Investor_station 23 พ.ค.2554

Page 1

Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554 www.istationnews.com

สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

ews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.co www.

www.istationnews.com

www.istationnews.com ews.com

www.

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.com

9

Dynamic Station

10

Lifestyle Station

7

www. “ทีวีไดเร็ค” ยื่นไฟลิ่ง จ่อเทรด mai

หุน้ MINT เสีย่ งน้อย ฐานแน่น

ธุรกิจรุง่ ทุกสาย แนะซือ้ เป้าหมาย 15.75 โบรกเกอร์ชี้ปีนี้ MINT จะโตเด่นทุกสายธุรกิจโรงแรม-คอนโด-อาหาร เชื่อเทียบไตรมาสต่อไตรมาส Q2 ที่จะถึงงบจะฟื้นตัวอย่างแรงหลังปีก่อน โดนผลกระทบมหกรรมเผากลางกรุง ประเมินราคาหุ้นวันนี้ยังมีอนาคต แนะนำ�ซื้อ ให้มูลค่าพื้นฐาน 15.75 บาท ต่อหน้า 3 กวา่ จะมาเป็นเสือ

8

เป่าสตีลคาดตลาดแร่เหล็ก กำ�ลังเป็นฟองสบู่ พาณิชย์คาดส่งออก54 โต12-15% AGE คว้าอันดับ 1 บริษัทขนาดเล็ก

www.istationnews.co

www.istationnews.com

www.istationnews.com

5

News Station

ทุเรียน 13

มองหุ้นจากเซียน ไร้ปัจจัยใหม่

14

Data Station

PTTAR คาดรายได้-กำ�ไรปีนี้โต 30% ต่อหน้า 3

KIAT แย้ม Q2/54 มีลุ้นโชว์ฟอร์ม ต่อหน้า 4

“EARTH จะกลับมาผงาดอีกครั้ง”

“ขจรพงศ์ คำ�ดี”

ตอนที่ 2

ต‡อหนˆา 12

SET News

Hot to Day

SIS คาด รายได้-กำ�ไร Q2/54 สูงกว่าQ1/54

เข้าเก็งกำ�ไร

ต่อหน้า 8

UAC

ต่อหน้า 6

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554 หุ้น MINT เสี่ยงน้อย (ต่อจากหน้า 1)

บ ล . เ อ เ ซี ย พ ลั ส ประเมิน แผนการดำ�เนินงานปี 2554 ของ MINT จะเติบโตโดด เด่ น จากทุ ก ธุ ร กิ จ หลั ก ทั้ ง ธุ ร กิ จ โรงแรม ซึ่ง ฟื้นตัว ตามการท่อง เที่ยวและการเปิดโรงแรมใหม่รวม 8 แห่ ง (เป็ นโรงแรมลงทุ น เอง 2 แห่ง และรับบริหาร 6 แห่ง) รวม 678 ห้อง คาดผลักดันให้ อั ต ราการเข้ า พั ก เฉลี่ ย เพิ่ ม เป็ น 60 - 63% จาก 56% ในปี 2553 และปรั บ เพิ่ ม ค่ า ห้ อ งพั ก ได้ 2 - 3%YoY ด้านธุรกิจพัฒนาทีอ่ ยู่ อาศัย ถือเป็นอีกแรงขับเคลื่อน สำ�คัญในปีนี้ ผ่านการขายคอนโด St. Regis ซึ่งมีอยู่ทั้งหมดจำ�นวน 53 ยูนิต โดยความคืบหน้าในการ ขายปั จ จุ บั น มี ลู ก ค้ า เซ็ น สั ญ ญา พร้ อ มโอนคิ ด เป็ น สั ด ส่ ว น 32% ของพืน้ ทีข่ ายรวม 2.5 หมืน่ ตาราง เมตร คิดเป็นมูลค่ารวม 1.5 พัน ล้านบาท (โดยรับรู้รายได้ไปแล้ว 22% รวม 1 พันล้านบาท ที่เหลือ อีก 10% มูลค่า 500 ล้านบาท คาดจะรั บ รู้ ร ายได้ 2Q54) นอกจากนี้มีลูกค้าวางมัดจำ�เพิ่ม เติ ม และรอการเซ็ น สั ญ ญาแล้ ว สำ�หรับพื้นที่อีก 10% มูลค่า 500 ล้านบาท คาดจะสามารถโอนได้ ใน 2H54 นอกจากนี้ยังมีแผนการ ขายวิลล่าที่สมุยเพิ่มให้ได้อย่าง น้ อ ย 1 หลั ง จากสต็ อ กที่ เ หลื อ 7 หลัง ส่วนธุรกิจอาหาร ยังมีแนว โ น้ ม เ ติ บโ ต ต า ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

PTTAR คาดรายได้ (ต่อจากหน้า 1)

นายบวร วงศ์ สิ น อุ ด ม ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น (PTTAR) เปิดเผยว่า รายได้ของบริษัทฯ ในปี นี้น่าจะเติบโตจากปีก่อนประมาณ 30% ตามทิศทางราคาน้ำ�มัน จาก ต้นปีถึงปัจจุบันได้ปรับตัวเพิ่มขึ้น เกือบ 30% ขณะที่ธุรกิจปิโตรเคมี สายอะโรเมติกส์ ประเมินว่าทัง้ ราคา ขายพาราไซลีนในช่วง H2/54 ราคา จะไม่ต่ำ�กว่า 1,500 ดอลลาร์ต่อตัน

News Station

โดยประเมิ น การเติ บโตของร้ า น อาหารเดิ ม 4% และมี ก ารขยาย สาขาร้านอาหารใหม่ 8 - 10% หรือ 90 - 100 สาขา สำ�หรับแผนการ ลงทุนเตรียมงบไว้ 3 พันล้านบาทใน ปี 2554 ซึ่งเป็นงบลงทุนต่อเนื่อง ของโรงแรมใหม่ 2 แห่งข้างต้น รวม ถึงแผนการรีแบรนด์โรงแรมแมริออท กรุงเทพ เป็น อนันตรา ริเวอร์ไซด์ ส่วนความคืบหน้าในการซื้อกิจการ

Oaks ในออสเตรเลีย ปัจจุบันอยู่ ระหว่างการทำ� Tender Offer เพื่อ ซื้อหุ้นให้ครบ 100% (ล่าสุดเดือน พ.ค. 2554 MINT ถือหุ้นรวมแล้ว 54.3%) คาดจะแล้วเสร็จได้ภายในปี 2554 โ ด ย ฝ่ า ย วิ จั ย ยั ง ค ง ประมาณการเดิม โดยแม้แนวโน้ม กำ �ไร 2Q54 จะอ่ อ นตั ว แรงจาก 1Q54 เพราะธุรกิจโรงแรมเป็นช่วง

Low Season อีกทัง้ การรับรูร้ ายได้ จากการโอนคอนโด St. Regis คาด ลดลงเหลือ 500 ล้านบาท (เทียบ กับงวด 1Q54 รับรูเ้ กือบ 900 ล้าน บาท) แต่อย่างไรก็ตามหากเทียบ กับงวด 2Q53 เชือ่ ว่าจะเห็นการ ฟื้นตัวอย่างแรง เนื่องจากงวดปีที่ ผ่านมีฐานกำ�ไรต่ำ�เพียง 80 ล้าน บาท จากผลกระทบของเหตุการณ์ เมืองในกรุงเทพ ขณะทีก่ ารเมืองใน ปีนี้มีสถานการณ์ดีขึ้น ทำ�ให้ธุรกิจ โรงแรมสามารถสร้างรายได้เต็มที่ ประกอบกั บงวดนี้ จะรั บรู้ ร ายได้ จากโรงแรมใหม่ ที่ มั ล ดี ฟ ส์ เ ต็ ม ไตรมาส รวมถึ ง บางส่ ว นจาก โรงแรมใหม่ St. Regis กรุงเทพ ซึ่งเริ่มเปิด เม.ย. 2554 คาดมา ช่วยผลักดันอัตราการเข้าพักงวด 2Q54 ยื น เหนื อ 50% เที ย บกั บ 41% ใน 2Q53 และค่าห้องพัก ปรับตัวดีขึ้น 10 - 15%YoY ด้าน ธุรกิจอาหารและรับจ้างผลิตสินค้า คาดยังเติบโตตามเศรษฐกิจและ ขยายสาขาใหม่ ทั้งปี 2554 คาด กำ�ไรสุทธิ 2 พันล้านบาท เติบโต สูง 65.6%YoY เมื่อเทียบกับหุ้นในกลุ่มที่ มี ฐ านธุ ร กิ จ ใกล้ เ คี ย งกั น อย่ า ง CENTEL และ ERW แล้ว MINT ถือ เป็ น หุ้ น ปั จ จั ย พื้ น ฐานดี ที่ ยั ง Laggard อยู่ ฝ่ า ยวิ จั ย จึ ง คง แนะนำ�ซื้อ กำ�หนด Fair Value อิง DCF-WACC 9.4% มูลค่าพื้น ฐานปี 2554 อยู่ที่ 15.75 บาท

จากราคาปั จ จุ บั น อยู่ ที่ 1,500 ดอลลาร์ต่อตัน เนื่องจากในช่วง Q3/54 จะไม่มีกำ�ลังผลิตใหม่ของ พาราไซลี น เข้ า มาเมื่ อ เที ย บกั บ Q2/54 ทีจ่ ะมีก�ำ ลังการผลิตใหม่เข้า มา 2 ล้านตัน ขณะทีค่ วามต้องการพารา ไซลีนใน Q3/54 จะยังคงเติบโต ซึ่ง มาจากความต้องการพาราไซลีนของ โรงงาน PTA ที่ต้องการพาราไซลีน ไปเป็นวัตถุดิบในการผลิต จากทั้ง โรงงานในจีนและเกาหลี ขณะที่

โรงงานผลิตพาราไซลีนญีป่ นุ่ ซึง่ เป็น ผู้ ส่ ง ออกยั ง ได้ รั บ ผลกระทบต่ อ เนื่องจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ด้านสถานการณ์ราคาเบน ซีน ประเมินว่าในช่วง Q3/54 มีแนว โน้มที่จะปรับตัวดีขึ้น โดยประเมิน ว่าราคาจะไม่ต�่ำ กว่า 1,200 ดอลลาร์ ต่อตัน เนือ่ งจากมีความต้องการจาก โรงงานใหม่ที่มีความต้องการใช้เบน ซีนไปเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตมากขึน้ ประกอบกับยังมีความต้องการจาก โรงงานสไตรีนโมโนเมอร์ (SM) กลับ

มาดำ�เนินการผลิตหลังจากที่ปิด ซ่อมบำ�รุง พร้อมกันนีค้ าดว่าแนวโน้ม รายได้ในช่วง Q2/54 จะมากกว่า Q1/54 เนื่องจากบริษัทฯ จะกลับ มาเดินเครือ่ งโรงงานอะโรเมติกส์ 1 เต็มกำ�ลังการผลิต จาก Q1/54 ที่ มีการปิดซ่อมบำ�รุงโรงงานดังกล่าว จำ�นวน 47 วัน ขณะที่ช่วงปลาย Q2/54 บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะปิดซ่อม บำ�รุงโรงงานอะโรเมติกส์ 2 ต่อหน้า 4 www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554 PTTAR คาดรายได้ (ต่อจากหน้า 3)

ในช่วงปลายเดือน มิ.ย. ถึง ต้นเดือน ก.ค. จำ�นวน 10 วันเพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต โดย ภายหลังการปรับปรุงดังกล่าวแล้ว เสร็จจะส่งผลให้พาราไซลีนมีกำ�ลัง การผลิตเพิม่ ขึน้ อีก 4.8 หมืน่ บาร์เรล ต่อปี หรือราว 3 - 4 พันตันต่อเดือน อย่างไรก็ดี ยอมรับว่าค่า การกลั่นรวม (GIM) ใน Q2/54 จะ อ่อนตัวลงจาก Q1/54 ที่ 10.19 ดอลลาร์ตอ่ บาร์เรล ตามราคาพารา ไซลีนที่ปรับลดลง ประกอบกับยังมี ต้นทุนคอนเดนเสทสูงขึน้ โดยใน Q2 อยูท่ ปี่ ระมาณ 900 - 1,000 ดอลลาร์ ต่อตัน ขณะเดียวกัน บริษทั ฯ คาด ว่าโครงการปรับปรุงคุณภาพน้ำ�มัน ให้เป็นไปตามมาตรฐานยูโร 4 มูลค่า ลงทุนประมาณ 200 ล้านดอลลาร์ มีโอกาสทีจ่ ะเสร็จเร็วกว่าแผนเดิมที่ วางไว้ 2 เดือน จากเดิมที่คาดว่าจะ ก่อสร้างแล้วเสร็จในวันที่ 31 ธ.ค. ปีนี้ โดยปัจจุบนั ความคืบหน้าในการ KIAT แย้ม (ต่อจากหน้า 1)

นางสาววิภา ตันติธนากรกุล กรรมการบริหารและรองกรรมการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีการเงิน บริษัท เกียรติธนาขนส่ง จำ�กัด (มหาชน) หรือ KIAT เปิดเผยว่าแนวโน้มผล ประกอบการในไตรมาส 2/2554 มี โอกาสออกมาในทิ ศ ทางที่ ดี ต่ อ เนือ่ งจากไตรมาส 1/2554 ทีม่ กี �ำ ไร สุทธิอยู่ที่ 50.32 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากงวดเดียวกันของปีกอ่ นทีท่ �ำ ได้ 36.85 ล้านบาท เพราะในไตรมาส ดังกล่าวบริษัทฯ จะทยอยรับรู้ราย ได้จากงานขนส่งก๊าซธรรมชาติ จากบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) หรือ PTT ซึง่ มีมลู ค่าสัญญาประมาณ 1,200 ล้านบาท โดยมีกำ�หนด สัญญาเป็นระยะเวลา 10 ปี และ เริ่มงานภายในเดือนมกราคม ที่ ผ่ า นมา เข้ า มาสนั บ สนุ น ด้ ว ย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังพยายามหา ลูกค้ารายใหม่ทั้งในประเทศและ

News Station

ก่อสร้างมีความคืบหน้าสูงถึง 94.4% ฟากนางสาวดวงกมล เศรษฐ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยืนยัน ธนัง รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ การ ว่าจะไม่มกี ารต่อสัญญาขายคอนเดน เงิ น และบั ญ ชี อ งค์ ก ร บมจ.ปตท. เสท เรสซิดิว ที่ขายให้กับ บมจ. อะโรเมติกส์และการกลั่น (PTTAR) ระยองเพี ย วริ ฟ ายเออร์ (RPC) เปิดเผยว่า แนวโน้มกำ�ไรในปีนี้คาด ที่สัญญาจะหมดลงในวันที่ 31 ม.ค. ว่ามีโอกาสทีจ่ ะเติบโตในทิศทางเดียว 55 ซึ่งบริษัทฯ มีสัญญาผูกพันใน การขายคอนเดนเสท เรสซิ ดิ ว จำ � นวน 1.3 พั น บาร์ เ รลต่ อ วั น เนื่องจากเป็นประเด็นทางธุรกิจขอ งบริษัทฯ ที่บริษัทฯได้มีการขยาย หน่วยผลิตคอนเดนเสท เรสซิดวิ เพือ่ รับวัตถุดบิ ทัง้ จากโรงงานอะโรเมติกส์ 3 และโรงงานอะโรเมติ ก ส์ 2 ซึ่งส่งขายคอนเดนเสท เรสซิดิวให้ RPC เพือ่ นำ�วัตถุดบิ มาใช้ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นแผนการลงทุนที่ ได้วางแผนไว้แล้ว ส่วนความคืบหน้าของข้อ พิพาทที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องระหว่างคู่ สัญญา คือ บมจ.ปตท. (PTT) และ RPC ปั จ จุ บั น อยู่ ใ นขั้ น ตอนการ พิจารณาของอนุญาโตตุลาการ

ประเทศเพือ่ นบ้าน เช่น ลาว เข้ามา เพิ่มเติม เพื่อเสริมฐานรายได้ให้ แข็งแกร่งมีความมัน่ คงในอนาคตอีก ด้วย “ไตรมาส 1 ปี ที่ แ ล้ ว บริษัทฯ ยังไม่มีงานจาก ปตท.เข้า มา แต่ในไตรมาส 1 ปีนี้ มีงานขนส่ง ก๊าซของ ปตท. เข้ามาเพิ่มด้วย ก็ เ ลยทำ �ให้ กำ �ไรเพิ่ ม ขึ้ น จากงวด เดียวกันค่อนข้างมาก ซึ่งถือว่าเป็น ไปตามที่บริษัทฯ คาดไว้ ส่วนแนว โน้มไตรมาส 2 ก็มีโอกาสขยายตัว ต่อเนื่องจากไตรมาสที่ผ่านมาหรือ อาจจะใกล้เคียง เพราะฝ่ายการ ตลาดของบริษัทฯ เองก็พยายาม หาลู ก ค้ า รายใหม่ ทั้ งในประเทศ และต่างประเทศเข้ามาเพิ่มด้วย” นางสาววิภา กล่าว ขณะเดียวกันในปีนบี้ ริษทั ฯ ยังคงตัง้ เป้ารายได้ขยายตัว 5 - 10% เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่ทำ�ได้ 877.34

ล้านบาท เพราะผลประกอบการใน ไตรมาสทีผ่ า่ นมาเป็นไปตามคาดไว้ ประกอบกับมีสัญญาระยะยาวกับ ลูกค้าหลายราย เช่น PTT รวมทัง้ ยัง มีแผนขยายงานบริการขนส่งสินค้า ไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะ ประเทศที่ ก ารคมนาคมสะดวก เพื่ อ ผลั ก ดั น ผลประกอบการใน อนาคตให้เติบโตอย่างแข็งแกร่งอีก ด้วย สำ�หรับปัจจุบันลูกค้าของ บริษัทฯ จะประกอบธุรกิจเกี่ยวกับ เชื้อเพลิง เช่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) หรือ PTT และบริษัท

หน้า 4

กับรายได้ที่คาดว่าจะเติบโตจากปี ก่อนประมาณ 30% เนื่องจากได้รับ ปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้�ำ มันและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีสายอะเมติกส์ ทีค่ าดว่าจะปรับตัวสูงขึน้ กว่าปีกอ่ น

ผาแดงอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) หรือ PDI เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี ลูกค้าใหม่ภายในประเทศที่กำ�ลัง อยูร่ ะหว่างเจรจาจำ�นวนหลายราย โดยคาดว่าภายในไตรมาส 3/2554 จะมีความชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องดัง กล่าว ส่วนลูกค้าในต่างประเทศยัง คงเน้นที่ประเทศลาวเป็นหลัก

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

อินโดฯเตรียมจับมือญี่ปุ่นสร้างท่าเรือ ลอยน้ำ�มูลค่า 1.2 พันล้านดอลล์

รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า อินโดนีเซีย เตรี ย มสร้ า งท่ า เรื อ ลอยน้ำ � ร่ ว มกั บ ญี่ ปุ่ น ซึ่ ง เป็ น เทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ เพือ่ ช่วยในการขยายปริมาณการ ส่งออกถ่านหิน โดยจะใช้งบลงทุนประมาณ 100 พัน ล้านเยน (1.2 พันล้านดอลลาร์) โดยนายฮิเดโนบุ เทรามูระปลัดกระทรวง พาณิชย์ญปี่ นุ่ กล่าววันนีว้ า่ ท่าเรือลอยน้�ำ ดังกล่าว หรือ เรียกว่า เมกะโพลทจะลอยอยูบ่ ริเวณชายฝัง่ ตะวันออก ของเกาะกาลิมันตัน ซึ่งจะเริ่มใช้เป็นท่าเรือส่งออก ถ่านหินได้ในปี 2014 ขณะที่กระทรวงการคมนาคมญี่ปุ่นคาดว่า ท่าเรือส่งออกถ่านหินดังกล่าวจะช่วยร่นระยะเวลาการ ลำ�เลียงถ่านหินลงสู่เรือบรรทุกถ่านหินจาก 7 วันเป็น 1 วัน ทัง้ นี้ อินโดนีเซียเป็นประเทศผูส้ ง่ ออกถ่านหิน รายใหญ่อันดับ 2 ของโลก ขณะที่ญี่ปุ่นเป็นผู้นำ�เข้า ถ่านหินรายใหญ่อันดับ 1 ของอินโดนีเซีย

เป่าสตีลคาดตลาดแร่เหล็ก กำ�ลังเป็นฟองสบู่

หน้า 5

อินเดียเตรียมให้เงินอุดหนุนเกษตรกร ผู้ปลูกพืชน้ำ�มัน

รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ เป่าสตีลกรุป๊ คอร์ป รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า อินเดีย ผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่อันดับ 2 ของจีน คาดการณ์ว่า ตลาดแร่ เตรียมออกมาตรการให้เงินอุดหนุนเกษตรกรผูป้ ลูก เหล็กกำ�ลังเผชิญภาวะฟองสบูใ่ นขณะนี้ และจะเกิดภาวะฟอง พืชน้ำ�มันเช่น ถั่วเหลือง และถั่วลิสงเพื่อลดการ สบู่แตก เมื่อปริมาณการผลิตแร่เหล็กเพิ่มขึ้นจากเหมืองแร่ พึ่งพาการนำ�เข้าน้ำ�มันปาล์ม ซึ่งมีระดับราคาที่สูง เหล็กแห่งใหม่จำ�นวนมาก นายแอสฮอค กู ล าติ ประธานคณะ “เกิดภาวะฟองสบูใ่ นตลาดแร่เหล็ก มีสภาพเหมือน กรรมการราคาและต้นทุนสินค้าเกษตรกล่าวว่า การพนันทำ�ให้มกี ารซือ้ กิจการและการลงทุนในเหมืองแร่เหล็ก รัฐบาลอินเดียอาจให้เงินอุดหนุนเกษตรกรผูป้ ลูกพืช มีต้นทุนที่สูง ใครก็ตามที่มีเงินต่างพยายามที่จะลงทุนในแร่ น้ำ�มันในอัตราที่สูงกว่าที่ให้เกษตรกรผู้ปลูกธัญพืช เหล็ก” นายซู่ เหลอเจียง ประธานเป่าสตีลกล่าวในการให้ การเพิ่ ม ปริ ม าณผลผลิ ต พื ช น้ำ � มั นใน สัมภาษณ์ที่นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศดังกล่าวเป็นไปตามนโยบายการลดการ โดยวาล์ ริโอทินกรุ๊ป และบีเอชพี 3 ผู้ผลิตแร่เหล็ก พึ่งพาการนำ�เข้าน้ำ�มันปาล์ม ซึ่งเพิ่มขึ้น 38% รายใหญ่ของโลกมีแผนที่จะลงทุน 45 พันล้านดอลลาร์ใน ในปีทผี่ า่ นมา หลังความต้องการใช้จากทัว่ โลกเพิม่ เหมืองแร่เหล็ก ขณะทีแ่ มคควอรีก่ รุป๊ คาดว่า ราคาแร่เหล็กจะ ขึ้ น ขณะที่ อิ น เดี ย เป็ น ผู้ นำ � เข้ า น้ำ � มั น ปาล์ ม ลดลงกึ่งหนึ่งจากราคาในขณะนี้หลังจากปี 2014 เป็นต้นไป เป็นสัดส่วนกว่า 80% ปริมาณการส่งออกทั้งหมด “สามยักษ์ใหญ่ผผู้ ลิตแร่เหล็กของโลกลงทุนในเหมือง ของโลก “คำ�ถามคือเราจะให้เงินกับเกษตรใน แร่เหล็กเพราะคิดว่า ความต้องการในจีน บราซิล รัสเซีย อินโดนีเซียและในมาเลเซีย หรือ จะให้เงินเกษตร และแอฟริกาใต้จะเพิ่มขึ้นยาวนาน” นายซู่ กล่าว นอกจากนี้ นายซู่กล่าวว่า ผู้ที่จะขาดทุนจากการ ในอินเดีย ผมคงต้องบอกว่า การอุดหนุนเกษตรกร ลงทุนในเหมืองแร่เหล็กคือบริษัทขนาดย่อมที่ลงทุนในเหมือง ผูป้ ลูกพืชน้�ำ มันในประเทศจะเป็นนโยบายหลักของ แร่เหล็กเพือ่ เก็งกำ�ไร แต่ไม่สามารถผลิตได้ในปริมาณทีส่ งู พอ เราในปีนี้” นายกูลาติ กล่าว

AFET

“ทิศทางไม่สดใสตามยางนอก”

TFEX

“พักฐานตามเทคนิค”

นางสาวสุรรี ตั น์ ขุนทองจันทร์ นักวิเคราะห์ บริษทั แอ็กโกร์ว เอ็นเตอร์ไพร์ส จำ�กัด (AGE) เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา (AYS) RSS3 - ศุกร์ทผ่ี า่ นมามีปริมาณการซือ้ ขาย 126 สัญญา สถานะคงค้าง 2,250 สัญญา SET50 Futures - ศุกร์ทผ่ี า่ นมามีปริมาณการซือ้ ขาย 8,400 สัญญา สถานะคงค้าง 33,316 สัญญา - ปิด 144.50 บ./ก.ก. ลดลง 0.90 บ. (สัญญาส่งมอบเดือนธ.ค. 54) - ปิด 753.50 จุด ลดลง -0.70 จุด (สัญญา S50M11 มิ.ย. 54 ปัจจัยลบ - ความต้องการสินค้ายางในตลาดจริงลดลงตามอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว - ยางเซีย่ งไฮ้ และ TOCOM ทิศทางปรับตัวลดลง กลยุทธ์ - เก็งกำ�ไร (สัญญาส่งมอบเดือนธ.ค. 54) - แนวรับ 134.70 บ./ก.ก. แนวต้าน 149 บ./ก.ก.

ปัจจัยลบ - ต่างชาติขายสุทธิในตลาดหุน้ วานนี้ 1,412.09 ลบ. - สินค้าโภคภัณฑ์พกั ฐาน - ไร้ปจั จัยใหม่สนับสนุน กลยุทธ์ - แนะเก็งกำ�ไร (สัญญา S50M11 มิ.ย. 54) - แนวรับ 748 จุด - แนวต้าน 760 จุด www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

หน้า 6

เข้าเก็งกำ�ไร UAC กลับมาปิดตัวบวกอีกครั้งก่อนหยุดเสาร์-อาทิตย์ หลังช่วงกลาง สัปดาห์ก่อนโดนแรงขายกดราคาหุ้นไปในเชิงลบ โดยเมื่อศุกร์ที่ผ่านมามี แรงซื้อกลับเข้ามาอีกครั้งดันราคาหุ้นปิดตลาดที่ระดับ 11.70 บาท เพิ่มขึ้น 0.50 บาท หรือ 4.46% มูลค่าการซื้อขาย 84.69 ล้านบาท บทวิเคราะห์บล.ฟิลลิป (ประเทศไทย) ระบุว่า UAC ราคาแกว่ง ตัวขึ้นทำ�จุดสูงสุดใหม่ในระยะสั้นได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมมีวอลุ่มเข้าหนุน แนวโน้มเป็นขาขึ้นชัดเจน แนะนำ� “ซื้อเก็งกำ�ไร” โดยมีแนวต้านที่ 12.20 - 13.00 บาท แนวรับที่ 11.30 - 11.10 บาท และให้ตัดขาดทุน หากราคาต่ำ�กว่า 10.90 บาท

ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 20/05/54

Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg

UAC 11.70 0.50 4.46 11.30 11.90 11.30 11.20 11.64

AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)

7,274,600 84,692 5.15 15.39 4.43 0.15 1.34 0.76 1,755

ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 12/05/54

วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 11.60 บาทหนาแน่นสุด

1. 2. 3. 4. 5.

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นายกิตติ ชีวะเกตุ นายกิตติ ชีวะเกตุ น.ส.นิลรัตน์ จารุมโนภาส นางวราณี เสรีวิวัฒนา น.ส.นิรนุช จารุมโนภาส

จำ�นวนหุ้น

(%)

56,508,156 29,190,044 4,616,883 4,500,000 3,800,000

37.67 19.46 3.08 3.00 2.53

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

พาณิชย์คาดส่งออกปี 54 โตในกรอบ 12-15% นางพรทิ ว า นาคาศั ย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ตัวเลขการส่งออกในปี 2554 คาดว่าจะขยายตัวในกรอบ 12 - 15% อย่างไรก็ตามปัจจัย เสี่ยงที่อาจเป็นไปได้ทั้งบวกและ ลบ คือ ราคาสินค้าในกลุม่ อาหาร สินค้าอุปโภคบริโภคที่มีแนวโน้ม สูงขึ้นตามความต้องการ ขณะที่ ผลผลิตลดลงจากความแปรปรวน ของสภาพอากาศ นอกจากนี้ยัง มาจากผลกระทบจากค่าเงินบาท ที่แข็งค่า รวมถึงปัญหานิวเคลียร์ ในประเทศญี่ปุ่น และปัญหาการ เคลือ่ นย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ ที่มีความผันผวน นอกจากนีย้ งั ต้องติดตาม สถานการณ์ ร าคาน้ำ � มั น ดิ บใน ตลาดโลกทีส่ ง่ ผลกระทบต่อต้นทุน วัตถุดิบ รวมถึงแนวโน้มการปรับ ตัวสูงขึ้นของอัตราดอกเบี้ยและ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานใน

สิ น ค้ า ที่ เ ข้ ม แข็ งในอั น ดั บ ต้ น ๆ ของโลก รวมทั้งขีดความสามารถ ในการแข่งขันของผู้ประกอบการ ไทยยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่มูลค่าการส่งออก เดือนเม.ย. 2554 อยูท่ ี่ 1.75 หมืน่

เร่งดำ�เนินการเปิดโครงการสินเชื่อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย น้ำ � ท่ ว มปี 2554 นำ � สิ น เชื่ อ อั ต ราดอกเบี้ ย พิเศษ 2 โครงการไปให้บริการที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และ อำ�เภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยแบ่งเป็น โครงการสิน เชื่อ smePOWER เพื่อผู้ประสบ อุทกภัยปี 2554 วงเงิน 2,000 ล้านบาท เพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบ การ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุอุทกภัย และ วาตภัย ใน

ไม่เกิน 5 ปี ปลอดเงินต้น 1 ปี โดย 2 ปีแรกคิดอัตราดอกเบี้ย MLR-3% ต่อปี และตั้งแต่ปีที่ 3 เป็นต้นไปคิดดอกเบีย้ ตามประกาศ ของธนาคาร โดยใช้บคุ คลธรรมดา หรือนิตบิ คุ คล หรืออสังหาริมทรัพย์ หรือหนังสือค้ำ�ประกันจาก บสย. เป็นหลักประประกันยื่นกู้ นายโสฬส กล่ าวอี ก ว่ า คาดผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับ วงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อราย ความเดือดร้อนจะไปยื่นกู้จำ�นวน ระยะเวลากูไ้ ม่เกิน 6 ปี ปลอดเงิน มาก น่ า จะอนุ มั ติ ไ ด้ เ ต็ ม วงเงิ น ต้ น 2 ปี อั ต ราดอกเบี้ ย คงที่ ภายใน 1 เดือน ธนาคารจัดเจ้า 4.50% ต่อปี ตลอดอายุสัญญา หน้ า ที่ ใ ห้ คำ � ปรึ ก ษาแนะนำ � แก่ ไม่ตอ้ งใช้หลักประกัน ไม่ตอ้ งตรวจ ผู้ประกอบการและยื่นกู้ได้ภายใน เครดิตบูโร และสินเชื่อโครงการ งานดั ง กล่ า ว ในวั น เสาร์ ที่ 21 ช่วยเหลือด้านการเงินแก่ผปู้ ระกอบ พ.ค. - วันจันทร์ที่ 23 พ.ค. 2554 ธุรกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากอุทกภัย ณ ห้องประชุมเมือง (ทุ่งท่าลาด) วาตภัย และดินโคลนถล่มปี 2554 จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และ วงเงิน 2,000 ล้านบาท เพื่อช่วย ณ โรงเรี ย นพุ น พิ น พิ ท ยาคม เหลือผูป้ ระกอบการในวงเงินไม่เกิน (หอประชุมอาคารเอนกประสงค์) 10 ล้านบาทต่อราย ระยะเวลากู้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

เอสเอ็มอีแบงก์เปิดโครงการ

สินเชื่อเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัยภาคใต้ นายโสฬส สาครวิ ศ ว กรรมการผู้ จั ด การ ธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (เอส เอ็มอีแบงก์) เปิดเผยว่า ธนาคาร ได้รับอนุมัติงบประมาณปี 2554 จำ � นวนรวม 4,000 ล้ า นบาท ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 4 เม.ย. 2554 ที่ผ่านมา คาดว่า สามารถช่วยเหลือผู้ประกอบการ ในพื้นที่ 10 จังหวัด ภาคใต้ ที่ ประสบภัยพิบัติ อุทกภัย วาตภัย และดิ นโคลนถล่ ม ครอบคลุ ม จั ง ห วั ด น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช สุ ร าษฎร์ ธ านี สงขลา ชุ ม พร นราธิวาส พัทลุง ตรัง กระบี่ พังงา และสตูล ซึง่ เอสเอ็มอีแบงก์

ล้ า นดอลลาร์ ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น 24.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ นแต่ ลดลงจากเดือนก่อน ที่ขยายตัว 30.9% แต่ถ้าเทียบกับ จากช่วงปลายปี 53 ถือว่าการส่ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น โดยสิ น ค้ า ส่ ง ออก สำ�คัญขยายตัวทุกกลุ่ม โดยสินค้า อุตสาหกรรมในภาพรวมขยายตัว เพิ่มขึ้น 19.8% ส่วนสินค้ากลุ่ม เกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ใน ภาพรวมขยายตัวเพิ่มขึ้น 37.0% สำ�หรับสินค้าที่มีการส่งออกลดลง ได้ แ ก่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น สำ � ปะหลั ง ยานยนต์และอุปกรณ์ เป็นต้น ตลาดส่งออกที่สำ�คัญยัง ขยายตั ว ทุ ก ตลาด โดยเฉพาะ ตลาดหลักทั้งในญี่ปุ่น ยุโรป และ สหรัฐฯ ส่งออกเพิ่มขึ้น 39.5% 31.4% และ 28.9% ตามลำ�ดับ ส่วนตลาดศักยภาพรองขยายตัว เพียงร้อยละ 1.0 เนื่องจากการส่ง ออกไปออสเตรเลียลดลง

ภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจ โลกทีด่ ขี นึ้ รวมถึงความคืบหน้าใน การแก้ไขปัญหาหนี้สินในยุโรปยัง เป็นปัจจัยสนับสนุนการส่งออกใน ปีนี้ เนื่องจากไทยเป็นแหล่งผลิต

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

SIS คาดรายได้-กำ�ไรQ2/54 สูงกว่าQ1/54 นายสมชัย สิทธิชยั ศรีชาติ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) หรือ SIS เปิด เผยว่า คาดรายได้รวมของบริษัทฯ ในปีนี้จะ เติบโตมากกว่าอุตสาหกรรมไอที ซึ่งเติบโต เฉลี่ยปีละ 12 - 13% ขณะที่กำ�ไรสุทธิน่าจะ เติบโตสูงกว่าปีก่อน โดยในปีนี้สินค้าสมาร์ท โฟนยังมาแรง ดังนั้นบริษัทฯ จึงเพิ่มสัดส่วน การขายสมาร์ทโฟนขึ้นมาเป็น 20% จากปี ก่อนอยู่ที่ 10% และคาดว่าสมาร์ทโฟนจะได้ รับความนิยมต่อเนื่องไปอีก 1 - 2 ปี เพราะ สัดส่วนการใช้สมาร์ทโฟนของคนไทยยังค่อน ข้างน้อยเมื่อเทียบกับต่างประเทศ สำ�หรับสมาร์ทโฟนที่บริษัทฯ เป็น ตั ว แทนจำ � หน่ า ย ได้ แ ก่ Android และ BlackBerry ส่วนแท็บเล็ตจะมี Android BlackBerry และ Apple iPad ส่วนด้านไอที จะมี IBM HP เอเซอร์ และฟูจิสึ

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ตัง้ เป้าทีจ่ ะรักษา อัตราการทำ�กำ�ไรขั้นต้นทั้งปีให้อยู่ที่ 6 - 7% และอัตราการทำ�กำ�ไรสุทธิอยู่ที่ 1% ซึ่งเป็น ระดับทีท่ �ำ ได้ในไตรมาสแรกทีผ่ า่ นมา อย่างไร ก็ตาม ยอมรับว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากใน การที่จะบริหารให้ตัวกำ�ไรขั้นต้นกับกำ�ไรสุทธิ เพิ่มขึ้น เนื่องจากขึ้นอยู่กับความแม่นยำ�ใน การคาดคะเนความต้องการของตลาดในขณะ นั้นๆ ว่านิยมใช้โทรศัพท์รุ่นใด หากการคาด คะเนออกมาแม่นยำ�ก็จะส่งผลดีตอ่ มาร์จนิ้ แต่ หากบางรุ่นคาดคะเนผิดทำ�ให้ต้องลดราคา ขายเพื่อเคลียร์สต็อก นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ การแข่งขันในตลาดด้วยเป็นเรื่องที่คาดการณ์ ได้ยากว่าคูแ่ ข่งจะใช้กลยุทธ์ใด เพราะปัจจุบนั บริษัทฯ ได้รุกเข้ามาในตลาดของโทรศัพท์ มือถือ จากอดีตที่ขายเฉพาะไอทีเพียงอย่าง เดียว สำ�หรับผลงานไตรมาส 2 คาดว่าราย ได้นา่ จะสูงกว่าไตรมาสแรก เนือ่ งจากเป็นช่วง

News Station

หน้า 8

ไฮซีซนั่ และมีวนั ทำ�การค่อนข้างมากเมือ่ เทียบ กับไตรมาส 1 ซึ่งมีวันหยุดมากกว่า และราย ได้จะไปสูงสุดในช่วงไตรมาส 3 ซึ่งถือว่าเป็น ลักษณะปกติของธุรกิจไอที STEC ลงนามรับงานอีก 781.00 ลบ. นายวรพันธ์ ช้อนทอง กรรมการรอง ผูจ้ ดั การสายงานการเงินและบริหารสำ�นักงาน เลขานุ ก ารบริ ษั ท ซิ โ น-ไทย เอ็ น จี เ นี ย ริ่ ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำ�กัด (มหาชน) หรือ STEC เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้ลงนามสัญญา จ้างโครงการก่อสร้างบ่อพักและท่อร้อยสาย ไฟฟ้าใต้ดินร่วมกับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า สายสีน้าเงินช่วงท่าพระ-บางแค สัญญา 4 (สัญญาลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2554) เจ้าของ โครงการ คือ การไฟฟ้านครหลวง มูลค่า โครงการ 781,100,000. บาท (รวมภาษีมลู ค่า เพิ่ ม ) ระยะเวลาการก่ อ สร้ า ง 1,519 วั น (19 พฤษภาคม 2554 - 15 กรกฎาคม 2558)

Finance Asia ยก AGE คว้าอันดับ 1 บริษัทยอดเยี่ยมขนาดเล็ก นายพนม ควรสถาพร กรรมการ (ไทย จีน ฮ่องกง ฟิลิปปินส์ อินเดีย ไต้หวัน ผู้จัดการ บริษัท เอเชีย กรีน เอนเนอจี จำ�กัด มาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาหลี และสิงคโปร์) สำ�หรับรางวัลทีไ่ ด้รบั ในครัง้ นีเ้ ป็นการ (มหาชน) หรือ AGE เปิดเผยว่า AGE ได้รับ คัดเลือกให้เป็นบริษัทยอดเยี่ยมขนาดเล็กผล สะท้อนถึงความสำ�เร็จในด้านกลยุทธ์ การ งานดีเด่น จัดโดยนิตยสาร Finance Asia บริหารงาน ผลการดำ�เนินงาน ความโปร่งใส ซึ่ ง เป็ น นิ ต ยสารการเงิ น ชั้ น นำ � ของเอเชี ย ในการเปิดเผยข้อมูลและการกำ�กับดูแลกิจการ จากการสำ�รวจความคิดเห็นประจำ�ปี 2554 ภายใต้ หลักบรรษัทภิบาลที่ดี ซึ่งบริษัทจะยัง โดย Finance Asia ได้ทำ�การสำ�รวจความคิด มีความมุ่งมั่นที่จะรักษาคุณภาพเพื่อสร้างการ เห็นของผู้จัดการกองทุน นักวิเคราะห์ และ เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งทางด้านธุรกิจและเพื่อ นักการเงินชั้นนำ� กว่า 300 รายทั่วโลก ซึ่งจัด สังคม นายพนมกล่าวอีกว่าในปี 2554 บริษทั ทำ�ขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อจัดอันดับบริษัทที่ดี ทีส่ ดุ ของประเทศต่างๆ ในเอเชีย 10 ประเทศ มั่นใจว่าผลการดำ�เนินงานจะอยู่ในทิศทางที่ดี

ดั ง จะเห็ นได้ จ ากผลประกอบการไตรมาส 1/2554 เพิม่ สูงกว่าเป้าหมายมาก ดงั นัน้ บริษทั จึงได้มีการปรับเป้าหมาย ยอดขายถ่านหินทั้ง ปีเป็น 2,100,000 ตัน จากเดิมทีค่ าดการณ์ยอด ขายอยู่ที่ 1,900,000 ตัน ส่งผลให้ต้องปรับเป้า หมายรายได้ทั้งปีเพิ่มขึ้นเป็น 5,000 ล้านบาท จากเดิมคาดการณ์ไว้ที่ 4,200 ล้านบาท หรือ คิดเป็นการเพิ่มขึ้นประมาณ 80% จากปีที่แล้ว และกำ�ไรสุทธิคาดว่าจะโตประมาณ 130% ตามยอดขายทั้ งในและต่ า งประเทศที่ เ พิ่ ม สูงขึ้น

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

ตามรอย IPO

Gold Trend คนดังกับการลงทุน

Dynamic Station

หน้า 9

ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน

“ทีวีไดเร็ค” ยื่นไฟลิ่ง จ่อเป็นสมาชิก mai บล.โกลเบล็ก ปั้น “ทีวี ไดเร็ค” เข้าตลาด mai ยื่นไฟลิ่ง ก.ล.ต.แล้ว รอไฟเขียวขาย หุ้นใหม่ 28.96 ล้านหุ้น พาร์ 1 บาท หวังนำ�เงินขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ มั่นใจราย ได้โตต่อเนื่อง เปิดงบปี 53 มีรายได้ 1,428.92 ล้านบาท และกำ�ไรสุทธิ 34.88 ล้านบาท นายภาณุ คงแท่ น ผู้ ช่ ว ย กรรมการผู้ จั ด การ ฝ่ า ยวาณิ ช ธนกิ จ บล.โกลเบล็ก ในฐานะที่ปรึกษาทางการ เงิน บริษัท ทีวี ไดเร็ค จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ดำ�เนินธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าและ บริ ก ารผ่ า นช่ อ งทางการตลาดที่ ห ลาก หลาย เปิ ด เผยว่ า ได้ ยื่ น แบบแสดง รายการข้อมูล (ไฟลิ่ง) ของบริษัท ทีวี ไดเร็ค จำ�กัด (มหาชน) ให้สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พิจารณาแล้ว เมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา เพือ่ เข้า จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) ทั้งนี้ บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน เรียกชำ�ระแล้ว 159.04 ล้านหุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จำ�นวน 159.04 ล้ า นบาท และจะเพิ่ ม ทุ น ชำ � ระเป็ น 188 ล้านบาท โดยออกหุ้นสามัญใหม่ จำ�นวน 28.96 ล้านหุ้น ซึ่งส่วนหนึ่งใน จำ�นวนนี้ไม่เกิน 5.792 ล้านหุ้น จะเสนอ ขายต่อกรรมการและ/หรือพนักงานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ส่วนที่เหลือจะ เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป

“บริษัททีวี ไดเร็ค มีศักยภาพใน การสร้างรายได้ และทำ�กำ�ไร เนือ่ งจากสือ่ ต่างๆ เติบโตรวดเร็ว และเข้าถึงประชาชน ผู้มีกำ�ลังซื้อ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทฯ มีรายได้ เติบโตต่อเนื่อง จาก 901.34 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 956.42 ล้านบาท ในปี 2552 และเพิ่มเป็น 1,428.92 ล้านบาท ในปี 2553 ส่ ว นกำ �ไรสุ ท ธิ ใ นปี 2553 อยู่ที่ 34.88 ล้านบาท” นายภาณุ กล่าว ด้ า นนายทรงพล ชั ญ มาตรกิ จ ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้า หน้าที่บริหาร บริษัท ทีวี ไดเร็ค จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่าเงินที่ได้รับจากการ ระดมทุนครั้งนี้ บริษัทฯ จะลงทุนในระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ขยายธุรกิจร้านค้า ปลีก TV Direct Showcase รวมถึง พั ฒ นาระบบร้ า นค้ า ปลี ก และลงทุ นใน ระบบการจัดส่งสินค้า ตลอดจนใช้ลงทุน ในบริษัทย่อย และใช้เป็นทุนหมุนเวียน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมองเห็น โอกาสในการขยายธุรกิจการตลาดแบบ ตรงไปยังตลาดต่างประเทศแถบอินโดไชน่า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์

โดยปัจจุบัน บริษัท ทีวีไดเร็ค อินโดไชน่า จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ประกอบธุรกิจ ลงทุน (Holding Company) โดยถือหุ้นใน Direct Response Television ซึ่งตั้งอยู่ใน กัมพูชา สัดส่วน 100% และถือหุ้นใน TV Direct (Malaysia) ซึ่งตั้งอยู่ในมาเลเซีย สัดส่วน 38%

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

Lifestyle Station

ทุเรียน

by Jackal_XIII

ทุเรียน (Durian) ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio zibethinus, ชื่อวงศ์ (Family) : Bombaceaceae ชื่อท้องถิ่น ภาคเหนือ เรียก มะทุเรียน ภาคใต้ เรียก เรียน มาเลเซีย-ใต้ เรียก ดือแย ทุเรียนมีถิ่นกำ�เนิดบริเวณหมู่เกาะอินเดีย ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ผลที่มีขนาดผลใหญ่ มีหนามแหลม รสชาติหวานมัน ได้ชื่อว่าเป็นราชาของ ผลไม้ (King of the Fruits) เนือ้ ทุเรียนให้ธาตุอาหารหลายชนิด ได้แก่ ไนโตรเจน แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมงกานีส โพแทสเซียม และกำ�มะถัน เนื่องจากทุเรียนเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยม มีตลาดทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ทำ�ให้ในปัจจุบันทุเรียนเป็นไม้ผลที่ได้รับความนิยมของคนทั่วโลก สรรพคุณทางยา ทางด้านสมุนไพร รากแก้ท้องร่วง แก้ไข้ ใบทำ�ให้หนองแห้ง ขับพยาธิ เปลือกแก้น้ำ�เหลืองเสีย ช่วยสมานแผล ส่วนต่างๆ ของทุเรียนสามารถนำ�มาใช้เป็นยาได้ดังต่อไปนี้ 1. ใบ มีรสขม เย็นเฝื่อน สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ดีซ่าน ขับพยาธิ และทำ�ให้หนองแห้ง 2. เนื้อหุ้มเมล็ด มีรสหวาน ร้อน ทำ�ให้ความร้อน แก้โรคผิวหนัง ทำ�ให้ฝีแห้ง และขับพยาธิ 3. เปลือกลูก มีรสฝาดเฝื่อน สมานแผล แก้น้ำ�เหลืองเสีย พุพอง แก้ฝี ตาน ซาง คุมธาตุ แก้คางทูม และไล่ยุงและแมลง 4. ราก มีรสฝาดขม แก้ไข้ และแก้ท้องร่วง ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีน้ำ�ตาลสูงทั้งยังอุดมไปด้วยกำ�มะถันและคอเลสเตอรอล จึงมีกลิ่นแรง เป็นกลิ่น เฉพาะตัว ไม่เหมาะสำ�หรับผู้ป่วยเบาหวาน เพราะหากกินเข้าไประดับน้ำ�ตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ยังทำ�ให้ร้อนใน และรู้สึกไม่สบายเนื้อไม่สบายตัว วิธดี บั กลิน่ ให้เอาน้ำ�ใส่ในพูทเุ รียนทีร่ บั ประทานแล้ว ล้างมือ กลิน่ จะบรรเทาลง หรือใช้สมุนไพรไทย ดับกลิ่นได้ **ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย

Photo Release

กบข. แนะเคล็ดวิธี ออมให้สุขใจในวัยเกษียณ นางสาวโสภาวดี เลิศมนัสชัย เลขาธิการ กองทุน กบข. ร่วมพูดคุยเคล็ดลับดีๆ ในการออมเงินเพื่อให้มีความสุข กับชีวิตหลังเกษียณในกิจกรรม Executive Talk @ Maruey ประจำ�เดือนพฤษภาคม หัวข้อ “ออมอย่างไรให้สุขใจในวัย เกษียณ” โดยกิจกรรม Executive Talk @ Maruey จัดขึ้นเป็น ประจำ�ทุกเดือน

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

มุมการตลาด

Lifestyle Station

PRIMA GOLD เตรียมทุ่มงบโฆษณา 20 ลบ. พร้อมเผยแบรนด์น้องใหม่ KORLOFF

(กรุงเทพฯ - 18 พฤษภาคม 2554) บริษัท พรีม่าโกลด์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ผู้นำ�ด้านเครื่องประดับทองคำ� 99.9% ด้วยประสบการณ์และความชำ�นาญตลอดระยะเวลา 19 ปี ประกาศ ผลงานโชว์ยอดขายทั้ง 5 แบรนด์ พรีม่าโกลด์ (PRIMA GOLD), พรีม่าไดมอนด์ (PRIMA DIAMOND), พรีม่าอาร์ท (PRIMA ART), เซ็นจูรี่โกลด์ (Century Gold) และเมอรี (MERII) ปี 2554 ไตรมาส แรก 210 ล้านบาท เติบโตกว่า 20% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน กับปีที่แล้ว เชื่อมั่นในเศรษฐกิจปีนี้สดใส กำ�ลังซื้อฟื้นเตรียมอัดงบ โฆษณา 20 ล้านบาท กระตุ้นตลาด ปี 2554 ตั้งเป้ายอดขาย 800 ล้านบาท เติบโต 15% เตรียมเปิดตัว KORLOFF แบรนด์ชั้นนำ�จาก ประเทศฝรั่งเศส ณ ร้านพรีม่าโกลด์ ชั้น 2 ศูนย์การค้าสยามพารากอน

มุมประกัน พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต ยอดขายช่องทางตัวแทนไตรมาสแรกโต 21% นายบินายัค ดัตตา กรรมการผู้จัดการ บมจ.พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) เปิดเผยว่า ภายใต้กลยุทธ์การบุกตลาดเชิง รุกในช่องทางตัวแทนของบริษัทฯ ส่งผลให้ยอดขายของช่องทางตัวแทนในไตรมาสแรกเติบโตถึง 21% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ ผ่านมา อันเป็นผลมาจากการวางแผนรีครูตตัวแทนในเชิงก้าวกระโดด โดยเฉพาะในเดือนเมษายนที่ผ่านมา สามารถรีครูตตัวแทนใหม่ให้มี ไลเซนส์พร้อมออกรหัสตัวแทนได้เป็นจำ�นวนมากจนน่าพอใจ ความสำ�เร็จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้เป็นไปตามเป้าหมายที่บริษัทฯ ตั้งไว้ ด้วยแผนการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงจัดแคมเปญ การแข่งขันหรือโปรโมชั่นเพื่อกระตุ้นการทำ�งานของตัวแทนในการสร้างยอดขายอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี

SENA จับมือ REIC จัดสัมมนา “เจาะทำ�เล ซื้อบ้าน ต้านเงินเฟ้อ” บมจ.เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จับมือ ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ เตรียมจัดสัมมนาครั้งใหญ่ “เจาะทำ�เล ซื้อบ้าน ต้านเงินเฟ้อ” ในวันที่ 30 มิ.ย. 2554 เปิดทำ�เลทองที่น่าสนใจและเมื่อลงทุนไปแล้วไม่มีผิดหวัง เผยงานนี้ผู้เข้าร่วมงานได้รู้เทคนิคการเลือกซื้อ-ลงทุน ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการ บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน) (SENA) เปิดเผยว่าบริษัทได้ร่วมมือกับ ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ เตรียมจัดงานสัมมนาในหัวข้อ “เจาะทำ�เล ซื้อบ้าน ต้านเงินเฟ้อ” โดยมีกำ�หนดที่จะจัดงานสัมมนาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2554 ที่ห้องประชุมศาสตราจารย์สังเวียนอินทรวิชัย อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมกันนี้อยาก จะขอเชิญชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมรับฟังการสัมมนา เพราะในงานนี้จะทำ�ให้ได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพื่อนำ�ไปประกอบการ พิจารณาว่าจะซื้ออสังหาริมทรัพย์อย่างไรให้คุ้มค่าในช่วงที่มีภาวะเงินเฟ้อ โดยในงานนี้ได้รับเกียรติจาก คุณสัมมา คีตสิน ผู้อำ�นวยการศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ (REIC) ซึ่งมีความชำ�นาญเรื่องการ รวบรวมดัชนีราคา และข้อมูลด้านอสังหาริมทรัพย์ มาร่วมพูดคุยถึงอสังหาริมทรัพย์ทั้งหมด ทุกทำ �เล ทุกราคา และ ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ จะนำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์เป็นแนวทางสำ�หรับผู้ที่ต้องการที่อยู่อาศัยทั้งเพื่อลงทุนและอยู่อาศัยภายใต้กระแสเงินเฟ้อที่ รุนแรง พร้อมแนะแนวทางสำ�หรับผู้บริโภคว่าควรเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย์อย่างไรให้มีมูลค่ามากกว่าเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

Professional Station กว่ า จะมาเป ็ น เสื อ ตอนที่ 2

“EARTH จะกลับมาผงาดอีกครั้ง”

“ขจรพงศ์ คำ�ดี”

กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอ็นเนอร์ยี่ เอิร์ธ (EARTH)

ก่อนหน้าที่ ขจรพงศ์ จะก่อตัง้ บริษทั แห่งนีเ้ ขาเป็นเพียงมนุษย์เงินเดือนคนหนึง่ แต่ด้วยความที่มองการณ์ไกลจึงทำ�ให้เขาก้าวมาถึงจุดนี้ “จริงๆ แล้วผมทำ�งานประจำ�มาก่อน เป็น Secretary man แต่ผมก็มา ศึกษาดูวา่ ธุรกิจอะไรทีจ่ ะเหมาะกับบริษทั ฯ ในงบประมาณทีม่ อี ยู่ ดูวา่ ธุรกิจอะไร ทีเ่ หมาะสม ซึง่ ผมเองก็ตอ้ งมองเผือ่ อีก 10 ปีข้างหน้า 20 ปีขา้ งหน้า จึงมาลงตัว ที่ธุรกิจพลังงานพอดี ผมได้ศึกษาว่าพลังงานประเภทไหนที่ผมทำ�ได้ และมีดีมานด์ที่เติบโต อย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็คือพลังงานทดแทน ในพลังงานทดแทนก็เจาะลึกลงไปอีกว่า เป็นถ่านหิน จึงตัดสินใจศึกษาและไปปรึกษากับผู้ใหญ่ที่เคยทำ�งานร่วมกันมา

“ขจรพงศ์ คำ�ดี”

กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอ็นเนอร์ยี่ เอิร์ธ (EARTH)

ผมบอกเขาว่า ผมอยากจะก่อตั้งบริษัท ก็เลย Set Up กันขึน้ มา โดยเริม่ จาก 2 ครอบครัว ซึง่ ถือหุน้ 100% แต่ตอนหลัง ก็มีหุ้นส่วนเข้ามาบ้างประปราย โดยบริษัทฯ เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 50 ช่วงปีแรกที่ก่อตั้งบริษัทฯ ผมไปกินไปนอนที่ประเทศ อินโดนีเซียเลย 7 - 8 เดือน เพื่อให้ได้รู้เรื่องของการทำ�งาน เรือ่ งของการทำ�ธุรกิจทัง้ หมด เพราะว่าธุรกิจถ่านหินหัวใจสำ�คัญ คือเรื่องของซัพพลาย ถ้าใครมีเหมือง มีถ่านหิน มีซัพพลายเป็น ของตัวเองทีแ่ น่นอน จะได้เปรียบเรือ่ งความมัน่ ใจของลูกค้าและ เรื่องการบริหารจัดการต้นทุน พอศึกษาได้ทงั้ หมดแล้วก็เริม่ เข้ามาเมืองไทย ตอนปี 50 ผมจำ�ได้วา่ ไปยืนตรวจสอบคุณภาพ ยืนคุมโหลดเองเลย ถ่านหิน มาถึงเมืองไทยวันที่ 30 พ.ย. 50 นำ�มาขายในเดือนธ.ค. ไม่เต็ม เดือน ปีแรกขายได้ประมาณ 10 กว่าล้าน ทั้งปีมีแต่ค่าใช้จ่าย ก็เลยขาดทุน”... อ่านต่อฉบับหน้า

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

แนวโน้มดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทย ในสัปดาห์นี้คาดว่า ปริมาณการซื้อขายใน สัปดาห์นี้น่าจะเบาบาง ประเมินแนวรับใน วันนี้ที่ 1064 - 1060 จุด ส่วนแนวต้าน อยู่ที่ 1082 จุด โดยมีปัจจัยที่ต้องติดตาม คือการทยอยประกาศตัวเลขเศรษฐกิจใน ช่วงใกล้สิ้นเดือน แนะนำ�ให้นักลงทุนรอดู ทิศทางตลาดฯ ก่อนแตห่ ากตอ้ งการจะเข้า ซื้อ ให้เล่นตามแนวรับที่ให้ไว้ดังกล่าว

แนวโน้มดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทยใน สัปดาห์นี้ น่าจะแกว่งตัวในกรอบ เนื่องจาก ตลาดฯ ขาดปัจจัยใหม่เข้ามาสนับสนุนบรรยา กาศการลงทุน ขณะเดียวกัน ยังต้องติดตาม ความชัดเจนต่อว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะยุ ติ ม าตรการกระ ตุ้ น เศรษฐกิ จ รอบ 2 ผ่านการผ่อนปรนเชิงปริมาณ (QE2) หรือไม่ ทัง้ นี้ นักลงทุนควรติดตาม ตัวเลขเศรษฐกิจของ สหรัฐฯ เนื่องจากมีผลกระทบต่อจิตวิทยาการ ลงทุน กลยุทธ์แนะนำ� เลือกซื้อหุ้นพื้นฐานที่ดีที่ ราคาอ่ อ นตั ว ลง โดยเน้ น หุ้ น Defensive อาทิ ADVANC-CP F ประเมิ น แนวรั บไว้ ที่ 1,065 - 1,070 จุ ด และแนวต้ า นอยู่ ที่ 1,085 - 1,090 จุด

หน้า 13

แนวโน้มดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทย ในสัปดาห์นี้ ยังไม่เห็นปัจจัยใหม่ที่จะเข้า มามีผลต่อตลาด มองว่าโดยภาพรวมแล้ว ตลาดน่าจะแกว่งตัวในทิศทางที่ใกล้เคียง กับสัปดาห์ที่ผ่านมา มีแนวรับที่ 1,060 และ 1,055 ส่วนแนวต้านที่ 1,080

www.istationnews.com


Data Station

Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภ�คม 2554

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 20 พฤษภ�คม 2554

Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]

TRADING BY INVESTOR TYPE

Type

Institute

Proprietary

Foreign Local

Buy

Sell

Net

1,755.33 6.80% 3,090.33 11.98% 5,286.31 20.49% 15,671.00 60.73%

2,170.84 8.41% 2,921.50 11.32% 6,698.40 25.96% 14,012.23 54.30%

-415.51 168.83 -1,412.09 1,658.77

Last Update

20/05/11

Index

Last

SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated

1,072.94 753.79 1,643.17 292.06

20/05/11

Chg -4.56 -4.29 -8.5 4.63 (Mil. ฿) (Mil. ฿)

%Chg -0.42 -0.57 -0.51 1.61 25,802.96 1,108.79

17:01:46

AGRO 1 A dv ance 32%

Decline 40%

0.5

TECH

No C hange 28%

0.12

CONSUMP

0 -0.5

-0.72

-0.49

-1 -1.5

SERVICE

-0.59

-2

FINCIAL

0.53 -1.81 -0.49

A dv ance 31%

Decline 37% No C hange 32%

RESOURC

-0.17

INDUS

PROPCON

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภ�คม 2554

หน้� 15

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 20 พฤษภ�คม 2554

IVL

( Day )

: IVL 7,000,000

Price & Fundamental Symbol IVL

Last 49.25 Chg -2.25 %Chg -4.37 Open 51.75 High 51.75 Low 49.00 Prev 51.50 Avg 50.05 AccVol 38,259,900 AccVal(K฿) 1,914,771 5.49 %Fluct P/E 22.49 P/BV 6.66 DPS(Baht) 0.66 Yield(%) 1.28 EPS(Baht) 2.19 MktCap(Mil.) 237,102 Broker Target Update ASP 70.98 20/05/11 หลักทรัUSพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็62.00 นต์การเปลีย่ นแปลง 19/05/11 ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 19/05/11 ค่าการ KTZ ม่ ขึน้ มากที65.00

ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

6,000,000 5,000,000

Vol.

4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 51.75

51.50

51.25

51.00

50.75

Price

50.50

50.25

50.00

49.75

49.50

49.25

49.00

0

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภ�คม 2554

หน้� 16

Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 20 พฤษภ�คม 2554

ESSO13CA

Volume Analysis

( Day )

: ESSO13CA

Price & Fundamental Symbol ESSO13CA

Last 1.59 Chg 0.17 %Chg 11.97 Open 1.42 High 1.65 Low 1.40 Prev 1.42 Avg 1.54 AccVol 18,264,900 AccVal(K฿) 28,155 16.23 %Fluct P/E N/A P/BV N/A DPS(Baht) N/A Yield(%) N/A EPS(Baht) N/A MktCap(Mil.) 72 Broker Target Update No Comment

2,000,000 1,800,000 1,600,000 1,400,000

Vol.

1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 1.65 1.64

1.63 1.62

1.61

1.60

1.59 1.58

1.57 1.56

Price

1.55 1.54 1.53

1.52 1.51

1.50 1.49

1.48 1.47 1.46

1.45 1.44 1.43 1.42 1.41 1.40

0

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภ�คม 2554

Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 20 พฤษภ�คม 2554

SOLAR

( Day )

Volume Analysis

: SOLAR

7,000,000 6,000,000

Price & Fundamental Symbol SOLAR

Last 3.30 Chg 0.10 %Chg 3.13 Open 3.18 High 3.36 Low 3.16 Prev 3.20 Avg 3.27 AccVol 25,792,500 AccVal(K฿) 84,377 6.12 %Fluct P/E N/A P/BV 1.28 DPS(Baht) N/A Yield(%) N/A EPS(Baht) N/A MktCap(Mil.) 990 Broker Target Update No Comment

หลักทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็นต์การเปลีย่ นแปลง ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

5,000,000

Vol.

4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 3.36

3.34

3.32

3.30

Price

3.28

3.26

3.24

3.22

3.20

3.18

3.16

0

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 614 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 23 พฤษภาคม 2554

คำ�คมการลงทุน “ปัจจัยอื่นน่ะมายา วอลุ่มมาพร้อมราคาสิของจริง”

หน้า 18

ผูจ้ ดั ทำ� บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด

888 อาคารไอทาวเวอร์ ชัน้ 10 ถนนวิภาวดีรงั สิต เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน อาภรณ์ สุภาพ ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน

สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2554-9392 Fax : 0-2554-9385 Mobile: 084-939-8881

weeratree@efinancethai.com

www.istationnews.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.