RESEARCH FOR CONSERVATION BUILDING NEO - PALLADIAN TO DEVELOP INTO BOUTIQUE HOTEL DESIGN โ ค รง ก า รศึ ก ษ าอ าค ารอ นุ รั ก ษ์ นี โ อปั ล ลา เดี ย น เ พื่ อ พั ฒ นาสู่ ก า รออ ก แ บบภาย ใ นโรง แ รมบู ติ ค
MAEN SI WATERWORKS NEO – PALLADIAN TEMPORARY
PROJECT BACKGROUND
ที่ม าของโครงการ
กรุงเทพมหานครเป็นเมืองประวัติศ าสตร์ที่มีชีวิต โดยถู ก แบ่ ง เป็ น สอง พื้นที่ คือ พื้นที่เมืองที่ค วรอนุรักษ์ และพื้นที่เมืองส่ว นที ่ ค วรพั ฒ นา ซึ่งพื้นที่ที่ถูกพัฒนามีผลกระทบต่อมรดกทางวัฒนธรรม อาทิ การรื ้ อ อาคารเก่าทางประวัติศ าสตร์ทําเป็นห้างสรรพสินค้า เป็นต้น สาเหตุนี้จึง ทําให้ตระหนักถึงศึกษาการอนุ ร ั ก ษ์ อ าค ารโบราณสถานเพื ่ อ รั ก ษา เอกลักษณ์ และคุณค่าทางสถาปัตยกรรมให้ ค งอยู ่ ต ่ อ ไปในอนาค ต ร่วมกับสังคมในปัจจุบัน ดังเช่น สํานักงานประปาแม้นศรีเดิม ซึ่งอาค าร เก่าแห่งนี้มีอายุราวร้อยกว่าปีที่ถูกสร้างขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 5 ) เพื่อหานํ้าสะอาดใช้สําหรับพระนคร PROJECT BACKGROUND
ตัวอาคารถูกสร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมยุโรปทั่วไป เนื ่ อ งจากเป็ น ยุ ค ที่ สถาปัตยกรรมต่าง ๆ เช่น ตามสถานที่ข้าราชการ หรือวัง ได้รับ อิ ท ธิ พ ลจาก ตะวันตกในการออกแบบ และสร้างงานสถาปัตยกรรม เพราะรั ช กาลที ่ 5 มี พระราชประสงค์ที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญทัดเทียมตะวั น ตก แต่ ก ็ ย ั ง ค ง ผสมผสานความเป็นไทย เพื่อให้เอื้อต่อสภาพภูมิศ าสตร์และภู ม ิ อ ากาศ ของ ไทย แต่ในปัจจุบันอาคารประวัต ิ ศ าสตร์ แ ห่ ง นี ้ ก ลั บ ถู ก ปล่ อ ยทิ ้ ง ร้ า งไว้ หลังจากที่การประปาแม้นศรีได้ย้ายไปเปิดสํานักงานใหม่ที่พญาไทโดยไม่ ม ี ก าร นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านใด จึงเกิดแนวคิดที่จะเพื่อรักษาเอกลักษณ์ และ คุณค่าทางสถาปัตยกรรมให้ค งอยู่ต่อไปในอนาคตร่วมกับสังคมในปัจจุบัน 01
OBJECTIVE
วั ต ถุ ป ระ ส ง ค์
เพื่อศึกษาประวัติค วามเป็นมา และความสําคัญของการ อนุรักษ์ และอาคารอนุรักษ์ โบราณสถานประปาแม้นศรี
OBJECTIVE
เพื่อศึกษาทฤษฎี, ลักษณะเด่น และ ประวัติค วามเป็นมาของอาคาร อนุรักษ์สถาปัตยกรรม โคโลเนียลในรูปแบบนีโอปัลลาเดียน
เพื่อนําความรู้ที่ได้จากการศึกษามา ใช้และพัฒนาการออกแบบและสร้าง เอกลักษณ์ให้กับตัวสถาปัยกรรม ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
01
HYPOTHESIS สมมติฐาน บางสถานที่อาคารโบราณสถานก็เข้าถึงได้ยากจึงทําให้สังคมไม่ได้รู้สึกหวงแหนและสนใจประวัติศ าสตร์เท่าที่ค วรจากการศึกษา และนํามาพัฒนาในการออกแบบช่วยให้ค นในยุค ปัจจุบันและอนาคตได้ชื่นชม และรับรู้ได้ถึงความรุ่งโรจน์ในอดีต HYPOTHESIS
01
NสถาปัEOตยกรรมนี - PALLADIAN โอ - ปัลลาเดียน 1
2
4
3
5
ที่มาภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Andrea_palladio_fourth_book_image.jpg
อันเดรีย ปัลลาดิโอ เป็นสถาปนิกชาวเวนิสผู้ก่อให้เ กิดหลักออกแบบสถาปัตยกรรมในรูป แ บบนี โ อ ปั ล ลาเดียน ช่ว งศตวรรษที่ 18 โดยมีแนวคิดจากความสมมาตร ตา มส ั ดส ่ ว นข อ ง สถาปัตยกรรมแบบกรีกและโรมัน ซึ่งได้ร ับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมตะว ั นตก ที่พัฒนาในช่ว งนีโ อคลาสสิค ผสมผสานเข้า กับสถาปัตยกรรมสมัยเรเนอซอง
NEO - PALLADIAN
เอกลักษณ์ข องสถาปัตยกรรมนีโ อ- ปัลลาเดียน 1. เรียบง่า ย สงบนิ่ง แต่ดูมีช ีว ิตชีว า 2. เส้นและรูปทรงมีค วามสมมาตร 3. มุข ด้า นหน้า ยื่นออกมาเพื่อสร้า งความโดดเด่น 4. ตกแต่งเสาให้มีค วามโดดเด่น ประดับหน้า บันที่มีลักษณะสามเหลี่ยมหน้า จั่ว 5. ความงามที่สมบูร ณ์ตามหลักทฤษฎีสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิค อย่า งมีเ หตุผล
01
โครงสร้างอาคาร ทําจากอิฐ ,หิยของท้องถิ่นนั้น ๆ หรือปูน
OUTSTANDING
ประตู - หน้าต่าง ทําจากไม้ นิยมทาสีเข้ม
CHARACTERISTIC OF NEO - PALLADIAN
หลังคา ลักษณะเป็นโดม หรือแบนเรียบ
ลักษณะเด่นของการ ออกแบบนีโอปัลลาเดียน
เสา PILASTERS เสารูปทรงสี่เหลี่ยมที่ ติดกับผนัง
DENTIL MOLDINGS ลักษณะคล้ายบล็อก สี่เหลี่ยมที่ซํ้า ๆ กันใช้ใน การตกแต่งตามขอบบัว
เสาโรมัน อาทิไอโอนิค , ดอริค แต่เสาโครินเธียนเป็นเสารที ่ น ิ ย มใช้ ในการตกแต่ ง ตามรู ป แบบ NEO – PALLADIAN ซึ ่ ง ลักษณะหัวเสาจะถูกแกะเป็นรูปดอกไม้ ใบไม้ค ล้ายผักกาด ส่วนล่างของเสามีฐานรองรับแบบเดียวกับเสาไอโอนิค
OUTSTANDING CHARACTERISTIC OF NEO - PALLADIAN
01
LAY – OUT PLAN OF NEO - PALLADIAN
การจัดวางแปลนของการออกแบบนีโอปัลลาเดียน •
•
ห้องแขกและ ห้องครัวอยู่ชั้น ล่างสุด และแยก ต่างหาก
ห้องคนรับใช้ อยู่บริเวณห้อง ใต้หลังคา •
ห้องนอน อยู่ บริเวณชั้น 2 •
ห้องทํางาน ห้อง รับประทานอาหาร ห้องนั่งเล่นอยู่ บริเวณชั้น 1 •
มีค วามสมมาตรของช่องว่าง และจัดแนวช่อง ประตูหน้าต่าง
•
การกั้นห้องภายในอาคารมีลักษณะเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้า, สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือหกเหลี่ยม
ที่ม าภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/
NEO - PALLADIAN
01
COLOR OF NEO - PALLADIAN TEXTILES OF NEO - PALLADIAN GRAY
PALLADIAN BLUE
LINENS ลินิน
COTTONS ผ้าฝ้าย
VELVETS กํามะหยี่
WOOLS ขนสัตว์
LEATHER หนัง
STRAW YELLOW สีของฟาง GRAY GREEN SILKS ผ้าไหม OLIVE GREEN สีของมะกอก PEA GREEN สีของถั่วลั่นเตา
COLOR AND TEXTILES OF NEO - PALLADIAN
01
CHISWICK HOUSE LONDON
สร้างขึ้นยุค 1725 - 1729
ที่ม าภาพ : https://www.artfund.org
- ออกแบบตามรูปแบบนีโอปัลลาเดียน
ที่มาภาพ : http://www.londontown.com
ที่ม าภาพ : http://www.londontown.com
ที่มาภาพ : http://www.londontown.com
CASE STUDY
ที่ม าภาพ : http://www.londontown.com
ที่ม าภาพ : http://www.londontown.com
ที่มาภาพ : http://www.londontown.com
01
สถาปัตยกรรมรูปแบบนีโอ - ปัลลาเดียน เป็นที่รู้จักโดยไอนิ โกโจนส์ ( Inigo Jones ) ที่นํ า แนวค ิ ด การ ออกแบบสถาปัตยกรรมนี้มาประยุกต์ จ นกลายเป็ น รู ป แบบ เฉพาะของสถาปัตยกรรมคลาสสิค ในอังกฤษ สมัยรัชกาลที่ 4 สถาปนิกชาวอังกฤษ อาทิ ยอห์น คลูนิช, เฮนรี ค ลู น ิ โ รส เป็นต้น ได้เป็นผู้นําแนวคิดการออกแบบนี โ อ - ปั ล ลาเดี ย น เข้ามาในประเทศไทย โดยใช้ในการออกแบบอาค ารราชการ ต่าง ๆ เช่น ศาล โรงเรียน, โรงอาหาร, วังสราญรมย์, อาคาร กรมรักษาดินแดน, อาคารกระทรวงกลาโหม, อาค ารศ ุ ล ก สถาน เป็นต้น
NEO - PALLADIAN
01
กระทรวงกลาโหม
ที่ม าภาพ : https://ratthanakosinontour.weebly.com/
ที่ม าภาพ : http://www.world.in.th/?p=679
ที่ม าภาพ : https://ratthanakosinontour.weebly.com/
ที่ม าภาพ : https://ratthanakosinontour.weebly.com/
ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
- รูปแบบนีโอคลาสสิค - นีโอปัลลาเดียน - อาคารสามชั้น - ทางเข้าประดับด้วยมุขหน้าจั่วทรงโรมัน และ ตกแต่งด้วยปูนปั้น - โดยรอบตึกเป็นหน้าต่างบานไม้ทาสีไข่ กรอบ หน้าต่างทาสีนํ้าตาล - หน้าต่างชั้น 3 ของมุขพิเศษกว่าหน้าต่างอื่น เป็น บานโค้งที่เป็นช่องแสงติดกระจกสีต่าง ๆ
ที่ม าภาพ : http://preampanutcha.blogspot.com/2013/02/socialist-architecture.html
- ปูนประดับแต่ละชั้น ชั้น 1 ปูนปั้นเรียงคล้ายรูปหิน ชั้น 2 ปูนปั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ชั้น 3 ปูนปั้นเป็นวงโค้ง - มุขชั้นสองมีระเบียงยื่นมาจากตัวตึกโดยรองรับ ด้วยเสากลมขนาดใหญ่ หัวเสาแบบโรมัน
CASE STUDY
01
- ที่ทําการของกระทรวง การต่างประเทศ - บ้านพักรับรองพระ ราชอาคันตุกะ
วังสราญรมย์ สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที ่ 4 และก่อสร้าง เสร็จสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งอยู่ระหว่าง พระบรมมหาราชวังกับวัดราชประดิษฐ์
- ออกแบบโดยชาวอิตาลี รูปแบบนีโอปัลลาเดียน - อาคารสองชั้นก่ออิฐ ถือปูน รูปแบบตะวันตก - พื้นหินอ่อน - ชั้น 2 มีชาลาโดยรอบ แต่มีหลังคาคลุม - ด้านหน้าวังเป็นมุขสามด้าน ที่หน้าจั่วกลางเป็น ทางเข้าออกหลัก มีตราประทับประจํารัชกาลที่ 5 - มุขสองด้านเป็นปีกอาคารด้านทิศ เหนือและใต้เป็น จั่วสามเหลี่ยม มีเสารับหน้าบัน
ที่มาภาพ : http://saranrom.mfa.go.th/ebooks/
CASE STUDY
01
CONSERVATION
CONSERVATION
การอนุรักษ์
ระเบียบตามกรมศิลปากรฯ พ.ศ.2528 การอนุรักษ์ หมายความว่ า การดู แ ล รั ก ษา เพื่อให้ค งคุณค่าไว้ และให้ ห มายรวมถึ ง การ ป้องกัน การรักษา การสงวน การปฏิส ั ง ขรณ์ และการบูรณะด้วย
01
PROBLEM 1
สาเหตุที่ต้องเกิดการอนุรักษ์ ในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมของยุ โ รป ทําให้สภาพสังคมจากเกษตรกรรม เปลี่ยนเป็นสภาพสังคมอุตสาหกรรม ส่งผลให้บ้านเรือนและอาคารสูงมีเพิ่ ม มากขึ้น ดังนั้นอาค ารรุ ่ น เก่ า ๆ ที่ คุณค่าทางประวัติศ าสตร์ จ ึ ง เสื ่ อ ม คุณค่าหรือถูกทําลาย วั ต ถุ โ บราณ หรือสิ่งของที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ก็ ถู กน ํ า ไป จ ั ด แส ดง เพ ื ่ อ ดึ งด ู ด นักท่องเที่ยว ด้วยสาเหตุเหล่านี้จึงทํา ให้เกิดการอนุรักษ์ขึ้นเพื่อหัน กลั บ มา ให้ค วามสําคัญต่อมรดกศิลปกรรมที่ บรรพบุรุษได้สร้างไว้
WHY CONSERVATION ?
01
CONSERVATION OF THAILAND TIMELINE
การอนุรักษ์ในประเทศไทย
การอนุรักษ์โบราณสถานเริ ่ ม ขึ ้ น ตามหลักสากลเมื่อเจ้ า ฟ ้ า มหา วชิราวุธ ( รัชกาลที่ 6 ) และสมเด็ จ - เจ้าพระยาดํารงราชานุภาพได้ ไ ป ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ จึง ได้ ร ั บ แนวคิดในการอนุรักษ์ศ ิ ล ปกรรม มาด้วย
ปลายรัชกาลที่ 3 ตะวันตกเข้ามาล่าอาณานิค มเพื่อ ค้าขาย เผยแพร่ศ าสนา และหา ผลประโยชน์ทางด้านต่าง ๆ
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา เพื่อเป็นการรักษาชาติไว้ ได้ทรงศึกษาวิชาการของชาวตะวันตกและ นํามาปรับใช้ นอกจากนี้ยังได้รับ ชาวตะวันตกเข้ามาทํางานในราชการด้วย
CONSERVATION OF THAILAND TIMELINE
จัดตั้งกรมศิลปากร เพื่อดูแล ด้านการอนุรักษ์โบราณสถาน เมื่อ พุทธศักราช 2454
01
การอนุรักษ์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงประโยชน์ใช้สอยภายในอาคาร ได้ โดยยังคงรักษารูปแบบของโบราณสถาน และบรรยากาศ ดังเดิมภายนอกไว้ทั้งหมด มีเฉพาะการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ภายในอาคาร เพื่อรองรับการใช้งานรูปแบบใหม่ โดยแนวทางใน การใช้ทฤษฎีการอนุรักษ์กรอบอาคาร มีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
BUILDING ENVELOPE
CONSERVATION THEORY
ทฤษฎีการอนุรักษ์กรอบอาคาร
รักษาแผงหน้าอาคารให้ค งเดิมมากที่สุด ซ่อนโครงสร้างของอาคารใหม่ ขนาดของที่ว่างภายในควรมีขนาดใกล้เคียงกับของเดิม สร้างระดับภายในพื้นที่ใหม่ให้สัมพันธ์กับภายนอกอาคาร บูรณะลักษณะดั้งเดิมที่สําคัญ ออกแบบทางเข้าออกใหม่ ใช้วัสดุใหม่แทนที่ของเดิมที่หลุดหาย โดยคํานึงถึงความกลมกลืน ของโบราณสถาน ใช้วัสดุที่ทําเลียนแบบ ต่อเติมอาคารโดยคํานึงถึงสัดส่วนภาพรวม และตําแหน่งที่ต่อเติม การอนุรักษ์ และการทําขึ้นใหม่ของชิ้นส่วนอาคารที่มีค วามสําคัญลงมา สงวนรักษา หรือสร้างสรรค์หลังคาขึ้นมาใหม่ เปลี่ยนแปลงรูปแบบหลังคาใหม่ ตกแต่งลวดลายประดับที่สําคัญ
BUILDING ENVELOPE CONSERVATION THEORY
01
REHABILITATION การฟื้นฟู เป็น 1 ใน 7 วิธีของการอนุรักษ์ •
การรักษาส่วนที่มีค ุณค่าไว้ แต่อาจเพิ่มเติม ส่วนอื่น ๆ ได้ เพื่อประโยชน์ ข องการใช้ สอยในปัจจุบัน หรือที่เรียกว่าการประยุก ต์ การใช้สอย
IแนวคิNFILL DESIGN ดการต่อเติมส่วนใหม่ •
REHABILITATION AND INFILL DESIGN
แนว ค ิ ดใ นกา รต ่ อ เติ มส ่ ว นให ม่ ใน งา น สถาปัตยกรรมตามแนวคิดของค าร์ ล า ค รี ด และแมเรียน โรเบิร์ต คือ กาต่ อ เติ ม ส่ ว นใหม่ เพิ่มเติมเข้าไปในลักษณะของการอยู ่ ร ะหว่ า ง โดยคํานึงถึงบริบทโดยรอบและขนาดอาค าร เพื่อไม่เป็นการทําลายอัตลักษณ์ของอาคาร
01
ถนนสายหลัก
LOCATION
ถนนสายรอง
ส ถ า น ที่ ตั้ ง โ ค รงก า ร
ถนนสายย่อย
LOCATION
ซอยบ้า นบาตร
ซอยบ้า นบาตร
การประปานครหลวง ( แม้นศรี )
01
MAEN SI WATERWORKS TIMELINE
28 ธันวาคม 2545 ประกาศว่าการประปาแม้ น ศรีได้ขึ้นทะเบียนอาคารอนุรักษ์โบราณสถาน ระดับสูงในกรุงเทพมหานค รเขตป้ อ มปราบ ศัตรูพ่าย
MAEN SI WATERWORKS TIMELINE
1909 1914 1909
1914
สมัยรัชกาลที่ 5 เกิดระบบการประปาขึ้นครั้งแรกในสยาม เพื่อแก้ปัญหานํ้าสกปรกมีเชื้อโรค ทําให้ เกิดโรคระบาดมากเมื่อผู้ค นบริโภคเข้าไป
สมัยรัชกาลที่ 6 เปิดกิจการประปากรุงเทพ
01
1967 1990 2017 1967
1990
รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติการประปานครหลวง ให้โอนกิจการประปากรุงเทพ กรมโยธาเทศบาล การประปานนทบุรี ,นครธนบุรีและสมุทรปราการ รวมเป็นกิจการเดียวกัน เรียกว่า การประปานครหลวง
การประปานครหลวงย้ายสํานักงานใหญ่ไปเปิด ใหม่ที่เขตบางเขน เพื่อขยายกําลังการผลิตและ การจ่ายนํ้า
MAEN SI WATERWORKS TIMELINE
2017
ปัจจุบันอาคารแห่งนี้จึงถูกปล่อยทิ้งร้าง และถูกจัด ให้เป็นอาคารอนุรักษ์โบราณสถานประปาแม้นศรี ดูแลโดยสํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
01
SITE ANALYSIS
วิเคราะห์พื้นที่
VEHICULAR CIRCULATION
MOTORCYCLE, BICYCLE, AND WALK CIRCULATION
8 MONTH
SHINE AND WIND SITE ANALYSIS
AIR POLLUTION AND NOISE POLLUTION 01
• 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
•
จุดแข็ง มีค วามพร้อมด้านระบบขนส่งมวลชล มีค วามพร้อมด้านโครงข่ายจราจรถนน สายหลัก สายรอง ตรอก ซอย สะพานลอย และทางลัด จัดเก็บขยะโดยที่ไม่มีขยะตกค้าง มีสถานศึกษาที่เพียงพอต่อความต้องการ ประชาชนให้ค วามสนใจเกี่ยวกับกิจกรรม นันทนาการ การออกกําลังกาย ถนนและทางเดินเท้ามีภูมิทัศ น์ที่สวยงาม เป็นพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิง ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศ าสตร์ ซึ่ง ส่งเสริมเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวของ ชาวต่างชาติ
1. 2. 3.
SWOT ANALYSIS
จุดอ่อน การจราจรติดขัดเกิดปัญหามลพิษ ประชาชนยังไม่ตระหนักในศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีไทย เป็นเขตชั้นใน ถนน ตรอก ซอย คับแคบ กลางคืนมีรถจอดกีดขวาง การเก็บขยะ มูลฝอยทําได้ยากลําบาก
อ้างอิงจากแผนปฏิบัติราชการประจําปี พ.ศ. 2558 สํานักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
ก า ร วิ เ ค รา ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อม เ ขตป้ อ ม ป รา บ ศั ตรู พ่ าย • 1. 2.
โอกาส ประชาชนมีค ุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจาก โครงสร้างหลักประกันทั่วหน้า นโยบายการอนุรักษ์พลังงาน และ มาตรการประหยัดนํ้ามัน เกิดการส่งเสริม ลดการใช้พลังงาน
SURROUNDING COMMUNITIES
• 1.
อุปสรรค มีปัญหาเรื่องความแตกต่างทางความคิด เห็นด้านการเมือง ถึงทําให้เกิดการชุมนุม ส่งผลต่อการจัดการความสะอาด
01
62.24%
จํานวนผู้เ ข้าพัก แรม
37.76% 13.40%
ระยะพํานัก เฉลี่ย ของนัก ท่องเที่ยว ( วัน )
TARGET GROUP
86.60% 47.44%
นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว
52.56% 0
20
40
นักท่องเที่ยวชาวไทย
TOURIST นักท่องเที่ยว
• ชาวต่างชาติ • ชาวไทย
60
100 %
80
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
ผลสํารวจการท่องเที่ยวภายในประเทศ กรุงเทพมหานคร ผลสํารวจอ้างอิงจากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
คู่รัก ครอบครัว กลุ่มเพื่อน DOMESTIC TOURISM SURVEY BANGKOK
01
Sชุมชนโดยรอบ URROUNDING COMMUNITIES 2
1. การประปานครหลวง ( แม้นศรี ) 2. ชุมชนวัดสระเกศ 3. ชุมชนริมถนนบํารุงเมืองฝั่งเหนือ 4. ชุมชนริมถนนบํารุงเมืองฝั่งใต้ 5. ชุมชนบ้านบาตร
1 3
5
3
4
SURROUNDING COMMUNITIES
01
วัดสุนทรธรรมทาน
สถานที่ท่องเที่ย ว
บริเวณใกล้เคียงการประปาแม้ นศรี
1
Temple วัด หรือสถานที่ ประกอบการทางศาสนา
เสาชิงช้า
วัดสะเกศและภูเขาทอง 6
2
Market ตลาด
Community ชุมชน
Sculpture ประติมากรรม
ที่มาภาพ 1 : http://payusai-praitalay1.blogspot.com/ ที่มาภาพ 2 : https://armthangthong40.wordpress.com/ ที่มาภาพ 3 : http://www.nguansoon.com/
ATTRACTIONS
3
ชุมชนบ้านบาตร
ที่ม าภาพ 4 : http://www.manager.co.th/ ที่ม าภาพ 5 : http://www.tatcontactcenter.com/ ที่ม าภาพ 6 : http://www.amazingthaitour.com/
4
เยาวราช
สําเพ็ง 01
MASTER PLAN
พื้นที่ภายในทั้งหมด ขนาด 2,688.57 ตรม. MASTER PLAN
01
ถนนบํารุงเมือง
ทางเข้าหลัก
4
4
4
2
1
2
3
4 3
•
1
พื้นลาดยาง ( ASPHAT )
2
พื้นหินขัดสีเทา ยกสูง 5 ซม.
3
พื้นซีเมนต์พิมพ์ลายตารางสี่เหลี่ยม 10 x 10 ซม.
4
กระเบื้องเซรามิค 8” x 8”
6
พื้นซีเมนต์ขัดมัน
4
3
4
6 4
4
4
ผนังที่กั้นห้องเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนทาสี
1st FLOOR PLANแปลนบริเวณชั้น 1
EXISTING FLOOR
1st FLOOR PLAN
01
4
4
4
4
4
กระเบื้องเซรามิค 8” x 8”
5
พื้นไม้เนื้อแข็ง
4
4
2nd FLOOR PLAN แปลนบริเวณชั้น 2
EXISTING FLOOR
2nd FLOOR PLAN
01
5 6
4
กระเบื้องเซรามิค 8” x 8”
5
พื้นไม้เนื้อแข็ง
6
พื้นซีเมนต์ขัดมัน
4
rd 3 FLOOR PLAN
แปลนบริเวณชั้น 3
EXISTING FLOOR
3rd FLOOR PLAN
01
ทางเข้าหลัก
ถนนบํารุงเมือง
1st FLOOR PLAN
A
1
2
3
ZONING 1
4
B
•
ELEVATION A ZONING 1
อาคารชั้นเดียวผนังที่กั้นห้องเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนทาสี
ผนังฝั่งถนนบํารุงเมืองเจาะช่องหน้าต่าง 6 บาน
หัวเสาไอโอนิค
ELEVATION ผนังด้านทิศ ใต้เจาะช่องประตูแนวเดียวกับฝั่งหน้าต่าง 5 บาน B ZONING 1
ZONING 1 - 1st FLOOR PLAN
01
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 1 - 1st FLOOR
1 st FLOOR ZONING 1
01
ZONING 2
ถนนบํารุงเมือง
ทางเข้าหลัก
C
D
•
อาคารสามชั้น ชั้นสามเป็นห้องใต้หลังคา
ELEVATION C ZONING 2
ELEVATION D ZONING 2 ZONING 2 - 1st – 3rd FLOOR PLAN
01
1 st FLOOR ZONING 2
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 – 1st FLOOR
22
01
23
1 st FLOOR ZONING 2 MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 – 1st FLOOR
01
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 - 2nd FLOOR
2 nd FLOOR ZONING 2
01
2 nd FLOOR ZONING 2
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 - 2nd FLOOR
01
3 rd FLOOR ZONING 2
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 - 3rd FLOOR
26
01
27
3 rd FLOOR ZONING 2
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 2 - 3rd FLOOR
01
ทางเข้าหลัก
ถนนบํารุงเมือง
ZONING 3
ELEVATION E ZONING 3
ELEVATION F ZONING 3 ZONING 3 - 1st – 3rd FLOOR PLAN
01
1 st FLOOR ZONING 3
MAEN SI WATERWORKS INTERIOR ZONING 3 – 1st FLOOR
01
ZONING 4
ถนนบํารุงเมือง
7
7
7
กระเบื้องเคลือบ 8” x 8” สีส้มอิฐ •
หอคอยคอนกรีตเสริมเหล็กทรงกระบอก
•
โดยรอบมีโครงสร้างเสา และค านค อนกรี ต เสริมเหล็กวางตัวเป็นตารางสี่เหลี่ยมตั้งขึ้น ไป เพื่อรับนํ้าหนักห้องด้านบน มีบันไดวนเหล็กตรงกลาง หลังคาหอคอยเป็นลักษณะโดม คสล.
• • EXISTING FLOOR ZONING 4
ELEVATION G ZONING 4 01
TOWER ZONING 4
MAEN SI WATERWORKS TOWER ZONING 4
26
01
CASE STUDY ที่ม าภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
Nagyerdei Víztorony
D E B RE C E N I S T H E C A P I T A L O F H U N G A RY ที่ม าภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
CASE STUDY
01
Nagyerdei Víztorony
ที่มาภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
หอคอยส่งนํ้าเก่าอายุราวร้อ ยกว่ า ปี แ ห่ ง นี ้ ท ํ า หน้ า ที ่ ส ่ ง นํ ้ า ไปยั ง มหาวิทยาลัยใกล้เคียงต่าง ๆ จนถึง ปัจจุบันหอคอยได้ถูกปรับเปลี่ยนให้ เป็นบาร์, ร้านกาแฟ และแกลเลอรี่
“ สถานที่แห่งนี้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว และเป็นที่รวมตัวสร้างความบันเทิงและผ่อน คลายให้กับชุมชนย่านนั้นด้วย ”
ที่มาภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
ที่มาภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
CASE STUDY
01
โ ด ย ZoltánGyőrffy แ ล ะ RóbertNovák เป็ น สถาปนิ ก ผู้ เสนอแนะแบบปรับ ปรุ ง ส่ ว นเสา หลักถูกออกแบบให้ เ ป็ น เสมื อ น กําแพงปี น เขาสู ง 43 ฟ ุ ต โดย สถาปนิกJózsef Borsos
ที่ม าภาพ : http://www.highlightsofhungary.hu/portfolio/nagyerdei-viztorony/
CASE STUDY
01
PRAYA PALAZZO LUXURY BOUTIQUE HOTEL ริมแม่นํ้าเจ้าพระยา
ที่มาภาพ : https://www.bloggang.com/viewblog
ที่มาภาพ : https://www.booking.com/hotel/th/praya-palazzo.th.html
ที่ม าภาพ : https://sg.asiatatler.com/life/bangkok
ที่มาภาพ : https://www.bloggang.com/viewblog ที่มาภาพ : https://www.booking.com/hotel/th/praya-palazzo.th.html
• •
อาคารก่ออิฐ ถือปูน 2 ชั้น มีลักษณะสมมาตรตาม ทฤษฎี NEO – PALLADIAN ซึ่งผสมผสานทั้ง รูปแบบยุโรป - ไทย - จีน ซุ้มเป็นปูนปั้นคลาสสิค ประตูและหน้าต่างประดับ ด้วยกระจกสี ที่ม าภาพ : https://www.bloggang.com/viewblog • ภายในโรงแรมมีห้องพัก 17 ห้อง และมีการ แบ่งเป็นพื้นที่สําหรับเป็นห้องอาหารด้วย ที่มาภาพ : https://www.booking.com/hotel/th/praya-palazzo.th.html เดิมคือบ้านบางยี่ขัน สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ถูกปล่อยทิ้งร้างและทรุดโทรม ผศ.วิชัย พิทักษ์วรรัตน์ เป็นผู้ออกแบบบูรณะให้เป็น BOUTIQUE HOTEL ตามแนวคิดไทยเดิม และยังคงสภาพของสิ่งเดิมให้มากที่สุด CASE STUDY
01
THE BHUTHORN
LUXURY BOUTIQUE HOTEL แพร่งภูธร, กรุงเทพฯ
•
อาคารถูกขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน อยู่ในการดูแลของทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ •
อาคารก่ออิฐ ถือปูน 2 ชั้น หลังคาจั่วมุงกระเบื้อง ผนังกั้นห้องและ ประตูหน้าต่างทําจากไม้
•
ตกแต่งภายในตามรูปแบบโคโลเนียล ที่อ้างอิงมาจากสมัยเดิมของ อาคาร อาทิ เฟอร์นิเจอร์ไม้แบบแอนทีค เสื่อสาน การใช้ผ้าไทย
•
ห้องพักแต่ละห้องถูกตั้งชื่อตามชื่อเจ้าชายทั้งสามพระองค์ได้แก่ชื่อ ห้องสรรพศาสตร์, ห้องนารา, และห้องภูธร ที่มาภาพ : https://www.booking.com/hotel/
ที่ม าภาพ : https://www.booking.com/hotel/
ที่ม าภาพ : https://www.booking.com/hotel/
ที่ม าภาพ : https://www.booking.com/hotel/
ที่ม าภาพ : https://www.booking.com/hotel/
ที่มาภาพ : https://www.booking.com/hotel/
เดิมเป็นร้านขายข้าวหมูแดงที่ตึกแถว ซึ่งสร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 5 ถูกดัดแปลงมาเป็น BOUTIQUE HOTEL จํานวน 3 ห้อง ในปัจจุบัน CASE STUDY
01
“ นีโอแม้นศรี ” บูติคโฮเทล
LOGO
01
“ แนวความคิดชื่อโรงแรม ”
“ นีโอแม้นศรี ” ใหม่
ณ การประปาเดิม
นีโอ
แม้นศรี
CHANGE FORM OF FURNITURE
รื้อฟื้นอาคารให้ มีชีวิตชีวาอีกครั้ง
01
DESIGN
CONCEPT แนวความคิดในการออกแบบ
•
แนวคิดหลักคือการออกแบบตามหลัก ทฤษฎี NEO-PALLADIAN แต่มีการ ประยุกต์ให้เข้ากับความทันสมัยและสังคมใน ปัจจุบัน
DESIGN CONCEPT AND KEYWORD
KEYWORD RETROSPECT
RESPLENDANT
REVIVE
FASCINATION
SYMMETRY
LIVELY
01
Q
P
O
N
M
M
M
L
L
C
K
A
D A B C D E F G H I
: LOBBY : MEN”S ROOM : WOMEN”S ROOM : CORRIDOR : OFFICE ROOM : HANDICAPPED’S TOILET : LIBRARY ROOM : SOUVENIR ROOM : RESTAURANT
J : INFORMATION K : DELUXE ROOM L : TWIN BEDROOM M : DOUBLE BEDROOM N : STAIRS O : FITNESS ROOM P : SPA Q : HOUSE KEEPING ROOM R : KITCHEN ROOM S : STORAGE
B E
J
G
F H
I
ZONING 1 FLOOR
R
st
ZONING
S 01
F
G
E
A
E
B C
A D
ZONING 2 FLOOR
A B C D E F G
: : : : : : :
STAIRS WAITING AREA CORIDOR CONNECTING ROOM DUPLEX 1st FLOOR FAMILY 1st FLOOR STAIRS
nd
ZONING
01
E
F
D
F
A B C
ZONING 3 FLOOR
A : STAIRS B : BAR C : BAR AND LOUNGE D : TOILET E : FAMILY 2 nd FLOOR F : DUPLEX 2 nd FLOOR
rd
ZONING
01
ZONING WATER TOWER
GARDEN 1st FLOOR
ZONING
RESTAURANT 2 nd FLOOR
SUITE ROOM 3 nd FLOOR
01
MOOD AND TONE PUBLIC AREA
3rd FLOOR
2nd FLOOR
1st FLOOR
อ้างอิงสีจากไทยโทน
ที่มาภาพ : www.pinterest.com
MOOD AND TONE
เขียวก้ามปู C100 M80 Y100 K30
เขียวตอง C90 M30 Y100 K10
เขียวนวล C80 M30 Y80 K0
เขียวรงกา C65 M25 Y80 K10
ทองคํา C20 M30 Y100 K0
รงทอง C5 M25 Y100 K0
01
MOOD AND TONE
1st FLOOR
DOUBLE AND TWIN BEDROOM
TWIN BEDROOM 2 ROOM DOUBLE BEDROOM 3 ROOM
อ้างอิงสีจากไทยโทน ที่มาภาพ : www.pinterest.com
MOOD AND TONE
ขาบ C100 M80 Y60 K10
มอหมึก C60 M40 Y50 K0
ขาวขาบ C20 M5 Y15 K5
นวลเทา C10 M10 Y25 K25
หมอก C5 M10 Y20 K10
ขาวปนเพชร C10 M10 Y25 K0
ขาวผ่อง C5 M5 Y10 K0
01
PERSPECTIVE DOUBLE BEDROOM
PERSPECTIVE
01
PERSPECTIVE DOUBLE BEDROOM
PERSPECTIVE
01
MOOD AND TONE
1st FLOOR
DELUXE ROOM
DELUXE BEDROOM 1 ROOM
อ้างอิงสีจากไทยโทน ที่มาภาพ : www.pinterest.com
MOOD AND TONE
เขียวก้ามปู C100 M80 Y100 K30
เขียวตอง C90 M30 Y100 K10
เขียวนวล C80 M30 Y80 K0
เขียวรงกา C65 M25 Y80 K10
ทองคํา C20 M30 Y100 K0
รงทอง C5 M25 Y100 K0
01
MOOD AND TONE
CONNECTING ,FAMILY AND DUPLEX ROOM กรมท่า C100 M90 Y40 K30
กลาโหม C100 M80 Y35 K25
ครามฝรั่ง C100 M80 Y0 K0
ทองคํา C20 M30 Y100 K0
2nd FLOOR
รงทอง C5 M25 Y100 K0
อ้างอิงสีจากไทยโทน
CONNECTING ROOM 1 ROOM ที่มาภาพ : www.pinterest.com
MOOD AND TONE
01
MOOD AND TONE
CONNECTING ,FAMILY AND DUPLEX ROOM
FAMILY ROOM 1 ROOM MOOD AND TONE
3rd FLOOR
3rd FLOOR
2nd FLOOR
2nd FLOOR DUPLEX ROOM 2 ROOM
MOOD AND TONE
SUITE ROOM
SUITE ROOM 8 ROOM
อ้างอิงสีจากไทยโทน
ที่มาภาพ : www.pinterest.com
MOOD AND TONE
ฝาด C50 M90 Y90 K30
ดินแดงเทศ C40 M100 Y100 K10
แดงตัด C20 M100 Y100 K30
ทองคํา C20 M30 Y100 K0
รงทอง C5 M25 Y100 K0
01
QUEEN ANNE STYLE FURNITURE MID – 1720s - 1760
มีค วามรุ่งเรืองในยุค อาณานิค ม โดยการออกแบบเฟอร์นิเจอร์เน้นเส้นโค้ง ซึ่งมีลักษณะเด่นดังนี้
สี
MATERIAL MAPLE WOOD
CHERRY WOOD
MAHOGANY WOOD
WALNUT WOOD CURVACEOUS VASE – SHAPED
BAT WING SHAPED DRAWER PULLS
CABRIOLE LEGS
QUEEN ANNE STYLE FURNITURE
CHAIR BACK SPLAT
DRAKE FOOT
01
PUBLIC AREA AND HOTEL ROOM
QUEEN ANNE STYLE FURNITURE FALL-FRONT DESK
สี
BREAKFORNT BOOKCASE
DRESSING TABLE POSTER BED
CABINET
WING CHAIR ARM CHAIR ARM CHAIR
OXBOW CHEST
CHEST SET-TEE
QUEEN ANNE STYLE FURNITURE
GAME TABLE
01
PUBLIC AREA AND HOTEL ROOM APPLIE
CHANGE FORM OF FURNITURE สี
CHANGE FORM OF FURNITURE
01
THANK YOU ขอบคุณ
“ เมืองที่ไร้อาคารเก่า เ ป รี ย บ เ สมื อนค นที่ ไร้ ค วา มทรงจํา ” เลวิส มัมฟอร์ด ( Lewis Mumford ) นักปรัชญาสังคมของอเมริกา