รายงานประจำปี 2552

Page 1

รายงานประจำ�ปี

2552

รายงานประจำ�ปี 2552

1


วิสัยทัศน์

เป็นหนึ่งในผู้ผลิตชั้นนำ�ระดับโลก มุ่งเน้นที่ผู้มีส่วนได้เสีย กระบวนการผลิตอันจะเป็นผลให้อินโดรามาเป็นบริษัทที่ได้รับความนิยมสูงสุดบริษัทหนึ่งในสากล

พันธกิจ

พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการบริการอย่างต่อเนื่อง ผสมผสานความร่วมมือของผู้มีส่วนได้เสีย และกระบวนการผลิตระดับสากลเพื่อให้บรรลุถึงความ พึงพอใจของลูกค้า รวมถึงการเป็นผู้จำ�หน่ายที่ได้รับความนิยมและเปรียบเสมือนเป็นสถาบันสำ�หรับการเรียนรู้ของผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการเจริญ เติบโตของธุรกิจ

คุณค่า เน้นความสำ�คัญของบุคลากร

เราเชื่อว่าผู้มีส่วนได้เสียเป็นกำ�ลังสำ�คัญ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ลูกค้า ผู้ถือหุ้น หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ถือเป็นพลังหลักที่แข็งแกร่งของเรา ความร่วมมือ และความพึงพอใจของบุคคล ซึ่งเป็นเสมือนพลังขับเคลื่อนที่สำ�คัญเพื่อนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จและการเจริญของธุรกิจ

ความพึงพอใจของลูกค้า

เราเชื่อว่าที่เราดำ�เนินธุรกิจได้ตราบจนถึงทุกวันนี้ ก็เพราะลูกค้า เราจึงมุ่งมั่นทำ�กิจกรรมเพื่อให้บรรลุถึงความพึงพอใจของลูกค้าและความเชื่อมั่นในสินค้าของ เราเพื่อรักษาสัมพันธภาพที่ยั่งยืน

ความเป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคม

เราเชื่อในการเป็นผู้มีความรับผิดชอบและเอาใจใส่ต่อสังคม ทำ�นุบำ�รุง รวมถึงพัฒนาการสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา

บรรษัทภิบาล

เราเชื่อมั่นในความโปร่งใส ความถูกต้อง มีเหตุผล และจริยธรรม เพื่อให้บรรลุผลสูงสุดของบรรษัทภิบาลที่สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติที่ดีที่สุด

2

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


สารบัญ ข้อมูลสำ�คัญทางการดำ�เนินงาน สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ข้อมูลบริษัท และบริษัทย่อย โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นโยบายการจ่ายเงินปันผล ธุรกิจหลัก การดำ�เนินธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง รายการที่เกี่ยวโยงกัน คำ�อธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ ทรัพยากรบุคคลและความรับผิดชอบต่อสังคม รายงานคณะกรรมการ การตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ งบการเงิน

4 6 8 12 18 19 24 25 26 27 38 44 48 56 65 71 72 73


ข้อมูลสำ�คัญทางการดำ�เนินงาน ล้านบาท

2552

2551

อัตราการเติบโต

งบกำ�ไรขาดทุน (งบการเงินรวม) รายได้สุทธิ ต้นทุนขาย กำ�ไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และค่าใช้จ่ายอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน (รายได้) ค่าใช้จ่ายอื่น กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรก่อนหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิหลังหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย

79,994 67,666 12,328 4,852 7,476 903 6,573 554 6,019 1,195 4,824 10,636

53,332 48,178 5,154 2,883 2,271 (905) 3,176 53 3,123 467 2,656 3,838

50% 40% 139% 68% 229% n.a. 107% 945% 93% 156% 82% 177%

งบดุล (งบการเงินรวม) สินทรัพย์หมุนเวียนรวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์รวม หนี้สินหมุนเวียนรวม เงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิจากส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินรวม ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำ�ไรสะสมและสำ�รอง ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

23,566 49,505 1,189 74,260 25,785 25,331 678 51,794 3,352 4,443 9,384 5,287 22,466

18,835 49,642 1,291 69,768 23,779 27,981 301 52,061 3,352 4,443 5,000 4,912 17,707

25% 0% -8% 6% 8% -9% 125% -1% 0% 0% 88% 8% 27%

อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำ�ไรขั้นต้น อัตรากำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย อัตรากำ�ไรก่อนหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัท อัตราหนี้สินสุทธิต่อเงินทุนของบริษัท อัตราหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

15.4% 13.3% 7.5% 1.44 30.0% 13.8% 62.6% 1.7

9.7% 7.2% 5.9% 0.79 26.0% 6.7% 69.7% 2.3

4

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


แผนภาพแสดงผลประกอบการ รายได้ ล้านบาท

กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย ล้านบาท

80,000

11,000

60,000

8,250

40,000

5,500

20,000

2,750

0

0 2551

2552

2551

2552

2551

2552

อัตรากำ�ไรขั้นต้น (%)

กำ�ไรก่อนหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ล้านบาท 7,000

16.0

5,250

12.0

3,500

8.0

1,750

2.0

0

0 2551

2552

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)

กำ�ไรต่อหุ้น บาท

30

1.50

1.25

25

0.75

20

0.37

15

0

10 2551

2552

2551

2552

รายงานประจำ�ปี 2552

5


สารจากประธานกรรมการ ทุกครั้งที่โอกาสผ่านเข้ามาใน IVL เราร่างกรอบคำ�ถาม ที่ต้องตอบ และพินิจพิเคราะห์การเดินหมากทางธุรกิจ อย่างชาญฉลาด… ก้าวที่มั่นคงที่สุดของการเติบโตและความก้าวหน้ามักมาจากความพร้อมที่จะ ปรับเปลี่ยนและพัฒนา ก้าวย่างที่มั่นคงนั้นเป็นหลักสำ�คัญของ อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด มหาชน ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง การแสดงให้เห็นถึงความพร้อม ก็ คือก้าวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในการปรับโครงสร้าง IVL ซึ่งได้เปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชน ในปี 2552 การเดินหน้าครั้งนี้เป็นไปอย่างชาญฉลาดและในเวลาที่เหมาะสม การเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องขององค์กรก่อให้เกิดความต่อเนื่องในนิสัยและ การปฏิบัติงานที่มุ่งชัยชนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรที่ประสบความสำ�เร็จ หลักการทำ�งานของ IVL ได้นำ�เราไปสู่ความสำ�เร็จในทุกสภาวะการตลาดที่ วันนี้ แม้เราเดินหน้าประกาศใช้การปฏิรูปธุรกิจที่สมดุลและมีการวางแผนมา อย่างดีให้แก่ธุรกิจของเรา หลักการเหล่านี้ก็ยังคงสำ�คัญไม่เปลี่ยน ในทุกวงจรของธุรกิจเรา IVL คำ�นึงถึงความพร้อมในการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและการให้บริการทางธุรกิจที่มีศักยภาพสูงสุดเพื่อให้เกิดความพึง พอใจ วิถีของ IVL คือความมีเสถียรภาพ ซึ่งเราเชื่อว่าทำ�ให้เราได้เปรียบคู่แข่ง เรายังคงเห็นถึงความต้องการในระดับสูงของตลาดทั่วโลกที่มีต่อทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์ ของเรา ความต้องการนี้สะท้อนให้เห็นถึงความจำ�เป็นที่ต้องมีผลิตภัณฑ์ของเรา ซึ่งพิสูจน์แล้วว่ามีความแข็งแกร่งในทุกวงจรเศรษฐกิจ OGP ซึ่งเป็นโรงงานผลิต PET ในประเทศลิทัวเนีย ได้รับรางวัลเหรียญทองและโล่ประกาศเกียรติคุณว่า ผลิตภัณฑ์ “รามาเพ็ท เอ็นวัน” เป็น “ผลิตภัณฑ์ยอดเยี่ยมแห่งปีของประเทศลิ ทัวเนีย” ซึ่งลงนามโดยประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งลิทัวเนีย รางวัลนี้เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานที่เข้มงวดกวดขัน และได้เพิ่มขีดความ สามารถของธุรกิจเราด้วย IVL ดำ�เนินธุรกิจที่หลากหลายโดยการประสานปัจจัยหลักเพื่อให้บรรลุเป้าในการดำ�เนินงาน ซึ่งก็คือ บุคลากรของเรา วิธีการดำ�เนินธุรกิจของเรา และการ กำ�กับดูแลของเรา ในแง่ของการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริหารของ IVL เดินหน้าสานต่อในด้านความรับผิดชอบขององค์กรด้วยเป้าหมายของการ เพิ่มมูลค่าของกิจการบริษัท และการบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทอย่างยั่งยืน เราอยู่ในยุคที่เราจำ�เป็นต้องตระหนักถึงการกำ�กับดูแลคณะกรรมการบริหารของ เราให้มากขึ้นและมากขึ้น และพวกเราทุกคนที่ IVL ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เห็นความพยายามในการกำ�หนดมาตรฐานระดับสูงให้กับความโปร่งใสในการทำ�งาน บริษัทอินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด มหาชน หรือ IRP ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ และมีรายชื่ออยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จนถึงเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ที่ผ่านมานี้ ได้คะแนนการกำ�กับดูแลกิจการในระดับ “ยอดเยี่ยม” ในปีที่แล้ว ซึ่งดีขึ้นจากระดับ “ดีมาก”เมื่อปีก่อนหน้า IVL จะสานต่อความพยายาม ตั้งแต่แรกในการส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ต่อไป ในแง่ขององค์กร มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ในส่วนของการผสมผสานกำ�ลังบุคลากรที่มีคุณภาพ แม้ว่าจะมีความผันผวนของเศรษฐกิจในปีนี้ แต่เราก็ไม่มีการปลด พนักงานแต่อย่างใด แต่มีการว่าจ้างพนักงานเพิ่มขึ้นประมาณ 370 ตำ�แหน่ง เรามีการสรรหาบุคลากรครั้งใหญ่และมีการฝึกอบรมที่มีประโยชน์หลายต่อหลาย ครั้งให้แก่พนักงานของเรา ผมเชื่อว่าความมีเสถียรภาพเช่นนี้บอกกล่าวถึงบริษัทของเราได้เป็นอย่างดี และยิ่งทำ�ให้เรารู้สึกมีความแข็งแกร่งมากขึ้นเท่านั้น ที่ IVL นี้ เราได้ทำ�งานร่วมกับทีมผู้นำ�และพนักงานที่มีแต่ความแข็งแกร่งมากขึ้น การมุ่งเน้นในอุตสาหกรรมเราสะท้อนถึงทุกสิ่งที่เรารู้ เราได้ขยายขอบเขตและเฝ้าดูตัวบ่งชี้ที่สำ�คัญในธุรกิจและอุตสาหกรรมหลักของเรา โลกอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีไม่ได้ให้ผลที่เห็นได้ทันที ความท้าทายจึงเป็นการสร้างย่างก้าวแห่งอนาคตที่ประสบความสำ�เร็จในสิ่งใหม่ๆ และดึงเอาส่วนที่ดีที่สุดที่เรามีอยู่ออกมาใช้ กลยุทธ์ของเรายังคงเป็นการมุ่งเน้นไปที่วิธีใช้ต้นทุนต่ำ� แต่สามารถให้ผลตอบแทนที่เหนือกว่าในทุกวงจรเศรษฐกิจ เราโชคดีที่มีการกระจายการลงทุนในภูมิภาค ที่มีเศรษฐกิจที่เติบโต มั่นคง และมีขนาดใหญ่ได้ แต่การแสวงหาของเราไม่ได้หยุดอยู่แค่สิ่งที่เรามีอยู่ตอนนี้ เราต้องการทำ�ในสิ่งที่สอดคล้องกับสิ่งที่เรายึดถือ ปฏิบัติ ซึ่งก็คือ ต้องเติบโตต่อไปอีกและด้วยความคิดหนุนนำ�นี้ เรากำ�ลังเร่งรุดไปสู่การลงทุนทางธุรกิจที่อาจหาญ ปีนี้จะเป็นปีที่ IVL ขยายขอบเขตไปสู่ดินแดน ซ่อนเร้นที่ยังไม่มีใครเคยค้นพบ ด้วยความมุ่งมั่นและความพยายามของคณะผู้บริหารเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในอนาคตอันใกล้นี้เป็นสิ่งที่ผม ในฐานะประธานบริษัท IVL ตั้งใจจะดำ�เนินต่อไป นี่เป็นการเปิดรายงานประจำ�ปีของ IVL และโดยธรรมเนียมแล้ว ข้อความจากประธานบริษัทก็ควรจะบอกกล่าวถึงเหตุผลทั้งหมดที่ว่า ทำ�ไมเราจึงควรลงทุนกับ บริษัทนี้ แต่ผมคิดว่าประวัติอันยาวนาน ปัจจุบันที่ไม่หยุดนิ่ง และอนาคตที่สดใสของบริษัทตอบคำ�ถามนั้นด้วยตัวมันเองอยู่แล้ว วันนี้ เราคือครอบครัวที่ใหญ่ขึ้น และเข้มแข็งขึ้นด้วย

6

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ปีที่ผ่านมาเป็นปีที่เยี่ยมมาก และเราต้องขอบคุณหลายๆคนในความทุ่มเท ความมั่นใจ ความเชื่อใจ และความเชื่อมั่นที่มีให้กับเรา ทุกแรงสนับสนุนและความ เชื่อในตัวบริษัทที่ไม่เคยถดถอยของผู้ถือหุ้น ลูกค้า และที่สำ�คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือ ความเชื่อมั่นของเหล่าพนักงานของเรา ทำ�ให้เรายิ่งมั่นใจได้ว่าจะเป็นปี แห่งความสำ�เร็จที่น่ายินดีของเรา ทั้งเพื่อนร่วมงาน คณะกรรมการและผู้บริหารทุกท่านสำ�หรับแนวทางความคิด เราขอขอบคุณพวกคุณทุกคนเป็นอย่างยิ่ง ใน ปีนี้ผมและคณะกรรมการทุกท่าน หวังที่จะสร้างความเติบโตทางธุรกิจที่ไม่สิ้นสุดต่อไป ความสามารถของเรา บวกกับความเชื่อมั่นของพวกคุณจะสร้างคุณค่าที่ ค่อยๆส่องแสงทีละน้อยจนเจิดจรัสในที่สุด

นาย ศรี ปรากาซ โลเฮีย ประธานกรรมการ (กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามตามหนังสือรับรอง)

รายงานประจำ�ปี 2552

7


สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ผมมีหนึง่ คำ�ถามสำ�หรับพวกเราทุกคนทีน่ ่ี คุณคิดอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลง ขนาดใหญ่ของโครงสร้างธุรกิจที่เกิดขึ้นจากความคิดและกลยุทธ์ดีๆ โลกไม่ได้กำ�ลังเปลี่ยนแปลงหรอกครับ แต่โลกกำ�ลังแลกเปลี่ยนกันต่างหาก นั่นคือสิ่งที่เขาว่ากันและมันคือสิ่งที่ผมเชื่ออย่างไม่มีข้อโต้แย้ง ความตั้งใจที่จะ ทำ�ให้อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นมหาชนเป็นการตอกย้ำ�ความเชื่อนี้ อินโด รามาคือเรื่องราวที่มีการพัฒนาตลอดเวลา ที่ IVL พวกเราล้วนอยากที่จะเชื่อ ว่า เราเป็นส่วนหนึ่งของบางสิ่งที่ใหญ่กว่า บริษัทที่สร้างความรู้สึกนี้ให้เกิดใน ตัวพนักงานและผู้ถือหุ้น จะก่อให้เกิดความปรารถนาอันแรงกล้า แต่ความ ปรารถนาอันแรงกล้าอย่างเดียวใช่ว่าจะดีหากไม่มีความเฉียบคมในเรื่องของ ทิศทางและความสามารถในการยืดหยุ่น พวกเราที่อินโดรามารู้ดีว่า ความ ปรารถนาอันแรงกล้าต้องประสานกันให้แนบสนิทกับความเข้าใจในธุรกิจที่ ชัดเจนถึงสิ่งจำ�เป็นในการดำ�เนินงาน วันนี้ ผมกำ�ลังเขียนข้อความนี้ ณ จุดที่มี การเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญในประวัติศาสตร์ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด มหาชน (IVL Pcl) และการมองเห็นถึงความจำ�เป็นด้านการปฏิบัติงาน และการมีวัตถุประสงค์เป็นหนึ่งเดียว ในปี 2552 ย่างเข้าสู่ปี 2553 นั้น เป็นปีที่สำ�คัญสำ�หรับบริษัทซึ่งต้องต่อสู้กับการถดถอยของเศรษฐกิจในเวลานั้น เป็นปีที่มีเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึ้นมากมายและ หลายสิ่งที่เราทำ�เพื่อให้ความเติบโตสอดรับกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของเรา การเคลื่อนไหวด้านธุรกิจของเราเป็นไปได้ด้วยดี และเราเห็นความมีชีวิต ชีวาที่เพิ่มมากขึ้นในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจของเราในวันนี้ เวทีถูกจัดเตรียมไว้พร้อมแล้วสำ�หรับเราที่จะเป็นเดอะกูเกิ้ลของห่วงโซ่คุณค่าโพลีเอสเตอร์ อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องในการสร้างพื้นที่ในโลกของการผลิต PET โพลีเอสเตอร์ และ PTA และมีชื่อที่โดดเด่น ในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ และผมเห็นว่าไม่มีสิ่งใดจะกระตุ้นให้เกิดทัศนคติที่เปิดรับความคิดในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มากไปกว่าการเติบโตที่เข้มแข็งที่ชัดเจน หนึ่งทีม หนึ่งแบรนด์ หนึ่งกลยุทธ์ IVL เป็นแบรนด์ที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย ธุรกิจของเราทุกวันนี้ต่างจากสิ่งที่ผู้คนเคยรู้จักเราอย่างมาก ความแตกต่างนี้ก็มาจากการก้าวกระโดดทางธุรกิจใน ช่วงหลายปีที่ผ่านมา ก้าวสำ�คัญของเรา คือ การรวมแต่ละธุรกิจเข้าด้วยกัน ในฐานะเป็นหนึ่งโครงสร้างการปฏิบัติงาน ภายใต้การนำ�ของอินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด การรวมตัวอย่างมีประสิทธิภาพครั้งนี้ทำ�ให้เราโดดเด่นมากขึ้นในตลาด และทำ�ให้เราสามารถสร้างผลตอบแทนที่กำ�หนดโดยกลยุทธ์กลางภายใต้ แบรนด์ เดียวได้ การบูรณาการนี้ได้ปรับปรุงระดับทางเศรษฐกิจของเรา ทำ�ให้เกิดการรวมตัวของผู้เปี่ยมความสามารถทั้งหลายและสร้างนโยบายร่วมที่หลากหลาย ซึ่ง สามารถใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพและต้นทุนโดยรวมได้ เช่น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการขนส่ง และด้านวัตถุดิบ ‘Convergence’หรือการผสม ผสานสองสิ่งที่แตกต่าง เป็นคำ�พูดติดปากมานาน และตอนนี้ IVL อยู่ในตำ�แหน่งที่เข้มแข็งพอที่จะสามารถทำ�การผสมผสานนี้ได้ ด้วยขนาดของอินโดรามา เวนเจอร์ส จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายที่จะเป็นนักริเริ่มและเป็นบริษัทจำ�กัดมหาชนด้วย สิ่งที่เราพยายามทำ� ก็คือ การสร้างสมดุลระหว่าง ขั้นตอนทางความคิดธุรกิจและวิธีเชิงกลยุทธ์ แต่ฝังจิตวิญญาณความเป็นนักริเริ่มไว้ องค์ประกอบที่สำ�คัญที่สุดประการหนึ่ง คือ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ใน อุตสาหกรรมที่เราสร้างขึ้นมา ความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานทำ�ให้สามารถสร้างสมดุลระหว่างมุมมองในแง่ของการเป็นบริษัทกับจิตวิญญาณของการเป็นนัก ริเริ่มได้ และยังมั่นใจได้ว่าความเป็นเลิศนี้จะไม่จางไป ภายหลังการเติบโตอย่างรวดเร็ว IVL ได้พาตัวเองเข้าสู่แผนการเป็นบริษัทที่ใหญ่ที่สุดเคยมีรายชื่อจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในสามปีที่ ผ่านมา เรามองการเคลื่อนไหวนี้ว่าสามารถช่วยขับเคลื่อน IVL ไปสู่ระดับที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน จากการพูดคุยวางแผน ปี 2552 ก็พาเรามาอยู่บนลู่ทางด่วน ที่จะพาเราสู่การลงมือปฏิบัติจนได้ ในตลาดทุกวันนี้ มีโอกาสมากมายแต่คุณต้องกล้าพอ ความท้าทายของเราคือการใช้โอกาสที่มีนี้ให้คุ้มค่าที่สุดโดยการทำ�ในสิ่งที่เราทำ� แต่ทำ�ให้ดีขึ้นด้วยการใช้ ประโยชน์ของความแข็งแกร่งที่เรามีอยู่แล้วให้เต็มที่ การจัดทำ�แผนปรับโครงสร้างธุรกิจที่ชัดเจนในการรวมอินโดรามา โพลีเมอร์ส เข้าด้วยกันกับ IVL ผ่านการ เสนอแลกหุ้นและการเสนอซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นทั้งหมดเพื่อเพิกถอน บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสทรีส์ จำ�กัด มหาชน ออกจากตลาดหลักทรัพย์นั้น เป็นก้าวย่างที่สำ�คัญและน่าสนใจ IVL จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2552 และเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 สิ่งที่ทำ�ให้การปรับเปลี่ยนโครงสร้างนี้โดดเด่นไม่ใช่แค่เรื่องของระดับและความเฉียบแหลม แต่ยังเป็นเรื่องของขนาดและความเร็วของธุรกิจ และการตอบสนองของผู้คน ขณะที่สิ่งนี้เป็นการตัดสินใจที่ท้าทาย โอกาสที่เรามองเห็นคือกลั่นกรองกลยุทธ์หลักของธุรกิจในการแสดงผลการดำ�เนินงานทั้งสาม ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม และเรากำ�ลังคว้าโอกาสนั้นไว้

8

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ตั้งแต่ช่วงที่ IVL ได้เป็นบริษัทจดทะเบียน มหาชน เราสามารถแผ่ขยายความสัมพันธ์ทางการค้าและทางกลยุทธ์ต่อไปอีก และเราหวังที่จะพัฒนาสิ่งนี้ให้มากยิ่ง ขึ้น การพัฒนาจะมีความหมายก็ต่อเมื่อเป็นการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จและยั่งยืน การเป็นมหาชนของ IVL เป็นการรักษาและยืนยันอีกครั้งถึงเป้าหมายและคำ�มั่น สัญญาของเราที่มีต่อธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ผลการดำ�เนินงานที่เข้มแข็งในปี 2551 บอกได้ดีถึงปี 2552 ระบบของบริษัทใดๆ กลยุทธ์และความคิดใดๆ จำ�เป็นต้องเปลี่ยนจากการอยู่ในสภาพเดิมๆตลอดกาลไปสู่การเป็นตัวเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สำ�หรับผมแล้ว สัญญาณแห่งความหวังที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือว่า สิ่งนี้กำ�ลังเกิดขึ้นแล้วสำ�หรับ IVL. เราได้เห็นถึงการลงทุนที่สำ�คัญๆในแต่ละปีจากการขยายกิจการที่ช่วยให้เรามีความเหมาะสมกับตลาดมากขึ้น การเข้าไปสู่ การเคลื่อนไหวที่ท้าทายในกระแส ธุรกิจของเรา และการใช้ประโยชน์จากความคิดความเป็นผู้นำ�ที่ออกมาจากถังความคิดภายในของเรา เราได้นำ�ผลตอบแทนทางธุรกิจที่ชัดเจนที่สุดและเป็น ประโยชน์มากที่สุดจากองค์กรของทั่วโลกของเรามาสู่ผู้ถือหุ้น ปีนี้ได้แสดงถึงความแข็งแกร็งของธุรกิจหลักของเรา ทั้งในส่วนของ PTA, Pet เรซิน และ โพลีเอสเตอร์ หลังการเข้าซื้อกิจการจำ�นวนหนึ่งในประเทศไทย และยุโรปในปี 2551 เราเข้าสู่ธุรกิจ PTA ในปี2551 เพื่อการบูรณาการและได้กลายเป็นการเดินหน้าที่ประสบความสำ�เร็จที่สำ�คัญด้วยบันทึกการผลิต ยอดขาย กำ�ไร และกระแสเงินสดในปี 2552 และยังให้รากฐานที่ดีเลิศในการขยายการเติบโตและให้มูลค่าที่เหนือกว่า การซื้อกิจการที่เราทำ�ในปี 2551 แสดงให้เห็นถึง แผนการที่รอบคอบของวิธีที่เราสื่อสารให้เห็นภาพรวมในระดับสากล ในฐานะบริษัท เรามีผลงานที่พิสูจน์ได้ในการดำ�เนินการโครงการที่หนักหนาสาหัสได้อย่าง ประสบผลสำ�เร็จ เช่นเดียวกับการเลือกโอกาสในการซื้อกิจการที่น่าสนใจ และได้ปรับปรุงการปฏิบัติงานและความสามารถในการสร้างผลกำ�ไรของกิจการที่ซื้อ มาได้เป็นผลสำ�เร็จ ความสำ�เร็จในปี 2551 คือหลักฐานของทั้งหมดนี้ โครงการในการลงทุนและรายจ่ายฝ่ายทุนหลักๆที่กระทำ�ในปี 2551-2552 จบลงด้วย ชัยชนะ อัลฟ่าเพ็ท โรงงานของเราที่ใช้เทคโนโลยีล่าสุดจากอเมริกา ประสบความสำ�เร็จในการปฏิบัติงานสายงานที่ 1 ด้วยดีในปี 2552 และพร้อมที่จะเริ่มสาย งานที่ 2 ในครึ่งปีแรกของปี 2553 ในช่วงปีที่ผ่านมา การพูดคุยในองค์กรเป็นเรื่องการก้าวไปข้างหน้าที่อย่างเต็มที่ และขับเคลื่อนโดยกลยุทธ์ในการขยายกิจการและการเปลี่ยนแปลง เราได้เพิ่ม กระบวนทัศน์ใหม่ เมื่อ IVL เสนอขายหุ้นต่อสาธารณะเป็นครั้งแรก และเสนอซื้อหุ้นของอินโดรามา โพลีเมอร์ส (IRP Pcl) ทั้งหมดจากผู้ถือหุ้นคนอื่นๆ โดยการ แลกกับหุ้นใหม่ และต่อมาก็เพิกถอน IRP ออกจากตลาดหลักทรัพย์ หัวใจของการเพิกถอนคือการยอมรับว่าบริษัทไม่สามารถทำ�สิ่งที่เหมือนเดิมได้อีกต่อไป ธุรกิจเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้นหากแยกตัวออกมา และให้บริการแก่ตลาดและนักลงทุนด้วยข้อเสนอที่เป็นเอกลักษณ์อย่างแท้จริง และนั่นคือภาพที่ชัดเจนของสิ่งที่ IRP ทำ�ให้เห็นผ่านการเพิกถอนตัวเอง และยังคงเป็นหนึ่งในสมาชิกที่น่าตื่นเต้นที่สุดของครอบครัว IVL ความอุตสาหะของ IVL ไปสู่การเปิดขายหุ้นใหม่สู่สาธารณชนเป็นครั้งแรกแสดงให้เห็นถึงกำ�ลัง ความยืดหยุ่น และแรงขับเคลื่อนที่ยืดและผลักดันธุรกิจให้ไป สู่ทุกขีดจำ�กัดที่เป็นไปได้ แม้จะหลังจากที่ดูเหมือนจะเห็นและทำ�ทุกอย่างที่ต้องทำ�แล้ว แนวคิดการเป็นมหาชนของ IVL เป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ด้วยเป้า หมายสองประการ คือ เพื่อให้หุ้นมีการแลกเปลี่ยนได้อย่างเสรีในตลาดที่มีการจัดการ และเพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในกลุ่มบริษัทเพื่อทำ�ให้สามารถจัดการ กองทุนของตนเองและเข้าถึงตลาดเงินทุนด้วยมุมมองของการเติบโตในอนาคต การเสาะหาเพื่อขยายกิจการเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่ IVL ยึดปฏิบัติมาเสมอ และ ดังนั้นเราตั้งใจที่จะใช้เงินจำ�นวนสุทธิของส่วนที่เสนอรวมกันเบื้องต้นเพื่อ เงินทุนเติบโต ซึ่งหมายถึง การลงทุนในกิจการใหม่ และการควบกิจการ (M&A) ส่วน หนึ่งก็เพื่อการจ่ายหนี้ระยะสั้นและอีกส่วนหนึ่งก็เพื่อทำ�ตามความต้องการด้านเงินทุน การหาเหตุผลเข้าข้างตัวเองในอุตสาหกรรมได้เพิ่มขึ้นในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน กลายเป็นต้นทุนที่สูง ผู้เล่นที่ไม่มีเป้าหมายก็เริ่มออกจากตลาดไป คาดว่า เหตุการณ์เช่นนี้จะยังเกิดขึ้นต่อไปในอีกหลายปีข้างหน้า ซึ่งเป็นการสร้างศักยภาพในการเติบโตเพิ่มเติมสำ�หรับผู้เล่นที่มีเป้าหมาย อย่างเช่น IVL ซึ่งยังคงลงทุน ในอุตสาหกรรมนี้ต่อไป เพราะว่าผลิตภัณฑ์ของเรานั้นปรับตัวได้กับภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ และลักษณะการจัดจำ�หน่ายทั่วโลก การเพิ่มขึ้นของปริมาณและ อัตราการใช้ยงั คงมีอยู่ เราได้รบั ผลตอบแทนทีส่ งู ขึน้ บนเงินทุนและกรรมสิทธิห์ นุ้ ส่วนทีม่ ากขึน้ ในปี 2552 และเห็นการปรับปรุงของกำ�ไรตัง้ แต่รวมกันเข้ากับ PTA ความแน่นอนที่ธุรกิจของเรารับรอง เรายังคงมั่นกับกลยุทธ์ในการเติบโตของเราและรักษาเป้าหมายแน่วแน่ในส่วนของเราเอาไว้ มูลค่าเป็นสิ่งจำ�เป็นมากสำ�หรับการผลิตแบบ “โมโนซูกูริ” (Monozukuri) ที่เราใช้ ซึ่งก็คือการรวมกันของเทคโนโลยีและการปฏิบัติงานเพื่อรวมการพัฒนาและการผลิตเข้าด้วยกัน เจ็ดข้อกำ�หนดเชิงกลยุทธ์ ที่มีอยู่เดิม ยังคงนำ�ทางการกระทำ�ของเรา อันประกอบไปด้วย • การรองรับปริมาณวัตถุดิบ และการบริโภคภายใน- ความมั่นคงของการมี PTA เพื่อป้อนให้กับธุรกิจโพลีเอสเตอร์และ PET • นโยบายการซื้อกลาง สำ�หรับ MEG- แผนก PET และโพลีเอสเตอร์ใช้อำ�นาจการต่อรองในการซื้อเพื่อการจัดซื้อ MEG • การเป็นหุ้นส่วน การซื้อกิจการ และการลงทุนเพื่อเร่งการปฏิบัติตามกลยุทธ์และการมุ่งเน้นทรัพยากรของเราในธุรกิจหลัก • จดจ่อมุ่งมั่นกับตลาดที่มีการเติบโต

รายงานประจำ�ปี 2552

9


• การประหยัดต้นทุนผ่านการวางตำ�แหน่งและการบูรณาการสินทรัพย์ร่วมกัน – การประหยัดต้นทุนด้วยการมีที่ตั้งใกล้กันเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้าน การขนส่ง และเป็นการแบ่งปันการใช้บริการอื่นๆร่วมกัน • การทำ�การตลาดเสมือนหนึ่งทีมเดียวกัน ภายใต้แบรนด์เดียวกัน ที่ใช้หนึ่งกลยุทธ์เดียวกัน • การลงทุนกับความสามารถภายในองค์กรเพื่อสร้างวัฒนธรรมที่มีสมรรถนะสูง และการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ และการปฏิบัติงานที่ดีเลิศ เป้าหมายของเราในอุตสาหกรรมนี้ไม่ใช่เพื่อความปรารถนาอย่างแรงกล้าในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้ แต่เพราะเพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้นต่อปัจจัยความสำ�เร็จที่สำ�คัญ สำ�หรับแต่ละปัจเจกธุรกิจ เรายังเดินหน้าให้มีการจัดสรรการลงทุนและความสามารถของบุคลากรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ความสามารถในการบริหารจัดการ และการตัดสินใจทางการค้าที่รวดเร็ว แต่การลดค่าใช้จ่ายในส่วนอื่นๆที่จำ�เป็นต้องใช้ในการจัดการการปฏิบัติงานที่หลากหลายและการเพิ่มของมูลค่าที่มากขึ้น เนื่องจากความคล้ายกันของธุรกิจก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัย การทำ�ให้มชี อ่ื แบรนด์อยูใ่ นตลาดได้คอื การตระหนักถึงความเหมาะสมของแบรนด์ทแ่ี ผ่คลุมอยูใ่ นอุตสาหกรรม ปีนเ้ี ราได้ออกแบบโลโก้ใหม่ของอินโดรามาซึ่งทำ�ให้ เห็นอย่างชัดเจนถึงรากฐานที่แข็งแกร่งที่ใช้ในการสร้างบริษัท โลโก้นี้แสดงให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือ อำ�นาจความสามารถ ความยั่งยืน และสรุปทุกกิจกรรมของ บริษัทไว้ได้ทั้งหมด เหตุผลเบื้องหลังการออกแบบและการเลือกใช้สีก็คือเราอยากให้ผู้ถือหุ้น ทั้งรายเก่าและรายใหม่ มีส่วนร่วมด้วย ด้านการเงิน ผลการเงินที่โดดเด่นของ IVL ในภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนสะท้อนให้เห็นถึงการรวมหน่วยธุรกิจที่มีความแข็งแกร่งเป็นอย่างยิ่ง ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ (ล้านบาท): ยอดขายสุทธิ กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย อัตรากำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย กำ�ไร ก่อนหักภาษีและและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิหลังหักภาษี ทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว

ปี 2552 79,994 10,636 13.3% 6,573 4,824 3,352 1.44

ปี 2553 53,332 3,838 7.2% 3,176 2,656 3,352 0.79

การเติบโต 50% 177% 107% 82%

*อิงตามทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว ณ สิ้นปี และราคาตราไว้ที่ 1 บาทต่อหุ้น ผู้คนและการปฏิบัติที่เป็นนิมิตหมายที่ดีสำ�หรับเรา ผมถือว่าการเคลื่อนไปอย่างต่อเนื่องของบริษัทมาจากความชำ�นาญที่คนของเราใช้ในการทำ�งาน แม้แต่ในตลาดสากลที่ยังไม่มั่นคง ความเชื่อใจคือสิ่งที่เราพูดคุย กันที่ IVL ไม่ใช่ความไม่แน่นอน ผมเชื่อมาตลอดว่าบทบาทของผู้นำ�มักไม่ใช่การบังคับเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ แต่เป็นการทำ�ให้เกิดการปฏิบัติ การบริหารที่คำ�สั่งนำ� ไปสู่การบริหารที่มีความพร้อมและแข็งแกร่งอย่างที่เรามี ปี 2552 เป็นปีที่หนักแต่มีผลงานที่ดีมาก และอีกครั้งที่คนของผมได้แสดงให้เห็นถึงความมีน้ำ�หนึ่งใจ เดียวกันและความทุ่มเทให้กับบริษัท พนักงานของเรายังคงอุทิศแรงกายแรงใจเพื่อยืนยันว่าธุรกิจกำ�ลังเดินไปในทิศทางที่ควรจะเป็นจริงๆ ความพากเพียรของ พวกเขาทำ�ให้เหมือนมีผมอยู่ตรงนั้นและชี้นำ�กำ�ลังความสามารถของพวกเรา ในความคิดของผม องค์ประกอบที่สำ�คัญของการพัฒนาของอินโดรามา คือคนของ เรา มีผู้บริหารไม่มากนักที่อยู่ในจุดที่ได้เปรียบกว่าคนอื่นอย่างที่เรายืนอยู่ในอุตสาหกรรมนี้ หลังการได้รับรางวัลต่างๆภายในประเทศ โครงการวงจรคุณภาพ(QC) ของ IVL ก็ทะยานสู่ระดับนานาชาติในปี 2552 หนึ่งในกลุ่ม QC ของเราได้รับรางวัล “กลุ่มวงจรคุณภาพยอดเยี่ยม” จากสำ�นักงานวงจรคุณภาพแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ กลุ่มนี้ยังได้รับเลือกในการประชุมนานาชาติด้านวงจรการควบคุม คุณภาพให้ได้รางวัล International Exposition for Team Excellence (IETEX) ปี 2552 ที่ประเทศสิงคโปร์ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งก็ได้รับเลือกให้เข้าร่วมในการ แข่งขันนานาชาติที่ประเทศจีน ในปี 2552 เรายังได้รับรางวัลการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีด้านสิ่งแวดล้อม ที่ชื่อว่า “Green Star on White Flag” โดยหนึ่งในโรงงาน PTA ของเราได้รับรางวัลที่ ยอดเยี่ยมนี้ในด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีด้านสิ่งแวดล้อมจากผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ธุรกิจเป็นเครื่องมือของสังคมและการกำ�กับดูแล การแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใส ความยุติธรรม และการกำ�กับดูแลกิจการที่เสมอภาค ของ IVL ทำ�ให้ถึงเห็น ความรับผิดชอบของเรา IRP ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ IVL ได้รับคะแนนการกำ�กับดูแลกิจกรรม “ยอดเยี่ยม” จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท การ สำ�รวจของ “IOD” สำ�หรับบริษัทที่มีรายชื่อจดทะเบียนเป็นการพิสูจน์เชิงประจักษ์ถึงการปฏิบัติที่ดีของเรา

10

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


เรารู้ว่า ก้าวย่างของวันนี้ คือ การก้าวไปสู่อนาคต IVLอยู่ในตำ�แหน่งโดดเด่นที่ได้เปรียบในอุตสาหกรรม ซึ่งต้องขอบคุณประวัติผลงานที่มั่นคง มูลค่าตามราคาตลาดและสภาพคล่องที่มากกว่า อุตสาหกรรมที่มี การเติบโตสูง การมีวัตถุดิบ PTA รองรับการบริโภคภายในกลุ่ม ปัจจัยบวกในอุปทานวัตถุดิบ (PX และ MEG) บุคลากร และต้นทุนการแปลงสภาพ เราพร้อม ที่จะเข้าสู่ระยะต่อไปของการเติบโตผ่านการเข้าซื้อกิจการ และการขยายกิจการโดยการลงทุนในกิจการใหม่ และการขยายกิจการที่มีอยู่แล้วให้ใหญ่ขึ้น ด้วยการมีสิ่งนี้ในใจ หนทางข้างหน้าของเราจึงชัดเจนเสมอ ความสามารถในการรักษาส่วนต่างสุทธิคือมาตรการวัดความสำ�เร็จของเรา และ ไม่ว่าเราใช้ มาตรการอะไรในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เราก็ไม่เคยยอมสละความสามารถของเราในระยะยาว การทำ�เกินเลยไม่ใช่ภาพสำ�หรับผม ผมชอบการมีวิสัยทัศน์ที่ ชัดเจน และนั่นคือสิ่งที่ผมคิดว่าคือทั้งหมดที่เกี่ยวกับ IVL และบริษัทในเครือ ณ จุดนี้ เราเห็นตัวเองอยู่ในแถวหน้าของการเป็นผู้ผลิตโพลีเอสเตอร์ระดับโลก เราต้องการที่จะเติบโตให้เร็วกว่าตลาด เราต้องการเป็นที่ยอมรับในตลาดโลกว่าเป็นผู้นำ�ในอุตสาหกรรมห่วงโซ่คุณค่าของโพลีเอสเตอร์ ผมรู้สึกตื่นเต้นเมื่อ นึกถึงโอกาสทั้งหมดนั้นที่เรามี และเรากำ�ลังเปลี่ยนแปลงวิธีการดำ�เนินธุรกิจ ด้วยเป้าหมายและศักยภาพที่เรามีครบ เราคาดหวังที่จะเป็นผู้นำ�เพื่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของ IVL ทุกคน ขอขอบคุณสำ�หรับความเชื่อมั่น ในอินโดรามาทั้งคู่ค้า พนักงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกท่าน กลับมาที่คำ�ถามของผมเรื่องการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ในธุรกิจ ผมเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่เหล่านี้จะให้ผลตอบแทนมหาศาลกับเรา!

นาย อาลก โลเฮีย รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษทั ฯ

รายงานประจำ�ปี 2552

11


ข้อมูลบริษัท และบริษัทย่อย ข้อมูลบริษัทจดทะเบียน ชื่อ ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่

: บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) : บริษัทผู้ถือหุ้น : เลขที่ 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

เลขรหัสหลักทรัพย์สากล โทรศัพท์ โทรสาร เวบไซต์ ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ)

: : : : :

ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ)

: 4,334,271,047 บาท แบ่งเป็น 4,334,271,047 หุ้นสามัญ ราคาหุ้นละ 1 บาท

0107552000201 02-661 6661 02-661-6649, 02-661-6664 www.indoramaventures.com 5,082,000,000 บาท แบ่งเป็น 5,082,000,000 หุ้นสามัญ ราคาหุ้นละ 1 บาท

ข้อมูลบริษัทย่อย ธุรกิจ PET 1. อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) – บริษัทย่อยทางตรง ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร เวบไซต ์

ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิตและขาย PET โพลิเมอร์ : เลขที่ 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 สุขุมวิท 19 ถนน อโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 72 หมู่ 11, ถนน บางหงา ท่าคลอง, ตำ�บลเขาสมอคน Sub-District, อำ�เภอท่าวุ้ง, จ.ลพบุรี15180, ประเทศไทย : 036 489164-5 : 036-489115 : www.indoramapolymers.com : 1,450,000,000 บาท แบ่งเป็น หุ้นสามัญ 1,450,000,000 หุ้น ราคา หุ้นละ 1 บาท : 1,382,197,870 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,382,197,870 หุ้น ราคา หุ้นละ 1 บาท : 99.08%

2. บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จำ�กัด – บริษัทย่อยทางอ้อม ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

12

: ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวด : 85 หมู่ 11, ถนน บางหงา ท่าคลอง, ตำ�บลเขาสมอคน, อำ�เภอท่าวุ้ง, จ.ลพบุรี15180, ประเทศไทย : 036 489164-5 : 036-489115 : 85 หมู่ 11, ถนน บางงา ท่าคลอง, ตำ�บลเขาสมอคอน, อำ�เภอท่าวุ้ง, จ.ลพบุรี15180, ประเทศไทย : 036 489164-5 : 036-489115 : 75 ล้าน บาท : 75 ล้าน บาท : 60.00% (ทางอ้อม)

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


3. บริษัท เอเชีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จำ�กัด– บริษัทย่อยทางอ้อม ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต Amorphous Chips : เลขที่ 75/102 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 61/1 หมู่ 11, ตำ�บลเขาสมอคอน, อำ�เภอท่าวุ้ง, จ.ลพบุรี 15180, ประเทศไทย : 036 489164-5 : 036-489115 : 450 ล้าน บาท : 450 ล้าน บาท : 99.99% (ทางอ้อม)

4. StarPet Inc. (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิตเม็ดพลาสติกเรซิน : 801 Pineview Road, Asheboro, North Carolina 27203, USA : 801 Pineview Road, Asheboro, North Carolina 27203, USA : +1 336 6720101 : +1 336 6721904 : 25 ล้านเหรียญสหรัฐ : 12 ล้านเหรียญสหรัฐ : 100.00% (ทางอ้อม)

5. AlphaPet Inc. (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต PET โพลิเมอร์ : 1301 Finley Island Road, Decatur, Alabama, AL35601, USA : 1301 Finley Island Road, Decatur, Alabama, AL35601, USA : +1 256 3081180 : +1 256 3405722 : 50 ล้านเหรียญสหรัฐ : 44 ล้านเหรียญสหรัฐ : 100.00% (ทางอ้อม)

6. Indorama Polymers (USA) Inc. (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่

โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: บริษัทถือหุ้น AlphaPet : 1301 Finley Island Road, Decatur, Alabama, AL35601, USA : +1 256 3081180 : +1 256 3405722 : 50 ล้านเหรียญสหรัฐ : 44 ล้านเหรียญสหรัฐ : 100.00% (ทางอ้อม)

รายงานประจำ �ปี 2552 �ปี 2552 13 รายงานประจำ

13


7. UAB Orion Global Pet (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: : : : : : : :

ผลิต PET โพลิเมอร์ Metalo g.16, LT-94102, Klaipeda, Republic of Lithuania Metalo g.16, LT-94102, Klaipeda, Republic of Lithuania +370 46 300815 +370 46 314323 77,688,000 ลิทัส 77,688,000 ลิทัส 100.00% (ทางอ้อม)

8. Indorama Polymers Rotterdam B.V. (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต PET โพลิเมอร์ : Markweg 201, 3198 NB Europoort, Harbour Number 6347, Rotterdam, the Netherlands : Markweg 201, 3198 NB Europoort, Harbour Number 6347, Rotterdam, the Netherlands : +31181285438 : +31181285596 : 90,000 ยูโร : 18,000 ยูโร : 100.00% (ทางอ้อม)

9. Indorama Polymers Workington Limited (บริษัทย่อยทางอ้อม)t ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: : : : : : : :

ผลิต PET โพลิเมอร์ Siddick, Workington, Cumbria, CA14 1LG, United Kingdom Siddick, Workington, Cumbria, CA14 1LG, United Kingdom +44 1900609300 +44 1900609341 100 ปอนด์สเตอริง 1 ปอนด์สเตอริง 100.00% (ทางอ้อม)

10. UAB Indorama Polymers Europe (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

14

: บริษัทถือหุ้น ของ Indorama Polymers Rotterdam B.V. และ Indorama Polymers Workington Limited : Metalo g.16, LT-94102, Klaipeda, Republic of Lithuania : +370 46 300815 : +370 46 314323 : 72,508,800 ลิทัส : 72,508,800 ลิทัส : 100.00% (ทางอ้อม)

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ธุรกิจ PTA 1.บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด (บริษัทย่อยทางตรง) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต PTA : เลขที่ 75/93 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 35 สุขุมวิท 19 ถนน อโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 4 หมู่ 2, นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย ตำ�บลบ้านฉาง อำ�เภอบ้านฉาง ระยอง 21130 ประเทศไทย : 038-689081-5 : 038-689090 : 4,727,820,420 บาท : 4,727,820,420 บาท : 100.00% (ทางตรง)

2. บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมีคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทย่อยทางตรง) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต PTA : 54 อาคาร BB , ชั้น 20, ซ. อโศก (สุขุมวิท 21) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย : 02-203-6900 : 02-260-8018 : 3, ถนน I-7 นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุต อ.เมือง จ.ระยอง 21150 ประเทศไทย : 038-683288 : 038-683300 : 6,903,000,000 บาท : 4,925,000,000 บาท : 54.60% (ทางตรง)

3. Indorama Holdings Rotterdam B.V. (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต PTA : Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, the Nether lands : Markweg 201, 3198NB Europoort, Rotterdam, the Nether lands : +31 181 285 455 : +31 181 285 405 : 90,000 ยูโร : 18,000 ยูโร : 100.00% (ทางอ้อม)

4. UAB Indorama Holdings Europe (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) ชนิดของธุรกิจ

: : : : : : :

บริษัทถือหุ้น ของ Indorama Holdings Rotterdam B.V. Metalo g.16, LT-94102, Klaipeda, Republic of Lithuania +370 46 300815 +370 46 314323 117,395,200 ลิทัส 117,395,200 ลิทัส 100.00% (ทางอ้อม)

รายงานประจำ�ปี 2552

15


ธุรกิจ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ เส้นด้ายขนสัตว์ 1. บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จำ�กัด (มหาชน) (ระยอง) (บริษทั ย่อยทางตรง และทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) สัดส่วนการถือหุ้น

: ผลิต เส้นใย โพลีเอสเตอร์ เส้นด้าย และ PET Chips : 75/92 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 35 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 6, ถนน I-2, นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุต อ.เมือง จ.ระยอง 21150 ประเทศไทย : 038-683870 : 038-683884 : 2,226,220,000 บาท : 2,202,850,000 บาท : 64.94% (ทางตรง) and 34.61% (ทางอ้อม)

2.บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จำ�กัด (มหาชน) (นครปฐม), ชื่อเดิมคือ บริษัท อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด (บริษัทย่อยทางตรงและทางอ้อม)* ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน

: : : : :

โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (หุ้นสามัญ) Percentage of Investment

: : : : :

ผลิต เส้นใย โพลีเอสเตอร์ และ เส้นด้าย ตำ�บลขุนแก้ว อำ�เภอนครชัยศรี นครปฐม 73100 ประเทศไทย 034-222191 034-324169-70 35/8 หมู่ 4, ตำ�บลขุนแก้ว อำ�เภอนครชัยศรี นครปฐม 73100 ประเทศไทย 034-222191 034-324169-70 700,000,000 บาท 700,000,000 บาท 98.85% (ทางตรง & ทางอ้อม)

*บริษทั อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด เลิกกิจการเมือ่ วันที่ 3 สิงหาคม 2552 และอยูใ่ นระหว่างการชำ�ระบัญชี ซึางคาดว่าจะดำ�เนินการเสร็จสิน้ กลางปี 2553

3. บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (บริษัทย่อยทางตรง) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่

16

: บริษัทถือหุ้น และผลิต ของ Wool Yarn : 75/64,65 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 28 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 63 หมู่ 11ถนน บางงาท่าคลอง ตำ�บลเขาสมอคอน อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี 15180 : +663 6489116-7 : +663 6489115 : 774,468,000 บาท : 774,468,000 บาท : 97.93% (ทางตรง)

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


4. บริษัท อินโด-รามา เท็กซ์ไทล์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด (บริษัทย่อยทางอ้อม) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร โรงงาน โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญ) ชนิดของธุรกิจ สำ�นักงานใหญ่

ข้อมูลอื่นๆ

: ผลิตเสื้อขนสัตว์ : 75/64,65 อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 28 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย : 02-661-6661 : 02-661-6649, 02-661-6664 : 61 หมู่ 11ถนน บางงาท่าคลอง ตำ�บลเขาสมอคอน อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี 15180 : 036-489116-7 : 036-489115 : 51,000,000 บาท : 51,000,000 บาท : 95.10% (ทางอ้อม)

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถ.รัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +662 229 2000 โทรสาร +662 359 1009-11 www.set.or.th

สำ�นักทะเบียนหุ้น

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถ.รัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +662 596 9302-12 โทรสาร +662 359 1259 www.tsd.co.th

ผู้ตรวจสอบบัญชี

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ชั้น 50 - 51, อาคาร เอ็มไพร์ 195 ถ.สาทรใต้ ยานาวา สาทร กรุงเทพ 10120, ประเทศไทย โทรศัพท์ +662 677 2000 โทรสาร +662 677 2222

ที่ปรึกษากฏหมาย

Weerawong, Chinnavat & Peangpanor Ltd. ชั้น 22 อาคาร เมอคิวรี่ 540 ถ.เพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ +662 264 8000 โทรสาร +662 657 2222

ติดต่อบริษัท

ฝ่ายเลขานุการและกฎหมาย: 1) คุณ Souvik Roy Chowdhury 2) คุณ Thamonwan Woraphongjirakarn e-mail: souvikroy@indorama.net thamonwan@indorama.net นักลงทุนสัมพันธ์: 1) คุณ Richard Jones 2) คุณ Ashok Jain e-mail: richard@indorama.net ajain@indorama.net ที่อยู่บริษัท: 75/102,103 อาคารโอเชียน 2 ชั้น 37 ซ.สุขุมวิท 19 วัฒนา ถ.อโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ 02-661-6661 โทรสาร 02-661-6664

รายงานประจำ�ปี 2552

17


โครงสร้างองค์กร

คณะกรรมการบริหาร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่ม คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายตรวจสอบภายใน หัวหน้าฝ่ายบัญชี

กลุ่มธุรกิจ PTA

กลุ่มธุรกิจ PET

กลุ่มธุรกิจ เส้นด้ายเส้นใย โพลีเอสเตอร์ และ เส้นใยจากขนสัตว์

กรรมการผู้จัดการ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

กรรมการผู้จัดการ

เจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ

เจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ

เจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายปฏิบัติการ


คณะกรรมการบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2552

19


ชือ่ -นามสกุล นาย ศรี ปรากาซ โลเฮีย ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ (กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามตามหนังสือรับรอง) 57 อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา ปริญญาตรี ธุรกิจบัณฑิต Delhi University, ประเทศ อินเดีย ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส 2552 - ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Group Holdings Limited 2552 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2549 - ปัจจุบนั 2549 2549 2549 2548 -

ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั

2547 - ปัจจุบนั 2546 - ปัจจุบนั 2541 - ปัจจุบนั 2540 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั 2534 - ปัจจุบนั

20

กรรมการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ

Indorama Corporation Pte. Ltd. PT Surya Sakti Investment Indorama International Limited, Dubai ประธานกรรมการ Eleme Petrochemicals Co.,Ltd. กรรมการ Indorama Petro Limited กรรมการ Indorama Shebin Texties Co SAE กรรมการ Indorama Petrochemicals (Nigeria) Limited ประธานกรรมาธิการ PT Indo-Rama Synthetics Tbk กรรมการ บจ.อินโดรามา ปิโตรเคม กรรมการ Indorama Iplik Sanayi ve Ticaret AS กรรมการผู้จัดการ PT Indorama Industries กรรมการ Isin International Pte Limited กรรมการ Indorama Lanka Pvt Limited

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

นาย อาลก โลเฮีย รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษทั ฯ (กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามตามหนังสือรับรอง) 51 อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา Delhi University, ประเทศอินเดีย หลักสูตร Director Certification Program (DAP) รุน่ ที่ 65/2007, สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส รองประธานกรรมการ 2552 – ปัจจุบนั บจ.ทีพที ี ยูทลี ติ ส้ี ์ กรรมการ ปัจจุบนั บจ.อินโดรามา รีซอสเซส ประธานกรรมการ 2552 – ปัจจุบนั Aviante International Ltd. กรรมการ ปัจจุบนั บจ.อินโดรามา ปิโตรเคม กรรมการ 2552 – ปัจจุบนั บมจ. ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ ประธานกรรมการ 2551 – ปัจจุบนั บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ กรรมการ 2551 – ปัจจุบนั Indorama Ventures Limited, Jersey กรรมการ 2551 – ปัจจุบนั บจ. บีคอน เคมีคอลส์ ประธานกรรมการ 2551 – ปัจจุบนั Indorama Ventures S.A. Luxembourg กรรมการ 2551 – ปัจจุบนั บจ. ไครโอวิวา (ประเทศไทย) ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั UAB Indorama Holdings Europe ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั Indorama Polymers Rotterdam B.V. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั Indorama Holdings Rotterdam B.V. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั Indorama Polymers Workington Ltd. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั UAB Indorama Polymers Europe. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั Indorama Polymers (USA) Inc. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั AlphaPet, Inc. ประธานกรรมการ 2550 – ปัจจุบนั UAB Orion Global PET ประธานกรรมการ 2547 – ปัจจุบนั StarPet Inc. ประธานกรรมการ 2547 – ปัจจุบนั บจ.เอเชีย เพ็ท (ไทยแลนด์) กรรมการ 2547 – ปัจจุบนั Canopus International Limited กรรมการ 2547 – ปัจจุบนั Florrie Ltd. กรรมการ 2546 – ปัจจุบนั V.O.X. Investment Limited กรรมการ 2540 - ปัจจุบนั บจ.เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) กรรมการ 2539 - ปัจจุบนั บจ.อินโดรามา โพลิเมอร์ส รองประธานกรรมการ 2538 - ปัจจุบนั บจ. อินโด รามา เทกซ์ไทล์ส (ประเทศไทย). ประธานกรรมการ 2537 - ปัจจุบนั บจ. อินโดรามา โฮลดิง้ ส์ ประธานกรรมการ 2537 - ปัจจุบนั บจ. ฮาบิแทท เอสเตท ดีเวลลอปเม้นท์. ประธานกรรมการ 2534 - ปัจจุบนั Aurus Speciality Co., Ltd. ประธานกรรมการ 2530 - ปัจจุบนั Winforce Trading (HK) Ltd. ประธานกรรมการ 2529 - ปัจจุบนั Autumn Investment (HK) Ltd. ประธานกรรมการ 2528 - ปัจจุบนั

ชือ่ -นามสกุล ตำ�แหน่ง


ชือ่ -นามสกุล ตำ�แหน่ง

นาง สุจติ รา โลเฮีย

2552 – ปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั 2551 – ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2550 - ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2547 – ปัจจุบนั 2546 – ปัจจุบนั 1997 - present 1996 - present 1995 - present 1994 - present 1994 - present 1987 - present 1986 - present

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

Director (The director who are authorized to sign on behalf of th45e Company) 45 อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา ปริญญาตรี ธุรกิจบัณฑิต Delhi University,ประเทศอินเดีย ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส บจ. อินโดรามา รีซอสเซส บจ.ทีพีที ยูทีลิตี้ส์ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม บมจ.ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ Indorama Ventures Limited, Jersey บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ บจ.บีคอน เคมิคอลส์ UAB Indorama Holdings Europe Indorama Polymers Rotterdam B.V. Indorama Holdings Rotterdam B.V. Indorama Polymers Workington Limited UAB Indorama Polymers Europe. Indorama Polymers (USA) Inc. Alpha Pet Inc. UAB Orion Global PET StarPet Inc. บจ.เอเชีย เพ็ท (ไทยแลนด์) Canopus International Limited Aviante International Ltd. Florrie Ltd. V.O.X. Investment Limited บจ.เพ็ทฟอร์ม(ไทยแลนด์) บมจ.อินโดรามา โพลีเมอร์ส บจ.อินโดรามาเทกซ์ไทล์ส (ประเทศไทย) บจ.อินโดรามา โฮลดิ้งส์ Aurus Speciality Co., Ltd. Winforce Trading (HK) Ltd.

ชือ่ -นามสกุล ตำ�แหน่ง

นาย ซาชิ ปรากาซ ไคตาน กรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การ ธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์และขนสัตว์ (กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามตามหนังสือรับรอง) อายุ (ปี) 61 คุณวุฒทิ างการศึกษา วิทยาศาสตร์ บัณฑิต St. Xavier College, Kolkata, ประเทศอินเดีย

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Ventures Limited, Jersey ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Ventures S.A.,Luxembourg 2551 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ กรรมการ บจ. อินโดรามา เทกซ์ไทล์ (ประเทศไทย) 2547 – ปัจจุบนั

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ ส จำ�กัด�ปี(มหาชน) รายงานประจำ 2552

2121


ชือ่ -นามสกุล นายอมิต โลเฮีย ตำ�แหน่ง กรรมการ Bachelor of Economics and Finance Wharton School of Business, USA อายุ (ปี) 35 คุณวุฒทิ างการศึกษา ปริญญาตรี ธุรกิจบัณฑิต Delhi University, ประเทศ อินเดีย ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ 2552 – ปัจจุบนั กรรมการผู้จัดการ PT Indo-Rama Synthetics TBK 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Corporation Pte. Ltd. 2551 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Petrochemicals (Nigeria) Limited 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Group Holdings Ltd. 2549 – ปัจจุบนั รองประธานกรรมการ Indorama Shebin Textiles Co SAE 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ Eleme Petrochemicals Company Limited 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Petro Limited 2549 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Investments Limited 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama International Limited, Dubai 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ Isin International Pte Limited 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Lanka Pvt Ltd 2546 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama Energy Pte Ltd., Singapore 2542– ปัจจุบนั กรรมการ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม 2541 – ปัจจุบนั กรรมการ Indorama International Finance PLC. กรรมการ Indorama Iplik Sanayi ve Ticaret AS

22 22

บริ บริษษัทัท อิอินนโดรามา โดรามา เวนเจอร์ เวนเจอร์สส จำจำ��กักัดด (มหาชน) (มหาชน)

ชือ่ -นามสกุล ตำ�แหน่ง

อายุ (ปี) คุณวุฒทิ างการศึกษา

นายระเฑียร ศรีมงคล กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ 50 ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปริญญาตรี แพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศิรริ าช) ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตรชัน้ สูง ‘การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง’ รุ่น 9 สถาบันพระปกเกล้า ปริญญาบัตร หลักสูตร ‘การป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ ร่วมเอกชน (ปรอ. รุน่ 21 ) วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ หลั ก สู ต ร Director Certification Program (DCP) รุน่ 8/2001 and Role of the Chairman Program(RCP) รุน่ 19/2008, สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย(IOD)

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส 2551 – ปัจจุบนั รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ธนาคารนครหลวงไทย 2551 – ปัจจุบนั กรรมการ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง 2551 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ทีโอที 2547 - ปัจจุบนั อนุกรรมการพิจารณา สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย ประเมินผลการ รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ดำ�เนินงานรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหาร จัดการองค์กร ชุดที่ 3 การควบคุม และตรวจสอบภายใน 2544 – ปัจจุบนั อนุกรรมการจัดทำ�บันทึก สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย ข้อตกลงและ รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ประเมินผลการทำ�งาน (ฝ่ายพลังงาน) 2550 - 2552 ที่ปรึกษา บล.นครหลวงไทย 2547 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.ธนาคารนครหลวงไทย อาวุโส 2547 - 2551 ประธานกรรมการ องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2551 - 2551 ประธานกรรมการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2546 - 2550 ประธานกรรมการและ บล.นครหลวงไทย ประธานกรรมการบริหาร 2542 - 2549 ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ.มติชน และกรรมการ 2547 - 2548 กรรมการ บจ.ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด 2548 - 2548 กรรมการอิสระ บมจ.ทีโอที 2544 –2547 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.ธนาคารนครหลวงไทย

Indorama Ventrues PCL

22


Name/Surname: Position: Age: Education:

นายวิลเลีย่ ม เอ็ลล์วดู๊ ไฮเน็ค กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ Director of Audit Committee 60 ปริญญาดุษฏีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยโยนก ลำ�ปาง โรงเรียนนานาชาติ กรุงเทพมหานคร หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 64/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ปัจจุบนั ประธานกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั กรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ ปัจจุบนั ประธานกรรมการ

บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส บมจ. ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล บมจ. ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น บมจ. เดอะ ไมเนอร์ฟู้ด กรุ้ป บมจ. โรงแรมราชดำ�ริ บมจ. เอส แอนด์ พี ซินดิเคท บจ. เอเวอร์เรสต์ เวิร์ดไวด์ บมจ. เสริมสุข บจ. ไมเนอร์ โฮเทลกรุ๊ป บจ. รอยัล การ์เด้น พลาซ่า บจ. รอยัล การ์เด้น เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ บจ. เอ็มสปา อินเตอร์เนชั่นแนล บจ. เอ็มสปา เวนเจอร์ บจ. เอ็มสปา เอ็นเตอร์ไพร้ซ์ แมแนจเมนท์ ( เซี่ยงไฮ้) บจ.หัวหิน รีซอร์ท บจ. หัวหิน วิลเลจ บจ. รอยัล การ์เด้น ดีเวลลอปเม้นท์ บจ. อาร์เอ็นเอส โฮลดิ้ง RGE (HK) Ltd. บจ.เจ้าพระยารีซอร์ท บจ.สมุย วิลเลจ บจ. สมุย รีซอร์ท แอนด์ สปา บจ. สมุย บีช เรสซิเด้นซ์ บจ.บ้านโบราณ เชียงราย บจ. แม่ริม เทอเรซ รีซอร์ท บจ. ราชดำ�ริ เรสซิเด้นซ์ บจ. เอ็มไอ สแควร์ บจ. โคโค้ ปาล์ม โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท บจ. ภูเก็ต บีช เรสซิเด้นท์ บจ. ไมเนอร์ อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี บจ. โกโก้ รีครีเอชั่น บจ. โกโก้ เรสซิเด้นซ์ บจ. สเวนเซ่นส์ (ไทย) บจ. ไมเนอร์ ชีส บจ. ไมเนอร์แดรี่ บจ. ไมเนอร์ ดีคิว บจ. อาร์จีอาร์ ฟู้ด เซอร์วิส บจ. เคเทอริ่ง แอสโซซิเอตส์ บจ. เบอร์เกอร์ (ประเทศไทย) บจ. เดอะ พิซซ่า เรสตัวรองท์ส บจ. เอส แอล อาร์ ที

Name/Surname: Position: Age: Education:

นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 61 เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย M.A. (Economics), California State University, Northridge, U.S.A. ประกาศนียบัตร นักบริหารระดับสูง รุน่ ที่ 12 หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 39 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร DAP 20/2004, FND 13/2004, ACP 14/2006 DCP 71/2006, RCP 20/2008, R-CIS 1/2008, R-Forum 1/2009 , สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD)

ประสบการณ์ท�ำ งานในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลังและปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั ปัจจุบนั 2550 - 2551 2550 - 2551 2549 – 2551 2548 - 2552 2548 – 2551 2547 – 2551 2547 – 2551 2547 – 2551 2547 – 2551 2547 – 2549 2547 – 2551

กรรมการ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา คณะกรรมการนโยบายการเงิน คณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการที่ปรึกษาด้าน เศรษฐกิจ ประธานกรรมการกำ�หนด ตำ�แหน่งระดับสูง ประธาน กรรมการ สมาชิกสภานิตบิ ญั ญัตแิ ห่งชาติ กรรมการ ประธานกรรมการ

บมจ. อินโดรามาเวนเจอร์ส บมจ.ปตท ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานกฤษฎีกา สภามหาวิทยาลัยบูรพา สำ�นักนายกรัฐมนตรี

กระทรวงสาธารณสุข , กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และสำ�นักข่าวกรองแห่งชาติ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สำ�นักงานข้าราชการพลเรือน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ บมจ.ไทยออยส์ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ประธานกรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประธานกรรมการ สถาบันยานยนต์ ประธานกรรมการ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประธานกรรมการ บจ. อวีว่า (ประเทศไทย) กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

BEIJING LEJAZZ FOOD & BEVERAGE CO.,LTD

THAI EXPRESS CONCEPTS PTE. L บจ. เจ้าพระยา รีซอร์ท แอนด์ เรสซิเด้นท์ บจ. ไม้ฝาด บีช รีซอร์ท The Coffee Club (Thailand) Ltd

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ ส จำ�กัด �(มหาชน) รายงานประจำ ปี 2552

2323


ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552* ลำ�ดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ชื่อ บจ.อินโดรามา รีซอสเซส บมจ.ธนาคารกรุงเทพ DEG-Deutsche Investitions-Und Entwicklungsgesellschaft MBH. บมจ.กรุงเทพประกันภัยBangkok Insurance PCL. Nederlandse Financierings-Maatschappij Voor Ontwikkelingslanden N.V. นายอาลก โลเฮีย นายอนุช โลเฮีย

จำ�นวนหุ้น 3,112,562,720 167,509,150 29,536,240 25,300,000 16,635,780 10 10

% การถือครอง 92.8 4.99 0.88 0.75 0.49 0.00 0.00

จำ�นวนหุ้น 3,073,262,520 206,082,850 128,029,200 68,743,247 47,183,210 43,157,500 38,536,739 33,919,500 29,536,240 23,769,546 22,918,000

% การถือครอง 70.91 4.75 2.95 1.59 1.09 1.00 0.89 0.78 0.68 0.55 0.53

หมายเหตุ: ก่อนที่บริษํท IVL จะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ณ วันที่ 2 มีนาคม 2553 ลำ�ดับ ชื่อ 1. บจ.อินโดรามา รีซอสเซส 2. บมจ.ธนาคารกรุงเทพ 3. Indorama Synthetics (India) Ltd. 4. CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-THAI FOCUSED EQUITY FUND LTD. 5. บริษัทไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�หัด 6. Mr.KAMLESH CHANDUMAL DASWANI 7. Morgan Stanley & Co. Internaional Pcl. 8. The Bank of New York (Nominees) Ltd. 9. DEG-Deutsche Investitions-Und Entwicklungsgesellschaft MBH. 10. Goldman Sachs & Co 11. กองทุนกสิกร K Equity 70:30 LTF แหล่งข้อมูล: บจ. ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

นโดรามาเวนเจอร์ เวนเจอร์ส สจำ�จำกั�ดกัด(มหาชน) (มหาชน) 2424 บริบริษัทษัทอินอิโดรามา


นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่ายปันผลทั้งหมดไม่น้อยกว่า 30% ของกำ�ไรสุทธิ หลังหักภาษีและทุนสำ�รองต่างๆทั้งหมดของบริษัท อย่างไรก็ดี คณะกรรมการบริษัทฯ อาจปรับเปลี่ยนนโยบายการจ่ายปันผลได้ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถจัดสรรเงินทุนเพื่อการชำ�ระหนี้ การลงทุนเพื่อขยายฐานการผลิต และ เพื่อตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงในสภาวะตลาดที่จำ�เป็น เพื่อการบริหารกระแสเงินสดที่ดีในอนาคต นโยบายของบริษัทอินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทหลักนั้น คือการจ่ายปันผลไม่น้อยกว่า 30% ของกำ�ไรสุทธิ หลังหักภาษีและทุนสำ�รอง ต่างๆ อย่างไรก็ดี คณะกรรมการบริหารของบริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) อาจเปลี่ยนแปลงนโยบายดังกล่าวได้ตลอดเวลา เพื่อผลประโยชน์ สูงสุดของผู้ถือหุ้น อาทิ เช่น การสำ�รองเงินทุนไว้เพื่อการชำ�ระหนี้ การลงทุนเพื่อขยายฐานการผลิต และ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในสภาวะตลาดที่ จำ�เป็น เพื่อการบริหารกระแสเงินสดที่ดีในอนาคต ในปี 2552 บริษัทย่อยอื่นๆ นอกจาก บริษัทอินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ไม่มีการกำ�หนดนโยบายการจ่ายปันผล ทั้งนี้ การจ่ายปันผลจากบริษัท ย่อยทั้งหลายนั้นจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ในการประชุมสามัญประจำ�ปี โดยบริษัทย่อยแต่บริษัทจะ ทำ�การทบทวนและวางแผนการจ่ายปันผลในอนาคตของแต่ละบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2552

25


ธุรกิจหลักของบริษัท PET – แนวความคิดที่กว้างไกล ธุรกิจหลักของ IVL คือการผลิตเม็ดพลาสติก PET เรซิ่น ที่ผ่านบริษัทในเครือคือ บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ (จำ�กัด) มหาชน “IRP” IRP เป็นเจ้าของและดำ�เนิน ธุรกิจโดยมีโรงงานที่ตั้งอยู่ในทวีปเชีย,ยุโรปและอเมริกาเหนือซึ่งเป็นโรงงานผลิต เม็ดพลาสติก PET เรซิ่น ในปัจจุบันโรงงานทั้ง 3ทวีป มีศักยภาพที่สามารถผลิตและ บริการเพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าทั่วโลก การที่มีโรงงานตั้งอยู่ใน 3ทวีป ที่สำ�คัญทำ�ให้เราบริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งส่งผลให้การ ขนส่งสินค้าถูกลงและรวดเร็วขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มพูนศักยภาพในการ ขนส่งทั่วโลก ทุกโรงงานได้ใช้วิธีการในการขนส่งที่ดีที่สุดและถูกที่สุดแก่ลูกค้า โดยใช้วิธีการขนส่งหลากหลายวิธีทั้ง ทางบก ทางเรือ ทางรถไฟ และทางทะเล ทรัพย์สินของบริษัทเป็นทรัพย์สินเชิงคุณภาพไม่ว่าจะเป็นขนาดของทรัพย์สินการ ประหยัดต่อขนาด และตำ�หน่งของบริษัทในตลาดโลก

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ยุโรป รวมทั้งหมด

2550 180,000 225,000 198,000 603,000

2551 180,000 225,000 553,000 958,000

Mr. Dilip Kumar Agarwal CEO, PET resins Business

2552 180,000 657,000* 553,000 1,390,000

*รวมถึงกำ�ลังในการผลิตของโรงงาน AlphaPet Inc. สหรัฐอเมริกา 432,000 ตันต่อปี IRP ได้สร้างความประทับใจให้กับลูกค้ารวมถึงการพัฒนาศักยภาพขั้นตอนในการผลิต IRP มีสินค้าให้เลือกมากมายสำ�หรับหลากหลายความต้องการของกลุ่ม ลูกค้าทั้ง ทวีปเอเชีย ,ยุโรปและอเมริกาเหนือ บริษัท IRP และบริษัทในเครือมีทีมงานการตลาดที่มีประสิทธิภาพทั้งในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และยุโรป นอกเหนือจากนั้น เรามีเครือข่ายตัวแทนในด้านการส่งออกเนื่องจากเรามีวิธีการจำ�หน่ายและกระจายสินค้าที่หลากหลายวิธีทำ�ให้ค่าใช้จ่ายในด้านสินค้าลดลง และลดอุปสรรค ทางการค้าน้อยลงทำ�ให้มีความมั่นคงในระบบซึ่งเป็นจุดเด่นที่สำ�คัญของ IRP บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

สถานที่ตั้ง ประเทศไทย, เอเชีย สหรัฐอเมริกา,

การตลาด ตลาดภายในประเทศ ภูมิภาคเอเซียแปซิฟิค ตะวันออกกลางและแอฟริกา

สตาร์เพ็ท และ AlphaPet

อเมริกาเหนือ

สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, เม็กซิโก และอเมริกาใต้

UAB Orion Global Pet Indorama Polymers Rotterdam Indorama Polymers Workington

ลิธัวเนีย, ยุโรป

ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปและประเทศนอกกลุ่มสหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร รัสเซีย และกลุ่มประเทศคือรัฐเอกราช (CIS)

26

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ธุรกิจของบริษัท


ธุรกิจของบริษัท ลักษณะภาพรวมธุรกิจของอินโดรามา เวนเจอร์ส

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) (IVL) เป็นหนึ่งในผู้ผลิตแนวหน้าระดับโลกในด้านการผลิตที่ครบวงจร ในอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์

fib er/ fila me

nts

รูปที่ 1: ห่วงโซ่มูลค่าของโพลีเอสเตอร์

Crude oil

Naphtha

Paraxylene

PET Melt

tt bo n

esi

r de gra le-

ส่วนของห่วงโซ่มูลค่า โดยอินโดรามา เวนเจอร์ส วัตถุดิบต้นน้ำ�

PTA

99%ของผลิตภัณฑ์ของบริษัท เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่มูลค่าของสายการผลิตโพลีเอสเตอร์ จากรูปลูกศรสีแดง แสดงถึงผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์โพลิเมอร์ของ บริษัท ซึ่งแบ่งออกเป็นสองประเภท ได้แก่ PET เรซิ่น และ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ (fibers and yarns) นอกจากนี้ ยังมี ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ แบบพิเศษ เช่น ชิปเพื่อผลิตฟิล์ม บริษัทฯ ได้เริ่มทำ�การผลิต PTA ในเดือนมีนาคม 2551 เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบที่สำ�คัญสำ�หรับการผลิตโพลีเอสเตอร์โพลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์สว่ นใหญ่ของบริษทั นัน้ เป็นผลผลิตจากอุตสาหกรรมน้�ำ มันซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีและยังเป็นวัตถุดบิ ทีส่ �ำ คัญของอุตสาหกรรมในการผลิตสินค้าอุปโภค บริโภค ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว อุตสาหกรรมการผลิตของบริษัทเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่อยู่ระหว่างกลางทำ�ให้บริษัทไม่ต้องเผชิญกับความผันผวน เท่ากับผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี อีกทัง้ บริษทั ยังได้ประโยชน์จากความสม่�ำ เสมอของสัญญาคำ�สัง่ ซือ้ ระยะยาวจากลูกค้าในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าเพื่อ อุปโภคและบริโภคอีกด้วย ราคาสินค้าของบริษัทจะมีการปรับราคาทุกเดือนเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงราคาต้นทุนวัตถุดิบที่มีการเปลี่ยนแปลง สืบเนื่องจากราคา ต้นทุนน้ำ�มันมีผลเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับราคาต้นทุนบรรจุภัณฑ์ ทางบริษัทจึงสามารถผลักภาระต้นทุนที่ผันผวนไปยังลูกค้าของบริษัทได้ ซึ่งไม่ส่งผลกระทบ ต่อลูกค้ามากนัก เนื่องจากลูกค้าให้ความสำ�คัญกับปริมาณยอดขายเป็นหลัก รูปที่ 2: ห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์จะถูกขับเคลื่อนด้วยอุตสาหกรรมอุปโภคบริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

28

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ลักษณะของแต่ละประเภทธุรกิจ ทำ�ไมโพลีเอสเตอร์จึงสำ�คัญ? IVL มุง่ เน้นการทำ�ตลาดโพลีเอสเตอร์ในระดับโลก ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์เป็นผลิตภัณฑ์ขน้ั กลางระหว่างอุตสาหกรรมปิโตรเคมีซง่ึ เป็นวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิตโพลีเอสเตอร์ กับตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Fast Moving Consumer Goods, FMCG) ซึ่งเป็นผู้ใช้หลักของผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์จึงไม่มีความผันผวนมากเท่ากับผลิตภัณฑ์โอเลฟิน (Olefin) และ อโรมาติกส์ (Aromatic) จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ความต้องการโพลีเอสเตอร์ และ ราคา มีความแข็งแกร่ง มากกว่าผลิตภัณฑ์โอเลฟิน และ อโรมาติกส์ เนื่องจากโพลีเอสเตอร์ นี้เป็นตัวเลือกอันดับแรกของ การผลิตสินค้าบรรจุภัณฑ์และเส้นใยชนิดต่างๆ โดยมีผลของการทดแทน (substitution effect)ที่แข็งแกร่ง ท่ามกลางตัวเลือกอื่นๆในการผลิตบรรจุภัณฑ์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ มีลักษณะที่ได้เปรียบเช่น ความหลากหลายในการใช้งาน ความสะดวก ราคาที่ไม่แพง เมื่อเทียบกับประสิทธิภาพในการใช้งาน รวมถึง ความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่มักจะเลือกใช้โพลีเอสเตอร์เป็นส่วนประกอบ ปัจจุบันทางบริษัทดำ�เนินการผลิตในห้าประเทศ และมีโรงงานทั้งหมด 13 แห่ง ใน ทวีป เอเชีย ทวีปอเมริกาเหนือ และ ทวีปยุโรป รูปที่ 3: ฐานกำ�ลังการผลิตที่สำ�คัญทั่วโลกของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

กำ�ลังการผลิตของบริษัทเพิ่มขึ้นอย่างมาก ตั้งแต่ปี 2546 โดยการควบรวมบริษัทลูก ความสามารถในการผลิตในสามทวีปทั่วโลก ทำ�ให้บริษัท IVL เป็นบริษัท เดียวที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังทำ�ให้บริษัทสามารถแข่งขันด้านต้นทุนกับผู้ผลิตท้องถิ่น การหลีกเลี่ยงค่าขนส่ง ที่สูง และเงื่อนไขการจำ�กัดการนำ�เข้าจากรัฐบาลในประเทศต่างๆ โดยบริษัทยังสามารถย้ายฐานไปสู่ตลาดที่มีประสิทธิภาพมากกว่าได้หากมีความจำ�เป็น จุดแข็งของบริษัท กล่าวโดยสรุป ความแข็งแกร่งของ IVL นั้นมาจากความมุ่งเน้นในอุตสาหกรรมของตัวเองและภาวะผู้นำ�ในด้านการตลาด ยอดขายที่มาจากทั่วโลก และ ฐาน กำ�ลังการผลิตในทวีปต่างๆ นอกจากนี้ การผลิตที่ครบวงจรของรูปแบบธุรกิจและความสามารถในการควบคุมต้นทุน รวมไปถึง ผู้บริหารที่มีประสบการณ์อัน ยาวนานในการบริหารธุกิจในอุตสาหกรรมนี้ อุปสงค์และอุปทาน สำ�หรับ โพลีเอสเตอร์ การเติบโตของอุปสงค์ (demand) มีมากกว่า ปริมาณอุปทาน (supply) สำ�หรับ PET โพลีเอสเตอร์ และ PTA วัตถุดิบ วัตถุดิบที่สำ�คัญของ PET และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ คือ PTA (Purified Terephthalic Acid) และ MEG (Monoethylene Glycol) กับ พาราไซลีน หรือ PX ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำ�คัญของ PTA (รูปที่ 1 ด้านบน) การเพิ่มกำ�ลังการผลิตสำ�หรับ PX และ MEG จะทำ�ให้บริษัทมีวัตถุดิบที่เพียงพอต่อการผลิต PET และเส้นใย โพลีเอสเตอร์ ทำ�ให้สามารถเจรจาต่อรองราคาวัตถุดิบให้บริษัทได้ถูกลงเนื่องจากกำ�ลังการผลิตที่มากขึ้น และจากการที่บริษัทเป็นลูกค้ารายใหญ่ ตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา อุตสาหกรรม PX ของโลก ได้เพิ่มกำ�ลังการผลิตส่วนเกินเป็นจำ�นวน 1.1 ล้านตัน โดยจะเพิ่มกำ�ลังการผลิตอีกจำ�นวน 8.7 ล้านตัน ภายในปี 2555 เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรม MEG ได้มีการเพิ่มกำ�ลังการผลิตส่วนเกินเป็นจำ�นวน 1.4 ล้านตัน ในปี 2551 และจะยังคงเพิ่มกำ�ลังการผลิตอีก 8.7 ล้านตัน ภายใน ปี 2555

รายงานประจำ�ปี 2552

29


การปรับปรุงโครงสร้างของอุตสาหกรรม โพลีเอสเตอร์ ในช่วงสองปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์ได้มีการคาดการณ์ ในการปรับลดกำ�ลังการผลิตลงในปี 2008 จำ�นวน 0.4 ล้านตัน และ ในปี 2009 จำ�นวน 0.2 ล้านตัน โดยปี 2008 ในอเมริกาและแคนาดา มีการปรับลดกำ�ลังการผลิตจริง เป็นจำ�นวน 0.6 ล้านตัน และปี 2009 มีการปรับลดกำ�ลังการผลิตจริงจำ�นวน 4 ล้านตัน ส่วนในเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีนนั้น นับเป็น 9 % ของกำ�ลังการผลิตในภูมิภาค ปรากฎการณ์นี้เกิดขึ้นในหมู่ผู้ผลิตที่มีต้นทุนการผลิตสูงและมิได้มุ่งเน้นในอุตสาหกรรมอย่างจริงจัง ซึ่งในตอนนี้การเพิ่มกำ�ลังการผลิตก็ยังไม่สามารถ ผลิตตาม การปิดตัวลงของโรงงานต่างๆได้อย่างเพียงพอ จึงยังคงเป็นโอกาสที่ดีสำ�หรับบริษัทที่แข็งแกร่ง สามารถที่จะเพิ่มกำ�ลังการผลิตให้มากขึ้น

PET

กลุ่มธุรกิจ PET (Polyethylene Terephthalate) นั้นประกอบไปด้วยการผลิตและการจัดจำ�หน่าย PET ซึ่งเป็นพลาสติกโพลิเมอร์ เรซิน ที่ใช้ในการ ผลิตบรรจุภัฑณ์ในอุตสาหกรรมประเภทเครื่องดื่ม อาหาร ยา และเครื่องใช้ในครัวเรือนชนิดต่างๆ รวมไปถึงอุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ PET เรซิ่นนั้นผลิตมาจาก โพลีเอสเตอร์โพลิเมอร์ซึ่งเป็นส่วนผสมระหว่าง PTA (Purified Terephthalic Acid) และ MEG (Monoethylene Glycol) โดย PET เป็นส่วนประกอบที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการผลิตบรรจุภัณฑ์ ทั่วโลก โดยตั้งแต่ปี 2000 ถึง 2009 ปริมาณการผลิต PET เรซิ่น เติบโตที่ CAGR 8.25 % โดยในปี 2000 มีกำ�ลังการผลิตที่ 7.5ล้านตัน เพิ่มขึ้นเป็น 15.3ล้านตัน ในปี 2009 การเติบโตนี้เป็นผลมาจากการใช้จ่ายในภาคเอกชน ที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของจำ�นวนประชากร และ การนำ� PET เรซิ่นมาใช้ทดแทนในการผลิตบรรจุภัณฑ์แบบดั้งเดิมรวมถึงการผลิตประเภทอื่นๆด้วย ลักษณะผลิตภัณฑ์ PET จะมีลักษณะแข็งหรืออ่อน ขึ้นอยู่กับความหนา โดยยังคงมีน้ำ�หนักที่เบามาก การนำ�ขวด PET กลับมาใช้ใหม่นั้นเป็นที่แพร่หลายกว่าการใช้พลาสติก ในลักษณะอื่น ขวดน้ำ�อัดลมส่วนใหญ่นั้นทำ�มาจาก PET ล้วนๆ ซึ่งเป็นการง่ายต่อการนำ�กลับมาใช้ใหม่ โดย PET มี resin identification code เบอร์ 1 กำ�ลังการผลิตปัจจุบัน ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กำ�ลังการผลิตทั้งหมดของบริษัทอยู่ที่ 1,282,000 ตันต่อปี (ไม่ร่วม 216,000ตันที่รัฐAlabamaที่ยังไม่พร้อมใช้) บริษัทมีโรงงาน PET จำ�นวน สองแห่งในประเทศไทย และ 3 แห่งในยุโรป (เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ และ ลิทัวเนีย) รวมไปถึง โรงงานอีก สองแห่งในสหรัฐอเมริกา (นอร์ทแคโรไลนา และ อะลาบามา) สถานะการเงินของกลุ่มธุรกิจ PET รายได้จากกลุ่มธุรกิจ PET คิดเป็นจำ�นวน 44,456 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 55 ของรายได้ทั้งหมดจากการขายในปี 2552 กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่า เสื่อมต่างๆ (operating EBITDA) เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 98 เมื่อเทียบกับปี 2551 ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของ กำ�ไรขั้นต้น จากการเพิ่มขึ้นของยอดขาย เข้าร่วม PTA ในธุรกิจและต้นทุนต่อหน่วยที่ลดลง สืบเนื่องจากราคาพลังงานที่ปรับตัวลดลง ความสำ�คัญของส่วนต่าง (Spread ) ต่อผู้ผลิต ส่วนต่างของราคาเกิดจาก ราคาขายเทียบกับราคาต้นทุนของวัตถุดิบหลัก คือ PTA และ MEG นั้น มีผลต่อกำ�ไรของผู้ผลิต PET เรซิ่น โดยทางบริษัทสามารถตั้ง ราคาขายได้สูงกว่าราคาตลาดเล็กน้อย อันเนื่องจากกลยุทธ์ทางธุรกิจและความแข็งแกร่งภายในบริษัท ซึ่งจะนำ�มาอธิบายในรายละเอียดต่อไป ความต้องการ PET สำ�หรับการผลิตบรรจุภัณฑ์ ความต้องการ PET นั้น เกิดขึ้นจากการเติบโตของความต้องการในสินค้าอุปโภคบริโภค ซึ่งใช้ PET เป็นวัตถุดิบสำ�คัญในการผลิตสินค้าบรรจุภัณฑ์ เช่น การ ผลิตขวดน้ำ� อัตราการเติบโตนี้ได้รับอิทธิพลจากการเติบโตของประชากร การเพิ่มขึ้นของรายได้และแนวโน้มการบริโภค วัสดุ PET ที่ได้นำ�มาใช้ทดแทนวัสดุอื่น เช่น อลูมิเนียม แก้ว tetra pack และ โพลิเมอร์ชนิดอื่นๆ ที่ทำ�จาก PET เรซิ่น เนื่องจากความสามารถในการกักเก็บ คาร์บอน ความสดใหม่ และไม่ทำ�ปฏิกิริยา เคมี อีกทั้งยังสามารถนำ�กลับมาใช้ได้ใหม่ ในราคาที่ไม่แพงอีกด้วย ความต้องการ PET นั้น ยังเกิดจาก การพัฒนาประสิทธิภาพของ บรรจุภัณฑ์ PET เรซิ่น ซึ่ง ป้องกันออกซิเจนรั่วและช่วยยืดอายุผลิตภัณฑ์ เช่น สินค้าบรรจุภัณฑ์ประเภทเบียร์ และ น้ำ�ผลไม้ ที่มักประสบปัญหาเหล่านี้

30

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รูปที่ 4: ปริมาณความต้องการ PET เรซิ่น แยกตามภูมิภาค

2009

2013F

R eal (1) G lob al G DP

= +3 .4% C AG R ’09 E -’1 3F European Union European Union

Central Europe

Central Europe

North America

15.3Mt Middle East & Africa

North America Middle East & Africa

20.5Mt

South America

South America

P E T R es in Dem and (2)

C AG R ’09 E -’13 F = +7. 6%

Asia

Asia 1. 2.

Real GDP, US$-based, Constant 1998 Prices. Source SBA-CCI (February 2010)

: IMF

ความต้องการ PET แบ่งตามภูมิศาสตร์ ความต้องการ PET เรซิ่น นั้นยังคงมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกๆภูมิภาค จากปี 2552 ถึง ปี 2555 เป็นต้นไป ถึงแม้ว่าอาจจะอัตราเพิ่มที่ลดลง ซึ่ง ปรากฎการณ์นี้ เกิดจากการอิ่มตัวของตลาดในอเมริกาเหนือและยุโรป การใช้ PET เรซิ่น ในอุตสาหกรรมการผลิตขวด ที่ลดลง รวมทั้ง การนำ�กลับมาใช้ใหม่ (Post-cosumer recycling ,PCR) มีอัตราลดลงตามไปด้วย อุปทานที่สะท้อนจากอุปสงค์ บริษทั คาดว่าการเพิม่ กำ�ลังการผลิตโดยส่วนใหญ่จะมาจากทวีปเอเชีย เนือ่ งจากความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะประเทศจีน โดยกำ�ลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึ้นสามารถ ตอบสนองความต้องการภายในประเทศ ในทางกลับกัน บริษัทคาดการณ์ว่ากำ�ลังการผลิตจะไม่มีการเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงในประเทศแถบทวีปอเมริกาเหนือ และสหภาพยุโรป การใช้วัสดุทดแทน ปัจจุบัน ยังไม่มีวัสดุประเภทใดที่น่าจะนำ�มาใช้ทดแทน PET เรซิ่น ในการผลิตสินค้าบรรจุภัณฑ์ได้ อาจมีการใช้โพลิเมอร์ชนิดอื่นแทน PET เรซิ่นในบางกรณี แต่ราคามักจะสูงกว่า และมีขั้นตอนการผลิตที่ซับซ้อนยุ่งยากมากกว่า รวมถึงอาจจะไม่ปลอดภัยต่อการบรรจุอาหาร

เส้นด้ายและเส้นใย โพลีเอสเตอร์

กลุม่ ธุรกิจเส้นด้ายและเส้นใยเป็นสายธุรกิจอีกสายหนึง่ ของบริษทั ประกอบด้วยการผลิต เส้นใยโพลิเมอร์ชนิดต่างๆ เส้นด้าย และ ด้ายขนสัตว์ worsted wool ลักษณะผลิตภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์ เป็นหนึ่งในเส้นใยสังเคราะห์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในโลก ซึ่งเป็นวัสดุที่สามารถใช้งานได้หลากหลาย ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ หลายประเภท ผ้าที่ ทอจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์นั้นถูกนำ�มาผลิตเครื่องนุ่งห่ม และของตกแต่งบ้าน เช่น เสื้อเชิ้ต กางเกง จนไปถึง เสื้อนอก หมวก ผ้าปูที่นอน ผ้าห่ม ผ้าคลุม เครื่อง เรือน และในอุตสาหกรรมอื่นๆ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ถูกนำ�มาใช้กับ การเพิ่มความหนืดให้กับยางรถ ผ้าทอสำ�หรับสายพานลำ�เลียง เข็มขัดนิรภัย ผ้าเคลือบ และ การเพิ่มความหนืดให้กับพลาสติกที่ต้องรับแรงกระแทกสูง เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ยังถูกนำ�มาใช้เป็นวัสดุในเบาะ หมอน ผ้าห่ม และแผ่นรองต่างๆอีกด้วย เส้นใยโพลีเอสเตอร์ นั้น อาจถูกจัดอยู่ในหมวดสินค้า commodity หรือ non-commodity ขึ้นอยู่กับการใช้งานในขั้นสุดท้าย Com-modity โพลีเอสเตอร์ จะถูกขายเป็นปริมาณมาก โดยคุณภาพที่ไม่แตกต่างกันระหว่างผู้ผลิต ซึ่งจะได้กำ�ไรน้อยกว่า Non-Commodity โพลีเอสเตอร์ ซึ่งจะถูกผลิตในปริมาณที่น้อย กว่า และเป็นการผลิตเฉพาะ ซึ่งจะทำ�ให้ราคาขายต่อหน่วย มีมูลค่าสูงกว่า และ ลูกค้าจะมีความไวต่อราคาที่ต่ำ� การผลิต Commodity โพลีเอสเตอร์ นั้น จะเป็นตลาดผูกขาดโดยผู้ผลิตรายใหญ่ที่ได้เปรียบในเรื่องของต้นทุน (economies of scale) โดยที่ การผลิต Non-Commodity โพลีเอสเตอร์ นั้น ผู้ผลิต สามารถ ผลิตตามคำ�สั่งเฉพาะของลูกค้า และ มีความยืดหยุ่นกว่าในด้านของต้นทุนและการบริหาร กำ�ลังการผลิตปัจจุบัน IVL มีโรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ สองแห่งในประเทศไทย โดยมีกำ�ลังการผลิตอยู่ที่ 244,800 ต่อปี (ไม่ร่วม108,000ตันที่จังหวัดระยองแปลงเป็น PET) และ โรงงานผลิตเส้นใยขนสัตว์สังเคราะห์ ในประเทศไทย อีกหนึ่งแห่ง โดยมีกำ�ลังการผลิตอยู่ที่ 5,900 ตันต่อปี

รายงานประจำ�ปี 2552

31


การเฟ้นหาข้อได้เปรียบในอุตสาหกรรม ข้อได้เปรียบในอุตสาหกรรม Commodity โพลีเอสเตอร์ นั้นขึ้นอยู่กับ ส่วนแบ่งการตลาด ต้นทุนต่อหน่วย และราคาวัตถุดิบและค่าขนส่งที่ต่ำ� ส่วนข้อได้ เปรียบในอุตสาหกรรม Non-Commodity โพลีเอสเตอร์ นั้นขึ้นอยู่กับ การสร้างความแตกต่าง การบริการเฉพาะด้าน ความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม และ การบริหารงานที่ดี เนื่องจากลูกค้าตระกนักถึงความน่าเชื่อถือของบริษัท ราคา และ ความยืดหยุ่น กรรมวิธีการผลิต เส้นใยโพลีเอสเตอร์นั้น ผลิตมาจากส่วนผสมระหว่าง PTA และ MEG เพื่อที่จะผลิต โพลีเอสเตอร์ โพลิเมอร์ เป็นขั้นแรก โดยมีกระบวนการผลิต สองขั้นตอนใน การผลิตเส้นใย โดยขั้นตอนแรก คือ batch process การทำ�ให้กลายเป็นโพลิเมอร์ (polymerization) เพื่อที่จะได้ แผ่นโพลีเอสเตอร์ (polyester chip) ที่จะ นำ�มาเข้าสู่กระบวนการผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ต่อไป ขั้นตอนที่สองคือ con-tinuous process ซึ่งได้รับความนิยมมากกว่า โดย เส้นใยโพลิเอสเตอร์ จะถูกดัน ออกมาจากกระบวนการทำ�ให้กลายเป็นโพลิเมอร์ โดยตรง และนำ�ไปปั่นเป็นเส้นใยทันที ทำ�ให้มีต้นทุนที่ถูกกว่า มีของเสียน้อยกว่า และ มีต้นทุนค่าพลังงาน และแรงงานที่ต่ำ�กว่าแบบ batch process อย่างไรก็ดี การผลิต non-commodity โพลีเอสเตอร์จะนิยม batch process มากกว่า เนื่องจาก ผู้ผลิตจะมี ความยืดหยุ่นมากกว่าในการผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์แบบต่างๆโดยมีการสูญเสียน้อยที่สุด ความต้องการเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ปัจจุบันความต้องการผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูปต่างๆเช่น เครื่องนุ่งห่ม ผ้าคลุมเครื่องเรือน ของตกแต่งบ้าน พรม ที่มีเส้นใยโพลีเอสเตอร์เป็นส่วนประกอบ นั้นเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากร รายได้ต่อคน และแนวโน้มการบริโภค เส้นใยโพลีเอส เตอร์ถูกนำ�มาใช้ทดแทนเส้นใยแบบดั้งเดิม เช่น ฝ้าย ไนลอน และ อคริลิค เนื่องจากความหลากหลายในการใช้งาน และต้นทุนที่ถูกกว่า ปัจจัยความต้องการอีกอย่างก็คือ การพัฒนาการใช้งานโพลีเอสเตอร์ในอุตสาหกร รมอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับสิ่งทอ เช่น geotextile ที่มีการนำ�โพลีเอสเตอร์ไปใช้ในการก่อสร้าง เพื่อ แยก กรอง เพิ่มแรง ป้องกัน ในการก่อสร้างถนนประเภทต่างๆ รูปที่ 5 : ปริมาณความต้องการเส้นใยโพลีเอสเตอร์ แยกตามภูมิภาค 2009

2013F R eal (1) G lob al G DP

= +3 .4% C AG R ’09 E -’1 3F

North America

European Union

European Union

Central Europe

North America

Central Europe

31.9Mt

Middle East & Africa

Asia

Middle East & Africa

44.2Mt Asia

South America P oly es ter F ibe r G lob al De ma nd (2)

South America

C AG R ’09 E -’13 F = +8.5 %

1. 2.

Real GDP, US$-based, Constant 1998 Prices. Source SBA-CCI (February 2010)

: IMF

อุตสาหกรรมเส้นใยโพลีเอสเตอร์ อุตสาหกรรมเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ประกอบไปด้วยสายผลิตภัณฑ์หลักสองสาย ได้แก่ Polyester staple fibers ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นด้ายที่ตัดให้สั้น ซึ่งใช้ในการผลิต เครื่องนุ่มห่มหรือผ้าทอสำ�หรับตกแต่งบ้าน และมักจะนำ�ไปผสมกับฝ้าย หรือ เส้นใยธรรมชาติ หรือเส้นใย สังเคราะห์ชนิดอื่นๆ Fiberfill ซึ่งเป็น Polyester staple fibers อีกชนิดหนึ่งนั้น มักจะนำ�ไปยัดไส้หมอน ตุ๊กตา หรือเป็นแผ่นรองสำ�หรับเตียงและเครื่องเรือน สำ�หรับ Polyester filament yarns นั้น เป็นการ นำ�เส้นใยมาทอเป็นเส้นยาว ซึ่งจะนำ�ไปใช้ในการผลิตเครื่องนุ่งห่ม ผ้าทอ และใช้ในอุตสาหกรรม ในปี 2552 นั้น 60.7% ของปริมาณเส้นใยโพลีเอสเตอร์ในโลก ถูกนำ�ไปผลิต Polyester filament yarns ส่วน 39.3 % ที่เหลือนั้นถูกนำ�มาผลิต Polyester staple fibers ในตลาดทวีปอเมริกาเหนือ และสหภาพยุโรปนั้น มีความต้องการเส้นใยโพลีเอสเตอร์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ที่ร้อยละ 4.3 และร้อยละ 2.1 ในขณะที่ความ ต้องการในเอเชีย อยู่ ที่ร้อยละ 7 ต่อปี ( ร้อยละ 8.3 จากประเทศจีน และร้อยละ 8.2 จากประเทศอินเดีย ) อันเนื่องจากการบริโภคที่เพิ่มขึ้น รายได้ที่เพิ่มขึ้น และ ปริมาณประชากรที่เพิ่มขึ้น การบริโภคเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ต่อคนในประเทศอเมริกาอยู่ที่ 10.3 กิโลกรัม และในสหภาพยุโรปอยู่ที่ 10.1 กิโลกรัม ส่วนการบริโภคใน ยุโรปกลาง อยู่ที่ 6.4 กิโลกรัม เอเชีย 4.6 กิโลกรัม อเมริกาใต้ 4.1 กิโลกรัม ตะวันออกกลาง และ แอฟริกา 1.2 กิโลกรัม มีการบริโภคที่น้อยกว่า ดังนั้นจึงพบว่ายังมีช่องทางสำ�หรับ การเติบโตอยู่มาก โดยเฉพาะในทวีปเอเชีย

32

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ทวีปเอเชียนั้น เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ที่ใหญ่ที่สุด และยังเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่อีกด้วย ประเทศจีนนั้นเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคที่ ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค โดยมี การผลิตอยู่ที่ร้อยละ 72.9 ของกำ�ลังการผลิตทั้งภูมิภาค และกำ�ลังการบริโภคที่ร้อยละ 64 ของการบริโภคในภูมิภาค การ ส่งออกของจีนนั้น นับว่าเป็นคู่แข่งที่สำ�คัญต่อผู้ผลิตรายอื่นในเอเชีย และทั่วโลก นอกจากจีนแล้ว ผู้ผลิตรายสำ�คัญรองลงมา คือ ประเทศอินเดีย ประเทศ อินโดนีเซีย ประเทศไต้หวัน ประเทศเกาหลี และประเทศไทย ซึ่งรวมแล้ว คิดเป็นกำ�ลังการผลิตในอัตราร้อยละ 22 ของภูมิภาค โดยประเทศที่บริโภค หลัก ได้แก่ ประเทศอินเดีย ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลีใต้ และประเทศไทย ผู้ส่งออกหลักในภูมิภาคที่เหลือ คือ ประเทศไต้หวัน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศไทย โดยส่งออกไปยัง ผู้นำ�เข้าหลักได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศบังคลาเทศ และประเทศออสเตรเรีย การทดแทนเส้นใยคู่แข่ง ในช่วงเวลาที่ผ่านมา เส้นใยโพลีเอสเตอร์นั้นถูกนำ�มาใช้ทดแทนเส้นใยแบบเดิม เช่น ฝ้าย ไนลอน อคริลิค และเส้นใยชนิดอื่นๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมี ราคาต้นทุนที่ถูกกว่าการผลิตเส้นใยชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ การนำ�เส้นใยโพลีเอสเตอร์มาใช้ทดแทนไนลอน และ เส้นใยอคริลิค เริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น เป็นอย่างมากในช่วงเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ทำ�ให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมเส้นใยโพลีเอสเตอร์เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน ไม่มีการลงทุนเพิ่มในอุตสาหกร รมอคริลิคและไนลอน ซึ่งแนวโน้มนี้ไม่มีทีท่าจะเปลี่ยนกลับเป็นแบบเดิม โพลีเอสเตอร์ ต่อ ฝ้าย ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา เส้นใยโพลีเอสเตอร์ได้เพิ่มส่วนแบ่งการตลาดไปจากฝ้าย โดยในปี 2546 เส้นใยโพลีเอสเตอร์นั้นมีสัดส่วนการใช้งานที่สูงกว่าฝ้าย เนื่องจาก ไม่ได้รับผลกระทบจากการเก็บเกี่ยว เช่นเดียวกับฝ้าย และยังมีราคาที่ถูกกว่า รวมไปถึงการนำ�ไปใช้งานได้หลากหลายกว่าฝ้าย ปัจจัยการแข่งขัน ในอุตสาหกรรมเส้นใยโพลีเอสเตอร์นั้น บริษัทได้มีการแข่งขัน ในด้าน ราคา คุณภาพสินค้า การผลิตแบบเฉพาะ ความต่อเนื่องของวัตถุดิบ การบริการลูกค้า และ ความหลากหลายของสายผลิตภัณฑ์ การแข่งขันระหว่างผู้ผลิตเดิมนั้นแตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับสายธุรกิจที่มุ่งเน้น อาทิ สำ�หรับ ผู้ผลิต commodity โพลีเอสเตอร์ นั้น จะแข่งขันกันที่ต้นทุนวัตถุดิบ และ การบริหารอุปสงค์และอุปทาน โดย ราคานั้นจะมีราคาประกาศ โดยคำ�นวณจาก สูตรโดยคำ�นึงถึง ต้นทุน ส่วนผู้ผลิต non-commodity โพลีเอสเตอร์ จะใช้ราคาเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าเพิ่มต่อลูกค้า และวัฎจักรต้นทุนของวัตถุดิบ โดยทั่วไป commodity โพลีเอสเตอร์ มักจะมีการแข่งขันที่สูงกว่า และ สำ�หรับ non-commodity โพลีเอสเตอร์การแข่งขันมักจะอยู่ในระดับปานกลางถึงต่ำ�

ด้ายขนสัตว์

ธุรกิจด้ายขนสัตว์ของ IVL ประกอบไปด้วย การแปรรูปขนสัตว์ไปเป็น ด้ายขนสัตว์ worsted wool yarn โดยบริษัท มีโรงงานปั่นด้ายในประเทศไทย ด้วยกำ�ลัง การผลิต 5,900 ตันต่อปี วัตถุดิบจะถูกนำ�เข้ามาจากประเทศออสเตรเลีย และนำ�มาแปรรูปเป็นเส้นด้าย ผลการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ ด้ายขนสัตว์ ปัจจัยที่มีผลต่อกำ�ไรที่สำ�คัญสำ�หรับผู้ผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ คือ ส่วนต่างราคาที่มีผลมาจากต้นทุนของวัตถุดิบ ส่วนต่างนี้เกิดจาก ราคาขาย และ ราคา วัตถุดิบในการผลิต เส้นใยโพลีเอสเตอร์อันได้แก่ PTA และ MEG รายได้ของ ธุรกิจ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ เส้นด้ายขนสัตว์ เติบโตร้อยละ 87 เมื่อเทียบจาก ปี 2551 และปี 2552 ทั้งนี้เป็นเพราะ การควบรวมกิจการของ Tuntex (Thailand) Public Company Limited ในปี 2551 ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำ�กัด (มหาชน) (Indorama Polyester Industries Public Company Limited, IPI) โดยเริ่มทำ�การผลิตในไตรมาสแรกของ ปี 2552 และ ผลิตเต็มกำ�ลัง ในไตรมาสที่ 4 ปี 2552 ทำ�ให้ รายได้ก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี และ ค่าเสื่อม (EBITDA) ของบริษัทเพิ่มขึ้นร้อยละ 128 นอกจากนี้ การร่วมธุรกิจPTAและ การเปลี่ยนไปใช้ แก๊ส ในการผลิตที่ โรงงาน IPI ในไตรมาสที่ 4 ยังช่วยลดต้นทุนการผลิตได้อีกด้วย ในปี 2553 นี้ IVL จะได้ประโยชน์จากการผลิตเต็มอัตราของโรงงานนี้

ธุรกิจ PTA

ธุรกิจ PTA ประกอบไปด้วย การผลิต PTA และ การขาย PTA เป็นกรดอินทรีย์ ที่อยู่ในรูป แป้งสีขาวละเอียด ซึ่งถูกนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ผลิตภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์ ผู้ผลิต PTA นั้น แบ่งเป็น merchant และ integrated โดย ผู้ผลิตแบบ merchant จะผลิตและขายให้กับ ผู้ซื้อจากภายนอก และ ผู้ผลิต แบบ integrated นั้นจะผลิตเพื่อการใช้ภายในกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2552

33


ภาวะการแข่งขัน เนื่องจาก PTA เป็นสินค้า Commodity การแข่งขันจึงอยู่ที่ราคาขาย คุณภาพ และ ระยะเวลาการผลิตจนถึงการส่งมอบ เมื่อ IVL ได้มีการรวมธุรกิจการผลิต PTA จะสามารถใช้ประโยชน์จากต้นทุนที่ถูกลง รวมถึงการประหยัดค่าขนส่งและการรับประกันปริมาณวัตถุดิบ ความสำ�คัญของอัตราการใช้กำ�ลังการผลิต (Utilization) ปัจจัยที่มีผลต่อกำ�ไรของโรงงานผลิต PTA คือ อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต การที่ IVL สามารถคงอัตราการผลิตที่สูงได้นั้นเนื่องมาจากการผลิตเพื่อใช้งานภายใน กิจการของกลุ่ม โดยที่ IVL ยังไม่มีแผนที่จะผลิตเพื่อขายให้กับลูกค้าภายนอก ธุรกิจการผลิต PTA ของบริษัทนั้น เป็นการสนับสนุนธุรกิจ PET และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของการควบรวมธุรกิจในแนวตั้ง กำ�ลังการผลิต PTA ปัจจุบันของบริษัทอยู่ที่ 1,590,000 ตัน ต่อปี (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ) บริษัทมีโรงงานผลิต PTA ในประเทศไทยทั้งหมด สอง โรงงาน โดย และ ยังมีโรงงานอีกหนึ่งแห่งที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ อัตรากำ�ลังการผลิต ของโรงงานเหล่านี้ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 93% ในปี 2551 มาเป็นร้อยละ 100 ในปี 2552 อุปสงค์และอุปทานของ PTA ความต้องการ PTA นั้น มาจากความต้องการผลิต เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ PET เรซิ่น ที่เพิ่มขึ้น ความต้องการ PTA ในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำ�เสมอและ ต่อเนื่อง เนื่องจากความต้องการส่วนใหญ่มาจากประเทศจีน อย่างไรก็ดี ผู้ผลิตที่ต้องการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในประเทศจีน มักจะได้รับความกดดันในด้าน กำ�ไร การกระจายความเสี่ยงในตลาด PTA ในปี 2552 มีแนวโน้มว่าประเทศจีนจะมีการปกป้องตลาดในประเทศ ในอุตสาหกรรม PTA และต้นปี 2553 ประเทศจีนได้ออกกฏหมาย การเก็บภาษีนำ�เข้า PTA จากประเทศเกาหลีใต้ และประเทศไทย ที่อัตราร้อยละ 18.5-18.9 IVL ได้เริ่มกระจายความเสี่ยงโดยขยายฐานลูกค้าไปยังตลาดอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย และในขณะนี้มียอดขายเพียงร้อยละ 10 เท่านั้นที่มาจากประเทศจีน โดยขายไปยังเขตพื้นที่สำ�หรับการผลิตเพื่อส่งออกเท่านั้น ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบจากระบบ ภาษีใหม่ ความต้องการ PTA ในประเทศแถบทวีปอเมริกาเหนือ และสหภาพยุโรป น่าจะลดลง หรือคงที่ เนื่องจากการลดลงของปริมาณการผลิต และ การปรับปรุง โครงสร้างของอุตสาหกรรม PET เรซิ่น ที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น โดยมีกำ�ลังการผลิตในอเมริกาเหนือน่าจะลดลง ประมาณ 500,000 ตันในปี2555 เป็นต้น ส่วนความต้องการ PTA ในยุโรป น่าจะลดลง เนื่องจากไม่มีการลงทุนเพิ่มในอุตสาหกรรม PET เรซิ่น และ เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ผลประกอบการของ ธุรกิจ PTA รายได้ก่อนดอกเบี้ย ภาษี และ ค่าเสื่อม ของธุรกิจ PTA เพิ่มขึ้นร้อยละ 907 ในปี 2552 เนื่องจากเป็นปีแรกของการทำ�งานอย่างเต็มที่ตั้งแต่ซื้อในปี2551 เนื่องจากการเพิ่มปริมาณการผลิตขึ้น197% และการเพิ่มกำ�ไรขั้นต้นขึ้น ทั้งนี้เป็นเพราะบริษัทสามารถเพิ่มปริมาณยอดขาย และต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลด ลง เนื่องจากราคาพลังงานที่ลดลง นักลงทุนควรทราบว่า บริษัทของเราเป็นผู้ผลิต PTA แบบ integrated และมีการจัดสรรรายได้จากPTAระหว่างธุรกิจ PET และ โพลีเอสเตอร์ตามใช้PTA

สถานะการเงินของกลุ่มธุรกิจ ส่วนของรายได้จากแต่ละธุรกิจ ในปี 2552 55% ของรายได้ และ 53% ของ กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี และ ค่าเสื่อมมาจาก PET 15% ของรายได้ และ 13% of กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี และ ค่าเสื่อมมาจาก polyester and wool 30% ของรายได้ และ 34% of กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี และ ค่าเสื่อมมาจาก PTA เหตุใด IVL จึงมีผลงานที่โดดเด่น ผู้บริหารมีมุมมองและมีกลยุทธ์ในธุรกิจที่ชัดเจน ในการเป็นผู้นำ�ในอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์ โดยการควบรวมกิจการ

สรุปกลยุทธ์

IVL มีข้อได้เปรียบจากการที่เป็นผู้ผลิตที่สามารถควบรวมธุรกิจในแนวตั้งและยังเป็นผู้ผลิต PTA เอง โดยสามารถควบคุมต้นทุนในด้านค่าขนส่ง อันเกิดจาก การขนส่ง วัตถุดิบผ่านท่อลำ�เลียง ซึ่งสามารถทำ�กำ�ไรจากส่วนต่างได้มากกว่าในห่วงโซ่มูลค่า นอกจากนี้ยังไม่ได้รับผลกระทบจากความผันผวนของตลาด PTA ซึ่งบริษัทได้ทำ�การลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และรักษาต้นทุนที่ต่ำ�ไว้ได้ในจุดที่สามารถทำ�ได้ ทำ�ให้ปัจจุบันบริษัทสามารถแข่งขันกับผู้ผลิต ที่มีเทคโนโลยีที่ล้าสมันกว่าและมีประสิทธิภาพต่ำ�กว่าได้ และท้ายที่สุดบริษัทได้ดำ�เนินกิจการในภาวะอุตสาหกรรมที่กำ�ลังเติบโตอยู่ในระดับสองเท่าของการ เติบโตของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ในอนาคต บริษัทจะแสวงหาและสร้างประโยชน์จากโอกาสที่จะควบรวมกิจการและสินทรัพย์ต่อไป เพื่อคงไว้ซื่งการเติบโต ในขณะที่เราแสดงความแตกต่าง จากผู้ผลิตอื่น

34

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


เป้าหมายธุรกิจ IVL ตั้งเป้าที่จะเป็นผู้นำ�ตลาดในห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นในด้านขนาดของธุรกิจ ดำ�เนินธุรกิจแบบครบวงจร ผลกำ�ไร และ อัตรา ผลตอบแทนจากการลงทุน ด้วยการบริการที่เป็นเลิศและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นส่วนช่วยในการเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้น ดังนั้นบริษัทจึงได้คิดและ กำ�หนดนโยบายที่จะทำ�ให้สามารถก้าวไปสู่เป้าหมายได้ในที่สุด จะบรรลุเป้าหมายได้อย่างไร การบรรลุเป้าหมายที่ได้คาดหมายไว้นั้น บริษัทจะต้องรักษาตำ�แหน่งผู้นำ�ตลาด มีอัตราการเติบโตและมีการลงทุนที่รอบคอบ เพื่อที่จะสามารถสร้างผลกำ�ไรที่ มากขึ้น ในขณะเดียวกันสามารถลดความผันผวนลงได้ นอกจากนี้ บริษัทยังจำ�เป็นที่จะต้องขยายรวมธุรกิจในแนวตั้ง (Vertical Integration)ไปยังธุรกิจต้นน้ำ� ในอดีตได้ให้บทเรียนว่า ธุรกิจไม่ควรพึ่งพาตลาดเพียงตลาดเดียวหรือผลิตภัณฑ์เพียงตัวเดียวมากเกินไป ดังนั้น บริษัท จึงจำ�เป็นจะต้องเพิ่มความหลากหลายให้ กับตัวผลิตภัณฑ์รวมทั้งฐานลูกค้า อีกทั้งเพิ่มความสามารถในการใช้วัสดุเดิมนำ�กลับมาผลิตใหม่ เพื่อให้เกิดการยอมรับผลิตภัณฑ์ของเราและการเติบตของธุรกิจ ของเราทั่วโลก การเติบโตของกำ�ไรสุทธิ มาจากการเพิ่มขึ้นของกำ�ไรขั้นต้น และ ต้นทุนการซื้อวัตถุดิบที่ลดลง การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า รวมไปถึงการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ และ การบริหารทางการเงิน บริษัทมีความตั้งใจที่จะรักษาโครงสร้างเงินทุนที่มีประสิทธิภาพ ระหว่างการเติบโตเพื่อสร้างความยืดหยุ่นในการดำ�เนินกิจการ และการรักษาสภาพคล่องให้ เพียงพอ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งต่อสถานะกระแสเงินสดของบริษัท ผลงานที่ผ่านมาของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นใหม่ของ IVLสามารถศึกษาข้อมูลย้อนหลังได้ที่ Indorama Polymers PCL (www.indoramapolymers.com) ซึ่งเคยเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จะเห็นได้ว่า ที่ผ่านมาคณะผู้บริหารประสบความสำ�เร็จในการสร้างผลตอบแทนที่ดีแก่ผู้ถือหุ้น วินัยและความโปร่งใสทางการเงิน IVL มุ่งมั่นที่จะรักษาเสถียรภาพทางการเงิน และ นโยบายการลงทุนที่โปร่งใส บริษัทมีการประเมินโครงการลงทุนบนพื้นฐานการทำ�กำ�ไรของโครงการเดี่ยว (Stand-alone) และ ประสิทธิผล (Efficiency) รวมไปถึงการประเมินประโยชน์ที่อาจมีร่วมกันกับสิ่งที่องค์กรมีอยู่ และ ยืนยันที่จะสนับสนุนการลงทุนบนพื้น ฐานของโครงการเดี่ยวเท่านั้น โดยจะรักษาอัตราส่วนหนี้สินไว้ในระดับที่รายได้จากการดำ�เนินงานมีเพียงพอจะชำ�ระดอกเบี้ย แม้ในช่วงวัฏจักรขาลง รูปแบบธุรกิจที่ครบวงจร บริษัทมุ่งที่จะสร้างธุรกิจที่ครบวงจรผ่านการควบรวม หรือ การร่วมใช้สถานที่กับบุคคลที่สาม หรือ ผู้ผลิตวัตถุดิบที่สำ�คัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการผลิต และการขนส่ง รวมถึงต้นทุนที่แข่งขันได้ และ การประกันปริมาณวัตถุดิบ การควบรวมสินทรัพย์เหล่านี้ ยังสามารถช่วยป้องกันความผันผวนอันเกิดจากวัฏจักร ของอุตสาหกรรมผ่านการควบคุมคุณภาพ และ การคาดเดารายได้ล่วงหน้าได้อีกด้วย ในอนาคต กลยุทธ์ของบริษัทจะมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มขีดความสามารถการ ผลิต PTA ให้สอดคล้องกับกำ�ลังการผลิต PET โพลีเอสเตอร์ที่ ปลายน้ำ� โดยเฉพาะในตลาดที่เราพบว่ามีความสำ�คัญ ในช่วงปี 2008 เราได้เข้าก้าวเข้าสู่ ธุรกิจ PTA ของโซ่มูลค่า โพลีเอสเตอร์ ผ่านการควบรวมโรงงานผลิต PTA สามแห่ง ซึ่งสามารถป้อนวัตถุดิบให้กับการผลิต PET และ โพลีเอสเตอร์ที่ปลายน้ำ�ได้ เราตั้งใจที่จะใช้PTA ที่ผลิตเกินภายในการผลิต PET และ โพลีเอสเตอร์ เพื่อลดปริมาณ PTA ที่จะสามารถขายให้กับ ภายนอก ซึ่งขณะนี้ 48% ของ PTA ที่ผลิตได้ถูกใช้สำ�หรับการผลิตภายใน เราได้ควบรวมสิ่งใด วัตถุดิบที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับการผลิต PET และ โพลีเอสเตอร์ คือ PTA และ MEG กับ พาราไซลีน (PX) ใช้สำ�หรับผลิต PTA ดังนั้น บริษัท IVL จึงเป็นหนึ่งในผู้ ซื้อ PX และ MEG ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เราควบรวมธุรกิจเข้าสู่การผลิต PTA ด้วยการร่วมใช้สถานที่ผลิต หรือการร่วมใช้ ท่อลำ�เลียง PTA จากผู้ผลิตที่อยู่ใกล้ๆ ดังนั้นจึงมีโอกาสสำ�หรับการควบรวมอย่างแท้จริง หรือ ในนาม สำ�หรับ PX และ MEG รวมถึงการควบรวมการใช้พลังงาน เช่น การซื้อทรัพย์สินประเภท โรงงาน หรือ เข้าหุ้นกับผู้ผลิต โดย เมื่อสามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสายการผลิตได้ ค่าขนส่งวัตถุดิบจะสามารถลดลงได้ ผลประโยชน์ที่ได้จากการควบรวมครบวงจร ดังที่กล่ามาแล้ว การประกันปริมาณของ PTA เพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิต PET และ โพลีเอสเตอร์ ในช่วงที่ตลาดมีความผันผวน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความ ต้องการ PTA สูง มีความสำ�คัญต่อการวางแผนต้นทุน และลดความผันผวน การใช้อย่างครบวงจร (Inte-gration) หมายถึง การนำ� PTA ที่ผลิตได้ ไปใช้ใน กระบวนการผลิตส่วนอื่นๆ ที่จะทำ�ให้สามารถคงอัตราการผลิต PTA ในระดับสูงกว่า ผู้ผลิต PTA แบบ Merchant แม้ในช่วงที่ความต้องการ PTA ลดต่ำ�ลง เมื่อ การผลิต ทั้ง PTA PET และ Polyester สามารถร่วมใช้พื้นที่ด้วยกันได้ จะทำ�ให้บริษัทสามารถลดต้นทุนค่าขนส่งและค่าโสหุ้ยอันเกิดจากการร่วมใช้งานอุปกรณ์ ต่างๆ นอกจากนี้ ยังสามารถลดต้นทุนคงที่ ที่เกี่ยวกับ การจัดซื้อวัตถุดิบ การตลาดและการขาย และกิจกรรมการบริหารต่างๆได้อีกด้วย การควบรวมครบวงจร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ความสามารถในการแข่งขัน และการตอบสนองความต้องการของลูกค้าและการเพิ่มตลาด รวมไปถึง การลดความผันผวนของปริมาณและกำ�ไร บริษัท IVL สามารถผลิต PTA ได้เองเพื่อป้อนให้กับโรงงานผลิต PET และ โพลีเอสเตอร์ ของตัวเองในช่วงเวลาที่ ผันผวน ทั้งในช่วงที่มีความต้องการมากและความต้องการต่ำ�

รายงานประจำ�ปี 2552

35


ในสภาวะตลาดปัจจุบัน IVL ยังได้ประโยชน์จากการเกิดสภาพวัตถุดิบส่วนเกิน คือ PX และ MEG อันเกิดจากกำ�ลังการผลิตที่มากกว่าความต้องการ ซึ่งจะ ทำ�ให้ต้นทุนราคาของ PX และ MEG ลดต่ำ�ลง อันเป็นผลดีต่อ โซ่คุณค่าของโพลีเอสเตอร์ กลยุทธ์การมุ่งเน้นในอุตสาหกรรม บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ มหาชน จำ�กัด เป็นหนึ่งในไม่กี่ผู้ผลิตปิโตรเคมีที่มุ่งเน้นในห่วงโซ่คุณค่าของโพลีเอสเตอร์ ในขณะที่ผู้เล่นรายอื่นๆประกอบไปด้วย แผนก และ ธุรกิจอื่นๆที่แตกต่างกัน ทางบริษัทเชื่อว่า ข้อได้เปรียบในการเป็นผู้เล่นที่มุ่งเน้นในสิ่งๆเดียว คือความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในตัวธุรกิจ ทำ�ให้สามารถ จัดการบริหารเงินทุนและทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการตัดสินใจที่ทำ�ได้อย่างรวดเร็วทั้งฝ่ายบริหารและฝ่ายการค้า รวมไปถึงการลด ค่าโสหุ้ยสิ้นเปลืองที่ต้องใช้บริหารงานในหลายๆรูปแบบ รายได้หลักของบริษัทIVL นั้น มาจาก ธุรกิจผลิตภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์ ถึง 99% ส่วนผู้ผลิตรายอื่นนั้น มีธุรกิจอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องรวมอยู่ด้วย การขาดความ มุ่งเน้นในตัวธุรกิจมักจะทำ�ให้บริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ตัดสินใจปรับโครงสร้างและขายส่วนธุรกิจนั้นทิ้งหากในตัวธุรกิจมีการใช้เทคโนโลยีแบบเก่า หรือไม่ สามารถคงไว้ซึ่งอัตราการผลิตที่สูงได้ ด้วยกลยุทธ์มุ่งเน้นไปยังธุรกิจหลักเพียงธุรกิจเดียว มาตั้งแต่ปี 2003 บริษัทได้เติบโตผ่านการขยายงานและการควบรวมกิจการ และการขยายธุรกิจไปสู่ภูมิ ภาคอื่นๆของโลก ในอนาคตบริษัทได้เล็งเห็นว่า บราซิล รัสเซีย อินเดียว จีน รวมไปถึง ตะวันออกลางและยุโรป เหมาะที่จะขยายธุรกิจ ไปสู่การผลิต PET ในระดับกำ�ลังการผลิต ที่ เหมาะสมอันจะนำ�ไปสู่ความได้เปรียบในการแข่งขันในระยะยาวในด้านต้นทุน บริษัทจะมุ่งมั่นที่จะขยายงานและกำ�จัดคอขวด ใน กระบวนการผลิตต่อไป การขยายไปสู่การผลิตและการขายระดับโลกนำ�มาซึ่งความสำ�เร็จ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ มหาชน จำ�กัด เป็นบริษัทระดับโลก ที่มี โรงงานผลิตทั้งหมด 13 โรงงานในห้าประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ลิทัวเนีย เนเธอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร ในสามทวีป อันได้แก่ เอเชีย อเมริกาเหนือ และยุโรป โดยผลิตวัตถุดิบป้อนให้กับลูกค้าทั่วโลก บริษัท IVL เป็นผู้ผลิต PET เรซิ่นเพียงหนึ่งเดียวที่มีฐานการดำ�เนินงานอยู่ในทั้งสามทวีป ซึ่งเป็นตลาดหลักของ PET เรซิ่น ธุรกิจ โพลีเอสเตอร์ของบริษัทนั้นตั้งอยู่ในประเทศไทยและ มีฐานลูกค้าที่กระจายอยู่ทั่วโลก ผลิตภัณฑ์ PTA ของเราผลิตในประเทศไทยและยุโรป เพื่อสนับสนุนการผลิตปลายน้ำ�รวมไปถึงลูกค้าภายนอกทั่วโลก การมีโรงงานที่กระจายอยู่ทั่วโลกทำ�ให้ IVL สามารถตอบสนองปริมาณการผลิตที่มากขึ้นและขยายฐานลูกค้า โดยมีความใกล้ชิดทั้งกับลูกค้าและผู้ผลิตวัตถุดิบ เราสามารถเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนและลดค่าขนส่ง รวมถึงการหลีกเลี่ยงการกีดกันทางการค้า จากกฎเกณฑ์การนำ�เข้าและลดการพึ่งพา ตลาดใดตลาดหนึ่ง นอกจากนี้เรายังสามารถรักษาอัตราการผลิตให้อยู่ในระดับสูงกว่าอัตราเฉลี่ยในแต่ละภูมิภาคได้ ความคุ้มค่าจากปริมาณที่เพิ่มขึ้นEconomies of Scale บริษัท IVL มีโรงงานผลิต PET เรซิ่น และ PTA ที่ใหญ่ และ มีประสิทธิภาพสูง โรงงานใหม่ล่าสุดของเรา AlphaPet เป็นหนึ่งในโรงงานที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกาเหนือ ที่ใช้เทคโนโลยีล่าสุดจาก Uhde Inventa Fischer ประเทศเยอรมัน โรงงานอันทันสมัยเหล่าที่ทำ�ให้บริษัสามารถแข่งขันในด้านต้นทุนในอุตสาหกรรมที่ต้นทุน มีความสำ�คัญอย่างมาก ในธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ที่บริษัทมุ่งเน้นไปที่การผลิตผลิตภัณฑ์เฉพาะ บริษัทได้ลงทุนในสินทรัพย์ที่ตรงตามความมุ่งหมาย และยืดหยุ่นที่ เหมาะแก่การผลิตสินค้าเฉพาะที่ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพในการผลิต ประสิทธิภาพเหล่านี้เกิดขึ้นได้จากการรักษาอัตราการผลิตที่สูง การใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การมีค่าโสหุ้ยต่ำ� รวมไปถึงการประหยัดพลังงาน เพื่อลดต้นทุน ต้นทุนที่ต่ำ�เกิดจากการปรับปรุงโรงงานผลิตไฟฟ้าให้ใช้ ถ่านหิน หรือ แก๊ส สำ�หรับโรงงานทั้งหลาย และสามารถขายไฟฟ้าที่ผลิตส่วนเกินให้กับ ลูกค้าภายนอกเพื่อลดค่าไฟฟ้า เราวัดประสิทธิภาพของแต่ละโรงงานแข่งกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การเพิ่มความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์และฐานลูกค้า การขยายฐานลูกค้าไปสู่ภูมิภาคต่างๆและลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน เป็นแง่มุมที่สำ�คัญต่อความสำ�เร็จในธุรกิจโพลีเอสเตอร์ บริษัทวางแผนที่จะเพิ่ม ความพยายามในการตลาดเพื่อกระจายฐานลูกค้าไปสู่ภูมิภาคต่างๆสำ�หรับผลิตภัณฑ์ PET และ PTA บริษัทเชื่อว่าการขยายฐานลูกค้า PET และ โพลีเอสเตอร์ ไปสู่ภูมิภาคต่างๆและลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันนั้น จะช่วยป้องกันมิให้เกิดการพึ่งพาลูกค้ารายใดรายหนึ่งมากเกินไปและช่วยป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิด ขึ้นกับลูกค้าหรือตลาดรายใดรายหนึ่งได้เป็นอย่างดี นอกจากนีก้ ารเพิม่ ความหลากหลายให้กบั ผลิตภัณฑ์เป็นการสร้างความแตกต่างอีกวิธหี นึง่ เพือ่ ทำ�ให้บริษทั กลายเป็นเป็น โรงงานเบ็ดเสร็จ ( one-stop shop ) สำ�หรับลูกค้า ซึ่งจะทำ�ให้บริษัทเอง ก็ต้องเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับสายงานผลิตเพื่อตอบความสนองความต้องการของลูกค้าภายในเวลาอันสั้น

36

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


มุ่งเน้นที่การนำ�กลับมาใช้ใหม่เพื่อปกป้องอนาคต PET เรซิ่น เป็นบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างสะดวก เพียงแค่นำ�ไปผ่านกระบวนการล้างให้สะอาด หรือย่อยให้กลายเป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิต PET ใหม่อีกรอบ PET เรซิ่นที่นำ�กลับมาใช้ใหม่นั้นสามารถใช้เพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่รวมถึงการผลิต เส้นใยโพลีเอสเตอร์ สำ�หรับ พรม เครื่องนุ่งห่ม กระเป๋า เดินทาง ผ้าคลุม ใส้ยัดถุงนอนและเสื้อกันหนาว ฯลฯ บริษัท IVL จะมุ่งมั่นพัฒนาแผนกงานวิจัย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยสามารถผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองข้อเรียกร้อง ต่างๆได้ การนำ�วัสดุกลับมาใช้ใหม่ภายใต้มาตรฐานการควบคุมจะทำ�ให้บริษัทสามารถปรับตัวให้เข้ากับเป้าหมายของลูกค้า และช่วยสร้างจิตสำ�นึกด้านปัญหา สิ่งแวดล้อม รวมถึงประโยชน์ทางด้านสิ่งแวดล้อมของ โพลีเอสเตอร์และ PET ควบรวมกิจการที่ราคาสมเหตุผล การที่จะคงไว้ซึ่งโครงสร้างต้นทุนที่ต่ำ� หมายถึง ความสามารถในการสร้างโรงงานขนาดใหญ่ และ ซื้อสินทรัพย์ในราคาที่ถูกกว่า ต้นทุนที่จะจัดหามาทดแทน (replacement cost) โรงงานผลิต PET Orion Global และ AlphaPet ของบริษัทนั้นได้เปรียบจากการเป็นโรงงานขนาดใหญ่ บริษัทได้ซื้อสินทรัพย์โรงงาน PTA และ โพลีเอสเตอร์ ในราคาถูก เนื่องจากเป็นทรัพย์สินที่ไม่สร้างมูลค่า ถูกกว่า ต้นทุนทดแทน ของตัวสินทรัพย์ นอกจากนี้ สินทรัพย์โรงงาน PET และ PTA ที่ยุโรป ยังซื้อมาได้ในราคาต่ำ�กว่าค่าทดแทน และสามารถสร้างผลกำ�ไรได้ภายในหนึ่งปีอีกด้วย

รายงานประจำ�ปี 2552

37


ปัจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง ข้อความดังต่อไปนี้แสดงถึงปัจจัยความเสี่ยงที่มีนัยสำ�คัญบางประการอันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าหุ้นของบริษัท ความเสี่ยงดังกล่าวอาจมีผลกระทบอย่างมีนัย สำ�คัญต่อธุรกิจ รายได้ ผลกำ�ไร สินทรัพย์ สภาพคล่อง หรือ แหล่งเงินทุนของบริษัทฯ ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจและการดำ�เนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงมาก และการดำ�เนินการใด ๆ ของคู่แข่งอาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการทำ�กำ�ไรและส่วนแบ่ง ทางการตลาดของบริษัทฯ ธุรกิจที่บริษัทฯ ดำ�เนินงานอยู่เป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงด้านราคาและด้านอื่น ๆ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity Products) ดังนั้น จึงเป็นการยากที่จะสร้างความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) และปรับราคาผลิตภัณฑ์ตามต้นทุนที่เพิ่มขึ้นได้ ส่วน ปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันรวมถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ คุณลักษณะหรือสมรรถนะของสินค้า การจัดส่งสินค้าที่ต่อเนื่องและน่าเชื่อถือให้แก่ลูกค้า และความสัมพันธ์กับลูกค้าที่ยั่งยืนในระยะยาว โดยส่วนใหญ่ บริษัทฯ จะแข่งขันกับบรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่หลายแห่งในแต่ละกลุ่มธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้แข่งขันกับผู้ผลิตในระดับภูมิภาค และ/ หรือผู้ผลิตที่มีความเชี่ยวชาญในตลาดเส้นใยโพลีเอสเตอร์ (Polyester Fiber) อีกเป็นจำ�นวนมาก โดยผู้ผลิตบางรายดังกล่าวอาจมีความโดดเด่นในตลาดและ/ หรือแหล่งเงินทุน และทรัพยากรอื่น ๆ มากกว่าของบริษัทฯ นอกจากนี้ แรงกดดันในการทำ�กำ�ไรอาจมาจากปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ที่มี จำ�กัด และการมีสินค้าเกินความต้องการในตลาด (ตัวอย่างเช่น ความต้องการเม็ดพลาสติก PET ในประเทศจีน อาจต่ำ�กว่าประมาณการการเพิ่มขึ้นของกำ�ลัง การผลิต) การลดราคาของคู่แข่ง การมีผู้ประกอบการรายใหม่ในอุตสาหกรรม การควบรวมในกลุ่มอุตสาหกรรม (Industry Consolidation) ความสามารถ ของคู่แข่งในการใช้ประโยชน์จากการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) และการเพิ่มอุปทานของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของคู่ แข่งซึ่งบริษัทฯ มิได้มีอยู่ เราดำ�เนินธุรกิจในอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันสูง และความเคลื่อนไหวของคู่แข่งสามารถทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อผลกำ�ไร และส่วนแบ่ง ทางการตลาดของเราได้ วงจรอุตสาหกรรม PTA เม็ดพลาสติก PET และเส้นใยโพลีเอสเตอร์ อาจส่งผลให้เกิดกำ�ลังการผลิตส่วนเกิน ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ สะท้อนให้เห็นถึงวงจรอุตสาหกรรม PTA เม็ดพลาสติก PET และเส้นใยโพลี เอสเตอร์ในอดีต ซึ่งมีกำ�ลังการผลิตส่วนเกินในบางช่วงเวลา และส่งผลกระทบต่อการกำ�หนดราคาของผลิตภัณฑ์ โดยวงจรดังกล่าวบางส่วนเกิดจากการลงทุน ในช่วงที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรม (ซึ่งเป็นช่วงที่มีกำ�ไรสูง และมีแหล่งเงินทุนมากมาย) ทำ�ให้สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจาก การมีกำ�ลังการผลิตใหม่ซึ่งผลิตผลิตภัณฑ์ในจำ�นวนมาก ผลที่ตามมาคือทำ�ให้ในบางช่วงเวลาของอุตสาหกรรมจะมีกำ�ลังการผลิตส่วนเกิน ตัวอย่างเช่น เมื่อมี การสร้างและดำ�เนินการโรงงานแห่งใหม่ บริษัทฯ จึงไม่อาจรับประกันได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวไม่เกิดขึ้นอีก ดังนั้น หากการเติบโตทางเศรษฐกิจมิได้เพิ่มขึ้นอย่าง เพียงพอในอันที่จะก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ หรือหากไม่มีการปิดโรงงานเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว กำ�ลังการผลิตใหม่ ๆ สามารถทำ�ให้เกิดกำ�ลังการ ผลิตส่วนเกินทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการลดลงของอัตรากำ�ไร การที่บริษัทฯ ไม่สามารถปรับราคาผลิตภัณฑ์ตามราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นได้อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ หากต้นทุนของวัตถุดิบเพิ่มขึ้นแต่บริษัทฯ ไม่สามารถปรับราคาขายผลิตภัณฑ์ให้สะท้อนการเพิ่มขึ้นของต้นทุนดังกล่าวได้ จะส่งผลต่อผลการดำ�เนินงานของบ ริษัทฯ ความสามารถของบริษัทฯ ในการเพิ่มราคาขายผลิตภัณฑ์อันเนื่องมาจากราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นนั้น จะขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดและต้นทุนที่เพิ่มขึ้นเมื่อ เทียบกับคู่แข่ง นอกจากนี้ในบางครั้ง บริษัทฯ อาจไม่สามารถปรับราคาขายให้เพิ่มขึ้นตามต้นทุนวัตถุดิบได้ทั้งหมด เนื่องจากการที่บริษัทฯ มีข้อตกลงกับลูกค้า มาก่อนหน้านี้แล้ว หรืออยู่ในช่วงที่มีความต้องการผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ น้อย หรือการมีอุปทานในผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มากเกินไป การดำ�เนินงานของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของวัตถุดิบและต้นทุนวัตถุดิบ การดำ�เนินงานของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของวัตถุดิบและราคาวัตถุดิบเป็นหลัก อันได้แก่ PTA (ซึ่งมีข้อจำ�กัดในการซื้อขายโดยเฉพาะในประเทศ สหรัฐอเมริกา) และ MEG สำ�หรับธุรกิจ PET และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และ PX สำ�หรับธุรกิจ PTA โดย PX PTA และ MEG เป็นผลผลิตที่ได้มา จากน้ำ�มันและก๊าซธรรมชาติ และโดยทั่วไปจะผลิตโดยบริษัทที่ประกอบธุรกิจปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ดังนั้น ต้นทุนการผลิต PTA PET และโพลีเอสเตอร์จะขึ้นอยู่ กับราคาของน้ำ�มันดิบ ก๊าซธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำ�เร็จรูปทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ดังนั้น ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงานขอ งบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับราคาตลาดของน้ำ�มันดิบ ก๊าซธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำ�เร็จรูป ซึ่งจะขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานในระดับระหว่างประเทศ ภูมิภาคและในประเทศ รวมถึงปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งอยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ

38

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ตลาดและราคาของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอาจขึ้นกับอุปสงค์โดยรวมของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว (ซึ่งอาจมีความผันผวนอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพและ วงจรของเศรษฐกิจ ฤดูกาลและสภาวะอากาศ) ปริมาณของผลิตภัณฑ์ในประเทศและภูมิภาค ราคาและปริมาณผลิตภัณฑ์ที่นำ�เข้า ราคาและปริมาณเชื้อเพลิง ทดแทนที่มี และขอบเขตและลักษณะของกฎเกณฑ์และภาษีของภาครัฐ สภาวะอุปทานทั่วโลกและระดับราคาของน้ำ�มันดิบอาจได้รับผลกระทบอย่างมาก จากกลุ่มต่าง ๆ ระดับระหว่างประเทศ ซึ่งควบคุมปริมาณการผลิตน้ำ�มันดิบส่วนใหญ่ของโลก และจากพัฒนาการทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศใน ตะวันออกกลาง นอกจากนี้ ปัจจัยอื่น ๆ เช่น กฎเกณฑ์ของรัฐบาลทั้งในและต่างประเทศ สภาวะอากาศ และการแข่งขันจากแหล่งพลังงานอื่นก็มีผลกระทบต่อ ราคาน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมด้วยเช่นกัน การเพิ่มขึ้นของต้นทุนของบริษัทฯ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ เนื่องจากบริษัทฯ ไม่สามารถกำ�หนดราคาโภคภัณฑ์ได้โดยตรง ดังนั้น ความสามารถในการแข่งขันและในการทำ�กำ�ไรในระยะยาวของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับ ความสามารถของบริษัทฯ ในการลดต้นทุนและรักษาระดับการทำ�งานที่มีประสิทธิภาพด้วยต้นทุนที่ต่ำ�เป็นหลัก หากบริษัทฯ ไม่สามารถรักษาโครงสร้าง ต้นทุน และดำ�เนินการให้โรงงานมีการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ จะทำ�ให้ต้นทุนของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น และอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการดำ�เนินงานขอ งบริษัทฯ ต้นทุนที่ไม่สามารถควบคุมได้บางอย่างอาจเพิ่มขึ้นจากปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ ซึ่งอาจส่งผลให้ผลการดำ�เนินงานขอ งบริษัทฯ ลดลง ตัวอย่างของต้นทุนที่ไม่สามารถควบคุมได้ ได้แก่ ต้นทุนด้านพลังงาน ต้นทุนด้านประกันภัย ต้นทุนด้านภาษี และต้นทุนด้านบำ�เหน็จ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ประสบกับการเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากของต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งบริษัทฯ ได้พยายามเพิ่มราคาผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ให้ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของต้นทุนด้านพลังงาน แต่ก็ไม่สามารถปรับราคาผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ให้เพิ่มขึ้นได้ในทันที ทั้งนี้ ความสามารถของบริษัทฯ ในการ ผลักภาระต้นทุนที่เพิ่มขึ้นไปยังลูกค้าในท้ายที่สุดจะขึ้นอยู่กับสภาวะของตลาด นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ในธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ของบริษัทฯ ยังเป็นธุรกิจที่ใช้แรงงานเป็นหลัก ดังนั้น ความกดดันด้านสภาวะเงินเฟ้อ การ เปลี่ยนแปลงของกฎหมายและกฎระเบียบที่ใช้บังคับกับบริษัทฯ หรือปัจจัยอื่น ๆ ที่จะส่งผลให้ต้นทุนด้านแรงงานเพิ่มขึ้น การขาดแคลนหรือการหยุดชะงักของการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่ลกู ค้าอันเนือ่ งมาจากการลดลงของกำ�ลังการผลิต หรือการหยุดซ่อมบำ�รุงทีไ่ ม่เป็นไปตามแผนอาจ ทำ�ให้การขายลดลง การผลิต ณ โรงงานผลิตของบริษัทฯ หรือการส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการขัดข้องทางเทคนิค การประท้วง ภัย พิบัติทางธรรมชาติ คำ�วินิจฉัยด้านกฎหมาย และปัจจัยอื่น ๆ โดยเหตุการณ์ที่มิได้คาดหมายไว้ เช่น ปัญหาในการผลิต การหยุดซ่อมบำ�รุงที่ไม่เป็นไปตามแผน หรือการสูญหายของผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบอาจทำ�ให้ยอดขายลดลง หากกำ�ลังการผลิตของโรงงานที่สำ�คัญของบริษัทฯ หนึ่งแห่งหรือมากกว่าลดลง หรือการผลิตผลิตภัณฑ์ที่สำ�คัญต้องหยุดลงเป็นระยะเวลานาน และบริษัทฯ ไม่สามารถย้ายการผลิตไปยังโรงงานแห่งอื่นเพื่อให้ผลิตผลิตภัณฑ์ในจำ�นวนที่เพียงพอ หรือ เบิกสินค้าคงคลังได้ หรือหากบริษัทฯ ไม่สามารถดำ�เนินการให้ โรงงานผลิตสินค้าในอัตราการใช้กำ�ลังการผลิตโดยทั่วไปของโรงงาน อันเนื่องมาจากการหยุดชะงักในการส่งมอบวัตถุดิบ บริษัทฯ อาจไม่สามารถส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ได้ตามที่ตกลง และอาจถูกเรียกร้องค่าเสียหาย และทำ�ให้ชื่อเสียงของบริษัทฯ ได้รับผลกระทบ ต้นทุนและความยากในการรวมธุรกิจและเทคโนโลยีที่จะเข้าซื้อในอนาคตอาจเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตในอนาคต และอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อ ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ กลยุทธ์ส่วนหนึ่งในการที่บริษัทฯ จะเติบโตในอนาคตคือ การเข้าซื้อบริษัทที่ประกอบธุรกิจ PET โพลีเอสเตอร์ หรือ PTA เพื่อรักษาสถานภาพการแข่งขันของบ ริษัทฯ ในอุตสาหกรรมที่บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจอยู่ และเพื่อเพิ่มบทบาทในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ซึ่งรวมถึง • ความรับผิดหรือความเสี่ยงที่ไม่อาจทราบได้หรือไม่อาจคาดหมายได้จากการดำ�เนินงานของบริษัทที่บริษัทฯ อาจเข้าซื้อ • ความจำ�เป็นในการก่อหนี้ ซึ่งอาจทำ�ให้บริษัทฯ มีเงินที่จะใช้ในการดำ�เนินงานและเพื่อการอื่นน้อยลง อันเนื่องมาจากการที่บริษัทฯ มีหนี้ที่ต้องชำ�ระเพิ่มขึ้น • ความเป็นไปได้ในการทีบ่ ริษทั ฯ จะไม่สามารถบรรลุถงึ การประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) การส่งเสริมซึง่ กันและกัน (Synergy) หรือประโยชน์อน่ื ๆ • การมีต้นทุนและการใช้เวลาในการบริหารและความพยายามในการเข้าซื้อและรวมกิจการมากกว่าที่คาดหมายไว้ • การที่บริษัทฯ ไม่สามารถผนวกการให้บริการผลิตภัณฑ์ และบุคคลากรจากกิจการที่เข้าซื้อเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ได้สำ�เร็จ หรือไม่สามารถรับรู้การประหยัดต้นทุนหรือผลประโยชน์อื่น ๆ จากการเข้าซื้อกิจการที่คาดว่าจะมีได้ • การที่ไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์กับพนักงาน ลูกค้า และผู้จัดหาสินค้า • การที่บริษัทฯ ไม่ได้ผลตอบแทนจากการลงทุน

รายงานประจำ�ปี 2552

39


บริษัทฯ อาจไม่มีโอกาสในการเข้าซื้อกิจการที่น่าสนใจ หรือเข้าซื้อกิจการภายใต้เงื่อนไขที่น่าสนใจ หรือได้รับแหล่งเงินทุนที่จำ�เป็นต้องใช้เพื่อการเข้าซื้อกิจการ นอกจากนี้ กฎระเบียบในการเข้าซื้อ หรือควบกิจการของกลุ่มสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ประเทศไทย หรือประเทศอื่น ๆ อาจทำ�ให้บริษัทฯ มีข้อจำ�กัดในการ เข้าซื้อหรือควบกิจการในอนาคต การลงทุนโดยการใช้เงินทุนจำ�นวนมากซึ่งรวมถึงการลงทุนในโรงงานใหม่ในอนาคตเป็นสิ่งจำ�เป็นที่จะทำ�ให้แผนการเติบโตของบริษัทฯ ประสบผลสำ�เร็จ ซึ่งการลงทุนดังกล่าวมีความเสี่ยงของโครงการและความเสี่ยงอื่น ๆ แผนการเติบโตของบริษัทฯ ได้มีการและอาจต้องมีการใช้เงินทุนต่อไปเป็นจำ�นวนมากเพื่อใช้ในการขยาย การปรับปรุง การแปลงหรือการยกระดับโรงงานในปัจจุบัน การพัฒนาโรงงานใหม่หรือการเข้าซื้อหรือเข้าลงทุน ขนาดใหญ่ ในโครงการที่ต้องมีรายจ่ายส่วนทุนเป็นจำ�นวนมากจะมีความเสี่ยงต่าง ๆ ซึ่งรวมถึง • การที่ไม่สามารถทำ�ให้โครงการสำ�เร็จภายในระยะเวลา และ/หรืองบประมาณที่กำ�หนด และ • การที่โครงการไม่สามารถดำ�เนินการได้ตามรายละเอียดการดำ�เนินงานที่ได้กำ�หนดไว้ภายหลังจากที่โครงการสำ�เร็จ • นอกจากนี้ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนวัตถุดิบเป็นจำ�นวนมากโดยที่ไม่ได้คาดหมายมาก่อนในแผนของโครงการและการที่ไม่สามารถจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ ในปริมาณและ/หรือราคาที่กำ�หนดไว้ในแผนของโครงการ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อความสำ�เร็จของโครงการ เนื่องจากการลงทุนดังกล่าวจะต้องใช้เงินทุน เป็นจำ�นวนมากและมีช่วงระยะเวลาระหว่างการวางแผนจนถึงความสำ�เร็จของโครงการห่างกันมาก โรงงานผลิตของบริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านการดำ�เนินงาน ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการดำ�เนินงาน ธุรกิจของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับการที่โรงงานต่าง ๆ ของบริษัทฯ สามารถดำ�เนินการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง โดยโรงงานผลิตดังกล่าวอาจจะมีอันตรายเกี่ยวกับการ ผลิต การดูแล การเก็บ และการขนส่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ทางเคมี ซึ่งรวมถึงการรั่วและการแตกของท่อส่ง การระเบิด ไฟไหม้ สภาพอากาศที่รุนแรง และ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ความบกพร่องของเครื่องจักร การหยุดเดินเครื่องจักรนอกเหนือจากที่กำ�หนดไว้ตามแผน ปัญหาของลูกจ้าง การหยุดชะงักของการขนส่ง ความซับซ้อนในการเยียวยา การกระจายของสารเคมี การปล่อยสารที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษ หรือก๊าซ การรั่วของถังเก็บ และความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ โดยอันตรายดังกล่าวอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ทำ�ให้ทรัพย์สินหรืออุปกรณ์เสียหายหรือชำ�รุดอย่างรุนแรงและก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่ง แวดล้อม หรืออาจถูกปรับ หรือมีภาระหนี้สิน เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2553 บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้รับหนังสือจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (“การนิคมฯ”) ซึ่งแจ้งว่าจากการตรวจสอบ โรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม นั้น บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้ดำ�เนินการกำ�จัดสิ่งปฏิกูลโดยใช้วิธีการกำ�จัดโดยการเผาทำ�ลายที่เครื่อง Thermal Oxidizer โดยไม่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังพบว่ามีร่องรอยการรั่วของสารเคมีตามบริเวณข้อต่อต่าง ๆ ของเครื่อง Thermal Oxidizer และค่าออกไซด์ของไนโตรเจนที่ระบายออกจากปล่อง ของเครื่อง Thermal Oxidizer และค่าคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ Vent Scrubber มีค่าเกินเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้ และมีกลิ่นสารเคมีจากโรงงาน ดังนั้น การนิคมฯ จึง มีคำ�สั่งให้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ระงับการกำ�จัดสิ่งปฏิกูลโดยใช้เครื่อง Thermal Oxidizer ทันที และให้ดำ�เนินการปรับปรุงระบบขจัดมลพิษทางอากาศ ของเสียของโรงงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 ทั้งนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้ดำ�เนินการหลายอย่างในการแก้ไขประเด็นต่าง ๆ ตามที่กำ�หนดในหนังสือของการนิคมฯ นอกจากนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคมได้ดำ�เนินการแจ้งไปยังการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ โรงงานผลิตบางแห่งของบริษัทฯ เช่น โรงงานผลิต PET ของ AlphaPet โรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam โรงงาน PTA ของ IRH Rotterdam โรงงานโพลีเอสเตอร์ของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ที่มาบตาพุด และโรงงาน PTA ของ บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ซึ่งตั้งอยู่ในสถานที่ที่ใกล้ กับโรงงานของบริษัทอื่นซึ่งมีความเสี่ยงด้านการดำ�เนินงานเช่นเดียวกัน โดยในบางกรณีที่โรงงานดังกล่าวเป็นผู้จัดหาสินค้าและ/หรือบริการที่มีความสำ�คัญแก่ บริษัทฯ การหยุดชะงักในการส่งมอบสินค้าหรือการให้บริการอาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของบริษัทฯ อัตราแลกเปลี่ยนเงิน และ/หรืออัตราดอกเบี้ยที่มีความผันผวนอาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯ เป็นธุรกิจในระดับระหว่างประเทศ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงินต่างประเทศอาจส่งผลกระทบในทาง ลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ การผันผวนของสกุลเงินต่าง ๆ จะส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ เนื่องจากความ ไม่สมดุลระหว่างสกุลเงินที่เป็นต้นทุนในการดำ�เนินงานและสกุลเงินที่เป็นรายได้ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จำ�หน่ายสินค้าซึ่งโดยปกติจะกำ�หนดราคาโดยอิงกับ เงินดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือเงินยูโร ในขณะที่ต้นทุนในการดำ�เนินงานจะอยู่ในสกุลเงินท้องถิ่น เช่น บาท ปอนด์สเตอริง และลิตัสของประเทศลิธัวเนีย รายได้ของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจากความผันผวนระหว่างสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่บริษัทฯ ใช้ในการจัดทำ�งบการเงิน และสกุลเงินอื่น ๆ ที่บริษัท ย่อยบางแห่งของบริษัทฯ ได้ใช้ในการรายงานผลการดำ�เนินงาน ดังนั้น บริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการขาดทุนจากการแปลงค่าอัตราแลก

40

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


เปลี่ยนเงินตราอันเนื่องมาจากความผันผวนของค่าเงินบาท เมื่อเทียบกับเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ เงินยูโร และเงินสกุลอื่น ๆ ที่บริษัทฯ ใช้ในการประกอบธุรกิจ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และวันที่ 31 ธันวาคม บริษัทฯ มีขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราสุทธิเป็นจำ�นวน 523.8 ล้านบาท และมีกำ�ไรอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราสุทธิเป็นจำ�นวน 567.7 ล้านบาท ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ บริษัทย่อยของบริษัทฯ จะกู้ยืมเงินในสกุลเงินที่บริษัทดังกล่าวต้องใช้ในการประกอบธุรกิจเพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจมีขึ้น ซึ่ง การดำ�เนินการดังกล่าวส่งผลให้บริษทั ฯ มีความเสีย่ งทางด้านอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเงินสกุลดังกล่าว โดยเงินสกุลหลักได้แก่ บาท ดอลล่าร์สหรัฐฯ และยูโร ข้อพิพาททางกฎหมาย 1. Eastman Chemical Company (“Eastman”) ได้ยื่นฟ้อง AlphaPet, IRP Rotterdam, IRP Workington, IRH Rotterdam และ บมจ. อินโดรามา โพลี เมอร์ส ต่อศาลแขวงเดลาแวร์ (Delaware District Court) ในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2552 อันเกี่ยวเนื่องกับการผลิตเชิงพาณิชย์ของโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet (กำ�ลังการผลิตของโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet คิดเป็นร้อยละ 28.8 ของกำ�ลังการผลิตติดตั้งของโรงงานผลิต PET ของบริษัทฯ) ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี (Technology License Agreement) ระหว่าง IRP Rotterdam, IRP Workington, IRH Rotterdam (รวมเรียกว่า “จำ�เลยในทวีปยุโรป”) และ Eastman อันเกี่ยวเนื่องกับการที่บริษัทฯ เข้าซื้อโรงงานผลิต PET และโรงงานผลิต PTA ของ Eastman ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตก เฉียงเหนือของทวีปยุโรปในเดือนมีนาคม 2551 จำ�เลยในทวีปยุโรป ได้รับอนุญาตให้ใช้ความลับทางเทคโนโลยีของ Eastman ในการผลิตผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ บางประเภท ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจการที่ได้ซื้อมา ทั้งนี้ ในคำ�ฟ้องดังกล่าว Eastman ได้กล่าวหาว่า • AlphaPet ได้ละเมิดสิทธิบัตรบางรายการของ Eastman • จำ�เลยในทวีปยุโรปได้ละเมิดสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี และ • จำ�เลยได้ลักลอบใช้ข้อมูลความลับและความลับทางการค้าของ Eastman ภายใต้กฎหมายของมลรัฐเดลาแวร์ บริษัทฯ ประสงค์ที่จะต่อสู้กับข้อกล่าวหาดังกล่าวอย่างจริงจัง โดยที่บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งที่ปรึกษาทางกฏหมาย Kirkland and Ellis LLP ซึ่งบริษัทที่ปรึกษา กฎหมายดังกล่าว ได้มีการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นและได้เตรียมการยื่นข้อโต้แย้งต่อศาล การเข้าซื้อกิจการ AlphaPet รวมทั้งได้มีการซื้อเทคโนโลยีในการผลิต PET จาก Inventa Fischer ซึ่งเป็นผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยี นอกจากนี้ งบการเงินได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับคดีฟ้องร้องดังกล่าว ซึ่งไม่สามารถประเมินผลกระ ทบในเชิงปริมาณได้ แต่อาจเป็นภาระหนีส้ นิ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม ข้อพิพาททางกฎหมายในลักษณะนีอ้ าจใช้ระยะเวลานานจนกว่าคดีความจะยุติ คำ�ฟ้องของ Eastman ซึ่งได้กล่าวหาว่าจำ�เลยในทวีปยุโรปละเมิดสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี ตามที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นนั้น หากศาลเห็นว่าจำ�เลยใน ทวีปยุโรปได้ละเมิดสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีนัยสำ�คัญ Eastman อาจจะยกเลิกสัญญา รวมทั้งการอนุญาตให้ใช้สิทธิต่าง ๆ ที่ได้ให้ไว้ภายใต้สัญญา ดังกล่าว ในกรณีเช่นนั้น จำ�เลยในทวีปยุโรปอาจต้องเข้าเจรจาในข้อสัญญาเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้สิทธิกับ Eastman ใหม่ หรือใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมที่ สามารถนำ�มาใช้แทนเทคโนโลยีเดิมเพื่อให้โรงงานของบริษัทฯ ดำ�เนินการผลิตต่อไปได้ ซึ่งอาจนำ�ไปสู่การหยุดดำ�เนินการผลิตชั่วคราวจนกว่าจะมีการเจรจา ข้อสัญญาใหม่ หรือจนกว่าจะมีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาแทนของเดิม บริษัทฯ เชื่อว่าเทคโนโลยีทางเลือกอื่นนั้นหาได้ในตลาดและมีราคาที่ค่อนข้างต่ำ� อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ไม่สามารถรับรองได้ว่าจะใช้ระยะเวลานานเพียงใดในการใช้เทคโนโลยีใหม่ในโรงงานเหล่านี้ 2. เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 ได้มีกลุ่มองค์กรเอกชน (NGO) สองกลุ่มและประชาชนที่อาศัยอยู่ที่อำ�เภอมาบตาพุด อำ�เภอบ้านฉาง และอำ�เภอเมือง จังหวัด ระยอง ได้ยื่นฟ้องรัฐมนตรี และหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ต่อศาลปกครองกลาง โดยกล่าวหาว่าผู้ถูกฟ้องคดีกระทำ�การละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมาย อื่นโดยการอนุญาตให้มีการก่อสร้างหรือดำ�เนินงานในโครงการจำ�นวน 76 โครงการ โดยมิได้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำ�หนดไว้ในกฎหมายดังกล่าว หนึ่งใน โครงการที่ถูกระบุในคำ�ฟ้อง คือ โรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ซึ่งตั้งอยู่ในอำ�เภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ผู้ถูกฟ้องคดีดำ�เนินการให้มีการระงับการดำ�เนินงานของโครงการต่าง ๆ จำ�นวน 76 โครงการดังกล่าวไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าศาลจะมีคำ�พิพากษา ทั้งนี้ สำ�นักงานอัยการสูงสุด และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมหลายราย รวมถึง บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวดังกล่าวต่อศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2552 ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยว่า จากการพิจารณาในเบื้องต้นของศาล ตามประเภทลักษณะของโครงการหรือกิจกรรมที่อยู่ภายใต้คำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวแล้ว ศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าบาง โครงการหรือกิจกรรมไม่น่าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง เนื่องจากโครงการหรือกิจกรรมดังกล่าวเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่มุ่งควบคุมหรือ บำ�บัดมลพิษ หรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อควบคุมและบำ�บัดมลพิษเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ศาลปกครองสูงสุดจึงมีคำ�สั่งให้โครงการของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ซึ่งเป็นหนึ่งใน 11 โครงการ ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับของคำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวอีกต่อไป การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์สำ�หรับเครื่องดื่มอาจลดอุปสงค์ในการใช้ผลิตภัณฑ์ในขั้นปลาย

รายงานประจำ�ปี 2552

41


ได้มีการออกกฎหมายในมลรัฐต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาและที่อื่น ๆ ซึ่งกำ�หนดให้การขาย การทำ�การตลาด และการใช้บรรจุภัณฑ์สำ�หรับเครื่องดื่มที่ไม่สามารถ นำ�กลับมาเติมได้อีก (Non-refillable) จะต้องมีการวางมัดจำ�หรือจะต้องมีการจ่ายภาษีสิ่งแวดล้อม (Ecotax) หรือค่าธรรมเนียมต่าง ๆ นอกจากนี้ ข้อเสนอ อื่น ๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเงินมัดจำ�บรรจุภัณฑ์สำ�หรับเครื่องดื่ม การนำ�บรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ ภาษีสิ่งแวดล้อม และ/หรือ ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ ที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (Product stewardship) ได้มีหรืออาจมีการเสนอในมลรัฐต่าง ๆ ในสหรัฐ อเมริกา และที่อื่นใด การที่ผู้บริโภค ได้มีความห่วงใยเพิ่มขึ้น และเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับขยะ ที่เป็นของแข็งและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและประเด็นสาธารณะที่เกี่ยวข้อง อาจทำ�ให้มีการ ออกกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ดังกล่าวมาบังคับใช้ สิ่งดังกล่าวทำ�ให้ลูกค้า PET ของบริษัทฯ บางรายลดการใช้เม็ดพลาสติก PET ในกระบวนการผลิตขวด ซึ่ง กระบวนการดังกล่าว เป็นที่รู้จักในชื่อของกระบวนการทำ�น้ำ�หนักเบา (Light Weighting) ได้ก่อให้เกิดการลดการใช้เม็ดพลาสติก PET ในการผลิตขวด และส่ง ผลกระทบต่ออุปสงค์ใน PX, PTA และเม็ดพลาสติก PET กฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอาจทำ�ให้บริษัทฯ มีต้นทุนและความรับผิดที่สูงมากขึ้น การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ อยู่ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทั้งที่เป็นของส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นในประเทศที่บริษัทฯ ประกอบ ธุรกิจ ซึ่งกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าวครอบคลุมถึงเรื่อง มลพิษ การป้องกันสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การปล่อยมลพิษทางอากาศ การปล่อยน้ำ�เสีย สุขภาพ และความปลอดภัยในการทำ�งาน การก่อให้เกิด การจัดการ การดูแล การเยียวยา การใช้ การจัดเก็บ การปล่อย และการเผชิญสสารและขยะที่เป็นอันตราย ซึ่งข้อกำ�หนดดังกล่าวมีความซับซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และมีแนวโน้มที่จะเข้มงวดขึ้น บริษัทฯ ได้มีและยังคงจะต้องมีต้นทุนและรายจ่ายส่วนทุนในการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว รวมถึงในการรักษาใบอนุญาตที่สำ�คัญไว้ บริษัทฯ มีขั้นตอนต่าง ๆ ที่ทำ�ให้บริษัทฯ สามารถปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่า บริษัทฯ จะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าวได้ครบถ้วนตลอดเวลาในอนาคต หรือบริษัทฯ จะสามารถได้รับหรือสามารถต่ออายุใบอนุญาต ความ ยินยอม หรือการอนุญาตที่จำ�เป็นในการดำ�เนินธุรกิจต่อไปทั้งหมดได้ หากบริษัทฯ ไม่สามารถดำ�เนินการดังกล่าวได้ อาจทำ�ให้บริษัทฯ ต้องจ่ายค่าปรับ ได้รับ โทษ และมีความรับผิดอื่นใดที่รุนแรงได้ บริษัทฯ มีกิจกรรมอยู่ในบางประเทศที่อยู่ภายใต้มาตรการการคว่ำ�บาตรโดยสหรัฐอเมริกาและโดยประเทศอื่นๆ และกิจกรรมเหล่านั้นอาจถูกคว่ำ�บาตรได้ ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สำ�นักงานควบคุมทรัพย์สินในต่างประเทศ สังกัดกระทรวงการคลังของสหรัฐอเมริกา (The U.S. Department of the Treasury’s Office of Foreign Assets Control) หรือ OFAC เป็นผู้บังคับใช้กฎหมายและระเบียบบางเรื่องที่มีบทลงโทษต่อบุคคลชาวสหรัฐอเมริกา และนิติบุคคลต่างประเทศในบางกรณี ในกรณีที่มี การดำ�เนินกิจกรรมหรือทำ�ธุรกรรมทางธุรกิจกับประเทศบางประเทศ รัฐบาลบางรัฐบาล นิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดาบางราย ที่ตกอยู่ภายใต้มาตรการการคว่ำ� บาตรทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา หรือกฎหมายการคว่ำ�บาตรทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา (U.S. Economic Sanctions Laws) ในฐานะที่บริษัทฯ เป็นองค์กรที่มีการประกอบธุรกิจเชื่อมโยงทั่วโลก บริษัทฯ ได้มีการทำ�ธุรกิจกับลูกค้า (ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมผ่านทางผู้ค้าและ ตัวแทน) ในหลายประเทศ ซึ่งรวมถึงอิหร่าน ซีเรีย พม่า และไอวอรี่ โคสต์ ทั้งนี้ กิจกรรมของบริษัทฯ กับลูกค้าในรัฐเหล่านี้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการขายเม็ดพลาสติก PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอส เตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ ถือว่าเล็กน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับธุรกิจทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามมาตรการ การคว่ำ�บาตรระหว่างประเทศอย่างเต็มที่ในส่วนที่มีผลบังคับต่อบริษัทฯ การที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจในหลายภูมิภาคทำ�ให้บริษัทฯ ต้องเผชิญกับความเสี่ยงด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค การเมือง กฎหมาย และกฎระเบียบต่าง ๆ ในตลาดที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจและเผชิญกับข้อท้าทายอื่น ๆ การดำ�เนินงานในระดับระหว่างประเทศก่อให้เกิดความท้าทายทีเ่ กีย่ วกับการดำ�เนินงานภายใต้วฒ ั นธรรมทางธุรกิจและภาษาทีแ่ ตกต่างกัน บริษทั ฯ อาจประสบ ความยุ่งยากรวมถึงต้องใช้เวลานานขึ้นในการเรียกเก็บเงิน อีกทั้งบริษัทฯ อาจต้องปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบในต่างประเทศที่ไม่แน่นอนหรือที่มีการ เปลี่ยนแปลงโดยมิได้คาดหมาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการดำ�เนินธุรกิจและความสามารถในการบริหารจัดการแหล่งเงินทุนทั่วโลก การควบคุมการ ส่งออก หรือข้อจำ�กัดที่เกิดจากกฎระเบียบต่าง ๆ อาจทำ�ให้บริษัทฯ ไม่สามารถขนส่งผลิตภัณฑ์ไปมาระหว่างตลาดบางแห่งได้ ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับโควต้า ซึ่งรวม ถึงโควต้าที่กำ�หนดองค์ประกอบของถิ่นฐานของพนักงาน หรือโควต้าที่สนับสนุนแหล่งวัตถุดิบท้องถิ่นอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อต้นทุนการผลิต นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงการควบคุมเงินตรา กฎระเบียบด้านภาษีและสนธิสัญญาเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ อาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของธุรกิจในต่าง ประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลประกอบการโดยรวมของกลุ่มบริษัท อีกทั้ง ยังมีเหตุการณ์อื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนืออำ�นาจการควบคุมของบริษัทฯ เช่นความไม่ มั่นคงทางการเมือง หรือความไม่สงบในสังคมอาจทำ�ให้อุปสงค์ของผู้บริโภคโดยทั่วไปลดลง และทำ�ให้ราคาวัตถุดิบและต้นทุนอื่น ๆ มีความผันผวนเพิ่มขึ้น บริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจากการใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการกีดกันทางการค้า มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti-Dumping) และมาตรการตอบโต้

42

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


การให้เงินสนับสนุนจากภาครัฐ (Anti-Subsidy Duties) เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ได้มีการตรวจสอบและการดำ�เนินการอันเกี่ยวกับการกีดกันทางการค้าในหลายประเทศกับบริษัทต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมที่บริษัทฯ ประกอบธุรกิจอยู่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าธุรกิจที่บริษัทฯ ประกอบการอยู่อาจเผชิญกับการตรวจสอบจากทางการอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น บริษัทฯ จึงเผชิญความเสี่ยง โดยธุรกิจของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการที่สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป หรือประเทศอื่น ๆ ได้นำ�กฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้า มาใช้กับสัญญาหรือแนวทางปฏิบัติที่บริษัทฯ เป็นคู่สัญญาหรือดำ�เนินการอยู่ นอกจากนี้ สหภาพยุโรปยังได้มีมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและมาตรการ ตอบโต้การให้เงินสนับสนุนจากภาครัฐในเม็ดพลาสติก PET ที่นำ�เข้าจากประเทศในกลุ่มอาเซียนซึ่งทำ�ให้เม็ดพลาสติก PET ที่นำ�เข้าดังกล่าวแข่งขันกับเม็ด พลาสติก PET ในท้องถิ่นได้ยาก และทำ�ให้ผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET ในยุโรปมีความได้เปรียบในการแข่งขันมากกว่าผู้นำ�เข้าเม็ดพลาสติก PET จากประเทศใน กลุ่มอาเซียน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่าสหภาพยุโรปจะยังคงมาตรการดังกล่าวกับเม็ดพลาสติก PET ที่นำ�เข้าจากประเทศในกลุ่มอาเซียนต่อไป หรือไม่ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ประเทศจีน ได้ออกมาตรการการตอบโต้การทุ่มตลาดต่อการนำ�เข้าสินค้า PTA จากประเทศไทยและประเทศเกาหลีใต้ การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนหนึ่งต้องอาศัยความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ กับบริษัทอื่น ๆ ในกลุ่มอินโดรามาในประเทศอินโดนีเซียและ ประเทศอินเดีย บริษัทฯ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มอินโดรามาที่รวมตัวกันอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มบริษัทร่วมที่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นอิสระต่อกันจำ�นวน สามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริษัทฯ กลุ่มของนายเอส. พี. โลเฮีย ในประเทศอินโดนีเซีย และกลุ่มของนายโอ. พี. โลเฮีย ในประเทศอินเดีย ทั้งนี้ กลุ่มอินโดรามาจัด ตั้งขึน้ ในประเทศอินโดนีเซียในปี 2519 โดย นายเอ็ม. แอล. โลเฮีย ซึง่ กลุม่ บริษทั แต่ละกลุม่ อยูภ่ ายใต้การบริหารงานของบุตรชายแต่ละคนของ นายเอ็ม. แอล. โลเฮีย บริษัทฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของชื่ออินโดรามา บริษัทฯ ได้รับอนุญาตให้ใช้ชื่ออินโดรามาแบบ Non-Exclusive ตามสัญญาอนุญาตให้ใช้ชื่อ (License Agreement) กับ Lohia Global Holdings Limited ซึ่งเป็นบริษัทที่ควบคุมโดยนายเอ็ม. แอล. โลเฮีย ทั้งนี้ กลุ่มของนายเอส. พี. โลเฮีย และกลุ่มของนายโอ. พี. โลเฮีย ก็ยัง คงใช้ชื่ออินโดรามา บริษัทฯ ไม่ได้มีอำ�นาจในการควบคุมการใช้ชื่ออินโดรามาโดยกลุ่มของนายเอส. พี. โลเฮีย และกลุ่มของนายโอ. พี. โลเฮีย และไม่สามารถ รับประกันได้ว่าการดำ�เนินการใด ๆ ของกลุ่มของนายเอส. พี. โลเฮีย และกลุ่มของนายโอ. พี. โลเฮีย จะไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อชื่อเสียงของชื่ออินโดรามา บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) จึงต้องพึ่งพิงเงินปันผลที่ได้รับจาก การถือหุ้นในบริษัทอื่นเพื่อจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เนื่องจาก บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส จึงต้องอาศัยเงินปันผลที่ได้รับจากการถือหุ้น ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในการจ่ายเงินปันผลของตน ซึ่งการจ่ายเงินปันผล ดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับผลประกอบการทางการเงินในอนาคต ซึ่งเป็นผลมาจาก ความสำ�เร็จในการปรับใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทนั้น ๆ และขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยเกี่ยวกับการแข่งขัน ปัจจัยทางกฎหมาย ปัจจัยทางเทคนิค และปัจจัยอื่น ๆ สภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไป อุปสงค์ และราคาขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทนั้น ๆ และปัจจัยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือ โครงการของบริษัทนั้น ๆ ซึ่งปัจจัยหลายประการอยู่นอกเหนือความควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ความสามารถของบริษัทย่อย (ทั้งทางตรงและทางอ้อม) ของบริษัทฯ ในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นซึ่งรวมถึง บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส อยู่ภายใต้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าบริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะจ่ายเงินปันผลในหุ้นของบริษัทฯ ให้แก่ผู้ถือหุ้น ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ในอนาคต จะขึ้นอยู่กับมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ กระแสเงินสด ฐานะทางการเงิน ข้อห้ามตาม สัญญา และข้อห้ามตามกฎหมาย และปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ เห็นว่าเกี่ยวข้อง (สำ�หรับรายละเอียด: กรุณาอ้างถึงส่วนปัจจัยความเสี่ยงในแบบฟอร์ม 56-1)

รายงานประจำ�ปี 2552

43


รายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทมีรายการระหว่างกันกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่ง เป็นรายการที่เกิดขึ้นจากการทำ�ธุรกิจปกติ โดยการกำ�หนด ราคาจะเป็นราคาที่สามารถอ้างอิงได้กับราคาตลาดที่เสนอให้ลูกค้ารายอื่น หรือ เป็นราคาที่ได้รับเสนอมาจากผู้ผลิต ในเงื่อนไขที่สามารถเปรียบเทียบได้และ สมเหตุสมผล รายการระหว่างกันในปี 2552 สามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้ โดยมีเหตุผลอ้างอิงประกอบดังนี้: I. รายการธุรกิจปกติ ชนิดของรายการ

เหตุผลอ้างอิง

การกำ�หนดราคา

บมจ.เสริมสุข เป็นลูกค้าหลักของ บจ. เพ็ท ฟอร์ม (ไทยแลนด์) โดยสั่งซื้อพลาสติกขึ้น รูปขวด ฝาขวดเกลียว และ ขวด สำ�หรับ ผลิตผลิตภัณฑ์ ของ Pepsico

เป็นราคาที่ต่อรองกัน โดยจะต่อรองกัน เป็นระยะเพื่อสะท้อนราคาตลาดที่เป็นอยู่ ในขณะนั้นๆ

702.50

Indorama Synthetics India Ltd. เป็น ผู้ผลิตและจำ�หน่าย โพลีเอสเตอร์ โดยใช้ PTA เป็นวัตถุดิบ

เป็นราคาที่ต่อรองกันที่สามารถเทียบเคียง ได้กับราคาตลาดที่เสนอขายให้กับลูกค้า รายอื่น

926.99

เนื่องจากโรงงานของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ เริ่มเปิดดำ�เนิน การผลิตอีกครั้งหลังจากปิดโรงงานไป 3 ปี การขายนี้จึงมีขึ้นเพื่อทดสอบและพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์

อ้างอิงได้กับราคาตลาด

52.66

บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ต้องใช้สารเคมีเหล่านี้ เป็นการเร่งด่วนเพื่อ ใช้ในในการเริ่มต้นการผลิตของโรงงาน

ราคาตลาด

0.82

การขายพลาสติกขึ้นรูปขวด ฝาขวดเกลียว และ ขวด 1) การขายสินค้าของ บจ. เพ็ท ฟอร์ม (ไทยแลนด์) ให้กับ บมจ. เสริมสุข

มูลค่า (ล้านบาท)

การขาย กรด Purified Terephthalic (PTA) 1) การขายสินค้าของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ให้ กับ Indorama Synthetics India Ltd. การขายเส้นใย โพลีเอสเตอร์ และ ด้ายขนสัตว์ 1) การขายสินค้าของ บมจ. อินโด รามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ให้กับ P.T. Indorama Synthetics Tbk Ltd, Indonesia การซื้อ สารสังเคราะห์ และ สารเคมี 1) บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ซื้อจาก P.T. Indorama Synthetics Tbk Ltd, Indonesia

II. รายการเช่า หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี และไม่สามารถแสดงได้ว่ามีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป ชนิดของรายการ

เหตุผลอ้างอิง

การกำ�หนดราคา

บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ เช่าหอพัก ขนาด 7,577 ตารางเมตร ของบจ. แปซิฟิค รีซอสเซส เพื่อใช้สำ�หรับเป็นที่พัก ของพนักงาน

ค่าเช่าและค่าบริการเป็นมูลค่ายุติธรรมของ ผลตอบแทนจากอสังหาริมทรัพย์ ที่ประมาณ ร้อยละ 7 – 8

การเช่าหอพักที่จังหวัดระยอง 1) บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ชำ�ระเงินให้กับ บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

44

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

มูลค่า (ล้านบาท) 2.70


ชนิดของรายการ

Rationale

Pricing Method

Amount

พื้นที่สำ�นักงาน ที่อาคารโอเชียน ทาวเวอร์ 2 กรุงเทพ 1)บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ชื่อเดิม บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ชำ�ระเงินให้กับ บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ เช่าพื้นที่สำ�นักงาน ชั้น 28 ที่อาคาร โอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ขนาด 1457.88 ตารางเมตร จาก บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

ตามราคาค่าเช่าปัจจุบันของ อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์

3.45

2) บมจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ชำ�ระ เงินให้กับ บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

บมจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ เช่าพื้นที่สำ�นักงาน ชั้น 28 ที่อาคาร โอเชี่ยน ทาวเวอร์ 2 ขนาด 857.73 ตารางเมตร จาก บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

ตามราคาค่าเช่าปัจจุบันของ อาคารโอเชี่ยน ทาวเวอร์

1.80

บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ชื่อ เดิมบจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) เป็นเจ้าของ สำ�นักงานที่นครปฐม โดยให้บจ. ไครโอวิวา (ประเทศไทย) เช่าพื้นที่สำ�นักงาน ขนาด 630 ตารางเมตร

ค่าเช่าคิดเทียบจากอัตราเช่าใน พื้นที่

0.94

พื้นที่สำ�นักงานที่นครปฐม 1) บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ชื่อเดิมบจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) รับชำ�ระเงินจากบจ. ไครโอวิวา (ประเทศไทย)

III. รายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ชนิดของรายการ

เหตุผลอ้างอิง

1) Canopus International Ltd. ให้เงินกู้ยืมแก่ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส

Canopus International Ltd. ให้เงินกู้ยืมด้อย สิทธิ (Subordinated Loan) แก่ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส กู้เงินจำ�นวน 10 ล้าน เพื่อสนับสนุนในการปรับโครงสร้างของ IRPTA

การกำ�หนดราคา

มูลค่า (ล้านบาท)

ไม่มีดอกเบี้ย

24.47

รายงานประจำ�ปี 2552

45


ความสัมพันธ์ที่บริษัท/กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่บุคคลหรือกิจการต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัทโดยการถือหุ้น หรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกันหรือมีกรรมการ ร่วมกัน โดยมีความสัมพันธ์ในรายการข้างต้นดังต่อไปนี้ : ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ์

บจ. เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์)

ไทย

บริษัทย่อยทางอ้อม เป็นกิจการร่วมค้าระหว่าง บมจ. อินโดรามา โพลิเมอร์ส และ บมจ. เสริมสุข

บมจ. เสริมสุข

ไทย

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บจ. เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) โดยถือหุ้นร้อยละ 40 และมีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน

บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม

ไทย

บริษัทย่อยทางตรง โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 100

Indorama Synthetics India Ltd. บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ P.T. Indorama Synthetics Tbk Ltd.

อินเดีย ไทย อินโดนีเซีย

นายโอ พี โลเฮีย ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ Indorama Synthetics India Ltd. เป็นพี่ชายของนายอาลก โลเฮีย บริษัทย่อยทางตรง โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 99.55 กรรมการร่วมกัน 1 ท่าน

บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

ไทย

นายอนุช โลเฮีย บุตรชายของ นายอาลก โลเฮีย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของ บจ. แปซิฟิค รีซอสเซส

บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์

ไทย

บริษัทย่อย โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 97.93

บจ. ไครโอวิวา (ประเทศไทย)

ไทย

กรรมการร่วมกัน 1 ท่าน

Canopus International Ltd.

มอริเชียส

ผู้ถือหุ้นในลำ�ดับสูงสุดของกลุ่มบริษัท

สัญญาอนุญาตให้ใช้ชื่อ (License Agreement) และสัญญาค่าใช้สิทธิ (Royalty Fees Agreement) ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 มีมติอนุมัติการเข้าทำ�สัญญาดังกล่าวกับ Lohia Global Holdings Ltd. ซึ่งเป็นเจ้าของชื่อ ‘อินโดรามา’ หรือ ‘INDORAMA’ โดย Lohia Global Holdings Ltd. อนุญาตให้บริษัท หรือบริษัทย่อย ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ใช้ชื่อดัง กล่าว แบบ Non-Exclusive ในต่างประเทศทั่วโลก ความสัมพันธ์ : นาย เอ็ม แอล โลเฮีย ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และเป็นกรรมการของ Lohia Global Holdings Ltd. เป็นบิดาของ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และ นายอาลก โลเฮีย ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ระยะเวลาและค่าธรรมเนียม: บริษัท ต้องจ่ายค่าใช้สิทธิ (Royalty Fees) ในอัตราปีละ 0.5 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ต่อตันของปริมาณผลิตภัณฑ์ที่บริษัทและบริษัทย่อยผลิตได้ (ไม่รวมของเสียจาก การผลิต) โดยจะจ่ายเป็นรายไตรมาส โดยเริ่มมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2553

46

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายการการชำ�ระเงินดังกล่าวนี้ จะแจ้งไว้ในงบการเงินและรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารทุกๆไตรมาส ทั้งนี้ บริษัท อาจสามารถทำ�การปรับ เปลี่ยนเงื่อนไขในสัญญาอนุญาตให้ใช้ชื่อ (License Agreement) และสัญญาค่าใช้สิทธิ (Royalty Fees Agreement) ดังกล่าวเพื่อให้เป็นประโยชน์แก่กลุ่ม บริษัท ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อรายการระหว่างกัน รายการระหว่างบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังที่ได้แจงมาแล้วนั้น ได้ถูกพิจารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบได้ลงความ เห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นรายการที่จำ�เป็นและสมเหตุสมผลต่อการดำ�เนินงานของบริษัท โดยที่ได้พิจารณาเห็นว่าบริษัทได้กระทำ�รายการดังกล่าวโดยถือเอา ประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นที่ตั้งและไม่พบว่ามีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง นโยบายและขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน ในกรณีที่บริษัทต้องมีการทำ�ธุรกรรมกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจทำ�ให้มีผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกับบริษัทได้นั้น คณะกรรมการตรวจสอบจะแสดงความคิด เห็นต่อความจำ�เป็นในการทำ�รายการดังกล่าว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาถึงเงื่อนไขของการทำ�รายการนั้นๆว่าสอดคล้องกับราคาตลาด หรือไม่ โดยตรวจสอบราคาให้เป็นไปตามราคาตลาด ในกรณีที่ไม่สามารถอ้างอิงราคาตลาดได้ คณะกรรมการจะต้องพิจารณาราคาว่าเหมาะสมหรือไม่ และ การทำ�รายการดังกล่าวต้องเป็นไปโดยถือเอาประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นเป็นสำ�คัญ หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่สามารถประเมินธุรกรรมดัง กล่าวได้เนื่องจากอาจมีความเชี่ยวชาญไม่เพียงพอในบางด้าน บริษัทจะจัดหาผู้เชี่ยวชาญอิสระให้เข้ามาประเมินและให้ความเห็นเกี่ยวกับธุรกรรมเหล่านั้น โดย คณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งผู้ถือหุ้นจะสามารถใช้ความเห็นจากผู้ประเมินอิสระเหล่านี้เพื่อช่วยสนับสนุนข้อสรุปของตน ทั้งนี้ กรรมการที่อาจมีส่วนได้เสียกับรายการระหว่างกันดังกล่าวจะไม่มีสิทธิในการออกเสียงในเรื่องที่เกี่ยวกับรายการระหว่างกันนั้นๆรายการระหว่างกันทั้งหมด จะถูกเปิดเผยโดย ผู้สอบบัญชีที่ได้รับการแต่งตั้งในงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปีที่ได้รับการสอบทานหรือตรวจสอบแล้วตามแต่กรณี รวม ถึงในรายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)/ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นโยบายในการทำ�รายการระหว่างกัน สำ�หรับเข้าทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทจะตรวจสอบเพื่อให้รายการมีความสอดคล้องกับบทบัญญัติ กฎ ข้อกำ�หนด และระเบียบ ของคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกเหนือจากนี้ บริษัทต้อง รายงานข้อมูลให้เป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของไทย (Thai GAAP) เกี่ยวกับระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมระหว่างบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ และระเบียบอื่นๆที่สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีแห่งประเทศไทยได้กำ�หนดไว้ รวมถึงให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทเองด้วยดังที่กล่าวมาแล้ว เมื่อบริษัท ต้องการเสนอให้มีการทำ�ธุรกรรมใดๆกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง บริษัทจะต้องให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลของรายการดังกล่าว ใน กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความเชี่ยวชาญในกรณีนั้นๆ คณะกรรมการตรวจสอบสามารถจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญอิสระ เช่นผู้ประเมินอิสระ เพื่อเข้ามา ทำ�การประเมินและให้ความเห็นเกี่ยวกับธุรกรรมนั้นได้ โดยคณะกรรมการบริหารและผู้ถือหุ้นสามารถนำ�ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ ผู้ ประเมินอิสระดังกล่าว มาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ โดยมั่นใจได้ว่าธุรกรรมระหว่างบริษัทที่เกี่ยวข้อง จะสามารถดำ�เนินการได้โดยไม่มีผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ดี บริษัทและบริษัทย่อยทั้งหมด อาจมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือ ผู้มีส่วนเกี่ยว ข้องอื่นๆ ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการบริหารได้ลงมติอนุมัติหลักการที่คณะผู้บริหารสามารถอนุมัติธุรกรรมดังกล่าวได้ ภายใต้เงื่อนไขที่สมเหตุสมผล โปร่งใส และ ซื่อตรง และธุรกรรมดังกล่าวจะต้องมีเงื่อนไขเดียวกับเงื่อนไขที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีการทำ�ธุรกรรมทางธุรกิจระหว่างบุคคลทั่วไปกับบริษัท ภายใต้การเจรจา ทางการค้าปกติ โดยปราศจากผลประโยชน์ที่อาจมีได้จากตำ�แหน่งของกรรมการ ผู้บริหาร หรือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น แล้วแต่กรณี

รายงานประจำ�ปี 2552

47


คำ�อธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ข้อมูลสำ�คัญจากงบการเงินรวมปี 2552 ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส • บันทึกยอดขายและรายได้รวมในปี 2552: - ยอดขายสุทธิในปี 2552 มีจ�ำ นวนทัง้ สิน้ 79,994 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 50% - กำ�ไรสุทธิกอ่ นหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม ในปี 2552 มีจ�ำ นวนทัง้ สิน้ 10,636 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 177% - กำ�ไรสุทธิกอ่ นหักภาษีมจี �ำ นวนทัง้ สิน้ 6,573 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 107% - *กำ�ไรสุทธิหลังหักภาษีและผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย มีจ�ำ นวนทัง้ สิน้ 5,346 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 68% (ทัง้ นีไ้ ด้ รวมส่วนกำ�ไรของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ภายหลังทีไ่ ด้ท�ำ การเสนอซือ้ ต่อผูถ้ อื หุน้ ทัว่ ไป(Tender Offer)แล้ว เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2010 อันทำ�ให้สดั ส่วนการลงทุนของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เพิม่ จาก 69.29% เป็น 99.08%) • ผลดีจากการควบรวมธุรกิจเข้ากับการผลิต PTA ซึง่ เป็นวัตถุดบิ หลักสำ�หรับการผลิต PET เรซิน่ และ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์: - อัตรากำ�ไรขัน้ ต้น เพิม่ ขึน้ เป็น 15.4% จาก 9.7% - อัตรากำ�ไรสุทธิกอ่ นดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม เพิม่ ขึน้ เป็น 13.3 % จาก 7.2% - อัตรากำ�ไรสุทธิกอ่ นกำ�ไรของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเพิม่ ขึน้ เป็น 7.5% จาก 5.9 % • กำ�ไรต่อหุน้ คิดเป็น 1.44 บาทต่อหุน้ และ คิดเป็นผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมด 30% • การเพิม่ ขึน้ ของกระแสเงินสดอิสระก่อนหักรายจ่ายฝ่ายทุนและการลงทุนต่างๆ จำ�นวน 7,404 ล้านบาท และกระแสเงินสดอิสระหลังหักรายจ่ายฝ่ายทุนและการ ลงทุนต่างๆจำ�นวน 3,454 ล้านบาท • หนีส้ นิ สุทธิ ได้ลดลงเป็นจำ�นวน 3,152 ล้านบาทและทำ�ให้อตั ราส่วนหนีส้ นิ สุทธิตอ่ เงินทุนของกิจการ ลดลงไปเป็น 63 % จาก 70% ณ สิน้ ปี 2551 (ก่อนรวม รายรับจากการเสนอขายหุน้ ต่อมหาชนเป็นครัง้ แรก ซึง่ ได้รบั ในไตรมาสที่ 1 ปี 2553 ) • โครงการลงทุนหลักทีส่ �ำ เร็จ: - AlphaPet ซึง่ เป็นโรงงานผลิต PET เรซิน่ สร้างใหม่ซง่ึ มีก�ำ ลังการผลิตที่ 432,000 ตันต่อปี ตัง้ อยูท่ เ่ี มือง Decatur รัฐอลาบาม่า สหรัฐอเมริกา ได้เริม่ สายการผลิต แรกทีก่ �ำ ลังการผลิต 216,000 ตันต่อปีใน เดือนตุลาคม ปี 2552 - การเริม่ ดำ�เนินการผลิตอีกครัง้ ของสายการผลิตทีโ่ รงงาน อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ (โรงงานทีจ่ งั หวัดระยอง) ด้วยกำ�ลังการผลิตทัง้ หมด 252,000 ตัน ต่อปี โดยเป็นการผลิต เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ 144,000 ตันต่อปี และ การผลิต PET เรซิน่ 108,000 ตันต่อปี (โดยมีการแปลงสายการผลิตให้เป็น PET เร ซิน่ ซึง่ เริม่ ดำ�เนินการใน ไตรมาสที่ 4 ปี 2552) ปี 2552 ได้สะท้อนให้เห็นถึงผลประกอบการเต็มปีภายหลังจากการควบรวมธุรกิจหลักๆเสร็จสิน้ ในปี 2551 ในสายการผลิต PTA PET เรซิน่ และเส้นด้ายและเส้นใย โพลีเอสเตอร์ ถึงแม้จะเกิดสภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปี 2552 ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ยังคงมีการเติบโตจากความต้องการสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก ซึง่ ผลิตภัณฑ์ PET เรซิน่ และ เส้นด้ายเส้นใยโพลีเอสเตอร์ นัน้ ได้น�ำ ไปใช้ผลิตสินค้าทีใ่ ช้ในชีวติ ประจำ�วัน เช่น อาหาร เครือ่ งดืม่ และเสือ้ ผ้า นอกจากนีค้ ณะผูบ้ ริหารยังได้เน้นถึง ความสำ�คัญของการลดต้นทุนผ่านการควบรวม การเพิม่ อัตราการผลิตให้เต็มอัตรา และการใช้ประโยชน์จากต้นทุนพลังงานทีล่ ดลง *กำ�ไรสุทธิหลังหักภาษีและผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ในงบการเงินปี 2552 ทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบแล้วมีจ�ำ นวน 4,824 ล้านบาท

ผลการดำ�เนินงานรวมของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ผลการดำ�เนินงาน บทสรุปโดยย่อของเหตุการณ์ส�ำ คัญทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2552 ในแต่ละกลุม่ ธุรกิจของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส กลุม่ ธุรกิจ PET มียอดขายเป็นจำ�นวน 44,456 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 9% ในระยะเวลาทีผ่ า่ นมา การเพิม่ ขึน้ ของยอดขายนัน้ เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ 32% ของปริมาณ การขายขึน้ เป็นจำ�นวน 1.02 ล้านตัน ถึงแม้วา่ ราคาวัตถุดบิ ทีล่ ดลงจะทำ�ให้ราคาขายลดลงตามไปด้วยนัน้ ปริมาณการขายทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดยหลักมาจากยอดขายทัง้ ปี ของสินทรัพย์ในยุโรปทีค่ วบรวมมา ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 รวมถึงการรักษาอัตรากำ�ลังการผลิตที่ 101% รายได้จากกลุม่ ธุรกิจ PET นัน้ คิดเป็น 55.6% ของยอด ขายรวมและ 53.5% ของกำ�ไรสุทธิรวมก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และ ค่าเสือ่ มต่างๆ กลุม่ ธุรกิจเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ มียอดขายเป็นจำ�นวน 11,668 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 87% ในระยะเวลาทีผ่ า่ นมา อันเนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ 199% ของปริมาณการขายเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ จากการเริม่ ดำ�เนินการผลิตใหม่ของสายการผลิต ทีโ่ รงงานอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ ที่ ระยอง ซึง่ เริม่ ดำ�เนินการใน ไตรมาสที่ 1 ปี 2552 หลังจากการซือ้ กิจการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 รายได้จากกลุม่ ธุรกิจ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์และ เส้นใยจากขนสัตว์นน้ั นัน้ คิดเป็น 14.6% ของยอดขายรวมและ 12.7% ของกำ�ไรสุทธิรวมก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และ ค่าเสือ่ มต่างๆ

48

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


กลุม่ ธุรกิจ PTA รายงานยอดขาย PTA ให้ลกู ค้าภายนอก (ไม่นบั รวมการขายให้กบั ธุรกิจในกลุม่ บริษทั ) เป็นจำ�นวน 23,870 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 318% ในระยะเวลา ทีผ่ า่ นมา อันเนือ่ งมาจากการดำ�เนินงานเต็มปีของโรงงาน PTA ทัง้ สามโรงงานทีค่ วบรวมในปี 2551 และการรักษาอัตราการกำ�ลังการผลิตที่ 100% ยอดขาย 48% จากยอดขายทัง้ หมดมาจากการนำ�ไปใช้ในธุรกิจการผลิต PET เรซิน่ และ ธุรกิจเส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ภายในกลุม่ รายได้จากกลุม่ ธุรกิจ PTA นัน้ นัน้ คิดเป็น 29.8% ของยอดขายรวมและ 33.8% ของกำ�ไรสุทธิรวมก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และ ค่าเสือ่ มต่างๆ ผลประกอบการรวม ยอดขายรวมทัง้ หมดของ บริษทั IVL คิดเป็นจำ�นวน 79,994 ล้านบาทในปี 2552 เพิม่ ขึน้ 50% จากปีกอ่ น เนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการขายของ PET เร ซิน่ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และ PTA นอกจากนี้ การเพิม่ ขึน้ ของยอดขายยังมาจากการทีธ่ รุ กิจทีค่ วบรวมมาในปี 2551 ทัง้ ในประเทศไทย และ ยุโรป ได้เข้า สูก่ ารดำ�เนินการเต็มปี และดำ�เนินการผลิตเต็มกำ�ลังภายในไตรมาสที่ 4 ของ ปี 2552 กำ�ไรสุทธิกอ่ นหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ มต่างๆ เพิม่ ขึน้ เป็น 10,636 ล้านบาทในปี 2552 ซึง่ คิดเป็นการเพิม่ ขึน้ 177 % จากปี 2551 ซึง่ ทำ�ให้อตั รากำ�ไรสุทธิกอ่ น หักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ มต่างๆเพิม่ ขึน้ จาก 7.2%ในปี 2551 ไปเป็น 13.3% ในปี 2552 ความสามารถในการทำ�กำ�ไรทีส่ งู ในปี 2552 นีท้ �ำ ให้มกี ระแสเงินสดอิสระ หลังจากรายจ่ายฝ่ายทุนเป็นจำ�นวน 3,454ล้านบาท ซึง่ ได้ถกู นำ�ไปใช้ในการลดหนี้ โดยยอดหนีส้ นิ สุทธิในปี 2552 ลดลงเป็นจำ�นวน 3,315 ล้านบาทแม้หลังจากเบิก ใช้วงเงินเพือ่ การก่อสร้างโครงการ AlphaPet และสำ�หรับการขยายและปรับปรุงโรงงานอินโดรามาโพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ ทีจ่ งั หวัดระยอง บริษทั มีก�ำ ไรสุทธิกอ่ นหักภาษี เป็นจำ�นวน 6,573 ล้านบาทในปี 2552 เพิม่ ขึน้ 107% จากปีทผ่ี า่ นมา เนือ่ งมาจากยอดขายและกำ�ไรจากการดำ�เนินงานทีแ่ ข็งแกร่ง ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้เพิม่ ขึน้ เป็น 554 ล้านบาทในปี 2552 เมือ่ เทียบกับ จำ�นวน 53 ล้าน บาทในปีกอ่ นหน้า ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้นน้ั คิดเป็น 8.4% ของกำ�ไรสุทธิกอ่ น หักภาษีโดยเป็นภาษีของรายได้จากบริษทั ย่อยในสหรัฐอเมริกาและยุโรป กำ�ไรสุทธิหลังหักส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย เพิม่ ขึน้ เป็น 4,824 ล้านบาทในปี 2552 ซึง่ คิดเป็นการเพิม่ ขึน้ 82% จากปี 2551 โดยในปีทผ่ี า่ นมา บริษทั บันทึกกำ�ไรสุทธิ หลังส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยเป็นจำ�นวน 2,656 ล้านบาท ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย เพิม่ ขึน้ จาก 467 ล้านบาท ไปเป็น 1,195 ล้านบาทในปี 2552 และส่วนใหญ่เป็น ผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยในบมจ. อินโดรามา โพลิเมอร์ส (IRP ) และ บมจ. ทีพที ี ปิโตรเคมิคอล สำ�หรับการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานในอนาคต นักลงทุนควรพิจารณาจากการที่ บริษทั IVL ได้เพิม่ สัดส่วนการลงทุนใน IRP จาก 69.29% เป็น 99.08% ด้วย การแลกหุน้ ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2553 โดยกำ�ไรสุทธิของบริษทั หลังจากหักส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย (ยกเว้น IRP ) คิดเป็น 5,346 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 68% จากปี 2551 รายจ่ายด้านการลงทุนและยอดหนีส้ นิ สุทธิ รายจ่ายด้านการลงทุนทัง้ หมดของบริษทั ในปี 2552 จำ�นวน 3,785 ล้านบาท เป็นการลงทุนอันเนือ่ งมาจากการก่อสร้างโรงงานใหม่ สำ�หรับผลิต PET เรซิน่ ชือ่ AlphaPet เป็นจำ�นวน 2,479 ล้านบาท และการลงทุนขยายงานและปรับปรุงโรงงานของ โรงงานอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จังหวัดระยอง เป็นจำ�นวน 665 ล้านบาท โดยยอดรายจ่ายด้านการลงทุนในปี 2552 จำ�นวน 3,478 ล้านบาท เป็นรายจ่ายเพือ่ การลงทุนและขยายงาน ส่วนทีเ่ หลืออีก 307 ล้านบาทนัน้ เป็นรายจ่าย เพือ่ การบำ�รุงรักษา ส่วนรายจ่ายด้านการลงทุนทัง้ หมดใน ปี 2552 จำ�นวน 4,856 ล้านบาท ซึง่ เป็นการลงทุนใน การก่อสร้างโรงงาน AlphaPet เป็นจำ�นวน 3,466 ล้านบาท ในสหรัฐอเมริกา สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจ�ำ นวน 74,260 ล้านบาท ซึง่ ประกอบไปด้วยสินทรัพย์ถาวรจำ�นวน 49,505 ล้านบาท โดยคิด เป็น 67% ของสินทรัพย์รวม ณ สิน้ ปี ยอดหนีส้ นิ สุทธิของบริษทั IVL มีจ�ำ นวน 37,540 ล้านบาท ลดลง 8% จากปีกอ่ นหน้า โดยบริษทั สามารถจ่ายคืนหนีจ้ ากยอดกำ�ไรสุทธิกอ่ นดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ มทีส่ งู ขึน้ และ กระแสเงินสดอิสระหลังจากหักรายจ่ายด้านทุน อัตราส่วนหนีส้ นิ สุทธิตอ่ เงินทุนของกิจการลดลงจาก 70% ในปี 2551 ไปเป็น 63% ณ สิน้ ปี 2552 โดยยอดหนีส้ ทุ ธิประกอบด้วย: เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูร้ ะยะสัน้ 10,004 ล้านบาท เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระในหนึง่ ปี 4,692 ล้านบาท เงินกูย้ มื ระยะยาวสุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระในหนึง่ ปี 25,404 ล้านบาท รวม 40,100 ล้านบาท หัก: เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด 2,560 ล้านบาท ยอดหนีส้ นิ สุทธิ 37,540 ล้านบาท หมายเหตุ: ข้อมูลเพิม่ เติมให้อา้ งอิงถึงแบบแสดงข้อมูลประจำ�ปี (ฟอร์ม 56-1) หัวข้อคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารเกีย่ วกับฐานะทางการเงินและผลการ ดำ�เนินงาน

รายงานประจำ�ปี 2552

49


ข้อมูลทางการเงิน ผลประกอบการรวมของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส IVL: รายได้ รายได้รวม ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ สัดส่วนรายได้แบ่งตามภูมิภาค ประเทศไทย เอเชีย (ไม่รวมประเทศไทย) อเมริกาเหนือ ยุโรป ภูมิภาคอื่น ๆ

ปี 2552

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

79,994 2,331

53,332 1,600

50% 46%

15% 24% 16% 38% 8%

11% 11% 24% 48% 7%

ปี 2552

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

10,636 310 13.3%

3,838 115 7.2%

177% 169%

6,573 192 8.2%

3,176 95 6.0%

107% 101%

*5,346 156 6.0%

*3,182 95 5.0%

68% 64%

IVL: ผลประกอบการหลักและอัตรากำ�ไร กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%) กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิก่อนภาษี ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%) กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิหลังภาษีและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%)

*รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัท IRP ภายหลังจากที่ได้ทำ�การเสนอซื้อต่อผู้ถือหุ้นทั่วไป(Tender Offer)แล้ว เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2010 ทำ�ให้ สัดส่วนการลงทุนของ IVL ได้เพิ่มจาก 69.29% เป็น 99.08% IVL: งบกระแสเงินสด ล้านบาท กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย เงินทุนหมุนเวียนสุทธิและอื่น ๆ รายจ่ายด้านการเงินทุทธิ ภาษีเงินได้ กระแสเงินสดอิสระก่อนรายจ่ายฝ่ายทุน รายจ่ายฝ่ายทุน ยอดสุทธิจากการซื้อขายบริษัทย่อย กระแสเงินสดอิสระหลังรายจ่ายฝ่ายทุน จ่ายเงินปันผล เงินสดรับจากการออกหุ้น ยอดเปลี่ยนแปลงในหนี้สินสุทธิ

ปี 2552 10,636 (1,084) (1,884) (264) 7,404 (3,785) (165) 3,454 (182) 0 (3,272)

ปี 2551 3,838 (1,290) (1,302) (28) 1,218 (4,856) (14,194) (17,832) (136) 4,025 13,943

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551 177% -16% 45% 843% 508% -22% -99% n/a 34% -100% n/a

หมายเหตุ: งบการเงินรวมนี้ ไม่ได้น�ำ ธุรกรรมระหว่างกิจการภายในมารวมคำ�นวณซึง่ เป็นเหตุผลทีจ่ ะทำ�ให้ยอดรวมของแต่ละกลุม่ ธุรกิจอาจไม่เท่ากันกับงบการเงินรวม

50

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


IVL: อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อเงินทุน (%) อัตราส่วนหนี้สินจากการดำ�เนินงานสุทธิต่อเงินทุน (%) อัตราส่วนความสามารถในการชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนทั้งหมด (%)

ปี 2552 0.9 63% 60% 6.7 30.0% 13.8%

ปี 2551 0.8 70% 67% 2.7 26.0% 6.7%

ปี 2552 1,012,000 1,026,582 101%

ปี 2551 869,250 804,190 93%

ระหว่าง ปี 2552 กับปี 2551 16% 28%

ปี 2552

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

44,456 1,295

40,969 1,229

9% 5%

ข้อมูลแยกตามส่วนงาน PET PET : กำ�ลังการผลิตและอัตราการผลิต (%) กำ�ลังการผลิต (ตัน) ปริมาณผลิต (ตัน) อัตราการผลิต (%) PET : รายได้ รายได้รวม ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ การเติบโตของรายได้เป็นบาทจาก: การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย การเปลี่ยนแปลงของราคา สัดส่วนรายได้แบ่งตามภูมิภาค ประเทศไทย เอเชีย (ไม่รวมประเทศไทย) อเมริกาเหนือ ยุโรป ภูมิภาคอื่น ๆ

6% 3% 27% 58% 6%

32% -18% 6% 3% 27% 58% 6%

PET : กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัด จำ�หน่าย และอัตรากำ�ไร

ปี 2552

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%)

5,687 166 12.8%

2,873 86 7.0%

98% 92%

รายงานประจำ�ปี 2552

51


เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์และเส้นใยจากขนสัตว์ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์: กำ�ลังการผลิตและอัตราการผลิต (%) เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ กำ�ลังการผลิต (ตัน) * ปริมาณผลิต (ตัน) อัตราการผลิต (%) เส้นใยจากขนสัตว์ กำ�ลังการผลิต (ตัน) * ปริมาณผลิต (ตัน) อัตราการผลิต (%)

ปี 2552 333,080 318,582 96%

ปี 2551 100,000 109,651 110%

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551 233% 191%

5,900 3,062 52%

5,900 4,136 70%

0% -26%

ปี 2551 6,243 187

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551 87% 82%

* ปริมาณผลิตบนฐานการผลิตเทียบเท่า เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์: รายได้ รายได้รวม ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ การเติบโตของรายได้เป็นบาทจาก: การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย การเปลี่ยนแปลงของราคา สัดส่วนรายได้แบ่งตามภูมิภาค ประเทศไทย เอเชีย (ไม่รวมประเทศไทย) อเมริกาเหนือ ยุโรป ภูมิภาคอื่น ๆ

ปี 2552 11,668 340

22% 45% 5% 14% 14%

193% -37% 37% 32% 3% 25% 3%

เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์: กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย และอัตรากำ�ไร กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%)

ปี 2552 1,353 39 11.6%

ปี 2551 593 18 9.5%

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551 128% 121%

ปี 2552

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

1,590,000 1,584,683 100%

572,500 534,260 93%

178% 197%

PTA PTA : กำ�ลังการผลิตและอัตราการผลิต (%) กำ�ลังการผลิต (ตัน) ปริมาณผลิต (ตัน) อัตราการผลิต (%)

52

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


PTA : รายได้ ปี 2552 รายได้รวม ล้านบาท 45,981 ล้านเหรียญสหรัฐ 1,340 การเติบโตของรายได้เป็นบาทจาก: การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย การเปลี่ยนแปลงของราคา ขายให้กับธุรกิจ PET ล้านบาท 15,418 ล้านเหรียญสหรัฐ 449 ขายให้กับธุรกิจโพลีเอสเตอร์ ล้านบาท 6,693 ล้านเหรียญสหรัฐ 195 ยอดรายได้รวมหลังจากขายให้กับธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ล้านบาท 23,870 ล้านเหรียญสหรัฐ 696 สัดส่วนยอดขาย PTA ที่มาจากการใช้ภายใน (%) 48% สัดส่วนรายได้รวมหลังจากขายให้กับธุรกิจที่เกี่ยวข้องแบ่งตามภูมิภาค ประเทศไทย 28% เอเชีย (ไม่รวมประเทศไทย) 52% อเมริกาเหนือ 0% ยุโรป 13% ภูมิภาคอื่น ๆ 8%

ปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

14,732 442

212% 203% 197% 5%

8,645 259

78% 73%

377 11

1675% 1624%

5,710 171 61%

318% 306%

20% 47% 5% 24% 4%

PTA : กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย และอัตรากำ�ไร กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย ล้านบาท ล้านเหรียญสหรัฐ อัตรากำ�ไร (%)

ปี 2552 3,551 103 14.9%

ปี 2551 353 11 6.2%

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551 907% 878%

* การจัดสรรกำ�ไรจากกลุ่มธุรกิจคำ�นวณจากสัดส่วนยอดขายที่ขายให้กับธุรกิจในกลุ่มได้แก่ กลุ่มธุรกิจ PET และ เส้นใยโพลีเอสเตอร์

รายงานประจำ�ปี 2552

53


งบกำ�ไรขาดทุน (งบการเงินรวม) ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ล้านบาท รายได้สุทธิ ต้นทุนขาย กำ�ไรขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่นสุทธิ กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย,ภาษี, ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย ค่าเสื่อมและค่าตัดจำ�หน่าย กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง รายการพิเศษ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กำ�ไรสุทธิก่อนภาษี ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิหลังหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย จำ�นวนหุ้น (ล้านหุ้น) กำ�ไรต่อหุ้น (บาท)

สำ�หรับปี 2552

สำ�หรับปี 2551

ระหว่าง ปี 2552 กับ ปี 2551

79,994 67,666 12,328 5,045 98 95 10,636 3,160 7,476 470 210 18 1,601 6,573 554 6,019 1,195 4,824 3,352 1.44

53,332 48,178 5,154 2,973 (32) 122 3,838 1,567 2,271 (492) 2,837 27 1,467 3,176 53 3,123 467 2,656 3,352 0.79

50% 40% 139% 70% n/a -22% 177% 102% 229% n/a -93% -33% 9% 107% 945% 93% 156% 82% 0% 82%

หมายเหตุ: งบการเงินรวมนี้ ไม่ได้น�ำ ธุรกรรมระหว่างกิจการภายในมารวมคำ�นวณซึง่ เป็นเหตุผลทีจ่ ะทำ�ให้ยอดรวมของแต่ละกลุม่ ธุรกิจอาจไม่เท่ากันกับงบการเงินรวม

54

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


งบดุล (งบการเงินรวม) ของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส 31 ธ.ค. 52

31 ธ.ค. 51

สินทรัพย์ เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์

ระหว่าง 31 ธ.ค. 52 กับ 31 ธ.ค. 51

2,560 9,963 9,674 1,369 23,566 49,505 879 310 74,260

1,435 8,525 7,419 1,456 18,835 49,642 968 323 69,768

78% 17% 30% -6% 25% 0% -9% -4% 6%

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืนระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำ�หนดชำ�ระใน หนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำ�หนดชำ�ระใน หนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยาวจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน

10,004 9,004 4,667 25 2,085 25,785 25,331 9,004 4,667 25 2,085 25,785 25,331 0 73 605 51,794

11,205 6,863 3,265 73 2,373 23,779 27,507 6,863 3,265 73 2,373 23,779 27,507 474 77 224 52,061

-11% 31% 43% -66% -12% 8% -8% 31% 43% -66% -12% 8% -8% -100% -5% 170% -1%

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำ�ไรสะสม สำ�รองต่างๆ รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะของบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

3,352 4,443 10,093 (709) 17,179 5,287 22,466

3,352 4,443 5,463 (463) 12,795 4,912 17,707

0% 0% 85% 53% 34% 8% 27%

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

74,260

69,768

6%

ล้านบาท

หมายเหตุ: งบการเงินรวมนี้ ไม่ได้นำ�ธุรกรรมระหว่างกิจการภายในมารวมคำ�นวณซึ่งเป็นเหตุผลที่จะทำ�ให้ยอดรวมของแต่ละกลุ่มธุรกิจอาจไม่เท่ากันกับ งบการเงินรวม

รายงานประจำ�ปี 2552

55


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ

56

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการประจำ�ปี 2552 บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) (IVL)เชื่อในการสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจและทางสังคมด้วยการกำ�กับดูแลกิจการด้วย มาตรฐานระดับสูงและมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีดังที่กำ�หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยบริษัทเชื่อมั่นในความโปร่งใส ความ รับผิดชอบ และจรรยาบรรณในการปฏิบัติภารกิจ และการดำ�เนินการให้สอดคล้องกับกรอบโครงร่างของบริษัทในการกำ�กับดูแลกิจการที่เข้มแข็ง เพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันขององค์กร และตอบสนองต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและธุรกิจให้ได้ดีที่สุด IVL มีนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่เป็นลายลักษณ์อักษร และนโยบายนี้เป็นไปตามแนวทางที่กำ�หนดโดย SET ซึ่งคณะกรรมการบริหารและฝ่ายบริหารมีความมุ่งมั่นที่จะนำ�หลักการของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ ปฏิบัติ ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความซื่อสัตย์ที่จะทำ�ในสิ่งที่ยุติธรรม ถูกต้องและเป็นไปตามกฎหมาย บริษัทอินโดรามา โพลิเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) (IRP) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ และมีรายชื่ออยู่ใน SET จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ได้รับคะแนนการกำ�กับดูแลกิจการในปี 2550 และ 2551 ในระดับ “ดีมาก” และ “ยอดเยี่ยม” ตามลำ�ดับ IVL จะสานต่อความพยายามแต่เริ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีนี้ต่อไป IVL มีนโยบายที่จะ ยึดมั่นในแก่นและหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้: สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น การปกป้องสิทธิของผู้ถือหุ้นนับเป็นสิ่งที่บริษัทให้ความสำ�คัญเป็นอันดับแรก โดยไม่คำ�นึงถึงจำ�นวนหุ้น และสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตนดังที่ปรากฏไว้ ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บริษัทตระหนักถึง สิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นในการเข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการแต่งตั้งผู้แทนเพื่อเข้าร่วมและลงคะแนน เสียงในการประชุม สิทธิในการลงคะแนนเสียงแต่งตัง้ หรือถอดถอนกรรมการแต่ละคน สิทธิในการลงคะแนนเสียงแต่งตัง้ และแก้ไขค่าตอบแทนประจำ�ปี ของผูต้ รวจ สอบตามกฎหมายและสิทธิในการลงคะแนนเสียงในเรือ่ งธุรกิจอืน่ ๆของบริษทั โดย IVL จะใช้สทิ ธิเหล่านีใ้ นการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีครัง้ แรก ทีจ่ ะจัดขึน้ ในเดือน เมษายน 2553 นีส้ ิทธิของผู้ถือหุ้นประกอบด้วย สิทธิในการได้รับเงินปันผล การออกความคิดเห็น และการสอบถามเพื่อความเข้าใจถึงกลไกในการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทในระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว IVL ยังตระหนักถึงสิทธิความเสมอภาคของผู้ถือหุ้นในการได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เพียง พอ และทันเวลาจากบริษัท เพื่อใช้ในการตัดสินใจ และยังคงมุ่งมั่นที่จะทำ�เช่นนี้ต่อไป สิทธิทั่วไปและความเสมอภาค IVL จะเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ถือหุ้นรายย่อยได้เสนอวาระและเสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติในการรับเลือกเป็นกรรมการบริษัทก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไปIVL จะเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ถือหุ้นรายย่อย มีส่วนเข้าร่วมในการตัดสินใจทางธุรกิจตามปัจจัยพื้นฐานเพื่อให้แน่ใจ ว่า ผู้ถือหุ้นได้รับทราบงบการเงินประจำ�ปีที่ตรวจสอบแล้วและผลประกอบการทางการเงินประจำ�ไตรมาสตรงเวลา IVL จะทำ�การเปิดเผยข้อมูลผลต่างๆในวัน ถัดไปหลังจากผ่านการอนุมัติโดยคณะกรรมการแล้ว ผ่านทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทเอง ที่ www.indoramaventures.com โดยมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษIVL จะทำ�การเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตามปกติผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทและของ SET เช่น รายงานประจำ�ปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) แนวทางการแก้ไขปัญหาการประชุมผู้ถือหุ้น แนวทางสำ�คัญในการแก้ไขปัญหาของคณะ กรรมการบริหาร ข้อมูลนักวิเคราะห์ และข่าวประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับบริษัทและบริษัทในเครือ เพื่อให้ข้อมูลกับผู้ถือหุ้นได้อย่างต่อเนื่อง IVL จะสนับสนุนให้ผู้ ถือหุ้นเข้าร่วมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีด้วยตัวเองหรือส่งตัวแทนเข้าร่วม ในกรณีที่ส่งตัวแทน ผู้ถือหุ้นสามารถแต่งตั้งบุคคลให้ทำ�หน้าที่แทน หรือ ให้ กรรมการอิสระคนใดคนหนึ่งจากสองคนที่ได้รับการเสนอชื่อโดยบริษัทเป็นผู้เข้าร่วมก็ได้ โดยประวัติของกรรมการอิสระจะแนบมากับการแจ้งการประชุม และ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตัดสินใจได้ IVL จะให้ข้อมูลที่เพียงพอในการแจ้งวาระการประชุม การแต่งตั้งกรรมการคนเดิมเข้ารับตำ�แหน่งอีกครั้งและการแต่งตั้งกรรมการคนใหม่ มีการจัดเตรียม ประวัตขิ องกรรมการทีห่ มดวาระและเสนอตัวเป็นกรรมการอีกครัง้ ไว้เพือ่ อำ�นวยความสะดวกในการลงคะแนนเสียงของผูถ้ อื หุน้ โดยประวัตดิ งั กล่าว จะประกอบด้วย ชื่อ อายุ ประเภทของกรรมการที่เป็น ประวัติการศึกษา ประสบการณ์การทำ�งาน ตำ�แหน่งงานในองค์กรอื่น จำ�นวนปีที่เป็นกรรมการของ บริษัท และความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหาร ค่าตอบแทนทั้งหมดสำ�หรับกรรมการอิสระตามที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหารจะระบุไว้ในการแจ้งการ ประชุม พร้อมกับจำ�นวนเงินที่อนุมัติและจ่ายไปในระหว่างปีนั้นๆ คณะกรรมการบริหารจะทบทวนค่าตอบแทนประจำ�ปีของกรรมการ โดยอิงกับข้อมูลของ บริษัทในระดับเท่ากัน การแต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายนอกและค่าตรวจสอบ มีการให้ข้อมูล ชื่อของบริษัทตรวจสอบบัญชีและชื่อผู้ตรวจสอบ ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบ จำ�นวนปีที่เป็นผู้ตรวจสอบของบริษัท ค่าตอบแทนที่ได้รับการ เสนอในปีนั้นๆ พร้อมกับความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหาร เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการลงคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น โดยในปี 2552 นั้น IVL และบริษัท ในเครือจ่ายค่าตรวจสอบเป็นจำ�นวนเงิน 30 ล้านบาท การจ่ายเงินปันผล มีการแจ้งให้ทราบถึง นโยบายเงินปันผลของบริษัท จำ�นวนเงินที่จ่ายเมื่อเทียบกับนโยบาย และจำ�นวนเงินที่จ่ายในปีก่อนหน้า หากมีข้อมูลดังกล่าว และความ คิดเห็นของคณะกรรมการบริหาร

รายงานประจำ�ปี 2552

57


การประชุมผู้ถือหุ้น IVL มีนโยบายในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้นให้เหมาะสมสอดคล้องตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการยินยอมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิอย่าง เต็มที่ในลักษณะที่พึงกระทำ�ได้ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีของบริษัทจะจัดขึ้นภายในสี่เดือนหลังการสิ้นสุดปีงบประมาณ โดยในปีงบประมาณ 2551 นั้นมีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีในวันที่ 30 เมษายน 2552 ข้อมูลภายในและรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทมีนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่เป็นความลับ และ/หรือข้อมูลภายในเพื่อป้องกันการใช้ที่ผิดกฎหมาย โดยได้แสดงนโยบายนี้ไว้ ให้เห็นอย่างเด่นชัดที่สำ�นักงานใหญ่และสำ�นักงานต่างๆ รวมทั้งในที่ทำ�งานของบริษัทในเครือทั้งหมด เพื่อให้พนักงานทุกคนได้รับทราบจรรยาบรรณทางธุรกิจ ห้ามมิให้พนักงานซือ้ ขาย ถ่ายโอน หรือ ยอมรับการถ่ายโอนหลักทรัพย์ใดๆของบริษทั โดยการใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นความลับ และ/หรือข้อมูลภายใน ไม่วา่ ด้วยวิธกี ารใดๆ ที่เอาเปรียบคนกลุ่มนอกด้วยการใช้ข้อมูลภายใน กรรมการ ฝ่ายบริหารอาวุโส ผู้ตรวจสอบและพนักงานทุกคนที่สามารถเข้าถึงงบการเงินของบริษัท ต้องแจ้งถึง การเคลื่อนไหวในการถือหุ้นของพวกเขา รวมทั้งของสามี ภรรยา และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้เลขานุการบริษัททราบ เพื่อจะได้ทำ�รายงานสรุปให้กับคณะ กรรมการต่อไป กรรมการยังต้องทำ�รายงานให้กับบริษัท ในรูปแบบที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ ในเรื่องผลประโยชน์ของตนหรือผลประโยชน์ของ บุคคลที่เกี่ยวข้อง จากบริษัทหรือ บริษัทในเครือ การรายงานหลักทรัพย์และการซื้อขายหลักทรัพย์ของ IVL บริษัทมีนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับการรายงานหลักทรัพย์และการซื้อขายหลักทรัพย์ของ IVL และจากนโยบายนี้เอง ทำ�ให้ไม่มีกรรมการหรือผู้ บริหารคนใดสามารถซื้อขายหลักทรัพย์ของ IVL ได้ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม ในช่วงเวลา 15 วันทำ�การก่อนหน้า และ 2 วันทำ�การหลังจากวันที่จัดส่งข้อมูล งบการเงินประจำ�ปีและประจำ�ไตรมาสของบริษัทให้กับ SET นอกจากนี้ หากกรรมการหรือผู้บริหารทำ�การซื้อขาย ก็ต้องรายงานต่อ SET และบริษัทด้วย และ ควรต้องจัดส่งการแจ้งการซื้อขายหลักทรัพย์ใดๆทั้งหมดของ IVL ประจำ�ไตรมาสต่อเลขานุการบริษัทอีกทางหนึ่ง รายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทมีนโยบายในรายละเอียดเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งกำ�หนดไว้อย่างชัดเจนว่าใครคือผู้ที่เกี่ยวข้องและอะไรทำ�ให้เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน และขั้น ตอนใดที่ต้องปฏิบัติตามเมื่อมีรายการที่เกี่ยวโยง โดยมีการแจ้งให้ทราบถึงนโยบายนี้ในทุกต้นปีเพื่อเตือนถึงสิ่งที่ต้องคำ�นึงทั้งหมดเกี่ยวกับข้อเรียกร้องในการ กำ�กับดูแลรายการที่เกี่ยวโยงกัน เจ้าหน้าที่ฝ่ายกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทมีหน้าที่ตรวจสอบให้แน่ใจว่า รายการที่เกี่ยวโยงกันทุกรายการเป็นไปตามกฎและ ข้อบังคับดังที่กำ�หนดไว้โดย SEC/SET และตามแนวทางนโยบายภายใน รายการที่เกี่ยวโยงรายการใหม่ใดๆจะถูกแจ้งไปยังคณะกรรมการตรวจสอบก่อน และ หลังจากคณะกรรมการได้สอบทานแล้วก็จะเสนอให้คณะกรรมการอนุมัติ หากไม่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ จะไม่มีรายการเกี่ยวโยงใดๆมีผลในการใช้ อย่างไรก็ตาม บริษัทและบริษัทในเครืออาจมีรายการที่เกี่ยวโยง กับกรรมการ ผู้บริหารหรือบุคคลที่อาจเกี่ยวข้อง ดังนั้นการประชุมคณะกรรมการจะอนุมัติใน หลักการ ว่าฝ่ายบริหารมีอำ�นาจในการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงดังกล่าวภายใต้เงื่อนไขที่ไม่ฉ้อโกง โปร่งใส และสมเหตุสมผล ถ้ารายการที่เกี่ยวโยงนั้นจัดอยู่ใน ประเภทของรายการที่มีเงื่อนไขทางการค้าเหมือนกับรายการที่บุคคลทั่วไปจะเห็นด้วยกับคู่สัญญาที่ไม่เกี่ยวข้องภายใต้สถานการณ์ที่คล้ายกัน บนพืน้ ฐานของ การต่อรองทางการค้า (เงือ่ นไขการซือ้ ขายทัว่ ไป) และไม่มผี ลประโยชน์พง่ึ พาอันเนือ่ งมาจากสถานะของกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแต่กรณีฝ่ายตรวจสอบภายในจะทำ�การตรวจสอบรายการที่ต่อเนื่องทุกๆไตรมาสเพื่อให้แน่ใจว่ารายการเหล่านั้นเป็นไปตามหลักการที่อนุมัติไว้ ฝ่ายตรวจ สอบภายในจะส่งรายงานให้กับเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อส่งรายงานต่อไปยังคณะกรรมการตรวจสอบอีกทีหนึ่ง การประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณา บนพื้นฐานของความพึงพอใจและความสมเหตุสมผลของรายการต่างๆ และเสนอต่อคณะกรรมการเพื่ออนุมัติ กรรมการคนใดที่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับรายการใดๆไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมต้องสละสิทธิในการอภิปรายและลงคะแนนเสียงบริษัทมีกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ จรรยาบรรณทางธุรกิจสำ�หรับกรรมการและพนักงาน กฎบัตรการตรวจสอบภายในและคู่มือการตรวจสอบภายใน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร การคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย IVL ให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัททั้งจากภายในและภายนอกโดยเท่าเทียมกัน เช่น ผู้ถือหุ้น บุคลากร หุ้นส่วนทางธุรกิจ ลูกค้า บริษัทคู่แข่ง เจ้า หนี้ ชุมชน สิ่งแวดล้อม และสังคม บริษัทตระหนักดีว่า การสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มจะทำ�ให้เกิดข้อได้เปรียบในการแข่งขันและผลกำ�ไรของ บริษัทที่ยั่งยืน IVL มีนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยปฏิบัติตามข้อกำ�หนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของทุกกลุ่ม ผู้ถือหุ้น IVL และบริษัทในเครือมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินธุรกิจด้วยความมีประสิทธิภาพและโปร่งใส รวมทั้งวิสัยทัศน์ในการเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้น

58

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ลูกค้า IVL และบริษัทในเครือมุ่งมั่นที่จะรักษาและสร้างความสัมพันธ์ที่มั่นคงยืนนานและความภักดีจากลูกค้า และมุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ด้วย ผลิตภัณฑ์ที่ดีมีคุณภาพสูง และบริการที่เหมาะกับความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด ในราคาที่เหมาะสม ด้วยมาตรฐานการให้บริการที่ดีเยี่ยมและข้อมูลการ ดำ�เนินงานและข้อมูลผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่ถูกต้องแม่นยำ� บริษัทเชื่อมั่นและเดินหน้าในการเปิดช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง บุคลากร บุคลากรของ IVL และบริษัทในเครือ นับว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่า และมีความสำ�คัญยิ่งต่อความเจริญก้าวหน้าและผลกำ�ไรของบริษัท เราพยายามสร้างสภาพ แวดล้อมในการทำ�งานที่มีคุณภาพและเอื้อต่อการทำ�งาน โดยคำ�นึงถึงความปลอดภัยเป็นสำ�คัญ ควบคู่กับการให้ค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเท่าเทียมกับกลุ่ม ธุรกิจเดียวกัน บริษัทให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาทักษะ ความรู้และความสามารถของพนักงาน และมุ่งมั่นที่จะสร้างสภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่มีความหลากหลาย เพื่อ ดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีประสิทธิภาพในการทำ�งานสูงให้อยู่กับเราต่อไป หุ้นส่วนทางธุรกิจ IVL และบริษัทในเครือสนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์ที่เติบโต ยั่งยืน แบบพึ่งพาอาศัยกันกับหุ้นส่วนทางธุรกิจของบริษัททุกราย โดยอยู่บนพื้นฐานของการ ได้ผลประโยชน์ร่วมกันและดำ�เนินตามจริยธรรมทางธุรกิจที่ดี เจ้าหนี้ IVL และบริษัทในเครือ พยายามให้ข้อมูลที่แม่นยำ�ครบถ้วนเกี่ยวกับความคืบหน้าของบริษัทแก่เจ้าหนี้ ซึ่งเป็นสิ่งจำ�เป็นในการเจรจาธุรกิจที่ราบรื่นและเพื่อให้ เป็นไปตามเงื่อนไขข้อตกลงทั้งหมด ชุมชน สิ่งแวดล้อม และ สังคม IVL และบริษัทในเครือห่วงใยในความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของบริษัท และพยายามดำ�เนิน การใดๆให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมดIVL และบริษัทในเครือ พยายามที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมทั้งหลายที่สนับสนุนและใส่ใจในสิ่ง แวดล้อมและสังคม และส่งเสริมวัฒนธรรมซึ่งสัมพันธ์กับการดำ�เนินการของบริษัทIVL และบริษัทในเครือ บำ�บัดและกำ�จัดของเสียด้วยวิธีที่จะเกิดผลกระทบ น้อยที่สุดต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และประชาชน คู่แข่ง: IVL และบริษัทในเครือ จะดำ�เนินการใดๆตามกฎ โดยเคารพบริษัทคู่แข่งและใช้วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดในการรับมือกับบริษัทเหล่านั้น เช่นเดียวกันกับเดินหน้าไปสู่ การพัฒนาและการเติบโตทางการตลาดเพื่อผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมโดยรวม การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส IVL มีนโยบายนำ�เสนอข้อมูลที่สำ�คัญทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทั้งในด้านการเงินและที่ไม่ใช่ด้านการเงิน ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น หรือ ผลกระทบต่อการตัดสินใจใดๆในการลงทุนกับราคาหุ้นของบริษัท ข้อมูลดังกล่าวนี้จะได้รับการเปิดเผยอย่างเพียงพอ แม่นยำ� ทันเวลา และโปร่งใส ผ่าน ช่องทางที่เข้าถึงได้ง่าย ซึ่งยุติธรรมและเชื่อถือได้ ข้อมูลทั้งหมดนี้จะสอดคล้องกับข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องของ SEC/SETช่องทางในการสื่อสารที่ใช้ มี รายงาน ประจำ�ปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เว็บไซต์ของ SET การประชุมผู้ถือหุ้น และเว็บไซต์ของบริษัท ผู้บริหารที่ได้รับแต่งตั้งให้สามารถ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ IVL ได้ คือ ประธานกรรมการบริหารกลุ่ม (Group CEO) และฝ่ายเลขานุการและนักลงทุนสัมพันธ์ โดยให้ข้อมูลแก่ผู้สนใจในโอกาส ต่างๆ เช่น การประชุมแบบตัวต่อตัวกับผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ นักวิเคราะห์ การประชุมประจำ�ไตรมาสกับนักวิเคราะห์เพื่ออภิปรายผลประกอบการทางการเงินที่ ผ่านมา การออกให้บริการข้อมูลตามสถานที่ต่างๆ และอื่นๆ บริษัทให้ความสำ�คัญกับเว็บไซต์เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษอยู่ในขณะนี้ และมีการตรวจ สอบเป็นประจำ�เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นข้อมูลที่ทันสมัย ตรงกับปัจจุบัน ทางบริษัทได้ทำ�การพัฒนาเว็บไซต์ภาษาไทยด้วยขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งคาดว่าจะ เสร็จสมบูรณ์ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณนี้ ข้อมูลที่มีการปรับปรุงเป็นประจำ�ในเว็บไซต์ของบริษัท มีดังต่อไปนี้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ คำ�แถลงค่านิยม งบการเงิน ข้อมูลนักวิเคราะห์ ข่าวประชาสัมพันธ์ รายงานประจำ�ปี โครงสร้างการบริหารและคณะกรรมการบริหารของ IVL โครงสร้างการถือหุ้นและผู้ถือหุ้นรายใหญ่บริษัทมีฝ่าย/บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลเรื่องนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อเปิดเผยข้อมูลที่จำ�เป็นต่อนักลงทุนและการ รายงานงบการเงิน มีการจัดทำ�แผนการนักลงทุนสัมพันธ์ประจำ�ปี และผู้บริหารที่ดูแลในส่วนงานนี้จะเข้าร่วมในกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งรวมถึง แต่ ไม่จำ�กัดเฉพาะการเยี่ยมโรงงานเป็นระยะ เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ เป็นต้น และมีการจัดการประชุมนักลงทุนเป็นประจำ�ด้วย ประชาชนทั่วไปสามารถติดต่อ ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทได้ที่ หมายเลข(+66) 2 661 6661 หรือส่งอีเมล์มาที่ richard@indorama.net หรือ ajain@indorama.net โดยดูรายละเอียดทั้งหมดได้ที่เว็บไซต์ของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2552

59


คำ�แถลงเรื่องหน้าทีร่ บั ผิดชอบของคณะกรรมการบริหารทีเ่ กีย่ วข้องกับรายงานงบการเงินของบริษทั มีเปิดเผยอยูใ่ นรายงานประจำ�ปี ซึง่ กล่าวไว้รว่ มกับเรื่องอื่นๆ ว่า บริษัทดำ�เนินการสอดคล้องกับหลักทางการบัญชีที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป และมาตรฐานและการปฏิบัติงานทางการบัญชีที่นำ�มาใช้นั้นเหมาะสมและสอดคล้อง กับรูปแบบธุรกิจ และยังระบุด้วยว่าข้อมูลทั้งหมดที่นำ�เสนอในรายงานงบการเงินนั้นถูกต้องแม่นยำ� ครบถ้วนและเพียงพอ ประธานคณะกรรมการบริหารและ ประธานกรรมการบริหารกลุ่มลงลายมือชื่อในคำ�แถลงนี้ การถือหุ้นรายบุคคลของกรรมการ ผู้บริหารอาวุโส ผู้ตรวจสอบ และพนักงาน ที่เข้าถึงข้อมูลทางการเงิน รวมถึงสามีภรรยาและบุตรที่อายุต่ำ�กว่า 18 ปี ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ดังระบุข้างล่างนี้ ชื่อ นายศรี ปรากาช โลเฮีย นายอาลก โลเฮีย นางสุจิตรา โลเฮีย นายซาชิ ปรากาช ไคตาน นายอมิต โลเฮีย นายระเฑียร ศรีมงคล นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช นายดีลิป กุมาร์ อากาวาล นายเปรม จันดรา กุปต้า นายโกปาล ลาล โมดี้ นายสัตยานารายัน โมต้า นายราเมช กุมาร นาซิงปุระ นายวิกาช จาลัน นายอนุช โลเฮีย นายฮาร์ชา วี เรดดี้ นายริชาร์ด โจนส์

เปิดที่ 1* -

ซื้อ 1* -

ขาย -

ยอดคงเหลือ 10* 10* -

* มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ได้เปลี่ยนจาก 10 บาท เป็น 1 บาท โดยได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้นในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ในวันที่ 28 กันยายน 2552 ไม่มีผู้สอบบัญชีคนใดถือหุ้นในช่วงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552

หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

โครงสร้างคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของ IVL ในปีที่ผ่านมา ได้เพิ่มจำ�นวนของกรรมการจาก 4 ท่านเป็น 8 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการบริหาร 3 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็น ผู้บริหาร 2 ท่าน และ กรรมการอิสระ 3 ท่าน โดยเป็นจำ�นวนมากกว่าหนึ่งในสามของจำ�นวนคณะกรรมการบริหารทั้งหมด โครงสร้างคณะกรรมการบริหาร มีความเหมาะสม ตามขนาดของบริษัท จำ�นวนผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหาร และกรรมการอิสระ และส่วนคุณสมบัติในแง่ของความรู้ ความชำ�นาญ โดยมีการก ระจายอำ�นาจที่สมดุล และการตรวจสอบการบริหารที่มีประสิทธิภาพในประวัติของกรรมการ IVL เปิดเผยข้อมูล ชื่อ ประวัติ คุณสมบัติ ประสบการณ์ และ การถือหุ้นในบริษัท เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถ คุณสมบัติและประสบการณ์ ผ่านทางรายงานประจำ�ปีและเว็บไซต์ของบริษัท โดยระบุด้วยว่า กรรมการคนใดเป็นกรรมการอิสระ คนใดมีอำ�นาจในการบริหาร คนใดไม่มีอำ�นาจในการบริหาร และคนใดเป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประวัตินี้จะกล่าว ด้วยว่ากรรมการแต่ละคนมีสถานภาพการเป็นสมาชิกของคณะกรรมการบริหารของบริษัทใดบ้างเพื่อให้มีการกระจายอำ�นาจอย่างสมดุล ตำ�แหน่งประธาน คณะกรรมการบริหารและประธานกรรมการบริหารกลุ่มจะแตกต่างกัน โดยประธานคณะกรรมการ เป็นกรรมการผู้ไม่มีอำ�นาจในการบริหาร หนึ่งในสามของ กรรมการทั้งหมดจะเกษียณโดยการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนทุกๆการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี ดังกำ�หนดในข้อบังคับของบริษัท กรรมการที่ต้องเกษียณใน ปีแรกและปีที่สองหลังจากการจดทะเบียนของบริษัทจะกระทำ�โดยการจับฉลาก ส่วนในปีต่อๆมา กรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งนานที่สุดควรเกษียณ และกรรมการ

60

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ที่เกษียณแล้วสามารถเข้ารับการคัดเลือกอีกได้ โดยการลงคะแนนเสียงเพื่อแต่งตั้ง/ แต่งตั้งให้ได้รับตำ�แหน่งอีกครั้งจะกระทำ�เป็นรายๆไปคณะกรรมการบริหาร ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทเพื่อให้เป็นไปตามกฎข้อบังคับของ SEC โดยเลขานุการบริษัทมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประชุมของคณะกรรมการ บริหารและผู้ถือหุ้น และมีหน้าที่ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริหารในเรื่องของกฎหมายและข้อบังคับที่คณะกรรมการบริหาร ต้องทราบเพื่อให้สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีหน้าที่จัดการส่งเสริมกิจกรรมต่างๆของคณะกรรมการบริหาร และให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับแนวทางแก้ไขปัญหาของ คณะกรรมการบริหารคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของ IVL จัดตั้งขึ้นโดย คณะกรรมการบริหาร ในการประชุมเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 เป็นเวลา 2 ปี โดยคณะกรรมการประกอบไป ด้วย นายระเฑียร ศรีมงคล เป็นประธาน นายวิลเลียม เอลวูด ไฮเนคกี้ และ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช เป็นสมาชิก โดยสมาชิกทั้งหมดเป็นกรรมการอิสระและมี ประสบการณ์และความรู้ที่จำ�เป็นในการตรวจสอบงบการเงิน การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการในปี 2552 มีดังต่อไปนี้ ชื่อ นายระเฑียร ศรีมงคล นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช

การเข้าร่วม 3/3 2/3 3/3

กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ผ่านการอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหารในการประชุมร่วมกันในวันที่ 18 กันยายน 2552 กฎบัตรนี้สอดคล้องกับกฎ ข้อบังคับใหม่ของ SEC และมีอยู่ในเว็บไซต์ของบริษัทเพื่อการอ้างอิง หน้าที่และความรับผิดชอบหลักของคณะกรรมการตรวจสอบ มีดังต่อไปนี้ 1. สอบทานขั้นตอนการรายงานงบการเงินของบริษัทเพื่อให้มีความถูกต้องและครบถ้วนเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อ กำ�หนดความเป็นอิสระของหน่วยการตรวจสอบภายใน ตลอดจนปรับปรุงการแต่งตั้ง การโอนย้าย และการปลดหัวหน้าหน่วยการตรวจสอบภายใน หรือ หน่วยอื่นๆที่ดูแลการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทมีการดำ�เนินการที่สอดคล้องกับกฎหมายด้านความมั่นคงและการแลกเปลี่ยน กฎข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเภทธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอชื่อบุคคลที่เป็นอิสระให้เป็นผู้ตรวจสอบของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว ตลอดจนเข้าร่วมการประชุม ที่ไม่เกี่ยวกับการบริหารกับผู้ตรวจสอบบัญชีอย่างน้อยปีละครั้ง 5. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงของบริษัทหรือรายการที่อาจนำ�ไปสู่การขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเพื่อให้แน่ใจว่ารายการเหล่านั้นสอดคล้องกับกฎหมาย และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ประธานรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริหารทันทีหลังจากการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ระหว่างการประชุม คณะกรรมการจะสอบทานประเด็นอุบัติใหม่ กับ ทีมบริหาร เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการตรวจสอบภายในคณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และกำ�กับดูแลกิจการ (NC&CG) ณ ตอนนี้ บริษัทไม่มีคณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และกำ�กับดูแลกิจการ แต่เพื่อส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทจึงเริ่มจัดตั้ง คณะกรรมการสรรหา กำ�หนดค่าตอบแทน และกำ�กับดูแลกิจการในปี 2553 นี้ด้วยขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพ 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและ ต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (3) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) (8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งรายการอื่นๆที่เกิดขึ้นที่มีต่อบุคคลภายนอก ประธานคณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัททันทีหลังจากการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ระหว่างการประชุมคณะกรรมการจะสอบทานประเด็นอุบัติใหม่ กับทีมบริหาร เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ และหัวหน้าฝ่ายตรวจสอบภายใน

รายงานประจำ�ปี 2552

61


คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและกำ�กับดูแลกิจการ ปัจจุบันบริษัทยังไม่ได้จัดตั้งคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและกำ�กับดูแลกิจการอย่างไรก็ตามบริษัทได้คำ�นึงถึงการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยจะ จัดตั้งคณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทนและกำ�กับดูแลกิจการในปี 2553 หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการของ IVL มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ คำ�แถลงค่านิยม แผน กลยุทธ์ นโยบายหลัก และงบประมาณของบริษัท ในการบริหารธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพื่อมูลค่าสูงสุดของผู้ถือหุ้น มีการกำ�หนดรายละเอียดแผนและงบประมาณสำ�หรับบริษัทและบริษัทในเครือ คณะกรรมการจะตรวจสอบ การบริหารและการนำ�แผนธุรกิจไปใช้อย่างใกล้ชิดเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย คณะกรรมการยังกำ�หนดการควบคุมภายในและขั้นตอนการตรวจสอบ รวมถึง การบริหารความเสี่ยงด้วย คณะกรรมการจะสอบทานความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ผ่านทางคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน และฝ่ายกำ�กับดูแลกิจการ ทำ�การจัดเตรียมแนวทางการปฏิบัติภายในของบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกันและกฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้องของ SET/ SEC เพื่อเป็นพื้นฐานในการหลีก เลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทำ�การปรับปรุงรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวโยงกันในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานข้อมูล ดังกล่าวในรายงานประจำ�ปีด้วย สมาชิกคณะกรรมการซึ่งมีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นที่อาจเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเรื่องเกี่ยวข้องอื่นๆ ต้องสละสิทธิ์ในการลงคะแนนเสียง ดังกำ�หนดไว้โดยคณะกรรมการ นโยบายของบริษัทห้ามมิให้บุคลากรไม่ว่าอยู่ในระดับใดใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ส่วน ตน พร้อมทั้งการตัดสินใจทางธุรกิจทั้งหมด ซึ่งขึ้นอยู่กับการบรรลุผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและบริษัทในเครือ บริษัทมีจรรยาบรรณทางธุรกิจสำ�หรับคณะ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ซึ่งได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการ และแจ้งให้ทุกคนได้รับทราบ และเพื่อให้เป็นไปตามจรรยาบรรณทางธุรกิจนี้ บริษัท มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามหลักจริยธรรม ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบต่อสังคม เช่นเดียวกับความรับผิดชอบที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดและหน่วยงาน ภายนอก การตรวจสอบภายใน บริษัทมีฝ่ายตรวจสอบภายใน กฎบัตรการตรวจสอบภายในและคู่มือการตรวจสอบภายใน ของบริษัทเอง ฝ่ายตรวจสอบภายในมีหน้าที่จัดการตรวจสอบภายใน ให้กับบริษัทและบริษัทในเครือ ภายใต้การดูแลของผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยฝ่ายตรวจสอบภายในขึ้นตรงตามหน้าที่ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ มีการกำ�หนดแผนในรายละเอียดสำ�หรับปีนั้นๆสำ�หรับแต่ละหน่วยงานและได้รับการอนุมัติโดยคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะสอบทานงานของฝ่ายตรวจสอบ ภายในกับแผนที่กำ�หนดไว้เป็นระยะ พร้อมให้คำ�แนะนำ�กับฝ่ายบริหาร สำ�หรับปี 2552 นี้ มีการตรวจสอบในหน่วยงานในประเทศไทยและในบางประเทศ เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบทำ�การติดตามผลการปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�และรายงานความคืบหน้าให้กับคณะกรรมการตรวจสอบ และทำ�การตรวจ สอบเป็นระยะเพื่อให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับข้อเรียกร้องตามกฎหมายและกฎข้อบังคับ บริษัทเปิดเผยรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2552 ต่อผู้ถือหุ้น โดยแยกไว้ต่างหากในรายงานประจำ�ปี

ระเบียบข้อบังคับการใช้ข้อมูลภายในของบริษัท ระเบียบข้อบังคับการใช้ข้อมูลภายในของบริษัท มีดังต่อไปนี้ 1) กรรมการ ผูบ้ ริหาร ทีมงานและพนักงานทุกคนของบริษทั ต้องเก็บข้อมูลของบริษทั เป็นความลับ และ/หรือ เป็นข้อมูลภายใน เว้นแต่จะเป็นไปเพือ่ การดำ�เนินการ ทางธุรกิจของบริษัท 2) กรรมการ ผู้บริหาร ทีมงานและพนักงานทุกคนของบริษัทต้องไม่เปิดเผยข้อมูลของบริษัทที่เป็นความลับ และ/หรือ เป็นข้อมูลภายใน เพื่อผลประโยชน์ของ ตน หรือผู้อื่น ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม โดยไม่คำ�นึงว่าจะได้รับผลประโยชน์ดังกล่าวหรือไม่ และ 3) กรรมการ ผู้บริหาร ทีมงานและพนักงานทุกคนของบริษัทต้องไม่ขาย ซื้อ ถ่ายโอน หรือโอนกรรมสิทธิ์หลักทรัพย์ของบริษัท โดยใช้ข้อมูลของบริษัทที่เป็น ความลับ และ/หรือ เป็นข้อมูลภายใน ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ระเบียบข้อบังคับนี้ครอบคลุมถึงสามี ภรรยา และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะของกรรมการ ผูบ้ ริหาร ทีมงานและพนักงานทุกคนของบริษทั ผูล้ ะเมิดระเบียบข้อบังคับนีจ้ กั ถือว่ากระทำ�ความผิดร้ายแรง หลังจากหุน้ ของบริษทั ได้เข้าไปอยูใ่ นรายชือ่ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“SET”)แล้ว กรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูจ้ ดั การ บุคคลทีร่ บั ผิดชอบในการดำ�เนินงาน ผู้ตรวจสอบ หรือ พนักงานของบริษัท ที่ซื้อหรือขาย หรือเสนอที่จะซื้อหรือขาย หรือชี้ชวนให้ผู้อื่นซื้อ ขาย หรือ เสนอที่จะซื้อหรือขาย หุ้นของบริษัท ในลักษณะ ที่เป็นการเอาเปรียบผู้อื่น โดยการใช้ข้อมูลภายใน อันเป็นสาระสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหุ้นของบริษัท ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน และข้อมูลซึ่ง เข้าถึงโดยอาศัยตำ�แหน่งหน้าที่ และไม่ว่าการกระทำ�นั้นจะเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ส่วนตนหรือของผู้อื่น หรือ เพื่อเปิดเผยข้อมูลเพื่อที่จะได้รับการพิจารณาจาก บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องในการกระทำ�ดังกล่าวมาแล้ว บุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เนื่องจาก การใช้ข้อมูลภายใน (insider trading) อันเป็นผล จากการกระทำ�ผิดนั้น

62

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ในกรณีที่ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ บุคคลที่รับผิดชอบในการดำ�เนินงาน ผู้ตรวจสอบของบริษัทได้รับหรือจำ�หน่ายหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นใด (หากมี) ของ บริษัท บุคคลดังกล่าวต้องรายงานการได้มาหรือการจำ�หน่ายนั้นๆแก่ SEC ภายในเวลาที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 การได้มาหรือการจำ�หน่ายของบุคคลดังกล่าวมานี้ย่อมรวมถึงการถือหุ้นและหลักทรัพย์อื่นๆ (หากมี) โดยสามีภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคล นั้นๆด้วย พนักงานทุกคนรับทราบถึงกฎข้อบังคับนี้ ผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีการพบปะกัน 4 ครัง้ นับจากมีการตัดสินใจเปลีย่ นบริษทั เป็น บริษทั จำ�กัดมหาชนในเดือนสิงหาคม 2552 โดยทัว่ ไป บริษทั จะเสนอให้มกี ารประชุม อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี ซึ่งมักจัดขึ้นทุกๆ 3 เดือน โดยจัดการประชุมพิเศษเพิ่มด้วยหากเห็นว่าจำ�เป็นในการสอบทานการดำ�เนินงาน ประเด็นด้านงบการเงิน แผน หรือ เรื่องอื่นๆ ทุกสิ้นปี สมาชิกจะได้รับตารางการประชุมของปีถัดไป ซึ่งกำ�หนดวันประชุมไว้ล่วงหน้า เพื่อให้มีผู้เข้าร่วมประชุมได้มากที่สุดประธาน ประธานกรรมการบริหารกลุ่ม และเลขานุการบริษัท กำ�หนดวาระการประชุมของคณะกรรมการบริหาร และเลขานุการบริษัทส่งจดหมายเชิญพร้อมวาระการ ประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่กรรมการ อย่างน้อย 7 วันก่อนการประชุมเพื่อให้กรรมการมีเวลาเพียงพอในการศึกษาข้อมูลในการประชุมคณะกรรมการ บริหารแต่ละครั้ง ประธานจะอนุญาตให้สมาชิกคณะกรรมการบริหารแต่ละคนได้แสดงความคิดเห็น และให้ฝ่ายบริหารได้ตอบทุกคำ�ถามอย่างครบถ้วน และถ้า กรรมการต้องการข้อมูลเพิ่มเติมจากบุคคลใดโดยเฉพาะก็สามารถกระทำ�ได้ รายละเอียดการบันทึกการประชุม ประกอบด้วย วันที่ประชุม เวลาเริ่มต้นและสิ้น สุดการประชุม รายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมและไม่ได้เข้าร่วมการประชุม ข้อมูลสรุปในแต่ละประเด็นที่เสนอแก่ คณะกรรมการบริหาร สรุปการอภิปราย และข้อ สังเกตของกรรมการ และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้จดบันทึกการประชุม รายละเอียดการเข้าร่วมการประชุมของคณะกรรมการในปี 2552 มีดังต่อไปนี้ จำ�นวนครั้งที่เข้าร่วม / จำ�นวนการประชุมทั้งหมด ชื่อ -/3 1. นายศรี ปรากาช โลเฮีย 3/3 2. นายอาลก โลเฮีย 3/3 3. นางสุจิตรา โลเฮีย 3/3 4. นายซาชิ ปรากาช ไคตาน -/3 5. นายอมิต โลเฮีย 3/3 6. นายระเฑียร ศรีมงคล 3/3 7. นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 3/3 8. นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช หมายเหตุ: * บริษัทได้เปลี่ยนเป็น บริษัทจำ�กัดมหาชนในวันที่ 25 กันยายน 2552

ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนในปัจจุบันของ กรรมการอิสระ กำ�หนดตามงานที่ได้รับมอบหมาย และหน้าที่รับผิดชอบ ค่าตอบแทนที่เสนอโดยคณะผู้บริหารต้องผ่านการอนุมัติ จากการประชุมผู้ถือหุ้นเสียก่อน โดยในปี 2552 ค่าตอบแทนประจำ�ปีทง้ั หมดสำ�หรับกรรมการอิสระทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ นการประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2552 ซึง่ จัดขึน้ ในวันที่ 19 กันยายน 2552 เป็นจำ�นวนไม่เกิน 1,300,000 บาท ค่าตอบแทนที่จ่ายจริงในปี 2552 เป็นจำ�นวนเงิน 1,300,000 บาท ตามจำ�นวนเงินที่ได้รับ อนุมัติ 1,300,000 บาท รายละเอียดของค่าตอบแทนที่จ่ายไป มีดังต่อไปนี้

ในฐานะกรรมการบริษัท No. 1 2 3

กรรมการอิสระ นายระเฑียร ศรีมงคล นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช รวมเป็นเงินทั้งหมด

จำ�นวนเงินที่อนุมัติ (บาท) 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน 50,000 ต่อเดือน

จำ�นวนเงินที่จ่ายจริง (บาท) 200,000 200,000 200,000 600,000

หมายเหตุ: การจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการอิสระ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกันยายน 2552

ในฐานะคณะกรรมการตรวจสอบ No. 1 2 3

ชื่อ จำ�นวนเงินที่อนุมัติ (บาท) จำ�นวนเงินที่จ่ายจริง (บาท) นายระเฑียร ศรีมงคล 75,000 ต่อเดือน 300,000 นายวิลเลี่ยม เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค 50,000 ต่อเดือน 200,000 นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช 50,000 ต่อเดือน 200,000 รวมเป็นเงินทั้งหมด 700,000 หมายเหตุ: การจ่ายค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการตรวจสอบ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกันยายน 2552

รายงานประจำ�ปี 2552

63


กรรมการบริหารในคณะกรรมการบริหารของ IVL ไม่ได้รับค่าตอบแทนจากการเป็นกรรมการแต่อย่างใด ค่าตอบแทนที่จ่ายแก่ทีมบริหารในปีนี้ เป็นจำ�นวนเงิน 45,731,335 บาท การพัฒนาทางวิชาชีพของกรรมการและฝ่ายบริหาร กรรมการผู้เข้าร่วมงานกับบริษัทในระหว่างปีได้รับแฟ้มเอกสารการปฐมนิเทศกรรมการ ซึ่งมีข้อมูลครบถ้วนเกี่ยวกับบริษัทและบริษัทในเครือ เพื่อช่วยให้คุ้น เคยกับธุรกิจ การปฏิบัติงานและขั้นตอนต่างๆของบริษัทได้เป็นอย่างดี รวมถึง สิทธิ หน้าที่และภาระการทำ�งานในฐานะ กรรมการ ด้วย นอกจากที่กล่าวมา ข้างต้นแล้ว กรรมการคนใหม่ยังได้มีการประชุมเพื่อกำ�หนดทิศทางและทำ�ความเข้าใจกับฝ่ายบริหารด้วยคณะกรรมการบริหารสนับสนุนให้สมาชิกของคณะ กรรมการบริหาร กรรมการตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร เลขานุการบริษัท และผู้ตรวจสอบภายใน เข้าร่วมการสัมมนา การฝึกอบรม และหลักสูตรต่างๆที่จะช่วย ปรับปรุงความสามารถในการทำ�งานให้แก่บริษัทต่อไปได้เราสนับสนุนให้สมาชิกของคณะกรรมการบริหารเข้ารับโปรแกรมการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้อง บริษัทมุ่ง มั่นต่อนโยบาย การยึดหลักในคุณธรรม จรรยาบรรณ และการเปิดเผยข้อมูล ที่ทัดเทียมกับการปฏิบัติที่เป็นเลิศในการกำ�กับดูแลกิจการ

64

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


ทรัพยากรบุคคล และความรับผิดชอบต่อสังคม


บุคลากรของเรา – ผู้เป็นแรงขับเคลื่อนผลงานของ IVL แนวคิดแบบ EEE(3 อี) – สภาพแวดล้อม สัญญาความผูกพัน และความตืน่ ตัว คือวิถชี วี ติ ที่ IPL ซึง่ เป็นเครือ่ งมือสรรสร้างความความร่วมมือร่วมใจ และความเกี่ยวพันของพนักงาน ซึ่งมีอยู่ในทุกขอบข่ายธุรกิจของไอวีแอลในช่วงปีที่ผ่านมา IVL ได้เปลี่ยนจากการวัดผลจากวาระการประชุมที่พนักงานมีส่วน ร่วม มาเป็นการวัดผลจากการที่พนักงานมีส่วนสัมพันธ์กันอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ผ่านการประชุมแสดงความคิดเห็น และเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งสร้างความตื่น ตัว ความปรารถนา และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร มุมมอง3อีของเราเป็นกำ�ลังเป็นที่จับตามองในสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นการผสมผสานทางวัฒนธรรม ทั่วโลก และอย่างเช่นที่ IVL สิ่งแวดล้อม เมื่อผ่านมาตรฐานการวัดผลของเรามาได้ระยะหนึ่ง เราสามารถมั่นใจได้ว่า บริษัทของเรายังคงรักษา ความรู้สึกในการดูแลสภาพแวดล้อมให้กับใครสักคน ความ รู้สึกในการแบ่งปันโชคชะตา โอกาสในการพัฒนา และความก้าวหน้าร่วมกัน ซึ่งบางมาตรฐานการวัดผลของเราล้วนมาจากสิ่งเหล่านี้ เพลงอินโดรามา เพลงนีเ้ ป็นเหมือนสิง่ ทีแ่ สดงถึงแนวทาง ในการจุดประกายความความปรารถนา ความภาคภูมใิ จ และความรูส้ กึ เป็นเจ้าของในใจพนักงานทุกคนต่อ บริษัท ทุกครั้งที่บรรเลงเพลงหรือร้องเพลงนี้ ทุกคนรู้สึกได้ถึงอารมณ์ที่เปี่ยมล้น และรู้สึกว่าเพลงนี้เป็นดั่งเพลงสดุดี ซึ่งทุกคนในอินโดรามาจดจำ�ได้เสมอ การสื่อสารผ่านพันธสัญญาแห่งวิสัยทัศน์และคุณค่า(VMV)– VMV คือเจตน์จำ�นงที่ชัดแจ้งของบีคอน และเป็นทั้งทิศทาง ความรู้สึกอันเป็นหนึ่งเดียวของ พนักงาน ซึ่งเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่งในการสร้างองค์กรที่เจริญรุ่งเรือง ที่พนักงานรู้สึกว่าคำ�มั่นสัญญาต่อกัน การประชุมร่วมกันตามปกติคือรูปแบบการสื่อสารของวีเอ็ม วี ซึ่งเป็นส่วนในการส่งเสริมให้พนักงานค้นคว้าหาความรู้ที่จำ�เป็น ความชำ�นาญ และทัศนคติ ซึ่งพวกเขาสามารถนำ�มาปรับใช้อย่างดีที่สุด เพื่อสร้างวิสัยทัศน์ แห่งความสำ�เร็จ รวมถึงวิสัยทัศน์ พันธะสัญญา และคุณค่าของเรา สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย (EHS) – ในช่วงอาทิตย์ของวันที่ 1-5 มิถุนายน 2552 เราจัดให้มีทั้งกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับการตระหนัก เรื่องสิ่ง แวดล้อม การปลูกป่าเพื่อจุดมุ่งหมายในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว กิจกรรมหลายอย่างเน้นความสำ�คัญของการรักษาสิ่งแวดล้อมที่สะอาด เพราะการ เฉลิมฉลองวัน สิ่งแวดล้อมโลกในวันที่ 5 มิถุนายนเป็นการกระตุ้นให้เกิดความเพียรพยายามยิ่งขึ้น ทั้งกลุ่มผู้บริหารและพนักงานร่วมกันปลูกต้นไม้ในวันนี้ เพื่อเป็นการแสดง ให้เห็นถึงความรับผิดชอบของหมู่คณะ ส่วนแผนงานในด้านสุขภาพ เรามุ่งเน้นไปความสำ�คัญของการให้ความรู้แก่ชุมชน เกี่ยวกับมาตรการป้องกันโรคภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เราจัดให้มีแผนการตรวจสุขภาพที่ครบถ้วนสำ�หรับพนักงานทุกคนที่สำ�นักงานใหญ่ อินโดรามามุ่งเน้นไปที่การเสริมสร้างสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน เพื่อ มอบความดีงามแก่ชุมชนทั้งมวล เราได้จัดให้มีกิจกรรมดังต่อไปนี้ทุกสองสัปดาห์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ EHS • การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพสำ�หรับพนักงาน ซึ่งจัดขึ้นโดยโรงพยาบาลของท้องถิ่น • ฝึกอบรมการอพยพหนีไฟ ซึ่งจัดอบรมโดยพนักงานดับเพลิงของท้องถิ่น • การสัมมนาเรื่องความปลอดภัยในการจาจร โดยผู้บังคับบัญชาตำ�รวจของท้องถิ่น • การปลูกต้นไม้ในพื้นที่ • การฝึกอบรมเรื่องการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อจะได้มีป้องกันตนเองจากโรคต่างๆ การอบรมเรื่องการป้องกันโรคเอดส์และวัณโรคและบริหารจัดการเกี่ยวกับ การสำ�รวจความคิดเห็นของพนักงาน (EOS) – เราได้จัดให้มีกิจกรรม EOS ขึ้นที่ IVL ซึ่งพนักงาน เป็นผู้ให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เกี่ยวกับองค์กร เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในการทำ�งาน ความคิดเห็นเหล่านี้คือสิ่งสำ�คัญ ที่สุด ในการสร้างวัฒนธรรมและการพัฒนาองค์กร เดือนแห่งการสื่อสาร - เราประกาศให้เดือนมีนาคม 2552 เป็นเดือนแห่งการสื่อสาร ซึ่งมีเรื่องวิสัย ทัศน์ พันธะสัญญา และคุณค่า เป็นตัวเสริมความเข้มแข็ง ให้กับการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการ สื่อสาร ที่จัดให้มีขึ้นในทุกหน่วยงานของอินโดรามา (ประเทศไทย) ซึ่งส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่น่าสนใจ จนถึงช่วงปลายเดือน เราประสบความสำ�เร็จในการปรับความเข้าใจ รวมทั้งมอบประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในทางปฏิบัติ เพื่อการสื่อสารอย่างมั่นใจ ให้กับผู้เข้าร่วมอย่างทั่ว ถึง เราจัดให้มี กิจกรรมสาธิต และการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยคุณฮันส์ อันเดอร์สัน และ คุณ อินน์ นารูลา ผู้ซึ่งทำ�งานด้านการศึกษาและฝึกอบรมผู้บริหาร มามากกว่า 20 ปี แนวคิดวัฏจักรคุณภาพ (QCC) – เรื่องวัฏจักรคุณภาพได้ถูกขับเคลื่อนให้แผ่ขยายออกไป โดยการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อมของผู้เข้าร่วม และการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ระดับรากหญ้า คนในกลุ่มนี้จะชี้แจงถึงปัญหาให้ฟัง ซึ่งเราจะเก็บปัญหาเหล่านี้ไว้เป็น “ธนาคารปัญหา” และเราจะเลือกข้อที่คิดว่าง่ายมาลงมือแก้ปัญหา

66

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


นั้นกัน คนในกลุ่มเหล่านี้จะพบกันทุกเดือน เพื่อนสนทนาถกเถียงกันเกี่ยวกับบัญหา และหาหนทางแก้ปัญหาโดยใช้หลัก เครื่องมือคุณภาพ 7 ข้อ ของเรา พวก เขาจะนำ�เสนอกรณีตัวอย่างต่อฝ่ายบริหาร และจะรู้สึกเกิดความภาคภูมิใจเมื่อได้ร่วมแบ่งปันและถ่ายทอดเรื่องราวแห่งความสำ�เร็จ โครงการแนวคิดวัฏจักร คุณภาพกลางปี ดำ�เนินไปอย่างต่อเนื่องและเปี่ยมด้วยพลัง เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานในองค์กร โดยการเพิ่มคุณค่าการทำ�งานของพนักงาน งานประจำ�ปี – วันแห่งคุณภาพคือวันที่ 12 ธันวาคม 2552 เราจัดให้มีการประชุมขึ้นที่ ซีทีอี โดยมีการชักธงของวันแห่งคุณภาพ กรรมการของงานวัฏจักรแห่ง คุณภาพจะสวมเสื้อยืดที่มีสัญลักษณ์ ตัว “คิว” แสดงอยู่ การดำ�เนินรายการจะมีการร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีและเพลงอินโดรามารวมอยู่ด้วย สัปดาห์คณ ุ ภาพ จัดขึน้ ระหว่าง วันที่ 7-12 ธันวาคม 2552 ได้มกี ารส่งเสริมแนวคิดเรือ่ งคุณภาพให้แข็งแกร่งขึน้ พร้อมนำ�หลักสำ�คัญไปใช้เป็นลำ�ดับต้นๆในองค์กร หลังจากได้รับรางวัลระดับชาติ แนวคิดเรื่องวัฏจักรคุณภาพของ IVL (QC)ได้เริ่มทะยานขึ้นสู่ระดับนานาชาติ นับเป็นความภูมิใจอันยิ่งใหญ่ของอินโดรามา ที่ทีมของเราพัฒนาสู่ความสำ�เร็จระดับนานาชาติ เมื่อเร็วๆนี้ ทีมแนวคิดวัฏจักรคุณภาพ 3 ทีมของเรา (2 ทีม จากอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ และอีกหนึ่งทีมจาก แผนกขนสัตว์สังเคราะห์) ได้เข้าร่วมในงาน คิวซีซี เอชคิว แห่งชาติ ในการแข่งขันทุกทีมของเรานำ�เสนอได้ อย่างยอดเยี่ยม มีการเยี่ยมชมการทำ�งานที่โรงงาน อินโดโพลี และ โรงงานผลิตขนสัตว์สังเคราะห์ เป็นขั้นตอนต่อไป ซึ่งคณะผู้ตัดสินรู้สึกชื่นชมอย่างยิ่งที่ได้เห็น ภาพเคลื่อนไหวในการทำ�งานอย่างที่ผู้เข้าแข่งขันได้นำ�เสนอไว้ ทีมวัฏจักรคุณภาพ “ทู ฟอร์ วัน” (สองเป็นหนึ่ง) ได้รับรางวัล “กลุ่มวัฏจักรคุณภาพยอดเยี่ยม” จากงานการนำ�เสนอวัฏจักรคุณภาพ ครั้งที่ 23 ซึ่งจัดขึ้นโดย สำ�นักงานใหญ่ด้านวัฏจักรคุณภาพของประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 ยิ่งกว่านั้นทีมนี้ยังได้รับเลือกให้ไปร่วมงาน การประชุมนานาชาติเรื่อง วัฏจักร คุณภาพ สำ�หรับ ทีมที่นำ�เสนอยอดเยี่ยมจากนานาชาติ (ไออีทีอีเอ็กซ์) ที่สิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 9-12 มิถุนายน 2552 ส่วนทีม เส้นด้ายก้าวไกล จากอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส์ ได้รับเลือกให้เข้าร่วมการแข่งขันนานาชาติที่ประเทศจีน ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 พันธะผูกพัน การมีพันธะผูกพันต่อกันยังคงเป็นดั่งรางวัลสำ�คัญสูงสุดที่เรามอบให้แก่พนักงาน เรามีพนักงานที่เป็นส่วนสำ�คัญจำ�นวนมากผู้ซึ่งมีส่วนร่วมอยู่ในกิจกรรมต่างๆ ที่ นำ�พาพวกเขาไปสู่การพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้ อันเป็นคุณค่ามหาศาลต่อ IVL พันธะผูกพันของพนักงานเป็นกระบวนการที่ไม่มีวันจบสิ้น มันมีพื้นฐานมาจาก ประสบการณ์ในการทำ�งานที่มีความหมาย และ มีแรงผลักดัน สิ่งที่ประกอบกัน เป็นพันธะผูกพัน คือ การใช้เวลา และความรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งไม่มีสิ่งใดที่สามารถมาแทนที่พื้นฐานเหล่านี้ได้ มาตรฐานการวัดผลบางอย่าง คือ หัวข้อดังต่อไปนี้ การส่งเสริมให้มกี ารเรียนรูร้ ว่ มกันหลายฝ่าย (PML) ความรู้คือขุมพลังที่สามารถทวีคูณขึ้นได้เมื่อเกิดการแบ่งปัน ขั้นต่อไปของ PML คือการจัดตั้ง “ธนาคารความรู้” ของบริษัท เพื่อโน้มน้าวให้พนักงานได้เข้าร่วมในกระบวนการแบ่งปันความรู้ ทั้งกับผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรม ของกระบวนการเรียนรู้สองฝ่าย ในช่วงปีนี้ ทางฝ่ายผลิตได้เป็นผู้จัดให้มีการประชุมแบบ PML ขึ้น 2 ครั้ง การประกันคุณภาพแบบสมบูรณ์ (TQA) – รูปแบบซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากแนวทางของ มัลคอล์ม บาลด์ IVL จึงได้ริเริ่มรูปแบบใหม่ คือ รูปแบบธุรกิจที่ ยอดเยีย่ มของอินโดรามา “IRBEM” เราได้ท�ำ งานตามรูปแบบนีเ้ พือ่ การพัฒนาภายใต้แนวคิดของ กลยุทธ์เชิงรุก การเตรียมความพร้อม การผสมผสาน และการเรียน รู้ ซึ่งทางคณะกรรมการของเราได้เริ่มปฏิบัติงานตามแนวคิดนี้แล้ว รูปแบบนี้จะช่วยเสริมด้านการพัฒนาในการปฏิบัติงานขององค์กร ขีดความสามารถ และผลการทำ�งาน ซึ่งจะช่วยส่งเสริม เรื่องการสื่อสาร และโอกาสในการ แบ่งปันเพื่อการเรียนรู้ สิ่งนี้จะเป็นดั่งเครื่องมือสำ�คัญในการทำ�งาน เพื่อความเข้าใจและการบริหารธุรกิจ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การพัฒนาโดยรวมขององค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพ หมวดหมู่ของ รูปแบบ IRBEM ที่ IVL คือ • ความเป็นผู้นำ� • กลยุทธ์ • การใช้อำ�นาจ • การสร้างขีดความสามารถ • การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • การกำ�หนดเกณฑ์มาตรฐาน • ความรับผิดชอบตามหน้าที่ • การมีส่วนร่วม • การพัฒนาตนเอง

รายงานประจำ�ปี 2552

67


คุณภาพชีวิต (QOL) – เพื่อเป็นการบรรลุเป้าหมายของ การบริหารด้านคุณภาพอย่างสมบูรณ์ IVL ได้เดินหน้าเรื่องกิจกรรมด้านคุณภาพชีวิตมาระยะหนึ่ง แล้ว พนักงานจะมารวมกันเพื่อทำ�กิจกรรมในการพัฒนาตนเองในวันสุดสัปดาห์ .ซึ่งกิจกรรมนี้จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น การทำ�งานที่ กระตือรือร้นขึ้น และช่วยผ่อนคลายความกดกันจากการทำ�งาน หลังจากพบทางออกในวันสุดสัปดาห์ การฝึกอบรมและการพัฒนา (T&D) - การสนับสนุนเรื่องงาน ทำ�ให้เกิดทั้งความเชื่อมั่นและความแน่ใจกับองค์กรและพนักงานที่จะมีโอกาสประสบความ สำ�เร็จและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทั้งแผนการฝึกอบรมและพัฒนา ความสัมพันธ์แบบให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� และเสียงสะท้อนจากกลุ่มผู้จัดการ ไม่เพียงแต่ก่อ ให้เกิดความเชี่ยวชาญ แต่ยังช่วยบริษัทให้เสริมสร้างความชำ�นาญ และลักษณะพฤติกรรมต่างๆเพื่อบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ เราจัดให้มีแผนการพัฒนาและการฝึกอบรมตามปกติแก่แรงงานหลากหลายระดับ พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมในหัวข้อการพัฒนาที่หลากหลาย เช่น เรื่อง ทัศนคติเพื่อการทำ�งานที่ยอดเยี่ยม การทำ�งานร่วมกัน ความเชี่ยวชาญระหว่างบุคคล แรงจูงใจ ความสำ�เร็จ รวมถึงการอบรมด้านเทคนิค ที่เกี่ยวข้องกับ การทำ�งาน พนักงานจะได้เข้ารับการฝึกอบรมโดยเฉลี่ย 16 ชั่วโมงต่อปี สำ�หรับพนักงานที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับกิจกรรมแนวคิด QQC จะได้รับการฝึกอบรมเพิ่มขึ้น 8-10 วันต่อปี มิสเตอร์ลูลลา ซึ่งเดินทางมาเยี่ยมเยือนเราในเดือนมกราคม 2552 ได้แสดงถึงความพยายามของเขา ที่จะเพิ่มระดับการฝึกอบรมให้มีศักยภาพมากขึ้น เขาให้คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องเรื่อง รูปแบบของ IRBEM เริ่มต้นการทำ�แผนปฏิบัติ ที่เรียกว่า RACI (ความรับผิดชอบ ความสำ�นึกใน หน้าที่ การให้คำ�ปรึกษา และการแจ้งข้อมูลข่าวสาร) เพื่อนำ�มาส่งให้เขาพิจารณาและทบทวนดู เขา สามารถให้ความกระจ่างในเรื่อง “วิธีการเข้าถึงการทำ�แผนปฏิบัติ” ได้เป็นอย่างดี ซึ่งองค์ประกอบ ของ TQA ก็คือ ความเป็นผู้นำ� การวางแผนกลยุทธ์ การให้ความสนใจกับลูกค้าและตลาด รับฟัง ข้อมูลจากลูกค้า มุ่งเน้นด้านการตลาดและความเป็นผู้นำ� (วิสัยทัศน์ พันธะสัญญา และคุ ณ ค่ า ) ซึ ่ ง ต้ อ งเจาะลึ ก ลงไปในเรื ่ อ งการวางแผนกลยุ ท ธ์ รู ป แบบ ADLI (กลยุทธ์เชิงรุก การเตรี ยมความพร้อม การเรียนรู้ และการผสมผสาน) ซึ่งจะทำ�ให้เกิดความตื่นตัวโดยรอบ อินโดรามายังได้จัดให้มีการอบรมแรงงานไทยเรื่องความมั่นคงในการประกอบอาชีพ พิธีเปิดการฝึกอบรมพนักงานของอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส์ มี ขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2552 โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม นายอุทาน ชวเมธี ระบบบริหารการปฏิบัติงาน (PMS) – คือการจัดการเกี่ยวกับการชี้แจง การประเมิน และการ ส่งเสริม ให้ประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร ในแนวทางที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผ่านการทำ�งานของพนักงาน ซึ่งเราต้องตอบแทนพนักงานโดย การแสดงว่าเห็นคุณค่า ในการทำ�งานของพวกเขา กิจกรรมที่ต่างๆที่เราจัดขึ้นเพื่อสนับสนุนการพัฒนาของพนักงานโดยรวมมีดังนี้ • โอกาสทางการเติบโตในสายอาชีพสำ�หรับพนักงานที่มีความสามารถพิเศษ • แผนการสืบทอดธุรกิจที่มีศักยภาพ • การหมุนเวียนเปลี่ยนหน้าที่ / โอกาสในการสร้างความเชี่ยวชาญหลายด้าน เพื่อส่งส่งเสริมการ ใช้งานผู้มีความสามารถในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีกว่า • เห็นคุณค่าและตอบแทนคนสร้างแรงจูงใจ ความตื่นตัว IVL ได้สนองตามความต้องการของพนักงานในการจัดกิจกรรมและงานหลายอย่าง เราให้ อิสระกับพนักงานในการแยกตัวมาทำ�กิจกรรมที่ไม่สามารถกำ�หนดตารางตายตัวได้ ซึ่งสิ่งนี้ก็คือ ส่วนสำ�คัญของการปฏิบัติการที่ทำ�ให้เกิดความกระตือรือร้น งานกิจกรรมเหล่านี้ คือเวทีที่จะแสดงถึงมุมมองผ่านตัวตนที่แท้จริงของพนักงาน ซึ่งทำ�ให้เกิดผล ของพฤติกรรมและการทำ�งานในด้านบวก และยังทำ�ให้พวกเขากลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ ด้วยวิธีนี้ ทีมงานที่ประกอบด้วยวัฒนธรรมอันหลาก หลายของเรา ก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์บนโลก งานกิจกรรมต่างๆในปี 2552 มีดังนี้ กิจกรรมท่องเที่ยวพักผ่อน งานเฉลิมฉลองวันครอบครัว งานเฉลิมฉลองวันพ่อ งานดิวาลี และงานเฉลิมฉลองวันปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์

68

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


กลยุทธ์ที่ประสบความสำ�เร็จ ในเรื่องการมีส่วนร่วมของพนักงาน ทำ�ให้เกิดเป็นชุมชนขึ้นในที่ทำ�งาน มิใช่เป็นเพียงแค่แรงงาน เมื่อพนักงานมีความรู้สึกผูกพัน กับองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและในแง่บวก ก็จะนำ�ไปสู่ความได้เปรียบในการแข่งขัน ที่ IVL เราเติบโตขึ้นมาด้วยวัฒนธรรมที่เปิดกว้างและแจ่มชัด เพื่อการ บริหารคนและพัฒนาผู้บริหาร แนวคิด 3 อี ซึ่งดำ�เนินไปอย่างงดงามจะนำ�พาไปสู่ อี ตัวที่สี่คือ คือ ความเยี่ยมยอด (Excellence) ในทุกสนามแข่งที่มีการปฏิบัติ การและคนจากไอวีแอล “เราดูแลชุมชนของเราเสมอ” จุดประสงค์หลักของ IVL คือกิจกรรมทางสังคม ซึ่งพัฒนาการเติบโตของสังคมอย่างยั่งยืน และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่า เราบรรลุตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ ด้วยการร่วมมือกับทั้งองค์ภาครัฐบาลและเอกชน ในการทำ�งานเพื่อสนับสนุนชุมชน ไอวีแอลยังคงมีส่วนร่วมในการทำ�กิจกรรมเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง ทั้งใน ประเทศไทย ลิธัวเนีย และสหรัฐอเมริกา IVL ได้เรียนรู้จากชุมชนว่า การมีส่วนร่วมและช่วยงานบริการในงานกิจกรรมประจำ�ปีของสาธารณะ เพื่อปลูกฝัง คนที่ มีแนวคิดบวก และความสัมพันธ์ทางสังคม เป็นเรื่องที่ดีมากแค่ไหน พนักงานของเราในหลายสายงานก็เป็นสมาชิกของชุมชนเหล่านี้ กิจกรรมทางสังคมของ IVL และการให้ความเคารพต่อชุมชน สะท้อนให้เห็นถึงสำ�นึกรับผิดชอบในการเป็นพลเมืองที่ดี กิจกรรมหลักๆ ของเรามีดังนี้ • การมอบทุนการศึกษาระดับประถมให้แก่เด็ก • เป็นผู้สนับสนุนทีมแข่งขันกีฬา • สนับสนุนศูนย์สุขภาพขอ งรัฐ • โครงการสีเขียวเพื่อการปลูกป่า • สนับสนุนและจัดกิจกรรมและงานนิทรรศการด้านวัฒนธรรม • เข้าร่วมในงานเทศกาลต่างๆของท้องถิ่น เช่น งานวันเด็กแห่งชาติ เทศกาลสงกรานต์ ลอยกระทง และวันมาฆบูชา IVL ยังมุ่งเน้นในเรื่อง การลดจำ�นวนการใช้ทรัพยากรและการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ด้วยการอนุรักษ์พลังงานและน้ำ� เป็นเรื่องที่สำ�คัญอย่างยิ่ง ซึ่งต้องการ ศักยภาพอันยิ่งใหญ่ในการนำ�ทรัพายากรธรมชาติเหล่านี้มาใช้ IVL ได้วางรากฐานเรื่อง EHS คือ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัยไว้ ซึ่งมีการปฏิบัติกัน ในทุกโรงงาน ตามแนวทางที่ได้วางไว้ เราได้แจกจ่ายคู่มือเรื่อง EHS ให้กับทุกโรงงานเพื่อเป็นการวางรากฐานในเรื่องนี้ เพราะเราต้องการให้การทำ�งาน ของเราให้เป็นไปตามมาตรฐานของรัฐบาลและอุตสาหกรรม IVL จึงว่าจ้างมืออาชีพมาเพื่อ ประเมินค่า ชี้แนะ และดูแลแผน งานด้านสิ่งแวดล้อมและสถานที่ทำ�งาน IVL มีเจ้าหน้าที่ซึ่งมีหน้าที่ ในการวางรากฐานระบบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นเครื่องยืนยันได้ว่าได้ทำ�ตาม หน้าที่อย่างสมบูรณ์ และเจ้าหน้าที่เหล่านี้จะเป็นผู้สังเกตการณ์ให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างรอบคอบและปลอดภัย เรายังได้เพิ่มมาตรการทดสอบอย่างมืออาชีพ จากภายนอกเข้าไปด้วย ระหว่างปี 2552 ความอุตสาหะในการร่วมมือเพื่อรับผิดชอบต่อสังคม ตามสถานที่ต่างๆของ IVL ได้ปรากฏให้เห็นในรูปแบบของกิจกรรมดังต่อไปนี้ เราได้จัดกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นที่ OGP ประเทศลิธัวเนีย - ประชุมร่วมกับองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมของไคลเพด้า ที่ชื่อ Zvejone ซึ่งทำ�งานเหมือน องค์กรกรีนพีซ - นำ�เสนอรายงานประจำ�ปีเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อสังคม (เช่น หมู่บ้าน องค์กรบริหาร เมือง และหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม - ยังได้จัดให้มีการฝึกอบรมเรื่องการป้องกันอัคคีภัย กับหน่วยดับเพลิงของเมืองไคลเพด้า - จัดการแข่งขันฟุตบอลการกุศลเพื่อชิงถ้วยประจำ�ปีที่ FEZ ในวันที่ 5 ตุลาคม 2552 มีการจัดการแข่งขันเรือพายขึ้นที่แม่น้ำ� บางคาม หมู่บ้านโคกสลด ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังของโรงงาน บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลพบุรี ซึ่งเป็นการปฏิบัติตามประเพณี เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำ�อย่างแม่น้ำ�บางคามไว้ ทาง IRP ก็ได้สนับสนุนงานนี้ โดยการส่งทีมของ IRP เข้าร่วมงาน ซึ่งทีมนี้ ก็ได้คว้าชัยชนะในปี 2552 ไป เราได้จัดให้มีการอบรมเรื่อง เอชไอวี เอดส์ โดยองค์กรพันธมิตรทางธุรกิจแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2552 ที่โรงงาน IRP ลพบุรี เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2552 พนักงานของ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดีสตรี้ส์ นครปฐม ได้ให้ความร่วมมือในการบริจาคเลือดกับหน่วยแพทย์บริการ บริจาคโลหิต ของคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช ในวันที่ 5 มิถุนายน 2552 มีการมอบรางวัล ธรรมาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม “ดาวเขียวบนธงขาว” บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคัลส์ และ บริษัท ทีพีที ยูทิลิตี้ของเรา ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม ในการมีธรรมาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

รายงานประจำ�ปี 2552

69


ก่อนที่จะได้รับรางวัล “ดาวเขียวบนธงขาว” ทางทีมบริหารจัดการทรัพย์สิน ไออีเอที พร้อมทั้งตัวแทนจากชุมชน ได้เข้าไปตรวจสอบ โรงงาน ทีพีที ในปี 2551 ถึง 4 ครั้ง ทีมตรวจสอบมุ่งเน้นไปที่เรื่อง การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น เรื่องการใช้น้ำ� และการกำ�จัดน้ำ�เสีย การบริหารจัดการขยะและสิ่งปฏิกูล การ ปล่อยมลพิษทางอากาศ และการควบคุมมลพิษทางเสียง ทาง วีโอซี ได้เฝ้าดูแลในเรื่อง พื้นที่สีเขียว / พื้นที่รับแรงปะทะ และสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมในโครงการฝึกอบรมที่โรงงาน พร้อมกันนี้ยังจ้างคนในพื้นที่ให้ร่วมงานกับ TPT อินโดรามาได้ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศลจำ�นวน 20,000 บาทแด่พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี ในโอกาสที่ท่านเสด็จมาที่ท่าคลอง เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2552 เพื่อสบทบทุนสภากาชาดไทย ในโครงการเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากน้ำ�ท่วมครั้งที่แล้ว ส่วนกิจกรรมที่ทำ�ร่วมกันที่สหรัฐอเมริกา มีดังต่อไปนี้ - สืบทอดงานของ สมาคมมะเร็งเพื่อชีวิตคนอเมริกัน - จัดรายการแข่งขันกอล์ฟการกุศลให้กับ สมาคมนักบินที่ ดีคาร์ทัว - เข้าร่วมเป็นสมาชิกรายปีขององค์กรฉุกเฉินด้านอุตสาหกรรม - สนับสนุนด้านทุนการศึกษา ให้กับมูลนิธิโดยทั่วไปใน ดีคาร์ทัว - ศูนย์วัฒนธรรมฮินดูที่ตอนเหนือของอลาบามา - มูลนิธิมะเร็งทรวงอกของเอวอน - ทุนการศึกษาสำ�หรับผู้นำ�นักเรียน ของ หอการค้าในเขตปกครอง ดีคาร์ทัว-มอร์แกน โครงการภายนอกที่อินโดรามา โพลีเมอร์ส และ โฮลดิ้ง ในรอทเทอร์ดัม เนเธอร์แลนด์ ให้การ สนับสนุนมีดังนี้ • บริจาคเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหลือใช้ให้กับ องค์กรการกุศลในเนเธอร์แลนด์ • เข้าร่วมกับโครงการ “การเข้าถึงวิชาเคมี” ซึ่งเป็นโครงการที่ริเริ่มโดย วีเอ็นซีไอ (องค์กรด้านอุตสาหกรรมเคมี) โดยมีวัตถุประสงค์ในการนำ�เด็กๆชั้นประถม มาเยี่ยมชมโรงงานเคมี เพื่อให้รู้ว่าเรื่องเคมีเป็นอย่างไร มีเด็กจากโรงเรียนประมาณ 35 คนมาเยี่ยมชมโรงงานของเรา ในเดือนมิถุนายน มีการนำ�เสนอให้เด็ก ทราบในเรือ่ งของบริษทั อินโดรามา และผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ นอกจากนีเ้ รายังเชิญชวนให้เด็กๆได้ท�ำ การทดลองเกีย่ วกับสารเคมี โดยการทำ�เจลใส่ผมและแชมพูสระผม • อินโดรามาได้มีส่วนร่วมกับวิทยาลัย โพรเสซ ซึ่งอยู่ที่ เมนพอร์ท ในรอทเทอร์ดัม หนึ่งในงานหลักของเราก็คือการส่งเสริมโรงเรียนที่ดำ�เนินการด้านปฏิบัติ การและช่างเทคนิคด้านการซ่อมบำ�รุง ความต้องการนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นนั้น สืบเนื่องมาจาก การศึกษาทางวีชาชีพเทคนิคที่มีความสำ�คัญมากขึ้น เราได้เชิญ นักเรียนที่เรียนอยู่ชั้นมัธยมให้เข้ามาเยี่ยมชมโรงงาน มีการนำ�เสนอแนวคิด และอธิบายเรื่องการทำ�งาน เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเรื่องการศึกษา ขั้นต่อไปได้ ตลอดสัปดาห์ของการดำ�เนินการด้านอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม มีนักเรียนและพนักศึกษาหลายกลุ่มเช้ามาเยี่ยมชมโรงงานของเรา • เราได้เสนอให้นกั ศึกษาจากวิทยาลัย โพรเสซ ได้เข้ามาเป็นนักศึกษาฝึกงานในบริษทั ของเรา ซึง่ ผลก็คอื เราได้วา่ จ้างบางคนให้เป็นพนักงานของอินโดรามาต่อไป ตลอดปีที่ผ่านมา โรงงานอินโดรามา ปิโตรเคม ที่ระยองได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ ดังต่อไปนี้ • ร่วมมือกับ ไออีเอที และผู้นำ�ชุมชนท้องถิ่นของอำ�เภอบ้านฉาง ช่วงระหว่างเดือนมิ.ย. ถึงเดือน ธ.ค. 52 เพื่อวางแผนการลดผลกระทบเรื่องกลิ่นที่เกิดขึ้นกับ ชุมชนใกล้เคียง • จัดการเยี่ยมชุมชนท้องถิ่นตามปกติทุกเดือน ระหว่างเดือนมิ.ย. ถึงเดือน ธ.ค. 52 • จัดตั้งกิจกรรม “โครงการโรงเรียนปลอดภัย” เมื่อวันที่ 4 ก.ย. 52 ที่โรงเรียนประชุมมิตรบำ�รุง (พร้อมทั้งฝึกอบรมการอพยพหนีไฟเบื้องต้น ให้กับครูและ นักเรียนด้วย) • เมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 52 ได้บริจาคสิ่งของ ทุนอาหารกลางวัน และจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬา ให้แก่เด็กกำ�พร้าที่ศูนย์ดูแลเยาวชนห้วยพง จังหวัดระยอง • เข้าร่วมกิจกรรมกับ เอ็มอาร์พี (ชมรมประชาสัมพันธ์ของมาบตาพุด)ในงาน “แคมป์เยาวชน ที่มีความสุข สุขภาพดี กับ เอ็มอาร์พี” ระหว่างวันที่ 28-29 พ.ค. 52 ที่สวนสมุนไพรของ พีทีที ระยอง • สนับสนุนของขวัญและของรางวัลให้กับงานวันเด็กแห่งชาติปี 2552 • ร่วมบริจาคในงานกาชาดของระยอง ซึ่งจัดขึ้นโดยจังหวัดระยอง • ร่วมบริจาคเพื่อสนับสนุนงานเทศกาลสงกรานต์ ที่จัดโดยชุมชนประชุมมิตร และชุมชนจากลูกยา • ร่วมบริจาคให้กับองค์กรการกุศลของวัดจีนประยูร อินโดรามา เวนเจอร์ส จะยืดหยัด เพื่อสนับสนุน และมีส่วนในการเหลือ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของ ผู้คน และชุมชน และสิ่งแวดล้อมเสมอ

70

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน ซึ่งประกอบด้วย 1) นายระเฑียร 2) นายวิลเลี่ยม 3) นายจักรมณฑ์

ศรีมงคล เอ็ลล์วู๊ด ไฮเน็ค ผาสุกวนิช

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่ง กรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่ง กรรมการตรวจสอบ

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 6/2552 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 ได้มีมติอนุมัติให้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราว ละ 2 ปี รวมทั้งมีการจัดทำ�กฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้เป็นตามข้อกำ�หนดที่ออกใหม่ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในปี 2552 ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้นจำ�นวน 3 ครั้ง (โปรดดูรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ในรายงานการ กำ�กับดูแลกิจการ) และคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย และขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดย สามารถสรุปสาระสำ�คัญของงานที่ได้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1) สอบทานงบการเงินของบริษัทร่วมกับผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยสอบทานในเรื่องการใช้นโยบายบัญชี การจัดทำ�งบการเงิน การเปิดเผยข้อมูล และ เรื่องอื่นๆ โดยได้สอบทานงบการเงินในไตรมาสที่ 3 และตรวจสอบงบการเงินประจำ�ปีของบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินของบริษัท มีความ ถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2) อนุมัติแผนงานการตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2552 และสอบทานรายงานระบบควบคุมภายในในบริษัทย่อยหลักของกลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส โดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีภายในของบริษัท. นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้อนุมัติแผนงานตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2553 โดยฝ่ายตรวจสอบภายในทำ�การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบบริษัทย่อยทั้งหมดของกลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส ยกเว้น เพียงสองหน่วย งานในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งหน่วยงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีการรวมไว้ในแผนการตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2553 3) สอบทานความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทร่วมกับผู้สอบบัญชีของบริษัท ฝ่ายตรวจสอบภายใน และฝ่ายบริหาร นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฎิบัติงานร่วมกับฝ่ายตรวจสอบภายในและฝ่ายบริหารปรับปรุงระบบและขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มยิ่งขึ้น 4) สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท โดยในปีที่ผ่านมา ไม่พบว่ามีเรื่องใดที่บริษัทไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำ�หนดและกฎหมายอืน่ ๆ ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วข้างต้น 5) การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2552 นั้น คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เนื่องจากในช่วงเวลา ดังกล่าว ยังไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ 6) คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทย่อยเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ซึ่งบริษัทฯ ได้ปฏิบัตินโยบายรายการที่ เกี่ยวโยงกันของบริษัท รวมทั้งได้ปฎิบัติตามกฎหมายและกฏระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบเชือ่ มัน่ ว่า งบการเงินของบริษทั และระบบการควบคุมภายใน มีความถูกต้อง เพียงพอ และเหมาะสม อีกทัง้ บริษทั ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฏหมาย กฎระเบียบ และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

นายระเฑียร ศรีมงคล ประธานกรรมการตรวจสอบ 24 กุมภาพันธ์ 2553

รายงานประจำ�ปี 2552

71


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ได้ให้ความสำ�คัญต่อหน้าที่และความรับผิดชอบดูแลกิจการของบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบายการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี อีกทั้งคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี สำ�หรับงบการเงินสำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยบริษัทใช้นโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตที่เป็นอิสระ งบการเงินจึงสะท้อนฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ที่เป็นจริง และโปร่งใส นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง และการกำ�กับดูแลกิจการที่เหมาะสม เพื่อให้ มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ โดยที่คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้ดูแลรับผิด ชอบในการสอบทานคุณภาพของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน และการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ได้มีการเปิดเผยไว้อย่างครบถ้วน เพียง พอ และเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวม และรายงานทางการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ของบริษัท อินโด รามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ เหมาะสม และเชื่อถือได้

(นายศรี ปรากาซ โลเฮีย) ประธานกรรมการบริษัท

72

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

(นายอาลก โลเฮีย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท


งบการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2552

73


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ตามลำ�ดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการ แสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามิได้ตรวจสอบ งบการเงินของบริษัทย่อยสองแห่งซึ่งซื้อมาในปี 2551 และรวม อยู่ในงบการเงินรวม งบการเงินของบริษัทย่อยเหล่านั้นมียอดรวมสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เป็นอัตราร้อยละ 26 และ ร้อยละ 22 ของ สินทรัพย์รวมและมียอดรวมรายได้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีเป็นอัตราร้อยละ 22 และ 5 ของรายได้รวมตามลำ�ดับ มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน ในบริษัทย่อยดังกล่าวในงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีจำ�นวนรวม 3,752.2 ล้านบาท และ 2,928.2 ล้านบาทตามลำ�ดับ งบ การเงินของบริษัทย่อยดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น โดยข้าพเจ้าได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีเหล่านั้น และความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ จำ�นวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทย่อยเหล่านั้นซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้ถือตามรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นนั้น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่าง มีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่ เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่ เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำ�ขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการ ตรวจสอบดังกล่าว ประกอบกับรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นที่กล่าวถึงในวรรคแรกให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากการตรวจสอบของข้าพเจ้าและรายงานของผู้สอบบัญชีอื่น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและ ฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) ตามลำ�ดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทได้เสร็จสิ้นการซื้อกิจการหลายแห่ง ซึ่งเป็นผลให้มีการบันทึกค่าความนิยมติดลบเป็นจำ�นวน 3,123.8 ล้านบาท ในงบกำ�ไรขาดทุนรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551

(นายวิเชียร ธรรมตระกูล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3183 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด กรุงเทพมหานคร 25 กุมภาพันธ์ 2553

74

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

สินทรัพย์ หมายเหตุ

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

งบการเงินรวม 2552

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ (พันบาท)

2552

2551

6 7 5, 8 5 9 5, 10

1,396,824 1,162,929 9,962,811 9,673,954 1,369,479 23,565,997

1,179,241 257,020 8,525,056 212,800 7,419,235 1,242,144 18,835,496

131,727 572,808 301,415 1,005,950

27,450 5,666 33,116

11 7 5 12 13 14

32,706 49,505,319 878,874 277,216 50,694,115

100,118 49,641,830 967,825 222,806 50,932,579

9,622,066 1,262,628 10,884,694

9,473,822 924,023 10,397,845

74,260,112

69,768,075

11,890,644

10,430,961

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2552

75


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

หมายเหตุ 2552

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

76

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552 (พันบาท)

2551

15 16

10,004,447 9,003,958

11,205,149 6,863,101

-

565,543 -

15

4,643,396

3,264,924

162,600

45,870

5

24,467

-

24,467

-

15

24,538 313,643 1,770,907 25,785,356

73,467 28,172 2,344,520 23,779,333

222,255 409,322

10,455 621,868

25,330,385 73,374 605,182 26,008,941 51,794,297

27,507,305 473,989 77,399 223,107 28,281,800 52,061,133

2,155,158 2,155,158 2,564,480

1,195,217 460,646 1,655,863 2,277,731

17

15 5 15


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

หมายเหตุ 2552

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ผลกำ�ไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนเกินทุนจากการตีราคา การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมจากการป้องกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสด ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ส่วนเกินระหว่างราคาตามบัญชีของบริษัทย่อยที่ได้มา สูงกว่าราคาทุน ผลต่างที่เกิดจากรายการภายใต้การควบคุมเดียวกัน กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 (พันบาท)

2551

18 18

5,082,000 3,351,544

3,351,544 3,351,544

5,082,000 3,351,544

3,351,544 3,351,544

19

4,443,214

4,443,214

4,443,214

4,443,214

19

864,535

986,546

-

-

29 19

(132,795) (324,283)

(109,247)

-

-

19 19

173,674 (1,580,670)

94,517 (1,580,670)

-

-

19

290,575 10,093,238 17,179,032 5,286,783 22,465,815

146,011 5,462,619 12,794,534 4,912,408 17,706,942

1,531,406 9,326,164 9,326,164

358,472 8,153,230 8,153,230

74,260,112

69,768,075

11,890,644

10,430,961

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2552

77


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำ�ไรขาดทุน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

รายได้ รายได้จากการขาย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ค่าความนิยมติดลบ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ขาดทุนจากการจำ�หน่ายบริษัทย่อย ขาดทุนจากอัตราแลกปลี่ยนสุทธิ รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับปี ส่วนของกำ�ไรที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไรต่อหุ้น - พื้นฐาน (บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

78

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม หมายเหตุ 2552 2551

5 5 4 (ก)

5, 21 5, 22 5, 23 24 11 4 (ข)

5, 25 26

28 18

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 (พันบาท)

79,994,226 18,360 567,715 305,274 80,885,575

53,331,844 26,858 3,123,837 122,358 56,604,897

33,074 1,232,471 1,265,545

21,621 128,927 150,548

67,665,880 4,269,652 651,973 123,901 72,711,406

48,178,261 2,553,200 366,274 53,044 287,202 523,765 51,961,746

11,496 1,300 16,103 7,115 36,014

6,438 26,892 33,330

8,174,169 1,601,532 6,572,637 553,954 6,018,683

4,643,151 1,467,460 3,175,691 52,641 3,123,050

1,229,531 56,564 1,172,967 33 1,172,934

117,218 20,619 96,599 31 96,568

4,824,097 1,194,586 6,018,683

2,656,296 466,754 3,123,050

1,172,934 1,172,934

96,568 96,568

1.44 1

16.51 10

0.35 1

0.60 10


รายงานประจำ�ปี 2552

79

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ค่าเสือ่ มราคาจากส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ถาวร 4 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน การจำ�หน่ายบริษทั ย่อย รายได้(ค่าใช้จา่ ย)สุทธิของรายการทีร่ บั รูโ้ ดยตรง ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำ�ไรสำ�หรับปี รวมส่วนของรายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รู ้ ผลต่างทีเ่ กิดขึน้ จากการรวมธุรกิจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน ซือ้ บริษทั ย่อย จัดสรรเป็นทุนสำ�รองตามกฎหมาย 18 2,951,544 เงินปันผล 3,351,544 ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกเพิม่ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และวันที่ 1 มกราคม 2552 ผลขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ค่าเสือ่ มราคาจากส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ถาวร การป้องกันความเสีย่ งกระแสเงินสด ขาดทุนทีร่ บั รูใ้ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ค่าใช้จา่ ยสุทธิของรายการทีร่ บั รูโ้ ดยตรง ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ กำ�ไรสำ�หรับปี รวมส่วนของรายได้และค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รู ้ ซือ้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย 3,351,544 จัดสรรเป็นทุนสำ�รองตามกฎหมาย เงินปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

400,000

(314,836) (314,836) 332,112 986,546

(132,329) -

4,275,613 4,443,214

(132,329) (132,329) 10,318 864,535

(106,608) (208,228)

-

4,443,214

969,270

167,601

(132,795) (132,795) (132,795)

(132,795) -

-

-

-

-

-

(215,036) (215,036) (324,283)

(215,036)

-

(109,247)

8,316 8,316

8,316 -

(117,563)

79,157 73,674

-

-

5,423 94,517

-

-

89,094

(1,580,670)

-

-

(791,803) (1,580,670)

-

-

(788,867)

5,228 139,336 290,575

-

-

16,329 146,011

-

-

129,682

4,824,097 4,824,097 (54,142) (139,336) 10,093,238

-

-

197,787 (16,329) 5,462,619

(73,471) 2,656,296 2,582,825

(73,471)

2,698,336

(96,630) (476,621) 466,754 3,123,050 370,124 2,646,429

(43,827) (150,435) 21,376 29,692 (74,179) (355,878)

(72,622) (205,417) (69,825) (284,861)

(194,732) (327,061)

(480,160) (337,179) (817,339) 4,824,097 1,194,586 6,018,683 4,343,937 857,407 5,201,344 40,561 (301,112) (260,551) - (181,920) (181,920) 17,179,032 5,286,783 22,465,815

(132,795) (215,036)

(132,329)

(261,904) (267,164) (529,068) 5,423 2,145,422 2,150,845 - (136,038) (136,038) 7,227,157 - 7,227,157 12,794,534 4,912,408 17,706,942

(379,991) 2,656,296 2,276,305

(106,608) 8,316 (281,699)

3,547,553 2,800,064 6,347,617

งบการเงินรวม ส่วนเกินทุน ผลกำ�ไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำ�ไรสะสม การเปลี ย ่ นแปลงใน ทุนเรือน รวมส่วน ส่วนของ มูลค่ายุติธรรมจาก ผลต่างจาก ส่วนเกินระหว่างราคา ผลต่างที่เกิดจาก ทุนสำ�รองตาม รวมส่วน ผูถ้ อื หุน้ หุน้ ทีอ่ อก ส่วนเกิน ส่วนเกินทุน การป้ ของผูถ้ อื หุน้ รายการภายใต้การ องกันความเสี่ยง การแปลงค่า ตามบัญชีของบริษัทย่(พัอยนบาท) ส่วนน้อย ของผู้ถือหุ้น กฏหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ของบริษทั หมายเหตุ และชำ�ระแล้ว มูลค่าหุน้ จากการตีราคา กระแสเงินสด งบการเงิน ที่ได้มาสูงกว่าราคาทุน ควบคุมเดียวกัน

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


80

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กำ�ไรสำ�หรับปี รวมส่วนของรายได้และค่าใช้จ่ายที่รับรู้ ทุนเรือนหุ้นที่ออกเพิ่ม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และวันที่ 1 มกราคม 2552 กำ�ไรสำ�หรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 18

400,000 2,951,544 3,351,544 3,351,544

167,601 4,275,613 4,443,214 4,443,214

261,904 96,568 96,568 358,472 1,172,934 1,531,406

829,505 96,568 96,568 7,227,157 8,153,230 1,172,934 9,326,164

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนเกินทุน กำ�ไรสะสม ทุนเรือน หุ้นที่ออก ส่วนเกิน รวมส่วน หมายเหตุ และชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้น ยังไม่ได้จัดสรร ของผู้ถือหุ้น (พันบาท)

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 96,568 1,172,934 3,123,050 6,018,683 กำ�ไรสำ�หรับปี รายการปรับปรุง 1,566,585 3,081,932 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย (21,621) (33,074) (26,858) (18,360) ดอกเบี้ยรับ (128,927) (1,232,471) เงินปันผลรับ 20,619 56,564 1,467,460 1,601,532 ต้นทุนทางการเงิน 26,892 22,071 491,627 (470,097) (กำ�ไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (28,967) (28,527) กลับรายการหนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ-สุทธิ 229,564 (87,764) (กลับรายการ) ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย 156 (1,045) (กำ�ไร) ขาดทุนจากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 11 16,103 ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อย 287,202 ขาดทุนจากการจำ�หน่ายบริษัทย่อย (3,123,837) ค่าความนิยมติดลบ 31 33 52,641 553,954 ภาษีเงินได้ (6,438) 2,160 4,038,623 10,650,308 การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ลูกหนี้การค้า 3,734,855 (1,080,090) สินค้าคงเหลือ 679,669 (2,202,914) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (301,188) (168,365) 319,836 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 51,753 86,085 เจ้าหนี้การค้า (4,909,809) 1,886,452 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 345 216,761 (968,500) (139,268) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 32,726 (33,875) จ่ายภาษีเงินได้ (31) (33) (27,565) (263,634) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน (6,124) (82,300) 2,463,387 9,222,900 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 2,955 3,962 37,487 31,475 รับดอกเบี้ย 128,927 1,232,471 รับเงินปันผล (4,855,854) (3,784,501) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 186,394 2,741 เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 90,189 (572,808) 535,145 (900,082) (ซื้อ) ขายเงินลงทุนอื่น-สุทธิ (7,372) (2,730) ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (894,217) (354,586) (42,612) (236,721) เงินให้กู้ยืมแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายในการซื้อบริษัทย่อยซึ่งรวมถึงเงินสดที่ได้มาจำ�นวน (3,466,833) (824,058) (14,474,047) (165,092) 845,255,121 บาทในปี 2551 และเงินลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทย่อย 659,711 11 คืนเงินลงทุนในบริษัทย่อย 279,941 เงินสดรับสุทธิจากการจำ�หน่ายบริษัทย่อย (4,138,979) 144,692 (18,340,918) (5,054,910) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2552

81


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (1,338,520) (59,111) (1,915,610) จ่ายดอกเบี้ย (136,038) (181,920) จ่ายเงินปันผล 18,699,773 1,147,541 3,870,572 เงินสดรับจากการกู้ยืม (4,410,353) (1,046,545) (5,618,712) ชำ�ระคืนเงินกู้ยืม (64,772) (72,269) ชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 4,025,136 เงินสดรับจากการออกหุ้น 16,775,226 41,885 (3,917,939) เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน 897,695 104,277 250,051 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ 281,654 27,450 1,179,241 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา (108) (32,468) ต่างประเทศคงเหลือสิ้นปี 1,179,241 131,727 1,396,824 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 6 รายการที่ไม่ใช่เงินสด

(10,568) 2,242,689 (2,131,010) 4,025,135 4,126,246 (18,857) 46,307 27,450

ในปี 2551 บริษัทออกหุ้นสามัญรวมส่วนเกินมูลค่าหุ้น จำ�นวน 3,202,021,384 บาท เพื่อชำ�ระค่าหุ้นของบริษัทย่อย และจำ�นวน 676,216,599 บาท เพื่อ ชำ�ระค่าหุ้นสำ�หรับเงินลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

82

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34

ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ การซื้อและการจำ�หน่ายกิจการ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุนและสำ�รอง ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน กำ�ไรต่อหุ้น เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่

รายงานประจำ�ปี 2552

83


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 1

ข้อมูลทั่วไป

บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) “บริษทั ” เป็นนิตบิ คุ คลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ในประเทศไทย และทีอ่ ยูจ่ ดทะเบียนตัง้ อยูเ่ ลขที่ 75/102 อาคารโอเชีย่ น ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 สุขุมวิท 19 ถนนอโศก คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ภายหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทได้จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ดูหมายเหตุข้อ 32 (ข)). บริษัทใหญ่และบริษัทใหญ่ลำ�ดับสูงสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ได้แก่ บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จำ�กัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและ บริษัท Canopus International Limited ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศมอริเชียส บริษทั และบริษทั ย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุม่ บริษทั ”) ดำ�เนินธุรกิจหลักเกีย่ วกับการผลิตและจัดจำ�หน่าย polyethylene terephthalate (“PET”) purified terephthalic acid (“PTA”) และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องคือ เส้นด้ายและเส้นใยโพลีเอสเตอร์ และผลิตภัณฑ์ขนสัตว์ รายละเอียดของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้

ชื่อกิจการ

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด

บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด

บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด(มหาชน)

84

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

ลักษณะธุรกิจ

ผลิต Purified Terepthalic Acid (“PTA”) ผลิต ผลิตภัณฑ์ขนสัตว์ เส้นด้ายและ เส้นใย โพลีเอสเตอร์ และ furfural และ furfural alcohol ผลิต PTA

ประเทศที่กิจการ จัดตั้ง

ส่วนได้เสียในส่วนของ เจ้าของที่แท้จริง (ร้อยละ) 2552 2551

ประเทศไทย 100.00 ประเทศไทย 97.93 ประเทศไทย 54.60

100.00 97.93 50.56


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ชื่อกิจการ

บริษัทย่อยทางตรง และ บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน))

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่กิจการ จัดตั้ง

ผลิตเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์

ประเทศไทย

บริษัท อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด

ผลิตเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์

ประเทศไทย

บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

ผลิตและขาย Solid-State polymerised ประเทศไทย chips หรือที่รู้จักกัน ในชื่อของเม็ด พลาสติกเรซินที่ใช้ในการผลิตขวด วัสดุที่ใช้ในการแปรเป็นขวด พลาสติกและฝาพลาสติก (“PET”)

บริษัทย่อยทางอ้อม UAB Indorama Holdings Europe Indorama Holdings Rotterdam B.V. บริษัท อินโด-รามา เท็กซ์ไทล์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด UAB Indorama Polymers Europe Indorama Polymers Rotterdam B.V. Indorama Polymers Workington Limited AlphaPet, Inc. Indorama Polymers (USA), Inc. UAB Orion Global Pet StarPet Inc. บริษัท เอเชีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท ทีพีที ยูทีลิตีส์ จำ�กัด บริษัท เจ้าพระยา เฮอริเทจ จำ�กัด บริษัทร่วมทางอ้อม บริษัท ทุนเท็กซ์ เท็กซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไตร โอเชี่ยน ทุนเท็กซ์ เท็กซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

ส่วนได้เสียในส่วนของ เจ้าของที่แท้จริง (ร้อยละ) 2552 2551 ทางตรง 64.94 ทางอ้อม 33.90 98.84 ทางตรง 44.38 ทางอ้อม 53.33 97.71 ทางตรง 42.81 ทางอ้อม 25.93 68.74

ทางตรง 97.01 ทางอ้อม 97.01 ทางตรง 44.38 ทางอ้อม 53.33 97.71 ทางตรง 42.81 ทางอ้อม 25.93 68.74

จัดจำ�หน่าย PTA ผลิต PTA

ประเทศลิธัวเนีย ประเทศเนเธอร์แลนด์

97.93 97.93

97.93 97.93

ผลิตด้ายขนสัตว์ จัดจำ�หน่าย PET ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินสำ�หรับผลิต เป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินสำ�หรับผลิต เป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินสำ�หรับผลิต เป็นขวดพลาสติก บริษัทลงทุน

ประเทศไทย ประเทศลิธัวเนีย ประเทศเนเธอร์แลนด์

93.13 68.74 68.74

93.13 68.74 68.74

ประเทศสหราชอาณาจักร 68.74

68.74

ประเทศสหรัฐอเมริกา

68.74

68.74

ประเทศสหรัฐอเมริกา

68.74

68.74

ประเทศลิธัวเนีย

68.74

68.74

ประเทศสหรัฐอเมริกา

68.74

68.74

ประเทศไทย ประเทศไทย

68.74 41.24

68.74 41.24

ประเทศไทย

54.60

50.56

ประเทศไทย

98.84

97.01

ผลิตเส้นใยและเส้นด้าย

ประเทศไทย

16.48

16.17

จัดจำ�หน่ายเส้นใยและเส้นด้าย

ประเทศไทย

5.93

5.82

ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินสำ�หรับผลิต เป็นขวดพลาสติก ผลิตเม็ดพลาสติกเรซินสำ�หรับผลิต เป็นขวดพลาสติก ผลิต Amorphous Chips ผลิตวัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวด พลาสติก ฝาปิด และขวดพลาสติก ผลิตและจำ�หน่ายพลังงาน และ สาธารณูปโภคอื่น พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย

รายงานประจำ�ปี 2552

85


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

เมือ่ วันที่ 19 มีนาคม 2551 บริษทั ได้ท�ำ การจดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ บริษทั กับกระทรวงพาณิชย์ จากเดิมชือ่ บริษทั บีคอน โกลบอล จำ�กัด เป็น บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด โดยมีผลบังคับในวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 บริษทั อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด (“ไอพีแอล”) ได้โอนกิจการให้แก่บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จำ�กัด (มหาชน) (“ไอพีไอ”) โดยไอพีไอได้ซอ้ื สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทัง้ หมดของไอพีแอลโดยมีสง่ิ ตอบแทนในการซือ้ จำ�นวน 1,487.5 ล้านบาท ซึง่ เท่ากับมูลค่าสุทธิทางบัญชีของ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2552 ไอพีแอลได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมือ่ วันที่ 3 สิงหาคม 2552 แต่ยงั อยูใ่ นการควบคุมของ กลุม่ บริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2552 ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติให้เปลี่ยนสถานะของบริษัทจากบริษัทจำ�กัดเป็นบริษัทจำ�กัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 25 กันยายน 2552 บริษทั ได้ท�ำ การจดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ บริษทั กับกระทรวงพาณิชย์จาก บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด เป็น บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2552 ผูถ้ อื หุน้ มีมติอนุมตั แิ ผนการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ระหว่างบริษทั และบริษทั อินโดรามาโพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) (“ไออาร์พี”) ทัง้ นีข้ ึ้นกับผลสำ�เร็จของการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกของบริษัทในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 โดยบริษัททำ�คำ�เสนอซื้อหุ้นของ ไอาร์พีที่ถือครองโดยผู้ถือหุ้นรายอื่นที่ไม่ใช่บริษัทและบริษัทย่อย หลังจากนั้นไออาร์พีจึงดำ�เนินการเพิกถอนหุ้นของไออาร์พีออกจากการเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลท.”) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 ไออาร์พีได้ยื่นแบบคำ�ขอถอนหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ซึ่งการเสนอซื้อหุ้นของไออาร์พีได้เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2552 (ดูหมายเหตุ 32 (ก)) โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2552ไอพีไอซึ่งเป็นบริษัทย่อยได้เพิกถอนหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 14 พฤศจิกายน 2552 บริษัท ทีพีที ยูทีลิตีส์ จำ�กัด (“ทีพที -ี ยูซ”ี ) ได้โอนกิจการให้แก่บริษทั ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) (“ทีพที ”ี ) โดยทีพีทีได้ซื้อสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดของทีพีที-ยูซี โดยมีสิ่งตอบแทนในการซื้อจำ�นวน 1,556.9 ล้านบาท ซึ่งเท่ากับมูลค่าสุทธิทางบัญชีของสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2552 ทีพีที-ยูซีได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 แต่ยังอยู่ในการ ควบคุมของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2

เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน

งบการเงินนีน้ �ำ เสนอเพือ่ วัตถุประสงค์ของการรายงานเพือ่ ใช้ในประเทศ และจัดทำ�เป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได้จดั ทำ�ขึน้ เพือ่ ความสะดวกของผูอ้ า่ นงบการ เงินทีไ่ ม่คนุ้ เคยกับภาษาไทย งบการเงินนีจ้ ดั ทำ�ขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทป่ ี ระกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำ�ขึน้ ตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไปของประเทศไทย เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชีออกประกาศฉบับที่ 12/2552 ระบุให้จดั เลขฉบับมาตรฐานการบัญชีไทยใหม่ให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ กลุม่ บริษทั ได้ใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีป่ รับปรุงใหม่ตลอดจนแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีทอ่ี อกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2551 และ 2552 ต่อไปนี้ ซึง่ มีผลบังคับสำ�หรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง

การด้อยค่าของสินทรัพย์

แม่บทการบัญชี เพื่อจัดทำ�และนำ�เสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2552)

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการบันทึกบัญชีสิทธิการเช่า (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2552) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน

การใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่และฉบับปรับปรุงตลอดจนแนวปฏิบัติทางการบัญชีเหล่านี้ ไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระ สำ�คัญกับงบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะของบริษัท

86

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ในระหว่างปี 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งยังไม่มีมีผลบังคับในปัจจุบัน และไม่ได้มีการนำ�มาใช้สำ�หรับการจัดทำ�งบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ได้ปรับปรุงใหม่ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการ เงินข้อ 33 งบการเงินนี้แสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษเพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยถือ หลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายการบัญชี ในการจัดทำ�งบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกำ�หนดนโยบายและการรายงานจำ�นวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากที่ ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทำ�งบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณ การดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสำ�คัญต่อการรับรู้จำ�นวนเงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3

4 24 29 31

การรวมธุรกิจ การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานที่กำ�หนดไว้ การตีมูลค่าของเครื่องมือทางการเงิน การประเมินหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ

(ก) เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม

การรวมธุรกิจ

การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยวิธีซื้อธุรกิจ ต้นทุนการซื้อธุรกิจบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ส่งมอบ ตราสารทุนที่ออก และหนี้สินที่เกิดขึ้นจนถึง ณ วันทีม่ กี ารแลกเปลีย่ น รวมถึงรายจ่ายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับการซือ้ ธุรกิจ ส่วนเกินจากส่วนได้เสียของกลุม่ บริษทั ในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีส่ ทุ ธิของกิจการ ที่ถูกซื้อที่สูงกว่าต้นทุน (“ค่าความนิยมติดลบ”) ได้บันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนรวม การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็นวิธีการรวมส่วนได้เสียและตามแนวปฏิบัติที่ออก โดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552

บริษัทย่อย

บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอำ�นาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อมในการกำ�หนด นโยบายทางการเงินและการดำ�เนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการ เงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจำ�เป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกัน กับของกลุ่มบริษัท เมื่อมีการจำ�หน่ายกิจการที่เป็นบริษัทย่อย ผลต่างระหว่างจำ�นวนเงินที่ได้รับจากการจำ�หน่ายและมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่จำ�หน่ายกิจการ ซึ่งรวมถึงผล ต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยที่ได้รับรู้อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นนั้น รับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนรวม

รายงานประจำ�ปี 2552

87


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัทร่วม

บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำ�คัญโดยมีอำ�นาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการดำ�เนินงานแต่ไม่ ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งรายได้ ค่าใช้จ่าย และ การเคลื่อนไหวของส่วนของเจ้าของของบริษัทร่วม นับจากวันที่มีอิทธิพล อย่างมีนัยสำ�คัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำ�คัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมมีจำ�นวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัท ร่วม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชำ�ระ ภาระผูกพันของบริษัทร่วม

การตัดรายการในงบการเงินรวม

ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัด รายการในการจัดทำ�งบการเงินรวม กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการกับบริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสีย ในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกันกับกำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข)

เงินตราต่างประเทศ

รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ

รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำ�ไรหรือขาดทุน จากการแปลงค่าจะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

กิจการในต่างประเทศ

สินทรัพย์และหนี้สินของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อกิจการในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่า บันทึกไว้เป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น จนกว่ามีการจำ�หน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป ในกรณีของการลงทุนสุทธิในกิจการในต่างประเทศของกลุ่มบริษัท โดยในสาระสำ�คัญแล้วการลงทุนดังกล่าวมีลักษณะเป็นรายการที่เป็นตัวเงิน ผลต่าง จากอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งเกิดจากรายการที่เป็นตัวเงินและรายการป้องกันความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง บันทึกไว้เป็นรายการต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกว่ามี การจำ�หน่ายเงินลงทุนนั้น (ค)

เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์

เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกนำ�มาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และ อัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ไม่ได้มไี ว้เพือ่ ค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไข การกำ�หนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์จะถูกบันทึกบัญชีในขั้นแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการทำ�รายการดังกล่าวบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน เมื่อเกิดขึ้น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครั้งแรกใช้มูลค่ายุติธรรม กำ�ไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็นมูลค่ายุติธรรมบันทึกในงบกำ�ไร ขาดทุน อย่างไรก็ตามหากตราสารอนุพันธ์เข้าเงื่อนไขมีไว้เพื่อเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง การบันทึกรายการกำ�ไรหรือขาดทุนจากการตีราคาจะขึ้นอยู่กับ ประเภทของรายการที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยง (ดูนโยบายการบัญชีข้อ 3(ง))

88

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้า ณ วันที่รายงาน ราคาอ้างอิงเหล่านั้นทดสอบหาความสมเหตุสมผลด้วย การคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ข้อกำ�หนดต่างๆ และวันสิ้นสุดของแต่ละสัญญา และโดยการใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดของเครื่อง มือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ณ วันที่รายงาน มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ณ วันทีร่ ายงาน ถ้ามีราคาตลาด ในกรณีทไ่ี ม่มรี าคาตลาด ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบัน ณ วันที่รายงานที่ครบกำ�หนดใน วันเดียวกัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล (ง)

การป้องกันความเสี่ยง

การป้องกันความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรม

ในกรณีที่เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ถูกใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือข้อผูกมัด แน่นอนที่ยังไม่มีการบันทึกบัญชี (หรือเฉพาะส่วนที่เจาะจงของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือข้อผูกมัดแน่นอน) กำ�ไรหรือขาดทุนจากการตีราคาตามมูลค่ายุติธรรม หรือองค์ประกอบที่เป็นเงินตราต่างประเทศของเครื่องมือทางการเงินที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน รายการที่ได้รับการป้องกันความ เสี่ยงตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน กำ�ไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน

การป้องกันความเสี่ยงจากกระแสเงินสด

ในกรณีที่เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกใช้เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงในกระแสเงินสดของรายการสินทรัพย์หรือหนี้สินที่บันทึกในบัญชี หรือของรายการที่คาดว่ามีโอกาสเกิดขึ้นค่อนข้างสูง กำ�ไรหรือขาดทุนของเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ในส่วนที่มีประสิทธิผลจะถูกบันทึก โดยตรงในส่วนของ ผู้ถือหุ้น หากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ได้ก่อให้เกิดการบันทึกสินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินในเวลาต่อมา กำ�ไรหรือขาดทุนในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินซึ่งเดิมบันทึกสะสมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนในแต่ละระยะเวลาเดียวกันกับที่สินทรัพย์หรือหนี้สิน ที่ได้มานั้นมีผลกระทบต่องบกำ�ไรขาดทุน หากการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ได้ก่อให้เกิดการบันทึกสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ไม่ใช่เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินในเวลาต่อมา หรือรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ไม่ใช่เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินกลายเป็นข้อผูกมัดแน่นอนซึ่งต้องใช้การป้องกันความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรม กำ�ไร หรือขาดทุนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินซึ่งเดิมบันทึกสะสมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้นและรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุน ในแต่ละระยะเวลาเดียวกันกับที่สินทรัพย์หรือหนี้สินที่ได้มานั้นมีผลกระทบต่องบกำ�ไรขาดทุน สำ�หรับการป้องกันความเสีย่ งจากกระแสเงินสดแต่ละครัง้ นอกเหนือจากทีก่ ล่าวในสองวรรคก่อนหน้านี้ กำ�ไรหรือขาดทุนในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือทางการ เงินซึ่งเดิมบันทึกสะสมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้น และบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนในแต่ละระยะเวลาเดียวกันกับที่รายการที่คาด ว่าจะเกิดขึ้นและได้รับการป้องกันความเสี่ยงนั้นมีผลกระทบต่องบกำ�ไรขาดทุน

การบันทึกบัญชีเมื่อหยุดป้องกันความเสี่ยง

การบัญชีเกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงเลิกใช้โดยไม่ปรับปรุงย้อนหลัง เมื่อเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงหมดอายุหรือถูกขายไปแล้ว ถูกเพิกถอน หรือได้ใช้สิทธิ ตามสัญญาแล้ว หรือไม่เข้าเงื่อนไขการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยงอีกต่อไป กำ�ไรหรือขาดทุนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินเพื่อใช้ ป้องกันความเสี่ยงซึ่งเดิมบันทึกสะสมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นยังคงแสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น และรับรู้เมื่อรายการที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้บันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน ในกรณีรายการที่คาดไว้ไม่เกิดขึ้น กำ�ไรหรือขาดทุนซึ่งเดิมแสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นจะรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนทันที (จ)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารซึ่งจะต้องชำ�ระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด

รายงานประจำ�ปี 2552

89


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ฉ)

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัตกิ ารชำ�ระหนี้ และการคาดการณ์เกีย่ วกับการชำ�ระหนีใ้ นอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจำ�หน่ายบัญชี เมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ช)

สินค้าคงเหลือ

สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ต้นทุนของสินค้าคำ�นวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถาน ที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าสำ�เร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้ารวมการปันส่วนของค่าโสหุย้ การผลิตอย่างเหมาะสม โดยคำ�นึง ถึงระดับกำ�ลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดำ�เนินธุรกิจปกติหักด้วยประมาณการต้นทุนที่จะผลิตให้เสร็จและพร้อมที่จะขาย (ซ)

เงินลงทุน

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท บันทึกโดยใช้วิธีราคาทุนในงบการเงินรวม เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกโดยใช้วิธีราคาทุน (ฌ)

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ยกเว้นเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์ สิ่งทอและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องที่แสดงด้วยราคาที่ตีใหม่ ราคาที่ตีใหม่หมายถึงมูลค่ายุติธรรมซึ่งกำ�หนดจากเกณฑ์การใช้งานของสินทรัพย์ที่มีอยู่จริง ณ วันที่มี การตีราคาใหม่หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

สินทรัพย์ที่เช่า

การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ จัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงิน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ได้มาโดยทำ�สัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าปัจจุบันของจำ�นวนเงินขั้นต่ำ�ที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่ จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ชำ�ระจะแยกเป็นส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจาก หนี้ตามสัญญา เพื่อทำ�ให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่สำ�หรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำ�ไรขาดทุน

สินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่

การตีราคาใหม่ดำ�เนินการโดยผู้ประเมินราคาอิสระอย่างสม่ำ�เสมอพอ เพื่อให้มั่นใจว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ได้รับการประเมินไม่แตกต่างอย่างเป็น สาระสำ�คัญจากมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ในรายงาน มูลค่าของสินทรัพย์ส่วนที่ตีเพิ่มขึ้นจะบันทึกไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้ “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ยกเว้นกรณีที่เคยประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ ลดลงและรับรูข้ าดทุนในงบกำ�ไรขาดทุนแล้ว จะบันทึกเฉพาะส่วนทีต่ มี ลู ค่าเพิม่ ในครัง้ หลังเกินกว่าส่วนทีเ่ คยบันทึกมูลค่าลดลงของสินทรัพย์ชน้ิ เดียวกัน ในกรณีที่ มูลค่าของสินทรัพย์ลดลงจากการตีราคาใหม่จะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนสำ�หรับมูลค่าที่ลดลงเฉพาะจำ�นวนที่ลดลงมากกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ที่เคยบันทึกไว้ครั้งก่อนในส่วนของผู้ถือหุ้นของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันนั้น ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์จะถูกตัดบัญชีโอนไปค่าเสื่อมราคาสะสมเท่ากับผลต่าง ระหว่างค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่กับค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในราคาทุนเดิม ในกรณีที่มีการจำ�หน่ายสินทรัพย์ที่เคยตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุน จากการตีราคาของสินทรัพย์ที่จำ�หน่ายจะโอนจากส่วนของผู้ถือหุ้นไปยังกำ�ไรสะสมและไม่รวมในการคำ�นวณกำ�ไรหรือขาดทุนจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์

90

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ค่าเสื่อมราคา

ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน คำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการ อายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้สำ�นักงาน ยานพาหนะ

20 - 25 20 - 30 5 - 30 3 - 10 5 - 10

ปี ปี ปี ปี ปี

กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง (ญ)

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจำ�กัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ถูกตัดจำ�หน่ายและบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจนับจากวันที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้ สิทธิการได้มา ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ รายชื่อลูกค้า ค่าลิขสิทธิ์ทางเทคโนโลยี (ฎ)

3 - 15 5 - 7.5 9 30

ปี ปี ปี ปี

การด้อยค่า

ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่า มีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทำ�การประมาณมูลค่า สินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของค่าความนิยมจะถูกประมาณ ณ ทุกวันที่รายงานก็ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุน จากการด้อยค่าบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือ หุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้จะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น

การคำ�นวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน

มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หักต้นทุนใน การขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราคิดลดก่อนคำ�นึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สำ�หรับ สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์ นั้นเกี่ยวข้องด้วย

การกลับรายการด้อยค่า

ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับ ขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการ ด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคำ�นวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการ ด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจำ�หน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมี การบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน

รายงานประจำ�ปี 2552

91


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ฏ)

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรม ภายหลังจากการบันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่าย ผลต่าง ระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบกำ�หนดไถ่ถอน จะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ)

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฑ)

ผลประโยชน์พนักงาน

โครงการสมทบเงิน

ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น

โครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้

โครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานที่นอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินสุทธิตามโครงการนี้คำ�นวณแยก กันตามแต่ละแผนงานโดยประมาณการจากจำ�นวนเงินที่พนักงานจะได้รับจากผลของการปฏิบัติงานในปัจจุบันและอนาคต ผลประโยชน์ดังกล่าวจะคิดลดเพื่อ กำ�หนดมูลค่าปัจจุบัน โดยไม่รวมต้นทุนจากการบริการในอดีตและมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์จากโครงการดังกล่าว ซึ่งอัตราคิดลดนี้เป็นผลประโยชน์ ณ วัน รายงานของพันธบัตรระดับ AA ที่จะครบกำ�หนดชำ�ระเงินตามเงื่อนไขของกลุ่มและตามสกุลเงินตราเดียวกันที่คาดว่าจะต้องชำ�ระ การคำ�นวณนี้จะทำ�ทุกปีโดย นักคณิตศาสตร์ประกันภัยตามวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณไว้ (projected unit credit method) การรับรูผ้ ลประโยชน์ จะรับรูไ้ ด้ไม่เกินมูลค่าทัง้ หมดของ ต้นทุนจากการบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ และมูลค่าปัจจุบันของประโยชน์ทางเศรษฐกิจจะแสดงในรูปของมูลค่าที่จะได้รับคืนหรือการลดลงของเงินสมทบจาก โครงการในอนาคต โดยประโยชน์ทางเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นได้ถ้าผลประโยชน์สามารถเกิดขึ้นจริงในช่วงระยะเวลาของแผนนี้หรือตามข้อตกลงของภาระหนี้สิน ของโครงการ (ฒ)

ประมาณการหนี้สิน

ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ในงบดุลก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำ�ระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณจำ�นวนภาระหนี้สินได้ อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำ�นวนที่เป็นสาระสำ�คัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตรา คิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคำ�นึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจำ�นวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ณ)

รายได้

รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า

รายได้จากการขายสินค้า

รายได้รบั รูใ้ นงบกำ�ไรขาดทุนเมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าทีม่ นี ยั สำ�คัญไปให้กบั ผูซ้ อ้ื แล้ว และจะไม่รบั รูร้ ายได้ถา้ ฝ่ายบริหาร ยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัยสำ�คัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่ อ าจวั ด มู ล ค่ า ของจำ � นวนรายได้ แ ละต้ น ทุ น ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ได้ อ ย่ า งน่ า เชื ่ อ ถื อ หรื อ มี ค วามเป็ น ไปได้ ค ่ อ นข้ า งแน่ น อนที ่ จ ะต้ อ งรั บ คื น สิ น ค้ า

ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ

ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนในวันที่บริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล (ด)

ค่าใช้จ่าย

สัญญาเช่าดำ�เนินงาน

รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำ�เนินงานบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า

ต้นทุนทางการเงิน

ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทำ�นองเดียวกันบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณีที่มีการบันทึกเป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของ สินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ดังกล่าวก่อนที่จะนำ�มาใช้เองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

92

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ต)

ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้จากกำ�ไรหรือขาดทุนสำ�หรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายชำ�ระโดยคำ�นวณจากกำ�ไรประจำ�ปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำ�นวณภาษีเงินได้ ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ 4 การซื้อและการจำ�หน่ายกิจการ (ก)

การซื้อกิจการ

(1)

ค่าความนิยมติดลบ

ผูบ้ ริหารพิจารณาให้สว่ นเกินจากส่วนได้เสียของกลุม่ บริษทั ทีส่ งู กว่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ สุทธิทร่ี ะบุได้ของกิจการทีซ่ อ้ื มาในระหว่างปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นค่าความนิยมติดลบอันเกิดจากการต่อรองที่ได้เปรียบและรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนรวม ประกอบด้วย (พันบาท) 1,027,446 Eastman Chemical Company 1,339,860 บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด 619,367 บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำ�กัด (มหาชน) 137,164 (เดิมชื่อ บริษัท ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)) 3,123,837 รวมค่าความนิยมติดลบ

(2)

Eastman Chemical Company

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 กลุ่มบริษัทได้ซื้อสินทรัพย์สุทธิ (ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และเงินทุนหมุนเวียน) และรับโอนกิจการผลิตขวดพลาสติกของโรงงาน 2 แห่ง และกิจการผลิต PTA ของโรงงาน 1 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งเดิมถือหุ้นและดำ�เนินกิจการโดยบริษัท Eastman Chemical Company (“Eastman”) สินทรัพย์สุทธิจากการซื้อกิจการชำ�ระด้วยเงินสดเป็นจำ�นวน 221.28 ล้านยูโร (11,007.2 ล้านบาท) สินทรัพย์สุทธิของกิจการที่ถูกซื้อ ณ วันที่ซื้อธุรกิจประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ ปรับปรุงมูลค่า มูลค่าที่รับรู้ ยุติธรรม ยอดตามบัญชี (พันบาท) 2,918,758 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 2,918,758 สินค้าคงเหลือ 1,575,754 1,575,754 7,384,415 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 7,872,052 487,637 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 552,364 552,364 (884,268) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (884,268) สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ 12,034,660 1,040,001 10,994,659 ค่าความนิยมติดลบ (1,027,446) รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ 11,007,214

(3)

บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 กลุ่มบริษัทได้ซื้อหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายแล้วในอัตราร้อยละ 100 ของบริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด (“ไออาร์พีทีเอ”) จากกลุ่มของผู้ถือหุ้นที่ควบคุมโดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยแลกเปลี่ยนกับหุ้นของบริษัทจำ�นวน 26,115,400 หุ้น ซึ่งมีมูลค่ายุติธรรมเท่ากับ 2,525.8 ล้าน บาท ไออาร์พีทีเอ ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและจัดจำ�หน่าย PTA

รายงานประจำ�ปี 2552

93


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

สินทรัพย์สุทธิของ ไออาร์พีทีเอ ที่ถูกซื้อ ณ วันที่ซื้อธุรกิจประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ มูลค่าที่รับรู้ เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินอื่น สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ ส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกซื้อ (ร้อยละ) สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ได้มา ค่าความนิยมติดลบ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ มูลค่ายุติธรรมของหุ้นที่ออก เงินสดที่ได้รับ กระแสเงินสดรับ - สุทธิ

(4)

4,110 1,853,121 1,466,235 265,700 13,497,206 410,290 12,827 (11,218,938) (2,383,134) (41,752) 3,865,665 100 3,865,665 (1,339,860) 2,525,805

ปรับปรุงมูลค่า ยุติธรรม ยอดตามบัญชี (พันบาท) 266,697 266,697

4,110 1,853,121 1,466,235 265,700 13,230,509 410,290 12,827 (11,218,938) (2,383,134) (41,752) 3,598,968

(2,525,805) (4,110) 4,110

บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน)

ในระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม 2551 ถึงวันที่ 16 ตุลาคม 2551 กลุ่มบริษัททำ�รายการซื้อสามรายการเพื่อซื้อส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของร้อยละ 50.56 ของ บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) (“ทีพีที”) โดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 2,128.5 ล้านบาท ทีพีที ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและจัดจำ�หน่าย PTA

94

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

การซื้อกิจการนี้มีผล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 สินทรัพย์สุทธิของทีพีทีที่ถูกซื้อ ณ วันที่ซื้อธุรกิจประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ มูลค่าที่รับรู้ เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินอื่น สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ ส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกซื้อ (ร้อยละ) สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ได้มา ค่าความนิยมติดลบ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ

518,080 2,042,591 898,048 378,298 9,789,620 9,380 155,601 (6,930,231) (969,715) (456,651) 5,435,021 50.56 2,747,867 (619,367) 2,128,500

เงินสดที่ได้รับ กระแสเงินสดจ่าย - สุทธิ

(518,080) 1,610,420

(5)

ปรับปรุงมูลค่า ยุติธรรม (พันบาท) 272,384 272,384

ยอดตามบัญชี 518,080 2,042,591 898,048 378,298 9,517,236 9,380 155,601 (6,930,231) (969,715) (456,651) 5,162,637

บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน))

เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2551 และ วันที่ 4 ธันวาคม 2551 กลุ่มบริษัททำ�รายการซื้อสองรายการเพื่อซื้อร้อยละ 97.01 ของส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ ใน บริษัท ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) (“ทุนเท็กซ์”) โดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 799.7 ล้านบาท ทุนเท็กซ์ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและ จัดจำ�หน่ายเส้นใยโพลีเอสเตอร์

รายงานประจำ�ปี 2552

95


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

การซื้อกิจการนี้เป็นส่วนหนึ่งของแผนการฟื้นฟูกิจการสำ�หรับทุนเท็กซ์ ซึ่งได้รวมถึงการปรับโครงสร้างหนี้กับเจ้าหนี้ของกิจการ ณ วันที่ 25 กันยายน 2551 แผนการฟื้นฟูกิจการได้เสร็จสมบูรณ์ และ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2551 ศาลล้มละลายกลางได้อนุมัติให้บริษัทออกจากกระบวนการของการฟื้นฟู กิจการ การซื้อกิจการนี้ได้มีผล ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 สินทรัพย์สุทธิของทุนเท็กซ์ หลังรวมผลกระทบตามข้อกำ�หนดของแผนการฟื้นฟูกิจการประกอบด้วย มูลค่าที่รับรู้ (พันบาท) เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินอื่น สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ระบุได้ ส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกซื้อ (ร้อยละ) สินทรัพย์และหนี้สินสุทธิที่ได้มา ค่าความนิยมติดลบ รวมสิ่งตอบแทนในการซื้อ เงินสดที่ได้รับ กระแสเงินสดจ่าย - สุทธิ

323,065 22,683 70,340 13,992 1,819,983 1,968 13,790 (1,210,632) (34,670) (54,774) 965,745 97.01 936,847 (137,164) 799,683 (323,065) 476,618

ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2551 ทุนเท็กซ์ได้ท�ำ การจดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ บริษทั กับกระทรวงพาณิชย์เป็นบริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จำ�กัด (มหาชน) (“ไอพีไอ”)

96

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ข)

การจำ�หน่ายเงินลงทุน

เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2551 กลุ่มบริษัทได้จำ�หน่ายส่วนได้เสียร้อยละ 89.71ในบริษัทย่อยได้แก่ บริษัท อินโด-รามา เคมีคอลส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ให้แก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยรับชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 279.9 ล้านบาท เป็นผลให้กลุ่มบริษัทรับรู้ขาดทุนจากการจำ�หน่ายบริษัทย่อยจำ�นวน 287.2 ล้านบาทในงบกำ�ไรขาดทุนรวมปี 2551 5

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัทโดยการเป็นผู้ถือหุ้นหรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกันหรือมี กรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำ�หนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาด รองรับ ความสัมพันธ์ที่บริษัท/กลุ่มบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุมในบริษัท หรือเป็นกิจการที่บริษัทควบคุม มีดังนี้ ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ์

Canopus International Limited

มอริเชียส

บริษัท อินโดรามา รีซอสเซส จำ�กัด

ไทย

บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด

ไทย

บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด

ไทย

บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จำ�กัด (มหาชน)

ไทย

บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน)

ไทย

เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 54.60 และมีกรรมการ ร่วมกันบางท่าน

บริษัท อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด

ไทย

บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

ไทย

เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 44.38 และมีส่วนได้เสีย ทางอ้อมร้อยละ 53.33 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 42.81 และมีส่วนได้เสีย ทางอ้อมร้อยละ 25.93 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 97.93 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 97.93 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 93.13 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง

UAB Indorama Holdings Europe Indorama Holdings Rotterdam B.V. บริษัท อินโด-รามา เทกซ์ไทล์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด UAB Indorama Polymers Europe Indorama Polymers Rotterdam B.V. Indorama Polymers Workington Limited

ลิธัวเนีย เนเธอร์แลนด์ ไทย ลิธัวเนีย เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร

AlphaPet, Inc.

สหรัฐอเมริกา

Indorama Polymers (USA), Inc.

สหรัฐอเมริกา

เป็นบริษัทใหญ่ในลำ�ดับสูงสุดของกลุ่มบริษัท และมี กรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทใหญ่ ถือหุ้นร้อยละ 92.87 และมีกรรมการ ร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 100 และมีกรรมการ ร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 97.93 และมีกรรมการ ร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 64.94 และมีส่วนได้เสีย ทางอ้อมร้อยละ 33.90 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน

รายงานประจำ�ปี 2552

97


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ชื่อกิจการ UAB Orion Global Pet StarPet Inc.

ประเทศที่จัดตั้ง/ สัญชาติ ลิธัวเนีย สหรัฐอเมริกา

บริษัท เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) จำ�กัด

ไทย

บริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จำ�กัด

ไทย

บริษัท ทีพีที ยูทีลิตีส์ จำ�กัด

ไทย

บริษัท เจ้าพระยา เฮอริเทจ จำ�กัด

ไทย

บริษัท ทุนเท็กซ์ เทกซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด P.T. Indorama Synthetics TBK Limited บริษัท ไตร โอเชี่ยน ทุนเท็กซ์ เท็กซ์ไทล์ (ประเทศไทย ) จำ�กัด บริษัท เสริมสุข จำ�กัด (มหาชน)

ไทย

บริษัท แปซิฟิค รีซอสเซส จำ�กัด บริษัท ไครโอวิวา (ประเทศไทย) จำ�กัด Tuntex Petrochemical Inc. Era Global Limited บริษัท อินโด-รามา เคมีคอลส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด Indo Rama Synthetics (India) Limited

98

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

อินโดนีเซีย ไทย ไทย ไทย ไทย ไต้หวัน ยิปรอลต้า ไทย อินเดีย

ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 68.74 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 41.24 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 54.60 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทย่อยทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 98.84 เป็นบริษัทร่วมทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 16.48 มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นบริษัทร่วมทางอ้อม มีส่วนได้เสียที่แท้จริง ร้อยละ 5.93 เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 40 และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน มีผู้ถือหุ้นร่วมกันบางท่าน มีกรรมการร่วมกันบางท่าน เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย ถือหุ้นร้อยละ 21 มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน เคยเป็นบริษัทย่อย (จนถึงเดือนมิถุนายน 2551) และมีกรรมการร่วมกันบางท่าน มีความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับกรรมการ


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

นโยบายการกำ�หนดราคาสำ�หรับแต่ละประเภทรายการอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ ขายสินค้า ซื้อสินค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

นโยบายการกำ�หนดราคา ราคาตลาด ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ยในตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราดอกเบี้ยในตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา

รายการที่สำ�คัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย

1,682,143 823 7,948 11,528 -

-

33,053 7,436

18,666 2,415

683,858 5,248 13,173 713

-

-

รายงานประจำ�ปี 2552

99


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้าจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2551 2552 (พันบาท) กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เสริมสุข จำ�กัด (มหาชน) Indo Rama Synthetics (India) Limited บริษัท ทุนเท็กซ์ เทกซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

136,075 244,457 380,532 380,532

125,016 26,692 151,708 (26,692) 125,016

-

-

-

26,692

-

-

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับปี

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน อัตราดอกเบี้ย 2552 2551 (ร้อยละต่อปี) ประกอบด้วย เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อินโด-รามา เคมีคอลส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด รวม ลูกหนี้อื่นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด รวม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2552

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

-

212,800 212,800

-

-

-

-

-

5,666 5,666

รวมเงินให้กู้ยืมระยะสั้น แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - 212,800

-

5,666

100

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

5.75


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

อัตราดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2552 2551 2552 2551 (ร้อยละต่อปี) (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

ประกอบด้วย เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด รวม ลูกหนี้อื่นจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด รวม รวมเงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2.42 -5.13

5.58

-

-

1,217,265 1,217,265

911,023 911,023

-

-

45,363 45,363

13,000 13,000

-

-

1,262,628

924,023

เงินกูย้ มื ระยะยาวข้างต้น รวมดอกเบีย้ ทีเ่ กีย่ วข้อง จะสามารถชำ�ระคืนได้หลังจากการชำ�ระคืนหนีส้ นิ ระยะยาวเต็มจำ�นวนของบริษทั อินโดรามา ปิโตรเคมจำ�กัด ให้แก่สถาบันการเงินแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2552

101


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สรุปเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้น เงินให้กู้ยืมระยะยาว รวมเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) -

212,800 212,800

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 1,262,628 1,262,628

5,666 924,023 929,689

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้น กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม เงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

102

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

212,800 (212,800) -

170,188 212,800 (170,188) 212,800

-

-

-

-

911,023 354,587 (48,345) 1,217,265

911,023 911,023


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินกู้ยืมจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน

อัตราดอกเบี้ย 2552 2551 (ร้อยละต่อปี)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทใหญ่ Canopus International Ltd. บริษัทย่อย บริษัท อินโดรามา โฮลดิ้งส์ จำ�กัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน Era Global Limited รวม หัก ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ไม่มี

ไม่มี

24,467

403,171

24,467

350,824

-

5.75

-

-

-

109,822

-

ไม่มี

24,467

70,818 473,989

24,467

460,646

(24,467)

-

(24,467)

-

-

473,989

-

460,646

รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้ เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทใหญ่ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

403,171 (378,704) 24,467

2,162,548 352,520 (2,111,897) 403,171

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

350,824 (326,357) 24,467

2,111,897 350,824 (2,111,897) 350,824

รายงานประจำ�ปี 2552

103


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

รวมเงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 109,822 (109,822) -

109,822 109,822

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

70,818 (70,818) -

53,752 17,066 70,818

-

-

473,989 (449,522) 24,467

2,216,300 369,586 (2,111,897) 473,989

460,646 (436,179) 24,467

2,111,897 460,646 (2,111,897) 460,646

เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ไม่มีหลักค้ำ�ประกันประกอบด้วย เงินกู้ยืม - 730,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา (2551: 10 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา) มีกำ�หนดชำ�ระคืน ณ วันที่ หรือก่อน 31 ธันวาคม 2556* เงินกู้ยืมด้อยสิทธิ์ – ไม่มี (2551:1,500,000 เหรียญ สหรัฐอเมริกา) มีกำ�หนดชำ�ระหลังจากการจ่าย ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมมีกำ�หนด ชำ�ระคืน ณ วันที่หรือก่อน 31 ธันวาคม 2556 เงินกู้ยืม - ไม่มี (2551: 53.8 ล้านบาท และ 525,514 เหรียญสหรัฐอเมริกา)มีกำ�หนดชำ�ระคืน ณ วันที่ หรือก่อน 31 ธันวาคม 2556 รวม

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

24,467

350,824

24,467

350,824

-

52,347

-

-

-

-

-

109,822

24,467

70,818 473,989

24,467

460,646

* บริษัทตั้งใจที่จะจ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมในปี 2553 ดังนั้นยอดเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จึงถูกจัดให้อยู่ในหนี้สินหมุนเวียน

104

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 6

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม

2,311 557,619 797,619 1,357,549 39,275 1,396,824

4,000 706,701 467,077 1,177,778 1,463 1,179,241

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 1,252 130,475 131,727 131,727

304 27,146 27,450 27,450

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินสดในธนาคารจำ�นวน 1.2 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (39.3 ล้านบาท; 2551: 1. 3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (44.8 ล้านบาท)) ถูกจำ�กัดการใช้เพื่อจ่ายคืนเงินต้นและดอกเบี้ยแก่สถาบันการเงิน

ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนด์สเตอร์ริง สกุลเงินลิธัวเนียนลิตัส รวม

391,405 86,327 772,491 101,020 45,581 1,396,824

603,841 178,694 370,816 15,827 10,063 1,179,241

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 131,727 131,727

27,450 27,450

รายงานประจำ�ปี 2552

105


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 7

เงินลงทุนอื่น

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากระยะสั้นในสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินฝากระยะยาวในสถาบันการเงิน รวม

1,162,929 1,162,929

257,020 257,020

572,808 572,808

-

32,706 32,706 1,195,635

100,118 100,118 357,138

572,808

-

ยอดเงินลงทุนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนด์สเตอร์ริง สกุลเงินลิธัวเนียนลิตัส รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

612,654 347,837 235,144 1,195,635

100,118 215,923 35,286 5,811 357,138

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 572,808 572,808

-

เงินฝากจำ�นวน 267.8 ล้านบาท (2551: 357.1 ล้านบาท) ถูกนำ�ไปใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน 8 ลูกหนี้การค้า งบการเงินรวม หมายเหตุ 2552 2551 (พันบาท) กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 151,708 5 380,532 กิจการอื่นๆ 8,428,607 9,609,011 8,580,315 9,989,543 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (55,259) (26,732) รวม 8,525,056 9,962,811 กลับรายการหนี้สูญและ หนี้สงสัยจะสูญระหว่างปี, สุทธิ

106

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

28,527

28,967

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

-

-

-


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ เกินกำ�หนดชำ�ระ: น้อยกว่า 3 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ กิจการอื่น ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ เกินกำ�หนดชำ�ระ: น้อยกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

315,290

61,522

-

-

65,242 380,532 380,532

63,494 26,692 151,708 (26,692) 125,016

-

-

8,085,788

6,800,441

-

-

1,351,721 64,929 79,261 27,312 9,609,011

1,559,532 35,668 7,227 25,739 8,428,607

-

-

(26,732) 9,582,279 9,962,811

(28,567) 8,400,040 8,525,056

-

-

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 15 วัน ถึง 360 วัน ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) 968,046 2,538,725 สกุลเงินบาท 5,414,462 4,864,721 สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา 1,285,388 1,650,759 สกุลเงินยูโร 835,794 814,796 สกุลเงินปอนด์สเตอร์ริง 21,366 93,810 สกุลเงินลิธัวเนียนลิตัส 8,525,056 9,962,811 รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

-

ลูกหนี้การค้าซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีจำ�นวน 3,125.7 ล้านบาท (2551: 3,161.2 ล้านบาท) ถูกนำ�ไปใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2552

107


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 9 สินค้าคงเหลือ

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) สินค้าสำ�เร็จรูป งานระหว่างทำ� วัตถุดิบ วัสดุและของใช้สิ้นเปลือง สินค้าระหว่างทาง หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง รวม

4,483,816 363,320 3,015,931 1,231,797 600,912 9,695,776 (21,822) 9,673,954

3,658,588 255,560 2,018,616 1,191,811 536,968 7,661,543 (242,308) 7,419,235

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

-

ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขายสำ�หรับปี 2552 มีจำ�นวน 57,180 ล้านบาท (2551 : 40,482 ล้านบาท) สินค้าคงเหลือซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีจำ�นวน 1,959.3 ล้านบาท (2551 : 3,496.0 ล้านบาท) ได้ใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน 10

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) ลูกหนี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้นทุนการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อ ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกรอตัดจำ�หน่าย ลูกหนี้ค่าส่งเสริมการส่งออก ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผู้ขายสินค้า อื่นๆ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

417,327

669,292

-

-

294,704 179,960 155,565 72,968 248,955 1,369,479

70,391 220,778 9,381 272,302 1,242,144

294,704 6,711 301,415

5,666 5,666

11 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) ณ วันที่ 1 มกราคม 9,473,822 2,804,967 ลงทุนเพิ่ม 824,058 6,668,855 ด้อยค่า (16,103) คืนเงินลงทุน (659,711) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 9,622,066 9,473,822

108

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2552

109

16.17 1,200,000

5.82

16.48

5.93

175,000

97.01

98.84

750,000

175,000

1,200,000

750,000

10,500 943,000

200,000

732,500

10,500 943,000

200,000

732,500 (200,000)

(732,500)

(10,500) (10,500) (943,000) (943,000)

(200,000)

(732,500)

สัดส่วนความเป็น เจ้าของที่แท้จริง ทุนชำ�ระแล้ว วิธีราคาทุน การด้อยค่า 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 (ร้อยละ) (พันบาท)

-

-

-

-

ราคาตามบัญชี 2552 2551

-

-

-

เงินปันผลรับ 2552 2551

-

-

-

ในปัจจุบันบริษัทย่อยอยู่ในขั้นตอนของการชำ�ระบัญชีตามคำ�สั่งของศาลล้มละลายกลางแห่งประเทศไทยในเดือนธันวาคม 2550 เป็นผลให้กลุ่มบริษัทไม่ได้ควบคุมบริษัทย่อย และบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยโดยใช้ วิธีราคาทุน

บริษัทย่อย บริษัท เจ้าพระยา เฮอริเทจ จำ�กัด บริษัทร่วม บริษัท ทุนเท็กซ์ เท็กซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไตร โอเชี่ยน ทุนเท็กซ์ เท็กไทล์ (ประเทศไทย) จำ�กัด รวม

งบการเงินรวม

เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ2551 และเงินปันผลรับสำ�หรับแต่ละปีมีดังนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


110

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) งบการเงินเฉพาะกิจการ

97.93

42.81 1,382,198

44.38

97.01 2,202,850

50.56 4,925,000

97.93

42.81

44.38

64.94

54.60

700,000

774,468

100.00 4,727,820

100.00

676,217 799,683

-

676,217 (16,103)

-

-

-

4,925,000 2,278,246 2,128,500 10,297,880 9,473,822 (16,103)

824,350 1,473,995

700,000

1,382,198 1,392,470 1,392,470

774,468 1,951,147 1,951,147

4,727,820 2,525,805 2,525,805

-

-

-

- (659,711)

-

- (659,711)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ ทุนชำ�ระแล้ว วิธีราคาทุน การด้อยค่า การคืนทุน หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551

บริษทั ย่อย บริษทั อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด 4 บริษทั อินโดรามา โฮลดิง้ ส์ จำ�กัด บริษทั อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) บริษทั อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จำ�กัด (มหาชน) 4 บริษทั ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) 4 รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

2,278,246 9,622,066

1,473,995

403

1,392,470

1,951,147

2,525,805

-

-

-

-

-

-

128,928 128,927

394,371

709,172

เงินปันผลรับ 2552 2551

2,128,500 9,473,822 1,232,471 128,927

799,683

676,217

1,392,470

1,951,147

2,525,805

ยอดตามบัญชี 2552 2551


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ราคาตลาดของส่วนได้เสียทางตรงของบริษัทใน บริษัท อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน) มีมูลค่า 7,692,332 พันบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2551: 3,195,282 พันบาท) ระหว่างปี 2552 บริษัทซื้อหุ้นเพิ่มในไอพีไอเป็นจำ�นวนเงิน 12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ และลงทุนเพิ่มจากการเพิ่มทุน ของไอพีไอโดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 662.3 ล้านบาท และซื้อหุ้นทีพีทีเพิ่มโดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวนเงิน 149.7 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 4.0 ในส่วนได้เสีย ของผู้ถือหุ้น ในระหว่างปี 2552 บริษัทได้รับเงินปันผลจำ�นวน 350.6 ล้านบาทจากบริษัท อินโด โพลี (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งอยู่ในระหว่างการชำ�ระบัญชีโดยถือเงินปันผล ดังกล่าวเป็นการคืนเงินลงทุน เงินลงทุนใหม่และเพิ่มขึ้นในระหว่างปี 2551 ได้มาโดยการแลกเปลี่ยนเงินสดและการรับโอนหนี้สินเป็นจำ�นวนรวม 3,466.8 ล้านบาทและการออกหุ้นสามัญ ของบริษัทจำ�นวน 33,107,102 หุ้น ซึ่งมีมูลค่ารวมส่วนเกินทุนจำ�นวน 2,871.0 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 หุน้ บางส่วนของบริษทั อินโดรามา โพลีเมอร์ส จำ�กัด (มหาชน), บริษทั อินโดรามา ปิโตรเคม จำ�กัด และ บริษทั ทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ จำ�กัด (มหาชน) ถูกนำ�ไปใช้เป็นหลักประกันสำ�หรับเงินกูย้ มื ทีไ่ ด้รบั จากสถาบันการเงินต่างๆหลายแห่ง

รายงานประจำ�ปี 2552

111


112

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ราคาทุน/ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ โอน จำ�หน่าย จำ�หน่ายบริษัทย่อย ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน จำ�หน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

12

271,800 105,616 763,024 (73,644) 5,562 1,072,358 50,837 (7,669) 1,115,526

ที่ดินและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

2,439,513 22,728 1,526,825 69,935 (140,040) 5,830 3,924,791 660,908 101,469 (61,765) 4,625,403

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

7,749,846 49,050 61,925 (1,253) 7,859,568 8,125 7,867,693

เครื่องจักรและ อุปกรณ์ การผลิตสิ่งทอ

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

11,041,458 360,488 30,256,130 865,605 (285,823) (1,831,296) 139,284 40,545,846 2,782,067 1,114,108 (8,352) (460,532) 43,973,137

เครื่องจักร และ อุปกรณ์ - อื่น

233,614 32,054 136,325 (508) (27,663) 408 374,230 62,973 6,892 (73) (1,518) 442,504

เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำ�นักงาน (พันบาท)

งบการเงินรวม

165,222 17,605 16,218 (3,654) (19,234) 26 176,183 16,104 (4,881) 62 187,468

ยานพาหนะ

885,164 4,268,312 244,205 (997,465) 174,859 4,575,075 273,754 (1,273,306) (131,113) 3,444,410

งานระหว่าง ก่อสร้าง

22,786,617 4,855,853 32,942,727 (291,238) (2,091,877) 325,969 58,528,051 3,803,931 (13,306) (662,535) 61,656,141

รวม


รายงานประจำ�ปี 2552

113

ต้นทุนการกูย้ มื ทีร่ บั รูเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของสินทรัพย์ รับรูใ้ นปี 2551 (หมายเหตุ 25) อัตราดอกเบีย้ ทีร่ บั รูใ้ นปี 2551 (ร้อยละต่อปี) รับรูใ้ นปี 2552 (หมายเหตุ 25) อัตราดอกเบีย้ ทีร่ บั รูใ้ นปี 2552 (ร้อยละต่อปี) -

-

-

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร

-

ที่ดินและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

-

-

-

เครื่องจักรและ อุปกรณ์ การผลิตสิ่งทอ

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

-

4.8 - 6.1 -

1,422

เครื่องจักร และ อุปกรณ์ - อื่น

งบการเงินรวม

-

-

-

เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำ�นักงาน (พันบาท)

-

-

-

ยานพาหนะ

61,311 4.8 - 6.1 113,116 3.5

5.2 113,116 3.5

รวม

59,889

งานระหว่าง ก่อสร้าง


114

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี จำ�หน่าย จำ�หน่ายบริษัทย่อย ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ� งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี จำ�หน่าย ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ� งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 618,947 126,715 (72,904) 1,167 673,925 170,226 (3,767) 840,384

259

8,710 22,626 -

425) 30,911

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร

14,887 4,724 (11,160)

ที่ดินและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

5,512,577

5,386,422 126,155 -

-

5,173,827 212,705 (110) -

เครื่องจักรและ อุปกรณ์ การผลิตสิ่งทอ

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(50,012) 5,439,063

2,572,814 2,918,577 (2,316)

(11,315)

2,541,190 1,344,532 (4,742) (1,296,851)

เครื่องจักร และ อุปกรณ์ - อื่น

(348) 220,343

156,856 63,908 (73)

88

155,640 26,439 (1,560) (23,751)

(111) 107,544

87,494 25,982 (5,821)

13

75,973 22,042 (2,765) (7,769)

งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำ�นักงาน ยานพาหนะ (พันบาท) งานระหว่าง ก่อสร้าง

-

-

-

-

(54,663) 12,150,822

8,886,221 3,327,474 (8,210)

(9,788)

8,580,464 1,737,157 (9,177) (1,412,435)

รวม


รายงานประจำ�ปี 2552

115

3,250,866 3,250,866 3,785,019 3,785,019

1,063,648 1,063,648

1,084,615 1,084,615

ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

อาคารและ ส่วนปรับปรุง อาคาร

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

ที่ดินและ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

2,355,116 2,355,116

2,473,146 2,473,146

เครื่องจักรและ อุปกรณ์ การผลิตสิ่งทอ

38,363,165 170,909 38,534,074

37,792,921 180,111 37,973,032 222,161 222,161

217,374 217,374

เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำ�นักงาน (พันบาท)

งบการเงินรวม เครื่องจักร และ อุปกรณ์ - อื่น

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

50,247 29,677 79,924

74,620 14,069 88,689

ยานพาหนะ

3,444,410 3,444,410

4,575,075 4,575,075

งานระหว่าง ก่อสร้าง

49,304,733 200,586 49,505,319

49,447,650 194,180 49,641,830

รวม


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้หักค่าเสื่อมราคาเต็มจำ�นวนแล้วแต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำ�นวน 3,514 ล้านบาท (2551: 3,168 ล้านบาท) ในเดือนมิถนุ ายน 2548 บริษทั ย่อยบางแห่งได้ประเมินราคาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วกับการผลิตสิง่ ทอใหม่ ตามราคาประเมิน ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2548 โดยใช้มูลค่ายุติธรรมตามรายงาน ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2548 ของรายงานการประเมินของผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางส่วนซึ่งมีราคาตามบัญชีจำ�นวน 45,148.2 ล้านบาท (2551:49,085. 1ล้านบาท) ได้นำ�ไปค้ำ�ประกันเงินกู้ยืมจากธนาคาร

116

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2552

117

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ได้มาจากการรวมธุรกิจ ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

13

4

หมายเหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

49,827 3,776 9,381 (84) 62,900 (1,262) 61,638

สิทธิการ ได้มา

1,190 3,596 119,962 798 125,546 8,341 (5,574) 128,313

ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

432,025 2,424 434,449 (12,434) 422,015

งบการเงินรวม รายชื่อ ลูกค้า (พันบาท) 407,216 407,216 407,216

ค่าลิขสิทธิ์ ทางเทคโนโลยี

51,017 7,372 968,584 3,138 1,030,111 8,341 (19,270) 1,019,182

รวม


118

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) 11,975 2,594 5 14,574 2,996 (142) 17,428 48,326 44,210

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

สิทธิการ ได้มา

ค่าตัดจำ�หน่ายและด้อยค่าสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปี ผลต่างจากการแปลงค่าในการจัดทำ�งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

117,542 105,565

555 10,942 (3,556) 63 8,004 17,044 (2,300) 22,748

ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์

398,446 340,407

35,802 201 36,003 46,660 (1,055) 81,608

รายชื่อ ลูกค้า (พันบาท)

403,511 388,692

3,705 3,705 14,819 18,524

ค่าลิขสิทธิ์ ทางเทคโนโลยี

งบการเงินรวม

967,825 878,874

12,530 53,043 (3,556) 269 62,286 81,519 (3,497) 140,308

รวม


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 14

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) ต้นทุนทางการเงินรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าในการซื้อเครื่องจักร เงินมัดจำ� อื่นๆ รวม

15.

162,525 25,409 47,193 42,089 277,216

162,636 5,082 55,088 222,806

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

-

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) ส่วนที่หมุนเวียน 24,776 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 21,866 9,979,671 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ก) 11,183,283 565,543 10,004,447 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น 11,205,149 565,543 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินส่วนที่ถึง 4,643,396 กำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี (ข) 3,264,924 162,600 45,870 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงกำ�หนด 24,538 ชำ�ระภายใน 1 ปี (ค) 73,467 14,672,381 14,543,540 162,600 611,413 ส่วนที่ไม่หมุนเวียน 25,330,385 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ข) 27,507,305 2,155,158 1,195,217 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 109,822 5 73,374 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (ค) 77,399 25,403,759 27,584,704 2,155,158 1,305,039 รวม

40,076,140

42,128,244

2,317,758

1,916,452

รายงานประจำ�ปี 2552

119


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกำ�หนดการจ่ายชำ�ระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

ครบกำ�หนดภายในหนึ่งปี ครบกำ�หนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกำ�หนดหลังจากห้าปี รวม

14,647,843 19,885,264 5,445,121 39,978,228

14,470,073 18,518,623 8,988,682 41,977,378

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 162,600 1,708,348 446,810 2,317,758

611,413 723,402 581,637 1,916,452

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีสินทรัพย์เป็นหลักประกันดังนี้ งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ หุ้นของบริษัทย่อย รวม

120

235,144 32,706 3,125,690 1,959,314 45,148,171 10,198,344 60,699,369

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

257,020 100,118 3,161,223 3,496,031 49,085,128 10,033,402 66,132,922

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2,207,040 2,207,040

958,283 958,283


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ก)

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินประกอบด้วย

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

เงินกู้ยืมระยะสั้นมีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เป็นหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นมีหุ้นในบริษัทย่อยเป็นหลักประกัน เงินกู้หมุนเวียน (62,430,195 เหรียญสหรัฐอเมริกา) (2551: 55,889,175 เหรียญสหรัฐอเมริกา) ครบ กำ�หนดชำ�ระคืนในเดือนพฤษภาคม 2557 ซึ่งค้ำ� ประกันโดยลูกหนี้การค้าและสินค้าคงเหลือ เงินกู้หมุนเวียน(4,000,000ยูโร) (2550: 7,587,355) ค้ำ�ประกันโดยที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินกู้หมุนเวียนค้ำ�ประกันโดยที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ หนี้สินภายใต้สัญญาทรัสต์รีซีท เงินกู้เพื่อการส่งออก ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตั๋วเงินลดและอื่นๆ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

2,009,900 -

2,834,334 565,543

-

565,543

2,069,954

1,950,404

-

-

191,174

373,309

-

-

179,000 597,186 2,368,346 1,943,366 620,745 9,979,671

1,864,246 1,532,480 1,314,967 748,000 11,183,283

-

565,543

ตามเงือ่ นไขของสัญญาเกีย่ วกับการทำ�ทรัสต์รซี ที ส์ กลุม่ บริษทั นำ�เข้าสินค้าทีส่ ง่ั เข้ามาภายใต้การใช้เครดิตของธนาคาร ดังนัน้ กลุม่ บริษทั ดังกล่าวจึงต้องมีภาระผูกพัน ต่อธนาคารสำ�หรับสินค้าดังกล่าวที่คงเหลืออยู่หรือขายไป กลุ่มบริษัทไม่คาดว่าจะจ่ายคืนเงินกู้หมุนเวียน ที่เป็นเหรียญสหรัฐอเมริกาทั้งจำ�นวนก่อนครบกำ�หนดสัญญาใน ปี 2557 เงินกู้ยืมนี้จัดประเภทเป็นหนี้สิน ระยะสั้นในงบดุลของกลุ่มบริษัท เนื่องจากข้อกำ�หนดสำ�คัญบางประการที่ระบุตามสัญญาเงินกู้ยืม เงินกู้ระยะสั้นทั้งหมดมีภาระดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ยกเว้นเงินกู้ระยะสั้นที่มีการค้ำ�ประกันโดยหุ้นของบริษัทย่อยไม่มีภาระดอกเบี้ย

รายงานประจำ�ปี 2552

121


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (ข)

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินทั้งหมดค้ำ�ประกันโดยจำ�นองที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และ (หรือยกเว้น) ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินด้านล่าง และ มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวซึ่งประกอบด้วย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท)

เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระคืนในเดือนธันวาคม 2556 ค้ำ�ประกัน เพิ่มเติมโดยสินค้าคงเหลือ เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระคืนในเดือนพฤศจิกายน 2558 ค้ำ�ประกัน เพิ่มเติมโดยกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระคืนในเดือน มีนาคม 2556 ค้ำ�ประกันเพิ่มเติม โดยกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ร่วม ครบกำ�หนดชำ�ระคืนในเดือนสิงหาคม 2555 ค้ำ�ประกันเพิ่มเติมโดย สิทธิการเช่าช่วงที่ดิน เงินสด หมุนเวียน และหุ้นในบริษัทย่อย เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระในเดือนมีนาคม 2558 ค้ำ�ประกันโดย หุ้นในบริษัทย่อย เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกันครบกำ�หนดชำ�ระคืนใน เดือนมกราคม 2557 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระคืนโดยผ่อนชำ�ระเป็นรายเดือน เดือนละ 17.1 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกัน ชำ�ระคืนทุกครึ่งปี งวดละ 1.1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มชำ�ระ ในเดือนกันยายน 2553 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระในเดือน พฤศจิกายน 2558 ค้ำ�ประกันเพิ่มเติม โดยบัญชีธนาคารที่มีข้อจำ�กัดการใช้ เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งครบกำ�หนด ชำ�ระคืนโดยผ่อนชำ�ระเป็นรายเดือน เดือนละ 3.8 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี สำ�หรับสามปีแรก และมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในปีต่อๆไป ค้ำ�ประกันโดยหุ้นในทีพีที เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น หัก ส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายในหนึ่งปี สุทธิ

7,398,269

8,415,453

3,840,306

2,826,585

1,487,974

-

-

-

-

1,901,390

-

-

1,332,480

1,742,155

-

-

867,250

708,000

-

-

866,311

993,030

-

-

853,660

1,024,800

-

-

535,200

560,200

535,200

560,200

499,316

647,005

-

485,018 11,807,997 29,973,781

530,887 11,422,724 30,772,229

485,018 1,297,540 2,317,758

(4,643,396) 25,330,385

(3,264,924) 27,507,305

(162,600) 2,155,158

530,887 150,000 1,241,087 (45,870) 1,195,217

สัญญาเงินกู้ยืมข้างต้นมีข้อกำ�หนดบางประการที่จะต้องปฏิบัติตามเกี่ยวกับการประกาศจ่ายเงินปันผล การรักษาอัตราส่วนทางการเงิน การซื้อสินทรัพย์ การก่อหนี้สินเพิ่มและการโอนหุ้น ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2552 กลุ ่ ม บริ ษ ั ท มี ว งเงิ น สิ น เชื ่ อ ซึ ่ ง ยั ง มิ ไ ด้ เ บิ ก ใช้ เ ป็ น จำ � นวนเงิ น รวม 13,710 ล้ า นบาท (2551 : 12,345 ล้ า นบาท)

122

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ค)

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้

เงินต้น

ครบกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี ครบกำ�หนดชำ�ระหลัง จากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

งบการเงินรวม 2552 ดอกเบี้ย ยอดชำ�ระ เงินต้น (พันบาท)

2551 ดอกเบี้ย

ยอดชำ�ระ

24,538

5,593

30,131

73,467

7,656

81,123

73,374 97,912

7,908 13,501

81,282 111,413

77,399 150,866

13,219 20,875

90,618 171,741

ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร รวม

16

15,685,204 15,861,773 8,529,163 40,076,140

15,568,837 17,599,261 8,960,146 42,128,244

1,205,018 535,199 577,541 2,317,758

1,356,252 560,200 1,916,452

เจ้าหนี้การค้า

ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนด์สเตอร์ริง สกุลเงินลิธัวเนียนลิตัส รวม

2,519,836 3,131,523 3,165,223 82,732 104,644 9,003,958

716,734 3,083,502 2,944,159 9,161 109,545 6,863,101

-

-

รายงานประจำ�ปี 2552

123


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

17.

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานค้างจ่าย 825,320 666,246 3,730 400 เจ้าหนี้อื่น 381,073 537,709 ต้นทุนการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกค้างจ่าย 213,269 213,269 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 5 103,571 335,231 5,088 10,051 เจ้าหนี้ – Eastman Chemical Company 4 709,895 อื่นๆ 247,674 95,439 168 4 รวม 1,770,907 2,344,520 222,255 10,455

18

ทุนเรือนหุ้น

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นลดลงจาก 10 บาทเป็น 1 บาท ออกหุ้นใหม่ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ - หุ้นสามัญ

124

2552

จำ�นวนหุ้น

10 1 10 1

335,154 3,351,544 1,730,456

3,351,544 1,730,456

40,000 295,154 -

400,000 2,951,544 -

10 1

5,082,000

5,082,000

335,154 -

3,351,544 -

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

จำ�นวนเงิน จำ�นวนหุ้น (พันหุ้น/ พันบาท)

2551

มูลค่าหุ้นต่อหุ้น (บาท)

จำ�นวนเงิน


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

2552

จำ�นวนเงิน จำ�นวนหุ้น (พันหุ้น/ พันบาท)

2551

มูลค่าหุ้นต่อหุ้น (บาท)

จำ�นวนหุ้น

จำ�นวนเงิน

10 1 10

335,154 3,351,544 -

3,351,544 -

40,000 295,154

400,000 2,951,544

10 1

3,351,544

3,351,544

335,154 -

3,351,544 -

หุ้นที่ออกและชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นลดลงจาก 10 บาทเป็น 1 บาท ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ - หุ้นสามัญ

การลดลงของมูลค่าหุ้นจดทะเบียนจาก 10 บาท เป็น 1 บาท และการออกหุ้นใหม่จาก 3,351,544 พันหุ้น (มูลค่า 1 บาทต่อ 1 หุ้น) เป็น 5,082,000 พันหุ้น (มูลค่า 1 บาท ต่อ 1 หุ้น) ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2552 หุ้นทุนจดทะเบียนที่เพิ่มขึ้นได้รับการอนุมัติในการประชุมผู้ถือหุ้นในระหว่างปี มีดังนี้

10 มิถุนายน 2551 2 กันยายน 2551 17 กันยายน 2551 รวม

หุ้นทุนจดทะเบียนที่เพิ่มขึ้น (พันหุ้น) 217,500 58,364 19,290 295,154

การออกหุ ้ น ในระหว่ า งปี ส ิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2551 ส่ ง ผลให้ ม ี ก ารเพิ ่ ม ขึ ้ น ของยอดคงเหลื อ ในทุ น เรื อ นหุ ้ น และส่ ว นเกิ น มู ล ค่ า หุ ้ น ดั ง ต่ อ ไปนี ้

หุ้นที่ออกในการซื้อ ไออาร์พีทีเอ หุ้นที่ออกในการลงทุนเพิ่มเติมใน ไอพีแอล เงินค่าหุ้นรับ รวม

การเพิ่มขึ้นของทุนเรือนหุ้น และส่วนเกินมูลค่าหุ้น (พันบาท) 2,525,805 676,217 4,025,135 7,227,157

รายงานประจำ�ปี 2552

125


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 19

ส่วนเกินทุนและสำ�รอง

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนำ�ค่า หุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสำ�รอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนำ�ไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้

ส่วนเกินทุนจากการการตีราคา

ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่บันทึกไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นผลเปลี่ยนแปลงสะสมของส่วนเกินทุนที่เกิดขึ้นจากการตีราคาเครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสิ่งทอ ส่วนเกินทุนจากการตีราคานี้จะนำ�ไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้

การแปลงค่างบการเงิน

ส่วนเกินทุนจากการแปลงค่างบการเงินที่บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นส่วนต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากการแปลงค่างบการเงิน ของกิจการในต่างประเทศให้เป็นเงินบาทไทย เพื่อนำ�ไปรวมในงบการเงินของกิจการ

ผลแตกต่างที่เกิดจากรายการที่มีการควบคุมเดียวกัน

ผลแตกต่างที่เกิดจากรายการที่มีการควบคุมเดียวกันเป็นการแสดงถึงส่วนเกินระหว่างมูลค่าตามบัญชีของบริษัทย่อย ณ วันที่ได้มาที่สูงกว่าต้นทุนและถูก บันทึกเป็นส่วนเกินทุน ซึ่งจะไม่จำ�หน่ายและจะคงอยู่จนกระทั่งบริษัทย่อยจะถูกขายหรือจำ�หน่ายออกไป

สำ�รองตามกฎหมาย

ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสำ�รอง (“สำ�รองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำ�รองดังกล่าวมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำ�รองนี้จะนำ�ไป จ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 20

ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน

กลุ่มบริษัทได้นำ�เสนอข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานธุรกิจและส่วนงานภูมิศาสตร์ โดยพิจารณาจากระบบการบริหารการจัดการและโครงสร้างรายงาน ทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัท เป็นเกณฑ์ในการกำ�หนดส่วนงาน ผลได้(เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงาน หรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้อย่างสมเหตุสมผล รายการ ทีไ่ ม่สามารถปันส่วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบี้ยหรือเงินปันผลทั้งส่วนของสินทรัพย์และรายได้ เงินให้กู้ยืมที่มีดอกเบี้ย เงินกู้ยืมและค่าใช้จ่าย และ สินทรัพย์และค่าใช้จ่ายของกิจการโดยรวม

ส่วนงานธุรกิจ

กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำ�คัญดังนี้

ส่วนงาน 1 ส่วนงาน 2 ส่วนงาน 3

126

การผลิตและจำ�หน่าย Soild state polymerised chips วัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกและฝาปิด (“PET”) การผลิตและจำ�หน่าย purified terephthalic acid (“PTA”) การผลิตและจำ�หน่าย เส้นใยและเส้นด้าย (“เส้นใยและเส้นด้าย”)

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ผู้บริหารได้ตัดสินใจที่จะนำ�เสนอส่วนงานธุรกิจสามส่วนงาน เทียบกับสี่ส่วนงานตามที่ได้เสนอไปก่อนหน้านี้ โดยส่วนงาน “ธุรกิจเส้นใยโพลีเอสเตอร์และเส้นด้าย” กับส่วนงานธุรกิจ “เส้นด้ายไหมพรมขนสัตว์” ได้ถูกรวมและนำ�เสนอเป็นหนึ่งส่วนงานธุรกิจภายใต้ “เส้นใยและเส้น ด้าย” ในความเห็นของผู้บริหาร ส่วนงานธุรกิจสองส่วนงานนี้มีกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกันและมีกลุ่มผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน นอกจากนี้ ผู้ บริหารพิจารณาแล้วว่าส่วนงานธุรกิจเส้นด้ายไหมพรมขนสัตว์ไม่มีสาระสำ�คัญเพียงพอที่จะนำ�เสนอแยกต่างหาก ทั้งนี้ได้เปิดเผยข้อมูลเปรียบเทียบปี 2551 ไว้

ส่วนงานภูมิศาสตร์

ในการนำ�เสนอการจำ�แนกส่วนงานภูมิศาสตร์ รายได้ตามส่วนงานแยกตามเขตภูมิศาสตร์ได้กำ�หนดจากสถานที่ตั้งของลูกค้า สินทรัพย์ตามส่วนงานแยกตาม สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของสินทรัพย์ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานภูมิศาสตร์ที่สำ�คัญดังนี้ ส่วนงาน 1 ส่วนงาน 2 ส่วนงาน 3 ส่วนงาน 4

ประเทศไทย ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ประเทศในทวีปยุโรป อื่นๆ

รายงานประจำ�ปี 2552

127


128

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

38,355,403 2,763,314 887,738 42,006,455

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร ค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจำ�หน่าย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน รวมค่าใช้จ่าย

2552

36,493,060 37,789,156 2,093,511 1,419,143 726,585 1,773,575 335,434 39,648,590 40,981,874

40,969,142 45,980,655 8,795 2,265 440,311 40,977,937 46,423,231

2551 2551

13,306,735 564,154 567,151 206,140 14,644,180

14,732,136 1,641 14,733,777

PTA*/**

(ก) ไม่รวมรายได้ที่ไม่ได้ปันส่วนซึ่งเกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยที่ถูกจำ�หน่ายระหว่างปี 2551

44,464,839 4,180 115,597 44,584,616

2552

PET

ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย)ตามส่วนงานธุรกิจ

รายได้จากการขายสินค้า ดอกเบี้ยรับ กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้ที่ไม่ได้ปันส่วน รวมรายได้

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

11,119,397 764,854 420,619 12,304,870

12,180,920 22,492 4,083 12,207,495

2552

5,754,182 411,825 272,849 (31,983) 6,406,873

6,652,811 15,052 6,667,863

2551 (พันบาท)

เส้นใยและเส้นด้าย

งบการเงินรวม

(22,593,584) (1,006) (22,594,590)

(22,632,188) (10,597) (22,642,785)

2552

(9,146,428) (286,470) (9,432,898)

(9,426,378) (23,747) (9,450,125)

2551

ตัดรายการระหว่างกัน

64,670,372 4,946,305 3,081,932 12,797 72,711,406

79,994,226 18,340 559,991 313,018 80,885,575

2552

2551

46,407,549 2,783,020 1,566,585 509,591 695,001 51,961,746

52,927,711 (ก) 1,741 3,675,445 56,604,897

รวม


รายงานประจำ�ปี 2552

129

89,597 560,451 31,773 (502,627) (502,627)

** รวมกำ�ไร (ขาดทุน) จากรายการขายระหว่างกันให้แก่ส่วน งานธุรกิจอื่น: แก่ PET แก่ เส้นใยและเส้นด้าย 1,455,292 631,721

(294,945) (12,859)

8,644,930 376,899

5,441,357 864,761 236,405 4,340,191 4,340,191

2551

* รวมรายได้จากรายการขายระหว่างกันให้แก่ส่วนงานธุรกิจอื่น: 15,417,589 แก่ PET 6,692,548 แก่ เส้นใยและเส้นด้าย

1,329,347 692,014 3,803 633,530 633,530

2552

2551

2,578,161 526,250 314,555 1,737,356 1,737,356

2551

PTA*/**

2552

กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อน ดอกเบี้ยจ่ายและ ภาษีเงินได้ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ รายการที่ไม่ได้ปันส่วน กำ�ไร (ขาดทุน) หลังภาษีเงินได้ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไร(ขาดทุน)สำ�หรับปี

2552

PET

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

(97,375) 198,161 2,961 (298,497) (298,497) 260,990 206,361 13,672 40,957 40,957

เส้นใยและเส้นด้าย 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินรวม

(48,195) (44,203) (3,992) (3,992)

(17,227) (23,747) 6,520 6,520

ตัดรายการระหว่างกัน 2552 2551

8,174,169 1,544,969 553,921 56,596 6,018,683 1,194,586 4,824,097

2552

2551 4,643,151 1,435,079 49,248 35,774 3,123,050 466,754 2,656,296

รวม


130

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) 4,106,193 687,794 38,791 (552)

14,883,348 14,883,348

284,746 3,623,022 17,036,281 20,944,049

411,648 1,743,343 30,232 206

18,520,612 18,520,612

772,334 2,941,454 25,452,602 29,166,390

2552 2551

61,745 554,038 13,113 (33)

21,437,957 21,437,957

765,379 2,556,194 27,306,765 30,628,338

PTA

(ก) รวมจำ�นวนที่ไม่ได้ปันส่วนซึ่งเกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยที่ถูกจำ�หน่ายในระหว่างปี 2551

2,679,407 837,195 50,543 77

14,614,938 14,614,938

หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ หนีส้ นิ ทีไ่ ม่ได้ปนั ส่วน รวมหนีส้ นิ

รายจ่ายฝ่ายทุน ค่าเสือ่ มราคา ค่าตัดจำ�หน่าย กำ�ไร (ขาดทุน) จากการ ขายสินทรัพย์

445,741 4,771,188 18,616,751 23,833,680

2552

PET 2551

ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามส่วนงานธุรกิจ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ทไ่ี ม่ได้ปนั ส่วน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

712,876 419,875 744 762

5,847,785 5,847,785

47,023 1,988,552 5,435,966 7,471,541 (27,240) (27,240)

686,564 272,070 1,139 429

-

2552

-

2551

40,211,792 11,849,341 52,061,133

1,151,791 7,419,235 49,641,830 11,555,219 69,768,075

รวม

3,803,931 4,855,853 (ก) 3,000,413 1,513,542 81,519 53,043 1,045 (156)

(887,844) 37,758,381 - 14,035,916 (887,844) 51,794,297

- 1,265,098 (2,228) 9,673,954 - 49,505,319 - 13,815,741 (2,228) 74,260,112

ตัดรายการระหว่างกัน 2552 2551

4,778,331 (1,224,954) 4,778,331 (1,224,954)

101,666 1,242,247 5,298,784 6,642,697

งบการเงินรวม เส้นด้ายไหนพรมขนสัตว์ 2552 2551 (พันบาท)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ส่วนงานภูมิศาสตร์

รายได้ 2552 2551 ประเทศไทย ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ประเทศในทวีปยุโรป อื่นๆ รวม 21

11,916,524 12,437,639 30,368,906 25,271,157 79,994,226

งบการเงินรวม สินทรัพย์ตามส่วนงาน 2552 2551 (พันบาท)

6,063,552 12,547,683 25,500,353 9,220,255 53,331,843

43,799,125 13,167,056 17,293,931 74,260,112

41,265,703 10,927,466 17,574,906 69,768,075

1,430,040 2,255,015 118,876 3,803,931

1,246,043 3,539,386 70,424 4,855,853

ต้นทุนขาย

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสำ�เร็จรูปและงาน ระหว่างทำ� วัตถุดิบและวัตถุสิ้นเปลืองที่ใช้ไป ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย อื่นๆ รวม

22

รายจ่ายฝ่ายทุน 2552 2551

(1,191,579) 58,371,999 2,995,508 7,489,952 67,665,880

(515,318) 40,996,822 1,445,916 6,250,841 48,178,261

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

-

-

ค่าใช้จ่ายในการขาย

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) ค่าใช้จ่ายในการจัดจำ�หน่าย ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย ค่าเบี้ยประกัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง อื่นๆ รวม

3,865,425 86,424 41,406 37,228 239,169 4,269,652

2,403,334 65,871 21,654 22,322 40,019 2,553,200

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

-

รายงานประจำ�ปี 2552

131


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 23

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท) ค่าธรรมเนียมทางวิชาชีพ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย อื่นๆ รวม

164,912 187,894 299,167 651,973

136,374 158,301 54,798 16,801 366,274

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 10,311 1,185 11,496

5,972 466 6,438

บริษัทย่อยที่ถูกซื้อกิจการในปี 2551 บันทึกค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่ายภายใต้ค่าใช้จ่ายในการบริหาร เนื่องจากบริษัทย่อยไม่ได้ดำ�เนินการผลิตในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง 24

ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน

งบการเงินรวม 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบโครงการ และประกันสังคม อื่นๆ รวม

97,458

45,825

-

-

1,163 25,280 123,901

1,236 5,983 53,044

1,300 1,300

-

พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบโครงการ และประกันสังคม โบนัส ผลประโยชน์พนักงาน อื่นๆ รวม

1,666,987 81,540 167,427 75,840 317,022 2,308,816 2,432,717

1,090,549 68,137 28,280 44,099 142,261 1,373,326 1,426,370

1,300

-

132

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

บริษทั ย่อยของบริษทั ได้จดั ตัง้ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพสำ�หรับพนักงานทีเ่ ป็นคนไทยของบริษทั บนพืน้ ฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 2 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริษัทย่อยจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 2 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพตามข้อกำ�หนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต ส่วนงาน ในประเทศไทยรับรู้ค่าใช้จ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เป็นจำ�นวน 0.6 ล้านบาท (2551: 0.5 ล้านบาท)

แผนเงินสะสมเมื่อเกษียณอายุ

บริษัทย่อยในประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดให้มีแผน 401(k) ตามแผนดังกล่าวพนักงานมีสิทธิเลือกจ่ายสมทบไม่เกินร้อยละ 60 ของผลประโยชน์ตอบแทน และบริษัทจะต้องจ่ายสมทบร้อยละ 50 ของเงินสมทบของพนักงานแต่ไม่เกินร้อยละ 6 ของผลประโยชน์ตอบแทน โดยแผนดังกล่าวให้อำ�นาจแก่ผู้บริหาร ในการจัดการเกี่ยวกับการจ่ายคืนผลประโยชน์ของเงินสมทบ ค่าใช้จ่ายตามแผนดังกล่าวสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำ�นวน 0.1 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา (1.6 ล้านบาท) (2551: 0.1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (1.7 ล้านบาท)) บริษัทย่อยสองแห่งในยุโรปได้จัดให้มีแผนเกี่ยวกับเงินบำ�นาญเมื่อเกษียณอายุ ตามแผนดังกล่าวพนักงานจะได้รับเงินเป็นจำ�นวนเท่ากันทุกปีในอัตราหนึ่งส่วน ในหกสิบส่วนของเงินเดือนในเดือนสุดท้ายของแต่ละปีที่ปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายตามแผนดังกล่าวสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำ�นวน 1.4 ล้าน ยูโร (64.9 ล้านบาท) (2551: 0.4 ล้านยูโร (18.6 ล้านบาท)) บริษัทย่อยในยุโรปแห่งหนึ่งได้จัดให้มีโครงการเงินสมทบที่กำ�หนดไว้ การคำ�นวณผลประโยชน์ขึ้นอยู่กับเงินเดือนประจำ�ปีของพนักงาน โดยเงินสมทบจาก นายจ้างประจำ�ปีถูกกำ�หนดจากเบี้ยประกันความเสี่ยงเรียกเก็บจากบริษัทประกันภัยประจำ�ปี ค่าใช้จ่ายตามแผนดังกล่าวสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำ�นวน 0.3 ล้านปอนด์สเตอร์ริง (15.5 ล้านบาท) (2551: 0.3 ล้านปอนด์สเตอร์ริง (15.8 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2552

133


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ข้อมูลเกี่ยวกับแผนเงินบำ�นาญเมื่อเกษียณอายุของบริษัทย่อยในยุโรปสองแห่งมีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท) (1) ค่าบำ�นาญรวม ค่าบริการสำ�หรับงวดปัจจุบัน ดอกเบี้ยจ่าย รวม

53,783 11,208 64,991

17,368 1,279 18,647

-

-

ค่าใช้จ่ายถูกรับรู้ในแต่ละรายการในงบกำ�ไรขาดทุน ดังนี้ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม

64,991 64,991

18,647 18,647

-

-

51,612

-

-

-

119,569 53,783 11,208 (10,326)

28,340 17,368 1,279 4,625

-

-

225,846

51,612

-

-

(3) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ของโครงการ ณ วันสิ้นปี

(107,534)

-

-

-

(4) หนี้สินที่รับรู้ในงบดุล

(118,312)

(51,612)

-

-

5.20%

5.90%

-

-

5.20% 3.50%

5.90% 3.50%

-

-

(2) การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์ ภาระหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์ วันต้นปี ภาระหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์ ซึ่งได้รับจากการซื้อกิจการ (หมายเหตุ 4 (ก)(2)) ค่าบริการสำ�หรับงวดปัจจุบัน ดอกเบี้ยจ่าย ขาดทุนทางคณิตศาสตร์ประกันภัย รวมภาระหนี้สินตามโครงการ ผลประโยชน์ ณ วันสิ้นปี

(5) ข้อสมมติทางคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ อัตราคิดลด ณ วันสิ้นปี อัตราผลตอบแทนระยะยาวที่คาดไว้ สำ�หรับสินทรัพย์ในโครงการ เงินเดือนที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต

134

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 25

ต้นทุนทางการเงิน

งบการเงินรวม หมายเหตุ 2552 2551 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะของกิจการ 2552 2551

ดอกเบี้ยจ่ายที่เกี่ยวข้องกับ: กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงิน

5

ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุน ของมูลค่างานระหว่างก่อสร้าง สุทธิ

1,714,648 1,714,648

713 1,528,058 1,528,771

49,128 7,436 56,564

2,415 18,204 20,619

12

(113,116) 1,601,532

(61,311) 1,467,460

56,564

20,619

26

ภาษีเงินได้

งบการเงินรวม 2552 2551 ภาษีเงินได้สำ�หรับงวดปัจจุบัน สำ�หรับปีปัจจุบัน รายการปรับปรุงสำ�หรับปีก่อน รวม

523,937 30,017 553,954

(พันบาท)

51,441 1,200 52,641

งบการเงินเฉพาะของกิจการ 2552 2551

33 33

31 31

รายงานประจำ�ปี 2552

135


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ค่าใช้จ่ายภาษีปีปัจจุบันในงบกำ�ไรขาดทุนรวม มีจำ�นวนน้อยกว่าค่าใช้จ่ายภาษีที่คำ�นวณจากอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลตามฐานกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี เนื่องจาก กำ�ไรของกลุ่มบริษัทส่วนใหญ่ได้รับผลมาจากสิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน (ตามหมายเหตุข้อ 27) ซึ่งไม่นำ�มารวมในการคำ�นวณภาษี นอกจากนี้ ขาดทุนทางภาษีจากปีก่อนๆที่ยังไม่ได้นำ�มาใช้ได้ถูกนำ�มาใช้ประโยชน์ในระหว่างปี เพื่อหักลดภาษีในปีปัจจุบัน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีซึ่งบันทึกอยู่ในบัญชีของบริษัทย่อยที่ไม่ได้อยู่ในประเทศไทย และไม่ได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มี จำ�นวน 960.2 ล้านบาท (2551: 998.9 ล้านบาท) 27

สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมตั ใิ ห้บริษทั และบริษทั ย่อยบางบริษทั ทีป่ ระกอบกิจการในประเทศไทยได้รบั สิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับการ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ส ่ ง เสริ ม การลงทุ น พ.ศ. 2520 เพื่อการผลิต เส้นด้ายไหมพรมขนสัตว์ purified terephthalic acid (PTA) polyethylene terephthalate resin วัสดุที่ใช้ในการแปรรูปเป็นขวดพลาสติกและฝาปิดและ amorphous resin (“กิจการที่ได้รับการส่งเสริม”) ซึ่งพอสรุป สาระสำ�คัญได้ดังนี้ (ก)

ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสำ�หรับเครื่องจักรตามที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

(ข)

ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำ�หนดเวลาแปดปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จาก การประกอบกิจการนั้น

(ค)

ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 สำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำ�หนดเวลาห้าปี นับแต่วันที่สิ้น สุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) ข้างต้น

(ง)

ขาดทุนสะสมที่เกิดขึ้นในระหว่างระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีสามารถนำ�ไปใช้ได้เป็นเวลาห้าปีหลังจากที่ระยะเวลายกเว้นภาษีตาม (ข) ข้างต้น

(จ)

รายได้ที่ได้รับการยกเว้นและลดหย่อนเพิ่มเติมในการคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับการดำ�เนินงานที่ได้รับการส่งเสริมระหว่างระยะเวลาตาม ข้อ (ข) ข้างต้น

(ฉ)

ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับเงินปันผลที่จ่ายแก่ผู้ถือหุ้นจากกำ�ไรที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำ�หนดเวลาใน ระหว่างช่วงที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล

(ช)

สามารถหักค่าใช้จ่ายได้สองเท่า สำ�หรับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับต้นทุนของการขนส่ง ค่าไฟฟ้าและค่าน้ำ�ประปาจากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมมีกำ�หนดเวลาสิบปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น

136

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

เนื่องจากเป็นบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทย่อยในประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำ�หนดตามที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริมการลงทุน รายได้ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2552 กิจการที่ กิจการที่ กิจการที่ ได้รับการ ไม่ได้รับการ ได้รับการ ส่งเสริม ส่งเสริม รวม (ก) ส่งเสริม (พันบาท)

2551 กิจการที่ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม

รวม (ก)

ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้

4,293,789 2,194,077 6,487,866

10,305,882 11,655,721 21,961,603

20,178,460 19,159,418 39,337,878

11,257,402 10,555,195 21,812,597

31,435,862 29,714,613 61,150,475

6,012,093 9,461,644 15,473,737

(ก) ไม่รวมรายได้จากบริษัทย่อยในต่างประเทศและรายการขายตัดรายการระหว่างกัน 28

กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

กำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานสำ�หรับแต่ละปีสน้ิ สุดวันที่ 31ธันวาคม 2552 และ 2551 คำ�นวณจากกำ�ไรสำ�หรับปีทเ่ี ป็นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั และจำ�นวนหุน้ สามัญ ทีอ่ อกจำ�หน่ายแล้วระหว่างปีโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (หลังผลกระทบของการลดลงของมูลค่าหุ้น (หมายเหตุ 18) สำ�หรับปี 2552) แสดงการคำ�นวณดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของกิจการ 2552 2551 2552 2551 (พันบาท/พันหุ้น) กำ�ไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) 1,172,934 4,824,097 96,568 2,656,296 จำ�นวนหุ้นสามัญ ที่ออกจำ�หน่ายแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม 3,351,544 3,351,544 40,000 40,000 ผลกระทบจากหุ้น ที่ออกจำ�หน่าย ณ วันที่: 9 กรกฎาคม 104,280 104,280 10 ตุลาคม 13,114 13,114 17 ตุลาคม 3,324 3,324 8 ธันวาคม 196 196 จำ�นวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ย 3,351,544 3,351,544 160,914 160,914 ถ่วงน้ำ�หนัก (ขั้นพื้นฐาน) กำ�ไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท) มูลค่าหุ้น (บาท) (ดูหมายเหตุข้อ18)

1.44

16.51

0.35

0.60

1

10

1

10

รายงานประจำ�ปี 2552

137


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 29

เครื่องมือทางการเงิน

นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน

กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดำ�เนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตาม ข้ อ กำ � หนดตามสั ญ ญาของคู ่ ส ั ญ ญา กลุ ่ ม บริ ษ ั ท ไม่ ม ี ก ารถื อ หรื อ ออกเครื ่ อ งมื อ ทางการที ่ เ ป็ น ตราสารอนุ พ ั น ธ์ เพื ่ อ การเก็ ง กำ � ไรหรื อ การค้ า การจั ด การความเสี ่ ย งเป็ น ส่ ว นที ่ ส ำ � คั ญ ของธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษ ั ท กลุ ่ ม บริ ษ ั ท มี ร ะบบในการควบคุ ม ให้ ม ี ค วามสมดุ ล ของระดั บ ความเสี ่ ย งที ่ ย อมรั บ ได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของ กลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง

ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย

ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุข้อ 15) อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำ�หนดชำ�ระหรือกำ�หนดอัตราใหม่มีดังนี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยที่ หลังจาก 1 ปี แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) (พันบาท) ปี 2551 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

5.8

212,800 212,800

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่ หลังจาก 1 ปี แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) (พันบาท) ปี 2552 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน รวม ปี 2551 ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน รวม

138

2.4 – 5.1

5.6

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)

รวม

212,800 212,800

รวม

-

-

1,262,628 1,262,628

1,262,628 1,262,628

-

-

911,023 911,023

911,023 911,023


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

อั ต ราดอกเบี ้ ย ที ่ แ ท้ จ ริ ง ของเงิ น กู ้ ย ื ม จากกิ จ การที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม และระยะที ่ ค รบกำ � หนดชำ � ระหรื อ กำ � หนดอั ต ราใหม่ ม ี ด ั ง นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่ หลังจาก 1 ปี แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) (พันบาท) ปี 2551 ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รวม

5.8

-

109,822 109,822

-

รวม

109,822 109,822

อั ต ราดอกเบี ้ ย ที ่ แ ท้ จ ริ ง ของหนี ้ ส ิ น ทางการเงิ น ที ่ ม ี ภ าระดอกเบี ้ ย ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม และระยะที ่ ค รบกำ� หนดชำ � ระหรื อ กำ � หนดอั ต ราใหม่ ม ี ด ั ง นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่ หลังจาก 1 ปี แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) (พันบาท) ปี 2552 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบัน การเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบัน การเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน รวม ปี 2551 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบัน การเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

รวม

5.2 - 8.2 2.0 – 5.2

24,776 9,979,671

-

-

24,776 9,979,671

2.0 – 5.9 2.7 – 6.2

4,643,396 24,538

-

-

4,643,396 24,538

2.0 - 5.9 2.7 - 6.2

14,672,381

19,885,264 73,374 19,958,638

5,445,121 5,445,121

25,330,385 73,374 40,076,140

5.0 - 7.2 2.0 - 7.5

21,866 11,183,283

-

-

21,866 11,183,283

2.0 - 7.8 5.0 - 7.5

3,264,924 73,467

-

-

3,264,924 73,467

2.0 - 7.8 5.0 - 7.5

14,543,540

18,518,623 77,399 18,596,022

8,988,682 8,988,682

27,507,305 77,399 42,128,244

รายงานประจำ�ปี 2552

139


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยที่ หลังจาก 1 ปี แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) (พันบาท) ปี 2552 หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม ปี 2551 หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม

รวม

3.4 - 5.1

162,600

-

-

162,600

3.4 - 5.1

162,600

1,708,348 1,708,348

446,810 446,810

2,155,158 2,317,758

ไม่มี 3.4 - 5.1

565,543 45,870

-

-

565,543 45,870

3.4 - 5.1

611,413

613,580 613,580

581,637 581,637

1,195,217 1,806,630

ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ

กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินค้าและการขายสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทได้ทำ�สัญญา ซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อป้องกันความเสี่ยงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศ สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันทีใ่ นงบดุลเป็นรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับรายการซือ้ และขายสินค้าทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป

140

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุ่มบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจากการมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศดังนี้ หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2552 2551

เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอืน่ ลูกหนีก้ ารค้า หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ เจ้าหนีก้ ารค้า ยอดบัญชีในงบดุลทีม่ คี วามเสีย่ ง

6 7 8 15 16

86,327 347,837 4,864,721 (15,861,773) (3,131,523) (13,694,411)

เงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอืน่ ลูกหนีก้ ารค้า หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ เจ้าหนีก้ ารค้า ยอดบัญชีในงบดุลทีม่ คี วามเสีย่ ง

6 7 8 15 16

772,491 235,144 1,650,759 (8,529,163) (3,165,223) (9,035,992)

เงินปอนด์สเตอร์รงิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอืน่ ลูกหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ ารค้า ยอดบัญชีในงบดุลทีม่ คี วามเสีย่ ง

6 7 8 16

เงินลิธวั เนียนลิตสั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนอืน่ ลูกหนีก้ ารค้า เจ้าหนีก้ ารค้า ยอดบัญชีในงบดุลทีม่ คี วามเสีย่ ง

6 7 8 16

(พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

(535,199) (535,199)

(560,200) (560,200)

370,816 215,923 1,285,388 (8,960,146) (2,944,159) (10,032,178)

(577,541) (577,541)

-

101,020 814,796 (82,732) 833,084

15,827 35,286 835,794 (9,161) 877,746

-

45,581 93,810 (104,644) 34,747

10,063 5,811 21,366 (109,545) (72,305)

-

178,694 5,414,462 (17,599,261) (3,083,502) (15,089,607)

-

-

มูลค่ายุตธิ รรมสุทธิของสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจ�ำ นวน 1,275.5 ล้านบาท (รายการสินทรัพย์สทุ ธิ) (2551: 1,076.6 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2552

141


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชำ�ระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบกำ�หนด ฝ่ายบริหารได้กำ�หนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวโดยสม่ำ�เสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุก รายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่ในงบดุลไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระสำ�คัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตาม บัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการ ณ วันที่ในงบดุล อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัท มีฐานลูกค้าจำ�นวนมาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิด ผลเสียหายที่มีสาระสำ�คัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้

ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง

กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดให้เพียงพอต่อการดำ�เนินงานของ กลุ่มบริษัท และเพื่อทำ�ให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 หนี้สินหมุนเวียนในงบการเงินรวมสูงกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นจำ�นวน 2,219.4 ล้านบาท (2551: 4,943.8 ล้านบาท) และในงบ การเงินเฉพาะกิจการเป็นจำ�นวน 596.6 ล้านบาท (2551: 588.8 ล้านบาท) ผู้บริหารเห็นว่าฐานะเงินทุนหมุนเวียนของปี 2552 และ 2551 นั้น เกิดจากการ ทีบ่ ริษทั จัดหาเงินกูร้ ะยะสัน้ และระยะกลางจำ�นวนมาก เพือ่ ซือ้ ธุรกิจหลายแห่ง (ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ และ สินทรัพย์ระยะยาวอืน่ - หมายเหตุ 4) ผู้บริหารเชื่อว่ากลุ่มบริษัทและบริษัทใหญ่จะมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นในปี 2553 จากการผนึกกำ�ลังกันของการรวมธุรกิจ การใช้ประโยชน์จากเงินที่ได้มาจาก การเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (ดูหมายเหตุข้อ 32) และผลการดำ�เนินงานของกิจการที่ซื้อมา และจากการก่อสร้างโรงงานขนาดใหญ่ของ บริษัทย่อยซึ่งเสร็จสมบูรณ์และจะเริ่มดำ�เนินงานอย่างเต็มกำ�ลังการผลิตในช่วงต้นปี 2553 ผู้บริหารจะใช้วงเงินสินเชื่อที่ได้รับ (13,710 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) เพื่อชำ�ระคืนเงินกู้ที่จำ�เป็น

มูลค่ายุติธรรม

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือชำ�ระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลก เปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้า ณ วันที่รายงาน ราคาอ้างอิงเหล่านั้นสามารถทดสอบหาความสมเหตุสม ผลได้ ด้วยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต้ข้อกำ�หนดต่างๆ และวันสิ้นสุดของแต่ละสัญญา และโดยการใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ของเครื่องมือทางการเงินที่คล้ายคลึงกัน ณ วันที่วัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้า ถ้ามีราคาตลาด ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด ประมาณมูลค่า ยุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้าของสัญญาปัจจุบัน ณ วันที่รายงานที่ครบกำ�หนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใช้กับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไม่ใช่ตราสารอนุพันธุ์ ซึ่งพิจารณาเพื่อความมุ่งหมายในการเปิดเผยใน งบการเงิน คำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแส เงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่รายงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ไม่มสี นิ ทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ มี ลู ค่ายุตธิ รรมแตกต่างจากราคาตามบัญชีตามทีบ่ นั ทึกในงบดุลอย่างมีสาระสำ�คัญ

การบริหารจัดการส่วนทุน

นโยบายของคณะกรรมการคือการดำ�รงฐานเงินทุนที่แข็งแกร่งเพื่อรักษาความเชื่อมั่นของผู้ลงทุน เจ้าหนี้ และตลาด และเพื่อการดำ�เนินงานทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่องในอนาคต คณะกรรมการเฝ้าติดตามผลตอบแทนจากเงินลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทกำ�หนดว่าเป็นผลของกิจกรรมการดำ�เนินงานหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้น ทั้งหมดโดยไม่รวมส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย และระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ

142

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 30

ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

2552 ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวม

งบการเงินรวม (ล้านบาท)

2551

348 54 402

1,151 53 1,204

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดำ�เนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม

126 397 508 1,031

138 352 372 862

ภาระผูกพันอื่นๆ การขายลดลูกหนี้การค้า คำ�สั่งซื้อ และเลตเตอร์ออฟเครดิตสำ�หรับซื้อสินค้าและวัสดุ ภาระผูกพันในการให้บริการ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า หนังสือค้ำ�ประกันจากธนาคาร ตั๋วเงินขายลด รวม

543 11 1,285 1,396 1,426 4,661

12 14,249 360 1,903 1,448 373 18,345

ภาระผูกพันอื่นๆ

บริษทั ย่อยบางแห่งได้ท�ำ สัญญาซือ้ วัตถุดบิ ระยะยาวซึง่ บริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะซือ้ วัตถุดบิ ตามปริมาณทีไ่ ด้ตกลงกันไว้ ตามราคาตลาดของสินค้า เป็นระยะเวลาสามปี 31

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

เมือ่ วันที่ 18 ธันวาคม 2552 Eastman Chemical Company (“Eastman”) ได้ยน่ื ฟ้องบริษทั ย่อยสีแ่ ห่ง ต่อศาลแขวงเดลาแวร์ (Delaware District Court) ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยกล่าวหาในเรื่องการละเมิดสิทธิบัตรบางรายการของ Eastman การละเมิดสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยีระหว่าง Eastman และบริษัทย่อย และการใช้ข้อมูลความลับและความลับทางการค้าของ Eastman โดยมิได้มีการระบุถึงค่าเสียหาย บริษัทย่อยได้ต่อสู้ข้อกล่าวหาและได้แต่งตั้งที่ปรึกษาทางกฎหมายเพื่อต่อสู้คดี บริษัทไม่ทราบผลของคดีหรือผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ในขณะนี้ ผู้บริหาร เชื่อว่าผลของคดีจะไม่ส่งผลเสียหายที่มีสาระสำ�คัญต่อฐานะการเงินรวม ผลการดำ�เนินงาน หรือกระแสเงินสดของบริษัท

รายงานประจำ�ปี 2552

143


บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

32

เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล

ก) ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นเพื่อทำ�การแลกหุ้นของไออาร์พีกับหุ้นของบริษัท (ดูหมายเหตุ 1) บริษัทได้สรุปผลสำ�เร็จของการเสนอซื้อหุ้น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 ผลของการเสนอซื้อหุ้นทำ�ให้การถือหุ้นรวมทั้งทางตรงและทางอ้อมของบริษัทในไออาร์พีเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 69.29 เป็นร้อยละ 99.08 ไออาร์พีได้เพิกถอนหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 ข) เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 บริษัทได้รับเงินค่าหุ้นจากการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนทั่วไป เป็นครั้งแรกจำ�นวน 400 ล้านหุ้น ในราคา หุ้นละ10.20 บาท ทุนที่ออกและชำ�ระแล้วของบริษัทเพิ่มขึ้นจาก 3,351,543,910 บาท เป็น 4,334,271,047 บาท โดยเป็นผลจากการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกและการเสนอแลกหุ้น (ตามที่กล่าวในวรรค (ก)) ต้นทุนการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกได้บันทึกรอ ตัดจำ�หน่าย (ดูหมายเหตุข้อ 10) และจะถูกนำ�ไปหักออกจากส่วนเกินมูลค่าหุ้น เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2553 บริษัทได้จดทะเบียนทุนที่ออกและชำ�ระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้อนุมัติการจด ทะเบียนและซื้อขายหุ้นของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว บริษัททำ�การซื้อขายหุ้นต่อประชาชนครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 ค) เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 คณะกรรมการบริษัทได้เสนอจ่ายเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.33 บาท เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 1,430.3 ล้านบาท ซึ่ง การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นของบริษัท 33

มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไม่ได้ใช้

กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ กำ�หนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (ฉบับ 47 เดิม)

ปีที่มีผลบังคับใช้ 2554

ขณะนี้ผู้บริหารกำ�ลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 34

การจัดประเภทรายการใหม่

รายการบางรายการในงบการเงินของปี 2551 ได้จัดประเภทใหม่ให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินของปี 2552 ดังนี้ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร และค่าตอบแทนผู้บริหารได้แสดงแยกออกจากกัน ข้อมูลเปรียบเทียบจึงได้ถูกจัดประเภทรายการใหม่ดังกล่าว การจัดประเภทรายการใหม่นี้เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเรื่อง กำ�หนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2552 ลงวันที่ 30 มกราคม 2552

144

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2552

145


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.