Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com ews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
www.istationnews.co
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
TRU คาดกำ�ไรสุทธิปี 54 พุง่ เกิน 15%
ตั้งงบลงทุนปีนี้ 500 - 600 ล. TRU คาดกำ�ไรสุทธิปี 54 พุ่งเกิน 15% มอง 3 - 5 ปี ธุรกิจชิ้น ส่วนยานยนต์ในไทยยังสดใส หลังขึ้นแท่นเป็นฐานการผลิตสำ�คัญ ตั้งงบ ลงทุนปีนี้ 500 - 600 ล้านบาท ใช้ขยายโรงงานและซื้อเครื่องจักรใหม่ พร้อมเล็งเปิดให้บริการติดตั้ง CNG รับกระแสน้ำ�มันแพง ต่อหน้า 3 กว่าจะมาเป็นเสือ
ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
www.
www.istationnews.co
www.istationnews.com
www.istationnews.com ews.com
สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน
News Station
8
เวิลด์แบงก์เตือนราคาอาหาร ถึงจุด “อันตราย” นายกเชื่อจีดีพี54โต4.5% แม้มีปัจจัยเสี่ยงถ่วงศก. AGE ย้ำ�เป้าราย 54 โต 50%
9
Dynamic Station
5 7
อยากเจอหุ้นดีต้องควานด้วยตัวเอง 10
Lifestyle Station ไม่อยาก “นอนกรน”มาทางนี้
13
มองเหุนจากเซียน บวกต่อ
14
Data Station
PTL เล็งเพิ่มการผลิตฟิล์มซิลิกอน คาดลุยปลายปีนี้ หวังเพิ่มมาร์จิ้น
ต่อหน้า 3
TMI คาดปี 54 กำ�ไรโตกว่า 20% ต่อหน้า 4
คิดแบบ
“ทอเร่ จอห์นเซ่น” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร DTAC
ตอนที่ 14
ต‡อหนˆา 12
SET News บอร์ด ตลท.เห็นชอบ เพิ่มทางเลือกให้ บจ. เพิ่มทุนแบบ General Mandate ต่อหน้า 8
Hot to Day
SCB
ลุ้นไปต่อ ต่อหน้า 6 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 TRU คาดกำ�ไร (ต่อจากหน้า 1)
นายสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการ บมจ.ไทยรุ่ง ยู เ นี ย นคาร์ (TRU) เปิ ด เผยว่ า กำ � ไรสุ ท ธิ ใ นปี 54 จะเติ บ โต ม า ก ก ว่ า 1 5 % จ า ก ปี ก่ อ น เนื่ อ งจากมี ก ารผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น ข ณ ะ ที่ มี ต้ น ทุ น ค ง ที่ อี ก ทั้ ง เครื่องจักรบางส่วนไม่ต้องหักค่า เสื่อม ทำ�ให้สามารถรับรู้กำ�ไรได้ เพิม่ ขึน้ โดยรายได้หลักมาจากการ ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นและแม่ พิ ม พ์ ใ น สั ด ส่ ว น 50%, รั บ จ้ า งประกอบ รถยนต์ สัดส่วน 30% และการ ผลิตและจำ�หน่ายรถเฉพาะด้าน รวมการให้บริการอีก 20% ขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท อยู่ ระหว่างเจรจาพันธมิตรญี่ปุ่นที่จะ เข้ามาร่วมผลิตชิ้นส่วนพลาสติก เพื่ อ เพิ่ ม ออร์ เ ดอร์ ใ หม่ เ ข้ า มา เนื่องจากมองว่าพันธมิตรญี่ปุ่นจะ มี ส ายสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ บริ ษั ท ผลิ ต รถยนต์ ซึ่งที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ ร่วมทุนกับพันธมิตรญี่ปุ่นในการ ร่วมผลิต Jig และ เบาะรถยนต์ ทั้งนี้มองว่า ใน 3 - 5 ปี ข้างหน้า ธุรกิจชิ้นส่วนรถยนต์ใน ไทยจะเติ บโตได้ ดี จากการที่ ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต แล้ว อายุการใช้งานของชิน้ ส่วนรถยนต์ ก็สั้นลง สำ�หรับในปี 54 บริษัทฯ ตั้งงบลงทุนไว้ 500 - 600 ล้าน
PTL เล็งเพิ่ม (ต่อจากหน้า 1)
นายโรฮิท กุมาร์ วาฮิททรา กรรมการผู้จัดการ บมจ. โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) (PTL) เปิดเผยว่า ในช่วงปลายปีนี้บริษัทฯ วางแผนที่ จะเพิม่ สายการผลิตใหม่ส�ำ หรับฟิลม์ ซิลิกอน ทำ�ให้สัดส่วนของสินค้าที่ มีการเพิม่ มูลค่าจะมีจำ�นวนเพิม่ สูง
News Station
บาท เพื่อใช้ในการขยายโรงงาน และซื้อเครื่องจักรใหม่ โดยโรงงาน ใหม่ใน จ.ระยอง จะเริ่มผลิตได้ใน ปลายปี 54 ซึ่งจะมีกำ�ลังการผลิต เพิ่มขึ้นเท่าตัว และคาดว่าจะทำ� รายได้ 500 - 600 ล้ า นบาท หากผลิตเต็มกำ�ลังการผลิตที่คาด ว่าจะใช้เวลาประมาณ 2 ปี รวมทัง้ จะมีการขยายกำ� ลัง การผลิ ต ชิ้ น ส่วนอืน่ ทีค่ าดว่าจะมีก�ำ ลังการผลิต
เพิ่มขึ้นอีก 50% รองรับออร์เดอร์ ใหม่ทจี่ ะทยอยเข้ามาในปีนแี้ ละต่อ เนื่องในปีหน้า ส่ ว นรายได้ ปี นี้ ค าดว่ า เติบโต 15% จากปีก่อนที่คาดว่ามี รายได้ 2.1 - 2.2 พันล้านบาท พร้อมกันนี้ บริษัทฯ ได้ เปิดตัวรถต้นแบบใหม่ MUV4 ซึ่ง เป็ น รถตรวจการลาดตระเวน ออกแบบเพื่อสนองความต้องการ
ใช้งานทางการทหาร ตำ�รวจ และ หน่วยงานราชการต่างๆ รวมทั้ง กลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการใช้รถยนต์ Hammer หรื อ Land Rover (Defender) ซึ่งจะขายในราคาคัน ละประมาณ 1.3 - 1.4 ล้านบาท ซึ่งในปีนี้จะเข้าประมูลในกองทัพ บก กองทัพเรื อ กองทัพอากาศ และตำ � รวจ คาดว่ า บริ ษั ท ฯ จะประมูลได้ 50% ของจำ�นวนรถ ทีห่ น่วยงานราชการต้องการ 1,000 คั น หรื อ ประมาณ 500 คั น คิดเป็นเงินไม่น้อยกว่า 500 ล้าน บาท รวมทั้ง ยังมีรถบ้านที่จะออก โชว์ในงานมอเตอร์โชว์พร้อมกันใน ปลายเดือน มี.ค.นี้ โดยจะรับผลิต ตามคำ�สั่งซื้อ น อ ก จ า ก นี้ บ ริ ษั ท ฯ เตรี ย มที่ จ ะเปิ ดให้ บ ริ ก ารติ ด ตั้ ง CNG ในรถ จากแนวโน้มราคา น้ำ�มันปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะรถ แท็ ก ซี่ ใ หม่ ที่ รั ฐ บาลปล่ อ ยกู้ ใ น โครงการประชาวิวฒั น์ คาดว่าจะมี ความต้องการติดตัง้ CNG เพิม่ ขึน้ และในส่วนรถแท็กซี่ใหม่บางส่วน อาจมีความต้องการรถแบบขนของ ได้ด้วย ซึ่งบริษัทฯ จะร่วมเสนอ เข้าไปในตลาด คาดว่าจะทำ�ยอด ข า ย ไ ด้ 4 0 0 - 5 0 0 คั น ส่วนโครงการรถเมล์เอ็นจีวี 4 พัน คันนัน้ โดยส่ววตัวเลิกหวังโครงการ นี้แล้ว เนื่องจากไม่รู้จะเกิดขึ้นได้ หรือไม่
ขึ้นต่อไป โดยในช่วง 2 - 3 ปีที่ผ่าน มา บริษัทฯ ได้ลงทุนในผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ เช่น ฟิลม์ อัดขึน้ รูป Extrusion Film และ ฟิล์ม CPP ขณะที่ล่าสุด คณะกรรม การบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั กิ ารลงทุน โครงการผลิตแผ่นฟิล์ม PET ชนิด
หนา มูลค่า 2.3 พันล้านบาท ซึ่งมี กำ�หนดแล้วเสร็จใน 2 ปี โดยจะ เป็นการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ และมี ความต้องการอย่างสูงในอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า, อิเลกทรอ นิกส์ และแผงพลังงานแสงอาทิตย์ใน อุตสาหกรรมต่างๆ
สำ � หรั บ เงิ น ลงทุ น ใน โครงการดังกล่าว ส่วนหนึ่งจะมา จากกระแสเงินสดของบริษทั ฯ และ บางส่วนจะมาจากเงินกู้ ซึ่งการ ลงทุนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของ กลยุทธ์จดั เป็นกลยุทธ์วางตำ�แหน่ง ทางการตลาดใหม่ในระยะยาว ต่อหน้า 4 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 PTL เล็งเพิ่ม (ต่อจากหน้า 3)
ทีจ่ ะเพิม่ ความหลากหลาย ให้กบั ผลิตภัณฑ์ เพือ่ กระจายความ เสี่ ย งโดยเปลี่ ย นจากการเน้ น เซ็กเมนต์บรรจุภณั ฑ์ทมี่ กี ารแข่งขัน สู ง เ ป็ น ห ลั ก ไ ป สู่ เ ซ็ ก เ ม น ต์ อุตสาหกรรม รวมทั้งเป็นการเสริม ให้ PLT เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่ม ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี และไต้หวัน ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ส�ำ หรับแผ่นฟิล์ม ชนิดหนาแบบดั้งเดิม และมีการใช้
แผ่นฟิล์มชนิดบางในการผลิต จอ LCD/LED TV และทัชสกรีน ส่วนกรณีที่รัฐบาลอินเดีย ออกกฎห้ามใช้แผ่นพลาสติกฟิล์ม ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อาหาร ไม่ถอื ว่าเป็นการจำ�กัดการใช้ส�ำ หรับ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ นอาหารทุ ก ชนิ ด แต่เป็นการบังคับใช้กบั ใบยาสูบแห้ง แต่งกลิน่ รสสำ�หรับเคีย้ ว (Chewing Tobacco) และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เกีย่ วข้องซึง่ เป็นอันตรายต่อร่างกาย
News Station
หน้า 4
ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่ได้รับผล กระทบจากฐานการผลิ ต ทั้ งใน ประเทศไทยและตุรกี โดยเห็นว่าการ เติบโตอย่างต่อเนื่องและประโยชน์ ที่หลากหลายของ PET ที่จะยังคงมี
พัฒนาการต่อไปอีกจะช่วยทดแทน การลดลงของความต้ อ งการใน ผลิตภัณฑ์ชนิดนีจ้ ากการดำ�เนินการ ดังกล่าว
2 โครงการ ส่วนใหญ่เป็นสินค้ากลุม่ ไฟฟ้าส่องสว่าง หากได้รบั อนุมตั จิ ะ ได้เริ่มผลิตได้ในปี 55 คาดว่าจะ ต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 80 ล้าน บาท ซึ่งจะมาจากผลดำ�เนินงาน แต่หากไม่เพียงพอจะใช้เครื่องมือ ทางการเงินอื่นเพื่อระดมทุน
“นอกจากนี้ ตอนนี้ ก็ มี 3 - 4 ทิ ศ ทางธุ ร กิ จ เราที่ จ ะไป แต่ยงั ตกลงไม่ได้ แต่คาดว่าจะสรุป ได้ไม่เกิน 2 - 3 เดือนนี้ ว่าจะโต ไปทางไหนที่จะโตได้เร็วที่สุด ก็จะ เดินไปทางนั้น” นายธีระชัย กล่าว
TMI คาดปี (ต่อจากหน้า 1)
นายธีระชัย ประสิทธิ์รัตนพร กรรมการผู้จัดการ บมจ.ธีระมงคล อุตสาหกรรม (TMI) เปิดเผยว่า ในปี 54 กำ�ไรของบริษทั ฯ จะเติบโต มากกว่ารายได้ที่คาดจะเติบโตไม่ น้อยกว่า 20% โดยประเมินรายได้ ปี นี้ จ ะเพิ่ ม เป็ น 416 ล้ า นบาท จากปีกอ่ น 348 ล้านบาท เนือ่ งจาก โรงงานผลิ ต สิ น ค้ า ของบริ ษั ท ฯ ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีจาก สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุ น (บี โ อไอ) เป็ น ปี แ รก โดยสินค้าดังกล่าวมีสัดส่วนรายได้
ประมาณ 70 - 80% ประกอบกับ แนวโน้มต้นทุนวัสดุในปีนี้ไม่ได้สูง มากเหมือนปี 53 เช่น ทองแดง และเหล็ก เป็นต้น รวมทั้ง บริษัทฯ ได้ขยายโมเดิรน์ เทรด และรุกตลาด ในต่ า งประเทศมากขึ้ น ได้ แ ก่ อินเดีย ซึ่งกำ�ลังเจรจาอยู่ และ บังคลาเทศ ซึ่งคาดว่าสัดส่วนราย ได้จากต่างประเทศในปีนจี้ ะเพิม่ เป็น 15% จากปีที่แล้วอยู่ที่ 10% ขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ฯ อยู่ระหว่างการเตรียมยื่นขอสิทธิ ประโยชน์ ท างภาษี กั บ บี โ อไออี ก
www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
เวิลด์แบงก์เตือนราคาอาหาร เพิ่มขึ้นถึงจุด “อันตราย”
รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ ธนาคารโลก หรือ เวิลด์แบงก์เตือนราคาอาหารของโลกได้เพิ่มขึ้นมาถึงจุด “อันตราย” แล้ว และได้ทำ�ให้จำ�นวนคนยากจนทั่วโลก เพิ่มขึ้นมาแล้ว 44 ล้านราย ขณะเดียวกันเวิลด์แบงก์เตือนว่า ประเทศผูส้ ง่ ออก อาหารไม่ให้จำ�กัดการส่งออก ซึ่งเป็นปัจจัยกดดันให้ราคา อาหารของโลกเพิ่มขึ้น “ราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ประชากรหลายล้าน คนทั่วโลกกลายเป็นคนยากจน และทำ�ให้ผู้ที่มีรายได้ต่ำ�ต้อง ใช้รายได้เกินกว่าครึ่งเพื่อใช้ในการซื้ออาหารเพื่อบริโภค” นายโรเบิร์ต ซูลลิคประธานเวิลด์แบงก์ กล่าว โดยในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคม ดัชนี ราคาอาหารที่จัดทำ�โดยเวิลด์แบงก์เพิ่มขึ้น 15% หลังราคา ข้าวสาลี น้ำ�ตาล และน้ำ�มันพืชเพิ่มขึ้น ขณะที่แนวโน้มราคา ข้าวยังคงอยู่ในระดับมีเสถียรภาพ ทั้งนี้ ในปีที่ผ่านมา ราคาข้าวสาลีเพิ่มขึ้น 69% หลังเกิดภัยแล้งและน้�ำ ท่วมในแหล่งเพาะปลูกสำ�คัญเช่น รัสเซีย และอาร์เจนติน่า ขณะที่ราคาข้าวโพดเพิ่มขึ้น 86%
หน้า 5
5 ปีขา้ งหน้า และความต้องการจะยังคงอยูใ่ นระดับ ที่สูงต่อเนื่องต่อไปราว 10 ปี หลังความต้องการใน อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมก่อสร้าง ขยายตัวได้สูง ตลาดเกิดใหม่เสีย่ งเผชิญภาวะเศรษฐกิจร้อนแรงเกินไป นายคูเนล ชาห์ หัวหน้านักวิเคราะห์ หรือ “Overheat” หลังเศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่สูง ตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ที่เนอร์มาลบังซิเคียวริตี้ส์ใน อย่างต่อเนื่อง มุมไบกล่าวว่า ความต้องการใช้เหล็กในอินเดียอาจ ขณะเดียวกันซิตี้กรุ๊ประบุว่า ตลาดเกิดใหม่ เพิ่มขึ้น 2 เท่าในช่วง 5 ปีข้างหน้า ต้องเตรียมการรับมืออัตราเงินเฟ้อที่อาจเพิ่มสูงขึ้นใน ขณะที่เมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ระยะอันใกล้ บาร์เคลย์สแคปิตอลคาดว่า ความต้องการใช้เหล็ก “ขณะนี้ตลาดเกิดใหม่หลายประเทศกำ�ลัง ในอินเดียจะขยายตัวราว 80% จนถึงปี 2015 ใช้ก�ำ ลังการผลิตสูงสุดหรือใกล้ระดับสูงสุด และนัน่ ย่อม ปัจจัยที่ทำ�ให้ความต้องการใช้เหล็กใน บ่งชี้ถึงความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเศรษฐกิจร้อนแรง อินเดียขยายตัวได้สูงส่วนหนึ่งมาจากการดำ�เนิน เกินไป และประเทศเหล่านั้นจำ�เป็นต้องออกมาตรการ โครงการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานมูลค่า 1 ล้าน ควบคุมอัตราเงินเฟ้อ” นายวิแครม ปันดิต ประธาน ล้านดอลลาร์ของรัฐบาลอินเดียในช่วง 5 ปีขา้ งหน้า เจ้าหน้าที่บริหารของซิตี้กรุ๊ป กล่าว หรือ จนถึงปี 2017 เพือ่ ยกระดับการคมนาคมระบบ นอกจากนี้ นายปันดิต กล่าวว่า ประเทศใน ราง และเครือข่ายกระแสไฟฟ้า กลุม่ ตลาดเกิดใหม่กำ�ลังเผชิญความท้าทายในการเพิม่ นอกจากนี้ รายได้ครัวเรือนของประชากร กำ�ลังการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้น ชาวอินเดียทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจากผลดีของการ ขยายตัวของเศรษฐกิจทำ�ให้ความต้องการซือ้ รถยนต์ ความต้องการใช้เหล็กในอินเดีย เพิ่มขึ้น โดยในเดือนมกราคมที่ผ่านมา ยอดขาย มีแนวโน้มพุ่ง 2 เท่าช่วง 5 ปีข้างหน้า รถยนต์ในอินเดียเพิ่มขึ้น 26% มาอยู่ที่ 184,332 รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ ความต้องการ คัน และเป็นการเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นเดือนที่ 24 ใช้ เ หล็ กในอิ น เดี ย มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น 2 เท่ าในช่ ว ง
ซิตี้กรุ๊ป เตือนตลาดเกิดใหม่เสี่ยง เจอภาวะศก.ร้ อนแรงเกินไป รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ ซิตกี้ รุป๊ เตือน
AFET
“ทดสอบด่านแรกที่ 196 บ./ก.ก.”
นายชัยวัฒน์ เหมือนมี นักวิเคราะห์ บริษทั ดีเอส ฟิวเจอร์ส จำ�กัด (DSF) RSS3 - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 904 สัญญา สถานะคงค้าง 3,406 สัญญา - ปิด 194.25 บ./ก.ก. เพิม่ ขึน้ 1.60 บ./ก.ก. (สัญญาส่งมอบเดือนก.ย. 54) ปัจจัยบวก - เข้าสูฤ่ ดูกาลยางผลัดใบ - หากราคากลับมายืนเหนือ 196 บ./ก.ก. ทิศทางราคาจะเป็นขาขึน้ - ภัยแล้งของไทยมาแรงกว่าทีค่ าด - ราคายืนเหนือ 190 บ./ก.ก. อย่างแข็งแกร่ง ปัจจัยลบ - น้�ำ มันเคลือ่ นไหวต่�ำ กว่า 85 เหรียญ - ค่าเงินเอเชียแข็งค่า กลยุทธ์ - ซือ้ หากราคายืนเหนือ 196 บ./ก.ก. (สัญญาส่งมอบเดือนก.ย. 54) - หรือราคาขายถ้ายืน 196. บ./ก.ก.ไม่ไหว - แนวรับ 190 บ./ก.ก. - แนวต้าน 196 บ./ก.ก. ถัดไป 200 บ./ก.ก.
TFEX
“ลุ้น SET ยืน 995 จุด ทำ�ตลาดกลับมาเป็นขาขึ้นอีกครั้ง” เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา (AYS) SET50 Futures - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 14,053 สัญญา สถานะคงค้าง 31,970 สัญญา - ปิด 679.60 จุด เพิม่ ขึน้ 17.30 จุด (สัญญา S50H11 มี.ค. 54) ปัจจัยบวก - เงินบาทแข็งค่า หลังต่างชาติซอ้ื หุน้ ไทยต่อเนือ่ ง 3 วันติด - ลุน้ SET ยืน 995 - 1,000 จุด จะมีสญั ญาณขาขึน้ อีกครัง้ - นักลงทุนต่างชาติซอ้ื สุทธิในตลาดหุน้ 3,395.13 ล้านบาท ปัจจัยลบ - เทรนด์หลักของดัชนีฯ ยังอยูช่ ว่ งพักฐาน - อาจมีแรงขายทำ�กำ�ไร เพราะเป็นวันสุดท้ายของสัปดาห์ - นักลงทุนยังกังวลเงินเฟ้อในเอเชียทีส่ งู ขึน้ กลยุทธ์ - ซือ้ เมือ่ ดัชนีฯ อ่อนตัว (สัญญา S50H11 มี.ค. 54) - แนวรับ 675 จุด - แนวต้าน 682 - 683 จุด - SET50 ประเมินแนวรับ 678 จุด แนวต้าน 693 จุด www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
หน้า 6
SCB ลุ้นไปต่อ หลังจากรีบาวด์มาหลายวัน ในที่สุดราคาหุ้น SCB ก็ทะลุ เกินร้อยได้อย่างหนักแน่น ซึง่ สบายใจได้วา่ หากฝรัง่ ไม่กลับมาเทขาย หนักๆ อีก บริเวณร้อยบาทถ้วน ย่อมจะเป็นฐานที่เหนียวแน่นยิ่งนัก และด้วยพืน้ ฐานทีใ่ ครต่างก็บอกว่าดี ทัง้ การเก็งกำ�ไรเล่นๆ หรือเลือก ซื้อถือยาวก็เหมาะสมด้วยประการทั้งปวง นักวิเคราะห์ บล.ยูไนเต็ด (ประเทศไทย) ระบุสัญญาณทาง เทคนิคหุ้นว่า กำ�ลังฟื้นตัวแข็งแกร่งระยะกลาง มีโอกาสฟื้นตัวขึ้นได้ อีก ส่วนระยะสั้นให้แนวต้านที่ 105 บาท แนวรับ 95 บาท
ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 16/02/54
Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg
SCB 101.50 3.50 3.57 98.50 102.50 98.25 98.00 100.67
AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)
30,824,600 3,102,965 4.22 15.04 2.30 1.00 2.55 6.75 344,362
ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 07/09/53
1. 2.
วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 101.50 บาทหนาแน่นสุด
3. 4. 5.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ สำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กองทุนรวม วายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวม วายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ.กรุง ไทย จำ�กัด (มหาชน) DBS BANK A/C 316398-9-001 CHASE NOMINEES LIMITED 42
จำ�นวนหุ้น
(%)
722,941,958 392,899,100
21.31 11.58
392,899,100 160,400,000 147,135,900
11.58 4.73 4.34
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
News Station
นายกฯเชื่อจีดีพี54โต4.5%แม้มีปัจจัยเสี่ยงถ่วงศก. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรั ฐ มนตรี เปิ ด เผยว่ า คาดการณ์ อั ต ราขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจ หรือจีดีพี ของไทยปี 54 จะขยายตัวประมาณ 3.5 4.5% และอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ 2.5 - 3.5% โดยมีปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญ 3 ด้านคือราคาน้ำ�มันที่ผันผวน, การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ ค้า และอัตราดอกเบีย้ ทีม่ แี นวโน้ม สูงขึ้น ขณะที่การส่งออกและการ ท่องเที่ยว ยังคงขยายตัวได้ดี “ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง เศรษฐกิจในปี 53 ที่ขยายตัวได้ ระดับสูง คาดว่าจะส่งผลต่อเนื่อง ให้เศรษฐกิจไทยในปี 54 ขยายตัว
ประมาณร้อยละ 3.5 - 4.5 อัตรา เงินเฟ้อร้อยละ 2.5 - 3.5 โดยมี การบริ โ ภคและลงทุ น ของภาค เอกชนภายในประเทศ เป็นตัวขับ เคลื่อนเศรษฐกิจ” นายกรัฐมนตรี กล่าว
นายอภิสทิ ธิ์ กล่าวด้วยว่า การจัดทำ�งบกลางปีวงเงินไม่เกิน 1 แสนล้านบาทเพือ่ นำ�ไปใช้ในการ ชดเชยเงินคงคลัง ที่รัฐบาลได้นำ� ออกมาใช้ไปก่อนหน้านี้ 8.4 หมื่น ล้านบาท ส่วนอีก 1.5 หมื่นล้าน
บิ๊กBBLเตือนถึงยุค แบงก์แข่งดุเงินฝาก
นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานกรรมการบริหาร ธนาคาร กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) หรือ BBL เปิ ด เผยว่ า ขณะนี้ ร ะบบ สถาบันการเงินไทยได้เปลี่ยนจาก ยุคการระดมสินเชื่อเข้าสู่ยุคการ ระดมเงิ น ฝากแล้ ว อย่ า งชั ด เจน ซึ่งเป็นไปตามระดับสภาพคล่องที่ ลดลง หลังภาวะเศรษฐกิจขยายตัว สูง โดยคาดว่าในปีนจี้ ดี พี จี ะเติบโต 4 - 5% ทำ�ให้สถาบันการเงินทุก แห่งต้องการเติบโต ดังนั้นจึงมีการ ตั้งเป้าหมายการขยายตัวของสิน เชื่อ ซึ่งเป็นที่มาของการระดมเงิน ฝาก เพื่อเพิ่มสภาพคล่องในการ ปล่อยสินเชื่อ “ตอนนีแ้ บงก์เปลีย่ นยุคไป แล้วการแข่งขันเงินฝากจะเข้มข้น ขึน้ เหมือนทีเ่ คยเห็นการแข่งขันเรือ่ ง เงินกู้ในปีกลาย แต่ตอนนี้เปลี่ยน ทิศหมดแล้ว เพราะเงินในเศรษฐกิจ
มีอยู่ที่ระดับหนึ่ง แต่ทุกคนก็ตั้งเป้า หมายให้เติบโต ดังนั้นแรงส่งของ เศรษฐกิจจะทำ�ให้การแข่งขันเงินฝาก ต่อเนื่องไปถึงสิ้นปีได้” นายโฆสิต กล่าว ปัจจุบนั นี้ ธนาคารกรุงเทพ มีฐานเงินฝากอยู่ที่ 1.3 ล้านล้าน บาท โดยมีอัตราส่วนสินเชื่อต่อเงิน ฝากที่ 80% ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับสูง
แต่อย่างไรก็ตาม ยอมรับว่าจะต้อง ติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง โดยในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมาพบ ว่าการเติบโตของสินเชื่อและเงินฝาก ยังขยายตัวได้ดี ด้านนายชาติศริ ิ โสภณพนิช กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ธนาคาร กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) (BBL) กล่าวว่า ในปีนี้คาดว่าการปล่อยสิน
บาท เป็นค่าใช้จ่ายสำ�หรับส่วน ราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอืน่ ๆ ซึง่ จะนำ�ไปช่วยเหลือฟืน้ ฟูผปู้ ระสบ ความเสียหายจากอุทกภัย และ วาตภัยเมื่อปีที่แล้ว รวมถึงการ จัดสรรงบให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น “ค่ าใช้ จ่ า ยตามร่ า งงบ ประมาณดังกล่าว รัฐบาลหวังทีจ่ ะ ฟื้นฟูแก้ปัญหาอุทกภัยและวาตภัย รวมถึงดำ�เนินนโยบายการคลังที่ สร้ า งความมุ่ ง มั่ น ในการลด การขาดดุ ล งบประมาณให้ เ ข้ า สู่ ภาวะสมดุ ล ภายใน 5 ปี ” นายกรัฐมนตรี กล่าว
เชือ่ รวมจะขยายตัว 6 - 8% ในขณะ ที่คาดว่าสินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอีจะยัง ขยายตัวได้ที่ 8% ซึ่งเป็นไปตาม ทิศทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะมีการ ขยายตัวได้ดี และจะเป็นประโยชน์ ต่อธุรกิจเอสเอ็มอี ส่วนกรณีที่แนวโน้มอัตรา ดอกเบี้ยอยู่ในช่วงขาขึ้นนั้น เชื่อว่า จะไม่ เ ป็ น ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ อ ต้ น ทุ น ทางการเงิ น ของผู้ ป ระกอบการ แม้ยอมรับว่าทิศทางดอกเบี้ยน่าจะมี การปรับขึ้นบ้าง แต่คงไม่มากนัก ซึ่งทางธนาคารจะมีโครงการพิเศษ ต่างๆ ให้แก่ผปู้ ระกอบการเอสเอ็มอี เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้า อย่างเต็มที่ ขณะที่ปัจจัยการเมือง และการเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในกลาง ปีนี้จะเป็นปัจจัยบวกในระยะสั้นใน การกระตุ้ น การบริ โ ภคให้ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่งด้านธุรกิจจะดำ�เนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง อนึง่ ในช่วงเดือนม.ค.ทีผ่ า่ น มา นายชาติศริ ิ ได้ให้สมั ภาษณ์ผสู้ อื่ ข่าวถึงเป้าหมายการขยายตัวของ สินเชื่อรวมอยู่ที่ 5 - 7% www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
บอร์ด ตลท.เห็นชอบเพิ่มทางเลือกให้ บจ. เพิ่มทุนแบบ General Mandate นายสุทธิชยั จิตรวาณิช รองผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการ ตลท.เปิด เผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการตลาดหลัก ทรัพย์ฯ วันนี้เห็นชอบการปรับปรุงเกณฑ์การ เพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียน ให้สามารถ เลือกวิธีดำ�เนินการเพิ่มทุนแบบมอบอำ�นาจ เป็นการทั่วไป (General Mandate) ทั้งนี้ จะเป็นการขอมติจำ�นวนหุ้น เพิ่มทุนและประเภทการจัดสรรจากที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีหรือที่ประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้นไว้ล่วงหน้า และมอบอำ�นาจให้คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาออกและจัดสรรหุ้น เพิ่ ม ทุ นในแต่ ล ะช่ ว งตามความเหมาะสม โดยไม่ตอ้ งขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็น รายครั้ ง ขณะที่ ร ายละเอี ย ดอื่ น เช่ น วัตถุประสงค์การเพิ่มทุน และราคาเสนอขาย จะระบุ เ มื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ ใ ห้
จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนในแต่ละคราว ก า ร เ พิ่ ม ทุ น แ บ บ G e n e r a l Mandate จะลดขั้นตอนและระยะเวลาการ ดำ�เนินการของบริษัทจดทะเบียนลง 4 - 10 สัปดาห์ และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัด ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติเพิ่มทุนในกรณีที่ บริ ษั ท จดทะเบี ย นมี ก ารเพิ่ ม ทุ น หลายครั้ ง และกรณีทขี่ ออนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนแบบ General Mandate ต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี (Annual General Meeting of Shareholders: AGM) จะยิ่งเพิ่มความคล่อง ตัวและลดค่าใช้จ่ายได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม หากบริษทั จดทะเบียน ไม่ ป ระสงค์ จ ะเพิ่ ม ทุ น แบบ General Mandate ก็ยังสามารถดำ�เนินการตามขั้น ตอนและวิธีปฏิบัติในปัจจุบันได้ โดยต้องเปิด เผยข้อมูลการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนให้ครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาประกอบการตัดสินใจ การปรั บ ปรุ ง เกณฑ์ ก ารเพิ่ ม ทุ นให้ รองรับการเพิ่มทุนแบบ General Mandate
News Station
หน้า 8
ยังคงหลักการปกป้องผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ โดยมีการกำ�หนดกรอบเงื่อนไขการเพิ่มทุน ได้แก่ จำ�นวนหุ้น ราคาเสนอขาย ระยะเวลา และประเภทหลักทรัพย์ ซึง่ เงือ่ นไขดังกล่าวได้ ผ่านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริษัทจดทะเบียน สมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย และสมาคมบริษทั หลั ก ทรั พ ย์ นั บ เป็ น การยกระดั บ ของการ พั ฒ นาหลั ก เกณฑ์ ใ ห้ เ ที ย บเคี ย งได้ กั บ ตลาดหลักทรัพย์ภูมิภาค เพื่อสนับสนุนให้ บริษทั จดทะเบียนไทยระดมทุนเพิม่ ได้คล่องตัว เพิม่ ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจของ บริษัทจดทะเบียน ตลท.จะนำ�เสนอร่างหลักเกณฑ์การ ปรับปรุงการเพิม่ ทุนแบบ General Mandate เพือ่ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ก่อนการประกาศใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าว
AGE ย้ำ�เป้าราย 54 โต 50% คาด Q2-Q3/54 สรุปดีลร่วมทุนพันธมิตรอินโดฯ นายพนม ควรสถาพร กรรมการ เงินปันผลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่ทั้งนี้ ผู้จัดการ บริษัท เอเชีย กรีน เอนเนอจี (AGE) ต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ เปิดเผยว่า บริษัทฯ คาดหมายรายได้ในปี 54 บริษัทฯ ที่จะมีการประชุมประมาณเดือนมี.ค. มีโอกาสขยายตัวระดับ 50% เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจาก นี้ก่อน โดยนโยบายคือจ่ายไม่น้อยกว่า 40% มีคำ�สั่งซื้อถ่านหินจากประเทศจีนเข้ามาอย่าง ของกำ�ไรสุทธิ ต่อเนื่อง โดยตั้งแต่ Q1/54 เป็นต้นไปบริษัทฯ นอกจากนี้ ประมาณ Q2/54 หรือ จะเริม่ ทยอยรับรูร้ ายได้จากออร์เดอร์ในประเทศ Q3/54 คงได้ขอ้ สรุปเกีย่ วกับแผนเข้าไปถือหุน้ ดั ง กล่ า วเข้ า มา นอกจากนี้ ค วามต้ อ งการ เหมืองถ่านหิน ในรูปแบบของการร่วมทุน ในประเทศยังคงเติบโตในทิศทางที่ดีอีกด้วย หรือ Joint Venture ในประเทศอินโดนีเซีย ส่วนผลประกอบการในปี 53 ที่ออก เนื่องจากปัจจุบันกำ�ลังอยู่ระหว่างเจรจากับ มาดีเกินคาดไว้ คงส่งผลให้แนวโน้มการจ่าย พันธมิตรในประเทศดังกล่าว ส่วนสาเหตุที่
บริษทั ฯ จะเข้าไปร่วมทุนกับพันธมิตรในประเทศ อินโดนีเซีย เพื่อต้องการเตรียมความพร้อม รองรับออร์เดอร์ใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้บริษัทฯ จะใช้เงินลงทุนในการ ร่วมทุนดังกล่าวประมาณ 700 - 1,500 ล้าน บาท ส่วนปริมาณสำ�รองถ่านหินที่ต้องการคือ อยู่ที่ระดับ 10 ล้านตัน ปัจจุบันอยู่ในระหว่าง ขั้นตอนการศึกษาหาเหมืองที่เหมาะสม
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
ตามรอย IPO
ประสบการณ์ จาก
รายย่อย
Gold Trend คนดังกับการลงทุน
Dynamic Station ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน
อยากเจอหุน้ ดีตอ้ งควานด้วยตัวเอง
10 ปีกบั บาดแผลและรอยยิม้ บนวิถลี งทุนกับชายผูป้ ระกาศหันหลังให้บรรดา บทวิเคราะห์ฉาบฉวย โดยยึดคติอยากได้ของดีตอ้ งศึกษาเองจนถ่องแท้พนื้ ฐานก่อน ที่จะปล่อยให้ใครมาจูง เริ่มเล่นหุ้นได้อย่างไร เริ่มลงทุนหุ้นได้สักราว 10 ปีก่อน ตอนนั้นเพียงคิดหาช่องทางให้ผลตอบแทนเงินมันมากกว่าแค่ ดอกเบี้ยจากธนาคาร แรกๆ ยังไม่ได้ศึกษามากมายก็คิดแค่ว่าซื้อหุ้นเป็นการออมชนิดหนึ่ง ใช้เวลาทำ�ความเข้าใจกับการลงทุนนานไหม เพราะเราก็ผ่านการทำ�ธุรกิจมาก่อน ตอนแรกคิดว่าเล่นง่ายๆ แค่ซื้อแล้วก็รอมันขึ้นดูจังหวะซื้อขาย ตามแนวรับแนวต้านต่างๆ แต่พอเอาเข้าจริง มันก็ใช้เวลา... น่าจะเกิน 5 ปี อย่างที่ ใครๆ เขาว่า กันจึงเข้าใจมันได้ ส่วนกับคนรุ่นใหม่ๆ ผมคิดว่าคงใช้เวลาน้อยกว่านั้น คิดว่าตนเองเป็นนักลงทุนสไตล์ไหน เมื่อก่อนก็เล่นแบบเก็งกำ�ไรแต่พอผ่านมาช่วงหนึ่งก็เข้าใจมากขึ้นจึงกลับมาลงทุนโดยเน้นมองที่พื้นฐาน
สุรศักดิ์ ชื่อ บริษัทหลักทรัพย์ที่ใช้บริการ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ประมาณ 10 ปี ปีที่เริ่มลงทุน SMT หุ้นที่ชื่นชอบ
วิธีตัดสินใจเลือกหุ้น ตอนเข้ามาใหม่ๆ ข้อมูลที่ได้รับส่วนใหญ่ก็มาจากโบรกเกอร์โดยตรง ทั้งฟังนักวิเคราะห์ที่ออกบทวิเคราะห์ต่างๆ รวมถึงตอนนั้นผมก็ไปซื้อโปรแกรม วิเคราะห์หุ้นมาใช้ด้วย สภาพแวดล้อมและข้อมูลรอบด้านยุคมันสอนให้ทุกคนเป็นนักเก็งกำ�ไร ไม่ค่อยมีหนังสือให้ความรู้เผยแพร่มากเท่าทุกวันนี้ คนสมัยก่อนมักจะได้รบั ข้อมูลตัดสินใจซือ้ ขายจากโบรกเกอร์หรือมาร์เก็ตติง้ ไม่ได้ศกึ ษาเอง ซึง่ การเลือกหุน้ ทีถ่ กู ต้องทีจ่ ริงต้องเข้าใจหุน้ พืน้ ฐานตัวนัน้ ๆ ด้วยตัวเอง พอเราศึกษาเองเราก็ย่อมรู้ว่าเรากำ�ลังทำ�อะไรอยู่ หุ้นที่กำ�ลังชอบอยู่ SMT เราดูแล้วว่าธุรกิจมันดี แต่ก็เพิ่งขายออกไปตอนมีเรื่องเพิ่มทุนเพื่อขยายกิจการทำ�พลังงาน แสงอาทิตย์ สร้างผลตอบแทนได้เยอะไหม ซื้อมาตอน 8 บาท พอมันขึ้นมา 3 - 4 เท่าก็ขายออกไป แต่ถ้าอนาคตมันกลับอ่อนตัวลงมา จนน่าสนใจก็อาจจะเข้าไปเก็บอีกได้ ประสบการณ์เจ็บๆ สมัยก่อนเคยซือ้ ครัง้ ละมากๆ ตามแรงเชียร์ เช่นตอนเข้าหุน้ SHIN จำ�ได้วา่ ซือ้ ได้ทรี่ าคา 20 บาท ไม่นานมันก็ขึ้นมาเป็น 22 บาท ซึ่งเราลงทุนตั้ง 2 ล้านบาท มันก็กำ�ไรเยอะ แต่ตอนที่มันขึ้นสูง ถึงจุดนั้นผมไม่ได้ขาย ผมโทรสั่งขายตอนมันอ่อนตัวลงมาหน่อยซึ่งก็ยังกำ�ไรมากอยู่ เผอิญ ประมาณบ่าย 3 โมงวันเดียวกัน TK กำ�ลังวิ่งบวกขึ้นมาแรงพอดี ราคาอยู่แถว 9 บาท และมีคน บอกแนะนำ�ให้ซื้อก็ตัดสินใจทำ�ตามทันที จึงใช้เงินในส่วนที่ได้จากหุ้น SHIN ทั้งจำ�นวนโยกมาตัว ใหม่ วันนัน้ พอดีเป็นวันทีก่ ราฟหุน้ TK เป็นจุดสูงสุดนับแต่เข้าซือ้ ขายในกระดานด้วย หลังจากนัน้ มันค่อยๆ ปรับลงมาจนกระทัง่ ขาดทุนมากๆ ก็ตกใจ พอตัดสินขายก็ขายไม่ได้อกี พอสัง่ ขายปุบ๊ ไม่ทนั ไรมันก็ลงอีก สัง่ ขายอีกก็ทะลุลงอีก เหมือนกับไม่มคี นซือ้ ไม่มคี นรับ กว่าจะทยอยขายหมด แป๊บเดียวเจ๊งไป 4 แสนบาท ความรูส้ กึ ตอนนัน้ มันบอกตัวเองว่าชักไม่คอ่ ยดีแล้ว แต่ผมก็ยงั ลงทุน แบบนั้นอยู่อีกนานนะกว่าจะเปลี่ยนแปลงแนวทางการลงทุนได้ ราคาเป้าหมายจากโบรกเกอร์มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงทุนมากน้อยแค่ไหน ถึงวันนี้ผมไม่ใช้แล้วไง............ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
ไม่อยาก“นอนกรน”มาทางนี้
Lifestyle Station by Jackal_XIII
(ตอนแรก) การกรน เกิดจากกล้ามเนือ้ คอคลายตัวขณะหลับ จนทำ�ให้ชอ่ งคอแคบลง ซึง่ ส่งผลให้ตอ้ งหายใจเข้าออกแรง ขึน้ เรือ่ ยๆ เมือ่ ทางเดินหายใจแคบลงจนถึงจุดหนึง่ ความแรงของลมหายใจทีย่ งิ่ เพิม่ มากขึน้ จนเกิดการสัน่ สะเทือน ของเนื้อเยื่อ ภายในระบบทางเดินหายใจ ทำ�ให้มีเสียงกรนตามมา นอกจากนี้ การกรนยังเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น เกิดการปิดกั้นของระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเกิดจากการ หย่อนตัวของกล้ามเนือ้ ภายในระบบทางเดินหายใจ เช่น ลิน้ ลิน้ ไก่ เพดาน อ่อน คอ หรืออาจเกิดจากสารหล่อลื่น ในระบบทางเดินหายใจลดลง ทำ�ให้เกิดอาการแห้ง และบวม ทางเดินหายใจจึงแคบลง เมือ่ หายใจจึงเกิดเป็นเสียงกรน ซึง่ อาการนอนกรนนี้ อาจเป็นบ่อเกิดของโรคอืน่ ๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด อัมพาต ตลอดจนทำ�ให้มีปัญหากับคนใกล้ชิด วิธีเลี่ยงการนอนกรน 1.ควบคุมน้ำ�หนัก ความอ้วนเป็นสาเหตุหลักอย่างหนึ่งของอาการนอนกรน เพราะไขมันที่สะสม บริเวณช่องทางเดินหายใจบริเวณคอ ถูกเบียดให้เล็กลง รวมทั้งไขมันที่หน้าอกและท้อง ก็ยังเป็นภาระให้ ร่างกายต้องหายใจหนักขึ้น และใช้พลังงานในการหายใจมากขึ้น (อ่านต่อฉบับหน้า)
Photo Release
กรุงศรี ออโต้ มอบคอมพิวเตอร์แก่สภากาชาดไทย สนับสนุนนโยบายส่งเสริมการศึกษา
กรุงศรี ออโต้ ผู้นำ�สินเชื่อยานยนต์ครบวงจร โดย นายไพโรจน์ ชื่นครุฑ (ที่ 3 จากขวา) กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท อยุธยา แคปปิตอล ออโต้ ลีส จำ�กัด (มหาชน) มอบเครื่องคอมพิวเตอร์แก่สภากาชาดไทย เพื่อสนับสนุนนโยบายการส่งเสริมด้านการศึกษาของสภากาชาดไทย โดยมี พลโท นายแพทย์อำ�นาจ บาลี (ที่ 4 จากขวา) ผู้อำ �นวยการ สำ�นักงานบรรเทาทุกข์แ ละประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย รับมอบ ทั้งนี้สภากาชาดไทยจะนำ�ไปมอบให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลนต่อไป www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
มุมการตลาด
Lifestyle Station
ฮาร์ทบีท เปิดตัว “ฮาร์ทบีท เลิฟบาร์” ฟรุตกัมมี่ เจ้าแรกในเมืองไทย
บริษัท เยเนอรัลแคนดี้ จำ�กัด ผู้ผลิตและจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ “ฮาร์ทบีท” สื่อรักรูปหัวใจ จัดกิจกรรมเพื่อแนะนำ�ผลิตภัณฑ์น้องใหม่ “ฮาร์ทบีท เลิฟบาร์” แชริ่ง เลิฟ ขนมฟรุตกัมมี่รสผลไม้สอดไส้ครีม พร้อมข้อความบอกรักหวานๆ 7 แบบ 7 สไตล์ที่พิมพ์บนซอง ซึ่งถือ เป็ น การขยายไลน์ สิ น ค้ า ล่ า สุ ด ของบริ ษั ท ฯ และเป็ น แบรนด์ แ รกที่ สร้างสรรค์ “ฟรุตกัมมี่” สู่ตลาดเมืองไทย โดย “ฮาร์ทบีท เลิฟบาร์” มี ให้เลือก 2 ขนาด ประกอบด้วย 20 กรัม และ 25 กรัม จำ�หน่ายใน ราคา 5 บาท และ 7 บาท ตามลำ�ดับ ร่วมสัมผัสประสบการณ์ใหม่ กับ “ฮาร์ทบีท เลิฟบาร์” แชริ่ง เลิฟ ฟรุตกัมมี่ ครั้งแรกในเมืองไทย ได้แล้ววันนี้ ที่เซเว่น-อีเลฟเว่น ในห้างสรรพสินค้า และร้านค้าชั้นนำ�ทั่ว ประเทศ
มุมประกัน โตเกียวมารีนศรีเมืองประกันภัย รวมพลังจัดงาน Kekki Taikai 2011 มร.โยอิจิ ทามากาคิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โตเกียวมารีนศรีเมือง ประกันภัย จำ�กัด นำ�ทัพพนักงานตัวแทน และนายหน้าทั่วประเทศจัด งาน “Kekki Taiki 2011” เพื่อเป็นขวัญกำ�ลังใจและขอบคุณสำ�หรับ ความทุ่มเทในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ รวมทั้งกระตุ้นยอดขายปี 54 โดยภายในงานยังมีแนะนำ�ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ รวมถึงการมอบ รางวัลแก่ ตัวแทน นายหน้าที่สามารถทำ�ยอดขายได้ตามเป้า ที่โรงแรม สยาม ซิตี้ โฮเต็ล
ธ.ซีไอเอ็มบีไทย ตั้ง สุธีร์ โล้วโสภณกุล เป็นผู้บริหารสูงสุด สายงานบริหารเงิน ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย แต่งตั้ง นายสุธีร์ โล้วโสภณกุล ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านบริหารเงินและค้าผลิตภัณฑ์การเงิน ขึ้นเป็น ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบริหารเงิน ซึ่งเป็นตำ�แหน่งผู้บริหาร สูงสุดสายบริหารเงิน ดูแลรับผิดชอบ ด้านการตลาดผลิตภัณฑ์การเงิน ด้านบริหารเงินและค้าผลิตภัณฑ์การเงิน ทีมตลาดตราสารหนี้ ทีมค้า ตราสารหนี้เอกชน ทีมธุรกิจสถาบัน ทีมวิเคราะห์ความเสี่ยงธุรกิจบริหาร เงิน อนึ่ง นายสุธีร์ โล้วโสภณกุล ศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มต้นทำ�งานกับ ธนาคารนครธน เมื่อปี 2530 กับงานบริการลูกค้าในการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ และสะสมประสบการณ์บริหารการเงินด้านต่างๆ เช่น การค้าตราสาร หนี้ การบริหารและจัดการเรื่องการลงทุนและบริหารสภาพคล่อง ก่อนจะร่วมงานที่ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย (เดิมคือ ธนาคารไทยธนาคาร) เมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 43 โดยยังคงทำ�งานในสายงานบริหารเงินมาจนปัจจุบันนี้ www.istationnews.com
Professional Station
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
กว่ า จะมาเป ็ น เสื อ
คิดแบบ
ตอนที่ 14
“ทอเร่ จอห์นเซ่น” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร DTAC
จากการผ่านงานด้านสือ่ สารมาในหลายประเทศ “ทอเร่” ได้เล่าถึง ความแตกต่างในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมให้ฟังว่า... “อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในแต่ละประเทศไม่ได้พัฒนาใน แนวทางเดียวกัน ยกตัวอย่างประเทศในแถบเอเชียที่ผมเคยผ่านมา ไม่ว่าจะเป็น ปากีสถาน มาเลเซีย หรือในประเทศไทย ผมอยากจะบอก ว่าอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศเหล่านี้มีหลายสิ่งที่คล้ายกัน แต่กม็ อี กี หลายอย่างทีแ่ ตกต่างกัน เช่น Penetration Rate มาเลเซียและ ไทยมี Penetration สู ง กว่ า ปากี ส ถาน นั่ น หมายถึ ง อุ ต สาหกรรม โทรคมนาคมมีการพัฒนามากกว่าปากีสถาน ส่วนในเรื่องกฎระเบียบที่ ดูแลการแข่งขัน ปากีสถานและมาเลเซีย มีกฎหมายโทรคมนาคม และกฎระเบียบทีก่ า้ วหน้ากว่าประเทศไทย ซึง่ ประเทศไทยยังต้อง พัฒนาเพือ่ ให้กฎระเบียบต่างๆ ก้าวหน้าทัดเทียมกับมาเลเซียและ ปากีสถาน หรื อ จะเป็ น การจั ด เก็ บ ค่ า IC (Interconnection Charge) ในมาเลเซียและปากีสถานเป็นเรื่องพื้นฐาน เป็นสิ่งที่ เข้าใจว่าโอเปอเรเตอร์ตอ้ งเซ็นสัญญากันทุกราย และทุกโอเปอเร เตอร์ได้รับ License ใน Term และ Condition ที่เหมือนกัน แตกต่างจากประเทศไทย ที่โอเปอเรเตอร์ยังมีความแตกต่างใน เรื่อง Revenue Sharing” เหล่านี้ก็คือตัวอย่างของความเหมือน และความต่างในอุตสาหกรรมนี้ที่ “ทอร่” พูดให้ฟัง พูดถึงเรื่องของการเปรียบเทียบ กลับไปในเรื่องสไตล์การ บริหารงานอีกครั้งหลายต่อหลายครั้งที่มีคนคอยเปรียบเทียบการ บริหารงานของ “ซิคเว่” และ “ทอเร่” เหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร “ทอเร่” ยิ้มแล้วตอบว่า.. “ผมรู้จักซิคเว่มามากกว่า 10 ปี เขาคือ My Boss ผมคิ ด ว่ า ปรั ช ญาในการบริ ห ารของเราใกล้ เ คี ย งกั น นั่ น คื อ พนักงานคือทรัพยากรที่สำ�คัญที่สุดในองค์กร ทรัพยากรอื่นๆ DTAC ก็ต้องการ เช่น Customer Care System, Technical System, IT System แต่พนักงานคือผู้ที่ทำ�ให้เกิดความแตกต่าง และวัฒนธรรมองค์กรของดีแทคที่เรียกว่า Dtac Way...”
...อ่านต่อฉบับหน้า...
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
แ น ว โ น้ ม ดั ช นี ฯ วั น นี้ ยังเคลื่อนไหวในแดนบวกต่อเนื่องจาก วานนี้ โดยมองว่าดัชนีฯ เป็นขาขึ้น และ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ก ลั บ เข้ า ซื้ อ สุ ท ธิ กลยุทธ์ลงทุนแนะนำ�ลงทุนในหุ้นที่มีแนว โน้มผลประกอบการดี รวมถึงหุ้นที่จ่าย เงินปันผลทีด่ เี ช่นกัน โดยต้องติดตามการ ประกาศ ผลประก อบการบ ริ ษั ท จด ทะเบียน ทั้งนี้ ประเมินแนวรับ 970 จุด และแนวต้าน 985-995 จุด
หน้า 13
คาดตลาดหุ้นไทยวันนี้ ดัชนีฯ ประเมิ น ตลาดหุ้ น วั น นี้ ดั ช นี ฯ มีโอกาสปรับขึ้นต่อได้ หลังวานนี้ดัชนีฯ ยังเป็นบวกได้ตอ่ เนือ่ ง แต่ระดับการบวก รีบาวด์จากแรงซื้อกลับต่างชาติ ทั้งนี้ คงไม่มาก เนือ่ งจากในช่วงวันหยุดติดต่อ นั ก ลงทุ น ยั ง ต้ อ งระวั ง แรงขา ยทำ � กำ �ไร กัน 3 วันจะมีการชุมนุมทางการเมือง จากคว ามกั ง วลในภ าวะเงิ น เฟ้ อ ของ อาจส่งผลให้นักลงทุนระมัดระวังมากขึ้น ประเทศในภูมิภาคเอเชียยังมีอยู่ และจะ ทำ�ให้ดัชนีฯ น่าจะเคลื่อนไหวในกรอบ เป็ น ปั จ จั ย กดดั น ตลาดฯ โดยดั ช นี ฯ 970 - 990 จุด โดยวานนี้หุ้นไทยบวก มีแนวต้านที่ 986 จุด และ 990 จุด ส่วน ได้ นักลงทุนเลือกเล่นเป็นรายกลุ่มโดย แนวรับอยู่ที่ 975 จุด และ 970 จุด เก็งกำ�ไรผลประกอบการกลุ่มพลังงาน และยังมีเงินลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ เข้ามาซื้อกลุ่มธนาคารประคองดัชนีฯ
www.istationnews.com
Data Station
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภ�พันธ์ 2554
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 16 กุมภ�พันธ์ 2554 TRADING BY INVESTOR TYPE
Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]
Type
Institute
Proprietary
Foreign Local
Buy
Sell
Net
3,063.57 9.21% 4,760.87 14.31% 9,907.09 29.77% 15,543.02 46.71%
2,411.70 7.25% 4,120.49 12.38% 6,511.96 19.57% 20,230.40 60.80%
651.87 640.38 3,395.13 -4,687.38
Last Update
16/02/11
Index
Last
SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated
982.07 684.23 1,494.21 264.39
16/02/11
Chg 13.58 11.88 24.52 -1.06 (Mil. ฿) (Mil. ฿)
%Chg 1.4 1.77 1.67 -0.4 33,274.55 90.63
17:01:45
AGRO Decline 24% No C hange 27%
A dv ance 49%
TECH
0.44
SERVICE
2 1.8 1.6 1.4 1.2 1 0.8 0.6 0.4 0.2 0
CONSUMP
0.02 0.16
FINCIAL 1.75
1.54 0.75 A dv ance 33%
Decline 35% No C hange 32%
RESOURC 1.91
INDUS 1.31
PROPCON
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภ�พันธ์ 2554
หน้� 15
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 16 กุมภ�พันธ์ 2554
SCB
( Day )
: SCB 8,000,000 7,000,000
Price & Fundamental Symbol SCB
Last 101.50 Chg 3.50 %Chg 3.57 Open 98.50 High 102.50 Low 98.25 Prev 98.00 Avg 100.67 AccVol 30,824,600 AccVal(K฿) 3,102,965 %Fluct 4.22 P/E 15.04 P/BV 2.30 DPS(Baht) 1.00 Yield(%) 2.55 EPS(Baht) 6.75 MktCap(Mil.) 344,362 Broker Target Update DBSV 121.5 14/02/11 หลักทรั พ ย์ ท ม ่ ี เ ี ปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารเปลี ย ่ นแปลง CGS 125 02/02/11 ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 31/01/11 ค่าการ KS ม่ ขึน้ มากที140
ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
6,000,000
Vol.
5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 102.50
102.00
101.50
101.00
100.50
Price
100.00
99.75
99.50
99.25
99.00
98.75
98.50
98.25
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภ�พันธ์ 2554
หน้� 16
Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 16 กุมภ�พันธ์ 2554
PTTA08CA
Volume Analysis
( Day )
: PTTA08CA
Price & Fundamental Symbol PTTA08CA
Last 2.10 Chg 0.27 %Chg 14.75 Open 1.88 High 2.18 Low 1.88 Prev 1.83 Avg 2.05 AccVol 16,753,200 AccVal(K฿) 34,282 %Fluct 14.63 P/E N/A P/BV N/A DPS(Baht) N/A Yield(%) N/A EPS(Baht) N/A MktCap(Mil.) 126 Broker Target Update No Comment
2,500,000 2,000,000
Vol.
1,500,000 1,000,000 500,000 2.18
2.16
2.14
2.12
2.10
2.08
2.06
2.04
2.02
Price
2.00
1.99
1.98
1.97
1.96
1.95
1.94
1.93
1.92
1.90
1.89
1.88
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภ�พันธ์ 2554
Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 16 กุมภ�พันธ์ 2554
STPI
( Day )
Volume Analysis
: STPI
2,000,000 1,800,000
Price & Fundamental Symbol STPI
Last 26.25 Chg 1.00 %Chg 3.96 Open 25.50 High 26.50 Low 25.50 Prev 25.25 Avg 25.95 AccVol 3,549,900 AccVal(K฿) 92,137 %Fluct 3.85 P/E 4.45 P/BV 2.40 DPS(Baht) 2.35 Yield(%) 8.41 EPS(Baht) 5.90 MktCap(Mil.) 9,648 Broker Target Update No Comment
หลักทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็นต์การเปลีย่ นแปลง ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
1,600,000 1,400,000
Vol.
1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 26.50
Price
26.25
26.00
25.75
25.50
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 556 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
คำ�คมการลงทุน
ผูจ้ ดั ทำ�
“Go for a business that any idiot can run - because sooner or later, any idiot probably is going to run it.” “เลือกธุรกิจที่แม้แต่คนโง่ยังสามารถ ดำ�เนินงานได้ เพราะไม่ช้าก็เร็วไม่แน่ว่าจะมีไอ้โง่ ที่ไหนมาดำ�เนินธุรกิจให้กับบริษัทนั้น”
หน้า 18
Peter Lynch
บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด
888 อาคารไอทาวเวอร์ ชัน้ 10 ถนนวิภาวดีรงั สิต เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน อาภรณ์ สุภาพ ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน
สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2554-9392 Fax : 0-2554-9385 Mobile: 084-939-8881
weeratree@efinancethai.com
www.istationnews.com