รายงานประจำป 2558
บร�ษัท อินโดรามา เวนเจอร ส จำกัด (มหาชน) www.indoramaventures.com
วิสัยทัศน์
อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นหนึ่งในผู้ผลิตโพลีเอสเตอร์ ชั้นน�ำระดับโลกที่มุ่งเน้นบุคลากร และกระบวนการ อันเป็นผลให้เราเป็นหนึ่งในบริษัทที่ได้รับการยกย่อง มากที่สุดในโลก
พันธกิจ
เรามุ่งพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการอย่าง ต่อเนื่อง ผสมผสานความร่วมมือของผู้มีส่วนได้เสีย และกระบวนการผลิตระดับสากล เพื่อบรรลุความพึง พอใจของลูกค้า ส่งผลให้เป็นผู้จัดจ�ำหน่ายที่ ได้รับ ความนิยม เรามีการจัดระบบการเรียนรู้ของบุคลากร ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในการเติบโตของธุรกิจ
ค่านิยม ◆
เน้นความส�ำคัญของบุคลากร
เราเชื่อมั่นว่า บุคคลเป็นก�ำลังหลักที่ส�ำคัญ ไม่ว่าจะ เป็นพนักงาน ผู้จัดจ�ำหน่าย ลูกค้า ผู้ถือหุ้นหรือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจ เป็นเสมือนพลังขับเคลื่อน ที่ส�ำคัญเพื่อน�ำไปสู่ความ ส�ำเร็จและการเติบโตของธุรกิจ ◆
ความพึงพอใจของลูกค้า
เราเชือ่ มัน่ ว่า เราด�ำเนินธุรกิจได้จนถึงทุกวันนี้ เนือ่ งจาก ลูกค้าของเรา เรามุง่ เน้นการท�ำกิจกรรมเพือ่ บรรลุความ พึงพอใจและความภักดีของลูกค้าเพื่อสัมพันธภาพ ที่ยั่งยืน ◆
ความรับผิดชอบต่อสังคม
เราเชื่อมั่นในการเป็นผู้มีความรับผิดชอบและการใส่ใจ ต่อสังคม การรักษารวมถึงพัฒนา สิ่งแวดล้อมรอบ ตัวเรา ◆
การก�ำกับดูแลกิจการ
เราเชือ่ มัน่ ในความโปร่งใส ความถูกต้อง มีเหตุผล และ จริยธรรม เพื่อให้บรรลุผลสูงสุดในเรื่องการก�ำกับดูแล กิจการที่สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติที่ดีที่สุด
B
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ผู้น�ำด้านการวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรม ไอวีแอลมีศูนย์การวิจัยและพัฒนาระดับโลกพร้อมทีมงานผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมที่ร่วมกัน คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการในวันนี้และความท้าทาย ในอนาคต
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และคุณค่า 1
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
สารบัญ
“ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่ ได้แสดงไว้ ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.indoramaventures.com”
หน้า
20
หน้า
หน้า
หน้า
หน้า
ความยั่งยืน ปัจจัยพลิกเกมธุรกิจ
06
ข้อมูลทางการเงิน ที่ส�ำคัญ หน้า
24
ข้อมูลบริษัทย่อย และบริษัทร่วม
53
103 112 149
ข้อมูลส�ำคัญทางการ ด�ำเนินงาน
หน้า
22
IVL กับรางวัลแห่ง ความส�ำเร็จ ในปี 2558
ปัจจัย ความเสี่ยง
04
ข้อมูล ทั่วไป
โครงสร้าง กลุ่มธุรกิจ
หน้า
หน้า
หน้า
56
กลยุทธ์และ ภาพรวม การประกอบธุรกิจ หน้า
การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง
115 รายการ ระหว่างกัน
หน้า
167
รายงานของคณะกรรมการชุดย่อย
คณะกรรมการตรวจสอบปี 2558 คณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยงปี 2558 คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับกิจการส�ำหรับปี 2558
หน้า
หน้า
11 สาร
จากประธานกรรมการ จากประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มบริษัทฯ จากประธานเจ้าหน้าที่บริหารธุรกิจ PET และ วัตถุดิบ จากกรรมการผู้จัดการกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ จากกรรมการผู้จัดการกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายขนสัตว์
34
หน้า
คณะกรรมการ บริษัท
48
หน้า
ผู้ถือหุ้น รายใหญ่
โครงสร้าง การจัดการ หน้า
73
หน้า
117
87
การวิเคราะห์และ ค�ำอธิบายของ ฝ่ายบริหาร (MD&A)
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ หน้า
52
หน้า
118 รายงาน การก�ำกับดูแล กิจการปี 2558
นโยบายการจ่าย เงินปันผล หน้า
174
รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน
หน้า
176
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและ งบการเงินปี 2558
ข้อมูลส�ำคัญ ทางการด�ำเนินงาน ปริมาณการผลิตรวม (พันตัน) (1) รายได้จากการขายรวม PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock (2) ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจ�ำหน่าย (Core EBITDA) PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock ค่าเสื่อมราคา ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ (Core EBIT) ดอกเบี้ยสุทธิ ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากกิจการร่วมทุน ค่าใช้จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ (6) ภาษีจากก�ำไร (ขาดทุน) ในสินค้าคงเหลือ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม (NCI) ก�ำไรหลักสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ และส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม (Core Net Profit after Tax and NCI) ก�ำไรหลักต่อหุ้นก่อนดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะ คล้ายทุน (PERP) ก�ำไรหลักต่อหุน้ หลังหักดอกเบีย้ จ่ายส�ำหรับหุน้ กูด้ อ้ ยสิทธิทมี่ ลี กั ษณะ คล้ายทุน (PERP) (3) รายจ่ายฝ่ายทุนเพื่อการขยายก�ำลังการผลิตและการลงทุนใหม่ หนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนสุทธิต่อหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ (4) ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อัตราส่วนหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิต่อทุน (7) ผลตอบแทนหลักจากการใช้เงินลงทุนสุทธิ % (ก่อนรวมเงินลงทุน ในกิจการร่วมทุน และคิดก�ำไรจากกิจการที่เข้าซื้อแบบเต็มปี )
ก�ำไรหลักสุทธิหลังภาษี (Core Net Profit after Tax and NCI ) ก�ำไร/ (ขาดทุน) จากสินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้จากก�ำไร/(ขาดทุน)จากสินค้าคงเหลือ ก�ำไรสุทธิก่อนหักรายการพิเศษ บวก: รายการพิเศษ รายได้ / (ค่าใช้จ่าย) ค่าใช้จ่ายจากการเข้าซื้อกิจการ และ ค่าใช้จ่ายก่อนเริ่มด�ำเนินงาน ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจากการเข้าซื้อกิจการ ขาดทุนจาก การด้อยค่า และ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาโครงการ (สุทธิ) * เงินประกันชดเชย (จากเหตุการณ์น�้ำท่วมจังหวัดลพบุรี) รายการพิเศษ รายได้/ (ค่าใช้จ่าย) อื่น = ก�ำไรสุทธิ
ปี 2556 (ปรับปรุง)(5)
ล้านบาท ปี 2557 (ปรับปรุง)(5)
ปี 2558
5,804 229,120 146,418 47,968 70,391
6,249 243,907 145,121 70,274 64,477
7,024 234,698 131,834 73,219 59,960
14,966 7,636 2,910 4,456 (6,841) 8,125 (3,627) (741) (1,306) (272) (191)
19,481 9,275 4,108 6,296 (7,898) 11,583 (3,481) (937) (1,625) (369) (285)
22,322 8,944 6,675 6,655 (9,325) 12,997 (3,580) (396) (1,628) (627) (279)
1,988
4,886
6,487
0.41
1.01
1.35
0.41 6,971 72,991 31,093 43% 60,435 1.21
0.99 13,726 58,013 26,492 46% 74,610 0.78
1.17 31,737 67,296 26,395 39% 82,953 0.81
6.4%
8.6%
9.4%
ปี 2556 (ปรับปรุง)
ล้านบาท ปี 2557 (ปรับปรุง)
ปี 2558
4,886 (3,522) 369 1,733 (58) (126)
6,487 (2,918) 627 4,197 2,413 (166)
(299) 791 (332) 1,523
506 (438) 1,675
2,637 (59) 6,609
1,988 (928) 272 1,331 192 32
*ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจากการเข้าซื้อกิจการถูกรับรู้เมื่อการเข้าซื้อกิจการเสร็จสิ้นเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีไทย
4
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(1) ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกัน ในบริษัทในกลุ่ม (หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ) (2) ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบีย้ ภาษีเงินได้ ค่าเสือ่ มราคาและ ค่าตัดจ�ำหน่าย (Core EBITDA) คือ ก�ำไรรวมก่อนหัก ดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (Consolidated EBITDA) หักก�ำไร(ขาดทุน)จากสินค้าคง เหลือ ยอดรวมของแต่ละธุรกิจอาจไม่เท่ากับยอดรวมของ บริษัท เนื่องจากยอดรวมของบริษัท มีบริษัทลงทุนรวม อยู่ Core EBITDA ของปี 2556 รวมเงินประกันชดเชยค่า เสียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมโรงงานในจังหวัดลพบุรี จ�ำนวน 899 ล้านบาท Core EBITDA ของปี 2557 รวมเงินประกันชดเชยค่า เสียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมโรงงานในจังหวัดลพบุรี จ�ำนวน 140 ล้านบาท (3) รายจ่ายฝ่ายทุนเพื่อการขยายก�ำลังการผลิตและการ ลงทุน (รวมผลสุทธิจากการขายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ และเงินลงทุน) ใช้เกณฑ์เงินสดจากงบกระแสเงินสดและ รวมหนี้สินจากการเข้าซื้อกิจการ (4) รวมหุ้นกู้ที่มีลักษณะคล้ายทุนจ�ำนวน 14,874 ล้านบาท (5) ปีที่มีค�ำว่า ปรับปรุง หมายถึง มีการปรับปรุงตัวเลขตาม มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ ในปี 2558 ตัวเลข ทางการเงินที่ปรับปรุงในปี 2556 ไม่เป็นสาระส�ำคัญ (6) ภาษีเงินได้จากก�ำไรขาดทุนในสินค้าคงเหลือ ค�ำนวณ แยกตามกิจการเพื่อน�ำเสนอตัวเลขทางการเงินหลักให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนี้ตัวเลขทางการเงินในอดีตได้ ถูกปรับปรุงด้วยเช่นกัน (7) คิดก�ำไรของกิจการทีเ่ พิง่ เข้าซือ้ แบบเต็มปี ในการค�ำนวณ ROCE% เพือ่ การน�ำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสมนอกจาก นี้ ตัวเลขทางการเงินในอดีตถูกค�ำนวณด้วยวิธีเดียวกัน
กราฟแสดง ผลการด�ำเนินงาน
22,322
19,481 14,966
243,907 234,698
กเบี้ย อ ด ั ก ก่อนห เสื่อมราคา ท) ก ั ล ห กำ�ไร ีเงินได้ ค่า ย(ล้านบา ภาษ ัดจำ�หน่า ต และค่า
229,120
2556
2558
2557
22,421
10,464
ม ายรว ข 2556 ร า ้จากก บาท) ด ไ ย า ร (ล้าน 2557
24,806
2558
2557
2558
ินงาน
เน ารดำ� ก ก า ินสดจ ้านบาท) ง เ ส แ (ล กระ 2556
1.21 0.78
0.81
6,487
8.6%
4,886 2558
9.4%
6.4%
2557ปรุง) ินงาน น เ ปรับ 6 ( � ำ ด 25ับ5ปรุง) กการ ปร
า นี้สินจ ิต่อทุน ห น ว ่ ส สุทธ อัตรา (เท่า) (
1,988
2558 ได้เสีย น ว ่ ส 2557ปรุง) ะ รับ ได้ แล น ิ 25ับ56ปรุง) (ป ง เ ี ษ า (ปร ังหักภ วบคุม
ธิหล ่มีอำ�นาจค ) ท ุ ส ก ั ล ที่ไม (ล้านบาท กำ�ไรห
2558 ิ (%) ร ธ ท ุ 2557ปรุง) ส ทุน ะคิดกำ�ไ รับ ง ล 2556ปรุง) (ป น ิ ง ้เ แล (ปรับ การใช มทุน
ก ่ว ลักจา ในกิจการร แบบเต็มปี) ห น ท บแ ทุน ซื้อ ผลตอรวมเงินลง ิจการที่เข้า (ก่อน จากก
5
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลทาง การเงินที่ส�ำคัญ ตารางสรุปงบการเงินรวมของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ส�ำหรับปี 2556 - ปี 2558
งบแสดงฐานะการเงิน (งบการเงินรวม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย: ล้านบาท
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน
6
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2556 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
ปี 2557 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
ปี 2558
ร้อยละ
4,013.4 363.5 28,827.2 0.6 28,939.6 6,278.3 68,422.6
2.1 0.2 15.3 0.0 15.4 3.3 36.4
5,339.1 5,182.3 26,203.0 75.1 29,141.1 6,239.6 72,180.2
2.7 2.7 13.5 0.0 15.0 3.2 37.1
3,232.5 451.8 27,499.6 265.6 31,785.6 7,313.2 70,548.2
1.5 0.2 12.4 0.1 14.3 3.3 31.8
2,887.5 99.0 98.4 94,934.5 8,018.7 11,245.7 1,329.8 871.2 119,484.9 187,907.6
1.5 0.1 0.1 50.5 4.3 6.0 0.7 0.5 63.6 100.0
1,941.9 1.0 104.7 0.1 164.1 0.1 97,822.5 50.3 8,054.8 4.1 11,126.9 5.7 1,229.0 0.6 1,909.6 1.0 122,353.5 62.9 194,533.7 100.0
1,962.4 119.6 165.4 120,365.6 9,788.6 13,581.2 2,686.8 2,422.9 151,092.4 221,640.6
0.9 0.1 0.1 54.3 4.4 6.1 1.2 1.1 68.2 100.0
16,075.4 25,663.2
8.6 13.7
8,581.0 27,764.2
4.4 14.3
12,115.0 31,149.0
5.5 14.1
3,921.9 -
2.1 0.0
4,426.2 -
2.3 0.0
2,118.2 2,898.0
1.0 1.3
5.2 700.8 6,613.9 52,980.5
0.0 0.4 3.5 28.2
8.3 854.3 6,431.6 48,065.7
0.0 0.4 3.3 24.7
8.4 1,162.7 7,931.9 57,383.2
0.0 0.5 3.6 25.9
ณ วันที่ 31 ธันวาคม หน่วย: ล้านบาท
หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ผลก�ำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส�ำรองการป้องกันความเสี่ยง ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ส่วนเกินระหว่างราคาทุนสูงกว่าราคาตามบัญชีของ บริษัทย่อยที่ได้มา ผลต่างที่เกิดจากรายการภายใต้การควบคุมเดียวกัน ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 2556 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
ปี 2557 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
ปี 2558
ร้อยละ
41,463.3 23,795.7 4.6 6,923.3 961.8 1,343.4 74,492.1 127,472.6
22.1 12.7 0.0 3.7 0.5 0.7 39.6 67.8
32,757.6 27,499.0 21.4 8,881.2 1,755.0 944.2 71,858.3 119,924.1
16.8 14.1 0.0 4.6 0.9 0.5 36.9 61.6
34,140.3 32,310.0 16.4 11,223.1 1,795.5 1,819.3 81,304.5 138,687.7
15.4 14.6 0.0 5.1 0.8 0.8 36.7 62.6
4,815.9 4,814.3
2.6 2.6
5,666.0 4,814.3
2.9 2.5
5,666.0 4,814.3
2.6 2.2
29,774.6
15.8
29,774.6
15.3
(8.4) 2,499.8
(0.0) 1.3
(37.4) 955.5
(0.0) 0.5
29,775.1 (61.8) 4,658.7
13.4 (0.0) 2.1
(3,304.5) (1,235.6)
(1.8) (0.7)
(3,300.2) (1,235.6)
(1.7) (0.6)
(3,290.8) (1,235.6)
(1.5) (0.6)
1,832.7 25,016.5 59,389.6 59,389.6 1,045.4 60,435.0 187,907.6
1.0 13.3 31.6 0.0 31.6 0.6 32.2 100.0
1,834.7 0.9 24,873.5 12.8 57,679.4 29.7 14,874.1 7.6 72,553.4 37.3 2,056.2 1.1 74,609.6 38.4 194,533.7 100.0
1,989.9 28,301.3 64,951.2 14,874.1 79,825.2 3,127.7 82,953.0 221,640.6
0.9 12.8 29.3 6.7 36.0 1.4 37.4 100.0
7
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบก�ำไรขาดทุน (งบการเงินรวม) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หน่วย: ล้านบาท
ปี 2556 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
ปี 2557 (ปรับปรุง)
ร้อยละ
รายได้ รายได้จากการขาย ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ผลกระทบจากน�้ำท่วม-สุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้
229,120.4 267.0 152.6 1,690.2 1,126.3 232,356.6
100.0 0.1 0.1 0.0 0.7 0.5 101.4
243,907.2 375.4 71.6 1,669.9 140.0 1,572.8 247,736.9
100.0 0.2 0.0 0.7 0.1 0.6 101.6
234,697.9 48.5 166.7 3,625.7 1,594.8 240,133.6
100.0 0.0 0.1 1.5 0.0 0.7 102.3
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ผู้บริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่า รวมค่าใช้จ่าย
211,572.4 12,768.7 76.1 224,417.2
92.3 5.6 0.0 0.0 97.9
221,869.2 16,537.0 90.2 744.1 239,240.4
91.0 6.8 0.0 0.3 98.1
208,177.2 19,180.0 112.9 227,470.1
88.7 8.2 0.0 0.0 96.9
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินทุนในการร่วมค้า - สุทธิ
(1,108.0)
(0.5)
(1,356.1)
(0.6)
(242.2)
(0.1)
ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย
6,831.5 3,811.0
3.0 1.7
7,140.4 3,554.5
2.9 1.5
12,421.3 3,652.1
5.3 1.6
ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรส�ำหรับปี
3,020.5 1,306.3 1,714.3
1.3 0.6 0.7
3,585.9 1,625.4 1,960.5
1.5 0.7 0.8
8,769.2 1,880.8 6,888.4
3.7 0.8 2.9
1,523.2 191.0 1,714.3
2.0 0.3 2.3
1,675.1 285.4 1,960.5
2.0 0.3 2.3
6,609.3 279.1 6,888.4
2.8 0.1 2.9
ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) ก�ำไรหลักต่อหุ้น (บาท)*
0.32 0.41
0.32 0.99
ปี 2558
ร้อยละ
1.20 1.17
* ข้อมูลทางการเงินหลักค�ำนวณจากตัวเลขในงบการเงินหักด้วยรายการก�ำไร/(ขาดทุน) จากสินค้าคงเหลือและรายการพิเศษเพือ่ สะท้อนผลการด�ำเนินงานก่อนหักรายการ พิเศษดังกล่าว
8
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสด (งบการเงินรวม) หน่วย: ล้านบาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรส�ำหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนและสินทรัพย์อื่น ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ก�ำไรจากส่วนได้เสียที่ถืออยู่ก่อนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า-สุทธิ ต้นทุนทางการเงิน (ก�ำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ประมาณการ (กลับรายการ) หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ-สุทธิ ประมาณการค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย-สุทธิ ประมาณการการด้อยค่าของที่ดิน ราคา และอุปกรณ์ ประมาณการขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในการร่วมค้า ประมาณการขาดทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับโครงการซึ่งไม่สามารถได้รับคืน ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ตัดจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์พนักงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 (ปรับปรุง) (ปรับปรุง)
1,714.3
1,960.5
6,888.4
6,141.1 700.5 (152.6) (86.9) 1,108.0 3,811.0 151.4 14.4 69.9 18.2 193.5 6.8 0.1 1,306.3 14,995.9
7,108.3 790.2 (71.6) (1,669.9) 1,356.1 3,554.5 222.8 (7.5) 169.8 597.4 146.7 123.5 64.5 1,625.4 15,970.7
8,324.5 1,001.2 (166.7) (3,625.7) 242.2 3,652.1 129.9 19.9 40.1 8.9 609.7 317.5 111.3 1,880.8 19,434.2
(2,753.2) (2,438.4) (1,206.6) 157.1 2,724.3 (195.8) (121.7) (200.6) (496.5) 10,464.4
5,328.7 1,945.6 (272.4) (244.3) 659.7 (485.3) (52.4) (169.7) (259.1) 22,421.5
4,515.8 1,168.2 (92.6) (124.9) (1,046.8) 932.7 770.9 (117.5) (633.8) 24,806.1
9
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
หน่วย: ล้านบาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขาย (ซื้อ) เงินลงทุนอื่น-สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อธุรกิจ เงินรับสุทธิจากส่วนได้เสียที่ถืออยู่ก่อนในการร่วมค้า เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อยและการร่วมค้า เงินจ่ายล่วงหน้าจากการซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อยและการร่วมค้า เงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับโครงการ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท จ่ายเงินปันผลให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม เงินสดรับจากการกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว ช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากหุ้นทุนออกให้ตามการใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้-สุทธิจากต้นทุนการออกหุ้นกู้ เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน-สุทธิจากต้นทุน ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน เงินให้กู้ยืมแก่การร่วมค้า เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
10
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 (ปรับปรุง) (ปรับปรุง)
188.1 (6,800.1) 9.9 (129.8) (44.6) (288.0) 351.3 (103.9) (85.3) (6,902.3)
42.0 (8,434.4) 89.3 (4,825.3) (93.2) (3,611.2) (316.8) (437.8) (915.5) (18,503.1)
193.0 (10,281.8) 79.1 4,868.1 (55.8) 0.8 (15,267.4) (175.9) (412.5) (247.2) (21,299.5)
(3,839.1) (271.1) (1,540.6) (85.6) 29,289.2 (29,566.1) (44.7) 2,162.3 (32.4) (3,928.0) (365.9) 4,374.2 5.2 4,013.4
(3,479.9) (40.2) (1,587.8) (65.7) 4,093.7 (19,944.3) (9.1) 3,691.7 14,874.1 (97.4) (2,564.9) 1,353.5 4,013.4 (27.9) 5,339.1
(3,646.6) (90.5) (2,069.9) (58.1) 8,803.6 (14,998.8) (7.9) 0.5 7,686.0 (1,050.0) (175.9) (5,607.5) (2,100.9) 5,339.1 (5.7) 3,232.5
ศรี ปรากาซ โลเฮีย สารจาก ประธานกรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ด้านการเงินและการด�ำเนินธุรกิจ ปี 2558 เป็นปีที่กลยุทธ์ของบริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นการรักษาการลงทุนที่แข็งแกร่ง เรายังคงเป็นบริษัทที่มี การเติบโตอย่างต่อเนื่อง เรามีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อนรับ บริษัทใหม่ 6 แห่งเข้าสู่ครอบครัวของเรา และอีก 2 แห่งที่คาดว่า การ เข้าซือ้ จะเสร็จสมบูรณ์ในช่วงทีร่ ายงานฉบับนีถ้ กู ตีพมิ พ์ ท่ามกลางการ เติบโตในธุรกิจเชิงกลยุทธ์ของเราทัว่ โลก การรวมบริษทั ทัง้ หมดเข้าด้วย กันเป็นกลุม่ เดียว จึงเป็นเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญและต้องอาศัยการท�ำงาน อย่างหนัก ซึง่ เป็นเรือ่ งที่ไอวีแอลมีประสบการณ์และประวัตกิ ารด�ำเนิน การที่แข็งแกร่ง ศัพท์ที่หลายคนพูดถึงและเป็นที่นิยมปัจจุบัน คือ ความยั่งยืน ซึ่งหลายคนมีการตีความและให้ค�ำนิยามที่แตกต่างกัน ออกไปตามแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท บริษัทที่ยั่งยืนนั้น จะต้องปฏิบตั ติ อ่ บุคคลอืน่ อย่างมีศกั ดิศ์ รีดว้ ยความซือ่ สัตย์ และนัน่ เป็น สิ่งที่เราเชื่อมั่นเสมอมา เรามีการน�ำดัชนีประเมินความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Index มาใช้เปรียบเทียบมาตรฐาน ในขณะ เดียวกันเสริมสร้างความแข็งแกร่งในด้านความเป็นเลิศในการปฏิบัติ งานของเราอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เรามีประสิทธิภาพและมีความ เป็นระบบมากยิ่งขึ้นในระยะยาว เส้นทางการพัฒนานี้ มีบุคลากรของเราเป็นศูนย์กลาง รวมทั้งผู้มี ส่วนได้เสียอื่นๆ คณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำนโยบายในหลายหัวข้อ เพื่อเป็นแนวทางและชี้น�ำการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต่อไป การมี นโยบายทีเ่ หมาะสม นับเป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญของการก�ำกับดูแลกิจการ ในปีที่ผ่านมา เรามุ่งเน้นใน 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ ประเด็นด้าน การทุจริตและสิทธิมนุษยชน เราให้ความใส่ใจในการพัฒนามาตรฐาน จริยธรรมหรือจรรยาบรรณ มีการชี้แนะการน�ำแนวทางไปปฏิบัติใช้ หลากหลายรูปแบบ และจัดให้มกี ารฝึกอบรม เพือ่ สร้างสภาพแวดล้อม
การท�ำงานที่ปลอดภัยและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี้ เรายัง จัดท�ำนโยบายแจ้งเบาะแสและจัดตั้งคณะกรรมการ เพื่อรับข้อมูล ข้อร้องเรียนที่เป็นความลับจากผู้แจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริตหรือ การกระท�ำที่ผิดต่อจรรยาบรรณ ทั้งนี้ การล่วงละเมิดและการเลือก ปฏิบตั ิ ทัง้ ด้านเพศ เชือ้ ชาติ ศาสนาหรือเหตุผลอืน่ ๆ สามารถรายงาน ได้โดยปราศจากการเปิดเผยให้เสื่อมเสียหรือโต้ตอบใดๆ ต่อเนื่องในด้านบุคลากรของเรา การพัฒนาบุคลากรเป็นประเด็นหลัก ที่เรามุ่งเน้นในปี 2558 สืบเนื่องจากการประชุมและอภิปรายในเรื่อง การวางแผนต่อเนื่อง เรามีการออกแบบแผนการพัฒนาผู้น�ำของ อินโดรามา เวนเจอร์ส (The Indorama Ventures Leadership Development Plan หรือ IVLDP) และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) และเรายังคงมี การด�ำเนินงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เราสามารถพัฒนา ผู้บริหารที่จะน�ำพาบริษัทฯ ต่อไป
ผลกระทบของปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ในปี 2558 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีได้เผชิญช่วงเวลาที่ยากล�ำบาก เนื่องจากความผันผวนของราคาน�้ำมันดิบที่มีการปรับตัวลดลงกว่า ร้อยละ 70 ตั้งแต่ช่วงกลางปี 2557 มากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ไว้ ใน ขณะที่สหรัฐอเมริกามีการเพิ่มการผลิตน�้ำมันอย่างมาก เกินกว่า ความต้องการ ท�ำให้มกี ารเพิม่ ปริมาณสินค้าคงเหลือ ในขณะทีส่ หรัฐฯ ลดการพึ่งพาตะวันออกกลาง ประเทศกลุ่มโอเปกมีนโยบายรักษาส่วน แบ่งการตลาดในภูมิภาคอื่นๆของโลกด้วยการลดราคาน�้ำมัน มีการ คาดหวังว่า ประเทศอิหร่านจะผลิตน�้ำมันมากขึ้นภายหลังการยกเลิก การคว�ำ่ บาตร ระดับราคาน�ำ้ มันในปัจจุบนั ขัดกับแนวโน้มราคาโดยรวม และอาจไม่ยั่งยืนในระยะยาว
11
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มีการคาดการณ์ว่า ปริมาณความต้องการ PET ในอเมริกาเหนือจะเติบโตเกินกว่าร้อยละ 2-3 ในขณะที่ยุโรป มีการรายงานการเติบโตอยู่ที่ ร้อยละ 6 ราคาน�้ำมันดิบที่ลดลง ก่อให้เกิดผลดีต่ออินโดรามา เวนเจอร์สและ ลูกค้าของเรา ท�ำให้ผู้บริโภคมีรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงมากขึ้น ส่งผลต่อ ความเชือ่ มัน่ กระตุน้ ให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยและการบริโภคให้เพิม่ สูง ขึ้น ดังนั้นจึงช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในอนาคตอันใกล้ เป็นไปตามที่คาดการณ์ อัตราก�ำไรของผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม โดย รวมมีการปรับตัวดีขึ้นหลังจากต้นทุนด้านวัตถุดิบลดลง โดยส่วนหนึ่ง เข้าไปช่วยการขาดทุนของสินค้าคงเหลือ ซึง่ เป็นรายการที่ไม่ใช่เงินสด ทั้งนี้ ทางตะวันตกมีก�ำไรเพิ่มขึ้นชัดเจน เนื่องจากมีโครงสร้างราคาใน ระยะยาวและไม่มีการส่งผ่านราคาวัตถุดิบไปยังลูกค้าในทันที ในขณะ ที่ธุรกิจผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มในเอเชียไม่สามารถรักษาประโยชน์ ได้ ทั้งหมด เนื่องจากราคาถูกก�ำหนดให้มีการปรับตัวในระยะสั้นกว่า PET เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยม เนื่องจากบรรจุภัณฑ์มีขนาด เล็กลงและจ�ำนวนหน่วยที่เพิ่มขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงการบริโภคที่ เพิ่มขึ้นและความมั่นใจของผู้บริโภคในบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มชั้นน�ำ ในประเทศที่ก�ำลังพัฒนา ที่มีการเปลี่ยนมาใช้บรรจุภัณฑ์ PET เพิ่ม ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งขวดขนาดเล็กที่ใช้เพียงครั้งเดียว PET ยังคง ถูกน�ำมาแทนทีบ่ รรจุภณั ฑ์ประเภทอืน่ อาทิ HDPE กระดาษ อะลูมเิ นียม และแก้ว และคาดว่าจะยังคงเป็นทีน่ ยิ มอย่างต่อเนือ่ งในอนาคตอันใกล้ มีการคาดการณ์ว่า ปริมาณความต้องการ PET ในอเมริกาเหนือ จะเติบโตเกินกว่าร้อยละ 2-3 ในขณะที่ยุโรป มีการรายงานการเติบโต อยู่ที่ร้อยละ 6 เป็นสัญญาณว่า ราคาน�้ำมันที่ลดลงจะช่วยสนับสนุน การเติบโตในสหภาพยุโรป ประกอบกับการอ่อนค่าของเงินยูโรและ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ พลังงานจัดเป็นค่าใช้จ่ายหลักของเราและมีการลดลงตามการปรับตัว ลดลงของราคาน�้ำมันและก๊าซ ราคาพลังงานทั่วโลกที่ปรับตัวลดลง ท�ำให้เรามีขอ้ ได้เปรียบด้านต้นทุน ในขณะทีค่ วามต้องการเงินทุนหมุน เวียนในการด�ำเนินกิจการมีการปรับตัวลดลงเช่นกัน อันเป็นผลจาก
12
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวลดลงตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน นอกจากประเด็นด้านราคาน�ำ้ มันแล้ว การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลดีต่อเรา กล่าวคือ อุตสาหกรรมของเราอยู่บนพื้นฐานของเงิน สกุลดอลลาร์ และค่าใช้จ่ายในท้องถิ่นอยู่ในสกุลเงินที่มีการอ่อนค่าลง ส่งผลให้บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายโดยรวมลดลง ประกอบกับความเป็นเลิศ ในการปฏิบัติงานที่มีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ในดีเอ็นเอ ของบริษัทฯ ไม่เพียงแต่เราที่ได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายที่ลดลง บริษัทอื่นๆ ใน อุตสาหกรรมก็ได้รบั ประโยชน์นดี้ ว้ ยเช่นกัน ซึง่ ช่วยลดความกดดันจาก การด�ำเนินงาน อุปทานที่ไม่มีประสิทธิภาพในตลาดที่ส่งผลให้มีก�ำไร ลดลง แต่เราเชือ่ มัน่ ว่า มีเพียงแค่บริษทั ทีม่ หี ว่ งโซ่อปุ ทานทีม่ นั่ คงและ มีความน่าเชื่อถือจะประสบความส�ำเร็จในระยะยาว การที่เรามีขนาด การบูรณาการและความหลากหลายจะช่วยให้ไอวีแอลมีความยั่งยืน อย่างต่อเนื่องในอนาคต ในภาพรวม ไอวีแอลได้รับผลกระทบในระดับปานกลางจากความ ผันผวนของราคาน�้ำมันดิบ อัตราแลกเปลี่ยนและก�ำลังการผลิตส่วน เกิน ผมขอขอบคุณคณะกรรมการบริษทั ที่ให้การสนับสนุนแนวคิดของ ฝ่ายบริหาร เพื่อสร้างความยั่งยืนให้แก่บริษัทฯ ผมให้ค�ำมั่นในการสร้างธุรกิจที่ยั่งยืนเพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย ขอขอบคุณทุกท่านทีเ่ ชือ่ มัน่ และให้ความไว้วางใจด้วยดีเสมอมา
ศรี ปรากาซ โลเฮีย ประธานกรรมการ
ในภาพรวม ไอวีแอลได้รับ ผลกระทบในระดับปานกลาง จากความผันผวนของราคา น�้ำมันดิบ อัตราแลกเปลี่ยน และก�ำลังการผลิตส่วนเกิน
ผมให้ค�ำมั่นใน การสร้างธุรกิจ ที่ยั่งยืนเพื่อ ประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย
13 13
Indorama Limited บริษัท อิVentures นโดรามา Public เวนเจอร์Company ส จ�ำกัด (มหาชน)
อาลก โลเฮีย สารจาก ประธานเจ้าหน้าทีก่ ล่มุ บริษทั ฯ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ปี 2558 นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริงส�ำหรับบริษัท ของท่าน อุตสาหกรรมของเราได้เผชิญหน้ากับความท้าทายและเรา ได้พิสูจน์แล้วว่า ธุรกิจของเราสามารถก้าวข้ามผ่านสภาวะวิกฤตนี้ได้ ส�ำหรับไอวีแอล ช่วงเวลาแปรปรวนดังกล่าวถือเป็นโอกาสส�ำหรับเรา ที่จะมุ่งรักษาการด�ำเนินธุรกิจและเดินหน้าเพื่อส่งมอบการลงทุนที่ แตกต่างและน่าสนใจ จากความได้เปรียบในด้านขนาด ความเป็น เจ้าของเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรม ส่งผลให้เรามีความ แตกต่างและเป็นคู่ค้าที่ลูกค้าให้ความไว้วางใจ ปัจจุบันเราเป็นบริษัท ไทยระดับโลก เรามีการด�ำเนินธุรกิจใน 20 ประเทศทั่วโลก อย่างที่ ทุกท่านทราบดีว่า เราเป็นผู้ผลิต PET รายใหญ่ที่สุดในโลก มีส่วนแบ่ง การตลาดประมาณร้อยละ 33 ในยุโรปและอเมริกาเหนือ รวมทั้งเป็น บริ ษั ท ที่ มี การบู ร ณาการในแนวดิ่ ง มากที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรมของ เรา นอกจากนี้เรายังมีความภาคภูมิใจว่า ขวดพลาสติกทุกๆ 1 ใน 6 ขวดผลิตจากโพลีเมอร์ของไอวีแอล และกว่าครึ่งหนึ่งของผ้าอ้อม ส�ำเร็จรูปเกรดพรีเมี่ยมที่ผลิตทั่วโลกนั้น ใช้ผลิตภัณฑ์เส้นใยของเรา รวมถึง 1 ใน 4 ของถุงลมนิรภัยผลิตจากเส้นด้ายของเรา ทางด้านการเงิน ผมยินดีที่จะรายงานให้ทุกท่านทราบว่า บริษัท ของท่านมีการด�ำเนินงานเป็นไปตามแผนสอดคล้องกับเป้าหมายการ เพิ่ม EBITDA margins เป็นตัวเลขสองหลักและก�ำไรหลักก่อน หักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (core EBITDA) เติบโตเป็น 2 เท่าภายในปี 2561 เปรียบเทียบกับตัวเลข 600 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2557 ในขณะเดียวกันเราต้องการให้ก�ำไร จากการด�ำเนินงานตามปกติต่อหุ้น (core EPS) เติบโตเป็น 4 เท่า ภายในปี 2561 เมื่อเทียบกับปี 2557 การเข้าซือ้ กิจการทีเ่ กิดขึน้ จะเป็นปัจจัยหลักในการเร่งให้เกิดการเปลีย่ น แปลงอย่างต่อเนื่องส�ำหรับเรา เราสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่าง ชัดเจนและเพิ่มผลิตภัณฑ์ใน 3 กลุ่มหลักที่ส�ำคัญ ได้แก่ PET วัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (HVA) ที่มีการเชื่อมโยงและเกื้อหนุนซึง่ กันและกัน เพือ่ ส่งมอบมูลค่าเพิม่ ให้แก่ลกู ค้าและผูถ้ อื หุน้ ของเรา การเข้าซื้อกิจการที่ได้ลงนามไปนั้นสร้างจุดเปลี่ยนในอุตสาหกรรม บริษัท Polyplex PET ในประเทศตุรกี นับเป็นการรวมกลุ่มธุรกิจ PET ซึง่ เป็นธุรกิจหลักของเราในตลาดเกิดใหม่ ช่วยขยายการให้บริการ
14
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ของเรา ครอบคลุมทั้งในภูมิภาคยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา ในขณะที่การเข้าซื้อบริษัท CEPSA ในประเทศสเปนนั้น หากเสร็จสิ้น จะส่งผลให้ไอวีแอลมีการด�ำเนินธุรกิจครอบคลุมทั้งภูมิภาค รวมทั้ง ไม่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากภายนอก บริษัท CEPSA Spain ยังน�ำมา ซึง่ โอกาสในการเข้าสูต่ ลาดวัตถุดบิ ทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ ส�ำหรับเรา นัน่ คือ IPA ซึ่งเราเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบนี้เพียงรายเดียวในภูมิภาค ในประเทศไทย เราเข้าซื้อกิจการบริษัท บางกอก โพลีเอสเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรวมธุรกิจ PET ของเราและส่งเสริมการบูรณาการภายในห่วงโซ่ อุปทานด้วยการใช้ PTA ที่ผลิตภายในบริษัท การเข้าซื้อกิจการบริษัท Performance Fibers ในประเทศจีน สร้างโอกาสให้กับเราในการ เป็นเจ้าของแบรนด์โพลีเอสเตอร์ส�ำหรับยางในรถยนต์ชนิดพรีเมี่ยม ซึง่ เป็นตลาดทีม่ กี ารเติบโตสูงสุดในอุตสาหกรรมยานยนต์และมีชอื่ เสียง ยาวนานกว่าทศวรรษ เอื้อให้เกิดประโยชน์ต่อห่วงโซ่อุปทานด้วยการ ใช้ PET โพลิเมอร์ที่ผลิตจากโรงงาน GIVL ของเราในประเทศจีน เพื่อ การบริโภคภายใน นอกจากนี้เรายังเตรียมตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก การค้นพบก๊าซธรรมชาติจากชั้นหินดินดาน (Shale Gas) ด้วยการเข้า ซื้อโรงงานเอทิลีนแครกเกอร์ ในรัฐหลุยส์เซียน่า สหรัฐอเมริกา ส่งผล ให้เราไม่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากภายนอกและได้รับประโยชน์จากการ ค้นพบ Shale Gas ในปี 2560 หลังจากที่โรงงานดังกล่าวเริ่มการผลิต จะท�ำให้ไอวีแอลเป็นผูผ้ ลิตเพียงไม่กรี่ ายทีม่ กี ารบูรณาการจากปิโตรเคมี ในสายอะโรมาติกส์และสายโอเลฟินส์ไปยังธุรกิจปลายน�ำ้ ทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ ในระยะเวลาอันใกล้ ในขณะที่ก�ำลังเขียนสารฉบับนี้ เราตกลงเข้าซื้อ กิจการบริษัทเคมีของบริษัท BP ในรัฐอลาบามา สหรัฐอเมริกา ซึ่งจะ ท�ำให้เราไม่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากภายนอก เนื่องจากมีการบูรณาการ ไปยั ง พาราไซลี น และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ที่ มี ก ารเติ บ โตใน สหรัฐอเมริกาอย่างสาร NDC ซึ่งโรงงานแห่งนี้เป็นเพียงโรงงานเดียว ในโลกที่ผลิตสาร NDC ในเชิงพาณิชย์ นอกจากนี้โรงงานดังกล่าว ยังตั้งอยู่ติดกับโรงงานปัจจุบันของเราในดิเคเทอร์ การบูรณาการเข้า กับโรงงาน BP ผนวกกับการเข้าซื้อกิจการ PTA ของบริษัท CEPSA ในประเทศแคนาดาในปี ท่ี ผ ่ า นมา จะส่ ง ผลให้ เ ราเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ที่ มี การบูรณาการภายในห่วงโซ่อุปทานที่เป็นเอกลักษณ์ในอเมริกาเหนือ ในปีทผี่ า่ นมายังนับเป็นปีที่โดดเด่นส�ำหรับเรา เรามีการขยายธุรกิจเข้า สู่ตลาดอินเดียด้วยการเข้าซื้อกิจการบริษัท MicroPet นับเป็นอีกก้าว
ช่วงเวลาแปรปรวนดังกล่าวถือเป็นโอกาสส�ำหรับเราที่จะ มุ่งรักษาการด�ำเนินธุรกิจและเดินหน้าเพื่อส่งมอบการลงทุน ที่แตกต่างและน่าสนใจ จากความได้เปรียบในด้านขนาด ความเป็นเจ้าของเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรม ทีส่ ำ� คัญในการขยายธุรกิจหลักไปยังตลาดทีม่ กี ารเติบโตทีร่ วดเร็วทีส่ ดุ ในภูมิภาคและมีจ�ำนวนประชากรใหญ่เป็นอันดับสอง รองจากประเทศ จีน และเรายังโชคดีทสี่ ามารถเจรจากับบริษทั ร่วมทุน บริษทั Dhunseri Petrochemicals เมื่อต้นปี 2559 เพื่อเพิ่มสัดส่วนของทั้ง 2 บริษัท ในตลาดอินเดีย ส่งผลให้มีสัดส่วนการถือครองตลาดร่วมกัน คิดเป็น ร้อยละ 38 ของตลาดโดยรวม ปี 2558 นับเป็นปีที่พิเศษส�ำหรับโอกาสในการส่งมอบมูลค่าในระยะ ยาวที่ยั่งยืนให้แก่ผู้ถือหุ้น จากการเข้าซื้อกิจการ 8 แห่งที่ได้ประกาศ ไปแล้ว จะท�ำให้เราสร้างผูน้ ำ� ในตลาดโลก มีความได้เปรียบด้านต้นทุน และส่งเสริมธุรกิจหลักทั้ง 3 กลุ่มของเราให้มีความแข็งแกร่งและเป็น ผู้น�ำในอุตสาหกรรม ในการก�ำหนดกลยุทธ์ส�ำหรับอนาคต เรามีการติดตามแนวโน้มกระแส โลก megatrends อย่างใกล้ชิด ซึ่งจะช่วยเพิ่มยอดขายในกลุ่ม ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์และเส้นใย ภายในปี 2593 คาดว่าจะมีจ�ำนวน ประชากร 9 พันล้านคน และในจ�ำนวนนี้มี 3 พันล้านคนเป็นชนชั้น กลาง และร้อยละ 60 จะโยกย้ายเข้ามาอยู่ในเมือง ส่งผลให้โลกต้องการ พลังงานเพิม่ ขึน้ เป็น 2 เท่าเพือ่ ทีจ่ ะใช้ชวี ติ อยูเ่ ป็นปกติ เมือ่ คนในสังคม มีการเปลี่ยนแนวทางการด�ำรงชีวิต นั่นหมายถึง การเติบโตของ บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูแลตนเอง ชิ้นส่วนรถยนต์ เวชภัณฑ์ และเส้นใยเพื่อสุขอนามัย ผลิตภัณฑ์ส�ำหรับอุตสาหกรรมและชิ้นส่วน อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ นอกจากนี้ความต้อ งการในผลิตภัณ ฑ์ โ ภคภั ณฑ์ (necessities) จะเพิม่ ขึน้ จากการเพิม่ ของปริมาณความต้องการอาหาร และเครื่องดื่มที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่สะดวกส�ำหรับผู้บริโภค ที่ปัจจุบัน เน้นการบริโภคในรูปแบบการใช้ชีวิตนอกบ้าน เพื่อตอบสนองต่อแนวโน้มการเติบโตดังกล่าว เราจึงต้องเพิ่มปริมาณ การผลิตผลิตภัณฑ์โภคภัณฑ์ (necessities) และตั้งเป้าเติบโตก�ำลัง การผลิตจาก 9.2 ล้านตันในปี 2558 เป็น 11.8 ล้านตันในปี 2561 จาก การปรับปรุงการใช้ก�ำลังการผลิต ส่งผลให้มีการผลิตจริงเพิ่มขึ้นจาก 7 ล้านตันเป็น 11 ล้านตัน เราก�ำลังมองถึงตัวเลข EBITDA margin ที่จะเพิ่มขึ้นเป็นสองหลักภายในปี 2561 โดยมีสาเหตุหลักจากก�ำไร จากผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม ปริมาณการผลิตและการบูรณาการ จากการเข้าซือ้ กิจการเชิงกลยุทธ์ในช่วงปีทผี่ า่ นมา เราตัง้ เป้าอัตราส่วน ผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทสูงกว่าร้อยละ 15 จากการเพิ่มมูลค่า และการมีวินัยในการใช้รายจ่ายฝ่ายทุน ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถ ให้ผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้นตามแผนที่วางไว้ ซึ่งคาดว่า core EPS จะมีการเติบโตราว 4 เท่าในช่วงปี 2558-2561 กลยุทธ์การสร้าง ความแตกต่าง ท�ำให้เรามีการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม ช่วย
ป้องกันการเข้าสู่ตลาดของผู้ผลิตรายอื่นๆ และยังเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีก�ำไรสูง มีสัญญาระยะยาว สร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้า มีกรรมสิทธิ์ ด้านเทคโนโลยีและมีองค์ความรู้ของตัวเอง สิง่ เหล่านี้ คือ ความแตกต่างของไอวีแอล เราเป็นผูผ้ ลิตเพียงรายเดียว ที่มีธุรกิจรีไซเคิลขนาดใหญ่และเป็นหนึ่งในกลยุทธ์การเติบโต รวมทั้ง เป็นผู้น�ำในตลาดพรีเมี่ยมในยุโรป เราเป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET รีไซเคิล (rPET resin) ชั้นน�ำ โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบ in-melt เราตระหนักดีถงึ ความจ�ำเป็นในการลดการเกิดก๊าซคาร์บอนในกระบวน การผลิต ตั้งแต่การปล่อยก๊าซคาร์บอนของผู้จัดจ�ำหน่ายต้นน�้ำหรือ ลูกค้าปลายน�้ำ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักในการสนับสนุนเส้นใยเส้น ด้ายโพลีเอสเตอร์รไี ซเคิล เราทราบดีวา่ โพลีเอสเตอร์มคี วามได้เปรียบ กว่าวัสดุชนิดอื่นตรงที่ความสามารถในการรีไซเคิลและคุณสมบัติของ ผลิตภัณฑ์ แรงผลักดันจากระบบเศรษฐกิจวงรอบ (Circular Economy) ช่วยสร้างการเติบโตของระบบสาธารณูปโภค ก่อให้เกิดการจ้างงานทัง้ ในฝัง่ ตะวันตกและในตลาดทีก่ ำ� ลังพัฒนา และการผลิตวัตถุดบิ ทีม่ าจาก วัสดุรีไซเคิล การรีไซเคิลโพลีเอสเตอร์ ช่วยสร้างผลตอบแทนทาง เศรษฐศาสตร์ตลอดทั้งห่วงโซ่ ในขณะเดียวกันลดผลกระทบต่อระบบ นิเวศน์และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง วัฏจักรของพลาสติกที่มีการน�ำ กลับมาใช้ใหม่ ใช้ซำ�้ และเปลีย่ นรูปแบบการใช้งาน เป็นการสร้างคุณค่า ให้แก่พลาสติกมากกว่าการใช้งานเพียงครั้งเดียว ในอีก 12 เดือนข้างหน้า เราจะสร้างมูลค่าเพิ่มในระยะสั้นด้วยการลด ต้นทุนการด�ำเนินงาน และในระยะกลาง เราคาดว่าจะสามารถท�ำก�ำไร ได้เพิ่มขึ้นจากปัจจัยภายในมากกว่าปัจจัยภายนอก เรามุ่งมั่นและคาด หวั ง ที่ จ ะเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และลู ก ค้ า ในระยะยาว รวมทั้ ง เพิม่ โอกาสให้พนักงานจากความพยายามในการเป็นผูน้ ำ� ด้านต้นทุนใน ตลาดและภูมิภาคที่ดึงดูดและน่าสนใจ เราเผชิญกับสภาพเศรษฐกิจที่สับสนวุ่นวาย และผมขอชื่นชมทีมงาน ไอวีแอลในการด�ำเนินงานที่ยอดเยี่ยม เพื่อน�ำพาบริษัทฯ ให้ก้าวข้าม ผ่านช่วงเวลาดังกล่าว ความทุ่มเทและการท�ำงานอย่างหนัก ไม่เพียง แต่จะช่วยให้เรารักษาสถานภาพในปัจจุบัน แต่ยังช่วยให้เราก้าวขึ้นสู่ ความเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรม เราจะยังคงเดินหน้าอย่างต่อเนื่องในเส้นทางนี้
อาลก โลเฮีย ประธานเจ้าหน้าทีก่ ล่มุ บริษทั ฯ
15
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในการก�ำหนดกลยุทธ์ส�ำหรับอนาคต เรามีการติดตามแนวโน้มกระแสโลก megatrends อย่างใกล้ชิด
เรามุ่งมั่นและคาดหวัง ที่จะเพิ่มมูลค่าให้แก่ ผู้ถือหุ้นและลูกค้า ในระยะยาว
16
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
16
Indorama Ventures Public Company Limited
ดีลิป กุมาร์ อากาวาล สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ PET และวัตถุดิบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ไอวีแอลยังคงขยายการด�ำเนินธุรกิจ PET ทั่วโลกตามแผนกลยุทธ์ ของบริษทั ฯ และในปี 2558 เราตอกย�ำ้ ค�ำมัน่ ในการลงทุนและสนับสนุน ประเทศไทยด้วยการเข้าซื้อกิจการบริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ ในจังหวัดระยอง การเข้าซื้อกิจการดังกล่าวช่วยเพิ่มส่วนแบ่งการ ตลาดภายในประเทศและเพิ่มฐานลูกค้าประจ�ำในประเทศญี่ปุ่น ในช่วงปลายปี เรามีการประกาศการเข้าซื้อกิจการบริษัท MicroPet ทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งเป็นการลงทุนในประเทศอินเดียเป็น ครั้งแรก อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีจ�ำนวนประชากรมากที่สุดและ มีอตั ราการเติบโตของ PET เป็นตัวเลขสองหลัก และในช่วงต้นปี 2559 เรามีการประกาศการร่วมทุนกับบริษัท Dhunseri Petrochemicals ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของอินเดีย ส่งผลให้เรามีส่วนแบ่งการตลาด ร้อยละ 38 ในตลาดอินเดีย เรามองเห็นการเติบโตของการบริโภค PET ในตลาดเกิดใหม่ รวมทั้งในอินเดีย เราเชื่อมั่นว่า การร่วมทุนระหว่าง บริษัททั้งสอง จะช่วยเพิ่มคุณค่าทางกลยุทธ์ ในการขยายธุรกิจไปยัง อินเดียเป็นครั้งแรก ปี 2558 เป็นปีแห่งการผนึกก�ำลังและสร้างการเกือ้ หนุนในธุรกิจวัตถุดบิ เราได้ลงทุนในประเทศแคนาดาเป็นครัง้ แรกด้วยการเข้าซือ้ โรงงานผลิต PTA ในแคนาดา ซึ่งเป็นสินทรัพย์ของบริษัท CEPSA ในเมือง มอนทรีออล ตามด้วยการเข้าซือ้ กิจการ PTA และพาราไซลีนของบริษทั BP ในรัฐอลาบามา สหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งอยู่ติดกับโรงงานปัจจุบันของ เราในเมืองดิเคเทอร์ ท�ำให้เรามีความได้เปรียบด้านวัตถุดิบที่พึ่งพา ตนเองได้ นอกจากนี้ โรงงานดังกล่าวยังเป็นโรงงานเดียวในโลกทีม่ กี าร ผลิต NDC ท�ำให้เรามีการขยายกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มชนิดใหม่ เพิม่ เติม และเรายังได้ประกาศการเข้าซือ้ โรงงานเอทิลนี แครกเกอร์ ใน รัฐหลุยส์เซียนา ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งหากเริ่มด�ำเนินการ จะท�ำให้ เรามีการบูรณาการในห่วงโซ่อุปทานสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ครอบคลุมตั้ง แต่ธุรกิจอะโรมาติกส์และโอเลฟินส์ ไปยังธุรกิจปลายน�้ำที่มีมูลค่าเพิ่ม ภูมภิ าคยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา (EMEA) ต่างได้รบั ประโยชน์ ร่วมกันจากการเข้าซื้อโรงงานผลิต PTA PET และ IPA ของบริษัท CEPSA ในประเทศสเปน การด�ำเนินการในครั้งนี้ ท�ำให้เรามีการ
บูรณาการ PTA อย่างเต็มรูปแบบ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ บริโภคภายในในภูมิภาคนี้ ขณะเดียวกันเป็นการเปิดโอกาสให้เราเข้า ไปในธุรกิจผลิตสาร IPA (Isophthalic acid) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มเป็นครั้งแรก ในฐานะผู้ผลิตเพียงรายเดียวในภูมิภาค ธุรกิจ PET รีไซเคิล (rPET) ของเรามีการเติบโตสอดคล้องกับกลยุทธ์ ของบริษทั ฯ เราได้เพิม่ ปริมาณการผลิตจากการเข้าซือ้ โรงงานรีไซเคิล ในประเทศเม็กซิโก เพื่อผลิตเกล็ดพลาสติกส่งให้กับโรงงาน ซึ่งมี เทคโนโลยีการผลิตแบบ ‘in melt’ และเรายังได้มีการปรับใช้เทคโนโลยี ดังกล่าวในโรงงานของเราอีก 2 แห่งในสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เราเป็น ผู้น�ำในการผลิต rPET ในอเมริกาเหนือ ธุรกิจบรรจุภณั ฑ์ของเรามีแนวโน้มการเติบโตในทุกตลาด เพือ่ ให้บริการ แก่ลูกค้าที่เป็นเจ้าของแบรนด์ ให้สามารถพัฒนาตลาดของตนเอง ในภูมิภาคที่เกิดใหม่นี้ ในปี 2558 เราเริ่มการผลิตในโรงงานแห่งใหม่ ของเราในประเทศเมียนมาร์ เพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่บริษัทผู้ผลิต เครื่องดื่มรายใหญ่ในประเทศ นอกจากนี้เรายังได้เพิ่มก�ำลังการผลิต ของโรงงานในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการที่เพิ่มขึ้น แม้จะมีการอ่อนค่าของสกุลเงินในประเทศไนจีเรีย แต่โรงงานของเรามีผลการด�ำเนินงานดีกว่าที่คาดการณ์ ไว้จากการ ปรับปรุงการใช้ก�ำลังการผลิต เราสามารถเพิ่มปริมาณการขายเป็น 2 เท่าจากการเติบโตของตลาด ในปีผ่านมาเรามีการติดตั้งและเริ่ม ด�ำเนินการโรงงานบรรจุภณ ั ฑ์แห่งใหม่ในประเทศกานา จากการด�ำเนิน การข้างต้น ท�ำให้ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ของไอวีแอลมีก�ำลังการผลิตเติบโต จาก 80,000 ตันในปี 2557 เป็น 110,000 ตันในปี 2558 ปี 2558 เป็นปีทนี่ า่ ตืน่ เต้นส�ำหรับธุรกิจของเราจากการเข้าด�ำเนินธุรกิจ ในพื้นที่และผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ การสนับสนุนที่ดีจากลูกค้าและความ มุ่งมั่นของทีมงานไอวีแอลเป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยม เราจะยังคงตื่นตัวและ ว่องไว เพื่อรับความท้าทายและโอกาสใหม่ๆ ที่จะเข้ามาอย่างต่อเนื่อง เหมือนเช่นเคย ดีลิป กุมาร์ อากาวาล สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ PET และวัตถุดิบ
17
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อุเดย์ พอล ซิงห์ กิล กรรมการผู้จัดการ - กลุ่มธุรกิจเส้นใย และเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ธุรกิจเส้นใยของไอวีแอล มีการด�ำเนินงานที่โดดเด่นในช่วงปี 2558 เนื่องจากรูปแบบธุรกิจที่มั่นคงแข็งแกร่ง ขับเคลื่อนด้วยนโยบาย ด้านความเป็นเลิศในนวัตกรรมและการด�ำเนินงาน เรายังคงเป็น ผู้น�ำในการแข่งขันอย่างต่อเนื่องด้วยการไม่หยุดนิ่งในการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แข็งแกร่งและเพิ่มอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด ในปี 2558 เราได้เพิม่ ความแข็งแกร่งในธุรกิจผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขอนามัย ด้วยการเพิ่มสายการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ผสม (Bicomponent fiber หรือ BICO) ในสหรัฐอเมริกาและจีน รวมทัง้ ในประเทศไทยทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ด�ำเนินการ นอกจากนี้เรายังได้สร้างการเติบโตที่ส�ำคัญเพื่อก้าวสู่ ความเป็นผู้น�ำในกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ส�ำหรับยานยนต์ด้วยการเข้าซื้อ ธุรกิจของบริษัท Performance Fibers ในเอเชีย ทั้งนี้การด�ำเนินธุรกิจ ทั่วโลกประกอบกับการพัฒนาด้านนวัตกรรม ช่วยให้เรามีโอกาสใน การสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจกับแบรนด์ชั้นน�ำทั่วโลก เพื่อ ส่งมอบการด�ำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนและสร้างมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น ตัวชี้วัดทางธุรกิจที่ส�ำคัญที่แสดงให้เห็นถึงผลการด�ำเนินงานที่เหนือ กว่าของเรา ได้แก่ ปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 อยู่ที่ 1.28 ล้านตัน โดยมี ส่วนแบ่งผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (HVA) อยู่ที่ร้อยละ 57 ในปี 2557 ดัชนีความส�ำเร็จ (การวัดผลของนวัตกรรมในการเข้าสู่ตลาด) อยู่ที่ ร้อยละ 27 แสดงให้เห็นถึงความยั่งยืนของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ที่บริษัทฯ มีอยู่ ร้ อ ยละ 80 ของธุ ร กิ จ ของเราได้ รั บ การปกป้ อ งจากการแข่ ง ขั น ของผลิตภัณฑ์โภคภัณฑ์ทวั่ ไป (commodity competition) เนือ่ งจาก ส่วนแบ่งที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (HVA) และตลาดใน ประเทศ การปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถวั ด ผลได้ จ ากการ ประหยัดพลังงานและวิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ช่วยให้เรามีความได้ เปรียบด้านต้นทุนการแข่งขันที่ดีที่สุด การเข้าไปด�ำเนินธุรกิจในภูมิภาคที่มีต้นทุนการผลิตต�่ำหลายแห่ง ช่วยสร้างความได้เปรียบในห่วงโซ่คุณค่าทั่วโลก เราได้รเิ ริม่ การด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญ เพือ่ สร้างความเป็นเลิศในการปฏิบตั ิ งานและการบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียน ส่งผลให้เรามีผลการ ด�ำเนินงานที่น่าประทับใจ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ เราสามารถ
18
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เพิ่มอัตราส่วนผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัท (ROCE) อยู่ที่ร้อยละ 9.4 ในปี 2558 จากเดิมร้อยละ 8.6 ในปี 2557 ในปี 2558 เรายังคงเห็นความผันผวนอย่างต่อเนื่องในสภาพแวดล้อม ระดับมหภาค โดยเฉพาะในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับราคาน�ำ้ มัน โดยรวม สภาพแวดล้อมในภาวะที่ราคาน�้ำมันลดลง ส่งผลกระทบเชิงบวกเล็ก น้อยต่อธุรกิจเส้นใยของอินโดรามา เวนเจอร์ส ในตลาดสหรัฐอเมริกา ราคาน�้ำมันที่ต�่ำลงและความผันผวนก่อให้เกิด แนวโน้มการบริโภคเส้นใยที่ผลิตภายในประเทศ เราเชื่อว่า ความ ต้องการเส้นใยโพลีเอสเตอร์มีการเติบโต เนื่องจากความได้เปรียบ เชิงเศรษฐกิจเมือ่ เปรียบเทียบกับฝ้าย เส้นใยในยุโรปมีปริมาณการผลิต ลดลง เนื่องจากการแข่งขันที่แข็งแกร่งในตลาดเอเชีย แต่ก�ำไรใน ผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษเข้ามาช่วยหักลบปริมาณที่ลดลง อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นตลาดทีส่ ำ� คัญส�ำหรับอินโดรามา เวนเจอร์ส เราเป็นผู้ผลิตส่วนประกอบที่ท�ำจากโพลีเอสเตอร์และไนลอน ปริมาณ ความต้องการรถยนต์ ในอเมริกาเหนือ ยุโรปและจีน มีการเติบโต เนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงที่ลดลง ในขณะที่บริษัทผลิตยาง รถยนต์ส่วนใหญ่ มีการคาดการณ์การเติบโตที่คงที่ในอัตราร้อยละ 3-5 รวมถึงการเปลี่ยนยาง ปริมาณความต้องการในอเมริกาเหนือส�ำหรับ รถยนต์ขนาดใหญ่มกี ารเติบโต เนือ่ งจากการบริโภคน�ำ้ มันไม่ใช่ขอ้ กังวล อีกต่อไป ในขณะทีร่ าคาน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงทีล่ ดลง ท�ำให้การขับขีเ่ ป็นเรือ่ ง ที่ประหยัดมากขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคต้องการครอบครองยานพาหนะ เพิ่มมากขึ้น ผู้ขับขี่จะขับขี่ในระยะทางที่มากขึ้น ดังนั้นความต้องการ เปลี่ยนยางจึงเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ในเดือนสิงหาคม 2558 ประเทศจีน ลดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขับรถยนต์ลงร้อยละ 50 ซึง่ ช่วยกระตุน้ ยอด ขายรถยนต์เพิ่มขึ้น 20 ล้านคันต่อปี ซึ่งนับเป็นข่าวดีส�ำหรับเรา แม้ว่าในปี 2558 จะเป็นปีที่เราเผชิญกับความท้าทายมากมาย ธุรกิจ เส้นใยของไอวีแอลมีการด�ำเนินงานที่โดดเด่น ซึ่งเป็นเครื่องพิสูจน์ ถึงความแข็งแกร่งและความมุง่ มัน่ ทุม่ เทของทีมงาน ตลอดจนความไว้ วางใจทีล่ กู ค้ามีให้เราอย่างต่อเนือ่ ง เราจะยังคงมุง่ สูค่ วามเป็นเลิศอย่าง ต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่งในการส่งมอบนวัตกรรมให้แก่ลูกค้าและสร้าง มูลค่าที่ยั่งยืนให้แก่ผู้ถือหุ้นของเรา
อุเดย์ พอล ซิงห์ กิล กรรมการผูจ้ ดั การ - กล่มุ ธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์
เส น ใย ในยางรถยนต ชั้นรองหน้ายาง (ไนลอน 6.6) เข็มขัดรัดหน้ายาง
หน้ายาง แก้มยาง
โครงยาง (โพลีเอสเตอร์) ขอบยางด้านใน
ขอบยาง
ชั้นเสริมความเเข็งแรงขอบยาง
เราเป็นผู้ผลิต ผ้าโพลีเอสเตอร์และเส้นด้าย ไนลอน 6.6 เกรดพรีเมียมชั้นนำ สำหรับใช้ เป็นวัสดุเสริมแรง ในการผลิตยางในรถยนต์ ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ
Performance Fibers Room 3B, 22/F, 148 Electric Road, North Point, Hong Kong Tel. +852 2110 8242 kenny.wong@performancefibers.com
19
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ
Canopus International Ltd.
มอร�เชียส
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
99.98% บร�ษทั อินโดรามา ร�ซอสเซส จํากัด
2.70%
ประเทศไทย
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
63.69%
บร�ษทั อินโดรามา เวนเจอร ส จํากัด (มหาชน)
ประเทศไทย
99.99% บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส โกลบอล เซอรวิสเซส จํากัด ประเทศไทย 99.9999% Micro Polypet Private Limited อินเดีย 100%
72.60% บริษัท อินโดรามา โพลีเมอรส จํากัด (มหาชน) ประเทศไทย
99.81% บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส จํากัด ประเทศไทย
34.61%
64.94% บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร อินดัสตรี้ส จํากัด (มหาชน) ประเทศไทย
UAB Indorama Holdings Europe 100% ลิทวั เนีย 100%
100% Sanchit Polymers Private Limited อินเดีย
Indorama Holdings Rotterdam B.V. เนเธอร แลนด
บริษัท เพ็ทฟอรม (ไทยแลนด) จํากัด 59.99% ประเทศไทย Guangdong IVL PET Polymer Co. Ltd. จ�น
100%
Indorama PET (Nigeria) Ltd.
90%
ไนจ�เร�ย
ประเทศไทย 26% UAB Orion Global pet ลิทวั เนีย
74%
IVL Singapore PTE Ltd.
100%
Indorama Trading (UK) Ltd. อังกฤษ
100%
Indorama Trading AG สว�ตเซอร แลนด
100%
0.005% PT Indorama Ventures Indonesia 99.99% อินโดนีเซีย
100%
บริษัท อีเอส ไฟเบอร วิชั�นส (ประเทศไทย) จำกัด ประเทศไทย
PHP Fibers GmbH เยอรมัน 100%
49.99%
51%
TTI GmbH เยอรมัน
50%
Indorama Ventures Packaging (Nigeria) Ltd. ไนจ�เร�ย
PT Indorama Petrochemicals
100%
Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi ตุรกี
100%
FiberVisions (China) A/S เดนมาร ก 88.40% FiberVisions (China) Textile Products Ltd. จ�น
50%
11.60%
100%
ES FiberVisions ApS 100% เดนมาร ก (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
FiberVisions vermogensverwaltungs 100% mbH เยอรมัน
100%
ES FiberVisions Hong Kong Ltd. 100% ฮ องกง (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. 50% จ�น (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
100%
Trevira Holdings GmbH เยอรมัน 100%
75%
99.90% Ltd. Partner Indorama Ventures USA Holdings LP สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100% Indorama Ventures Performance Fibers Holdings USA LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100% FiberVisions Corporation สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100%
ES FiberVisions Company Ltd. ญีป่ นุ (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี) FiberVisions Manufacturing Company สหรัฐอเมร�กา (เคลาแวร ) 49% Ltd. Partner 1% Gen Partner FiberVisions Products, Inc. สหรัฐอเมร�กา (จอร เจ�ย) 50%
50%
เดนมาร ก (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
50% Ltd. Partner FiberVisions L.P. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
ES FiberVisions, Inc. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
24.995% Ltd. Partner ES FiberVisions Holdings ApS
*ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น “Indorama Ventures Xylenes & PTA LLC” เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2559 บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
Indorama Ventures Poland Sp. z o.o. โปแลนด
Indorama Ventures Holdings LP สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
80.85%
100%
100% ES FiberVisions China Ltd. จ�น (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
99.99%
Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi ตุรกี
19.15% FiberVisions A/S เดนมาร ก
99.90% Ltd. Partner
Indorama Ventures Packaging (Philippines) Corporation ฟ�ลปิ ป นส
Trevira GmbH เยอรมัน 100% Trevira North America, LLC สหรัฐอเมร�กา
80%
PHP Overseas Investments GmbH เยอรมัน
43.16%
อินโดนีเซีย
99.99%
Indorama Ventures Packaging (Ghana) Ltd. กาน า
100%
เนเธอร แลนด
KP Equity Partners Inc.
0.01%
Beverage Plastics Ltd. ไอร แลนด เหนือ
100% SafeTweave Inc. สหรัฐอเมร�กา
PHP-Shenma Air Bag Yarn Marketing (Shanghai) Co., Ltd. จ�น
Indorama Ventures Europe B.V.
มาเลเซีย 0.025% 99.95% PT Indorama Polyester Industries Indonesia อินโดนีเซีย
Beverage Plastics (Holdings) Ltd. ไอร แลนด เหนือ 100%
Indorama Polymers Rotterdam B.V. 100% เนเธอร แลนด Shenma-PHP (Pingdingshan) 49% Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. จ�น
Indorama Netherlands B.V. เนเธอร แลนด
0.03%
100% Polyamide High Performance Inc. สหรัฐอเมร�กา
100%
100%
0.01% PT Indorama Polychem Indonesia 99.99% อินโดนีเซีย PT Indorama Polypet Indonesia 99.97% อินโดนีเซีย
Beacon Trading (UK) Ltd. อังกฤษ 51%
สิงคโปร 100% Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Ltd. เมียนมาร UAB Indorama Polymers Europe 100% ลิทวั เนีย
100% Indorama Netherlands Cooperatief U.A. เนเธอร แลนด
100%
บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด) จํากัด 99.99%
20
100% Indo Polymers Mauritius Ltd. มอร�เชียส
0.0001%
Eternity Infrabuild Private Limited อินเดีย
Indorama Polymers Workington Ltd. อังกฤษ
27.04%
0.002% Gen Partner
ES FiberVisions LP สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) (บร�ษทั ร วมค ากับเจเอ็นซี)
24.995% Ltd. Partner
ธุรกิจลงทุน ธุรกิจสำนักงานใหญขามประเทศ ธุรกิจการคาและบริการ ธุรกิจขนสง ธุรกิจไมมีการดำเนินงาน
ธุรกิจ PET ธุรกิจบรรจุภัณฑ ธุรกิจ PTA ธุรกิจเสนใยและเสนดาย ธุรกิจ EG/EO ธุรกิจ Ethylene Cracker ธุรกิจขนสัตว
99.97% บริษัท ทีพีที ปโตรเคมิคอลส จํากัด (มหาชน) ประเทศไทย
99.99% IVL Belgium N.V. เบลเยีย่ ม
99.99% บริษัท อินโดรามา ปโตรเคม จำกัด ประเทศไทย 99.99% บริษัท อินโดรามา เวนเจอรส โพลีเมอรส (ระยอง) จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
50% UAB Ottana Polimeri Europe ลิทวั เนีย 100% Ottana Polimeri S.R.L. อิตาลี
100% Indorama Ventures Northern Investments Inc. แคนาดา 100%
100% Indorama Ventures Recycling Netherlands B.V. เนเธอร แลนด MJR Recycling B.V.
100%
เนเธอร แลนด 0.10% Gen Partner
99.9999993% Ltd. Partner
100% Wellman International Ltd. ไอร แลนด
0.10% Gen Partner
Wellman International Handelsgesellschaft mbH, Ltd. เยอรมัน
100%
99.99% 0.01% IVL Holding S. de R.L. de C.V.
Indorama Ventures Gestion Inc. แคนาดา 0.0000007% Gen Partner Indorama Ventures PTA Montreal LP แคนาดา
100% 4200144 Canada Inc.
100%
Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100%
100% Indorama Ventures Investments USA LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
Ventures North *Indorama America LLC
0.01%
100%
Indorama Ventures Olefins Holding LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100%
Performance Fibers Holdings Finance, Inc. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100%
51%
Indorama Ventures Olefins LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
Performance Fibers (Hong Kong), Limited ฮ องกง Asia Holdings, 100% Performance Fibers LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100% Performance Fibers Asia, LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
AlphaPet, Inc. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100%
Indorama Ventures EcoMex Services, S. de R. L de C.V. เม็กซิโก
49%
Indorama Ventures AlphaPet Holdings, Inc สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100%
Indorama Ventures Polyholding LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
51%
Indorama Ventures Polymers Mexico, S. de R.L. de C.V. เม็กซิโก 0.01% Indorama Ventures Polycom, 99.99% S. de R.L. de C.V. เม็กซิโก 0.01% Indorama Ventures Servicios 99.99% Corporativos, S. de R.L. de C.V. เม็กซิโก
51% Indorama Ventures Dutch Investment B.V. เนเธอร แลนด
99.90% Ltd. Partner Indorama Ventures OGL Holdings LP สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
Indorama Ventures Logistics LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
0.01%
99.99% Grupo Indorama Ventures S. de R.L. de C.V. เม็กซิโก
Indorama Ventures EcoMex, S. de R. L de C.V. เม็กซิโก
99.99%
ฝรัง่ เศส
Indorama Polymers (USA) LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100%
100%
แคนาดา
100% 100% Wellman France Recyclage SAS
0.10% Gen Partner
51%
เม็กซิโก
100% 100%
Indorama Ventures USA LLC สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร ) 100%
สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
100%
StarPet Inc. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
Performance Fibers (Kaiping) Company Limited จ�น
75% Fibers (Kaiping) No.2 25% Performance Company Limited จ�น
Auriga Polymers Inc. สหรัฐอเมร�กา (เดลาแวร )
21
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท ชื่อย่อหลักทรัพย์ สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
ประเภทธุรกิจ หมายเลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว
: บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) : IVL : 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2-661-6661 โทรสาร 0-2-661-6664-5 www.indoramaventures.com : ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทต่างๆ : 0107552000201 : 5,666,010,449 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 5,666,010,449 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท : 4,814,272,115 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ 4,814,272,115 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท
บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์
นายทะเบียนหุ้นกู้
ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้
ผู้สอบบัญชี
ที่ปรึกษาทางกฎหมาย
22
: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2-009-9000 โทรสาร 0-2-009-9001 : ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) 333 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2-230-1136 โทรสาร 0-2-626-4545-6 : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2-296-3582 โทรสาร 0-2-296-2202 : บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ชั้น 50-51, 195 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2-677-2000 โทรสาร 0-2-677-2222 : บริษัท วีรวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จ�ำกัด 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2-264-8000 โทรสาร 0-2-657-2222
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
>
การด�ำเนินธุรกิจทั่วโลก 59 โรงงาน 20 ประเทศ 4 ภูมิภาค (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)
UK Beverage Plastics
Ireland Wellman International2,6
Germany Trevira4,6 PHP Fibers6
France Wellman France Recyclage
Canada
Indorama Ventures PTA Montréal
USA StarPet AlphaPet1 Auriga Polymers1,6 Indorama Ventures (Oxide & Glycols) FiberVisions Manufacturing5,6 FiberVisions Products5, Polyamide High Performance Indorama Ventures Olefins*
Mexico Indorama Ventures Polymers Mexico1,3 Indorama Ventures EcoMex1
Ghana
Indorama Ventures Packaging (Ghana)
Nigeria Indorama PET (Nigeria) Indorama Ventures Packaging (Nigeria)
Denmark
The Netherlands
Lithuania
5,6
Indorama Ventures Europe3 Wellman International
FiberVisions
Orion Global Pet
Poland
Indorama Ventures Poland
China Guangdong IVL PET Polymer 3 FiberVisions (China) Textile Products5 ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Performance Fibers6
Philippines Indorama Ventures Packaging (Philippines)
Thailand IPI Rayong2,5,6 Indorama Petrochem TPT Petrochemicals IPI Nakhon Pathom2,6 AsiaPet / Indorama Polymers Petform Indorama Holdings Indorama Ventures Polymers (Rayong)
Indonesia India
Turkey Indorama Ventures Adana PET Indorama Ventures Corlu PET PET
เส นใยเส นด าย
1) เม็ดพลาสติก PET ร�ไซเคิล 2) เส นใยร�ไซเคิล 3) Bio-PET
Myanmar
Micro Polypet
PTA
EO/EG
4) โพลีเมอร สที่ย อยสลายได ทางช�วภาพ 5) เทคโนโลยีเส นใยสังเคราะห ผสม 6) ศูนย ว�จัยและพัฒนา
Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Ethylene
PIA
บรรจุภัณฑ
PT Indorama Polypet Indonesia PT Indorama Petrochemicals PT Indorama Ventures Indonesia PT Indorama Polyester Industries Indonesia PT Indorama Polychem Indonesia แผ นพลาสติกจากขวดพลาสติก
23
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ธุรกิจ EG&EO ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC Corporation Service Company, 2711 Centerville Rd, Ste 400, Wilmington, Delaware 19808, USA Tel: +1 847 943 3100 Fax: +1 847 607 9941
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
100.00%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
75.99%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
492,500,000
99.97%
หุ้นสามัญ
614,616,651
99.99%
หุ้นสามัญ Class B1 Class B2 Class C Class D หุ้นส่วน
1,833,743 166,257 50,000 200,000 250,000 290,000,000
43.16%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
100.00%
ธุรกิจ Ethylene Cracker ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indorama Ventures Olefins LLC 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, New Castle County, Delaware 19808, USA Tel: +1 302 636 5401 Fax: +1 302 636 5454
ธุรกิจ PTA ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ 75/116-117 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 41 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +662 661 6664 - 5 2. บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม 75/93 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 35 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +66 2 661 6664 - 5 3. PT Indorama Petrochemicals Graha Irama, 16th Floor, Jalan H R Rasuna Said, Blok X-1, Kav. 1-2, Kuningan Timur, Setiabudi, Jakarta Selatan 12950 - Indonesia Tel: +62 21 526 1555 Fax: +62 21 526 4436 4. Indorama Ventures PTA Montreal LP 10200 rue Sherbrooke E., Montreal-Est, Quebec H1B 1B4, Canada Tel: +1 514 645 7887 Fax: +1 514 645 9115
100%
ธุรกิจ PTA และ PET ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indorama Ventures Europe B.V. Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 285 405
24
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจ PET ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส 75/102,103 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +662 661 6664 - 5 2. บจ. เอเชียเพ็ท (ไทยแลนด์) 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +662 661 6664 - 5 3. บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) 75/93 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +66 2 661 6664-5 4. Guangdong IVL PET Polymer Company Limited No.1 Meihua Road, Shuikou Town, Kaiping City, Guangdongy, People’s Republic Of China Tel: +86 750 220 9680 5. UAB Orion Global pet Metalo G.16, Klaipeda, Republic of Lithuania, LT-94102 Tel: +370 846 300684 Fax: +370 846 300749 6. Indorama PET (Nigeria) Limited East West Expressway, Eleme, Port Harcourt, Rivers State, Nigeria 7. Indorama Polymers Workington Limited Siddick, Workington, Cumbria, CA14 1LG, United Kingdom Tel: +44 1900 609375 / +44 1900 609342 Fax: +44 1900 609317 8. PT. Indorama Polypet Indonesia JL. Raya Anyar Km.121, Kel. Kepuh, Kec. Ciwandan, Cilegon 42445 (Banten), Indonesia Tel: +62 254 602300 Fax: +62 254 602940 9. Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi Yolgecen Mah. Turhan Cemal Berikar Blv., Turkey Tel: +90 322 441 1973 Fax: +90 322 441 0110 10. Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi Karamehmet Mahallesi, Avrupa Serbest BÖlgesi, 3. Sokak No: 2 Ergene/Tekirdag - 59860, Turkey Tel: +90 282 691 1100 11. Indorama Ventures Poland Sp.z o.o. ul. Krzywa Gora 19, 87-805 Wloclawek, Poland Tel: +48 54 4166442 Fax: +48 54 4166449 12. Ottana Polimeri S.R.L. Strada Provincial 17, Km 18, Ottana (NU)-08020, Italy
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
1,382,197,870
99.64%
หุ้นสามัญ
45,000,000
99.99%
หุ้นสามัญ
20,201,356
99.997%
-
-
100.00%
หุ้นสามัญ
776,880
100.00%
หุ้นสามัญ
450,000,000
90.00%
หุ้นสามัญ
1
100.00%
หุ้นสามัญ
3,500
100.00%
หุ้นสามัญ
5,489,505,865
100.00%
หุ้นสามัญ
16,217,649
100.00%
หุ้นสามัญ
993,988
100.00%
1
50.00%
Quota
25
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจ PET ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
ประเภทหุ้น
13. Indorama Ventures Ecomex, S. DE R.L. DE C.V. Equity Quota Carretera Libre a Colotlan 6800. Class I Colonia Extramuros. Zapopan, Jalisco, Mexico Tel: +52 5533 1561 3732 14. Indorama Ventures Polymers Mexico S. de R.L. de C.V. Equity Quota Prolongacion Paseo De La Reforma 1015 A-Piso 2 Desarrollo Class I Santa Fe Distrito, Federal 01376 Mexico, D.F. Tel: +52 55 91775700 Fax: +52 55 52924919 15. Alphapet, Inc. หุ้นสามัญ 1301 Finley Island Road, Decatur, Alabama, AL35601, USA Tel: +1 256 308 1180 Fax: +1 256 341 5926 16. Auriga Polymers Inc. หุ้นสามัญ 1550 Dewberry Road, Spartanburg, SC 29307, USA 17. Starpet Inc หุ้นสามัญ 801 Pineview Road, Asheboro, North Carolina 27203, USA 18. Micro Polypet Private Limited หุ้นสามัญ 303-305, Gopal Heights, Netaji Subhash Place, New Delhi-110034 India Tel: +91 11 4111 7777 Fax: +91 11 4111 7717
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
2
51.00%
2
100.00%
4,400
100.00%
5,000
100.00%
5,000
100.00%
10,000,000
100.00%
ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บจ. เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) 85 หมู่ที่ 11 ถนนบางงา-ท่าโขลง ต�ำบลเขาสมอคอน อ�ำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 36 489 116 โทรสาร +66 36 489 115,117 2. Beverage Plastics Limited Silverwood Business Park, 70 Silverwood Road, Lurgan, Craigavon, County Armagh, BT66 6LN, Northern Ireland Tel: +44 283 831 1800 Fax: +44 283 831 1888 3. Indorama Ventures Packaging (Nigeria) Ltd. Eleme Petrochemicals Complex, East-West Expressway, Eleme, Rivers State, Nigeria Tel: +234 805 250 1268 4. Indorama Ventures Packaging (Ghana) Ltd. Plot 234 Meridian Ed. COMM.2 Accra, Greater Accra, BOX CO PMB 350 TEMA GA/R, Ghana 5. Indorama Ventures Packaging (Philippines) Corporation Building 1, Southern Luzon Comple, Brgy. Baranggay Batino, Calamba City, Laguna, Philippines Tel: +63 495 303 592 / +63 495 340 036 6. Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited Lot No. A11-1, Thilawa Special Economic Zone A, Yangon Region, Myanmar
26
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
7,500,000
59.99%
หุ้นสามัญ
600,000
51.00%
หุ้นสามัญ
150,000,000
100.00%
หุ้นสามัญ
500,000
100.00%
หุ้นสามัญ
1,075,005
99.99%
หุ้นสามัญ
2,194,307
99.99%
ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ 75/92 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 35 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +66 2 661 6664 - 5 2. บจ. อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) 75/64 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 28 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +66 2 661 6664 - 5 3. PT Indorama Polychem Indonesia JL. Desa Kembang Kuning, Kecamatan Jatiluhur, Purwakarta(Jawa Barat) Indonesia Tel: +62 264 207727 Fax: +62 264 211260 4. PT. Indorama Ventures Indonesia Desa Cihuni, RT/RW 002/004, Cihuni, Pagedangan, Tangerang, Banten, 15820 Indonesia Tel: +6 221 5371111 Fax: +62 21 5378811 5. PT. Indorama Polyester Industries Indonesia JL. Surya Lestari Kav. 1-16A, Kawasan Industry Surya Cipta, Desa Kutamekar, Kec Ciampel, Karawang, 41361, Jawa Barat, Indonesia Tel: +66 267 440501 Fax: +66 267 440764 6. Trevira GmbH Max-Fischer-Strasse 11, 86399 Bobingen, Federal Republic of Germany Tel: +49 8234 9688 2100 Fax: +49 8234 9688 5355 7. PHP Fibers GmbH Industrie Center Obernburg, 63784 Obernburg, Germany Tel: +49 6022 81 2552 Fax: +49 6022 81 31 2552 8. Shenma-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. Pingdingshan City, Henan Province, China Tel: +86 49 6022 81 2552 Fax: +86 49 6022 81 31 2552 9. Polyamide High Performance Inc. 300 Serrano Way, Scottsboro, AL 35768, USA Tel: +1 49 6022 81 2552 Fax: +1 49 6022 81 31 2552 10. SafeTweave, Inc. 302 Serrano Way, Scottsboro, AL 35769, USA Tel: +1 49 6022 81 2552 Fax: +1 49 6022 81 31 2552 11. FiberVisions A/S Engdraget 22, Varde Denmark, DK-6800 Denmark Tel: +45 7994 2200 Fax: +45 7994 2201 12. FiberVisions (China) Textile Products Ltd. No. 29 Heng Shan Rd., New District, Suzhou, China Tel: +86 512 6823 1099 Fax: +86 512 6823 0021
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
2,202,850,000
99.55%
หุ้นสามัญ
41,000,000
49.99%
หุ้นสามัญ
60,000
100.00%
Series A Series B
80,000 2,812,500
99.99%
หุ้นสามัญ
20,000
99.98%
-
75.00%
25,001
80.00%
-
39.20%
-
หุ้นสามัญ หุ้นสามัญ
1,000
80.00%
หุ้นสามัญ
1,000
80.00%
Class A Class B
122,949,441 29,117,600
100.00%
-
-
100.00%
27
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
13. ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. No. 29 Hengshan Rd. Suzhou New District 215011 China Tel: +86 512 6823 1099 Fax: +86 512 6823 0021 14. FiberVisions Manufacturing Company The Corporation Trust Company, 1209 Orange St., Wilmington, DE 19801, USA Tel: +1 302 658-7581 Fax: +1 302 655-2480 15. FiberVisions Products, Inc. CT Corporation System, 1202 Peachtree St., Atlanta, GA 30361, USA Tel: +1 800 241 8922 Fax: +1 404 888 7795 16. Wellman France Recyclage S.A.S. Zone Industrielle de Regret 55100 Verdun,France Tel: +33 971 002 005 Fax: +33 329 843 104 17. Wellman International Limited Mullagh, Kells, Co.Meath, Ireland Tel: +353 46 9280200 Fax: +353 46 9280300 18. Performance Fibers (Kaiping) Company Limited 3 Hongqiao Road, Changsha, Kaiping, Guangdong Province, People’s Republic Of China Tel: +86 750 2278000 Fax: +86 750 2218093 19. Performance Fibers (Kaiping) No.2 Company Limited 1 Huan Cui Road West, Cuishan Lake New Region, Kaiping, Guangdong Province, People’s Republic Of China Tel: +86 750 2278000 Fax: +86 750 2218093
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
50.00%
หุ้นสามัญ
100
100.00%
หุ้นสามัญ
25,000
100.00%
หุ้นสามัญ
500
100.00%
หุ้นสามัญ
1,100,850
100.00%
-
-
100.00%
-
-
100.00%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
ธุรกิจขนสัตว์ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ 75/64,65 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 28 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66 2 661 6661 โทรสาร +66 2 661 6664 - 5
หุ้นสามัญ
77,446,800
99.81%
ธุรกิจการลงทุน ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indo Polymers Mauritius Limited Les Cascades, Edith Cavell Street, Port Louis, Republic of Mauritius 2. Indorama Netherlands Cooperatief U.A. Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 285 405 3. Indorama Netherlands B.V. Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 2850 405
28
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
867,240,558
100.00%
-
-
100.00%
18,000
100.00%
หุ้นสามัญ
ธุรกิจการลงทุน ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
4. Beacon Trading (UK) Limited 23 Northiam, Woodside Park, N 12 7 ET, London, United Kingdom 5. Beverage Plastics (Holdings) Limited Silverwood Business Park, 70 Silverwood Road, Lurgan Craigavon, County Armagh, BT 66 6 LN, Northern Ireland Tel: +44 2838311800 Fax: +44 2838311888 6. KP Equity Partners Inc. Lot 2&3, Level 3, Wisma Lazenda, Jalan, Kemajuan, 87000 F.T. Labuan, Malaysia Tel: +60 87 414 073 Fax: +60 87 413 281 7. PHP Overseas Investments GmbH Industries Center Obernburg, 63784, Obernburg, Germany Tel: +49 6022 81 2552 Fax: +49 6022 81 31 2552 8. Trevira Holdings GmbH Max-Fischer-Strasse 11, 86399 Bobingen, Federal Republic of Germany 9. Indorama Ventures Recycling Netherlands B.V. Markweg 201, 3198 NB Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 2850 405 10. Indorama Ventures Holdings LP Corporation Service Company, 2711 Centerville Rd, Suite 400, Wilmington, Delaware 19808, USA 11. Indorama Ventures USA Holdings LP Corporation Service Company, 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, Delaware 19808, USA 12. Indorama Ventures Performance Fibers Holdings USA, LLC Corporation Service Company, 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, Delaware 19808, USA Tel: +1 302 636-5401 Fax: +1 302 636-5454 13. FiberVisions Corporation 3700 Crestwood Pkwy, Suite 900, Duluth, GA 30096, USA Tel: +1 678 578 7240 Fax: +1 678 578 7276 14. FiberVisions (China) A/S Engdraget 22, Varde Denmark, DK-6800, Denmark Tel: +45 7994 2200 Fax: +45 7994 2201 15. ES FiberVisions Holdings Aps Engdraget 22, Varde Denmark, DK- 6800, Denmark Tel: +45 7994 2200 Fax: +45 7994 2201 16. ES FiberVisions Hong Kong Limited Unit No. 2810. 28/F, The Metropolis Tower, 10 Metropolis Drive, Hunghom, Kowloon, Hong Kong Tel: +852 2970 5555 Fax: +852 2970 5678
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
70,000
100.00%
Class A Class B Class C
5,100 2,450 2,450
51.00%
หุ้นสามัญ
10,000
100.00%
หุ้นสามัญ
2
80.00%
หุ้นสามัญ
25,000
75.00%
หุ้นสามัญ
18,000
100.00%
-
-
100.00%
-
-
100.00%
หุ้นส่วน
100
100.00%
หุ้นสามัญ
1,000
100.00%
หุ้นสามัญ
100,000
100.00%
หุ้นสามัญ
48,500
50.00%
หุ้นสามัญ
616,010
50.00%
29
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจการลงทุน ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
17. Indorama Ventures OGL Holdings LP Corporation Service Company, 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, Delaware 19808, USA 18. FiberVisions, L.P. 3700 Crestwood Pkwy, Suite 900, Duluth, GA 30096, USA Tel: +1 (302) 658-7581 Fax: +1 (302) 655-2480 19. ES FiberVisions, Inc. 3700 Crestwood Pkwy, Suite 900, Duluth, GA 30096 U.S.A. Tel: +1 302 636 5401 Fax: +1 302 636 5454 20. IVL Holding S. de R.L. de C.V. Prolongacion Paseo De La Reforma 1015 Torre A-2 Desarrollo Santa Fe Distrito, Federal 01376, Mexico, D.F. Tel: +52 55 91775700 Fax: +52 55 52924919 21. Grupo Indorama Ventures S.de R.L. C.V. Prolongacion Paseo De La Reforma 1015 Torre A-2 Desarrollo Santa Fe Distrito, Federal 01376 Mexico, D.F. Tel: +52 55 91775700 Fax: +52 55 52924919 22. Indorama Ventures Alphapet Holdings, Inc. Corporation Service Company, 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, DE 19808, USA 23. Indorama Ventures Polyholding LLC 2711 Centervelle Road, Suite 400, Wilmington, USA 24. Indorama Polymers (USA) LLC 1301 Finley Island Road, Decatur, Alabama, AL 35601, USA Tel: +1 256 308 1180 Fax: + 1 256 341 5926 25. Indorama Ventures USA LLC 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, New Castle County, Delaware 19808 26. IVL Belgium N.V. Jules Bordetlaan 160, 1140 Evere, Belgium 27. UAB Ottana Polimeri Europe Metalo G.16, Klaipeda, Republic of Lithuania, LT-94102 28. Performance Fibers Holdings Finance, Inc. 874 Walker Road, Suite C, City of Dover, County of Kent, State of Delaware 19904, USA Tel: +1 678 578 7247 Fax: +1 678 578 7276 29. Performance Fibers Asia Holdings, LLC Corporation Trust Center, 1209 Orange St., Wilmington, Delaware 19801, USA Tel: +1 678 578 7247 Fax: +1 678 578 7276 30. Performance Fibers Asia, LLC Corporation Trust Center, 1209 Orange St., Wilmington, Delaware 19801, USA Tel: +1 678 578 7247 Fax: +1 678 578 7276
30
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
100.00%
-
-
100.00%
หุ้นสามัญ
100
50.00%
Equity Quota Series A
2
100.00%
Equity Quota Class I
2
100.00%
หุ้นสามัญ
100
100.00%
หุ้นส่วน
100
100.00%
-
-
100.00%
หุ้นส่วน
100
100.00%
หุ้นสามัญ
30,615
99.99%
หุ้นสามัญ
21,072,080
50.00%
หุ้นสามัญ
1,000
100.00%
-
-
-
100.00%
-
100.00%
ธุรกิจการลงทุน ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
31. Indorama Ventures Northern Investments Inc. 10200 rue Sherbrooke E., Montreal-Est, Quebec H1B 1B4, Canada Tel: +1 514 645 7887 Fax: +1 514 645 9115 32. Indorama Ventures Gestion Inc. 10200 rue Sherbrooke E., Montreal-Est, Quebec H1B 1B4, Canada Tel: +1 514 645 7887 Fax: +1 514 645 9115 33. Indorama Ventures Dutch Investments B.V. Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 285 405 34. Indorama Ventures Investments USA LLC 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, New Castle County, Delaware 19808, USA Tel: +1 302 636 5401 Fax: +1 302 636 5454 3. Indorama Ventures Olefins Holding LLC 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, New Castle County, Delaware 19808, USA Tel: +1 302 636 5401 Fax: +1 302 636 5454
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
Class A Class B Class C
10,401 149,889,750 256,766,500
100.00%
หุ้นสามัญ
100
100.00%
หุ้นสามัญ
8,914,320
51.00%
-
-
100.00%
-
-
100.00%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
ธุรกิจส�ำนักงานใหญ่ข้ามประเทศ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. บจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส 75/80-81 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ + 66 2 661 6661 โทรสาร + 66 2 661 6664 - 5
หุ้นสามัญ
2,000,000
99.99%
ธุรกิจการค้าและบริการ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. IVL Singapore Pte. Ltd. 17 Phillip Street#05-01, Grand Building, Singapore (048695) 2. UAB Indorama Polymers Europe Metalo G.16, LT-94102 Klaipeda, Republic of Lithuania Tel: + 370 46 300749 Fax: + 370 46 314323 3. UAB Indorama Holdings Europe Metalo G.16, LT-94102 Klaipeda, Republic of Lithuania Tel: + 370 46 300749 Fax: + 370 46 314323 4. Indorama Trading (UK) Limited 23 Northiam, Woodside Park, N 12 7 ET, London, United Kingdom 5. Indorama Trading AG Strengelbacherstrasse 1, CH 4800 Zofingen, Switzerland 6. PHP-Shenma Air Bag Yarn Marketing (Shanghai) Co. Ltd. China Merchants Plaza, East Building, Room 1107, No 333 Cheng Du Road (North), Shanghai 200041, China Tel: +49 6022 81 2552 Fax: +49 6022 81 31 2552
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
หุ้นสามัญ
59,000,000
100.00%
หุ้นสามัญ
725,088
100.00%
หุ้นสามัญ
1,173,952
100.00%
หุ้นสามัญ
10,000
100.00%
หุ้นสามัญ
100
100.00%
หุ้นสามัญ
200,000
40.80%
31
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจการค้าและบริการ ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
ประเภทหุ้น
7. TTI GmbH หุ้นสามัญ Kasinostr. 19 - 21, 42103 Wuppertal, Germany Tel: +49 6022 81 2552 Fax: +49 6022 81 31 2552 8. Trevira North America, LLC 5206 Leonardslee CT, Charlotte, Mecklenburg County, North Carolina, 28226, USA 9. ES FiberVisions Company Limited หุ้นสามัญ 3-3-23 Nakanoshima, Kita-Ku, Osaka 530-0005, Japan Tel: +81 6 6441 3307 Fax: +81 6 6441 3347 10. ES Fiber Visions LP Entity Services (Nevada) LLC, 2215- B Renaissance Dr., Suite 10, Las Vegas, NV 89119, USA Tel: +1 706 357 5100 Fax: +1 706 966 4247 11. ES FiberVisions ApS Engdraget 22, Varde Denmark, DK- 6800 Tel: +45 7994 2200 Fax: +45 7994 2201 12. ES FiberVisions China Limited No. 305, 7Sone, Trade Bldg., GuangBao Rd., Guangzhou, Free Trade Zone, China Tel: +86 20 8220 9018 Fax: +86 20 8220 9973 13. Indorama Ventures Ecomex Services, S. DE R.L. DE C.V. Equity Quota Carretera Libre a Colotlan 6800. Colonia Extramuros. Class I Zapopan, Jalisco, Mexico Tel: +52 5533 1561 3732 14. Indorama Ventures Polycom S. de R.L. de C.V. Equity Quota Avenida Prolongacion Paseo De La Reforma 1015 Torre A 2 Class I Piso Desarrollo Santa Fe, Distrito Federal 01376 Mexico, D.F. Tel: +52 55 91775700 Fax: +52 55 52924919 15. Indorama Ventures Servicios Corporativos, S. de R.L. de C.V. Equity Quota Prolongacion Paseo De La Reforma 1015 Torre A 2 Piso Class I Desarrollo Santa Fe, Distrito Federal 01376 Mexico, D.F. Tel: +52 55 91775700 Fax: +52 55 52924919 16. Performance Fibers (Hongkong) Limited หุ้นสามัญ Room 2701, Olympia Plaza, 255 Kings Road, North Point, Hongkong Tel. : + 852 25661063 Fax: + 852 21100033 17. 4200144 Canada Inc. Class A 3400 First Canadian Centre, 350 - 7th Avenue SW, Calgary, Alberta T2P 3N9, Canada Tel: +1 514 645 7887 (229) Fax: +1 514 645 9115
32
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
25,100
40.00%
-
75.00% 200
50.00%
-
50.00%
-
50.00%
-
50.00%
2
51.00%
2
100.00%
2
100.00%
1,000
100.00%
100
100.00%
ธุรกิจขนส่ง ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indorama Ventures Logistics LLC Corporation Service Company, 2711 Centerville Rd, Ste 400, Wilmington, Delaware 19808, USA Tel: +1 847 943 3100 Fax: +1 847 607 9941
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
-
-
100.00%
ประเภทหุ้น
จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย
อัตราการถือหุ้น
ธุรกิจที่ ไม่มีการด�ำเนินงาน ล�ำดับ
ชื่อธุรกิจ/สถานที่ตั้ง
1. Indorama Polymers Rotterdam B.V. Markweg 201, 3198 NB, Europoort, Harbour No.6347, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 285 405
หุ้นสามัญ
18,000
100.00%
2. Indorama Holdings Rotterdam B.V. Markweg 201, 3198 NB, Europoort, Rotterdam, Netherlands Tel: +31 181 285 400 Fax: +31 181 285 405
หุ้นสามัญ
18,000
100.00%
3. MJR Recycling B.V. Tengnagelwaard 5, NL-6917 AE Spijk(Gld), Netherlands Tel: +31 656 6250 Fax: +31 656 6251
หุ้นสามัญ
18,100
100.00%
-
100.00%
4. Wellman International Handellsgeselscfaft GmbH Konrad-Zuse-Strabe 4a, 59174 Kamen, Germany Tel: +49 2307 96789 0 Fax: +49 2307 96789 10
-
5. FiberVisions vermogensverwaltungs mbH Local Court of Dusseldorf Werdener Straße 1, 40227 DÜsseldorf Germany Tel: +49 211 8306 0 Fax: +49 211 87565 116 0
หุ้นสามัญ
6. Indorama Ventures North America LLC 2711 Centerville Road, Suite 400, Wilmington, New Castle County, Delaware 19808 USA Tel: +1 302 636-5401 Fax: +1 302 636-5454
-
7. Eternity Infrabuild Private Limited 303-305, Gopal Heights, Netaji Subhash Place, New Delhi-110034 India Tel: +91 11 4111 7777 Fax: +91 11 4111 7717
หุ้นสามัญ
2,000,000
99.99%
8. Sanchit Polymers Private Limited 303-305, Gopal Heights, Netaji Subhash Place, New Delhi-110034, India Tel: +91 11 4111 7777 Fax: +91 11 4111 7717
หุ้นสามัญ
2,000,000
99.99%
3,000,000
-
100.00%
100.00%
33
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการ บริษัท ศรี ปรากาซ โลเฮีย ประธานกรรมการ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร อายุ ◆ 63 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัย Delhi ประเทศอินเดีย หลักสูตรการอบรม ◆ ไม่มี ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี
หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Industries Chimiques Du Senegal S.A., Senegal 2556 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Commerce DMCC 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Eleme Fertilizer & Chemicals Limited 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Services UK Limited 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indorama Polychem Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indorama Polypet Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indorama Petrochemicals 2552 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Corporation Pte. Ltd. 2552 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Group Holdings Limited 2552 - ปัจจุบัน ◆ President Commissioner PT. Indo-Rama Synthetics Tbk 2549 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Eleme Petrochemicals Limited สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี ◆
34
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อาลก โลเฮีย รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการบริหาร อายุ ◆ 57 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ◆ ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัย Delhi ประเทศอินเดีย หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 65/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี
หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2555 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polypet Indonesia 2555 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polychem Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Petrochemicals 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2552 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จ�ำกัด 2552 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด 2551 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Canopus International Limited 2547 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) 2544 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 2539 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 2537 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 10 หุ้น หรือ 0.00%
◆
35
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
สุจิตรา โลเฮีย กรรมการ และประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการบริหาร อายุ ◆ 51 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ Owner President Management Program Harvard Business School ◆ ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัย Delhi ประเทศอินเดีย หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Capital Market Academy Leadership Program สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 14 ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 108/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี
36
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2555 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polychem Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Petrochemicals 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polypet Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จ�ำกัด 2551 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Canopus International Limited 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) 2544 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 2539 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 2537 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ◆ ไม่มี
อมิต โลเฮีย กรรมการ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร อายุ ◆ 41 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์และการเงิน Wharton School of Business ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการอบรม ◆ ไม่มี ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี
หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Industries Chimiques Du Senegal S.A., Senegal 2556 - ปัจจุบัน ◆ Vice President Commissioner PT. Indo-Rama Synthetics Tbk 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Eleme Fertilizer & Chemicals Limited 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polychem Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Polypet Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ Commissioner PT. Indorama Petrochemicals 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Commerce DMCC, Dubai 2552 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ UIB Insurance Brokers (India) Private Ltd. 2552 - ปัจจุบัน ◆ Group Managing Director Indorama Corporation Pte. Ltd. 2551 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Group Holdings Ltd. 2549 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Eleme Petrochemicals Limited 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Isin International Pte. Ltd. สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี
◆
37
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ดีลิป กุมาร์ อากาวาล กรรมการ กรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ Feedstock และ PET ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการบริหาร อายุ ◆ 58 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 27 เมษายน 2553 การศึกษา ◆ ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย Udaipur ประเทศอินเดีย ◆ Chartered Accountant, The Institute of Chartered Accountants of India ประเทศอินเดีย ◆ Cost Accountant, Institute of Cost & Management Accountants of India ประเทศอินเดีย ◆ หลักสูตรเลขานุการบริษัท The Institute of Company Secretaries of India ประเทศอินเดีย หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Accredition Program รุ่นที่ 65/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Certificate Program รุ่นที่ 182/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Olefins LLC. 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Northern Investments Inc. 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Gestion Inc. 2558 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Micro Polypet Private Ltd. 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Sanchit Polymers Private Ltd. 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Eternity Infrabuild Private Ltd. 2558 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ◆ President Indorama Ventures USA LLC. 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi 2557 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Ventures Polyholdings LLC.
38
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
2557 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Ventures Ecomex, S. de R.L. de C.V. 2557 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Ventures Ecomex Services, S. de R.L. de C.V. 2556 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิส เซส จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Indorama Ventures AlphaPet Holdings, Inc. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ KP Equity Partners Inc. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ PT. Indorama Polypet Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Logistics LLC. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC. 2554 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ Guangdong IVL Pet Polymer Co., Ltd. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Poland Sp. z o.o. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ StarPet Inc. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Auriga Polymers Inc. 2554 - ปัจจุบัน ◆ President IVL Holding, S. de R.L. de C.V. 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Grupo Indorama Ventures, S. de R.L. de C.V. 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Indorama Ventures Polymers Mexico, S. de R.L. de C.V. 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Indorama Ventures Polycom, S. de R.L. de C.V. 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Indorama Ventures Servicios Corporativos, S. de R.L. de C.V. 2553 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama PET (Nigeria) Ltd. 2553 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ UAB Ottana Polimeri Europe 2553 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ IVL Belgium N.V. 2553 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด 2553 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Polymers Rotterdam B.V. 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Polymers Workington Ltd. 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Holdings Rotterdam B.V. 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ AlphaPet, Inc. 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ UAB Indorama Holdings Europe 2550 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ UAB Indorama Polymers Europe 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ UAB Orion Global PET 2544 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 2539 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ◆ ไม่มี
อุเดย์ พอล ซิงห์ กิล กรรมการ กรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง และกรรมการผู้จัดการธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการบริหาร อายุ ◆ 62 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 27 เมษายน 2554 การศึกษา ◆ Bsc. (Hons.), PAU Ludhiana Punjab ประเทศอินเดีย ◆ MBA (Marketing Management) College of Basic Sciences PAU, Ludhiana Punjab ประเทศอินเดีย ◆ International Trade, Fulbright Scholar, University of California ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 95/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 182/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี
หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Performance Fibers (Kaiping) Company Limited 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Performance Fibers (Kaiping) No.2 Company Limited 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Performance Fibers (Hongkong) Company Limited 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ PHP Fibers GmbH 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Polyamide High Performance Inc. 2556 - ปัจจุบัน ◆ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Trevira Holdings GmbH 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ FiberVisions Corporation 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Director PT. Indorama Polychem Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Director PT. Indorama Ventures Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ President Director PT. Indorama Polyester Industries Indonesia 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ KP Equity Partners Inc. 2554 - ปัจจุบัน ◆ ผู้จัดการ Indorama Ventures Performance Fibers Holdings USA LLC. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Wellman International Limited สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี
◆
39
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ระเฑียร ศรีมงคล กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง
ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ ◆ 56 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ◆ ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ◆ ปริญญาตรีแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศิริราช) ◆ ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรการอบรม ◆ ประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง” รุ่น 9 สถาบันพระปกเกล้า ◆ ปริญญาบัตร หลักสูตร “การป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.รุ่นที่ 51/21)” วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ◆ หลักสูตร Capital Market Academy Leadership Program สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 11 ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 8/2001 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Role of the Chairman Program รุ่นที่ 19/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Financial Statements Demystified for Director รุ่นที่ 1/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย
40
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท วันทูวัน คอนแทคส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บัตรกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 262,000 หุ้น หรือ 0.00%
◆
มาริษ สมารัมภ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ ◆ 73 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 27 เมษายน 2553 การศึกษา ◆ ประกาศนียบัตรด้านการพัฒนาผู้บริหาร Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา ◆ B.S.B.A. ปริญญาตรีด้านการบัญชี University of the East ประเทศฟิลิปปินส์ หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 33/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 3/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Quality of Financial Reporting รุ่นที่ 2/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function รุ่นที่ 3/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management รุ่นที่ 4/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Handling Conflicts of Interest: What the Board Should Do? (2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Board’s Failure and How to Fix it สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร The Responsibilities and Liabilities of Directors and Executives under the New SEC ACT (พฤษภาคม 2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2546 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการ บรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2558 ◆ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท อัครา รีซอร์สเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2546 - 2558 ◆ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2548 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท พี เอ ซี (สยาม) จ�ำกัด 2547 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท มาร์ช พีบี จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี ◆
41
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
วิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค กรรมการอิสระและประธานกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ ◆ 66 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 19 กันยายน 2552 การศึกษา ◆ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยโยนก ล�ำปาง ◆ โรงเรียนนานาชาติ กรุงเทพมหานคร หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 64/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษทั เดอะ ไมเนอร์ ฟูด้ กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท โรงแรมราชด�ำริ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Everest Worldwide Ltd. สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 4,044,932 หุ้น หรือ 0.08 %
◆
42
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ศิริ การเจริญดี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ ◆ 67 ปี วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 27 เมษายน 2553 การศึกษา ◆ ปริญญาเอกดุษฎีบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) Monash University ประเทศออสเตรเลีย ◆ ปริญญาโทเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต University of Sydney ประเทศออสเตรเลีย ◆ ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) เศรษฐศาสตรบัณฑิต University of Sydney ประเทศออสเตรเลีย หลักสูตรการอบรม ◆ หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 4/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 60/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 6/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5/2550 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ หลักสูตร Advanced Management Program (AMP) รุ่นที่ 113/2538 Harvard Business School, 1995
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สมิติเวช จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไรมอนแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) 2543 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท โพสต์ พับลิชชิง จ�ำกัด (มหาชน) 2543 - ปัจจุบัน ◆ รองประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท น�้ำมันพืชไทย จ�ำกัด (มหาชน) หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2546 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 2542 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระ กรรมการบริหารและประธานกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี
◆
43
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คณิต สีห์ กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ 65 ปี
◆
วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ◆ 27 เมษายน 2553 การศึกษา MBA Finance & Quantitative Method University of New Orleans ประเทศสหรัฐอเมริกา ◆ วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมเหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ◆
หลักสูตรการอบรม หลักสูตร Director Certification Program ปี 2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Global Leadership Development Program (GLDP) International Centre for Leadership in Finance (ICLIF) 2004 ◆ หลักสูตร Capital Market Academy Leadership Program สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 9 ประเทศไทย ◆
44
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2541 - ปัจจุบัน ◆ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2543 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จ�ำกัด 2543 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จ�ำกัด 2543 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2542 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 200,000 หุ้น หรือ 0.00%
◆
รัสเซล เลตัน เคคูเอวา กรรมการอิสระและกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ 61 ปี
◆
วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 20 ตุลาคม 2557
◆
การศึกษา Master of Science Industrial Engineering and Engineering Management, Stanford University Stanford, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา ◆ Bachelor of Science Civil Engineering University of the Pacific Stockton, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา ◆
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ -ไม่มีหน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน บริษัท บูทิค คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 2547 - 2557 ◆ ผู้อ�ำนวยการ ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 959,000 หุ้น หรือ 0.02%
◆
หลักสูตรการอบรม หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 196/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
◆
45
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการอิสระ อายุ 67 ปี
◆
วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 13 พฤศจิกายน 2558
◆
การศึกษา M.A. (Economics), California State University, Northridge, ประเทศสหรัฐอเมริกา ◆ เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ◆
หลักสูตรการอบรม หลักสูตรการอบรมประกาศนียบัตร นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 39 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 20/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Financial for Non-Financial Director รุ่นที่ 13/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 14/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 71/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Role of the Chairman Program รุ่นที่ 20/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Current Issue Seminar รุ่นที่ 1/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Director Forum รุ่นที่ 1/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆
46
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการอิสระ หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management รุ่นที่ 9/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Advanced Audit Committee Programs รุ่นที่ 3/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Financial Institutions Governance Program รุ่นที่ 2/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย ◆ หลักสูตร Certificate, Senior Executive Development Program สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 11 ประเทศไทย ◆
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2558 - ปัจจุบัน ◆ ประธานกรรมการ บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ปโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2557 ◆ ประธานกรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ปโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 2553 - 2557 ◆ ประธานกรรมการบริษัท ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2556 - 2557 ◆ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อัครา รีซอร์สเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2554 - 2557 ◆ กรรมการ กรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 2552 - 2557 ◆ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยบูรพา 2547 - 2557 ◆ กรรมการ ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี (ถือหุ้นโดยคู่สมรส 102,000 หุ้นหรือ 0.00%)
◆
ซันเจย์ อาฮูจา กรรมการและหัวหน้าฝ่ายการเงิน ประเภทกรรมการ ◆ กรรมการบริหาร อายุ 47 ปี
◆
วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 13 พฤศจิกายน 2558
◆
การศึกษา Chartered Accountant, The Institute of Chartered Accountants of India ประเทศอินเดีย
◆
หลักสูตรการอบรม หลักสูตร Director Certificate Program รุ่นที่ 175/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศไทย
◆
ประวัติการท�ำงาน (ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง) บริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ◆ ไม่มี หน่วยงานอื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) จ�ำกัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi 2557 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ IVL Belgium N.V. 2556 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Ventures Europe B.V. 2556 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ IVL Singapore Pte. Ltd. 2555 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Indorama Polymers Mauritius Ltd. 2554 - ปัจจุบัน ◆ กรรมการ Guangdong IVL PET Polymer Co., Ltd. สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไม่มี
◆
47
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้าง การจัดการ
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ สรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับ ดูแลกิจการ
คณะกรรมการ ด้านความยั่งยืน และการบริหาร ความเสี่ยง
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กลุ่มบริษัทฯ นายอาลก โลเฮีย
ส่วนบริหารองค์กรกลาง • ฝ่ายกลยุทธ์ วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ • ฝ่ายการเงิน บริหารเงิน บัญชีและภาษีอากร • ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร • ฝ่ายพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคล • ฝ่ายจัดซื้อ • ฝ่ายระบบสารสนเทศ • ฝ่ายควบรวมกิจการ
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน
กลุ่มธุรกิจ Feedstock และ PET ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล
Feedstock
กลุ่มธุรกิจ PTA กรรมการผู้จัดการ นายสุนิล โฟเตด้า
48
กลุ่มธุรกิจ EG/EO กรรมการผู้จัดการ นายสัตยานารายัน โมต้า
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มธุรกิจ/PET ส่วนงานบริหารธุรกิจ ระดับภูมิภาคและ หน่วยงานองค์กร
กลุ่มธุรกิจ โพลีเอสเตอร์ กรรมการผู้จัดการ นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล
กลุ่มธุรกิจขนสัตว์ กรรมการผู้จัดการ นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน
ฝ่ายเลขานุการบริษัท และก�ำกับดูแล การปฏิบัติ
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีรายชื่อดังนี้ รายชื่อ
1. นายศรี ปรากาซ โลเฮีย 2. นายอาลก โลเฮีย 3. นางสุจิตรา โลเฮีย 4. นายอมิต โลเฮีย 5. นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล 6. นายอุเดย์ พอล ซิงห์กิล 7. นายระเฑียร ศรีมงคล 8. นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 9. นายมาริษ สมารัมภ์ 10. ดร.ศิริ การเจริญดี 11. นายคณิต สีห์ 12. นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา 13. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช* 14. นายซันเจย์ อาฮูจา**
ต�ำแหน่ง
วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ
ประธานกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการบริษทั ประธานกรรมการด้านความยัง่ ยืนและ การบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและ ก�ำกับดูแลกิจการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการและประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กรรมการ กรรมการ กรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ Feedstock และ PET กรรมการ กรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง และ กรรมการผู้จัดการธุรกิจโพลีเอสเตอร์ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และ ก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการด้านความยั่งยืน และการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับ ดูแลกิจการ กรรมการอิสระและกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง กรรมการอิสระ กรรมการ
19 กันยายน 2552 19 กันยายน 2552 19 กันยายน 2552 19 กันยายน 2552 27 เมษายน 2553 27 เมษายน 2554 19 กันยายน 2552 19 กันยายน 2552 27 เมษายน 2553 27 เมษายน 2553 27 เมษายน 2553 20 ตุลาคม 2557 13 พฤศจิกายน 2558 13 พฤศจิกายน 2558
* นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ แทนนายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 ** นายซันเจย์ อาฮูจา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนนายซาชิ ปรากาซ ไคตาน เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558
กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท
กรรมการซึ่งมีอ�ำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ กรรมการบริษัท 2 คน ในจ�ำนวน 4 คน ได้แก่ นายอาลก โลเฮีย นางสุจิตรา โลเฮีย นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล นายซันเจย์ อาฮูจา ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัท
โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อ “รายงานการก�ำกับดูแลกิจการ”
องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทที่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 5 คน ได้แก่ (1) นายอาลก โลเฮีย (2) นางสุจิตรา โลเฮีย (3) นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล (4) นายอุเดย์ พอล ซิงห์กิล (5) นายซันเจย์ อาฮูจา กรรมการอิสระจ�ำนวน 7 คน ได้แก่ (1) นายระเฑียร ศรีมงคล (2) นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค (3) นายมาริษ สมารัมภ์ (4) ดร.ศิริ การเจริญดี (5) นายคณิต สีห์ (6) นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา (7) นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช และกรรมการบริษทั ที่ไม่เป็นผูบ้ ริหารจ�ำนวน 2 คน ได้แก่ (1) นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และ (2) นายอมิต โลเฮีย
คณะอนุกรรมการ บริ ษัท อิ น โดรามา เวนเจอร์ ส จ� ำ กั ด (มหาชน) ประกอบด้ว ย คณะอนุกรรมการจ�ำนวน 3 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ และคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง โปรดดู รายละเอียดคณะอนุกรรมการในแต่ละคณะได้ ในหัวข้อ “รายงาน การก�ำกับดูแลกิจการ”
49
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การประชุมคณะกรรมการ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการประจ�ำปี 2558
รายชื่อ
คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ ประชุม 6 ครั้ง ประชุม 6 ครั้ง
1. นายศรี ปรากาซ โลเฮีย 2. นายอาลก โลเฮีย 3. นางสุจิตรา โลเฮีย 4. นายอมิต โลเฮีย 5. นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล 6. นายอุเดย์ พอล ซิงห์กิล 7. นายระเฑียร ศรีมงคล 8. นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 9. นายมาริษ สมารัมภ์ 10. ดร.ศิริ การเจริญดี 11. นายคณิต สีห์ 12. นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา 13. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช* 14. นายซันเจย์ อาฮูจา*
4/6 6/6 6/6 3/6 6/6 5/6 6/6 6/6 6/6 5/6 6/6 6/6 -
6/6 6/6 6/6 -
คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน ด้านความยั่งยืนและ และก�ำกับดูแลกิจการ การบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ ประชุมผู้ถือหุ้น ประชุม 3 ครั้ง ประชุม 2 ครั้ง ประชุม 1 ครัง้ ประจ�ำปี 2558
3/3 3/3 3/3 3/3 -
2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 -
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -
หมายเหตุ * นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช และ นายซันเจย์ อาฮูจา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558
ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้บริหารของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย รายชื่อ
1. นายอาลก โลเฮีย 2. นางสุจิตรา โลเฮีย 3. นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล 4. นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน 5. นายอุเดย์ พอล ซิงห์กิล 6. นายสุนิล โฟเตด้า 7. นายสัตยานารายัน โมต้า 8. นายซันเจย์ อาฮูจา 9. นายมาโนช กุมาร์ ชาร์มา
50
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ต�ำแหน่ง
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ Feedstock และกลุ่มธุรกิจ PET กรรมการผู้จัดการธุรกิจขนสัตว์ กรรมการผู้จัดการธุรกิจโพลีเอสเตอร์ กรรมการผู้จัดการธุรกิจ PTA กรรมการผู้จัดการธุรกิจ EG/EO ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายการเงิน ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายบัญชี
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -
เลขานุการบริษัท 3. ด�ำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด คณะกรรมการบริษัทได้มีมติแต่งตั้งให้ นายโซวิค รอย เชาว์ดูรี่ ด�ำรง นอกจากนี้ เลขานุการบริษัทยังมีหน้าที่อื่นตามที่บริษัทฯ มอบหมาย ต�ำแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 ดังนี้ ให้คำ � แนะน�ำเบือ้ งต้นแก่กรรมการ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับข้อกฎหมาย คุณวุฒิทางการศึกษา และกฎระเบี ยบด้านหลักทรัพย์ ตลอดจนข้อบังคับบริษทั และติดตาม Chartered Accountant, The Institute of Chartered Accountants ให้มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ รวมถึงรายงานการ of India, ประเทศอินเดีย เปลี่ยนแปลงที่มีนัยส�ำคัญต่อคณะกรรมการ Chartered Institute of Management Accountants London จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นและประชุมคณะกรรมการบริษัท ให้เป็น Intermediate ไปตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษัท และหลักการปฏิบัติที่ดี ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์ University of Calcutta ประเทศอินเดีย จัดท�ำรายงานการประชุมผูถ ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมคณะกรรมการ ประสบการณ์ท�ำงาน บริษัท และติดตามให้มีการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามมติที่ประชุม 2553 - ปัจจุบัน บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส จัดท�ำและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ รายงานประจ�ำปีบริษท ั หนังสือ หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท เชิญประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือเชิญประชุมกรรมการบริษัท รายงาน เลขานุการบริษัทจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่ก�ำหนดในมาตรา 89/15 การประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท และมาตรา 89/16 ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสีย ซึ่งจัดท�ำโดยกรรมการและ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลใช้บังคับในวันที่ 31 สิงหาคม 2551 ผู้บริหาร และรายงานการตามที่กฎหมายก�ำหนด ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวม ดูและให้บริษัทย่อยมีการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษัท ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงาน มติคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ หน้าที่ ที่ก�ำกับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบ ตามกฎหมายของเลขานุการบริษัทมีดังนี้ จั ด ให้ มี การเปิ ด เผยให้ ทั น เวลาในการรายงานสารสนเทศที่ จ� ำ เป็ น ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 1. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก. ทะเบียนกรรมการ ช่ ว ยเหลื อ การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท โดยรวมถึ ง ให้ ข. หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ ค�ำปรึกษาเบื้องต้นและข้อเสนอแนะ ที่เกี่ยวข้องกับข้อกฎหมาย และรายงานประจ�ำปีของบริษัท กฎระเบียบ การก�ำกับดูแลกิจการ และหลักปฏิบัติท่ีดีที่เกี่ยวข้อง ค. หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น กับคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือ ผู้บริหาร และจัดส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียตามมาตรา ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 89/14 ให้ประธานคณะกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อ “รายงานการก�ำกับดูแลกิจการ” ทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่บริษัทได้รับรายงานนั้น บุคลากร โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อ “รายงานการก�ำกับดูแลกิจการ” ภายใต้ หัวข้อ “บุคลากร”
โครงสร้าง การจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
51
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) ล�ำดับ
รายชื่อผู้ถือหุ้น 1
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
บจ. อินโดรามา รีซอสเซส บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด บมจ. ธนาคารกรุงเทพ2 Canopus International Limited1 นายทวีฉัตร จุฬางกูร3 GIC Private Limited กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ State Street Bank Europe Limited HSBC (Singapore) Nominees PTE Ltd. The Hongkong and Shanghai Banking Corporation Limited, Fund Services Department 11. Chase Nominees Limited
จ�ำนวนหุ้น
ร้อยละ
3,066,038,376 239,535,487 230,180,944 130,000,000 100,062,100 41,584,900 37,227,200 29,496,303 28,322,403 27,345,471
63.69 4.98 4.78 2.70 2.08 0.86 0.77 0.61 0.59 0.57
25,506,273
0.53
1
ร้อยละ หมายเหตุ: กลุ่มตระกูลโลเฮีย จำ�นวนหุ้น 63.69 บจ. อินโดรามา รีซอสเซส* 3,066,038,376 2.70 Canopus International Limited** 130,000,000 0.00 10 นายอาลก โลเฮีย 0.00 10 นายอานุช โลเฮีย * ถือหุ้นโดย Canopus International Limited ร้อยละ 99.98 ** นายอาลก โลเฮียและบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวโดยตรง มีสิทธิออกเสียงร้อยละ 76 ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 49 ใน Canopus International Limited ในขณะทีน่ ายศรี ปรากาซ โลเฮียและบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางครอบครัว โดยตรง มีสิทธิออกเสียงร้อยละ 24 ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 51 ใน Canopus International Limited 2 ร้อยละ กลุ่มธนาคารกรุงเทพ จ�ำนวนหุ้น 4.78 บมจ. ธนาคารกรุงเทพ 230,180,944 0.01 บมจ. กรุงเทพประกันภัย 449,944 3 ร้อยละ กลุ่มตระกูลจุฬางกูร จ�ำนวนหุ้น 2.08 นายทวีฉัตร จุฬางกูร 100,062,100 0.06 นายณัฐพล จุฬางกูร 3,000,000
52
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
> ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
IVL กับรางวัลแห่งความ
ส�ำเร็จในปี 2558
1
รางวัลและการยอมรับระดับสากล 1 รางวัล Thailand’s Best Deal ประจ�ำปี 2557 โดย Global Capital Asia/ นิตยสาร AsiaMoney จากการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนครั้งใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย
2
3
2 รางวัล The Asia’s Most Admired Brand ประจ�ำปี 2557 - 2558 จาก World Consulting and Research Corporations (WCRC) 3 รางวัล The Asian Business Leader of the Year ประจ�ำปี 2558 มอบให้แก่ นายอาลก โลเฮีย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) โดย World Consulting and Research Corporations (WCRC) 4 ประกาศนียบัตรในฐานะ 1 ใน 50 บริษทั จดทะเบียนชัน้ น�ำในอาเซียนโดยพิจารณา จากระดับการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนต่างๆ ในประเทศอาเซียน มอบโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประเทศ ฟิลิปปินส์
4
5
5 รางวัลยกย่องในฐานะ 1 ใน 500 บริษัทชั้นน�ำในประเทศตุรกี มอบให้แก่บริษัท Indorama Ventures Adana PET 6 รางวัล Thailand Sustainability Investment 2015 จากงาน SET Sustainability Awards 2015 ในฐานะกลุ่มบริษัทมหาชนซึ่งแบ่งตามมูลค่าการตลาดระหว่าง 30,000 - 100,000 ล้านบาท ที่มีการด�ำเนินการยอดเยี่ยม ผ่านการประเมิน โดยมีตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG)
6
7 รางวัลรายงานความยั่งยืนดีเด่น ประจ�ำปี 2557 โดยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพื่อยกย่องบริษัทจดทะเบียนที่มีการเปิดเผยข้อมูลการด�ำเนินงาน ด้านความยั่งยืนตามเกณฑ์ Ceres - ACCA Sustainability Report Awards Criteria 8 ประกาศนียบัตร ESG 100 Certificate โดยสถาบันไทยพัฒน์ เพื่อยกย่องบริษัท จดทะเบียนในประเทศไทยที่มีความโดดเด่นด้านความยั่งยืนในกรอบสิ่งแวดล้อม สังคมและการก�ำกับดูแลกิจการ
7
8
53
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รางวัล Outstanding Investor Relations Awards
รางวัลในปี
ประจ�ำปี 2558 ในกลุ่มบริษัทมหาชนที่มีมูลค่า หลักทรัพย์ตามราคาตลาดระหว่าง 30,000-100,000 ล้านบาท โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2558
รางวัล Certificate of Excellence
ประจ�ำปี 2558 ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ โดยนิตยสาร IR Magazine
รางวัล Gold Award ในสาขาความเป็นเลิศ
รางวั ล เหรี ย ญทองแดงสตี วี อวอร์ ด
ด้านการก�ำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อ สังคมและนักลงทุนสัมพันธ์ และรางวัล Best Investor Relations Team Award ด้านทีมงาน นักลงทุนสัมพันธ์ดีเลิศ จากงานพิธีมอบรางวัล The Asset Corporate Awards ประจ�ำปี 2558 ที่ประเทศฮ่องกง
ภาคพื้ น เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ประจ� ำ ปี 2558 ประเภทบริษทั ยอดเยีย่ มแห่งปี สาขาการผลิตและบริการทีห่ ลากหลาย
รางวัลบริษัทที่มีการบริหารความเสี่ยง
รางวัล International Textile Firm of the
อย่างต่อเนื่องยาวนานที่สุดมอบให้แก่ บริษัท AlphaPet โดยหน่วยงาน FM Global Awards ประจ�ำปี 2557
Year 2014 ประเภทผู้ผลิตเส้นใย โดย Left Bank Partnership มอบให้แก่บริษัท PT Indorama Ventures Indonesia ภายใน งานประกาศรางวัล World Textile Awards ประจ�ำปี 2557
รางวัล ICT Excellence Award 2014 สาขา Business Enabler จากการด�ำเนินโครงการการจัดการ
ธุรกิจและระบบบริหารจัดการทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มอบโดยสมาคมการจัดการธุรกิจ แห่งประเทศไทย ร่วมกับ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเขตอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ประเทศไทย(ซอฟต์แวร์พาร์ค)และวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รางวัลเหรียญทอง ให้แก่ทีม 7 กระรัต จากบริษัท อินโดรามา
โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (ระยอง) และรางวัลเหรียญเงิน ให้แก่ ทีมโพลี จากบริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ (นครปฐม) จากการน� ำ เสนอผลงานคิ ว ซี ซี ร ะดั บ ประเทศ ในงานมหกรรม คิวซีซี ณ ประเทศเกาหลี
54
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านการส่งเสริมการพัฒนาฝีมอื แรงงาน ประจ�ำปี 2548 มอบให้แก่ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (ระยอง) เป็นปีที่ 11 ติดต่อกัน (2547 - 2558) บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ เป็นปีที่ 10 ติดต่อกัน (2549-2558) บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (นครปฐม) เป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน (2553-2558) บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2554-2558) รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานระดับประเทศ มอบให้แก่ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (นครปฐม) เป็น ปีที่ 6 ติดต่อกัน (2553-2558) บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2554-2558) ประกาศนียบัตรพันธมิตรเชิงกลยุทธ์
ในการส่งมอบสินค้า โดยบริษทั เป๊ปซีโ่ ค
รางวัล 1 ใน 50 ลูกค้าชั้นน�ำของ
บริษัท PLN มอบให้แก่บริษัท PT Indorama Petrochemicals
โล่ รั บ รองโรงงานอุ ต สาหกรรมเชิ ง
นิเวศ (Eco Factory) มอบให้แก่ บริ ษั ท อิ น โดรามา โพลี เ อสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ (ระยอง) บริษทั อินโดรามา ปิ โ ตรเคม จ� ำ กั ด และบริ ษั ท ที พี ที ปิ โ ตรเคมิ ค อลส์ จ� ำ กั ด (มหาชน) โดยสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
รางวัล CSR-DIW Continuous Award ประจ�ำปี 2558 มอบให้แก่ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (นครปฐม) เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2551-2555) บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2551-2555) บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2551-2555) บริษัท เพ็ท ฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2551-2555) บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน (2551-2555) บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน และได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Project Award ประจ�ำปี 2558 ในระดับดี จากโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลและสิง่ ประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (ระยอง) เป็นปีที่ 3 (ปี 2554, 2557-2558)
โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ ธรรมาภิ บ าล
สิ่งแวดล้อม ประจ�ำปี 2558 มอบให้แก่ บริ ษั ท อิ น โดรามา โฮลดิ้ ง ส์ จ� ำ กั ด โดย กระทรวงอุตสาหกรรม
55
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลยุทธ์และภาพรวม การประกอบธุรกิจ
Indorama Vertures PTA Montreal LP. ประเทศแคนาดา
กลยุทธ์ ในการประกอบ ธุรกิจ วัตถุประสงค์ของบริษัทฯ คือ การ เป็นผู้น�ำ ในห่วงโซ่มูลค่าของธุรกิจ โพลีเอสเตอร์ ในส่วนของปิโตรเคมี ขัน้ กลาง ทัง้ ในแง่ขนาด การรวมธุรกิจ และการมีผลิตภัณฑ์ทโี่ ดดเด่น รวมถึง การท�ำก�ำไร และการสร้างผลตอบแทน จากการลงทุน โดยบริษัทฯ มุ่งสร้าง มูลค่าระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้น
อิ
นโดรามา เวนเจอร์ส เป็นผู้ผลิตปิโตรเคมีขั้นกลางรายหลัก โดยเป็นหนึ่งในผู้ผลิต โพลีเอสเตอร์ที่มีการรวมธุรกิจตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯรองรับความต้องการของผู้บริโภคระดับโลก อาทิ อาหาร เครื่องดื่ม ของใช้สว่ นตัว ของใช้ประจ�ำครัวเรือน สุขอนามัย ยานยนต์ เครือ่ งนุง่ ห่ม และอุตสาหกรรม ด้วยพนักงานกว่า 14,000 คน ของโรงงานจ�ำนวน 59 แห่ง1 ใน 20 ประเทศ 4 ทวีป ที่ บริษัทฯด�ำเนินงานอยู่ บริษัทฯ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้เกือบทุก ภูมิภาคทั่วโลก เป็นที่คาดการณ์ว่าประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 8,400 ล้านคน ในปี 2573 ซึ่งอัตรา การเติบโตดังกล่าวนับเป็นความท้าทายระดับโลก อย่างไรก็ดี บริษัทฯ เห็นว่าจ�ำนวน ประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างมากจะเป็นโอกาสทีจ่ ะมีความต้องการจากสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกจากนี้ การพัฒนาทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การคิดค้นนวัตกรรม ใหม่ๆ มีความส�ำคัญในอุตสาหกรรมเคมี เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนโดยสร้างสมดุล ระหว่างสิ่งแวดล้อม ทรัพยากร สภาวะอากาศ อาหารและโภชนาการ และคุณภาพชีวิต อนึ่ง โพลีเอสเตอร์ คือ ธุรกิจแห่งอนาคต เนื่องจากเป็นโพลีเมอร์ที่มีอัตราเติบโตเร็วที่สุด ที่ร้อยละ 6.5 ต่อปี
หลักการเชิงกลยุทธ์
เรามุ่งมั่นที่จะจัดหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า เราเชื่อมั่นว่า เราด�ำเนินธุรกิจได้จนถึงทุกวันนี้ เนื่องจากลูกค้าของเรา เรามุ่งเน้นการท�ำกิจกรรมเพื่อบรรลุความพึงพอใจและความภักดี ของลูกค้าเพื่อสัมพันธภาพที่ยั่งยืน เรามุ่งมั่นที่จะสร้างทีมงานที่ดีที่สุดในอุตสาหกรรม เราเชื่อมั่นว่า บุคคลเป็นก�ำลังหลักที่ ส�ำคัญ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ผู้จัดจ�ำหน่าย ลูกค้า ผู้ถือหุ้นหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การมี ส่วนร่วมและความพึงพอใจของบุคคลดังกล่าวเป็นเสมือนพลังขับเคลือ่ นทีส่ ำ� คัญเพือ่ น�ำไป สู่ความส�ำเร็จและการเติบโตของธุรกิจ เรามุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ผลิตที่ยั่งยืนที่สุดของโลก เราเชื่อมั่นว่าธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคตจะ ด�ำเนินไปแบบยัง่ ยืนในทุกๆ ด้าน ตัง้ แต่การจัดหาวัตถุดบิ จนถึงประสิทธิภาพการผลิตส�ำหรับ เรา ความยัง่ ยืนไม่ได้เป็นเพียงกลยุทธ์สำ� หรับการท�ำประชาสัมพันธ์ แต่เป็นปัจจัยส�ำคัญใน การขับเคลื่อนไปสู่การเติบโตแบบมีก�ำไร 1
56
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ณ เดือนธันวาคม 2558 บริษัทมีโรงงานจ�ำนวน 59 แห่ง (รวม Indorama Ventures Olafins LLC และ MicroPet)
กลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจ กลยุทธ์ของเราได้ถกู ก�ำหนดขึน้ เพือ่ ช่วยให้เรา บรรลุวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ การเติบโตและการลงทุนในธุรกิจหลัก รูปแบบการรวมตัวของธุรกิจในแนวตั้ง การกระจายความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์ การกระจายความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์ การบริ ห ารต้ น ทุ น และความเป็ น เลิ ศ ใน การผลิต และ ความรอบคอบทางการเงิน
การเติบโตและการลงทุนในธุรกิจหลัก กลยุ ท ธ์ ด ้ า นการลงทุ น และการเติ บ โตของ บริษทั ฯ คือการสร้างและส่งเสริมสถานะความ เป็นผู้น�ำทางการตลาดในปัจจุบนั ของบริษัทฯ ในแต่ละภูมิภาคที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจและ การขยายที่ตั้งของบริษัทฯ ในเชิงภูมิศาสตร์ ผ่านการเติบโตของบริษทั ฯ (Organic Growth) และการเข้าซือ้ กิจการอืน่ ในลักษณะทีเ่ ป็นการ เพิ่มมูลค่า ที่ผ่านมา บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จในการ ใช้กลยุทธ์ดังกล่าวมาโดยตลอด โดยการเข้า ลงทุนในบริษทั ใหม่ (Greenfield Investment) และการขยายกิจการที่มีอยู่แล้วให้ใหญ่ขึ้น (Brownfield Expansion) รวมถึงการเข้าซื้อ กิจการที่น่าสนใจ การเข้าซือ้ กิจการเป็นปัจจัยหลักในการช่วยให้ เราบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ อินโดรามา เวนเจอร์สมีการก�ำหนดเกณฑ์ในเชิงยุทธศาสตร์ และเชิงการเงินส�ำหรับการเข้าซือ้ กิจการ เพือ่ ใช้ในการประเมินโอกาสในการเข้าซื้อกิจการ ทีผ่ า่ นมาเราประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดีใน การเข้าซื้อกิจการและควบรวมกิจการเข้ากับ องค์กรของเรา
วัตถุดบิ ได้อย่างเพียงพอ ทัง้ นี้ การควบรวมกิจการทีบ่ ริษทั ฯ เป็นเจ้าของเข้าด้วยกัน ยังเป็นการ ช่วยส่งเสริมความสามารถของบริษทั ฯ เพือ่ ลดการพึง่ พาการจัดหาวัตถุดบิ ทีอ่ าจมีความเปลีย่ น แปลงและไม่แน่นอน (Sector Cyclicality) และช่วยปรับปรุงให้มีกระแสรายรับที่มีคุณภาพ อย่างเห็นได้ชัดและที่คาดการณ์ ได้แม่นย�ำขึ้น จากกลยุทธ์ของบริษัทฯ เราได้ลงทุนในเอทิลีน ผ่านการเข้าซื้อ Gas cracker ที่ก�ำลังการผลิต 400 กิโลตันต่อปีในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง ก�ำลังอยู่ในช่วงปรับปรุงหลังการซื้อกิจการในปี 2558 ซึ่งเราคาดว่าการผลิตเชิงพาณิชย์จะ เริ่มต้นในช่วงปลายปี 2560
การกระจายความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์ การสร้างกลุ่มลูกค้าของบริษัทฯ ให้มีความหลากหลายยิ่งขึ้น ทั้งในแง่ท�ำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และลักษณะการใช้งานผลิตภัณฑ์ขนั้ สุดท้าย (ในบางกลุม่ ธุรกิจ) นับเป็นกลยุทธ์ทสี่ ำ� คัญส�ำหรับ ความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องในห่วงโซ่มูลค่าโพลีเอสเตอร์ บริษัทฯ มีแผนที่จะยกระดับความ พยายามในการท�ำการตลาดของบริษทั ฯ เพือ่ กระจายฐานลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง ในปัจจุบนั บริษทั ฯ ขายสินค้าใน 100 กว่าประเทศทั่วโลกผ่านฐานการผลิตในพื้นที่หลายๆ ประเทศ ท�ำให้สามารถ เข้าถึงและตอบสนองผู้บริโภคได้สะดวกยิ่งขึ้น
การกระจายความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์ ในฐานะผู้น�ำในธุรกิจโพลีเอสเตอร์แบบครบวงจร เรามุ่งที่จะพัฒนาความสามารถใน การคิดค้นและวิจัย ไม่ว่าจะโดยหน่วยงานของเราเองหรือโดยความสัมพันธ์ที่เรามีกับ ผู้ผลิตรายอื่นในอุตสาหกรรม เราท�ำงานร่วมกับลูกค้าของเราอย่างใกล้ชิดในการให้ ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ความเชีย่ วชาญ และหาทางตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้วยเป้าหมายของเราในการที่จะสร้างความโดดเด่น เราได้ขยายผลิตภัณฑ์ของเรา ในส่วนสินค้าที่ไม่ใช่สินค้าโภคภัณฑ์ (non-commodity) หรือสินค้าที่เพิ่มมูลค่า ส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การกระจายความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์ บริษัทฯมีเป้าหมายใน การขยายกลุม่ ผลิตภัณฑ์เพิม่ มูลค่า(HVA) ซึง่ รองรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ สุขอนามัย รวมถึงกลุ่มของอุตสาหกรรมและบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าใน อุตสาหกรรมยานยนต์ อย่างเช่น สิง่ ทอเพือ่ ใช้ในการตกแต่งภายใน, เส้นใยส�ำหรับยาง ในรถยนต์, ถุงลมและเข็มขัดนิรภัย ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สุขอนามัย บริษัทฯ เป็นผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ ทีม่ คี ณุ ภาพส�ำหรับผลิตภัณฑ์ขนั้ สุดท้าย อย่างเช่น สิง่ ทอที่ใช้ภายใน บ้านซึ่งมีคุณสมบัติหน่วงไฟ (flame retardant home textiles), ผ้าอ้อมเด็ก, ผ้าเช็ด ท�ำความสะอาด และผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ทางการแพทย์อื่นๆ เราเชื่อว่ากลุ่มผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่า (HVA) นี้มีศักยภาพทางการตลาดที่แข็งแกร่ง และมีอุปสรรคหรือข้อจ�ำกัด สูงในการเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่ และจะยังคงได้ประโยชน์จากการเป็นผู้น�ำตลาดใน กลุ่มผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า (HVA) เพื่อการเติบโตต่อไป
รูปแบบการรวมตัวของธุรกิจในแนวตั้ง บริษัทฯ คาดว่าจะเกิดการรวมตัวในแนวตั้ง ไม่วา่ จะเป็นการควบรวมกิจการทีบ่ ริษทั ฯ เป็น เจ้าของ การตั้งโรงงานในสถานที่เดียวกับ โรงงานทีบ่ ริษทั ฯ เป็นเจ้าของ หรือการควบรวม แบบเสมือนกับการตั้งโรงงานติดกับโรงงาน ของผู ้ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ หลั ก เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ประสิทธิภาพด้านการขนส่งและการด�ำเนิน งาน ความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุน วัตถุดิบ และเพื่อเป็นประกันในการจัดหา
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พิ่ ม มู ล ค่ า ในกลุ ่ ม อุตสาหกรรมยานยนต์ ได้แก่ เส้นใยในยาง เข็มขัดนิรภัย ถุงลมนิรภัย และแผ่น Organo ที่ใช้ในการขึ้นรูปโครงสร้าง ภายในรถยนต์
57
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited ประเทศเมียนมาร์
ความยั่งยืน
ความรอบคอบทางการเงิน
บริษัทฯ เชื่อว่าการเพิ่มความสามารถของบริษัทฯในการใช้วัสดุที่ผ่านกระบวนการรีไซเคิลแล้ว และการผสานวัสดุทผี่ า่ นกระบวนการรีไซเคิลแล้วเข้ากับกระบวนการตามมาตรฐานของบริษทั ฯ จะช่วยให้บริษัทฯ สามารถน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนไป ได้ และยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงการให้ความส�ำคัญกับประเด็นที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการส่งเสริมนวัตกรรมด้านความยั่งยืนผ่านหลักการเรื่องความยั่งยืน 7 หัวข้อ (ได้แก่ การลดขยะ การลดการใช้ทรัพยากร พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) การรีไซเคิล การพัฒนาบุคลากร การมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง และการพัฒนาชุมชน) มาอย่างต่อเนื่อง
บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะมุ่งเน้นความมี วิ นั ย ทางการเงิ น และการตั ด สิ น ใจลงทุ น ที่ รอบคอบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบริษัทฯ ประเมิน ความเป็นไปได้ของแต่ละโครงการบนพืน้ ฐาน ของความสามารถในการท�ำก�ำไรและความมี ประสิทธิภาพได้ด้วยตนเอง นอกเหนือจาก ความเป็นไปได้ที่โครงการลงทุนจะสามารถ สนับสนุนการท�ำงานร่วมกันขององค์กรทัง้ หมด โดยรวมแล้ว นอกจากนี้ บริษัทฯ มีความ พยายามอย่างยิ่งที่จะด�ำรงไว้ ซึ่งโครงสร้าง เงินทุนที่มีประสิทธิภาพไปพร้อมๆ กับการ เติบโตของบริษัทฯ เพื่อให้บริษัทฯ มีความ ยืดหยุ่นในการด�ำเนินงานและมีสภาพคล่อง ที่เพียงพอเพื่อรองรับข้อตกลงในการกู้ยืม หนี้สินและภาระผูกพันต่างๆ
ความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน การด�ำรงไว้ซึ่งปรัชญาต้นทุนการผลิตที่ต�่ำ โดยการให้ความส�ำคัญอย่างต่อเนื่องในความมี ประสิทธิภาพของต้นทุนการผลิต ขนาดและเทคโนโลยี วัตถุดบิ และการลงทุน จะช่วยให้บริษทั ฯ สามารถรักษาสถานะของต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมในอนาคตได้ ทั้งนี้ ในการประกอบ ธุรกิจสินค้าโภคภัณฑ์ที่เน้นปริมาณเป็นส�ำคัญ เช่น เม็ดพลาสติก PET, PTA, และเส้นใย โพลีเอสเตอร์ที่ใช้ส�ำหรับสินค้าโภคภัณฑ์นั้น ความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนการผลิต คือ กลไกส�ำคัญที่จะแบ่งแยกผู้น�ำในอุตสาหกรรมออกจากผู้ประกอบธุรกิจรายอื่น ทั้งนี้ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับความเป็นเลิศในการผลิตเพื่อให้เกิดพลังร่วม (synergy) และ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการถ่ายโอนแนวปฏิบัติที่ดีในกลุ่มของบริษัทฯ ที่กระจายอยู่ทั่วโลก โดย ประเด็นทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญ ได้แก่ การเปรียบเทียบต้นทุนแปรสภาพต่อหน่วย (Benchmarking Conversion Cost), การบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สงู สุด, การลดปริมาณของเสีย และน�ำกลับมาใช้ใหม่ และการเน้นสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่สะอาดและปลอดภัย
Micro Polypet Private Limited ประเทศอินเดีย
58
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา การที่ส�ำคัญ ความเป็นมาของบริษัทฯ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เดิมชือ่ บจ.บีคอน โกลบอล จดทะเบียนเป็นบริษัทจ�ำกัด ก่อตั้ง เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2546 ต่อมาได้ จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น บจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2551 โดย มี วัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจด้านการ ลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทต่างๆ (Holding Company) ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขนั้ กลาง ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งผลิตและ จ�ำหน่าย 3 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ PET เส้นใยและ เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ และ Feedstock ซึ่งประกอบด้วย PTA, MEG และ สารอนุพันธ์ต่างๆ ของ EO
ความเป็นมาของธุรกิจ จุดเริ่มต้นของธุรกิจในประเทศไทย บริษัทฯ เริ่มด�ำเนินกิจการเมื่อปี 2537 โดย จัดตั้ง บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ซึ่งเป็น ผู้ผลิตเส้นด้ายจากขนสัตว์ (Worsted Wool Yarn) เป็นรายแรกในประเทศไทย จุดเริ่มต้นในการเริ่มธุรกิจ PET ในส่วนของกลุ่มธุรกิจ PET โดยหลักประกอบ ด้วย การผลิตและจ�ำหน่ายเม็ดพลาสติก PET ซึ่งใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์และเครื่องดื่ม รวมถึงบรรจุภัณฑ์ยาและเวชภัณฑ์ ของใช้ ในครัวเรือน และใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์ อืน่ ๆ นอกจากนี้ บริษทั ฯยังเป็นผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่า (HVA) อย่างเช่น บรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับอาหารและเครือ่ งดืม่ ที่ไวต่อออกซิเจน (ก่อให้เกิดปฏิกิริยา oxidation) เมื่อปี 2538 บริษัทฯ ได้เริ่มด�ำเนินธุรกิจปิโตรเคมีโดยมุง่ เน้นในอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งของโพลีเอสเตอร์ โดยการตัง้ โรงงาน ผลิตเม็ดพลาสติก PET ขึน้ ในประเทศไทย นับแต่บดั นัน้ เป็นต้นมา กิจการ ของบริษัทฯ ได้เจริญเติบโตและขยายตัวขึ้น เรื่อยๆ ในธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่องของ โพลี เ อสเตอร์ บริ ษั ท ฯ เติ บ โตจนกระทั่ ง เป็นผู้ผลิตรายใหญ่รายหนึ่งในอุตสาหกรรม ต่อเนื่องของโพลีเอสเตอร์ของโลก โดยธุรกิจ ของบริษัทฯ สามารถแบ่งแยกได้เป็น 3 กลุ่ม ธุรกิจ อันได้แก่ PET, เส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์ และ Feedstock ซึ่งประกอบ ด้วย PTA, MEG และ สารอนุพันธ์ต่างๆ ของ EO บริษทั ฯ ประสบความส�ำเร็จในการขยายธุรกิจ PET โดยการลงทุนในโครงการใหม่ (Greenfield Investment) การเข้าซือ้ กิจการอืน่ (Strategic Acquisitions) และการขยายกิจการทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ให้ใหญ่ขึ้น (Brownfield Expansions) ในช่วง ปี 2538 - 2545 บริษัทฯ ได้ขยายธุรกิจ PET โดยเข้าลงทุนในอุตสาหกรรมปลายน�้ำ (Downstream Production) ของธุรกิจ PET ในรูปของพลาสติกขึ้นรูปขวด (Preforms) ขวด และฝาจุกเกลียว (Closures) โดยเข้าร่วม ทุนกับ บมจ. เสริมสุข และยังได้ลงทุนใน โครงการต่างๆ อีกหลายโครงการเพื่อเพิ่ม ก�ำลังการผลิตของบริษัทฯ
Indorama Ventures Polymers (Rayong) PCL. ประเทศไทย
จุดเริ่มต้นในการเริ่มธุรกิจโพลีเอสเตอร์และ เส้นใยจากขนสัตว์ ในส่ ว นของกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ เส้ น ใยและเส้ น ด้ า ย โพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ ประกอบ ด้วย การผลิตและจ�ำหน่ายเส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์หลายประเภท รวมถึงเส้นใยและ เส้ น ด้ า ยจากขนสั ต ว์ (ซึ่ ง ใช้ ใ นกลุ ่ ม ผลิ ต ภัณฑ์เพิ่มมูลค่า (HVA) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลิตภัณฑ์สุขอนามัย, อุตสาหกรรมยานยนต์ และการน�ำไปใช้ในเชิงพาณิชย์) โพลีเอสเตอร์ เป็นหนึ่งในเส้นใยสังเคราะห์ที่ ใช้กันอย่าง แพร่หลายทัว่ โลก และเป็นวัสดุที่ใช้ในการผลิต สิ่งทอที่หลากหลาย รวมถึงการน�ำไปใช้ใน เชิงพาณิชย์ (Industrial Applications) การพัฒนาธุรกิจโพลีเอสเตอร์ของบริษัทฯ เป็นผลมาจากการเข้าซือ้ สินทรัพย์จากกิจการ ที่มีปัญหาในการด�ำเนินงาน (Distressed Assets) และการเติบโตตามปกติ (Organic Growth) โดยใช้วิธีการขยายก�ำลังการผลิต (Debottlenecking) และการใช้ประโยชน์ จากสิ น ทรั พ ย์ ใ ห้ คุ ้ ม ค่ า มากที่ สุ ด (Asset Optimization) โดยบริษัทฯ ได้เริ่มด�ำเนิน ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ในปี 2540 โดยการเข้า ลงทุนใน บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์แห่ง หนึง่ ในประเทศไทย และเมื่อปี 2551 บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนใน บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์รายใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย โดยการเข้าลงทุนในโรงงาน โพลีเอสเตอร์ทั้งสองแห่งของบริษัทฯ เป็น การเข้าซื้อสินทรัพย์จากกิจการที่มีปัญหา ในการด�ำเนินงาน ด้วยราคาที่มีส่วนลดจาก ราคาต้นทุนทดแทนในการสร้างโรงงานแบบ เดียวกัน (Replacement Cost) และต่อมาได้
กลายเป็นสินทรัพย์ที่ทำ� ก�ำไรให้แก่บริษทั เป็น อย่างยิ่ง และในปี 2552 บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ได้โอนสินทรัพย์และหนี้สิน ทั้งหมดให้แก่ บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ การรวมธุรกิจต้นน�้ำ Feedstock กลุ่มธุรกิจ Feedstock ประกอบด้วยการผลิต และจ�ำหน่าย PTA, MEG, สารอนุพันธ์ต่างๆ ของ EO และผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่อง ซึ่งถูก ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์ของบริษทั กลุม่ ธุรกิจ Feedstock ช่วยสนับสนุนกลุ่มธุรกิจ PETและกลุ่มธุรกิจ โพลีเอสเตอร์ รวมทัง้ เป็นส่วนหนึง่ ของกลยุทธ์ การด�ำเนินงานเชิงบูรณาการในแนวตั้ง
การก้าวขึ้นมาสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ในระดับโลก จุด เริ่ม ต้ น ในการเริ่ม ธุ ร กิ จ PET ในสหรั ฐ อเมริกาและยุโรป บริษทั ฯ ได้ขยายฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ PET ไปยังต่างประเทศ โดยในปี 2546 ได้เข้าลงทุน ในโรงงานผลิต PET ของ StarPet ในทวีป อเมริกาเหนือ และในปี 2549 ได้เข้าลงทุนใน โรงงานผลิต PET ของ Orion Global ในทวีป ยุโรป จากการขยายกิจการดังกล่าวท�ำให้บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตเม็ดพลาสติก PET เพียงผูเ้ ดียวทีม่ ี การประกอบธุรกิจอยู่ ใน 3 ทวีป ซึ่งเป็น ภูมิภาคที่มีปริมาณการบริโภคที่สูงที่สุดของ โลก อันได้แก่ ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีป อเมริกาเหนือ นอกจากนี้ เมือ่ ปี 2551 บริษทั ฯ ยังได้ขยายแหล่งการผลิตของบริษัทฯ ด้วย การเข้าซื้อกิจการโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET อีกสองแห่งซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรปจาก
59
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
Performance Fibers (Kaiping) Company Limited ประเทศจีน
Eastman Chemical Company และ ในปี 2552 ได้เข้าลงทุนในโครงการใหม่ (Greenfield Investment) AlphaPet ซึ่งท�ำ ธุรกิจ PET ในทวีปอเมริกาเหนือ ในครึง่ ปีแรก ของปี 2554 บริษัทฯ เสร็จสิ้นการเข้าซื้อ กิจการโรงงาน PET เพิ่มเติม ในประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเม็กซิโก ประเทศ โปแลนด์ และประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ ส่งผล ให้บริษัทฯ กลายเป็นผู้ผลิต PET ที่ใหญ่ที่สุด ในโลก และเป็นผู้ประกอบการที่ใหญ่ที่สุดใน ทวีปยุโรป นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ขยายฐาน การผลิต PET ในทวีปแอฟริกาโดยการจัดตั้ง โรงงาน Solid State Polymerization (SSP) ในประเทศไนจี เรี ย ซึ่งเริ่มด�ำเนินการเชิง พาณิ ช ย์ ใ นปี 2555 และในปี 2555 นี้ บริษัทฯ ได้เข้าซื้อกิจการโรงงาน PET ของ PT Polypet Karyapersada ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย ในปี 2558 บริษัทขยายกิจการในทวีปตะวันออกกลาง โดยเข้าซื้อกิจการ 2 แห่งในประเทศตุรกี แห่ง แรกอยูท่ างภาคใต้ของประเทศและอีกแห่งอยู่ ทางภาคเหนื อ ของประเทศตุ ร กี ในเดื อ น พฤษภาคม 2558 บริษัทฯยังเข้าซื้อกิจการ Bangkok Polyester Public Company Limited ผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET ในประเทศไทย ซึ่ง ช่วยเพิ่มก�ำลังการผลิตเม็ดพลาสติก PET ในตลาดภายในประเทศ และเมื่อเร็วๆ นี้ บริษทั ยังเข้าซือ้ กิจการเม็ดพลาสติก PET ของ MICRO POLYPET Private Limited (MicroPet) และบริษทั ย่อยอีก 2 แห่ง Sanchit Polymers Private Ltd และ Eternity Infrabuild Private Ltd ในประเทศอินเดีย
60
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การขยายธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ไปในต่างประเทศ ในช่วงครึง่ ปีแรกของปี 2554 บริษทั ฯ ได้ขยาย ฐานการผลิตโพลีเอสเตอร์ ในต่างประเทศที่ ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน 2554 บริษัทฯ ได้ เข้าซื้อธุรกิจรีไซเคิล PET และเส้นใยโพลีเอส เตอร์ของ Wellman International ในทวีป ยุโรป ซึ่งประกอบด้วยโรงงานจ�ำนวน 3 แห่ง ตัง้ อยูท่ ี่ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์ แลนด์ และประเทศฝรั่งเศส ในเดือนมกราคม 2555 บริษัทฯ ได้เสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ ของ FiberVisions Holdings LLC ซึ่งเป็น ผู ้ ผลิตระดับโลกในอุตสาหกรรมผลิตเส้นใย พิเศษแบบ Mono และ Bi-component ซึง่ ตัง้ อยูท่ เี่ มือง Duluth มลรัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐ อเมริกา การรวมธุรกิจต้นน�้ำ MEG ในปี 2555 บริษัทฯ ขยายกิจการขึ้นไปอีกใน รูปแบบการรวมตัวของ Feedstock โดยเข้า ซื้อกิจการของ Old World Industries I, Ltd และ Old World Transportation, Ltd ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ผลิต EO/EG เพียงรายเดียวที่ ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา Mono Ethylene Glycol (MEG) เป็นหนึ่งใน วัตถุดบิ หลักของบริษทั ฯ ซึง่ ใช้รว่ มกับ Purified Terephthalic Acid (PTA) ในอุตสาหกรรมการ ผลิต Polyethylene Terephthalate (PET) และ เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ซึ่งทั้งคู่ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น ปลายของบริ ษั ท ฯ เมื่ อ เร็วๆนี้ บริษทั ฯยังเข้าซือ้ กิจการจาก Compañía Española de Petróleos (“CEPSA”) ซึ่งเป็น ผู้ผลิต PTA ในประเทศแคนาดา และใน เดือนกันยายน 2558 บริษทั ฯยังเข้าซือ้ กิจการ Indorama Ventures Olefins Holding LLC
ซึ่งเป็นผู้ผลิต ethylene cracker ดั้งเดิมใน ประเทศสหรัฐอเมริกา (ซึ่งอยู่ในช่วงกระบวน การปรับปรุง)
เน้นความหลากหลายของธุรกิจ การขยายธุรกิจไปสูก่ ลุม่ ผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ เชิงกลยุทธ์ เนื่องจากบริษัทฯ เป็นผู้น�ำตลาดและเป็น ผู้ริเริ่มผลิตภัณฑ์ ใหม่ที่ได้รับการตอบรับที่ดี จากลูกค้าในอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภค บริษัทฯ จึงได้ลงทุนขยายธุรกิจไปสู่กลุ่มผลิต ภัณฑ์ชนิดพิเศษ ใน PET, เส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์,เส้นใยและเส้นด้ายโพรพิลีน (Polypropylene fibers and yarns), เส้นใย และเส้นด้ายไนลอน (Nylon fibers and yarns) และ Purified Ethylene Oxide “PEO” โดย การขยายธุรกิจดังกล่าวช่วยลดผลกระทบจาก อัตราก�ำไรที่ลดลงจากธุรกิจสินค้าโภคภัณฑ์ ตลอดช่วงระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา ท�ำให้ บริษทั ฯ สามารถทีจ่ ะรักษาอัตราก�ำไรให้อยู่ใน ระดับที่ดีได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ มีความตั้งใจที่ จะขยายธุรกิจไปสู่กลุ่มผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ เพือ่ ทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� ในตลาดและเพิม่ ความหลาก หลายให้กับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษนีจ้ ะช่วยเพิม่ คุณค่าของ ตราสินค้าให้แก่บริษัทฯ ท�ำให้บริษัทฯ เป็น ผู้ริเริ่มผลิตภัณฑ์ ใหม่เพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าอย่างครบวงจร ส�ำหรับปี 2558 กลุ่มผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษคิดเป็นร้อย ละ 21 ของการผลิตและร้อยละ 48 ของ Core EBITDA ซึ่ง Core EBITDA ค�ำนวณจาก EBITDA หักด้วยก�ำไรขาดทุนจากสินค้าคง เหลือและรายการพิเศษ(ถ้ามี)
ธุรกิจผลิตภัณฑ์รี ไซเคิล บริษัทฯ เข้าสู่ธุรกิจผลิตภัณฑ์รีไซเคิลในปี 2554 โดยการเข้ า ซื้ อ กิ จ การ Wellman International ในทวีปยุโรป ต้นปี 2557 บริษทั ฯ ประยุกต์ใช้ความรูท้ ี่ได้รบั จากกิจการ Wellman และเริม่ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ รีไซเคิล PET และเส้นใยที่จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย บริษัทฯ คาดว่าจะใช้ประโยชน์ จากกิจการ Wellman International เพือ่ ขยาย เทคโนโลยีเพื่อรองรับธุรกิจในต่างประเทศ ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังควบรวมผลิตภัณฑ์รีไซเคิล PET เข้ากับฐานก�ำลังการผลิตทั้ง 3 แห่ง ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเม็กซิโก เพื่อที่จะเพิ่มสัดส่วนของผลิตภัณฑ์รีไซเคิล PET ในก�ำลังการผลิต
ความส�ำเร็จในการระดมทุน การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้จดทะเบียน แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2552 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส มีทุนจด ทะเบียนจ�ำนวน 5,666,010,499 บาท และทุน ช�ำระแล้วจ�ำนวน 4,814,257,245 บาท แบ่ง เป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 4,814,257,245 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส คือ บจ. อินโดรามา รีซอสเซส ซึ่งเป็นบริษัท ที่ Canopus International Limited ถือหุ้น ร้อยละ 99.99 (โดย Canopus International Limited มีนายอาลก โลเฮีย และบุคคลที่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวโดยตรงถือหุ้น
ร้อยละ 49 โดยมีสิทธิออกเสียงร้อยละ 76 ของจ�ำนวนสิทธิออกเสียงทัง้ หมดใน Canopus International Limited ในขณะที่ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และบุคคลที่มีความสัมพันธ์ ทางครอบครัวโดยตรงถือหุ้นร้อยละ 51 โดย มีสิทธิออกเสียงร้อยละ 24 ของจ�ำนวนสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดใน Canopus International Limited) ในเดือนมกราคม 2553 บริษัทฯ ได้เสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ประชาชนทั่วไป จ�ำนวน 400 ล้านหุ้น ที่ราคาเสนอขายหุ้นละ 10.20 บาท และได้รับเงินสดจากการเสนอขายหุ้น รวม 4,080 ล้านบาท ขณะเดียวกัน ผู้ถือ หุ้นรายย่อย บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้รับข้อเสนอ ให้สามารถแลกหุ้นกับหุ้นของบริษัทฯ ได้ จ�ำนวน 582,727,137 หุ้น อนึ่ง หุ้นสามัญ ของบริษทั ฯ ได้เข้าจดทะเบียนและเริม่ ซือ้ ขาย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 ภายใต้สญั ลักษณ์ “IVL” ในระหว่างปี 2553 Indorma Ventures ได้กลายเป็นหุน้ ทีอ่ ยู่ใน SET50 index, FTSE, SET Large Cap Index และ MSCI
การเสนอขายหลักทรัพย์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ เดิม ในเดือนพฤศจิกายน 2553 คณะกรรมการบริษทั มีมติให้เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 4,334,271,047 บาท เป็น 4,815,856,719 บาท โดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 481,585,672 หุ้น เพื่อการใช้สิทธิแปลงสภาพใบแสดงสิทธิใน การซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ (TSRs) ซึ่งที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติให้ ออกใบแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอน สิทธิได้ดงั กล่าว ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมตามสัดส่วน
การถือหุ้น ในอัตราส่วน 9 หุ้นเดิม ต่อ 1 หน่ ว ยใบแสดงสิ ท ธิ และใบแสดงสิ ท ธิ นี้ มี อัตราส่วนการใช้สิทธิที่ 1 หน่วยใบแสดงสิทธิ ต่อ 1 หุ้น ที่ราคาการใช้สิทธิ 36 บาทต่อหุ้น ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2553 ผู้ถือหุ้นได้มีมติ อนุมตั กิ ารออกใบแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนที่โอนสิทธิได้ การจัดสรร และข้อก�ำหนด และเงือ่ นไขใบแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ เพิม่ ทุน ที่โอนสิทธิได้ ทั้งนี้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 ผลการใช้สทิ ธิของใบแสดงสิทธิทงั้ หมด ในการซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนครัง้ นีเ้ ท่ากับร้อยละ 99.67 โดยคิ ด เป็ น หุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ใหม่ ทั้ ง หมด 479,986,198 หุ้น ซึ่งหุ้นดังกล่าวได้เริ่มการ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แล้วเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2554 โดยจ�ำนวนเงิน ที่ได้รับจากการเพิ่มทุนครั้งนี้เท่ากับ 17,280 ล้านบาท
การท�ำค�ำเสนอซื้อ ในปี 2548 บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส (“IRP”) ผูด้ ำ� เนินธุรกิจ PET ได้เข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อมา ในเดือนธันวาคม 2552 บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์สได้ทำ� ค�ำเสนอซือ้ หุน้ สามัญของ IRP ทั้งหมด โดย IVL ได้เสนอหุ้นสามัญของ IVL ให้กับ IRP เป็นการแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ การท�ำ ค� ำ เสนอซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของ IRP เสร็ จ สิ้ น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 ซึ่งส่งผลให้ IVL ถือหุ้นสามัญทั้งทางตรงและทางอ้อม (ผ่าน บริษัทย่อยของ IVL) ประมาณร้อยละ 99.08 ของทุนจดทะเบียนและช�ำระแล้วของ IRP อนึ่ง IRP ถูกถอนออกจากการจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้งแต่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553
Indorama Ventures Corlu PET Sanayi A.Ş ประเทศตุรกี
61
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
พัฒนาการที่ส�ำคัญ ปี
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
2537 2538
จัดตั้ง บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ก่อตั้งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ บมจ.อินโดรามา โพลีเมอร์ส ที่จังหวัดลพบุรี ประเทศไทย จัดตั้ง บจ. เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. เสริมสุข การด�ำเนินโครงการขยายกิจการของบริษัทฯ หลายโครงการ ได้เสร็จสมบูรณ์อนั น�ำไปสูก่ ารเพิม่ ก�ำลังการผลิตของบริษทั ฯ ใน ประเทศ จัดตั้ง บจ. บีคอน โกลบอล (ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ในปี 2551) ขยายกิจการครั้งใหญ่เป็นครั้งแรกในต่างประเทศ โดยการเข้า ลงทุนในโรงงานผลิต PET ของ StarPet ซึ่งตั้งอยู่ในเมือง Asheboro รัฐ North Carolina การเข้าลงทุนใน บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ โดยการเข้าซื้อหุ้น ร้อยละ 94.57 จากกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของนายอาลก โลเฮีย ขยายกิจการไปยังทวีปยุโรปโดยการก่อตั้งโรงงานผลิต PET ของ Orion Global ซึง่ ตัง้ อยูท่ เี่ มือง Klaipeda ประเทศลิธวั เนีย
ประเทศไทย ประเทศไทย
เส้นใยจากขนสัตว์ PET
ประเทศไทย
PET
ประเทศไทย
PET/โพลีเอสเตอร์
ประเทศไทย
บริษัทลงทุน
สหรัฐอเมริกา
PET
ประเทศไทย
เส้นใยจากขนสัตว์/ บริษัทลงทุน PET
2539 2545 2546
2549
2550
ประเทศลิธัวเนีย
การด�ำเนินโครงการขยายกิจการของบริษัทฯ หลายโครงการได้ สหรัฐอเมริกา / ประเทศไทย PET/โพลีเอสเตอร์ เสร็จสมบูรณ์อันน�ำไปสู่การเพิ่มก�ำลังการผลิตของบริษัทฯ UAB Indorama Polymers Europe, IRP Rotterdam และ สหราชอาณาจักร/ประเทศ PET มีนาคม 2551 IRP Workington ได้เข้าซือ้ สินทรัพย์ (ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ เนเธอร์แลนด์ และ เงินทุนหมุนเวียน) และการด�ำเนินงานของโรงงานผลิต PET จ�ำนวน 2 แห่ง ในประเทศเนเธอร์แลนด์ และสหราช อาณาจักร ซึง่ เดิมเป็นของบริษทั ย่อยของ Eastman Chemical Company UAB Indorama Holding และ IRH Rotterdam ได้เข้าซื้อ ประเทศเนเธอร์แลนด์ PTA สินทรัพย์ (ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และเงินทุนหมุนเวียน และการด�ำเนินงานของโรงงานผลิต PTA ในประเทศเนเธอร์ แลนด์ ซึ่งเดิมเป็นของบริษัทย่อยของ Eastman Chemical Company มิถุนายน 2551 บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ขายเงินลงทุนจ�ำนวนร้อยละ 89.71 ใน ประเทศไทย เคมีภณ ั ฑ์ บจ. อินโดรามา เคมิคอลล์ (ประเทศไทย) ให้แก่กิจการที่อยู่ ภายใต้การควบคุมของ นายอาลก โลเฮีย และบุคคลที่มีความ สัมพันธ์ทางครอบครัวโดยตรง สิงหาคม - ตุลาคม การเข้าซื้อหุ้นร้อยละ 50.56 ใน บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ประเทศไทย PTA 2551 จากหลายฝ่าย ประเทศไทย โพลีเอสเตอร์ กันยายน 2551 การเข้าถือหุน้ ร้อยละ 65.81 ใน บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) ตามแผนฟื้นฟูกิจการของ บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) การเข้าซื้อหุ้นใน บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) เพิ่มร้อยละ ประเทศไทย โพลีเอสเตอร์ 44.38 จาก Indorama International Finance PCL ท�ำให้ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อมใน บจ. อินโดโพลี (ประเทศไทย) เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 98.85
62
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
เหตุการณ์
กันยายน - ตุลาคม การเข้าซื้อหุ้นทั้งหมดใน บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม จากหลาย 2551 ฝ่าย ตุลาคม 2551 การเข้าซือ้ หุน้ ใน บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส เพิม่ ร้อยละ 3.94 จาก DEG ท�ำให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ทัง้ ทางตรงและทาง อ้อมใน บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 69.29 ธันวาคม 2551 การเข้าซื้อหุ้นใน บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) เพิ่มร้อยละ 31.20 ซึ่งต่อมาบริษัทได้เปลี่ยนชื่อเป็น บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ กรกฎาคม 2552 การโอนทรัพย์สินและกิจการทั้งหมดของ บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ให้แ ก่ บมจ. อิน โดรามา โพลี เอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (บจ. อินโด โพลี(ประเทศไทย) ได้จดทะเบียนช�ำระ บัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554) กรกฎาคม 2552 การเข้าซื้อหุ้นใน บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ เพิ่มร้อยละ 2.08 จาก Indorama International Finance PCL ท�ำให้ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อมใน บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 52.64 สิงหาคม 2552 บริษัทฯ และบจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ได้ร่วมท�ำค�ำเสนอซื้อหุ้น สามัญทั้งหมดใน บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ที่ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ถือ ภายหลังการท�ำค�ำเสนอซื้อ สัดส่วน การถือหุ้นของบริษัทฯ และบจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ใน บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ ได้เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 99.55 และได้เพิกถอนหลักทรัพย์ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ ออกจากตลาดหลักทรัพย์ นับตัง้ แต่วนั ที่ 9 พฤศจิกายน 2552 ตุลาคม 2552 เริ่มเปิดด�ำเนินงานโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet ในเมือง Decatur รัฐ Alabama พฤศจิกายน การโอนทรัพย์สินและกิจการทั้งหมดของ บจ. ทีพีที ยูทีลิตี้ส์ 2552 ให้ แก่ บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ (บจ. ทีพีที ยูทีลิตี้ส์ ได้ จดทะเบียนช�ำระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2553) ธันวาคม 2552 การเข้าซื้อหุ้นใน บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ เพิ่มร้อยละ 1.96 จาก Indorama International Finance PCL ท�ำให้สดั ส่วน การถือหุน้ ของบริษทั ฯ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมใน บมจ.ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 54.60 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ ได้ท�ำค�ำเสนอซื้อหุ้น สามัญทั้งหมดของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส และท�ำการ เพิกถอนหลักทรัพย์ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ออกจากตลาดหลักทรัพย์ โดยการเสนอแลกหุน้ สามัญจ�ำนวน 424,480,300 หุ้นของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส กับหุ้น ของบริษัทฯ กุมภาพันธ์ 2553 น�ำหุ้น IVL เข้าจดทะเบียนและเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หลังจากที่ได้เสร็จสิ้นการเสนอขายหุ้นที่ออก ใหม่แก่ประชาชนทั่วไป จ�ำนวน 400 ล้านหุ้น ที่ราคาเสนอขาย หุ้นละ 10.20 บาท และเสร็จสิ้นการเสนอแลกเปลี่ยนหุ้นกับผู้ถือ หุ้นรายย่อยบมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ขณะเดียวกันได้เพิก ถอนหุ้น IRP ออกจากตลาดหลักทรัพย์ ในวันแรกของการซื้อ ขาย IVL ด้วย
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
ประเทศไทย
PTA
ประเทศไทย
PET
ประเทศไทย
โพลีเอสเตอร์
ประเทศไทย
โพลีเอสเตอร์
ประเทศไทย
PTA
ประเทศไทย
โพลีเอสเตอร์
สหรัฐอเมริกา
PET
ประเทศไทย
อื่นๆ
ประเทศไทย
PTA
ประเทศไทย
PET
ประเทศไทย
องค์กร
63
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
กรกฎาคม 2553
บริษัทฯ ได้ร่วมทุนโดยซื้อหุ้นร้อยละ 50 ใน UAB Ottana Polimeri Europe จาก Equipolymers เพือ่ ลงทุนในโรงงาน ผลิต PTA และ PET ในเมือง Ottana ประเทศอิตาลี โดยร่วมทุนกับ PCH Holdings ซึ่งอยู่ในธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค ถือ หุ้นอยู่ร้อยละ 50 เช่นกัน
ประเทศอิตาลี
PTA/PET
ประกาศจัดตั้งโครงการกรีนฟิล ด์ ส� ำ หรั บ ผลิ ต PET และ โพลีเมอร์ในเมือง Port Harcourt ประเทศไนจีเรีย (Indorama PET (Nigeria) Ltd.) ด้วยก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 75,000 ตัน ต่อปี ประกาศเพิ่มก�ำลังการผลิตที่ โรงงานผลิต PET เดิมที่เมือง Rotterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์ (Indorama Polymers Rotterdam B.V.) เป็น 190,000 ตันต่อปี โดยการติดตั้ง สายการผลิต PET ใหม่เพิ่ม ในทวีปยุโรปนั้นมีการน�ำเข้าเม็ด พลาสติก PET มากกว่าส่งออก ซึ่งการเพิ่มก�ำลังการผลิตนี้ เพื่อมาชดเชยการน�ำเข้าและอุปสงค์ที่เพิ่มมากขึ้น การเพิ่ม การผลิต PET ครั้งนี้ท�ำให้เพิ่มการบริโภค PTA ภายในกลุ่ม จนเต็มจ�ำนวนการผลิต อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการประหยัด ต่อขนาดด้วย เข้าซื้อหุ้นเพิ่มในบริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) จาก Tuntex Taiwan และผู้ถือหุ้นอื่น ท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้น เพิ่มจากร้อยละ 54.60 เป็นร้อยละ 99.96 ประกาศอนุมัติการซื้อกิจการโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ (Guangdong IVL PET Polymer Co., Ltd.) ตั้งอยู่ที่เมืองไคปิง มณฑลกวางตุ้งของ ประเทศจีน จาก Guangdong Shinda UHMWPE Co., Ltd. โดยมีก�ำลังผลิตติดตั้ง 406,000 ตันต่อปี ซึ่งถือเป็นก้าวแรก ในการขยายธุรกิจสู่สากลในตลาดที่มีอัตราการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็วอย่างประเทศจีน เสร็จสิ้นการเข้าซื้อธุรกิจเมื่อ เดือน มกราคม 2554 ประกาศลงนามสัญญากับ INVISTA S.à r.l., เพือ ่ เข้าซือ้ โรงงาน ผลิตเม็ดพลาสติก PETและเส้นใยสังเคราะห์โพลีเอสเตอร์ ซึ่ง ตั้งอยู่ที่ Spartanburg รัฐ South Carolina สหรัฐอเมริกา (Auriga Polymers Inc.) และเมือง Queretaro ประเทศเม็กซิโก (Indorama Ventures Polymers Mexico S.de.R.L.de C.V.) ประกอบด้วยก�ำลังการผลิต 470,000 ตันต่อปีที่โรงงานในเมือง Spartanburg และ 535,000 ตันต่อปีที่ โรงงานในเมือง Queretaro การเข้าซื้อกิจการนี้เป็นการขยายธุรกิจไปสู่สากล ท�ำให้บริษัทฯ กลายเป็นผู้ผลิต PET รายใหญ่ที่สุดในโลก และ เข้าถึงตลาดใหม่ในละตินอเมริกาและอเมริกากลาง การซื้อ กิจการดังกล่าวเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2554 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ครั้งที่ 8/2553 ได้มีมติอนุมัติให้ออกขายใบแสดงสิทธิในการ ซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ (TSR) จ�ำนวน 481,585,672 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น ในอัตราส่วน 9 หุน้ เดิม ต่อ 1 หน่วยใบแสดงสิทธิ ใบแสดงสิทธินมี้ อี ตั ราส่วน การใช้สิทธิที่ 1 หน่วยใบแสดงสิทธิ ต่อ 1 หุ้น ราคาการใช้สิทธิ แปลงสภาพนี้จะได้รับการพิจารณาและอนุมัติจากที่ประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้นก่อน
ประเทศไนจีเรีย
PET
ประเทศเนเธอร์แลนด์
PET
ประเทศไทย
PTA
ประเทศจีน
PET
สหรัฐอเมริกา/ ประเทศเม็กซิโก
PET/โพลีเอสเตอร์
ประเทศไทย
องค์กร
สิงหาคม 2553
ตุลาคม 2553 พฤศจิกายน 2553
64
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
ธันวาคม 2553
มีนาคม 2554
เมษายน 2554 พฤษภาคม 2554
มิถุนายน 2554
กรกฎาคม 2554
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
ประกาศลงนามสัญญากับ SK Chemicals และ SK Syntec ประเทศอินโดนีเซีย/ประเทศ โพลีเอสเตอร์/ PET เพื่อซื้อธุรกิจ เส้นใย เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเม็ดพลาสติก โปแลนด์ PET ในประเทศอินโดนีเซีย และ ธุรกิจเม็ดพลาสติก PET ใน ประเทศโปแลนด์ มีก�ำลังการผลิตติดตั้ง 196,000 ตันต่อปีใน ประเทศอินโดนีเซีย และ ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 140,000 ตัน ต่อปีในประเทศโปแลนด์ การเข้าซื้อกิจการนี้เป็นการขยาย ธุรกิจไปสู่สากล และตอกย�้ำการมุ่งเน้นไปที่อุตสาหกรรม ต่อเนื่องโพลีเอสเตอร์ของบริษัทฯ สามารถเข้าถึงตลาดที่มี การเติบโตอย่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศโปแลนด์ การซื้อกิจการดังกล่าวเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2554 ณ วั น ที่ 16 ธั นวาคม 2553 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการของ ประเทศไทย องค์กร บริษัทฯ ครั้งที่ 9/2553 ได้มีมติอนุมัติราคาการใช้สิทธิของ ใบแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนที่โอนสิทธิได้เท่ากับ 36 บาท ต่อหุ้นเพื่อจองซื้อหุ้นออกใหม่ ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ครั้ ง ที่ 1 /2554 ได้ มี ม ติ อ นุ มั ติ การ ประเทศไทย องค์กร ออกและเสนอขายใบแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนที่โอนสิทธิ ได้โดยจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้นจัดสรร ในอัตราการจัดสรรเท่ากับ 9 หุ้นเดิม ต่อ 1 ใบแสดงสิทธิใน การซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิ หุ้นใหม่ของบริษัทฯ จ�ำนวน 479,986,198 หุ้นที่ได้จากการใช้ ประเทศไทย องค์กร สิทธิของใบแสดงสิทธิทร่ี าคาใช้สทิ ธิ 36 บาทต่อหุน้ เข้าท�ำการ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศเพิ่ ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต ที่ โ รงงานผลิ ต PET เดิ ม เป็ น ประเทศอินโดนีเซีย PET 300,000 ตันต่อปีที่ Purwakarta ประเทศอินโดนีเซีย ประกาศเพิม่ ก�ำลังการผลิตที่โรงงานผลิต PET เดิมเป็น 220,000 ทวีปยุโรป PET ตันต่อปีที่ประเทศโปแลนด์ (Indorama Polymers Poland Sp.z.o.o.) ประกาศเพิ่มก�ำลังการผลิตที่โรงงานผลิต PTA เดิม ซึ่งมีการขึ้น ทวีปยุโรป PTA สายการผลิตใหม่เป็น 250,000 ตันต่อปีที่ Rotterdam ประเทศ เนเธอร์แลนด์ (Indorama Holding Rotterdam B.V.) การขยาย ก�ำลังการผลิตครั้งนี้ช่วยส่งเสริมการผสมผสานการใช้วัตถุดิบใน กระบวนการผลิต PET ในทวีปยุโรป คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการเข้าซื้อหุ้นร้อยละ 50 ใน PT ประเทศอินโดนีเซีย PTA Polyprima Karyesreska (“PT Polyprima”) ซึง่ เป็นโรงงาน ผลิต PTA ใน Cilegon, West Java ประเทศอินโดนิเซีย โดยโรงงาน ดังกล่าวมีก�ำลังการผลิตติดตั้งเท่ากับ 465,000 ตันต่อปี Indorama Netherlands B.V.เข้าซื้อหุ้นร้อยละ 75 ในบริษัทฯ ประเทศเยอรมัน /ประเทศ โพลีเอสเตอร์ ร่วมทุน Trevira Holdings GmbH โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ โปแลนด์ เพิม่ ก�ำลังการผลิตอีก 120,000 ตันต่อปี ในโรงงานเส้นใยโพลีเอส เตอร์ในประเทศเยอรมัน และประเทศโปแลนด์ การเข้าซื้อครั้งนี้ จะช่วยบริษัทฯ เปิดตลาดใหม่ในธุรกิจเส้นใยพิเศษ และการเข้า ถึงแหล่งวิจัยและพัฒนาที่ดีเยี่ยม รวมถึงช่วยทางด้านทรัพย์สิน ทางปัญญา
65
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
สิงหาคม 2554
คณะกรรมการบริษัท มีมติอนุมัติการลงทุนในโรงงานรีไซเคิลใน ประเทศไทย(ขณะนี้ได้เสร็จสิน้ แล้ว) รวมถึงการลงทุนเทคโนโลยี ขั้นสูงส�ำหรับธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ในประเทศ ไทย และประเทศอินโดนีเซีย โครงการเหล่านีเ้ ป็นธุรกิจซึง่ มีมลู ค่า เพิ่มและอัตราก�ำไรสูง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของสินทรัพย์ ปัจจุบัน คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการเข้าซื้อหุ้นร้อยละ 100 ของ กิจการรีไซเคิลและผลิตเส้นใยของ Wellman International ในทวีปยุโรปจาก WIT Beteiligungs GmbH และ Wellman International Trading ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ Aurelius AG ธุรกิจนี้ ประกอบด้วยโรงงานจ�ำนวน สาม แห่ง ซึ่งประกอบด้วย โรงงานผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ตงั้ อยูท่ เี่ มือง Mullagh สาธารณรัฐ ไอร์แลนด์ ซึ่งมีก�ำลังการผลิตมากกว่า 80,000 ตัน โรงงาน รีไซเคิล ที่เมือง Spijk ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งมีก�ำลังการผลิต มากกว่า 45,000 ตัน และที่เมือง Verdun ประเทศฝรั่งเศส ซึ่ง มีก�ำลังการผลิตที่ 28,000 ตัน บริษัทฯ ได้เสร็จสิ้นการเข้าซื้อธุรกิจของ FiberVisions holding LLC. ซึ่งเป็นผู้ผลิตระดับโลกในอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยพิเศษ แบบ Mono และ Bi-component ที่เมือง Duluth, Georgia ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีก�ำลังการผลิตเส้นใยชนิดพิเศษ ทั่วโลกรวม 221,000 ตันต่อปี, ด้วยก�ำลังการผลิตที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา 117,000 ตันต่อปี, ในยุโรป 90,000 ตันต่อปีและ ในประเทศจีน 14,000 ตันต่อปี คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการเข้าซื้อหุ้นร้อยละ 100 ใน กิจการ Old World Industries I, Ltd และ Old World Transportation Ltd. (เรียกว่า” Old World “) ซึ่งเป็นผู้น�ำใน การผลิต Ethylene Oxide/Ethylene Glycol โดยมีโรงงานตั้ง อยูท่ ี่ Clear Lake มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา โรงงาน ผลิต EO/EG ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาด้วยก�ำลังการผลิต Crude EO 435,000 ตันต่อปี (เทียบเท่า 550,000 ตันต่อปี ของก�ำลังการผลิต MEG) Beacon Trading (UK) Limited ได้เข้าซื้อหุ้นร้อยละ 51 ใน กิจการบรรจุภัณฑ์ของ Beverage Plastics (Holdings) Limited ("BPL") ซึง่ ตัง้ อยู่ในไอร์แลนด์เหนือ สหราชอาณาจักร บริษทั ได้ซอื้ สินทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตเม็ดพลาสติก PET ในอัตรา ร้อยละ 100 ของ PT Polypet Karyapersada ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีก�ำลังการผลิต 100,800 ตัน ต่อปี เสร็จสิ้นการเข้าซื้อธุรกิจ Old World Industries Ltd. และ Old World Transportation Ltd. ในประเทศสหรัฐอเมริกา บริษทั Old Word อยู่ในธุรกิจที่ผลิตและจ�ำหน่ายเอทิลีนออกไซด์ (EO) และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องอันได้แก่ สารเอทิลีนออกไซด์บริสุทธิ์ (PEO), โมโนเอทิลนี ไกลคอล (MEG), ไดเอทิลนี ไกลคอล (DEG) และไตรเอทิลีนไกลคอล (TEG)
ประเทศไทย / ประเทศอินโดนีเซีย
โพลีเอสเตอร์
สาธารณรัฐไอร์แลนด์/ ประเทศฝรั่งเศส และ ประเทศเนเธอร์แลนด์
โพลีเอสเตอร์
ประเทศสหรัฐอเมริกา
โพลีเอสเตอร์
ประเทศสหรัฐอเมริกา
EO/EG
สหราชอาณาจักร
บรรจุภัณฑ์
ประเทศอินโดนีเซีย
PET
ประเทศสหรัฐอเมริกา
EO/EG
พฤศจิกายน 2554
มกราคม 2555
กุมภาพันธ์ 2555
มีนาคม 2555
เมษายน 2555
66
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
กรกฎาคม 2555
บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง โรงงานผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก Solid State Polymerization (SSP) ด้วยก�ำลังการผลิต 84,000 ตัน ที่ ประเทศไนจีเรียนั้น นับเป็นการลงทุนในธุรกิจ PET ครั้งแรกใน แอฟริกาและยังเป็นการวางรากฐานที่ส�ำคัญในตลาด PET ใน แอฟริ กาที่ ป ระมาณการขนาด 450,000 ตั น ต่ อ ปี และมี ผู้ผลิต PET เพียงรายเดียวในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการซื้อสินทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ PT Polypet Karyapersada เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดย บริษัทย่อย PT. Indorama Polypet Indonesia PT Polypet Karyapersada นีต้ งั้ อยูท่ เี่ มือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย โดย มีก�ำลังการผลิต 100,800 ตันต่อปี
ประเทศไนจีเรีย
PET
ประเทศอินโดนีเซีย
PET
ประเทศสหรัฐอเมริกา
PET
ประเทศโปแลนด์
PET
ประเทศไนจีเรีย
บรรจุภัณฑ์
ประเทศไทย
โพลีเอสเตอร์
ประเทศสหรัฐอเมริกา
โพลีเอสเตอร์
ประเทศฟิลิปปินส์
บรรจุภัณฑ์
ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเนเธอร์แลนด์
บริษัทลงทุน
สิงหาคม 2555
พฤศจิกายน 2555
กุมภาพันธ์ 2556
พฤษภาคม 2556
ตุลาคม 2556
ประกาศขยายก�ำลังการผลิต PET ในทวีปอเมริกาเหนือโดยได้ มีการจัดตั้งโรงงานแห่งใหม่ ซึ่งมีก�ำลังการผลิต จ�ำนวน 540,000 ตันต่อปี ตามที่ บ ริ ษั ท ได้ มี การประกาศขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต PET ที่ ประเทศโปแลนด์ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตัดสินใจที่จะให้มี การด�ำเนินการปรับปรุงกระบวนการผลิต(debottlenecking) ให้ส�ำเร็จลุล่วงเพื่อเพิ่มมูลค่าจากการผลิตมากขึ้นแทนการตั้ง สายการผลิตใหม่ ในขณะนี้การปรับปรุงกระบวนการผลิตได้ เสร็จสิ้นแล้ว เข้าซือ้ ธุรกิจบรรจุภณั ฑ์อตั ราร้อยละ 100 ในประเทศไนจีเรีย ทวีป แอฟริกา ซึ่งเป็นผู้ผลิต PET performs การเข้าซื้อกิจการใน ครั้งนี้ ท�ำให้บริษัทมีความก้าวหน้าในการรวมกลุ่มผลิตภัณฑ์ PET โดยมีการตั้งโรงงานผลิตขวด PET ในประเทศไนจีเรีย การเข้าซื้อหุ้นในกิจการดังกล่าวได้ด�ำเนินการเสร็จสิ้นแล้วและ โรงงานสามารถเริ่มด�ำเนินการได้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติอนุมตั กิ ารเข้าร่วมลงทุน ในสัดส่วนร้อยละ 50 ต่อร้อยละ 50 กับผูผ้ ลิตระดับโลกประเภท เส้นใยชนิดไม่ถักทอ (non-woven) ด้วยกําลังการผลิตเส้นใย ประเภท Bicomponent 14,500 ตั น ที่ บ ริ เ วณโรงงาน บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส์ จํากัด (มหาชน) (ไอพีไอ) จังหวัดระยอง ประเทศไทย และเริ่มดําเนินการใน ช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติการขยายกําลังการผลิตเส้นใย ประเภท Bicomponent เพิ่มเติมจํานวน 10,800 ตัน ที่บริษัท FiberVisions Manufacturing Company ตั้งอยู่ที่ Covington รัฐ Georgia ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือหุ้นทั้งหมดโดย FiberVisions จัดตั้งบริษัท Indorama Ventures Packaging (Philippines) เป็นการเริ่มดําเนินธุรกิจด้านบรรจุภัณฑ์ในประเทศฟิลิปปินส์ จัดตั้งบริษัทย่อย Indorama Ventures USA Holdings LP Indorama Ventures AlphaPet Holdings, Inc Indorama Ventures Europe B.V. บริษัทลงทุนทั้ง 3 บริษัทที่จัดตั้งขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของแผนการ ปรับโครงสร้างบริษัท
67
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
พฤศจิกายน 2556
แจ้งการหยุดผลิตโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก (PET) Indorama Polymers Workington Ltd., ในสหราชอาณาจักรซึ่งการ หยุดผลิตนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของแผนการปรับปรุงธุรกิจและการปรับ โครงสร้างทางกลยทธุ์ในทวีปยุโรป จัดตั้งบริษัทย่อย Indorama Ventures Global Services ลงนามสัญญาร่วมทุนกับ Abu Dhabi National Chemicals Company (“ChemaWEyaat”) เพื่อจัดตั้งโรงงาน Tacaamol Aromatics ซึ่งตั้งอยู่ ในเขต Madeenat ChemaWEyaat AlGharbia’s (MCAG) ทางตะวั น ตกของเมื อ งอาบู ด าบี โรงงานร่วมทุนแห่งนีค้ าดว่าจะมีการกําลังการผลิตพาราไซลีน ประมาณ 1.4 ล้านตันต่อปี และเบนซินประมาณ 0.5 ล้านตัน ต่อปี เข้าซื้อกิจการ PHP Fibers GmbH และบริษัทย่อย(“PHP”) ร้อยละ 80 ส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ถือโดย Toyobo Co., Ltd ซึง่ เป็นบริษทั ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษของประเทศญีป่ นุ่ เช่น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและยานยนต์ โดยการเข้าซื้อเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 จัดตั้งบริษัทย่อยทางอ้อมแห่งใหม่ ในประเทศกานา จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุนแห่งใหม่ในประเทศไทย โดยร้อยละ 50 ลงทุน โดยบริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษัทฯ และอีกร้อยละ 50 ลงทุนโดย JNC Fibers Corporation ประเทศญี่ปุ่น เข้าซื้อร้อยละ 100 ของกิจการ Artenius TurkPET A.S. (“Artenius”) เมืองอาดานา ประเทศตุรกี โดย Artenius เป็น ผู้ผลิต PET ซึ่งมีก�ำลังการผลิต 130,000 ตันต่อปี โดยการเข้าซื้อเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2557 การปรับโครงสร้างของบริษัทย่อยในประเทศเนเธอร์แลนด์และ ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นการปรับปรุงการด�ำเนินงานและ การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนปรับปรุงขั้นตอนการ จัดการทางธุรกิจและการใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดตั้งบริษัทร่วมทุนแห่งใหม่ 2 แห่ง: Indorama Ventures EcoMex, S. de R. L de C.V. Indorama Ventures EcoMex Services, S. de R. L de C.V. บริษัทฯ ประกาศการเซ็นสัญญาเข้าซื้อกิจการร้อยละ 100 ของ Performance Fibers Asia(“PF Asia”) ซึ่งเป็นผู้ผลิตชั้นน�ำ ในผลิตภัณฑ์เส้นใยโพลีเอสเตอร์คุณภาพสูงส�ำหรับยางรถยนต์ ในทวีปเอเชีย โดยโรงงานตั้งอยู่ที่เมืองไคปิง มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน ซึ่งมีก�ำลังการผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ส�ำหรับยาง รถยนต์ 41,000 เมตริกตันต่อปี และเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์สำ� หรับ ยางรถยนต์ 48,000 เมตริกตันต่อปี โดยการเข้าซื้อกิจการ ดังกล่าวได้ดําเนินการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยโรงงานที่ประเทศ จีน มีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2558 การจัดตัง้ บริษทั ย่อยแห่งใหม่ทางอ้อมในประเทศพม่า Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited โดยมีสัดส่วน การลงทุนร้อยละ 100 ลงทุนโดย IVL Singapore Pte. Ltd. ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยที่ IVL ถือหุ้นทั้งหมด
สหราชอาณาจักร
PET
ประเทศไทย เมืองอาบูดาบี
องค์กร PX
ประเทศเยอรมันนี ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศจีน
ผลิตถุงลมนิรภัยและ ยางในรถยนต์
ประเทศกานา ประเทศไทย
บรรจุภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์
ประเทศตุรกี
PET
ประเทศเนเธอร์แลนด์และ ประเทศสหรัฐอเมริกา
องค์กร
ประเทศเม็กซิโก ประเทศจีน
PET โพลีเอสเตอร์
ประเทศพม่า
บรรจุภัณฑ์
ธันวาคม 2556
กุมภาพันธ์ 2557
มีนาคม 2557
มิถุนายน 2557
ตุลาคม 2557
พฤศจิกายน2557 ธันวาคม 2557
มกราคม 2558
68
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี
มีนาคม 2558
พฤษภาคม 2558
มิถุนายน 2558
กันยายน 2558
เหตุการณ์
ที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
เสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ ร้อยละ 100 ในกิจการ Polyplex Resins San. Ve Tic. A.S. ในประเทศตุรกี Polyplex ตุรกี เป็นเจ้าของโรงงาน PET ทีส่ ร้างขึน้ ใหม่โดยวางแผนกาํ ลังการ ผลิตที่ 252,000 ตันต่อปี ซึ่งตั้งอยู่ที่ Corlu ใกล้กับอิสตันบูล ประเทศตุรกี บริษัทฯเข้าซื้อกิจการ PTA ในอัตราร้อยละ100 ของ CEPSA Chimie Montréal s.e.c ที่เมือง Montreal ประเทศแคนาดา CEPSA แคนาดาเป็นโรงงานที่ผลิต PTA ที่ ใหญ่ที่สุดใน ประเทศแคนาดา ด้วยกําลังการผลิต 600,000 ตันต่อปีและ เป็นหนึง่ ในจาํ นวนสามโรงงานทีผ่ ลิต PTA ในแถบอเมริกาเหนือ บริษัทฯเสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ PET ในอัตราร้อยละ 94.91 ที่ ประเทศไทย โดย BPC เป็นผู้ผลิต PET โพลีเมอร์ส ในจังหวัด ระยอง ประเทศไทย ด้วยกําลังการผลิต 105,000 ตันต่อปี นอกจากนี้ บริษทั ได้เข้าซือ้ หุน้ จากผูถ้ อื หุน้ รายย่อย ทาํ ให้บริษทั ฯ ถือหุ้นในบริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์จํากัด (มหาชน) รวมเป็น อัตราร้อยละ 98.97 เสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการของ CEPSA Chimie Montréal s.e.c ที่เมือง Montreal ประเทศแคนาดา และได้เข้าดําเนินการใน โรงงานที่ประเทศแคนาดาตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2558 รวมทั้ง ได้ดาํ เนินการเปลีย่ นชือ่ บริษทั เป็น Indorama Ventures Gestion Inc, Indorama Ventures Northern Investments และ Indorama Ventures PTA Montreal ตามลําดับ
ประเทศตุรกี
PET
ประเทศแคนาดา
PTA
ประเทศไทย
PET
ประเทศแคนาดา
PTA
การจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่ 3 แห่ง: Indorama Ventures Dutch Investments B.V. Indorama Ventures Investments USA LLC Indorama Ventures Olefins LLC บริ ษั ท ฯเข้ า ซื้ อ กิ จ การในอั ต ราร้ อ ยละ 100 ของ CEPSA ในประเทศสเปน CEPSA สเปนเป็นผู้ผลิต IPA(Isophthalic acid) รายใหญ่ทสี่ ดุ ในสหภาพยุโรปและเป็นผูผ้ ลิตรายใหญ่เป็น ลํ า ดั บ ที่ ส องของโลก ด้ ว ยกํ า ลั ง การผลิ ต IPA 220,000 ตันต่อปี กําลังการผลิต PET 175,000 ตันต่อปีและมีกําลัง การผลิต PTA 325,000 ตันต่อปี และคาดว่าจะดําเนินการ เสร็จภายในไตรมาสแรกของปี 2559 การจัดตัง ้ บริษทั ย่อยทางอ้อมแห่งใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา Indorama Ventures Olefins Holding LLC เสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ Polyethylene Terephthalate (PET) ในอัตราร้อยละ 100 ของ MICRO POLYPET Private Limited (MicroPet) และบริษัทย่อยจํานวนสองแห่ง ได้แก่ Sanchit Polymers Private Ltd และ Eternity Infrabuild Private Ltd ใน ประเทศอินเดียเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2558 MicroPet มีกําลัง การผลิตเม็ดพลาสติก (PET) จํานวน 216,000 ตันต่อปี ซึ่งตั้ง อยูท่ ี่ Panipat ในรัฐ Haryana ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย และมีโรงกลั่น Refinery ที่ผลิตวัตถุดิบ PTA และ MEG
พฤศจิกายน 2558
ธันวาคม 2558
ประเทศเนเธอร์แลนด์และ บริษัทลงทุน สหรัฐอเมริกา Ethylene Cracker ประเทศสเปน
IPA, PET และ PTA
ประเทศสหรัฐอเมริกา
บริษัทลงทุน
ประเทศอินเดีย
PET
69
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในเดือนสิงหาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ์ท่ีจะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ นอกจากนี้ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2557 ได้พิจารณาและอนุมัติการออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ์ให้แก่ผู้ถือหุ้น เดิมของบริษัทฯ เงื่อนไขของใบส�ำคัญแสดงสิทธิและอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนและจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ โดยมีสาระส�ำคัญดังนี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ
IVL W1
IVL W2
อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สิทธิ ราคาการใช้สิทธิ วันออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ วันครบก�ำหนดใบส�ำคัญแสดงสิทธิ
3 ปี 1 หน่วยต่อ1หุ้นสามัญ 36 บาทต่อหุ้น 25 สิงหาคม 2557 24 สิงหาคม 2560, 3 ปีนับจากวันออกใบส�ำคัญฯ 0 บาท (ไม่คิดมูลค่า) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตรา 10 หุ้นต่อ 1 หน่วย ใบส�ำคัญฯ วันท�ำการสุดท้ายของทุก 3 เดือน เริ่มต้นจาก วันที่ 31 ตุลาคม 2557 โดยวันก�ำหนดการใช้สทิ ธิ ครั้งสุดท้ายคือ วันที่ใบส�ำคัญฯ มีอายุครบ 3 ปี นับจากวันที่ออก
4 ปี 1 หน่วยต่อ1หุ้นสามัญ 43 บาทต่อหุ้น 25 สิงหาคม 2557 24 สิงหาคม 2561, 4 ปีนับจากวันออกใบส�ำคัญฯ 0 บาท (ไม่คิดมูลค่า) ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตรา 13 หุ้นต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญฯ วันท�ำการสุดท้ายของทุก 3 เดือน เริ่มต้นจาก วันที่ 31 ตุลาคม 2560 โดยวันก�ำหนดการใช้สิทธิ ครั้งสุดท้ายคือ วันที่ใบส�ำคัญฯ มีอายุครบ 4 ปี นับจากวันที่ออก
ราคาเสนอขายต่อหน่วย วิธีการจัดสรร ระยะเวลาการใช้สิทธิ
ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2557 บริษัทฯเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จากจ�ำนวน 4,815,856,719 บาท เป็นจ�ำนวน 5,666,010,449 บาท โดยมีมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียน จ�ำนวน 850,153,730 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดง สิทธิ IVL-W1 และ IVL-W2 ดังนั้น หากผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ดังกล่าวใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิทั้งหมด IVL จะได้รับเงินเพิ่ม ทุนจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ IVL-W1 ประมาณ 17.3 พันล้านบาท ภายในเดือนกันยายน 2560 และจะได้รับเงินเพิ่มทุน จากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ IVL-W2 ประมาณ 15.9 พันล้านบาท ภายในเดือนกันยายน 2561 ในเดือนตุลาคม 2557 บริษทั ฯประสบความส�ำเร็จในการออกและเสนอ ขาย “หุน้ กูด้ อ้ ยสิทธิทมี่ ลี กั ษณะคล้ายทุนไถ่ถอนเมือ่ เลิกบริษทั ซึง่ ผูอ้ อก หุน้ กูม้ สี ทิ ธิไถ่ถอนหุน้ กูก้ อ่ นก�ำหนดและมีสทิ ธิเลือ่ นช�ำระดอกเบีย้ โดย ไม่มีเงื่อนไขใดๆ ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2557” (“หุ้นกู้”) จ�ำนวน 15,000 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 7 ต่อปี ใน 5 ปีแรก และส�ำหรับการก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยใน ทุกๆ 5 ปีถดั ไปจะมีการเปลีย่ นแปลงตามทีก่ ำ� หนดไว้ในข้อก�ำหนดสิทธิ การออกและเสนอขายหุน้ กูท้ มี่ ลี กั ษณะคล้ายทุนไถ่ถอนเมือ่ เลิกบริษทั ฯ ในครั้งนี้ช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับโครงสร้างเงินทุนของบริษัท อีกทัง้ ช่วยสร้างสภาพคล่องให้แก่บริษทั โดยทีบ่ ริษทั ทริสเรทติง้ จ�ำกัด คงอันดับเครดิตของบริษัทฯ ที่ระดับ “A+” ในเดือนตุลาคม 2558 และ จัดอันดับเครดิตหุน้ กูด้ อ้ ยสิทธิลกั ษณะคล้ายทุนของบริษทั ทีร่ ะดับ “A-”
70
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในเดือนตุลาคม 2558 บริษทั ฯประสบความสาํ เร็จในการออกและเสนอ ขายหุ้นกู้ในต่างประเทศเป็นครั้งแรก โดยเป็นการเสนอขายหุ้นกู้ ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน จํานวน 195 ล้านเหรียญสิงคโปร์ โดยเสนอขายให้กบั นักลงทุนสถาบันในประเทศสิงคโปร์ หุน้ กูไ้ ด้รบั การ จัดอันดับความน่าเชื่อถือจาก Standard and Poor’s ที่ระดับ AA (Stable) โดยมีอายุ 10 ปี ในอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 3.73 ต่อปีและ ได้รับการค�้ำประกันโดย Credit Guarantee & Investment Facility (CGIF) ซึ่งเป็นกองทุน (Trust Fund) ของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่ง เอเซีย (Asian Development Bank) และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ (SGX-ST)
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการ ถื อ หุ ้ น ในบริ ษั ท ต่ า งๆ (Holding Company) ทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ ในผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีแบบครบวงจร โดยมีสำ� นักงานใหญ่ อยู่ที่กรุงเทพมหานคร บริษัทฯ ผลิตและจ�ำหน่าย PET (Polyethylene Terephthalate) เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ PTA (Purified Terephthalic Acid) MEG (Mono Ethynol Glycols), เส้นใยจาก ขนสัตว์, เส้นใยและเส้นด้ายโพรพิลีน (Polypropylene fibers and yarns), เส้นใยและเส้นด้ายไนลอน (Nylon fibers and yarns) และอืน่ ๆ
ธุรกิจของบริษัทฯ สามารถจ�ำแนกได้เป็นกลุ่มธุรกิจดังนี้ PET
บริษัท
บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส บจ. เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) StarPet Inc. UAB Orion Global Pet Indorama Polymers Workington Ltd. Indorama Polymers Rotterdam B.V. AlphaPet Inc. Indorama PET (Nigeria) Ltd. Guangdong IVL PET Polymer Company Limited Auriga Polymers Inc. บจ. เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) Indorama Ventures Poland Sp. z o.o. Indorama Ventures Polymers Mexico, S.de.R.L.de C.V. PT Indorama Polypet Indonesia Beverage Plastics Limited Aurus Packaging Limited (เปลี่ยนชื่อเป็น “Indorama Ventures Packaging (Nigeria) Limited”) Indorama Ventures Packaging (Philippines) Indorama Ventures Packaging (Ghana) Limited Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi Indorama Ventures EcoMex, S. de R. L de C.V. Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited Indorama Ventures Corlu PET Sanayi A.Ş. Bangkok Polyester Public Company Limited (“BPC”) MICRO POLYPET Private Limited (MicroPet)
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
ประเทศ
ประเภทธุรกิจ
ไทย
ผลิต solid-state polymerised chips หรือ ที่รู้จักกัน ในชื่อของเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวด พลาสติก และ PET ผลิต amorphous chips ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
99.99 100.00 100.00 100.00
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวด
100.00 100.00 90.00 100.00 100.00
โปแลนด์
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติก, ฝาปิด และขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
100.00
เม็กซิโก
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
100.00
อินโดนีเซีย สหราช อาณาจักร ไนจีเรีย
ผลิต PET ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกและ ฝาปิด ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติก, ฝาปิด และขวดพลาสติก
100.00 51.00
ฟิลิปปินส์
99.99
กานา
ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกฝาปิด และขวดพลาสติก ผลิตบรรจุภัณฑ์
100.00
ตุรกี
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
100.00
ผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิล
51.00
พม่า
ผลิตบรรจุภัณฑ์
100.00
ตุรกี
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
100.00
ไทย
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
98.97
อินเดีย
ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินส�ำหรับผลิตเป็นขวดพลาสติก
100.00
ไทย สหรัฐอเมริกา ลิธัวเนีย สหราช อาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา ไนจีเรีย จีน สหรัฐอเมริกา ไทย
เม็กซิโก
99.26
60.00
100.00
71
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ บริษัท
ประเทศ
บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ PT Indorama Ventures Indonesia PT Indorama Polyester Industries Indonesia PT Indorama Polychem Indonesia Wellman International Limited Wellman France Recyclage SAS FiberVisions Manufacturing Comapany FiberVisions Products, Inc. FiberVisions A/S FiberVisions (China) Textile Products Limited Trevira GmbH. บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ PHP Fibers GmbH บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด Performance Fibers Asia
ไทย อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ผลิตเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผลิตเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์และ PET ผลิตเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์
99.97 99.99 99.97
อินโดนีเซีย ไอร์แลนด์ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา
ผลิตเม็ดเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และผลิตภัณฑ์รีไซเคิลอื่นๆ ผลิต flakes และผลิตภัณฑ์รีไซเคิลอื่นๆ ผลิตเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ที่ท�ำจากพอลิโพรพิลีน
100.00 100.00 100.00 100.00
สหรัฐอเมริกา เดนมาร์ก จีน
ผลิตเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ที่ท�ำจากพอลิโพรพิลีน ผลิตเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ที่ท�ำจากพอลิโพรพิลีน ผลิตเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ที่ท�ำจากพอลิโพรพิลีน
100.00 100.00 100.00
ผลิตเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ผลิตด้ายขนสัตว์ ผลิตถุงลมนิรภัยและยางในรถยนต์ ผลิตเส้นใยสังเคราะห์
75.00 99.81 80.00 50.00
ผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์คุณภาพสูงส�ำหรับยาง รถยนต์
100.00
เยอรมันนี ไทย เยอรมันนี ไทย จีน
ประเภทธุรกิจ
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
Feedstock ประเทศ
บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ Indorama Holdings Rotterdam B.V. Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC
ไทย ไทย เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา
ผลิต PTA ผลิต PTA ผลิต PTA ผลิต ethylene oxide และ ethylene glycols
99.99 99.97 100.00 100.00
CEPSA Chimie Montréal s.e.c Indorama Ventures Olefins LLC
แคนาดา สหรัฐอเมริกา
ผลิต PTA ผลิต Ethylene Cracker
100.00 76.00
72
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
บริษัท
ลักษณะการประกอบ ธุรกิจของบริษัทฯ โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้จากการขายของบริษัทฯ ตามงบการเงินรวมรอบปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ถึง 2558 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2556 รายละเอียด
รายได้จากการขายของบริษัทฯ แบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์ - PET - เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ - Feedstock - หัก รายการระหว่างกัน รายได้จากการขายรวม
ล้านบาท
ร้อยละ
146,418 47,968 70,391 (35,657) 229,120
64 21 31 (16) 100
รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท ร้อยละ
145,121 70,274 64,477 (35,965) 243,907
59 29 26 (14) 100
2558 ล้านบาท
ร้อยละ
131,834 73,219 59,960 (30,315) 234,698
56 31 26 (13) 100
ที่มา : งบการเงินรวมของบริษัทฯ
รายได้จากการขายของบริษัทฯ กระจายตัวอยู่ ในภูมิภาคส�ำคัญต่างๆ ซึ่งเป็นทั้งฐานการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ โดยส่วนใหญ่ฐาน การผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อส่งออกของบริษัทฯ อยู่ในภูมิภาคเอเชีย ทั้งนี้ รายได้ของบริษัทฯ แบ่งตามภูมิภาคตามงบการเงินรวมรอบปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ถึง 2558 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 2556 รายละเอียด
รายได้จากการขายของบริษัทฯ แบ่งตามประเภทภูมิภาค* ไทย อเมริกาเหนือ ยุโรป อื่นๆ รายได้จากการขายรวม *รายได้ตามภูมิภาคแบ่งตามสถานที่ตั้งของลูกค้า ที่มา : งบการเงินรวมของบริษัทฯ
ล้านบาท
ร้อยละ
16,933 87,515 58,840 65,833 229,120
7 38 26 29 100
รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท ร้อยละ
15,053 84,361 70,657 73,836 243,907
6 35 29 30 100
2558 ล้านบาท
ร้อยละ
14,783 83,023 70,624 66,268 234,698
6 36 30 28 100
73
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ภาพรวมธุรกิจของบริษัทฯ บทน�ำ อินโดรามา เวนเจอร์ส (ชือ่ ย่อหลักทรัพย์: IVL) เป็นหนึ่งในผู้ผลิตในธุรกิจปิโตรเคมีขั้นกลาง ผลิตภัณฑ์ขั้นปลายน�้ำรายใหญ่แห่งหนึ่งของ โลก บริษัทฯ มีโรงงาน 59 แห่งตั้งอยู่ใน 20 ประเทศครอบคลุม 4 ภูมิภาคทั่วโลก (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) ซึ่งให้บริการและ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างและมี มูลค่าเพิ่มให้แก่ลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรม สินค้าอุปโภคบริโภคที่มีการเคลื่อนไหวอย่าง รวดเร็ว ผู้บริหารของบริษัทฯทุกท่านล้วนมี ประวัตผิ ลงานทีน่ า่ เชือ่ ถือและมีประสบการณ์ ในธุรกิจห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์และกลุม่ ผลิตภัณฑ์ ที่มีมูลค่าเพิ่ม กลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม ของบริ ษั ท ฯ ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายซึ่งกลุ่ม ผลิต ภั ณ ฑ์นี้เป็น ผลิต ภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพสูง และโดยทัว่ ไปมีสดั ส่วนก�ำไรสูงกว่ากลุม่ เส้นใย ที่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจเชื่อมโยงอย่าง ครบวงจรเพื่ อ การสร้ า งมู ล ค่ า อย่ า งยั่ ง ยื น การมุ่งเน้นที่ลูกค้าเป็นส�ำคัญ การด�ำเนิน ธุรกิจครอบคลุมทั่วโลก รวมทั้งขนาดของ ธุรกิจ ท�ำให้บริษทั ฯ ยืนอยู่ในระดับสากล และ เพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นเลิศ นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (High Value Added) รวมถึงผลิตภัณฑ์รีไซเคิล เป็นปัจจัยใหม่ที่ช่วยให้บริษัทฯ สามารถน�ำ เสนอผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามหลากหลายแก่ลกู ค้า มากยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยสร้างการเติบโตของ ผลก�ำไรและรังสรรค์ความยั่งยืนของบริษัทฯ การลงทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ๆ แก่ลูกค้า ท�ำให้เกิดความ หลากหลาย และสามารถตอบสนองความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า ทั่ ว โลกอย่ า งครบวงจร ระหว่างปี 2554 ถึงปี 2558 บริษัทฯ เข้าซื้อ กิจการซึ่งเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ (HVA) โดยเข้าซื้อกิจการที่ส�ำคัญดังนี้ Trevira ซึ่งเป็นผู้ผลิตเส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์ส�ำหรับเครื่องนุ่งห่ม อุปกรณ์ ตกแต่ ง บ้ า น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย านยนต์ และ
74
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
PET ถูกน�ำไปใช้ในการผลิตหลอดบรรจุเลือดที่ใช้ทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ทั้งนี้การด�ำเนินงาน หลักอยู่ในประเทศเยอรมัน FiberVisions ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตเส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์ชนิดพิเศษจาก พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) เพื่ อ ใช้ ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุขอนามัย ทั้งนี้การด�ำเนินงานหลักอยู่ ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา PHP Fibers ซึ่งเป็นผู้ผลิต Nylon 6.6 และ เส้นใยและเส้นด้ายพอลิเอไมด์ (Polyamide) ที่ใช้โดยทัว่ ไปในอุตสาหกรรมยานยนต์สำ� หรับ การผลิตถุงลมนิรภัยและยางในรถยนต์ ทั้งนี้ การด�ำเนินงานหลักอยู่ในประเทศเยอรมัน Performance Fibers ซึ่งเป็นผู้ผลิตเส้นใย โพลีเอสเตอร์คุณภาพสูงส�ำหรับยานยนต์ ใน จีน ในเอเชีย ซึ่งถือเป็นตลาดส�ำหรับยาง รถยนต์ทมี่ กี ารเติบโตอย่างรวดเร็วและมีขนาด ใหญ่ที่สุดในโลก
รายละเอียดธุรกิจ ค�ำว่า “โพลีเอสเตอร์” มาจากค�ำว่า “โพลี” ซึง่ หมายถึงจ�ำนวนมาก และ ค�ำว่า “เอสเตอร์” ซึง่ หมายถึงสารประกอบเคมีอนิ ทรียข์ นั้ พืน้ ฐาน ส่วนประกอบส�ำคัญในการผลิตโพลีเอสเตอร์ ได้แก่ กรดเทเรฟทาลิกบริสุทธิ์ (Purified Terephthalate acid) ซึง่ ได้มาจากพาราไซลีน (Paraxylene) ซึ่ ง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ ่ ม อะโรเมติกส์ที่ได้จากการกลั่นของน�้ำมันดิบ และโมโนเอทิ ลี น ไกลคอล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น สายโอเลฟินส์ทเี่ กิดจากการกลัน่ ของน�ำ้ มันดิบ และก๊าซธรรมชาติ เราเรียกกระบวนการทาง เคมีในการผลิตโพลีเอสเตอร์วา่ พอลิเมอร์ไร
เซชั่น (Polymerization) ทั้งนี้อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) หรือไอวีแอล เป็น หนึง่ ในผูผ้ ลิตโพลีเอสเตอร์ทมี่ กี ารควบรวมชัน้ น�ำระดับโลก บริษัทฯ เป็นผู้เชื่อมโยงอุตสาหกรรมน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติเข้ากับอุตสาหกรรมสินค้า อุปโภคบริโภคทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวอย่างรวดเร็ว ท�ำให้มคี วามผันผวนน้อยกว่าผูผ้ ลิตในอุตสาห กรรมต้นน�้ำเนื่องจากมีความต้องการอย่าง ต่อเนื่องจากลูกค้าในอุตสาหกรรมปลายน�้ำ ซึ่งส่วนมากเป็นบริษัทในอุตสาหกรรมสินค้า อุปโภคบริโภคทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวอย่างรวดเร็ว วิธปี ฏิบตั ทิ เี่ ป็นมาตรฐานในอุตสาหกรรม คือ การท�ำสัญญาระยะยาวกับลูกค้า ซึง่ โดยทัว่ ไป มักจะเป็นการท�ำสัญญา 1-3 ปี อย่างไรก็ตาม ราคาจะมีการปรับในทุกๆ เดือน เพือ่ ชดเชย ความผันผวนของอุตสาหกรรมต้นน�้ำตาม กลไกการตลาดที่ได้ตกลงไว้ กลไกนี้ท�ำให้ บริษทั ฯ สามารถส่งผ่านความผันผวนของราคา (ซึง่ ไม่ได้ผกู พันตามสัญญา) ไปยังลูกค้าได้ กลไกนีแ้ สดงให้เห็นเป็นนัยว่า ราคาน�ำ้ มันดิบ และอนุพันธ์ที่เป็นวัตถุดิบในการผลิต PET และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ มีผลกระทบเพียง เล็กน้อยต่อธุรกิจ ยกเว้นในกรณีทมี่ กี ารขึน้ ลง ของราคาวัตถุดิบอย่างมากภายในช่วงระยะ เวลาสั้น ส่งผลให้มีการปรับต้นทุนของสินค้า คงเหลือให้สะท้อนตามราคาตลาด โดยทั่วไป เรียกว่าก�ำไรหรือขาดทุนจากสินค้าคงเหลือ ราคาวัตถุดิบมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยต่อ ราคาขวดบรรจุ ภั ณฑ์ ข องเครื่ อ งดื่ ม อั ดลม เนื่องจากต้นทุนที่แท้จริงของ PET ส�ำหรับ
ขวดขนาดสองลิตรคิดเป็นประมาณร้อยละ 4 ของต้นทุนทั้งหมด นอกจากนี้ต้นทุนของ เส้นใยโพลีเอสเตอร์คิดเป็นเพียงร้อยละ 5 ของต้ น ทุ น เสื้ อ กี ฬ า ดั ง นั้ น จะเห็ น ได้ ว ่ า ความผันผวนของราคาวัตถุดิบส่งผลกระทบ เพียงเล็กน้อยต่อผู้บริโภคอุปโภคและธุรกิจ ผู้ประกอบการ โดยบริษัทฯ ยังคงสามารถ รักษาส่วนต่างก�ำไรระหว่างราคาวัตถุดิบและ ราคาขายผลิตภัณฑ์ได้ อย่างไรก็ตามส่วนต่าง ก�ำไรอาจมีความผันผวนเมื่อเกิดอุปทานส่วน เกินระยะสั้นในอุตสาหกรรม
ภาพรวมธุรกิจ PET ธุรกิจ PET ของบริษัทฯ เป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกิจหลักในห่วงโซ่มูลค่าโพลีเอสเตอร์ของ บริษัทฯและมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 49 ของ ปริมาณการผลิตรวมในปี 2558 โดยบริษัทฯ เริ่มประกอบธุรกิจโดยมีโรงงานผลิตหนึ่งแห่ง และได้ขยายตัวขึ้นใน 4 ทวีปหลัก ซึ่งเป็น ภูมิภาคที่มีสัดส่วนการบริโภคสูง ได้แก่ ทวีป
อเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา และ ทวีปเอเชีย ธุรกิจ PET ของบริษัทฯ ประกอบ ด้วยการผลิตและจ�ำหน่ายเม็ดพลาสติก PET ซึ่งเป็นเม็ดพลาสติกโพลีเมอร์ ที่ โดยหลัก ใช้ เ ป็ นวั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ ข อง เครื่องดื่มและบรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับเวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่ ใช้ในครัว เรือน และบรรจุภัณฑ์ที่ ใช้ในกระบวนการ อุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังผลิต บรรจุภัณฑ์ PET ในรูปแบบของพลาสติกขึ้น รูปขวด (Preforms) ขวด และฝาขวดเกลียว (Closures) ผ่านโรงงานที่หลากหลาย คือ โรงงานผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ PET ของ เพ็ทฟอร์ม ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนของบริษัทฯ กับบมจ. เสริมสุข ในประเทศไทย โรงงาน Beverage Plastics ในประเทศไอร์แลนด์, Aurus Packaging ในประเทศไนจีเรีย และ Indorama Ventures Packaging (ประเทศฟิลิปปินส์) ในประเทศ ฟิลิปปินส์ เป็นต้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทเป็นผู้ผลิต เม็ดพลาสติก PET ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมี ก�ำลังการผลิตรวม 4.4 ล้านตันต่อปี
ผลิตภัณฑ์ PET บริษัทฯ ผลิตเม็ดพลาสติก PET หลายชนิด รวมถึงชนิดที่ใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับผลิต ภัณฑ์ที่มีอุณหภูมิสูง ชนิดที่มีความหนืดต�่ำ และสูง ชนิดที่ร้อนเร็ว และชนิดทั่วไป เพื่อ รองรับความต้องการของตลาดที่หลากหลาย ซึง่ รวมถึงเครือ่ งดืม่ น�ำ้ อัดลม น�ำ้ ดืม่ บรรจุขวด น�้ำผลไม้ เครื่องดื่มอื่นๆ อาหารและของใช้ อื่นๆ
กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก PET เม็ดพลาสติก PET ผลิตจากพลาสติกโพลี เอสเตอร์เหลว กระบวนการผลิตพลาสติก โพลีเอสเตอร์เหลวโดยสรุป เป็นไปตามแผนภาพ ข้างล่างนี้ Catalyst
Catalyst
PTA
MEG
Esterification
PrePolymer
Catalyst densation
Polyester Polymer Melt
Temperature and Vacuum PET Resin
พลาสติกโพลีเอสเตอร์เหลวจะถูกแปรสภาพเป็นเม็ดพลาสติก PET ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ไม่ว่าจะ โดยผ่านกระบวนการท�ำให้อยู่ในสถานะของแข็ง หรือผ่านกระบวนการ Melt-to-Resin ซึ่งเป็น เทคโนโลยีที่ใหม่กว่า ทั้งนี้ ภายใต้กระบวนการระเหยของของเหลวให้อยู่ในสถานะของแข็งนัน้ (Conventional solid state polycondensation process) พลาสติกโพลีเอสเตอร์เหลวจะถูกอัดรีด เป็นเส้นและถูกท�ำให้เย็นลงอย่างรวดเร็วด้วยน�ำ้ หลังจากการเปลีย่ นสถานะเป็นของแข็งแล้ว เส้น พลาสติกจะถูกตัดออกเป็นเม็ดขนาดเล็ก ท�ำให้แห้ง และท�ำให้ตกผลึกโดยการใช้ความร้อนด้วย เครื่องปฏิกรณ์ภายใต้อุณหภูมิเฉพาะและความดันเฉพาะภายใต้การไหลของแก๊สไนโตรเจน
Polyester Fibre
ส�ำหรับกระบวนการ Melt-to-Resin นัน้ จะใช้ เทคโนโลยี เ ครื่ อ งปฏิ กรณ์ ที่ ใ หม่ กว่ า โดย กระบวนการระเหยของของเหลวจะเสร็ จ สมบูรณ์ในระหว่างขัน้ ตอนการหลอมเหลว อัน เป็นผลให้เกิดการก่อตัวของเม็ดพลาสติกโดย ไม่ต้องผ่านกระบวนการเปลี่ยนสถานะเป็น ของแข็ง บริษัทฯ มีโรงงานที่ใช้เทคโนโลยี ดังกล่าวด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
75
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลที่ส�ำคัญของโรงงานผลิต PET ตารางดังต่อไปนี้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับโรงงานผลิต PET ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โรงงานผลิต
โรงงานผลิต PET ของ AlphaPet โรงงานผลิต PET ของ StarPet โรงงานผลิต PET ของ Orion Global โรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam โรงงานผลิต PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส / บจ. เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) (2) สายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ โรงงานผลิต PET ของ GIVL โรงงานผลิต PET ของ Arteva สายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ Auriga โรงงานผลิต PET ของ IVL Wloclawek สายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ Tangerang โรงงานผลิต SSP ของ Port Harcourt สายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ Polypet Adana, Turkpet โรงงานผลิต PET ของ Polyplex โรงงานผลิต PET ของ อินโดรามา เวนเจอร์ พอลิเมอร์ (ระยอง) Micropet ก�ำลังการผลิตบรรจุภัณฑ์ รวม
สถานที่ตั้ง
เมือง Decatur รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา เมือง Asheboro รัฐ North Carolina สหรัฐอเมริกา เมือง Klaipeda ประเทศลิธัวเนีย เมือง Rotterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์ จังหวัดลพบุรี ประเทศไทย มาบตาพุด ประเทศไทย
ก�ำลังการผลิตติดตั้ง (พันตันต่อปี)(1)
445 266 274 426 181 108
เมือง Kaiping ประเทศจีน เมือง Queretaro ประเทศเม็กซิโก เมือง Spatanburg รัฐ South Carolina สหรัฐอเมริกา เมือง Wloclawek ประเทศโปแลนด์ เมือง Tangerang ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไนจีเรีย เมือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย เมือง Adana, ประเทศตุรกี เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี จังหวัดระยอง ประเทศไทย ประเทศอินเดีย เมืองต่างๆ
548 484 323 230 91 80 102 132 252 105 216 110 4,372
ก�ำลังการผลิตของโรงงานได้มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อแสดงถึงการปรับปรุงกระบวนการผลิต (de-bottlenecking) จากโรงงานต่างๆ แต่ไม่รวมถึงโรงงานผลิต PET 2 แห่ง ซึ่งหยุดด�ำเนินงาน ได้แก่ Ottana Polimeri S.R.L. และ IRP Workington (2) ประกอบด้วยโรงงานผลิต PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส และโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ขั้นกลาง (Amorphous) ของ บจ. เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) โดยแต่ละแห่งมีก�ำลังการผลิต 178 พันตันต่อปี และรวมเป็นสายผลิตผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก PET สายเดียวกัน ซึ่งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ขั้นกลาง ของบจ. เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) ผลิตเม็ดพลาสติก PET ขั้นกลาง โดยผลผลิตทั้งหมดได้น�ำไปใช้ในโรงงานผลิต PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส เพื่อผลิตเม็ดพลาสติก PET
(1)
การขายและการตลาด PET บริษัทฯ มีทีมการขายและการตลาดในส่วนของกลุ่มธุรกิจ PET ในแต่ละภูมิภาคที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจ โดยบริษัทฯ มีฝ่ายการขายและการตลาดของส�ำนักงานใหญ่ในประเทศเป็น ผู้ดูแล บริษัทฯ จ�ำแนกลูกค้ารายส�ำคัญของผลิตภัณฑ์ PET เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ บริษัทผู้ผลิตและจ�ำหน่ายเครื่องดื่มซึ่งมียี่ห้อเป็นที่รู้จัก และมีโรงงานผลิตขวด PET ของ ตนเอง บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยเครื่ อ งดื่ ม ซึ่ ง มี ยี่ ห ้ อ เป็ น ที่ รู ้ จั ก ซึ่ ง ว่ า จ้ า งผู ้ รั บ จ้ า งแปรสภาพ เม็ดพลาสติก PET ให้ผลิตขวด PET โดยใช้เม็ดพลาสติก PET ที่บริษัทผู้ผลิตและจ�ำหน่าย เครื่องดื่มดังกล่าวซื้อมา ผู้ค้าเม็ดพลาสติก PET และ ผู้ใช้เม็ดพลาสติก PET เพื่อน�ำมาผลิตพลาสติกขึ้นรูปขวด ขวดพลาสติก แผ่นพลาสติก และ บรรจุภัณฑ์พลาสติกอื่นๆ ที่ท�ำจาก PET เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
76
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
PET ถูกน�ำไปใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อการดูแล ตนเอง
บริษัทฯ ขายเม็ดพลาสติก PET ในลักษณะการขายตรงให้แก่ลูกค้าเป็นหลัก มีเพียงการขาย ส่วนน้อยที่เป็นการขายผ่านตัวแทนและผู้ค้า บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และยังเป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET รายเดียวที่มีโรงงานผลิตในทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ซึ่ง ส่งผลให้บริษทั ฯ สามารถท�ำการตลาดเพือ่ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก PET เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการ PET ของลูกค้าที่มีอยู่ทั่วโลก ทั้งนี้ บริษัทฯ มีกิจกรรมการตลาด ซึ่งรวมถึงการ ประชุมกับลูกค้าของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้บริษัทฯ เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้า และรักษาสัมพันธภาพที่ดี อีกทั้งยังเป็นการให้บริการในส่วนของลูกค้าสัมพันธ์ด้วย
การแข่งขันในธุรกิจ PET บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิต PET ที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก โดยเป็นผูผ้ ลิตอันดับ 1 ในทวีปยุโรป, อันดับ 2 ใน ทวีปอเมริกาเหนือ และอันดับ 4 ในทวีปเอเชีย คูแ่ ข่งทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ ในตลาดยุโรปได้แก่ Equipolymers และ Neo Group คูแ่ ข่งทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ ในตลาดอเมริกาเหนือได้แก่ Alpek (DAK Americas LLC) และ M&G Group คูแ่ ข่งทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ ในตลาดประเทศไทย ได้แก่ บจ. ไทยชินกงอินดัสตรี คอร์ปอเรชั่น และ บจ. ไทย เพ็ท เรซิน ทั้งนี้ แม้ว่าการอนุญาตให้ใช้ สิทธิทางพาณิชย์เป็นช่องทางให้น�ำเทคโนโลยีการผลิต PET มาใช้ประโยชน์ ได้ แต่บริษัทฯ เชื่อว่าจ�ำนวนเงินลงทุนทั้งหมดที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำธุรกิจแบบประหยัดต่อขนาดเพื่อท�ำก�ำไร นั้นอาจสกัดกั้นผู้ลงทุนรายใหม่จากการเข้าสู่ตลาดได้
ภาพรวมของธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ เส้นใยและเส้นด้ายเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ โพลีเอสเตอร์ถูกค้นพบในช่วงศตวรรษที่ 40 และเริ่มมีการผลิตในระดับอุตสาหกรรมในปี 2490 เส้นใยโพลีเอสเตอร์เป็นตัวเลือกแรกส�ำหรับเครื่องนุ่งห่ม ใช้ในการผลิตกางเกง กระโปรง ชุดกระโปรง สูท แจ๊คเก็ต เสื้อและเสื้อผ้าส�ำหรับกิจกรรมกลางแจ้ง การผสมผสานเส้นใยโพลีเอสเตอร์เข้ากับฝ้ายและเส้นใยขนสัตว์ที่ยังไม่เคยผ่านการใช้งานเป็น ที่นิยมอย่างมาก โดยมักจะเรียกว่า การผสมผสานแบบคลาสสิก เส้นใยโพลีเอสเตอร์เกิดจากปฏิกริยาทางเคมีระหว่างกรดและแอลกอฮอล์ เกิดการรวมตัวกันของ โมเลกุล 2 โมเลกุลหรือมากกว่านั้น เพื่อให้ได้โมเลกุลขนาดใหญ่ที่มีการเรียงตัวซ�้ำกันตลอด ความยาวของโครงสร้าง เส้นใยโพลีเอสเตอร์สามารถสร้างเป็นโมเลกุลสายยาวที่มั่นคงและ แข็งแรงได้ เส้นใยโพลีเอสเตอร์จะผ่านกระบวนการปั่นหลอม โดยการน�ำวัตถุดิบไปหลอม จากนั้นจะถูกฉีด ผ่านหัวฉีดเส้นใย (ลักษณะคล้ายตะแกรง) เทคนิคการผลิตใหม่ๆ ถูกพัฒนาขึน้ จนถึงขัน้ ทีส่ ามารถ ผลิตเป็นเส้นใยกลม เส้นใยวงรี เส้นใยเหลี่ยม ท�ำให้เกิดความแน่นเมื่อสัมผัส เส้นใยโพลีเอสเตอร์มีความทนต่อแสงและอุณหภูมิ และทนต่อผลกระทบของสภาพอากาศ น�้ำหนักเบา มีคุณสมบัติระบายอากาศที่ดี และแห้งเร็ว
การใช้งานหลักๆ ของเส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ส่วนใหญ่เส้นใยโพลีเอสเตอร์จะถูกน�ำไปใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องนุ่งห่ม ตั้งแต่ชุดกีฬาไปยังเสื้อผ้า แฟชั่น ผลิตภัณฑ์สิ่งทอส�ำหรับที่อยู่อาศัย เช่น ผ้าปูที่นอน พรม และผลิตภัณฑ์ที่มิใช่สิ่งทอที่ ไม่ได้เกิดจากการทอ เช่น เสื้อกาวน์ส�ำหรับแพทย์ สิ่งทอด้านเทคนิค เช่น ไส้กรอง และอุปกรณ์ ส�ำหรับยานยนต์ ไม่ว่าจะเป็นพรมและฉนวน
เส้นใยโพลีเอสเตอร์ถกู น�ำไปใช้ในการผลิตผ้าหุม้ เก้าอี้ ผู้โดยสารและผ้าบุผนังเครื่องบิน
ด้วยการเข้าซื้อกิจการ Perfomance Fibers ประเทศจีนในปี 2558 ท�ำให้บริษัทฯ เป็น ผูผ้ ลิตเส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ท่ีใช้สำ� หรับ ผลิตยางรถยนต์และจัดส่งให้บริษัทผู้ผลิตยาง รถยนต์ระดับโลก
เส้นใยและเส้นด้ายโอเลฟินส์ เป็นเส้นใยทีผ่ ลิตได้จากการเรียงตัวเป็นสายโซ่ ยาวจากการสังเคราะห์โพลีเมอร์ โดยมีเอทิลนี โพรพิลีน หรือโอเลฟินส์อื่นๆ ประกอบอย่าง น้อยร้อยละ 85 ตามน�ำ้ หนัก ในประเทศอิตาลี มีการเริ่มผลิตเส้นใยโอเลฟินส์ครั้งแรกในปี 2500 และผลิ ต ครั้ ง แรกในประเทศสหรั ฐ อเมริกาในปี 2503 โดยผูผ้ ลิตเส้นใยโอเลฟินส์ เชิงพาณิชย์เป็นรายแรกในสหรัฐอเมริกา คือ บริษัท Hercules, Inc. (ปัจจุบัน คือ บริษัท FiberVisions ซึ่งบริษัทฯ เป็นเจ้าของ) โดยทั่วไปโพลีเมอร์จะถูกป้อนเข้าเครื่องอัด ขึน้ รูป ซึง่ จะหลอมโพลีเมอร์ให้ละลายก่อนฉีด ผ่านหัวฉีดเส้นใย (ลักษณะคล้ายตะแกรง) เส้นใยที่ได้จะถูกท�ำให้เย็นลงโดยผ่านเครื่อง เป่าลมก่อนจะถูกม้วนเก็บและบรรจุ เนือ่ งจาก เส้นใยโอเลฟินส์มีคุณสมบัติติดสียาก จึงมัก มีการใส่ผงสีเข้าไปในโพลีเมอร์ก่อนการอัด ขึ้นรูป ส�ำหรับโพลีโพรพิลีน เมื่อผ่านกระบวนการ โพลิเมอร์ไรเซชัน จะเกิดเป็นผลึกโพลีโพรพิลนี โพลีเมอร์ เส้นใยที่ได้จากโพลีเมอร์ชนิดนี้จะ ถูกน�ำมาใช้ในผลิตภัณฑ์ส�ำหรับงานตกแต่ง เสือ้ ผ้าเครือ่ งแต่งกายและผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เส้นใยโอเลฟินส์ ให้ความอบอุ่นโดยที่ยังมี น�้ำหนักเบา โอเลฟินส์มีความทนทานต่อรอย
77
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ขีดข่วน คราบเปือ้ น แสงแดด ไฟและสารเคมี ย้อมสีติดยากแต่ให้สีติดทน เนื่องจากเส้นใย โอเลฟินส์มจี ดุ หลอมต�ำ่ จึงสามารถเชือ่ มด้วย ความร้อนให้เป็นผืน เส้นใยมีความมันเงา จุด เด่นที่ส�ำคัญที่สุดของเส้นใยโอเลฟินส์ คือ ความแข็งแรง ที่คงอยู่แม้ในสภาพเปียกหรือ แห้ง มีความยืดหยุ่นสูง สามารถน�ำไปผลิต เป็นเส้นใยที่มีคุณสมบัติความแข็งแรงแตก ต่างกัน เส้นใยโอเลฟินส์สามารถน�ำมาใช้ผสม กับเส้นใยชนิดอืน่ หรือใช้เดีย่ วๆ หรือ ตัดเป็น เส้นขนาดสัน้ หรือท�ำเป็นด้ายฟิลม์ เป็นเส้นใย ที่ไม่มีสีและมีลักษณะเป็นวงกลม สามารถ ปรั บ เปลี่ ย นตามการใช้ ง าน ลั ก ษณะทาง กายภาพให้ความรู้สึกคล้ายขี้ผึ้ง ไม่มีสี
การใช้งานหลักๆ ของเส้นใยโพลีโอเลฟินส์ เส้ น ใยโพลี โ อเลฟิ น ส์ ถูกน�ำมาใช้ในเส้นใย Non-woven หรือเส้นใยที่มิใช่สิ่งทอเพื่อผลิต ผ้ า อ้ อ มเด็ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� ำ หรั บ สตรี และ ผลิตภัณฑ์ผา้ อ้อมส�ำหรับผูใ้ หญ่ (ทัง้ แผ่นด้าน หน้า แผ่นด้านหลัง สายรัดระหว่างขา แถบ ยางยืดรัดเอว หรือ ชั้นซึมซับ) และใช้ในกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาจากเส้นใยสปันเลสที่ไม่ ทอ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้แล้วทิ้ง อุปกรณ์กรอง หรือ ผ้าที่ผลิตจากระบบลม ไม่ ว่าจะเป็นแกนซึมซับกันรัว่ ซึม และ ทิชชูเ่ ปียก เป็นต้น ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมเครื่อ งนุ่งหุ่ม เส้นใย โอเลฟินส์มักน�ำมาใช้ในการผลิตชุดกีฬาและ เสือ้ ผ้าทีต่ อ้ งการความยืดหยุน่ สูง เช่น ถุงเท้า ชุดซับในกันหนาว และ ใยผ้าส�ำหรับเป็นแผ่น รอง ส�ำหรับสินค้าใช้ในบ้าน อาจน�ำไปใช้ เดี่ยวๆ หรือผสมกับใยผ้าอื่นเพื่อท�ำพรมใช้
เส้นใยส�ำหรับผลิตภัณฑ์ผา้ อ้อมเด็กส�ำเร็จรูปเป็นหนึง่ ในผลิตภัณฑ์ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม (HVA) ของเรา
78
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มีโพลีโพรพิลนี เป็นแกนกลาง ถือเป็นเส้นใยที่ มีความส�ำคัญมากในตลาดเส้นใยที่มิใช่สิ่งทอ
การผลิตเส้นด้ายขนสัตว์ (Worsted Wool)
เส้นใยโพลีเอสเตอร์ถกู น�ำไปใช้ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์หลาก หลายชนิด เช่น ถุงใส่ชา
ภายในและภายนอก พรมแผ่น และ พรมผืน นอกจากนี้ยงั นิยมใช้ในงานบุนวมเครื่องเรือน ผ้าอ้อมเด็ก งานผนัง งานปูพื้น รวมทั้ง กระดาษกันความร้อน เช่น ถุงชาหรือกาแฟ ส�ำหรับการใช้งานอุตสาหกรรมหนัก เส้นใยชนิด นี้มักน�ำมาใช้ในงานตกแต่งภายใน อุปกรณ์ กันแดด ทีพ่ กั แขน บานประตู และ ผนังปิดด้าน ข้าง หีบ และ ชัน้ วางของหลังรถ นอกจากนี้ โอเลฟินส์ยงั ใช้ผลิตพรม เชือก แผ่นใยสังเคราะห์ ส�ำหรับงานดิน ผ้ากรอง ถุง และแผ่นเสริม คอนกรีต
เส้นใยสังเคราะห์ผสม (Bicomponent Fibers) เส้นใยสังเคราะห์ผสม หมายถึง “การอัดขึ้น รูปของโพลีเมอร์ 2 ชนิดจากหัวฉีดเดียวกัน โดยโพลีเมอร์ท้ังสองจะถูกผสมอยู่ในเส้นใย เดียวกัน” หรือหากจะอธิบายใกล้เคียงกว่านัน้ คือ เส้นใยที่ปั่นตีเกลียวรวมกัน (co-spun fiber) ซึ่งเป็นเส้นใยที่ขึ้นรูปจากโพลีเมอร์ คนละชนิด หลอมติดกันและฉีดออกมาจาก หั ว ฉี ด เป็ น เส้ น ใยเดี ย วกั น “Conjugate Fibers” เป็นค�ำทีม่ กั ใช้กนั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเอเชี ย ซึ่ ง เป็ น อี ก ค� ำ ที่ ใ ช้ เ รี ย กเส้ น ใย สังเคราะห์ผสมเช่นกัน จุดประสงค์หลักใน การผลิตเส้นใยสังเคราะห์ผสมคือ การเพิม่ ขีด ความสามารถที่โพลีเมอร์ตัวเดียวไม่สามารถ ท�ำได้ ด้วยเทคนิคนี้เอง ท�ำให้สามารถผลิต เส้นใยที่มีรูปร่างแตกต่างกัน โดยส่วนมาก ถูกแบ่งตามโครงสร้างการตัดขวาง เช่น ชนิด side-by-side ชนิ ด sheath-core ชนิ ด islands-in-the-sea และ citrus fibers หรือ ชนิด segmented-pie เส้นใยสังเคราะห์ผสม จะมีโพลีเอทิลนี เป็นองค์ประกอบด้านนอกและ
ค�ำว่า Worsted มาจาก Worstead ซึ่งเป็น หมู่บ้านในมณฑลนอร์ฟอล์ก ประเทศอังกฤษ ผ้าที่ผลิตจากด้าย Worsted มีเส้นใยเล็กและ เข้าเกลียวแน่น โดยปกติมักใช้ตัดเสื้อ เช่น เสื้อสูท ซึ่งตรงข้ามกับด้าย Woolen ที่เป็น เส้นใยสั้นและหยาบ มักใช้ส�ำหรับการถัก นิตติ้ง เช่น เสื้อสเวตเตอร์ คุณสมบัติที่ส�ำคัญ ของเส้นด้าย Worsted คือ เป็นเส้นใยตรงและ เรียงตัวขนานกัน แตกต่างจากด้าย Woolen ตรงที่ลอนตามธรรมชาติของเส้นใยถูกก�ำจัด ออกในขั้นตอนการปั่นเส้นด้าย บริษัทฯ ผลิต เส้นด้ายขนสัตว์จากแกะสายพันธุ์เมอร์ริโน ซึ่งเป็นขนแกะที่มีความละเอียด นุ่มนวลที่สุด เส้นด้ายขนสัตว์หลายชนิดจ�ำเป็นต้องผ่าน กระบวนการปั่น ในกระบวนการผลิตเส้นด้าย Worsted จะมีความแตกต่างเล็กน้อย ตรงที่ เส้นด้ายจะต้องผ่านขั้นตอนการสางเส้นใย เพื่อเตรียมเส้นใยส�ำหรับขั้นตอนการปั่น ซึ่ง จะช่วยก�ำจัดเส้นใยสัน้ และเส้นใยขาดออกจาก ขนสัตว์ เหลือไว้แต่เส้นใยยาว เพื่อเข้าสู่ ขั้นตอนการปั่นด้ายต่อไป ท�ำให้เส้นด้ายมี ความเรียบและทนทานยิ่งขึ้น เนื่องจากความแข็งแรงของเส้นด้ายขนสัตว์ เนือ้ ละเอียด ท�ำให้สามารถทอร่วมกับวัสดุอนื่ ๆ ช่วยให้เกิดความทนทาน ไม่ยบั ง่ายเมือ่ เทียบ กับผ้าชนิดอื่นๆ จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสม ส�ำหรับผ้าที่ต้องการความคงรูป เส้นด้าย Worsted เป็นทีน่ ยิ มส�ำหรับใช้ตดั กางเกงผูช้ าย กระโปรงอัดจีบ และเสื้อสูท รวมถึงเสื้อกีฬา เนือ่ งจากเส้นด้าย Worsted มีความคงทน จับ จีบได้งา่ ย จึงเป็นผ้าทีเ่ หมาะสมส�ำหรับเสือ้ ผ้า ทุกประเภท
สายรัดที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ผลิตจากวัสดุ โพลิเอสเตอร์ชนิดพิเศษ
การใช้งานหลักๆ ของเส้นด้ายขนสัตว์ เส้นด้ายขนสัตว์ทบี่ ริษทั ฯ ผลิตได้ มักน�ำไปใช้ ในผลิตชุดสูทคุณภาพสูงส�ำหรับสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี Nylon 6.6 เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัทฯ และเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ การเข้าซือ้ ร้อยละ 80 ของกิจการ PHP Fibers GmbH และบริษทั ย่อย (“PHP”) ในขณะทีส่ ว่ น ที่เหลืออีกร้อยละ 20 จะถือหุ้นโดย Toyobo Co., Ltd. ซึ่งเป็นผู้ผลิตชั้นน�ำของประเทศ ญี่ปุ่นในการผลิตผลิตภัณฑ์ด้านยานยนต์ PHP เป็นผู้ผลิตที่ได้รับการยอมรับในระดับ สากล มีชื่อเสียงด้านการผลิตเส้นใย เส้นด้าย
Nylon6.6 พอลิเอไมด์ (Polyamide) ซึ่งมี ความยืดหยุ่นสูงและเป็นหนึ่งในผู้ผลิตชั้นน�ำ ในทวีปยุโรปที่ผลิตสินค้าด้านยานยนต์ที่มี ความปลอดภัย ซึง่ โรงงานผลิตของกลุม่ PHP ตั้ ง อยู ่ ใ นทวี ป อเมริ ก า ทวี ป ยุ โ รป และ สาธารณรัฐประชาชนจีน การเข้าซือ้ กิจการของ PHP จะช่วยเพิม่ มูลค่า ของผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ (High Value Add หรือ HVA) ของบริษัทฯ ซึ่งเป็นการเพิ่ม กลุ่มสินค้าด้านผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและ ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ โดยผลิตภัณฑ์เส้นใยของ PHP นี้ ถูกน�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ อย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ในการผลิตถุงลม นิรภัย (airbag) และยางในรถยนต์ (tire cord)
เส้นด้ายไนลอน 6.6 ของเราถูกน�ำไปใช้ในการผลิต ชิน้ ส่วนรถยนต์ เช่น เส้นด้ายส�ำหรับถุงลมนิรภัย และ เข็มขัดนิรภัย
โรงงานผลิตเส้นใยและเส้นด้าย ตารางดังต่อไปนี้แสดงรายละเอียดของโรงงานผลิตเส้นใยและเส้นด้ายของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โรงงานผลิต
โรงงานผลิตของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ที่จังหวัดนครปฐม โรงงานผลิตของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ที่มาบตาพุด โรงงานผลิตเส้นด้ายขนสัตว์ ของ บมจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ Auriga
ก�ำลังการผลิตติดตั้ง (1) (พันตันต่อปี)
สถานที่ตั้ง
จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
118
มาบตาพุด ประเทศไทย
190
ลพบุรี ประเทศไทย เมือง Spartanburg รัฐ South Carolina ประเทศสหรัฐอเมริกา โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ IVL Karawang เมือง Karawang ประเทศอินโดนีเซีย โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ IVL Tangerang เมือง Tangerang ประเทศอินโดนีเซีย (2) เมือง Bobingen และ Guben ประเทศเยอรมัน โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ Trevira โรงงานผลิต PET ของ Arteva เมือง Queretaro ประเทศเม็กซิโก โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล Wellman International เมือง Mullagh สาธารณรัฐไอร์แลนด์ เมือง Spijk ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมือง Verdun ประเทศฝรั่งเศส โรงงานผลิตโอเลฟินส์ FiberVisions เมือง Duluth เมือง Athens และเมือง Covington ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือง Varde ประเทศเดนมาร์ก และเมือง Suzhou ประเทศจีน โรงงานผลิตของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ มาบตาพุด ประเทศไทย ที่มาบตาพุด - BICO โรงงานผลิตของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ นครปฐม ประเทศไทย ที่นครปฐม - รีไซเคิลโพลีเอสเตอร์ โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ ของ Polychem (CP4) เมือง Purwakarta, ประเทศอินโดนีเซีย PHP Fibers - เส้นใยที่ใช้ในการผลิตยางรถยนต์ ประเทศเยอรมันนี, สหรัฐอเมริกา & กิจการร่วม (Nylon 6.6 tire cord) ทุนในสาธารณรัฐประชาชนจีน Performance Fibers เมือง Guangdong รวม
6 66 36 71 120 58 163 204 16 29 322 84 41 1,523
(1) ก�ำลังการผลิตได้มีการปรับปรุงเพื่อสะท้อนการปรับปรุงกระบวนการผลิต (de-bottlenecking) (2) ร่วมลงทุนโดยถือหุ้นร้อยละ 75 โดยเข้าซื้อเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เงินลงทุนใน Trevira Holdings GmbH ได้ถูกพิจารณาให้ เป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย โดยผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินของกลุ่มบริษัทเนื่องจากมีการแก้ไขสัญญาร่วมค้ากับผู้ร่วมค้า
79
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การขายและการตลาดของผลิตภัณฑ์ เส้นใยและเส้นด้าย กลุม่ ลูกค้าหลักของบริษทั ฯ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ เส้นใยและเส้นด้าย ได้แก่ บริษัทผู้ผลิตสิ่งทอ ที่ใช้ในการผลิตเสือ้ ผ้าและเครือ่ งนุง่ ห่ม บริษทั ผู้ผลิตกลุ่มสินค้าที่มีการอุปโภคบริโภคใน อัตราสูง (Fast moving consumer goods) บริษัทผู้ผลิตสิ่งทอที่ใช้ส�ำหรับครัวเรือน และ บริษทั ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม เช่น บริษทั ผู้ผลิตรถยนต์ และผู้ผลิตฟิล์มส�ำหรับบรรจุ ภัณฑ์
การแข่งขันในธุรกิจเส้นใยและเส้นด้าย การแข่งขันในอุตสาหกรรมเส้นใยและเส้นด้าย ในระดับโลก สามารถจ�ำแนกได้ตามลักษณะ การประกอบธุรกิจในรูปแบบของบริษทั ขนาด ใหญ่ที่ประกอบอุตสาหกรรมที่หลากหลาย และในรูปแบบของผู้ผลิตสินค้าเฉพาะกลุ่มที่ มีขนาดค่อนข้างเล็กจ�ำนวนมากที่บางครั้งมี ก�ำลังการผลิตน้อยกว่า 10,000 ตันต่อปี โดย ปกติแล้ว ผู้ผลิตเส้นใยและเส้นด้ายรายใหญ่ จะมุง่ เน้นการจ�ำหน่ายเส้นใยมาตรฐานปริมาณ มากให้กับตลาดภายในประเทศ ซึ่งมีอัตรา การแข่งขันสูงและการแข่งขันดังกล่าวขึ้นอยู่ กับปัจจัยด้านราคาเป็นหลัก และปัจจัยรองลง มาคือความสม�่ำเสมอในการคงคุณภาพของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ ผู ้ ผ ลิ ต โพลี เ อสเตอร์ ส� ำ หรั บ สินค้าโภคภัณฑ์ทมี่ ขี นาดใหญ่กว่า โดยวิธกี าร มุ่งเน้นการขยายการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็น สินค้าโภคภัณฑ์ให้มจี ำ� นวนประมาณครึง่ หนึง่ ของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของบริษัทฯ ประเทศ จีนมีปริมาณการผลิตโพลีเอสเตอร์และบริษทั ที่เกี่ยวข้องในกลุ่มธุรกิจนี้เป็นจ�ำนวนมาก มี บางบริษัทในประเทศเกาหลี จีน ตุรกี และใน
ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ของเรา ถูกน�ำไปใช้ในการผลิต ชิน้ ส่วนรถยนต์ เช่นเส้นใยในยางรถยนต์
เราผลิตเส้นใยชนิดพิเศษที่ ใช้ผลิตชุดเครื่องแบบ ทหาร ซึง่ มีคณุ สมบัตปิ อ้ งกันรังสีอนิ ฟาเรดจากมนุษย์
ตลาดฝัง่ ตะวันตกเป็นผูผ้ ลิตเส้นใยและเส้นด้ายชนิดพิเศษเช่นเดียวกับบริษทั ฯ และถือเป็นคูแ่ ข่ง ที่ส�ำคัญ
ธุรกิจ Feedstock Feedstock หมายถึง PTA, MEG, อนุพันธ์ EO ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตของบริษัทฯ และ ผลิตภัณฑ์อื่นที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิต โดย PTA ย่อมาจาก Purified Terephthalic Acid หรือ กรดเทเรฟทาลิกบริสุทธิ์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ ลักษณะคล้ายแป้ง ไม่มีสี จัดเป็น เคมีโภคภัณฑ์ (Commodity Chemical) โดยส่วนใหญ่ใช้ในการผลิต PET ที่ใช้ผลิตเสื้อผ้าและ ขวดพลาสติก
ภาพรวมของธุรกิจ PTA กรดเทเรฟทาลิกเป็นสารประกอบอินทรีย์ ไม่มสี ี มีลกั ษณะเป็นของแข็ง อยู่ในกลุม่ เคมีโภคภัณฑ์ ใช้เป็นสารตั้งต้นหลักในการผลิตโพลีเอสเตอร์ PET ส�ำหรับผลิตเสื้อผ้าและขวดพลาสติก บริษัทฯ เข้าสู่ธุรกิจ PTA ในปี 2551 ภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาโดยการควบรวมไปยังวัตถุดิบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสามารถจัดหาวัตถุดบิ ได้อย่างต่อเนือ่ งและสามารถท�ำก�ำไรในห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์ ได้ดีขึ้น กลยุทธ์นี้สร้างความได้เปรียบด้านต้นทุนให้แก่บริษัทฯ ทั้งในธุรกิจ PET และเส้นใย บริษัทฯ มีโรงงานผลิตทั้งใน ประเทศไทย อินโดนีเซีย แคนาดาและเนเธอร์แลนด์ โดยโรงงาน ตั้งอยู่บริเวณเดียวกันกับโรงงานผลิตขั้นปลายน�้ำ ซึ่งมีก�ำลังการผลิตรวม 2.3 ล้านตันต่อปี (รวมกิจการร่วมทุนในประเทศอินโดนีเซีย)
การผลิต PTA กรดเทเรฟทาลิก เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของพาราไซลีน (Paraxylene หรือ PX) ใน กระบวนการเชิงพาณิชย์ใช้กรดอะซิติกเป็นตัวท�ำละลายร่วมกับตัวเร่งปฏิกริยาที่ประกอบด้วย โคบอลต์และเกลือแมงกานีส โดยมีสารประกอบโบรไมด์เป็นตัวกระตุ้น ปฏิกริยาลูกโซ่ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องนั้น เริ่มต้นจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของพาราไซลีน จนได้ กรดเทเรฟทาลิก (Terephthalic Acid หรือ TA) จากนั้นเข้าสู่ขั้นตอนการท�ำให้บริสุทธิ์จนได้เป็น PTA
การใช้งานของ PTA ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ชนิดพิเศษของเราถูกน�ำไปใช้ ในการผลิตเชือกส�ำหรับใช้ในอุตสาหกรรม
80
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
PTA ส่วนใหญ่ถูกน�ำมาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PET และเส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ อย่างไรก็ตามมีการใช้งานในรูปแบบอื่นๆ ที่มีความเฉพาะ เช่น ใช้ในยาแก้ปวดในรูปแบบของ เกลือเทเรฟทาเลต
กระบวนการผลิต PTA กระบวนการผลิต PTA แสดงได้ตามแผนภาพด้านล่างนี้ Oxidation Process
Solvent & Catalyst recovery
Solvent and Catalyst Oxidation
Paraxylene
Crystallization
Filtration & Drying
CTA
Compressed Oxygen-Enriched Air/ Compressed Air
PTA
Centrifuge & Drying
Crystallization
Hydrogenation
Dissolving
Hydrogen
Purification Process Water
การขายและการตลาดของ PTA
ภาพรวมของธุรกิจ MEG
กลุ่มลูกค้าหลักของ PTA ได้แก่ ผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET และผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ โดยที่ ผลิตภัณฑ์ PTA ของบริษัทฯ ส่วนใหญ่จะถูกน�ำมาใช้ในโรงงานผลิต PET และโพลีเอสเตอร์ซึ่ง เป็นธุรกิจขั้นปลายน�้ำ บริษัทฯ ได้จ�ำหน่าย PTA ที่เหลือจากการใช้ภายในกลุ่มให้แก่ลูกค้าซึ่ง เป็นบุคคลภายนอก โดยในปี 2556 2557 และ 2558 PTA ถูกน�ำไปใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบของสาย ธุรกิจอื่นภายในกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 62.4 ร้อยละ 63.7 และ ร้อยละ 52.6 ของรายได้ทั้งหมด ของ PTA ตามล�ำดับ และบริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์ PTA ให้แก่บุคคลภายนอก คิดเป็นร้อยละ 37.6 ร้อยละ 36.3 และร้อยละ 47.4 ของรายได้ทั้งหมดของ PTA ตามล�ำดับ ส�ำนักงานใหญ่ของฝ่ายขายและฝ่ายการตลาดของ PTA ของบริษัทฯ นั้น ตั้งอยู่ในประเทศ โดย มีหน้าที่รับผิดชอบในกิจกรรมการขายและการตลาดที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าทั่วโลก กิจกรรมการ ตลาดของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึงการติดต่อกับลูกค้าของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ จะท�ำให้บริษัทฯ เข้าใจถึงความต้องการของลูกค้า และสามารถรักษาสัมพันธภาพที่ดี อีกทั้งยังเป็นการบริการ ในส่วนของลูกค้าสัมพันธ์
วัตถุดิบอีกชนิดที่บริษัทฯผลิต ได้แก่ โมโน เอทิลนี ไกลคอล (Monoethylene Glycol หรือ MEG ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี มีลักษณะเป็นของเหลว มีรสหวาน
การแข่งขันในธุรกิจ PTA
การผลิต MEG โมโนเอทิลนี ไกลคอล (Monoethylene Glycol) ผลิตจากเอทิลีน (Ethylene) ผ่านสารอนุพันธ์ ขั้นกลาง ได้แก่ เอทิลีนออกไซด์ (Ethylene Oxide) โดยจะท�ำปฏิกริยากับน�้ำ เกิดเป็น เอทิลีน ไกลคอล (Ethylene Glycol) การใช้งานของ MEG เอทิลีน ไกลคอลโดยส่วนใหญ่ถูกน�ำไปใช้ใน อุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์และใช้เป็นสารต้าน การแข็งตัวส�ำหรับหม้อน�้ำรถยนต์ นอกเหนือ จากการใช้สำ� หรับรถยนต์แล้ว MEG ยังใช้เป็น ตัวกลางในการระบายความร้อนส�ำหรับเครือ่ ง คอมพิวเตอร์ น�ำ้ เย็นส�ำหรับระบบปรับอากาศ และใช้ในระบบท�ำความร้อน/เย็นจากพลังงาน ใต้พิภพ
เนื่องจาก PTA เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ การแข่งขันในตลาด PTA จึงขึ้นอยู่กับราคาเป็นหลัก รองลงมาคือระยะเวลาส่งสินค้า ผู้ผลิต PTA สามารถจ�ำแนกเป็นผู้ผลิตที่เป็นผู้ค้า และผู้ผลิต PTA แบบครบวงจร ผู้ผลิตที่เป็น ผู้ค้าจะผลิตและจัดหา PTA ให้แก่บุคคลภายนอก ในขณะที่ผู้ผลิต PTA แบบครบวงจรจะผลิต PTA และใช้เพื่อการบริโภคของตนเองส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด ซึ่งบริษัทฯ เป็นผู้ผลิต PTA แบบ ครบวงจร ในปัจจุบัน มีการสร้างโรงงาน PTA หลายแห่งในประเทศจีน โดยใช้เทคโนโลยีล่าสุด และมีต้นทุนแปลงสภาพที่ต�่ำลง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯยังมีคู่แข่งที่ส�ำคัญอื่นๆ อีกทั้งใน การผลิตเอทิลีนออกไซด์บริสุทธิ์ ทวีปยุโรปและทวีบอเมริกาเหนือ เอทิลนี ออกไซด์บริสทุ ธิเ์ กิดจากการท�ำปฏิกริยา ออกซิเดชั่นของเอทิลีน โดยมีโลหะเงินเป็น ตัวเร่งปฏิกริยา
81
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การใช้งานของ PEO เอทิลนี ออกไซด์บริสทุ ธิถ์ กู น�ำไปใช้ในการผลิต ผงซักฟอก สารเพิ่มความหนืด ตัวท�ำละลาย พลาสติกและสารประกอบเคมีอินทรีย์ เช่น เอทิลีนไกลคอล (Ethylene Glycol) เอทาโน ลามีน (Ethanolamine) ไกลคอลแบบง่ายและ แบบซับซ้อน โพลีไกลคอลอีเทอร์ (Polyglycol Ethers) และสารประกอบอืน่ เอทิลนี ออกไซด์ บริสทุ ธิถ์ กู ใช้เป็นยาฆ่าเชือ้ อย่างแพร่หลายใน โรงพยาบาลและในอุตสาหกรรมเครื่องมือ แพทย์ แ ทนการใช้ ไ อน�้ ำ ในการฆ่ า เชื้ อ กั บ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไวต่อความร้อน เช่น เข็มฉีดยาพลาสติก สารอนุพนั ธ์ของเอทิลนี ออกไซด์บริสทุ ธิถ์ กู น�ำ ไปใช้งานผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิด เช่น สบู่ ผงซักฟอก น�้ำมันเบรค สารก�ำจัดวัชพืช ฉนวนโฟมยูรเี ทนส�ำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น เอทิลนี ออกไซด์เป็นหนึง่ ในวัตถุดบิ ส�ำคัญที่ใช้ ในกระบวนการผลิตเคมีขนาดใหญ่ เอทิลีน ออกไซด์ถูกใช้ในการสังเคราะห์เอทิลีนไกล คอล ซึ่งรวมถึง ไดเอทิลีน ไกลคอลและไตร เอทิลีน ไกลคอล คิดเป็นร้อยละ 75 ของการ บริโภคทั่วโลก ผลิตภัณฑ์ส�ำคัญอื่นๆ ได้แก่
เอทิลีนไกลคอล อีเทอร์ (Ethylene Glycol Ethers) เอทาโนลามีน (Ethanolamines) และ อีทอกซีเลท (Ethoxylates) ในกลุ่มไกลคอล เอทิลนี ไกลคอลใช้เป็นสารป้องกันการแข็งตัว ใช้ในการผลิตโพลีเอสเตอร์และ PET สาร ท�ำความเย็นเหลว ตัวท�ำละลาย โพลีเอทิลนี ไกลคอล ใช้ในน�ำ้ หอม เครือ่ งส�ำอาง เวชภัณฑ์ สารหล่อลืน่ ทินเนอร์ผสมสี สารเสริมสภาพ พลาสติก (Plasticizer) เอทิลนี ไกลคอล อีเทอร์ ใช้เป็นส่วนประกอบของน�ำ้ มันเบรค ผงซักฟอก ตัวท�ำละลาย แลคเกอร์และสี ผลิตภัณฑ์ตวั อืน่ ที่ได้จากเอทิลนี ออกไซด์ ได้แก่ เอทาโนลามีน ใช้ในการผลิตสบูแ่ ละผงซักฟอก รวมทัง้ ใช้เป็น สารทีท่ ำ� ให้กา๊ ซธรรมชาติบริสทุ ธิ์ อีทอกซีเลท เกิดจากการท�ำปฏิกริยาของเอทิลีนออกไซด์ กับแอลกอฮอล์ กรดหรือเอมีน (Amine) ถูกน�ำ ไปใช้ในการผลิตผงซักฟอก สารลดแรงตึงผิว อิมลั ซิฟายเออร์ (Emulsifie) และสารเคมีขจัด คราบน�ำ้ มัน
ธุรกิจ อื่นๆ ได้แก่ TEG และ DEG ไดเอทิลีน ไกลคอล (DEG) เป็นผลิตภัณฑ์ พลอยได้ที่เกิดร่วมกับ MEG ในกระบวนการ ผลิตเอทิลีนออกไซด์ (EO) DEG ถูกน�ำไปใช้
งานในหลากหลายรูปแบบและถูกน�ำไปใช้ใน การผลิตโพลีเอสเตอร์ โพลีออล (Polyester Polyols) โพลีเอสเตอร์เรซินชนิดไม่อิ่มตัว (Unsaturated Polyester Resin) เตาความร้อน การผลิตมอร์โฟลีน (Morpholine) สีและสาร เคลือบ สารเสริมสภาพพลาสติก (Plasticizers) น�ำ้ ยาซักผ้า การบดปูนซีเมนต์และใช้เป็นผลิต ภัณฑ์ขน้ั กลางส�ำหรับการผลิตโพลีเอทิลนี ไกล คอล (Polyethylene Glycol) ไตรเอทิลีน ไกลคอล (TEG) เป็นผลิตภัณฑ์ พลอยได้ที่เกิดในกระบวนการผลิตเอทิลีน ออกไซด์ (EO) ไตรเอทิลนี ไกลคอล ส่วนใหญ่ ถู ก น� ำ ไปใช้ ใ นกระบวนการแยกไอน�้ ำ จาก ก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีการใช้งานใน รูปแบบอื่น เช่น สารฆ่าเชื้อในอากาศ เรซิ่น ส� ำ หรั บ กระจกรถและใช้ เ ป็ น เคมี ข้ั น กลาง ส�ำหรับโพลีเอทิลีนไกลคอล ใช้เป็นสารเสริม สภาพพลาสติกส�ำหรับไวนิล ใช้ในผลิตภัณฑ์ ฆ่าเชื้อในอากาศเมื่อท�ำให้เป็นละอองจะใช้ เป็นยาฆ่าเชื้อ เป็นสารเติมแต่งส�ำหรับน�้ำมัน ไฮดรอลิ ก และน�้ ำ มั น เบรค นอกจากนี้ ยั ง ใช้ เป็นสารพื้นฐานส�ำหรับเครื่องท�ำควันใน อุตสาหกรรมบันเทิง
กระบวนการผลิต Oxide & Glycol กระบวนการผลิต EO/EG แสดงได้ตามแผนภาพด้านล่างนี้
เอทิลีน ออกซิเจน
เอทิลินออกไซค์ดิบ Crude Ethylene Oxide
เอทิลินไกลคอล (Ethylene Glycol)
Solvent & Catalyst recovery
เอทิลีนออกไซด์บริสุทธิ์ Purified Ethylene Oxide (PEO)
สบู่, ผงซักฟอก, น�้ำมันเบรก, สารก�ำจัดวัชพืช
โบโนเอทิลีนไกลคอล Monoethylene Glycol (MEG)
พลาสติก, โพลีเอสเตอร์, สารต้าน การแข็งตัว และสารท�ำความเย็นในรถยนต์
ไดเอทิลินไกลคอล Diethylene Glycol (DEG)
สีและสารเคลือบ, น�้ำยาซักผ้า
ไตรทลีนออกไซด์บริสุทธิ์ Triethylend Glycol (TEG)
สเปร์ยฉีดอากาศ
ผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบและมีฐานลูกค้าระดับโลก ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ภายในบ้าน เคมีชนิดพิเศษ และเคมีส�ำหรับอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมยานยนต์
82
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การขายและการตลาดของ Oxide & ในปี 2557 และปี 2558 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์ EO/EG ร้อยละ 21.7 และร้อยละ 31.0% ของ ยอดขายทั้งหมดตามล�ำดับ ให้กับกลุ่มบริษัทและร้อยละ 78.3 และร้อยละ 69.0 ของยอดขาย Glycol ทั้งหมดตามล�ำดับให้กับลูกค้าภายนอก
บริษัทฯ เข้าซื้อโรงงานผลิต EO/EG เป็นครั้ง แรกในเดือนเมษายน ปี 2555 ซึ่งมีการขาย ทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ อย่างไรก็ตาม การขายและการตลาดจะถูกควบคุมดูแลโดย ส�ำนักงานใหญ่ ในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ EO/EG ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ อันได้แก่ สาร เอทิลีนออกไซด์บริสุทธิ์ (PEO) - โดยขาย ตรงสู่ตลาดการค้าประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง PEO จะถูกน�ำไปใช้เป็นเคมีภัณฑ์ขั้นกลาง ส� ำ หรั บ ผลิ ต สารอนุ พั น ธุ ์ ข อง PEO เช่ น ethanolamines, polyols, ethers และสาร ลดแรงตึงผิว ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่น�ำไปใช้ในการ ผลิตเคมีภัณฑ์เพื่อการเกษตร โฟมแข็งและ อ่อน ผลิตภัณฑ์ ในครัวเรือน และผลิตภัณฑ์ เพื่อความงาม เป็นต้น ปัจจุบนั มีผบู้ ริโภค PEO เพือ่ การค้าในประเทศ สหรัฐอเมริกาหลายราย บริษัทฯเป็นผู้จัดหา PEO ให้ทั้งสิ้น 12 ราย ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนให้ เห็นถึงความน่าเชื่อถือและการบริการที่เป็น เลิศของบริษทั ฯ บริษทั ฯมีสว่ นแบ่งตลาดของ PEO ทั้งหมดประมาณร้อยละ 30 นอกจาก PEO แล้ว โรงงานยังสามารถผลิต ไกลคอล (Glycol), โมโนเอทิลีนไกลคอล (Monoethylene Glycol) หรือ MEG, ไดเอทิลนี ไกลคอล (Diethylene Glycol) หรือ DEG และ ไตรเอทิลีน ไกลคอล (Triethylene Glycol) หรือ TEG ผ่านกระบวนการกลัน่ โดยผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตได้ส่วนใหญ่จะเป็น MEG นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เข้าซื้อโรงงานผลิต TX ภายใต้ ข้อตกลงในการจัดหา MEG ร่วมกับเจ้าของ กิจการเดิมซึง่ ใช้ MEG ในการผลิตสารท�ำความ เย็น โดยหลักในตลาดสหรัฐอเมริกา โรงงานในประเทศสหรัฐอเมริกาจะใช้ MEG เป็นวัตถุดิบในการผลิต PET และ เส้นใยและ เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ซึ่งโรงงานเหล่านี้มี ความต้องการใช้ MEG ในการผลิตเกินกว่าที่ โรงงานในเมือง Clear Lake ในมลรัฐ Texas จะผลิตได้ ส่งผลให้บริษทั ฯต้องเลือกวิธกี ารใด วิธกี ารหนึง่ โดยการสัง่ ซือ้ MEG จากผูผ้ ลิตอืน่ ในประเทศสหรัฐอเมริกาและในตลาดโลกหรือ ผลิตภายใต้ MEG ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด
การแข่งขันในธุรกิจ Oxide & Glycol การแข่งขันในธุรกิจ PEO - เนือ่ งจาก PEO เป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามผันผวนสูง ท�ำให้ไม่มกี ารน�ำ เข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ PEO โดยตรง ในขณะที่สารอนุพันธ์ของ PEO สามารถน�ำเข้าและ ส่งออกได้ บริษัท IVOG ที่มีการผลิต PEO ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นสามารถแข่งขันกับ คู่แข่งระดับโลกซึ่งโดยส่วนใหญ่จะผลิต PEO เพื่อใช้ในการผลิตอนุพันธ์ของ PEO ภายในและ จ�ำหน่ายส่วนที่เหลือสู่ตลาดภายนอก ในขณะที่บริษัท IVOG นั้นจะต่างจากคู่แข่งรายอื่นๆ ตรง ที่จะไม่ท�ำการผลิตอนุพันธ์ของ PEO เนื่องจากจะเป็นการแข่งขันกับลูกค้าของบริษัท การแข่งขันในธุรกิจ Glycols - ตลาด MEG ในระดับโลกมีการแข่งขันสูง และมีผู้ผลิตเป็น จ�ำนวนมากกระจายอยู่ทั่วโลก MEG นั้นยังง่ายต่อการผลิต ขนส่งรวมทั้งดูแลเก็บรักษา วิวัฒนาการของ Shale gas นั้น (ก๊าซจากชั้นหิน) ท�ำให้ผู้ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้ Shale gas ในการผลิตเอธิลนี ไปเป็นวัตถุดบิ ในการผลิต MEG คงความได้เปรียบในแง่ของต้นทุน ที่มีราคาต�่ำมาก เมื่อเที่ยบกับภูมิภาคอื่น ๆ การที่บริษัทฯ ได้น�ำเอาธุรกิจ MEG เข้ามานั้น เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับห่วงโซ่มูลค่า PET และ เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ คู่แข่ง รายส�ำคัญในทวีปอเมริกาเหนืออันได้แก่ Shell Chemical, MEGlobal, Equistar และ Sabic รวมทั้ง PEMEX ในประเทศเม็กซิโก การบริโภค MEG ในประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่าอยู่ในช่วง ที่เติบโตอย่างเต็มที่ โดยอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นนั้นมีแรงผลักดันมาจากก�ำลังการผลิต PET ที่เพิ่มขึ้น ใหม่และโอกาสในการท�ำก�ำไรจากการส่งออกอันเนื่องมาจากการที่บริษัทฯ มีข้อได้เปรียบใน เรื่องของต้นทุนที่ใช้ในการผลิตเอทิลีนที่มีราคาต�่ำอันเป็นผลมาจาก Shale gas
US Olefin Cracker บริษัทฯ เข้าซื้อกิจการ เอทิลีน (ethylene cracker) ซึ่งเป็นกิจการเก่าและหยุดการด�ำเนินงาน ชั่วคราวตั้งอยู่ที่ Lake Charles รัฐลุยเซียนา ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยการจัดตั้ง Indorama Ventures Olefins LLC โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุงและเริ่มด�ำเนินงานใหม่ ทั้งนี้บริษัท คาดว่าโรงงานจะเริ่มด�ำเนินการได้ในปลายปี 2560 เมื่อเสร็จสิ้น บริษัทฯจะมีการควบรวมใน ทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งปัจจุบันบริษัทฯ เป็นผู้ซ้ือเอทิลีนซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายของ US cracker
83
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
โรงงานผลิต Feedstock ตารางดังต่อไปนี้แสดงข้อมูลที่ส�ำคัญเกี่ยวกับโรงงานผลิต Feedstock ของบริษัทฯ ซึ่งเป็นข้อมูล ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 (ไม่รวม US Gas Cracker ซึ่งอยู่ระหว่างการปรับปรุงและเริ่มด�ำเนินงานใหม่) โรงงานผลิต
สถานที่ตั้ง
โรงงาน PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม โรงงาน PTA ของ บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์(2) โรงงาน PTA ของ IRH Rotterdam โรงงาน PTA ของ Polyprima(3) โรงงาน PTA ของ CEPSA โรงงาน EO/EG ของ Indorama ventures (Oxide & Glycol) รวม
จังหวัดระยอง ประเทศไทย มาบตาพุด ประเทศไทย เมือง Rotterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศแคนาดา รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ก�ำลังการผลิตติดตั้ง (1) (พันตันต่อปี)
775 602 380 500 600 550 3,407
(1) ก�ำลังการผลิตได้มกี ารปรับปรุงเพือ่ สะท้อนการปรับปรุงกระบวนการผลิต (de-bottlenecking) อย่างไรก็ตามก�ำลังการผลิตนี้ไม่รวมโรงงาน Ottana ซึง่ หยุดด�ำเนินงาน (2) บริษทั ฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.97 ใน บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ (3) ร่วมลงทุนโดยถือหุ้นร้อยละ 43
ข้อได้เปรียบในการแข่งขัน 1. การให้ความส�ำคัญกับอุตสาหกรรมและ การมีสถานะเป็นผู้น�ำตลาด บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตชั้นน�ำรายหนึ่งในห่วงโซ่ มูลค่าโพลีเอสเตอร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสาย ธุรกิจปิโตรเคมี อีกทั้งยังน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ มีมลู ค่าเพิม่ ทีห่ ลากหลาย บริษทั ฯ ได้ให้ความ ส�ำคัญและมีความมุ่งมั่นในอุตสาหกรรมที่ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจมาโดยตลอด นับตั้งแต่ ปี 2546 เป็นต้นมาบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญ กับห่วงโซ่มูลค่าโพลีเอสเตอร์เพิ่มขึ้นอย่าง มากโดยการขยายธุรกิจและการเข้าลงทุน ต่างๆ การจ�ำหน่ายธุรกิจเคมีภัณฑ์ซึ่งมิใช่ ธุรกิจหลักของบริษัทฯ และโดยการขยาย ขนาดธุรกิจของบริษทั ฯ และขยายกิจการของ บริษทั ฯ ไปยังภูมภิ าคต่างๆ ด้วยเหตุนี้ บริษทั ฯ จึงได้กา้ วสูก่ ารเป็นผูผ้ ลิตพลาสติกโพลีเอสเตอร์ ครบวงจรชั้นน�ำในระดับโลก บริษัทฯ เชื่อว่า บริษัทฯ เป็นหนึ่งในบริษัท ปิโตรเคมีไม่กแี่ ห่งทีม่ งุ่ เน้นห่วงโซ่มลู ค่าโพลีเอส เตอร์อย่างยิ่ง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับ ผู้ประกอบการที่มีบทบาทส�ำคัญรายอื่น ซึ่งมี การแบ่งสายธุรกิจออกเป็นหลายสาย ซึ่ง ประกอบไปด้วยธุรกิจหลายประเภททีแ่ ตกต่าง กันออกไป บริษัทฯ เชื่อว่าการเป็นผู้ประกอบ การที่ให้ความส�ำคัญเฉพาะด้านมีขอ้ ได้เปรียบ ที่ส�ำคัญดังนี้
84
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความเข้าใจที่ดีกว่าเกี่ยวกับปัจจัยในความ ส�ำเร็จในแต่ละสายธุรกิจ การจั ด สรรเงิ น ทุ น และความสามารถของ บุคลากรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ความสามารถในการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว ในการบริหารจัดการและการพาณิชย์ และ การลดค่าใช้จา ่ ยในการด�ำเนินงานซึง่ จ�ำเป็น ในการบริหารกิจการที่มีความหลากหลาย และการเพิม่ มูลค่าเนือ่ งจากความคล้ายคลึง กันของธุรกิจ
2. การที่บริษัทฯ มีการขายและฐานการผลิต ทั่วโลก บริษัทฯ เป็นบริษัทระดับโลกซึ่งมีโรงงาน 59 แห่งตัง้ อยู่ใน 20 ประเทศ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) ในสี่ทวีป ได้แก่ ทวีปเอเชีย ทวีป อเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา และจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ให้แก่ลูกค้าทั่วโลก ทั้งนี้บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET รายเดียวที่ด�ำเนินกิจการในทวีปเอเชีย ทวีป อเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา บริษัทฯ เชื่อมั่นว่า การที่บริษัทฯ ประกอบ ธุรกิจในหลายประเทศทั่วโลก ท�ำให้บริษัทฯ สามารถ สร้างการเติบโตทางด้านปริมาณขาย ขยายฐานลูกค้าของบริษัทฯ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางด้าน ต้นทุนของบริษัทฯ จากการที่มีที่ตั้งใกล้กับ ลูกค้าและคู่ค้าของบริษัทฯ
ลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ ได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการไม่ ถู ก กี ด กั น จาก อุปสรรคทางการค้าที่มีอยู่ และ ลดความเสี่ยงต่อวงจรธุรกิจและการพึ่งพา ตลาดใดตลาดหนึ่งเพียงตลาดเดียว
3. รูปแบบการด�ำเนินธุรกิจแบบครบวงจร ธุรกิจห่วงโซ่มลู ค่าโพลีเอสเตอร์ของบริษทั ฯ มี ลักษณะการด�ำเนินธุรกิจแบบควบรวมเป็น กลุ่มธุรกิจ MEG, PTA, เม็ดพลาสติก PET และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และ บรรจุภัณฑ์ ในบางพื้นที่ ทั้งนี้ โรงงานผลิต ขั้นปลายน�้ำของบริษัทฯ ซึ่งได้แก่ธุรกิจ PET และโพลีเอสเตอร์มีการจัดซื้อ Feedstock (PTA และ MEG) ในปริมาณที่มีสาระส�ำคัญ จากบริษัทในกลุ่มประมาณร้อยละ 49.6 ในปี 2556 ร้อยละ 50.9 ในปี 2557 และ ร้อยละ 48.0 ในปี 2558 บริษัทฯ เชื่อมั่นว่า ประโยชน์ที่ส�ำคัญจากการ มีธุรกิจแบบครบวงจร ประกอบไปด้วย ความแน่ น อนในการจั ด หา Feedstock ส�ำหรับธุรกิจ PET และโพลีเอสเตอร์ของ บริ ษั ท ฯ ในช่ ว งภาวะตลาดผั น ผวน โดยเฉพาะในช่วงที่อุปสงค์ของวัตถุดิบมี ปริมาณสูง
การที่บริษัทฯ มีธุรกิจ PTA และ MEG เพื่อใช้ในการบริโภคภายในองค์กรท�ำให้บริษัทฯ สามารถรักษาระดับการใช้กำ� ลังการผลิตได้สงู ขึน้ เมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบกับผูค้ า้ รายอืน่ แม้ ในภาวะที่อุปทานของอุตสาหกรรมสูงขึ้นก็ตาม การประหยัดต้นทุนจากการที่โรงงานผลิตของธุรกิจ PTA และ PET และโพลีเอสเตอร์ตั้งอยู่ ในบริเวณเดียวกัน เนือ่ งจากเป็นการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์และการใช้ระบบงานบริการต่างๆ ร่วมกัน และ การประหยัดต้นทุนโดยการรวมการด�ำเนินงานเข้าด้วยกัน ซึ่งเกิดจากการลดต้นทุนคงที่ เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบ การขายและการตลาด และการด�ำเนินการทางด้านบริหารต่างๆ บริษัทฯ เชื่อมั่นว่า การมีธุรกิจแบบครบวงจรจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ ความสามารถในการแข่งขัน และความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้า และการพัฒนาทางการตลาด ตลอดจนก่อให้เกิดความมีเสถียรภาพในปริมาณและ ผลก�ำไร
4. สถานะทางต้นทุนที่แข็งแกร่ง บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญในด้านต้นทุนและประสิทธิภาพมาโดยตลอด และเชื่อว่า บริษัทฯ มี สถานะทางต้นทุนที่แข็งแกร่งในธุรกิจและในภูมิภาคที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจอยู่ บริษัทฯ เชื่อ ว่าการประสบผลส�ำเร็จดังกล่าวเป็นผลมาจากปัจจัยดังต่อไปนี้ บริษทั ฯเชือ่ ว่า บริษทั ฯ มีโรงงานผลิตบางส่วนทีม่ กี ำ� ลังการผลิตมากทีส่ ดุ และมีประสิทธิภาพสูง ที่สุดแห่งหนึ่งในอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก PET เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม MEG และ PTA นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET แบบสายการผลิตสาย เดียว (Single Line) ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรปที่โรงงานผลิต PET ของ Orion Global ในประเทศ ลิธัวเนีย ซึ่งมีก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 274,000 ตันต่อปี บริษัทฯ ยังได้ประกอบกิจการโรงงาน PTA แบบสายการผลิตสายเดียว (Single Line) ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่โรงงานผลิต PTA ของ บจ.อินโดรามา ปิโตรเคมีโดยมีกำ� ลังการผลิตอยูท่ ี่ 771,000 ตันต่อปีเมือ่ ไม่นานมานี้ บริษทั ฯ ได้ก่อสร้างโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET แห่งใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือที่โรงงานผลิตเม็ด พลาสติก PET ของ AlphaPet ของบริษัทฯ ในรัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีก�ำลังการผลิต จ�ำนวน 432,000 ตันต่อปี โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ AlphaPet เป็นโรงงานที่ใหญ่ ที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือและใช้เทคโนโลยีการผลิต PET ที่ทันสมัย การที่บริษัทฯ มี โรงงานผลิตขนาดใหญ่ทที่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพเหล่านี้ ส่งผลให้บริษทั ฯ ประสบความส�ำเร็จ ในด้านต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้ในอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาดซึ่งเป็นเรื่อง ที่ส�ำคัญ ส่วนในธุรกิจโพลีเอสเตอร์ซึ่งบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในด้านการผลิตสินค้าเฉพาะกลุ่ม
PET ถูกน�ำไปใช้ในการผลิตแผ่นฟิล์มส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ยา
บริษัทฯ ได้ลงทุนในสินทรัพย์ที่เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์และสามารถปรับเปลีย่ นได้อย่าง สมบูรณ์แบบ การเริม่ ด�ำเนินงานโรงงงานผลิต เส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ PT. Indorama Polychem Indonesia CP4 ในประเทศ อินโดนีเซียในปี 2557 ท�ำให้ปริมาณการผลิต ผลก�ำไร และกระแสเงินสดของบริษัทเพิ่มขึ้น การด�ำเนินงานในโรงงานนีค้ งทีแ่ ล้วในปัจจุบนั และช่วยเพิ่มผลก�ำไรให้กับบริษัทฯ บริษทั ฯเชือ่ ว่า บริษทั ฯ มีประสิทธิภาพในการ ผลิตที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ด้วยอัตราการใช้ก�ำลัง การผลิตในอัตราที่สูงพร้อมกับการใช้ก�ำลัง คนในระดับทีเ่ หมาะสม ต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการ ด�ำเนินธุรกิจทีต่ ำ�่ ตลอดจนการประหยัดต้นทุน ในด้านพลังงานและสาธารณูปโภค บริษัทฯ ได้ยกระดับการแข่งขันทางด้านต้นทุน โดยการ สร้างสาธารณูปโภคของโรงงานให้มปี ระสิทธิภาพ โดยการใช้ถ่านหิน หรือก๊าซ เป็นวัตถุดิบใน โรงงานส่วนใหญ่ของบริษัทฯ เพื่อลดต้นทุน ของไฟฟ้าและไอน�้ำ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ได้ขายไฟฟ้า และไอน�้ำ ส่วนเกินให้กับบุคคล ภายนอก โดยบริษัทฯ ประเมินประสิทธิภาพ การผลิตของโรงงานทัง้ หมดของบริษทั ฯ โดย การเปรียบเทียบซึ่งกันและกัน เพื่อให้การ ด�ำเนินงานเป็นไปอย่างเหมาะสม บริษัทฯ มีความได้เปรียบในต้นทุนวัตถุดิบ เนื่องจากมีปริมาณการสั่งซื้อในจ�ำนวนมาก สถานที่ตั้งใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ และความ สั ม พั น ธ์ ที่ ย าวนานกั บ ผู ้ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ราย ส�ำคัญ โดยบริษัทฯ ได้รับประโยชน์จากการมี อ�ำนาจต่อรองในการซื้อ PX PTA และ MEG ทั้ ง นี้ บริ ษัทฯ เป็น ผู ้ ซื้อ PX และ MEG รายใหญ่ที่สุดรายหนึ่งของโลก ในฐานะที่เป็น ผูผ้ ลิตพลาสติกโพลีเอสเตอร์ระดับโลกบริษทั ฯ มีข้อได้เปรียบมากกว่าผู้ผลิตระดับภูมิภาค เนื่องจากสามารถจัดหา MEG ได้ในวงกว้าง ทั่วโลก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเป็นผู้ซื้อ PTA เพื่อการค้ารายใหญ่ที่สุดรายหนึ่งในตลาด สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับ ประโยชน์จากการเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ดังกล่าว โดยโรงงานผลิตของบริษัทฯ อยู่ในสถานที่ตั้ง ที่เหมาะสม โดยมีลักษณะส�ำคัญคือการใช้ สถานทีต่ งั้ ร่วมกันหรือระยะทางที่ใกล้กบั แหล่ง วัตถุดบิ เพือ่ ให้เกิดความได้เปรียบในการขนส่ง วัตถุดิบและการสนับสนุนทางด้านโครงสร้าง พื้นฐาน
85
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทฯ มีโครงสร้างต้นทุนเงินลงทุนที่ต�่ำ เนื่องจากการสร้างโรงงานขนาดใหญ่และการ เข้าซือ้ สินทรัพย์ดว้ ยราคาทีม่ สี ว่ นลดจากราคา ต้นทุนทดแทนในการสร้างโรงงานแบบเดียวกัน (Replacement Cost) ความสามารถในการ เข้าซือ้ กิจการอย่างมีประสิทธิภาพของบริษทั ฯ ได้เปิดเผยในรายงานทางการเงินภายใต้หวั ข้อ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจากการเข้าซื้อ กิจการ ซึง่ จะเกิดขึน้ เมือ่ บริษทั ฯเข้าซือ้ กิจการ ในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม โดยทั่วไป ผู้ประเมินอิสระจะท�ำหน้าที่ในการค�ำนวณหา มูลค่าดังกล่าวจากการเข้าซื้อกิจการ 5. บริษัทฯ มีคณะผู้บริหารที่มีประสบการณ์ ซึ่ ง มี ผ ลงานที่ ได้ รั บ การพิสู จ น์ ถึ ง ความ สามารถในการพัฒนาและสร้างความเจริญ เติบโตให้แก่ธุรกิจอย่างประสบผลส�ำเร็จ คณะผู้บริหารของบริษัทฯ ประกอบไปด้วย ผูบ้ ริหารทีม่ ปี ระสบการณ์สงู และประสบการณ์ การเป็นผู้น�ำที่ยาวนาน ตลอดจนมีความรู้ เชีย่ วชาญทีห่ ลากหลายเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ที่ส�ำคัญ ทั้งนี้คณะผู้บริหารของบริษัทฯ มี ผลงานที่ได้รับการพิสูจน์ถึงความสามารถใน การบริหารโครงการที่ใช้เงินลงทุนสูงได้อย่าง ประสบผลส�ำเร็จเพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตของ บริษัทฯ ตลอดจนความสามารถในการหา โอกาสในการเข้ า ลงทุนที่น่า สนใจและการ ปรับปรุงการด�ำเนินงานและการสร้างผลก�ำไร จากธุรกิจที่ได้มาจนประสบความส�ำเร็จ
วัตถุดิบและผู้จัดหาวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่ ใช้ในผลิตภัณฑ์ห่วงโซ่มูลค่า โพลีเอสเตอร์ ได้แก่ PX และ MEG อย่างไรก็ ตามบริษัทฯ ยังต้องซื้อ Ethylene เพื่อผลิต MEG ในสหรัฐอเมริกา และซื้อ PTA ใน บางโรงงานส่วนสารอื่นๆ และสิ่งที่น�ำมาใช้ ประโยชน์อื่นๆ ซึ่งบริษัทฯ มีความจ�ำเป็น ต้องใช้ในธุรกิจนั้น รวมถึงกรดอะซิติค กรด isopthalic ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าต่างๆ และก๊าซ เช่น ไนโตรเจน และไฮโดรเจน แต่ใช้ในปริมาณที่ ต�่ำกว่าเมื่อเทียบกับวัตถุดิบหลัก บริษัทฯซื้อ สารต่างๆเหล่านี้จากผู้ผลิตที่หลากหลายภาย ใต้สัญญาซื้อขายเป็นระยะเวลา 1 ปี
86
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
PTA ธุรกิจ PET และธุรกิจเส้นใยและเส้นด้าย โพลีเอสเตอร์ของบริษทั ฯ บางส่วน ได้รวมตัว ในแนวตั้งกับธุรกิจ PTA ของบริษัทฯ เพื่อ จัดหา PTA ที่มีความต่อเนื่องและในราคาที่ คุม้ ทุน โรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam ของบริษัทฯ และสายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ของบริษัทฯ ตั้งอยู่ที่เดียวกัน กับโรงงานผลิต PTA ของ IRH Rotterdam และโรงงานผลิต PTA ของ บมจ. ทีพีที ปิโตร เคมิคอลส์ ตามล�ำดับ ในขณะเดียวกันโรงงาน ผลิต PET ของ AlphaPet ยังตั้งอยู่ที่เดียวกัน กับโรงงานผลิต PTA ของ BP ซึง่ เป็นคูส่ ญั ญา กับบริษัทฯ ในสัญญารับซื้อ PTA ระยะยาว (offtake agreements) โรงงานผลิต PET ที่ ประเทศโปแลนด์ยงั ตัง้ อยู่ใกล้กบั โรงงานผลิต PTA PKN Orlen ส่วนโรงงานผลิต PET ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส / บจ.เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) ในจังหวัดลพบุรี ประเทศไทย และ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ ในจังหวัดนครปฐม ประเทศไทย ได้รับ PTA มาจาก โรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม และ บจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ใน ประเทศไทย ส�ำหรับในประเทศอินโดนิเซีย ธุรกิจ PET และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ได้รับแหล่งวัตถุดิบ PTA จากกิจการร่วมค้า PT. Polyprima
MEG บริษัทฯ ซื้อ MEG ซึ่งเป็นสารอนุพันธ์ขั้น ปลายของเอธิลีนจาก Equate และ Sabic ภายใต้ สญั ญาระยะสัน้ และระยะกลาง ในราคา ที่เชื่อมโยงกั บ ราคามาตรฐานที่ ไ ด้ รั บ การ ประกาศ บริษทั ฯ ได้ทำ� การค้นหาแหล่งวัตถุดบิ เหล่านี้ พร้อมทั้งเจรจาต่อรองราคาวัตถุดิบ เหล่านี้กับผู้จัดหาวัตถุดิบร่วมกันกับกลุ่มของ นายเอส.พี. โลเฮีย (ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุม ของประธานบริษัทฯ และบุคคลที่มีความ สัมพันธ์ทางครอบครัวโดยตรง) และกลุม่ ของ นายโอ.พี. โลเฮีย (ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุม ของน้องชายซึ่งเป็นทั้งประธานบริษัทฯ และ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร) ซึง่ มีความสัมพันธ์
อย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการกั บ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ บริษทั ฯ ซือ้ MEG ได้ในราคาทีด่ ที สี่ ดุ อย่างไร ก็ตาม คูส่ ญั ญาในสัญญาซือ้ วัตถุดบิ เหล่านีจ้ ะ เป็นบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั ฯ โดยสัง่ ซื้อวัตถุดิบตามปริมาณและลักษณะเฉพาะ ตามความต้องการของบริษัทย่อยเหล่านั้น ทั้งนี้ การที่บริษัทฯ อยู่ในสถานะเป็นผู้ผลิต พลาสติกโพลีเอสเตอร์ ในระดับโลก ท�ำให้ บริษัทฯ สามารถจัดหา MEG ได้อย่างกว้าง ขวางทั่วโลก ผู้จัดหาวัตถุดิบรายใหญ่ของ บริษัทคือ Sabic, MEGlobal, Shell, PTT Group และอื่นๆ
พาราไซลีน บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้ซ้ือ PX รายใหญ่ที่สุด ในโลก บริษัทฯ ซื้อ PX จาก บมจ.พีทีที โกลบอล เคมิคอล, บมจ. ปตท. และ Exxon Chemical Thailand Limited เป็นต้น ภายใต้ รูปแบบสัญญาระยะยาว โรงงาน PTA ในไทย ของบริษัทฯ สามารถรับมอบ PX จากผู้จัดหา วัตถุดิบในประเทศ และในต่างประเทศได้โดย ผ่านทางท่อส่งในมาบตาพุดของโรงงานเอง ซึ่งต่อโดยตรงจาก บจ. ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล (ซึ่งเป็นผู้ให้บริการเก็บวัตถุดิบ) ถึงบริเวณที่ ตัง้ ของคลังเก็บสินค้า ทัง้ นี้ โรงงานของบริษทั ฯ ในเมือง Rotterdam ประเทศเนเธอร์แลนด์ ทวีปยุโรป มีทา่ เรือเป็นของตัวเองและสามารถ จัดส่งพาราไซลีนผ่านเรือบรรทุกได้ โรงงาน PTA ของบริษัทฯ ในประเทศแคนาดาจัดหา PX จากบริษัทคู่ค้าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง
เอทิลีน บริษัทเป็นผู้ซื้อเอทิลีนรายใหญ่อันดับ 4 ของ สหรั ฐ อเมริ ก า และเป็ น ผู ้ ซื้ อ เอทิ ลี น จาก ผู้จัดหาวัตถุดิบหลายๆ รายในสหรัฐอเมริกา อาทิเช่น Exxon, Chevron Phillips Chemical, Ineos และอื่นๆ ท�ำให้บริษัทสามารถเข้าถึง แหล่งจัดส่งเอทิลีนอื่นๆ ได้
การวิเคราะห์และค�ำอธิบาย ของฝ่ายจัดการ (MD&A)
ในการอ่านค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของ ฝ่ายบริหาร ผู้ล งทุนควรอ่านประกอบกับ งบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการ เงิ น ที่ ร ะบุไว้ใ นส่วนอื่นของเอกสารฉบับนี้ ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารนี้ มีข้อความที่เป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ ในอนาคต(Forward-Looking Statements) ทีส่ ะท้อนความเห็นในปัจจุบนั ของฝ่ายบริหาร เกี่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ์ ใ นอนาคตและผลการ ด�ำเนินงานดังนัน้ ผลการประกอบการทีแ่ ท้จริง ของบริษัทฯ อาจแตกต่างจากการประมาณ การที่ระบุไว้ในข้อความที่เป็นการคาดการณ์ เหตุการณ์ในอนาคต เนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ดังทีไ่ ด้มกี ารระบุไว้ในหัวข้อ “ปัจจัยความเสีย่ ง” และที่ได้ระบุไว้ในที่อื่นๆ ในเอกสารฉบับนี้
บทสรุปโดยฝ่ายบริหาร บริษทั ฯ รับรูก้ ำ� ไรหลักสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ และส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม (Core Profit after tax and NCI) จ�ำนวน จ�ำนวน 6.5 พันล้านบาทในปี 2558 เติบโตขึ้นร้อยละ 33 เมื่อเทียบปีต่อปี เนื่องจากปริมาณการผลิต ที่เพิ่มมากขึ้น ภาษีเงินได้ที่ลดลงจากข้อได้ เปรียบทางภูมภิ าค ประโยชน์จากการส่งเสริม ซึ่งกันและกันและสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปเป็นสาเหตุให้ Core EBITDA เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 15 เมื่อเทียบปีต่อปี ทั้งนี้ ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 เมื่อเทียบ ปีตอ่ ปี ขณะทีร่ ายได้ลดลงร้อยละ 4 ซึง่ สาเหตุ ส่วนใหญ่มาจากการลดลงของราคาจากการที่ ราคาน�้ำมันดิบลดลง เศรษฐกิจในประเทศจีนทีซ่ บเซาอย่างต่อเนือ่ ง และราคาทรัพยากรที่ผันผวนและอ่อนตัวลง ส่งผลให้พฤติกรรมการซื้อเป็นไปอย่างระมัด ระวังมากขึ้นทั้งในตลาดอิ่มตัวและตลาดเกิด ใหม่ ฝ่ายบริหารของบริษัทมีความยินดีที่ ผลการด�ำเนินของบริษัทเป็นที่น่าพึงพอใจ ในท่ามกลางสภาพแวดลอม ณ ปัจจุบัน และ ยังสามารถเพิ่มปริมาณการผลิต อัตราก�ำลัง การผลิต Core EBITDA และก�ำไรสุทธิไว้ได้
นอกจากนีก้ ารริเริม่ ต่างๆ ของผูบ้ ริหารยังคงช่วยเพิม่ ความแข็งแกร่งให้ธรุ กิจอย่างต่อเนือ่ ง โดย ใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สนิ ทางปัญญาในการเพิม่ สัดส่วนของผลิตภัณฑ์ HVA (High Value Add) ผลิตภัณฑ์ HVA ของบริษทั ฯประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิดซึง่ มีอตั ราก�ำไรสูงกว่ากลุม่ เส้นใยที่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์หรือผลิตภัณฑ์ necessities ที่มีอัตราก�ำไรตามแนวโน้มของ อุตสาหกรรม
ผลการด�ำเนินงานหลักที่ส�ำคัญของบริษัท ล้านบาท
ปริมาณการผลิตรวม (พันตัน) (1) รายได้จากการขายรวม PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock (2) ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (Core EBITDA) PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock ค่าเสื่อมราคา ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ (Core EBIT) ดอกเบี้ยสุทธิ ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากกิจการร่วมทุน ค่าใช้จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ (6) ภาษีจากก�ำไร (ขาดทุน) ในสินค้าคงเหลือ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม (NCI) ก�ำไรหลักสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ และส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม (Core Net Profit after Tax and NCI) ก�ำไรหลักต่อหุ้นก่อนดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ที่มีลักษณะคล้ายทุน (PERP) ก�ำไรหลักต่อหุ้นหลังหักดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ที่มีลักษณะคล้ายทุน (PERP) (3) รายจ่ายฝ่ายทุนเพื่อการขยายก�ำลังการผลิตและการลงทุนใหม่ หนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนสุทธิต่อหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ (4) ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อัตราส่วนหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิต่อทุน (7) ผลตอบแทนหลักจากการใช้เงินลงทุนสุทธิ % (ก่อนรวมเงินลงทุนในกิจการ ร่วมทุน และคิดก�ำไรจากกิจการที่เข้าซื้อแบบเต็มปี)
ปี 2557 (ปรับปรุง)(5)
ปี2558
YoY%
6,249 243,907 145,121 70,274 64,477
7,024 234,698 131,834 73,219 59,960
12% (4)% (9)% 4% (7)%
19,481 9,275 4,108 6,296 (7,898) 11,583 (3,481) (937) (1,625) (369) (285)
22,322 8,944 6,675 6,655 (9,325) 12,997 (3,580) (396) (1,628) (627) (279)
15% (4)% 62% 6% 18% 12% 3% (58)% 0% 70% (2)%
4,886 1.01 0.99 13,726 58,013 26,492 46% 74,610 0.78
6,487 1.35 1.17 31,737 67,296 26,395 39% 82,953 0.81
33% 33% 19% 131% 16% (0)% (14)% 11% 4%
8.6%
9.4%
ข้อสังเกต (1) ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกันในบริษัทในกลุ่ม (หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ) (2) ข้อมูลทางการเงินหลักค�ำนวนจากตัวเลขในงบการเงินหักด้วยรายการก�ำไร/(ขาดทุน) จากสินค้าคงเหลือและรายการพิเศษเพื่อสะท้อนผลการ ด�ำเนินงานก่อนหักรายการพิเศษดังกล่าว ตัวอย่างเช่น ก�ำไรหลักก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (Core EBITDA) คือ ก�ำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (Consolidated EBITDA) หักก�ำไร(ขาดทุน)จากสินค้าคงเหลือ นอกจากนี้ยอดรวมของแต่ละธุรกิจอาจไม่เท่ากับยอดรวมของบริษัท เนื่องจากยอดรวมของบริษัท มีบริษัทลงทุนรวมอยู่ Core EBITDA ของปี 2557 รวมเงินประกันชดเชยค่าเสียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมโรงงานในจังหวัดลพบุรีจ�ำนวน 140 ล้านบาท (3) รายจ่ายฝ่ายทุนเพื่อการขยายก�ำลังการผลิตและการลงทุน (รวมผลสุทธิจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และเงินลงทุน) ใช้เกณฑ์เงินสดจาก งบกระแสเงินสดและ รวมหนี้สินจากการเข้าซื้อกิจการ (4) รวมหุ้นกู้ที่มีลักษณะคล้ายทุนจ�ำนวน 14,874 ล้านบาท (5) ปีที่มีค�ำว่า ปรับปรุง หมายถึง มีการปรับปรุงตัวเลขตามมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ (6) ภาษีเงินได้จากก�ำไรขาดทุนในสินค้าคงเหลือ ค�ำนวณแยกตามกิจการเพื่อน�ำเสนอตัวเลขทางการเงินหลักให้เหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนี้ตัวเลข ทางการเงินในอดีตได้ถูกปรับปรุงด้วยเช่นกัน (7) คิดก�ำไรของกิจการที่เพิ่งเข้าซื้อแบบเต็มปี ในการค�ำนวณ ROCE % เพื่อการน�ำเสนอข้อมูลอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ตัวเลขทางการเงินในอดีต ถูกค�ำนวณด้วยวิธีเดียวกัน
87
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลกลุ่มผลิตภัณฑ์ HVA ของบริษัท IVL HVA Protfolio 10.7
83 23 61
80 2.3
23
7.8 1.8 5.1
53
1.0 52
36
6 2556
8 2557
5 2558
PET Fiber & Yarns Feedstock
6.4 3.6
2.7 1.4
2.4
2.1
EBITDA THB Bn
19
Revenue THB Bn
ในปี 2558 บริษัทรายงาน Core EBITDA ของผลิตภัณฑ์ HVA เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 37 เมื่อเทียบกับปี 2557 รายได้ลดลงร้อยละ 5 จากการลด ลงของราคาผลิตภัณฑ์ กลุ่มผลิตภัณฑ์ HVA ทั้ง 5 มีการเติบโตขึ้น ทุกกลุ่ม ซึ่งได้แก่ บรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุข อนามัย อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย สินค้าอุตสาหกรรม และ เครื่องนุ่งห่ม ในปี 2558 ธุรกิจ HVA ของบริษัทคิดเป็นร้อยละ 34 ของรายได้สุทธิ และคิดเป็นร้อยละ 48 ของ Core EBITDA รวมของบริษัท บริษัทเชื่อ ว่ากลุ่มผลิตภัณฑ์ HVA ทั้ง 5 ภายใต้กลุ่มธุรกิจ PET เส้นใยและเส้น ด้ายโพลีเอสเตอร์ และ Feedstock ดังที่กล่าวมาข้างต้น จะยังคงสร้าง โอกาสในการเติบโตให้กับบริษัท เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนอง ความต้องการหลักของอุตสาหกรรมและผู้บริโภค ที่ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัย บริษัทยังคงเน้น การขยายสัดส่วนผลิตภัณฑ์ HVA ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก และลดความเสี่ยงด้วยการกระจายตัวอยู่ใน 21 ประเทศ (รวมการเข้า ซือ้ ธุรกิจ Cepsa ในประเทศสเปน) การเข้าซือ้ ธุรกิจ Cepsa ในประเทศ สเปนซึ่งเป็นผู้ผลิต IPA รายเดียวในทวีปยุโรป และการเข้าซื้อธุรกิจ NDC ของ BP Decatur ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะช่วยเพิ่มสายการ ผลิตผลิตภัณฑ์ HVA เมือ่ การเข้าซือ้ กิจการเสร็จสิน้ ในไตรมาสที่ 2 ของ ปี 2559
2556 2557 2558 Ebitda 4,747 5,888 7,328 Baht/t Note : Core Financials
สัดส่วนผลิตภัณฑ์ของบริษัท IVL Differentiated Portfolio
6.5
8.0
4,497
5,052 4,700
4,213
2556
2557
Volume (KMT) EMEA
11,820
8,409
EBITDA THB MM
2,344
6,675 8,944
KMT
19,481
9,730
5,913
751
14,966
6,005
22,322
5,545 4,108
9,275
755
2,910 3,701
EBITDA THB MM 7,636
88
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
9.5
2,579 3,117 3,178
743
OCF NET (THB MM) Op/DE
สัดส่วนผลิตภัณฑ์ Necessities ของบริษัทถูกเสริมสร้างและท�ำให้ แข็งแกร่งทั้งจากการควบรวมในธุรกิจ Feedstock เช่นในประเทศ 1.19 0.78 0.81 สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป และจากการลงทุนเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจ ขั้นปลายน�้ำ เช่น PET ในประเทศอินเดีย และ เส้นใยเส้นด้ายใน 10,464 22,421 24,806 ประเทศอินโดนีเซีย ธุรกิจ PTA ในทวีปเอเชียยังคงเผชิญสถาน การณ์ที่ยากล�ำบากตลอด 4 ปีที่ผ่านมา และเป็นอุปสรรคต่อ 22,322 บริษัทในการด�ำเนินงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ บริษัทเชื่อว่าการ หยุดสร้างก�ำลังการผลิตใหม่ในทวีปเอเชียจะท�ำให้เกิดความสมดุล 19,481 กับอุปทานส่วนเกินเนื่องจากอุปสงค์ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องโดย 14,966 ประมาณร้อยละ 6 ต่อปี รับรู้ได้จากข้อมูลสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ และจาก ประสบการณ์การด�ำเนินงานของบริษัทที่ผ่านมา กลุม่ ธุรกิจในทวีปยุโรปของบริษทั ได้รบั ผลกระทบจากค่าขนส่งทีต่ ำ�่ ลงและราคาน�ำเข้า PET ทีถ่ กู กว่าโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศตุรกี อย่างไรก็ตามบริษัทมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลกและมี ความหลากหลายจากแหล่งทีม่ าของรายได้ จะสร้างความได้เปรียบ เมื่อเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน และท�ำให้บริษัท สามารถด�ำเนินงานต่อไปได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่อ่อนแอและ ผันผวน บริษัทเชื่อว่าเราจะยังคงเผชิญกับสถานการณ์ที่คล้ายคลึง 2556 2557 2558 กันนี้ในปี 2559 และฝ่ายบริหารของบริษทั ยังคงสร้างความแตกต่าง Volume (KMT) PET ให้แก่บริษัทโดยการสรรหาโอกาสในการเติบโตที่เหมาะสมส�ำหรับ Fiber & Yarns West Feedstock การด�ำเนินงานในฝั่งตะวันตก (ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีบยุโรป Asia PTA ตะวันออกกลางและแอฟริกา) พร้อมทั้งปรับปรุงต้นทุนผ่านการ ริเริ่มแผนงานใหม่ๆ
EBitda/t EBitda (THB MM) (%)
IVL Differentiated Portfolio
2558 NA Asia
ประสิทธิภาพการใช้เงินทุนของบริษัท IVL
Necessities HVA Production ('000 MT)
2556 (ปรับปรุง)**
2557 (ปรับปรุง)
2558
4,724 1,080 5,804
4,925 1,325 6,249
5,561 1,463 7,024
2,083 4,747 2,579
2,372 5,888 3,117
2,086 7,328 3,178
9,841 5,125 14,966 8,125 133,426 6.4% ฿ 0.41 10,464 1.21
11,681 7,801 19,481 11,583 132,523 8.6% ฿ 0.99 22,421 0.78
11,602 10,721 22,322 12,997 150,249 9.4% ฿ 1.17 24,806 0.81
Core EBITDA/t (THB)
Necessities HVA IVL Core EBITDA (THB Million)
Necessities HVA IVL Core EBIT Net Op CE *ROCE% Core EPs after PERP Interest Operating Cash Flow Net Op Debt/Equity Times
* Annualized earnings of the M&A as applicable and exclude JV investments , Note: Net Op CE=Net Operating Capital Employed
** Periods with R are restated numbers as per the adoption of new and revised TFRS. Restated 2013 as well accordingly, though not material.
ในปี 2558 บริษัทมีก�ำไรหลักต่อหุ้นเติบโตขึ้นถึง 3 เท่าจากปี 2556 เป็น 1.17 บาท ฝ่ายบริหารสามารถลดอัตราส่วนหนีส้ นิ จากการด�ำเนิน งานสุทธิตอ่ ทุนเป็น 0.81 เท่าในปี 2558 จาก 1.21 เท่าในปี 2556 Core EBITDA ต่อตันเพิ่มขึ้นเป็น 3,178 บาทในปี 2558 เทียบกับ 2,579 บาทในปี 2556 อัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีเป็นร้อยละ 11 ในขณะ เดียวกันก็สามาถลดอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อสินทรัพย์ด�ำเนินงานใน ระหว่างปีด้วย ธุรกิจผลิตภัณฑ์ HVA มี core EBITDA เพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าเป็น 10.7 พันล้านบาทจาก 5.1 พันล้านบาทในปี 2556 ในส่วนของ ธุรกิจผลิตภัณฑ์ necessity ยังคงรักษา core EBITDA ต่อตัน ที่ 2,086 บาทตั้งแต่ปี 2556 ถึงปี 2558 ถึงแม้ว่า Core EBITDA เพิ่มสูงขึ้นเป็น 11.6 พันล้านบาทจาก 9.8 พันล้านบาทในปี 2556 ซึ่งสะท้อนอัตรา เติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีที่ร้อยละ 9 Core EBITDA รวมมีอัตราเติบโต เฉลี่ยสะสมต่อปีที่ร้อยละ 22 ตั้งแต่ปี 2556 ถึงปี 2558 กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าจากปี 2556 เป็น 24.8 พันล้านบาทโดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีร้อยละ 54 สอดคล้องกับการเติบโตของธุรกิจทั้งจ�ำแนกตามภูมิภาคและตาม ประเภทของธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่มาจากการเพิ่มขึ้นของก�ำไรและ
กระแสเงินสดเข้าจากเงินทุนหมุนเวียนเนือ่ งจากราคาทีต่ ำ�่ ลง ตลอดจน ก�ำไรจากผลด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ บริษัทเสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ 6 แห่งในปี 2558 ส่งผลให้ก�ำลังการผลิตติดตั้งเพิ่มอีก 1.6 ล้านตัน รวมเป็น 9.2 ล้านตันในปี 2558 (รวมก�ำลังการผลิตจากกิจการ Gas Cracker ขนาด 400 กิโลตัน ซึ่งขณะนี้ยังอยู่ ในระหว่างขั้นตอน การปรับปรุง) หนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิต่อตันของบริษัทลดลง จาก 234 เหรียญสหรัฐต่อตันในปี 2557 เป็น 213 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในปี 2558 สะท้อนถึงวินัยทางการเงินเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนและการ รักษาระดับต้นทุนที่เป็นเลิศ การประกาศการเข้าซื้อกิจการ 2 แห่งก่อนหน้านี้ช่วยเพิ่มสายการผลิต ผลิตภัณฑ์ HVA และ ผลิตภัณฑ์ necessity ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จใน ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2559 ส่งผลให้ก�ำลังการผลิตติดตั้งเพิ่มขึ้นอีก 1.7 ล้านตัน รวมเป็น 10.9 ล้านตัน ในปี 2559 บริษัทคาดว่าจะได้รับ ประโยชน์จากการเพิ่มขี้นของปริมาณการผลิตซึ่งเกิดจากการผลิต เต็มปีส�ำหรับการเข้าซื้อกิจการที่เสร็จสิ้นในปี 2558 และส่วนหนึ่งจาก การผลิตซึ่งเกิดจากการเข้าซื้อกิจการที่เสร็จสิ้นในปี 2559 ฝ่ายบริหาร ยังคงมีแนวทางมุ่งสู่การบริหารจัดการเพื่อรวบรวมและใช้ศักยภาพ จากบริษัทที่เข้าซื้อเพื่อส่ง ผ่านผลลัพธ์ที่เหนือกว่าภายใต้ห่วงโซ่ ผลิตภัณฑ์
89
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ก�ำไรหลักหลังภาษีและNCI และก�ำไรสุทธิ ปี 2557 (ปรับปรุง)
ล้านบาท
ก�ำไรหลักสุทธิหลังภาษี (Core Net Profit after Tax and NCI ) ก�ำไร/ (ขาดทุน) จากสินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้จากก�ำไร/(ขาดทุน)จากสินค้าคงเหลือ ก�ำไรสุทธิก่อนหักรายการพิเศษ บวก: รายการพิเศษ รายได้ / (ค่าใช้จ่าย) ค่าใช้จ่ายจากการเข้าซื้อกิจการ และ ค่าใช้จ่ายก่อนเริ่มด�ำเนินงาน ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจากการเข้าซื้อกิจการ ขาดทุนจากการ ด้อยค่า และ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาโครงการ (สุทธิ)* รายการพิเศษ รายได้/ (ค่าใช้จ่าย) อื่น = ก�ำไรสุทธิ
ปี2558
YoY%
4,886 (3,522) 369 1,733 (58) (126)
6,487 (2,918) 627 4,197 2,413 (166)
33% (17)% 70% 142% 31%
506 (438) 1,675
2,637 (59) 6,609
421% (87)% 295%
*ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจากการเข้าซื้อกิจการถูกรับรู้เมื่อการเข้าซื้อกิจการเสร็จสิ้นเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีไทย
บริษทั รับรูร้ ายการขาดทุนจากสินค้าคงเหลือซึง่ ไม่กระทบเงินสดจ�ำนวน 2.3 พันล้านบาท (หลังปรับปรุงทางภาษี) ซึ่งเกิดจากราคาที่ลดต�่ำลง อย่างรวดเร็ว หักกลบกับรายได้จากรายการพิเศษสุทธิจ�ำนวน 2.4 พัน ล้านบาท รายการก�ำไรหรือขาดทุนจากสินค้าคงเหลือค�ำนวณขึ้นทุกๆ เดือนเพือ่ สะท้อนผลการด�ำเนินงานหลักของธุรกิจ โดยค�ำนวณจากค่า เฉลี่ยของสินค้าคงเหลือระหว่างเดือนคูณด้วยส่วนเปลี่ยนแปลงของ มูลค่าสินค้าคงเหลือต้นงวดและปลายงวดโดยใช้หน่วยวัดเป็นต่อตัน การปรับปรุงรายการก�ำไรหรือขาดทุนนี้ท�ำให้บริษัทสามารถแสดงผล การด�ำเนินงานของธุรกิจได้อย่างดี ก�ำไรหรือขาดทุนจากสินค้าคงเหลือ จะถูกสะสมทุกๆ เดือนและท�ำรายงานสรุปในทุกๆไตรมาส ท�ำให้แตก ต่างจากรายการค่าเผื่อจากการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือซึ่งค�ำนวน
ตามหลักการบัญชี อย่างไรก็ตามการปรับปรุงรายการประมาณการ ขาดทุนจากสินค้าคงเหลือท�ำให้บริษัททราบถึงผลการด�ำเนินงานหลัก ของธุรกิจ รายได้จากรายการพิเศษส่วนใหญ่เกิดจากก�ำไรจากการต่อรองราคาซือ้ จากการเข้าซื้อกิจการ Polyplex กิจการ Bangkok Polyester กิจการ Cepsa Canada และกิจการอื่นๆ รวมถึงบันทึกค่าใช้จ่ายจากการเข้า ซื้อกิจการ หลังปรับปรุงด้วยขาดทุนจากสินค้าคงเหลือและรายการ พิเศษ บริษทั รายงานก�ำไรสุทธิเท่ากับ 6.6 พันล้านบาทในปี 2558 เทียบ กับ 1.7 พันล้านบาท ในปี 2557 ซึ่งเท่ากับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 295 เมื่อ เทียบปีต่อปี
การวิเคราะห์กลุ่มธุรกิจตามภูมิภาค กลุ่มธุรกิจในทวีปอเมริกาเหนือ 1,921
120
154
156
161
195
2556
2557
2558
2555
2556
2557
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
2558
2553
2554
HVA Necessities
2555
Core EBITDA/t
$/t
2554
เส้นใยอนามัยของเราถูกน�ำไปผลิตสินค้าที่ใช้ในทาง การแพทย์ อาทิ หน้ากาก หมวกคลุมผม และชุดผ่าตัด
129
220
18
169
180
66
150
641 1,505
1,285
1,200
1,224
125
88
40
HVA Necessities
90
147
92
2553
274
$MM 40
'000 tons 460
460
1,012
162
1,174
345
300
286
636
573
465
1,689
1,773
Core EBITDA ในทวีปอเมริกาเหนือ
2,146
181
ปริมาณการผลิตในทวีปอเมริกาเหนือ
ข้อสังเกต : ผลประกอบการในปีปัจจุบันและ ปีก่อน รวมผลประกอบการของกิจการ Holdings ซึ่งถูกจัดสรรเข้าแต่ละภูมิภาค
North America
2556
Necessities HVA Production (‘000 MT)
2557
1,200 573 1,773
Core EBITDA/t
Necessities HVA IVL North America
151 161 154
Necessities HVA IVL North America Core EBIT Net Op CE *ROCE%
181 92 274 173 1,789 9.8%
Core EBITDA
2558
2556
1,285 636 1,921
1,505 641 2,146
140 188 156
129 234 161
4,649 4,937 4,743
180 120 300 192 1,558 12.6%
195 150 345 234 1,745 14.6%
5,577 2,831 8,409 5,304 58,691 9.2%
USD
USD Million
2557
1,200 573 1,773
2558
1,285 636 1,921
1,505 641 2,146
4,548 6,112 5,066
4,437 8,024 5,508
5,845 3,884 9,730 6,233 51,363 12.4%
6,676 5,144 11,820 8,007 62,964 13.9%
THB
THB Million
* Annualized earnings of the M&A as applicable, holdings allocated and exclude JV investments, Note: Net Op CE=Net Operating Capital Employed, ROCE% is different in US$ and THB due to average exchange rate for earnings and closing exchange rate for capital employed
ธุรกิจในทวีปอเมริกาเหนือยังคงได้รบั ประโยชน์จากตลาดทีม่ กี ารจัดการ ที่ดีและสามารถควบคุมได้ บริษัทมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 ในปี 2558 เมื่อเทียบกับปีก่อน และมีกลยุทธ์จะเพิ่มผลผลิตอย่างต่อ เนื่องเพื่อช่วยยกระดับสัดส่วนผลิตภัณฑ์ การเข้าซื้อกิจการ IVL PTA Montreal ในประเทศแคนาดาในเดือน มิถุนายนปี 2558 และการเข้าซื้อกิจการ Cracker ในรัฐลุยเซียน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 (เริม่ การผลิตในปี 2560) และ กิจการ BP Decatur ในรัฐอลาบาม่า ประเทศสหรัฐอเมริกาใน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559 เป็นการด�ำเนินการตามกลยุทธ์ที่วางไว้ หลังการ
เสร็จสิ้นการเข้าซื้อกิจการ BP Decatur ในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 IVL จะเป็นบริษทั ทีค่ วบรวมธุรกิจต้นน�ำ้ ในทวีปอเมริกาเหนืออย่างสมบูรณ์ อัตราก�ำไรธุรกิจ MEG ลดต�่ำลงในปี 2558 ท�ำให้ core EBITDA ต่อตันในผลิตภัณฑ์ necessities ลดลง ทั้งนี้แผนการเปลี่ยน Catalyst ของโรงงานผลิต EOEG ในไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ยังคงจะด�ำเนิน ต่อไป ในภาพรวมสัดส่วนของธุรกิจผลิตภัณฑ์ necessity และผลิตภัณฑ์ HVA ยังคงมีผลตอบแทนจากการลงทุนที่ยอดเยี่ยมเป็นไปตามที่บริษัทคาด การณ์ บริษัทคาดหวังจะรวบรวมและใช้ศักยภาพจากบริษัทที่เข้าซื้อ กิจการระหว่างปี 2559
กลุ่มธุรกิจ ในทวีปยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา
ปริมาณการผลิตในทวีปยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา
109
2557
2553
2554
60 42
Eur/t
EUr MM
'000 tons HVA Necessities
2558
62 55
1,128
2556
70
41 68
1,149
2555
113
1,136
2554
57 61
77
1,070
2553
1,435
918
84
12
105
918
63
79
77
49
431
247
1,396
5
1,075
162
1,298
118
113
15
1,559
EMEA Core EBITDA ในทวียุโรปตะวันออกกลางและแอฟริกา
468
1,902
2556
HVA Necessities
2557
2558
2559
Core EBITDA/t (Eur)
ข้อสังเกต : ผลประกอบการในปีปัจจุบันและปีก่อน รวมผลประกอบการของกิจการ Holdings ซึ่งถูกจัดสรรเข้าแต่ละภูมิภาค
91
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
EMEA
2556
Necessities HVA Production (‘000 MT)
2557
1,149 247 1,396
Core EBITDA/t
Necessities HVA IVL EMEA Core EBITDA Necessities HVA IVL EMEA Core EBIT Net Op CE *ROCE%
42 15 57 22 582 4.5%
2556
2557
2558
1,435 468 1,903
1,149 247 1,396
1,128 431 1,559
1,435 468 1,903
53 113 70 EUR Million 60 49 109 65 731 9.9%
39 134 62
1,507 2,477 1,679
1,466 5,116 2,364
55 63 118 67 696 9.6%
1,732 612 2,344 880 26,214 4.2%
2,301 4,882 3,014 THB Million 2,597 2,103 4,700 2,791 29,287 9.8%
EUR
37 61 41
2558
1,128 431 1,559
THB
2,104 2,394 4,497 2,536 27,447 9.1%
* Annualized earnings of the M&A as applicable, holdings allocated and exclude JV investments, Note: Net Op CE=Net Operating Capital Employed, ROCE% is different in EUR and THB due to average exchange rate for earnings and closing exchange rate for capital employed
ในปี 2558 เป็นปีที่ท้าทายของธุรกิจในกลุ่มทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา เป็นอีกครัง้ ทีค่ วามหลากหลายในสัดส่วนผลิตภัณฑ์ทำ� ให้ บริษัทมีผลตอบแทนจากการใช้เงินทุนสุทธิมากถึงร้อยละ 9.6 เมื่อ รายงานผลประกอบการเป็นสกุลเงินยูโร (เท่ากับร้อยละ 12.3 เมื่อไม่ รวมกิจการ Polyplex PET ซึ่งได้เข้าซื้อหลังจากการสร้างโรงงานเพิ่ง เสร็จสิ้น และคาดว่าผลตอบแทนดังกล่าวจะสูงขึ้นหลังจากการด�ำเนิน งานของ Polyplex เริ่มมีเสถียรภาพ) ผลตอบแทนจากการใช้เงินทุน สุทธิของธุรกิจในทวีปยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา อยู่ในระดับ ตรงกลางระหว่างผลตอบแทนของธุรกิจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีป เอเชีย แสดงให้เห็นถึงพืน้ ฐานอันแข็งแกร่งเหมือนธุรกิจในทวีปอเมริกา เหนือ แต่ยังคงต้องพบกับอุปสรรคในธุรกิจผลิตภัณฑ์ Necessities จากอุปทานส่วนเกินของ PTA ในทวีปเอเชียและค่าขนส่งที่ต�่ำ ท�ำให้ น�ำเข้าสินค้ามาในภูมิภาคได้ง่าย การลงทุนในธุรกิจผลิตภัณฑ์ HVA ได้รับประโยชน์จากการที่บริษัท มีขนาดใหญ่ และมีโครงสร้างขั้นพื้นฐาน จึงท�ำให้มีผลประกอบการที่ ดีในตลอดช่วงระยะเวลาที่ราคา feedstock ลดลง
ในปี 2558 ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 22 เมื่อเทียบปีต่อปี จาก การเพิม่ ขึน้ ของอัตราก�ำลังการผลิต และการรับรูป้ ริมาณการผลิตแบบ เต็มปีจากการเข้าซื้อโรงงาน PHP Fibers และโรงงานผลิต PET ใน ประเทศตุรกี การขยายก�ำลังการผลิตที่โรงงานผลิต PTA ใน Rotterdam จ�ำนวน 330 กิโลตันที่อยู่ระหว่างด�ำเนินการ และคาดว่าจะแล้วเสร็จในกลางปี 2559 นัน้ จะช่วยเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กบั ต้นทุนและเพิม่ ผลตอบแทน ให้แก่บริษัท การประกาศการเข้าซื้อสินทรัพย์โรงงานผลิต IPA PTA และ PET ของกิจการ Cepsa Spain จะช่วยเพิ่มสัดส่วนผลิตภัณฑ์ HVA ของบริษัทและช่วยในการควบรวมธุรกิจ PTA Necessities และ PET นอกจากนี้บริษัทจะสามารถลดต้นทุนพวกค่าใช้จ่ายในการขาย และการบริหารได้หลังการเข้าซื้อกิจการเสร็จสิ้น บริษัทคาดหวังจะ ท�ำให้เกิดการควบรวมและผนึกก�ำลังจากการเข้าซื้อกิจการและการ ขยายโรงงาน PTA ใน Rotterdam
กลุ่มธุรกิจ ในทวีปเอเชีย Core EBITDA ในทวีปเอเชีย 46
30
251
30
259
175
59
156
56
59
92
2556
2557
2558
PET & Fibers Necessity PTA Asia
HVA Asia Core EBITDA/t
ข้อสังเกต : ผลประกอบการในปีปัจจุบันและปีก่อน รวมผลประกอบการของกิจการ Holdings ซึ่งถูกจัดสรรเข้าแต่ละภูมิภาค
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
61
77
2555
$/t
2554
22
2553
23
2558
HVA
58
1,137
2557
25
1,115
2556
33
1,258
2555
PET & Fibers Necessity PTA Asia
52
6 34
1,202
2554
146
1,258
2553
73 32
$MM
1,258 '000 tons
194
55
93
137
119
56
141
1,484
1,396
1,118
822
714
259
2,268
2,770
255
244
2,112
1,808
468
82
140
2,635
2,975 354
ปริมาณการผลิตในทวีปเอเชีย
Asia
Necessities HVA Production (‘000 MT) Core EBITDA/t Necessities HVA IVL Asia Core EBITDA Necessities HVA IVL Asia Core EBIT Net Op CE *ROCE%
2556 (ปรับปรุง)**
THB
2,376 259 2,635
1,066 6,491 1,599 THB Million 2,532 1,682 4,213 1,941 48,521 4.3%
2557 (ปรับปรุง)
2258
1,290 7,014 1,824
1,076 8,990 2,018
3,239 1,813 5,052 2,559 51,874 4.2%
2,822 3,183 6,005 2,455 59,838 5.0%
2,511 259 2,770
ธุรกิจ Necessities ในทวีปเอเชียยังคงได้รบั ผลกระทบจากอุปทานส่วน เกิน โดยเฉพาะ PTA ที่ยังคงซบเซาอย่างต่อเนื่องตลอด 4 ปี อย่างไร ก็ตามธุรกิจ PET มีการฟื้นฟูในครึ่งหลังของปี 2558 จากจุดตกต�่ำใน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 และคาดว่าจะฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจ HVA ในภูมิภาคนี้มีผลประกอบการที่ดี โดยมี Core EBITDA เพิ่มขึ้นอย่างเป็นสาระส�ำคัญในปี 2558 เมื่อเทียบปีต่อปี เป็น 3.2 พัน ล้านบาท และเป็นครั้งแรกที่มากกว่าธุรกิจ Necessities ในภูมิภาคนี้ การเข้าซื้อกิจการ Performance Fibers ในไตรมาสที่ 2 ปี 2558 เป็นการขยายสัดส่วนผลิตภัณฑ์ HVA ในทวีปเอเชียซึง่ สามารถเห็นผล ประกอบการของธุรกิจ HVA ได้ในตาราง บริษัทอยู่ระหว่างการปรับปรุง Core EBITDA ต่อตันในทวีปเอเชียด้วย การเพิ่มสัดส่วนผลิตภัณฑ์ HVA และเพิ่มการควบรวมวัตถุดิบในธุรกิจ ต้นน�ำ้ รวมไปถึงการผนึกก�ำลังกันของโรงงาน IVL เช่น การเพิม่ สัดส่วน ผลิตภัณฑ์ HVA และ สินค้า Recycle ในประเทศไทย ขณะที่ท�ำการ ผลิตผลิตภัณฑ์ Necessities ในประเทศอินโดนีเซียเพื่อการบริโภคใน ประเทศ การเข้าซื้อกิจการ Bangkok Polyester PET ในไตรมาสที่ 2 ปี 2558 และการเข้าสู่ตลาดอินเดียโดยการเข้าซื้อกิจการ Micropet PET ใน ไตรมาสที่ 4 ปี 2558 ถือเป็นก้าวหนึ่งในการเพิ่มการควบรวมในธุรกิจ ต้นน�้ำและการเติบโตในตลาดที่น่าสนใจ การเข้าซื้อกิจการดังกล่าวส่ง ผลให้มกี ารบริโภค PTA ภายในกลุม่ บริษทั เพิม่ สูงขึน้ จากโรงงานซึง่ ตัง้ อยู่ใกล้เคียงกันและช่วยลดต้นทุนในการขนส่ง บริษัทคาดหวังการเข้าซื้อกิจการจะช่วยควบรวมและใช้ศักยภาพจาก บริษัทที่เข้าซื้อกิจการ ปรับสัดส่วนผลิตภัณฑ์ และเพิ่มผลตอบแทน จากการใช้เงินทุนสุทธิ ดังจะเห็นได้จากผลประกอบการส�ำหรับ 3 ปีที่ ผ่านมาถึงแม้ว่าบริษัทจะต้องเผชิญกับตลาดที่ท้าทายและเศรษฐกิจที่ ซบเซาในประเทศจีน
2,621 354 2,975
* Annualized earnings of the M&A as applicable, holdings allocated and exclude JV investments, Note: Net Op CE=Net Operating Capital Employed ** Periods with R are restated numbers as per the adoption of new and revised TFRS. Restated 2013 as well accordingly, though not material.
นโยบายการบัญชี บริษัทน�ำนโยบายการบัญชีมาถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอในทุกๆงวด ส�ำหรับข้อมูลนโยบายการบัญชีหลัก ให้อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 3, 4 และ 41 ของงบการเงินส�ำหรับปี 2558
วรรคเน้นข้อมูลและเหตุการณ์ ในรายงานของผู้สอบบัญชี ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขต่องบการเงินของบริษัท พร้อมทั้งขอให้สังเกตข้อมูลและเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ก) กลุม่ บริษทั เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับทีด่ นิ อาคารและ อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตสิ่งทอและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่วัน ที่ 1 มกราคม 2558 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีที่ใช้ใน แต่ละส่วนงานธุรกิจ ตัวเลขเปรียบเทียบที่น�ำมาแสดงนี้น�ำมาจาก งบการเงินรวมที่ตรวจสอบแล้ว ณ วันที่ และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หลังจากปรับปรุงรายการตามที่ได้อธิบายไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี ข) กลุม่ บริษทั ได้เสร็จสิน้ การซือ้ ธุรกิจหลายแห่ง ซึง่ ส่งผลให้กลุม่ บริษทั บันทึกค่าความนิยมจ�ำนวน 918.4 ล้านบาทซึ่งรวมอยู่ในงบแสดง ฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และก�ำไรจากการ ต่อรองราคาซื้อจ�ำนวน 3,625.7 ล้านบาทซึ่งรวมอยู่ในงบก�ำไร ขาดทุนรวมส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุตธิ รรม ของกิจการที่ซื้อมาและการปันส่วนราคาซื้อเป็นมูลค่าที่ประมาณ การและอาจมีการปรับปรุง อ้างถึงหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 5 เรื่อง การซื้อธุรกิจ
93
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงาน
Business Segments- Key Financial Data
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
ปริมาณผลิต (พันตัน) 6,249 7,024 12% PET 3,098 3,414 10% เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร 1,148 1,315 15% และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock 2,004 2,295 15% West Feedstock 889 1,158 30% Asia PTA 1,115 1,137 2% อัตราการผลิต (%) 85% 86% 0% PET 85% 84% (1)% 85% 90% 6% เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock 87% 86% (0)% West Feedstock 96% 90% (6)% Asia PTA 81% 83% 3% Core EBITDA (ล้านบาท) 19,481 22,322 15% PET 9,275 8,944 (4)% เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ 4,108 6,675 62% และเส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock 6,296 6,655 6% West Feedstock 5,545 5,913 7% 751 743 (1)% Asia PTA 96 93 (3)% Core EBITDA ต่อตัน (เหรียญสหรัฐต่อตัน) PET 92 76 (17)% เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และ 110 148 34% เส้นใยจากขนสัตว์ Feedstock 97 85 (13)% West Feedstock 192 149 (22)% Asia PTA 21 19 (8)% หมายเหตุ : Core EBITDA ของปี 2557 รวมเงินประกันชดเชยค่าเสียหายจากเหตุการณ์ น�้ำท่วมโรงงานในจังหวัดลพบุรีจ�ำนวน 140 ล้านบาทใน PET
รายได้จากการขายสินค้า
รายได้จากการขาย บวกกลับรายการระหว่างกัน รายได้จากการขายหลังปรับปรุง PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ Feedstock
94
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2557
243,907.2 35,964.2 279,871.5 145,120.7 70 274.0 64,476.8
ปี 2558
234,697.9 30,315.4 265,013.3 131,834.0 73,218.8 59,960.5
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
(3.8)% (5.3)% (9.2)% 4.2% (7.0)%
รายได้จากการขายสินค้าใน ปี 2558 เท่ากับ 234,697.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.8 จากปี 2557 โดยมีสาเหตุหลักมาจากราคาผลิตภัณฑ์ที่ ลดลงซึง่ เป็นไปตามราคาน�ำ้ มันดิบ ถึงแม้ว่า ปริมาณการผลิตจะเพิ่มขึ้น รายได้จากกลุ่มธุรกิจ PET รายได้ของกลุ่มธุรกิจ PET ในปี 2558 เท่ากับ 131,834.0 ล้านบาท ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 13,286.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 9.2 โดยมีสาเหตุหลักมาราคาผลิตภัณฑ์ที่ลด ลงอย่างเป็นสาระส�ำคัญในปี 2558 ตามราคา น�้ำมันดิบ รายได้จากกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลี เอสเตอร์ รายได้จากการขายเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอส เตอร์ใน ปี 2558 เท่ากับ 73,218.8 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 จ�ำนวน 2,944.9 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 โดยมีสาเหตุหลักมา จากปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น ถึงแม้ราคา ผลิ ต ภั ณฑ์ จะลดต�่ำลง ปริ ม าณการผลิต ที่ เพิม่ สูงขึน้ ร้อยละ 15 จากปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจาก การเพิ่มขึ้นของอัตราการผลิตและการเข้า ซื้อกิจการ Performance Fibers ในไตรมาส ที่ 2 ของปี 2558 นอกจากนั้นยังรวมถึง การด�ำเนินงานเต็มปีเป็นปีแรกของ PHP Fibers ซึ่งบริษัทเข้าซื้อกิจการในไตรมาสที่ 2 ของปี 2557 รายได้จากกลุ่มธุรกิจ Feedstock รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์กลุม่ ธุรกิจ Feed stock ในปี 2558 เท่ากับ 59,960.5 ล้าน บาท ลดลงจากปี 2557 จ�ำนวน 4,516.3 ล้าน บาท หรือลดลงร้อยละ 7.0 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากปริมาณการผลิต MEG ทีล่ ดลง อันเกิด จากการการหยุดการผลิตของโรงงาน EOEG เป็นเวลาหนึ่งเดือน และจากการที่ catalyst มีอายุถึงก�ำหนด รวมถึงการลดลงอย่างมีนัย ส�ำคัญของราคาผลิตภัณฑ์ ในปี 2558 ตาม ราคาน�้ำมันดิบ
บรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยส�ำหรับเข้าไมโครเวฟท�ำจากวัตถุดิบ ของเรา เรียกว่า CPET
ต้นทุนขายสินค้า (ล้านบาท)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
ต้นทุนขาย 215,711.7 202,066.2 (6.3)% ร้อยละของรายได้จากการขาย 88.4% 86.1% บวกกลับรายการระหว่างกัน 34,923.8 28,093.7 ต้นทุนขายหลังปรับปรุง 250,635.5 230,160.0 (8.2)% PET 131,031.5 117,411.9 (10.4)% ร้อยละของรายได้ธุรกิจ PET 90.3% 89.1% เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ 62,048.9 62,189.9 0.2% ร้อยละของรายได้ธุรกิจเส้นใย และเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ 88.3% 84.9% Feedstock 57,555.1 50,558.2 (12.2)% ร้อยละของรายได้ธุรกิจ Feedstock 89.3% 84.3% ต้นทุนขายสินค้าของบริษทั ฯใน ปี 2558 เท่ากับ 202,066.2 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ จากปี 2556 จ�ำนวน 13,645.5 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.3 โดยต้นทุนขายทีล่ ดลงผันแปรไปในทิศทางเดียวกัน กับรายได้จากการขายที่ลดลง
ก�ำไรขั้นต้นในปี 2558 เท่ากับ 32,631.7 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 4,436.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7อัตราก�ำไร ขั้นต้นของปี 2558 เท่ากับร้อยละ 13.9 เพิ่ม ขึน้ จากปีกอ่ นเล็กน้อย ซึง่ โดยหลักมาจากการ เปลี่ยนแปลงในสัดส่วนผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจ PET ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจ PET ในปี 2558 เท่ากับ 14,422.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 332.9 ล้านบาท จากปี 2557 อัตราก�ำไรขัน้ ต้น ในปี 2558 เท่ากับร้อยละ 10.9 เพิ่มขึ้นเล็ก น้อยเนือ่ งมาจากการลดลงของราคาผลิตภัณฑ์ ในขณะที่อัตราก�ำไรไม่ได้แปรผันลดลงตาม การลดลงของรายได้
ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้าย ต้นทุนขายสินค้ากลุ่มธุรกิจ PET โพลีเอสเตอร์ ต้นทุนขายสินค้าของกลุ่มธุรกิจ PET ในปี 2558 เท่ากับ 117,411.9 ล้านบาทลดลงจากปี 2557 ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้าย จ�ำนวน 13,619.6 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.4 โดยต้นทุนขายที่ลดลงผันแปรไปในทิศทาง โพลีเอสเตอร์ ในปี 2558 เท่ากับ 11,028.9 เดียวกันกับรายได้จากการขายที่ลดลง รวมถึงราคาวัตถุดิบที่ลดลงอย่างเป็นสาระส�ำคัญในปี ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 2,803.9 ล้านบาท 2558 ตามราคาน�้ำมันดิบ จากปี 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นในปี 2558 เท่ากับร้อยละ 15.1 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนโดย ต้นทุนขายสินค้ากลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ มีสาเหตุหลักเนื่องจากปริมาณการผลิตผลิต ต้นทุนขายสินค้าของกลุม่ ธุรกิจธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ในปี 2558 เท่ากับ 62,189.9 ภั ณ ฑ์ ช นิ ด พิ เ ศษที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากการเข้ า ซื้ อ ล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2557 จ�ำนวน 141.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 โดยมี กิจการ PHP Fibers ในไตรมาสที่ 2 ของ สาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการผลิตส�ำหรับผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษจากการเข้าซือ้ ปี 2557 และ Performance Fibers ในไตรมาส กิจการ Performance Fiber ในประเทศจีน ที่ 2 ปี 2558 ซึ่งมีอัตราก�ำไรที่สูง และการ ลดลงของราคาผลิตภัณฑ์ ต้นทุนขายสินค้ากลุ่มธุรกิจ Feedstock ต้นทุนขายสินค้าของกลุ่มธุรกิจ Feedstock ในปี 2558 เท่ากับ 50,558.2 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2557 จ�ำนวน 6,996.9 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 12.2 โดยต้นทุนขายที่ลดลงผันแปรไปใน ทิศทางเดียวกันกับรายได้จากการขายทีล่ ดลง รวมถึงราคาวัตถุดบิ ทีล่ ดลงอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ใน ปี 2558 ตามราคาน�้ำมันดิบ ก�ำไรขั้นต้น ล้านบาท
ก�ำไรขั้นต้น ร้อยละของรายได้จากการขาย บวกกลับรายการระหว่างกัน ก�ำไรขั้นต้นหลังปรับปรุง PET ร้อยละของรายได้ธุรกิจ PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ร้อยละของรายได้ธุรกิจเส้นใยและ เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ Feedstock ร้อยละของรายได้ธุรกิจ Feedstock
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
28,195.5 11.6% (1,040.5) 29,236.0 14,089.3 9.7% 8,225.0
32,631.7 13.9% (2,221.7) 34,853.4 14,422.1 10.9% 11,028.9
15.7% 19.2% 2.4% 34.1%
11.7% 6,921.7 10.7%
15.1% 9,402.3 15.7%
35.8%
ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจ Feedstock ก�ำไรขั้นต้นของกลุ่มธุรกิจ Feedstock ใน ปี 2558 เท่ากับ 9,402.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 2,480.6 ล้านบาท จากปี 2557 อัตรา ก�ำไรขั้นต้นในปี 2558 เท่ากับร้อยละ 15.7 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน โดยมีสาเหตุมาจากการ เพิ่มขึ้นของอัตราก�ำไรของธุรกิจ EOEG และ การลดลงของราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ม้ ว ่ า ก� ำไร ส�ำหรับ PTA ในทวีปเอเชียได้รับผลกระทบ ทางลบจากการประกาศเหตุสดุ วิสยั โดยผูผ้ ลิต PX ในประเทศไทย (กลับสู่ภาวะปกติแล้วใน เดือนธันวาคม 2558) นอกจากนี้อัตราก�ำไร ไม่ได้แปรผันลดลงตามการลดลงของรายได้ ด้วย
95
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราก�ำไร* (Spread or Raw Material Margins) เหรียญสหรัฐต่อตัน
อัตราก�ำไรของอุตสาหกรรม Asia PET West PET (50:50 - อเมริกาเหนือ : ยุโรป) อัตราก�ำไรของบริษัท Asia PET West PET (IVL Actual Mix) อัตราก�ำไรของอุตสาหกรรม Asia PTA West PTA (50:50 - อเมริกาเหนือ : ยุโรป) อัตราก�ำไรของบริษัท Asia PTA West PTA (IVL Actual Mix)
ปี 2557
ปี 2558
142 248
117 211
187 282
162 242
87 231
95 214
113 260
101 218
*ราคาขายของผลิตภัณฑ์หักวัตถุดิบที่ถูกใช้ไป
โดยปกติแล้วบริษทั มีอตั ราก�ำไรเหนือกว่าอัตราก�ำไรของอุตสาหกรรมเล็กน้อยเนือ่ งจากการผลิต ปริมาณมากและการกระจายตัวของธุรกิจในระดับสากล ก�ำลังการผลิตจากทีต่ งั้ ในภูมภิ าคทีห่ ลาก หลายท�ำให้อัตราก�ำไรของบริษัทสูงเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ล้านบาท
EBITDA(1) บวก : ขาดทุน (ก�ำไร) ในสินค้าคงเหลือ(2) Core EBITDA ร้อยละของรายได้จากการขาย บวกกลับรายการระหว่างกันและอื่นๆ(3) Core EBITDA หลังปรับปรุง PET ร้อยละของรายได้ธุรกิจ PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ร้อยละของรายได้ธุรกิจเส้นใยและ เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ Feedstock ร้อยละของรายได้ธุรกิจ Feedstock
ปี 2557
ปี 2558
15,959.3 3,522.0 19,481.3 8.0% 197.8 19,679.2 9,274.6 6.4% 4,108.4
19,404.8 2,917.6 22,322.5 9.5% (48.3) 22,274.2 8,943.9 6.8% 6,674.8
5.8% 6,296.1 9.8%
9.1% 6,655.5 11.1%
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
21.6% 14.6%
(3.6)% 62.5% 5.7%
(1) ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ค�ำนวณจากรายได้จาก การขาย บวกก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ บวกรายได้อื่น หักด้วยต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหาร (ไม่รวมค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย) ค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์ผบู้ ริหาร และปรับปรุงด้วย รายการพิเศษอื่น (2) ก�ำไร/ขาดทุนในสินค้าคงเหลือ คือ ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการปรับราคาสินค้าคงเหลือทีบ่ ริษทั ครอบครอง อยู่ทุกเดือน จากการเคลื่อนไหวของราคาสินค้าส�ำเร็จรูปและวัตถุดิบตามราคาตลาด (3) รายการระหว่างกันและอื่นๆ รวมถึง รายการปรับปรุงก�ำไรระหว่างกลุ่มธุรกิจ และ EBITDA จากบริษัทที่ ประกอบธุรกิจลงทุน (Holding Company) ของบริษัทฯ
96
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
โพลี เ อสเตอร์ ข องเราถู ก น� ำ ไปใช้ ผ ลิ ต สายพานการผลิ ต ใน อุตสาหกรรมอาหาร
ก� ำ ไรหลั ก ก่ อ นดอกเบี้ ย จ่ า ย ภาษี เ งิ น ได้ ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (Core EBITDA) ในปี 2558 เท่ากับ 22,322.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.6 จากปี 2557 ซึ่งเท่ากับ 19,481.3 ล้านบาท Core EBITDA เท่ากับ EBITDA บวกกลับขาดทุน (ก�ำไร) ในสินค้า คงเหลือ Core EBITDA ของกลุ่มธุรกิจ PET Core EBITDA ของกลุม่ ธุรกิจ PET ในปี 2558 เท่ากับ 8,943.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3.6 จาก 9,274.6 ล้านบาท ในปี 2557 โดยมี สาเหตุหลักมาจากอัตราก�ำไรที่ลดลง แต่ถูก ชดเชยด้วยการเพิ่มสัดส่วนก�ำลังการผลิตใน ผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษซึ่งช่วยให้อัตราก�ำไร Core EBITDA ค่อนข้างคงที่เมื่อเทียบปีต่อปี เท่ากับร้อยละ 6.8 ในปี 2558 ในขณะที่ราคา ผลิตภัณฑ์ลดลง Core EBITDA ของกลุ่มธุรกิจ เส้นใยและ เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ Core EBITDA ของกลุ่มธุรกิจเส้นใยและเส้น ด้ายโพลีเอสเตอร์ในปี 2558 เท่ากับ 6,674.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.5 จาก 4,108.4 ล้านบาท ในปี 2557 เนื่องมาจากปริมาณการ ผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ และการเพิม่ สัดส่วนผลิตภัณฑ์ ชนิดพิเศษจากการเข้าซือ้ กิจการ PHP Fibers และ Performance Fibers ซึ่งเป็นสาเหตุ หลักให้บริษัทสามารถรักษาระดับอัตราก�ำไร Core EBITDA อยู่ที่ร้อยละ 9.1 ในปี 2558 ในขณะที่ราคาผลิตภัณฑ์ลดลง Core EBITDA ของกลุ่มธุรกิจ Feedstock Core EBITDA ของกลุ่มธุรกิจ Feedstock ใน ปี 2558 เท่ากับ 6,655.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.7 จาก 6,296. 1 ล้านบาทในปี 2557 อัตราก�ำไร Core EBITDA ของ Feedstock ในปี 2558 เท่ากับร้อยละ 11.1 เทียบกับร้อย ละ 9.8 ในปี 2557 เพิม่ ขึน้ จากการเพิม่ ขึน้ ของ อัตราก�ำไรของผลิตภัณฑ์ EOEG และราคา ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง
รายได้อื่น ล้านบาท
ดอกเบี้ยรับ ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ผลกระทบจากน�้ำท่วม-สุทธิ รายได้อื่น รวม
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
71.6 375.4 1,669.9 140.0 1,572.8 3,829.6
166.7 48.5 3,625.7 1,594.8 5,435.6
132.8% (87.1)% 117.1% (100.0)% 1.4% 41.9%
ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับในปี 2558 เท่ากับ 166.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 95.1 ล้านบาทจากปี 2557 หรือ ร้อยละ 132.8 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดใน ระหว่างปี ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิในปี 2558 เท่ากับ 48.5 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 326.9 ล้านบาท จากปี 2557 หรือคิดเป็นร้อยละ 87.1 โดยมีสาเหตุหลักเนื่องจากวินัยทางการเงินของบริษัทใน การป้องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นด้านลูกหนีแ้ ละเจ้าหนี้ อีกทัง้ ความผันผวนจากอัตรา แลกเปลี่ยนยังถูกป้องกันโดยธรรมชาติเนื่องจากความหลากหลายทางภูมิภาค ตัวอย่างเช่น สินทรัพย์ ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐได้รับการป้องกันความเสี่ยงโดยธรรมชาติจากหนี้สินในสกุล
(ล้านบาท)
เงินเดียวกันโดยทัว่ ไปการอ่อนค่าของเงินบาท เป็นส่งผลดีตอ่ บริษทั ซึง่ เป็นบริษทั ระดับสากล โดยท�ำให้เกิดก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนของ เงินลงทุนในต่างประเทศโดยผลต่างดังกล่าว จะถูกแสดงในรายการผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงินในส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ในระหว่างปี 2558 บริษทั ฯมีการเข้าซือ้ กิจการ หลายแห่ง ซึ่งส่วนเกินจากส่วนได้เสียของ กลุ่มบริษัทในสินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุ ได้ของกิจการที่ซื้อมาสูงกว่าต้นทุน (หรือ มูลค่าที่รับรู้สูงกว่าสิ่งตอบแทนในการซื้อ) ได้ ถูกบันทึกเป็นก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ และรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนรวมตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไปเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ บริษัทฯ จะมีการประเมินค่าและรับรู้มูลค่า สินทรัพย์สุทธิและหนี้สินที่ได้มาทุกครั้ง ตาม มูลค่ายุติธรรมซึ่งการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม นีค้ ำ� นวณจากความแตกต่างระหว่างมูลค่าทาง บัญชีและมูลค่าที่รับรู้ โดยในปี 2558 บริษัทฯ มีกำ� ไรจากการต่อรองราคาซือ้ เท่ากับ 3,625.7 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
สินทรัพย์ที่ ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาสุทธิ ปรับปรุง ก�ำไรจาก มูลค่า มูลค่า ส่วนได้เสีย สิ่งตอบแทน การต่อรอง ตามบัญชี ยุติธรรม มูลค่าที่รับรู้ (%) มูลค่าที่รับรู้ ในการซื้อ ราคาซื้อ
กิจการที่ซื้อมาระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 PHP Fibers GmbH, Germany 5,507.80 Artenius Turkpet Kimyevi Maddeler Sanayi A.S., Turkey 987.7
(32.8) 5,475.00 365.5 1,353.10
กิจการที่ซื้อมาระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 Polyplex Resins San. ve Tic. A.S., Turkey 267.5 144.4 411.9 Performance Fibers Holdings Finance, Inc., USA 3,340.70 1,991.70 5,332.30 Bangkok Polyesters Public Company Limited, Thailand 1,468.60 818.6 2,287.20 CEPSA Chimie Montréal s.e.c, Canada 13,285.50 (2,833.90) 10,451.60 Micro Polypet Private Limited, India 83 148.3 231.2
80% 4,380.00 3,292.90 1,087.10 100% 1,353.10
770.3
582.8 1,669.90
100% 411.9 210.2 100% 5,332.30 6,250.70
201.7 -
99% 2,263.60 1,356.20 907.5 100% 10,451.60 7,992.70 2,458.90 100% 231.2 173.8 57.5 3,625.60
97
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ฝ่ายบริหารของบริษัทเห็นว่าก�ำไรจากการ ต่อรองราคาซื้อถือเป็นรายการพิเศษซึ่งไม่ได้ เกิดจากการด�ำเนินงานตามปกติของบริษัทฯ แต่ถกู รวมอยู่ในก�ำไรสุทธิของบริษทั ฯ โดยราย ละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการซื้อกิจการแต่ละ แห่ง ถูกแสดงอยู่ ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 4 เรือ่ งการซือ้ ธุรกิจ ส่วนสินทรัพย์ สุทธิที่ได้จากการซื้อกิจการดังกล่าว รวมถึง สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน เช่น สัญญาที่ท�ำกับ ลูกค้า ค่าลิขสิทธ์ทางเทคโนโลยี ชือ่ ผลิตภัณฑ์ และเครือ่ งหมายการค้า ได้ถกู บันทึกในงบการ เงินด้วยราคายุติธรรมทั้งหมด ซึ่งจะมีการหัก ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย หรือบันทึกการ ด้อยค่า (ถ้ามี) ตามนโยบายการบัญชี ซึ่งถูก แสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 เรื่องนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ จากประสบการณ์ของฝ่ายบริหารของบริษัท และรูปแบบของธุรกิจท�ำให้บริษทั สามารถเข้า ซื้อกิจการในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมที่ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญอิสระ ดังนั้นบริษัท จึงมีการรับรูร้ ายการก�ำไรจากการต่อรองราคา ซื้ อ โดยรายการก� ำ ไรนี้ ถู กรั บ รู ้ ภายใต้ ที่ ดิ น อาคาร และอุปกรณ์ หรือสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน หรือสินทรัพย์อื่นๆ ผลกระทบจากน�้ำท่วมสุทธิ ในปี 2557 บริษัทได้รับเงินประกันชดเชยการ สูญเสียรายได้จากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมในจังหวัด ลพบุรีระหว่างปี 2554 เป็นจ�ำนวน 140 ล้าน บาท บริษัทได้รับเงินประกันชดเชยการสูญ เสียรายได้จากเหตุการณ์น�้ำท่วมทั้งหมดแล้ว ในปี 2557 รายได้อื่น รายได้อื่นในปี 2558 เท่ากับ 1,594.8 ล้าน บาท ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระ ส�ำคัญจากปี 2557
หนึ่งในผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มสูง ได้แก่ เส้นใยอนามัยซึ่งอยู่ใน ผลิตภัณฑ์ส�ำหรับผู้หญิง
98
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าใช้จ่าย ล้านบาท
ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ผู้บริหาร รวม
ปี 2557 (ปรับปรุง)
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
11,139.6 5,397.4 90.2 16,627.2
12,443.5 6,736.5 112.9 19,292.9
11.7% 24.8% 25.2% 16.0%
ค่าใช้จ่ายในปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 19,292.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 2,665.7 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.0 ซึ่งเป็นผลจากค่าใช้จ่ายในการขายและค่า ใช้จา่ ยในการบริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปริมาณการผลิตและอัตราเงินเฟ้อทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกจากนี้ บริษทั ได้ตั้งประมาณการขาดทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับโครงการจ�ำนวน 609.7 ล้านบาท เป็น ส่วนของค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส�ำหรับเงินจ่ายล่วงหน้าของโครงการ Abu Dhabi เนื่องด้วย โครงการดังกล่าวต้องสิ้นสุดลงตามแผนกลยุทธ์ของบริษัท บริษัทมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ผู้บริหารเพิ่มขึ้นเล็กน้อย สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเงิน เดือนและค่าแรง อ้างถึงรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 31 เรื่องค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินในปี 2558 เท่ากับ 3,652.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 97.6 ล้าน บาท โดยต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นไปในทิศทางเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า-สุทธิ ในปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า-สุทธิเท่ากับ 242.2 ล้านบาท และ 1,356.1 ล้านบาทตามล�ำดับ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วม ค้าลดลงอย่างมีสาระส�ำคัญมีสาเหตุมาจากการหยุดการด�ำเนินงานชั่วคราวของโรงงาน UAB Ottana Polimeri Europe อ้างถึงรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 13 เรื่องเงิน ลงทุนในกิจการร่วมค้าในงบการเงินของบริษัท ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ในปี 2558 เท่ากับ 1,880.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2557 จ�ำนวน 255.4 ล้านบาท ซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของผลประกอบการในปี 2558 ก�ำไรสุทธิ ล้านบาท
ปี 2557 (ปรับปรุง)
ปี 2558
ปี 2557 เทียบกับ ปี 2558
ก�ำไรสุทธิ 1,960.5 6,888.4 251.4% ร้อยละของรายได้รวม 0.80% 2.94% การแบ่งปันก�ำไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม: ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ 1,675.1 6,609.3 294.6% ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม 285.4 279.1 (2.2)% ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 6,888.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,927.9 ล้านบาทจากปีก่อน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 251.4 ซึ่งเป็นผลมาจากผลประกอบการที่ดีขึ้นตามที่ ได้อธิบายไว้ข้างต้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ EBITDA ทั้งนี้ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี รวมรายการ พิเศษ คือ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องกับการซื้อกิจการ ซึ่งรายการเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจ�ำจากการด�ำเนินงานตามปกติของกิจการ
ฐานะการเงิน บริษัทมองภาพรวมฐานะการเงินของหลายๆบริษัทในระดับกลุ่มบริษัท โดยมีการติดตามฐานะ การเงินที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างใกล้ชิดในระดับกลุ่มบริษัท การวิเคราะห์ฐานะการเงินที่เปลี่ยน ไปมีดังนี้
สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯมีสินค้า คงเหลือสุทธิเท่ากับ 31,785.6 ล้านบาท และ 29,141.1 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 14.3 และร้อยละ 15.0 ของสินทรัพย์รวม ซึ่ง การเพิ่มขึ้นของสินค้าคงเหลือนี้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกันกับการขยายกิจการและการ เติบโตของธุรกิจในปี 2558
สินทรัพย์รวม ณ สิน้ ปี 2558 และ ปี 2557 บริษทั ฯมีสนิ ทรัพย์รวมเท่ากับ 221,640.6 ล้านบาท และ 194,533.7 ล้านบาทตามล�ำดับ สินทรัพย์เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13.9 มีสาเหตุหลักมาจากการเติบโตและการขยาย กิจการของบริษัทฯ โดยรายละเอียดสินทรัพย์หลักของบริษัทฯ มีดังนี้ เงินลงทุนในการร่วมค้า ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯมีเงิน ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีลูกหนี้การค้าสุทธิเท่ากับ 27,499.6 ล้านบาท และ ลงทุนในการร่วมค้าเท่ากับ 1,962.4 ล้านบาท 26,203.0 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 12.4 และ ร้อยละ 13.5 ของสินทรัพย์รวม บริษทั ฯ และ 1,941.9 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็นร้อย มีการก�ำกับดูแลและบริหารลูกหนีท้ ดี่ ขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ย่อยแต่ละบริษทั มีความรับผิดชอบ ละ 0.9 และร้อยละ 1.0 ของสินทรัพย์รวม โดย ในการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และติดตามค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยเน้นจ�ำนวนหนี้ที่ การลดลงของเงินลงทุนนี้เป็นผลมาจากการ ครบก�ำหนดมาแล้วมากกว่า 12 เดือนเพื่อให้แน่ใจว่าการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญนั้นเพียงพอ บันทึกส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการ ทั้งนี้ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอยู่ในระดับต�่ำเนื่องจากการติดตามอย่างใกล้ชิด และการจัดเก็บหนี้ ร่วมค้าจ�ำนวน 242.2 ล้านบาทในปี 2558 เนื่องมาจากอัตราก�ำไร PTA ที่ต�่ำลง และ ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด โดยอายุลูกหนี้การค้ามีรายละเอียดดังนี้ ขาดทุนจากสินค้าคงเหลือที่มากขึ้น งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 (ล้านบาท)
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน สุทธิ กิจการอื่นๆ ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
1,682.2
664.3
108.3 1.0 1,791.4
564.7 0.0 1,229.0
21,154.5
21,915.5
3,039.4 148.3 51.5 141.8 24,535.5 (123.9) 24,411.6 26,203.0
3,350.2 740.2 235.7 164.1 26,405.7 (135.1) 26,270.6 27,499.6
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯมีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิเท่ากับ 120,365.6 ล้านบาท และ 97,822.5 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 54.3 และร้อยละ 50.3 ของ สิ น ทรั พ ย์ ร วม โดยการเพิ่ ม ขึ้ น ของที่ ดิ น อาคาร และอุปกรณ์ เป็นผลจากการเข้าซื้อ กิจการ 6 แห่งและการขยายก�ำลังการผลิตที่ โรงงานผลิต PTA ใน Rotterdam ซึ่งอยู่ ระหว่างด�ำเนินการ อ้างถึงหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ข้อ 15 เรื่องที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ ในงบการเงินของบริษัทธุรกิจ PET มีทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อย ละ 20 ในปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็น เท่ากับ 44,733.2 ล้านบาท สาเหตุหลักมา จากการเข้าซื้อกิจการ Polyplex ในประเทศ ตุรกี Bangkok Polyester ในประเทศไทยและ MicroPet ในประเทศอินเดีย ธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์มีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 22 ในปี 2558 เมื่อเทียบกับปี 2557 เป็นเท่ากับ 34,603.2 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการ เข้าซื้อกิจการ Performance Fibers และ การลงทุนขนาดเล็กในโรงงานปัจจุบัน
99
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ธุรกิจ Feedstock มีทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 27 ในปี 2558 เมือ่ เทียบ กับปี 2557 เป็นเท่ากับ 40,950.4 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการเข้าซื้อกิจการ Cepsa ในประเทศแคนาดา และ US Gas Cracker ในปี 2558 พร้อมทั้งการขยายก�ำลังการผลิต ที่โรงงานผลิต PTA ใน Rotterdam ซึ่งอยู่ ระหว่างด�ำเนินการ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษัท รายงานสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนจ�ำนวน 13,581.2 ล้านบาทและ 11,126.9 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 6.1 และ 5.7 ของสินทรัพย์ รวม การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเกิด จากการเข้าซื้อกิจการในปี 2558 โดยเฉพาะ กิจการ Performance Fibers ท�ำให้ได้มา ซึ่งสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เช่น สิทธิเทคโนโลยี และองค์ความรู้ ความสัมพันธ์กับลูกค้า ชื่อ ทางการค้าและเครื่องหมายการค้า บริษัท บันทึกการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เมื่ อ เข้ า ซื้ อ กิ จ การด้ ว ยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมซึ่ ง ถูกประเมินมูลค่าโดยนักประเมินราคาอิสระซึง่ สูงกว่าราคาเข้าซื้อกิจการ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทมีเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6 เรือ่ ง บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันในงบการเงิน เงินให้กยู้ มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องดังกล่าวเนือ่ ง ด้วยเหตุผลทางกลยุทธ์ที่หลากหลาย โดย ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวนเงินดังกล่าว ไม่ มี ส าระส� ำ คั ญ และบริ ษั ท เชื่ อว่ า บริ ษั ท ที่ กิจการให้เงินกูย้ มื มีผลการด�ำเนินงานทีด่ พี อที่ จะคืนเงินกู้ยืมดังกล่าว หนี้สินรวม ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีหนี้สิน รวมเท่ า กั บ 138,687.7 ล้ า นบาท และ 119,924.1 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยหนี้สิน ที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุหลักมาจากการที่บริษัทฯ มีเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ การออก หุ้นกู้ และการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้าซึ่ง เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของ ปริมาณการผลิตจากการขยายก�ำลังการผลิต และการเข้าซื้อกิจการ
100
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เจ้าหนี้การค้า ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯมีเจ้าหนี้การค้าเท่ากับ 31,149.0 ล้านบาท และ 27,764.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการเติบโตของปริมาณการผลิตจากการ ขยายก�ำลังการผลิตและการเข้าซือ้ กิจการ ระยะเวลาช�ำระหนีเ้ ฉลีย่ ของปี 2558 และ 2557 เท่ากับ 50.9 วัน และ 43.3 วัน ตามล�ำดับ ระยะเวลาการช�ำระหนีข้ องบริษทั ยาวนานขึน้ เนือ่ งจากบริษทั ได้รับการยืดระยะเวลาในการช�ำระหนี้แก่เจ้าหนี้ เพราะปริมาณการซื้อที่เพิ่มขึ้นในปี 2558 เมื่อ เทียบกับปี 2557 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯมีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยเท่ากับ 73,293.6 ล้านบาท และ 85,266.1 ล้านบาทตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 37.5 และร้อยละ 45.1 ของหนี้สินและส่วนของ ผู้ถือหุ้นรวม ทั้งนี้ รายละเอียดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยมีดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 (ล้านบาท)
ส่วนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินส่วนที่ ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี Current portion of debentures หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม
8,581.0
12,115.0
4,426.2
2,118.2
-
2,898.0
8.3 13,015.6
8.4 17,139.6
32,757.6 27,499.0 21.4 60,278.0 73,293.6
34,140.3 32,310.0 16.4 66,466.6 83,606.3
อัตราส่วนหนีส้ นิ จากการด�ำเนินงานสุทธิตอ่ ทุนของบริษทั ฯ ปี 2558 และ 2557 เท่ากับ 0.8 หลัง จากหักรายจ่ายฝ่ายทุนและการลงทุนจ�ำนวน 926 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2558 หนี้สินจากการ ด�ำเนินงานสุทธิของบริษัทฯเพิ่มขึ้นจาก 1,760 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็น 1,865 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการจ่ายเงิน เพื่อซื้อกิจการในปี 2558
ตารางต่อไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของหนี้สินรวม และหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ ในหน่วยล้านเหรียญสหรัฐ รายละเอียด
หนี้สินรวม เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี (Current portion ) หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระ (current portion) เงินกู้ยืมระยะยาว (Non-current portion) หุ้นกู้ (Non-current portion) เงินสด และเงินสดภายใต้การบริหาร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้นและเงินให้กู้ยืม หนี้สินสุทธิ (1) หนี้สินส�ำหรับโครงการที่ยังไม่เริ่มด�ำเนินงาน (Project Debt) หนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิ อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินจากการด�ำเนินงานสุทธิต่อทุน (เท่า) หนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ (%) การจัดอันดับความน่าเชื่อถือโดยTRIS (ได้รับการยืนยันในเดือนตุลาคม ปี 2558) สภาพคล่อง (พันล้านเหรียญสหรัฐ) วงเงินสินเชื่อที่ยังมิได้เบิกใช้ - พันล้านเหรียญสหรัฐ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) ความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) (เท่า) อัตราความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (เท่า)
ปี 2557
ปี 2558
2,224 260 135 994 834 323 164 158 1,901 141 1,760 0.8 0.8 58% A+ 1.6 1.2
2,317 336 59 80 946 895 118 90 29 2,198 334 1,865 1.0 0.8 68% A+ 1.4 1.3
1.5 2.1 4.6
1.2 2.3 5.4
ข้อสังเกต : (1) คิดจากหนี้สินในการด�ำเนินงานสุทธิ ซึ่งไม่รวมหนี้สินของโครงการลงทุนที่ยังไม่ก่อให้เกิดรายได้และก�ำไรแก่กิจการ
รูปภาพต่อไปนี้แสดงสัดส่วนหนี้สินสุทธิและแผนการช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ในแต่ละปี ในหน่วยพันล้านเหรียญสหรัฐ
ตารางแสดงการช�ำระคืนหนี้ เดือนธันวาคม ปี 2558 อัตราคงที่ : ร้อยละ 68 อัตราลอยตัว : ร้อยละ 32
เงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด*
ต้นทุนการกู้ยืม : ประมาณร้อยละ 4.3**
43%
42%
อันดับความน่าเชื่อถือโดย TRIS : A+ with Stable Outlook : อัตราส่วนหนี้สินจากการ ด�ำเนินงานสุทธิต่อทุน = 0.81 เท่า
การช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาว 2 พันล้านเหรียญสหรัฐ
หนี้สินรวม 2.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ
หนี้สินสุทธิ 2.2 พัน ล้านเหรียญสหรัฐ
20% 16%
12% หนี้สินระยะยาว หุ้นกู้ หนี้สิ้นระยะสั้น
13%
หนี้สิ้นระยะยาว 3% หุ้นกู้ 4%
10% 32%
2559 2561 2563
2560 2562 ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นไป
* รวมเงินลงทุนระยะสั้นและเงินกู้ยืม ** รวมเฉพาะดอกเบี้ยระยะสั้นและระยะยาว
101
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิน้ ปี 2558 และ ปี 2557 บริษทั ฯมีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 82,953.0 ล้านบาท และ 74,609.6 ล้านบาทตามล�ำดับ ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของก�ำไรสะสมจากผลก�ำไรของ บริษทั หลังจ่ายเงินปันผล และผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ พิม่ ขึ้นจากการอ่อนค่าของเงินบาท โปรดดูรายละเอียดใน “งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น”
กระแสเงินสด บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานจ�ำนวน 24,806.1 ล้านบาท ในปี 2558 เปรียบเทียบกับ 22,421.5 ล้านบาทในปี 2557 บริษัทฯ ยังคงมีกระแสเงินสดที่แข็งแกร่งจากการเพิ่มขึ้นของก�ำไรและกระแส เงินสดเข้าจากเงินทุนหมุนเวียนเนือ่ งจากราคาทีต่ ำ�่ ลงตามราคาน�ำ้ มัน ดิบ เงินสดที่ใช้ในกิจกรรมลงทุนในปี 2558 เท่ากับ 21,299.5 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการเข้าซื้อกิจการ Polyplex กิจการPerformance Fibers กิจการ Bangkok Polyester กิจการ Cepsa Canada และ US Cracker รายจ่ายฝ่ายทุนและรายจ่ายที่ใช้ในการลงทุนมาจากแหล่งเงิน ทุนที่หลากหลาย อาทิ เงินกู้ยืมระยะยาว และกระแสเงินสดจากการ ด�ำเนินงาน เงินสดที่ใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินในปี 2558 เท่ากับ 5,607.5 ล้าน บาท โดยส่วนใหญ่ใช้ในการจ่ายดอกเบี้ย การจ่ายเงินปันผล ระหว่าง ปี 2558 ในทางกลับกัน บริษัทฯมีกระแสเงินสดรับจากกิจกรรมจัดหา เงินจากการออกหุ้นกู้และเงินกู้ยืมซึ่งใช้เพื่อการเติบโตของธุรกิจ สภาพคล่อง กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานที่แข็งแกร่งและการขยายระยะเวลา ครบก�ำหนดในการช�ำระหนี้ช่วยเพิ่มสภาพคล่องที่ดีขึ้นให้กับบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีสภาพคล่องเท่ากับ 1.4 พันล้านเหรียญ สหรัฐซึง่ ประกอบด้วยเงินสดและเงินสดภายใต้การบริหาร รวมทัง้ วงเงิน สินเชื่อที่ยังมิได้เบิกใช้ การมีสภาพคล่องที่ดีเช่นนี้ช่วยให้บริษัทมีมี ความยืดหยุน่ ในการบริหารงาน และสามารถน�ำเงินไปลงทุนในทุกช่วง เวลาที่มีโอกาสเกิดขึ้น
อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) อัตราส่วนสภาพคล่องของบริษัทฯค�ำนวณจากการหารยอดสินทรัพย์ หมุนเวียนด้วยยอดหนี้สินหมุนเวียน โดยบริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพ คล่อง ณ สิ้นปี 2558 เท่ากับ 1.2 เท่า ซึ่งลดลง จาก 1.5 เท่า ณ ปี 2557 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก เงินสดและเงินสดภายในการบริหาร จัดการบริษัท ณ สิ้นปี 2557 ถูกใช้ไปในปี 2558 เพื่อการเข้าซื้อกิจการ หลายแห่งและเงินให้กู้ระยะสั้นที่เพิ่มขึ้นในปี 2558
102
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถืหอหุ้น (Return on Equity Ratio) อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิที่เป็น ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ด้วยส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉลีย่ ทีเ่ ป็นส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ โดย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 10.8 และ ร้อยละ 2.9 ตามล�ำดับ นอกจากนี้บริษัทยังมีอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นหลัก (Core ROE) เท่ากับร้อยละ 8.9 ในปี 2558 ซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างมี สาระส�ำคัญเมื่อเทียบกับร้อยละ 7.8 ณ สิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 13.3 การเพิ่มขึ้นในอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเป็นใน ทิศทางเดียวกับการเติบโตของก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Asset Ratio) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิ ของบริษัทฯ ด้วยสินทรัพย์รวมเฉลี่ย โดย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อยละ 3.3 และ ร้อยละ 1.0 ตามล�ำดับ นอกจากนี้บริษัทยังมีอัตราส่วนผลตอบแทน จากสินทรัพย์หลัก (Core ROA) เท่ากับร้อยละ 3.1 ในปี 2558 ซึ่งเพิ่ม ขึ้นเมื่อเทียบกับ ร้อยละ 2.6 ณ สิ้นปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 22.0 การเพิม่ ขึน้ ในอัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์เป็นในทิศทางเดียว กับการเติบโตของก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt to Equity Ratio) อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนค�ำนวณจากการหารหนีส้ นิ รวมของบริษทั ฯ ด้วย ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมของบริษัทฯ โดย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.7 เท่า และ 1.6 เท่าตาม ล�ำดับ ส�ำหรับอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อทุน (Net Interest Bearing Debt to Equity Ratio) ค�ำนวณจากการหารหนี้สิน ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ด้วยส่วน ของผู้ถือหุ้นรวมของบริษัทฯ โดย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อทุนเท่ากับ 1.0 เท่า และ 0.8 เท่า ตามล�ำดับ เกิดจากการออกหุ้นกู้และเงินกู้ยืมจากสถาบันการ เงิน ซึง่ ใช้ในการเข้าซือ้ กิจการ การขยายกิจการ และความต้องการเงิน ทุนหมุนเวียน อย่างไรก็ตามโดยส่วนใหญ่แล้วเงื่อนไขทางการเงินของ หนี้สินคือมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนของบริษัทฯไม่เกินสองเท่า ความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) ความสามารถในการช�ำระหนีค้ ำ� นวณจากการหาร Core EBITDA ด้วย เงินต้นที่ถึงก�ำหนดช�ำระและดอกเบี้ย โดย ณ สิ้นปี 2558 และ ปี 2557 บริษัทฯ มีความสามารถในการช�ำระหนี้ที่ 2.3 เท่า และ 2.1 เท่า ตาม ล�ำดับ ความสามารถในการช�ำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นเป็นในทิศทางเดียวกับ การเติบโตของ Core EBITDA ซึ่งแสดงถึงก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ของบริษทั ฯ ทีเ่ พียงพอในการจ่ายช�ำระคืนเงินต้นทีถ่ งึ ก�ำหนดช�ำระและ ดอกเบี้ยในระหว่างปี อย่างไรก็ตามโดยส่วนใหญ่แล้วเงื่อนไขทางการ เงินของหนี้สินคือมีความสามารถในการช�ำระหนี้อย่างน้อย 1.1เท่า
ปัจจัยความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น ของบริษัทฯ
การติดตามความเสีย่ งและกลไกการควบคุม ความเสี่ยงธุรกิจ ของบริษัท ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
บ
ริษัทฯมีแนวทางการบริหารความเสี่ยงทั้งแบบพัฒนาจากบน ลงล่าง (top-down) และแบบล่างขึ้นบน (bottom-up) เพื่อระบุ และบริหารจัดการความเสี่ยงทางธุรกิจในทุกระดับ ทั้งในระดับองค์กร และระดับบริษทั ย่อยทัว่ โลก น�ำโดยคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ และผูบ้ ริหารอาวุโส โดยครอบคลุมการประเมินและทบทวนความเสีย่ ง ทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งความเสี่ยงทั่วโลกและปัจจัยที่อาจส่ง ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ หัวหน้าหน่วยธุรกิจแต่ละแห่ง ซึ่งเป็นทั้งสมาชิกคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความ เสีย่ ง รวมถึงเป็นสมาชิกคณะกรรมการธุรกิจหลัก มีหน้าทีต่ ดิ ตามความ เสี่ยงทางธุรกิจอย่างใกล้ชิดและสร้างความมั่นใจว่ามีระบบป้องกัน ควบคุมเพือ่ บรรเทาความเสีย่ ง มีการวิเคราะห์ บันทึกและรายงานความ เสีย่ งทีส่ ำ� คัญทัง้ หมด คณะกรรมการหลายชุดทัง้ ในระดับธุรกิจและระดับ โรงงานจะมีการทบทวนรายงานการบริหารความเสี่ยงพร้อมแผน บรรเทาความเสีย่ งเป็นประจ�ำทุกไตรมาส นอกจากนีค้ ณะกรรมการด้าน ความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยงจะท�ำการทบทวนการวิเคราะห์ ความอ่อนไหวของแผนธุรกิจ การขยายธุรกิจและโครงการควบรวมและ เข้าซื้อกิจการ เพื่อให้เกิดความมั่นใจในด้านความยั่งยืน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมจากการด�ำเนิน ธุรกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศอาจส่งผลต่อการด�ำเนินธุรกิจ อย่างมีนัยส�ำคัญ คาดว่าผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ภูมอิ ากาศจะมีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ ในอนาคต ความเสีย่ งเหล่านีอ้ าจ เป็นประเด็นด้านกฎระเบียบ ด้านชื่อเสียง ด้านกายภาพ หรือ การ เปลี่ยนแปลงด้านความพึงพอใจของผู้บริโภค บริษัทฯศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น หากมีความ เสี่ยงใดเกิดขึ้นเกินกว่าขีดจ�ำกัดที่องค์กรก�ำหนดไว้ จะมีการส่งต่อ ประเด็นความเสี่ยงเหล่านั้นไปยังคณะกรรมการในระดับธุรกิจซึ่งมี กรรมการบริหารเป็นสมาชิก ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้เสนอชื่อสมาชิกอาวุโสหนึ่งรายในระดับ องค์กรเพือ่ ท�ำหน้าทีร่ ายงานไปยังทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงคณะกรรม การด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง (SRMC) ซึ่งจะรายงาน ให้คณะกรรมการบริหารรับทราบต่อไป บริษัทฯมีโรงงาน 59 แห่ง ใน 20 ประเทศ (ณ ธันวาคม 2558) บริษัทฯ อาจได้รับกระทบทางตรงและ / หรือทางอ้อม จากภาษีคาร์บอนที่เพิ่ม ขึน้ หรือ มาตรการด้านการให้โควต้าในการปลดปล่อยเป็นจ�ำนวนจ�ำกัด และให้มกี ารแลกเปลีย่ นซือ้ ขายโควต้ากันได้ จากการเปลีย่ นแปลงของ กฎระเบียบหลังการด�ำเนินการตามข้อตกลง COP 21
103
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การขยายธุรกิจและการด�ำเนินงานในต่างประเทศ บริษทั ฯเป็นองค์กรระดับสากลทีป่ ระกอบธุรกิจหลากหลายประเภทและ มีการขยายการด�ำเนินงานของบริษัทฯไปยังประเทศใหม่ๆ การขยาย ประเภทธุรกิจและผลิตภัณฑ์ต่างๆล้วนเป็นปัจจัยที่ท�ำให้บริษัทฯเผชิญ ต่อความเสี่ยงที่หลากหลาย ความเสี่ยงเหล่านี้โดยส่วนใหญ่จะอยู่นอก เหนือการควบคุมของบริษทั ฯ อาทิเช่น การเปลีย่ นแปลงด้านการเมือง สังคม หรือ เศรษฐกิจ ที่ส่งผลให้มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวด้านการ ก่อการร้าย และการต่อต้านชาติ หรือการรวมกลุ่มเพื่อประโยชน์ส่วน ร่วมเฉพาะกลุม่ เพิม่ มากขึน้ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงด้านกฏหมายหรือ มาตรการต่างๆ ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นจากสภาพอากาศรุนแรง ลูกค้าอาจมีความ แนวทางการบรรเทาความเสี่ยง: ต้องการในผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศมากขึ้น โดย บริษทั ฯด�ำเนินการวิเคราะห์ความอ่อนไหวในแผนธุรกิจ การวิเคราะห์ ความเสี่ยง และมีกระบวนการในตรวจสอบและวิเคราะห์สถานะการ ต้องการให้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลงทุนของทุกๆโอกาสทางธุรกิจก่อนทีค่ ณะกรรมการและฝ่ายบริหาร บริษัทฯสามารถลดผลกระทบได้ด้วยการสื่อสารอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ จะท�ำการตัดสินใจใดๆ เพือ่ ให้บริษทั ฯได้รบั ประโยชน์จากโอกาสเหล่า การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ กล่าวคือ เราได้ นั้นมากที่สุดและช่วยลดความเสี่ยงจากความไม่แน่นอน ท�ำการสื่อสารให้เข้าใจว่าเมื่อเทียบกับบริษัทอื่นๆในกลุ่มเคมี ปุ๋ย และ อุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษสูง ผลิตภัณฑ์ของเราสร้างปริมาณก๊าซเรือน บริษทั ฯมีการสังเกตการณ์อย่างใกล้ชดิ กับสถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับ การเมือง เศรษฐกิจและข้อกฎหมาย ภัยจากกลุ่มต่อต้านชาติและ กระจกในปริมาณที่ไม่มีนัยส�ำคัญ กลุ่มก่อการร้ายในแต่ละประเทศ ความปลอดภัยของพนักงานและ ความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตร ทรัพย์สินของบริษัทฯ รวมถึงโอกาสทางธุรกิจ ต่อภูมิอากาศก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปและอาจส่งผลต่อบริษัทฯ บริษัทฯ จึงยังคงมุง่ หน้าต่อการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนเพือ่ ตอบสนองการลด ในการลงทุนที่ส�ำคัญ ประเทศและภาคอุตสาหกรรมที่บริษัทฯมีการ ด�ำเนินธุรกิจจะถูกประเมินก่อนการตัดสินใจทุกครั้ง ผลกระทบนี้ แนวทางการบรรเทาความเสี่ยง บริษัทฯมุ่งเน้นความส�ำคัญในการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี มาตรการหลักในการด�ำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็น เป้าหมายขององค์กรที่ก�ำหนดไว้และเปิดเผยสู่สาธารณะ มาตรการ บรรเทาความเสี่ยงอื่นรวมถึง การเข้าร่วมเป็นสมาชิกในโครงการ Project Mainstream ซึ่งเป็น โครงการระดับโลกเพื่อเร่งสนับสนุนนวัตกรรม และช่วยพัฒนาระบบ เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน การผลิตขวดที่มีน�้ำหนักเบา เพิม่ ความมุง่ เน้นในการใช้พลังงานทดแทน (พลังงานจากแสงอาทิตย์ และลม) การด�ำเนินธุรกิจในบริเวณใกล้เคียงกับลูกค้าของเราตามแผนกลยุทธ์ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากห่วงโซ่อุปทาน การรีไซเคิลผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน การใช้วัตถุดิบมวลชีวภาพ การประเมินและวิเคราะห์วัฎจักรของผลิตภัณฑ์เพื่อด�ำเนินการตาม มาตรการลดการปล่อยก๊าซ รวมถึงสร้างนวัตกรรมเพือ่ การผลิตสินค้า และกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
104
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความเสี่ยงทางธุรกิจอื่นๆ บริษัทฯประกอบธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงมาก และการด�ำเนินการใดๆ ของคู่แข่งอาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการท�ำก�ำไรและส่วน แบ่งทางการตลาดของบริษัทฯ ธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯด�ำเนินงานอยูเ่ ป็นธุรกิจทีม่ กี ารแข่งขันทัง้ ด้านราคาและ ด้านอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ หรือ สินค้าทีม่ คี วามจ�ำเป็น รวมถึงสินค้าชนิดพิเศษทีม่ กี ารเติบโตสูง ดังนัน้ จึงเป็นการยากที่จะสร้างความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) และปรับราคาผลิตภัณฑ์ตามต้นทุนที่เพิ่มขึ้นได้ ส่วน ปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันรวมถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ คุณลักษณะหรือสมรรถนะของสินค้า การจัดส่งสินค้าที่ต่อเนื่องและ น่าเชื่อถือให้แก่ลูกค้า และการรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าที่ยั่งยืนใน ระยะยาว โดยส่วนใหญ่ บริษัทฯจะแข่งขันกับบรรษัทข้ามชาติขนาด ใหญ่หลายแห่งในแต่ละกลุ่มธุรกิจ บริษัทฯยังได้แข่งขันกับผู้ผลิตใน ระดับภูมิภาค และ/หรือผู้ผลิตที่มีความเชี่ยวชาญในตลาดเส้นใย โพลีเอสเตอร์ (Polyester Fiber) อีกเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ แรง กดดันในการท�ำก�ำไรอาจมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของ อุปสงค์ที่มีจ�ำกัด และการมีสินค้าเกินความต้องการในตลาด ตัวอย่าง เช่น ความต้องการเม็ดพลาสติก PET หรือ PTA ในประเทศจีน อาจ ต�่ำกว่าการเพิ่มขึ้นของก�ำลังการผลิต การลดราคาของคู่แข่ง การมีผู้
ประกอบการรายใหม่ในอุตสาหกรรม การควบรวมในกลุม่ อุตสาหกรรม (Industry Consolidation) และความสามารถของคู่แข่งในการใช้ ประโยชน์จากการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) และการ เพิ่มอุปทานของผลิตภัณฑ์ ความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรม PTA, Oxide & Glycols, เม็ดพลาสติก PET, เส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเส้นใย จากขนสัตว์ และเส้นใยเส้นด้ายที่ไม่ใช่โพลีเอสเตอร์และเส้นใยจาก ขนสัตว์ อาจส่งผลให้เกิดก�ำลังการผลิตที่เกินความต้องการ ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯสะท้อนให้เห็นถึงวงจรอุตสาหกรรม PTA, MEG, เม็ดพลาสติก PET, เส้นใยเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจาก ขนสัตว์ และเส้นใยเส้นด้ายที่ไม่ใช่โพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ ซึ่งมีก�ำลังการผลิตส่วนเกินในบางช่วงเวลา และส่งผลกระทบต่อการ ก�ำหนดราคาของผลิตภัณฑ์ โดยวงจรดังกล่าวบางส่วนเกิดจากการ ลงทุนในช่วงที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรม (ซึ่งเป็นช่วงที่มีก�ำไรสูง และมี แหล่งเงินทุนมากมาย) ท�ำให้ความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน เปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากการมีก�ำลังการผลิตใหม่ ซึ่งการผลิต ผลิตภัณฑ์ในจ�ำนวนมาก ท�ำให้ในบางช่วงเวลาของอุตสาหกรรมจะมี ก�ำลังการผลิตส่วนเกิน ตัวอย่างเช่น เมื่อมีการเริ่มด�ำเนินการโรงงาน แห่งใหม่ บริษทั ฯไม่อาจรับประกันได้วา่ เหตุการณ์ดงั กล่าวจะไม่เกิดขึน้ อีกในอนาคต ดังนั้น หากการเติบโตทางเศรษฐกิจมิได้เพิ่มขึ้นอย่าง เพียงพอในอันที่จะก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ หรือหากไม่มี การปิดโรงงานเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว ก�ำลังการผลิตใหม่ๆ ท�ำให้ เกิดก�ำลังการผลิตส่วนเกินทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึ่งมักจะ ส่งผลให้อัตราก�ำไรลดลง บริษัทฯประกอบธุรกิจในหลายภูมิภาคท�ำให้บริษัทฯต้องเผชิญกับ ความเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค การเมือง กฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ การด�ำเนินงานในระดับระหว่างประเทศ ก่อให้เกิดความท้าทายทีเ่ กี่ยว กับการด�ำเนินงานภายใต้วัฒนธรรมทางธุรกิจและภาษาที่แตกต่างกัน บริษทั ฯ อาจประสบความยุง่ ยากรวมถึงต้องใช้เวลานานขึน้ ในการเรียก เก็บเงิน อีกทัง้ บริษทั ฯ อาจต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบใน ต่างประเทศที่ไม่แน่นอน หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยมิได้คาดหมาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการด�ำเนินธุรกิจ และความสามารถ ในบริหารจัดการแหล่งเงินทุนทั่วโลก การควบคุมการส่งออก หรือข้อ จ�ำกัดที่เกิดจากกฎระเบียบต่างๆ อาจท�ำให้บริษัทฯไม่สามารถขนส่ง ผลิตภัณฑ์ไปมาระหว่างตลาดบางแห่งได้ หรือโควตาทีส่ นับสนุนแหล่ง วัตถุดบิ ท้องถิน่ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อต้นทุนการผลิต นอกจาก นี้การเปลี่ยนแปลงการควบคุมเงินตรา กฎระเบียบด้านภาษี และสนธิ สัญญาเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ อาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบ การของธุรกิจในต่างประเทศ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อผลประกอบการโดย รวมของกลุ่มบริษัท อีกทั้ง ยังมีเหตุการณ์อื่นๆ ที่อยู่นอกเหนืออ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ เช่น ความไม่มั่นคงทางการเมือง หรือความไม่ สงบในสังคม อาจท�ำให้อปุ สงค์ของผูบ้ ริโภคทัว่ ไปลดลง และท�ำให้ราคา วัตถุดิบและต้นทุนอื่นๆ มีความผันผวนเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับการเก็บ ภาษีอากรขาเข้า หรือ ภาษีป้องกันการทุ่มตลาดในบางประเทศอาจส่ง ผลกระทบต่ออัตราก�ำไร
การไม่สามารถป้องกันการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาของบริษทั ฯ และ การไปละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาของผูอ้ นื่ อาจส่งผลกระทบในเชิงลบ อย่างมีนัยส�ำคัญต่อบริษัทฯ ธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ (ทัง้ เส้นใย และเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และไม่ใช่โพลีเอสเตอร์) และ เม็ดพลาสติก PET อยู่ในอุตสาหกรรมทีค่ แู่ ข่งทางการค้ามีทรัพย์สนิ ทางปัญญา การ ประสบความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องของธุรกิจในอุตสาหกรรมนี้ขึ้นอยู่กับ ความสามารถของบริษัทฯในการปกป้องเทคโนโลยีของเรา และการ รักษาความลับทางการค้า รวมถึงการพัฒนาและการขายผลิตภัณฑ์ ใหม่ โดยไม่ละเมิดสิทธิบัตรของผู้อื่น หรือท�ำลายความสัมพันธ์กับ ลูกค้า การถูกด�ำเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญามีค่าชดเชยที่สูง อาจท�ำให้บริษทั ฯเกิดค่าใช้จา่ ยจ�ำนวนมาก และท�ำให้เกิดความเสียหาย ต่อทรัพยากรของบริษัทฯ ซึ่งท�ำให้เกิดผลกระทบในเชิงลบต่อบริษัท และสถานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน นอกจากนีอ้ าจไม่มคี วาม ช่วยเหลือทางกฏหมายที่มีประสิทธิผล หากมีผู้ละเมิดทรัพย์สินทาง ปัญญาของบริษัทฯโดยบุคคลที่สาม เนื่องจากข้อจ�ำกัดในการบังคับใช้ สิทธิในเขตอ�ำนาจต่างประเทศที่เกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา หรือปัจจัยอืน่ ๆ ผลลัพธ์ที่ไม่พงึ ปราถนาจากการด�ำเนินคดีทางทรัพย์สนิ ทางปัญญาอาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อสถานะทางการเงินและผลการ ด�ำเนินงานของธุรกิจเส้นใยและเส้นด้าย และกระทบต่อธุรกิจเม็ด พลาสติก PET รองลงมา ธุรกิจของบริษัทฯอาจได้รับผลกระทบจากความล้มเหลวของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทฯพึ่งพาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ในการท�ำธุรกิจ ความ ล้มเหลวของระบบจากไวรัสคอมพิวเตอร์ ช่องโหว่ของระบบรักษาความ ปลอดภัยทั้งภายในและภายนอก ไฟฟ้าหยุดชะงัก ความล้มเหลวของ ฮาร์ดแวร์ ไฟไหม้ ภัยธรรมชาติ ความผิดพลาดโดยมนุษย์ หรือสาเห ตุอื่นๆ อาจท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจหยุดชะงัก และท�ำให้บริษัทฯไม่ สามารถประมวลผลรายการค้ากับลูกค้า ด�ำเนินการผลิต จัดท�ำรายงาน ทาง MIS และจัดท�ำรายงานรายการค้าได้อย่างถูกต้องและทันเวลาได้ ความล้มเหลวของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอาจส่งผลกระทบในเชิง ลบอย่างเป็นนัยส�ำคัญต่อสถานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และ กระแสเงินสดของบริษัทฯ
105
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความผันผวนของราคาน�้ำมันดิบส่งผลกระทบต่อการวัดมูลค่าของ สินค้าคงเหลือในรายงานผลประกอบการทางการเงิน ราคาน�ำ้ มันดิบทีล่ ดลงอาจส่งผลให้เกิดความเสีย่ งจากการปรับลดมูลค่า สินค้าคงเหลือไม่วา่ จะเป็นประเด็นใดก็ตามทีบ่ ริษทั ฯค�ำนึงถึง และอาจ จะส่งผลกระทบทางลบหรือทางบวกต่อรายงานผลประกอบการทางการ เงิน อย่างไรก็ตาม ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือนี้โดย มากสามารถบรรเทาได้จากกระแสเงินสดเข้าจากเงินทุนหมุนเวียนสุทธิ เนื่องจากมีความต้องการใช้เงินทุนหมุนเวียนที่น้อยลง เช่นเดียวกับ ราคาของก๊าซธรรมชาติทลี่ ดลงอาจส่งผลกระทบกับต้นทุน ทางการเงินในหลายๆประเทศซึ่งบริษัทด�ำเนินงานอยู่ ความผันผวน ของราคาก๊าซธรรมชาติอาจส่งผลกระทบหรือเป็นประโยชน์กับบริษัท ถ้าหากราคาของก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นหรือลดลง ในขณะที่บริษัทใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานในหลายๆพื้นที่
และระดับราคาของน�้ำมันดิบอาจได้รับผลกระทบอย่างมากจากกลุ่ม ต่างๆ ระดับระหว่างประเทศ ซึ่งการควบคุมปริมาณการผลิตน�้ำมันดิบ ส่วนใหญ่ของโลก และการพัฒนาการทางการเมือง นอกจากนี้ ปัจจัย อื่นๆ เช่น กฎเกณฑ์ของรัฐบาลทั้งในและต่างประเทศ สภาวะอากาศ และการแข่งขันจากแหล่งพลังงานอื่นก็มีผลกระทบต่อราคาน�้ำมันดิบ และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมด้วยเช่นกัน หากต้นทุนของวัตถุดิบเพิ่มขึ้น แต่บริษัทฯไม่สามารถปรับราคาขาย ผลิตภัณฑ์ให้สะท้อนการเพิ่มขึ้นของต้นทุนดังกล่าวได้ จะส่งผลต่อผล การด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ความสามารถของบริษทั ฯในการเพิม่ ราคา ขายผลิตภัณฑ์อันเนื่องมาจากราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นนั้น จะขึ้นอยู่กับ ภาวะตลาดและต้นทุนในการผลิตของบริษัทฯเมื่อเทียบกับคู่แข่ง อาจ จะมีบางช่วงเวลาที่บริษัทฯอาจจะไม่สามารถปรับราคาขายให้เพิ่มขึ้น ตามต้นทุนวัตถุดิบได้ทั้งหมด เนื่องจากการที่บริษัทฯ มีข้อตกลงตาม สั ญ ญา หรื อ อยู ่ ใ นช่ ว งที่ มี ค วามต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ฯ แนวทางการบรรเทาความเสี่ยง: น้อยหรือการมีอุปทานในผลิตภัณฑ์มากเกินไป ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือนี้โดยมากสามารถบรรเทา อย่างไรก็ตาม บริษัทฯมีนโยบายที่จะจัดหาวัตถุดิบหลัก ซึ่งได้แก่ PX ได้จากกระแสเงินสดไหลเข้าและกระแสเงินสดไหลออก เนือ่ งจากความ และ Ethylene โดยส่วนใหญ่ด้วยการท�ำสัญญาซื้อขายกับผู้จ�ำหน่าย ต้องการใช้เงินทุนหมุนเวียนที่น้อยลงหรือเพิ่มขึ้น จากการที่ราคาลด ซึ่งท�ำให้ในช่วงที่ผ่านมา บริษัทฯสามารถจัดซื้อ PX ในปริมาณที่เพียง ลงหรือเพิ่มขึ้น ตามล�ำดับ พอและในราคาตลาดที่สามารถส่งต่อราคาไปยังลูกค้าได้ในปี 2557 บริษัทฯได้มีการท�ำสัญญาซื้อขาย PX และ Ethylene บางส่วนกับ ความเสี่ยงของตัวผลิตภัณฑ์ ผู้จ�ำหน่าย โดยส่วนที่เหลือบริษัทฯ จัดหาโดยการซื้อในราคาตลาด การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของวัตถุดิบและต้นทุน (Spot) วัตถุดิบ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนของบริษัทฯ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผล การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของวัตถุดิบและราคา การด�ำเนินงานของบริษัท วัตถุดิบหลัก อันได้แก่ PTA (ซึ่งมีข้อจ�ำกัดในการซื้อขายโดยเฉพาะใน ประเทศสหรัฐอเมริกา) MEG ส�ำหรับธุรกิจ PET และเส้นใยและเส้น บริษัทฯ ไม่สามารถก�ำหนดราคาโภคภัณฑ์ ได้โดยตรง ดังนั้น ความ ด้ายโพลีเอสเตอร์, PX ส�ำหรับธุรกิจ PTA, Ethylene ส�ำหรับธุรกิจ สามารถในการแข่งขันและในการท�ำก�ำไรในระยะยาวของบริษัทฯ จึง Oxide & Glycols วัตถุดิบอื่นส�ำหรับธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายที่ไม่ได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถของบริษัทฯ ในการลดต้นทุนและรักษาระดับ ท�ำจากโพลีเอสเตอร์ ขวด และ flakes ส�ำหรับธุรกิจรีไซเคิล โดย PTA การท�ำงานที่มีประสิทธิภาพด้วยต้นทุนที่ต�่ำเป็นหลัก หากบริษัทฯ ไม่ และ MEG เป็นผลผลิตที่ได้มาจากน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ และโดย สามารถรักษาโครงสร้างต้นทุน และด�ำเนินการให้โรงงานมีการผลิต ทั่วไปจะผลิตโดยบริษัทที่ประกอบธุรกิจปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ดังนั้น อย่างมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้ต้นทุนของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น และอาจส่ง ต้นทุนการผลิต PTA, MEG, PET เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยที่ ผลกระทบในทางลบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ต้นทุนที่ไม่ ไม่ใช่โพลีเอสเตอร์จะขึ้นอยู่กับราคาของน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและ สามารถควบคุมได้บางอย่างอาจเพิ่มขึ้นจากปัจจัยภายนอกที่อยู่นอก ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูปทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ดัง เหนือการควบคุมของบริษทั ฯ ซึง่ อาจส่งผลให้ผลการด�ำเนินงานของบ นั้น ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับ ริษทั ฯ ลดลง ตัวอย่างของต้นทุนที่ไม่สามารถควบคุมได้ ได้แก่ ต้นทุน ราคาตลาดของน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ด้านพลังงาน ต้นทุนด้านประกันภัย ต้นทุนด้านภาษี และต้นทุนด้าน ส�ำเร็จรูป ซึ่งจะขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานในระดับระหว่างประเทศ บ�ำเหน็จ เป็นต้น ภูมภิ าค และในประเทศ รวมถึงปัจจัยอืน่ ๆ ซึง่ อยูน่ อกเหนือการควบคุม ความสามารถของบริษทั ฯ ในการผลักภาระต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ไปยังลูกค้า ในท้ายที่สุดจะขึ้นอยู่กับสภาวะของตลาด ของบริษัทฯ ตลาดและราคาของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอาจขึ้นกับอุปสงค์ โดยรวม นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ในธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ของบ ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว (ซึ่งอาจมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการ ริษทั ฯ ยังเป็นธุรกิจที่ใช้แรงงานเป็นหลัก ดังนัน้ ความกดดันด้านสภาวะ เปลี่ยนแปลงสภาพและวงจรของเศรษฐกิจ ฤดูกาลและสภาวะอากาศ) เงินเฟ้อ การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายและกฎระเบียบที่ใช้บังคับกับ ปริมาณของผลิตภัณฑ์ ในประเทศและภูมิภาค ราคาและปริมาณ บริษัทฯ หรือปัจจัยอื่นๆ ที่อาจส่งผลให้ต้นทุนด้านแรงงานเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ทนี่ ำ� เข้า ราคาและปริมาณเชือ้ เพลิงทดแทนทีม่ ี และขอบเขต การขาดแคลนหรือการหยุดชะงักของการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่ลกู ค้า และลักษณะของกฎเกณฑ์และภาษีของภาครัฐ สภาวะอุปทานทั่วโลก
106
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อันเนื่องมาจากการลดลงของก�ำลังการผลิต หรือการหยุดซ่อมบ�ำรุงที่ ไม่เป็นไปตามแผนอาจท�ำให้การขายลดลง การผลิต ณ โรงงานผลิตของบริษทั ฯ หรือการส่งมอบสินค้าให้แก่ลกู ค้า ของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการขัดข้องทางเทคนิค เหตุสุดวิสัย การประท้วง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ค�ำวินิจฉัยด้าน กฎหมาย และปัจจัยอืน่ ๆ โดยเหตุการณ์ทมี่ ไิ ด้คาดหมายไว้ เช่น ปัญหา ในการผลิต การหยุดซ่อมบ�ำรุงที่ไม่เป็นไปตามแผน หรือการสูญหาย ของผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบ อาจท�ำให้ยอดขายลดลง หากก�ำลังการผลิตของโรงงานที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หนึ่งแห่งหรือ มากกว่าลดลง หรือการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ส�ำคัญต้องหยุดลงเป็นระยะ เวลานาน และบริษัทฯ ไม่สามารถย้ายการผลิตไปยังโรงงานแห่งอื่น เพื่อให้ผลิตผลิตภัณฑ์ ในจ�ำนวนที่เพียงพอ หรือเบิกสินค้าคงคลังได้ หรือไม่สามารถด�ำเนินการให้โรงงานผลิตสินค้าในอัตราการใช้กำ� ลังการ ผลิตโดยทัว่ ไปของโรงงาน อันเนือ่ งมาจากการหยุดชะงักในการส่งมอบ วัตถุดบิ บริษทั ฯ อาจไม่สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ได้ตามทีต่ กลง และ อาจถูกเรียกร้องค่าเสียหาย และท�ำให้ชื่อเสียงของบริษัทฯ ได้รับ ผลกระทบ บริษัทมีการท�ำกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งครอบคลุมถึงความเสียหายใน เครื่องจักร สินค้าคงเหลือ ทรัพย์สินต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุและ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ นอกจากนี้ บริษัทได้มีการลงทุนในสินทรัพย์ ถาวรเพือ่ ป้องกันความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ เนือ่ งจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ เช่น การสร้างก�ำแพงที่มีความสูงพิเศษเพื่อป้องกันน�้ำท่วมที่จังหวัด ลพบุรีในประเทศไทย อีกทั้งการที่บริษัทฯ มีโรงงานกระจายอยู่หลาย แห่งทั่วโลก ถือเป็นการป้องกันความเสี่ยงหากเกิดความความขัดข้อง ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ หรือความเสียหายทีม่ ไิ ด้คาดหมายไว้ในโรงงาน หนึ่ง บริษัทฯ ยังคงสามารถท�ำการผลิตในโรงงานที่อื่นและส่งมอบ สินค้าให้แก่ลูกค้าได้ โรงงานผลิตของบริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านการด�ำเนินงาน ซึ่งอาจส่ง ผลกระทบในทางลบต่อการด�ำเนินงาน ธุรกิจของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการที่โรงงานต่างๆ ของบริษัทฯ สามารถ ด�ำเนินการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง โดยโรงงานผลิตดังกล่าวอาจจะ มีอันตรายเกี่ยวกับการผลิต การดูแล การเก็บรักษา และการขนส่ง วัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ทางเคมี ซึ่งรวมถึงการรั่วและการแตกของ ท่อส่ง การระเบิด ไฟไหม้ สภาพอากาศที่รุนแรง และภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ความบกพร่องของเครื่องจักร การหยุดเดินเครื่องจักร นอกเหนือจากที่ก�ำหนดไว้ตามแผน ปัญหาของลูกจ้าง การหยุดชะงัก ของการขนส่ง ความซับซ้อนในการเยียวยา การกระจายของสารเคมี การปล่อยสารที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษ หรือก๊าซ การรั่วของถังเก็บ และความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ โดยอันตรายดังกล่าวอาจก่อให้ เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวติ ท�ำให้ทรัพย์สนิ หรืออุปกรณ์เสียหายหรือ ช�ำรุดอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม อาจถูก ปรับ หรือมีภาระหนี้สิน
นอกจากนี้โรงงานผลิตบางแห่งของบริษัทฯ เช่น โรงงานผลิต PET ของ AlphaPet, โรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam, โรงงาน PTA ของ IRH Rotterdam, โรงงานโพลีเอสเตอร์ของ บมจ.อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ที่มาบตาพุด, โรงงาน PTA ของ บมจ.ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์, โรงงานผลิต PET ที่ไนจีเรีย, โรงงาน PET ของบริษทั Guangdong IVL PET Polymer, โรงงาน PET ของบริษัท Indorama Polymer Poland Sp.z.o.o.โรงงาน PET ของบริษัท IVL Adana และ อืน่ ๆ ซึง่ ตัง้ อยู่ในสถานทีท่ ี่ใกล้กบั โรงงานของบริษทั อืน่ ซึง่ มีความเสีย่ ง ด้านการด�ำเนินงานเช่นเดียวกัน โดยในบางกรณีที่โรงงานดังกล่าวเป็น ผูจ้ ดั หาสินค้าและ/หรือบริการทีม่ คี วามส�ำคัญแก่บริษทั ฯ การหยุดชะงัก ในการส่งมอบสินค้า และ/หรือการให้บริการอาจส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ
ความเสี่ยงในการบริหาร ต้นทุนและความยากในการรวมธุรกิจและเทคโนโลยีที่จะเข้าซื้อใน อนาคต อาจเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตในอนาคต และอาจส่งผลกระ ทบในทางลบต่อความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ กลยุทธ์ส่วนหนึ่งในการที่บริษัทฯ จะเติบโตในอนาคตคือ การเข้าซื้อ บริษัทที่ประกอบธุรกิจ PET, เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์, Oxide & Glycols, PTA หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆในห่วงโซ่มูลค่า เพื่อรักษา สถานภาพการแข่งขันของบริษัทฯ ในอุตสาหกรรมที่บริษัทฯ ด�ำเนิน ธุรกิจอยู่ และเพื่อเพิ่มบทบาทในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึง ความรับผิดหรือความเสีย่ งที่ไม่อาจทราบได้หรือไม่อาจคาดหมายได้ จากการด�ำเนินงานของบริษัทที่บริษัทฯ อาจเข้าซื้อ ความเป็ น ไปได้ ใ นการที่ บ ริ ษั ท ฯ จะไม่ ส ามารถบรรลุ ถึ ง การ ประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) การส่งเสริมซึ่งกันและกัน (Synergy) หรือประโยชน์อื่นๆ การมีต้นทุนและการใช้เวลาในการบริหารและความพยายามในการ เข้าซื้อและรวมกิจการมากกว่าที่คาดหมาย การทีบ่ ริษทั ฯ ไม่สามารถผนวกการให้บริการ ผลิตภัณฑ์ และบุคลากร จากกิจการที่เข้าซื้อมาเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้ส�ำเร็จ หรือไม่สามารถรับรู้การประหยัดต้นทุนหรือผลประโยชน์ อื่นๆ จากการเข้าซื้อกิจการที่คาดว่าจะมีได้ การที่ไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์กบั พนักงาน ลูกค้า และผูจ้ ดั หา สินค้า การที่บริษัทฯ ไม่ได้ผลตอบแทนจากการลงทุน บริษัทฯ อาจไม่มีโอกาสในการเข้าซื้อกิจการที่น่าสนใจ หรือเข้าซื้อ กิจการภายใต้เงื่อนไขที่น่าสนใจ หรือได้รับแหล่งเงินทุนที่จ�ำเป็นต้อง ใช้เพื่อการเข้าซื้อกิจการ นอกจากนี้ กฎระเบียบในการเข้าซื้อ หรือ ควบกิจการของกลุ่มสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ประเทศไทย หรือ ประเทศอื่นๆ อาจท�ำให้บริษัทฯ มีข้อจ�ำกัดในการเข้าซื้อหรือควบ กิจการในอนาคต
107
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อ “อินโดรามา” ถูกใช้โดยบริษัทอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯไม่มีอ�ำนาจใน การควบคุม Lohia Global Holdings Limited เป็นเจ้าของชื่อ “อินโดรามา” ซึ่ง เป็นบริษัทที่ควบคุมโดยนายเอ็ม.แอล.โลเฮีย ผู้ก่อตั้งชื่อ “อินโดรามา” เป็นคนแรกและเป็นบิดาของรองประธานและประธานของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับอนุญาตให้ใช้ชื่อ อินโดรามาแบบ Non-Exclusive ตามสัญญาอนุญาตให้ใช้ชอื่ (License Agreement) กับ Lohia Global Holdings Limited นอกจากนี้ธุรกิจ ของสองพี่น้องอันได้แก่ กลุ่มของนายเอส.พี.โลเฮีย ในประเทศ อินโดนีเซียและกลุ่มของนายโอ.พี.โลเฮีย ในประเทศอินเดีย ก็ยังคงใช้ ชือ่ อินโดรามา โดยทีบ่ ริษทั ฯ ไม่ได้มอี ำ� นาจในการควบคุมและไม่มสี ว่ น รู้เห็นในการใช้ชื่ออินโดรามาของกลุ่มนายเอส.พี.โลเฮีย และกลุ่มของ นายโอ.พี.โลเฮีย และไม่สามารถรับประกันได้วา่ การด�ำเนินการใดๆ ของ กลุ่มของนายเอส.พี.โลเฮีย และกลุ่มของนายโอ.พี.โลเฮีย จะไม่ส่ง ผลกระทบต่อชื่อเสียงในการใช้ชื่ออินโดรามา อย่างไรก็ตาม IVL ยังคง มีความแตกต่างและน�ำเสนอในนามกลุ่มบริษัทจดทะเบียน Indorama Ventures และมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศไทย ความเสี่ยงที่กลุ่มของผู้ถือหุ้นกลุ่มหนึ่งถือหุ้นสามัญส่วนใหญ่ของ บริษัทฯ ตระกูลโลเฮียถือหุ้นประมาณร้อยละ 67 ของจ�ำนวนหุ้นสามัญทั้งหมด ที่อยู่ในมือผู้ถือหุ้นและมีอำ� นาจในการควบคุมผลการออกเสียงในวาระ การประชุมที่ส�ำคัญ
ความเสี่ยงทางการเงิน การลงทุนโดยการใช้เงินทุนจ�ำนวนมากซึ่งรวมถึงการลงทุนในโรงงาน ใหม่ในอนาคต เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะท�ำให้แผนการเติบโตของบริษัทฯ ประสบผลส�ำเร็จซึ่งการลงทุนดังกล่าวมีความเสี่ยงของโครงการและ ความเสี่ยงอื่นๆ แผนการเติบโตของบริษัทฯ มีการใช้เงินทุนเป็นจ�ำนวนมากทั้งในขณะ นี้และในอนาคตเพื่อใช้ในการขยาย การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือ การยกระดับโรงงานในปัจจุบัน การพัฒนาโรงงานใหม่หรือการเข้าซื้อ หรือเข้าลงทุนขนาดใหญ่ ในโครงการที่ต้องมีรายจ่ายส่วนทุนเป็น จ�ำนวนมากจะมีความเสี่ยงต่างๆ ซึ่งรวมถึง การที่ไม่สามารถท�ำให้โครงการส�ำเร็จภายในระยะเวลา และ/หรือใน งบประมาณที่ก�ำหนด และ การที่โครงการไม่สามารถด�ำเนินการได้ตามรายละเอียดการด�ำเนิน งานที่ได้ก�ำหนดไว้ภายหลังจากที่โครงการส�ำเร็จ นอกจากนี้ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนวัตถุดิบเป็นจ�ำนวนมากโดยที่ไม่ได้ คาดหมายมาก่อนในแผนของโครงการและการที่ไม่สามารถจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ในปริมาณและ/หรือราคาที่ก�ำหนดไว้ในแผนของ โครงการ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อความส�ำเร็จของโครงการ เนือ่ งจากการลงทุนดังกล่าวจะต้องใช้เงินทุนเป็นจ�ำนวนมาก และมีชว่ ง ระยะเวลาระหว่างการวางแผนจนถึงความส�ำเร็จของโครงการห่างกัน
108
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มาก ความล่าช้าของโครงการอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจและ โอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯได้ การเข้าซื้อกิจการเป็นการเพิ่มโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจและยัง เป็นการพัฒนาความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษทั บริษทั ทีก่ จิ การ ลงทุนอาจจะไม่สามารถท�ำรายได้ ก�ำไร ก�ำลังการผลิต หรืออื่นๆ ได้ ตามระดับความส�ำเร็จทีค่ าดหวัง เนือ่ งด้วยการเข้าซือ้ กิจการเกีย่ วข้อง โดยตรงกับความเสีย่ งพิเศษทีร่ วมถึงการผันแปรของเวลาในการบริหาร จัดการ และการค�ำนึงถึงธุรกิจที่มีอยู่เดิม การตั้งสมมุติฐานส�ำหรับหนี้ สินและภาระผูกพันที่อาจเกิดขึ้น และความยากล�ำบากในการรวม กิจการที่เข้าซื้อ และการพัฒนาการปฏิบัติงานให้ส�ำเร็จตามที่คาดหวัง โดยปราศจากเงือ่ นไขของเวลา ในขณะทีก่ ลยุทธ์ของบริษทั ฯคือการเข้า ซือ้ กิจการเพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและการท�ำก�ำไร การเข้าซื้อกิจการอาจไม่ประสบความส�ำเร็จหรือเพิ่มรายได้ให้แก่ บริษัทฯ อัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินตราต่างประเทศ และ/หรืออัตราดอกเบี้ยที่มี ความผันผวนอาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัท เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯ เป็นธุรกิจในระดับระหว่างประเทศ ดังนั้น การเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นของสกุลเงินตราต่างประเทศอาจ ส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ การผันผวนของสกุลเงินต่างๆ จะส่ง ผลกระทบต่อบริษทั ฯ เนือ่ งจากความไม่สมดุลระหว่างสกุลเงินทีเ่ ป็นต้น ทุนในการด�ำเนินงานและสกุลเงินทีเ่ ป็นรายได้ของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ จ�ำหน่ายสินค้าซึง่ โดยปกติจะก�ำหนดราคาโดยอิงกับเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือเงินยูโร ในขณะทีต่ น้ ทุนในการด�ำเนินงานจะอยู่ในสกุลเงินท้องถิน่ เช่น บาท ปอนด์ สเตอริง ลิตัสของประเทศลิธัวเนีย เปโซของประเทศ เม็กซิโก หยวนของประเทศจีน รูเปียของประเทศอินโดนีเซีย ซวอตี ของประเทศโปแลนด์ ไนร่าของไนจีเรีย ลีราของประเทศตุรกี รูปีของ ประเทศอินเดียและอื่นๆ รายงานผลประกอบการของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจากความ ผันผวนระหว่างเงินบาทซึง่ เป็นสกุลเงินทีบ่ ริษทั ฯ ใช้ในการจัดท�ำงบการ เงิน และสกุลเงินอืน่ ซึง่ บริษทั ย่อยบางแห่งในต่างประเทศใช้รายงานผล การด�ำเนินงาน
เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยส่วนใหญ่บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าโดยมีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงทางการเงินจากสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศ และบริษัทย่อยจะมีการกู้ยืมเงินในสกุลเงินหลักที่บริษัทย่อย ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจโดยทั่วไปเงินกู้ยืมระยะยาวจะถูกกู้ยืมด้วยอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งถูกเชื่อมโยงไปยังอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานส�ำหรับ แต่ละสกุลเงิน อัตราดอกเบี้ยลอยตัวได้รับผลกระทบจากสภาวะทาง เศรษฐกิจมหภาคและนโยบายการเงินของแต่ละภูมิภาค ความเสี่ยง จากอั ต ราดอกเบี้ ย คื อ ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่งจะมีผลกระทบต่อผลการ ด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัท อย่างไรก็ตามบริษัทฯมีการ บรรเทาความเสีย่ งโดยใช้เครือ่ งมืออนุพนั ธ์ทางการเงิน โดยเฉพาะการ ท�ำสัญญาแปลงอัตราดอกเบี้ย(Interest rates swaps), การท�ำสัญญา อัตราดอกเบีย้ คงที่ และการออกและเสนอขายหุ้นกู้ รวมถึงหุ้นกู้ที่ไม่มี วันหมดอายุในตลาดตราสารหนี้ไทย เพื่อใช้ในการบริหารความเสี่ยง จากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม นอกจากนั้นยังมีการ ป้องกันความเสี่ยงตามธรรมชาติ (natural hedge) โดยการจับคู่ภาระ หนี้สินสกุลเงินต่างประเทศกับสินทรัพย์ที่เป็นสกุลเงินเดียวกัน ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่ สามารถช�ำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบก�ำหนด ฝ่ายบริหารได้ก�ำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยง ทางด้านสินเชือ่ ดังกล่าวอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการ เงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ รวมถึงการท�ำ ประกันภัยสินเชื่อทางการค้าในภูมิภาคนั้นๆเพื่อครอบคลุมความเสี่ยง ทางด้านสินเชือ่ ความเสีย่ งสูงสุดทางด้านสินเชือ่ แสดงไว้ในมูลค่าตาม บัญชีของลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการ รักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั และเพือ่ ลดผลกระทบจากความผันผวนของ กระแสเงินสด บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจลงทุนโดยการ ถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) จึงต้องพึ่งพิงเงินปันผลที่ได้ รับจากการถือหุ้นในบริษัทอื่น เพื่อช�ำระคืนหนี้หุ้นกู้ในครั้งนี้ และจ่าย เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เนื่องจาก บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นใน บริษัทอื่น บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส จึงต้องอาศัยเงินปันผลที่ได้รับ จากการถือหุ้นในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในการช�ำระคืนหนี้หุ้นกู้ใน ครั้งนี้ และจ่ายเงินปันผลของตน ซึ่งการจ่ายเงินปันผล ดังกล่าวจะขึ้น อยู่กับผลประกอบการทางการเงินในอนาคต ซึ่งเป็นผลมาจากความ ส�ำเร็จในการปรับใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทนั้นๆ และขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่างๆ เช่น ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยเกี่ยวกับการแข่งขัน ปัจจัย ทางกฎหมาย ปัจจัยทางเทคนิค และปัจจัยอื่น ๆ สภาพเศรษฐกิจโดย ทั่วไป อุปสงค์ และราคาขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทนั้นๆ และปัจจัย เฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจหรือโครงการของบริษทั นัน้ ๆ ซึง่ ปัจจัยหลาย ประการอยู่นอกเหนือความควบคุมของบริษัทฯ
บริษัทย่อยของบริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่เกินร้อยละ 80 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและส�ำรองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม คณะ กรรมการของบริษทั ย่อย เป็นผูม้ อี ำ� นาจอนุมตั ิในการพิจารณาการจ่าย เงินปันผลเป็นคราวๆ ไป โดยค�ำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ เช่น เงินส�ำรองเพือ่ จ่ายช�ำระหนี้เงินกู้ยืม แผนการลงทุนในการขยายกิจการ หรือเพื่อ สนับสนุนกระแสเงินสดของบริษัทฯ ในกรณีที่มีผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงของสภาวะตลาด ความสามารถของบริษทั ย่อยทัง้ ทางตรง และทางอ้อมของบริษทั ฯ ในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ซึง่ รวมถึง บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส อยู่ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แม้ว่า บริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะจ่ายเงินปันผลในหุ้นของบริษัทฯ ให้แก่ผู้ถือ หุ้น ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ในอนาคตจะขึ้น อยู่กับมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ มติที่ประชุมผู้ถือ หุ้น ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ กระแสเงินสด ฐานะทางการเงิน ข้อห้ามตามสัญญา ข้อห้ามตามกฎหมาย และปัจจัยอื่นๆ ซึ่งคณะกร รมบริษัทฯ เห็นว่าเกี่ยวข้อง ความเสี่ยงจากการที่บริษัทฯไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการ เงินได้ เนือ่ งจากบริษทั ฯมีเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินและการออกหุน้ กูม้ ลู ค่า 32 พันล้านบาท บริษัทฯจ�ำเป็นต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินซึ่ง ก�ำหนดให้อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุนสูงสุดไม่เกิน 2:1 ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 บริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุนเท่ากับ 0.96:1 บริษทั ฯยังมีเงือ่ นไขทางการเงินอืน่ ทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามและอาจเกิดความ เสี่ยงที่บริษัทฯอาจไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินดังกล่าว ได้ ในกรณีที่ฐานะการเงินและ/หรือผลประกอบการของบริษัทลดลง อย่างเป็นสาระส�ำคัญ อย่างไรก็ตามฐานะการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 สะท้อนถึงผลการด�ำเนินงานที่น่าพึงพอใจเมื่อเทียบ กับเงื่อนไขทางการเงินที่ต้องปฏิบัติตาม
ความเสี่ยงอื่นๆ การด�ำเนินงานการของโรงงาน PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการด�ำเนินคดีทางกฎหมาย ข้อพิพาทเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและระบบบ�ำบัดมลพิษทางอากาศ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 สมาคมต่อต้านสภาวะโลกร้อนกับผู้อาศัย ในเขตมาบตาพุด, บ้านฉาง และอ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง (“ผู้ฟ้อง คดี”) ได้ยนื่ ฟ้องหน่วยงานของรัฐ และรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ (“หน่วย งานผู้ถูกฟ้อง”) ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลปกครองกลางมี ค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งให้หน่วยงานผู้ถูกฟ้องเพิกถอนรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเพิกถอนใบอนุญาตโครงการหรือ กิจการที่เข้าข่ายเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่ ได้จัดท�ำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีต่ งั้ อยู่ในพืน้ ทีม่ าบตาพุด บ้านฉางและ พื้นที่ใกล้เคียงในจังหวัดระยอง ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพจ�ำนวน 76 โครงการ รวมทัง้ ขอให้ระงับการด�ำเนินกิจกรรม ใด ๆ ในปัจจุบนั ส�ำหรับโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการทีผ่ ขู้ ออนุญาต
109
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
หรือเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ใน ปัจจุบันนี้ เนื่องจากเข้าข่ายเป็นโครงการที่มิได้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ ก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงการ จัดให้มกี ารประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ การ จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ เสีย และการให้องค์การอิสระให้ความเห็นประกอบก่อนมีการด�ำเนิน โครงการหรือกิจกรรมดังกล่าว โดยหนึง่ ในโครงการดังกล่าว ได้แก่ การ เปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตและระบบบ�ำบัดมลพิษทางอากาศโรงงานผลิต Purified Terephthalic Acid (PTA) ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ที่ได้รับอนุญาต จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในวันที่ 2 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางได้มีค�ำพิพากษาเพิกถอน การอนุญาตโครงการหรือกิจการซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อย่างรุนแรง ทัง้ ทางด้านคุณภาพสิง่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ และซึ่งมิได้ปฏิบัติตามวรรคสอง มาตรา 76 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก�ำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติส�ำหรับ โครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ เอกชน จะ ต้องจัดท�ำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2553 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 (“ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”) ซึ่งตาม ค�ำพิพากษาของศาล โครงการของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม มิได้ถูก จัดอยู่ในประเภทโครงการที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาตด�ำเนินโครงการ อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาล ปกครองสูงสุด ร้องขอให้ศาลกลับค�ำพิพากษาของศาลปกครองกลาง โดยไม่น�ำประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมา ประกอบในค�ำพิพากษา และพิพากษาให้ผู้ถูกฟ้องคดีต้องเพิกถอน รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และใบอนุญาตที่ได้ให้ไว้ แก่โครงการหรือกิจการ ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบนับแต่วันที่ 24 สิ ง หาคม 2550 เป็ น ต้ นมา จนกว่ า การศึ ก ษาด้ า นผลกระทบ ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม และสุขภาพจะเสร็จสมบูรณ์ ตามที่ก�ำหนด โดยรัฐธรรมนูญ ในวันที่ 7 ธันวาคม 2553 ผู้ถูกฟ้องคดีได้ยื่นค�ำให้การเพื่อโต้แย้งการ อุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดี ซึ่ง ณ เดือนธันวาคม 2558 ศาลปกครองสูงสุด ยังไม่ได้มีค�ำพิพากษาในกรณีดังกล่าวแต่อย่างใด ในระหว่างขั้นตอนการยื่นอุทธรณ์นั้น เนื่องจากโครงการของ บจ.อิน โดรามา ปิโตรเคม มิได้เป็นในโครงการซึง่ ถูกเพิกถอนการอนุญาตโดย ศาลปกครองกลาง ดังนัน้ บจ.อินโดรามา ปิโตรเคม จึงสามารถด�ำเนิน กิจการผลิต PTA ได้ อย่างไรก็ตามบริษัทฯ ไม่สามารถรับรองได้ว่า กระบวนการพิจารณาทางศาลและค�ำพิพากษาโดยศาลปกครองสูงสุด จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อโครงการของ บจ.อินโดรามา ปิโตรเคม ในด้านการถูกเพิกถอนการอนุญาต หรือด้านการก่อสร้างอาคาร หรือ ด้านการประกอบธุรกิจของบจ.อินโดรามา ปิโตรเคม ว่าจะถูกระงับ หรือไม่ อย่างไรก็ตามโรงงานของอินโดรามา ปิโตรเคมไม่เคยได้รับ
110
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ผลกระทบจากกฏหมายดังกล่าว และการด�ำเนินกิจการของโรงงาน ได้ ด�ำเนินการไปโดยต่อเนื่องตามปกติ ข้อพิพาทเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงระบบ น�้ำปราศจากแร่ธาตุ (Reverse Osmosis) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2553 ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีต่อศาล ปกครองกลาง เพื่อให้ศาลปกครองกลางมีค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งให้ ผู้ถูกฟ้องคดีเพิกถอนรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ การเพิกถอนการอนุมัติของการโครงการหรือกิจกรรมที่ต้องจัดท�ำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาห กรรมมาบตาพุด บ้านช้างและบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระยอง ซึง่ อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่ง แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จ�ำนวน 9 โครงการ รวมทั้ง ขอให้ระงับการด�ำเนินกิจกรรมใดๆ ในปัจจุบันส�ำหรับโครงการหรือ กิจกรรมหรือกิจการที่ผู้ขออนุญาตหรือเจ้าของโครงการหรือกิจกรรม หรือกิจการที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบันนี้ เนื่องจากเข้าข่ายเป็น โครงการที่มิได้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ก�ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงการจัดให้มีการประเมินผลกระทบ ต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ การจัดให้มกี ระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย และการให้องค์การอิสระให้ ความเห็นประกอบก่อนมีการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมดังกล่าว โดย หนึ่งในโครงการดังกล่าว ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ปรับปรุงระบบ reverse osmosis ของบจ. อินโดรามา ปิโตรเคม โรงงาน ผลิต Purified Terephthalic Acid (PTA) ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ที่ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 ศาลปกครองกลางได้มีค�ำสั่งยกค�ำร้อง ของผู้ฟ้องคดี ซึ่งข้อเท็จจริงตามที่ผู้ฟ้องคดีได้กล่าวอ้างมา ไม่มี หลักฐานที่เพียงพอที่จะพิสูจน์ ได้ว่าผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายจาก การด�ำเนินงานของโครงการดังกล่าว ขณะนี้ ศาลปกครองกลางยัง ไม่มีค�ำพิพาษาในกรณีดังกล่าว อย่างไรก็ตามการด�ำเนินกิจการของ โรงงาน ได้ด�ำเนินการไปโดยต่อเนื่องตามปกติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส และบริษัท ย่อย มิได้มีข้อพิพาททางกฎหมายที่ส�ำคัญ จนอาจจะมีผลกระทบต่อ สินทรัพย์ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ที่มีจ�ำนวนสูงกว่าร้อยละ 5 ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ และไม่มขี อ้ พิพาททีม่ ผี ลกระทบต่อการด�ำเนิน ธุรกิจของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส อย่างมีนยั ส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม ข้อพิพาทดังต่อไปนี้ อาจมีผลกระทบต่อแต่ละบริษัทย่อยของบริษัทฯ ซึ่งเป็นผลกระทบที่ยังไม่อาจประเมินได้
ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัทย่อย ข้อพิพาททางกฎหมายกรณี Jay Easler ได้ยื่นฟ้องหลายบริษัท เป็นจ�ำเลย ซึง่ รวมถึง Auriga Polymers Inc.(“Auriga”) และ Indorama 1
Indorama Ventures USA Inc. ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทจ�ำกัด (Limited Liability Company) โดยใช้ชื่อว่า “Indorama Ventures USA LLC” ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2557
Ventures USA LLC1 (“IVLUSA”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส ต่อศาลแขวงเซาท์ แคโรไลนา (South Carolina) ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2557 Jay Easler ได้ยนื่ ฟ้อง Hoechst Celanese Corporation, HNA Holdings, Inc., CNA Holdings, Inc., Hercules, Inc., Ashland, Inc., Hystron Fibers, Inc., Messer Greishiem, Inc., Arteva Apecialties S.a.r.l d/b/a/ “Kosa”, Johns Manville Corporation, INVISTA S.a.r.l d/b/a “Invista”, Teijin Monofilament U.S., Inc., Teijin Holdings USA, Inc., Auriga และ IVLUSA ในนาม ของตนเองและในนามกลุม่ บุคคลต่อศาลแขวงเซาท์ แคโรไลนา (South Carolina) ประเทศสหรัฐอเมริกา Auriga, IVLUSA และจ�ำเลยอื่นๆ ถูกกล่าวหาว่า เป็นเจ้าของหรือ ประกอบกิจการอุตสาหกรรมบนที่ดิน ซึ่งปัจจุบัน Auriga ประกอบ กิจการอยู่ที่ถนน Dewberry, เมือง Spartanburg, มลรัฐ South Carolina (“พื้นที่พิพาท”) โจทก์กล่าวหาว่าได้มีการปล่อยมลพิษ ออกมาจากพื้นที่พิพาท เริ่มตั้งแต่ปี 2513 จนถึงปี 2551 ซึ่งอย่างน้อย ได้ทำ� ให้เกิดการกระจายของสารปนเปือ้ นออกมาภายนอกสถานที่ และ ปนเปื้อนที่ดินทรัพย์สินของโจทก์และของผู้ฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคล ซึ่งเป็นเจ้าของบ้านเรือน ภายในระยะรัศมี 2 ไมล์รอบบริเวณพื้นที่ พิพาท อย่างไรก็ตาม ข้อกล่าวหาของโจทก์เป็นการกล่าวหาโดยทั่วไปว่า เจ้าของโรงงานทัง้ หมดในพืน้ ทีพ่ พิ าทปล่อยมลพิษเป็นประจ�ำทุกวันลง ในล�ำน�้ำที่อยู่บริเวณติดกันตั้งแต่ปี 2513 จนถึงปี 2551 ซึ่งเป็น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนที่ Auriga จะเข้าซื้อโรงงานซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ พิพาท โดย Auriga ได้เข้าซือ้ โรงงานดังกล่าวเมือ่ วันที่ 1 มีนาคม 2554 ภายใต้สัญญาซื้อขายกับ Invista ฉบับลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 Auriga มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน ทั้งจาก กรณีความรับผิดที่ยัง คงเป็นของผูข้ าย (Excluded Liability) และจากความรับผิดทีผ่ ขู้ ายต้อง ชดใช้ให้แก่ผู้ซื้อ (Buyer Indemnifiable Liabilities) ซึ่งได้ก�ำหนดไว้ แน่นอน ข้อกล่าวหาในค�ำฟ้องยืนยันว่าการปล่อยมลพิษส่วนใหญ่เกิดขึ้นใน ระหว่างที่ Hoechst Celanese Corporation และผูร้ บั ช่วง คือ Celanese เป็นผู้ประกอบกิจการในพื้นที่พิพาท Auriga มีความมุ่งมั่นที่จะต่อสู้ อย่างเต็มที่กับข้อเรียกร้องสิทธิตามค�ำฟ้อง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2557 ที่ผ่านมา ทนายความโจทก์ได้ยื่นข้อเสนอต่อจ�ำเลยใน คดีเพื่อขอประนีประนอมยอมความ ซึ่งณ วันที่ 26 ตุลาคม 2558 สัญญาประนีประนอมยอมความที่เสนอโดยทนายความโจทก์ดังกล่าว ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของคู่ความในคดี อนึ่ง ข้อกล่าวหาดังกล่าว มิได้ระบุว่าการปล่อยมลพิษนั้นเกิดขึ้นใน ระหว่างที่ Auriga เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในโรงงานซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่ พิพาท มีแต่เพียงข้อกล่าวหาซึ่งมีใจความส�ำคัญว่า การปล่อยมลพิษ เกิดขึ้นในขณะที่ Celanese เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในพื้นที่พิพาทและ ไม่มีปรากฎข้อเท็จจริงอื่นใดเพิ่มเติมอีก จึงเป็นไปไม่ได้ในขณะนี้ที่จะ ตัดสินว่า Auriga จะต้องรับผิด หากรับผิดจะอยู่ในระดับใด นอกจากนี้
ยังมีความเป็นไปได้น้อยมากที่การด�ำเนินคดีดังกล่าวจะส่งผลให้การ ประกอบกิจการของโรงงานต้องหยุดชะงักลง การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ เครื่องดื่มอาจลดอุปสงค์ในการใช้ผลิตภัณฑ์ในขั้นปลาย- ความเสี่ยง ของตัวผลิตภัณฑ์ ได้มีการออกกฎหมายในมลรัฐต่างๆ ในสหรัฐอเมริกาและที่อื่นๆ ซึ่ง ก�ำหนดให้การขาย การท�ำการตลาด และการใช้บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ เครื่องดื่มที่ไม่สามารถน�ำกลับมาเติมได้อีก (Non-refillable) จะต้องมี การวางมัดจ�ำหรือจะต้องมีการจ่ายภาษีสิ่งแวดล้อม (Ecotax) หรือค่า ธรรมเนียมต่างๆ นอกจากนี้ ข้อเสนออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเงิน มัดจ�ำบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับเครื่องดื่ม การน�ำบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ ภาษีสิ่งแวดล้อม และ/หรือ ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ที่จะส่งผลก ระทบต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อม (Product stewardship) ได้มหี รืออาจ มีการเสนอในมลรัฐต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา และที่อื่นใดอีก การที่ผู้ บริโภคได้มคี วามห่วงใยเพิม่ ขึน้ และเปลีย่ นทัศนคติเกีย่ วกับขยะทีเ่ ป็น ของแข็งและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและประเด็นสาธารณะที่ เกีย่ วข้อง อาจท�ำให้มกี ารออกกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ดงั กล่าวมาบังคับ ใช้ สิ่งดังกล่าวท�ำให้ลูกค้า PET ของบริษัทฯ บางรายลดการใช้เม็ด พลาสติก PET ในกระบวนการผลิตขวด ซึ่งกระบวนการดังกล่าว เป็น ที่รู้จักในชื่อของกระบวนการท�ำน�้ำหนักเบา (Light Weighting) ได้ก่อ ให้เกิดการลดการใช้เม็ดพลาสติก PET ในการผลิตขวด และส่งผลกระ ทบต่ออุปสงค์ใน PX, PTA และเม็ดพลาสติก PET เม็ดพลาสติก PET สามารถน�ำกลับมาใช้อกี ได้ โดยบริษทั ฯมีการลงทุนในโครงการน�ำ PET กลับมาใช้อกี ที่โรงงานในประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา ยุโรปและไทย กฎระเบียบเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมอาจท�ำให้บริษทั ฯ มีตน้ ทุนและความรับ ผิดชอบที่สูงขึ้น การประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้กฎหมายและกฎระเบียบเกีย่ ว กับสิ่งแวดล้อม ทั้งที่เป็นของส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นในประเทศที่ บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจ ซึง่ กฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าวครอบคลุม ถึงเรื่อง มลพิษ การป้องกันสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การปล่อยมลพิษ ทางอากาศ การปล่อยน�ำ้ เสีย สุขภาพ และความปลอดภัยในการท�ำงาน การก่อให้เกิด การจัดการ การดูแล การเยียวยา การใช้งาน การจัด เก็บ การปล่อยของเสีย และการเผชิญสสาร และขยะที่เป็นอันตราย ซึ่งข้อก�ำหนดดังกล่าวมีความซับซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และมี แนวโน้มทีจ่ ะเข้มงวดขึน้ บริษทั ฯ ได้มแี ละยังคงจะต้องมีตน้ ทุนและราย จ่ายส่วนทุน ในการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว รวม ถึงในการรักษาใบอนุญาตที่ส�ำคัญไว้ บริษัทฯ มีขั้นตอนต่างๆในการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่า บริษัทฯ จะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าวได้ครบถ้วน ตลอดเวลาในอนาคต หรือบริษัทฯ จะสามารถได้รับหรือสามารถต่อ อายุใบอนุญาต ความยินยอม หรือการอนุญาตที่จ�ำเป็นในการด�ำเนิน ธุรกิจต่อไปทั้งหมดได้ หากบริษัทฯ ไม่สามารถด�ำเนินการดังกล่าวได้ อาจท�ำให้บริษัทฯ ต้องจ่ายค่าปรับ ได้รับโทษ และมีภาระหนี้สินได้
111
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยง
คณะกรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ดูแลกระบวนการจัดท�ำรายงาน ทางการเงิน ทั้งของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อให้เป็นไปตาม หลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และเป็นไปตามกฎข้อบังคับของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) รวมทั้งข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ร วมถึ ง การสอบทานผลการด� ำ เนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการ รวมทั้งค�ำนึงถึงความเหมาะสม ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในและกระบวนการตรวจสอบ การคัดเลือกผู้สอบบัญชี ตลอดจนการให้ความเห็นต่อผู้สอบบัญชี ภายนอก และหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย แผนกตรวจสอบภายในของบริษทั ฯรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ แผนกตรวจสอบภายในมีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบทานความเพียง พอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯและบริษัทย่อย แผนก ตรวจสอบภายในได้ทำ� การรายงานสิง่ ทีต่ รวจพบ ตลอดจนให้คำ� เสนอแนะ แก่ฝา่ ยบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ การสอบทานระบบควบคุม ภายในดังกล่าวได้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า บริษัทมีระบบการ
112
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ และให้ความเชื่อมั่นได้ว่าบริษัทจะ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทได้ ในการประชุมคณะกรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ครั้งที่ 1/2559 เมือ่ วันที่ 27 มกราคม 2559 โดยมีกรรมการตรวจสอบทุกท่าน เข้าร่วมประชุม ได้พิจารณาข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินความคิดเห็นต่อระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยส�ำหรับปี 2558 และพบว่ามีการควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยข้อสรุปของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ภายใต้กรอบ แนวทางการควบคุมภายในของคณะกรรมการของสถาบันวิชาชีพ 5 สถาบันในสหรัฐอเมริกา (COSO) มีดังต่อไปนี้
สภาพแวดล้อมการควบคุม บริษัทฯมีการจัดท�ำแผนธุรกิจระยะ 1 ปี และ 5 ปี ซึ่งได้รับการอนุมัติ โดยคณะกรรมการบริษทั โดยแผนดังกล่าวได้จดั ท�ำขึน้ เพือ่ เป็นแนวทาง ส�ำหรับพนักงานในการที่จะบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ ทุกหน่วยงาน และมีกระบวนการติดตามความส�ำเร็จของวัตถุประสงค์ ของบริษทั รวมถึงมีการสอบทานเป็นครัง้ คราวด้วย บริษทั ฯก�ำหนดให้
บริษัทฯได้จัดให้มีคู่มือการอนุมัติรายการทางการเงิน (Financial Authority Manual) เพื่อให้มั่นใจได้ว่ากระบวนการควบคุมภายใน มีความเพียงพอและได้ด�ำเนินการตรวจสอบโดยฝ่ายบริหาร เพื่อให้ การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดทุจริตหรือการ กระท�ำที่ไม่เหมาะสม บริษัทฯจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ที่เหมาะสม ส�ำหรับการอนุมตั ริ ายการ การบันทึกบัญชี และการดูแลรักษาสินทรัพย์ ส�ำหรับทุกหน่วยงานของบริษัท บริษัทฯมีนโยบายภายในที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในเรื่องของรายการ ระหว่างกัน ว่ารายการใดเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลที่เกี่ยว ข้องกัน บริษัททีเ่ กี่ยวข้องกัน รวมถึงนโยบายที่ใช้และมาตรการในการ ปฎิบัติเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมด โดยรายการระหว่างกัน ได้ปฏิบัติตามกฎและข้อบังคับของ กลต. และ ตลท. ส�ำหรับรายการ ระหว่างกันที่เกิดขึ้นใหม่โดยค�ำนึงถึงขนาดของรายการ จะเสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา และเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ นอกจากนี้ทุกๆไตรมาส รายงานรายการ ระหว่างกันได้จัดท�ำขึ้นเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและ การประเมินความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทร่วมทุกแห่งมีกรรมการ ร่ ว มกั น ซึ่ งเป็ น ผู ้ ที่ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษัท ต่ า งๆดังกล่าว บริษัทฯมีคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ท�ำให้มีความเชื่อมั่นว่าแต่ละบริษัทได้มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบและ (SRMC) ซึ่งคณะกรรมการด้านความยั่งยืนฯดังกล่าวได้ท�ำการสอบ วัตถุประสงค์ โดยรวมของบริษัทฯแล้ว คณะกรรมการบริษัทได้รับ ทานภาพรวมค่าความเสีย่ งและรายงานต่อคณะกรรมการถึงความเสีย่ ง ข้อมูลเกีย่ วกับฐานะการเงินของบริษทั ย่อยอย่างสม�ำ่ เสมอ และรายงาน ที่ ส ่ ง ผลกระทบอย่ า งมี ส าระส� ำ คั ญ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า บริ ษั ท มี การประชุมของบริษัทย่อยได้ถูกน�ำเสนอในการประชุมคณะกรรมการ กระบวนการด�ำเนินงาน ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและนโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง บริษัททุกๆไตรมาส นอกจากนี้ยังมีขั้นตอนในการประเมินผลและให้ค�ำแนะน�ำต่อคณะ กรรมการถึงความเสี่ยงที่มีสาระส�ำคัญและความไม่แน่นอนที่อาจส่ง รายงานการปฏิบัติตามระบบได้รับการยืนยันและรายงานจากหัวหน้า ผลกระทบต่อการเติบโตที่ให้ผลก�ำไรอย่างยั่งยืน คณะกรรมการด้าน หน่วยงานทุกหน่วยงานถึงสถานะการน�ำกฎหมายและกฎระเบียบข้อ ความยั่งยืนฯรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเป็นระยะถึงกิจกรรมและ บังคับมาบังคับใช้ มีการเก็บหลักฐานเอกสารและน�ำเสนอให้คณะ ประเมินผลการด�ำเนินงานเป็นประจ�ำทุกปี โดยยึดถือกฎบัตรและ กรรมการตรวจสอบรับทราบทุกไตรมาส และน�ำเสนอคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาเมื่อได้รับการร้องขอ แนวทางปฏิบัติที่ดีในปัจจุบัน มีโครงสร้างองค์กรที่ดี ซึ่งได้ระบุถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของ แต่ละบุคคลในหน้าทีห่ ลักและหน้าทีอ่ นื่ ๆ พนักงานทุกคนจะได้รบั คูม่ อื นโยบายซึ่งได้รวบรวมนโยบายทั้งหมดที่ส่งเสริมให้มีสภาพแวดล้อม การควบคุมทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯ ได้จดั ให้มขี อ้ ก�ำหนดเกีย่ วกับจริยธรรม (Code of Conduct) ส�ำหรับคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร ตลอดจนพนักงาน ทุกระดับ ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับจริยธรรมดังกล่าวได้มีการประกาศให้ พนักงานทุกคนได้ลงนามรับทราบ บริษัทได้จัดให้มีนโยบายการ ควบคุมและการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อก�ำหนดให้พนักงานทุกคนรักษา ข้อมูลภายในเป็นความลับ และไม่เปิดเผยข้อมูลภายในเพื่อแสวงหา ผลประโยชน์เพื่อตนเองและผู้อ่ืน นอกจากนี้บริษัทได้มีการประกาศ ใช้นโยบายการต่อต้านทุจริต โดยมีความมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินธุรกิจด้วย ความเป็นสากล ซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม ปราศจากการทุจริตหรือการ กระท�ำอื่นใดอันเป็นการให้สินบนและสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้ นโยบายดังกล่าว ได้มกี ารประกาศไว้ในเว็บไซท์ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ด้วย
หัวหน้ากลุ่มในแต่ละธุรกิจ มีฐานะเป็นสมาชิกของคณะกรรมการ ด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่ติดตามและดูแล ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้คณะกรรมการด้าน ความยัง่ ยืนฯ ได้สอบทานการวิเคราะห์ประเด็นทีอ่ อ่ นไหวต่อแผนธุรกิจ การลงทุนในธุรกิจใหม่รวมถึงแผนการซื้อและควบรวมกิจการอีกด้วย
กิจกรรมการควบคุม บริ ษั ท ฯมี น โยบายและวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านส� ำ หรั บ การบริ ห ารงาน การจัดซือ้ การขายและการตลาด ตลอดจนการจัดท�ำรายงานทางการเงิน เป็นลายลักษณ์อักษร ใช้ส�ำหรับทุกหน่วยงานของบริษัท นอกจากนี้
113
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล บริษทั ฯ/ ผูบ้ ริหารมีความเชือ่ มัน่ ในประสิทธิภาพและความเพียงพอของ ข้อมูลทีจ่ ดั เตรียมให้กบั คณะกรรมการบริษทั เพือ่ การพิจารณา รายงาน การประชุมของคณะกรรมการบริษัทมีการจัดเตรียมโดยส�ำนักงาน เลขานุการของบริษทั ฯ รายงานการประชุมครอบคลุมถึงการแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมได้ รับการสอบทานจากกรรมการบริษทั และลงนามโดยประธานการประชุม ส� ำ นั ก เลขานุ ก ารบริ ษั ท และเลขานุ ก ารคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบตั ติ าม/ให้ขอ้ มูล/ช่วยเหลือกรรมการบริษทั ตามทีไ่ ด้รบั การร้องขอ บริษัทมีนโยบายการแจ้งเบาะแสเพื่อเป็นช่องทางการในการรับทราบ เรื่องราวร้องทุกข์จากพนักงานที่ไม่ต้องการเปิดเผยตัวตน เว็บไซท์ ของบริษทั มีชอ่ งทางการติดต่อสือ่ สารทีห่ ลากหลายกับบุคคลภายนอก เช่น ติดต่อกับส�ำนักเลขานุการบริษัท แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ แผนก บุคคล เป็นต้น แผนกกฎหมายและเลขานุการบริษัทได้รับมอบหมาย ให้ติดต่อกับหน่วยงานต่างๆของรัฐ เว็บไซท์ของบริษัทได้จัดให้มี ช่องทางการสือ่ สารระหว่างกรรมการอิสระกับบุคคลภายนอก โดยสามารถ ส่งอีเมลล์มาที่ independentdirectors@indorama.net
ระบบการติดตาม ผลการด� ำ เนิ น งานและงบประมาณประจ� ำ ปี ที่ ตั้ ง ไว้ ข องบริ ษั ท ฯ และบริษัทย่อย ได้รับการพิจารณาและอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท งบการเงินรวมรายไตรมาสของบริษัทได้รับการสอบทานและอนุมัติ จากคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ยังได้สอบทานงบการเงินประจ�ำปีที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว และให้ค�ำ แนะน�ำต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาและอนุมัติด้วย
114
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
แผนกตรวจสอบภายในของบริษทั ได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน ของกระบวนการด�ำเนินทีห่ ลากหลายและครอบคลุมบริษทั ย่อยทัง้ หมด โดยให้เป็นไปตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปีซงึ่ อนุมตั โิ ดยคณะกรรมการ ตรวจสอบ นอกจากนี้ ในการประชุมรายไตรมาส คณะกรรมการตรวจ สอบได้พิจารณารายงานข้อเสนอแนะต่อระบบการควบคุมภายในจาก ผูต้ รวจสอบบัญชีภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการ ปฏิบัติงานของแผนกตรวจสอบภายในทุกๆครึ่งปี และยังได้สอบทาน ความคืบหน้าของการน�ำข้อเสนอแนะไปปฏิบัติเป็นระยะอีกด้วย
หัวหน้างานตรวจสอบภายในและหัวหน้างาน การก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท 1. หัวหน้างานตรวจสอบภายใน บริษทั ฯ มีแผนกตรวจสอบภายใน คูม่ อื การปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายใน และกฎบัตรการตรวจสอบภายในเป็นของตนเอง คณะกรรมการตรวจ สอบมีอ�ำนาจในการแต่งตั้ง โยกย้าย และถอดถอนหัวหน้างานตรวจ สอบภายใน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีมติแต่งตั้ง นายอนิล กุมาร์ ไอลานี เป็นหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ
2. หัวหน้างานการก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งเลขานุการบริษัท นายโซวิค รอย เชาว์ดูรี่ ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้างานการก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ าน โดยด�ำเนินการ ทบทวนและประเมินให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎหมายในทุกหน่วยธุรกิจและ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าทุกหน่วยธุรกิจได้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายและ กฎระเบียบของบริษัท
รายการ ระหว่างกัน รายการระหว่างกันเป็นรายการที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติ โดยที่การก�ำหนดราคาจะเป็นราคาตลาดหรือเป็นไปตามเงื่อนไขทาง การค้าโดยทั่วไปซึ่งสามารถเทียบเคียงกับเงื่อนไขที่ให้กับบุคคลภายนอก (Fair and at arm’s length) ซึ่งอาจจะเป็นราคาที่เรียกเก็บจาก ลูกค้าหรือเป็นราคาที่เสนอให้กับผู้จัดหา (ซัพพลายเออร์) และเป็นเงื่อนไขที่สามารถเปรียบเทียบได้และสมเหตุสมผล รายการระหว่างกันที่ เกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถสรุปได้ดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวข้อง/ความสัมพันธ์
Indo Rama Synthetics (India) Ltd. นาย โอม ปรากาซ โลเฮีย ซึ่งเป็นพี่ชายของ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และนายอาลก โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ Indo Rama Synthetics (India) Ltd. PT. Indorama Synthetics Tbk. นายศรี ปรากาซ โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ PT. Indorama Synthetics Tbk PT. Indorama Petrochemicals กิจการร่วมค้า (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 43) และ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ PT. Indorama Petrochemicals Indorama Eleme Petrochemicals Ltd. นายศรี ปรากาซ โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ Indorama Eleme Petrochemicals Ltd. Pacific Resources Ltd. นายอานุช โลเฮีย เป็นบุตรของนายอาลก โลเฮีย ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ Pacific Resources Ltd. Cryoviva (Thailand) Ltd. นายอาลก โลเฮีย เป็นกรรมการของ Cryoviva (Thailand) Ltd. PT. Irama Unggul ครอบครัวของนายศรี ปรากาซ โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ PT. Irama Unggul Lohia Global Holdings Limited นายโมฮัน ลาล โลเฮีย ซึ่งเป็นบิดาของ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และนายอาลก โลเฮีย เป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ Lohia Global Holdings Limited Vega Aviation Limited นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และนายอาลก โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ Vega Aviation Ltd. Indorama Commerce DMCC นายศรี ปรากาซ โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ Indorama Commerce DMCC
จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท)
ประเภทรายการ
ปี 2557
ปี 2558
รายได้จากการขายวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์
4,279.57
1,137.47
รายได้จากการขายวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์/ ให้บริการ
1,220.91
1,384.04
ซื้อวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์/บริการ รายได้จากการขายวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์/ ให้บริการ
394.26 17.92
678.20 857.43
ซื้อวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์/บริการ
9,745.91
7,705.80
ซื้อวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ์/บริการ
24.65
29.55
ค่าใช้จ่ายด้านบริการ (ค่าเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน)
6.69
7.17
รายได้ค่าบริการ (ค่าเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน)
2.20
1.13
ค่าใช้จ่ายด้านบริการ (ค่าเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน)
1.19
1.18
100.84
119.79
ค่าใช้จ่ายด้านบริการ (ค่าเช่าเครื่องบิน)
81.20
85.72
ค่าใช้จ่ายด้านบริการ (ด้านบุคคลากร)
7.93
13.85
ค่าใช้จ่ายด้านบริการ (ค่าสิทธิในการใช้ชื่อ อินโดรามา)
115
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันข้างต้นได้รับการพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งรายการระหว่างกันดังกล่าวเป็นไปอย่าง สมเหตุสมผล และมีความจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยการเข้าท�ำรายการนั้น บริษัทฯ ได้พิจารณาถึงประโยชน์ของบริษัทฯ เป็น ส�ำคัญ โดยไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส และบุคคลที่อาจมีผลประโยชน์ขัดแย้งกัน
นโยบายและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน กรณีที่มีรายการระหว่างกันของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการ ตรวจสอบจะเป็นผู้พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการเข้าท�ำรายการ ซึ่งข้อก�ำหนดและเงื่อนไขในรายการดังกล่าวต้องเป็น ไปตามราคาตลาด ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาให้ใช้ราคาที่เหมาะสม สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์ต่อ บริษัท หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส จะจัดให้มี ผู้เชี่ยวชาญอิสระเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือผู้ถือหุ้น ตามแต่กรณี โดยกรรมการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและไม่ใช้สิทธิในการออกเสียงเพื่ออนุมัติในรายการ ดังกล่าว และจะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1)
นโยบายเกี่ ย วกั บ การท� ำ รายการระหว่ า งกั น ใน อนาคต ในกรณีที่มีรายการระหว่างกันซึ่งเป็นรายการใหม่ แต่ละหน่วยงานของบริษัท จะต้องแจ้งรายละเอียดของรายการทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ เช่น มูลค่าของรายการ ราคา เงือ่ นไข และเหตุผลทีต่ อ้ งมีรายการระหว่างกัน โดยแจ้งต่อเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพือ่ ให้มกี ารตรวจสอบรายการเบือ้ งต้นว่ารายการนัน้ ๆ อยูภ่ ายใต้เงือ่ นไข ที่จะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริษัท หรือผู้ถือหุ้นของบริษัทหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้บริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไป ตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสัง่ และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน คณะกรรมการ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ด้วย โดย รายการระหว่างกันทุกรายการจะต้องได้รับการสอบทานจากฝ่ายตรวจสอบภายใน
116
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรอง ตามกฎหมาย ทั้งนี้ คณะกรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นผู้มีอ�ำนาจอนุมัติในการพิจารณา นโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นคราวๆ ไป โดยค�ำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะท�ำให้ผู้ถือหุ้นจะได้รับประโยชน์สูงสุด เช่น เงินส�ำรองเพื่อจ่ายช�ำระหนี้เงินกู้ยืม แผนการลงทุนในการขยายกิจการ หรือเพื่อสนับสนุนกระแสเงินสดของบริษัทในอนาคต ในกรณีที่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด
บริษัทย่อย ส�ำหรับการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย มีการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่เกินร้อยละ 80 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการของบริษัทย่อย เป็นผู้มีอ�ำนาจอนุมัติในการพิจารณาการจ่ายเงินปันผลเป็นคราวๆ ไป โดยค�ำนึงถึงปัจจัยต่างๆ เช่น เงินส�ำรองเพื่อจ่ายช�ำระหนี้เงินกู้ยืม แผนการลงทุนในการขยายกิจการหรือเพื่อสนับสนุนกระแสเงินสดของบริษัทในอนาคต ในกรณีที่มี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด
117
117
บริษัท อิVentures นโดรามาPublic เวนเจอร์ ส จ�ำกัด (มหาชน) Indorama Company Limited
รายงาน การก�ำกับดูแลกิจการ ประจ�ำปี 2558
บ
ริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) มีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุ ถึงจุดสูงสุดในการปฏิบัติตามมาตรฐานของการก�ำกับดูแลกิจการและเชื่อมั่นที่จะ ผลักดันให้บริษัทฯ สามารถสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
และสังคม คณะกรรมการบริ ษั ท เชื่ อ มั่ นว่ า การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ คื อ กุ ญ แจส� ำ คั ญ ในการสร้ า ง ความน่าเชื่อถือของบริษัท และเสริมสร้างการเติบโตแบบยั่งยืน รวมถึงสร้างมูลค่าแก่ผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่มในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารยอมรับที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตาม หลักการของการก�ำกับดูแลกิจการ และสะท้อนให้เห็นถึงการปฏิบัตินั้นเป็นไปอย่างถูกต้อง ยุติธรรมตามกฎหมาย โปร่งใสและมีจริยธรรม
นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ ได้จัดท�ำนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร ตามแนวทางที่ก�ำหนด โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตามหลักเกณฑ์ของหลักการก�ำกับดูแลกิจการของ องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) โดยแบ่งออกเป็นหมวดต่างๆ คือ (ก) สิทธิของผู้ถือหุ้น (ข) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (ค) บทบาทของผู้มี ส่วนได้เสีย (ง) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (จ) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัท ซึ่งนโยบายของบริษัทได้มีการก�ำหนดกรอบของภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงาน
118
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
โครงการสร้างความตระหนักใน การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการของบริษัทประจ�ำปี 2558 โครงการสร้างความตระหนักในการปฏิบตั ติ าม หลักการก�ำกับดูแลกิจการ (CGPAC) ได้รบั การผลักดันตัง้ แต่ปี 2556 โดยคณะกรรมการ บริษัท และประสบความส�ำเร็จในการปฏิบัติ จากทุกหน่วยงานของบริษัททั่วโลก โดยรวม ถึงหน่วยงานทีไ่ ด้จากการซือ้ กิจการมาระหว่าง ปีอีกด้วย โดยในปี 2558 คณะท�ำงานภายใต้ โครงการ CGPAC มีการติดตามความก้าวหน้า ของโครงการ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีการ ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการอย่าง ต่อเนื่อง และสนับสนุนให้ทุกคนในองค์กร มีความตระหนักถึงและมีความเข้าใจในนโยบาย ต่างๆ ของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้จัด ให้มกี ารจัดท�ำโครงการสร้างความตระหนักใน การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ ประจ�ำปี 2558 (CGPAC) ซึ่งเป็นโครงการที่ ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมใน การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ
โครงการ CGPAC เป็นโครงการที่ด�ำเนินการอย่าง ต่อเนื่องในการให้ความรู้ จัดอบรม และติดตามให้เกิด การปฏิบตั ิ และเพือ่ เป็นการสร้างความมัน่ ใจว่าพนักงาน ทุกคนของบริษทั มีความเข้าใจในนโยบายต่างๆ บริษทั ฯ ได้จัดให้มีการแปลนโยบายต่างๆ เป็นภาษาท้องถิ่นใน แต่ละประเทศ ปัจจุบนั ได้มกี ารแปลนโยบายถึง 12 ภาษา และแสดงไว้บนเว็บไซด์ของบริษัท โดยคู่มือนโยบาย ฉบับใหม่ ประกอบด้วยนโยบายต่างๆ ซึ่งได้ด�ำเนินการ แจกจ่ายให้แก่พนักงานทุกคน ซึ่งในประเทศไทยจะ ส่งมอบคูม่ อื นโยบายใหม่ให้แก่พนักงานทุกคนอ่าน เพือ่ ท�ำความเข้าใจและลงนามรับทราบ โดยที่หัวหน้าของ แต่ละหน่วยงานจะเป็นผู้รับผิดชอบให้มีการปฏิบัติตาม โครงการ CGPAC และรายงานการปฏิบตั ไิ ปยังคณะท�ำงาน CGPAC ซึ่งคณะท�ำงาน CGPAC จะน�ำเสนอรายงาน การปฏิบัติประจ�ำปี 2558 ต่อคณะกรรมการบริษัท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ทั้งนี้หัวหน้าในแต่ละหน่วย งาน/ฝ่ายทรัพยากรบุคคล จะส่งมอบคู่มือนโยบายให้ แก่พนักงานใหม่ทุกคนเพื่ออ่านและท�ำความเข้าใจ รับ ทราบและลงนามว่าจะปฏิบตั ติ ามหลักจรรยาบรรณ โดย จัดให้มีแผนการฝึกอบรมเพื่อสร้างความตระหนักและ สร้างความเข้าใจในนโยบายต่างๆ ของบริษัท ทั้งนี้เพื่อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า พนั ก งานใหม่ ทุ ก คนจะมี ค วาม ตระหนักถึงโครงการดังกล่าว จึงได้จัดหลักสูตรการ อบรมอย่างครบถ้วนทุกนโยบาย คิดเป็นร้อยละ 70 ของ หน่วยงานทั้งหมดของบริษัท โดยจัดอบรมในรูปแบบ ของการสัมมนาหรือหลักสูตรการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองทาง ออนไลน์ นอกจากนี้ เพื่อให้นโยบายและหลักการเกี่ยว กับการก�ำกับดูแลกิจการนัน้ ถูกปลุกฝังในไปในจิตใจของ พนักงาน บริษัทฯ ได้จัดตั้งส่วนงานก�ำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance Section) ซึ่งประกอบด้วย ผู้มีประสบการณ์ ในการด�ำเนินการฝึกอบรมในด้าน การก�ำกับดูแลกิจการและการต่อต้านการทุจริตและ การติดสินบนในธุรกิจ และเพื่อทบทวน นโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก�ำกับดูและกิจการเป็นประจ�ำทุกปี หรือในกรณีที่จ�ำเป็น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเหล่านี้ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนงานก�ำกับดูแลกิจการได้ดำ� เนินการจัด ฝึกอบรมให้แต่ละหน่วยธุรกิจและได้ท�ำการบันทึกการ การฝึกอบรมดังกล่าวในรูปแบบวีดิทัศน์เพื่อให้บริษัท ย่อยในต่างประเทศน�ำไปใช้ในการฝึกอบรม พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลล่าสุดและนโยบายต่างๆ ซึ่งมีการปรับปรุงได้โดยใช้ช่องทางเว็บไซต์ของบริษัท ซึง่ ในระหว่างปีบริษทั ได้ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบนั ไว้ บนเว็บไซด์ของบริษทั ภายใต้หวั ข้อการก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อให้สอดคล้องกับความความโปร่งใสในระดับสากล นโยบายต่างๆ ได้มีการทบทวนเป็นประจ�ำทุกปี โดย คณะท�ำงาน CGPAC จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ พิจารณาการปรับปรุงแก้ไขนโยบายต่างๆ ใน เดือนสิงหาคมของทุกปี
ทุกนโยบายของบริษัทสามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ของบริษัทฯ www.indoramaventures.com ภายใต้หัวข้อการก�ำกับดูแลกิจการ
บริษัทฯ ได้รับรางวัล ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในการปฏิบัติตาม หลักการก�ำกับดูแล กิจการประจ�ำ ปี 2558 ดังนี้
1. บริษัทฯ ได้รับคะแนน 100 คะแนนจากการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี 2558 ซึง่ ประเมินโดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย ซึง่ บริษทั ฯ ได้รับคะแนนเต็มสี่ปีติดต่อกัน 2. บริษทั ฯ ได้รบั คะแนนในระดับ “ดีเลิศ” ของการปฏิบตั ิ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียน ซึ่งประเมินโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย โดยการสนับสนุนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ซึ่งคะแนนของระดับดีเลิศ คือ คะแนนในช่วงร้อยละ 90-100 ซึ่งบริษัทฯ ได้คะแนนร้อยละ 93 ซึ่งเป็นปี ทีส่ ามติดต่อกันทีบ่ ริษทั ฯ ได้คะแนนในระดับ “ดีเลิศ” 3. บริษัทฯ ได้รับรางวัลในฐานะที่เป็น 1 ใน 50 บริษัท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข องอาเซี ย นที่ มี การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ประจ�ำปี 2558 จากหน่วย งานก�ำกับดูแลตลาดทุนในอาเซียน (ACMF) 4. บริษัทฯ ได้รับรางวัล CSR Recognition Award จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประจ�ำปี 2558 ซึ่งเป็นปีที่สองติดต่อกัน 5. บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล รายงานความยัง่ ยืน จากตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประจ�ำปี 2558 ซึ่งเป็น ปีที่สองติดต่อกัน 6. บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล Outstanding Sustainability Report จากสมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทยและ ส�ำนักงาน กลต.
119
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
7. บริษัทฯ ได้รับรางวัล Outstanding Investor Relations Awards และรางวัล Thailand Sustainability Investment 2015 จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประจ�ำปี 2558 8. บริษัทฯ ได้รับรางวัล “Certificate of Excellence” ด้านนักลงทุนสัมพันธ์จากนิตยสาร IR Magazine 9. บริษัทฯ ได้รับรางวัล Gold Award จากความเป็นเลิศทางด้านการก�ำกับดูแลกิจการความ รับผิดชอบต่อสังคม และนักลงทุนสัมพันธ์ จากนิตยสาร The Asset 10. บริษัทฯ ได้รับรางวัล Best Investor Relations Team จาก จากนิตยสาร The Asset
คณะกรรมการชุดย่อย
ค
ณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยจ�ำนวน 3 ชุด ได้แก่ (ก) คณะกรรมการตรวจสอบ (ข) คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและ ก�ำกับดูแลกิจการ และ (ค) คณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน ได้แก่ นายระเฑียร ศรีมงคล ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ นายมาริษ สมารัมภ์ และดร.ศิริ การเจริญดี ด�ำรง ต�ำแหน่งสมาชิกกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสมาชิกทุกท่านเป็นกรรมการอิสระ และเป็นผู้มี ประสบการณ์ มีความรู้ในการสอบทานงบการเงิน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบชุดปัจจุบันได้รับ การแต่งตั้งในปี 2558 โดยมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 2 ปี โดยจะสิ้นวาระในวันที่ 18 กันยายน 2560 ในรอบปีทผี่ า่ นมา คณะกรรมการตรวจสอบได้จดั ให้มกี ารประชุมจ�ำนวน 6 ครัง้ โดยมีรายละเอียด การเข้าประชุมของสมาชิกแต่ละท่านดังนี้ ชื่อ - สกุล
นายระเฑียร ศรีมงคล* นายมาริษ สมารัมภ์* ดร.ศิริ การเจริญดี*
การเข้าร่วมประชุม
6/6 6/6 6/6
หมายเหตุ * นายระเฑียร ศรีมงคล นายมาริษ สมารัมภ์ และ ดร.ศิริ การเจริญดี เป็นกรรมการตรวจสอบ ที่มีความรู้ความสามารถในการสอบทานงบการเงิน
120
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการ เงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. ให้ความเห็นชอบงบการเงินรายไตรมาส ก่อนที่จะมีการเผยแพร่ 3. สอบทานงบการเงินประจ�ำปีเพือ่ เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 4. อนุ มั ติ ค� ำ อธิ บ ายและบทวิ เ คราะห์ ข อง ฝ่ายจัดการรายไตรมาส และสอบทาน ค� ำ อธิ บ ายและบทวิ เ คราะห์ ข องฝ่ า ย จัดการประจ�ำปี รวมถึงให้ค�ำแนะน�ำแก่ คณะกรรมการบริษัท 5. สอบทานระบบการควบคุมภายใน และวิธี การตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เพื่อให้ มัน่ ใจว่ามีความเหมาะสม และมีประสิทธิ ภาพ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วย งานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความ เห็นชอบในการแต่งตั้ง โยกย้าย และ ถอดถอนหัวหน้างานตรวจสอบภายใน 6. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 7. แนะน�ำในการคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และ ถอดถอน บุคคล/นิตบิ คุ คลซึง่ มีความเป็น อิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษทั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคล/ นิตบิ คุ คลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับผู้สอบบัญชีซึ่งมีความเป็นอิสระ โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 8. พิจารณารายการระหว่างกันหรือรายการ ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 9. อนุมัติรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นใหม่ ซึง่ ก�ำหนดให้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนโยบาย เกี่ยวกับรายการระหว่างกันของบริษัท
10. สอบทานรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่ง รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการ ตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ (ข) ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของบริษัทฯ (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ (ฉ) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการ เข้าร่วมการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (ซ) รายการอื่นใดภายใต้ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควร ทราบ 11. สอบทานมาตรการของบริ ษั ท ฯ ในการจั ด การ การต่อต้านทุจริตและการติดสินบน ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทาง ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 12. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก ใน กรณีที่มีความจ�ำเป็น 13. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบได้รายงานกิจกรรมของ คณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัททันที หลังการประชุม ระหว่างการประชุมนั้น คณะกรรมการ ตรวจสอบจะด�ำเนินการพิจารณาในประเด็นต่างๆ ทีเ่ ร่ง ด่วน ร่วมกับฝ่ายบริหาร หัวหน้าฝ่ายตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี ในทุกไตรมาส รายงานการประชุมของ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารที่ ใช้ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้นำ� เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั โดยแสดงรายละเอียด ไว้ในรายงานประจ�ำปี
การตรวจสอบภายใน
บริษทั ฯ มีการจัดตัง้ ฝ่ายตรวจสอบภายใน รวมถึงจัดท�ำ คู่มือการตรวจสอบภายในและกฎบัตรของการตรวจ สอบภายใน ทั้งนี้ บริษัทได้แต่งตั้งนายอนิล ไอลานี ให้เป็นหัวหน้าของฝ่ายตรวจสอบภายใน และได้รบั มอบ หมายให้ดำ� เนินการตรวจสอบกิจกรรมภายในของบริษทั และบริษัทย่อย ฝ่ายตรวจสอบภายในมีหน้าที่รายงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ส�ำหรับการก�ำหนด แผนงานการตรวจสอบประจ�ำปีในแต่ละหน่วยงานจะ ต้องได้รบั การอนุมตั แิ ผนงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ อีกทัง้ คณะกรรมการตรวจสอบจะด�ำเนินการทบทวนผล การปฏิบตั งิ านของฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยเทียบเคียง กับแผนงานที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้เป็นระยะๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังให้ข้อเสนอแนะต่อฝ่าย บริหารอีกด้วย ส�ำหรับปี 2558 ฝ่ายตรวจสอบภายใน ได้ด�ำเนินการตรวจสอบหน่วยงานต่างๆ ของบริษัททั้ง ในประเทศไทยและต่างประเทศ เลขานุการของคณะ กรรมการตรวจสอบได้มกี ารติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ าม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและรายงาน ผลการปฏิบัติงานไปยังคณะกรรมการตรวจสอบโดย ท�ำการตรวจสอบเป็นระยะๆ เพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการ ปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับ พิจารณาค่าตอบแทน ดูแลกิจการ ประกอบด้วยนายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค และก�ำกับดูแลกิจการ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการสรรหา พิจารณาค่า ตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ โดย นายอาลก โลเฮีย ดร.ศิริ การเจริญดี และนายคณิต สีห์ เป็นสมาชิก กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแล กิจการ ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2557 ได้มีการพิจารณาต่อ วาระของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการเป็นจ�ำนวน 2 ปี โดยจะสิ้นสุดลง ในเดือนพฤษภาคม 2559 ทั้งนี้ สมาชิกของคณะ กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแล กิจการเป็นกรรมการอิสระยกเว้นเพียงนายอาลก โลเฮีย ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการได้จัดให้ มีการประชุมขึน้ จ�ำนวน 3 ครัง้ โดยมีรายละเอียดการเข้าประชุมของสมาชิกแต่ละท่าน ดังนี้ ชื่อ - สกุล
1. นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 2. นายอาลก โลเฮีย 3. ดร.ศิริ การเจริญดี 4. นายคณิต สีห์
การเข้าร่วมประชุม
3/3 3/3 3/3 3/3
121
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบ แทนและก�ำกับดูแลกิจการ
การสรรหา คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจและความรับผิด ชอบดังนี้ ก�ำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ รวมถึง การสอบทานและประเมินความมีประสิทธิภาพ ของคณะกรรมการบริษัท พิจารณาสรรหาบุคคลผูม ้ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในคณะกรรมการ บริษัท โดยพิจารณาจากผู้ที่มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญ มีความเป็นมืออาชีพสูง มี ความรูค้ วามสามารถในการตัดสินใจ และมี ประสิทธิภาพ โดยสรรหาผู้ที่เหมาะสมใน การปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะกรรมการ และ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการจะพิจารณา ความเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงการผสมผสาน ทางด้านทักษะ การศึกษา ประสบการณ์ ความเป็นอิสระ และความรู้ ซึ่งมีความ หลากหลายเพื่อให้สอดคล้องกับความต้อง การของบริษัท ในกรณีทคี่ ณะอนุกรรมการไม่สามารถหาบุคคล ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมได้ คณะอนุกรรมการ อาจใช้บริการจากบริษัทที่ปรึกษาภายนอก หรื อ ใช้ ฐ านข้ อ มู ล กรรมการของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยตามที่ เห็นสมควร ให้ความช่วยเหลือแก่คณะกรรมการบริษัท ในการพัฒนาและประเมินศักยภาพของ ผู้ที่ ได้รับการเสนอชื่อที่จะด�ำรงต�ำแหน่ง ผูบ้ ริหาร รวมถึงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร และดูแลการพัฒนาของแผนสืบ ทอดต�ำแหน่งผู้บริหาร พั ฒ นาและเสนอแนะแก่ ค ณะกรรมการ บริษัทเพื่ออนุมัติในการก�ำหนดคุณสมบัติ ของบุคคลทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ของบริษทั อีกทัง้ ทบทวนคุณสมบัตดิ งั กล่าว เป็นระยะๆ พิจารณาทบทวนโครงสร้างของคณะกรรมการ บริษทั และเสนอแนะแก่คณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั ิให้กรรมการบริษทั ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ รวมถึงผู้ท่ีจะด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะ อนุกรรมการชุดย่อยต่างๆ เป็นประจ�ำทุกปี และเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ เ หมาะสมเพิ่ ม เติ ม ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งนัน้ ๆ ว่างลง
122
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
พัฒนาและเสนอแนะแก่คณะกรรมการบริษทั เพื่ออนุมัติในหลักการพื้นฐานของหลักธรรมา ภิบาล โดยคณะอนุกรรมการจะทบทวนหลักการดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปี หรือตามความ เหมาะสม พร้อมทั้งเสนอแนะเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงหลักการดังกล่าวตามความจ�ำเป็น พัฒนาและเสนอแนะแนวทางต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติขั้นตอนการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย รวมทั้งสอบทานการประเมิน ผลการปฏิบัติงานของตนเอง ให้อ�ำนาจในการมอบหมายความรับผิดชอบต่างๆ แก่คณะอนุกรรมการชุดย่อยได้ตามที่เห็น ว่ามีความเหมาะสม ให้อ�ำนาจในการว่าจ้างหน่วยงานเพื่อช่วยในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทีจ ่ะ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการบริษทั รวมถึงการว่าจ้างทีป่ รึกษาภายนอกและทีป่ รึกษาอื่นๆ ตามที่ เห็นว่าเหมาะสม โดยให้คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจอนุมัติค่าตอบแทนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เงื่อนไขการว่าจ้างอีกด้วย คณะอนุกรรมการจะต้องรายงานผลการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะอื่นๆ ต่อคณะกรรมการ บริษทั รวมทัง้ มีการจัดท�ำและน�ำเสนอผลการประเมินการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีตอ่ คณะกรรมการ บริษัทอีกด้วย คณะอนุกรรมการจะต้องทบทวนความถูกต้องและความเหมาะสมของกฎบัตร พร้อมทัง ้ เสนอ แนะหรือเปลี่ยนแปลงต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ
ค่าตอบแทน คณะอนุกรรมการจะประเมินและให้คำ� แนะน�ำต่อคณะกรรมการบริษทั ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการ พิจารณาค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารและกรรมการบริษทั เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว คณะ อนุกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ พิจารณาทบทวนและอนุมัติ เป้าหมายของบริษัทและวัตถุประสงค์เป็นประจ�ำปีทุกปี และให้ สอดคล้องกับค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามเป้าหมายของบริษัทและวัตถุประสงค์ที่ได้ก�ำหนดไว้ และเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการ พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนประจ�ำปี ของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยรวมถึง เงินเดือน โบนัส หุ้น และค่าตอบแทนในรูปแบบอื่น (ถ้ามี) พิจารณาทบทวนและอนุมต ั ขิ นั้ ตอนการประเมินผลการปฏิบตั งิ านและโครงสร้างค่าตอบแทน ส�ำหรับกรรมการบริหารประจ�ำปี คณะอนุกรรมการจะท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กรรมการบริหารและอนุมัติค่าตอบแทนประจ�ำปี โดยรวมถึงเงินเดือน โบนัส หุ้น และค่า ตอบแทนในรูปแบบอื่น โดยอ้างอิงข้อมูลและข้อเสนอแนะจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม บริษทั ฯ นอกจากนัน้ คณะอนุกรรมการควรมีการสือ่ สารเป็นประจ�ำกับผูน้ ำ� ของบริษทั ซึง่ รวม ถึงการท�ำกิจกรรมที่เป็นการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้น�ำการทบทวนข้อมูลที่มาจากการ ส�ำรวจแบบสอบถามของพนักงาน และทบทวนผลการประเมินความเป็นผู้น�ำประจ�ำปี พิจารณาทบทวนและอนุมต ั ิ ขัน้ ตอนการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และโครงสร้างค่าตอบแทน ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ประจ� ำ ปี คณะอนุ กรรมการจะอนุ มั ติ ห รื อ อาจมอบหมายให้ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล พิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนประจ�ำปี รวมถึงเงินเดือน โบนัส หุ้น และ ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นให้แก่ผู้บริหารระดับสูง พิจารณาทบทวนและหารือกับฝ่ายจัดการของบริษัทในบทวิเคราะห์ค่าตอบแทนของบริษัท (CD&A) และเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท บทวิเคราะห์ค่าตอบแทนของบริษัท CD&A เป็นส่วนหนึ่งของรายงานประจ�ำปี คณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจในการว่าจ้างที่ปรึกษาในการให้ค�ำแนะน�ำที่เกี่ยวกับค่าตอบแทน ตามที่เห็นว่าเหมาะสม ซึ่งคณะอนุกรรมการมีอ�ำนาจในการอนุมัติค่าตอบแทนและเงื่อนไข การในการว่าจ้างที่ปรึกษาด้วย คณะอนุกรรมการจะรายงานผลการปฏิบต ั งิ านและข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ต่อคณะกรรมการบริษทั หลังจากเสร็จสิ้นการประชุมคณะอนุกรรมการในแต่ละครั้ง รวมทั้งจัดให้มีการจัดท�ำและ น�ำเสนอผลการประเมินการปฏิบัติงานประจ�ำปีต่อคณะกรรมการบริษัทด้วย
การก�ำกับดูแล กิจการ
คณะกรรมการ ด้านความยั่งยืน และการบริหาร ความเสี่ยง (SRMC)*
นอกเหนือจากหน้าทีท่ ี่ได้กล่าวไว้ขา้ งต้น คณะอนุกรรมการชุดนีม้ หี น้า ที่ที่เกี่ยวข้องกับการก�ำกับดูแลกิจการดังนี้ ก�ำหนดนโยบายด้านการก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาและน�ำมาปฏิบัติ รวมถึงติดตามให้มีการปฏิบัติตาม นโยบาย และจัดให้มกี ารทบทวนและปรับปรุงนโยบายอย่างต่อเนือ่ ง ตามความเหมาะสม ประสานงานให้มก ี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีของประธาน กรรมการ กรรมการรายบุคคลและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัททั้งชุด รวมถึงคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ สร้ า งความเชื่ อ มั่ นว่ า กระบวนการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท มี ความเหมาะสมคงไว้ซึ่งความถูกต้องและความชอบธรรม กล่าวคือ ความถูกต้องของงบการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมายและหลัก จริยธรรมตลอดจนความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า ผู้จัดหาสินค้าและ ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ สร้างความเชือ ่ มัน่ ว่ากระบวนการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั มีความ เหมาะสมในการป้องกันและลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์อันสูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น สร้ า งความเชื่ อ มั่ นว่ า กระบวนการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท มี ความเหมาะสมต่อประสิทธิภาพในการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล การจัดการความเสีย่ ง การควบคุมภายใน และการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการได้ จัดท�ำรายงานโดยแสดงรายละเอียดไว้ในรายงานประจ�ำปี *คณะกรรมการชุดนี้ ได้เปลีย่ นชือ่ จาก “คณะกรรมการด้านความยัง่ ยืน” เป็น “คณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง” ซึ่งมี ผลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2558 นายอาลก โลเฮีย ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม บริษัทฯ และรองประธานกรรมการบริษัทได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ประธานคณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง และ มีสมาชิกคือ นายระเฑียร ศรีมงคล ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการตรวจสอบ นายมาริษ สมารัมภ์ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มธุรกิจ Feedstock และ PET นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล ซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการกลุ่มธุรกิจโพลีเอสเตอร์ และนายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ในปี 2558 คณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ งได้ จัดให้มีการประชุม ขึ้นจ�ำนวน 2 ครั้ง โดยมีรายละเอียดการเข้าประชุม ของสมาชิกแต่ละท่านดังนี้ ชื่อ - สกุล
1. นายอาลก โลเฮีย 2. นายระเฑียร ศรีมงคล 3. นายมาริษ สมารัมภ์ 4. นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล 5. นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล 6. นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการ บริหารความเสี่ยง 1. เป้าหมายและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน: เพื่อความเชื่อมโยงและสอดคล้องของ เป้าหมายและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน ของบริษัทฯ ระหว่างผู้บริหารระดับสูง และคณะกรรมการบริษัท 2. การบริหารความเสี่ยง: ทบทวนความเสีย ่ งโดยรวมของบริษทั ฯ และรายงานความเสี่ยงที่มีผลกระทบ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ คณะกรรมการ บริษทั เพื่อให้มั่นใจในกระบวนการ ขั้นตอน และนโยบายที่เข้มแข็ง 3. การรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั : ราย งานกิจกรรมของคณะกรรมการต่อคณะ กรรมการบริษัทเป็นระยะ 4. การประเมินตนเองประจ�ำปี: คณะกรรมการ จะต้องจัดให้มีการประเมินผลการด�ำเนิน งานเป็นประจ�ำทุกปี โดยอ้างถึงกฎบัตร ฉบับนี้และแนวทางปฏิบัติที่ดี 5. การทบทวนกฎบัตร: จะต้องมีการทบทวน กฎบัตรของคณะกรรมการเป็นระยะ และ รายงานความคืบหน้าต่อคณะกรรมการ บริษัทตามความเหมาะสม 6. ความรับผิดชอบอื่นๆ: ด�ำเนินงานรับผิด ชอบหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทเป็นคราวๆ ไป
การเข้าร่วมประชุม
2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 2/2
123
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการ การสรรหา การแต่งตั้ง การถอดถอน หรือการพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส นั้น จะมีก�ำหนดไว้ในข้อบังคับซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. ในการด�ำเนินงานของบริษัท คณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อยห้าคน โดย กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย และกรรมการจะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการโดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (ข) ให้ผู้ถือหุ้นออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลไป (ค) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดตาม (ก) เลือกตัง้ บุคคลเดียวหรือหลายคน เป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (ง) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่า จ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ ผู้เป็นประธานในที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 3. ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีทุกครั้งให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวนหนึ่งใน สาม ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วนหนึ่งในสาม โดยกรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลัง จดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ให้กรรมการคนที่อยู่ใน ต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจได้รับเลือก เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส 5. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระ ได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและ มีสิทธิออกเสียง 1. มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นกฎระเบี ย บต่ า งๆ ตลอดจนมี คุณสมบัติ คุณสมบัติตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท กรรมการ 2. ต้องส�ำเร็จการศึกษาขั้นต�่ำระดับปริญญาตรีในสาขาใดก็ได้ 3. เป็นผู้มีความรู้ในกิจการของบริษัทและสามารถอุทิศเวลาได้อย่าง เพียงพอ ตลอดจนใช้ความรู้ความสามารถที่มีเพื่อประโยชน์ของ บริษัท 4. เป็นผู้มีประสบการณ์ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับกลยุทธ์ ในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท 5. เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีคุณธรรมสูง
124
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและกรรมการ อิ ส ระต้ อ งไม่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น กรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนอื่นเกินกว่า 5 บริษัท กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารต้องไม่ดำ� รงต�ำแหน่ง เป็ น กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นอื่ น เกิ น กว่า 3 บริษัทและบริษัทนั้นจะต้องไม่มีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กับไอวีแอล อย่างไร ก็ตาม กรรมการที่เป็นผู้บริหารสามารถด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการบริษัทภายในกลุ่มไอวีแอล โดยรวมถึงบริษทั ร่วมทุน โดยไม่จำ� กัดจ�ำนวน บริษัท ในกรณีทกี่ รรมการคนใดด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนอื่นเกินกว่าหลักเกณฑ์ที่ ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาถึง ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ และจะรายงานถึงเหตุผลในการแต่งตัง้ กรรมการ ท่านนั้นไว้ในรายงานการก�ำกับดูแลกิจการ ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2)
คุณสมบัติกรรมการอิสระ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจ�ำนวน หุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ ี่ เกีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั บริษทั แม่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือของผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั เว้น แต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมา แล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า สองปี ก ่ อ นวั น ที่ ยื่ น ค� ำ ขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่ กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการหรื อ ที่ ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั 3. ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายใน ลักษณะทีเ่ ป็น บิดามารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของ
ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะ ได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทแม่ บริษัท ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ ของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั แม่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสอง ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ความสัมพันธ์ทางธุรกิจและการค�ำนวณมูลค่าของความสัมพันธ์ ทางธุรกิจให้มคี วามหมายเช่นเดียวกันกับนิยามทีก่ ำ� หนดไว้ในประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน เรือ่ ง การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทแม่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั และ ไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงาน สอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั แม่บริษทั ย่อย บริษทั ร่วมผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทที่สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับ ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทแม่ บริษัท ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการ ของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มี นัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัย ในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำหรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบ กิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการ ของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระเข้มกว่าที่ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนก�ำหนด
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้แต่งตั้งผู้ที่จะด�ำรงต�ำแหน่งประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะต้องเป็นบุคคลที่มี คุณสมบัติเหมาะสม โดยพิจารณาจากผู้ที่มีลักษณะโดดเด่น มีความ เชี่ยวชาญ มีความเป็นมืออาชีพสูง และเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์ สูงสุดแก่บริษัทในระยะยาว และเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญใน ด้านอุตสาหกรรมของบริษัท บทบาทและความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ก�ำหนดให้เป็นบุคคลทีม ่ อี ำ� นาจในการบริหารจัดการกิจการของบริษทั และ/หรือการบริหารในแต่ละวันเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย กฎ ระเบียบ ค�ำสั่ง และมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทและ/หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น จัดให้มีการจัดท�ำนโยบายธุรกิจของบริษัท แผนงานทางธุรกิจ และ งบประมาณ เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ และมีหน้าที่ในการรายงานความคืบหน้าของแผนงานธุรกิจที่ได้รับ อนุมัติ ตลอดจนงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ตามช่วงระยะเวลาที่ได้ก�ำหนดไว้ บริ ห ารจั ด การการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายธุรกิจของบริษัท แผนงานทางธุรกิจและงบประมาณเพื่อ บรรลุจุดมุ่งหมายทางการเงินที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท ก� ำ หนดเป้ า หมายการด� ำ เนิ น งาน การจั ด สรรทรั พ ยากร เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับนโยบายในการบริหารจัดการ เพื่อให้มั่นใจว่าการเติบโตทางธุรกิจโดยรวมของบริษัทเป็นไปตาม วัตถุประสงค์และแผนงานทางธุรกิจของบริษัท รักษาความสัมพันธ์อันดีกับผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท
125
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทได้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย มาตรฐานด้าน จรรยาบรรณและความโปร่งใส เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทได้มีการก�ำหนดจุดยืนการเป็นองค์กรมหาชน เป็นผู้น�ำด้านกลยุทธ์ทางการตลาด ก�ำหนด ตรวจสอบ และเสริมสร้างมาตรฐานขององค์กรให้มีความ แข็งแกร่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต่อการแข่งขันและการสร้างมูลค่าแก่ องค์กร โดยมีการท�ำงานอย่างต่อเนื่องกับบุคคลากรและผลิตภัณฑ์ วิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ป ั จ จุ บั น และสถานการณ์ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ของสภาวะอุตสาหกรรมทั่วโลก เพื่อคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลง ในอนาคตภายในอุตสาหกรรมและปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ของบริษัท เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี ผ ลตอบแทนต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม อย่ า ง เหมาะสม ปฏิ บั ติ ง านอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร เจ้ า หน้ า ที่ บริหารฝ่ายการเงิน และเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ ในทุกกลุ่ม ธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อส่งผลให้เกิดมูลค่าต่อองค์กร จัดให้มีมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและ ทบทวนมาตรฐานดังกล่าวเป็นประจ�ำ จัดให้มีการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท สรรหา แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้าย ปรับเปลี่ยน ลดหรือหัก เงินเดือนหรือค่าจ้าง ก�ำหนดบทลงโทษทางวินัยของพนักงานและ ลูกจ้าง รวมถึงการให้ออกจากต�ำแหน่งของพนักงานและลูกจ้างตาม กฎระเบียบที่ได้กำ� หนดไว้ โดยคณะกรรมการบริษทั ยกเว้น ต�ำแหน่ง เจ้าหน้าทีบ่ ริหารหรือเทียบเท่า หรือต�ำแหน่งทีส่ งู กว่า ซึง่ อาจจ�ำเป็น ที่จะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท อนุมต ั ริ ายการปกติทางการเงินของบริษทั และรายการปรับโครงสร้าง หนี้ของหนี้ระยะสั้นจ�ำนวนไม่เกิน 500 ล้านบาท หรือหนี้ระยะยาว จ�ำนวนไม่เกิน 250 ล้านบาท มี อ� ำ นาจในการมอบอ� ำ นาจช่ ว งและ/หรื อ มอบหมายให้ บุ ค คลอื่ น มีอ�ำนาจในการปฏิบัติหน้าที่เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงใน ฐานะตัวแทน การมอบอ�ำนาจช่วง และ/หรือมอบหมายให้บุคคลอื่น จะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของอ�ำนาจตามหนังสือมอบอ�ำนาจ และ/ หรือภายใต้กฎระเบียบภายใน หรือค�ำสั่งที่ได้รับจากคณะกรรมการ บริษัท และ/หรือบริษัท การมอบอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาจไม่สามารถกระท�ำได้ ในกรณี ทีเ่ ป็นการอนุมตั ริ ายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ตาม ค�ำนิยามของประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) โดยอาจมี ส่วนได้เสีย หรือได้รับผลประโยชน์ในทุกรูปแบบ หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท หรือบริษัทย่อย เว้นแต่รายการ ดังกล่าว สอดคล้องกับนโยบายและหลักเกณฑ์ที่ได้รบั การอนุมตั จิ าก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท
126
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัท ย่อยและบริษัทร่วม
บ
ริษัทฯ มีนโยบายที่จะส่งตัวแทนของบริษัทฯ เข้าไปเป็น กรรมการในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมของบริษัท โดย ตัวแทนอาจเป็นประธานกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผู้จัดการ กรรมการ ผู้บริหารระดับสูงหรือบุคคลใดๆ ซึ่งมี คุณสมบัติและประสบการณ์เหมาะสมในธุรกิจดังกล่าว โดยปราศจาก ผลประโยชน์ขัดแย้งกับธุรกิจของบริษัทย่อยเหล่านั้น ตัวแทนที่ได้รับ การแต่งตัง้ จะต้องบริหารและจัดการธุรกิจของบริษทั ย่อยตามกฎหมาย และกฏระเบียบตามที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท และกฎหมาย ของบริษัทย่อยที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติตามนโยบาย แนวทางและข้อ เสนอแนะของ บมจ. อินโดรามาเวนเจอร์ส ส่วนบริหารองค์กรกลางของบริษัทฯ ได้รวบรวมและจัดท�ำสรุปตาม กฎเกณฑ์ต่างๆ ของบริษัทย่อยที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท เพื่อให้บริษัทฯ สามารถติดตามการปฏิบัติตามกตามกฎเกณฑ์ของ บริษัทย่อย บริษัทย่อยซึ่งประกอบธุรกิจหลักของบริษัทฯ ได้จัดการประชุมคณะ กรรมการทั้งหมด 315 ครั้ง ในปี 2558 มีรายละเอียดดังนี้ ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
บริษัท เอเชีย บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จำ�กัด บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท เอเซียเพ็ท (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) Guangdong IVL PET Polymer Company Limited Shenma-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. PHP-Shenma Air Bag Yarn Marketing (Shanghai) Co., Ltd. Performance Fibers (Kaiping) Company Limited Performance Fibers (Kaiping) No.2 Company Limited Performance Fibers (Hong Kong) Limited PT. Indorama Ventures Indonesia PT. Indorama Polyester Industries Indonesia PT. Indorama Polychem Indonesia PT. Indorama Petrochemicals PT. Indorama Polypet Indonesia
จ�ำนวนครั้ง การประชุม 10 6 5 5 7 7 9 6 3 10 4 1 1 4 4 2 5 5 5 3 5
ล�ำดับ 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63
บริษัท เอเชีย KP Equity Partners Inc. Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited Indorama Ventures Packaging (Philippines) Corporation IVL Singapore Pte. Ltd. Micro Polypet Private Limited Sanchit Polymers Private Limited Eternity Infrabuild Private Limited ยุโรป IVL Belgium N.V. FiberVisions A/S Wellman France Recyclage S.A.S Trevira GmbH PHP Fibers GmbH Wellman International Limited Ottana Polimeri S.R.L. UAB Orion Global Pet UAB Indorama Polymers Europe UAB Indorama Holdings Europe Indorama Netherlands Cooperatief U.A. Indorama Netherlands B.V. Indorama Ventures Europe B.V. Indorama Polymers Rotterdam B.V. Indorama Ventures Recycling Netherlands B.V. MJR Recycling B.V. Indorama Holdings Rotterdam B.V. Indorama Ventures Dutch Investments B.V. Beverage Plastics (Holdings) Limited Beverage Plastics Limited Indorama Ventures Poland Sp. z o.o. Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi Beacon Trading (UK) Limited Indorama Trading (UK) Limited Indorama Polymers Workington Limited อเมริกา Indorama Ventures Logistics LLC Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC Performance Fibers Holdings Finance, Inc Performance Fibers Asia Holdings, LLC Performance Fibers Asia , LLC AlphaPet, Inc. Auriga Polymers Inc. StarPet Inc. Indorama Ventures Performance Fibers Holdings USA LLC
จ�ำนวนครั้ง การประชุม 2 6 11 3 1 1 1 1 1 1 4 3 4 2 4 1 1 3 24 5 3 1 1 3 1 4 3 4 9 13 1 2 1 4 5 2 1 1 7 8 8 1
ล�ำดับ 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77
บริษัท อเมริกา FiberVisions Corporation FiberVisions Manufacturing Company FiberVisions Products, Inc Polyamide High Performance Inc. Safe Tweave Inc. Indorama Ventures Olefins LLC Indorama Ventures Northern Investments Inc. Indorama Ventures Gestion Inc. Indorama Ventures Polymers Mexico, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures EcoMex, S. de R.L. de C.V. แอฟริกา Indo Polymers Mauritius Limited Indorama PET (Nigeria) Limited Indorama Ventures Packaging (Nigeria) Ltd. Indorama Ventures Packaging (Ghana) Limited
จ�ำนวนครั้ง การประชุม 3 5 5 1 1 2 4 4 4 4 3 4 3 3
นอกจากนี้ บริษัทย่อยยังได้จัดให้มีการประชุมของฝ่ายบริหารและ การประชุมของคณะกรรมการบริหาร ซึ่งมีการประชุมเป็นรายไตรมาส เพื่อทบทวนผลการด�ำเนินงานของบริษัทในแต่ละบริษัทย่อย
การใช้ข้อมูลภายในของบริษัท
บ
ริษทั ฯ ได้มกี ารจัดท�ำนโยบายเป็นลายลักษณ์อกั ษรเกีย่ วกับ การเก็บรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ และ/หรือการใช้ข้อมูล ภายในของบริษัท เพื่อเป็นการช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการ กระท�ำที่ผิดกฎหมาย โดยนโยบายดังกล่าวได้มีการแจ้งต่อพนักงาน ทุกคนของบริษัท ไม่ว่าจะเป็นที่ส�ำนักงานใหญ่หรือบริษัทย่อยทุกแห่ง ของบริษัท จรรยาบรรณส�ำหรับกรรมการและจรรยาบรรณส�ำหรับพนักงานนั้น ได้ มีการแจ้งต่อกรรมการและพนักงาน ว่าจะไม่ซื้อ ขาย โอนหรือรับโอน โดยใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นความลับหรือข้อมูลภายในของบริษทั เพือ่ แสวงหาผล ประโยชน์จากการใช้ข้อมูลภายใน กรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี และพนักงานบริษัททุกคนที่สามารถ รับทราบข้อมูลทางด้านงบการเงินของบริษัท จะต้องรายงานการซื้อ ขายหลักทรัพย์ของบริษัท ซึ่งรวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะต่อเลขานุการบริษัท ซึ่งทางฝ่ายเลขานุการบริษัทได้มีการจัด ท�ำรายงานสรุปการถือครองหลักทรัพย์โดยน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเป็นประจ�ำทุกไตรมาส กรรมการและผู้บริหารของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ได้มีการจัดท�ำรายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองที่มี ต่ อ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง แบบฟอร์ ม นี้ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริษัท ซึ่งกรรมการจะต้องน�ำส่งรายงานต่อเลขานุการ บริษัทเป็นประจ�ำทุกปี
127
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
นโยบายการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส บุคคลดังกล่าวจะต้องมีหน้าที่จัดท�ำและรายงานข้อมูล การซือ้ ขายหลักทรัพย์ในระยะเวลาที่ก�ำหนดภายใต้กฎระเบียบของส�ำนักงาน ก.ล.ต. บริษัท
โดยให้นับรวมคู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวข้างต้น บริษัทได้วางนโยบายในการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน กฎระเบียบดังกล่าวนี้จะมีการแจ้งให้แก่พนักงานทุกคนทราบ ของบริษัทดังนี้ 1. กรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และพนักงานบริษัท จะต้องเก็บรักษาความลับ และ/หรือข้อมูลภายใน ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ของบริษทั ยกเว้นจะใช้ขอ้ มูลดังกล่าวเพือ่ ประโยชน์ ทางธุรกิจของบริษัทเท่านั้น ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีในปีและค่าบริการตรวจสอบอื่นที่จ่ายในปี 2558 ของบริษัทฯ 2. กรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และพนักงานบริษัท และบริษัทย่อย บริษัทที่มีอ�ำนาจควบคุมร่วมและบริษัทร่วมมีรายละเอียดดังนี้ จะไม่เปิดเผยความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายใน รายละเอียด ปี 2557 ปี 2558 ของบริษัท เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน หรือ หน่วย : ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท เพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม 1. ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และ 120 124 3. กรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และพนักงานบริษัท บริษัทย่อย บริษัทที่มีอ�ำนาจควบคุมร่วมและ จะไม่ขาย/ซื้อ/โอน ในหลักทรัพย์ของ บมจ. อินโด บริษัทร่วม รามา เวนเจอร์ส โดยใช้ข้อมูลที่เป็นความลับ และ/ ก) จ่ายให้กับบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย 112 116 หรือข้อมูลภายในของบริษัท และ/หรือ การเข้าท�ำ สอบบัญชี จ�ำกัด และบริษทั ทีส่ งั กัด บริษทั รายการโดยใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นความลับ และ/หรือข้อมูล เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ภายในของบริษัท ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย ข) จ่ายให้ผู้สอบบัญชีบริษัทอื่น 8 8 แก่บริษัท ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมโดยให้นับรวม 46 53 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ 2. ค่าบริการตรวจสอบอื่น (Non-audit fee) ที่ จ่ายให้กบั KPMG International บริษทั ทีส่ งั กัด ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และพนักงานบริษัท ผู้ฝ่าผืน บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด* กฎระเบียบดังกล่าวข้างต้น จะได้รับบทลงโทษที่ * ค่าบริการตรวจสอบอื่น ซึ่งเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับการให้ค�ำปรึกษาด้านภาษี การท�ำ Due รุนแรง Diligence การซื้อกิจการ การปรับโครงสร้างกิจการ และการให้ค�ำปรึกษาในด้านอื่นๆ หลังจากทีบ่ ริษทั ฯ ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เป็น ทีเ่ รียบร้อยแล้ว กรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูจ้ ดั การ หรือบุคคล ใดที่รับผิดชอบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทผู้สอบ บัญชี เจ้าหน้าที่และพนักงานของบริษัท ซื้อ/ขาย หรือ การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการในปี 2558 เสนอซื้อ/เสนอขายในหลักทรัพย์ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส หรือชักชวนบุคคลอืน่ ซือ้ /ขาย หรือ เสนอซือ้ / บริษทั ฯ ได้ปรับใช้หลักการปฏิบตั ติ ามหลักการพืน้ ฐานและนโยบายของการก�ำกับดูแล เสนอขายในหลักทรัพย์ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส กิจการและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ตามค�ำแนะน�ำของตลาดหลักทรัพย์แห่ง เพื่อแสวงหาผลประโยชน์เพื่อตนเองหรือเพื่อแสวงหา ประเทศไทย ดังที่จะกล่าวต่อไปข้างล่างนี้ แต่ทั้งนี้ บริษัทขอให้ข้อสังเกตในเรื่อง ผลประโยชน์ ให้แก่บุคคลอื่นโดยใช้ข้อมูลภายในของ ดังต่อไปนี้ บริษัท ที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลัก 1. บริษทั ฯ ได้เลือกประธานกรรมการบริษทั จากบุคคลผูซ้ งึ่ ไม่ได้เป็นกรรมการบริหาร แทนที่จะเลือกจากบุคคลผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ทรัพย์ของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ซึ่งข้อมูล 2. คณะกรรมการบริ ษทั ได้ไม่กำ� หนดระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระ ดังกล่าวทีย่ งั ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือใช้ประโยชน์ ไว้ที่ไม่เกิน 9 ปีติดต่อกัน นับตั้งเริ่มต้นจากวันที่ได้รับการแต่งตั้งครั้งแรก ซึ่ง จากต�ำแหน่งหน้าที่ หรือเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว เพื่อ เหตุผลนั้นได้จะได้กล่าวต่อไปในหัวข้อ “การครบก�ำหนดออกตามวาระของ แสวงหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนเอง หรือเพื่อแสวงหา กรรมการ” ผลประโยชน์ ให้แก่บุคคลอื่น การกระท�ำของบุคคล 3. คณะกรรมการสรรหามี ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ เป็นสมาชิกพร้อม ดังกล่าวข้างต้น ให้ถอื ว่าเข้าข่ายท�ำผิดกฎหมายในฐานะ กับกรรมการอิสระอีกสามท่าน เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำทีข่ องกรรมการ ผู้ใช้ข้อมูลภายใน อิสระได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ ในกรณีที่ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือบุคคลใดที่ 4. ปัจจุบนั องค์ประกอบในคณะกรรมการบริษทั ไม่มกี ารแต่งตัง้ กรรมการอิสระทีเ่ ป็น รับผิดชอบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และผู้สอบ ผู้หญิง ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่ได้มีอคติทางเพศแต่อย่างใด และถ้ามีโอกาส บริษัทฯ ก็ บัญชีของบริษทั ได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ หลักทรัพย์ของ จะแต่งตั้งผู้หญิงให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ 5. บริษทั ฯ เลือกทีจ่ ะไม่ใช้ “การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม” (Cumulative Voting) ส�ำหรับการเลือกตั้งกรรมการของบริษัท
128
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญในการปกป้องและคุม้ ครองสิทธิของผูถ้ อื หุน้ เป็นอันดับแรก โดยไม่คำ� นึง ถึงจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถือ อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีการใช้สิทธิตามกฎหมายอีกด้วย บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ตามกฎหมาย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทุกรายไม่ว่าจะเป็นผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย ผู้ถือหุ้นในประเทศหรือผู้ถือหุ้นต่างประเทศ หรือผู้ถือหุ้น สถาบัน ให้ได้รับสิทธิในการเข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการแต่งตั้งผู้แทนให้เข้าร่วม ประชุมและสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการลงคะแนนเสียงเพือ่ แต่งตัง้ หรือถอดถอน กรรมการเป็นรายบุคคล สิทธิในการลงคะแนนเสียงเพื่อแต่งตั้งและก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำ ปีของผู้สอบบัญชี และสิทธิ ในการลงคะแนนเสียงในเรื่องอื่นๆ โดยใช้สิทธิต่างๆ ในการ เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ที่ผ่านมา สิทธิของผู้ถือหุ้นนั้นให้รวมถึงสิทธิในการได้รับส่วนแบ่งเงินปันผล สิทธิในการเสนอความ คิดเห็น และการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทในที่ประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังตระหนักถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นที่จะได้รับข่าวสาร ข้อมูลสารสนเทศที่ ถูกต้อง ครบถ้วนเพียงพอและทันเวลา เพื่อน�ำมาใช้ในการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น ซึ่งบริษัทฯ ยัง คงมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องเช่นนี้ตลอดไป บริษัทฯ ไม่มีสัญญาหรือข้อตกลงใดๆ กับผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งบริษัทจัดให้มีโครงสร้างการถือหุ้น ของบริษัทย่อย บริษัทในเครือ และผู้ร่วมทุน โดยไม่มีการถือหุ้นแบบไขว้ โครงสร้างของกลุ่มบริษัทฯ ได้มีการเปิดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทภายใต้หัวข้อ “เกี่ยวกับ บริษัท” และมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันในทุกๆ ไตรมาส ก) สิทธิพื้นฐานทั่วไปและความเสมอภาค บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมีส่วนร่วม ในการเสนอวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเพื่อเข้ามารับเลือกเป็นกรรมการ บริษัท ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นระยะเวลา 90 วัน หนังสือดังกล่าวได้ประกาศผ่านทาง เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 7 กันยายน 2558 หนังสือเชิญประชุมได้แจ้งถึงวิธีการและเงื่อนไขในการด�ำเนินการไว้ อย่างชัดเจน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อเสนอจากผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ได้มกี ารรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อทราบในเรื่องดังกล่าวแล้วในช่วงเดือนมกราคม 2559 บริษทั ฯ จะยังคงด�ำเนินการเปิดโอกาสเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจในเรือ่ ง พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับบริษัทต่อไป
เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้นว่า ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั ทราบข้อมูลงบการเงินประจ�ำ ปีท่ีผ่านการตรวจสอบแล้ว และงบการเงิน ประจ�ำไตรมาสได้ตรงเวลา บริษทั ฯ ได้ทำ� การ เปิดเผยข้อมูลงบการเงินประจ�ำปี และงบการ เงินรายไตรมาสทั้ง 3 ไตรมาสของปี 2558 ใน วันถัดไปหลังจากได้รับการอนุมัติจากคณะ กรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลงบการเงินได้ทงั้ ในรูปแบบภาษาอังกฤษและภาษาไทย โดยผ่าน ช่องทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www. indoramaventures.com บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในเรื่องของการเปิด เผยสารสนเทศอย่างตรงเวลา โดยผ่านช่อง ทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท และเว็ บ ไซต์ ข อง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย อาทิ รายงานประจ�ำปี แบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มติ ทีส่ ำ� คัญของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั การ รายงานความคืบหน้าของการเข้าซื้อกิจการ ข้อมูลน�ำเสนอในงาน Opportunity Day รายงานของนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ข่าว ประชาสัมพันธ์และข้อมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ บริษัทและบริษัทย่อยเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับ ทราบข้อมูลอย่างต่อเนื่องและทันต่อเวลา บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของผู้ถือหุ้น จะช่วยให้ผู้ถือหุ้นเข้าใจถึงการ ด�ำเนินงานและธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัท ย่อย อีกทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์กับ ฝ่ายบริหาร โดยบริษัทฯ ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นเข้า เยี่ยมชมโรงงานจ�ำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อ วันที่ 15 กรกฎาคม 2558 ทีจ่ งั หวัดลพบุรี และ ครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558 ผู้ถือ หุ้นได้เยี่ยมชมโรงงานโพลีเอสเตอร์ที่จังหวัด ระยอง โดยโครงการเยี่ยมชมโรงงานประจ�ำปี จะด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไปในอนาคต ผูถ้ อื หุน้ ได้รบั แจ้งค�ำบอกกล่าวการเรียกประชุม ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้ามากกว่า 30 วันก่อน วันประชุมผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะ ได้รบั ข้อมูลทีค่ รบถ้วน เพียงพอ ซึง่ การประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 โดยมี การส่ งหนังสือเชิญ ประชุมเป็นการล่วงหน้าโดยส่งในวันที่ 23 มีนาคม 2558
129
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เอกสารที่ใช้ในการประชุมสามัญประจ�ำปีจะส่ง ไปยังผู้ถือหุ้น ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง้ ในรูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2558 โดยเผยแพร่เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันประชุม เพื่อเป็นการอ�ำนวยความ สะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ โดยผูถ้ อื หุน้ สามารถดาวน์ โหลดเอกสารที่ใช้ในการประชุมรวมถึงแบบ ฟอร์มการมอบฉันทะผ่านทางเว็บไซต์ได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แจ้งข่าวสารเรื่องการส่ง หนังสือเชิญประชุมผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถส่งข้อ ซักถามพร้อมกับข้อคิดเห็นต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง กับวาระการประชุมเป็นการล่วงหน้า นับจาก วันที่ได้รบั หนังสือเชิญประชุม ซึง่ ขัน้ ตอนของ การส่งค�ำถามและข้อคิดเห็นดังกล่าวได้ระบุไว้ อย่างชัดเจนในหนังสือเชิญประชุม บริษัทฯ สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมการ ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีดว้ ยตนเองหรือ มอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุมแทนได้ หรือผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการ อิสระคนใดคนหนึ่งในสี่ท่านที่ได้รับการเสนอ ชื่อโดยบริษัทให้เป็นผู้เข้าร่วมประชุมแทน โดยบริษทั ฯ ได้แนบประวัตขิ องกรรมการอิสระ ไว้ในหนังสือเชิญประชุมด้วย เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่ ผู้ถือหุ้น สถานที่จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ซึ่งบริษัทฯ ได้ แนบแผนทีข่ องสถานทีจ่ ดั ประชุมไปพร้อมกับ หนังสือเชิญประชุมแล้ว โดยจัดประชุมตั้งแต่ เวลา 14.00 น. ในวั น ประชุ ม บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด เวลาให้ กั บ ผู้ถือหุ้นส�ำหรับการลงทะเบียนมากกว่าสอง ชั่ ว โมงก่ อ นเริ่ ม การประชุ ม โดยมี การจั ด เตรียมสถานที่ และเจ้าหน้าที่อ�ำนวยความ สะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ไว้อย่างเพียงพอ ซึง่ ผูถ้ อื หุ้นยังคงสามารถลงทะเบียนหลังจากมีการ เปิ ด การประชุ ม ไปแล้ ว ทั้ ง นี้ เพื่ อ เป็ น การ สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ ล่วงหน้าถึงเอกสารที่จำ� เป็นต้องใช้ในการเข้า ร่วมประชุมทัง้ หมด รวมทัง้ หนังสือมอบฉันทะ ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั ความสะดวกจากเจ้าหน้าที่ ของบริษัทฯ
130
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การลงทะเบียนโดยระบบบาร์โค้ดได้ถกู น�ำมาใช้เพือ่ ความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพใน การลงทะเบียน นอกจากนีบ้ ริษทั ได้จดั เตรียมบัตรลงคะแนนให้แก่ผถู้ อื หุน้ แต่ละท่าน เพือ่ น�ำไป ลงคะแนนเสียงอีกด้วย บริษัทฯ ได้จัดเตรียมข้อมูล วาระการประชุมในหนังสือเชิญประชุมไว้อย่างครบถ้วน ทั้งนี้เพื่อ เป็นการช่วยในการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น เนื่องจากได้รับผลการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ถือหุ้นในครั้งที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้จัดให้มีล่าม แปลภาษาไทยส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ข) การเลือกตั้ง กรรมการกลับเข้า ด�ำรงต�ำแหน่ง อีกวาระ
ค) การอนุมัติ ค่าตอบแทน กรรมการ
ในปี 2558 กรรมการบริษัทจ�ำนวน 5 ท่าน ครบต�ำแหน่งตามวาระ และกรรมการทั้ง 5 ท่านตกลงรับข้อเสนอให้มีการเลือกตั้งกรรมการ กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระหนึ่ง ทั้งนี้กรรมการทั้ง 5 ท่าน ได้ลงนามหนังสือตอบรับและเสนอต่อคณะกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อพิจารณาการเสนอให้กลับเข้า มาด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระ หลังจากทีค่ ณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่า ตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ ได้มีการพิจารณาจากประสบการณ์ การท�ำงานของกรรมการแล้ว เห็นควรเสนอกรรมการที่ครบก�ำหนด ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระหนึ่ง บริษัทฯ ได้จัดเตรียมประวัติของกรรมการทั้ง 5 ท่าน ที่ครบก�ำหนด ออกตามวาระ และมีการเสนอให้กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระ หนึ่ง โดยประวัติของกรรมการประกอบด้วย ชื่อ อายุ ประเภทของ กรรมการ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการท่านอืน่ ประวัตกิ าร ศึกษา การฝึกอบรม ประสบการณ์การท�ำงาน ต�ำแหน่งงานในองค์กร จดทะเบียนอื่น ต�ำแหน่งงานในบริษัทคู่แข่ง ความเกี่ยวโยงทางธุรกิจ ซึ่งอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จ�ำนวนปีที่ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น ข้อพิพาททางกฏหมาย จ�ำนวน การเข้าร่วมประชุม และความเห็นของคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการลงคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ไม่มีกรรมการของบริษัทท่านใดได้รับการเสนอชื่อจากผู้ถือ หุ้นใหญ่ การเลือกตั้งกรรมการที่ครบก�ำหนดตามวาระให้กลับเข้ามาด�ำรง ต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระจะอนุมัติโดยผู้ถือหุ้น และเป็นการลงคะแนน เสียงเป็นรายบุคคล บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอชือ่ ผูท้ มี่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม เพื่อคัดเลือกเป็นกรรมการบริษทั เป็นการล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วันก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ไม่มผี ถู้ อื หุน้ รายใดเสนอชือ่ กรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษทั ได้ทบทวนและให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับค่าตอบแทน ของกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารในปี 2558 และมี การเสนอโบนัสประจ�ำปี 2557 ส�ำหรับกรรมการทั้งหมด ตามข้อเสนอ แนะของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแล กิจการ คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการได้ เสนอให้มกี ารจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ของการจ่ายค่าตอบแทน โดยเสนอให้แก่กรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารต่อ คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นดังนี้
ค่าตอบแทนที่จ่ายให้กับกรรมการควรจ่ายอย่างสมเหตุสมผล โดยพิจารณาจาก ผลการปฏิบัติงาน และภาระหน้าที่ที่รับผิดชอบ ค่ า ตอบแทนควรค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข องกรรมการและค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ต่อผู้ถือหุ้นในระยะยาว โครงสร้ า งของค่ า ตอบแทนควรจะไม่ ซั บ ซ้ อ น โปร่ ง ใส และง่ า ยต่ อ ความเข้ า ใจ ของผู้ถือหุ้น การจ่ า ยค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ กรรมการที่ ไ ม่ ใ ช่ ผู ้ บ ริ ห ารและกรรมการอิ ส ระ เป็ น การจ่ายค่าตอบแทนประจ�ำและโบนัสประจ�ำปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลประกอบการของ บริษัทในปีที่ผ่านมา ค่าตอบแทนในส่วนทีเ่ พิม ่ จะมีการจ่ายให้แก่กรรมการซึง่ ด�ำรงต�ำแหน่งในแต่ละคณะ อนุกรรมการ การปฏิบัติตามนโยบาย คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแล กิจการจะก�ำหนดรูปแบบค่าตอบแทนโดยเปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนอืน่ ซึง่ เป็น ไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ ค่าตอบแทนของประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะอนุกรรมการซึ่งเป็น กรรมการที่ไม่ใช่เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการอิสระตามล�ำดับ จะมีการค�ำนวนโดย ใช้อัตรา 1.5 เท่าของสมาชิกอื่นๆ ในการพิจารณาโบนัสทีจ่ า่ ยให้กบั กรรมการทัง้ หมดนัน้ คณะกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ จะประเมินผลการปฏิบัติงานในแต่ละปี ทั้งนี้ จะขึ้นอยู่กับผลงาน ความรับผิดชอบ ความเชี่ยวชาญและการเข้าร่วมประชุม โดย อ้างอิงจากแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ โบนัสประจ�ำปีทั้งหมด จะ พิจารณาโดยก�ำหนดจากผลก�ำไรของบริษัท และใช้ระบบการเก็บคะแนน (Point System) ตามจ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุม ในปี 2558 ไม่มีการ เปลีย่ นแปลงการจ่ายค่าตอบแทนประจ�ำ ทัง้ นี้ ไม่มนี โยบายการจ่ายค่าตอบแทนประจ�ำ ให้แก่กรรมการที่เป็นผู้บริหารของบริษัท รายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ในปี 2558 รวมทั้งรายละเอียดการจ่ายโบนัสประจ�ำปีของกรรมการทั้งหมดในปี 2557 ได้ มีการแสดงรายละเอียดไว้อยู่ในหัวข้อ “ผลการปฎิบตั งิ านของกรรมการ” ในรายงาน ประจ�ำปีฉบับนี้ ประธานคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการได้อธิบาย ถึงนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนตลอดจนการค�ำนวณค่าตอบแทนกรรมการ ซึง่ จ่ายให้ กับกรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหารต่อประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2558 กรรมการที่เป็นผู้บริหารและผู้บริหาร นโยบายและหลักเกณฑ์ของการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการที่เป็นผู้บริหารและ ผู้บริหาร ได้มีการแสดงรายละเอียดไว้ในหัวข้อ “ผลการปฎิบัติงานของกรรมการ” ใน รายงานประจ�ำปีฉบับนี้ ง) การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีภายนอกและการอนุมัติค่าสอบบัญชี รายละเอียดของชื่อส�ำนักงานสอบบัญชีและรายชื่อของผู้สอบบัญชีของบริษัท ความ เป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ระยะเวลาที่เป็นผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนทั้งจากการสอบ บัญชีและจากปฏิบัติหน้าที่อื่น ตลอดปี 2557 และเสนอค่าตอบแทนประจ�ำปี 2558 พร้อมกับความคิดเห็นของคณะกรรมการบริษัท ตามค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้ระบุรายละเอียดโดยแสดงไว้ในหนังสือเชิญประชุมแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็น การอ�ำนวยความสะดวกในการลงคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น
จ) การจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ได้มกี ารก�ำหนดให้ มีการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของ ก�ำไรสุทธิหลังจากการหักภาษีและจัดสรรทุนส�ำรองตาม กฎหมายแล้ว ตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท คณะกรรม การบริษัทได้เสนออนุมัติการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2557 ในอัตรา 0.38 บาทต่อหุ้น โดยคิดเป็นจ�ำนวนเงิน ที่จ่ายเท่ากับ 1,829,417,753.10 บาท โดยที่บริษัท ได้มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตรา 0.19 บาท ต่อหุ้น คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 914,708,876.55 บาท ซึ่งได้ จ่ายแก่ผู้ถือหุ้นไปเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2557 และ บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลในส่วนที่เหลือในอัตราหุ้นละ 0.19 บาท คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 914,708,876.55 บาท ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558
ฉ) การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) มี นโยบายให้ด�ำเนินการจัดประชุมผู้ถือหุ้นให้สอดคล้อง ตามข้อบังคับของบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิของตนเองอย่างเต็มที่ในลักษณะที่ พึงกระท�ำได้ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีจะจัดขึ้นภายใน 4 เดื อ นหลั ง จากสิ้ น สุ ด รอบปี บั ญ ชี คื อ เดื อ นธั นวาคม ส�ำหรับรอบปีบัญชี 2557 นี้ ได้มีการจัดประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นในวันที่ 24 เมษายน 2558 โดยที่เริ่มต้นของ การเปิดประชุมมีผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง หรือผู้รับมอบฉันทะ จ�ำนวน 2,012 ท่าน คิดเป็น ร้อยละ 83.67 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดทีจ่ ำ� หน่าย ส�ำหรับ ช่วงปิดประชุมมีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมเพิ่มขึ้น โดยที่ มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง หรือผู้รับมอบ ฉันทะ จ�ำนวน 2,448 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 83.75 บริษทั ฯ ได้เริ่มประชุม เวลา 14.00 น. และปิดประชุมเมื่อเวลา 16.45 น.
131
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในระหว่างการประชุม บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกท่านซักถาม เสนอความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ ให้ค�ำแนะน�ำ และมีการให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการชี้แจงประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุม ก่อนเริม่ การประชุม ประธานกรรมการและผูแ้ ทน ได้กล่าวสรุปเกีย่ วกับหลักเกณฑ์ในการด�ำเนิน การประชุม รวมถึงขั้นตอนการลงคะแนนเสียงเพื่อให้ผู้ถือหุ้นทราบ โดยมีผู้ถือหุ้น 1 ท่านที่เข้า ร่วมประชุมร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ ในการเป็นสักขีพยานในขั้นตอนของการนับคะแนนเสียง อีกทัง้ มีตวั แทนจากทีป่ รึกษากฎหมายจากบริษทั ส�ำนักงานกฎหมาย แคปปิตอล จ�ำกัด เข้าร่วม เป็นพยานในขั้นตอนของการนับคะแนนเสียงด้วย เพื่อให้การลงคะแนนเสียงด�ำเนินไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง บริษัทได้น�ำระบบอิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในการนับคะแนนเสียง มีการเตรียมการแยกบัตรลงคะแนนในแต่ละวาระการประชุม/วาระ การประชุมย่อย หลังจากที่ทุกวาระการประชุมได้มีการพิจารณาและมีการลงคะแนนเสียง บัตร ลงคะแนนเสียงจะถูกเก็บรวบรวมไว้เพือ่ ใช้ในการอ้างอิงการนับคะแนน โดยผลของการลงคะแนน เสียงในแต่ละวาระการประชุมได้มีการแจ้งให้ทราบผลคะแนนในช่วงท้ายของการประชุม การนับคะแนนเสียงได้ด�ำเนินการในลักษณะที่โปร่งใส โดยนับคะแนนเสียงหนึ่งหุ้นเท่ากับหนึ่ง คะแนนเสียง การอนุมัติมติในที่ประชุมขึ้นอยู่กับเสียงส่วนใหญ่ของผู้ลงคะแนน หากไม่มีมติ พิเศษใดๆ ซึ่งต้องการคะแนนเสียงสามในสี่ของจ�ำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียง ในระหว่างการประชุม บริษัทฯ ไม่มีการเพิ่มวาระการประชุม ตามที่ได้แจ้งให้กับผู้ถือหุ้นทราบ เป็นการล่วงหน้าแล้ว บริษัทฯ มั่นใจว่าได้มีการด�ำเนินการและอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นทุกคนเข้าร่วมประชุม ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด โดยมีประธานกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุม และ มีกรรมการบริษัทจ�ำนวน 13 ท่าน จากจ�ำนวน 14 ท่านเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ ซึ่งรวมถึง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก ผู้ตรวจสอบภายในของ บริษัท ที่ปรึกษากฎหมาย และคณะผู้บริหารอาวุโสเข้าร่วมการประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ประธานกรรมการได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้ซกั ถาม และให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับการผลด�ำเนินงาน ข้อมูลด้านการเงิน และประเด็นอื่นๆ ของบริษัทโดยไม่ตัดสิทธิ์ใดๆ ของผู้ถือหุ้น ประธาน กรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ประธานกรรมการด้านความยั่งยืน และ คณะผูบ้ ริหารได้ทำ� การชีแ้ จงข้อมูลบริษทั ระหว่างการประชุมผูถ้ อื หุน้ และมีการพบปะพูดคุยกัน อย่างไม่เป็นทางการกับผู้ถือหุ้นหลังเสร็จสิ้นการประชุม วาระการประชุมทั้งหมดได้ผ่านมติในที่ประชุมโดยเฉลี่ยร้อยละ 99 ของจ�ำนวนผู้ท่ีมีสิทธิ ลงคะแนนเสียง มติของทีป่ ระชุมและจ�ำนวนเสียงที่ได้รบั การลงคะแนนได้มกี ารเปิดเผยผ่านทาง เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในวันเดียวกันกับวันที่จัดประชุม รายงานการประชุมได้มีการบันทึกไว้ โดยแสดงรายชื่อของกรรมการที่เข้าร่วมและที่ไม่ได้เข้า ร่วมประชุม สรุปค�ำถามทั้งหมด ค�ำอธิบายที่ส�ำคัญไว้อย่างชัดเจน โดยผลการลงคะแนนของ แต่ละวาระการประชุมและวาระการประชุมย่อย ได้ถกู แบ่งออกเป็นเสียงทีเ่ ห็นด้วย คัดค้าน และ งดออกเสียง รายงานการประชุมได้มกี ารจัดส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ภายในระยะเวลาสิบสีว่ นั หลัง จากวันประชุม ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด นอกจากนี้ รายงานการประชุมได้มกี ารเปิดเผยผ่านทาง เว็บไซต์ของบริษัทด้วยเช่นกัน ส�ำเนารายงานการประชุมได้มีการแสดงไว้ในเว็บไซต์ของ บริษัทด้วย
132
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ช) การรายงานหลักทรัพย์และการซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัท บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายเป็นลายลักษ์อกั ษร เกี่ยวกับการรายงานหลักทรัพย์และการซื้อ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ซึง่ นโยบายดังกล่าว ได้รวมถึงการก�ำหนดให้กรรมการหรือผูบ้ ริหาร ไม่สามารถซื้อ ขายหลักทรัพย์ของบริษัทได้ ในช่วงระยะเวลา 15 วันก่อน และ 2 วันท�ำการ หลังจากวันที่จัดส่งข้อมูลงบการเงินประจ�ำปี และงบการเงินประจ�ำไตรมาสของบริษทั ให้กบั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่ว่าทาง ตรงหรื อ ทางอ้ อ มก็ ต ามนอกจากนี้ หาก กรรมการหรือผู้บริหารรายใดท�ำการซื้อ ขาย หลั ก ทรั พ ย์ จ ะต้ อ งจั ด ท� ำ รายงานแจ้ ง ต่ อ ส�ำนักงานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ภายใน 3 วัน ท�ำการ และแจ้งให้กับฝ่ายเลขานุการบริษัท ทราบ รายงานดังกล่าวจะถูกน�ำเสนอต่อที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุก ไตรมาส
ซ) จรรยาบรรณส� ำ หรั บ กรรมการและ พนักงาน บริษัทฯ ได้จัดให้มีการจัดท�ำจรรยาบรรณ ส� ำ หรั บ กรรมการและพนั ก งานซึ่ ง อนุ มั ติ โดยคณะกรรมการบริษัทและมีการสื่อสาร ให้ กั บ บุ ค คลากรขององค์ กรได้ รั บ ทราบ บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะให้เกิดผลส�ำเร็จโดยให้มี การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมโดยใช้แนวทาง ของจรรยาบรรณ โดยปฏิ บั ติ ด ้ ว ยความ ซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม รวมถึ ง หน่ ว ยงาน ภายนอก ในปี 2558 บริษัทฯ ได้สร้างความตระหนัก ให้แก่พนักงานของบริษัทฯ ทุกคนให้มีการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ส�ำหรับพนักงาน ใหม่นั้น ในวันปฐมนิเทศพนักงานใหม่ทุกคน จะได้รับคู่มือนโยบายของบริษัทฯ ซึ่งรวม ถึงหลักจรรยาบรรณด้วย
ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกท่านได้อ่านและลงนามในจรรยาบรรณส�ำหรับกรรมการด้วยเช่นกัน ฌ) นโยบายการต่อต้านการทุจริตและการให้สินบน จรรยาบรรณส�ำหรับกรรมการและพนักงานของบริษัทเป็นการแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ บริษัทฯ ที่ต้องการให้มีการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ในฐานะที่บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจ ทั่วโลก บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะสร้างความเชื่อมั่นว่า บริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นเลิศ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ด้วยเหตุผลดังกล่าว บริษัทฯ จึงมีการก�ำหนดให้มีการปฏิบัติ ตามนโยบายอย่างเข้มงวดในการต่อต้านการให้สินบนและการฉ้อโกง เพื่อแสดงให้เห็นว่าบริษัทมีความรับผิดชอบในเรื่องของการต่อต้านการคอร์รัปชั่นและการให้ สินบน คณะกรรมการบริษัทจึงได้อนุมัตินโยบายการต่อต้านการทุจริตของบริษัท บริษัทฯ ยังคงยึดมั่นในพระราชบัญญัติการให้สินบนของสหราชอาณาจักรอังกฤษ ตลอดจน กฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายสากลอื่นในแต่ละแห่งตามความเหมาะสม บริษัทได้รับการรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนในการต่อต้านการทุจริต ในเดือนตุลาคม 2557 โดยบริษัทได้ก�ำหนดกรอบโครงสร้างในการต่อต้านการทุจริต ตลอดจน นโยบายและการน�ำไปปฏิบตั เิ พือ่ สร้างความตระหนักและน�ำไปสูก่ ารสร้างวัฒนธรรมขององค์กร โดยบริษัทจะเป็นหนึ่งในบริษัทไทยที่มีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริต บริษัทได้สื่อสารข้อมูลโดยตรงแก่พนักงานถึงความแน่วแน่ในการไม่เกี่ยวข้องต่อการทุจริต ตลอดจนการปฏิบตั ิในรูปแบบอืน่ ใดซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อการด�ำเนินงานของบริษทั บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการฝึกอบรมเกีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตทีส่ ำ� นักงานใหญ่และหน่วยงานอืน่ ในประเทศไทย โดยมีการจัดอบรมในรูปแบบทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ พนักงานของบริษัทกว่า 600 คน โดยบริษัทได้แจกเอกสารให้แก่พนักงานผู้เข้าร่วมฝึกอบรม อีกด้วย สือ่ การศึกษาเกีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตและนโยบายดังกล่าวได้แสดงไว้บนเว็บไซด์ของบริษทั และเผยแพร่ไปยังหน่วยงานในต่างประเทศเพื่อให้แน่ใจว่านโยบายของบริษัทได้มีการสื่อสาร และมีการปฏิบัติอย่างเป็นมาตรฐานทั่วโลกเพื่อเป็นการสนับสนุนและติดตามการปฏิบัติตาม นโยบายต่อต้านการทุจริตให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทได้ดำ� เนิน การตรวจสอบในทุกหน่วยงาน และรายงานผลการตรวจสอบให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบทราบ บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งประธานเจ้าหน้าที่บริหารความเสี่ยง เพื่อให้เป็นผู้ดูแลเรื่องเกี่ยวกับ ความเสี่ยงทั้งหมด รวมทั้งความเสี่ยงของการทุจริตและการติดสินบน และมอบหมายให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล และแนะน�ำการด�ำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตและ ต่อต้านการติดสินบน รวมทัง้ คณะท�ำงาน CGPAC ได้มกี ารสอบทานและทบทวนเพือ่ ให้หวั หน้า แผนกการก�ำกับดูแลกิจการจะได้ใช้วางแผนการด�ำเนินการเพื่อปรับปรุงต่อไป ญ) รายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทฯ ได้จัดให้มีนโยบายรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยก�ำหนดในรายละเอียดของรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งจะต้องมีการปฎิบัติอย่างเคร่งครัด โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า บุคคลใดเป็นบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วโยง และรายการประเภทใดเป็นรายการทีเ่ ข้าข่ายเป็นรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน อีกทั้งขั้นตอนที่จะต้องปฎิบัติเมื่อเกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันขึ้นมาใหม่ โดยมี การแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบถึงนโยบายนี้ในทุกต้นปีเพื่อเป็นการเตือนให้มีการปฏิบัติตามกฎ เกณฑ์ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยมีฝา่ ยตรวจสอบภายในเป็นผูม้ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ ตรวจ สอบเพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าทุกรายการของรายการทีเ่ กีย่ วโยงมีการด�ำเนินการตามกฎระเบียบ
และข้ อ บั ง คั บ ของคณะกรรมการ ก.ล.ต./ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึง นโยบายของรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท อีกด้วย รายการใดทีเ่ ป็นรายการใหม่ จะถูกส่ง ไปยังฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ ท�ำการตรวจ สอบ หลั ง จากที่ มี ก ารตรวจสอบเป็ น ที่ เรียบร้อยแล้ว รายการดังกล่าวจะมีการน�ำ เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ พิจารณา โดยเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ หลังจากทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณา แล้ว จะเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิ จารณาอนุ มั ติ หากไม่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ รายการนัน้ จะไม่มผี ลบังคับใช้ ดังนัน้ ในแต่ละ ไตรมาส รายงานการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ของบริษัทและบริษัทย่อย จะมีการน�ำเสนอ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัทย่อย อาจมี รายการที่เกี่ยวโยงกันกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติในหลักการ ว่าฝ่ายจัดการมีอ�ำนาจในการอนุมัติรายการ ภายใต้เงื่อนไขที่สมเหตุสมผล โปร่งใส ปราศ จากการฉ้อโกงและทุจริต ซึ่งรายการที่เกี่ยว โยงกันนั้น ต้องจัดอยู่ในประเภทของรายการ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจปกติ ที่บุคคล ทั่วไปตกลงเข้าท�ำสัญญากับคู่สัญญาที่ไม่มี ส่วนเกีย่ วข้อง ภายใต้หลักพืน้ ฐานของเงือ่ นไข ทางการค้ า ทั่ ว ไปและปราศจากการมี ส่วน ได้ส่วนเสียในฐานะของกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี กรรมการท่านใดที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการ ท�ำรายการในธุรกรรมใดๆ ไม่ว่าโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อม จะงดการลงคะแนนเสียง และไม่เข้าร่วมประชุม บริษัทฯ ไม่มีนโยบายให้ความช่วยเหลือทาง การเงินหรือการค�้ำประกันใดๆ แก่บุคคลภาย นอกอื่น รายงานสรุปรายการที่เกี่ยวโยงกันได้มีการ แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีด้วย
133
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทัง้ ภายในและภายนอกอย่างเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ บุคลากร หุน้ ส่วนทางธุรกิจ ลูกค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ ชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม ซึ่งบริษัทฯ ตระหนักดีว่าการได้รับการสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มจะช่วยเสริมสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขันทางการค้าและมี ผลก�ำไรที่ยั่งยืน บริษัทมีนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย โดยให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และ กฏระเบียบ อย่างเคร่งครัด และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้ นโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น นโยบายการปฏิบัติต่อลูกค้า นโยบายเกีย ่ วกับหุน้ ส่วนและคูแ่ ข่งทางธุรกิจ นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม นโยบายด้านสิทธิทางมนุษยชน นโยบายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายเกี่ยวกับพันธมิตรทางการค้าและเจ้าหนี้ นโยบายเรื่องโรคเอดส์ (HIV) นโยบายด้านสุขอนามัยและความปลอดภัย พระราชบัญญัติการให้สินบนของสหราชอาณาจักรอังกฤษ 2553 นโยบายคุ้มครองและให้ความเป็นธรรมกับพนักงานที่ร้องเรียน นโยบายการต่อต้านการทุจริต จรรยาบรรณส�ำหรับผู้ผลิตและผู้จัดหา จรรยาบรรณส�ำหรับผูผ้ ลิตและจัดหาได้มกี ารน�ำไปปฏิบตั ิในห่วงโซ่อปุ ทานของบริษทั ซึง่ เป็นการ ปฏิบัติตามเป็นมาตรฐานสากล คณะท�ำงาน CGPAC ได้รบั รายงานเป็นประจ�ำถึงการปฏิบตั งิ านของแต่ละหน่วยงาน ในปี 2558 การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานจะมีการด�ำเนินการให้มีการปฏิบัติซึ่งรวมไปถึงลูกค้าของ บริษัทด้วย ซึ่งนโยบายดังกล่าวข้างต้น ได้มีการแจ้งให้ทราบเป็นการภายในในกลุ่มบริษัทฯ ทั่วโลก อีกทั้งได้น�ำนโยบายเหล่านี้แสดงไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ อีกด้วย การเริ่มต้นในการจัดท�ำโครงการรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักในการก�ำกับดูแลกิจการ (CGPAC) นั้น เป็นโครงการในการพัฒนาและปรับปรุง เพื่อสานความสัมพันธ์ระหว่างบริษัท และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ซึง่ ฝ่ายบริหารจะต้องเสริมสร้างรากฐานให้พนักงานทุกคนตระหนักและเข้าใจ ในนโยบายที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ และจัดให้มีการปฏิบัติอย่าง จริงจัง และในเชิงสร้างสรรค์ โดยด�ำเนินการจัดการฝึกอบรมการสัมมนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึง ตรวจสอบให้มีการปฏิบัติอีกด้วย นโยบายต่างๆ จะได้รบั การทบทวนเป็นประจ�ำทุกปี และมีการปรับปรุงแก้ไขได้ตามทีเ่ ห็นสมควร บริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานความยั่งยืนเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งสามารถเรียกดูข้อมูลรายงานได้จาก เว็บไซต์ของบริษัทภายใต้หัวข้อข้อมูลองค์กร
134
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ผู้ถือหุ้น บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ยมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ลักษณะที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ สร้ า งวิ สั ย ทั ศ น์ เ พื่ อ น� ำ ไปสู ่ การเพิ่ ม มู ล ค่ า และผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จึง แสวงหาธุรกิจและโครงการใหม่ๆ ทีเ่ พิม่ มูลค่า สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้นเท่านั้น ลูกค้า บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ยมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะรั ก ษาและสร้ า ง ความสัมพันธ์ทมี่ นั่ คงและความภักดีตอ่ ลูกค้า อีกทั้งมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ลกู ค้า ด้วยผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณุ ภาพสูงและ การให้บริการเพื่อให้ตรงกับความต้องการ ของลูกค้าให้มากที่สุด ด้วยราคาที่เหมาะสม และมีมาตรฐานในการให้บริการทีด่ เี ยีย่ ม รวม ถึงการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์และการด�ำเนินงานของบริษัท บริษัทฯ เชื่อมั่นและได้มีการเปิดช่องทางการ ติดต่อสื่อสารและรับฟังความความคิดเห็น ของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง บุคลากร บุ ค ลากรทั้ ง หมดของบริ ษั ท อิ น โดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ถือเป็นทรัพยากรอันมีคณุ ค่าและมีความส�ำคัญ ยิ่งต่อการเติบโตและอัตราก�ำไรของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทมุ่งมั่นที่จะสร้างสภาพ แวดล้อมที่ดี ในการท�ำงานต่อบุคลากรของ บริษัท ให้ความส�ำคัญในเรื่องความปลอดภัย รวมทั้งการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม และ เท่าเทียมกันสามารถเทียบเคียงกับองค์กรอืน่ ที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาด้าน ทักษะความรูแ้ ละศักยภาพของพนักงาน และ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงานทีด่ ี มีความหลากหลาย เพือ่ กระตุน้ ให้การท�ำงาน
ของพนักงานมีประสิทธิภาพและเป็นที่น่าพึง พอใจ และด�ำรงไว้ให้อยู่กับองค์กรตลอดไป บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จัดให้มีการปฐม นิ เทศพนั ก งานใหม่ และจัดให้มีโครงการ พัฒนาด้านทักษะ เพื่อให้พนักงานสามารถ พัฒนาศักยภาพและกระตุน้ ความสามารถทีม่ ี อยู่ ให้พร้อมส�ำหรับการท�ำงาน นอกจากนี้ พนักงานทัง้ หมดยังได้รบั การฝึกอบรมในเรือ่ ง สิ่งแวดล้อม รวมถึงการเข้าร่วมท�ำกิจกรรม ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับชุมชนหรือ ท้องถิ่น ในฐานะที่ บ ริ ษั ท มี การด� ำเนิ น ธุ ร กิ จ ทั่ ว โลก โรงงานแต่ละแห่งใช้นโยบายที่แตกต่างกันใน ด้านสวัสดิการของพนักงาน เพือ่ ให้สอดคล้อง กับกฎหมายและกฎระเบียบของท้องถิ่นนั้นๆ บริษัทฯ ได้มีการรวบรวมนโยบายเกี่ยวกับค่า ตอบแทนและสวัสดิการของพนักงานในทุก ภูมิภาคทั่วโลก โดยจะปฏิบัติตามกฎหมาย ท้องถิ่นและกฏระเบียบของแต่ละโรงงาน บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) เชื่ อ มั่ นว่ า พนั ก งานทุ ก คนคื อ รากฐานแห่ ง ความส�ำเร็จและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อันเป็นกุญแจส�ำคัญของการท�ำธุรกิจที่ยั่งยืน พนักงานจะได้รับการพัฒนาด้วยความเข้าใจ ในสภาวะแวดล้อมและผลกระทบทีแ่ ตกต่างกัน รายละเอียดของค่าตอบแทนและกิจกรรม ด้านการฝึกอบรมของบริษัท อินโดรามา เวน เจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) จะแสดงอยู่ในหัวข้อ “บุคลากร” โดยจะอยู่ส่วนท้ายของรายงานนี้ หุ้นส่วนทางธุรกิจ บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ได้สร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน แบบพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น กั บ หุ ้ น ส่ ว น ทางธุรกิจทุกราย บนพื้นฐานของการได้รับ ผลประโยชน์ร่วมกันและด�ำเนินการตามหลัก จริยธรรมทางธุรกิจที่ดี บริษัทฯ จะร่วมงาน กั บ หุ ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ ด้ ว ยความยุ ติ ธ รรม ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ มั่นใจว่าผู้บริโภคจะเชื่อมั่นในความปลอดภัย และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของบริษัท หุ้น ส่วนทางธุรกิจต้องจัดหาสินค้าและบริการที่ได้ มาตรฐานตรงตามมาตรฐานด้านคุณภาพและ ความปลอดภัยตามที่ได้ตกลงกันไว้
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรฐานในนโยบายของบริษัท โดยคาดหวังให้คู่ค้าทางธุรกิจด�ำเนินการ ตามมาตรฐานกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งถือเป็นการสร้างพันธะสัญญาร่วมกันในการใช้ ทรัพยากรต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ก�ำจัดและลดปริมาณขยะ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจก น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ท่ีมาจากธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์และผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ตามความต้องการของตลาดและความชื่นชอบของลูกค้า และพัฒนาสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชน และความต้องการทางธุรกิจ หุ้นส่วนทางธุรกิจจะต้องปฏิบัติโดยน�ำหลักการด้านความปลอดภัย คุณภาพสินค้า แรงงาน สิทธิมนุษยชน สังคมและกฎหมาย และสอดคล้องกับนโยบายของบริษทั และมัน่ ใจได้วา่ ประเด็น ต่างๆ เหล่านี้ มีการจัดการเป็นอย่างดีในการจัดหาสินค้าและบริการต่างๆ ให้กับบริษัท บริษัทฯ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมของตนเองและคาดหวังว่าหุ้นส่วนทางธุรกิจจะ ด�ำเนินการตามหลักศีลธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย และการจัดการที่ดีในเรื่องของข้อมูล การแข่งขัน กรรมสิทธิ์ของข้อมูล รวมไปถึงทรัพย์สินทางปัญญาอื่นๆ และปฏิบัติตามกฎหมาย ในเรื่องการแข่งขันทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม การแข่งขันทางการค้าและการท�ำการตลาดอย่าง ถูกต้อง ทรัพย์สินทางปัญญา บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของทรัพย์สินทางปัญญาและห้ามไม่ให้มีการใช้ซอฟแวร์ผิด กฎหมายและการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาอย่างเคร่งครัด เจ้าหนี้ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยจะให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เกีย่ วกับความคืบหน้าของบริษทั แก่เจ้าหนีแ้ ละเป็นไปด้วยความราบรืน่ และเพือ่ ให้สอดคล้องกับ พันธกรณี นอกจากนี้ บริษัทฯ มีความต้องการที่จะเห็นเจ้าหนี้ของบริษัทยึดมั่นในหลักการให้มีการด�ำเนิน ธุรกิจทีส่ อดคล้องกับนโยบายของบริษทั เพื่อให้มั่นใจว่าการผลิตและการจัดส่งสินค้าและบริการ ต่างๆ จะเป็นไปตามกฎหมายที่เกีย่ วข้องในแต่ละธุรกิจทีบ่ ริษทั มีการด�ำเนินธุรกิจ ชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยใส่ใจและห่วงใยเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัท และสอดคล้องกับระเบียบข้อบังคับต่างๆ ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดบริษทั ฯ และบริษัท ย่อยสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อันเป็นการสนับสนุน สิง่ แวดล้อม สังคมและส่งเสริม วัฒนธรรมอันดีที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของบริษัท บริษัทฯ และบริษัทย่อยส่งเสริมให้มีการก�ำจัดของเสียด้วยวิธีการที่จะเกิดผลกระทบต่อสังคม สิง่ แวดล้อมและคนในชุมชนให้นอ้ ยทีส่ ดุ บริษทั ฯ มุง่ เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ น�ำไปสูก่ าร พัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมิใช่เพียงแค่พัฒนาในองค์กรเท่านั้น แต่ยังรวมถึงทุกคนในชุมชนโดย รวม บริษัทต้องการสร้างความมั่นใจในเรื่องดังต่อไปนี้: บริษัทจัดหาสินค้าที่มีคุณภาพด้วยการบริการที่ดีเยี่ยมให้กับลูกค้าของบริษัท บริษัทสร้างมูลค่าให้กับนักลงทุน บริษัทมีสภาพแวดล้อมที่ดีและเหมาะสมในการท�ำงาน บริษัทเป็นเพื่อนบ้านและมิตรที่ดีของชุมชน บริษัทลดปัญหาสิ่งแวดล้อม อันเป็นผลกระทบจากการด�ำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ สัญญาว่าจะด�ำเนินงานภายใต้กฎหมายสิง่ แวดล้อม และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ในแต่ละภูมิภาค ด้วยการวิเคราะห์เป็นระยะๆ และจัดให้มีการตรวจสอบจากบุคคลภายนอกใน แต่ละโรงงาน
135
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คู่แข่งขัน บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย จะด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ โดยเคารพในบริ ษั ท คู ่ แ ข่ ง และจะปฏิ บั ติ ต ามกรอบการแข่ ง ขั น ทาง การค้าที่สุจริตเช่นเดียวกันกับการเดินหน้าไปสูก่ ารพัฒนาทางการตลาดและการเจริญเติบโตเพื่อ ประโยชน์ของอุตสาหกรรมโดยรวม นโยบายการแจ้งเบาะแส บริษัทฯ มีนโยบายการแจ้งเบาะแสเพื่อเปิดโอกาสให้พนักงานขององค์กรมีบทบาทในการเปิด เผยการกระท�ำที่ผิดจรรยาบรรณ (ไม่ว่าจะขัดต่อกฎหมายหรือไม่ก็ตาม) ให้แก่คณะกรรมการ แจ้งเบาะแส (Whistle Blower Committee) โดยไม่จำ� เป็นต้องรายงานผ่านผู้บังคับบัญชาใน สายงานและไม่ต้องเปิดเผยตัวผู้แจ้งเบาะแส ซึ่งนโยบายดังกล่าวได้มีการแจ้งให้ทราบ แก่พนักงานทุกคนทัว่ ทุกภูมภิ าคในโลกและสามารถเรียกดูนโยบายนี้ได้จากเว็บไซต์ของบริษทั ฯ พนักงานของบริษัทฯ สามารถติดต่อคณะกรรมการแจ้งเบาะแสผ่านทางอีเมล์ ethics@ indorama.net หรือติดต่อทางโทรศัพท์ หรือทางไปรษณีย์ ถึงคณะกรรมการแจ้งเบาะแส ณ ส�ำนักงานใหญ่ของบริษัทฯ ในกรุงเทพ มหานคร ทั้งนี้ คณะกรรมการแจ้งเบาะแสรับรองว่า การแจ้งเบาะแสนั้นจะถูกเก็บรักษาเป็นความลับในทุกกรณี นอกจากนี้ ไม่ว่าเหตุผลใดๆ ก็ตาม จะไม่มีการกระท�ำใดๆ อันเป็นปรปักษ์ต่อผู้แจ้งเบาะเส ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ คณะกรรมการ แจ้งเบาะแสได้แจ้งให้หน่วยธุรกิจในทุกหน่วยงานของบริษัททราบ ในปี 2558 คณะกรรมการ แจ้งเบาะแสได้รับการแจ้งเบาะแสทั้งหมด 3 เรื่อง ซึ่งคณะกรรมการแจ้งเบาะแสได้ท�ำการ สอบสวนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว โดยคณะกรรมการแจ้งเบาะแสได้รายงานผลของการสอบสวน รวมถึงผลการด�ำเนินการเกี่ยวกับเบาะแสที่ได้รับแจ้งดังกล่าวให้แก่ คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการและคณะกรรมการบริษัททราบ ช่องทางส�ำหรับการร้องเรียนของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ได้เปิดช่องทางส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียสามารถแจ้งเรือ่ งราวร้องทุกข์ หรือแสดงความคิด เห็นมายังคณะกรรมการอิสระ โดยการส่งอีเมล์ มายัง independentdirectors@indorama.net โดยไม่ค�ำนึงถึงว่าผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวจะเป็นพนักงานของบริษัทฯ หรือบุคคลภายนอก รายละเอียดส�ำหรับการติดต่อคณะกรรมการแจ้งเบาะแสและคณะกรรมการอิสระนั้นได้แสดงไว้ บนเว็บไซด์ของบริษัทฯ ภายใต้หัวข้อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) มีนโยบายการเปิดเผยข้อมูลที่ส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง กับบริษัท ในด้านการเงินและไม่ใช่ด้านการเงิน ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือ หุ้นหรือการตัดสินใจใดๆ ในการลงทุนของบริษัท โดยจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วนทันเวลา และมีความโปร่งใส โดยผ่านช่องทางที่ง่ายต่อการเข้าถึงอย่างเท่า เทียมกันและเชื่อถือได้ เพื่อสอดคล้องกับกฎระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการ ก.ล.ต./ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่องทางการสื่อสารของบริษัทมีหลายทาง ได้แก่ รายงานประจ�ำปี แบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) ค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ ของตลาดหลักทรัพย์ การประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมนักวิเคราะห์ และเว็บไซต์ของบริษัท ผู้บริหารที่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ (Group CEO) ฝ่ายเลขานุการบริษัท ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ซึ่งเป็นการให้ข้อมูล ในโอกาสที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจของนักลงทุนในแต่ละกลุ่ม โดยอาจจะเป็น การประชุม เช่น การประชุมผูถ้ อื หุน้ เจ้าหนี้ นักวิเคราะห์ การประชุมรายไตรมาสกับนักวิเคราะห์ โดยเป็นการหารือด้านผลประกอบการ การจัดท�ำ Road Show และอื่นๆ เป็นต้น
136
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กฎบัตรของคณะกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ได้มีการ ก�ำหนดนโยบายการสรรหากรรมการบริษัท นโยบายค่ า ตอบแทนของกรรมการและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ และฝ่ายบริหารจะเป็นผู้รับไปปฏิบัติ สาระส�ำคัญของนโยบายและเกณฑ์การสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ได้กล่าวไว้แล้ว ในหัวข้อการเลือกตั้งกรรมการกลับเข้าด�ำรง ต�ำแหน่งต่อไปอีกวาระ และการพิจารณา ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ส�ำหรับนโยบายและหลักเกณฑ์การพิจารณา ค่าตอบแทนของผูบ้ ริหาร จะได้กล่าวต่อไปใน หัวข้อค่าตอบแทน ซึ่งเป็นหัวข้อถัดจากผล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ช่องทางการสื่อสารได้มีการแจ้งรายละเอียด ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท กฎบัตรและนโยบายของบริษทั จะมีการทบทวน โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปีโดย ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ได้พจิ ารณาแก้ไขและอนุมตั ิ ในเรื่องดังต่อไปนี้ กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ นโยบายการต่อต้านการทุจริต นโยบายการแจ้งเบาะแส นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ มีการแจ้งเพื่อทราบให้แก่พนักงาน ทุกภูมิภาคทั่วโลก และได้มีการน�ำข้อมูลขึ้น ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทแล้ว บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับเว็บไซต์ของบริษทั เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งจัดให้มีทั้งรูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และมีการตรวจสอบอย่าง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าข้อมูลทัง้ หมดได้รบั การปรับปรุงให้เป็นข้อมูลล่าสุด เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนในอุตสาหกรรมของ บริษัท รายงานประจ�ำปี 2558 ได้เพิ่มหัวข้อ ค�ำอธิบายธุรกิจของบริษทั ต�ำแหน่งของบริษทั ในอุตสาหกรรม และแสดงข้อมูลคู่แข่งหลัก ของบริษัทในระดับโลกอีกด้วย ในปี 2558 และในปีอื่นๆ ที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่เคยปฏิบตั กิ ารใดๆ อันเป็นการละเมิดต่อกฎ
ระเบียบด้านการเปิดเผยข้อมูลของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์/ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อมูลที่มีการปรับปรุงเป็นประจ�ำในเว็บไซต์ของบริษัท มีดังต่อไปนี้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ คุณค่า รายงานทางการเงิน รายงานบทวิเคราะห์ ข่าวประชาสัมพันธ์ต่างๆ รายงานประจ�ำปี โครงสร้างองค์กร คณะ กรรมการและผู้บริหาร โครงสร้างผู้ถือหุ้นและรายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี 56-1 โดยแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ การด�ำเนินธุรกิจ สถานะทางการเงิน ความเสีย่ ง ข้อพิพาททางกฎหมาย โครงสร้างเงินทุน รวมถึงข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการถือหุ้น บริษัท จัดให้มีปฏิทินโดยแจ้งเรื่องหรือเหตุการณ์ที่ส�ำคัญของบริษัท เพื่อให้ นักลงทุนหรือผู้ถือหุ้นที่สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ บริษัทฯ มีการแต่งตั้งฝ่าย/บุคคลากรให้ดูแลการสร้างความสัมพันธ์กับ นักลงทุน เพื่อเปิดเผยข้อมูลที่จ�ำเป็นให้กับนักลงทุนในเรื่องที่เกี่ยวกับ การรายงานงบการเงินและเรื่องอื่นๆ โดยบริษัทฯ ได้จัดท�ำแผนประจ�ำ ปีของฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์เพือ่ ให้ผบู้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบในเรือ่ งดังกล่าว ได้เข้าร่วมในกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ อาทิ การเข้าเยี่ยมชมโรงงาน
ทั้งนี้ กิจกรรมดังกล่าวถูกจัดขึ้นเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ เป็นต้น รวมถึงการประชุมเพื่อพบปะนักลงทุน จะมีการด�ำเนินการเป็นประจ�ำอีกด้วย ผูท้ สี่ นใจสามารถติดต่อฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั ได้ทหี่ มายเลข 0-2661-6661 ต่อ 680 หรืออีเมล์ richard.j@indorama.net และ สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ของบริษัท รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ได้มีการเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี ซึ่งบริษัทฯ มีการด�ำเนินการ ที่สอดคล้องตามมาตรฐานทางบัญชีที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และวิธี ปฏิ บั ติ ที่ ใ ช้ มี ค วามเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะของธุ ร กิ จ นอกจากนี้ ยังระบุวา่ ข้อมูลทีน่ ำ� เสนอในรายงานทางการเงินทัง้ หมดนัน้ ถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ โดยประธานกรรมการและประธานเจ้า หน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ เป็นผู้ลงนามในรายงานนี้ การถือหุน้ ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุ นิติภาวะ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มี รายละเอียดดังต่อไปนี้
รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ชื่อ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายอาลก โลเฮีย คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสุจิตรา โลเฮีย คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายอมิต โลเฮีย คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายดิลิป กุมาร์ อากาวาล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายซันเจย์ อาฮูจา คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายระเฑียร ศรีมงคล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายมาริษ สมารัมภ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
31 ธันวาคม 2557 จ�ำนวนหุ้น 10 10 262,000 3,669,132 -
หุ้นสามัญ (หุ้น) เปลี่ยนแปลงในปี 2558 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้น ร้อยละ ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 10 0.000 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 10 0.000 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 100,000 100,000 0.002 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 262,000 0.005 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 375,800 4,044,932 0.084 ได้มา/จ�ำหน่ายไป -
137
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ล�ำดับ 11 12 13 14 15 16 17
ชื่อ นายศิริ การเจริญดี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายคณิต สีห์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสุนิล โฟเตด้า คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสัตยานารายัน โมต้า คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายมาโนช กุมาร์ ชาร์มา คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
31 ธันวาคม 2557 จ�ำนวนหุ้น 100,000 114,944 200,000 -
หุ้นสามัญ (หุ้น) เปลี่ยนแปลงในปี 2558 จ�ำนวนหุ้น ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป 100,000 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป (12,944) ได้มา/จ�ำหน่ายไป 759,000 ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป ได้มา/จ�ำหน่ายไป -
31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวนหุ้น ร้อยละ 200,000 0.004 102,000 0.002 959,000 0.020 -
การรายงาน บริษัทฯ มีนโยบายเกี่ยวกับการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทของกรรมการและ ผู้บริหาร โดยก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารจะต้องแจ้งการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท ให้แก่เลขานุการบริษัททราบทุกๆ ไตรมาส ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทจะท�ำสรุปการถือหลักทรัพย์ ดังกล่าวเพื่อแจ้งให้คณะกรรมการบริษัททราบ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร ซึ่งหมายรวมถึง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จะต้องแจ้งให้เลขานุการบริษัททราบ ทันทีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของบริษัท เพื่อที่เลขานุการบริษัทจะได้รายงาน การเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ต ่ อ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดระยะเวลาห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท โดยทุกๆ ไตรมาส เลขานุการบริษัทจะแจ้งให้กรรมการและผู้บริหารทราบถึงระยะเวลาห้ามซื้อขายหลัก ทรัพย์ของบริษัทดังกล่าว
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ความรับผิดชอบและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ได้มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธ กิจ คุณค่า แผนงาน กลยุทธ์ นโยบายหลักและงบประมาณและมีความมุ่งมั่นที่จะบริหารงาน อย่างมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ มีการก�ำหนดแผน งานและงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อยโดยละเอียด ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ตรวจ สอบการบริหารงานและการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามแผนธุรกิจและเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย ที่วางไว้ อีกทั้งคณะกรรมการบริษัทยังวางระบบการควบคุมภายใน และขั้นตอนการตรวจสอบ ทีค่ รอบคลุมถึงการบริหารความเสีย่ งอีกด้วย รายจ่ายฝ่ายทุนหลักๆ ทัง้ หมดต้องได้รบั การอนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริษัท โดยละเอียดมีการน�ำเสนอโดยหัวหน้าของแต่ละส่วนธุรกิจ ในช่วงต้นปี คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการประชุมแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจประจ�ำปี โดยจะมีการทบทวนวิสัยทัศน์และพันธกิจในการประชุมแผนกลยุทธ์อีกด้วยซึ่งน�ำเสนอโดย ฝ่ายบริหาร
138
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการ ประชุมอย่างไม่เป็นทางการหลายครั้ง ซึ่งมี การร่วมประชุมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทฯ และผู้บริหารอาวุโส เกี่ยวกับ เรือ่ งผลการประการของบริษทั เป้าหมายด้าน กลยุทธ์และแนวโน้มของอุตสาหกรรม โดย การประชุมดังกล่าวคณะกรรมการบริษัทได้ แสดงข้อคิดเห็นรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ทั้งนี้ การน�ำเสนอข้อมูลโดยฝ่ายบริหารนั้น เป็น ข้ อ มู ล ที่ ม าจากการประชุ ม คณะกรรมการ บริ ห ารในแต่ ล ะส่ ว นธุ ร กิ จ ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ พิจารณาผลการด�ำเนินงานของแต่ละภาค ส่วนธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดให้หัวหน้าของ แต่ละธุรกิจ อธิบายรายละเอียดถึงสาเหตุ ที่ท�ำให้ธุรกิจต�่ำกว่าเป้าหมาย และให้อธิบาย แผนการปรับปรุงผลการด�ำเนินงาน และ คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารติดตามให้มกี าร ปฏิบตั ติ ามแผนการด�ำเนินงานในการประชุม ครั้งถัดไป คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีคู่มือนโยบาย เกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย ซื่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบาย ของบริษทั ฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั
ยังได้ติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกล่าว โดยใช้เครื่องมือต่างๆ มาช่วยในการติดตาม ผลการปฏิบัติ อาทิ การส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าและผู้ผลิต ความเห็นของพนักงาน เกี่ยวกับการจัดการอบรม และอื่นๆ คณะกรรมการบริษัทโดยการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน และ ฝ่ายก�ำกับดูแล ได้ด�ำเนินการตรวจสอบความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น โดยมี แนวทางการปฏิบตั ภิ ายในของบริษทั ในเรือ่ งของการด�ำเนินการในกรณีทมี่ รี ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เกิดขึน้ โดยจะต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยและคณะกรรมการ ก.ล.ต เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ส�ำหรับราย ละเอียดของรายงานที่เกี่ยวโยงกันได้มีการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงไว้ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) และรายงานประจ�ำปีแล้ว กรรมการผู้มีส่วนได้เสียในเรื่อง ที่อาจเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ ต้องงดออกเสียงในวาระตามที่ก�ำหนด ไว้ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโยบายก�ำหนดให้พนักงานทุกระดับ ห้ามน�ำข้อมูลภายในไปใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนตนเพราะการตัดสินใจทางธุรกิจจะเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและ บริษัทย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้ดำ� เนินการประเมินประสิทธิภาพและความพอเพียงของระบบการควบคุม ภายในของบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี โดยการตรวจสอบแบบประเมินความมีประสิทธิภาพและ ความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อย คณะกรรมการบริษัทได้มีการจัดการประชุมเพิ่มเติมในเดือนมกราคมเพื่อพิจารณาและอนุมัติ แผนกลยุทธ์ทางธุรกิจของแต่ละหน่วยงานของบริษัท ซึ่งจะเป็นการประชุมพบปะแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในระดับผูบ้ ริหารระดังสูงจากทัว่ โลกตลอดจนผูบ้ ริหารจากกิจการซึง่ ได้มาแห่งใหม่ ในเดือนมกราคม 2558 บริษัทได้จัดงาน Capital Markets Day ประจ�ำปี ซึ่งจะเป็นการประเมิน ผู้ลงทุนจากทั้งผู้ขายและผู้ซื้อทั้งหมด โดยฝ่ายบริหารและผู้บริหารระดับสูงจากหน่วยงาน ทั่วโลกจะมาแนะน�ำตัว และตอบข้อซักถามเกี่ยวกับธุรกิจแก่นักลงทุน บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่ของตนให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท ตามมติ คณะกรรมการบริษทั และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต ก�ำหนดและให้ความเห็นชอบในเรื่องวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ทิศทางของธุรกิจ นโยบาย เป้าหมาย แนวทางของแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตามที่ ฝ่ายจัดการได้จัดท�ำขึ้น และก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ดังกล่าว และให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะ กรรมการบริษัทก�ำหนดไว้ ติดตามผลการปฏิบัติหน้าที่อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณ ด�ำเนินการให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยน�ำระบบงานบัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายใน สอบทานกระบวนการและนโยบายในการบริหารความเสี่ยงและติดตามผลการปฏิบัติงาน จั ด ให้ มี น โยบายเกี่ ย วกั บ การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและจั ด ให้ มี การปฏิ บั ติ ต ามนโยบายอย่ า งมี ประสิทธิภาพ แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใด เพื่อช่วยเหลือและ สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งผู้บริหารระดับอาวุโสของบริษัท เช่น ประธานคณะกรรมการบริหาร (Chairman of Executive Committee) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Officer) ประธาน เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร (Chief Operating Officer) และประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยการเงิน (Chief Financial Officer) และเจ้าหน้าที่อาวุโสอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นว่าจ�ำเป็น และสมควร
แต่ ง ตั้ ง เลขานุ การบริ ษั ท เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ คณะกรรมการบริ ษั ท ในการปฏิ บั ติ ง าน ต่างๆ เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เป็ น ไปตามกฎหมายและกฎระเบี ย บที่ เกี่ยวข้อง ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพื่อประกอบการตัดสิน ใจที่เหมาะสม ส่งเสริมให้กรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษทั เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรต่างๆ ของสมาคม ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย ในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั หิ น้าที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของกรรมการและ ผู้บริหาร ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทนั้นจะ ไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบ อ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริษัท หรือ ผู้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัท สามารถอนุมัติรายการที่ตนเองหรือบุคคล ที่ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง (ตามที่ นิ ย ามไว้ ใ น ประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน) มีส่วนได้เสียหรืออาจได้ รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั ฯ หรือ บริษทั ย่อย ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็น ไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ทที่ ปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารพิจารณา อนุมตั ไิ ว้ เพือ่ เป็นการถ่วงดุลอ�ำนาจ ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการและต�ำแหน่งประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ จะไม่ใช่บคุ คลคน เดียวกัน โดยทีป่ ระธานกรรมการบริษทั มาจาก กรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร
139
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
2. โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 14 ท่าน โดยที่มีกรรมการบริหารจ�ำนวน 5 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 2 ท่าน และกรรมการอิสระจ�ำนวน 7 ท่าน ซึ่งคณะกรรมการมีความหลากหลายด้านสัญชาติ เพศ อายุ และทักษะ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไม่มอี คติตอ่ การสรรหาบุคคลเพศหญิงเพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทแต่อย่างใด โดยการสรรหาบุคคลเพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทนั้น บริษัทจะพิจารณาถึงความสามารถและคุณสมบัติของตัวบุคคลเท่านั้น โครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั มีขนาดทีเ่ หมาะสม รวมถึงจ�ำนวนกรรมการบริหาร กรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหาร และกรรมการอิสระ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณสมบัติ โดยพิจารณา ในแง่ของความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความสามารถในการถ่วงดุลอ�ำนาจ และ มีความสามารถในการตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ ในอนาคตบริษัทจะยังคงรักษามาตรฐาน ให้ มี ค วามหลากหลายด้า นคุณสมบัติข องกรรมการรวมถึง การสรรหากรรมการใหม่ ด ้ ว ย อนึง่ ในกรณีทมี่ คี วามจ�ำเป็น คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายทีจ่ ะใช้บริษทั ทีป่ รึกษาในการสรรหา กรรมการใหม่ของบริษัทฯ บทบาทของกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนในกฎบัตรของคณะกรรมการบริษัท บทบาทและความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัท บทบาทที่ส�ำคัญของประธานกรรมการบริษัท คือ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าคณะกรรมการบริษทั มีประสิทธิภาพในการก�ำหนดภารกิจและก�ำหนดทิศทางและกลยุทธ์ของบริษัทให้เกิดผลส�ำเร็จ ประธานกรรมการคือผูน้ ำ� และเป็นผูม้ บี ทบาททีส่ ำ� คัญในการทีจ่ ะท�ำให้คณะกรรมการบริษทั ท�ำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งบทบาทหลักที่ส�ำคัญของประธานกรรมการ มีดังนี้ ก�ำหนดให้มก ี ารจัดองค์ประกอบ ขนาด และโครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ก่อให้เกิด ความสมดุลระหว่างกรรมการที่เป็นผู้บริหารและกรรมการอิสระ ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัท มีการจัดตั้งรวมถึงมีองค์ประกอบและปฏิบัติงานได้อย่าง เหมาะสม จั ด ให้ มี การปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพในคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสูงสุดของหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จั ด ให้ เ กิ ด การมี ส ่ ว นร่ ว มกั น ของกรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารและ กรรมการอิสระในกิจกรรมและกระบวนการทางการตัดสินในของคณะกรรมการบริษัท จัดให้คณะกรรมการบริษัทมีการพัฒนาโครงสร้างที่ดีขึ้นและก�ำหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ ของบริษัท จัดให้มีเข้ารับโครงการที่เหมาะสมส�ำหรับกรรมการที่เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ ปฏิบัติตามบทบาทที่ส�ำคัญในการควบคุมคณะกรรมการบริษัทและส่งเสริมให้เกิดความร่วม มือและร่วมกันอุทิศตนเพื่อให้เกิดความส�ำเร็จขององค์กรอย่างยั่งยืน จั ด ให้ มี การประเมิ น และพั ฒ นาผลงานของคณะกรรมการบริ ษั ท อย่ า งสม�่ ำ เสมอและความ มุ่งหวังในการร่วมมือกันของกรรมการและผลการปฏิบัติงานของกรรมการ จัดให้มีแผนงานความส�ำเร็จของบริษัทเพื่อให้แก่ผู้บริหารอาวุโส เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้นรวมทั้งก�ำหนดวาระ การประชุมร่วมกับฝ่ายจัดการและเลขานุการบริษัท จัดให้คณะกรรมการบริษัทได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงเวลา และเพียงพอส�ำหรับการประชุม คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีช่องทางที่มีประสิทธิภาพในการติดต่อระหว่างคณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหารและ ผู้ถือหุ้น จัดให้มีที่ปรึกษาอิสระแก่ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งเลขานุการบริษัทเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท
140
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ทั้งนี้ บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลประวัติกรรมการ ซึ่งประกอบด้วย ชื่อกรรมการ ประวัติโดยย่อ คุณสมบัติ คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และการถือหุ้นในบริษัท เพื่อแสดงให้เห็นถึง ความรูค้ วามสามารถ คุณวุฒแิ ละประสบการณ์ ของคณะกรรมการบริษทั ผ่านรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษัท และยังระบุด้วยว่า กรรมการท่านใดเป็นกรรมการอิสระ กรรมการ บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และเป็น ตัวแทนของผู้ถือหุ้นใหญ่ ประวัตกิ ารด�ำรงต�ำแหน่งการเป็นกรรมการใน บริษัทอื่นๆ ได้มีการแสดงรายละเอียดไว้ใน ประวัติกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท ได้ แ ต่ ง ตั้ งเลขานุ การ บริ ษั ท ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ น พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และกฎระเบี ย บของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ซึง่ เลขานุการบริษทั มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ดูแลในเรือ่ งของการประชุมของคณะกรรมการ บริษัทและผู้ถือหุ้น และให้ค�ำแนะน�ำด้าน กฎหมายและกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีค่ ณะกรรมการ ต้องทราบและปฏิบัติหน้าที่ในการช่วยเหลือ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท อีกทั้ง เลขานุการบริษัทยังมีหน้าที่ดูแลและส่งเสริม กิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท เพื่อ ให้แน่ ใจว่ากิจกรรมได้ด�ำเนินการโดยสอด คล้องตามมติของคณะกรรมการบริษทั และมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. กฎบัตร บริษัทจัดให้มีกฎบัตรดังต่อไปนี้ กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ กฎบั ต รคณะกรรมการสรรหา พิ จ ารณา ค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ กฎบัตรคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและ การบริหารความเสี่ยง
กฎบัตรทั้งหมดได้ถูกน�ำขึ้นบนเว็บไซต์ของ บริษัท โดยแสดงไว้ในหัวข้อการก�ำกับดูแล กิจการ กฎบัตรคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและ การบริ ห ารความเสี่ ย งได้ ถู ก ทบทวนและ พิจารณาอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2558 กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบได้ถกู ทบทวน และพิจารณาอนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัท เมื่ อวั น ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี 4. การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นๆ กฎบัตรคณะกรรมการบริษัทได้มีการก�ำหนด ในเรื่ อ งของการด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ ในบริษัทอื่นของกรรมการ บริหาร กรรมการ ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร และกรรมการอิ ส ระ รายละเอียดปรากฏอยู่ในหัวข้อ “การเลือกตั้ง และการแต่งตั้งกรรมการ” ซึ่งได้แสดงไว้ใน ตอนต้นของรายงานฉบับนี้ ไม่มีกรรมการท่านใดของบริษัทฝ่าฝืนหลัก เกณฑ์การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัท ในปี 2558 5. การครบก� ำ หนดออกตามวาระของ กรรมการ กรรมการจ�ำนวนหนึ่งในสามจะครบก�ำหนด ออกตามวาระ โดยหมุนเวียนกันไปในรอบ การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี ตามทีร่ ะบุ ไว้ในข้อบังคับบริษัท กรรมการที่ออกไปแล้ว นั้นอาจได้รับเลือกตั้งใหม่กลับเข้ามาด�ำรง ต�ำแหน่งได้โดยการลงคะแนนเสียง ซึ่งเป็น การลงคะแนนเสียงเลือกกรรมการเป็นราย บุคคล บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลประวัติของ กรรมการที่ครบก�ำหนดวาระในหนังสือเชิญ ประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยทีก่ รรมการได้ยนิ ยอมให้มี การเลือกตั้งกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีก วาระหนึ่ง คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับดูแล กิจการ จะพิจารณาวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง ของกรรมการอิสระ เป็นคราวๆ ไป โดยจะ พิจารณาเป็นรายปี เมื่อกรรมการมีการครบ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง โดยจะพิจารณาจาก
หลักเกณฑ์จากเหตุผลที่ว่าธุรกิจของบริษัทมีความซับซ้อน ผลงานของกรรมการ สุขภาพ ทั้งนี้ เป็นไปตามความเหมาะสมของกรรมการที่ด�ำรงต�ำแหน่งแทน 6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการได้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง ส�ำหรับ ปี 2558 ผลการปฏิบัติงานได้นำ� ไปสรุปและหารือในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2559 ปรากฏว่าคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการได้ประเมินผลการปฏิบตั ิ งาน ซึ่งปรากฎว่าผลการปฏิบัติจัดอยู่ในช่วงคะแนนดีมาก ส�ำหรับปี 2558 การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทได้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติของตลาดหลัก ทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งอยู่บนพื้นฐานของหลักเกณฑ์ 6 ข้อ ดังนี้ ก) โครงสร้างและองค์ ประกอบของคณะกรรมการบริษัท ข)บทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ค) การประชุมคณะกรรมการบริษัท ง) หน้าที่ต่อการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ จ) ความ เกี่ยวโยงของผู้บริหาร ฉ) การพัฒนาตนเองของกรรมการและผู้บริหาร นอกจากนี้ ประธานกรรมการบริษัทได้ด�ำเนินการโดยผ่านการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของกรรมการบริษัททุกท่าน เป็นรายบุคคลอีกด้วย ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ สนับสนุนเพื่อให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ ตลอดจนบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร มีความเข้าใจในธุรกิจหลักของบริษัท และไม่เข้ามาแทรกแซงการท�ำงานนอก มีความเข้าใจในบทบาทของคณะกรรมการบริษท ั กฎหมาย และจริยธรรมของกรรมการบริษทั เข้าร่วมการประชุมอย่างสม�ำ ่ เสมอ และเข้าร่วมการประชุมอืน่ นอกเหนือจากการประชุมปกติ ตลอดจนมีส่วนร่วมกับคณะกรรมการเมื่อมีเหตุจ�ำเป็น ศึกษาวาระการประชุมก่อนทีเ่ ข้าร่วมการประชุมเพือ ่ ให้แน่ใจว่ามีขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องและเพียงพอ ต่อการตัดสินใจในวาระดังกล่าว สอบทานรายงานการประชุมของคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งหมดด้วย ความรอบคอบ พิจารณาเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการบริษัทและกรรมการ หากพบประเด็น ใดที่ไม่ชัดเจน ต้องสอบถามจากฝ่ายบริหารเพื่ออธิบายให้ชัดเจนโดยพลัน สอบถามในประเด็นส�ำคัญและให้ค�ำแนะน�ำ ความเห็น แก่ฝ่ายบริหาร ปฏิบต ั หิ น้าที่ในคณะกรรมการชุดอืน่ ทีต่ อ้ งรับผิดชอบโดยส่งผลกระทบต่อเวลาการท�ำงานอย่าง เหมาะสม สร้างความมัน ่ ใจว่าจะบริหารงานด้วยความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ โดยรักษาสิทธิและประโยชน์ ได้อย่างโปร่งใสและเปิดเผยข้อมูลอย่างเต็มที่ เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการบริษท ั และตัดสินใจเกีย่ วกับกิจกรรมทีส่ ำ� คัญของบริษทั การ เข้าซือ้ กิจการ การจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ การขยายตัวของการลงทุนในโครงการ การด�ำเนิน นโยบายและ/หรือการบริหารความเสี่ยงและเป็นต้น หลีกเลี่ยงการเข้าร่วมรับทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ซึ่งอาจเกิดความขัดแย้ง ทางด้านผลประโยชน์ หลีกเลี่ยงการด�ำรงต�ำแหน่งอื่นหรือท�ำงานซึ่งอาจน�ำไปสู่การขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์ ต่อบริษัท รับการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท หรือ กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร ในคณะกรรมการ ของบริษัทซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยสามารถเข้าร่วมประชุมได้อย่างเหมาะสม ยินดีที่เปิดโอกาสจะมีส่วนร่วมในการพัฒนา รวมทั้งการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การประชุม สารสนเทศ การสัมมนา และปฏิบัติตามบทบาทใหม่
141
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มีความพึงพอกับบริการเช่นกรรมการซึง่ อยู่ ในองค์กร ซึ่งถ้าไม่ได้ก็จะท�ำงานอย่างแข็ง ขันเพื่อเปลี่ยนประเด็นหรือกิจกรรมที่เป็น อุปสรรคหรือฉันก�ำลังหารือความมุ่งมั่นนี้ ในส่วนของกรรมการอิสระ แสดงถึงความเป็นอิสระของความคิดและ การตัดสินใจในการทีจ่ ะปกป้องผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด 7. การปฏิบัติหน้าที่ ในปี 2558 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทได้ จัดการประชุมคณะกรรมการทั้งสิ้นหกครั้ง โดยทั่วไปแล้วบริษัทจะเสนอให้มีการประชุม อย่างน้อยห้าครั้งต่อปี โดยปกติจะจัดประชุม ทุกๆ สามเดือน โดยจะจัดให้มีการประชุม พิเศษเพิ่มเติมหากเห็นว่ามีความจ�ำเป็น เช่น มีการทบทวนผลการด�ำเนินงาน งบการเงิน แผนการด�ำเนินงาน หรือเรื่องอื่นๆ เป็นต้น ก่อนสิ้นปี กรรมการทุกคนจะได้รับตารางการ ประชุมของปีถัดไป ซึ่งได้ก�ำหนดวันประชุม ไว้ล่วงหน้า เพื่อให้มั่นใจว่ากรรมการทุกท่าน จะเข้าร่วมประชุมได้มากที่สุด กรรมการอิสระทุกท่านได้มีเข้าร่วมประชุม กันเองโดยที่ไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม ด้วย เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เพื่อ ทบทวนและหารือเกี่ยวกับผลการด�ำเนินงาน ของบริษทั และเรือ่ งอืน่ ๆ หลังจากนัน้ กรรมการ อิสระก็จะพบกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษัทฯ เพื่อแจ้งถึงผลของการหารือของ ที่ ป ระชุ ม กรรมการอิส ระ ซึ่งการประชุม กรรมการอิสระจะจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี โดย จัดอีกครั้งในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 ประธานกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทฯ และเลขานุการบริษัท จะเป็น ผู้ก�ำหนดวาระการประชุมคณะกรรมการ โดย มีเลขานุการบริษัทท�ำหน้าที่ส่งหนังสือเชิญ ประชุมพร้อมกับวาระและเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับการประชุม โดยจัดส่งเอกสารไปให้กรรม การทุกท่านเป็นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาเพียง พอในการศึกษาข้อมูล ในการประชุมแต่ละครั้ง ประธานกรรมการ อนุญาตให้กรรมการแต่ละท่านเสนอความคิด เห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ โดยมีฝ่าย
142
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
จัดการท�ำหน้าที่ตอบข้อซักถามในทุกประเด็นค�ำถาม ทั้งนี้หากกรรมการท่านใดต้องการข้อมูล เพิ่มเติมสามารถขอข้อมูลดังกล่าวจากเจ้าหน้าที่ของบริษัทที่เกี่ยวข้องได้ รายละเอียดของรายงานการประชุมซึ่งต้องมีการจัดท�ำในการประชุมแต่ละครั้งให้รวมถึง วันที่มีการประชุม เวลาเริ่มการประชุมและเสร็จสิ้นการประชุม รายชื่อกรรมการซึ่งเข้าร่วมประชุมและไม่ได้เข้าร่วมประชุม สรุปข้อเสนอแนะของคณะกรรมการบริษัทในประเด็นต่างๆ รายงานการปรึกษาหารือโดยย่อ ข้อสังเกตของกรรมการแต่ละราย บุคคลผู้มีอ�ำนาจจัดท�ำรายงานการประชุม โดยจัดท�ำรายการประชุมภายใน 14 วัน และน�ำส่งรายงานการประชุมต่อกรรมการบริษัท สรุปรายงานการประชุมของบริษทั ย่อยได้มกี ารจัดท�ำขึน้ โดยเป็นส่วนหนึง่ ของเอกสารการประชุม คณะกรรมการบริษัทในแต่ละไตรมาส โดยจัดเตรียมให้คณะกรรมการในรูปแบบซีดี เพื่อให้ กรรมการได้รับทราบข้อมูลกิจการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยอย่างครบถ้วน รายละเอียดการเข้าร่วมการประชุมของคณะกรรมการบริษัทในปี 2558 ชื่อ – สกุล
1. นายศรี ปรากาซ โลเฮีย 2. นายอาลก โลเฮีย 3. นางสุจิตรา โลเฮีย 4. นายอมิต โลเฮีย 5. นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน* 6. นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล 7. นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล 8. นายระเฑียร ศรีมงคล 9. นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 10. นายมาริษ สมารัมภ์ 11. ดร.ศิริ การเจริญดี 12. นายคณิต สีห์ 13. นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา 14. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์** 15. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช*** 16. นายซันเจย์ อาฮูจา***
จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วม / จ�ำนวนการประชุมทั้งหมด
4/6 6/6 6/6 3/6 2/6 6/6 5/6 6/6 6/6 6/6 5/6 6/6 6/6 5/5 -
* นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน ได้ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 ** นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ได้ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2558 *** นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิชและนายซันเจย์ อาฮูจา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการ บริษัท เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558
8. การวัดประสิทธิภาพการท�ำงานของกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และกรรมการบริหารท่านอื่นๆ จะมีการใช้เครื่องมือชี้วัด ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (KPI) ซึ่งก�ำหนดโดยคณะกรรมการตามข้อเสนอแนะของคณะ กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ โดยใช้รูปแบบ Balanced Scorecard และในช่วงสิน้ ปี ผลการปฏิบตั งิ านจะถูกน�ำมาค�ำนวณค่าตอบแทนโดยคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ
ส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ จะพิจารณาและอนุมัติโครงสร้างค่าตอบแทนจากผล การประเมินการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี และให้ฝา่ ยทรัพยากรบุคคลเป็นผูพ้ จิ ารณาอนุมตั คิ า่ ตอบแทนประจ�ำปี รวมทัง้ เงินเดือนโบนัสและผลตอบแทน อื่น โดยที่ระดับผู้จัดการทุกสายงานจะด�ำเนินการตามหลักการเดียวกัน รายละเอียดได้กล่าวไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ” 9. ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนของกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร รวมทั้งโบนัสของกรรมการได้รับการพิจารณาจากผลงานที่ได้รับมอบหมายและ ความรับผิดชอบ ค่าตอบแทนดังกล่าวเสนอโดยคณะกรรมการบริษทั โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับ ดูแลกิจการ และจะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น นโยบายและขั้นตอนการพิจารณาค่าตอบแทนของผู้บริหารและกรรมการบริษัทของคณะกรรมการสรรหาพิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแล กิจการนั้นได้ได้กล่าวไว้ในหัวข้อ “การอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการ” ส�ำหรับค่าตอบแทนประจ�ำปี 2558 นั้น ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 เป็นจ�ำนวน เงินไม่เกิน 17,200,000 บาท ทั้งนี้ ค่าตอบแทนที่จ่ายจริงในปี 2558 รวมเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 16,981,140 บาท ซึ่งอยู่ภายใต้งบประมาณที่ได้ รับอนุมัติคือ จ�ำนวนเงิน 17,200,000 บาท รายละเอียดของค่าตอบแทนที่จ่ายมีดังนี้: ค่าตอบแทนที่จ่ายในฐานะกรรมการบริษัท ล�ำดับ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
กรรมการอิสระ/กรรมการที่ ไม่ ได้เป็นผู้บริหาร
นายศรี ปรากาซ โลเฮีย นายระเฑียร ศรีมงคล นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช* นายอมิต โลเฮีย นายมาริษ สมารัมภ์ ดร.ศิริ การเจริญดี นายคณิต สีห์ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์** นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา รวม
จ�ำนวนเงินที่อนุมัติ (บาท)
75,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน
จ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง (บาท)
900,000 600,000 600,000 100,000 600,000 600,000 600,000 600,000 400,000 600,000 5,600,000
* นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ จากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 ** นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ได้ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2558
ค่าตอบแทนที่จ่ายในฐานะกรรมการตรวจสอบ ล�ำดับ
1 2 3
กรรมการ
นายระเฑียร ศรีมงคล นายมาริษ สมารัมภ์ ดร.ศิริ การเจริญดี รวม
จ�ำนวนเงินที่อนุมัติ (บาท)
75,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน
จ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง (บาท)
900,000 600,000 600,000 2,100,000
ค่าตอบแทนที่จ่ายในฐานะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และก�ำกับดูแลกิจการ ล�ำดับ
1 2 3
กรรมการ
นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค ดร.ศิริ การเจริญดี นายคณิต สีห์ รวม
จ�ำนวนเงินที่อนุมัติ (บาท)
จ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง (บาท)
35,000 ต่อเดือน 25,000 ต่อเดือน 25,000 ต่อเดือน
420,000 300,000 300,000 1,020,000
143
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนที่จ่ายในฐานะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ล�ำดับ
1 2 3
กรรมการ
จ�ำนวนเงินที่อนุมัติ (บาท)
จ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง (บาท)
25,000 ต่อเดือน 25,000 ต่อเดือน 25,000 ต่อเดือน
300,000 300,000 300,000 900,000
นายระเฑียร ศรีมงคล นายมาริษ สมารัมภ์ นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา รวม
โบนัสที่จ่ายให้กับกรรมการบริษัท จากผลการด�ำเนินงานของบริษัทปี 2557 ล�ำดับ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
กรรมการ
จ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง (บาท)
รวม
694,440 694,440 416,670 416,670 555,560 555,560 416,670 833,330 555,560 277,780 555,560 416,670 555,560 416,670 7,361,140
นายศรี ปรากาซ โลเฮีย นายอาลก โลเฮีย นางสุจิตรา โลเฮีย นายอมิต โลเฮีย นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล นายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล นายระเฑียร ศรีมงคล นายมาริษ สมารัมภ์ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค ดร.ศิริ การเจริญดี นายคณิต สีห์ นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารในคณะกรรมการบริษทั จะไม่ได้รบั ค่าตอบแทน ประจ�ำในฐานะกรรมการบริษัท 10. ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ และฝ่ายจัดการ หลักเกณฑ์สำ� คัญในการก�ำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ มีดังนี้ พิ จารณาและอนุ มั ติ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและโครงสร้ า ง ค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการบริหารของบริษัทประจ�ำปี โดยที่คณะ กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการประเมิน ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร และอนุ มั ติ ค ่ า ตอบแทนประจ�ำปี รวมทั้ง เงินเดือน โบนัส และสิทธิประโยชน์อื่น ของกรรมการทีเ่ ป็นบริหาร โดยค�ำนึงถึงข้อเสนอแนะน�ำของประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการจะมีการติดต่อสือ่ สารกับ ผู้น�ำของบริษัท
144
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
พิจารณาและอนุมัติเป้าหมายขององค์กรและวัตถุประสงค์ (KPI) ประจ�ำปี โดยน�ำไปใช้เพื่อการพิจารณาค่าตอบแทนส�ำหรับประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้คณะกรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการประเมินผลอย่างน้อยหนึ่งครั้ง ต่อปี ผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ จะพิจารณาจากเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ โดยน�ำผลการ ประเมินนี้เป็นหลักการพื้นฐานในการพิจารณาค่าตอบแทนประจ�ำปี ของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั โดยรวมถึงเงินเดือน โบนัส และสิทธิประโยชน์อื่น (ถ้ามี) พิ จ ารณาและอนุ มั ติ ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจ� ำ ปี แ ละ โครงสร้างค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง โดยคณะกรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการจะอนุมัติหรือ อาจมอบหมายให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคลพิจารณาอนุมัติค่าตอบแทน ประจ�ำปีของผู้บริหารระดับสูง โดยรวมถึงเงินเดือน โบนัสและสิทธิ ประโยชน์อื่น (ถ้ามี)
ฐานเงิ น เดื อ นของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ และ กรรมการที่เป็นผู้บริหารขึ้นอยู่กับขอบเขตของความรับผิดชอบ ของการปฏิบัติงานและช่วงระยะเวลาของการปฏิบัติงาน โบนัสประจ�ำปีและอัตราร้อยละทีม ่ กี ารเปลีย่ นแปลงจากการจ่ายโบนัส ปีก่อนของผู้บริหารระดับสูงจะถูกก�ำหนดหลังจากที่มีการประเมิน ผลการด�ำเนินงานของบริษัทโดยรวม ผลการด�ำเนินงานของบริษัท หรือหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้มีการปฏิบัติงานหรือความเป็น ผู้น�ำของผู้บริหารระดับสูง โดยมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ในแต่ละฝ่ายงานโดยเทียบกับความคาดหวังหรือเป้าหมายของบริษทั ซึ่งได้จัดท�ำขึ้นในช่วงต้นปี การจ่ายโบนัสนั้นจะจ่ายตามอัตราส่วน ของผลการด�ำเนินงานของบริษัทประจ�ำปี การจ่ า ยค่ า ตอบแทนหรื อ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ อื่ น จะจ่ า ยตามนโยบาย ของคู่มือของฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคลโดยมีการทบทวนเป็น คราวๆ ไป ค่าตอบแทนที่จ่ายให้กับฝ่ายบริหารของบริษัทในปี 2558 เป็นจ�ำนวน เงินประมาณ 98,766,615 บาท ผู้บริหารของบริษัทประกอบด้วย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการบริหาร ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ PET และ Feedstock กรรมการผู้จัดการ ธุรกิจ PTA กรรมการผู้จัดการธุรกิจ EO และ EG กรรมการผู้จัดการ ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ กรรมการผู้จัดการธุรกิจขนสัตว์ และหัวหน้าฝ่าย การเงินและหัวหน้าฝ่ายบัญชี ค่าตอบแทนทีจ่ า่ ยให้กบั ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ นัน้ รวม ถึง เงินเดือน โบนัส และเงินพิเศษตามทีร่ ะบุได้ในกฎระเบียบของบริษทั ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้มีการก�ำหนดตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ ไว้ทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการหรือผู้บริหาร ในรูปแบบหุ้น 11. แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและก�ำกับดูแลกิจการ ได้จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งส�ำหรับต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่มบริษัทฯ และผู้บริหารหลักที่ส�ำคัญโดยมีการหารือกับ คณะกรรมการบริษัท ส�ำหรับต�ำแหน่งพนักงานอืน่ ๆ ทัง้ หมด ฝ่ายทรัพยากรบุคคลได้ทำ� งาน ร่วมกับผูบ้ งั คับบัญชาตามสายงานในการจัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง เพื่อให้แน่ใจว่าแผนการสืบทอดต�ำแหน่งมีประสิทธิภาพฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคลจะพัฒนาบุคคลากรของบริษทั โดยจัดให้มกี ารฝึกอบรม ให้แก่พนักงานซึ่งมีขั้นตอนด�ำเนินการที่รวดเร็วและเชื่อมั่นว่าเป็น การเพิ่มศักยภาพให้แก่พนักงาน
12. การประชุมแผนกลยุทธ์ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการทุกปีเพือ่ พิจารณาอนุมตั แิ ผน กลยุทธ์ของบริษัทและแผนธุรกิจประจ�ำปี ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารระดับ สูงได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริษัทได้อย่างอิสระ เกีย่ วกับทิศทางในอนาคตของบริษทั โดยจัดให้มกี ารประชุมแผนกลยุทธ์ ปี 2558 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558 13. การพัฒนาทางวิชาชีพของกรรมการและผู้บริหาร กรรมการใหม่ท่ีได้รับการแต่งตั้งในระหว่างปีจะได้รับแฟ้มเอกสารการ ปฐมนิเทศกรรมการซึ่งมีข้อมูลครบถ้วนที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และ บริษัทย่อย ซึ่งเป็นเครื่องมือในการช่วยให้กรรมการได้ศึกษาและ ท� ำ ความคุ ้ น เคยกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท การปฎิ บั ติ ง านและขั้ น ตอน การด�ำเนินงานต่างๆ ของบริษทั ได้เป็นอย่างดี รวมถึง สิทธิ หน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบของกรรมการ ทั้งนี้มีการประชุมปฐมนิเทศกรรมการ ได้มีฝ่ายผู้บริหารเข้าร่วมประชุมชี้แจงธุรกิจของบริษัทให้แก่กรรมการ ใหม่อีกด้วย นอกจากมีการประชุมเป็นระยะๆ กับฝ่ายจัดการแล้ว กรรมการบริษัท ยังได้รบั เชิญให้เข้าร่วมการประชุมทางธุรกิจทีจ่ ดั ขึน้ ตลอดทัง้ ปีอกี ด้วย นอกจากนี้ ยังสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจ สอบ ฝ่ายบริหาร เลขานุการบริษัท และฝ่ายตรวจสอบภายใน เข้าร่วม การสัมมนา การฝึกอบรมในหลักสูตรต่างๆ ที่จะช่วยปรับปรุงและ เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการท�ำงานให้แก่บริษัทต่อไป รายละเอียดของหลักสูตรต่างๆ ที่กรรมการได้เข้าร่วมอบรม แสดงอยู่ ในประวัติของกรรมการแล้ว นโยบายของบริษัท ความซื่อตรง จริยธรรม และการเปิดเผยข้อมูลน�ำ ไปสู่การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับการดูแลกิจการที่ดี
145
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บุคลากร
ข้อมูลที่ส�ำคัญเกี่ยวกับจ�ำนวนพนักงานทั่วโลกของบริษัทฯ มีดังนี้
ในฐานะบริษทั ระดับโลก การเติบโตและพัฒนา ของธุรกิจขึ้นอยู่กับบุคลากร ซึ่งอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งในที่ท�ำงานและในการด�ำเนินธุรกิจ เรามี การพั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี การ ผสมผสานของบุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถ และเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขา พร้อมรับ ผิดชอบในบทบาทและหน้าที่ที่แตกต่างกัน ทั่วโลก อาทิ ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตและ บ� ำ รุ ง รั ก ษา นั ก ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ พนักงานในโรงงาน ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการตลาด การขาย การขนส่ง ศุลกากร ภาษีและการค้า การเงินและการบัญชี ผู้จัดการและพนักงาน ในส่วนงานอื่นๆ อีกมากมาย
1) Permanent employees
แนวทางในการบริหารบุคลากร เราเชื่อมั่นว่า บุคลากรเป็นปัจจัยที่สนับสนุน ความส�ำเร็จและสร้างความแตกต่างให้กับ องค์กร การให้ความส�ำคัญกับบุคลากรเป็น หนึ่ งในค่ า นิ ย มหลั ก ที่ เ รายึดถือ และปฏิบัติ ดังนั้นกลยุทธ์ด้านบุคลากรของเราจึงมุ่งเน้น การเพิม่ ศักยภาพบุคลากรในทุกภาคส่วนของ ธุรกิจ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลท�ำงานร่วมกับ ทีมผู้บริหารเพื่อให้เกิดความสอดคล้องของ วิสัยทัศน์และค่านิยมของไอวีแอล ซึ่งขับ เคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิ ภาพและการบริหารงานที่เป็นเลิศ วิธีการนี้ช่วยสร้างสภาพแวดล้อมของการมี ส่วนร่วมและความร่วมมือ ซึง่ ช่วยให้พนักงาน ของเราสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ เป็นอย่างดี การเตรียมและฝึกฝนบุคลากรให้ สามารถซักถามข้อสงสัย ประเมินโอกาสใน การเรียนรู้ และทบทวนความต้องการในเชิง ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ถือเป็นสิ่งส�ำคัญที่ได้รับ การสนับสนุนจากผูน้ ำ� ทีค่ อยแนะน�ำและสร้าง แรงบันดาลใจ จุดแข็งของบุคลากรของเรา พนักงานของเราทัว่ โลกมีการผสมผสานทัง้ คน รุ่นใหม่และผู้มีประสบการณ์จากพื้นฐานการ ศึกษา วัฒนธรรมและเชื้อชาติที่แตกต่างกัน ความหลากลายเหล่านี้ช่วยขยายกลุ่มคนเก่ง ในขณะเดียวกันเพิม่ วิสยั ทัศน์ระดับโลก ทักษะ ความรู้ รูปแบบการท�ำงาน และวัฒนธรรม
146
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2558
วัตถุดิบ(1) PET(2) เส้นใยและเส้นด้าย เส้นด้ายขนสัตว์ ธุรกิจที่ไม่มีการด�ำเนินงาน จ�ำนวนพนักงานประจ�ำทั้งหมด
989 3,309 7,918 485 184 12,885
หมายเหตุ: (1) รวมธุรกิจประเภท PTA และ EO/EG; (2) รวมพนักงานจากธุรกิจบรรจุภัณฑ์
2) จ�ำนวนพนักงานประจ�ำทั้งสิ้น 12,885 คน กระจายอยู่ตามทวีปต่างๆ 4 ทวีป 15.25%
24.5%
0.75%
59.50%
แอฟริกา เอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ
การสรรหา บริหารจัดการ และพัฒนา บุคลากรที่มีความสามารถ บริษัทฯ มุ่งเน้นการสร้างทีมงานที่สอดคล้อง กับความต้องการในเชิงธุรกิจและแผนการ เติบโตในอนาคต เราว่าจ้างบุคลากรที่มีความ สามารถหลากหลายทั้งจากภาคอุตสาหกรรม และภาคอื่นๆที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ เรายัง ร่วมมือกับสถาบันฝึกอบรมด้านอุตสาหกรรม วิศวกรรม และการบริหาร เพื่อให้มั่นใจว่า บุคลากรที่ว่าจ้างเข้ามาท�ำงานนั้นเป็นผู้ที่มี คุณสมบัตเิ หมาะสมกับแผนการเติบโต ในการ สร้างทีมงานของเรา เรามุง่ เน้นการตอบสนอง ความต้องการทางธุรกิจในอนาคตและวิธที เี่ รา วางแผนส�ำหรับการเจริญเติบโต ฝ่ายทรัพยากร บุคคลได้ประชาสัมพันธ์การรับสมัครพนักงาน อย่างทั่วถึง เพื่อคัดเลือกผู้สมัครที่มีความ เหมาะสมและมีความหลากหลายแตกต่าง บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทักษะ หลักที่ส่งผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่างยัง่ ยืน กลยุทธ์การบริหารจัดการบุคลากร ที่มีความสามารถมุ่งเน้นที่การวางแผนงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย การฝึกสอนและให้ ค�ำปรึกษาของผู้บริหาร และการเรียนรู้งาน เป็นทีม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการวางแผน การปรับเปลี่ยนผู้น�ำ การพัฒนาผู้น�ำรุ่นใหม่ และการสร้างบุคลากรให้มีความหลากหลาย
การฝึกอบรม การพัฒนาความสามารถ คือ หัวใจส�ำคัญของ การสร้างบุคลากรที่ไอวีแอล บริษทั ฯ ตระหนัก ถึงคุณค่าของการพัฒนาทักษะและความรู้ที่ จ�ำเป็นขององค์กร เรามองว่าการอบรมคือ กิจกรรมที่ต้องท�ำเป็นระบบ ไม่ใช่กิจกรรมที่ จัดท�ำขึ้นเพียงครั้งเดียว ดังนั้นผลลัพธ์ที่ได้ ก่อนและหลังการฝึกอบรมจึงมีความส�ำคัญ เทียบเท่ากับการฝึกอบรม เรามุ่งเน้นวิธีการ ที่ ห ลากหลายเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาทั้ ง ด้านเทคนิคและพฤติกรรม จากระดับองค์กร สู ่ ร ายบุ ค คล ทั้ ง ในรู ป แบบการฝึ ก อบรม ระหว่างปฏิบัติงานและการเรียนรู้ผ่านระบบ e-learning ก) การอบรมในระดับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
ข) การอบรมทีเ่ กีย่ วข้องกับหน้าทีก่ ารท�ำงาน แบ่งเป็นการอบรมด้านเทคนิคและการปฏิบตั งิ าน ค) การอบรมตามความต้องการหรือความเหมาะสมของบุคคล ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการฝึก อบรมด้านพฤติกรรมและทักษะการบริหาร ตัวเลขการฝึกอบรมในปี 2558 ของพนักงานไอวีแอลในทุกพื้นที่ทั่วโลก ประเภทการอบรม
พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม, สุขอนามัยและ ความปลอดภัย 1 การปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ ระบบควบคุมคุณภาพ เทคนิค รวม
จ�ำนวหลักสูตร จ�ำนวนผู้เข้าอบรม ชั่วโมงการอบรม
903 6,696
2,916 8,051
82,219 22,250
20,531 1,188 1,884 544 31,746
23,374 2,651 3,373 3,682 44,047
247,603 40,404 50,630 37,544 480,651
หมายเหตุ: 1 การอบรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยและความปลอดภัย รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคม
บทบาทของผู้บริหารในการสร้างแรงบันดาลใจให้บุคลากรและทีมงาน ไอวีแอลมุง่ มัน่ ในการด�ำเนินงานด้านบุคลากร รวมทัง้ การส่งเสริมให้ผบู้ ริหารและผูน้ ำ� เป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการผลักดันการเติบโตของบริษัทฯ เราลงทุนในการพัฒนาผู้น�ำด้วยการเปิดโอกาสใน การเรียนรู้และพัฒนาที่ช่วยให้ผู้น�ำสามารถเพิ่มขีดความสามารถพลังและศักยภาพของ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา การเป็นผูน้ ำ� ทีส่ ร้างคนเก่งไม่ได้หมายถึง การท�ำให้คนเก่งเหล่านัน้ ท�ำงานหนัก มากขึน้ แต่หมายถึงการเรียนรูท้ จี่ ะพัฒนาคนเก่งเหล่านัน้ ให้ทำ� งานอย่างมีประสิทธิภาพและตรง กับความต้องการมากขึ้น ผู้บริหารอาวุโสมีหลักการ 4 ข้อในการบริหารสู่ความเป็นเลิศ ได้แก่ การน�ำ การฝึกสอน การ ผลักดันและการสร้างแรงบันดาลใจ หลักการเหล่านี้เป็นสิ่งที่ก�ำหนดทิศทางในการเข้าถึง พนักงานและศักยภาพของพวกเขา ผู้จัดการถือเป็นแบบอย่างในการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ ทีมงาน มุง่ มัน่ สูค่ วามเป็นเลิศและส่งเสริมสภาพแวดล้อมทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ แนวคิดและผลงานที่ ดีเยี่ยม
147
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ไอวีแอลจัดเตรียมให้ผู้น�ำมีการวางแผนและ สนับสนุนพนักงานที่มีความสามารถ สร้าง กลยุทธ์และบริหารผลการด�ำเนินงานตอบแทน ให้ผทู้ มี่ ผี ลงานยอดเยีย่ ม รวมทัง้ ขับเคลือ่ นให้ เกิดความเป็นเลิศทั่วทั้งองค์กร
การวางแผนสืบทอดต�ำแหน่งงาน การทบทวนผลการท�ำงานของบุคลากรที่มี ความสามารถ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการเสริม สร้างความแข็งแกร่งและช่วยให้ผู้น�ำสามารถ ตัดสินใจได้อย่างรอบคอบในการจัดวางบุคลากร ให้เหมาะสมกับงาน ในการการทบทวนผลการ ท�ำงานเหล่านี้ ผู้น�ำมีหน้าที่ในการพัฒนาผล การท�ำงาน ศักยภาพความหลากหลายและ ความต่อเนื่องของทีม ในขณะเดียวกันสร้าง ผลตอบแทนสูงสุดจากการลงทุนในบุคลากร การจัดการนีจ้ ะช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้กับบุคลากรด้วยประสบการณ์และทักษะ ความเป็นผู้น�ำที่จ�ำเป็น เพื่อให้ไอวีแอลบรรลุ เป้าหมายทางธุรกิจและตระหนักถึงศักยภาพ ที่แท้จริง
ผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ระบบค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของเรามี ความสอดคล้องกับข้อก�ำหนดในแต่ละประเทศ ในแง่ผลประโยชน์ทางกฎหมายทางธุรกิจ และบุคลากร เรามีการออกแบบให้ผลการ ด�ำเนินงานของธุรกิจและผลปฏิบัติงานของ บุคคลมีความเชื่อมโยงกับกระบวนการจูงใจ โดยผูกเข้ากับผลตอบแทนรายบุคคล เรามี การประเมิ น ผลตอบแทนเปรี ย บเที ย บกั บ อุตสาหกรรมและพยายามรักษาให้เทียบเท่า หรือดีกว่ามาตรฐานในอุตสาหกรรม
วัฒนธรรม ไอวีแอลให้ความส�ำคัญกับวัฒนธรรมทีเ่ ปิดรับ และสร้างสรรค์ มีการน�ำความหลากหลายและ การมีส่วนร่วมมาใช้สร้างแนวความคิดใหม่ๆ และจุดประกายให้เกิดนวัตกรรมในองค์กร หน่ ว ยงานของเราแต่ ล ะแห่ ง มี ค วามเป็ น เอกลักษณ์และมีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม ความเป็นเลิศด้านการปฏิบัติ งานและนวัตกรรม ก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง วัฒนธรรมทีส่ ำ� คัญในด้านการประหยัดต้นทุน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
148
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การเรียนรู้ภาษาท้องถิ่น ถือเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับพนักงานต่างชาติ ในการปรับตัวเข้ากับ วัฒนธรรมท้องถิ่น การเรียนรู้ภาษาท้องถิ่นของพนักงานต่างชาติจึงมีการสร้างแรงจูงใจด้วย ผลตอบแทนเพิ่มเติม บริษัทฯ ตระหนักดีว่าไม่มีรูปแบบส�ำเร็จหรือวิธีการที่ตายตัวในการสร้าง แรงจูงใจ เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างที่มีบทบาทต่อการสร้างสมรรถนะความหลากหลายและ การมีสว่ นร่วมของทีมงาน องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของความส�ำเร็จมาจากทีมงาน การบริหารและ วัฒนธรรมของทีม แม้ว่าเราจะมีแนวทางปฏิบัติใหม่ๆ แต่เรายังคงรักษาสมดุล เพื่อจัดหา พืน้ ฐานผ่านกระบวนการเรียนรูแ้ ละสร้างความตระหนัก หลักการพืน้ ฐานด้านความหลากหลาย และการมีสว่ นร่วม ไม่เพียงแต่ผลักดันให้ไอวีแอลเป็นบริษทั ทีด่ ขี นึ้ แต่ยงั ช่วยสร้างสรรค์โลกให้ดี ขึ้นด้วยเช่นกัน ความหลากหลายทางเพศยังคงเป็นเกณฑ์ส�ำคัญ ดังนั้นเราจึงมีสัดส่วนของ พนักงานหญิงในบริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 26
สุขอนามัยและความปลอดภัย เราส่งเสริมและจัดสรรสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ดีต่อสุขภาพและมีความปลอดภัยแก่ พนักงาน ด้วยการมอบหลักประกันความเป็นอยู่ที่ดีต่อสุขภาพรวมถึงแผนสวัสดิการต่างๆ ส�ำหรับพนักงาน มีการประเมินความปลอดภัยและความเสี่ยง รวมทั้งการติดตามผลในทุก หน่วยงานทั่วโลก เราจัดการอบรมด้านความปลอดภัยให้แก่พนักงานโดยค�ำนึงถึงลักษณะและ ความเสี่ยงของงานแต่ละประเภท เรามีการติดตามและประเมินอัตราการบาดเจ็บจากการท�ำงานจนถึงขั้นหยุดงานเทียบกับ อุตสาหกรรมและค่าเฉลี่ยมาตรฐานในระดับสากล เราจัดให้มีการประเมินทั้งในพื้นที่ที่มีความ เสี่ยงสูง ได้แก่ ศูนย์กระจายสินค้า โรงงานผลิตและบริเวณที่มีพนักงานอยู่มาก เรามอบหมาย ให้ผู้ตรวจสอบภายในและภายนอกประเมินผลการปฏิบัติงานของสถานที่เหล่านี้ทุกๆ 1-3 ปี ขึ้นอยู่กับประวัติการปฏิบัติงานและความเสี่ยง โดยมุ่งเน้นบริเวณที่มีความเสี่ยงสูงและมี พนักงานอยู่มาก เรามีการตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และสุขอนามัย
ข้อพิพาทด้านแรงงานในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัทฯจนถึงปัจจุบัน ทางบริษัทฯไม่เคยมีข้อพิพาทแรงงานใดๆ ทั้งสิ้น
ความยั่งยืน
ปัจจัยพลิกเกมธุรกิจ 1. วิสัยทัศน์และความมุ่งมั่น ด้านความยั่งยืน 2. หลักการด้านความรับ ผิดชอบต่อสังคมและ ความยั่งยืน
อินโดรามา เวนเจอร์ส มุ่งมั่นและมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการที่จะเป็นหนึ่งในบริษัทที่ได้รับการ ชื่นชมมากที่สุดในโลก เราเชื่อมั่นว่า ความยั่งยืนเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจ เพื่อ ให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว ไอวีแอลมีมุมมองด้านการพัฒนาธุรกิจในระยะยาวและยึดมั่นใน การด�ำเนินธุรกิจด้วยเคารพและรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย เรามีการเชือ่ มโยงหลักการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและความยั่งยืนเข้ากับกลยุทธ์และระบบการบริหารจัดการของ องค์กร เพื่อให้มั่นใจว่า การด�ำเนินธุรกิจทั่วโลกของเรานั้นมีมาตรฐานสูงสุด ความรับผิดชอบต่อสังคมและความยัง่ ยืนของเรา เริม่ ต้นจากการกระท�ำทุกอย่างด้วยความเป็น เลิศ เรามุ่งมั่นที่จะได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้เสียในด้านการรักษามาตรฐานสูงสุดใน การด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต อินโดรามา เวนเจอร์ส มีการน�ำหลักการต่อไปนี้มาใช้ในการด�ำเนินธุรกิจและเป็นองค์ประกอบ หลักในทุกกิจกรรมทางธุรกิจของเราทัว่ โลก เราเชือ่ มัน่ ว่า หลักการดังกล่าวเป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญ ในการบรรลุหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองที่ดี และเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้าง การยอมรับอย่างกว้างขวางในฐานะธุรกิจทีม่ คี วามซือ่ สัตย์และยึดมัน่ ในคุณธรรม เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะ
2.1 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมาย บริษัทฯ ให้ค�ำมั่นในการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด กฎระเบียบและกฎหมายของท้องถิ่นและ ต่างประเทศ รวมทั้งให้ค�ำมั่นโดยสมัครใจในการน�ำกฎเกณฑ์และแนวทางในแต่ละประเทศ และภูมิภาคที่เรามีการด�ำเนินธุรกิจมาปฏิบัติใช้
2.2 เคารพในสิทธิมนุษยชน ไอวีแอลมุง่ มัน่ ในความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชนทัง้ ในการด�ำเนินงานของบริษทั ทุกแห่ง และ ในห่วงโซ่อุปทาน เรายึดมั่นและสนับสนุนหลักการปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และ กติกาที่เกี่ยวข้องอีกสองฉบับ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางแพ่งและสิทธิทางการเมือง และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมมาปฏิบัติใช้ในการ ด�ำเนินธุรกิจทั่วโลก
149
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เราตระหนักถึงความรับผิดชอบและให้ความ ส�ำคัญต่อสิทธิมนุษยชน ครอบคลุมในทุกบริบท มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ ไม่วา่ จะเป็นการปฏิบตั ิ ด้ า นแรงงาน แรงงานเด็ ก การปฏิ บั ติ ต ่ อ แรงงานอย่ า งเป็ น ธรรม ความเสมอภาค เท่าเทียมกัน ตามแนวทางที่เปิดเผยไว้ ใ น นโยบายสิทธิมนุษยชน สามารถอ่านเพิ่มเติม ได้ ที่ www.indoramaventures.com/ corporategovernance
2.3 สร้างความซื่อสัตย์และไว้วางใจ ส�ำหรับอินโดรามา เวนเจอร์ส การด�ำเนิน ธุรกิจด้วยความเป็นธรรมและมีจรรยาบรรณ นัน้ ถือเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญของความรับผิดชอบ ต่อสังคมที่เราจะต้องยึดถือและปฏิบัติ เรา มุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างความเชือ่ ถือไว้วางใจด้วยการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างซื่อสัตย์ โปร่งใส เคารพ และเป็นธรรม ด�ำเนินธุรกิจด้วยความยุตธิ รรม บนพืน้ ฐานของความเคารพซึง่ กันและกันตาม แนวทางที่เปิดเผยไว้ในจรรยาบรรณของเรา และตามนโยบายการปฏิบัติต่อลูกค้า มาตรฐานการแข่งขันทางธุรกิจของเรา เป็น ไปตามกฎหมายการต่อต้นการผูกขาดทาง การค้าและการแข่งขันในทุกประเทศที่เรามี การด�ำเนินธุรกิจ ในการตกลงทางธุรกิจ เรามี การปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมาและเป็นธรรม เราเชื่อมั่นและให้ความส�ำคัญต่อการเคารพ ความเป็นส่วนตัวและความลับ เรามีการน�ำ นโยบายของเราเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา มาปฏิบัติ ใช้ทั้งกับทรัพย์สินของบริษัทและ ทรัพย์สินของผู้อื่น เราพยายามอย่างเต็มที่ ในการไม่ ล ะเมิ ด ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาของ ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องในการด�ำเนินธุรกิจ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาดังกล่าว รวมถึง ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร เครื่องหมายการค้าหรือความลับทางการค้า เพื่อสนับสนุนบรรยากาศทางธุรกิจที่เปิดเผย ตรงไปตรงมาและซื่อสัตย์ บริษัทฯ มีนโยบาย การแจ้งเบาะแสทีม่ กี ารระบุกระบวนการร้องเรียน ภายในบริษัทฯ นโยบายดังกล่าวเปิดโอกาสให้ พนักงานสามารถร้องเรียนหรือรายงานในเรือ่ งที่ มีความกังวลเกีย่ วกับพฤติกรรมทีผ่ ดิ จริยธรรม หรือไม่เหมาะสม รายละเอียดของกระบวนการ ร้องเรียนสามารถอ่านเพิม่ เติมได้ในนโยบายการ แจ้งเบาะแสบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ สามารถ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ www.indoramaventures. com/corporategovernance
150
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
2.4 การรั ก ษาไว้ ซึ่ ง การมี ส� ำ นึ ก และ แวดล้อมทางธุรกิจและตลาดการจ้างงานที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รายละเอียด ความถูกต้องดีงาม ส�ำหรับอินโดรามา เวนเจอร์ส การขับเคลื่อน ธุรกิจอย่างมีคณ ุ ค่าและมีคณ ุ ธรรม ครอบคลุม การปฏิ บั ติ ต ่ อ กั น ทั้ ง ภายในและภายนอก องค์กร เรามุง่ มัน่ ในการรักษามาตรฐานสูงสุด ในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ เป็น ธรรมและโปร่ ง ใสตามแนวทางที่ เ ปิ ด เผย ไว้ในจรรยาบรรณของเรา สามารถอ่านเพิม่ เติม ได้ ที่ www.indoramaventures.com/ corporategovernance บริษัทฯ มีความชัดเจนในเรื่องการห้ามการ ติ ด สิ น บนหรื อ การเข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ การ ติดสินบน ในรูปแบบใดก็ตามทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ในการตกลงทางธุรกิจในทุกแห่งทั่ว โลก เรามีการจัดท�ำนโยบายต่อต้านการทุจริต และน�ำไปปฏิบตั ิใช้ทวั่ ทัง้ องค์กร ขณะเดียวกัน ยังจัดให้มีระบบและขั้นตอนส�ำหรับการฝึก อบรมเป็นระยะ เพื่อสร้างความเข้าใจและ ติดตามผลการน�ำไปปฏิบัติใช้ รายละเอียดในค�ำมั่นของเราในการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างถูกต้องตามกฎหมาย มีจริยธรรม และเป็นธรรม สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก เว็บไซต์ของเรา สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ www.indoramaventures.com/ corporategovernance
2.5. ส่งเสริมการจ้างงานและวิธีปฏิบัติ ต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม อินโดรามา เวนเจอร์สมุ่งมั่นในการปฏิบัติ ต่อบุคลากรอย่างเป็นธรรมด้วยความเคารพ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของเรา มีการระบุถึงหลักการดังกล่าว ได้แก่ การสรรหาและคัดเลือกพนักงานอย่างเป็น ธรรม การส่งเสริมสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่มี การปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรม เพื่อ ให้ได้รับโอกาสและความเท่าเทียมกัน การเปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานทุ ก คนมี โ อกาส ในการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างเป็นธรรม ตามความสามารถและความจ�ำเป็นในการ พัฒนาเพื่อให้เติบโตอย่างมีศักยภาพ การให้ ร างวั ล ตอบแทนอย่ างยุ ติ ธ รรมตาม ความสามารถ ผลงาน และประสบการณ์ การสนับสนุนและรักษาสภาพแวดล้อมการ ท�ำงานที่มีสุขอนามัยและปลอดภัย บริ ษั ท ฯมี การทบทวนนโยบายการบริ ห าร ทรัพยากรบุคคลเป็นประจ�ำตามความเหมาะสม เพือ่ ให้มคี วามทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพ
เกี่ยวกับนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สามารถอ่านเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ของเรา www. indoramaventures.com/corporategovernance
2.6 ส่งมอบคุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า ของเรา เราให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การให้ บ ริ การลู ก ค้ า ในทุกระดับและก�ำหนดให้ความพึงพอใจของ ลูกค้าเป็นหนึ่งในเป้าหมายหลัก ดังสะท้อน ให้เห็นในพันธกิจของเรา เรามุ่งเน้นการสร้าง ความประทับใจและความภักดี เพื่อรักษา สัมพันธภาพที่ยั่งยืนในระยะยาว บริษทั ฯมุง่ มัน่ ในการด�ำเนินงานอย่างเป็นธรรม โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติและให้บริการลูกค้า อย่างมืออาชีพและซื่อสัตย์สุจริต บริษัทฯ มุ่งเน้นการท�ำความเข้าใจความต้องการของ ลูกค้าและบริบทของธุรกิจที่แตกต่างกัน เรา ส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่สอดคล้องกับ ความต้องการของลูกค้าทั้งในปัจจุบันและ ความต้องการระยะยาวในอนาคต รวมทั้ง เป็นพันธมิตรทางธุรกิจที่ดีที่สุดส�ำหรับลูกค้า ของเรา ไอวีแอลเคารพในสิทธิส่วนบุคคลของลูกค้า และเก็บรักษาข้อมูลของลูกค้าให้ถูกต้องและ เป็นความลับ โดยที่จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูล ใดๆแก่ ผู ้ อื่ น เรามี การจั ด ท� ำ นโยบายการ ปฏิบัติต่อลูกค้า เพื่อชี้แจงถึงวิธีปฏิบัติต่อ ลูกค้าและการจัดการข้อมูลของลูกค้าอย่าง เหมาะสม ไอวีแอลมุ่งเน้นการสื่อสารที่เปิดเผย ตรงไป ตรงมาและซื่ อ สั ต ย์ เราน� ำ เสนอข้ อ มู ล ที่ ถูกต้อง เพียงพอและเป็นประโยชน์ต่อลูกค้า เพื่อให้ลูกค้ารับทราบถึงการพัฒนาใหม่ๆ ใน การสื่อสารกับลูกค้า เรามุ่งเน้นการให้ข้อมูล ตามความเป็นจริง ไม่บิดเบือนหรือเกินความ เป็นจริง เรามุง่ มัน่ ในการพัฒนาและน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูง เรามีการ ปรับปรุง พัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่ามีความทันสมัย และสอดคล้ อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ รวมถึ ง ข้ อ ก�ำหนดใหม่ๆในอุตสาหกรรม รายละเอียดใน เรื่องการรับรองจากหน่วยงานภายนอกและ มาตรฐานคุ ณภาพ สามารถอ่ านเพิ่ ม เติม ได้ ที่ www.indoramaventures.com/ businessoperations
2.7 ปกป้องสิ่งแวดล้อม บริษัทฯให้ความส�ำคัญกับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและมีการด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงการ ปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมในทุกพื้นที่ที่เรามีการด�ำเนินธุรกิจ นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของ เรามีการแสดงถึงความรับผิดชอบและค�ำมั่นเกี่ยวกับการบริหารจัดการและลดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมทางธุรกิจ การด�ำเนินงานและพนักงานของเรา เรามุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องในการปรับปรุงผลการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและบริหารจัดการให้ สอดคล้องกับกฎระเบียบและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง เรามีการน�ำระบบบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการด้านพลังงานมาใช้ตามมาตรฐาน ISO 14001 และ ISO 50001 ตามล�ำดับ และมีการวัดผลการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและการบริหาร จัดการด้านพลังงานผ่านการประเมินตัวชี้วัดที่ส�ำคัญ รายละเอียดของผลการด�ำเนินงานด้าน สิง่ แวดล้อม และการบริหารจัดการด้านพลังงาน สามารถอ่านเพิม่ เติมได้ในรายงานความยัง่ ยืน ประจ�ำปี 2558 ที่ www.indoramaventures.com/sustainability
2.8 การมีส่วนร่วมในชุมชนท้องถิ่น เราไม่ได้เป็นเพียงองค์กรธุรกิจแต่เรายังมีบทบาทในฐานะหนึ่งในสมาชิกของชุมชนท้องถิ่น ที่เรามีการด�ำเนินธุรกิจ การด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของเราจึงมุ่งเน้นการ ด�ำเนินงานภายนอกองค์กรที่มุ่งเน้นการตอบสนองต่อความต้องการในสังคมและอยู่บนพื้นฐาน ของการบริหารจัดการความเสีย่ งและชือ่ เสียงขององค์กร เรามุง่ มัน่ ในการสนับสนุนโครงการและ กิจกรรมต่างๆในชุมชนท้องถิ่น เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสร้างมูลค่า ให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
3. จากหลักการสู่การปฏิบัติ
3.1 การก�ำกับดูแลด้านความยั่งยืน และการบริหารความเสี่ยง เพื่อดูแลการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามหลักการข้างต้นและขับเคลื่อนความยั่งยืนภายในองค์กร บริษัทฯ มีการปรับโครงสร้างการบริหารงานของคณะกรรมการบริหารด้านความยั่งยืนและ ความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการชี้แนะและบริหารการด�ำเนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมและความยัง่ ยืนของบริษทั ฯ โครงสร้างทีป่ รับเปลีย่ นนัน้ มีความเกีย่ วข้องกับ การท�ำงานในหลายระดับภายในองค์กร รวมทั้งคณะกรรมการ ผู้น�ำข้ามสายงานในระดับ กรรมการ ผู้น�ำระดับสูงและผู้บริหารภายในองค์กร การบริ ห ารและก� ำ กั บ ดู แ ลด้ า นความยั่ ง ยื น ขั บ เคลื่ อ นจากระดั บ บนสุ ด ของบริ ษั ท ฯโดย คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ร วมประเด็ น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คมและการดู แ ลกิ จ การเข้ า ไป เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงและจัดตั้งคณะกรรมการบริหารด้าน ความยั่งยืนและความเสี่ยง (Sustainability and Risk Management Committee) เป็น คณะกรรมการก�ำกับดูแลสูงสุด คณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง มีนายอาลก โลเฮีย ซึ่งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และรองประธานกรรมการ
บริษทั ฯ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการ และมีสมาชิกท่านอื่นๆ ได้แก่ นายระเฑียร ศรีมงคล กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ บริษทั ฯ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายมาริษ สมารัมภ์ กรรมการอิสระ และ สมาชิกกรรมการตรวจสอบ นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา กรรมการอิสระ นายดีลิป กุมาร์ อาการ์วาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม ธุรกิจ PET และ Feedstock และนายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล ประธานกลุม่ ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ก� ำ กั บ ดู แ ลและ สนับสนุนคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้บรรลุ ตามหน้าที่ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง และการพั ฒ นาองค์ กรอย่ า งยั่ ง ยื น อย่ า งมี ประสิทธิภาพ รายละเอียดเกีย่ วกับกฎบัตรของ คณะกรรมการบริหารด้ า นความยั่ ง ยื น และ ความเสี่ยงสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.indoramaventures.com/ corporategovernance คณะกรรมการก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (SSC) เป็นคณะกรรมการย่อยของ SRMC ประกอบด้วยผูบ้ ริหารในสายงานหลักทีเ่ กีย่ วข้อง ท�ำหน้าที่ดูแลและชี้แนะการน�ำกลยุทธ์ด้าน ความยั่งยืนไปปฏิบัติในระดับโรงงาน พร้อม ด้วยผู้น�ำอาวุโสจากธุรกิจหลัก 3 ส่วน โดยมี การระบุหน้าทีค่ วามรับผิดชอบให้แก่ผนู้ ำ� อาวุโส เพื่อปรับปรุงการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืน อย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และสังคมทั่วโลก หน้าที่และความรับผิดชอบ ของ คณะกรรมการก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน (SSC) โครงสร้างการท�ำงานด้านความยั่งยืน และการบริหารความเสี่ยง โครงสร้างและกรอบการท�ำงานทีช่ ดั เจนส�ำหรับ การก� ำ กั บ ดู แ ลด้ า นความยั่ ง ยื น ช่ ว ยให้ เ รา บริหารจัดการงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ยังช่วยให้มั่นใจได้ว่าความรับผิดชอบมีการ ด�ำเนินไปอย่างเหมาะสม จากผู้บริหารระดับ สูงไปสู่ทุกหน่วยงานของบริษัทฯ โครงสร้างและขอบเขตการท�ำงานที่ชัดเจน ในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานด้านความ ยั่งยืน จะช่วยให้บริษัทฯ สามารถบริหาร จัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและมั่นใจได้ ว่า มีการมอบหมายความรับผิดชอบไปจน ถึงระดับบนสุดและข้ามสายงานหลักที่ส�ำคัญ ของบริษัทฯ
151
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การบริหารจัดการความเสี่ยง ไอวีแอลมีกรอบการท�ำงานการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วย แนวทางการบริหารความเสีย่ งแบบบนลงล่างและล่างขึน้ บน ซึง่ ช่วยให้ ระบบที่มีประสิทธิภาพและกลไกการท�ำงานสามารถระบุและจัดการ ความเสี่ยงทางธุรกิจได้ในทุกระดับ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้สร้าง ความตระหนักให้มีการน�ำการบริหารความเสี่ยงเข้าไปเป็นส่วนหนึ่ง ในกลยุทธ์ทางธุรกิจระยะยาว วัฒนธรรมองค์กร และการท�ำงานในทุกๆ วัน ผ่านการท�ำงานของคณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหาร ความเสี่ยง และคณะกรรมการอื่นๆ ในระดับธุรกิจและโรงงาน กฎบัตร คณะกรรมการด้ า นความยั่ ง ยื น และการบริ ห ารความเสี่ ย งเน้ น ย�้ ำ การพัฒนาและสร้างวัฒนธรรมให้มีการตระหนักถึงความเสี่ยงทั่วทั้ง องค์กร คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้คณะกรรมการด้าน
ความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยงรับผิดชอบในการประเมินความ เสีย่ งในภาพรวม และรายงานผลกระทบทีม่ นี ยั ส�ำคัญต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจในกระบวนการ ขั้นตอน และนโยบายที่เข้มแข็ง ไม่มธี รุ กิจใดที่ไม่มคี วามเสีย่ ง การท�ำธุรกิจล้วนเกีย่ วข้องกับการยอมรับ ความเสี่ยงทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม ไอวีแอลมีความมุ่งมั่นในการลด ความเสี่ยงจากการประเมินความเสี่ยงอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานของ ความเป็นไปได้ ความรุนแรง และผลกระทบต่อองค์กร ผ่านการท�ำงาน ของสมาชิ ก คณะกรรมการจากหลากหลายสาขาและโครงสร้ า ง การบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ การบริหารความเสี่ยงเป็นองค์ ประกอบส� ำ คั ญ ของการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและการพั ฒ นากลยุ ท ธ์ ขององค์กร โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ แสดง ตามแผนภาพด้านล่าง
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง วัตถุดิบ
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธุรกิจ PET / บรรจุภัณฑ์
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธุรกิจเส้นใย เส้นด้ายและขนสัตว์
คณะอนุกรรมการระดับธุรกิจ และโรงงาน
คณะอนุกรรมการระดับธุรกิจ และโรงงาน
คณะอนุกรรมการระดับธุรกิจ และโรงงาน
3.2 กระบวนการจัดท�ำรายงานด้านความยั่งยืน บริษัทฯ มีการจัดท�ำรายงานความยั่งยืนเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อแสดง ความโปร่งใส ความมุง่ มัน่ ในการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน ตลอดจน เสริมสร้างการเชื่อมโยงกับผู้มีส่วนได้เสีย โดยน�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ แนวทางการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืน วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และผล การด�ำเนินงาน ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯตัง้ เป้าหมายการรายงานการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืนให้ ครอบคลุมโรงงานทุกแห่งทีอ่ ยูภ่ ายในกลุม่ ไอวีแอล ทัง้ โรงงานทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผู้ถือหุ้นเองทั้งหมดและโรงงานร่วมทุนที่บริษัทฯเป็นผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ทั่วโลก บริษัทฯเปิดเผยข้อมูลในรอบการด�ำเนินงาน 12 เดือนในปี 2558 โดย ใช้แนวทางการรายงานความยั่งยืนของ Global Reporting Initiatives Generation 4 (GRI G4) เรามีการจัดท�ำรายงานความยั่งยืนเป็น ประจ�ำทุกปีและมีการเผยแพร่ข้อมูลที่เว็บไซต์ของบริษัทฯ www. indoramaventures.com/sustainability บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับ ความถูกต้องของข้อมูลและความโปร่งใสในการรายงาน ข้อมูลและ เนื้อหาในรายงานของเราได้รับการสอบทานและรับรองโดยหน่วยงาน
152
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธุรกิจองค์กร
ภายนอก โดยมีการคัดเลือกตัวบ่งชีก้ ารด�ำเนินงานส�ำหรับตรวจประเมิน บนพื้นฐานของประเด็นและความส�ำคัญต่อผลการด�ำเนินงานด้าน ความยั่งยืนของธุรกิจ รวมทั้งประเด็นความเสี่ยงหลักที่มีการระบุ ภายในบริษัทฯ
การประเมินประเด็นที่มีนัยส�ำคัญ บริษทั ฯให้ความส�ำคัญต่อความคิดเห็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ภายในและ ภายนอก การท�ำความเข้าใจในความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียและ ด�ำเนินการในประเด็นทีม่ นี ยั ส�ำคัญจะท�ำให้เราสามารถสร้างค่านิยมร่วม ดังนั้นบริษัทฯจึงให้ความส�ำคัญกับการประเมินประเด็นที่มีนัยส�ำคัญ ที่ จั ด ขึ้ น ในทุ ก ปี เพื่ อ ประเมิ น ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความยั่ ง ยื น และระบุกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และสังคม ในปี 2558 บริษัทฯ ได้มีการขยายขอบเขตการประเมินประเด็นที่มีนัย ส�ำคัญ โดยเพิ่มผู้มีส่วนได้เสียภายนอกเป็นครั้งแรกและเพิ่มจ�ำนวน ผูร้ ว่ มประเมินในระดับผูบ้ ริหารอาวุโส ประกอบด้วยกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายนอก และผู้มีส่วนได้เสียภายใน
จากกระบวนการประเมินประเด็นที่มีนัยส�ำคัญที่จัดท�ำขึ้นในปี 2557 เราเริ่มต้นกระบวนการ ดังกล่าวด้วยการระดมข้อมูลจากตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม เพื่อระบุและจัดล�ำดับความ ส�ำคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน โดยกระบวนการดังกล่าว ประกอบด้วย (1) การประชุมและอภิปรายภายใน คณะกรรมการก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SSC) จัดให้มีการประชุมและอภิปราย ภายใน เพื่อทบทวนประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืนที่เราควรน�ำเสนอต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภายในและภายนอกเพื่อประเมินประเด็นที่มีนัยส�ำคัญ ซึ่งประเด็นเหล่านี้จ�ำนวนทั้งสิ้น 26 หัวข้อ ได้ถูกคัดเลือกออกมา โดยพิจารณาจากผลกระทบต่อไอวีแอล แนวโน้มใน ระดับโลก ประเด็นด้านข้อก�ำหนดและกฎหมาย ตลอดจนการเปรียบเทียบกับบริษัทอื่น ในอุตสาหกรรมเดียวกัน (2) การมีส่วนร่วมกับผู้บริหาร ประเด็นด้านความยัง่ ยืนทีเ่ ลือกมานัน้ ได้รบั การน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารด้านความ ยั่งยืนและความเสี่ยง และตัวแทนจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ข้อมูล ที่ได้จากกระบวนการนี้จะถูกรวมเข้าไปในประเด็นด้านความยั่งยืนในขั้นสุดท้าย (3) การประชุมทางไกลผ่านระบบออนไลน์ ก่อนที่จะมีการส่งแบบส�ำรวจ บริษัทฯจัดให้มกี ารประชุมทางไกลผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้ ผู้มีส่วนได้เสียภายในทุกฝ่ายเข้าใจตรงกันถึงความส�ำคัญของการประเมินประเด็นที่มีนัย ส�ำคัญและวิธีการส�ำรวจ
(4) การส�ำรวจประเด็นที่มีนัยส�ำคัญ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน บริษัทฯมีการปรับแบบส�ำรวจที่ใช้ในการ ประเมินประเด็นที่มีนัยส�ำคัญให้มีความ กระชับและชัดเจนมากยิ่งขึ้น แบบส�ำรวจ ถูกส่งไปยังผู้มีส่วนได้เสียภายในทั่วโลก ตั้ ง แต่ หั ว หน้ า โรงงาน หั ว หน้ า ธุ ร กิ จ และหัวหน้าสายงานในระดับองค์กร โดย รวบรวมข้อมูลจากโรงงานทั่วโลก ซึ่งเป็น ตัวแทนจากธุรกิจ จาก 19 ประเทศทัว่ โลก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก บริษทั ฯมีการส�ำรวจผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก ผ่านการพูดคุยทางโทรศัพท์ โดยบุคคล ที่ ส าม โดยครอบคลุ ม ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย กลุ่มส�ำคัญ ข้อมูลที่รวบรวมได้ จะถูกน�ำมาพิจารณา อีกครั้งโดยคณะกรรมการก�ำกับดูแลการ พัฒนาอย่างยั่งยืน และมีการน�ำเสนอใน รูปแบบแผนภาพตามล�ำดับความส�ำคัญ ต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย และผลกระทบต่ อ ไอวีแอล ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางตาม กรอบการรายงาน GRI G4 ตามแผนภาพ ด้านล่างนี้
สิทธิมนุษยชน
สูง
ความรับผิดชอบต่อสังคม
การดูแลผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นวัตกรรม การบริหารจัดการความเสี่ยงและภาวะวิกฤติ จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ การปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านสิ่งแวดล้อม ความเชื่อมั่นของอุปกรณ์การผลิต การปฏิบัติตามข้อก�ำหนด
การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ความล้าสมัยของเทคโนโลยีและสินค้า
ความส�ำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า การก�ำกับดูแลกิจการ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการของเสีย การบริหารจัดการน�้ำเสีย
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
วัตถุดิบ การบริหารจัดการการใช้พลังงาน
การบริหารจัดการน�้ำ ความเป็นพิษของสินค้า ความหลากหลายทางชีวภาพ
การดัดแปลงพันธุกรรม
ต�่ำ
สูง ผลกระทบต่อองค์กร
153
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเด็นส�ำคัญและการด�ำเนินงาน จากการประเมินดังกล่าว พบว่า ประเด็นที่มีนัยส�ำคัญล�ำดับต้นทั้งในด้านเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม และสังคม ต่อผู้มีส่วนได้เสีย และเป็นประเด็นที่ไอวีแอลมองว่ามีความส�ำคัญต่อบริษัทฯ มีดังต่อไปนี้ 1. การก�ำกับดูแลกิจการและการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด 2. การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า 3. การบริหารจัดการนวัตกรรม 4. ประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน 5. การปฏิบัติตามข้อก�ำหนดสิ่งแวดล้อม 6. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 7. ทรัพยากรมนุษย์ 8. การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัทฯ มีการรายงานการบริหารจัดการ และผลการด�ำเนินงานตามหัวข้อประเด็นที่มีนัย ส�ำคัญในรายงานความยั่งยืน ประจ�ำปี 2558 และทางเว็บไซต์ www.indoramaventures.com/ sustainability นอกจากนี้เรายังมีการรายงานประเด็นอื่นๆ ภายใต้หัวข้อต่างๆ ในรายงานความยั่งยืนด้วย เช่นกัน
3.3 หลักการก�ำหนดและวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย การเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสีย คือการค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียในการตัดสินใจทีส่ ง่ ผลหรือเป็นทีส่ นใจ ต่อกลุม่ คนดังกล่าว การเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสียของเรา ช่วยให้เราเข้าใจและสามารถตอบสนอง ต่อความกังวลและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียของเรา บริษทั ฯ มีการโครงสร้างการบริหารและเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสียแบบการกระจายอ�ำนาจความรับ ผิดชอบ หน่วยงานแต่ละแห่งมีหน้าที่ระบุประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องมีความสนใจหรือ เป็นกังวลและด�ำเนินการตามความเหมาะสม โดยมีส่วนกลาง ได้แก่ คณะกรรมการก�ำกับดูแล การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เป็นผูด้ แู ลการเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสียโดยรวมและในบางครัง้ อาจมีการน�ำ เสนอช่องว่างที่อาจเกิดขึ้นให้แก่คณะกรรมการด้านความยั่งยืน เพื่อหารือและแก้ไขต่อไป บริษทั ฯ มีการระบุผมู้ สี ว่ นได้เสียผ่านกระบวนการระดมความคิดเพือ่ รวบรวมรายชือ่ ของกลุม่ คน ที่ได้รบั ประโยชน์หรือผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมจากกิจกรรมหรือการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯจากนั้นระบุประเด็นความคาดหวัง ความสนใจ ผลประโยชน์และความกังวลของ กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียเหล่านัน้ เพือ่ ท�ำความเข้าใจผูม้ สี ว่ นได้เสีย และจัดล�ำดับความส�ำคัญรวมทัง้ ก�ำหนดแนวทางการเชื่อมโยงกับผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม
คุณสุจิตรา โลเฮีย กรรมการ และประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลการ ด�ำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ตัวแทนบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส (ขวาสุด) ในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงระหว่างบริษัทฯ ร่วมกับ มูลนิธิสร้างรอยยิ้ม
154
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
คุณจิม ยาโบร รองประธานกรรมการมูลนิธิสร้างรอยยิ้ม ประเทศไทย เข้าพบคุณสุจิตรา โลเฮีย เพื่อแสดงความ ขอบคุณที่บริษัทฯ ให้การสนับสนุนโครงการ Bright Smiles & Happy Hearts Campaign ที่ส�ำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ
การสือ่ สารและรับฟังผูม้ สี ว่ นได้เสียช่วยให้เรา สามารถจัดล�ำดับประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยพัฒนากลยุทธ์การด�ำเนินงานด้าน ความยั่งยืนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้เรา มองว่าการเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสียเป็นแนวทาง หนึง่ ในการขับเคลือ่ นนวัตกรรม ลดความเสีย่ ง และสร้างความไว้วางใจ เราได้ปรับกระบวนการเชือ่ มโยงผูม้ สี ว่ นได้เสีย ให้มีความเหมาะสมในแต่ละกลุ่ม โดยใช้ช่อง ทางและวิธีการสื่อสารที่แตกต่างกันออกไป เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ เชื่ อ มโยงผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ งใน อนาคต
3.4 การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ มีการระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียว่า เป็น บุคคล กลุม่ บุคคลหรือองค์กรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ และ/หรืออาจได้รับผลกระทบจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ บริการและผลการด�ำเนินงานของ บริษัท การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้เสียช่วยให้เราเข้าใจ และสามารถตอบสนองต่อความกังวลและ ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย โดยกลุ่มผู้ มีสว่ นได้เสียของเรา ได้แก่ นักลงทุน ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า ผู้จัดจ�ำหน่าย พันธมิตรทางธุรกิจ หน่วยงานในท้องถิ่น พนักงาน สื่อและชุมชน ท้องถิน่ ทีเ่ รามีการด�ำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ มีชอ่ ง ทางในการเชื่อมโยงเพื่อรับฟังและตอบสนอง ต่อกล่มุ ผูม้ สี ว่ นได้เสียเหล่านี้ในหลายรูปแบบ โดยมีเจ้าของส่วนงานท�ำหน้าที่รับผิดชอบใน การเชื่อมโยงและบริหารความสัมพันธ์กับผู้มี ส่วนได้เสีย อาทิ หน่วยงานขายและการตลาด นักลงทุนสัมพันธ์ หน่วยงานจัดซือ้ ทรัพยากร มนุษย์ และหน่วยงานกิจการองค์กร ตารางในหน้าถัดไปแสดงให้เห็นถึงการเชื่อม โยงผู้มีส่วนได้เสีย วิธีการหลักที่ใช้ ประเด็นที่ ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสนใจ และการตอบ สนองของบริษัทฯ ต่อประเด็นเหล่านี้
การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้ถือหุ้น/นักลงทุน/ นักวิเคราะห์
วิธีการเชื่อมโยง
การประชุมและการพบปะ กลุ่มเป้าหมาย การส�ำรวจและแบบสอบถาม การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี กิจกรรมบริษัทจดทะเบียนพบ ผู้ลงทุน การสรุปข้อมูลเชิงกลยุทธ์และ ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับตลาด รายงานและเอกสารเผยแพร่ ข่าวประชาสัมพันธ์และประกาศ ตลาดหลักทรัพย์ การสัมมนาและประชุม การสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ และสังคมออนไลน์ การเยี่ยมชมบริษัทและโรงงาน การตอบข้อซักถาม
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
ผลการด�ำเนินงานของ รายงานและการเผยแพร่ข้อมูลทางการเงิน บริษัทฯ และการปรับตัว บริษทั ฯ มีการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับผลประกอบ ของราคาหุ้น การและแสดงงบการเงินในทุกไตรมาส มีการแสดงปฏิทินการประกาศผลประกอบการ อยู่ในหน้าเว็บไซต์ของบริษัทฯ รวมถึงมีการน�ำ เสนอผลประกอบการรายไตรมาสย้อนหลังในรูป แบบไฟล์ pdf เพื่อให้มั่นใจว่าผู้มีส่วนได้เสียได้ รับข้อมูลที่ตรงเวลา บริษัทฯ ยังจัดให้มีระบบ แจ้งข้อมูลทางอีเมล์ส�ำหรับผู้ที่ลงทะเบียนผ่าน หน้าเว็บไซต์เพื่อรับข่าวสาร กิจกรรมบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน เป็นการจัดกิจกรรมที่จัดเป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพื่อพบปะนักลงทุนและรายงานเกี่ยวกับผล ประกอบการ รวมทั้งเปิดโอกาสให้นักลงทุนมี โอกาสพูดคุยและซักถามผู้บริหารโดยตรง โดยผูม้ สี ว่ นได้เสียสามารถดาวน์โหลดเอกสารน�ำ เสนอและรับชมการประชุมผ่านทางอินเตอร์เน็ต การประชุมทางไกลผ่านทางโทรศัพท์ การตอบ ข้อซักถามทางโทรศัพท์ การประชุมและการ พบปะกลุ่มเป้าหมาย บริษัทฯ มีการติดต่อนักลงทุนและนักวิเคราะห์ ผ่านหลากหลายช่องทาง อาทิ โทรศัพท์ การ ประชุมพบปะและการพูดคุย เพื่อตอบข้อซัก ถาม รวมทัง้ ให้ขอ้ มูลสรุปเชิงกลยุทธ์และข้อมูล ล่าสุดเกี่ยวกับตลาด ผู้ถือหุ้นสามารถสอบถามข้อมูลต่างๆ ผ่าน โทรศัพท์สายตรง อีเมล์ (ir@indorama.net) หรือติดต่อโดยตรงมายังบริษทั ฯ ซึง่ จะถูกส่งต่อ ไปยังแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ เลขานุการบริษัท หรือฝ่ายบริหารตามความเหมาะสม การสื่อสารผ่านระบบออนไลน์และสังคม ออนไลน์ บริษทั ฯ มีการเปิดเผยข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ และสังคมออนไลน์ โดยยึดหลักความเท่าเทียม กัน นักลงทุนจะได้รับข้อมูลส�ำคัญ รวมถึง สามารถดูเอกสารน�ำเสนอย้อนหลัง รายงาน ประจ�ำปี ข้อมูลทางการเงินและการประชุม ผ่านเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อเพื่อ ขอข้อมูลผ่านแบบฟอร์มขอรับข้อมูลทางหน้า เว็บไซต์ของบริษัทฯ
155
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
กลยุทธ์ระยะยาว
156
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
นอกจากนี้เรายังเพิ่มช่องทางในการติดต่อผ่าน ทางสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เช่ น Twitter และ Facebook เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารล่าสุด กิจกรรมส�ำคัญและข้อมูลอื่นๆ การแจ้งเตือนผ่านทางอีเมล์ บริษัทฯ จัดท�ำระบบแจ้งเตือนทางอีเมล์ เพื่อให้ นั ก ลงทุ น สามารถติ ด ตามข้ อ มู ล ทางการเงิ น ตารางการประชุมทางไกลหรือกิจกรรมส�ำคัญ อื่นๆ รวมทั้งแจ้งเตือนเมื่อมีข้อมูลใหม่อัพเดท ในหน้าเว็บไซต์ บริษัทฯ จะไม่มีการเผยแพร่ข้อมูลของผู้ที่ลง ทะเบียนเพือ่ รับข่าวสารทางอีเมล์ไปยังบุคคลอืน่ ภายนอก การประชุม Capital Markets Day และการ ประชุมกลางปี บริษทั ฯ มีการจัดงานประชุมส�ำหรับนักวิเคราะห์ และนักลงทุนเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้ข้อมูลเชิง ลึกเกี่ยวกับกลยุทธ์ของบริษัท รวมทั้งข้อมูล ทางการตลาดและกลุ่มธุรกิจ ในปี 2558 บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมนักลงทุน กลางปีขนึ้ เป็นครัง้ แรก เพือ่ น�ำเสนอข้อมูลล่าสุด ให้แก่นักวิเคราะห์และนักลงทุนเกี่ยวกับผลการ ด�ำเนินงานและการคาดการณ์ในอนาคต เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูล อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม บริษัทฯ มีการน�ำ เสนอข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งรวมถึงแสดง เอกสารน�ำเสนอของผู้บริหารผ่านทางอินเตอร์ เน็ต การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เป็นการจัดประชุมผู้ถือหุ้นที่บริษัทฯ จัดเป็น ประจ�ำทุกปี ซึ่งจะมีการน�ำเสนอตัวเลขทางการ เงิน การด�ำเนินงานและเป้าหมายในระยะยาว รวมทั้งวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การประชุมนีเ้ ปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้พบปะคณะ กรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง เพื่อซัก ถามและแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อมูลที่ใช้ในการประชุมจะถูกส่งไปยังผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนประชุม 21 วัน (แต่ไม่น้อยกว่า 7 วัน) เพื่อให้มีเวลาเพียงพอในการศึกษาและ ท�ำความเข้าใจก่อนการประชุม
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การประชุมนักลงทุนและการอภิปราย แผนกนักลงทุนสัมพันธ์มกี ารเข้าร่วมการประชุม นักลงทุนรายใหญ่ทั่วโลก ซึ่งเป็นโอกาสส�ำหรับ ผู้บริหารในการพูดคุยและสื่อสารกับนักลงทุน โดยตรง เกี่ยวกับการพัฒนาล่าสุดและกลยุทธ์ ระยะยาวของบริษัทฯ ในปี 2558 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมการประชุมดัง กล่าวทั้งหมด 4 ครั้ง ผลตอบแทนทางการเงิน การเยี่ยมชมบริษัทและโรงงาน บริษัทฯ จัดให้มีการเยี่ยมชมโรงงานเป็นประจ�ำ ปีละ 2 ครัง้ ส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ ทัว่ ไป เพือ่ สร้างความ เข้าใจในธุรกิจและให้เกิดความมัน่ ใจและไว้วางใจ ในบริษทั และทีมผูบ้ ริหาร นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยัง จัดให้มีการเยี่ยมชมบริษัทเป็นครั้งคราวตาม สมควร การก�ำกับดูแลกิจการและ เว็บไซต์นักลงทุนสัมพันธ์ ความโปร่งใส เว็บไซต์นักลงทุนสัมพันธ์ถือเป็นช่องทางส�ำคัญ ในการสื่อสารเกี่ยวกับบริษัทฯ และเพิ่มความ โปร่งใส นักลงทุนสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ เช่น รายงานทางการเงิน ปฏิทินกิจกรรม ข่าวสาร เอกสารน�ำเสนอ ราคาหุน้ วีดโิ อและการเผยแพร่ วีดิโอผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เป็นต้น นโยบายนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัทฯ มีการจัดท�ำนโยบายนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อชี้แจงหลักการและแนวปฏิบัติที่ซื่อสัตย์และ โปร่งใสต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน การด�ำเนินงานด้าน รายงานความยั่งยืน ความยั่งยืน บริษทั ฯ มีการรายงานการด�ำเนินงานด้านความ ยั่งยืนตามกรอบของ GRI G4 เรามีการเปิดเผยการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน และข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและการก�ำกับ ดูแลกิจการที่มีการเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดทางการ เงิน ความเสี่ยงและโอกาสที่มีนัยส�ำคัญต่อการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อเป็นข้อมูลแก่นัก ลงทุนในการตัดสินใจในการลงทุน
157
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ลูกค้า
158
วิธีการเชื่อมโยง
การบริหารลูกค้าสัมพันธ์อย่าง ต่อเนื่อง การเยี่ยมชมบริษัทและโรงงาน การประชุม การจัดอบรม ปฏิบัติการ และกิจกรรมพิเศษ แบบส�ำรวจความพึงพอใจลูกค้า
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การเข้าถึงผลิตภัณฑ์ และบริการ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การขยายตัวทางภูมิศาสตร์ บริษัทฯ มีการขยายธุรกิจทั่วโลกและเพิ่มการ ผลิตเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า และเสริมสร้างความเป็นผู้น�ำในตลาดหลัก เรามุ่งเน้นการขยายธุรกิจไปยังภูมิภาคที่ลูกค้า ของเราด�ำเนินธุรกิจอยู่ รวมทั้งตลาดเกิดใหม่ที่ เรามองเห็นการเติบโตของสังคมเมือง กลยุทธ์ การบูรณาการไปยังวัตถุดิบต้นน�้ำและการสร้าง ความหลากหลายในกลุม่ ผลิตภัณฑ์ โดยการเพิม่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม ช่วยสร้างการ เติบโตในระยะยาว ความยั่งยืนของก�ำไรและ ช่วยรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้าให้ใกล้ชิดมาก ยิ่งขึ้น ในปี 2558 เรามีการขยายตัวไปยังตลาดใหม่ๆ เช่น ในประเทศไนจีเรีย เมียนมาร์และอินเดีย เป็นต้น ผลกระทบจากการด�ำเนิน การร่วมมือกับลูกค้าในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ธุรกิจและอุตสาหกรรม และกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ มีการร่วมมือกับลูกค้าในกิจกรรมส่ง เสริมความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น โครงการส่งเสริมการแยกของเสียประเภท พลาสติก PET และการรีไซเคิลกับบริษทั เนสเล่ รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมร่วมกับ ลูกค้าหลายราย การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA) ในปี 2558 ธุรกิจ PET ของเรามีการน�ำแนวคิด การประเมิ นวั ฏ จั กรชี วิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม าใช้ ใ น กระบวนการผลิต บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จ ในการประเมิน LCA ทั้งในผลิตภัณฑ์ PET Virgin และ rPET ธุ ร กิ จ ทั้ ง หมดของเรามี การด� ำ เนิ น โครงการ ประเมินวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ งและ มีแผนขยายการด�ำเนินโครงการดังกล่าวเพื่อให้ ครอบคลุมในทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์ในอนาคต การเข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุม่ อุตสาหกรรม การ อภิปรายและกิจกรรมต่างๆ อิ น โดรามา เวนเจอร์ ส เป็ น สมาชิ ก ในกลุ ่ ม อุตสาหกรรมและองค์กรทางธุรกิจหลักที่ส�ำคัญ ทัง้ ในระดับประเทศและนานาชาติ ทีม่ กี ารบริหาร จัดการประเด็นที่อยู่ ในความกังวลหรือเป็นที่ สนใจในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ พลาสติกและ เส้นใยเส้นด้าย
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
ความสัมพันธ์ระยะยาว
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
นอกจากนี้การเข้าเป็นพันธมิตร ยังเป็นการเปิด โอกาสให้ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ แนวปฏิบัติ ที่ ดี ที่สุ ด และมาตรฐาน เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ผลการ ด�ำเนินงานของทั้งอุตสาหกรรม เพิม่ ความแข็งแกร่งในกลุม่ ผลิตภัณฑ์และพัฒนา ไปสู่กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม ในฐานะบริ ษั ท ชั้ น น� ำ ในห่ ว งโซ่ โ พลี เ อสเตอร์ เรามีการท�ำงานร่วมกับลูกค้า เพื่อน�ำเสนอแนว คิ ด ใหม่ ๆ โดยใช้ ค วามเชี่ ย วชาญที่ มี เพื่ อ สนั บ สนุ น ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ มี ค วาม เฉพาะ จากกลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง ท�ำให้เรามีการขยายกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า เพิ่ม (HVA) เรามีการขยายธุรกิจจากเดิมทีม่ งุ่ เน้นเพียงสินค้า โภคภัณฑ์กลายเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มที่มี ความแตกต่าง รวมทั้งผลิตภัณฑ์รีไซเคิลที่มี สัดส่วนร้อยละ 33 ของรายได้และร้อยละ 45 ของ EBITDA เรามีการเข้าซื้อกิจการเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับทั้ง ผลิตภัณฑ์ PET และเส้นใย รวมทัง้ โพลีเอสเตอร์ ไนลอน 6.6 หรือโพลีโพรพิลีน การร่วมมือกับลูกค้า บริษัทฯ มีการร่วมมือกับลูกค้า เพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ที่ประสบความส�ำเร็จจากความร่วมมือดังกล่าว เช่น บรรจุภัณฑ์ที่มีน�้ำหนักเบา บรรจุภัณฑ์ที่มี สีพิเศษ และการอัดเป่าขึ้นรูปแบบมีด้ามจับ ความร่วมมือกับลูกค้าช่วยให้เราสามารถพัฒนา ระดับการให้บริการลูกค้าและส่งมอบผลิตภัณฑ์ ที่ยั่งยืนให้แก่ลูกค้าและผู้บริโภค การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างต่อเนือ่ ง เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง มั่ น ในการน� ำ เสนอคุ ณ ค่ า เหนื อ คุณภาพและราคาด้วยการตอบสนองต่อความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า และช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า บรรลุ เป้าหมายด้านความยั่งยืน เช่น เม็ดพลาสติก Polyclear® Preserve PET 2201 ที่ใช้ในการ ผลิตขวดนม เพือ่ ยืดอายุผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ ไรส์ ได้นานกว่า 4 เดือน
159
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การบริหารจัดการห่วงโซ่ อุปทานและการสรรหา วัตถุดิบด้วยความ รับผิดชอบ
การจัดซื้อจัดจ้างอย่างยั่งยืน บริษัทฯ มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติของคู่ค้า ที่ ตอบสนองต่ อ ประเด็ น ในเรื่ อ งสั ง คมและสิ่ ง แวดล้อม และก�ำหนดให้คคู่ า้ ปฏิบตั ติ ามแนวทาง ดังกล่าว ในปี 2558 ไอวีแอลจัดกิจกรรมหลากหลายรูป แบบ เพือ่ ปรับปรุงกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง เรา มีการปรับวิธีการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน โดยครอบคลุมทัง้ คูค่ า้ เดิมและคูค่ า้ ใหม่ นอกเหนือจากธุรกิจ PET แล้ว ธุรกิจอื่นๆ ของ เรายังมีการน�ำแนวทางปฎิบัติของคู่ค้า การ วิเคราะห์รายจ่ายและการประเมินความเสีย่ งด้าน สิ่งแวดล้อม สังคมและการก�ำกับดูแลกิจการ เพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมและคาดการณ์ ความเสีย่ ง ตลอดจนการวางแผนอย่างรอบคอบ เกี่ยวกับทิศทางของบริษัทฯ ในอนาคต นอกจากนีเ้ รายังเข้าร่วมการประเมินความรับผิด ชอบต่อสังคมแบบสมัครใจผ่านหน่วยงาน เช่น EcoVadis และ Sedex เป็นต้น การประเมินและตรวจสอบคู่ค้า ในปีทผี่ า่ นมา เรามุง่ เน้นการดูแลตรวจสอบคูค่ า้ ล�ำดับทีห่ นึง่ โดยจัดให้คคู่ า้ ในทุกกลุม่ ธุรกิจมีการ ประเมินตนเอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ประเมินคู่ค้า ในอนาคตบริษัทฯ มีแผนที่จะ ท�ำการตรวจสอบคูค่ า้ เพือ่ ให้การประเมินคูค่ า้ ให้ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนยิ่งขึ้น แบบส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า บริษัทฯ มีการน�ำแบบส�ำรวจความพึงพอใจของ ลูกค้ามาใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการติดต่อ สื่อสารกับลูกค้า ในขณะที่แต่ละธุรกิจมีการ ส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า ในปี 2558 เรา มีการจัดท�ำแบบส�ำรวจอย่างเป็นทางการ เพื่อ สร้างความภักดีและความพึงพอใจ รวมถึงสร้าง ความตระหนักถึงความต้องการของลูกค้า เราจัดท�ำแบบส�ำรวจให้มีความเหมาะสมตาม ลักษณะธุรกิจ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ PET เส้นใยเส้นด้ายและวัตถุดิบ ในปี 2558 เรามี การน�ำแบบส�ำรวจดังกล่าวไปใช้ในการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้าของเราทั่วโลก
การติดต่อสื่อสารกับ ลูกค้า
160
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
คู่ค้าและพันธมิตรทาง ธุรกิจ
วิธีการเชื่อมโยง
การบริหารการจัดซื้อ การบริหารด้านจริยธรรมกับคู่ค้า การประชุม งานแสดงสินค้า และกิจกรรมในอุตสาหกรรม สมาชิกของหน่วยงานธุรกิจ ท้องถิ่น เว็บไซต์ การติดต่อสนทนา
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
ความสัมพันธ์ในระยะยาว การสร้างความร่วมมือกับคู่ค้า บริษัทฯ มีการร่วมมือกับคู่ค้าในการประหยัด ต้นทุนและพลังงานในการขนส่ง ผลิตภัณฑ์จะ ถู ก ส่ งมอบให้ แ ก่ บ ริ ษัท ฯ อย่ า งเต็ ม ก�ำลังใน การจัดส่งเพียงครั้งเดียวตามที่ตกลงร่วมกันทั้ง สองฝ่าย นอกจากนี้ ก ารปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ด ้ า น สิ่งแวดล้อม สังคมและการก�ำกับดูแลกิจการ ยังช่วยให้บริษัทฯ มีความโปร่งใส คู่ค้าของไอวี แอลสามารถมั่นใจได้ว่า ไอวีแอลมีความรับผิด ชอบตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า เรามีการปฏิบัติเพื่อให้คู่ค้ามั่นใจว่า เรามีการ ปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรม เรามีการประเมินคุณสมบัติ และผลการท�ำงานของคู่ค้า โดยใช้แบบฟอร์ม การประเมินคู่ค้า จริยธรรมและการปฏิบัติ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ บริษัทฯ สนับสนุนและเคารพหลักการปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เรามีการลงนามประกาศเจตนารมณ์ตอ่ ต้านการ ทุจริต (CAC) ตั้งแต่ปี 2556 จากความพยายาม และมุง่ มัน่ อย่างต่อเนือ่ งในการต่อต้านการทุจริต ท�ำให้เราได้รับการรับรองจาก CAC ในปี 2557 แสดงให้เห็นถึงมุ่งมั่นของเราในการต่อสู้กับการ ทุ จ ริ ต ผ่ า นการด� ำ เนิ น นโยบายและกลไกที่ มี ประสิทธิภาพ ในปี 2558 ไอวีแอลมีการสือ่ สารไปยังบริษทั ย่อย ในเรื่องเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและการ ก�ำกับดูแลกิจการ รวมถึงนโยบาย เราจะยังคง รักษาและพัฒนามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เพื่อ แสดงถึงความมุง่ มัน่ และการปฏิบตั ทิ เี่ ราสร้างขึน้ นโยบายคู่ค้าและหลักในการปฏิบัติ ในปี 2557 บริษัทฯ มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ ของคู่ค้าขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อให้มั่นใจว่าคู่ค้า ของเรามีการด�ำเนินการสอดคล้องกับมาตรฐาน สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สุ ข ภาพและความปลอดภั ย สิ่งแวดล้อมและจริยธรรมทางธุรกิจ ในปี 2558 เราได้ขยายแนวทางปฎิบัติของคู่ค้า ให้ครอบคลุมคู่ค้าของเราทั่วโลก บริษทั ฯ มีการตรวจสอบคูค่ า้ ล�ำดับทีห่ นึง่ ทัง้ หมด คูค่ า้ รายใหม่ทกุ รายต้องมีการลงนามในนโยบาย และแนวทางปฏิบัติของคู่ค้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของสัญญาว่าจ้างฉบับใหม่
161
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การวิจัยและนวัตกรรม
การสร้างความแข็งแกร่งและความสามารถใน การสร้างสรรค์นวัตกรรม บริ ษั ท ฯ ใช้ ก ลยุ ท ธ์ การควบรวมและเข้ า ซื้ อ กิจการ ในการสร้างความแข็งแกร่งและความ สามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม จากการเข้า ซื้อสินทรัพย์เชิงกลยุทธ์ ท�ำให้เราพัฒนาความ สามารถในการวิจัยและพัฒนา ตราสินค้า องค์ ความรู้และสิทธิบัตรทางด้านเทคโนโลยี ท�ำให้ เกิดการเกื้อหนุนตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า อาทิ การเข้ า ซื้ อ บริ ษั ท Performance Fibers ผู้ผลิตเส้นใยส�ำหรับยางในรถยนต์ชั้นน�ำ การเข้ า ร่ ว มการประชุ ม ระดั บ โลกและการ อภิปรายในอุตสาหกรรม รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ บริษัทฯ เข้าร่วมการประชุมระดับโลกและระดับ อุตสาหกรรมที่ส�ำคัญ อาทิ การประชุม World Economic Forum ที่เมืองดาวอส การประชุม Petcore ในยุโรป เพือ่ แสดงเจตจ�ำนงค์และความ คิดเห็นที่เกี่ยวข้องด้านความยั่งยืน การพัฒนาความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทาน บริษัทฯ มีการพัฒนาเครื่องมือประเมินด้านสิ่ง แวดล้อม สังคมและการก�ำกับดูแลกิจการ และ น�ำไปใช้กับคู่ค้าและลูกค้าของเรา อาทิ แบบ ประเมินผู้จัดจ�ำหน่าย นโยบายและแนวทาง ปฏิบัติของคู่ค้า การวิเคราะห์รายจ่าย การ ประเมินตนเองของคู่ค้า การประเมินความเสี่ยง ของคูค่ า้ แบบส�ำรวจความพึงพอใจและความคิด เห็นของลูกค้า การรับรองการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย OHSAS 18001 บริษัทฯ มีการน�ำเทคนิค เครื่องมือและการฝึก อบรมหลากหลายรูปแบบมาปฏิบัติใช้ เพื่อให้ พนักงานมีความปลอดภัยในการท�ำงาน รวมทัง้ จัดให้มีการรับรองการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย OHSAS 18001 ในปี 2558 บริษัทของเรา 13 แห่งได้รับการ รับรองการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอด ภัย OHSAS 18001 และเราจะยังคงส่งเสริมการ ปรับปรุงการด�ำเนินงานในด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยในบริษัทอย่างต่อเนื่อง
ความยั่งยืน
พนักงาน
นิตยสารบริษัท อาชีวอนามัยและ แบบส�ำรวจความผูกพันต่อองค์กร ความปลอดภัย ของพนักงาน การประชุมพนักงาน นโยบายและจรรยาบรรณ การบริหารผลการท�ำงาน กระบวนการร้องเรียน อินทราเน็ตและเว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์
162
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การด�ำเนินธุรกิจและ จริยธรรม
การพัฒนาศักยภาพ และการฝึกอบรม
การสื่อสารที่เปิดเผย
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
โครงการสร้างความตระหนักในการปฏิบัติตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการ (CGPAC) ในปี 2557 บริษัทฯ ริเริ่มโครงการสร้างความ ตระหนักในการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการ (CGPAC) โดยมีการน�ำโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง จ� ำ นวน 16 นโยบายไปปรั บ ใช้ แ ละแจ้ ง ให้ พนักงานทุกคนทราบผ่านการด�ำเนินงานของ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลในแต่ละหน่วยงาน นโยบาย ดังกล่าวได้มีการเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ จ�ำนวนทั้งหมด 12 ภาษา ในปี 2558 บริษัทฯ จัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานในเรื่อง จรรยาบรรณ การแจ้งเบาะแส สิทธิมนุษยชน การต่อต้านการทุจริตและทรัพย์สินทางปัญญา เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 5,745 คน ไอวีแอลได้จดั การฝึกอบรมการก�ำกับดูแลกิจการ ให้แก่บริษัทย่อยทั้งหมดในประเทศอินโดนีเซีย พนักงานทุกคนที่ส�ำนักงานใหญ่ได้รับข้อมูล ทีส่ ำ� คัญเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการทีผ่ า่ นการ ปฐมนิเทศน์ และเพื่อให้บริษัทย่อยทั้งหมดสามารถจัดการ ฝึกอบรมในเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการได้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ เรามี ก ารชี้ แ จงแนวทางและ เอกสารการน�ำเสนอเพื่อใช้ในการฝึกอบรม การฝึกอบรมและการพัฒนา บริษัทฯ จัดให้มีการฝึกอบรม ให้ความรู้และ ชีแ้ นะตามความเหมาะสม และเปิดโอกาสให้เกิด การพัฒนาทักษะและความสามารถของพนักงาน ในปี 2557 พนักงานของเราทั่วโลกจ�ำนวน 44,047 คนได้รบั การฝึกอบรมรวม 480,651 ชัว่ โมง แบบส�ำรวจความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน ในปี 2558 บริษัทฯ จัดให้มีการส�ำรวจความ ผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน ออกแบบโดย บริษัท Boston Consulting Group (BCG) โดย ในปีที่ผ่านมา มีอัตราการตอบแบบสอบถามสูง กว่าร้อยละ 90 ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงที่สุดที่ทาง บริษทั BCG เคยจัดการส�ำรวจ พนักงานของเรา กว่า 12,000 เข้าร่วมการตอบแบบส�ำรวจในครัง้ นี้ ผลการส�ำรวจที่ ได้ถูกน�ำไปวิเคราะห์เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจถึงมุมมองและความคิดเห็นของ พนักงาน รวมทัง้ จุดเด่นของบริษทั และโอกาสใน การปรั บ ปรุ ง การด� ำ เนิ น งาน โดยหั ว ข้ อ การ ส�ำรวจ ครอบคลุมในหลายหัวข้อ อาทิ ความเป็น ผูน้ ำ� ความหลากหลาย การมีสว่ นร่วม เป็นต้น
163
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
รางวัลและการยอมรับ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน และการมุ่งเน้นความ รับผิดชอบต่อสังคม
164
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
โดยบริษัทย่อยแต่ละแห่งจะน�ำผลการส�ำรวจ ที่ ได้ ไปพัฒนาแผนการด�ำเนินการและจะมี การทบทวนเป็นประจ�ำทุกไตรมาส โดยมีแผนก ทรัพยากรบุคคลของไอวีแอลเป็นผู้ควบคุมและ ตรวจสอบการด�ำเนินการ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทฯ มีการประเมินผลการปฏิบัติงานเป็น ประจ�ำ เพื่อประเมินศักยภาพของพนักงาน ในระดับโรงงาน เรามีการพิจารณาการให้รางวัล ตามความตรงต่ อ เวลาและระยะเวลาในการ ท�ำงาน การสื่อสารเกี่ยวกับการด�ำเนินงานด้านความ ยั่งยืน บริษทั ฯ พยายามอย่างต่อเนือ่ งในการสร้างความ ตระหนักเกีย่ วกับการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม เรามีการสื่อสาร ในเรื่องดังกล่าวไปยังบริษัทย่อยใน 20 ประเทศ ทัว่ โลกในปี 2558 หัวหน้าและทีมท�ำงานทัง้ หมด ถูกเชิญเพือ่ เข้าร่วมการสัมมนาผ่านทางเว็บไซต์ การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารภายในเรื่ อ งความ ยั่งยืนและการก�ำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารภายใน ส�ำหรับผู้บริหารระดับสูงที่มีส่วนร่วมและเกี่ยว ข้องกับการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน เพือ่ สร้าง ความตระหนักในเรือ่ งความยัง่ ยืนภายในองค์กร และให้การชีแ้ นะและค�ำปรึกษาอย่างต่อเนื่องถึง กระบวนการและการน�ำแนวคิดด้านความยั่งยืน ไปปฏิบตั ิใช้ ในปี 2559 บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะขยาย การสื่อสารในเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการไปยัง โรงงานต่างๆ ในต่างประเทศมากยิ่งขึ้น โดยจะ มีการน�ำระบบการฝึกอบรมแบบออนไลน์และ แบบวีดิโอมาใช้ เพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ ของพนักงาน
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
วิธีการเชื่อมโยง
รัฐบาลและหน่วยงาน การปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ท้องถิ่น องค์กรพัฒนา กฎหมาย เอกชนและสมาคม รายงานและเอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์ การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ การเข้าร่วมในทีมท�ำงานของ รัฐบาลและอุตสาหกรรม การประชุม อภิปรายและ โอกาสในการพูด
สื่อมวลชน
รายงานและเอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์ ข่าวประชาสัมพันธ์ การแถลงข่าว การเยี่ยมชมโรงงานและบริษัท การพูดคุยสนทนา การตอบข้อซักถาม การสัมภาษณ์
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การก�ำกับดูแลกิจการ และความโปร่งใส
การน�ำหลักเกณฑ์ Corporate Governance Scorecard มาใช้ บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น การตามการแนะน� ำ ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ใน การน�ำระบบตัวชี้วัดเพื่อใช้วัดระดับการก�ำกับ ดูแลกิจการของบริษทั ซึง่ ช่วยเพิม่ ความโปร่งใส ปรับปรุงการด�ำเนินงานของคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานในระยะ ยาวของบริษัทฯ ในปี 2258 เราได้รับคะแนน 98 คะแนนจาก 100 คะแนน ในรายงานบรรษัท ภิบาล โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ความรับผิดชอบ การอภิปรายนโยบายสาธารณะ ในหลายประเทศที่เรามีส่วนร่วมในการเจรจา นโยบายสาธารณะในประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง ผล กระทบต่อธุรกิจและผลประโยชน์ของชุมชนของ เราได้เชิญเจ้าหน้าที่รัฐบาลท้องถิ่นเข้าเยี่ยมชม โรงงานของเรา เพือ่ ให้เข้าใจธุรกิจของเรายิง่ ขึน้ เรามีส่วนร่วมในสมาคมการค้าและธุรกิจรวมถึง สมาคมหอการค้าท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมบรรยา กาศทางธุรกิจที่ดี ผลการด�ำเนินงานและ เอกสารสรุปตัวเลขและข้อมูลที่ส�ำคัญส�ำหรับ สื่อมวลชน ตัวเลขทางการเงิน ในปี 2558 บริษัทฯ ได้จัดท�ำเอกสารสรุปตัวเลข และข้อมูลที่ส�ำคัญส�ำหรับสื่อมวลชน เพื่อให้ ภาพรวมข้อมูลทางการเงินของบริษัท ซึ่งมีการ ปรั บ เปลี่ ย นข้ อ มู ล เป็ น ประจ� ำ ในทุ ก ไตรมาส ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เอกสารส�ำหรับ สื่อเหล่านี้สามารถดูได้ที่เว็บไซต์ของบริษัท ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม รายงานความยั่งยืน บริษัทฯ ใช้รายงานความยั่งยืนเป็นเครื่องมือใน การสือ่ สารถึงค�ำมัน่ การริเริม่ การด�ำเนินงานและ ผลการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืน ความโปร่งใส ข้อมูลส�ำหรับสื่อมวลชนในเว็บไซต์ เพื่ อ เพิ่ ม ความโปร่ ง ใสและการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล บริษัทฯ มีการจัดท�ำข้อมูลส�ำหรับสื่อมวลชนใน เว็บไซต์ของบริษัท ข้อมูลในส่วนดังกล่าว ประกอบด้วย ข้อมูลที่ ส�ำคัญส�ำหรับสื่อ อาทิ ความเป็นมาของบริษัท ภาพถ่าย ข่าวประชาสัมพันธ์และข้อมูลติดต่อ
165
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย
ชุมชนท้องถิ่น
วิธีการเชื่อมโยง
ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียสนใจ
การเยี่ยมชมโรงงาน การสนับสนุนชุมชนและ การให้ค�ำปรึกษาแก่ชุมชน การบริจาค การเปิดบ้าน สมาชิกองค์กรในชุมชน การให้การสนับสนุนและพนักงาน อาสาสมัคร รายงานและเอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์
การบริหารจัดการด้าน สิ่งแวดล้อม
การสร้างงานในชุมชน
ชุมชนสัมพันธ์
สนับสนุนพนักงาน จิตอาสา
166
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การตอบสนองต่อประเด็นของผู้มีส่วนได้เสีย
การมีส่วนร่วมกับชุมชนผ่านกิจกรรมเพื่อสังคม บริษัทฯ มีการด�ำเนินการและเข้าไปมีส่วนร่วม ในกิจกรรมเพื่อสังคม ในแต่ละประเทศที่เรา เข้ า ไปด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม ของเราจะเน้นในประเด็นหลักด้านการศึกษาและ การอ่านออกเขียนได้ กิจกรรมเพื่อสุขภาพ การ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ สิ่ ง แวดล้ อ ม ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ การเยี่ยมชมโรงงาน/การเปิดบ้าน บริษัทฯ จัดให้มีการเปิดบ้านและต้อนรับชุมชน ท้องถิ่น เพื่อเข้าเยี่ยมชมโรงงานและส�ำรวจการ ปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อมของเรา การเข้าร่วมมหกรรมสมัครงาน บริษัทฯ เข้าร่วมมหกรรมหางานที่จัดขึ้นเป็น ประจ�ำ เพื่อแนะน�ำให้นักศึกษารู้จักบริษัทฯมาก ขึ้น ในด้านการท�ำงานในบริษัทฯ และให้โอกาส นักศึกษาค้นหางานในต�ำแหน่งที่สนใจ การเยี่ยมชมโรงงาน บริ ษั ท ฯ มี ก ารเชิ ญ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนและสมาคม อุตสาหกรรมเข้าเยี่ยมชมโรงงานของเราอย่าง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชน ท้องถิ่น พนักงานอาสาสมัคร บริษัทฯ มีการส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ต่อสังคมไม่วา่ จะโดยการสละเวลาหรือโดยอาศัย ความรู้ ความเชี่ยวชาญในการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อสังคม
รายงาน ของคณะกรรมการชุดย่อย
167
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ ปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่ง เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะ กรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย นายระเฑียร ศรีมงคล ประธานกรรมการตรวจสอบ นายมาริษ สมารัมภ์ กรรมการตรวจสอบ ดร.ศิริ การเจริญดี กรรมการตรวจสอบ ในระหว่างปี 2558 ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบทั้งสิ้นจ�ำนวน 6 ครั้ง โดยกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่วม การประชุมดังนี้
2) ในแต่ละไตรมาสของปี คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (MD&A) โดยมีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ โดยคณะกรรมการตรวจ สอบได้สอบทานค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ส�ำหรับแต่ละ ไตรมาสและส�ำหรับปีก่อนที่จะเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณา คณะกรรมการตรวจสอบเชือ่ มัน่ ว่าค�ำอธิบายและบทวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ (MD&A) น�ำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม และเพียงพอ 3) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและอนุมัติแผนงาน ตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2558 สอบทานความเป็นอิสระ ชื่อ - สกุล การเข้าร่วมประชุม และจ�ำนวนผู้ปฏิบัติงานของแผนกตรวจสอบภายใน คณะ 1 นายระเฑียร ศรีมงคล 6/6 กรรมการตรวจสอบได้สอบทานการน�ำเสนอรายงานการตรวจ 2 นายมาริษ สมารัมภ์ 6/6 สอบภายในครึ่งปีหลังตามแผนการตรวจสอบ ประเด็นที่ ตรวจพบอย่างมีสาระส�ำคัญ ข้อเสนอแนะ และสถานะจาก 3 ดร.ศิริ การเจริญดี 6/6 การติดตามในข้อเสนอแนะ ซึ่งครอบคลุมถึงบริษัทฯ และ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขตความ บริษัทย่อยในแต่ละภูมิภาคด้วย รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ และปฏิบัติตาม จากการสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการตรวจสอบภายในของบริษทั รวมถึงความเป็นอิสระ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และจ�ำนวนผู้ปฏิบัติงานในฝ่ายตรวจสอบภายใน มีความ ภารกิจทีส่ ำ� คัญของคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปได้ดงั ต่อไปนี้ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 1) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส 4) คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ระเมิ น ความเหมาะสม และงบการเงินประจ�ำปีของบริษัท โดยสอบทานงบการเงิน ของระบบควบคุมภายใน โดยประเมินร่วมกับผู้สอบบัญชี เฉพาะกิจการและงบการเงินรวม และร่วมหารือกับฝ่ายจัดการ ภายนอก ฝ่ายตรวจสอบภายใน และฝ่ายจัดการ และได้มี และผูส้ อบบัญชีภายนอกของบริษทั ในเรือ่ งนโยบายการบัญชี การสอบทานรายงานผลการตรวจสอบภายในที่ส�ำคัญของ ที่ส�ำคัญ และการควบคุมภายใน เป็นต้น บริษทั ย่อยหลักทัง้ หมดของบริษทั ฯ ให้คำ� แนะน�ำวิธกี ารแก้ไข จากการสอบทานและการหารือร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอก และมีการด�ำเนินการที่เหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบเชือ่ มัน่ ว่างบการเงินของ ได้ปฏิบัติงานร่วมกับฝ่ายตรวจสอบภายในและฝ่ายจัดการ บริษทั มีความถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องและ เพื่อปรับปรุงระบบการควบคุมภายในและขั้นตอนในการ เพียงพอ และได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และตามกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
168
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
5) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแบบประเมินระบบ การควบคุมภายในอิสระประจ�ำปี 2558 จากการสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าระบบการควบคุม ภายในของบริษัทมีความเพียงพอ เหมาะสม และสามารถ ปรับเปลีย่ นเพือ่ ให้เข้ากับธุรกิจของบริษทั ทัง้ ในปัจจุบนั และใน อนาคต โดยได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง 6) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติตาม กฎหมายและข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เป็นรายไตรมาส จากการสอบทานพบว่ า บริ ษัท ฯ ได้ มี การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบยังได้สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อก�ำหนดท้องถิ่นที่มีการบังคับใช้ในแต่ละประเทศที่ บริษัทย่อยตั้งอยู่ และ/หรือด�ำเนินการ จากการสอบทานพบ ว่าบริษัทย่อยได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่ เกี่ยวข้อง 7) คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้สอบ บัญชีภายนอกของบริษัท โดยในปี 2557 ผลการปฏิบัติงาน ของผู้สอบบัญชีดังกล่าว มีผลการปฏิบัติงานเป็นที่น่าพอใจ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ให้แต่งตั้งผู้สอบบัญชีรายนี้ ให้เป็นผู้สอบบัญชีส�ำหรับปี 2558 อีกปีหนึ่ง พร้อมทั้งได้มีการพิจารณาค่าสอบบัญชี ที่เสนอด้วย 8) คณะกรรมการตรวจสอบได้อนุมัติรายการระหว่างกันที่ เกิดขึน้ ใหม่ ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ รวมถึงข้อก�ำหนดในนโยบายด้านรายการระหว่าง กันด้วย
จากการสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการระหว่างกันทุกรายการเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า ปกติ มีความสมเหตุสมผลเสมือนกับการท�ำรายการกับ บุคคลภายนอก และเป็นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั โดยเป็นไป ตามนโยบายรายการระหว่ า งกั น ของบริ ษัท และเป็นไป ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 9) คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดให้มีการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของตนเอง เพือ่ สอบทานและประเมินผลการปฏิบตั ิ งานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ วัดการปฏิบัติงาน (BENCHMARKING) กับกฎบัตรคณะ กรรมการตรวจสอบและใช้แนวทางวิธีพึงปฏิบัติที่ดี (BEST PRACTICE) คณะกรรมการตรวจสอบมีความพึงพอใจใน การปฏิบตั หิ น้าทีท่ มี่ ปี ระสิทธิผลและได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด ขอบเขตงานที่กล่าวไว้ในกฎบัตร อีกทั้งผลการประเมินผล การปฏิบัติงานของตนเองได้ถูกน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทด้วย 10) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบและแนะน�ำการเปลี่ยนแปลงในกฎบัตรคณะกรรม การตรวจสอบ เพือ่ รับการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน ตามที่ได้กล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความเชื่อ มัน่ ว่าคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการสามารถปฏิบตั งิ าน ตามจริยธรรมทางธุรกิจ ด้วยความเป็นมืออาชีพเพือ่ ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของบริษทั เนือ่ งด้วยการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ที่มีความน่าเชื่อถือจากการที่มีการควบคุมภายในและระบบ การควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ มีการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี และมีการปรับปรุงระบบการด�ำเนินธุรกิจอย่างสม�่ำเสมอ ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ
นายระเฑียร ศรีมงคล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
169
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงาน คณะกรรมการด้านความยั่งยืน และการบริหารความเสี่ยง ปี 2558 อินโดรามา เวนเจอร์ส เชื่อมั่นอย่างยิ่งในความส�ำคัญของ การปฏิบัติงานด้านความยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง ภายในบริษัทฯ ซึ่งเป็นส่วนช่วยให้บริษัทสามารถคาดการณ์ และจัดการความเสี่ยงและโอกาสด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมถึงความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นจากการด�ำเนินงานทางธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการด้านความยัง่ ยืน และการบริหารความเสีย่ ง (“คณะกรรมการ”) ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน และกรรมการบริหาร 3 ท่าน นายอาลก โลเฮีย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ และ รองประธานกรรมการบริ ษั ท ฯ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธาน คณะกรรมการ และมีสมาชิกท่านอื่นๆ ได้แก่ นายระเฑียร ศรีมงคล กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษัทฯ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายมาริษ สมารัมภ์ กรรมการอิสระ และสมาชิกกรรมการตรวจสอบ นายรัสเซล เลตัน เคคูเอวา กรรมการอิสระ นายดีลิป กุมาร์ อาการ์วาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มธุรกิจ PET และ Feedstock และนายอุเดย์ พอล ซิงห์ กิล ประธานกลุม่ ธุรกิจโพลีเอสเตอร์ คณะกรรมการได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลการพัฒนาอย่างยั่งยืนซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูง ที่มีความเชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขาจ�ำนวน 13 ท่าน ในปี 2558 คณะกรรมการได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ และตามระเบียบความ ยั่งยืนและการบริหารความเสี่ยง โดยมีการประชุม 2 ครั้งและ สมาชิกของคณะกรรมการทั้งหมดได้เข้าร่วมการประชุม ทั้ง 2 ครั้ง
170
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญของคณะกรรมการในปี 2558 มีดังนี้ 1. ปรับใช้กรอบการท�ำงานด้านความยั่งยืนทั่วทั้งองค์กร โดยการบูรณาการความยั่งยืนเข้าไปในการด�ำเนินงาน ทุกส่วนของบริษัทฯ 2. ก�ำหนดแนวทาง ชีแ้ นะ ให้คำ� ปรึกษา และรับรอง กลยุทธ์ ด้านความยั่งยืน นโยบาย แผนงานการลดความเสี่ยง รวมถึงเป้าหมายขององค์กร เพือ่ การพัฒนาประสิทธิภาพ การด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนและขั้นตอนการบริหาร ความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ รวมไปถึงศึกษาการประเมิน ดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ 3. คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งในระดับธุรกิจและระดับโรงงานได้ติดตามความเสี่ยง ที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะความเสี่ยงที่ระบุไว้ด้านล่าง ดังนี้ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์และโอกาส รวมถึงความเสี่ยง ที่มีโอกาสเกิดขึ้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับมิติด้านสิ่งแวดล้อม สังคม การก�ำกับดูแลกิจการ และสิทธิมนุษยชน ทั้ง ในหน่วยงานที่ด�ำเนินงานอยู่ การขยายธุรกิจและ เข้าซื้อกิจการ ความเสีย ่ งด้านชือ่ เสียง รวมถึงการทุจริต แรงงานเด็ก และการบังคับใช้แรงงาน การปฏิบัติตามข้อบังคับ ด้านสิ่งแวดล้อมและกฎหมาย และนักลงทุนสัมพันธ์ ความเสีย ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการปกป้องสภาพภูมอิ ากาศ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในความเสี่ยงที่อาจ เกิ ด ขึ้ น ใหม่ โดยการรั ก ษาแนวคิ ด ด้ า นนวั ต กรรม สิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อวัฏจักรและความมั่นคงทาง ธุรกิจ
หน่วยงานทัง้ หมดของไอวีแอลได้ปฏิบตั ติ ามกรอบการท�ำงาน ขั้นตอน และแผนงานที่ได้รับการชี้แนะจากคณะกรรมการ 4. เสริมสร้างและรักษาประสิทธิภาพของกลไกห่วงโซ่อปุ ทาน ตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า ผ่านการพัฒนากรอบการท�ำงาน ด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน การสร้างคุณค่าร่วม การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การรักษาและการดึงดูดบุคลากร ที่มีความสามารถ 5. ประเมินกลยุทธ์ของบริษทั ส�ำหรับการด�ำเนินงานในอนาคต วิเคราะห์ความอ่อนไหวสองครั้งต่อปี และน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา 6. ประเมินผลงานโดยรวมด้วยตนเองในปี 2558 คณะกรรมการให้ค�ำมั่นในการบริหารด�ำเนินงานด้านความ ยัง่ ยืนโดยมุง่ เน้นตัวชีว้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และการก�ำกับ ดูแลกิจการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อปกป้อง รักษา และสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ในนามคณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง
นายอาลก โลเฮีย ประธาน
171
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงาน กรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ หรือ (NCCG) ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส ปี 2558
กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ซึง่ มีนายวิลเลีย่ ม เอ็ลล์วดู๊ ไฮเน็ค กรรมการอิสระ เป็นประธาน และสมาชิกของคณะกรรมการ ท่านอื่น ได้แก่ ดร.ศิริ การเจริญดี กรรมการอิสระ นายคณิต สีห์ กรรมการอิสระ และ นายอาลก โลเฮีย รองประธาน กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ (NCCG) ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ในเดื อ น พฤษภาคม ปี 2557 ส�ำหรับระยะเวลาสองปี ในช่วงระหว่างปี 2558 กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้มีการจัด ประชุม 3 วาระ และ ปฏิบตั งิ านตามขอบเขตความรับผิดชอบ ทีถ่ กู มอบหมายให้โดย คณะกรรมการบริษทั ตามกฏบัตรของ NCCG และระเบียบข้อบังคับที่สามารถน�ำไปปรับใช้ได้ตาม ต้องการ
หน้าที่ซึ่งปฏิบัติโดยกรรมการสรรหา พิจารณาค่า ตอบแทน และคณะกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ (NCCG) ระหว่างปีมีดังต่อไปนี้ : 1. กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้สอบถาม คณะกรรมการ ถึงความคืบหน้าของโครงการสร้างความตระหนักในการ ปฏิบัติตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการ (CGPAC) ตามที่ ได้จดั ท�ำรายงาน ในการประชุมทัง้ สามครัง้ ของกรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ (NCCG) ซึง่ ได้ชแี้ จงว่ามีการพัฒนานโยบายทัง้ 18 หัวข้อและมีการสื่อสารไปยังพนักงานทั่วโลกผ่าน โครงการสร้างความตระหนัก โดยความร่วมมือของหน่วย งานทรัพยากรบุคคลในแต่ละหน่วยธุรกิจ นโยบายดัง กล่าวได้ถูกแปลเป็นภาษาทั้งหมด 12 ภาษา นอกเหนือ จากภาษาอังกฤษและยังมีการเผยแพร่บนเว็บไซต์บริษทั ด้วยเช่นกัน อีกทัง้ ยังจัดให้มกี ารอบรมทัว่ โลกเรือ่ งการต่อ ต้านการทุจริตโดยแผนกทรัพยากรบุคคล 2. ภายใต้นโยบายการแจ้งเบาะแส กรรมการสรรหาพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้พิจารณากรณีร้องเรียนมายังคณะกรรมการจริยธรรม ระหว่างปี 2558 คดีและการด�ำเนินการของคดีได้ถูก
172
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานให้ กั บ กรรมการสรรหาพิ จารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) 3. กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้พจิ ารณาความคืบหน้าของ การด�ำเนินการก�ำกับดูแลกิจการ ผ่านทางการประเมินผล ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ใน รายงานการก�ำกับดูแลกิจการโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้ คะแนนร้อยละ 93 ในปี 2557 สูงกว่าบริษทั ในกลุม่ ดัชนี หลักทรัพย์ SET 50 Index ซึง่ มีคา่ เฉลีย่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 91 และบริษทั ในกลุม่ ดัชนีหลักทรัพย์ SET 100 Index ซึง่ มี ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 88 ภายใต้ ASEAN CG Score โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้คะแนนเฉลีย่ 85 คะแนน สูง กว่า บริษทั จดทะเบียนไทยโดยรวมซึง่ มีคะแนนเฉลีย่ อยูท่ ี่ 75.59 คะแนน และสูงกว่าบริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 64.2 คะแนน 4. กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้พิจารณาการริเริ่มการ ด�ำเนินงานตามกรอบการรายงาน GRI และสอดคล้องกับ โมเดลของ DJSI ด้านความยั่งยืนของบริษัท และได้รับ การรายงานว่า บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส มีการ รายงานการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนเมื่อเปรียบเทียบ กับบริษัทบริษัทจดทะเบียนไทย ภายใต้ดัชนีการพัฒนา อย่างยั่งยืน บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้รับการ ประเมิน ก. ตัวชี้วัดโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม “ผูกผัน” ระดับ 3 จาก 6 ข. ตัวชี้วัดโครงการการต่อต้านการทุจริต “เปิดเผย” ระดับ 3 จาก 6 5. ประธานคณะกรรมการ แนะน�ำให้พจิ ารณาวิสยั ทัศน์และ พันธกิจของบริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส ให้เหมาะสม กับกลยุทธ์ ในปัจจุบันและครอบคลุมถึงประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด รวมถึงสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ซึง่ โครงการนีอ้ ยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการ และคาดว่าจะเสร็จ สิน้ ในระยะเวลาอันสัน้ นี้
6. ตามข้อแนะน�ำของ กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ในการจัด ส�ำรวจความผูกผันของพนักงานถูกซึ่งจัดท�ำขึ้นเป็น ครั้งแรกของ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส ครอบคลุม พนักงานทั่วโลกทั้งสิ้น 12,555 คน จาก 19 ประเทศ 4 ทวีป และจากการค�ำนึงถึงความแตกต่างของพนักงาน ทั่วโลกกว่า 48 เชื้อชาติ ท�ำให้แบบส�ำรวจถูกพัฒนาขึ้น มากกว่า 12 ภาษานอกเหนือจากภาษาอังกฤษ ผลส�ำรวจ มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มมากกว่ า ร้ อ ยละ 90% ซึ่ ง นั บ ว่ า สู ง มาก เมื่อเทียบกับขนาดของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส หน่วยงานของกลุ่มบริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส ได้ รับทราบผลส�ำรวจและจะถูกน�ำไปจัดท�ำแนวทางการ ด�ำเนินการซึ่งจะน�ำมาพิจารณาในโอกาสต่อไป 7. ส�ำหรับกรรมการซึ่งเกษียณโดยการครบวาระ กรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ (NCCG) หลังจากได้พิจารณา ประสบการณ์ และผลงานต่อกรรมการซึง่ มีความเห็นว่ามีความเหมาะสม ที่จะแต่งตั้งให้อีกวาระหนึ่ง และแนะน�ำให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เดิม เนื่องจากไม่ได้รับการเสนอชื่อเพื่อด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการคนใหม่จากผู้ถือ หุ้น ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน 2557 ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ เ ห็ น ชอบในการแต่ ง ตั้ ง ให้ ก ลั บ เข้ า ด� ำ รง ต�ำแหน่งของคณะกรรมการทั้งหมด 8. นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ กรรมการอิสระได้ลาออก จากต�ำแหน่งเนื่องจากติดภารกิจ และ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช ได้รับเสนอชื่อให้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการ อิสระ ในคณะกรรมการบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส 9. นายซาชิ ปรากาซ ไคตาน ซึ่งขอลาออกจากการเป็น กรรมการของบริษัท เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพ และ นายซันเจย์ อาฮูจา ถูกเสนอชื่อให้เป็นกรรมการบริหาร ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้พิจารณา 10. คณะกรรมการได้พิจารณาและได้เห็นชอบให้แต่งตั้ง สมาชิกของคณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนอีกครัง้ ส�ำหรับ วาระสองปีต่อไป และคณะกรรมการยังได้ตัดสินใจที่ จะเปลี่ยนชื่อจากคณะกรรมการด้านความยั่งยืนให้เป็น คณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง 11. กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ทบทวนผลของการประเมิน ตนเองของกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ ประจ�ำ ปีและได้เสนอให้กรรมการบริษัทพิจารณา กรรมการ สรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ (NCCG) ยังได้ประเมินผลการปฏิบัติงาน รายบุคคลต่อกรรมการทัง้ หมดกับประธานคณะกรรมการ 12. Balance score card (BSC) ของประธานเจ้าหน้าที่ บริหารกลุ่มบริษัทฯ และกรรมการบริหารสองคน ได้รับ การพิจารณาโดย กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) คณะกรรมการ มีความยินดีน�ำค�ำแนะน�ำ เช่น คะแนนการก�ำกับดูแล กิจการรวมเป็นส่วนหนึ่งของ BSC ในปี 2558 และยังได้ รับรูส้ มาชิกคณะกรรมการให้ตระหนักถึงการการวางแผน สืบทอดต�ำแหน่งของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ บริษทั ฯ ประธานบริหารยังได้ถกู รับการแนะน�ำให้วางแผนการสืบ ทอดต�ำแหน่งเช่นเดียวกัน
13. ตามการอภิปรายเรื่องการวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง Indorama Ventures Leadership Development Plan (IVDP) ได้ถูกออกแบบและน�ำเสนอให้กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการ (NCCG) พิจารณามีการระบุ ผู้บริหารจ�ำนวน 60 คน จากจ�ำนวน 360 ทัว่ โลก จากล�ำดับขัน้ 4 ขัน้ บนสุดของโครงสร้างองค์กร ผูบ้ ริหารดังกล่าวได้ถกู เปิดเผย ให้เห็นถึงรูปแบบทีแ่ ตกต่างกันเป็นเวลา 3 เดือนครึง่ และ น�ำเสนอ MD&A และ การวางแผนพัฒนาพนักงานใน องค์กรเป็นรายบุคคล อ้างอิงตามผลลัพธ์และการประเมิน ผลที่สามารถเป็นไปได้น�ำมาจัดวางในตารางประเมิน 9 ช่อง กระบวนการดังกล่าวน�ำไปสู่การระบุกลุ่มคนเก่ง ส�ำหรับการวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่งต่อไป 14. การพิจาราณาค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการบริษัทและ คณะอนุกรรมการประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบ แทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) และ คณะกรรมการด้านความยัง่ ยืนและการบริหารความเสีย่ ง (Sustainability & Risk Management Committee) ส�ำหรับปี 2015 ได้รับการถูกพิจารณาตามเกณฑ์ และ ได้ถูกเสนอไปยังประธานคณะกรรมการเพื่อพิจารณา ขณะที่พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหา พิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) ได้พิจารณาความรับผิดชอบ ผลการด�ำเนินงานและการ เปรียบเทียบกับบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน คณะกรรมการมีความยินดีแจ้งให้ทราบว่า บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้รับรางวัลดังต่อไปนี้ รางวัลยอดเยี่ยม 5 Star CG Score ส�ำหรับการก�ำกับ ดูแลกิจการดูแลส�ำหรับริษัทจดทะเบียนไทย รางวัล ASEAN Corporate Governance ให้เป็น 1 ใน 50 บริษัทจดทะเบียนชั้นน�ำในอาเซียน รางวัล Thailand Sustainability Investment 2015 จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวั ล รายงานความยั่ ง ยื น ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี 2557 Sustainability Report Awards จากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รางวั ล Gold Award จากความเป็ น เลิ ศ ทางด้ า น การก�ำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคม และ นักลงทุนสัมพันธ์ และรางวัล Best Investor Relations Team Award จากการด�ำเนินงานที่ดีเยี่ยมของทีม นักลงทุนสัมพันธ์ โดย The Asset Corporate Awards กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (NCCG) เชื่อว่าคณะกรรมการได้ปฏิบัติ หน้ า ที่ ด ้ ว ยความอุ ต สาหะและซื่ อ สั ต ย์ และแนะน�ำ คณะ กรรมการบริษัทอย่างเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจว่าได้ยึดมั่นตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และผลยึดถือผลประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค ประธานคณะกรรมการ
173
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงาน ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญต่อหน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหาร กิจการของบริษทั ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและ ข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี ส�ำหรับงบการเงินส�ำหรับปีบญั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้ นโยบายการบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินและได้ผา่ นการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตที่เป็นอิสระ งบการเงินจึงสะท้อนฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานในรอบปีทผี่ า่ นมา ทีเ่ ป็นจริงและโปร่งใส คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับ
นายศรี ปรากาซ โลเฮีย ประธานกรรมการบริษัท
174
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ดูแลกิจการที่เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางการเงินมีความถูกต้องครบถ้วน เพียงพอ โดยที่ คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการสอบทานคุณภาพของรายงาน ทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน และการเปิดเผยข้อมูล รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน มีการเปิดเผยไว้อย่างครบถ้วน เพียงพอ และเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในและ รายงานทางการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย มีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ เหมาะสมและ เชื่อถือได้
นายอาลก โลเฮีย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
เส น ใย คุ ณ ภาพสู ง เส้ เส้นนใยพิ ใยพิเเศษสำหรั ศษสำหรับบผลิ ผลิตตภัภัณ ณฑ์ฑ์ททีี่ใ่ใช้ช้สสมมัั ผัผัสส อาหารของเราผ่ อาหารของเราผ่าานขั นขั้น้นตอนการผลิ ตอนการผลิตตทีที่ด่ดีี และมี และมีกการตรวจสอบย้ ารตรวจสอบย้ออนกลั นกลับบ เพื เพื่่ออให้ ให้ ลูลูกกค้ค้าามีมีคความมั วามมั่น่นใจในความสะอาด ใจในความสะอาด และ และ ความปลอดภั ความปลอดภัยยต่ต่ออสุสุขขภาพ ภาพ
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติ มสำหรับเส้นใยชนิดพิเศษติดต่อ: ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับเส้นใยชนิดพิเศษติดต่อ:
Trevira GmbH Trevira GmbH Max-Fischer-Straße 11, 86399 Bobingen, Germany Max-Fischer-Straße 11, 86399 Bobingen, Germany โทร: 8234 9688 2222 โทร: +49 +49 8234 9688 2222 Email: Trevira.info@trevira.com Email: Trevira.info@trevira.com
175
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และของเฉพาะบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัท) ตามล�ำดับ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะ การเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบายการ บัญชีที่ส�ำคัญและเรื่องอื่นๆ
ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึง่ ก�ำหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระส�ำคัญของงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสีย่ งดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายใน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความ เหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมิน การน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
176
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัท และบริษัท ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข ข้าพเจ้าขอให้สังเกตข้อมูลและเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ตามที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 3 กลุ่มบริษัทเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การผลิตสิ่งทอและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีที่ใช้ในแต่ละส่วนงานธุรกิจ ตัวเลข เปรียบเทียบที่น�ำมาแสดงนี้น�ำมาจากงบการเงินรวมที่ตรวจสอบแล้ว ณ วันที่ และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หลังจากปรับปรุง รายการตามที่ได้อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 ตามทีเ่ ปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 5 กลุม่ บริษทั ได้เสร็จสิน้ การซือ้ ธุรกิจหลายแห่ง ซึง่ ส่งผลให้กลุม่ บริษทั บันทึกค่าความนิยม จ�ำนวน 918.4 ล้านบาทซึ่งรวมอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจ�ำนวน 3,625.7 ล้านบาทซึ่งรวมอยู่ในงบก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มูลค่ายุติธรรมของกิจการที่ซื้อมาและการปันส่วนราคาซื้อเป็น มูลค่าที่ประมาณการและอาจมีการปรับปรุง
(นายวินิจ ศิลามงคล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 19 กุมภาพันธ์ 2559
177
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและตราสารทุนอื่น เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
หมายเหตุ
7 3,232,476 8 451,805 6, 9 27,499,572 6 265,561 10 31,785,633 6, 11 7,313,154 70,548,201
178
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 2557
7,424 11,788,515 59,735 11,855,674
2,887,049 5,000,000 16,914,437 211,167 25,012,653
12 13 1,962,392 1,941,863 2,887,471 8 119,605 104,719 99,025 6 165,441 164,125 98,441 15 120,365,582 97,822,470 94,934,539 16 9,788,557 8,054,789 8,018,747 17 13,581,188 11,126,898 11,245,657 18 2,686,770 1,229,003 1,329,815 6 2,422,879 1,909,639 871,249 151,092,414 122,353,506 119,484,944
46,846,899 70,000 40,409,081 10,332 423,365 87,759,677
42,141,073 70,000 26,140,536 25,977 249,085 68,626,671
221,640,615 194,533,697 187,907,593
99,615,351
93,639,324
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
5,339,083 5,182,327 26,202,987 75,145 29,141,059 6,239,590 72,180,191
1 มกราคม 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
4,013,447 363,543 28,827,189 602 28,939,556 6,278,312 68,422,649
รวมสินทรัพย์
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)
19 12,115,009 6, 20 31,148,966
1 มกราคม 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 2557
8,581,042 27,764,210
16,075,384 25,663,247
1,244,000 -
-
2,118,153 2,898,005
4,426,228 -
3,921,866 -
184,641 2,898,005
1,668,564 -
19
8,440 1,162,679 6, 21 7,931,899 57,383,151
8,345 854,342 6,431,556 48,065,723
5,235 700,850 6,613,915 52,980,497
344,064 4,670,710
292,616 1,961,180
19 19 19 18 22
34,140,288 32,757,581 41,463,258 32,310,010 27,498,956 23,795,700 16,351 21,418 4,627 11,223,050 8,881,162 6,923,290 1,795,506 1,754,996 961,818 1,819,297 944,231 1,343,405 81,304,502 71,858,344 74,492,098 138,687,653 119,924,067 127,472,595
7,728,858 27,358,481 294,864 35,382,203 40,052,913
5,721,807 27,498,956 14,250 33,235,013 35,196,193
19 19
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
179
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ผลก�ำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส�ำรองการป้องกันความเสี่ยง ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ส่วนเกินระหว่างราคาทุนสูงกว่าราคาตามบัญชี ของบริษัทย่อยที่ได้มา ผลต่างทีเ่ กิดจากรายการภายใต้การควบคุมเดียวกัน ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 2557
5,666,010 4,814,272
5,666,010 4,814,257
4,815,857 4,814,257
5,666,010 4,814,272
5,666,010 4,814,257
23
29,775,147
29,774,627
29,774,627
29,775,147
29,774,627
24 24
(61,763) 4,658,692
(37,417) 955,455
(8,389) 2,499,825
40,028 -
154,865 -
24 24
(3,290,829) (3,300,235) (3,304,456) (1,235,562) (1,235,562) (1,235,562)
24
1,989,919 28,301,295 64,951,171 14,874,072 79,825,243 3,127,719 82,952,962
25 14
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
180
1 มกราคม 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
23 23
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่)
-
-
1,832,749 25,016,499 59,389,550 59,389,550 1,045,448 60,434,998
566,601 9,492,318 44,688,366 14,874,072 59,562,438 59,562,438
481,586 8,343,724 43,569,059 14,874,072 58,443,131 58,443,131
221,640,615 194,533,697 187,907,593
99,615,351
93,639,324
1,834,749 24,873,476 57,679,350 14,874,072 72,553,422 2,056,208 74,609,630
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุน
หมายเหตุ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
รายได้ รายได้จากการขาย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน-สุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ผลกระทบจากน�้ำท่วม-สุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้
6 234,697,949 6 166,689 6, 12 48,496 5 3,625,688 6, 27 1,594,755 240,133,577
243,907,218 71,615 375,371 1,669,890 140,000 1,572,773 247,736,867
2,726,247 3,128,853 246,125 388,081 6,489,306
1,695,555 2,622,699 34,754 215,650 4,568,658
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ผู้บริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่า ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย
6, 28 208,177,200 6, 29 12,443,474 6, 30 6,736,503 31 112,895 13, 15 33 3,652,131 231,122,203
221,869,155 11,139,586 5,397,437 90,174 744,082 3,554,524 242,794,958
329,029 17,881 1,744,299 2,091,209
47,291 17,770 1,773,844 1,838,905
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า-สุทธิ ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)
13
(242,165)
(1,356,055)
-
-
34
8,769,209 1,880,815 6,888,394
3,585,854 1,625,367 1,960,487
4,398,097 44,354 4,353,743
2,729,753 2,729,753
14
6,609,264 279,130 6,888,394
1,675,061 285,426 1,960,487
4,353,743 4,353,743
2,729,753 2,729,753
36
1.20
0.32
0.73
0.54
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
181
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
หมายเหตุ
ก�ำไรส�ำหรับปี
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
6,888,394
1,960,487
4,353,743
2,729,753
134,747 (37,701) 97,046
(413,355) 124,710 (288,645)
-
-
3,798,347
(2,170,029)
-
-
(143,546)
489,004
(143,546)
489,004
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
(34,722) 38,996 3,659,075 3,756,121 10,644,515
(34,944) (91,945) (1,807,914) (2,096,559) (136,072)
28,709 (114,837) (114,837) 4,238,906
(97,801) 391,203 391,203 3,120,956
การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
10,382,014 262,501 10,644,515
(165,566) 29,494 (136,072)
4,238,906 4,238,906
3,120,956 3,120,956
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ถูกจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไร หรือขาดทุน การวัดมูลค่าใหม่ของสินทรัพย์ (หนี้สิน) จากโครงการ ผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
22
รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไร หรือขาดทุน ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่าหน่วยงาน ต่างประเทศ ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากการป้องกันความเสี่ยงของ เงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของการป้องกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดเฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
182
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
14
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
183
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
4,814,257
-
การออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน โอนไปส�ำรองตามกฏหมาย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
-
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี
25
-
รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น
-
4,814,257 4,814,257
-
37
3
การเปลี่ยนแปลงในส่วนได้เสียในบริษัทย่อย การได้มาของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมโดยอ�ำนาจควบคุม ไม่เปลี่ยนแปลง การได้มาของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมผ่านการรวมธุรกิจ รวมการเปลี่ยนแปลงในส่วนได้เสียในบริษัทย่อย
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผล รวมการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่
ทุนเรือนหุ้นที่ออก หมายเหตุ และช�ำระแล้ว
29,774,627
-
-
-
-
-
29,774,627 29,774,627
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
1,834,749
2,000
-
-
-
-
1,832,749 1,832,749
ทุนส�ำรอง ตามกฎหมาย
24,873,476
39,850 (2,000)
1,675,061 (267,229) 1,407,832
(1,588,705)
-
(1,588,705) (1,588,705)
25,013,556 2,943 25,016,499
ยังไม่ ได้จัดสรร
ก�ำไรสะสม
955,455
-
(1,544,370) (1,544,370)
-
-
-
2,499,825 2,499,825
-
-
-
-
-
-
(37,417)
-
(29,028) (29,028)
-
-
-
1,109,407 (8,389) (1,109,407) (8,389)
4,221
4,221
4,221
(3,300,235)
-
-
-
-
(3,294,950) (9,506) (3,304,456)
(1,235,562)
-
-
-
-
-
(1,235,562) (1,235,562)
57,679,350
39,850 -
1,675,061 (1,840,627) (165,566)
(1,584,484)
4,221 4,221
(1,588,705) (1,588,705)
60,505,520 (1,115,970) 59,389,550
งบการเงินรวม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินระหว่าง ส่วนเกินทุน ราคาทุนที่สูงกว่า ผลต่างที่เกิด ผลต่างจาก จากการ ส�ำรอง ราคาตามบัญชี จากรายการ รวมส่วนของ การแปลง ตีราคา การป้องกัน ของบริษัทย่อย ภายใต้การ ผู้ถือหุ้น ค่างบการเงิน สินทรัพย์ ความเสี่ยง ที่ ได้มา ควบคุมเดียวกัน ของบริษัทใหญ่ (พันบาท)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
14,874,072
14,874,072 -
-
-
-
-
-
หุ้นกู้ด้อยสิทธิ ที่มีลักษณะ คล้ายทุน
4,221
4,221
72,553,422
14,913,922 -
1,675,061 (1,840,627) (165,566)
(1,584,484)
-
(1,588,705) (1,588,705)
2,056,208
-
285,426 (255,932) 29,494
981,266
(48,043) 1,094,996 1,046,953
(65,687) (65,687)
60,505,520 1,062,244 (1,115,970) (16,796) 59,389,550 1,045,448
74,609,630
14,913,922 -
1,960,487 (2,096,559) (136,072)
(603,218)
(43,822) 1,094,996 1,051,174
(1,654,392) (1,654,392)
61,567,764 (1,132,766) 60,434,998
ส่วนของ ส่วนได้เสีย รวมส่วน ที่ ไม่มีอ�ำนาจ รวมส่วนของ ของบริษัทใหญ่ ควบคุม ผู้ถือหุ้น
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
184
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลงในส่วนได้เสียในบริษัทย่อย การได้มาของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมโดยอ�ำนาจควบคุม ไม่เปลี่ยนแปลง การได้มาของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมผ่านการรวมธุรกิจ การได้มาของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมโดยอ�ำนาจ การควบคุมเปลี่ยนแปลง รวมการเปลีย่ นแปลงในส่วนได้เสียในบริษทั ย่อย รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน โอนไปส�ำรองตามกฏหมาย
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น หุ้นทุนออกให้ตามการใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ เงินปันผล
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ปรับปรุงใหม่
25
5
23 37
3
หมายเหตุ
4,814,272
-
15
520
520
520
29,775,147
-
-
-
-
-
15
15
29,774,627 29,774,627
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
-
-
4,814,257 4,814,257
ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว
1,989,919
155,170
-
-
-
-
1,834,749 1,834,749
ทุนส�ำรอง ตามกฎหมาย
28,301,295
6,609,264 93,859 6,703,123 (1,050,000) (155,170)
(2,070,134)
-
(2,070,134)
(2,070,134)
24,869,817 3,659 24,873,476
ยังไม่ ได้จัดสรร
ก�ำไรสะสม
4,658,692
3,703,237 3,703,237 -
-
-
-
-
955,455 955,455
-
-
-
-
-
-
-
9,406 9,406
9,406 -
-
-
(61,763) (3,290,829)
(24,346) (24,346) -
-
-
-
-
921,767 (37,417) (3,290,729) (921,767) (9,506) (37,417) (3,300,235)
(1,235,562)
-
-
-
-
-
(1,235,562) (1,235,562)
หุ้นกู้ด้อยสิทธิ ที่มีลักษณะ คล้ายทุน
64,951,171
6,609,264 3,772,750 10,382,014 (1,050,000) -
9,406 (2,060,193)
9,406 -
(2,069,599)
535 (2,070,134)
14,874,072
-
-
-
-
-
58,606,964 14,874,072 (927,614) 57,679,350 14,874,072
งบการเงินรวม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินระหว่าง ส่วนเกินทุน ราคาทุนที่สูงกว่า ผลต่างที่เกิด ผลต่างจาก จากการ ส�ำรอง ราคาตามบัญชี จากรายการ รวมส่วนของ การแปลง ตีราคา การป้องกัน ของบริษัทย่อย ภายใต้การ ผู้ถือหุ้น ค่างบการเงิน สินทรัพย์ ความเสี่ยง ที่ ได้มา ควบคุมเดียวกัน ของบริษัทใหญ่ (พันบาท)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
867,140 876,520 (1,251,183)
(14,070) 23,450
279,130 6,888,394 (16,629) 3,756,121 262,501 10,644,515 (1,050,000) -
867,140 867,114 809,010
(23,476) 23,450
(58,104) (2,127,703)
535 (58,104) (2,128,238)
79,825,243 3,127,719 82,952,962
6,609,264 3,772,750 10,382,014 (1,050,000) -
9,406 (2,060,193)
9,406 -
(2,069,599)
535 (2,070,134)
73,481,036 2,073,721 75,554,757 (927,614) (17,513) (945,127) 72,553,422 2,056,208 74,609,630
ส่วนของ ส่วนได้เสีย รวมส่วน ที่ ไม่มีอ�ำนาจ รวมส่วนของ ของบริษัทใหญ่ ควบคุม ผู้ถือหุ้น
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
185
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผล รวมการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของ ผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี การออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
25
37 -
4,814,257 29,774,627
-
-
4,814,257 29,774,627
481,586
-
-
481,586
2,729,753 2,729,753 39,850 8,343,724
(1,588,705)
(1,588,705) (1,588,705)
7,162,826
391,203 391,203 154,865
-
-
(236,338)
2,729,753 391,203 3,120,956 39,850 43,569,059
(1,588,705)
(1,588,705) (1,588,705)
41,996,958
14,874,072 14,874,072
-
-
-
2,729,753 391,203 3,120,956 14,913,922 58,443,131
(1,588,705)
(1,588,705) (1,588,705)
41,996,958
ส�ำรองป้องกัน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นกู้ด้อยสิทธิ รวมส่วน ความเสี่ยง ของบริษัทใหญ่ ที่มีลักษณะคล้ายทุน ของผู้ถือหุ้น (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ก�ำไรสะสม ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนส�ำรอง หมายเหตุ และช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้จัดสรร
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
186
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน โอนไปส�ำรองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 25
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่วนทุน ให้ผู้ถือหุ้น หุ้นทุนออกให้ตามการใช้สิทธิของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 23 เงินปันผล 37 รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่วนทุน ให้ผู้ถือหุ้น รวมรายการกับผูถ้ อื หุน้ ทีบ่ นั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผูถ้ อื หุน้
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558
หมายเหตุ
15 15 4,814,272
-
15
4,814,257
520 520 29,775,147
-
520
29,774,627
85,015 566,601
-
-
481,586
4,353,743 4,353,743 (1,050,000) (85,015) 9,492,318
(2,070,134) (2,070,134)
(2,070,134)
8,343,724
(114,837) (114,837) 40,028
-
-
154,865
4,353,743 (114,837) 4,238,906 (1,050,000) 44,688,366
(2,069,599) (2,069,599)
535 (2,070,134)
43,569,059
14,874,072
-
-
14,874,072
ส�ำรองป้องกัน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มี ความเสี่ยง ของบริษัทใหญ่ ลักษณะคล้ายทุน (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ยังไม่ ได้จัดสรร
ก�ำไรสะสม ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนส�ำรอง และช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามกฎหมาย
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
4,353,743 (114,837) 4,238,906 (1,050,000) 59,562,438
(2,069,599) (2,069,599)
535 (2,070,134)
58,443,131
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรส�ำหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนและสินทรัพย์อื่น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า-สุทธิ ต้นทุนทางการเงิน (ก�ำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ประมาณการ (กลับรายการ) หนี้สูญและค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ-สุทธิ ประมาณการค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย-สุทธิ ประมาณการการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ประมาณการขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนใน การร่วมค้า ประมาณการขาดทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับ โครงการซึ่งไม่สามารถได้รับคืน ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ผลประโยชน์พนักงาน เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
6,888,394
1,960,487
4,353,743
2,729,753
8,324,497 1,001,196 (166,689) (3,625,688) 242,165 3,652,131 129,879
7,108,346 790,239 (71,615) (1,669,890) 1,356,055 3,554,524 222,843
(2,726,247) (3,128,853) 1,744,299 (119,065)
(1,695,555) (2,622,699) 1,773,844 80,212
15
19,896 40,132 8,929
(7,500) 169,831 597,411
-
-
13
-
146,671
-
-
30 22
609,701 317,474 111,318 1,880,815 19,434,150
123,486 64,468 1,625,367 15,970,723
211,637 44,354 379,868
265,555
4,515,770 1,168,229 (92,562) (124,906) (1,046,844) 932,719 770,861 (117,540) 25,439,877 (633,770) 24,806,107
5,328,686 1,945,644 (272,388) (244,327) 659,694 (485,345) (52,448) (169,650) 22,680,589 (259,106) 22,421,483
(77,444) 36,071 338,495 338,495
143,280 9 408,844 408,844
32 32 12 5 13 33 9
34
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
187
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขาย (ซื้อ) เงินลงทุนอื่น-สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อธุรกิจ เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อย และการร่วมค้า เงินจ่ายล่วงหน้าจากการซื้อเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อย และการร่วมค้า เงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับโครงการ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท จ่ายเงินปันผลให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม เงินสดรับจากการกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว ช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากหุ้นทุนออกให้ตามการใช้สิทธิของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิ เงินสดรับจากการออกหุน้ กู-้ สุทธิจากต้นทุนการออกหุน้ กู้ จ�ำนวน 44,178,674 บาท ในปี 2558 (2557: 8,341,122 บาท) เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน-สุทธิ จากต้นทุนการออกหุ้นกู้จ�ำนวน 125,928,326 บาท ดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เงินให้กู้ยืมแก่การร่วมค้า เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ คงเหลือสิ้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
188
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
5 12, 13
37
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
193,010 (10,281,778) 79,147 4,868,095 (55,823) 783 (15,267,379)
41,973 (8,434,428) 89,274 (4,825,333) (93,189) (3,611,172)
2,872,603 3,128,853 5,000,000 -
1,787,260 2,622,699 (4,950,000) -
(175,912)
(316,834)
(4,705,826)
(1,234,005)
(412,497) (437,812) (247,163) (915,549) (21,299,517) (18,503,070)
(1,918) 6,293,712
92,540 (1,681,506)
(3,646,630) (3,479,853) (90,537) (40,234) (2,069,886) (1,587,820) (58,104) (65,687) 8,803,640 4,093,744 (14,998,775) (19,944,268) (7,902) (9,057)
(1,699,214) (55,917) (2,069,886) 7,366,570 (5,798,093) -
(1,706,866) (12,312) (1,587,820) 2,477,585 (6,211,345) -
23
535
19
7,686,048
3,691,659
2,745,490
3,691,659
25
(1,050,000) (175,869) (5,607,480)
14,874,072 (97,442) (2,564,886)
(1,050,000) (8,951,317) (9,511,832)
14,874,072 (164,300) (7,878,144) 3,482,529
(2,100,890) 5,339,083
1,353,527 4,013,447
(2,879,625) 2,887,049
2,209,867 677,182
(5,717) 3,232,476
(27,891) 5,339,083
7,424
2,887,049
7
-
535
-
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41
สารบัญ ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ การซื้อธุรกิจ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อยและตราสารทุนอื่น เงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้นและใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ส�ำรอง หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน ส่วนงานด�ำเนินงาน รายได้อื่น ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน ก�ำไรต่อหุ้น เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะที่เวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้
189
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559
1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัท จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเดือนกุมภาพันธ์ 2553 บริษัทใหญ่และบริษัทใหญ่ล�ำดับสูงสุดในระหว่างปีได้แก่ บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จ�ำกัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และบริษัท Canopus International Limited ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศมอริเชียส ตามล�ำดับ บริษัทและบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) ด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและจัดจ�ำหน่าย polyethylene terephthalate (“PET”) purified terephthalic acid (“PTA”) ethylene oxide และ ethylene glycol (“EO&EG”) เส้นด้าย และเส้นใยโพลีเอสเตอร์และผลิตภัณฑ์ ขนสัตว์ รายละเอียดของบริษัทย่อยและการร่วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6 12 และ 13
2 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน (ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทปี่ ระกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพ บัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ในเบื้องต้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่นั้น มีผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท/บริษัทในบางเรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ขา้ งต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึ่งมีผลบังคับส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการน�ำ มาใช้ส�ำหรับการจัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุงใหม่ท่ีเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัทได้ เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 41 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการดังต่อไปนี้ที่ใช้ทางเลือกในการวัดมูลค่าในแต่ละรอบ ระยะเวลารายงาน รายการ
เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ หนี้สินผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้สุทธิ
190
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เกณฑ์การวัดมูลค่า
มูลค่ายุติธรรม มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันตามผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 4 (ฑ)
(ค) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและน�ำเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดท�ำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาทซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัท ข้อมูลทางการเงินทั้งหมดมีการ ปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ง) การใช้วิจารณญาณและการประมาณการ ในการจัดท�ำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณและข้อสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�ำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�ำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก โดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป ข้อสมมติฐานและความไม่แน่นอนของการประมาณการ ข้อมูลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของการประมาณการที่ส�ำคัญซึ่งมีความเสี่ยงอย่างมีนัยส�ำคัญที่เป็นเหตุให้ต้องมีการปรับปรุงจ�ำนวนเงิน ที่รับรู้ในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (ท) ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 การซื้อธุรกิจ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 ข้อสมมุติฐานส�ำหรับการประมาณการในการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคต หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 การใช้ประโยชน์ของขาดทุนทางภาษี หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 22 การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 25 หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38 การตีมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน การวัดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลของกลุม่ บริษทั /บริษทั หลายข้อก�ำหนดให้มกี ารวัดมูลค่ายุตธิ รรมทัง้ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน กลุ่มบริษัท/บริษัทก�ำหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้รวมถึงกลุ่มผู้ประเมินมูลค่าซึ่งมี ความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุติธรรมที่มีนัยส�ำคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 และรายงานโดยตรงต่อผู้บริหารอาวุโส กลุ่มผู้ประเมินมูลค่ามีการทบทวนข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ และปรับปรุงการวัดมูลค่าที่มีนัยส�ำคัญอย่างสม�่ำเสมอ หากมีการใช้ข้อมูล จากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลค่ายุติธรรม เช่น ราคาจากนายหน้า หรือการตั้งราคา กลุ่มผู้ประเมินได้ประเมินหลักฐานที่ได้มาจากบุคคลที่สาม ทีส่ นับสนุนข้อสรุปเกีย่ วกับการวัดมูลค่า รวมถึงการจัดระดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมว่าเป็นไปตามทีก่ ำ� หนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการ เงินอย่างเหมาะสม ประเด็นปัญหาของการวัดมูลค่าที่มีนัยส�ำคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของกลุ่มบริษัท/บริษัท เมื่อวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สิน กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ใช้ข้อมูลที่สามารถสังเกตได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ มูลค่ายุติธรรม เหล่านี้ถูกจัดประเภทในแต่ละล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมตามข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมูลค่า ดังนี้ ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซื้อขาย (ไม่ต้องปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกัน ข้อมูลระดับ 2 เป็นข้อมูลอื่นที่สังเกตได้โดยตรง (เช่น ราคาขาย) หรือโดยอ้อม (เช่น ได้มาจากราคา) ส�ำหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้น นอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ข้อมูลระดับ 3 เป็นข้อมูลส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ไม่ได้มาจากข้อมูลที่สังเกตได้ (ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้) หากข้อมูลทีน่ ำ� มาใช้ในการวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ถูกจัดประเภทล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรมทีแ่ ตกต่างกัน การวัดมูลค่า ยุติธรรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมของข้อมูลที่อยู่ในระดับต�่ำสุดที่มีนัยส�ำคัญ ส�ำหรับการวัดมูลค่ายุติธรรมโดยรวม กลุ่มบริษัท/บริษัทรับรู้การโอนระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ้น ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อสมมติฐานที่ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม อยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38 เครื่องมือทางการเงิน
191
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
3 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) มาตรฐานรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ผลจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ดังที่กล่าวในหมายเหตุ ข้อ 2 กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัท/บริษัท อย่างเป็นสาระส�ำคัญดังนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม รายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและผลกระทบของการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่มี ดังนี้ การวัดมูลค่ายุติธรรม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 ก�ำหนดกรอบแนวคิดเดียวกันส�ำหรับการวัดมูลค่ายุติธรรมและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการ วัดมูลค่ายุตธิ รรม เมือ่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอืน่ ก�ำหนดหรืออนุญาตให้วดั มูลค่ายุตธิ รรม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับนี้ให้ค�ำนิยามของมูลค่ายุติธรรมที่สอดคล้องกันว่าเป็นราคาที่จะได้รับจากการขายสินทรัพย์ หรือจะจ่ายเพื่อโอนหนี้สินในรายการที่ เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ร่วมตลาด ณ วันที่มีการวัดมูลค่า อีกทั้งได้ก�ำหนดการเปิดเผยข้อมูลโดยทดแทนหรือขยายการเปิดเผยเกี่ยว กับการวัดมูลค่ายุติธรรมตามที่ระบุในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ตามที่ก�ำหนดไว้ในการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 กลุ่มบริษัท/บริษัทใช้แนวทางการปฏิบัติ ใหม่เกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรมโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป และไม่ได้ให้ข้อมูลเปรียบเทียบส�ำหรับการเปิดเผยข้อมูลใหม่ (ข) การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 กลุ่มบริษัทได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกมูลค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การผลิตสิ่งทอและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยเลือกใช้วิธีราคาทุนตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีที่ใช้ในแต่ละส่วนงานธุรกิจ กลุม่ บริษทั ได้ปรับงบการเงินย้อนหลังส�ำหรับการเปลีย่ นแปลง ดังกล่าว ก่อนปี 2558 เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตสิ่งทอและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องวัดมูลค่าโดยวิธีการตีราคาใหม่มูลค่าของสินทรัพย์ส่วน ที่ตีเพิ่มขึ้นจะบันทึกไปยังก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและแสดงเป็น “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในส่วนของผู้ถือหุ้น ยกเว้นกรณีที่ เคยประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ลดลงและรับรูข้ าดทุนในก�ำไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์ชนิ้ เดียวกันนัน้ แล้ว ในกรณีทมี่ ลู ค่าของสินทรัพย์ลด ลงจากการตีราคาใหม่จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับมูลค่าที่ลดลงเฉพาะจ�ำนวนที่ลดลงมากกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ที่เคยบันทึกไว้ครั้งก่อนในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันนั้น ส่วนเกินจากการตีราคาทรัพย์สินจะถูกตัดบัญชี เท่ากับผล ต่างระหว่างค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่กับค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในราคาทุนเดิมและโอนโดยตรงไปก�ำไรสะสม ในกรณีที่ มีการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่เคยตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพย์ที่จ�ำหน่ายจะโอนโดยตรงไปยังก�ำไรสะสมและไม่รวมใน การค�ำนวณก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ผู้บริหารเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวช่วยให้กลุ่มบริษัทใช้นโยบายการบัญชีที่สอดคล้องกันในแต่ละส่วนงานธุรกิจและ สอดคล้องกันกับบริษทั อืน่ ในกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกัน ส่งผลให้ขอ้ มูลทางการเงินของกลุม่ บริษทั มีความน่าเชือ่ ถือและเกีย่ วข้องกันมากขึน้ ผลกระทบต่องบการเงินรวมมีดังต่อไปนี้ ตามที่รายงาน ในปีก่อน
งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น รวม
192
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
96,213,493 1,185,116
งบการเงินรวม ผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี (พันบาท)
(1,278,954) 144,699 (1,134,255)
ปรับปรุงใหม่
94,934,539 1,329,815
ตามที่รายงาน ในปีก่อน
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ส่วนเกินระหว่างราคาทุนที่สูงกว่าราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยที่ได้มาลดลง ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น ส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลง รวม งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มกราคม 2557 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ส่วนเกินระหว่างราคาทุนที่สูงกว่าราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยที่ได้มาลดลง ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น ส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลง รวม
งบการเงินรวม ผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี (พันบาท)
ปรับปรุงใหม่
6,924,779 1,109,407 (3,294,950) 25,013,556 1,062,244
(1,489) (1,109,407) (9,506) 2,943 (16,796) (1,134,255)
6,923,290 (3,304,456) 25,016,499 1,045,448
98,900,604 1,105,256
(1,078,134) 123,747 (954,387)
97,822,470 1,229,003
8,890,422 921,767 (3,290,729) 24,869,817 2,073,721
(9,260) (921,767) (9,506) 3,659 (17,513) (954,387)
8,881,162 (3,300,235) 24,873,476 2,056,208
งบการเงินรวม 2557 (พันบาท)
งบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ค่าเสื่อมราคาลดลง ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ก�ำไรส�ำหรับปีเพิ่มขึ้น ก�ำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น - ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและปรับลด (บาท)
200,820 (10,905) 189,915 0.04
193
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
4 นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ นโยบายการบัญชีทนี่ ำ� เสนอดังต่อไปนี้ได้ถอื ปฏิบตั โิ ดยสม�ำ่ เสมอส�ำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาทีร่ ายงานยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในการ ร่วมค้า การรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีส�ำหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ เมื่อการควบคุมถูกโอนไปยังกลุ่มบริษัท ยกเว้นในกรณีที่เป็นการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การควบคุม หมายถึงอ�ำนาจในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของ กิจการนั้น ในการพิจารณาอ�ำนาจในการควบคุม กลุ่มบริษัทต้องน�ำสิทธิในการออกเสียงที่เกิดขึ้นมารวมในการพิจารณา วันที่ซื้อกิจการ คือวันทีอ่ ำ� นาจในการควบคุมนัน้ ได้ถูกโอนไปยังผู้ซอื้ การก�ำหนดวันทีซ่ ื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอ�ำนาจควบคุมจากฝ่ายหนึ่งไป ยังอีกฝ่ายหนึ่งต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามาเกี่ยวข้อง ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จ�ำนวนส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัทก่อขึ้นเพื่อจ่ายช�ำระให้แก่เจ้าของเดิม และ ส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นที่ออกโดยกลุ่มบริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนให้ยังรวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลค่า ของโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ออกแทนโครงการของผู้ถูกซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผลให้สิ้นสุดความสัมพันธ์ของ โครงการเดิมระหว่างกลุม่ บริษทั และผูถ้ กู ซือ้ ให้ใช้ราคาทีต่ ำ�่ กว่าระหว่างมูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามทีร่ ะบุในสัญญาและมูลค่าองค์ประกอบ นอกตลาด ไปหักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให้และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ของบริษทั ทีถ่ กู ซือ้ ทีร่ บั มาจากการรวมธุรกิจ รับรูเ้ ป็นหนีส้ นิ หากมีภาระผูกพันในปัจจุบนั ซึง่ เกิดขึน้ จากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อของกลุ่มบริษัทที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึกษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและ ค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น การรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็นวิธีการรวมส่วนได้เสียและตาม แนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552 บริษัทย่อย บริษทั ย่อยเป็นกิจการทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุม่ บริษทั การควบคุมเกิดขึน้ เมือ่ กลุม่ บริษทั เปิดรับหรือมีสทิ ธิในผลตอบแทนผันแปรจาก การเกีย่ วข้องกับกิจการนัน้ และมีความสามารถในการใช้อำ� นาจเหนือกิจการนัน้ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินผลตอบแทนของกลุม่ บริษทั งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง การสูญเสียการควบคุม เมื่อกลุ่มบริษัทสูญเสียการควบคุมในบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทย่อยนั้นออก รวมถึงส่วนได้เสียที่ ไม่มอี ำ� นาจควบคุมและส่วนประกอบอืน่ ในส่วนของเจ้าของทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ย่อยนัน้ ก�ำไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการสูญเสียการควบคุม ในบริษทั ย่อยรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษทั ย่อยเดิมทีย่ งั คงเหลืออยู่ให้วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันทีส่ ญู เสียการควบคุม
194
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ส่วนได้เสียในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย ประกอบด้วยส่วนได้เสียในการร่วมค้า การร่วมค้าเป็นการร่วมการงานทีก่ ลุม่ บริษทั มีการควบคุมร่วมในการช่วยงานนัน้ โดยมีสทิ ธิในสินทรัพย์สทุ ธิของการร่วมการงานนัน้ มากกว่า การมีสิทธิในสินทรัพย์และภาระผูกพันในหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับการร่วมการงานนั้น ส่วนได้เสียในการร่วมค้าบันทึกบัญชีตามวิธีส่วนได้เสีย โดยรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกด้วยราคาทุนซึ่งรวมถึงต้นทุนการท�ำรายการ ภายหลัง การรับรู้รายการเริ่มแรก ส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนและก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัท จะถูกบันทึกในงบการเงินรวมจนถึงวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสียความมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญหรือการควบคุมร่วม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการระหว่างกิจการ ในกลุม่ ถูกตัดรายการในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก�ำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงซึง่ เป็นผลมาจากรายการกับบริษทั ร่วมและการร่วมค้าถูกตัดรายการ กับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับก�ำไรที่ยัง ไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สินทรัพย์และหนีส้ นิ ที่ไม่เป็นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีทเี่ ป็นเงินตราต่างประเทศซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นสกุลเงิน ที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งแสดงในมูลค่ายุติธรรม แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการพิจารณามูลค่ายุติธรรม ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงค่า ให้รับรู้เป็นก�ำไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีน้ัน แต่ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิด ขึ้นจากการแปลงค่าของรายการดังต่อไปนี้จะรับรู้เข้าก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หนี้สินทางการเงินที่ ใช้ป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ เฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล หรือ การป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสด เฉพาะส่วนที่มีประสิทธิผล หน่วยงานในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่างประเทศ รวมทั้งค่าความนิยมและการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการรวมธุรกิจแปลงค่าเป็น เงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่า บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเป็นรายการผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ จนกว่ามีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนนัน้ ออกไป ยกเว้นผลต่างจากการแปลงค่าทีถ่ กู ปันส่วนให้สว่ นได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุม เมื่อหน่วยงานต่างประเทศถูกจ�ำหน่ายส่วนได้เสียทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนที่ท�ำให้สูญเสียการควบคุม ความมีอิทธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญ หรือการควบคุมร่วมกัน ผลสะสมของผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานต่างประเทศนั้นต้องถูกจัดประเภทเป็นก�ำไร หรือขาดทุนโดยเป็นส่วนหนึ่งของก�ำไรขาดทุนจากการจ�ำหน่าย หากกลุ่มบริษัทจ�ำหน่ายส่วนได้เสียในบริษัทย่อยเพียงบางส่วนแต่ยังคงมี การควบคุม ผลสะสมต้องถูกปันสัดส่วนให้กับส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม หากกลุ่มบริษัทจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทร่วมหรือ การร่วมค้าเพียงบางส่วนโดยที่กลุ่มบริษัทยังคงมีอิทธิพลหรือการควบคุมร่วมที่มีสาระส�ำคัญอยู่ กลุ่มบริษัทต้องจัดประเภทยอดสะสมบาง ส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นก�ำไรหรือขาดทุน
195
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายการทีเ่ ป็นตัวเงินทีเ่ ป็นลูกหนีห้ รือเจ้าหนีก้ บั หน่วยงานในต่างประเทศ ซึง่ มิได้คาดหมายว่าจะมีแผนการช�ำระหนีห้ รือไม่มคี วามเป็นไปได้ ว่าจะช�ำระเงินในอนาคตอันใกล้ ก�ำไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจากรายการทางการเงินดังกล่าวจะถูกพิจารณาเป็นส่วนหนึ่งของเงิน ลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ และรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเป็นรายการผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนในส่วนของ ผู้ถือหุ้น จนกว่ามีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ ได้ถูกน�ำมาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศ และอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไข การก�ำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์จะถูกบันทึกบัญชีเมือ่ เริม่ แรกด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากการท�ำรายการดังกล่าวบันทึก ในก�ำไรหรือขาดทุนเมือ่ เกิดขึน้ การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครัง้ แรกใช้มลู ค่ายุตธิ รรม ก�ำไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็น มูลค่ายุติธรรมบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนทันที อย่างไรก็ตามหากตราสารอนุพันธ์เข้าเงื่อนไขมีไว้เพื่อเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง การบันทึกรายการก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาจะขึ้นอยู่กับลักษณะของการป้องกันความเสี่ยง (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4(ง)) มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้า ณ วันที่รายงาน ราคาอ้างอิงเหล่านั้นสามารถทดสอบ หาความสมเหตุสมผลได้ ด้วยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ข้อก�ำหนดต่างๆ และวันสิ้นสุดของแต่ละสัญญา และโดยการใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดของเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ณ วันที่รายงาน หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่ไม่มรี าคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุตธิ รรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญา ปัจจุบัน ณ วันที่รายงานที่ครบก�ำหนดในวันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตร รัฐบาล ผลต่างระหว่างราคาที่ก�ำหนดไว้กับราคาจ่ายช�ำระของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของสินค้าโภคภัณฑ์ภายใต้กรอบระยะเวลาตามข้อตกลงกับ สถาบันการเงินรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนในงวดที่สัญญาครบก�ำหนด (ง) การป้องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรม ในกรณีที่เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ถูกใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือข้อผูกมัดที่ยังไม่มีการรับรู้ (หรือเฉพาะส่วนที่เจาะจงของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือข้อผูกมัด) ก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคา ตามมูลค่ายุติธรรมหรือองค์ประกอบที่เป็นเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงินที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงถูกบันทึกในก�ำไรหรือ ขาดทุน รายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน ก�ำไรหรือขาดทุน ที่เกิดขึ้นถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน การป้องกันความเสี่ยงจากกระแสเงินสด ในกรณีที่น�ำเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์มาใช้เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดของรายการสินทรัพย์หรือ หนี้สินที่บันทึกในบัญชี หรือของรายการที่คาดว่ามีโอกาสเกิดขึ้นค่อนข้างสูงซึ่งมีผลกระทบต่อก�ำไรหรือขาดทุน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุตธิ รรมของการป้องกันความเสีย่ งกระแสเงินสดเฉพาะส่วนทีม่ ปี ระสิทธิผลจะรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และแสดงเป็นรายการป้องกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ไม่มีประสิทธิผลจะรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน หากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ท�ำให้เกิดการรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงิน ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดจาก การป้องกันความเสี่ยงจะถูกรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยไม่น�ำไปรวมไว้ในต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ถูกป้องกัน ความเสี่ยง แต่จะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อมีการรับรู้ก�ำไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้น เสมือนเป็นการจัดประเภทรายการใหม่ หากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ท�ำให้เกิดการรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินที่ไม่ใช่สินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินใน เวลาต่อมา ก�ำไรหรือขาดทุนในส่วนที่บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจะถูกจัดประเภทจากส่วนของผู้ถือหุ้น ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อมี การรับรู้ก�ำไรหรือขาดทุนของสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้นเสมือนเป็นการปรับปรุงการจัดประเภทรายการ
196
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
การบัญชีป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในการด�ำเนินงานต่างประเทศ การป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในการด�ำเนินงานต่างประเทศรวมถึงการป้องกันความเสี่ยงของสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงินซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของเงินลงทุนสุทธิ คล้ายคลึงกับการป้องกันความเสี่ยงของกระแสเงินสด การบันทึกบัญชีเมื่อหยุดป้องกันความเสี่ยง การบัญชีเกีย่ วกับการป้องกันความเสีย่ งเลิกใช้โดยไม่ปรับปรุงย้อนหลัง เมือ่ เครือ่ งมือป้องกันความเสีย่ งหมดอายุหรือถูกขายไปแล้ว ถูกเพิก ถอนหรือได้ใช้สิทธิตามสัญญาแล้ว หรือไม่เข้าเงื่อนไขการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป ก�ำไรหรือขาดทุนในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินเพื่อใช้ป้องกันความเสี่ยงซึ่งเดิมบันทึกสะสมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นยังคงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น และรับรู้ เมื่อรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้บันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีรายการที่คาดไว้ไม่เกิดขึ้น ก�ำไรหรือขาดทุนสะสมซึ่งเดิมแสดงไว้ใน ส่วนของผู้ถือหุ้นจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนทันที (จ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้องช�ำระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ฉ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�ำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะ ถูกตัดจ�ำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ช) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ต้นทุนของสินค้าค�ำนวณโดยใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยราคาทุนทีซ่ อื้ ต้นทุนแปลงสภาพหรือต้นทุนอืน่ เพือ่ ให้สนิ ค้า อยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ย การผลิตอย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงระดับก�ำลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการด�ำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็นโดยประมาณในการขาย (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยและการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษัทย่อยและการร่วมค้าในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน ส่วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุน ในการร่วมค้าในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารทุนอื่น เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจ�ำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนสะสมจากการตีราคา หลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัท/บริษัทจ�ำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การค�ำนวณต้นทุนส�ำหรับเงินลงทุนที่จ�ำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ยังถือ อยู่ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ปรับใช้กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ทั้งหมด
197
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ฌ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ที่กิจการก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุน ของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน ได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม ส�ำหรับเครื่องมือที่ควบคุม โดยลิขสิทธ์ซอฟแวร์ซึ่งไม่สามารถท�ำงานได้โดยปราศจากลิขสิทธ์ซอฟแวร์นั้นให้ถือว่าลิขสิทธ์ซอฟแวร์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละส่วนประกอบทีม่ นี ยั ส�ำคัญ แยกต่างหากจากกัน ก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้อื่นในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จัดประเภทเป็นสัญญา เช่าการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยท�ำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าปัจจุบันของจ�ำนวน เงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ช�ำระจะแยก เป็นส่วนทีเ่ ป็นค่าใช้จา่ ยทางการเงิน และส่วนทีจ่ ะหักจากหนีต้ ามสัญญา เพือ่ ท�ำให้อตั ราดอกเบีย้ แต่ละงวดเป็นอัตราคงทีส่ ำ� หรับยอดคงเหลือ ของหนี้สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไป ได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่าง น่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบ�ำรุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ เกิดขึ้นเป็นประจ�ำจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�ำนวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของแต่ละรายการ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หัก ด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสือ่ มราคาบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในก�ำไรหรือขาดทุน ค�ำนวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ประโยชน์โดยประมาณของส่วนประกอบ ของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน 5-50 ปี อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร 4-50 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์ 1-30 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�ำนักงาน 2-20 ปี ยานพาหนะ 3-10 ปี วัสดุและอะไหล่ 1-20 ปี กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี และปรับปรุง ตามความเหมาะสม
198
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ญ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยม ได้อธิบายใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน 4(ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่า สะสม ในกรณีของเงินลงทุนที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทที่ถูกลงทุน มูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุน และผลขาดทุนจากการด้อยค่าในเงินลงทุนต้องไม่ถูกปันส่วนให้สินทรัพย์ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงิน ลงทุนรวมถึงค่าความนิยม รายจ่ายในการวิจัยและพัฒนา รายจ่ายในขั้นตอนการวิจัย ได้แก่ การส�ำรวจตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่ง ความรู้ความเข้าใจใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือทางด้านเทคนิค รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ขัน้ ตอนพัฒนาเกีย่ วข้องกับแผนงานหรือการออกแบบส�ำหรับผลิตภัณฑ์และกระบวนการใหม่หรือปรับปรุงให้ดขี นึ้ กว่าเดิม รายจ่ายทีเ่ กิดจาก การพัฒนารับรู้เป็นสินทรัพย์ได้ก็ต่อเมื่อสามารถวัดมูลค่าของรายการต้นทุนการพัฒนาได้อย่างน่าเชื่อถือ ผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการนั้นมี ความเป็นไปได้ทางเทคนิคและทางการค้า ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต และ กลุ่มบริษัทมีความตั้งใจ และมีทรัพยากรเพียงพอที่จะน�ำมาใช้เพื่อท�ำให้การพัฒนาเสร็จสิ้นสมบูรณ์ และน�ำสินทรัพย์มาใช้ประโยชน์หรือน�ำมาขายได้ รายจ่ายใน การพัฒนารับรู้เป็นสินทรัพย์รวมถึงต้นทุนส�ำหรับวัตถุดิบ ต้นทุนแรงงานทางตรง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรงในการจัดเตรียมสินทรัพย์ เพื่อให้สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ตามประสงค์และต้นทุนการกู้ยืมสามารถน�ำมารวมเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ รายจ่ายใน การพัฒนาอื่นรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น รายจ่ายในการพัฒนาซึ่งรับรู้เป็นสินทรัพย์แสดงราคาด้วยราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจ�ำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการ ด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ที่สามารถระบุ ได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต จากสินทรัพย์นนั้ ตามระยะเวลาทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนซึง่ ไม่รวมค่าความนิยม โดยเริม่ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ส�ำหรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ สิทธิการได้มา 5-50 ปี สัญญาซื้อวัตถุดิบและความสัมพันธ์กับผู้ขายสินค้า 3-10, อายุการใช้งานไม่จ�ำกัด ค่าลิขสิทธิ์ซอฟแวร์ 1-15 ปี ค่าลิขสิทธิ์ทางเทคโนโลยี 5-30 ปี สัญญาที่ท�ำกับลูกค้าและความสัมพันธ์กับลูกค้า 3-20.3 ปี ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้า 9-21.5, อายุการใช้งานไม่จ�ำกัด สัญญาแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์เคมี 19 ปี รายจ่ายในการพัฒนาที่รับรู้เป็นสินทรัพย์ 3-13 ปี วิธีการตัดจ�ำหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์และมูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุงตามความ เหมาะสม
199
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ฎ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริษทั ได้รบั การทบทวน ณ ทุกวันทีร่ ายงานว่ามีขอ้ บ่งชีเ้ รือ่ งการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีทมี่ ขี อ้ บ่งชีจ้ ะท�ำการ ประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ส�ำหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ ไม่ทราบแน่นอน หรือ ยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรูเ้ มือ่ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าทีจ่ ะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบก�ำไรขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้จะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น การค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดทีจ่ ะได้รบั ในอนาคต จะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้เพือ่ ให้สะท้อนมูลค่าทีอ่ าจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลา และความเสีย่ งทีม่ ตี อ่ สินทรัพย์สำ� หรับสินทรัพย์ที่ไม่กอ่ ให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อนื่ จะพิจารณามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มกี ารปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน อื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับ รายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียง เท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจ�ำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึก ขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ บันทึกเริม่ แรกในมูลค่ายุตธิ รรมหักค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับการเกิดหนีส้ นิ ภายหลังจากการบันทึกหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอนจะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฑ) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในก�ำไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�ำงาน ให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ ภาระผูกพันสุทธิของกลุม่ บริษทั จากโครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ถกู ค�ำนวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจากการประมาณผลประโยชน์ ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงานของพนักงานในงวดปัจจุบันและงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็น มูลค่าปัจจุบัน การค�ำนวณภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้นนั้ จัดท�ำโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รบั อนุญาตเป็นประจ�ำทุกปี โดยวิธี คิดลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ ผลจากการค�ำนวณอาจท�ำให้กลุม่ บริษทั มีสนิ ทรัพย์เกิดขึน้ ซึง่ การรับรูเ้ ป็นสินทรัพย์จะใช้มลู ค่าปัจจุบนั ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มีในรูปของการได้รับคืนในอนาคตจากโครงการหรือการหักการสมทบเข้าโครงการในอนาคต ในการค�ำนวณ มูลค่าปัจจุบันของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจได้มีการพิจารณาถึงความต้องการเงินทุนขั้นต�่ำส�ำหรับโครงการต่างๆ ของกลุ่มบริษัท
200
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในการวัดมูลค่าใหม่ของหนี้สินผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้สุทธิ ก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยจะถูก รับรูร้ ายการในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ทันที กลุม่ บริษทั ก�ำหนดดอกเบีย้ จ่ายของหนีส้ นิ ผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้สทุ ธิโดยใช้อตั ราคิดลดที่ใช้ วัดมูลค่าภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ ต้นปี โดยค�ำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในหนี้สินผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้สุทธิซึ่งเป็นผล มาจากการสมทบเงินและการจ่ายช�ำระผลประโยชน์ ดอกเบีย้ จ่ายสุทธิและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการผลประโยชน์รบั รูร้ ายการใน ก�ำไรหรือขาดทุน เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงผลประโยชน์ของโครงการหรือการลดขนาดโครงการ การเปลีย่ นแปลงในผลประโยชน์ทเี่ กีย่ วข้องกับการบริการในอดีต หรือ ก�ำไรหรือขาดทุนจากการลดขนาดโครงการต้องรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้ก�ำไรและขาดทุนจากการจ่ายช�ำระ ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทที่เป็นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานเป็นผลประโยชน์ ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงานของพนักงาน ในงวดปัจจุบันและงวดก่อนๆ ซึ่งผลประโยชน์นี้ได้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน การวัดมูลค่าใหม่จะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมือ่ เลิกจ้างจะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ วันใดวันหนึง่ ต่อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่อน เมือ่ กลุม่ บริษทั ไม่สามารถยกเลิกข้อเสนอการให้ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้อีกต่อไป หรือเมื่อกลุ่มบริษัทรับรู้ต้นทุนส�ำหรับการปรับโครงสร้าง หากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับ จากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างจะถูกคิดลดกระแสเงินสด ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงานท�ำงานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระ หากกลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็น ผลมาจากการที่พนักงานได้ท�ำงานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล (ฒ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนีส้ นิ จะรับรูก้ ต็ อ่ เมือ่ กลุม่ บริษทั /บริษทั มีภาระหนีส้ นิ ตามกฎหมายทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั หรือทีก่ อ่ ตัวขึน้ อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อช�ำระภาระหนี้สินดังกล่าว ประมาณการหนี้สิน พิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�ำนวนที่ อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไป รับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน (ณ) หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุนจะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อบริษัทมีสิทธิและดุลยพินิจแต่เพียงผู้เดียวที่จะเลื่อนช�ำระเงินต้น ดอกเบี้ย และดอกเบี้ยสะสมค้างช�ำระโดยไม่จ�ำกัดเวลาและจ�ำนวนที่ค้างช�ำระ ดังนั้นการช�ำระดอกเบี้ยใดๆ จะถือเสมือนการจ่ายเงินปันผลและจะรับรู้ โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีภาระในการจ่ายช�ำระดอกเบี้ยเกิดขึ้น เนื่องจากการช�ำระดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ออกหุ้นกู้ และ เกีย่ วข้องกับส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ การช�ำระดอกเบีย้ ดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบต่อก�ำไรหรือขาดทุน การช�ำระดอกเบีย้ รับรูใ้ นงบกระแสเงินสด ในลักษณะเดียวกันกับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ (ด) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้าและส่วนลดพิเศษ การขายสินค้า รายได้รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�ำคัญไปให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับรู้ รายได้ถา้ ฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าทีข่ ายไปแล้วนัน้ หรือมีความไม่แน่นอนทีม่ นี ยั ส�ำคัญในการได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจ�ำนวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่นอนที่จะต้องรับคืนสินค้า
201
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล (ต) ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบีย้ จ่ายของเงินกูย้ มื ประมาณการหนีส้ นิ ส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเวลาทีผ่ า่ นไป และสิง่ ตอบแทนทีค่ าดว่า จะต้องจ่าย ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ทางการเงินที่ถือไว้เพื่อขาย เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิซึ่งถูกจัดประเภทเป็นหนี้สิน ขาดทุน จากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน หรือขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน (นอกเหนือ ลูกหนี้การค้า) และ ขาดทุนจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ถ) สัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ำมารวมค�ำนวณจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับการยืนยันการปรับ ค่าเช่า การจ�ำแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�ำไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�ำให้กลุ่มบริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริษัทแยกค่าตอบแทนส�ำหรับสัญญาเช่า และส่วนที่เป็นองค์ประกอบอื่น โดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริษัทสรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจ�ำนวนดังกล่าวได้อย่างน่า เชื่อถือ ให้รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจ�ำนวนที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจ�ำนวนหนี้สิน จะลดลงตามจ�ำนวนที่จ่าย และต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของกลุ่มบริษัท (ท) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้องในการรวมธุรกิจ หรือ รายการที่รับรู้โดยตรง ในส่วนของผู้ถือหุ้นหรือก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระหรือได้รับช�ำระ โดยค�ำนวณจากก�ำไรหรือขาดทุนประจ�ำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้ อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยค�ำนวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินและจ�ำนวนที่ ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมใน ครัง้ แรก การรับรูส้ นิ ทรัพย์หรือหนีส้ นิ ในครัง้ แรกซึง่ เป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนัน้ ไม่มผี ลกระทบต่อก�ำไรขาดทุนทางบัญชี หรือทางภาษี และผลแตกต่างทีเ่ กีย่ วข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและการร่วมค้าหากเป็นไปได้วา่ จะไม่มกี ารกลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต้องสะท้อนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการทีก่ ลุ่มบริษทั /บริษัทคาดว่าจะได้รับ ผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรือจะจ่ายช�ำระหนี้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวัดมูลค่าโดยใช้อัตราภาษีที่คาดว่าจะใช้กับผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศ ใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก�ำหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุม่ บริษทั /บริษทั ต้องค�ำนึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจท�ำให้จ�ำนวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�ำระ กลุ่มบริษัท/บริษัท เชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้าง จ่ายเพียงพอส�ำหรับภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐานและอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับ
202
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เหตุการณ์ ในอนาคตข้อมูลใหม่ๆอาจจะท�ำให้กลุ่มบริษัท/บริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่าย ที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมือ่ กิจการมีสทิ ธิตามกฎหมายทีจ่ ะน�ำสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงาน เดียวกันส�ำหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกัน ส�ำหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายช�ำระหนี้สินและสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายช�ำระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าก�ำไรเพือ่ เสียภาษีในอนาคตจะมีจำ� นวนเพียงพอกับ การใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลง เท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (ธ) ก�ำไรต่อหุ้น กลุ่มบริษัท/บริษัทแสดงก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลดส�ำหรับหุ้นสามัญ ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไร หรือขาดทุนของผูถ้ อื หุน้ สามัญของบริษทั หักดอกเบีย้ จ่ายสะสมส�ำหรับหุน้ กูด้ อ้ ยสิทธิทมี่ ลี กั ษณะคล้ายทุนไม่วา่ จะบันทึกค้างจ่ายหรือไม่ ด้วย จ�ำนวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักทีอ่ อกจ�ำหน่ายระหว่างปีปรับปรุงด้วยจ�ำนวนหุน้ สามัญทีซ่ อื้ คืน ก�ำไรต่อหุน้ ปรับลดค�ำนวณโดยการหาร ก�ำไรหรือขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญหักดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ที่ออกจ�ำหน่ายและปรับปรุงด้วยผลกระทบจากจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกส�ำหรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (น) รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน ผลการด�ำเนินงานของส่วนงานทีร่ ายงานต่อประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของกลุม่ บริษทั (ผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน) จะแสดง ถึงรายการที่เกิดขึ้นจากส่วนงานด�ำเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ได้รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล รายการที่ไม่สามารถปันส่วน ได้ส่วนใหญ่เป็นรายการสินทรัพย์ขององค์กร (ทรัพย์สินที่ส�ำนักงานใหญ่เป็นหลัก) ค่าใช้จ่ายในส�ำนักงานใหญ่ และสินทรัพย์และหนี้สิน ภาษีเงินได้ อื่นๆ
5 การซื้อธุรกิจ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อและค่าความนิยม ผู้บริหารพิจารณาให้ส่วนเกินจากส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในสินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ของกิจการที่ซื้อมาที่สูงกว่าต้นทุนในงวดสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป็นก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อและค่าความนิยมรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน รวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตามล�ำดับ ประกอบด้วยรายการ ดังต่อไปนี้ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ หมายเหตุ
Polyplex Resins San. ve Tic. A.S. ประเทศตุรกี บริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ประเทศไทย CEPSA Chimie Montréal s.e.c ประเทศแคนาดา Micro Polypet Private Limited ประเทศอินเดีย รวมก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ
5(ก) 5(ค) 5(ง) 5(จ)
2558 (พันบาท)
201,737 907,578 2,458,906 57,467 3,625,688
ค่าความนิยม
Performance Fibers Holdings Finance, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา
หมายเหตุ
2558 (พันบาท)
5(ข)
918,402 918,402
203
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 ผู้บริหารต้องประมาณการมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจที่ซื้อมา ณ วันที่ซื้อ ในระหว่างช่วงระยะ เวลาในการวัดมูลค่าซึ่งต้องไม่เกินกว่าหนึ่งปีนับจากวันที่ซื้อ ผู้ซื้อต้องปรับย้อนหลังประมาณการที่เคยรับรู้ไว้ ณ วันที่ซื้อ เพื่อสะท้อน ผลของข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้รับเกี่ยวกับข้อเท็จจริงและสถานการณ์แวดล้อมที่มีอยู่ ณ วันที่ซื้อ ทั้งนี้ การก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมที่สุดของธุรกิจ ที่ซื้อมาในระหว่างปี 2558 นั้น ขึ้นอยู่กับการก�ำหนดราคาซื้อขั้นสุดท้ายและผลของการปันส่วนราคาซื้อ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 กลุ่มบริษัทมีต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อธุรกิจจ�ำนวน 124.8 ล้านบาท และ 36.8 ล้านบาทตามล�ำดับ ที่เกี่ยวข้องกับค่าที่ปรึกษากฎหมายภายนอก ค่าที่ปรึกษาและค่าใช้จ่ายภายในการตรวจสอบสถานะทางการเงิน ต้นทุนเหล่านี้ได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบก�ำไรขาดทุนรวมของกลุ่มบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ตามล�ำดับ (ก) Polyplex Resins San. ve Tic. A.S. ประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2558 Indorama Netherlands B.V. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมและจดทะเบียนในประเทศเนเธอร์แลนด์ เสร็จสิ้น การซื้อธุรกิจ PET โดยผ่านทางการซื้อหุ้นที่ออกจ�ำหน่ายแล้วร้อยละ 100 ของ Polyplex Resins San. ve Tic. A.S. ซึ่งตั้งอยู่ที่ประเทศ ตุรกีจาก Polyplex Europa Polyester Film San. ve Tic. A.S. และ Polyplex (Asia) Pte. Ltd. ตามสัญญาซื้อหุ้นลงวันที่ 8 มกราคม 2558 โดยมีสิ่งตอบแทนในการซื้อเป็นจ�ำนวน 5.8 ล้านยูโร (210.2 ล้านบาท) กลุ่มบริษัทถือรายการดังกล่าวเป็นการรวมธุรกิจ ภายหลังจาก เสร็จสิ้นการซื้อกิจการ Polyplex Resins San. ve Tic. A.S. ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2558 ในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่ซื้อกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจดังกล่าวมีรายได้จ�ำนวน 80.4 ล้านยูโร (3,073.6 ล้านบาท) และขาดทุนสุทธิจ�ำนวน 10.4 ล้านยูโร (398.6 ล้านบาท) ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่ม บริษัท ในการก�ำหนดมูลค่าดังกล่าว ฝ่ายบริหารใช้สมมติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการที่เกิดขึ้นใน ระหว่างงวดนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ผู้บริหารเชื่อว่าภายใต้กลยุทธ์ในทวีปยุโรปของกลุ่มบริษัท การซื้อธุรกิจนี้จะช่วยในการขยายตลาด ซึ่งไม่ได้เพียงแต่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ แต่รวมถึงการเปิดตลาดใหม่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา หมายเหตุ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากผู้ถือหุ้นรายก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น / (หนี้สินอื่น) - สุทธิ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ
15 17
18
มูลค่าตามบัญชี
ปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม (พันบาท)
มูลค่าที่รับรู้
30,712 383,961 60,037 2,249,642 1,227 (227,269) (429,699) (881,325) (894,204) (25,590) 267,492
185,351 (40,945) 144,406
30,712 383,961 60,037 2,434,993 1,227 (227,269) (429,699) (881,325) (894,204) (40,945) (25,590) 411,898 (201,737) 210,161
ผู้บริหารได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจ อย่างไรก็ดี ณ วันที่งบการเงินรวมนี้ได้รับการอนุมัติ รายงานของผู้ประเมินราคาอิสระยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาเป็นมูลค่าประมาณการ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ
204
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ข) Performance Fibers Holdings Finance, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2558 Indorama Ventures Holdings LP ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของบริษัทและจดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา เสร็จสิ้นการซื้อธุรกิจการผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์คุณภาพสูงส�ำหรับยางรถยนต์ซึ่งตั้งอยู่หลายแห่งทั่วโลกจาก Sun Performance Fibers, LLC ซึ่งเป็นบริษัทประเภท limited liability company ที่จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยผ่านทางการซื้อหุ้นที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว ในอัตราร้อยละ 100 ของ Performance Fibers Holdings Finance, Inc. ซึ่งเป็นบริษัทประเภท limited liability company ที่จดทะเบียน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตามสัญญาและแผนการควบรวมกิจการลงวันที่ 5 ธันวาคม 2557 โดยช�ำระเป็นเงินสดขั้นต้นจ�ำนวน 193.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (6,283.3 ล้านบาท) ในระหว่างไตรมาสที่สี่ปี 2558 บริษัทได้ตกลงราคาซื้อขั้นสุดท้ายกับผู้ขายเป็นจ�ำนวน 192.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (6,250.7 ล้านบาท) กลุ่มบริษัทถือรายการดังกล่าวเป็นการรวมธุรกิจ ในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่ซื้อกิจการ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจดังกล่าวมีรายได้จ�ำนวน 823.1 ล้านหยวน (4,548.9 ล้านบาท) และขาดทุนสุทธิจ�ำนวน 3.3 ล้านหยวน (18.4 ล้านบาท) ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ฝ่ายบริหารคาดว่าหากกลุ่มบริษัทได้มีการซื้อธุรกิจตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2558 จะมีรายได้รวมเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,404.4 ล้านบาท และก�ำไรรวมส�ำหรับปีเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 46.6 ล้านบาท ใน การก�ำหนดมูลค่าดังกล่าวฝ่ายบริหารใช้สมมติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุตธิ รรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างงวดนัน้ ได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ผู้บริหารเชื่อว่าการซื้อธุรกิจดังกล่าวจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและการยอมรับในผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวกับยานยนต์ และ จะช่วยเพิ่มการเติบโตของกลุ่มบริษัทจากผลิตภัณฑ์ด้านยานยนต์ที่เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม อีกทั้งการซื้อธุรกิจนี้จะช่วยส่งเสริม ห่วงโซ่ธรุ กิจการจัดหาวัตถุดบิ เนือ่ งจากโรงงาน PF Asia หลายแห่งตัง้ อยู่ใกล้เคียงกับแหล่งผลิต PET โพลีเมอร์สของไอวีแอลในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา หมายเหตุ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เจ้าหนี้ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น / (หนี้สินอื่น) - สุทธิ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาสุทธิ ค่าความนิยม รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ เงินสดที่ได้มา สิ่งตอบแทนในการซื้อสุทธิ - ช�ำระแล้ว
15 17
18
มูลค่าตามบัญชี
ปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม (พันบาท)
มูลค่าที่รับรู้
379,867 880,793 1,036,083 3,545,461 26,684 (1,102,661) (1,234,593) (117,571) 55,762 (129,169) 3,340,656
990,364 1,643,128 (641,841) 1,991,651
379,867 880,793 1,036,083 4,535,825 1,669,812 (1,102,661) (1,234,593) (117,571) (586,079) (129,169) 5,332,307 918,402 6,250,709 (379,867) 5,870,842
ผู้บริหารได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจ อย่างไรก็ดี ณ วันที่ งบการเงินรวมนี้ได้รับการอนุมัติ รายงานของผู้ประเมินราคาอิสระยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาเป็นมูลค่าประมาณการ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ
205
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ค) บริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ประเทศไทย เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2558 ไอวีแอลได้เข้าซื้อหุ้นผ่านทางบริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทเพื่อซื้อ ร้อยละ 98.97 ของส่วนได้เสียของบริษทั บางกอกโพลีเอสเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นผูผ้ ลิต PET โพลีเมอร์ส ในจังหวัดระยอง ประเทศไทย โดยร้อยละ 94.91 ของส่วนได้เสียของบริษัทซื้อจากบริษัท สายไฟฟ้าบางกอกเคเบิ้ล จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามสัญญาซื้อหุ้นลง วันที่ 17 มีนาคม 2558 โดยช�ำระเป็นเงินสดจ�ำนวน 1,300.3 ล้านบาท และส่วนเพิ่มร้อยละ 4.06 ของส่วนได้เสียของบริษัทซื้อจากผู้ถือหุ้น รายย่อยอืน่ โดยช�ำระเป็นเงินสดจ�ำนวน 55.9 ล้านบาท กลุม่ บริษทั ถือรายการดังกล่าวเป็นการรวมธุรกิจ ภายหลังจากเสร็จสิน้ การซือ้ กิจการ บริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2558 ในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่ซื้อกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจดังกล่าวมีรายได้จ�ำนวน 2,370.9 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 10.7 ล้านบาท ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ฝ่ายบริหารคาดว่าหากกลุ่ม บริษัทได้มีการซื้อธุรกิจตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 จะมีรายได้รวมเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,084.2 ล้านบาท และก�ำไรรวมส�ำหรับปีลดลงจ�ำนวน 92.9 ล้านบาท ในการก�ำหนดมูลค่าดังกล่าว ฝ่ายบริหารใช้สมมติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการที่เกิด ขึ้นในระหว่างงวดนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ผู้บริหารเชื่อว่าการซื้อธุรกิจนี้จะช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งในตลาดธุรกิจ PET ในทวีปเอเชีย และส่งเสริมศักยภาพทั้งห่วงโซ่ธุรกิจ อย่างเต็มรูปแบบ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา หมายเหตุ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เจ้าหนี้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น / (หนี้สินอื่น) - สุทธิ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินสุทธิ ส่วนได้เสียที่มีอ�ำนาจควบคุมที่ได้มา (ร้อยละ) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ เงินสดที่ได้มา สิ่งตอบแทนในการซื้อสุทธิ - ช�ำระแล้ว
15 17 18
มูลค่าตามบัญชี
98,877 150,000 449,839 307,932 895,175 218 (375,676) (65,261) 7,516 1,468,620
ปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม (พันบาท)
มูลค่าที่รับรู้
763,800 259,424 (204,645) 818,579
98,877 150,000 449,839 307,932 1,658,975 259,642 (375,676) (269,906) 7,516 2,287,199 98.97 2,263,752 (907,578) 1,356,174 (98,877) 1,257,297
ผู้บริหารได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจ อย่างไรก็ดี ณ วันที่งบการเงินรวมระหว่างกาลนี้ได้ รับการอนุมัติ รายงานของผู้ประเมินราคาอิสระยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาเป็นมูลค่า ประมาณการ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ
206
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ง) CEPSA Chimie Montréal s.e.c ประเทศแคนาดา เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2558 ไอวีแอลได้เข้าซื้อหุ้นผ่านทาง Indorama Netherlands B.V. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทเพื่อซื้อร้อยละ 100 ของส่วนได้เสียของ CEPSA Chimie Montréal s.e.c ซึ่งท�ำธุรกิจ PTA ในประเทศแคนาดาจาก Cepsa Quémica SA IQ CHIMIE INC. และ 4200144 Canada Inc. ประเทศแคนาดา ตามสัญญาซื้อหุ้นลงวันที่ 30 มีนาคม 2558 โดยช�ำระเป็นเงินสดขั้นต้นจ�ำนวน 242.0 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา (8,171.0 ล้านบาท) ในระหว่างไตรมาสที่สามปี 2558 บริษัทได้ตกลงราคาซื้อขั้นสุดท้ายกับผู้ขายเป็นจ�ำนวน 236.7 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (7,992.7 ล้านบาท) กลุม่ บริษทั ถือรายการดังกล่าวเป็นการรวมธุรกิจ ภายหลังจากเสร็จสิน้ การซือ้ กิจการ CEPSA Chimie Montréal Inc. Quebec Inc. และ CEPSA Chimie Montréal s.e.c ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Indorama Ventures Gestion Inc. Indorama Ventures Northern Investments Inc. และ Indorama Ventures PTA Montréal LP ตามล�ำดับ ในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่ซื้อกิจการ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจดังกล่าวมีรายได้จ�ำนวน 258.6 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (9,136.1 ล้านบาท) และก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 21.1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (744.6 ล้านบาท) ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ฝ่ายบริหารคาดว่าหากกลุ่ม บริษัทได้มีการซื้อธุรกิจตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 จะมีรายได้รวมเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 6,511.5 ล้านบาท และก�ำไรรวมส�ำหรับปีเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 128.2 ล้านบาท ในการก�ำหนดมูลค่าดังกล่าว ฝ่ายบริหารใช้สมมติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการ ที่เกิดขึ้นในระหว่างงวดนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ผู้บริหารเชื่อว่าการซื้อธุรกิจดังกล่าวสอดคล้องกับกลยุทธ์ของไอวีแอลที่จะขยายธุรกิจหลักและช่วยส่งเสริมธุรกิจ PET และเส้นใยของ กลุ่มบริษัทที่มีอยู่ในภูมิภาคนี้ รวมทั้งยังเป็นการสร้างหลักประกันแหล่งวัตถุดิบ feedstock อีกด้วย สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา หมายเหตุ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เจ้าหนี้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น / (หนี้สินอื่น) - สุทธิ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ เงินสดที่ได้มา สิ่งตอบแทนในการซื้อสุทธิ - ช�ำระแล้ว
15 17 18
มูลค่าตามบัญชี
ปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม (พันบาท)
มูลค่าที่รับรู้
23,672 1,974,925 4,130,369 7,250,625 812,113 (2,105,967) 533,648 666,082 13,285,467
(3,627,108) (249,618) 1,042,839 (2,833,887)
23,672 1,974,925 4,130,369 3,623,517 562,495 (2,105,967) 1,576,487 666,082 10,451,580 (2,458,906) 7,992,674 (23,672) 7,969,002
ผู้บริหารได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจ อย่างไรก็ดี ณ วันที่งบการเงินรวมนี้ได้รับการอนุมัติ รายงานของผู้ประเมินราคาอิสระยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาเป็นมูลค่าประมาณการ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ (จ) Micro Polypet Private Limited ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2558 ไอวีแอลได้เข้าซื้อหุ้นผ่านทางบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ของบริษัทเพื่อซื้อร้อยละ 100 ของส่วนได้เสียของ Micro Polypet Private Limited และบริษัทย่อย Sanchit Polymers Private Limited และ Eternity Infrabuild Private Limited ซึ่งเป็นผู้ผลิต PET โพลีเมอร์ส ในประเทศอินเดีย จากผู้ถือหุ้นคนก่อน คือ Mr. Raj Kumar Gupta (ร้อยละ 48.11 ของส่วนได้เสีย) Luna Infraprop Private Limited (ร้อยละ 35.59 ของส่วนได้เสีย) และผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น (ร้อยละ 16.30 ของส่วนได้เสีย) ตามสัญญาซื้อหุ้นลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 โดยช�ำระเป็นเงินสดจ�ำนวน 320.5 ล้านรูปีอินเดียน (173.8 ล้านบาท) กลุ่มบริษัทถือรายการดังกล่าวเป็นการรวมธุรกิจ ในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่ซื้อกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ธุรกิจดังกล่าวมีรายได้จ�ำนวน 51.3 ล้านรูปีอินเดียน (27.9 ล้านบาท) และก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 23.2 ล้านรูปีอินเดียน (12.6 ล้านบาท) ซึ่ง
207
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ฝ่ายบริหารคาดว่าหากกลุ่มบริษัทได้มีการซื้อธุรกิจตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 จะ มีรายได้รวมเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 1,717.8 ล้านบาท และก�ำไรรวมส�ำหรับปีลดลงจ�ำนวน 423.0 ล้านบาท ในการก�ำหนดมูลค่าดังกล่าว ฝ่ายบริหาร ใช้สมมติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุตธิ รรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างงวดนัน้ ได้เกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 ผู้บริหารเชื่อว่าการซื้อธุรกิจดังกล่าว จะท�ำให้ไอวีแอลขยายธุรกิจไปยังประเทศที่มีความส�ำคัญต่อการเติบโตและพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของโลก ซึ่งช่วยพัฒนาความสัมพันธ์กับเจ้าของผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภคในระดับสากล สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา หมายเหตุ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เจ้าหนี้ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น / (หนี้สินอื่น) - สุทธิ สินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมาสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ เงินสดที่ได้มา สิ่งตอบแทนในการซื้อสุทธิ - ช�ำระแล้ว
15 17
18
มูลค่าตามบัญชี
ปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม (พันบาท)
5,640 148,975 85,060 2,698,329 (83,918) (1,019,808) (2,034,451) 133,090 150,046 82,963
173,122 35,936 (60,789) 148,269
มูลค่าที่รับรู้
5,640 148,975 85,060 2,871,451 35,936 (83,918) (1,019,808) (2,034,451) 72,301 150,046 231,232 (57,467) 173,765 (5,640) 168,125
ผู้บริหารได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระเพื่อท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจ อย่างไรก็ดี ณ วันที่งบการเงินรวมนี้ได้รับการอนุมัติ รายงานของผู้ประเมินราคาอิสระยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาเป็นมูลค่าประมาณการ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ
6 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ ในการจัดท�ำงบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริษัท/บริษัท หากกลุ่มบริษัท/ บริษัทมีอ�ำนาจควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือมีอิทธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจ ทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุม่ บริษทั /บริษทั อยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันหรืออยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญ เดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวข้องกันนี้อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ
208
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ความสัมพันธ์กับผู้บริหารส�ำคัญและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น มีดังนี้ ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ
ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด IVL Belgium N.V. Indo Polymers Mauritius Limited บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
ไทย
เป็นบริษัทใหญ่ ถือหุ้นร้อยละ 63.69 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษทั ย่อย ถือหุน้ ร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 99.81 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 99.97 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 72.60 และมีส่วนได้เสียทางอ้อม ร้อยละ 27.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 64.94 และมีส่วนได้เสียทางอ้อม ร้อยละ 34.55 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษทั ย่อย ถือหุน้ ร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โพลีเมอร์ส (ระยอง) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด UAB Indorama Holdings Europe
ไทย เบลเยียม มอริเชียส ไทย ไทย ไทย ลิทัวเนีย
Indorama Holdings Rotterdam B.V.
เนเธอร์แลนด์
UAB Indorama Polymers Europe
ลิทัวเนีย
Indorama Polymers Rotterdam B.V. Indorama Polymers Workington Limited UAB Orion Global PET Indorama Netherlands Cooperatief U.A. Indorama Netherlands B.V. Indorama Ventures Europe B.V. Indorama Ventures Poland Sp. z o.o.
เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ลิทัวเนีย เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์
Indorama Trading AG
สวิตเซอร์แลนด์
Indorama Trading (UK) Limited
สหราชอาณาจักร
Beacon Trading (UK) Limited
สหราชอาณาจักร
เป็นบริษทั ย่อย ถือหุน้ ร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษทั ย่อย ถือหุน้ ร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 59.76 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.81 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.81 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.81 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.81 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.81 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน
209
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อกิจการ
Indorama PET (Nigeria) Limited Indorama Ventures Packaging (Nigeria) Limited IVL Singapore PTE Limited Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited Guangdong IVL PET Polymer Company Limited IVL Holding, S. de R.L. de C.V. Grupo Indorama Ventures, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures Polymers Mexico, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures Polycom, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures Servicios Corporativos, S. de R.L. de C.V. PT Indorama Ventures Indonesia PT Indorama Polyester Industries Indonesia KP Equity Partners Inc. PT Indorama Polychem Indonesia Indorama Ventures Recycling Netherlands B.V. Wellman International Limited Wellman France Recyclage SAS Wellman International Handelsgesellschaft GmbH MJR Recycling B.V. Indorama Ventures Northern Investments Inc.
ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ
ไนจีเรีย
เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 89.64 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน ไนจีเรีย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 สิงคโปร์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 เมียนมาร์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 99.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน อินโดนีเซีย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน อินโดนีเซีย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน มาเลเซีย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน อินโดนีเซีย เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เนเธอร์แลนด์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 ไอร์แลนด์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน ฝรั่งเศส เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เยอรมนี เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เนเธอร์แลนด์ แคนาดา
Indorama Ventures Gestion Inc.
แคนาดา
Indorama Ventures PTA Montréal LP
แคนาดา
4200144 Canada Inc. Indorama Ventures Dutch Investments B.V.
210
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ลักษณะความสัมพันธ์
แคนาดา เนเธอร์แลนด์
เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00
ชื่อกิจการ
Indorama Ventures Investments USA LLC Beverage Plastics (Holdings) Limited Beverage Plastics Limited PT Indorama Polypet Indonesia
ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ
ลักษณะความสัมพันธ์
สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร อินโดนีเซีย
เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน Indorama Ventures Performance Fibers Holdings สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 USA LLC และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน Indorama Ventures Olefins Holding LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Indorama Ventures Olefins LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 75.99 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน FiberVisions Corporation สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน FiberVisions Manufacturing Company สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน FiberVisions L.P. สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 FiberVisions Products, Inc. สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน FiberVisions A/S เดนมาร์ก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 FiberVisions (China) A/S เดนมาร์ก เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 FiberVisions (China) Textile Products Limited สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 FiberVisions vermogensverwaltungs mbH เยอรมนี เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Indorama Ventures Holdings LP สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน Indorama Ventures OGL Holdings LP สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน Indorama Ventures (Oxide & Glycols) LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน Performance Fibers Holdings Finance, Inc. สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Performance Fibers Asia Holdings, LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Performance Fibers Asia, LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Performance Fibers (Hong Kong) Limited ฮ่องกง เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน Performance Fibers (Kaiping) Company Limited สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน Performance Fibers (Kaiping) No.2 Company สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 Limited และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน Indorama Ventures Logistics LLC สหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน PHP Fibers GmbH เยอรมนี เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 80.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน PHP Overseas Investments GmbH เยอรมนี เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 80.00
211
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ
Polyamide High Performance Inc.
สหรัฐอเมริกา
Safe Tweave Inc. Indorama Ventures Adana PET Sanayi Anonim Sirketi Indorama Ventures Corlu PET Sanayi Anonim Sirketi Indorama Ventures USA Holdings LP
สหรัฐอเมริกา ตุรกี
สหรัฐอเมริกา
Indorama Ventures Polyholding LLC
สหรัฐอเมริกา
Indorama Ventures North America LLC
สหรัฐอเมริกา
Indorama Ventures USA LLC
สหรัฐอเมริกา
StarPet Inc.
สหรัฐอเมริกา
Auriga Polymers Inc.
สหรัฐอเมริกา
Indorama Ventures AlphaPet Holdings, Inc.
สหรัฐอเมริกา
Indorama Polymers (USA) LLC AlphaPet, Inc.
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
Indorama Ventures Packaging (Philippines) Corporation Indorama Ventures Packaging (Ghana) Limited Trevira Holdings GmbH Trevira GmbH Trevira North America, LLC Micro Polypet Private Limited
ตุรกี
ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐกานา เยอรมนี เยอรมนี สหรัฐอเมริกา อินเดีย
Eternity Infrabuild Private Limited
อินเดีย
Sanchit Polymers Private Limited
อินเดีย
UAB Ottana Polimeri Europe
ลิทัวเนีย
Ottana Polimeri S.R.L. PT Indorama Petrochemicals ES FiberVisions, Inc. ES FiberVisions LP
อิตาลี อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
212
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ลักษณะความสัมพันธ์
เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 80.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 80.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 75.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 75.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 75.00 เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 100.00 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 50.00 และกรรมการกึ่งหนึ่งเป็นผู้แทนของบริษัท เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 50.00 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 43.16 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05
ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ
ES FiberVisions Holdings ApS ES FiberVisions ApS ES FiberVisions Hong Kong Limited ES FiberVisions China Limited ES FiberVisions Company Limited ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. PHP-ShenMa Air Bag Yarn Marketing (Shanghai) Co., Ltd. TTI GmbH Indorama Ventures EcoMex, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures EcoMex, Services, S. de R.L. de C.V. PT Indorama Synthetics TBK
เดนมาร์ก เดนมาร์ก ฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ไทย สาธารณรัฐประชาชนจีน
บริษัท แปซิฟิค รีซอสเซส จ�ำกัด บริษัท ไครโอวิวา (ประเทศไทย) จ�ำกัด Indo Rama Synthetics (India) Limited Lohia Global Holdings Limited Indorama Eleme Petrochemicals Limited PT Irama Unggul Indorama Commerce DMCC Vega Aviation Limited ผู้บริหารส�ำคัญ
ลักษณะความสัมพันธ์
เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 00.05 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 50.00 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 39.20
สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 40.80 เยอรมนี เม็กซิโก
เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 40.00 เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน เม็กซิโก เป็นการร่วมค้าทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริงร้อยละ 51.00 และมีผู้บริหารส�ำคัญร่วมกันบางท่าน อินโดนีเซีย เป็นผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นร้อยละ-43.16-ในการร่วมค้าทางอ้อม และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน ไทย มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการ ไทย มีกรรมการร่วมกันบางท่าน อินเดีย มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการ ฮ่องกง มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการ ไนจีเรีย เป็นผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นร้อยละ 10.00 ในบริษัทย่อยทางอ้อม และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน อินโดนีเซีย มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีกรรมการร่วมกันบางท่าน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการร่วมกัน ไทย, อินเดีย, อินโดนีเซีย, บุคคลทีม่ อี ำ� นาจและความรับผิดชอบการวางแผน สัง่ การและควบคุม และ สหรัฐอเมริกา กิจกรรมต่างๆ ของกิจการไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งนี้ รวมถึง กรรมการของกลุ่มบริษัท/บริษัท (ไม่ว่าจะท�ำหน้าที่ในระดับบริหาร หรือไม่)
เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2558 Indorama Ventures Packaging (Myanmar) Limited ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์โดยมีทุนจดทะเบียน 4,700 ล้านจ๊าด (150.8 ล้านบาท) เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2558 Indorama Ventures Dutch Investments B.V. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศ เนเธอร์แลนด์โดยมีทุนจดทะเบียน 0.09 ล้านยูโร (3.2 ล้านบาท) เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2558 Indorama Ventures Investments USA LLC ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยไม่มีทุนจดทะเบียนจากการจัดตั้งในรูปแบบห้างหุ้นส่วน เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2558 Indorama Ventures Olefins LLC ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยไม่มีทุนจดทะเบียนจากการจัดตั้งในรูปแบบห้างหุ้นส่วน
213
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 Indorama Ventures Olefins Holding LLC ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยไม่มีทุนจดทะเบียนจากการจัดตั้งในรูปแบบห้างหุ้นส่วน เมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม 2558 Indorama Ventures North America LLC ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยทางอ้อมใหม่ ได้ถกู จัดตัง้ ขึน้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยไม่มีทุนจดทะเบียนจากการจัดตั้งในรูปแบบห้างหุ้นส่วน นโยบายการก�ำหนดราคาส�ำหรับแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ นโยบายการก�ำหนดราคา ขายสินค้า ราคาตลาด ซื้อสินค้า ราคาตลาด ดอกเบี้ยรับ อัตราดอกเบี้ยในตลาด/อัตราดอกเบี้ยที่ตกลงกันตามสัญญา รายได้อื่น ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ดอกเบี้ยจ่าย อัตราดอกเบี้ยในตลาด/อัตราดอกเบี้ยที่ตกลงกันตามสัญญา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา รายการที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปได้ดังนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท)
บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย รายได้อื่น เงินปันผลรับ ผู้บริหารส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหารและโบนัส ผลประโยชน์พนักงานระยะสั้น ผลประโยชน์พนักงานระยะยาว
-
-
2,652,395 386,869 3,128,853
1,648,827 1,850 204,701 2,622,699
21,621 89,410 1,864
21,518 62,092 6,564
17,881 -
17,770 -
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ซื้อสินค้าและวัตถุดิบ ต้นทุนแปลงสภาพและต้นทุนค่าโสหุ้ยอื่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รายได้อื่น
2,525,612 720,861 993 236,385 1,346
5,500,221 411,775 1,224 203,929 2,472
13,639 -
7,909 -
การร่วมค้า ขายสินค้า ซื้อสินค้าและวัตถุดิบ ต้นทุนแปลงสภาพและต้นทุนค่าโสหุ้ยอื่น ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น
5,451,033 9,914,090 3,304 4,146 26,033
3,567,253 10,036,213 2,850 42,298
1,212
5,432
214
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท)
ลูกหนี้การค้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน Indo Rama Synthetics (India) Limited PT Indorama Synthetics TBK การร่วมค้า PT Indorama Petrochemicals ES FiberVisions LP ES FiberVisions ApS ES FiberVisions Hong Kong Limited ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. ES FiberVisions Holdings ApS ES FiberVisions China Limited ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. รวม ลูกหนี้อื่น บริษัทย่อย Indorama Ventures USA Holdings LP Indorama Netherlands B.V. Indorama Ventures Olefins Holding LLC StarPet Inc. กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท แปซิฟิค รีซอสเซส จ�ำกัด บริษัท ไครโอวิวา (ประเทศไทย) จ�ำกัด Indo Rama Synthetics (India) Limited Indorama Eleme Petrochemicals Limited การร่วมค้า บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ES FiberVisions China Limited PT Indorama Petrochemicals รวม
523,899 106,560 630,459
1,027,591 163,181 1,190,772
-
-
244,897 167,560 35,713 68,872 10,995 4,871 65,604 598,512 1,228,971
1,354 236,072 135,274 48,731 67,013 112,196 600,640 1,791,412
-
-
-
-
1,102 12,540 690 14,332
149,876 149,876
-
1,793 318 11,361 780 14,252
-
-
13,463 591 38,127 52,181 66,433
14,332
149,876
197 14,466 238 14,901 284
7,116 7,400 22,301
215
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ประกอบด้วย : เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) Indorama Netherlands Cooperatief U.A. บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด Indorama Netherlands B.V. รวม การร่วมค้า ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. รวม ดอกเบี้ยค้างรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) Indorama Netherlands Cooperatief U.A. บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด รวม
216
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราดอกเบี้ย 2558 2557 (ร้อยละต่อปี)
งบการเงินรวม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท)
6.00 6.00
4.50 4.50 4.50
-
-
883,924 307,529
2,009,971 2,575,350 466,729
6.00
4.50
-
-
2,023,750
3,569,150
2.88-5.18 4.50-6.00 4.50-6.00
3.00-3.74 4.50 4.50
-
-
2,037,932 962,000 -
2,967,495 2,543,000 2,091,999
6.00 5.13-5.18
4.50 -
-
-
1.32-2.40
1.32-2.40
63,155
57,685
-
-
5.38
-
162,399
-
-
-
2.00-2.08
-
23,663 249,217
57,685
-
-
-
-
5,324 36,717
19,719 36,325 57,148
-
-
62,986 21,621 143,815 42,922
75,966 81,345 107,188 54,480
-
-
4,074 317,459
1,772 433,943
1,672,971 256,800 3,582,950 11,471,056 16,480,494
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
อัตราดอกเบี้ย 2558 2557 (ร้อยละต่อปี)
การร่วมค้า ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. รวม รวมเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
792 15,552 16,344 265,561 อัตราดอกเบี้ย 2558 2557 (ร้อยละต่อปี)
ดอกเบี้ยค้างรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย IVL Belgium N.V. รวม การร่วมค้า ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. รวม รวมเงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท)
-
ประกอบด้วย : เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด 4.50-6.20 บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) 4.50-6.20 บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 6.20 บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 6.20 Indorama Netherlands Cooperatief U.A. 2.88-6.20 IVL Belgium N.V. รวม การร่วมค้า ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yam Manufacturing Co., Ltd. รวม
งบการเงินรวม 2558 2557
2,219
-
-
-
-
-
15,241 17,460 75,145
11,788,515 16,914,437
งบการเงินรวม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท)
2.08-4.50 4.50 4.50 4.50
-
-
8,582,299 3,580,000 2,091,482
4.50 3.00-5.00 2.81
-
-
1,040,000 2,810,000 25,115,300 10,312,526 1,190 40,409,081 26,140,444
1.32-2.40
1.32-2.40
162,870
140,093
-
-
-
2.21-3.41
162,870
24,032 164,125
-
-
-
-
-
2,571 2,571
-
-
165,441
164,125
4,824,040 2,719,226 779,103 4,694,359
92 92 -
40,409,081 26,140,536
217
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
สรุปเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น เงินให้กู้ยืมระยะยาว รวมเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
265,561 165,441 431,002
75,145 164,125 239,270
11,788,515 40,409,081 52,197,596
16,914,437 26,140,536 43,054,973
รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
16,480,494 37,898,861 (43,716,687) 808,388 11,471,056
11,785,735 43,105,948 (40,213,069) 1,801,880 16,480,494
การร่วมค้า ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
57,685 168,695 (4,286) 27,123 249,217
33,324 24,361 57,685
-
-
รวมเงินให้กู้ยืมระยะสั้น ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
57,685 168,695 (4,286) 27,123 249,217
33,324 24,361 57,685
16,480,494 37,898,861 (43,716,687) 808,388 11,471,056
11,785,735 43,105,948 (40,213,069) 1,801,880 16,480,494
เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
26,140,444 27,278,461 (12,201,436) (808,388) 40,409,081
23,415,645 14,013,941 (9,487,262) (1,801,880) 26,140,444
218
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
-
เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
การร่วมค้า ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
164,125 45,981 (20,113) (27,123) 162,870
98,441 249,041 (24,361) (158,996) 164,125
-
-
รวมเงินให้กู้ยืมระยะยาว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทรายการใหม่ โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
164,125 45,981 (20,113) (27,123) 162,870
98,441 249,041 (24,361) (158,996) 164,125
26,140,444 27,278,461 (12,201,436) (808,388) 40,409,081
23,415,645 14,013,941 (9,487,262) (1,801,880) 26,140,444
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินจ่ายล่วงหน้าค่าหุ้น บริษัทย่อย IVL Belgium N.V. การร่วมค้า PT Indorama Petrochemicals ค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่าของเงิน จ่ายล่วงหน้าค่าหุ้น สุทธิ เจ้าหนี้การค้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน PT Indorama Synthetics TBK การร่วมค้า PT Indorama Petrochemicals TTI GmbH Indorama Ventures EcoMex, S. de R.L. de C.V. รวม
-
13
-
1,918 1,918
-
1,918
-
992,456
396,515
(159,754) 832,702 832,702
396,515 396,515
44,180 44,180
84,357 84,357
-
-
98,498 1,513 16,587 116,598 160,778
33,624 1,536 35,160 119,517
-
-
219
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เจ้าหนี้อื่นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย Trevira Holdings GmbH IVL Singapore PTE Limited กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน Lohia Global Holdings Limited PT Indorama Synthetics TBK Indo Rama Synthetics (India) Limited Indorama Eleme Petrochemicals Limited บริษัท แปซิฟิค รีซอสเซส จ�ำกัด Vega Aviation Limited กิจการร่วมค้า PT Indorama Petrochemicals รวม
-
-
1,687 22,259 23,946
1,708 1,708
31,567 18,903 405 2,107 1,793 2,256 57,031
23,861 21,432 21,065 1,265 67,623
-
-
281 281 57,312
67,623
23,946
1,708
สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สัญญาค�้ำประกัน บริษัทได้ท�ำสัญญาค�้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยบริษัทตกลงเป็นผู้ค�้ำปะกันให้กับบุคคลภายนอกส�ำหรับเงินกู้ยืมตามจ�ำนวนที่ ตกลงกัน ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา บริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมการค�้ำประกันตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา สัญญา ดังกล่าวนี้สิ้นสุดเมื่อกิจการที่เกี่ยวข้องกันจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมดังกล่าวทั้งหมดแก่บุคคลภายนอก
7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจ�ำ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม
220
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
7,109 2,635,577 327,547 81,439 180,804 3,232,476
8,023 1,872,192 202,130 1,288 3,255,450 5,339,083
-
446 6,978 7,424
10,660 76,389 2,800,000 2,887,049
ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินรูปีอินเดียน สกุลเงินหยวน สกุลเงินไนจีเรียไนรา สกุลเงินบาท สกุลเงินโปลิซซวอตี้ สกุลเงินโครนเดนมาร์ก สกุลเงินรูเปียอินโดนีเซีย สกุลเงินเม็กซิกันเปโซ สกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง สกุลเงินจ๊าดพม่า สกุลเงินเยนญี่ปุ่น สกุลเงินเปโซฟิลิปปินส์ สกุลเงินกานาเอียนซีดี สกุลเงินฟรังก์สวิส สกุลเงินลีราตุรกี สกุลเงินสิงคโปร์ดอลลาร์ สกุลเงินลิทัวเนียนลิตัส รวม
1,624,638 377,405 307,151 168,737 167,016 120,503 111,668 105,497 84,061 83,374 46,768 16,519 7,868 7,350 3,413 168 151 97 92 3,232,476
1,651,639 380,509 71,215 18,946 2,982,550 16,570 84,868 32,825 15,868 65,962 46 6,102 7,663 371 3,202 10 737 5,339,083
7,424 7,424
2,887,049 2,887,049
8 เงินลงทุนอื่น งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารที่ถูกจ�ำกัดการใช้ส�ำหรับเลตเตอร์ออฟเครดิต เงินฝากระยะสั้นกับสถาบันการเงิน หุ้นกู้ระยะสั้นที่ออกโดยสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินฝากธนาคารที่ถูกจ�ำกัดการใช้ส�ำหรับวงเงินจากธนาคาร หุ้นกู้ระยะยาวที่ออกโดยสถาบันการเงิน อื่นๆ รวม
98,755 5,768 347,282 451,805
80,499 5,002,069 99,759 5,182,327
-
5,000,000 5,000,000
24,036 70,000 25,569 119,605 571,410
70,000 34,719 104,719 5,287,046
70,000 70,000 70,000
70,000 70,000 5,070,000
221
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ยอดเงินลงทุนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สกุลเงินรูปีอินเดียน สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินหยวน สกุลเงินบาท สกุลเงินยูโร สกุลเงินโปลิซซวอตี้ รวม
204,316 172,420 98,755 70,000 25,569 350 571,410
88,896 80,499 5,067,603 49,957 91 5,287,046
70,000 70,000
3,382 5,045,181 21,437 5,070,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินฝากธนาคารจ�ำนวน 17.8 ล้านหยวนหรือเทียบเท่ากับ 98.8 ล้านบาท (2557: 15.2 ล้านหยวนหรือเทียบ เท่ากับ 80.5 ล้านบาท) ถูกจ�ำกัดการใช้ส�ำหรับเลตเตอร์ออฟเครดิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินฝากธนาคารจ�ำนวน 44.3 ล้านรูปีอินเดียน หรือเทียบเท่า 24.0 ล้านบาท (2557: ไม่มี) ถูกจ�ำกัดการใช้ ส�ำหรับวงเงินจากธนาคาร
9 ลูกหนี้การค้า งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
6
1,228,971 26,405,691 27,634,662 (135,090) 27,499,572
1,791,412 24,535,480 26,326,892 (123,905) 26,202,987
-
-
ตัดบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
28,000
70,475
-
-
(กลับรายการ) ประมาณการหนี้สูญและหนี้สงสัย จะสูญระหว่างปีสุทธิ
19,896
(7,500)
-
-
การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้ามีดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน
222
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
664,310
1,682,171
-
-
564,661 1,228,971
108,272 969 1,791,412
-
-
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
กิจการอื่นๆ ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
21,915,516
21,154,533
-
-
3,350,232 740,176 235,651 164,116 26,405,691 (135,090) 26,270,601 27,499,572
3,039,392 148,267 51,537 141,751 24,535,480 (123,905) 24,411,575 26,202,987
-
-
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 7 วันถึง 240 วัน ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินบาท สกุลเงินหยวน สกุลเงินรูเปียอินโดนีเซีย สกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง สกุลเงินลีราตุรกี สกุลเงินเม็กซิกันเปโซ สกุลเงินไนจีเรียไนรา สกุลเงินโปลิซซวอตี้ สกุลเงินรูปีอินเดียน สกุลเงินเปโซฟิลิปปินส์ สกุลเงินลิทัวเนียนลิตัส สกุลเงินเยนญี่ปุ่น รวม
18,463,708 2,991,658 2,202,466 1,060,391 1,059,578 729,583 342,740 265,696 150,168 87,056 73,405 73,123 27,499,572
17,753,120 3,633,052 2,134,342 1,089,586 98,707 612,227 314,165 81,517 273,278 15,195 117,598 75,796 4,404 26,202,987
-
-
ลูกหนี้การค้าซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีจ�ำนวน 11,193 ล้านบาท (2557: 9,891 ล้านบาท) ถูกน�ำไปใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบัน การเงิน
223
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
10 สินค้าคงเหลือ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ สินค้าซื้อมาขายไป วัสดุและอะไหล่ สินค้าระหว่างทาง หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง สุทธิ
17,191,769 1,498,458 8,612,449 55,550 4,026,516 1,145,685 32,530,427 (744,794) 31,785,633
16,515,323 1,599,470 7,699,146 32,027 2,961,901 917,774 29,725,641 (584,582) 29,141,059
-
-
มูลค่าตามบัญชีของสินค้าคงเหลือที่ด�ำรงตามค�ำสั่งหรือ จ�ำนองเพื่อค�้ำประกันหนี้สิน
11,612,763
11,081,903
-
-
164,696,953 182,303,850 353,614 300,931 (313,482) (131,100) 164,737,085 182,473,681
-
-
ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้ รวมในบัญชีต้นทุนขาย - ต้นทุนขาย - การปรับลดมูลค่าเป็นมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ - กลับรายการการปรับลดมูลค่า รวมสุทธิ
11 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ลูกหนี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ลูกหนี้อื่น เงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผู้ขายสินค้า ภาษีจ่ายล่วงหน้าและภาษีหัก ณ ที่จ่าย ลูกหนี้ค้างรับจากผู้ขายในการรวมกิจการ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้จากการปรับราคาวัตถุดิบ ค่าสินไหมทดแทนที่คาดว่าจะได้รับ อื่นๆ รวม
3,200,110 889,832 637,834 608,197 607,140 583,356 328,796 7,187 450,702 7,313,154
2,550,683 639,887 401,196 562,657 648,320 471,641 404,596 3,842 556,768 6,239,590
14,332 2,063 28,799 14,541 59,735
149,876 2,063 29,074 30,154 211,167
ลูกหนี้ค้างรับจากผู้ขายในการรวมกิจการเกี่ยวข้องกับภาษีค้างจ่ายที่บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของภาษีเงินได้ค้างจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ซึ่งไอวีแอลสามารถเรียกคืนได้จาก Arteva Latin America B.V. ตามสัญญาซื้อขาย .
224
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและตราสารทุนอื่น งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
42,141,073 4,705,826 46,846,899
40,907,068 1,234,005 42,141,073
225
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
226
ตราสารทุนอื่น บริษทั ทุนเท็กซ์ เท็กซ์ ไทล์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผลิตเส้นด้าย และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ รวม
ประเภทธุรกิจ
4.63
4.63
ราคาทุน 2558 2557
การด้อยค่า 2558 2557 (พันบาท)
430,000 430,000 200,000 200,000 (200,000) (200,000) 200,000 200,000 (200,000) (200,000)
สัดส่วน ความเป็นเจ้าของที่แท้จริง ทุนช�ำระแล้ว 2558 2557 2558 2557 (ร้อยละ)
งบการเงินรวม
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและตราสารทุนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และเงินปันผลรับจากเงินลงทุนเหล่านั้นส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันเดียวกันมีดังนี้
-
-
ราคาตามบัญชี 2558 2557
-
-
เงินปันผลรับ 2558 2557
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
227
บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิ คอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) IVL Belgium N.V. Indo Polymers Mauritius Limited บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โกลบอล เซอร์วิสเซส จ�ำกัด รวม 99.81 72.60 64.94
99.81
72.60
64.94
99.97 100.00
100.00
100.00
ผลิต PTA บริษัทลงทุน
บริษัทลงทุน
กิจการส�ำนักงานปฏิบัติ การภูมิภาค
ราคาทุน 2558 2557
774,468 2,001,419 2,001,419
2,955,000 2,955,000 5,182,189 5,182,189 121,630 121,630 121,630 121,630
2,202,850 2,202,850 1,473,995 1,473,995
1,382,198 1,382,198 7,219,741 7,219,741
774,468
6,146,167 4,727,820 3,944,151 2,525,805
ทุนช�ำระแล้ว 2558 2557
100.00
20,000
20,000
20,000 20,000 46,846,899 42,141,073
100.00 26,883,774 23,596,294 26,883,774 23,596,294
99.97 100.00
100.00
100.00
สัดส่วน ความเป็นเจ้าของที่แท้จริง 2558 2557 (ร้อยละ)
ผลิต PTA ผลิตเส้นด้ายขนสัตว์เนื้อ ละเอียด ผลิตเม็ดพลาสติก เรซินส�ำหรับ ผลิตเป็นขวดและ PET ผลิตเส้นด้ายและ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ PET
ประเภทธุรกิจ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การด้อยค่า การคืนทุน 2558 2557 2558 2557 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
852,653
-
525,830
-
-
165,622
-
-
501,769 1,254,424
881,255
-
เงินปันผลรับ 2558 2557
20,000 20,000 1,219,999 350,000 46,846,899 42,141,073 3,128,853 2,622,699
26,883,774 23,596,294
5,182,189 5,182,189 121,630 121,630
1,473,995 1,473,995
7,219,741 7,219,741
2,001,419 2,001,419
3,944,151 2,525,805
ราคาตามบัญชี 2558 2557
กลุ่มบริษัทไม่มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและตราสารทุนอื่นซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่เปิดเผยต่อสาธารณชน ในระหว่างปี 2558 Indo Polymers Mauritius Limited (“IPML”) เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 774.8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (23,596.3 ล้านบาท) เป็น 867.2 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (26,883.8 ล้านบาท) โดยบริษัทช�ำระเงินส�ำหรับการเพิ่มทุนทั้งจ�ำนวน ในระหว่างปี 2558 Indorama Petrochem Limited (“IRPTA”) เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 4,727.8 ล้านบาท เป็น 6,146.2 ล้านบาท โดยบริษัทช�ำระเงินส�ำหรับการเพิ่มทุนทั้งจ�ำนวน
13 เงินลงทุนในการร่วมค้า งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม ได้มาจากการซื้อธุรกิจ ซื้อเงินลงทุน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า - สุทธิ ค่าเผื่อการด้อยค่า ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
228
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
1,941,863 161,842 (242,165) 958 99,894 1,962,392
2,887,471 196,405 432,008 (1,356,055) (146,671) (71,295) 1,941,863
-
-
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
229
TTI GmbH บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด Indorama Ventures EcoMex, S. de R.L. de C.V. Indorama Ventures EcoMex Services, S. de R.L. de C.V. รวม
ES FiberVisions ES FiberVisions (Suzhou) Co., Ltd. ShenMa-PHP (Pingdingshan) Air Bag Yarn Manufacturing Co., Ltd. PHP-ShenMa Air Bag Yarn Marketing (Shanghai) Co., Ltd.
การร่วมค้า UAB Ottana Polimeri Europe PT Indorama Petrochemicals
ผลิต PTA และ PET ผลิต PTA ท�ำการตลาดและ จ�ำหน่ายเส้นใย ผลิตและจ�ำหน่ายเส้นใย bicomponent ผลิตและจ�ำหน่ายเส้นด้าย ถุงลมนิรภัยภายใน กลุ่มบริษัท ท�ำการตลาดและ จ�ำหน่ายเส้นด้ายถุงลม นิรภัย การบริการด้านวิจัยและ พัฒนา ผลิตเส้นด้ายและเส้นใย โพลีเอสเตอร์ ผลิตเม็ดพลาสติก รีไซเคิล การบริการด้านบริหาร จัดการ
ประเภทธุรกิจ
วิธีราคาทุน 2558 2557
102,500 7 7
50.00 50.00 410,000 51.00 51.00 430,883 51.00 51.00
7
1,119
1,119
40.00 40.00
9,038
796,144
39.20 39.20 796,144 9,038
369,946
50.00 50.00 369,946
40.80 40.80
603,959
50.00 50.00 603,959
221,759
51,250
10,926
152,611
191,864
182,383
694,326
198,726
203,100
7,190
178,458
220,744
168,657
840,570
178,488 12,965
การด้อยค่า 2558 2557 (พันบาท)
221,759
51,250
10,702
166,953
192,522
143,381
771,003
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
277,878 (146,671) (146,671) 324,378 -
วิธีส่วนได้เสีย 2558 2557
งบการเงินรวม
3 3 271 3 3,251,380 3,089,538 2,009,169 2,159,829 (146,671) (146,671)
221,759
205,000
10,926
152,611
191,864
182,383
694,326
50.00 50.00 242,460 242,460 121,230 121,230 43.16 43.00 4,532,869 4,532,869 1,471,278 1,463,186
สัดส่วนความเป็น เจ้าของที่แท้จริง ทุนช�ำระแล้ว 2558 2557 2558 2557 (ร้อยละ)
เงินลงทุนในการร่วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดังนี้
745
-
218,575
203,100
6,955
(1,900)
(2,411)
18,980
(6,828)
23,722
59,816
222,504 (23,778)
51,250
9,601
159,478
227,572
144,935
780,754
-
-
(225)
14,342
658
(37,395)
53,048
80,213 (48,396) (793,555) 265,553 (261,638) (592,928)
ส่วนแบ่งก�ำไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในการร่วมค้า-สุทธิ 2558 2557
14 285 3 268 99,894 (71,295) 1,962,392 1,941,863 (242,165) (1,356,055)
19,849
-
233,173
177,165
915,364
28,834 -
ราคาตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสีย 2558 2557
(7,475) 178,941
35,050
1,554
9,751
(235) (1,101)
483
12,429
8,508
74,794
(2,983) (50,994) (12,965) (58,825)
ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงใน อัตราแลกเปลี่ยน 2558 2557
ในระหว่างปี 2557 เนื่องจากสภาวะทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศอิตาลี โรงงานของ Ottana Polimeri S.R.L ได้ด�ำเนินการผลิตต�่ำกว่า ก�ำลังการผลิตที่มีอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ผู้บริหารของ IVL Belgium N.V. (“IVLB”) เชื่อว่ามูลค่าของเงินลงทุนใน UAB Ottana Polimeri Europe (“UAB OPE”) อาจเกิดการด้อยค่า และได้ประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนและได้จัดท�ำประมาณการคิดลดกระแสเงินสด เพื่อก�ำหนดมูลค่าจากการใช้ของเงินลงทุนใน UAB OPE จากผลการประเมินดังกล่าวและดุลยพินิจของผู้บริหาร กลุ่มบริษัทบันทึกขาดทุน จากการด้อยค่าของเงินลงทุนใน UAB OPE จ�ำนวน 146.7 ล้านบาทในงบก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้บริหารของ IVLB ประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากเงินลงทุนใน UAB OPE โดยใช้มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุน ในการขายประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ จากผลการประเมินดังกล่าวและมูลค่าตามรายงานของผูป้ ระเมินราคาอิสระ ค่าเผือ่ ขาดทุนจาก การด้อยค่าของเงินลงทุนใน UAB OPE ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากวันที่ประเมินครั้งล่าสุด Indorama Netherlands B.V. มีสิทธิซื้อหุ้นใน PT Indorama Petrochemicals (“PTIP”) อีกร้อยละ 42 ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 จาก PT Indorama Synthetics TBK (“PTIRS”) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 43.16 ของ PTIP และเป็นบริษัท ที่เกี่ยวข้องกันของไอวีแอล ในระหว่างปี 2558 กลุ่มบริษัทซื้อหุ้นใน PTIP เพิ่ม โดยช�ำระเป็นเงินสดจ�ำนวน 0.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (8.1 ล้านบาท) ท�ำให้กลุ่ม บริษัทมีส่วนได้เสียใน PTIP เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 43.16 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริษัทไม่ได้รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนของเงินลงทุนใน PTIP ที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสียส�ำหรับส่วนแบ่งในผลขาดทุนที่เกินกว่ามูลค่าเงิน ลงทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริษัทไม่มีภาระหนี้สินที่เกี่ยวเนื่องกับผลขาดทุนเหล่านี้ กลุ่มบริษัทยัง มีสว่ นแบ่งผลขาดทุนสะสมทีย่ งั ไม่รบั รูจ้ ำ� นวน 154.2 ล้านบาท (2557: ไม่ม)ี ซึง่ เป็นส่วนแบ่งผลขาดทุนของกลุม่ บริษทั ทีเ่ กิดขึน้ ในปีปจั จุบนั กลุม่ บริษทั ได้บนั ทึกส่วนแบ่งขาดทุนทีย่ งั ไม่ได้รบั รูด้ งั กล่าวเป็นค่าเผือ่ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินจ่ายล่วงหน้าค่าหุน้ (ดูหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 6) ในระหว่างปี 2558 บริษัท อีเอส ไฟเบอร์ วิชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 102.5 ล้านบาท เป็น 410.0 ล้านบาท โดยบริษัทช�ำระเงินส�ำหรับการเพิ่มทุนเป็นจ�ำนวนร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเพิ่มทุนดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 153.75 ล้านบาท กลุ่มบริษัท ES FiberVisions ประกอบด้วย ES FiberVision LP ES FiberVisions, Inc. ES FiberVisions Holdings ApS ES FiberVisions ApS ES FiberVisions Hong Kong Limited ES FiberVisions China Limited และ ES FiberVisions Company Limited. กลุ่มบริษัทไม่มีเงินลงทุนในการร่วมค้าที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นจึงไม่มีราคาที่เปิดเผยต่อสาธารณชน ตารางต่อไปนี้สรุปข้อมูลทางการเงินของการร่วมค้าที่รวมอยู่ในงบการเงินของการร่วมค้า ปรับปรุงด้วยการปรับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ ซื้อ และความแตกต่างของนโยบายการบัญชี การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุปดังกล่าวกับมูลค่าตามบัญชีของ ส่วนได้เสียของกลุ่มกิจการในกิจการเหล่านี้ PTIP
ES FiberVisions 2558 (พันบาท)
รายได้ ก�ำไร(ขาดทุน)จากการด�ำเนินงาน (ก) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สินทรัพย์หมุนเวียน (ข) สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน (ค) หนี้สินไม่หมุนเวียน (ง) สินทรัพย์สุทธิ
230
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
8,292,273 (963,418) 2,301 (961,117) 2,171,569 9,414,085 3,442,398 8,386,489 (243,233)
7,830,516 119,632 119,632 2,083,231 1,382,384 1,599,832 35,073 1,830,710
PTIP
ES FiberVisions 2558 (พันบาท)
ส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในสินทรัพย์สุทธิของผู้ถูกลงทุน ณ วันที่ 1 มกราคม ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส่วนที่เป็นของกลุ่มบริษัท ซื้อเงินลงทุน ส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในสินทรัพย์สุทธิของผู้ถูกลงทุน ณ วันสิ้นปี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียในผู้ถูกลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม หมายเหตุ : ก. รวมรายการต่อไปนี้ - ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย - ดอกเบี้ยจ่าย - ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (ผลประโยชน์) ข. รวมรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ค. รวมรายการหนี้สินทางการเงินหมุนเวียน (ไม่รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น) ง. รวมรายการหนี้สินทางการเงินไม่หมุนเวียน (ไม่รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น)
265,553 (260,680) 8,092 12,965 (12,965) -
780,754 59,816 840,570 74,794 915,364
316,868 217,211 (3,159) 128,280 774,612 6,154,257
3,025 7,752 45,752 267,391 -
การร่วมค้าที่ไม่มีสาระส�ำคัญ ตารางต่อไปนี้สรุปข้อมูลทางการเงินของส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในการร่วมค้าที่ไม่มีสาระส�ำคัญ จากจ�ำนวนเงินที่รายงานในงบการเงิน รวมของกลุ่มบริษัท การร่วมค้าที่ ไม่มีสาระส�ำคัญ 2558 (พันบาท)
มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียในการร่วมค้า ส่วนแบ่งของกลุ่มบริษัทใน - ขาดทุนจากการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องสุทธิ - ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม
1,047,028 (40,343) (40,343)
231
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
14 ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ตารางต่อไปนีส้ รุปข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั ย่อยแต่ละรายของกลุม่ บริษทั ทีม่ สี ว่ นได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุมทีม่ สี าระส�ำคัญ ก่อนการตัดรายการ ระหว่างกัน 31 ธันวาคม 2558 PHP Fibers GmbH และ Trevira Holdings GmbH และ บริษัทย่อย บริษัทย่อย (พันบาท)
ร้อยละของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์สุทธิ มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รายได้ ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ก�ำไรที่แบ่งให้กับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่แบ่งให้กับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (ไม่มีเงินปันผลที่จ่ายให้กับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ
232
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
20.00 3,291,907 928,115 1,049,012 1,390,849 1,780,161
25.00 1,993,721 1,190,144 1,239,725 364,377 1,579,763
356,032
394,941
9,339,887 145,022 28,922 173,944
9,647,612 532,407 532,407
29,004 5,784
133,102 -
289,919 (445,402)
788,949 (208,836)
(52,303) (207,786)
(611,913) (31,800)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
233
611,060 3,849,352 18,333,088 125,225,484
360,066 6,793,110
(2,886,828)
14,623,384 107,105,971 132,495 1,056,314 2,213,443 8,827,702 856,061 5,115,055 3,964 (3,964) (107,319) (724,946)
(521,530)
13,545,810 103,893,497 (7,582,582) 13,545,810 96,310,915 411,003 740,938 290,178 3,716,448 953,979 9,653,382 40 (49,381) (56,096) (379,503)
5,136,385 120,888 1,179,955 9,773 (13,957)
(84,667)
5,154,524 5,154,524 13,412 5,155 47,961 -
15,605 1,328,084
1,170,471 40,813 58,467 53,871 (11,143)
(50,029)
1,129,919 1,129,919 43,517 60,875 83,731 (97,542)
6,472 266,080
239,055 8,628 18,483 8,207 (14,765)
(2,020)
243,062 243,062 5,377 10,605 (17,969)
งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักรและ ติดตั้ง และเครื่อง ใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ หมายเหตุ ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ (พันบาท)
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี 3 ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ โอน จัดประเภทรายการใหม่ จ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ 5 โอน จัดประเภทรายการใหม่ จ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
15 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
รวม
(7,028) 797,154
682,098 180,196 (47,984) (55) (10,073)
(3,729)
(3,785,354)
357,903 5,193,430 11,756,354 164,499,354
4,648,593 133,605,957 9,969,358 11,508,692 2,826,711 15,124,761 (5,994,983) (47,392) (47,447) (3,836) (886,039)
(236,551)
647,425 7,754,589 132,368,826 (7,582,582) 647,425 7,754,589 124,786,244 143,443 7,753,694 9,111,384 40,335 4,112,991 (101,616) (10,648,042) 202 (40) (49,179) (3,627) (15,392) (570,129)
สินทรัพย์ วัสดุและอะไหล่ ระหว่างก่อสร้าง
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
234
ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ขาดทุนจากการด้อยค่า ตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ขาดทุนจากการด้อยค่า ตัดจ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามที่รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
3
-
21,978 4,047,603
27,659 474,125
-
3,285,811 818,269 (78,455)
358,263 88,203 -
-
(168,953)
1,153
-
2,807,938 2,807,938 688,293 (41,467)
277,036 277,036 80,074 -
(24,167) (558,283)
(17,658) (557,772) 32,585 (542,845) (8,929) 17,658
553,984 37,926,068
30,677,179 7,198,357 (503,452)
(1,088,113)
32,183,838 (6,303,628) 25,880,210 6,147,245 (262,163)
-
-
11,035 851,114
702,027 149,105 (11,053)
(26,475)
689,882 689,882 135,099 (96,479)
-
-
1,853 185,416
156,981 39,816 (13,234)
(2,994)
139,351 139,351 35,027 (14,403)
งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักรและ ติดตั้ง และเครื่อง ใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ หมายเหตุ ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ (พันบาท)
-
-
548 91,163
60,381 30,747 (513)
19
39,630 39,630 22,607 (1,875)
-
-
-
-
-
-
สินทรัพย์ วัสดุและอะไหล่ ระหว่างก่อสร้าง
(24,167) (558,283)
(17,658) (557,772) 32,585 (542,845) (8,929) 17,658
617,057 43,575,489
35,240,642 8,324,497 (606,707)
(1,285,363)
36,137,675 (6,303,628) 29,834,047 7,108,345 (416,387)
รวม
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
235
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ปรับปรุงใหม่ ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่ ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน
5,716,246 602,739 6,318,985
4,223,247 554,875 4,778,122
4,252,730 624,758 4,877,488
14,262,059 23,426 14,285,485
11,331,811 5,762 11,337,573
10,737,872 10,737,872
ที่ดินและ อาคารและ ส่วนปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงอาคาร
86,736,578 4,555 86,741,133
75,880,810 5,137 75,885,947
70,294,854 118,193 70,413,047
เครื่องจักรและ อุปกรณ์
476,970 476,970
468,444 468,444
440,037 440,037
74,980 5,684 80,664
74,445 7,629 82,074
92,447 11,264 103,711
งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่องใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ (พันบาท)
705,991 705,991
621,717 621,717
607,795 607,795
วัสดุและอะไหล่
11,756,354 11,756,354
4,648,593 4,648,593
7,754,589 7,754,589
สินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง
119,729,178 636,404 120,365,582
97,249,067 573,403 97,822,470
94,180,324 754,215 94,934,539
รวม
ในระหว่างไตรมาสสี่ของปี 2556 Indorama Polymers Workington Ltd. (“IRPW”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมได้ระงับการด�ำเนินงานและ ปิดโรงงาน โดยผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเริ่มด�ำเนินงานอีกครั้งเมื่อสถานการณ์ทางธุรกิจฟื้นตัว จากการประเมินของผู้บริหารในระหว่าง ไตรมาสทีส่ องของปี 2557 การตัดสินใจทีจ่ ะเริม่ ด�ำเนินงานอีกครัง้ ได้เลือ่ นระยะเวลาออกไปอีก ผูบ้ ริหารของ IRPW เชือ่ ว่ามูลค่าของโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ และวัสดุและอะไหล่ที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557 อาจเกิดการด้อยค่า ผู้บริหารของ IRPW ได้ประเมิน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนและได้จัดท�ำประมาณการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อก�ำหนดมูลค่าจากการใช้ของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด ซึ่งประกอบด้วย โรงงาน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร และเครื่องจักรและอุปกรณ์ และวัสดุและอะไหล่ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตของ IRPW และได้แต่งตั้งผู้ประเมินราคาอิสระในการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จากผลการประเมินดังกล่าว IRPW บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ จ�ำนวน 557.8 ล้านบาท และวัสดุและอะไหล่จำ� นวน 39.6 ล้านบาท รวมเป็นจ�ำนวน 597.4 ล้านบาทในงบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับงวดปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้บริหารของ IRPW ได้ประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่ด้อยค่า อีกครั้ง และสรุปว่าค่าเผื่อขาดทุนจากการด้อยค่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงนับจากวันที่มีการประเมินล่าสุด อัตราคิดลด อัตราคิดลดซึง่ ใช้ในการค�ำนวณประมาณการคิดลดกระแสเงินสดเพือ่ ก�ำหนดมูลค่าจากการใช้ ณ วันทีป่ ระเมิน เป็นอัตราก่อนภาษี ซึง่ ประเมิน จากประสบการณ์ ในอดีต และต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของเงินทุนของอุตสาหกรรมปรับปรุงด้วยความเสี่ยงที่ประเมินโดยผู้บริหาร ของ IRPW ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้วแต่ยังคง ใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวน 19,879.6 ล้านบาท (2557: 18,052.3 ล้านบาท) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางส่วนซึ่งมีราคาตามบัญชีจ�ำนวน 42,876.7 ล้านบาท (2557: 37,318.8 ล้านบาท) ได้น�ำไปค�้ำประกันเงินกู้ยืม จากธนาคาร ต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างโรงงานใหม่ได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนสินทรัพย์จ�ำนวน 134.5 ล้านบาท (2557: 67.3 ล้านบาท) มีอัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ร้อยละ 2.50 - 5.49 (2557: ร้อยละ 1.35-4.50) (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33)
16 ค่าความนิยม งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
2557 (พันบาท)
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม ได้มาจากการรวมธุรกิจ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
236
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
5(ข)
8,054,789 918,402 815,366 9,788,557
8,018,747 36,042 8,054,789
8,054,789 9,788,557
8,018,747 8,054,789
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
237
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ PHP Fibers GmbH Artenius Turkpet Kimyevi Maddeler Sanayi A.S. ตัดบัญชี ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ Polyplex Resins San. ve Tic. A.S. Performance Fibers Holdings Finance, Inc. Bangkok Polyesters Public Company Limited CEPSA Chimie Montréal s.e.c Micro Polypet Private Limited จัดประเภทรายการใหม่ ตัดบัญชี ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
17 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น
5(ก) 5(ข) 5(ค) 5(ง) 5(จ)
381,384 4,820,236
2,152 82,991
(22,253) 4,402,916 -
(4,446) 85,219 886 35,936 -
-
2,145 -
1,227 (6,493) -
4,425,169 -
81,369 6,151
สัญญาซื้อ วัตถุดิบและ ความสัมพันธ์ หมายเหตุ สิทธิการได้มา กับผู้ขายสินค้า
409,514 -
166,738 -
448,673 562,495 (126,265) -
604,733 259,424 -
448,673 -
(49,853) 914,462 -
223,609 -
740,706 -
15,101 337,096 204,903 64,025 286,870 5,260,359 4,738,317 1,427,160
5,170 218 7,975 -
(4,267) (54,406) (168,585) 245,372 4,038,360 3,669,257 13,034 -
3,008 1,410 (577)
203,497 3,659,316 3,671,104 42,301 23,936 -
ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์
31,256 360,886
-
1,494 329,630 -
-
328,136 -
17,488 368,545
162,563 126,265 (783)
308 21,109 41,903
-
20,801
งบการเงินรวม สัญญาที่ท�ำ กับลูกค้าและ ชื่อผลิตภัณฑ์ สัญญา รายจ่ายในการ ค่าลิขสิทธิ์ ความสัมพันธ์ และเครื่องหมาย แลกเปลี่ยน พัฒนาที่รับรู้ ทางเทคโนโลยี กับลูกค้า การค้า ผลิตภัณฑ์เคมี เป็นสินทรัพย์ (พันบาท)
1,053,405 17,345,364
1,227 1,669,812 259,642 562,495 35,936 1,482 (783)
(302,008) 13,706,325 55,823
636,131 170,293 (577)
13,109,297 93,189
รวม
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
238 3,229 397,700 147,319 45,438 590,457
(1,742) 22,834 5,361 (3) 28,192 60,538 62,385 54,799
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 4,169,982 4,005,216 4,229,779
255,187 139,284 -
20,831 3,745 -
ค่าตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ตัดบัญชี ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี จัดประเภทรายการใหม่ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
สิทธิการได้มา
สัญญาซื้อ วัตถุดิบและ ความสัมพันธ์ กับผู้ขายสินค้า
104,240 101,280 99,823
11,921 187,047
(364) 144,092 31,034 -
99,257 45,776 (577)
ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์
3,056,525 3,226,601 4,098,985
67,859 1,161,374
(5,794) 811,759 286,207 (4,451)
602,791 214,762 -
ค่าลิขสิทธิ์ ทางเทคโนโลยี
2,821,887 2,538,674 3,139,214
64,210 1,599,103
(54,524) 1,130,583 404,310 -
849,217 335,890 -
734,537 889,677 1,340,371
1,180 86,789
(2,017) 24,785 60,824 -
6,169 20,633 -
297,948 281,956 289,698
5,469 71,188
391 47,674 18,045 -
30,188 17,095 -
งบการเงินรวม สัญญาที่ท�ำ กับลูกค้าและ ชื่อผลิตภัณฑ์ สัญญา ความสัมพันธ์ และเครื่องหมาย แลกเปลี่ยน กับลูกค้า การค้า ผลิตภัณฑ์เคมี (พันบาท)
21,109 328,519
1,260 40,026
34,315 4,451
-
รายจ่ายในการ พัฒนาที่รับรู้ เป็นสินทรัพย์
11,245,657 11,126,898 13,581,188
197,334 3,764,176
(60,821) 2,579,427 987,415 -
1,863,640 777,185 (577)
รวม
18 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดังนี้ สินทรัพย์
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้า ตราสารอนุพันธ์ สินค้าคงเหลือ ประมาณการหนี้สิน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม หักกลบภาษีเงินได้ (สินทรัพย์) หนี้สินภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชี - สุทธิ
2558
2557 (ปรับปรุงใหม่)
(1,606) (81) (8) (27) (195) (349) (3,099) (980) (6,345) 3,658
(630) (16) (7) (131) (282) (3,109) (655) (4,830) 3,601
11,246 2,914 43 326 352 14,881 (3,658)
(2,687)
(1,229)
11,223
สินทรัพย์
ตราสารอนุพันธ์ ยอดขาดทุนยกไป รวม หักกลบภาษีเงินได้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชี - สุทธิ
งบการเงินรวม หนี้สิน 2558 2557 (ปรับปรุงใหม่) (ล้านบาท)
2558
2557 (ปรับปรุงใหม่)
9,772 2,084 53 69 306 198 12,482 (3,601)
9,640 2,833 (8) (27) (152) (23) (3,099) (628) 8,536 -
9,142 2,068 (7) 53 (62) 24 (3,109) (457) 7,652 -
8,881
8,536
7,652
งบการเงินเฉพาะกิจการ หนี้สิน 2558 2557 (ล้านบาท)
2558
2557
(20) (20) 10
(65) (65) 39
10 10 (10)
(10)
(26)
-
สุทธิ
สุทธิ 2558
2557
39 39 (39)
10 (20) (10) -
39 (65) (26) -
-
(10)
(26)
239
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดังนี้ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 (ปรับปรุงใหม่)
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้า ตราสารอนุพันธ์ สินค้าคงเหลือ ประมาณการหนี้สิน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
9,142 2,068 (7) 53 (62) 24 (3,109) (457) 7,652 ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 (ปรับปรุงใหม่)
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้า ตราสารอนุพันธ์ สินค้าคงเหลือ ประมาณการหนี้สิน ยอดขาดทุนยกไป อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน ก�ำไรหรือ ก�ำไรขาดทุน ส่วนของ ได้มาจาก ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ผู้ถือหุ้น การซื้อธุรกิจ (ล้านบาท)
7,753 1,687 (5) (65) (94) 33 (3,619) (96) 5,594
414 160 2 (29) (56) (15) 824 (246) 1,054
39 (65) (26)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
ตราสารอนุพันธ์ ยอดขาดทุนยกไป รวม
240
(59) (25) (84)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
-
(507) 437 (3) (24) (28) (678) 51 (752)
งบการเงินรวม บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน ก�ำไรหรือ ก�ำไรขาดทุน ส่วนของ ได้มาจาก ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ผู้ถือหุ้น การซื้อธุรกิจ (ล้านบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2558
ตราสารอนุพันธ์ ยอดขาดทุนยกไป รวม
(39) 38 (1)
549 102 2 28 (26) 7 517 (5) 1,174
(1) 93 (125) (33)
(40) (40)
989 226 (5) 65 (6) (1) (139) 1,129
ผลต่าง จากอัตรา แลกเปลี่ยน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
591 168 (12) (10) (4) (136) (14) 583
9,640 2,833 (8) (27) (152) (23) (3,099) (628) 8,536
ผลต่าง จากอัตรา แลกเปลี่ยน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ปรับปรุงใหม่)
(148) 53 1 (3) (7) (10) 34 (92) (172)
9,142 2,068 (7) 53 (62) 24 (3,109) (457) 7,652
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน ก�ำไรหรือขาดทุน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ล้านบาท)
45 45
(29) (29)
-
10 (20) (10)
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็นรายจ่าย / (รายได้) ใน ก�ำไรหรือขาดทุน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ล้านบาท)
-
98 98
(40) (40)
39 (65) (26)
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ยังไม่ได้รับรู้เกิดจากรายการดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (ล้านบาท)
ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี ขาดทุนทางภาษี รวม
(232) 2,512 2,280
(17) 1,438 1,421
-
-
ขาดทุนทางภาษีจะสิ้นอายุในปี 2559 เป็นต้นไป ผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษียังไม่สิ้นอายุตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษีเงินได้ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทมิได้รับรู้รายการดังกล่าวเป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเนื่องจากยังไม่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริษัทจะมี ก�ำไรทางภาษีเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ทางภาษีดังกล่าว
19 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ส่วนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร มีหลักประกัน ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ก) มีหลักประกัน ไม่มีหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินส่วนที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี มีหลักประกัน ไม่มีหลักประกัน หัก ต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีสุทธิ (ข) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน หนึ่งปี (ค) หุ้นกู้ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี (ง) รวมหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยระยะสั้น
601,632 18,918
966,810 51,228
-
-
8,358,600 3,135,859
6,384,865 1,178,139
1,244,000
-
12,115,009
8,581,042
1,244,000
-
1,552,545 632,188 (66,580) 2,118,153
1,581,843 2,897,274 (52,889) 4,426,228
202,229 (17,588) 184,641
8,440
8,345
1,673,036 (4,472) 1,668,564
-
-
2,898,005
-
2,898,005
-
17,139,607
13,015,615
4,326,646
1,668,564
241
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน มีหลักประกัน ไม่มีหลักประกัน หัก ต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี เงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิ (ข)
6,426,592 27,917,172 (203,476) 34,140,288
8,833,853 24,112,200 (188,472) 32,757,581
16,351
21,418
หุ้นกู้ (ง)
32,310,010
รวมหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยไม่หมุนเวียน
66,466,649
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (ค)
7,766,577 (37,719) 7,728,858
5,734,495 (12,688) 5,721,807
-
-
27,498,956
27,358,481
27,498,956
60,277,955
35,087,339
33,220,763
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบก�ำหนดการจ่ายช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบก�ำหนดหลังจากห้าปี รวม
17,131,167 43,222,198 23,228,100 83,581,465
13,007,270 41,494,922 18,761,615 73,263,807
4,326,646 17,851,305 17,236,034 39,413,985
1,668,564 18,656,466 14,564,297 34,889,327
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็นสินทรัพย์ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รวม
242
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
11,192,912 11,612,763 42,876,703 65,682,378
90 9,891,157 11,081,903 37,318,829 58,291,979
-
-
(ก) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินประกอบด้วย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกูห้ มุนเวียน (57,451,992 เหรียญสหรัฐอเมริกา) (2557: 65,965,990 เหรียญสหรัฐอเมริกา) ครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือนธันวาคม 2561 ซึ่งค�้ำประกันโดยลูกหนี้การค้าและสินค้าคงเหลือ เงินกู้หมุนเวียน (41,792,882 ยูโร) (2557: 24,716,822 ยูโร) ครบก�ำหนด ช�ำระคืนในเดือนกันยายน 2561 เงินกู้หมุนเวียน (10,946,931 ยูโร) หนี้สินภายใต้สัญญาทรัสต์รีซีท รวม
7,332,488
4,398,881
1,244,000
-
2,073,362
2,174,140
-
-
1,648,259 431,734 8,616 11,494,459
989,983 7,563,004
1,244,000
-
ตามเงื่อนไขของสัญญาเกี่ยวกับการท�ำทรัสต์รีซีท กลุ่มบริษัทน�ำเข้าสินค้าที่สั่งเข้ามาภายใต้การใช้เครดิตของธนาคาร ดังนั้นกลุ่มบริษัท ดังกล่าวจึงต้องมีภาระผูกพันต่อธนาคารส�ำหรับสินค้าดังกล่าวที่คงเหลืออยู่หรือขายไป จนกว่าสินค้าดังกล่าวจะได้รับช�ำระครบเต็มจ�ำนวน กลุ่มบริษัทไม่คาดว่าจะจ่ายคืนเงินกู้หมุนเวียนที่เป็นยูโรและเหรียญสหรัฐอเมริกาทั้งจ�ำนวนก่อนครบก�ำหนดสัญญา เงินกู้ยืมนี้จัดประเภท เป็นหนี้สินระยะสั้นในงบแสดงฐานะการเงินของกลุ่มบริษัท เนื่องจากข้อก�ำหนดส�ำคัญบางประการที่ระบุตามสัญญาเงินกู้ยืม (ข) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินประกอบด้วย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน ตุลาคม 2559 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาสโดยมี อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน กุมภาพันธ์ 2558 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน กุมภาพันธ์ 2560 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน เมษายน 2561 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 6 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน กุมภาพันธ์ 2560 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม
-
1,228,500
-
1,228,500
-
900,000
-
900,000
-
981,000
-
981,000
-
1,080,000
-
1,080,000
-
495,000
-
495,000
243
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน มีนาคม 2560 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน มีนาคม 2560 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ย LIBOR 6 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน เมษายน 2564 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาสโดยมี อัตราดอกเบี้ย EURIBOR 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน พฤษภาคม 2561 จ่ายช�ำระคืนครั้งเดียว โดยมีอัตรา ดอกเบี้ย LIBOR บวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน กันยายน 2566 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาส โดยมี อัตราดอกเบี้ย BIBOR 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน มกราคม 2564 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ย LIBOR 6 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงิ น กู ้ ยื ม ที่ มี ห ลั ก ประกั น ครบก� ำ หนดช� ำ ระคื น ในเดื อ น ธันวาคม 2561 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ย LIBOR บวกส่วนเพิ่ม ค�้ำประกันโดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงิ น กู ้ ยื ม ที่ มี ห ลั ก ประกั น ครบก� ำ หนดช� ำ ระคื น ในเดื อ น กันยายน 2561 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาส เริ่มต้น ในเดือนกันยายน 2558 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ EURIBOR บวกส่วนเพิ่ม ค�้ำประกันโดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินกู้ยืมที่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน ธันวาคม 2562 ผ่อนช�ำระคืนทุกครึ่งปี โดยมีอัตรา ดอกเบี้ย LIBOR บวกส่วนเพิ่ม ค�้ำประกันโดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน ธันวาคม 2563 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาส โดยมี อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน มีนาคม 2565 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาส โดยมี อัตราดอกเบี้ย EURIBOR 3 เดือนบวกส่วนเพิ่ม เงินกู้ยืมที่มีหลักประกันครบก�ำหนดช�ำระคืนในเดือน มกราคม 2565 ผ่อนช�ำระคืนเป็นรายไตรมาสโดยมี อัตราดอกเบี้ยพื้นฐานบวกส่วนเพิ่ม ค�้ำประกันโดย ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือและที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
244
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
-
483,000
-
483,000
124,051
188,841
124,051
188,841
1,485,375
1,617,091
1,485,375
1,617,091
3,625,380
-
3,625,380
-
2,734,000
-
2,734,000
-
906,346
-
-
-
1,082,658
1,977,780
-
-
3,549,491
4,005,300
-
-
1,263,102
3,296,300
-
-
17,322,528
18,986,688
-
-
1,262,038
-
-
-
750,427
-
-
-
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น รวมเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หัก ต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิ หัก ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีสุทธิจาก ต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้อง เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
2,423,101 36,528,497 (270,056) 36,258,441
2,185,670 37,425,170 (241,361) 37,183,809
7,968,806 (55,307) 7,913,499
434,099 7,407,531 (17,160) 7,390,371
(2,118,153) 34,140,288
(4,426,228) 32,757,581
(184,641) 7,728,858
(1,668,564) 5,721,807
สัญญาเงินกู้ยืมข้างต้นมีข้อก�ำหนดบางประการที่จะต้องปฏิบัติตามเกี่ยวกับการประกาศจ่ายเงินปันผล การรักษาอัตราส่วนทางการเงิน การซื้อสินทรัพย์ การก่อหนี้สินเพิ่มและการโอนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจ�ำนวนเงินรวม 51,216.2 ล้านบาท (2557: 37,858.8 ล้านบาท) (ค) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2558
ครบก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดช�ำระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม
2557 ดอกเบี้ย
มูลค่าปัจจุบันของ จ�ำนวนเงินขั้นต�่ำ ที่ต้องจ่าย
8,710
365
8,345
22,035 30,745
617 982
21,418 29,763
มูลค่าอนาคต มูลค่าปัจจุบัน ของจ�ำนวนเงิน ของจ�ำนวนเงิน ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย (พันบาท)
มูลค่าอนาคต ของจ�ำนวนเงิน ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย
ดอกเบี้ย
10,096
1,656
8,440
19,544 29,640
3,193 4,849
16,351 24,791
(ง) หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทมีหุ้นกู้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
หุ้นกู้ ไอวีแอล (ก) หุ้นกู้ IVL Singapore (ข) รวม
30,256,486 4,951,529 35,208,015
27,498,956 27,498,956
30,256,486 30,256,486
27,498,956 27,498,956
245
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ก) หุ้นกู้ ไอวีแอล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน จ�ำนวน 30,300 ล้านบาท (2557: 27,550 ล้านบาท) ดังนี้ หุ้นกู้เลขที่
เงินต้น (พันบาท)
1/2554-1 1/2554-2 1/2554-3 1/2554-4 1/2554-5 1/2554-6 1/2555-1 1/2555-2 1/2555-3 1/2555-4 1/2555-5 2/2555-1 2/2555-2 2/2555-3 2/2555-4 1/2556-1 1/2556-2 1/2556-3 1/2557-1 1/2557-2 1/2557-3 1/2558-1 1/2558-2 2/2558-1 รวม หัก ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ในหนึ่งปี สุทธิ
210,000 98,000 37,000 2,690,000 1,302,000 3,163,000 1,500,000 1,250,500 2,500,000 1,500,000 2,649,500 780,000 880,000 1,645,000 1,475,000 550,000 520,000 1,100,000 1,500,000 800,000 1,400,000 500,000 1,100,000 1,150,000 30,300,000 (2,900,000) 27,400,000
อัตราดอกเบี้ย ร้อยละต่อปี
อายุหุ้นกู้
ก�ำหนดไถ่ถอน
4.50-5.05 4.75-5.50 5.00-6.00 4.70 5.04 5.35 4.45-5.20 5.10-6.00 4.73 5.09 5.52 4.52 4.78 5.11 5.28 4.40 4.70 5.10 4.00 4.50 5.30 4.00 4.20 3.92
5 ปี 7 ปี 10 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี 5 ปี 10 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี 6 ปี 8 ปี 10 ปี 12 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี 3 ปี 5 ปี 10 ปี 7 ปี 10 ปี 10 ปี
19 ต.ค. 59 19 ต.ค. 61 19 ต.ค. 64 19 ต.ค. 59 19 ต.ค. 61 19 ต.ค. 64 5 เม.ย. 60 5 เม.ย. 65 5 เม.ย. 60 5 เม.ย. 62 5 เม.ย. 65 14 ธ.ค. 61 14 ธ.ค. 63 14 ธ.ค. 65 14 ธ.ค. 67 27 มิ.ย. 61 27 มิ.ย. 63 27 มิ.ย. 66 14 มี.ค. 60 14 มี.ค. 62 14 มี.ค. 67 13 ต.ค. 65 13 ต.ค. 68 9 ธ.ค. 68
ค่าใช้จ่ายในการออก หุ้นกู้รอตัดบัญชี (พันบาท)
สุทธิ
144 169 92 1,851 2,244 7,904 860 1,782 1,433 1,590 3,776 853 1,211 2,543 2,447 975 1,188 2,934 1,351 1,154 2,588 881 1,957 1,587 43,514
209,856 97,831 36,908 2,688,149 1,299,756 3,155,096 1,499,140 1,248,718 2,498,567 1,498,410 2,645,724 779,147 878,789 1,642,457 1,472,553 549,025 518,812 1,097,066 1,498,649 798,846 1,397,412 499,119 1,098,043 1,148,413 30,256,486
(1,995) 41,519
(2,898,005) 27,358,481
ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2554 การประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2556 และการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการออกหุ้นกู้มูลค่ารวมกันไม่เกิน 75,000 ล้านบาท (เป็นเงินบาทหรือเงินตราต่างประเทศเทียบเท่าเงินบาท) เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2558 และ 9 ธันวาคม 2558 บริษัทได้รับช�ำระเป็นเงินสดจ�ำนวน 1,600 ล้านบาท และ 1,150 ล้านบาท ตามล�ำดับ จากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกันแก่บุคคลในวงจ�ำกัด (2557: 3,700 ล้านบาท)
246
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
(ข) หุ้นกู้ IVL Singapore ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 IVL Singapore PTE Limited มีหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน จ�ำนวน 4,980 ล้านบาทดังนี้ หุ้นกู้เลขที่
เงินต้น (พันบาท)
1/2558-1 รวม
4,980,227 4,980,227
อัตราดอกเบี้ย ร้อยละต่อปี
อายุหุ้นกู้
ก�ำหนดไถ่ถอน
3.73
10 ปี
7 ต.ค. 68
ค่าใช้จ่ายในการออก หุ้นกู้รอตัดบัญชี (พันบาท)
28,698 28,698
สุทธิ
4,951,529 4,951,529
มติที่ประชุมของบริษัท IVL Singapore PTE Limited ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของบริษัท ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2558 อนุมัติ ให้มีการเสนอขายหุ้นกู้จ�ำนวนไม่เกิน 140 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือเทียบเท่าในสกุลเงินสิงคโปร์ดอลล่าร์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2558 บริษัท IVL Singapore PTE Limited ได้เสนอขายหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกันเป็น จ�ำนวน 195 ล้านเหรียญสิงคโปร์ (เทียบเท่า 138 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) ให้กับนักลงทุนสถาบันในประเทศสิงคโปร์ หุ้นกู้ดังกล่าวมีอายุ 10 ปี โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ที่ร้อยละ 3.73 ต่อปี หุ้นกู้ได้รับการค�้ำประกันโดย Credit Guarantee & Investment Facility ซึ่งเป็นกองทุน (Trust fund) ของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชียและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินรูปีอินเดียน สกุลเงินหยวน สกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง สกุลเงินไนจีเรียไนรา สกุลเงินลีราตุรกี รวม
35,315,929 33,825,278 9,569,529 2,645,214 1,895,821 354,431 54 83,606,256
34,151,570 29,022,261 9,311,141 450,325 358,273 73,293,570
34,221,412 3,715,536 1,477,037 39,413,985
33,093,238 188,842 1,607,247 34,889,327
20 เจ้าหนี้การค้า งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม
6
160,778 30,988,188 31,148,966
119,517 27,644,693 27,764,210
-
-
247
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินบาท สกุลเงินรูเปียอินโดนีเซีย สกุลเงินหยวน สกุลเงินโครนเดนมาร์ก สกุลเงินเม็กซิกันเปโซ สกุลเงินโปลิซซวอตี้ สกุลเงินลีราตุรกี สกุลเงินรูปีอินเดียน สกุลเงินปอนด์สเตอร์ริง สกุลเงินออสเตรเลียนดอลลาร์ สกุลเงินไนจีเรียไนรา สกุลเงินฟิลิปปินส์เปโซ สกุลเงินเยนญี่ปุ่น สกุลเงินฟรังก์สวิส สกุลเงินกานาเอียนซีดี สกุลเงินลิธัวเนียนลิตัส สกุลเงินสิงคโปร์ดอลลาร์ รวม
20,537,398 4,397,497 2,858,740 1,299,226 769,802 430,051 267,596 168,568 147,007 115,770 92,329 28,085 16,629 12,615 3,914 3,031 708 31,148,966
18,065,105 4,205,733 2,596,507 147,723 1,073,056 687,205 423,887 119,076 201,891 116,221 38,407 4,173 6,217 2,876 75,890 243 27,764,210
-
-
21 หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานค้างจ่าย เจ้าหนี้จากการปรับราคาวัตถุดิบ เจ้าหนี้อื่น เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ดอกเบี้ยค้างจ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย อื่นๆ รวม
248
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
2,657,064 1,716,123 1,135,598 888,164 403,398 154,781 83,068 893,703 7,931,899
2,195,290 1,299,533 1,250,598 291,531 374,631 128,158 48,647 843,168 6,431,556
19,954 295,248 28,862 344,064
9,800 279,696 3,120 292,616
22 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงินส�ำหรับ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการผลประโยชน์พนักงานเมื่อเลิกจ้างตามกฏหมายไทย โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในยุโรป โครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ทจี่ ดั ตัง้ ขึน้ ในประเทศอืน่ ๆ ผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอื่น รวม
252,668 1,029,784 496,405 16,649 1,795,506
129,050 1,125,235 479,634 21,077 1,754,996
-
-
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบก�ำไรขาดทุน รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการผลประโยชน์พนักงานเมื่อเลิกจ้างตามกฏหมายไทย โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในยุโรป โครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ทจี่ ดั ตัง้ ขึน้ ในประเทศอืน่ ๆ ผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอื่น รวม
93,572 164,168 60,203 (469) 317,474
(78,671) 133,728 61,475 6,954 123,486
-
-
(274,294)
740,580
-
-
140,540 (993) (134,747)
(327,225) 413,355
-
-
รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ก�ำไร) ขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลตอบแทนจากสินทรัพย์โครงการซึ่งไม่รวมจ�ำนวน ที่รวมอยู่ในรายได้ดอกเบี้ย อื่นๆ รวม
โครงการผลประโยชน์พนักงานเมื่อเลิกจ้างตามกฎหมายไทยและผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอื่น บริษัทย่อยที่จดทะเบียนในประเทศไทยบันทึกหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์พนักงานที่ก�ำหนดไว้ตามข้อก�ำหนดของพระราช บัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงานนอกจากนี้ กลุ่มบริษัทมีการจัด โครงการค่ารักษาพยาบาลหลังออกจากงานซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์หลังออกจากงานและโครงการผลประโยชน์ที่จ่ายจากการ ท�ำงานเป็นระยะเวลานานซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอื่นให้แก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้มีความเสี่ยงจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ได้แก่ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็น 13 ปี (2557: 13 ปี).
249
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงินมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันที่ไม่ได้จัดให้มีกองทุน ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน
269,317 269,317
150,127 150,127
-
-
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม รับรู้ในก�ำไรขาดทุน ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยส�ำหรับผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอื่น รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย อื่นๆ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ซึ่งได้รับจากการ ซื้อบริษัทย่อย ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
150,127
204,130
-
-
20,926 68,030 6,687
11,553 (88,270) 4,658
-
-
(2,540) 93,103
342 (71,717)
-
-
24,978
28,598
-
-
5,911 (4,802) 1,109
(10,884) (10,884)
-
-
269,317
150,127
-
-
ค่าใช้จ่ายรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุน งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รวม
250
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
56,383 36,720 93,103
(41,167) (30,550) (71,717)
-
-
ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเกิดขึ้นจาก งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สมมติฐานประชากร สมมติฐานทางการเงิน การปรับปรุงจากประสบการณ์ อื่นๆ รวม
(510) 10,495 15,043 (50) 24,978
14,470 13,304 824 28,598
-
-
โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในยุโรป บริษัทย่อยในทวีปยุโรปได้จัดให้มีแผนเกี่ยวกับเงินบ�ำนาญเมื่อเกษียณอายุ ตามแผนดังกล่าวพนักงานจะได้รับเงินเป็นจ�ำนวนเท่ากันทุกปี ในอัตราหนึ่งในหกสิบส่วนของเงินเดือนในเดือนสุดท้ายของแต่ละปีที่ปฏิบัติงาน โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้มีความเสี่ยงจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยได้แก่ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงจากตลาด (เงินลงทุน) กลุ่มบริษัทคาดว่าจะจ่ายเงินจ�ำนวน 86 ล้านบาท เพื่อสมทบในโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ในปี 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็น 6.15 ถึง 30.00 ปี (2557:20.73 ถึง 29.00 ปี) ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงินมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์โครงการ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน
1,054,596 (24,812) 1,029,784
1,229,789 (104,554) 1,125,235
-
-
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม
2,161,443
808,969
-
-
251
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
รับรู้ในก�ำไรขาดทุน ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย อื่นๆ ภาระหนี้สินผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ได้รับจากการซื้อ บริษัทย่อย ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ประมาณการเงินสมทบเงินจากพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
146,782 877 48,448 2,567 198,674
107,443 38,998 13,615 160,056
-
-
(288,575)
681,837
-
-
2,109 (663) 13,086 (36,899) (22,367)
692,829 (7,034) 15,217 (190,431) 510,581
-
-
2,049,175
2,161,443
-
-
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม รับรู้ในก�ำไรขาดทุน รายได้ดอกเบี้ย
1,036,208
557,676
-
-
22,966
21,694
-
-
(134,214)
327,399
-
-
มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
92,614 5,145 8,759 (12,087) 94,431 1,019,391
141,253 74,740 (677) (85,877) 129,439 1,036,208
-
-
ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
1,029,784
1,125,235
-
-
รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลตอบแทนจากสินทรัพย์โครงการซึ่งไม่รวมจ�ำนวน ที่รวมอยู่ในรายได้ดอกเบี้ย อื่นๆ สินทรัพย์โครงการได้รับจากการซื้อบริษัทย่อย ประมาณการเงินสมทบจากพนักงาน ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ เงินสมทบที่จ่ายเข้าในโครงการ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน
252
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าใช้จ่ายรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุน งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม
139,544 24,624 164,168
114,260 19,468 133,728
-
-
ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเกิดขึ้นจาก งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สมมติฐานประชากร สมมติฐานทางการเงิน การปรับปรุงจากประสบการณ์ รวม
31,753 (359,467) 39,139 (288,575)
130,276 515,125 36,436 681,837
-
-
สินทรัพย์โครงการ สินทรัพย์โครงการประกอบด้วย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ตราสารทุน สัญญาประกันภัย หลักทรัพย์ที่มีภาระดอกเบี้ย รวม
23,752 924,382 71,257 1,019,391
20,297 942,332 73,579 1,036,208
-
-
โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศอื่นๆ บริษทั ย่อยซึง่ จดทะเบียนในประเทศเม็กซิโกจัดให้มโี ครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้โดยแบ่งออกเป็นส่วนทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงได้ซงึ่ เป็น ความรับผิดชอบของบริษัทย่อยและพนักงาน และส่วนที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยคิดตามปีที่ให้บริการซึ่งส่วนนี้เป็นความรับผิดชอบ ของบริษัทย่อย บริษัทย่อยซึ่งจดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซียจัดให้มีโครงการผลประโยชน์ส�ำหรับพนักงานตามข้อก�ำหนดของกฏหมายงานส�ำหรับ คนอินโดนีเซียข้อ 13/2003 โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้มีความเสี่ยงจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ได้แก่ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงจากตลาด (เงินลงทุน) กลุ่มบริษัทคาดว่าจะจ่ายเงินจ�ำนวน 34 ล้านบาท เพื่อสมทบในโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ในปี 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็น 10.00 ถึง 13.93 ปี (2557:10.00 ถึง 15.22 ปี)
253
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงินมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ของโครงการ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน
516,823 (20,418) 496,405
529,536 (49,902) 479,634
-
-
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ 2558
ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม รับรู้ในก�ำไรขาดทุน ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนบริการในอดีต ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย อื่นๆ ภาระหนี้สินผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ได้รับจากการซื้อ บริษัทย่อย ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ การหักกลบ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
254
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม
2557
598,158
586,091
34,957 (1,778) 30,649
(พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
-
-
35,138 34,543
-
-
4,821 68,649
(507) 69,174
-
-
(10,697)
30,145
-
-
(26,451) (11,228) (37,679)
125,810 (13,969) (141,888) (57,205) (87,252)
-
-
618,431
598,158
-
-
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ณ วันที่ 1 มกราคม
118,524
79,696
-
-
รับรู้ในก�ำไรขาดทุน รายได้ดอกเบี้ย
8,446
6,670
-
-
รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลตอบแทนจากสินทรัพย์โครงการซึ่งไม่รวมจ�ำนวนที่รวม อยู่ในรายได้ดอกเบี้ย
(6,326)
(174)
-
-
21,837 (29,645) 9,190 1,382
104,476 21,662 (86,503) (7,303) 32,332
-
-
มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
122,026
118,524
-
-
ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
496,405
479,634
-
-
อื่นๆ สินทรัพย์โครงการได้รับจากการซื้อบริษัทย่อย เงินสมทบที่จ่ายเข้าในโครงการ ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน
ค่าใช้จ่ายรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุน งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม
41,830 18,373 60,203
33,227 28,248 61,475
-
-
ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเกิดขึ้นจาก งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
สมมติฐานประชากร สมมติฐานทางการเงิน การปรับปรุงจากประสบการณ์ อื่นๆ รวม
3,531 (22,142) 12,321 (4,407) (10,697)
4,572 39,469 (14,848) 952 30,145
-
-
255
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
สินทรัพย์โครงการ สินทรัพย์โครงการประกอบด้วย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ตราสารทุน พันธบัตรรัฐบาล หลักทรัพย์ที่มีภาระดอกเบี้ย อื่นๆ รวม
93,690 12,837 15,437 62 122,026
85,311 15,477 17,521 215 118,524
-
-
ข้อสมมติในการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก) ได้แก่ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ร้อยละ)
2557 (ร้อยละ)
โครงการชดเชยกรณีเลิกจ้างตามกฎหมายไทย อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต
2.8 4.00-6.00
3.20 5.00-6.00
-
-
โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในยุโรป อัตราคิดลด ประมาณการผลตอบแทนในสินทรัพย์โครงการ การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต
2.50-10.50 2.50-3.00 1.50-5.00
2.40-3.88 2.25-3.88 1.50-2.50
-
-
โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศอื่นๆ อัตราคิดลด ประมาณการผลตอบแทนในสินทรัพย์โครงการ การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต
4.50-9.00 6.25-7.00 4.75-8.00
4.00-8.25 6.00-7.25 4.75-8.00
-
-
การวิเคราะห์ความอ่อนไหว การเปลี่ยนแปลงในแต่ละข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องในการประมาณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่อาจเป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผล ณ วันที่รายงาน โดยถือว่าข้อสมมติฐานอื่นๆ คงที่ จะมีผลกระทบต่อภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็นจ�ำนวนเงินดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท)
โครงการชดเชยกรณีเลิกจ้างตามกฎหมายไทย ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5)
256
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
เพิ่มขึ้น (13)
ลดลง 14
เพิ่มขึ้น -
ลดลง -
14
(13)
-
-
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท)
โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในยุโรป ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) ประมาณการผลตอบแทนในสินทรัพย์โครงการ (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศอื่นๆ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) ประมาณการผลตอบแทนในสินทรัพย์โครงการ (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงร้อยละ 0.5)
เพิ่มขึ้น (235)
ลดลง 277
เพิ่มขึ้น -
ลดลง -
(101)
120
-
-
26
(25)
-
-
เพิ่มขึ้น (27)
ลดลง 28
เพิ่มขึ้น -
ลดลง -
(1)
1
-
-
16
(15)
-
-
แม้ว่าการวิเคราะห์นี้ไม่ได้ค�ำนึงการกระจายตัวแบบเต็มรูปแบบของกระแสเงินสดที่คาดหวังภายใต้โครงการดังกล่าว แต่ได้แสดงประมาณ การความอ่อนไหวของข้อสมมติฐานต่างๆ
23 ทุนเรือนหุ้นและใบส�ำคัญแสดงสิทธิ รายการเคลื่อนไหวของทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้
มูลค่าต่อหุ้น (บาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 - หุ้นสามัญ การลดทุนจดทะเบียน การเพิ่มทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 - หุ้นสามัญ ใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 - หุ้นสามัญ
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน (พันหุ้น / พันบาท)
1 1 1
4,815,857 (1,600) 851,753
4,815,857 (1,600) 851,753
4,814,257 -
4,814,257 -
1
5,666,010 -
5,666,010 -
4,814,257 15
4,814,257 15
5,666,010
5,666,010
4,814,272
4,814,272
257
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2557 ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การลดทุนจดทะเบียนจาก 4,815,856,719 บาท เป็น 4,814,257,245 บาท โดยการยกเลิกหุ้นจดทะเบียนจ�ำนวน 1,599,474 บาท (แบ่งออกเป็น 1,599,474 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท) (ข) การเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 4,814,257,245 บาท เป็น 5,666,010,449 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 851,753,204 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ การจดทะเบียนลดทุนและเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ได้รบั อนุมตั จิ ากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2557 (ค) การออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 2 ชุด ที่จะซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัท ดังต่อไปนี้ 1. ใบส�ำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 1 (“IVL-W1 Warrants”) ในจ�ำนวนไม่เกิน 481,425,724 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ตามสัดส่วน การถือหุ้น (Rights Offering) โดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราการจัดสรรที่ 10 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ IVL-W1 จะมีอายุ 3 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ และราคาการใช้สิทธิอยู่ที่ 36.00 บาท ต่อหุ้น 2. ใบส�ำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 2 (“IVL-W2 Warrants”) ในจ�ำนวนไม่เกิน 370,327,480 หน่วย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท ตามสัดส่วน การถือหุ้น (Rights Offering) โดยไม่คิดมูลค่า ในอัตราการจัดสรรที่ 13 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หน่วยใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ IVL-W2 จะมีอายุ 4 ปี นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ และราคาการใช้สิทธิอยู่ที่ 43.00 บาท ต่อหุ้น ผู้ถือหุ้นสามัญจะได้รับสิทธิ ในการรับเงินปันผลจากการประกาศจ่ายเงินปันผลและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนหนึ่งเสียงต่อหนึ่งหุ้น ในที่ประชุมของบริษัท การใช้สิทธิของ IVL-W1 ส�ำหรับปีส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีการจดทะเบียนทุนที่ออกและช�ำระแล้วจากการใช้สิทธิ IVL-W1 จ�ำนวน 14,870 หุ้น (เทียบเท่ากับ 14,870 บาท) และได้รับเงินเป็นจ�ำนวน 0.53 ล้านบาท บริษัทได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 และ 9 พฤศจิกายน 2558 รายการเคลื่อนไหวของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น IVL-W1 ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังนี้ (พันสิทธิ)
ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 หัก ใช้สิทธิระหว่างงวด ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
481,425 15 481,410
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่ จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องน�ำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนส�ำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
24 ส�ำรอง ส�ำรองประกอบด้วย การจัดสรรก�ำไร และ/หรือ ก�ำไรสะสม ส�ำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนส�ำรอง (“ส�ำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองดังกล่าวมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินส�ำรองนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
258
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทั้งหมดจากงบการเงินของหน่วยงานในต่าง ประเทศให้เป็นเงินบาท ผลต่างจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศทีเ่ กิดจากการแปลงค่าเงินกูย้ มื จากบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ซึง่ พิจารณา เป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยต่างประเทศและการเปลี่ยนแปลงสุทธิสะสมในมูลค่ายุติธรรมของการป้องกันความเสี่ยงของเงิน ลงทุนสุทธิในหน่วยงานในต่างประเทศ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ ใหม่แสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิของการ ตีราคาเครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสิ่งทอ จนกระทั่งมีการขายหรือจ�ำหน่าย ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์นี้จะน�ำ ไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้ ส�ำรองการป้องกันความเสี่ยง บัญชีส�ำรองการป้องกันความเสี่ยงในส่วนของผู้ถือหุ้นประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงสุทธิสะสมในมูลค่ายุติธรรมของการป้องกันความเสี่ยง กระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันความเสี่ยงในธุรกรรมที่ยังไม่ได้เกิดขึ้น ส่วนเกินระหว่างราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยที่ได้มาสูงกว่าราคาทุน/ (ราคาทุนสูงกว่าราคาตามบัญชี) ส่วนเกินระหว่างราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยที่ได้มาสูงกว่าราคาทุน/ (ราคาทุนสูงกว่าราคาตามบัญชี) แสดงถึงผลต่างระหว่างราคาตาม บัญชี และราคาทุนของเงินลงทุน ณ วันที่ซื้อหุ้นในบริษัทย่อยที่มีอยู่เพิ่มขึ้น และถูกบันทึกเป็นส่วนเกินทุน ซึ่งจะไม่จ�ำหน่ายและจะคงอยู่ จนกว่าเงินลงทุนในหุ้นในบริษัทย่อยจะถูกขายหรือจ�ำหน่ายออกไป ผลต่างที่เกิดจากรายการภายใต้การควบคุมเดียวกัน ผลต่างทีเ่ กิดจากรายการภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นการแสดงถึงส่วนเกินระหว่างมูลค่าตามบัญชีของกิจการหรือธุรกิจภายใต้การควบคุม เดียวกัน ณ วันที่ได้มาที่สูงกว่าต้นทุนและถูกบันทึกเป็นส่วนเกินทุน ซึ่งจะไม่จ�ำหน่ายและจะคงอยู่จนกว่าบริษัทย่อยจะถูกขายหรือจ�ำหน่าย ออกไป การเคลื่อนไหวในทุนส�ำรอง การเคลื่อนไหวในทุนส�ำรองแสดงรายการในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
25 หุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2557 บริษัทเสร็จสิ้นการออกหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน (“หุ้นกู้”) จ�ำนวน 15,000 ล้านบาท ซึ่งจะช�ำระคืนเงิน ต้นเพียงครั้งเดียวเมื่อเลิกบริษัท หรือเมื่อบริษัทใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนก�ำหนดตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในข้อก�ำหนดหุ้นกู้ หุ้นกู้ดังกล่าว ไม่มหี ลักประกันและไม่แปลงสภาพ หุน้ กูม้ กี ารค�ำนวณดอกเบีย้ ด้วยอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลทีม่ อี ายุ 5 ปี ปรับปรุงด้วยค่าชดเชยความ เสี่ยงและอัตราดอกเบี้ยแบบขั้นบันไดตามที่ระบุในเงื่อนไขของหุ้นกู้ และช�ำระเป็นรายไตรมาส อย่างไรก็ตาม บริษัทมีสิทธิและดุลยพินิจแต่ เพียงผู้เดียวที่จะเลื่อนการช�ำระดอกเบี้ยพร้อมกับสะสมดอกเบี้ยค้างช�ำระแก่ผู้ถือหุ้นกู้โดยไม่จ�ำกัดเวลาและจ�ำนวนที่ค้างช�ำระ หากบริษัท เลื่อนการช�ำระดอกเบี้ย บริษัทจะไม่สามารถไถ่ถอน ลด ยกเลิก ซื้อ หรือ ซื้อคืนเครื่องมือทางการเงินหรือหลักทรัพย์ท่ีออกโดยบริษัท ทีม่ สี ถานะทางกฎหมายเท่าเทียมกับหุน้ กูห้ รือหลักทรัพย์ของบริษทั ทีม่ สี ถานะทางกฎหมายด้อยกว่าหุน้ กู้ และห้ามประกาศหรือจ่ายเงินปันผล หุ้นกู้จ�ำนวน 14,874 ล้านบาทสุทธิจากค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้จ�ำนวน 125.9 ล้านบาท รับรู้เป็นส่วนหนึ่งของส่วนของผู้ถือหุ้นในงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557
259
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
26 ส่วนงานด�ำเนินงาน กลุ่มบริษัทมี 3 ส่วนงานที่รายงาน ดังรายละเอียดข้างล่าง ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรกิจที่ส�ำคัญของกลุ่มบริษัท หน่วยงานธุรกิจที่ส�ำคัญนี้ผลิต สินค้าและให้บริการที่แตกต่างกัน และมีการบริหารจัดการแยกต่างหาก เนื่องจากใช้เทคโนโลยีและกลยุทธ์ทางการตลาดที่แตกต่างกัน ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานสอบทานรายงาน การจัดการภายในของแต่ละหน่วยงานธุรกิจที่ส�ำคัญอย่างน้อยทุกไตรมาส การด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของกลุ่มบริษัท โดยสรุปมีดังนี้ ส่วนงาน 1 การผลิตและจ�ำหน่าย soild state polymerised chips วัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกและฝาปิด และขวดพลาสติก (“PET”) ส่วนงาน 2 การผลิตและจ�ำหน่าย purified terephthalic acid (“PTA”) glycol และ feedstock อื่นๆ (“Feedstock”) ส่วนงาน 3 การผลิตและจ�ำหน่าย เส้นใยและเส้นด้าย (“เส้นใยและเส้นด้าย”) ส่วนงานที่รายงานมีระดับที่ต่างกันในการรวมกันระหว่าง ส่วนงานที่ 1 ส่วนงานที่ 2 และส่วนงานที่ 3 การรวมกันนี้รวมถึงการขายสินค้า การก�ำหนดราคาระหว่างกันนั้นเป็นไปตามการซื้อขายตามปกติธุรกิจ ข้อมูลผลการด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานได้รวมอยู่ดังข้างล่างนี้ ผลการด�ำเนินงานวัดโดยใช้ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ของส่วนงาน ซึ่งน�ำเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ผู้บริหารเชื่อว่า การใช้กำ� ไรก่อนภาษีเงินได้ในการวัดผลการด�ำเนินงานนัน้ เป็นข้อมูลทีเ่ หมาะสมในการประเมินผลการด�ำเนินงานของส่วนงานและสอดคล้อง กับกิจการอื่นที่ด�ำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน
260
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
261
ส่วนแบ่งก�ำไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนใน การร่วมค้า-สุทธิ ก�ำไร(ขาดทุน)ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและ ภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ รายการที่ไม่ได้ปันส่วน ก�ำไร(ขาดทุน)ส�ำหรับปี (793,555) 3,661,538 1,573,795 396,382 1,691,361
(71,907)
4,134,172 1,788,888 200,674 2,144,610
117,411,875 131,031,469 8,102,343 7,758,596 3,194,750 2,870,751 128,708,968 141,660,816
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน รวมค่าใช้จ่าย
2557
130,640,614 144,910,566 1,193,404 210,155 131,834,018 145,120,721 73,894 113,654 (159,647) 158,726 1,166,782 582,808 140,000 132,915,047 146,115,909
2558
PET
รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้จากการขายสินค้า ดอกเบี้ยรับ ก�ำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ ผลกระทบจากน�้ำท่วมสุทธิ รายได้ที่ไม่ได้ปันส่วน รวมรายได้
ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานที่รายงาน
28,822,860 35,653,903 64,476,763 3,685 172,192 64,652,640
2557
4,637,736 823,257 1,005,168 2,809,311
(261,638)
874,243 711,092 1,071,302 (908,151)
(592,928)
50,558,172 57,555,068 3,123,905 2,121,069 3,823,039 3,509,332 57,505,116 63,185,469
30,921,754 29,038,721 59,960,475 47,693 (62,584) 2,458,906 62,404,490
2558
Feedstock
3,772,003 1,271,887 442,298 2,057,818
91,380
62,189,909 5,207,267 2,282,843 69,680,019
73,135,581 83,249 73,218,830 61,883 79,929 73,360,642
ตัดรายการระหว่างกัน 2558 2557 2558
รวม 2557
3,248,121 820,291 364,673 2,063,157
30,428
(1,190,078) (2,855,529) 1,665,451
-
(464,540) (2,206,253) 1,741,713
-
12,421,340 1,028,503 1,648,140 2,856,303 6,888,394
(242,165)
7,140,378 898,925 1,832,357 2,448,609 1,960,487
(1,356,055)
62,048,944 (28,093,723) (34,923,754) 202,066,233 215,711,727 4,839,313 (739,159) (478,746) 15,694,356 14,240,232 1,516,087 9,300,632 7,896,170 408,851 1,392,305 68,404,344 (28,832,882) (35,402,500) 227,470,072 239,240,434
70,173,792 234,697,949 243,907,218 100,174 (30,315,374) (35,964,232) 70,273,966 (30,315,374) (35,964,232) 234,697,949 243,907,218 95,897 (150,455) (260,852) 33,015 (47,616) 165,092 442,869 358,044 300,567 854,054 1,087,082 3,625,688 1,669,890 140,000 1,476,358 1,213,321 71,622,037 (30,022,960) (35,867,040) 240,133,577 247,736,867
งบการเงินรวม เส้นใยและเส้นด้าย 2558 2557 (พันบาท)
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
262 3,927,805 2,606,290 264,461 68,167
3,555,937 2,929,453 265,297
126,025
รายจ่ายฝ่ายทุนและลงทุน ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ขาดทุน (ก�ำไร) จากการขาย และตัดจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 3,431
14,804,815 3,446,730 376,309
20,733,200 20,733,200
34,577,987 31,492,313 34,577,987 31,492,313
2558
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่ไม่ได้ปันส่วน รวมหนี้สิน
2557
2557
18
2,966,267 3,174,697 334,635
14,468,256 14,468,256
58,555 3,451,422 32,203,688 35,713,665
Feedstock
177,097 5,187,666 40,950,387 46,315,150
2558
PET
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 1,580,864 690,595 สินค้าคงเหลือ 14,750,402 14,932,691 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 44,733,176 37,238,711 สินทรัพย์ที่ไม่ได้ปันส่วน รวมสินทรัพย์ 61,064,442 52,861,997
ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนงานที่รายงาน
(18,138)
8,011,809 1,947,463 335,380
25,208,642 25,208,642
1,434,089 12,081,150 34,603,155 48,118,394
(233,585) (233,585)
2558
รวม 2557
3,192,050 2,505,513 (190,213) 31,785,633 29,141,059 120,286,718 97,775,838 66,376,214 65,111,287 (190,213) 221,640,615 194,533,697
ตัดรายการระหว่างกัน 2558 2557
(3,717)
6,801,786 1,327,238 188,849
-
-
-
-
111,318
26,372,561 8,323,646 976,986
64,468
13,695,858 7,108,225 787,945
20,131,297 (59,192,700) (50,064,276) 21,327,129 16,027,590 117,360,524 103,896,477 20,131,297 (59,192,700) (50,064,276) 138,687,653 119,924,067
1,756,363 10,947,159 28,333,439 41,036,961
งบการเงินรวม เส้นใยและเส้นด้าย 2558 2557 (พันบาท)
ส่วนงานภูมิศาสตร์ ในการน�ำเสนอการจ�ำแนกส่วนงานภูมศิ าสตร์ รายได้ตามส่วนงานแยกตามเขตภูมศิ าสตร์ได้กำ� หนดจากสถานทีต่ งั้ ของลูกค้า สินทรัพย์ตาม ส่วนงานแยกตามสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของสินทรัพย์ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานภูมิศาสตร์ที่ส�ำคัญดังนี้ ส่วนงาน 1 ประเทศไทย ส่วนงาน 2 ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ส่วนงาน 3 ประเทศในทวีปยุโรป ส่วนงาน 4 อื่นๆ งบการเงินรวม สินทรัพย์ตามส่วนงาน 2558 2557 (พันบาท)
รายได้จากการขาย 2558 2557
ประเทศไทย 14,783,380 ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ 83,022,919 ประเทศในทวีปยุโรป 70,624,144 อื่นๆ 66,267,506 รวม 234,697,949
15,052,838 84,360,921 70,657,512 73,835,947 243,907,218
37,821,493 75,067,864 56,674,119 52,077,139 221,640,615
49,249,438 59,150,014 52,364,944 33,769,301 194,533,697
รายจ่ายฝ่ายทุนและลงทุน 2558 2557
2,459,575 12,385,615 4,171,785 7,358,523 26,375,498
2,513,465 1,136,437 7,436,022 2,639,599 13,725,523
27 รายได้อื่น งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
รายได้ค่าสินไหมทดแทน อื่นๆ รวม
1,008,936 585,819 1,594,755
753,840 818,933 1,572,773
388,081 388,081
215,650 215,650
28 ต้นทุนขายสินค้า งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูป และงานระหว่างท�ำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย อื่นๆ รวม
3,565,584 161,171,501 8,296,671 35,143,444 208,177,200
3,798,007 178,675,674 7,147,401 32,248,073 221,869,155
-
-
263
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
29 ค่าใช้จ่ายในการขาย งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ค่าใช้จ่ายในการจัดจ�ำหน่าย ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าเบี้ยประกันภัย อื่นๆ รวม
9,527,679 1,028,335 267,539 420,233 1,199,688 12,443,474
9,034,956 751,183 222,231 319,465 811,751 11,139,586
-
-
30 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ประมาณการขาดทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้า ส�ำหรับโครงการซึ่งไม่สามารถได้รับคืน ค่าธรรมเนียมทางวิชาชีพ อื่นๆ รวม
2,437,757
2,210,136
-
-
609,701 732,674 2,956,371 6,736,503
511,779 2,675,522 5,397,437
211,637 104,143 13,249 329,029
38,824 8,467 47,291
บริษัทได้ลงนามในสัญญาร่วมค้าเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2556 กับ Abu Dhabi National Chemicals Company PJSC (“ChemaWEyaat”) บริษัทร่วมทุนมหาชนที่จัดตั้งอย่างถูกต้องและอยู่ภายใต้กฎหมายของอาบูดาบี สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ เพื่อพัฒนาโรงงาน Tacaamol Aromatics ที่ Madeenat ChemaWEyaat AL Gharbia’s (MCAG) ในภาคตะวันตกของอาบูดาบี โดยไอวีแอลจะถือหุ้นในอัตราร้อยละ 49 และ Abu Dhabi National Chemicals Company PJSC จะถือหุ้นในอัตราร้อยละ 51 ในการร่วมค้าใหม่ซึ่งยังไม่ได้ถูกจัดตั้ง ในระหว่างปี 2558 กลุ่มบริษัทและบริษัทบันทึกประมาณการขาดทุนจากเงินจ่ายล่วงหน้าส�ำหรับโครงการดังกล่าวซึ่งไม่สามารถได้รับคืน จ�ำนวน 609.7 ล้านบาท และ 211.6 ล้านบาทตามล�ำดับ เป็นค่าใช้จา่ ยในการบริหารในงบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตามล�ำดับ
31 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบโครงการสมทบเงินและประกันสังคมและ ค่าใช้จ่ายตามโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ อื่นๆ
264
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
59,716
53,362
-
-
1,864 51,315 112,895
4,648 32,164 90,174
17,881 17,881
17,770 17,770
งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบโครงการสมทบเงินและประกันสังคมและ ค่าใช้จ่ายตามโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ โบนัส ผลประโยชน์พนักงาน อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน
10,804,362
8,863,412
-
-
1,223,053 448,708 1,446,857 34,882 13,957,862 14,070,757
929,311 290,984 1,328,186 46,864 11,458,757 11,548,931
17,881
17,770
กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทย่อยของบริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงานของบริษัทที่เป็นคนไทยบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานใน การเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 - 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 - 5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพตามข้อก�ำหนดของกระทรวง การคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต บริษัทประเทศไทยรับรู้ค่าใช้จ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป็นจ�ำนวน 20.3 ล้านบาท (2557: 16.0 ล้านบาท) แผนเงินสะสมเมื่อเกษียณอายุ บริษทั ย่อยในประเทศสหรัฐอเมริกาได้จดั ให้มแี ผน 401(k) ตามแผนดังกล่าวพนักงานมีสทิ ธิเลือกจ่ายสมทบไม่เกินร้อยละ 60 ของผลประโยชน์ ตอบแทน และบริษัทจะต้องจ่ายสมทบร้อยละ 50 ของเงินสมทบของพนักงานแต่ไม่เกินร้อยละ 6 ของผลประโยชน์ตอบแทน โดยแผน ดังกล่าวให้อ�ำนาจแก่ผู้บริหารในการจัดการเกี่ยวกับการจ่ายคืนผลประโยชน์ของเงินสมทบ ค่าใช้จ่ายตามแผนดังกล่าวส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวนประมาณ 2.6 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (90.5 ล้านบาท) (2557: 2.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (74.3 ล้านบาท)) บริษทั ย่อยในทวีปยุโรปได้จดั ให้มแี ผนเกีย่ วกับเงินบ�ำนาญเมือ่ เกษียณอายุ โดยเงินสมทบจากนายจ้างประจ�ำปีถกู ก�ำหนดจากเบีย้ ประกันความ เสี่ยงเรียกเก็บจากบริษัทประกันภัยประจ�ำปี ค่าใช้จ่ายตามแผนดังกล่าวส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวน 0.1 ล้านปอนด์ สเตอร์ลิง และ 1.9 ล้านยูโร (76.0 ล้านบาท) (2557:0.2 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง และ 1.8 ล้านยูโร (91.2 ล้านบาท))
32 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ งบก�ำไรขาดทุนได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิดเผยตามข้อก�ำหนดในมาตรฐานการรายงานทางการ เงินฉบับต่างๆ ดังนี้ งบการเงินรวม 2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
รวมอยู่ในต้นทุนขาย การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย
3,565,584 161,171,501 11,520,105 8,297,358
3,798,007 178,675,674 9,248,621 7,147,401
-
-
2,437,757 1,028,335
2,210,136 751,183
-
-
265
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
33 ต้นทุนทางการเงิน งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงิน
6
หัก จ�ำนวนที่รวมอยู่ในต้นทุนของ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สุทธิ
3,786,636 3,786,636
3,621,841 3,621,841
1,744,299 1,744,299
1,850 1,771,994 1,773,844
15
(134,505) 3,652,131
(67,317) 3,554,524
1,744,299
1,773,844
34 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (ล้านบาท)
ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน ส�ำหรับงวดปัจจุบัน ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกต�่ำไป (สูงไป) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว
18
รวมภาษีเงินได้
818 9 827
470 (19) 451
-
-
1,054 1,054 1,881
1,174 1,174 1,625
45 45 45
-
ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น งบการเงินรวม
การป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิ ในหน่วยงานต่างประเทศ การป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสด ก�ำไร(ขาดทุน) จากการประมาณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย รวม
266
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ก่อน ภาษีเงินได้
2558 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้
(144) (35)
29 10
(115) (25)
489 (35)
(98) 6
391 (29)
135 (44)
(38) 1
97 (43)
(414) 40
125 33
(289) 73
สุทธิจาก ก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (ล้านบาท)
2557 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้
สุทธิจาก ภาษีเงินได้
งบการเงินเฉพาะกิจการ
การป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิ ในหน่วยงานต่างประเทศ รวม
ก่อน ภาษีเงินได้
2558 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้
(144) (144)
29 29
สุทธิจาก ก่อน ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ (ล้านบาท)
(115) (115)
2557 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้
สุทธิจาก ภาษีเงินได้
(98) (98)
391 391
489 489
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง งบการเงินรวม 2558
ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ จ�ำนวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ส�ำหรับกิจการในประเทศไทย การลดภาษีเงินได้ - ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลกระทบจากความแตกต่างของอัตราภาษีส�ำหรับกิจการใน ต่างประเทศ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี การใช้ขาดทุนทางภาษีที่เดิมไม่ได้บันทึก รับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลขาดทุนในปีก่อน ที่เดิมไม่ได้บันทึก ผลขาดทุนในปีปัจจุบันที่ไม่รับรู้เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกต�่ำไป (สูงไป) การตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจาก ผลขาดทุนสะสมที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดจาก การแปลงค่าเงินกู้ยืมจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันซึ่งพิจารณา เป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อ การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว อื่นๆ รวม
2557
อัตราภาษี (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
อัตราภาษี (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
20.00 (1.00)
8,769 1,754 (88)
20.00 (0.11)
3,586 717 (4)
5.76 (8.08) 0.73 (4.65)
505 (709) 64 (408)
19.69 (11.96) 3.40 (12.49)
706 (429) 122 (448)
(2.24)
(196)
(2.62)
(94)
7.86 0.10
689 9
26.74 (0.53)
959 (19)
5.70 0.55
500 48
7.56
271
3.99 (8.27) 0.42 0.58 21.45
350 (725) 37 51 1,881
(0.17) (9.31) 6.47 (1.35) 45.32
(6) (334) 232 (48) 1,625
267
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558
ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ จ�ำนวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ส�ำหรับกิจการในประเทศไทย รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ภาษีงวดก่อนที่บันทึกต�่ำไป อื่นๆ รวม
2557
อัตราภาษี (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
20.00 (19.00) 0.01 1.01
4,398 880 (836) 1 45
อัตราภาษี (ร้อยละ)
(ล้านบาท)
20.00 (19.27) 0.04 (0.77) -
2,730 546 (526) 1 (21) -
การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอัตราร้อยละ 20 ของก�ำไรสุทธิส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ปี 2558 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2559 ในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้มีมติอนุมัติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นอัตราร้อยละ 20 ของก�ำไรสุทธิ ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป บริษัทและบริษัทย่อยในประเทศไทยใช้อัตราภาษีเงินได้ร้อยละ 20 ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ตามค�ำชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในปี 2555
35 สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทย่อยบางบริษัทที่ประกอบกิจการในประเทศไทยได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะ ผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เพื่อการผลิต เส้นด้ายไหมพรมขนสัตว์ purified terephthalic acid, polyethylene terephthalate resin วัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกและฝาปิดและ amorphous resin (“กิจการ ที่ได้รับการส่งเสริม”) ซึ่งพอสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ (ก) ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีส�ำหรับเครื่องจักรตามที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลาแปดปี นับแต่วันที่เริ่ม มีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (ค) ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลาห้าปี นับ แต่วันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) ข้างต้น (ง) ขาดทุนสะสมทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษีสามารถน�ำไปใช้ได้เป็นเวลาห้าปีหลังจากทีร่ ะยะเวลายกเว้นภาษีตาม (ข) ข้างต้น (จ) รายได้ที่ได้รบั การยกเว้นและลดหย่อนเพิม่ เติมในการค�ำนวณภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ได้รบั การส่งเสริมระหว่างระยะ เวลาตามข้อ (ข) ข้างต้น (ฉ) ให้ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับเงินปันผลทีจ่ า่ ยแก่ผถู้ อื หุน้ จากก�ำไรที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมมีกำ� หนด เวลาในระหว่างช่วงที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และ (ช) สามารถหักค่าใช้จ่ายได้สองเท่า ส�ำหรับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับต้นทุนของการขนส่ง ค่าไฟฟ้าและค่าน�้ำประปาจากการประกอบกิจการที่ ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลาสิบปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น เนื่องจากเป็นบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทย่อยในประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อก�ำหนดตามที่ระบุไว้ในบัตรส่ง เสริมการลงทุน
268
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
รายได้ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม
ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้
กิจการที่ ได้รับ การส่งเสริม
2558 กิจการที่ ไม่ ได้รับ การส่งเสริม
รวม (ก)
6,697,834 10,323,240 17,021,074
22,131,865 24,501,773 46,633,638
28,829,699 34,825,013 63,654,712
กิจการที่ ได้รับ การส่งเสริม (พันบาท)
10,513,570 14,166,980 24,680,550
2557 กิจการที่ ไม่ ได้รับ การส่งเสริม
รวม (ก)
24,091,532 26,328,754 50,420,826
34,605,102 40,495,734 75,100,836
(ก) ไม่รวมรายได้จากบริษัทย่อยในต่างประเทศและตัดรายการระหว่างกัน
36 ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลดส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ค�ำนวณจากก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นส่วน ของผู้ถือหุ้นของบริษัทหักดอกเบี้ยจ่ายส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะคล้ายทุน และจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้วระหว่างปี แสดง การค�ำนวณดังนี้ งบการเงินรวม 2558
ก�ำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท หัก ดอกเบี้ยจ่ายสะสมส�ำหรับหุ้นกู้ด้อยสิทธิที่มีลักษณะ คล้ายทุน ก�ำไรที่ใช้ในการค�ำนวณก�ำไรต่อหุ้น จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ก�ำไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐานและปรับลด) (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2558 2557 (พันบาท/พันหุ้น)
6,609,264
1,675,061
4,353,743
2,729,753
(840,000) 5,769,264 4,814,267 1.20
(142,685) 1,532,376 4,814,257 0.32
(840,000) 3,513,743 4,814,267 0.73
(142,685) 2,587,068 4,814,257 0.54
ฝ่ายบริหารพิจารณาแล้วเห็นว่าก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจ�ำนวนเท่ากัน เพราะราคาการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิของบริษัทสูงกว่าราคาตลาดถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
37 เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท เป็นเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,155.4 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนกันยายน 2558 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นบริษัท เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลใน อัตราหุ้นละ 0.19 บาท เป็นเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 914.7 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม 2558 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2557 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 0.19 บาท เป็นเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 914.7 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ ผู้ถือหุ้นในเดือนกันยายน 2557 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นบริษัท เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2557 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลในอัตรา หุ้นละ 0.14 บาท เป็นเงินจ�ำนวนทั้งสิ้น 674.0 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม 2557
269
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
38 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสาร อนุพันธ์ เพื่อการเก็งก�ำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่ส�ำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท/บริษัท กลุ่มบริษัท/บริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุม กระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท/บริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุม ความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความเชื่อมั่นของตลาดและก่อให้เกิด การพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการก�ำกับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผล ตอบแทนจากกิจกรรมด�ำเนินงานต่อส่วนของเจ้าของรวม ซึ่งไม่รวมส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม อีกทั้งยังก�ำกับดูแลระดับการจ่าย เงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ หมายถึงความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบีย้ ในตลาด ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุม่ บริษทั /บริษทั กลุม่ บริษทั /บริษทั มีความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากเงินกูย้ มื (ดูหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 19) กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยใช้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็น สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย เพื่อใช้ในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�ำหนดช�ำระมีดังนี้ อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง (ร้อยละต่อปี)
ปี 2558 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม ปี 2557 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม
270
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)
รวม
1.32-5.38
265,561
-
-
265,561
1.32-2.40
265,561
165,441 165,441
-
165,441 431,002
1.32-2.40
75,145
-
-
75,145
1.32-3.41
75,145
164,125 164,125
-
164,125 239,270
อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง (ร้อยละต่อปี)
ปี 2558 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม ปี 2557 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)
-
รวม
2.88-6.00
11,788,515
-
11,788,515
2.88-6.20
11,788,515
-
3.00-4.50
16,914,437
-
-
16,914,437
2.08-5.00
16,914,437
-
-
26,140,536 43,054,973
40,409,081 40,409,081 40,409,081 52,197,596
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�ำหนดช�ำระมีดังนี้
ปี 2558 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หุ้นกู้ ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หุ้นกู้ รวม
งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)
อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง (ร้อยละต่อปี)
ภายใน 1 ปี
1.50-7.00 0.33-14.00 1.83-12.50 3.30-20.00 3.73-6.00
620,550 11,494,459 2,118,153 8,440 2,898,005
-
-
620,550 11,494,459 2,118,153 8,440 2,898,005
1.83-12.50 3.30-20.00 3.73-6.00
17,139,607
31,305,223 15,994 11,916,975 43,238,192
2,835,065 357 20,393,035 23,228,457
34,140,288 16,351 32,310,010 83,606,256
รวม
271
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ปี 2557 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หุ้นกู้ รวม
ปี 2558 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ รวม ปี 2557 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ รวม
งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)
อัตราดอกเบี้ยที่ แท้จริง (ร้อยละต่อปี)
ภายใน 1 ปี
0.25-7.75 0.93-10.75 1.83-7.73 3.30-7.54
1,018,038 7,563,004 4,426,228 8,345
-
-
1,018,038 7,563,004 4,426,228 8,345
1.83-7.73 3.30-7.54 4.00-6.00
13,015,615
28,085,382 21,418 13,409,540 41,516,340
4,672,199 14,089,416 18,761,615
32,757,581 21,418 27,498,956 73,293,570
งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)
รวม
อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)
ภายใน 1 ปี
1.90-1.91 1.83-4.19 3.92-6.00
1,244,000 184,641 2,898,005
-
-
1,244,000 184,641 2,898,005
1.83-4.19 3.92-6.00
4,326,646
5,934,331 11,916,975 17,851,306
1,794,527 15,441,506 17,236,033
7,728,858 27,358,481 39,413,985
1.83-4.47
1,668,564
-
-
1,668,564
1.83-4.47 4.00-6.00
1,668,564
5,246,926 13,409,540 18,656,466
474,881 14,089,416 14,564,297
5,721,807 27,498,956 34,889,327
รวม
ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินค้า การขายสินค้า และการกู้ยืมที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ กลุม่ บริษทั /บริษทั ได้ทำ� สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึง่ รายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึง่ ปี เพือ่ ป้องกันความ เสี่ยงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ในรายงานเป็น รายการที่เกี่ยวข้องกับรายการซื้อสินค้า รายการขายสินค้า และรายการกู้ยืมที่เป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป
272
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 เงินลงทุนอื่น 8 ลูกหนี้การค้า 9 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 19 เจ้าหนี้การค้า 20 ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ คี วามเสีย่ ง (ก)
1,624,638 172,420 18,463,708 226,346 165,441 (33,825,278) (20,537,398) (33,710,123)
1,651,639 88,896 17,753,120 59,904 140,093 (29,022,261) (18,065,105) (27,393,714)
3,953,028 825,261 (3,715,536) 1,062,753
3,382 650,163 4,807,436 (188,842) 5,272,139
เงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 7 เงินลงทุนอื่น 8 ลูกหนี้การค้า 9 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 19 เจ้าหนี้การค้า 20 ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ คี วามเสีย่ ง (ก)
377,405 25,569 2,991,658 39,215 (9,569,529) (4,397,497) (10,533,179)
380,509 49,957 3,633,052 15,241 24,032 (9,311,141) (4,205,733) (9,414,083)
1,689,474 1,821,166 (1,477,037) 2,033,603
21,437 2,348,382 1,657,784 (1,607,247) 2,420,356
(ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินที่เป็นเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาและเงินยูโรจ�ำนวน 16,404.7 ล้านบาท (2557: 19,297.8 ล้านบาท) และ 8,682.7 ล้านบาท (2557: 6,199.4 ล้านบาท) ตามล�ำดับ เป็นของบริษัทย่อยที่ตั้งอยู่ในประเทศ สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป โดยมีสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาและเงินยูโร ตามล�ำดับ ซึง่ ท�ำให้ยอด บัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทลดลง งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินปอนด์สเตอร์ลิง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 19 20
46,768 729,583 (354,431) (92,329) 329,591
65,962 612,227 (450,325) (116,221) 111,643
-
-
273
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินลิทัวเนียนลิตัส เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 20
เงินเยนญี่ปุ่น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
92
737 75,796 (75,890) 643
-
-
7 9 20
7,868 (3,914) 3,954
46 4,404 (2,876) 1,574
-
-
เงินไนจีเรียไนรา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 19 20
167,016 150,168 (54) (16,629) 300,501
18,946 273,278 (4,173) 288,051
-
-
เงินหยวน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 8 9 19 20
168,737 98,755 1,060,391 (1,895,821) (769,802) (1,337,740)
71,215 80,499 1,089,586 (1,073,056) 168,244
-
-
เงินเม็กซิกันเปโซ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 20
83,374 265,696 (267,596) 81,474
15,868 81,517 (423,887) (326,502)
-
-
เงินโปลิซซวอตี้ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 8 9 20
111,668 350 87,056 (168,568) 30,506
16,570 91 15,195 (119,076) (87,220)
-
-
274
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
-
92
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินรูเปียอินโดนีเซีย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 20
84,061 1,059,578 (1,299,226) (155,587)
32,825 98,707 (147,723) (16,191)
-
-
เงินฟรังก์สวิส เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 20
168 (3,031) (2,863)
371 371
-
-
เงินออสเตรเลียนดอลลาร์ เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
20
(28,085) (28,085)
(38,407) (38,407)
-
-
เงินสิงคโปร์ดอลลาร์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 20
97 97
10 (243) (233)
-
-
เงินโครนเดนมาร์ก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 20
105,497 (430,051) (324,554)
84,868 (687,205) (602,337)
-
-
เงินฟิลิปปินส์เปโซ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 20
7,350 73,123 (12,615) 67,858
6,102 117,598 (6,217) 117,483
-
-
เงินกานาเอียนซีดี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 20
3,413 (708) 2,705
7,663 7,663
-
-
275
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวม หมายเหตุ
2558
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557
2557 (พันบาท)
เงินลีราตุรกี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 9 19 20
151 342,740 (147,007) 195,884
3,202 314,165 (358,273) (201,891) (242,797)
-
-
สกุลเงินจ๊าดพม่า เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7
16,519 16,519
-
-
-
สกุลเงินรูปีอินเดียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสี่ยง
7 8 9 19 20
307,151 204,316 73,405 (2,645,214) (115,770) (2,176,112)
-
-
-
มูลค่ายุตธิ รรมสุทธิของสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจำ� นวน 4,570.0 ล้านบาท (รายการสินทรัพย์ สุทธิ) (2557: 3,790.0 ล้านบาท) ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�ำระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบก�ำหนด ฝ่ายบริหารได้กำ� หนดนโยบายทางด้านสินเชือ่ เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งทางด้านสินเชือ่ ดังกล่าวอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการ เงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�ำคัญ ความเสี่ยงสูงสุด ทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่ม บริษัท มีฐานลูกค้าจ�ำนวนมาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระส�ำคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุม่ บริษทั /บริษทั มีการควบคุมความเสีย่ งจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อ การด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัท และเพื่อท�ำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง
276
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทางการเงินและหนีส้ นิ ทางการเงินรวมถึงมูลค่าตามบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงิน เฉพาะกิจการ มีดังนี้ มูลค่าตามบัญชี ระดับ 1
31 ธันวาคม 2558 สินทรัพย์หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์ หนี้สินหมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์ หนี้สินไม่หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์
รวม
134,735
-
134,735
-
134,735
289,537 -
-
289,537 290,697
-
289,537 290,697
421,447
-
421,447
-
421,447
371,694
-
371,694
-
371,694
มูลค่าตามบัญชี
31 ธันวาคม 2558 สินทรัพย์หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์ หนี้สินไม่หมุนเวียน ตราสารอนุพันธ์
งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม ระดับ 2 ระดับ 3 (ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 (ล้านบาท)
รวม
14,340
-
14,340
-
14,340
421,447
-
421,447
-
421,447
294,864
-
294,864
-
294,864
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธ์มีมูลค่ายุติธรรมไม่แตกต่างจากมูลค่าตาม บัญชีตามที่บันทึกในงบแสดงฐานะการเงินอย่างมีสาระส�ำคัญ เงินลงทุนในตราสารทุนของกลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีราคาที่เสนอในตลาดซื้อขายคล่องส�ำหรับสินทรัพย์ที่เหมือนกันเนื่องจากราคาตลาดของ ตราสารทุนไม่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ เครื่องมือทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ตารางข้างต้นวิเคราะห์การวัดมูลค่ายุตธิ รรมทีเ่ กิดขึน้ ประจ�ำส�ำหรับสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน การวัดมูลค่ายุตธิ รรมเหล่านีถ้ กู จัดประเภท อยู่ในระดับที่ต่างกันของล�ำดับชั้นมูลค่ายุติธรรมตามข้อมูลที่ใช้ในการประเมินมูลค่า นิยามของระดับต่างๆ มีดังนี้ · ข้อมูลระดับ 1 เป็นราคาเสนอซือ ้ ขาย (ไม่ปรับปรุง) ในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ อย่างเดียวกันซึง่ กลุม่ บริษทั /บริษทั สามารถเข้าถึงตลาดนั้น ณ วันที่วัดมูลค่า · ข้อมูลระดับ 2 เป็นข้อมูลอื่นที่สังเกตได้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมส�ำหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อ ขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1
277
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลระดับ 3 เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ส�ำหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้น กลุ่มบริษัทพิจารณามูลค่ายุติธรรมระดับ 2 ส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธ์ด้วยวิธีคิดลดกระแสเงินสด ซึ่งใช้กระแสเงินสดตามสัญญาและอัตราคิดลดที่เกี่ยวข้องกับตลาด มูลค่ายุติธรรมระดับ 2 ส�ำหรับตราสารอนุพันธ์ที่ซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ อ้างอิงราคาจากนายหน้า ซึ่งได้มีการทดสอบความสมเหตุ สมผลของราคาเหล่านั้น โดยการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดการณ์ ไว้ด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาดส�ำหรับเครื่องมือทางการเงินที่ เหมือนกัน ณ วันที่วัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสะท้อนผลกระทบของความเสี่ยงด้านเครดิตและได้รวมการปรับปรุง ความเสี่ยงด้านเครดิตของกลุ่มบริษัท/บริษัทและคู่สัญญา ตามความเหมาะสม หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ซึ่งพิจารณาเพื่อจุดประสงค์ในการเปิดเผยในงบการเงิน ถือตามราคา ตลาดของวันที่ท�ำสัญญาล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์มีจ�ำนวน 611.0 ล้านบาท (รายการหนี้สินสุทธิ) สัญญาซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับสัญญาขายที่มีราคาคงที่ ที่ท�ำกับลูกค้าส�ำหรับรายการขาย ในอนาคต กลุม่ บริษทั /บริษทั ก�ำหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกีย่ วกับการวัดมูลค่ายุตธิ รรม กรอบแนวคิดนีร้ วมถึงกลุม่ ผูป้ ระเมินมูลค่าซึง่ รายงาน โดยตรงต่อผู้บริหารอาวุโส และมีความรับผิดชอบโดยรวมต่อการวัดมูลค่ายุติธรรมที่มีนัยส�ำคัญ รวมถึงการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 กลุ่มผู้ประเมินมูลค่าทบทวนข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ และปรับปรุงการวัดมูลค่าที่มีนัยส�ำคัญอย่างสม�่ำเสมอ หากมีการใช้ข้อมูลจาก บุคคลที่สาม เช่น ราคาจากนายหน้าหรือการตั้งราคาเพื่อวัดมูลค่ายุติธรรม กลุ่มผู้ประเมินได้ประเมินหลักฐานที่ได้มาจากบุคคลที่สามและ จัดท�ำเอกสารหลักฐานที่ได้มาจากบุคคลที่สาม เพื่อสนับสนุนข้อสรุปเกี่ยวกับการวัดมูลค่ารวมถึงการจัดล�ำดับขั้นของมูลค่ายุติธรรมว่าเป็น ไปตามที่ก�ำหนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างเหมาะสม ประเด็นต่างๆของการวัดมูลค่าที่มีนัยส�ำคัญจะถูกรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบของกลุ่มบริษัท/บริษัท ·
39 ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ ไม่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2558
2557 (ล้านบาท)
ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ ที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวม
128 122 2,206 2,456
143 281 1,791 2,215
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม
948 2,016 766 3,730
631 1,213 215 2,059
ภาระผูกพันอื่นๆ ค�ำสั่งซื้อ และเลตเตอร์ออฟเครดิตส�ำหรับซื้อสินค้าและวัสดุ หนังสือค�้ำประกันจากธนาคาร อื่นๆ รวม
7,198 1,795 5 8,998
5,483 2,029 15 7,527
278
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทย่อยบางแห่งได้ท�ำสัญญาซื้อวัตถุดิบระยะยาวซึ่งบริษัทมีภาระผูกพันที่จะซื้อวัตถุดิบตามปริมาณที่ได้ตกลงกันไว้ ตามราคาตลาด ของสินค้า เป็นระยะเวลา 3 ปี วันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 Indorama Netherlands B.V. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของบริษัท ลงนามในสัญญาซื้อหุ้นเพื่อซื้อร้อยละ 100 ของส่วนได้เสียใน Guadarranque Polyester, S.L.U. ประเทศสเปนจาก CEPSA Quimica, S.A. ประเทศสเปน ซึ่งท�ำธุรกิจผลิต Purified Isopthalic Acid (“PIA”) PTA และ PET ในประเทศสเปน
40 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการบริษัทได้เสนอจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.24 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 1,155.4 ล้านบาท การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2559 Indorama Ventures North America LLC ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมที่เป็นบริษัทจ�ำกัดซึ่งจัดตั้งและอยู่ภายใต้ กฎหมายของรัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายสินทรัพย์กับบริษัท BP Amoco Chemical Company ซึ่งจัดตั้งอยู่ ภายใต้กฎหมายของรัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา เพือ่ ซือ้ ร้อยละ 100 ของธุรกิจเคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษทีเ่ มือง Decatur รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา ซึ่งท�ำธุรกิจผลิตพาราไซลีน PTA และ naphthalene dicarboxylate
41 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับได้มีการประกาศและยังไม่มีผลบังคับใช้และไม่ได้น�ำมาใช้ในการจัดท�ำ งบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้อาจเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัทและถือ ปฏิบัติกับงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีแผนที่จะน�ำมาตรฐานการ รายงานทางการเงินเหล่านี้มาใช้ก่อนอันถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง
การน�ำเสนองบการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ก�ำไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล
279
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง
การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน การรวมธุรกิจ ส่วนงานด�ำเนินงาน งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น การวัดมูลค่ายุติธรรม สัญญาเช่าด�ำเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ท�ำขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ข้อจ�ำกัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อก�ำหนดเงินทุนขั้นต�่ำและ ปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ ส�ำหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน
กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ประเมินในเบื้องต้นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จากการถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ซึ่งคาดว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ
280
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน)
ทุก ใน ของขวดพลาสติ ก ผลิตจากโพลิเมอร์ของไอวีแอล
ทุก ใน ของผ้าอ้อมสำเร็จรูปชนิดพรีเมี่ยม
ผลิตจากเส้นใยของไอวีแอล
ทุก ใน ของถุงลมนิรภัย ผลิตจากเส้นด้ายของไอวีแอล
บร�ษัท อินโดรามา เวนเจอร ส จำกัด (มหาชน)
75/102 โอเช�่ยนทาวเวอร 2 ชั�น 37 ซอยสุขุมว�ท 19 (วัฒนา) กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท : +662 661 6661 Fax: +662 661 6664 www.indoramaventures.com
รายงานประจำป เล มนี้ใช กระดาษที่ลดการใช ต นไม ในการผลิต ลงจากกระดาษทั�วไปร อยละ 50 และพ�มพ ด วยหมึกถั�วเหลืองจากธรรมชาติ