ป กกะตืน (คู มือ)
โดย ศูนย ส งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส งเสริมอุตสาหกรรม
คํานํา ตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั อุตสาหกรรมไมในภาคเหนือตอนบนเปนอาชีพทีส่ รางรายไดใหกบั ชุมชน และประเทศชาติจํานวนมาก โดยริเริ่มจากการสรางสรรคผลงานหัตถกรรมไมที่เกิดจากภูมิปญญา ทองถิ่น จนพัฒนามาเปนอุตสาหกรรม และดวยสภาวะเศรษฐกิจปจจุบันที่มีการแขงขันสูง การผลิต จึงตองเนนคุณภาพมาตรฐานเพื่อใหตรงกับความตองการของตลาด ทั้งดานการออกแบบ ประโยชน ใชสอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณภาพ และอายุการใชงาน ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ซึง่ ถือเปนหนวยงานทีป่ ฏิบตั งิ านในฐานะตัวแทน กรมสงเสริม อุตสาหกรรมในภาคเหนือตอนบนรับผิดชอบการสงเสริมและพัฒนาระบบสงเสริมอุตสาหกรรมใหมี สมรรถนะและศักยภาพในการแขงขัน เพื่อใหเกิดความเขมแข็ง และสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาค จึงเห็นวา องคความรูเรื่อง เทคนิคการอบไมดวยเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน ซึ่งเปนองค ความรูดั้งเดิมของเจาหนาที่ที่สั่งสมความเชี่ยวชาญ และประสบการณมาโดยตลอดอายุราชการกวา 30 ป เปนองคความรูที่มีประโยชน สามารถชวยสรางและพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไมในพื้นที่ใหเติบโต และแขงขันไดมาเปนระยะเวลานาน ควรแกการรวบรวมและสืบทอดความรูไ ว เพือ่ เผยแพรใหแกบคุ ลากร ในหนวยงาน และผูประกอบการไม รวมถึงผูที่สนใจทั่วไป นําไปใชในการสราง และพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรมใหเติบโตและแขงขันได ตามประเด็นยุทธศาสตรของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม
สารบัญ คําบอกเลาจากผูเชี่ยวชาญ ความจําเปนและประโยชนในการอบไม การอบแหงดวยเตาอบ เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) - วัสดุอุปกรณชุดแลกเปลี่ยนความรอนสําหรับเตาอบ - วัสดุอุปกรณชุดระบบสงกําลัง - วัสดุอุปกรณสําหรับเตาเผาฟน - วัสดุอุปกรณเพื่อความสมบูรณของเตาอบ - เทคนิคที่ควรใสใจ - วิธีการบํารุงรักษา ปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในการอบไม ปริมาณความชื้นในไมที่ใชประโยชนดานตางๆของประเทศไทย ตารางการอบไม ถาม – ตอบ ตัวอยางเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) Success Case ภาคผนวก
01 04 05 07 08 10 10 11 11 12 12 14 15 17 20 21 25
คําบอกเล าจากผู เชี่ยวชาญ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จัดตั้งมาเมื่อป พ.ศ. 2514 ซึ่งเปนหนวยงานแรกที่มีบุคลากร เจาหนาที่ ที่มีความรูความเชี่ยวชาญในดานการพัฒนาอุตสาหกรรมไม และในอดีต อุตสาหกรรมไมยัง ไมเปนทีร่ จู กั มากนัก ผูป ระกอบการมีไมมาก สวนใหญจะเปนการผลิตเพือ่ ใช และขายใหกบั คนในทองถิน่ จึงไมเนนคุณภาพมาตรฐานเทาที่ควร กรรมวิธีการผลิตจะใชวิธีการผึ่งไมใหแหงตามธรรมชาติ ซึ่งใช เวลานาน ตอมามีผูประกอบการเริ่มนําเตาอบไมจากตางประเทศมาใช แตมีราคาสูง ทําใหผูประกอบ การรายเล็ก ไมสามารถซื้อมาใชในการผลิตได นอกจากนี้ ยังมีตําราของอาจารยปกฤญจ ศรีอรัญ แหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ไดเขียนตําราไว ซึ่งเปนตําราที่มีความสมบูรณทั้งในดานทฤษฎี และ หลักการนํามาปฏิบัติ แตทั้งนี้ผูประกอบการที่เปนรายเล็ก ไมสามารถนํามาใชได เพราะใชงบประมาณ สูงมาก และรายละเอียดคอนขางยุงยาก ดังนั้น เจาหนาที่ของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 จึงพัฒนาเตาอบไมขึ้นมาโดยการนําเอาหลักการของการอบใบยา และการอบลําไยมาใช ในระยะ แรกยังไมไดรับความสนใจจากผูประกอบการเทาที่ควร เนื่องจากไมกลาเสี่ยงในการกอสรางเตาอบไม อีกทั้งในสมัยนั้น ไมหางาย เมื่อเกิดการแตกหักเสียหาย ก็ไมเสียดาย สามารถหาทดแทนไดงาย จนกระทั้งถึงชวงอุตสาหกรรมไมรุงเรือง มีการสงออกผลิตภัณฑไมไปยังตางประเทศ ประกอบกับเริ่มมี การแขงขันสูงในกลุมผูประกอบการ ปริมาณไมลดลง ผูประกอบการขนาดเล็กเริ่มสนใจนําเอาการอบ แหงไมมาพัฒนาธุรกิจของตนเอง เพื่อลดระยะเวลาอบ และใหไดคุณภาพไมมาใชในการผลิต เจาหนาที่ ศูนยฯจึงอาศัยประสบการณ และไดหยิบยกปญหาที่ไดพบจากการใหคําปรึกษาแนะนํา มาพัฒนาการ อบไม และปรับปรุงเตาอบ รวมกับผูประกอบการ ซึ่งผลจากการใชเตาอบดังกลาว เริ่มเปนที่ยอมรับ คอนขางสูง จากผูประกอบการในภาคเหนือ ประกอบกับปจจุบัน ตลาดทั้งใน และนอกประเทศ ตองการไมที่มีคุณภาพมาตรฐาน ตนทุนในการผลิตสูงมาก ไมวาจะเปนเรื่องของ ราคาวัตถุดิบ คือ ไม ปริมาณไมเริ่มขาดแคลน ราคาเชื้อเพลิง แรงงาน ตลอดจนการจะเปดเขตความรวมมือเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ที่ทําใหผูประกอบการตองการเตาอบไมที่มีประสิทธิภาพสูง การลงทุนสรางเตาใชงบประมาณไมมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับเตาอบรูปแบบเดิมที่ใชอยู “เทคนิคการอบไมแบบใชอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน” ที่เจาหนาที่ของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 ใหคําปรึกษาแนะนํา จึงมีประสิทธิภาพดีมากกวาเตาอบไมแบบเดิมที่ใชอยู ในเรื่อง มาตรฐาน ของไม ประหยัดเวลา คุมคาในการลงทุนสราง หรือปรับปรุงเตาอบไม เพื่อใชในการผลิตมากขึ้น โดยเทคนิคเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน จากองคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ที่แตกตางจากเตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอนทั่วไป มีดังนี้
01
1. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) มีการ ออกแบบ สรางและใชงานที่ไมซับซอน จึงมีตนทุนในการกอสรางไมสูงมากนักเมื่อเปรียบ เทียบกับเตาอบตางประเทศทีม่ รี ะบบสมบูรณแบบและทํางานไดเชนเดียวกัน ทําใหประหยัด ตนทุนตอผูป ระกอบการ 2. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ติดตั้งชุด แลกเปลี่ยนความรอน ในลักษณะตั้งตรง (ตั้งฉากกับพื้น)โดยใชทอเหล็กดําหลายๆ ทอ เปนตัวนําความรอน ดังภาพซึ่งสามารถหาซื้อวัสดุไดงาย
3. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ใหมีหองติดตั้งชุดแลกเปลี่ยนความรอนกับหองอบไมแยกสวนกัน ทั้งนี้เพื่อชวยปองกัน การลุกไหมของกองไมในหองอบได เพราะการติดตั้งชุดแลกเปลี่ยนความรอนไวภายใน หองอบอาจเปนสาเหตุใหเกิดการลุกไหมของกองไมในหองอบได 4. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ใชพัดลม ซึ่งเปนใบพัดที่ทําจากเหล็ก ขนาดเล็กจํานวน 3 ตัว ติดตั้งตามแนวตั้ง (ขนานกับผนัง) ดังภาพ ในการหมุนเวียนอากาศ ทั้งนี้เพื่อชวยใหอากาศผานชุดแลกเปลี่ยนความรอน เขาไปใหความรอนแกไมที่อบแลวถูกดึงเขามาผานความรอนใหม
02
5. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ใหสามารถซอมบํารุง และทําความสะอาดเขมาควันที่ติดอยูบริเวณทอนําความรอนของ ชุดแลกเปลี่ยนความรอนไดงาย โดยใชแปรงลวดสอดเขาไปทําความสะอาดเขมาทางดาน ลางของทอ และออกแบบมาใหมีประตูเปด - ปด บริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอนดวย (ประตูอยูบริเวณดานบนเตาเผาฟน) เพื่อประโยชนในการซอมบํารุงดังกลาว 6. เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ออกแบบ ติดตั้งเพลาและมูเลยเพื่อคลองสายพานขับมอเตอรพัดลมใหอยูดานนอกเตาอบ เพื่อไมให โดนความรอนภายในเตาโดยตรง ทัง้ นีเ้ พือ่ ชวยยืดอายุการใชงานของสายพานและมอเตอร
ขอขอบคุณคําบอกเลาของผูเชี่ยวชาญ ดังนี้ นายวีรนันท นีลดานุวงศ รองอธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม นายอรรคเดช บุญไชย นักวิชาการอุตสาหกรรมชํานาญการ นายชาติชาย วัชรีเสวิน นายชางเทคนิคอาวุโส
03
เทคนิค
การอบไม ดว ยเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน (องค ความรูศ นู ย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1)
การอบไม
หมายถึง ขบวนการหรือกรรมวิธีในการทําใหความชื้นหรือนําระเหยออกจากเนื้อไมที่สดหรือ มีความชื้นมากเกินพอ โดยเหลือปริมาณความชื้นอยูในเนื้อไมไดสวนสมดุลกับบรรยากาศที่อยูโดยรอบ ไมที่จะนําไปใชประโยชนนั้น คือ ใหเหลือความชื้นอยูในไมประมาณ 1 ใน 10 ของความชื่นสด หรือ ประมาณ 8 – 16 % (12% โดยเฉลี่ย) สําหรับสภาวะอากาศของประเทศไทย วัตถุประสงคของการ อบไม เพื่อใหเสียเวลานอยที่สุดและตองไมทําใหไมเมื่อผึ่งและอบแลวมีตําหนิ นอยที่สุด
ความจําเป นและประโยชน ในการอบไม
การอบไมเปนกรรมวิธีขั้นแรกของการใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศไทยเปนประเทศที่มีดินฟาอากาศแบบโซนรอน มีสภาพดินฟาอากาศในแตละทองถิ่นจังหวัด และในแตละภาคแตกตางกันออกไป จึงเกิดปญหาในดานการใชประโยชนอยางมาก แตที่สําคัญที่สุด คือ ไมเนื้อแข็งจะมีลักษณะโครงสรางหรือกายวิภาคทางเนื้อไมสลับซับซอนจึงมักจะเกิดตําหนิไดงาย การอบไมสามารถขจัดการสูญเสียไมอนั เกิดจากตําหนิตา งๆ เชน การแตกทีผ่ วิ และภายในเนือ้ ไม การแตกตามหัวไม การบิดงอ เหลานี้ เปนตน ในขณะอบไมที่มีความชื้นสูงหรือไมสด ถาไมควบคุมการ ระเหยของนําจากเนื้อไมมักจะประสบปญหาดังกลาว อันเนื่องมาจากการยืดและหดตัวของไม สําหรับ สภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยที่มีปริมาณความชื้นสมดุลของอากาศ 8-16% เชนนี้จึงตองมีความ จําเปนในการอบไมใหไดความชื้นสมดุลกับอากาศ ของแตละทองถิ่น เพื่อใหไมมีการคงรูปแนนอน เมื่อนําไมไปใชจะไมมีการยืดหรือหดตัว ซึ่งอาจทําความเสียหายตอสิ่งกอสรางได เชน การเขารางลิ้น ขอตอ การบิดงอไปจากแนวระดับ และการแตกเสียหายของไม
ประโยชน ของการอบไม
1. ทําใหไมมีนําหนักเบาเปนผลดีตอการขนสงไมจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งตนทุนในการ ขนสงไดมาก 2. ทําใหไมหดตัวเสียกอน กอนที่จะนําไปใชประโยชน 3. ทําใหไมอยูตัวหรือคงรูป มีการยืดหรือหดตัวนอย ไมเปนอุปสรรคตอการกอสรางตางๆ 4. ไมเมื่อแหงดีแลวจะมีคุณสมบัติดานความแข็งแรง ดีกวาเดิม 5. ความแข็งแรงของรอยตอที่ตอดวยตะปูหรือตะปูควงจะดีขึ้น
04
6. ทําใหไมเปนฉนวนความรอนและฉนวนไฟฟาไดดี 7. ทําใหทาสีหรือทานํามันชักเงาไดดีขึ้น 8. ทําใหไมพนจากการทําลายของแมลงและเห็ดราตางๆ 9. ไมที่อบหรือผึ่งอยางดีแลวจะติดกาว อาบนํายารักษาเนื้อไมหรืออาบนํายาทนไฟไดดีขึ้น 10. กรณีนําไปทําเครื่องดนตรี ทําใหใชเก็บเสียงไดดีขึ้น
การอบแห งด วยเตาอบ การทําใหไมแหงโดยวิธีนี้ เราสามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธไดตามตองการ และสามารถทําใหการแหงของไมเปนไปอยางตอเนื่องชาหรือเร็วได ไมที่ผานการอบแลวจะมีปริมาณ ความชื้นตามความตองการตรงกับประโยชนที่จะนํา ไมนั้นๆ ไปใชงาน การอบแหงที่ดีตองใชเวลานอย สุดเพื่ออบใหมีความชื้นตามตองการและปราศจาก ตําหนิตางๆ ที่จะเกิดในไมดังนั้นการอบแหงดวย เตาอบ ใชเงินทุนสูงกวาการผึ่งแหงโดยกระแสอากาศแตระยะเวลาที่ใชอบแหงเพียง 1/10 ถึง 1/30 เทาของเวลาที่ใชผึ่งแหงโดยกระแสอากาศ ปจจุบัน มีการพัฒนาโดยผสมผสานระหวางการผึ่งแหงดวยกระแสอากาศและอบแหงดวย เตาอบ ทําใหไมที่จะนําเขาเตาอบมีความชื้นตําลงและความแตกตางของความชื้นนอยโดย ชั้นแรกกอง ไมผึ่งไวในกระแส อากาศใหความชื้นของไมโดยเฉลี่ยประมาณหรือตํากวา 30% กองไมนี้ตองกองอยู ในโรงเรือนที่มีฝา 3 ดาน ฝาดานขางกองไมหนึ่งดานติดพัดลม เพื่อใหการหมุนเวียนของอากาศรอบ กองไมดีและเร็วขึ้นเปนการเรงใหการระเหย ของนําในไมมากขึ้น การกองไมควรใหปริมาณมากเพียง พอตอการเขาอบไมในแตละครั้งของแตละเตา ผลดีของการเตรียมไมไวรอเขาเตาอบ โดยเวลาในการ ทําการผึ่งไมนี้ นานพอๆ กับเวลาใชไมดวยเตาอบในแตละครั้ง เมื่อไมในเตาอบแหงไดตามความชื้นที่ ตองการแลว เราสามารถนําไมที่ผึ่งโดยกระแสอากาศเขาเตาอบตอไป จากที่ไดมีการทดลองในหลาย ประเทศปรากฏวาถานําไมที่สดอยูแลวมาทําการอบ ดวยเตาอบโดยมิไดผึ่งกระแส อากาศใหไมหมาด ลง เวลาที่ใชในการอบแหงดวยเตาอบพบวาตองใชเวลาไมนอยกวา 4 ถึง 5 อาทิตย ไมจึงจะแหง ขอพึง ระวังในการนําไมเขาเตาอบควรคํานึง คือ 1. ชนิด และขนาดของไม ควรเปนชนิด และขนาดเดียวกัน 2. กรณีที่จําเปนตองคละขนาด ไมควรใหขนาดความหนาตางกันเกิน 1 นิ้ว 3. ไมที่มีความชื้นมากสุด (กรณีที่กองผึ่งไมในกระแสอากาศกอนเขาเตาอบไมที่อยูกลางกอง จะเปนไมที่ มีความชื้นสูงสุด กรณีคละความหนาไมที่มีความหนาสูงสุดจะมีความชื้นมาก ) ตองนํามาเปนไมตัวอยางหาความชื้นขณะทําการอบไม
05
4. กรณีคละชนิดไมเขาเตาอบ ไมที่มีคุณสมบัติในการอบแหงยาก ตองใชตารางอบไมสําหรับ การอบไมชนิดนั้นเปนหลักในการอบ ดังนั้นในการทําใหไมแหงไมวาจะโดยวิธีผึ่งกระแสอากาศหรืออบไมดวยเตาอบตอง ควบคุม ไมใหผิวหนาไมแหงเร็วเกินไป เชน การผึ่งกระแสอากาศจําเปนตองมีโรงเรือนคลุมหรือวัสดุคลุมกอง ไมเพื่อปองกัน การเสียนํามากและเร็วเกินไป สวนการอบไมดวยเตาอบตองควบคุมอุณหภูมิและ ความชื้นสัมพัทธ (ตามตารางที่ 1, 2 แนบทายเอกสาร) ใหเหมาะสม เพราะถาผิวหนาไมภายนอกแหง เร็วเกินไปขณะเดียวกันภายในเนื้อไมยังมีความชื้นสูงอยู พบวาถาความชื้นของเนื้อไมดานนอกแตก ตางกับความชื้นในไมเกิน 5% จะเกิดแรงเคนในเนื้อไมเปนสาเหตุของการตําหนิตางๆ ได เชน โคง อาการแข็งนอกแตกแบบรังผึ้งในเนื้อไมได ทั้งนี้ตําหนิตางๆ อาจเกิดจากคุณสมบัติเฉพาะตามธรรมชาติ ของเนื้อไม เชน ลักษณะเสี้ยนไม อายุของไมที่นํามาใชงานพบวาไมโตเร็ว เชน ไมยูคาลิปตัส ไมสะเดา เทียม การเจริญเติบโตที่รวดเร็วของไมทําใหเกิดแรงเคนขึ้นในเนื้อไม โดยไมที่มีอายุนอยแรงเคนจาก การเจริญเติบโต คอนขางรุนแรงทําใหเกิดอาการแตกที่ปลายไมไดงาย ดังนั้น ในการอบแหงจําเปน ตองทาสีที่หัว-ทายของไม เพื่อลดการคายความชื้นในไมเร็วเกินไป ขณะเดียวกันปลายไมทั้งสองดาน ตองใชไมคั่นวางทั้งสองดานใหพอดีกับหัว และปลายไมและบนสุดของกองไม ควรวางนําหนักกดทับ กองไมดวย เนื่องจากไมโตเร็วเมื่อสูญเสียความชื้นในไม แรงเคนจากการเจริญเติบโตจะโดนปลอยออก มาดวย อาจทําใหไมเกิดตําหนิ โกง หรือโคงได เพื่อปองกันและลดอาการดังกลาวจําเปนอยางยิ่งที่ ตองเอานําหนักทับกองไม ไวขณะทําการอบแหงหรือผึ่งใน กระแสอากาศ ดังนั้นรูปแบบในการแกไข ปญหาเกี่ยวกับไมโตเร็วจําเปนตองสังเกตอาการ ตางๆ ที่เกิดขึ้นกับไม จากที่กลาวมาขางตนมิไดเปน ขอปฏิบัติตายตัวจําเปนที่ผูปฏิบัติตอง บันทึกจดไว เพื่อเปนแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิดจากการ อบหรือการผึ่งแหง การอบไมเกิดตําหนิไดงาย ดังนั้นการใชตารางอบไม (ตามตารางที่ 1, 2 แนบทายเอกสาร) ตองระมัดระวังเปนพิเศษอุณหภูมิไมควรสูงมาก ความชื้นสัมพัทธภายในเตาชวงแรกของการอบแหง ควรสูงกวาปกติ โดยใหเพิ่มอุณหภูมิใหสูงขึ้นในแตละวันตามตาราง (ตารางที่ 2แนบทายเอกสาร) เริ่ม จาก 57 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงวันสุดทาย อุณหภูมิควรจะอยูที่ 75 องศาเซลเซียส โดยไม ใหเกินกวานี้ ขณะเดียวกันความชื้นสัมพัทธ (Relative Humidity : R.H) ในหองอบควรใหลดลงตาม ตารางจาก 75 % ลดลงเรื่อยๆ จนถึง 40 % ในวันสุดทายตามลําดับ ขณะเดียวกันการหมุนเวียนของ กระแสลมในเตาอบตองมีเพียงพอ เราจําเปนตองรูวากระแสลมภายในเตามีความเร็วเทาใด (ประมาณ 1 เมตรตอวินาที) เพื่อที่จะปรับเปลี่ยนความชื้นสัมพัทธใหเหมาะสมถูกตอง
06
เตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน
(องค ความรูข องศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) รายละเอียดเพ�อ่ การก อสร างเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน
พื้นฐานราก : ลงเสาตอหมอ และคานคอดิน ผนัง : กออิฐ (อิฐทนไฟ หรืออิฐมอญ) ฉาบปูนทนความรอน (มอตา) ทั้งภายในและภายนอก เจาะชองผนังดานบนขนาด 30 x 10 เซนติเมตร สําหรับระบายความชื้นออก (โดยใหปรับเลื่อน ปด – เปดได) และชองผนังดานลาง ขนาด 30 x 10 เซนติเมตร สําหรับใหลมเย็นเขา เพดาน : วางพื้นสําเร็จ แลวเทปูนทับหลัง บานประตู : ทั้งประตูหองอบไม และประตูบริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอนสําหรับซอมบํารุง ควรใสแผนฉนวนความรอน (แผนยิปซั่มบอรด หรือไมโครไฟเบอร)
ผนังโครงสรางเตาอบ
07
ประตูหองอบไม
ภาพแสดงวัสดุอปุ กรณ
ชุดแลกเปลีย่ นความร อนสําหรับเตาอบ
08
วัสดุอปุ กรณ ชดุ แลกเปลีย่ นความร อนสําหรับเตาอบ (ติดตัง� ตามแบบ)
1. เหล็กฉากหนา 2 นิ้ว 2. ทอเหล็กดําหนา 1.8 – 2 มิลลิเมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2 ½ นิ้ว ความยาว 2 เมตร จํานวน 41 ทอน 3. เหล็กแผน (บน) หนา 3/16 นิ้ว เจาะรูตามแบบ เชื่อมยึดทอเหล็กดํา 4. เหล็กแผน (ลาง) หนา ½ นิ้ว เจาะรูตามแบบ เชื่อมยึดทอเหล็กดํา 5. ชุดฝาครอบชุดแลกเปลีย่ นความรอน ใชเหล็กหนา 2 มิลลิเมตร ขนาด 70x80x30 เซนติเมตร 6. หนาแปลนปลองควัน ใชเหล็กหนา 8 มิลลิเมตร 7. ทอปลองควัน ใชเหล็กหนา 2 มิลลิเมตร เสนผานศูนยกลาง 25 เซนติเมตร 8. ฝาชีครอบปลองควัน 9. พัดลมหมุนเวียนอากาศทําจากเหล็ก โดยมีใบพัดลม 5 ใบ กานใบหนา 4 มิลลิเมตร ใบพัดหนา 1.5 มิลลิเมตร ขนาดรองลิ่มมาตรฐาน 5/16 นิ้ว ลึก 1/8 นิ้ว
ทอเหล็กดํา
เหล็กแผน (บน/ลาง) เพื่อยึดทอเหล็กดํา
ชุดแลกเปลี่ยนความรอน หลังจากทําการเชื่อมยึดกับทอเหล็กดํา แผนเหล็ก และเหล็กฉากเรียบรอยแลว
พัดลมหมุนเวียนอากาศ
09
ฝารัดรอบปลองควัน
วัสดุอปุ กรณ ชดุ ระบบส งกําลัง (ติดตัง� ตามแบบ) 1. มอเตอร 2 แรงมา 2. สายพาน 3. เพลาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 ¼ นิ้ว จํานวน 2 เพลา (ควรใชวัสดุที่มีคุณภาพ) 4. มูเลยนํา 3 นิ้วจํานวน 1 ตัว 5. มูเลยขับ 4 นิ้ว จํานวน 3 ตัว
แบบการติดตั้งชุดระบบสงกําลัง
วัสดุอปุ กรณ สาํ หรับเตาเผาฟ�น (ห องเผาไหม )
เตาเผาฟนกออิฐ (อิฐทนไฟ หรืออิฐมอญ) ใชอิฐทรงกลีบสมกอสวนโคงเตา ภายในฉาบปูนทน ความรอน (มอตา) และติดตั้งชุดโครงเหล็กยึดเตาเพื่อปองกันผนังเตาถางออก 1. ตะแกรงเหล็กหลอ ขนาด 30 x 38 เซนติเมตร หนา 2.5 เซนติเมตร จํานวน 6 แผน 2. ประตูเผาใชเหล็กแผนหนา ¼ นิ้ว 3. ชองดูไฟ ขนาด 8 x 10 เซนติเมตร บริเวณประตูเตาเผา
เตาเผาฟน (หองเผาไหม)
ตะแกรงเหล็กหลอ
เตาเผาที่เสริมตะแกรงเหล็กหลอรองรับฟน
เศษไมทเหลื เี่ หลือจากกระบวนการผลิต
ชวยใหการเผาไหมสมบูรณ
10
ใชเปนเชื้อเพลิงในการอบไม
วัสดุอปุ กรณ อน่ื ๆ เพ�อ่ ความสมบูรณ ของเตาอบ 1. เกจวัดอุณหภูมิ 2. เกจวัดความชื้นสัมพัทธ
เทคนิคทีค่ วรใส ใจ
1. การเจาะแผนเหล็ก สําหรับทําอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน ควรใชอุปกรณตัดเหล็ก ดวยความรอนจากแกส และเชื่อมดวยลวดเชื่อมไฟฟา ทางดานนอก ที่ปลายทอกับแผน เหล็ก โดยควรหาชางที่ชํานาญมาเชื่อมทอและแผนเหล็ก เพื่อใหไดคุณภาพดี ทนทาน ใชงานไดดี
การเจาะแผนเหล็ก
2. ชองระบายความชื้น ใชในการควบคุมการระบายความชื้น โดยสามารถเลื่อนปรับใหเปด– ปดไดมากหรือนอยไดตามตองการ การเปดชองระบายความชื้น ตองสัมพันธกับความชื้น สัมพัทธ ภายในเตาอบ เชน ในวันแรกของการอบ ความชื้นสัมพัทธ Relative Humidity (R.H) อยูที่ 75 % ตามตารางดังนั้น ควรปรับเปดชองระบายความชื้น แลวใหอุปกรณวัด ความชื้นวัดไดประมาณ 75% หากตํากวานี้ ไมอาจจะแตกได 3. การผานของลมรอน ควรใหลมรอนไหลผานกองไมที่จะอบ โดยแตละชั้นของกองไมจะ ตองมีไมคั้นดวยไมขนาด 1 x 1 นิ้ว หรือขนาดใหญสุดไมเกิน 2 x 2 นิ้ว สําหรับไมหนา และวางหางกันประมาณ 50 ซม. 4. พัดลมตองเปนแนวตั้ง เนื่องจาก หองอบมีขนาดความสูง 3 เมตร เพื่อใหลมรอนกระจาย ทั่วถึง จึงตองมีพัดลมหลายตัว 5. การใสฟน ควรเติมเชื้อเพลิงใหเหมาะสมไมควรใสแนนเกินไป ใหมีชองอากาศไหลเขาไป สันดาป ระหวางกองเชือ้ เพลิงใหเพียงพอ ใหสงั เกตการณการลุกไหมของเชือ้ เพลิงทีส่ มบูรณ เปลวไฟจะมีสีสมและฟาเล็กนอย จะตองไมมีควันไหลยอนออกมาที่หนาเตา ที่ปากปลอง จะตองมีควันนอยหรือแทบจะมองไมเห็น หากเติมเชื้อเพลิงมากเกินไปการเผาไหมจะไม สมบูรณ ควันก็จะมากขึ้นดวย
11
วิธบี าํ รุงรักษาเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน 1. 2. 3. 4. 5.
ตรวจดูอุปกรณวัดอุณหภูมิและความชื้น ทุกครั้งเมื่อทําการอบไม วายังทํางานปกติหรือไม ตรวจใบพัดลมวาอยูในสภาพดี ไมบิดงอ หรือใบพัดหลุดหาย ตรวจดูสายพานไมตึงหรือหยอนเกินไป ตรวจดู มูเลย ตองยึดแนน ไมหลวม พรอมทั้งอัดจารบีอยางสมําเสมอ ตรวจระบบแลกเปลี่ยนความรอน ทอและรอยเชื่อมจะตองไมรั่ว ซึ่งหากมีรอยรั่วที่ทอ หรือรอยเชื่อมเล็กนอย อาจซอมได หากใชงานมานาน 4-5 ป ทอแลกเปลี่ยนความรอนผุ กรอน ควรเปลี่ยนใหม ทั้งนี้อยูที่ความถี่ของการอบไมดวย 6. ประตูเปด-ปด เตาควรปดสนิท 7. ทําความสะอาดชุดแลกเปลี่ยนความรอน (บริเวณทอนําความรอน) หากมีเขมาควันติด หนามากควรใชแปรงลวดเหล็กทําความสะอาดอยางสมําเสมอ
ป จจัยต างๆ ทีเ่ กีย่ วข องในการอบไม ความชื้นในไม ปริมาณความชื้นที่มีอยูในเนื้อไม หมายถึง นําหนักของนําที่อยูในไม คิดเปนรอยละ หรือ เปอรเซ็นต (%) ของนําหนักอบแหงของไม เชน ไมชนิดหนึ่งมีปริมาณความชื้น 10 % หมายความวามี นํา หนัก 10 หนวย ตอนําหนักของไมชนิดนั้น 100 หนวย ระดับความชื้นมาตรฐานของไม คือ ความชื้นอยูที่ 10-12% เมื่อไมออกจากเตาอบมาอยูใน ระดับอากาศปกติ การดูดซึมความชื้นจะคอยๆ เพิ่มขึ้นในไมตามภาวะของอากาศการคํานวณหา ปริมาณความชื้นของไม คํานวณไดจากสมการ ดังนี้ ปริมาณความชื้น =
นําหนักไมกอนอบ – นําหนักไมหลังอบ นําหนักไมหลังอบ
x 100
หรือใชเครื่องมือวัดความชื้นดวยไฟฟา (Electrical Moisture Meters) ซึ่งเปนเครื่องมือที่นิยมใชกัน มาก เนื่องจากใชงาย สะดวก และใหคาที่แนนอน เชน เครื่องวัดความชื้นชนิดที่ใชเข็มตอกตัวเดียว วิธีการวัดทําไดโดยตอกเข็มหนึ่งตัวลงไปในเนื้อ ไม ซึ่งกระแสไฟฟาจะผานความชื้นที่มีอยูในไมผานเข็มเขาไปที่มาตรวัดความชื้น เข็มชี้ของเครื่องวัดจะ เคลื่อนที่ไปตามตัวเลขบอกระดับความชื้นในไม เครื่องวัดความชื้นชนิดที่ใชเข็ม 2 ตัว โดยวิธีการวัดจาก การตอกเข็ม 2 ตัวลงไปในเนื้อไม กระแสไฟฟาจะผานความชน้ื ในไมผา นเขม็ ทัง้ 2 ตัว เขาไปในเครือ่ งวัด เพือ่ บอกตัวเลขระดับความชืน้ ในไม
12
การเรียงกองไม การเรียงกองไมสัมพันธกับการหมุนเวียนของอากาศในเตาอบอยางมาก หากกองไมไมดียอม มีอุปสรรคตอการหมุนเวียนของอากาศ ตานทางทิศทางการหมุนเวียนของอากาศใหกระจายไมเปน ระบบดังนั้นการวางไมควรเวนชองวางระหวางชิ้นไม โดยใชไมขนาดเดียวกัน (ขนาดใหญที่สุดไมเกิน 2 x 2 นิ้ว) วางขวางไวเปนระยะๆ หางกันประมาณ 50 cmตลอดในหองอบ กอนวางชิ้นไมที่ตองการ อบ เพื่อใหอากาศรอนไหลผานกองไมไดโดยทั่ว อุณหภูมิในเตาอบ อุ ณ ห ภู มิ เ ป น ตั ว ก า ร สํ า คั ญ ที่ ทํ า ใ ห การระเหยของนําออกจากไม อัตราการซึมผานของ ความชื้นของไมจะสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความชื้น จะคอยๆ ซึมออกจากผิวชัน้ ในสูผ วิ ชัน้ นอก ในการอบไม ชนิดตางๆ โดยเฉพาะไมที่มีความหนาแนนปานกลาง การวางเรียงกองไมในเตาอบ และไมเนื้อแข็ง การหดตัวและการผิดรูปรางของไม จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นไมที่บิดตัวไดงายจะใชอุณหภูมิในการอบที่อุณหภูมิตําๆ ไมบางชนิดจะแตกหักหรือเปนรูพรุนเมื่ออบที่อุณหภูมิสูง ไมบางชนิดจะมีสีเขมขึ้น เนื่องจากเรซินในไม ไหลมาเคลือบผิวไวเนื่องจากการอบไมที่อุณหภูมิสูง จะทําใหความแข็งแรงของไมลดลงเล็กนอย ดังนั้น ควรอบไมไมเกิน 60-75 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของไมดวย ระบบหมุนเวียนของอากาศในเตาอบ ความสําคัญของระบบหมุนเวียนของอากาศในเตาอบ เพื่อนําความรอนจากทอใหความรอน ผานไปยังกองไม ทําใหความชื้นระเหยออกมาจากไมทําใหความรอนและความชื้นแผกระจายไปทั่ว กองไมและเตา นําเอาความชื้นที่ระเหออกมาจากไมออกมาภายนอกกองไม ทําใหการระเหยของนํา จากไมดําเนินไปไดเรื่อยๆ ถาหากระบบการหมุนเวียนของอากาศภายในเตาไมดี คือไมเพียงพอหรือไม สมําเสมอกันก็จะทําใหไมแหงไมสมําเสมอกัน นอกจากนี้การระบายอากาศชื้นออกจากไมนั้น ไมมีทาง ระบายออกมาจากเตา จะทําใหสภาพในเตามีความชื้นสูง และไมมีการระเหยของความชื้นจากไม และ ในทํานองเดี่ยวกันจะมีทอใหอากาศที่เย็นและแหงเขาไปในเตาดวย ประสิทธิภาพของทอใหความรอน จะขึ้นอยูกับระบบหมุนเวียนของอากาศ ถาการหมุนเวียนของอากาศไมดี ประสิทธิภาพการใหความ รอนของทอก็จะลดลงทันที ปรากฏการณในการอบไม ชวงตนอุณหภูมิตํา ความชื้นสูง ชวงปลายอุณหภูมิสูง ความชื้นตํา
13
ปริมาณความชืน้ ในไม ท่ีใช ประโยชน ดา นต างๆ ของประเทศไทย
(กําหนดโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) มีดังนี้คือ ไมแปรรูปอบ แบงออกเปน 3 ประเภท ประเภทที่ 1 ไมประตูไมแผนเรียบ ความชื้นอยูระหวาง 8-12% ประเภทที่ 2 ไมพื้นและไมภายในอื่นๆ ความชื้นอยูระหวาง 12-16% ประเภทที่ 3 ไมทําลังใสของ ความชื้นไมเกิน 20% • ชิ้นไมปูพื้นปารเกไมสัก ปริมาณความชื้นอยูระหวาง 12-16 % • ชิ้นไมปูพื้นปารเกไมกระยาเลย ปริมาณความชื้นอยูระหวาง 12-16 %
14
15 1
2
** กรณีอบไม้ชนิดอื่นสำมำรถใช้ตำรำงดังกล่ำวอ้ำงอิงได้
0
10
20
30
40
50
60
70
80
ควำมชื้นของไม้ ควำมชื้นของไม้(เฉลี่ย) อุณหภูมิ % % C 40 40 47 40-35 37.5 52 35-30 32.5 52 30-25 27.5 55 25-20 22.5 57 20-15 17.5 60 15-10 12.5 65 10 10 70
ตำรำงที่ 1 แสดงกำรอบไม้ประดู่
3
ควำมชื้น R.H % 75 70 65 60 55 50 40 35 รวม
4
5
วัน/ควำมหนำไม้ 0.5 -0.75" 1 1 1 1 2 2 2 2 12
6
7
วัน/ควำมหนำไม้ 1.0" 1 1 1 2 3 4 5 7 24
8
ความชื้น R.H %
อุณหภูมิ C
%
วัน/ควำมหนำไม้ ควำมชื้นแตกต่ำง 1.50" RH - ควำมชื้นไม้ 1 35 2 32.5 3 32.5 4 32.5 6 32.5 8 32.5 10 27.5 11 25 45
ความชื้นของไม้(เฉลี่ย)
วัน/ควำมหนำไม้ 1.25" 1 1 1 2 3 5 6 11 30
16 1
2
3
ควำมชื้นของไม้(เฉลี่ย) % 45 42.5 32.5 27.5 22.5 17.5 15
** กรณีอบไม้ชนิดอื่นสำมำรถใช้ตำรำงดังกล่ำวอ้ำงอิงได้
0
10
20
30
40
50
60
70
80
ควำมชื้นของไม้ % 50-40 40-35 35-30 30-25 25-20 20-15 15
ตำรำงที่ 2 แสดงกำรอบไม้สัก
4
5
อุณหภูมิ ควำมชื้น C R.H % 57 75 60 70 60 65 65 60 65 55 70 50 75 40 รวม
6
7
วัน/ควำมหนำไม้ 0.5 -1" 1 1 1 2 2 2 3 12
ควำมชื้นแตกต่ำง RH - ควำมชื้นไม้ 30 27.5 32.5 32.5 32.5 32.5 25
ความชื้นของไม้(เฉลี่ย) % อุณหภูมิ C ความชื้น R.H %
วัน/ควำมหนำไม้ 1.25" 1 1 1 3 3 3 4 16
ถาม – ตอบ 1. การบํารุงรักษาพัดลมในเตาอบให มอี ายุการใช งานนานๆ จะทําอย างไร
เนื่องจากพัดลมทําจากเหล็ก ซึ่งมีคุณสมบัติทนความรอนไดดีอยูแลว จึงมีอายุการใชงานนาน การบํารุงรักษาอาจทําเพียงการปดฝุนทําความสะอาดและการอัดจาระบีลูกปน เดือนละ 1 ครั้ง ก็จะ ชวยยืดอายุการใชงานใหนานยิ่งขึ้น
2. ไม ตา งชนิดกัน แต มขี นาดเท ากัน ใช ระยะเวลา และอุณหภูมติ า งกันหรือไม อย างไร
ไมตางชนิดกัน แตมีขนาดเทากัน รูปทรงเดียวกัน ใชอุณหภูมิไมตางกัน (อุณหภูมิที่ใชใน การอบไมสวนใหญจะเริ่มที่ 40 องศาเซลเซียส เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสูงสุด ไมเกิน 70 องศาเซลเซียส) แตจะตางกันที่ระยะเวลา เพราะไมแตละชนิดมีความหนาแนนไมเทากัน ไมที่มีความหนาแนนมากจะ ใชระยะเวลาในการอบนานกวาไมที่มีความหนาแนนนอย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยอื่นๆประกอบดวย เชน การจัดวางเรียงไมในเตา เนื้อแข็ง มีความหนาแนนมากเชน ประดู ชิงชัน เต็งลัง แดง ปานกลางมีความหนาแนนปานกลางเชน ตะแบก ตะเคียน มะคา เนื้อออน มีความหนาแนนนอยเชน สัก ยาง จําปาปา พยอม
3. ฤดูกาลมีผลต อการอบไม หรือไม
ฤดูกาลมีผลตอการอบไมในขั้นตอนหลังการอบ กลาวคือ หากทําการอบไมจนแหงแลว เมื่อนําไมมาเก็บไวความชื้นอาจกลับเขามาในไมไดประมาณ 3 – 4 เปอรเซ็นต โดยเฉพาะฤดูฝน ที่มีปริมาณความชื้นในอากาศสูง ดังนั้นหากอบไมจนแหงแลวควรนําไปเคลือบรองพื้นผิวไมกอน เพื่อปองกันไมใหความชื้นกลับเขาสูผิวไมไดอีก
4. เชือ้ เพลิงที่ใช ในเตาอบไม สามารถใช อะไรเป นเชือ้ เพลิงได บา ง
เชื้อเพลิงที่ใชในเตาอบที่เหมาะสมที่สุด คือ เศษไมจากขั้นตอนการผลิตที่ไมสามารถใชงานได แลว ซึ่งจะชวยลดตนทุนไดดีอีกดวย
17
5. ขนาดของเตาอบกับปริมาณท อนําความร อนในชุดแลกเปลีย่ นความร อน (ท อเหล็กดํา) มีความสัมพันธ กนั อย างไร
ขนาดของเตาอบจะขึ้นอยูกับขนาดไมที่จะนําเขาเตาอบ หากไมมีขนาดใหญ เตาอบก็จะตอง มีขนาดใหญกวาไมที่จะนําเขาเตาอบ ดังนั้นปริมาณทอนําความรอนจึงขึ้นอยูกับขนาดเตาอบ กรณี เตาอบมีขนาด 4 x 5 เมตร ทอนําความรอนจะใชประมาณ 41 ทอ หากเพิ่มขนาดเปน 5 x 5 เมตร อาจตองใชทอนําความรอนเปน 45-49 ทอ
6. พัดลมหมุนเวียนอากาศทีด่ คี วรทําจากวัสดุใด
พัดลมหมุนเวียนอากาศที่ดีควรทําจากเหล็ก โดยมีใบพัดลม 5 ใบ กานใบหนา 4 มม. ใบพัดหนา 1.5 มม. ขนาดรองลิ่มมาตรฐาน 5/16 นิ้ว ลึก 1/8 นิ้ว โดยแตละใบใหปริมาณลม 400 – 500 CMM ที่ความเร็วรอบ 1,080 RPM
7. ช องระบายความชืน้ ออกควรอยูบ ริเวณใดของเตาอบ
เตาอบมีความจําเปนจะตองมีชองระบายความชื้น เพื่อเปดใหความชื้นที่ออกมาจากไมที่ อบไหลออกมาภายนอกเตา ชองระบายความชื้นจึงนิยมติดตั้งไวบริเวณกําแพงดานบนของเตาอบ หรือ เหนือประตูเขาออกเตาอบก็ได
8. จําเป นหรือไม ทจ่ี ะต องจัดทําประตูบริเวณชุดแลกเปลีย่ นความร อน
สาเหตุที่ตองมีการจัดทําประตูบริเวณชุดแลกเปลี่ยนความรอน คือ เพื่อใหซอมบํารุงไดงาย หากเกิดการชํารุดเสียหาย ดังนั้น บริเวณชุดทําความรอนควรมีชองหรือประตูสําหรับเปดซอมบํารุง หรือเปลี่ยนชุดแลกเปลี่ยนความรอน
9. ควันทีอ่ อกมาจากเตาอบ เป นมลพ�ษต อสิง� แวดล อมหรือไม
การอบไมจากเตาอบดังกลาวนี้ เปนการเผาไหมเชื้อเพลิงแบบสมบูรณ เพราะมีออกซิเจนชวย ในการเผาไหม จึงไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมบริเวณใกลเคียงหรืออาจสงผลกระทบแตเพียงเล็ก นอยเทานั้นซึ่งไมกอใหเกิดอันตรายแตทั้งนี้แลวตองพึงระมัดระวังและสังเกตปริมาณและลักษณะของ ควันที่ออกมาจากปลองดวย
10. จําเป นหรือไม ทจ่ี ะต องมีตะแกรงเหล็กรองเชือ้ เพลิงไว ทเ่ี ตาเผา
จําเปน เพราะ ตะแกรงเหล็กใชรองรับเชื้อเพลิงเพื่อใหดานใตตะแกรงมีออกซิเจนผานได ซึ่งจะใชหลักการเดียวกับเตาอั้งโลที่ใชหุงตมอาหาร
18
11. อัตราความสูงของปล องควันมีผลต อการอบไม หรือไม อย างไร
อัตราความสูงของปลองควันที่ดีควรมีความสูงประมาณ 6 – 8 เมตร (วัดจากระดับพื้นดิน) หากปลองควันมีอัตราความสูงมากหรือนอยเกินไปจะสงผลกระทบตอการอบไม กลาวคือ หากปลอง ควันสูงมาก การดูดอากาศ(ออกซิเจน) เขาสูเตาอบก็จะมากขึ้นดวย จึงทําใหมีอากาศสวนเกินไหล เขาไปยังหองเผาไหม เมื่อหองเผาไหมมีอากาศสวนเกินมากเกินความจําเปน จะทําใหเกิดการเผาไหม เร็วกวาปกติทําใหสูญเสียพลังงานความรอนทิ้งไปกับอากาศรอนที่ปลองควันโดยเปลาประโยชน และ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงดวย ในขณะเดียวกันหากสรางปลองควันตําเกินไป การดูดอากาศ (ออกซิเจน) เขาเตาอบจะนอยเกินไป การสันดาปจะไมสมบูรณ ทําใหอุณหภูมิไมสูงพอ ทั้งยังทําใหเกิดควัน และ เขมามาก
12. การเติมเชือ้ เพลิง ควรทําอย างไร
การเติมเชื้อเพลิง (ฟน) ควรเติมใหพอดี ไมมากหรือนอยจนเกินไป โดยเมื่อใสเชื้อเพลิงแลว ควรใหมีชองวางใหอากาศไหลเขาไปสันดาปดวย เพื่อใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ ทั้งนี้การลุกไหมของ เชื้อเพลิงที่สมบูรณจะมีเปลวไฟสีสมและฟาเล็กนอย และจะตองไมมีควันไหลยอนออกมาที่หนาเตา ใน ขณะเดียวกัน ที่ปากปลองควันจะตองมีควันออกมาเล็กนอยหรือแทบจะมองไมเห็น หากเติมเชื้อเพลิง มากเกินไปการเผาไหมจะไมสมบูรณเพราะอากาศไหลผานเขาไปไมได และอาจทําใหเกิดความเสีย หายตอเตาอบได
13. ทําไมจึงต องใช มเู ล ยข นาดต างกัน
เตาอบไมแลกเปลี่ยนความรอน (องคความรูศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1) ใชมูเลยที่ มอเตอรขนาด 3 นิ้ว และใชมูเลยที่เพลาพัดลมขนาด 4 นิ้ว เนื่องจาก ตองการลดความเร็วที่ใบพัดลมลง จาก 1,450 รอบตอนาที เหลือ 1,080 รอบตอนาที (ลดลง 25%) เพื่อลดภาวะ Load การทํางานของ มอเตอรลง
19
ตัวอย างเตาอบไม แลกเปลีย่ นความร อน (องค ความรูข องศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1)
ซึ่งเจาหนาที่ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ไดใหคําปรึกษาแนะนําในการสรางเตา และ การใชงาน
แหล งซือ้ วัสดุ – อุปกรณ
พัดลม : ศูนยพัดลมโลหะกิจ (14/3 ถ.เชียงใหม – หางดง ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทร 053 – 282668, 081 – 9808864) ตะแกรงเหล็กหลอสําหรับวางเชื้อเพลิง : สามารถหาซื้อไดที่โรงหลอเหล็กทั่วไป ทอเหล็กดํา : รานคาวัสดุและอุปกรณงานโลหะทั่วไป
สนใจรับคําปรึกษาแนะนําเพ�ม� เติมได ท่ี ศูนย สง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ที่อยู : 158 ถนนทุงโฮเต็ล ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000 โทรศัพท : 053-245361-2
20
Success Case ชื่อโรงงาน ที่อยู ชื่อ โทรศัพท ผลิตภัณฑ ปริมาณการผลิต จํานวนคนงาน
สหกรณบริการผลิตภัณฑไมนําชํา-หัวฝาย จํากัด 196 ม.2 ต.นําชํา อ.สูงเมน จ.แพร 53130 นายสวาท ผานการ ตําแหนง ประธานสหกรณ 054-541963 / 081-6032652 เฟอรนิเจอรไมสัก 360 ชิ้น/ป 128 คน ทุนจดทะเบียน 307,000 บาท
การตรวจประเมินก อนการปรับปรุง
เดิมสหกรณไดผลิตเฟอรนิเจอรโดยใชไมสักจากบานเกา ตอมาไมสักเกาเริ่มนอยลง และ หายากขึ้น เนื่องจากในจังหวัดแพรมีการใชไมสักทําเฟอรนิเจอรจํานวนมาก สหกรณจึงเปลี่ยนแนวทาง การผลิตใหม โดยใชไมสักสวนปาจากองคการอุตสาหกรรมปาไมมาทดแทน โดยนําไมทอนมาแปรรูป แลวผึ่งแหงดวยกระแสอากาศ ทําใหเกิดปญหาการผลิต คือ ไมแหงไมทันตอกระบวนการผลิต ไมมีการ หดตัวหลังจากนําไปประกอบทําใหเกิดชองวางตามรอยตอ ไดผลิตภัณฑที่ไมมีคุณภาพ
เป าหมายการดําเนินการให บริการ
แนะนําใหสหกรณเปลี่ยนวิธีการผึ่งแหงเปนการอบแหงโดยใชเตาอบลดความชื้นในเนื้อไม เพื่อใหทันตอกระบวนการผลิต ลดการแตกราวและทําใหผลิตภัณฑไดมาตรฐานยิ่งขึ้น
การดําเนินการ
สวนบริการอุตสาหกรรมไดออกแบบเตาอบแหงลดความชื้น แบบเตาคูจํานวน 1 เตา ขนาด 3.8 x 3.8 x 2.8 เมตร สามารถจุไมที่จะอบไดสูงสุด 10 ลูกบาศกเมตรตอ 1 หอง (มีชองวางใหลมรอน ผานกองไมดวย) โดยใชเชื้อเพลิงจากเศษไมที่ไดจากการแปรรูป ซึ่งเตาอบนี้จะแยกเตาเผาเชื้อเพลิงและชุดแลกเปลี่ยนความรอนไวคนละหอง ทั้งนี้เพื่อปองกัน การลุกไหมทอ่ี าจเกิดขึน้ ไดระหวางการอบ และใชพดั ลมเปนตัวพาความรอนผานเขาไปในหองอบ หมุนเวียน อยางสมําเสมอ มีชองระบายความชื้นออก และชองอากาศเย็นเขา ติดตั้งเกจวัดอุณหภูมิ และ ไฮโกรมิเตอรวัดความชื้นสัมพัทธภายในเตา ทําใหสามารถควบคุมการอบแหงได
21
ผลลัพธ การดําเนินการ
สหกรณไดนําเตาอบไมของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ไปสรางจนแลวเสร็จ จากนั้น เจาหนาที่ศูนยฯ ไดไปดําเนินการทดสอบ ทดลองอบลดความชื้น พรอมแนะนําวิธีการใชงานเตาอบ ปรากฏผลดังนี้ - สามารถอบลดความชื้นในไมสักหนา 1 นิ้ว จาก เดิม 19-20% เหลืออยูระหวาง 10-12% ใชเวลาในการอบ 10-12 วัน (เดิมผึ่งแหงดวยกระแสอากาศใชเวลาประมาณ 90 วัน) - ลดการสูญเสียของผลิตภัณฑที่เกิดการแตกราวมากกวา 50% - ลดการหดตัวของเนื้อไมหลังจากประกอบเปนผลิตภัณฑไดทั้งหมด - ลดการเกิดเชื้อราของเนื้อไมกอนทําสี - ชวยใหการทําสีสะดวกและสวยงามขึ้นอันเปนการเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ
22
ชื่อโรงงาน ที่อยู ชื่อ โทรศัพท ผลิตภัณฑ ปริมาณการผลิต จํานวนคนงาน ตลาด
บริษัท ชวี่ เฉวียน ฟูดส จํากัด 224 หมู 9 ต.เวียงกาหลง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย 57260 นายเจริญชัย แยมแขไข ตําแหนง กรรมการผูจัดการ 053-952256-7 ขิงดองและผลไมอบแหง (โดยผลิตลังไมบรรจุขิงดองเอง) 16,000 ลัง/เดือน 650 คน ทุนจดทะเบียน 30,000,000 บาท ในประเทศ 2% ตางประเทศ 98% (เอเชีย, อเมริกา)
การตรวจประเมินก อนการปรับปรุง
บริษทั มีปญ หาในการอบแหงลังไมสาํ หรับบรรจุขงิ ดอง ซึง่ เปนบรรจุภณ ั ฑขงิ ดองสําหรับสงออก ตางประเทศ โดยชุดแลกเปลี่ยนความรอน เปนแบบทอความรอนนอนและโคงไปมา ทําใหขี้เถาที่เกิด จากการเผาไหมเชือ้ เพลิงเขาไปกองอยูใ นทอ ทําใหระบบถายเทความรอนจากทอไมมปี ระสิทธิภาพ และ ยุงยากในการทําความสะอาด
เป าหมายการดําเนินการ
กลุม งานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน สวนบริการธุรกิจอุตสาหกรรม ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 ไดเขาไปเก็บขอมูลเตาอบแหง และนํามาวิเคราะหวาควรปรับปรุงระบบเตาเผาและเปลี่ยน ชุดระบบแลกเปลี่ยนความรอนใหม
การดําเนินการ
กลุมงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน สวนบริการธุรกิจอุตสาหกรรม ไดดําเนินการให คําปรึกษาแนะนํา และออกแบบปรับปรุงเตาอบแหงเดิมที่มีอยู (เปนแบบเตาอบคูแฝด 2 เตา ติดกัน โดยปรับปรุงทีละเตา เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการผลิต) โดยการเปลี่ยนชุดแลกเปลี่ยนความรอน ใหมตามแบบของศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1
ผลลัพธ จาการดําเนินการ
หลังจากบริษัทไดดําเนินการปรับปรุงเตาอบแหงตามแบบเสร็จทั้ง 2 เตา ปรากฎผลดังนี้ - ลดระยะเวลาในการอบแหงลังไมจากเดิม 11-13 ชัว่ โมง เหลือ 8 ชัว่ โมง (คิดเปนรอยละ 30) - ลดการใชเชื้อเพลิงในการอบแหงแตละครั้งจาก 800 กิโลกรัม เหลือ 400 กิโลกรัม/2 เตา (คิดเปนรอยละ 50) - ประหยัดการใชพลังงานไฟฟา จากเตาอบเดิมใชมอเตอรขนาด 6 แรงมา เหลือ 3 แรงมา/ 1 เตา
23
24
ภาคผนวก