวปลั้งบางกลุมอพยพเขาไปในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพมา และอาศัยอยู ประมาณ 3 ป จากนัน้ เดินทางเขาสูป ระเทศไทยทีบ่ า นผาแตก อําเภอแมสาย อาศัย อยู 2 ป และในป พ.ศ.2509 ชาวปลั้งกลุมแรกก็ไดเขามาตั้งถิ่นฐานที่บานหวยนํา ขุนรวมกับกลุมไทใหญ (Matchimawan, 2003 : 7) ขอมูลทั้ง 2 ชุดนี้สอดคลองกับการสัมภาษณชาวลัวะที่อาศัยอยูในชุมชน บานหวยนําขุน นายสุดสิงและพระมหาอานนทไดกลาววา กลุมคนที่เรียกตัวเอง วา “ลัวะ” นั้น ยังคงเรียกตนเองวา “คนปลั้ง” ดวยเชนกัน นอกจากนี้เมื่อมีพี่ นองที่อพยพมาจากมณฑลยูนนานมาพบ ก็บอกวาคนกลุมนี้คือ “ปะหลอง”แต ชาวปลั้งในหมูบานมักชอบใหผูอื่นเรียกกลุมตนเองวา “ลัวะ” มากกวา “ไตดอย” “กนตอย” หรือ “คนปลั้ง” (สุดสิงและพระมหาอานนท, การสื่อสารสวนบุคคล, 2550) เนื่องจากคําวา “ลัวะ” นั้น มี 2 สถานภาพ กลาวคือสามารถที่จะเชื่อมโยง กับกลุมลัวะตางๆ ในสังคมไทยได และการเปนลัวะยังทําใหกลุมคนเหลานี้ไดรับ สัญชาติไทยงายกวาคนอพยพยายถิ่นชาติพันธุอื่นๆ ที่อาศัยอยูในหมูบานเดียวกัน กลุม ชาติพนั ธุ“ หลอย”มีสถานภาพทางสังคมในรัฐเจาฟาเชียงตุงใน ฐานะกลุมคนที่เก็บภาษีใหกับรัฐเชียงตุงโดยมีตําแหนง ปูมั่น (ปูแก) ปูแสน สี่เสา ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 15 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ปูลาม (พอลาม) ในระดับหมูบาน และสวนหนึ่งเปนคนที่ทํางานในหอคําเจาฟา เชียงตุง เนื่องจากเปนกลุมชาติพันธุที่ไดรับการยอมรับวาซื่อสัตยเปนอยางยิ่ง ดัง นั้น “หลอย” จึงเปนกลุมชาติพันธุที่มีความใกลชิดกับอํานาจรัฐเปนสวนหนึ่งของ ระบบการจัดเก็บรายได และมีหนาที่ตามจารีตของเจาฟาเมืองเชียงตุงในการตี กลองบูชาผีเมือง ในชวงวันสังขารลองและสงขุนสังขานต หนาที่ของ “หลอย” นี้ กลายเปนสวนหนึง่ ของอํานาจและการทําใหพทุ ธศาสนาเปนสวนหนึง่ ของสังคม ชาติพนั ธุ “หลอย” ในฐานะทีพ่ ทุ ธศาสนากลายเปนสถานภาพของชนชัน้ ปกครอง รัฐเจาฟาเชียงตุง

ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเปนปจจัยหนึ่งในการเลื่อนสถานภาพทางสังคมของกลุมชาติพันธุ 16 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


การแตงกายของผูหญิงที่แตงงานแลวและเด็กสาว ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 17 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


หมูบานของ “หลอย” จะตั้งอยูตามเสนทางเดินเทาระหวางกลุมหมูบาน ในเขตภูเขาเปนเสนทางการคา ซึง่ หางจากถนนทีเ่ ชือ่ มตอระหวางเชียงตุงและเมือง ลาเปนระยะทางไกลมาก เชน บานแสน บานแยก จะหางจากถนนประมาณ 15 กิโลเมตร ขึ้นไปบนเขา และบานหนองหลวง หางจากถนนประมาณ 30 กิโลเมตร บริเวณทางเขาหมูบานจะพบประตูหมูบานที่เปนไมแบบเสากับคาน มีทางเดินที่ วางดวยหินในชวงกาวเดินของผูใ หญเปนระยะทางจากภายนอกประตูหมูบ า นเขา มาภายในหมูบาน เขตที่อยูอาศัยจะอยูในระดับที่ตํากวาเขตวัด สําหรับบานของ “หลอย” นั้น มีลักษณะพิเศษกวาบานในเขตเอเชีย อาคเนยตอนบน กลาวคือมีลักษณะเปนเรือนยาว (Long House) โดยเรือนหนึ่ง จะมีครอบครัวอาศัยอยูร ว มกันประมาณ 5-7 ครอบครัว แตละครอบครัวจะมีเตาไฟ ของตนเอง จากการสัมภาษณขอ มูลจากชาวบาน พบวาการอาศัยอยูร ว มกันในเรือน ยาวเปนการหลีกเลีย่ งภาษีจากการนับจํานวนหลังคาเรือน ถือไดวา เรือนยาวในเขต ภูเขามีความนาสนใจในการศึกษาความสัมพันธระหวางเครือญาติ (จากการสังเกต รูปหนาและบุคลิกภาพภายนอกของชาวบานทีอ่ าศัยรวมกันในเรือนยาวของผูร ว ม เดินทางที่เปนแพทยไดใหความเห็นวา อาจจะมีการแตงงานกัน ในกลุมเครือญาติ ใกลชิด) ปจจุบันสามารถพบเห็นเรือนยาวในเขตเชียงตุงของพมา ไดจากหมูบาน แง็ดและหมูบานแสน เพียงสองหมูบานเทานั้น สําหรับหมูบานอื่นๆ ในเขตเมือง ลาและเมืองสามตาว ไดถกู เขตปกครองตนเองเมืองลาบังคับใหแยกครอบครัวออก จากกัน และอาศัยในบานหนึง่ หลังตอหนึง่ ครอบครัว โดยอางวาเปนการปองกันโรค ติดตอ ซึ่งบานที่สรางขึ้นใหมนี้ ไดวาจางชางจากเชียงตุงในราคาหลังละ 50,000 บาท (ไทย) ครอบครัวที่จะสรางบานขึ้นใหมนั้น อาจถือไดวาเปนครอบครัวที่มีเงิน เก็บสะสมจากการขายขาวและผลิตผลทางการเกษตรประจําปมากพอสมควร

18 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ประตูหมูบานที่เปนไมแบบเสากับคานเปรียบเสมือนทางเขามนุษยภูมิ ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 19 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ประตูหมูบานที่เปนไมแบบเสากับคานเปรียบเสมือนทางเขามนุษยภูมิ

20 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สภาพภูมิทัศนจากยอดเจดียที่เปนระดับสูงสุดเปรียบเสมือนเขาพระสุเมรุ ของภูมิทัศนทางวัฒนธรรมในหมูบานของชาวหลอย

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 21 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สภาพหมูบาน ศาลา และใจบานของกลุมชาติพันธุุหลอย

สภาพหมูบาน ศาลา และใจบานของกลุมชาติพันธุุไทลื้อ

22 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สภาพหมูบาน ศาลา และใจบานของกลุมชาติพันธุุไทลื้อเมืองมา

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 23 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สภาพภายในเรือนยาว (Long House) ของกลุม ชาติพนั ธุห ลอย (ปลัง้ ) ทีว่ ดั บานแยก กลางปาตอนเหนือของเมืองเชียงตุง

24 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ผลิตผลทางเกษตรกรรม

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 25 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ในสวนของความเชือ่ อืน่ ๆ นัน้ พบวาในหมูบ า นจะมีตาํ ราทํานายโชคชะตา และทีส่ าํ คัญ คือ ตําราการทํานายดวยกระดูกขาไก ทีม่ อี ยูใ นทุกหมูบ า น แมกระทัง่ หมูบานหวยนําขุน จังหวัดเชียงราย ก็ไดพบตํารานี้ดวยเชนกัน ซึ่งตําราดังกลาวมี จํานวนตัวทายมากกวาที่เคยพบในกลุมชาติพันธุอื่นๆ คือ มีถึง 160 ตัวทาย1 โดย ความเชือ่ เรือ่ งนีอ้ าจเชือ่ มโยงเรือ่ งขุนลู ขุนไล ในตํานานกลุม ไทใหญในประเทศจีน

ชาว “หลอย” จํานวนหนึ่งที่เคยไปทํางานในประเทศไทย สวนหนึ่งไป ทํางานบานทีก่ รุงเทพฯ และสวนใหญไปทํางานในสวนกลวยไมทจี่ งั หวัดนครปฐม จน เมื่ออายุมากแลวก็จะกลับบาน ในบานหนองหลวงพบวามีคนหนึ่งเคยไปทํางาน ที่กรุงเทพฯ เปนเวลา 5 ป และกลับมาอยูที่บานได 12 ปแลว ซึ่งสามารถสื่อสาร เปนภาษาไทยได 1

1. เผไก ของ อาหม 132 แบบ เขียนดวยอักษรอาหม 2. เผไกหลวงฟา ของไทพาเก 59 แบบ เขียนดวยอักษรไทพาเก 3. พับหมอดูไก ของไทลื้อ 112 แบบ อักษรไทลื้อแบบเกา

26 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


พุทธศาสนสถานของหลอย (ปลั้ง) วัดของกลุม ชาติพนั ธุห ลอยในเขตเชียงตุง เมืองลา สามตาว กระจายตัวไป ตามภูเขา เทาที่มีการสํารวจจากนักวิชาการไทย พบวา มีวัดบานแง็ด วัดบานแสน วัดหนองหลวง วัดบานเกน วัดปาไกล วัดหลวง เทานั้น แตสําหรับในบทความนี้ จะกลาวถึงวัดที่ตั้งอยูลึกเขาไปในเขตสามตาวเพิ่มเติมอีก 2 วัด ไดแก วัดหนอง คําและวัดทะปางหลวง ซึ่งเปนวัดของกลุมชาติพันธุหลอยที่ยังไมมีบุคคลใดเขาไป สํารวจ บริเวณทีเ่ ปนเขตสุดทายของการแบงอํานาจระหวางเชียงตุงและเชียงรุง คือ เขตสามตาว ที่ใชคําวา “เอาปฏิญานเปนนําหลังดินที่หัวดอยสามเสา นํายอยพาย ทางหนเหนือเปนดินแดนเมืองแลม (เมืองในเขตเชียงรุง -สิบสองปนนา) นาํ ยอยทาง หนไตเปนแดนเมืองเชียงตุง” (อรุณรัตน วิเชียรเขียว, 2531 : 74-76) ปจจุบันสาม ตาวอยูในเขตการปกครองตนเองชนกลุมนอยเมืองลา2

2กองกําลังเมืองลา NDAA ในอดีตเปนกองกําลังในสังกัดพรรคคอมมิวนิสตพมาตอสูกับรัฐบาลพมา โดยมีประเทศจีนจีนใหการสนับสนุน ตอมาในป พ.ศ.2532 ไดถอนตัวจากพรรคคอมมิวนิสตพมาและ เจรจาหยุดยิงกับรัฐบาลทหารพมา ตั้งกองบัญชาการและพื้นที่เคลื่อนไหวอยูในภาคตะวันออกรัฐฉาน ติด ชายแดนประเทศจีนปจจุบัน (พ.ศ.2553) กองกําลังเมืองลา NDAA มีกําลังพลประมาณ 3,500 - 4,000 นายมี เจาจายลืน หรือหลินหมิ่งเสียน เปนผูนํา ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 27 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


วิหารวัดหนองหลวง เมืองลา

วัดบานเกน เมืองสามตาว

28 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


วัดปาไกล ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 29 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


วัดหนองคํา

วัดทะปางหลวง 30 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


บทความทางวิชาการทีเ่ กีย่ วกับวัดของกลุม ชาติพนั ธุห ลอย ไดแก งานของ เกรียงไกร เกิดศิริ ที่ศึกษาตัวสถาปตยกรรมวัดบานแง็ด วัดบานแสน กลาววาเปน สถาปตยกรรมรวมระหวางลานนาและหลวงพระบาง (เกรียงไกร เกิดศิร,ิ 2550) อีก งานหนึ่ง คือ ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา เปนการศึกษาในเรื่องสถาปตยกรรมพื้นถิ่น ของชนชาติไทในรัฐฉานกรณีศึกษา: อาคารทองถิ่นเมืองเชียงตุง เมืองมา เมืองลา (ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา, 2553. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.kmitl.ac.th/ ader/)

วิหารวัดบานแสน ตั้งอยูกลางปาตอนเหนือของเมืองเชียงตุง มีลักษณะสถาปตยกรรมที่รวมสมัยกับลานนา ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 31 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ในสวนการศึกษาเรื่องประวัติศาสตรศิลปนั้น มีการศึกษาของศูนยโบราณคดีภาค เหนือ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในรายงานการวิจยั เรือ่ ง การศึกษา เปรียบเทียบงานศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ของชุมชนไท เมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพ พมา และชุมชนแมทะ จังหวัดลําปาง (พ.ศ.2552) รวมถึงงานของ ศิรพงศ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ในวัดบานเกน เมืองลา หลักฐานทางโบราณคดีที่มีชีวิต ทั้งสองเรื่องเปนการศึกษา เชิงเปรียบเทียบวัดของกลุม ชาติพนั ธุห ลอยกับลานนา ในแงมมุ ของศิลปกรรมและ โบราณคดีวามีลักษณะทางศิลปกรรมประเพณีรวมกันอยางไร ในบทความนีเ้ ปนผลจากการเขาพืน้ ทีส่ าํ รวจเก็บขอมูล ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2551 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2552 เดือนตุลาคม พ.ศ.2552 และเดือนมีนาคม พ.ศ.2553 โดยการสํารวจวัดบานแง็ด วัดบานแสน วัดหนองหลวง วัดหลวง วัดปากลาง วัดปาไกล วัดบานเกน วัดหนองคํา วัดทะปางหลวง (โดยเรียงลําดับระยะหางจาก เมืองเชียงตุงออกไปถึงเขตสามตาว) การศึกษานีไ้ ดใชแนวคิดเรือ่ งชาติพนั ธุส มั พันธ (Ethnicity) เขามาอธิบาย ดังนั้นการศึกษาจึงไมไดเนนประเด็นในเรื่องของความ เหมือนและลักษณะรวมกันระหวางลานนา เชียงตุง ลานชาง เชียงรุง แตเปนการ ศึกษาเรือ่ งความแตกตางทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะของกลุม ชาติพนั ธุห ลอย โดยกลุม ชาติ พันธุหลอย สามารถใชความแตกตางในการเขาถึงผลประโยชนทางการเมือง ระหวางกลุม ชาติพนั ธุไ ดอยางไรในสัญลักษณทชี่ าวหลอยไดสรางขึน้ ในพุทธศาสน สถานของตน กลุม ศาสนสถานและชุมชนหลอยจะมีลกั ษณะคลายคลึงกัน กลาวคือ กลุม ศาสนสถานจะสรางบนพื้นที่สูงในสองระดับ ระดับที่สูงที่สุด คือกลุม ศาสนสถาน ที่เปนเจดีย ตอมาเปนกลุมของอุโบสถและวิหาร โดยวิหารจะมีลักษณะใหญ มี หลายหลัง สวนอุโบสถนั้นจะเปนอาคารขนาดเล็ก เชน วัดบานแสนมีลักษณะ ที่เปนศาลาเปดโลง วัดทะปางหลวงไมมีพระประธาน ภายในวัดหลวงนั้นอุโบสถ ไดเปลี่ยนแปลงไปเปนแบบลื้อในสิบสองปนนาที่มีหลังคาซอนกันหลายชั้นเขต 32 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


พุทธาวาสและเขตสังฆาวาสนั้นเชื่อมตอกันไปดานหลังและดานขาง แตจะ ไม เชือ่ มตอกับอุโบสถ ดานหนาของวัด โดยเฉพาะวัดบานแสนและวัดหนองหลวงจะ มีตนไมใหญที่เรียกวา “สะรี” มีการประดับตุงและเห็นรองรอยทางพิธีกรรมใน สวนกลุมหมูบานจะเปนพื้นที่ที่ตําที่สุด

องคประกอบของศาสนสถานจะเปนหนึ่งเดียวกันกับหมูบาน เนนลําดับชั้นโดยใชภูมิประเทศเปนตัวกําหนด ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 33 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


วัดบานแสน

อุโบสถแปดเหลี่ยม ที่วัดหลวง เมืองลา ซึ่งไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมสิบสองปนนา

การทีก่ ลุม ชาติพนั ธุห ลอยในเชียงตุงเปนสวนหนึง่ ในระบบเศรษฐกิจแบบ เจาฟา และการใกลชิดกับศูนยกลางอํานาจ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง พิธีกรรม และศาสนา ทําใหศาสนสถานของกลุมชาวหลอยมีลักษณะที่เปนเอกลักษณตาม ความเชื่อเฉพาะตนในเรื่องลําดับชั้นทางสังคม ที่พบเห็นทางกายภาพ และลําดับ ชั้นหลังความตายในสัญลักษณไตรภูมิที่ปรากฏอยูเปนจํานวนมากในศาสนสถาน 34 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ไตรภูมิ ภาพและสัญลักษณ ในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) พุทธศาสนาไดอธิบายลักษณะจักรวาลทีเ่ ราอยูน วี้ า มีสณ ั ฐานทรงกลมหนึง่ วงกลมจะเทากับหนึง่ จักรวาล แตละจักรวาลจะเรียงตัวตอกันเปนจํานวนมหาศาล (อนันตจักรวาล) ในหนึง่ จักรวาลนัน้ จะมีศนู ยกลางจักรวาลคือเขาพระสุเมรุ วางอยู บนกอนหินสามเสา (เขาตรีกฏู ) ยอดเขาพระสุเมรุ คือสวรรคชนั้ ดาวดึงส หรือเมือง ไตรตรึงส เปนทีอ่ ยูข องพระอินทร และเปนทีป่ ระดิษฐานพระเกตุแกวจุฬามณี เชิง เขาพระสุเมรุเปนบริเวณของปาหิมพานต รอบๆ เขาพระสุเมรุเปนเขาสัตบริภัณฑ ทั้ง 7 คั่นดวยมหานทีสีทันดร ภูมิมนุษยจะอยูชั้นกลาง มีที่อยูอาศัยบนแผนดิน 4 ทวีป สวรรคมี 16 ชัน้ กอนจะถึงชัน้ พรหมและชัน้ นิพพาน ทีห่ ลุดพนจากการเวียน วายตายเกิด ในปาหิมพานตเชิงเขาพระสุเมรุจะมีสัตวหิมพานต จากคติความเชื่อ ตามเสนทางการสํารวจนี้พบวามี นาค นาคเกี้ยว หงส หงสไปคอ มอม กินรี กินนร นกหัสดีลิงค สิงห ตามคติทางพุทธศาสนาเรื่องไตรภูมินั้นจะแตกตางจากกลุมของศาสนา พราหมณในรายละเอียด เชนในเรือ่ งการจัดระบบ ในคติทางพุทธศาสนาบนยอดเขา พระสุเมรุเปนทีต่ งั้ ของสวรรคชนั้ ดาวดึงส ซึง่ เปนทีส่ ถิตของพระอินทรขา งบนเหนือ ขึน้ ไปเปนชัน้ พรหมตางๆ ตาํ ลงมาจากยอดเขาดานขางเขาพระสุเมรุเปนสวรรคชนั้ ของจตุมหาราชิกา (ทาวจตุโลกบาล) และตําลงไปเปนกลุมภพของอมนุษย อสูร ใตลงไปเปนนาคพิภพและใตดินลงไปเปนนรก ในสวนของพราหมณ ถือวาเขา พระสุเมรุเปนศูนยกลางเหมือนกัน แตสวรรคของพระอินทรไมไดอยูบนยอดเขา พระสุเมรุ แตไปอยูท างทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ สวนทางทิศใตเปนทีป่ ระทับของ พระวิษณุ พระศิวะ เรียกวา ไวกูณฐและไกรลาส ความแตกตางทีส่ าํ คัญอีกประการ หนึ่ง คือเรื่องสถานภาพของเทพ เชน พระอินทรของพราหมณนั้น เปนสถานภาพ ทีค่ งที่ ไมตาย และเปนนิรนั ดร สวนเทพในคติทางพุทธศาสนาเปนกลุม ทีเ่ วียนวาย ตายเกิด สวรรคชั้นใดก็ไมเที่ยงแท ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 35 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


แผนผังจักรวาลตามคติไตรภูมิตามคติทางพุทธศาสนา ระนาบราบ

ระนาบดิ่ง

ที่มา : http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/ thapra/Namon_Phongsakornpaphas/Illustration.pdf 36 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สัตวหิมพานตจากคติความเชื่อ นาค นาคเกี้ยว หงส หงสไปคอ มอม กินรี กินนร นกหัสดีลิงค สิงห

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 37 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ไตรภูมใิ นพุทธศาสนสถานของหลอยมีลกั ษณะทีเ่ ฉพาะทางกลุม ชาติพนั ธุ และเปนสัญลักษณที่ปรากฏอยางเดนชัด เรื่องการใชพื้นที่ภูมิประเทศในการจัด ลําดับชั้นของศาสนสถานกับชุมชนตามระดับความสูงของพื้นที่ โดยมีเจดียอยูใน ระดับที่สูงที่สุด เปรียบเสมือนเปนเขาพระสุเมรุ ทางเขากอนถึงพื้นที่ของวัดจะเปนตนไมใหญ (ตนสะรี) เปรียบเสมือน การเขาสูแกนกลางของเขาพระสุเมรุที่ตองผานปาหิมพานต บริเวณประตูวิหารมี สัญลักษณสําคัญ คือ หงสปายคอและกินรี ซึ่งเปนสัญลักษณของการเขาสูใจกลาง ของจักรวาล

บริเวณประตูวหิ ารมีสญ ั ลักษณสาํ คัญ คือ หงสปา ยคอเปนสัญลักษณปา หิมพานตทจ่ี ะเปน การเขาสูใ จกลางของจักรวาล 38 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ซุม ประตูทางเขาพระวิหารหลัก เปรียบเสมือนกับการเดินทางเขาสูเ ขาพระสุเมรุ

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 39 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


กลุมชาติพันธุหลอยไดใชสัญลักษณ “นาคเกี้ยว” จํานวน 8 ตัว เปน สัญลักษณ ทีส่ อื่ ถึงไตรภูมใิ นระนาบราบ การเกีย่ วรัดกันของนาคมีลกั ษณะเปนรูป ระนาบทรงกลมและบนระนาบพื้นที่สี่เหลี่ยม บางรูปนั้นเปนรูปนาคที่เกี่ยวรัดกัน เปนผังตารางในลักษณะ “หูกทอผา” โดยเปรียบการทอผาเหมือนการสรางจักรวาล (เอเดรียน สนอดกราส, 2541 : 145-147) สัญลักษณนี้เปนการมองจักรวาลจาก เบือ้ งลางโดยผูม องอยูใ นฐานะสวนหนึง่ ของจักรวาล นอกจากนีม้ กี ารพบสัญลักษณ “ไตรภูมแิ บบสยาม” ในวิหารวัดบานเกน ฝง ตรงขามพระประธาน ซึง่ เปนการมอง จักรวาลจากดานขางโดยผูมองเปนผูอยูภายนอกจักรวาล

นาคเกีย้ ว ลักษณะไตรภูมเิ ปนรูประนาบทรงกลม 40 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


นาคเกีย้ ว ลักษณะไตรภูมเิ ปนรูปบนระนาบสีเ่ หลีย่ ม บางรูปเปนรูปนาคทีเ่ กีย่ วรัดกันเปนผังตารางในลักษณะ “หูกทอผา”

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 41 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สัญลักษณ “ไตรภูมแิ บบสยาม” ปรากฏในวิหารวัดบานเกน

นอกจากนาคเกี้ย วแล ว ยั ง มี เขาพระสุ เ มรุ จํา ลองและท า วจตุ ม หาราชิกา (ทาวจตุโลกบาล) โดยมีพระแมธรณีบีบมวยผมตั้งอยูขางๆ กัน บริเวณดานหลัง พระประธานจะมีเสาทีเ่ ปรียบเสมือนแกนกลางจักรวาลประกอบอยูด ว ย

เขาพระสุเมรุ 42 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


บนโครงสรางวิหารทัง้ สองดานของพระประธานจะมีไมทาํ เปนรูปเรือ ดาน ในประกอบดวยพระพุทธรูปองคเล็กๆ เรียงอยู ในลานนาเรียกวา “สะเปา” ซึ่ง หมายถึงเรือประเภทหนึ่งที่ใชในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา โดยเชื่อวาเปนพาหนะ นํามนุษยขามมหานทีสีทันดรไปสูภพภูมิหลังความตาย ในสวนโครงหลังคานั้น จะประกอบดวยเครื่องกระเบื้องดินเผาประดับเปนรูปนกหัสดีลิงค และรูปเทวดา นมัสการพระธาตุจุฬามณี สะเปา (สําเภา) ในศิลปกรรมของชาวหลอย

ตามคติความเชือ่ ทีว่ า เรือสําเภาจะเปน พาหนะทีพ่ าสัตวโลกขามพนวัฏสงสาร อันเปนปณิธานของพระโพธิสตั ว

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 43 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


พระเจดียจ ฬุ ามณีทป่ี รากฏอยูบ ริเวณวิหารวัด

ตามความเชื่อของชาวพุทธ พระเจดียจุฬามณีเปนพระเจดียที่บรรจุพระ จุฬาโมลี (มวยผม) ของพระพุทธเจาในดาวดึงสเทวโลก เมื่อคนเสียชีวิตไปแลว ไดขึ้นสวรรคตองมาเคารพเจดียนี้ทุกคน อีกทั้งยังมีความสําคัญตามคติความเชื่อ ของชาวลานนา วาเปนพระธาตุประจําปเกิดของคนที่เกิดปจอ 44 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


บทสรุปการเมืองเรือ่ งชาติพนั ธุใ นสัญลักษณทางพุทธศาสนา กลุม ชาติพนั ธุห ลอย ในเขตวัฒนธรรมเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพมามีความ สัมพันธกับกลุมชาติพันธุอื่นๆ มาอยางยาวนาน กับกลุม เขิน ลือ ลัวะ ไตลัวะกับ พมา และจีนในปจจุบันดวย โดยการที่ “หลอย” ถูกทําใหเปนสวนหนึ่งของลัวะ ทําใหอยูใ นโครงสรางสังคมเรือ่ งการเขามาในพืน้ ทีเ่ ชียงตุงของกลุม ลานนาในฐานะ กลุมคนดั้งเดิมและการผลิตซําเรื่องประเพณี “ตีลัวะ” ในการขึ้นครองเมือง ตอ มากลุม “หลอย” ไดนับถือพุทธศาสนาและใชอักษรธรรมในฐานะอักษรศักดิ์สิทธ ในการจารึกเรื่องราวทางพุทธศาสนาและการบันทึกตําราตางๆ เชน ตําราดูเมื่อดู ยามและที่สําคัญ คือ ตําราการทํานายดวยกระดูกขาไก “หลอย” ยังเปนสวนสําคัญของระบบการจัดเก็บภาษีของรัฐเจาฟาเชียง ตุงในฐานะปูแก ปูแสน ที่ไกลสุดเขตแดนอํานาจรัฐเจาฟาเชียงตุง บางสวนเขาไป เปนสวนหนึง่ ของการทํางานในหอคําเจาฟาเชียงตุง เนือ่ งจากกลุม “หลอย” เปนก ลุมชาติพันธุที่เจาฟาเชียงตุงเชื่อวามีความซื่อสัตยและจงรักภักดีมาก การนับถือพุทธศาสนาแบบเชียงตุง การยอมรับตัวอักษรธรรมแบบเชียง ตุง (ลานนา) และการไดรบั การยอมรับจากระบบการปกครองใหเปนสวนหนึง่ ของ ระบบภาษี ทําให “หลอย” เขาใจเรื่องลําดับชั้นทางสังคมเปนอยางดี และไดใชคติ ลําดับชัน้ ทางสังคมนัน้ มาสรางศาสนสถานทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะกลุม ชาติพนั ธุ ซึง่ เปน ศาสนสถานที่อยูทามกลางกลุม “ชาติพันธุไท” สามกลุม ไดแก เขิน ลื้อ และไท ใหญ ที่เคยมีอํานาจทางการเมืองในฐานะรัฐเจาฟา ลักษณะเฉพาะในคติความเชือ่ ทางพุทธศาสนาทีป่ รากฏในศาสนสถานของ กลุม ชาติพนั ธุห ลอย คือ คติในเรือ่ งไตรภูมทิ เี่ ปนระบบจักรวาลวิทยาโดยอธิบายถึง การดํารงอยูแ ละการเปลีย่ นแปลงของสรรพสิง่ ทีก่ าํ ลังดําเนินชีวติ อยู ไตรภูมใิ นคติ ความเชือ่ ของ “หลอย” ตางจากไตรภูมขิ องกลุม คนไทย (สยาม ลานนา เขิน ลือ้ ไทใหญ) ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 45 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ที่มองจักรวาลดานขางจากภายนอก แต “หลอย” ไดใชสัญลักษณที่แสดงถึงการ มองเห็นไตรภูมิจากภายในโดยผูมองเปนสวนหนึ่งของระบบจักรวาลนั้นๆ และใน ความเชื่อเรื่องการเปลี่ยนแปลงตามคติพุทธศาสนานั้น การสะสมบุญบารมีอาจ ทําใหสถานภาพของ “หลอย” เปลี่ยนแปลงในภพชาติภูมิหนาไดเชนกัน ในเมื่อ ระบบสังคมแบบรัฐเจาฟาที่อํานาจทางการเมือง อํานาจทางศาสนา และการ จัดสรรทรัพยากร โดยใชลักษณะและชาติพันธุเปนเครื่องมือในการจัดลําดับชั้น ทางสังคม

46 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 47 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


48 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 49 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


50 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 51 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


52 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 53 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


54 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 55 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


56 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 57 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


58 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 59 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


60 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 61 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


62 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 63 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


64 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 65 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


66 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 67 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


68 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 69 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


70 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 71 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


72 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


เอกสารอางอิง เกรียงไกร เกิดศิริ. “วัดและชุมชนบานแสน: ลมหายใจของชุมชนบุพกาลกลางปา เชียงตุง” เมืองโบราณ. 33(2) ; 2550. ไกรทอง โชติวุฒิพัฒนา. การศึกษาในเรื่องสถาปตยกรรมพื้นถิ่นของชนชาติไทในรัฐ ฉานกรณีศกึ ษา : อาคารทองถิน่ เมืองเชียงตุง เมืองมา เมืองลา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kmitl.ac.th/ader/. (วันที่สืบคนขอมูล : กรกฎาคม2553). เครือขายปฏิบตั งิ านผูห ญิงไทใหญ (SWAN). (2552). ทิวทัศนตอ งหามในรัฐฉาน. ม.ป.ท. จิตร ภูมิศักดิ์. (2544). ความเปนมาของคําสยาม ไทย ลาว ขอม และลักษณะทาง สังคมของชือ่ ชนชาติฉบับสมบูรณ เพิม่ เติมขอเท็จจริงวาดวยชนชาติขอม. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ศยาม. เชียงตุง เมืองสิบสองประตู. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/print.pl?content =2149&board=backpacker. (วันที่สืบคนขอมูล : กรกฎาคม 2553). บําเพ็ญ ระวิน. (2538). ตํานานวัดปาแดง. เชียงใหม : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รุจยา อาภากร, ม.ร.ว. (2545). “คน “ไท” กับเพื่อนบาน : กรณีเมืองเชียงตุง” การศึกษาประวัติศาสตรและวรรณกรรมของกลุมชาติพันธุไท. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้ง. ศิรพงศ ศักดิส์ ทิ ธิ.์ “วัดบานเกน เมืองลา หลักฐานทางโบราณคดีทม่ี ชี วี ติ ” เมืองโบราณ. 35(4) : 42 – 45; ตุลาคม - ธันวาคม 2552.

ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 73 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


ศูนยโบราณคดีภาคเหนือ. (2552). รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบ งานศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ของชุมชนไท เมืองเชียงตุง รัฐฉาน สหภาพพมาและชุมชนแมทะ จังหวัดลําปาง. เชียงใหม : คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สถาบันวิจัยสังคม. “ตํานานวัดปาแดง” ใน โครงการวิจัยคัมภีรใบลานในภาคเหนือ. บําเพ็ญ ระวิน, บรรณาธิการ. เชียงใหม : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2538. เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2552). รัฐฉาน (เมิงไต) : พลวัตของชาติพันธุในบริบท ประวัติศาสตรและสังคมการเมืองรวมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร (องคกรมหาชน). อรุณรัตน วิเชียรเขียว. (2531). ตํานานตุงครสีเมืองเชียงตุง หนังสือปริวรรต คําภีร ใบลาน ชุดตํานานเมืองและกฎหมาย : เอกสารลําดับที่ 8 - 15. เชียงใหม : คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เอเดรียน สนอดกราส. (2541). สัญลักษณแหงพระสถูป. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อัมรินทรวิชาการ. Matchimawan Suwanawat. (2003). LANGUAGE USE AND LANGUAGE ATTITUDE OF PLANG ETHNIC GROUP IN BAN HUAY NAM KHUN, CHIANG-RAI PROVINCE. Master of Arts Thesis. Mahidol University. Bangkok (Thailand). Graduate School.

74 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


สิ่งพิมพวิชาการลําดับที่ 7 ฉบับ

ตามรอยไตรภูมใิ นพุทธศาสนสถาน ของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง): รายงานการสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมนําโขง สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ISBN …………………………..

พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2554 จํานวน……………เลม พิมพที่ ชอบพิมพ 14/1 หมู 11 ถ.หนองบัว ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทร 0-5374-6756 ตามรอยไตรภูมิในพุทธศาสนสถานของกลุมชาติพันธุหลอย (ปลั้ง) : 75 รายงานสํารวจ จากเชียงตุง เมืองลา ถึงสามตาว


โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมน้ำโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง The Project on Establishment of Mekong Basin Civilization Museum

ISBN……………………………………..

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑอารยธรรมลุมน้ำโขง มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

โทรศัพท 0 5391 7067 - 8 0 5391 7042 โทรสาร 0 5391 7067


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.