Th sufum zakat and social development

Page 1

ซะกาต เครื่ องมือพัฒนาสังคมมุสลิมอย่ างยั่งยืน ﴾‫﴿دور الزكاة في تنمية المجتمع‬ ] ไทย – Thai – ‫[ تايلدندي‬

ซุฟอัม อุษมาน

ผู้ตรวจทาน : ฟั ยซอล อับดุลฮาดี

2010 - 1431

﴾‫﴿دور الزكاة في تنمية المجتمع‬


‫» باللغة التايلدندية «‬

‫صافي عثمان‬

‫مراجعة‪ :‬فيصل عبدالهادي‬

‫‪1431 - 2010‬‬


ด้ วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ

ซะกาต เครื่ องมือพัฒนาสังคมมุสลิมอย่ างยั่งยืน อิสลาม ศาสนาที่ครอบคลุมทุกแง่ มุมของชีวิต อัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา ได้ มีพระดำารัสในอัลกุรอานว่า ٣ :‫ﮋ ﭻ ﭼ ﭽ ﭾ ﭿ ﮀ ﮁ ﮂ ﮃ ﮄ ﮅﮊ المائدة‬

ความว่า "วันนี ้ข้ าได้ ให้ สมบูรณ์แก่พวกเจ้ าแล้ วซึง่ ศาสนาของพวกเจ้ า และข้ าได้ ให้ ครบถ้ วนแก่พวกเจ้ าแล้ วซึง่ ความกรุณาเมตตาของข้ า และข้ าได้ โปรดปรานอิสลาม ให้ เป็ นศาสนาแก่พวกเจ้ าแล้ ว" (อัล-มาอิดะฮฺ : 3)

ความสมบูรณ์ของอิสลามตามนัยของโองการดังกล่าวนัน้ คือ การที่อิสลามมีบทบัญญัติและ หลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้ มนุษย์สามารถดำารงตนได้ อย่างถูกต้ องในทุกแง่มมุ ทุกกิจการ ทุกความ เคลื่อนไหว และทุกด้ านที่จำาเป็ นสำาหรับการมีชีวิตในโลกนี ้ ในคำาสอนของอิสลาม เราจะพบว่ามีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับหลักพื ้นฐานอันเป็ นปั จจัยในการ ดำารงอยู่ของมนุษย์ไว้ อย่างครบถ้ วน ครอบคลุมทุกอิริยาบทในการดำาเนินชีวิตของมนุษย์ อาทิ1 ด้ าน ความเชื่อและอิบาดะฮฺซงึ่ เป็ นภาคความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั พระเจ้ า ด้ านมารยาท ศีลธรรมและ จริ ยธรรม ด้ านการเมืองการปกครอง ด้ านการศึกษา ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านสถาบันครอบครัว ด้ านงาน สาธารณกุศล ด้ านสิทธิมนุษยชน ด้ านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม ด้ านบทบาทสตรี ด้ านภารกิจของเยาวชน และอื่นๆ หากจะพิจารณาคร่าวๆ จากหลักการอิสลามทังห้ ้ าประการ ก็จะพบว่าอิสลามไม่ได้ เน้ นหรื อให้ ความสำาคัญเฉพาะแค่ในด้ านความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั พระเจ้ าเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ แต่อิสลาม ได้ มงุ่ หมายเพื่อสร้ างความสมดุลให้ กบั มนุษย์ในด้ านอื่นๆ ด้ วย ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวถึงหลักการอิสลามทังห้ ้ านี ้ไว้ วา่ ّ‫هللا ن ا َوأ ا َن‬ ُ‫ن ا َل إ َيِا َل نا َه إ َيِّل ن‬ ْ‫ش نا َهاا َدةَيِ أ ا َ ماَل‬ َ ‫ ا‬، ‫س‬ ٍ، ‫م ن‬ ْ‫خ ماَل‬ َ ‫عا َلنن ى ا‬ َ ‫م ا‬ ُ‫س نا َل ن‬ ْ‫ي اماَلْلَيِ ماَل‬ َ ‫»نُبَيِن ن ا‬ ، ‫ج‬ ِّ، ‫حن‬ َ ‫ ا َواماَلْل ا‬، ‫ة‬ ِ‫ء الّزا َكننا َي‬ ِ‫ ا َوَيِإيا َتننا َي‬، ‫ة‬ ِ‫صنا َل َي‬ ّ ‫م ال‬ ِ‫ ا َوإ َيِا َقننا َي‬، ‫هللانن‬ ِ‫ل َي‬ ُ‫سننلو ن‬ ُ‫منر اًدا ا َر ن‬ ّ ‫ح‬ َ ‫نُم ا‬ «‫ن‬ َ ‫ضا ا‬ َ ‫م ا َرا َم ا‬ ِ‫صماَلْلو َي‬ َ ‫ا َو ا‬ ความว่า “ศาสนาอิสลามนันถู ้ กสถาปนาบนหลักห้ าประการ นัน่ คือ การปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺและมุหมั มัดนันเป็ ้ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ การ ดำารงไว้ ซงึ่ การละหมาด การจ่ายซะกาต การทำาหัจญ์ และการถือศีลอดในเดือน 1

ดูเพิ่มเติมใน มัสลัน มาหะมะ (บรรณาธิการ). อิสลามวิถีแห่ งชีวิต. จากเว็บไซต์อิสลามเฮ้ าส์ <http://www.islamhouse.com /p/222847>, และ อัต-ตุวยั ญิรีย์, มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม (ยูซุฟ อบูบกั รฺ แปล). ความ สมบูรณ์ ของศาสนาอิสลาม. <http://www.islamhouse.com/p/185736> 1


เราะมะฎอน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ หมายเลขหะดีษที่ 8, และมุสลิม หมายเลข 122) โดยสรุปแล้ ว หลักการอิสลามทังห้ ้ าประการนี ้เป็ นเสมือนสัญลักษณ์ในแต่ละด้ านของศาสนา อิสลาม ซึง่ มีรายละเอียดปลีกย่อยและแตกแขนงเป็ นบทบัญญัติในรูปแบบต่างๆ ออกไปอีกมากมาย กล่าวคือ - หลักการอิสลามข้ อที่หนึง่ การปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้ าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺและมุหมั มัดนัน้ เป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ คือสัญลักษณ์ในด้ านความเชื่อและการศรัทธา ซึง่ หมายรวมถึงรายละเอียด อื่นๆ ด้ วยเช่น การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ต่อคัมภีร์ของอัลลอฮฺ ต่อมะลาอิกะฮฺ ต่อศาสนทูตทังหลาย ้ ต่อวันกิ ยามะฮฺ และต่อกฎสภาวการณ์(เกาะฎออ์ เกาะดัรฺ)ของอัลลอฮฺ เป็ นต้ น - หลักการอิสลามข้ อที่สอง การละหมาด เป็ นสัญลักษณ์ในด้ านอิบาดะฮฺ เป็ นภาคปฏิบตั ิใน บริ บทหน้ าที่ของมนุษย์ต่อพระผู้เป็ นเจ้ า ซึง่ จะรวมถึงอิบาดะฮฺต่างๆ นอกเหนือไปจากการละหมาดด้ วย เช่น การอ่านอัลกุรอาน การขอดุอาอ์ การซิกิรฺ และอื่นๆ - หลักการอิสลามข้ อที่สาม การจ่ายซะกาต เป็ นสัญลักษณ์ด้านเศรษฐกิจ ซึง่ มีนยั รวมถึงระบบ การจัดการทรัพย์สินในรูปแบบอื่นๆ ด้ วย อาทิ การค้ าขาย การกสิกรรม การจัดการมรดก การบริ จาค กา รวะกัฟ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง - หลักการอิสลามข้ อที่สี่ การทำาหัจญ์ คือสัญลักษณ์ในแง่ของระบบประชาคมแห่งอิสลาม(อุม มะฮฺ อิสลามียะฮฺ) เป็ นการใช้ ชีวิตในรูปหมูค่ ณะและการร่วมสังคมเดียวกัน และจำาเป็ นต้ องอาศัยการ บริ หารจัดการในด้ านการเมืองการปกครองเป็ นกลไกและเครื่ องมือ ซึง่ ในคำาสอนอิสลามก็มีบทบัญญัติ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับหลักการต่างๆ เหล่านันไว้ ้ เพียบพร้ อม เช่น กฎหมายอาญา การกำาหนดบทลงโทษ การพิพากษา การบริ หารชุมชน ฯลฯ - หลักการอิสลามข้ อที่ห้า การถือศีลอด คือสัญลักษณ์ในด้ านการขัดเกลาจิตวิญญาณ การมุง่ เน้ นสร้ างจริ ยธรรมและทำานุบำารุงศีลธรรมของมนุษย์ ทังในระดั ้ บปั จเจกบุคคลและระดับสังคมให้ มีความ เสถียรและมัน่ คงอยู่เสมอ ซะกาต เสาหลักต้ นที่สามของศาสนาอิสลาม จากข้ อเท็จจริ งที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ น จะเห็นได้ วา่ ซะกาตคือหนึง่ ในเสาหลักที่สำาคัญของศาสนา อิสลาม เป็ นรุก่นหนึง่ ในจำานวนรุก่นอิสลามทังห้ ้ าประการ สถานะของซะกาตจึงไม่ได้ น้อยไปกว่าสถานะ ของรุก่นข้ ออื่นๆ เลย ประหนึง่ ว่า หากไม่มีการจ่ายซะกาตรวมอยู่ในหลักการทังห้ ้ าประการนี ้ อิสลามก็ ไม่ใช่ศาสนาที่สมบูรณ์อีกต่อไป ด้ วยเหตุนี ้เอง ท่านอบู บักรฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ เคาะลีฟะฮฺคนแรกของ อิสลามจึงได้ ยืนกรานที่จะทำาสงครามต่อสู้กบั บรรดาผู้ที่ปฏิเสธการจ่ายซะกาต หลังจากการเสียชีวิตของ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม2

2

รายละเอียดของประเด็นนี ้มีอยู่ในหะดีษที่บนั ทึกโดย อัล-บุคอรีย์ หมายเลข 1400, 1456, 6924, 7284 และมุสลิม หมายเลข 133 2


นอกเหนือไปจากการกำาหนดให้ ซะกาตเป็ นหนึง่ ในหลักการอิสลามทังห้ ้ าประการ อิสลามยังได้ สร้ างกระบวนการส่งเสริ มและสนับสนุนให้ มีการจ่ายซะกาตอย่างครบถ้ วน ด้ วยการกำาหนดผลบุญ ความ ประเสริ ฐ และคุณค่าอันยิ่งใหญ่ ให้ กบั บรรดาผู้ที่ทำาหน้ าที่ในการจ่ายซะกาตได้ อย่างเต็มความสามารถ ในเรื่ องนี ้ปรากฏหลักฐานจากพระดำารัสของอัลลอฮฺในอัลกุรอานหลายแห่งด้ วยกัน เช่น อัลลอฮฺ สุบหานะฮุ วะตะอาลาได้ ตรัสว่า ‫ﮟ‬

‫ﮘ ﮙ ﮚ ﮛ ﮜ ﮝ ﮞ‬

‫ﭽﮑ ﮒ ﮓ ﮔ ﮕ ﮖ ﮗ‬

‫ﮠ ﮡ ﮢ ﮣ ﮤ ﭼ‬ ความว่า “แท้ จริ งบรรดาผู้ที่ศรัทธา และประกอบสิ่งที่ดีทงหลาย ั้ และดำารงไว้ ซงึ่ การ ละหมาดและจ่ายซะกาตนัน้ พวกเขาจะได้ รับรางวัลของพวกเขา ณ พระเจ้ าของ พวกเขา และไม่มีความกลัวอย่างหนึง่ อย่างใดเกิดขึ ้นแก่พวกเขา และทังพวกเขาก็ ้ ไม่เสียใจ” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 277) ‫ﯛ ﯜ ﯝ ﯞ‬

‫ﭽ ﮬ ﮭ ﮮ ﮯ ﮰ ﮱ ﯓ ﯔ ﯕ ﯖ ﯗ ﯘﯙ ﯚ‬

‫ﯟ ﯠ ﯡ ﯢ ﯣ ﯤ ﭼ‬ ความว่า “และสิ่งที่พวกเขาจ่ายออกไปจากทรัพย์สิน (ดอกเบี ้ย) เพื่อให้ มนั เพิ่มพูน ในทรัพย์สินของมนุษย์ มันจะไม่เพิ่มพูน ณ อัลลอฮฺ และสิง่ ที่พวกเขาจ่ายไปจากซะ กาต โดยพวกเขาปรารถนาพระพักตร์ ของอัลลอฮฺ ชนเหล่านันแหละ ้ พวกเขาคือผู้ได้ รับการตอบแทนอย่างทวีคณ ู ” (อัรฺ-รูม : 39) ‫ﮥ ﮦ ﮧﮨ ﮩ ﮪ ﮫ‬

‫ﭽ ﮚ ﮛ ﮜ ﮝ ﮞ ﮟ ﮠ ﮡ ﮢﮣ ﮤ‬

‫ﮬ ﭼ‬ ความว่า “(มุหมั หมัด) เจ้ าจงเอาส่วนหนึง่ จากทรัพย์สมบัติของพวกเขาเป็ นทาน เพื่อ ทำาให้ พวกเขาบริ สทุ ธิ์ และล้ างมลทินของพวกเขาด้ วยสิ่งที่เป็ นทานนัน้ และเจ้ าจงขอ พรให้ แก่พวกเขาเถิด เพราะแท้ จริ งการขอพรของเจ้ านัน้ ทำาให้ เกิดความสุขแก่พวก เขา และอัลลอฮฺเป็ นผู้ทรงได้ ยิน ผู้ทรงรอบรู้” (อัต-เตาบะฮฺ : 103) และในหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็มีหลักฐานในลักษณะเดียวกันนี ้ มากมาย ที่ระบุถึงความประเสริ ฐและคุณค่าต่างๆ ของการใช้ จา่ ยทรัพย์สินตามที่อลั ลอฮฺใช้ ซึง่ มันรวมทัง้ ที่เป็ นภาคบังคับเช่นการจ่ายซะกาต และที่เป็ นการบริ จาคด้ วยความสมัครใจ เช่น การเศาะดะเกาะฮฺ ฮะดี ยะฮฺ วะกัฟ และอื่นๆ3 3

ดูเพิ่มเติมใน อัล-เกาะหฺฏอนีย์, สะอีด บิน อะลี บิน วะฮัฟ. เศาะดะเกาะฮฺ อัต-ตะเฏาวุอฺ ฟี อัล-อิสลาม. <http://www.islamhouse.com/p/193661> 3


นอกจากจะมีหลักฐานสนับสนุนและส่งเสริ มให้ มีการจ่ายซะกาตอย่างครบถ้ วนแล้ ว ยังมีหลัก ฐานที่มาในรูปของการเตือนสำาทับ สำาหรับบุคคลที่ไม่ยอมจ่ายซะกาตและละเลยต่อหน้ าที่ในการใช้ จา่ ย ทรัพย์สินตามเป้าประสงค์ของอัลลอฮฺและบทบัญญัติอิสลาม4 ในอัลกุรอานมีระบุวา่ ‫)ﮂﮃﮄﮅﮆﮇﮈﮉﮊﮋﮌﮍﮎﮏﮐﮑﮒﮓﮔﮕﮖﮗ ﮙﮚﮛﮜ‬ .[35 -34/‫ﮝ ﮞ ﮟ ﮠ ﮡ ﮢ ﯕ ( ]التلوبة‬

ความว่า “บรรดาผู้ที่สะสมทองและเงิน และไม่จา่ ยมันในทางของอัลลอฮฺนนั ้ จงแจ้ ง ข่าวแก่พวกเขาเถิดด้ วยการลงโทษอันเจ็บปวด วันที่มนั จะถูกเผาด้ วยไฟนรกแห่ง ญะฮันนัมแล้ วหน้ าผากของพวกเขา และสีข้างของพวกเขาและหลังของพวกเขาจะ ถูกนาบด้ วยมัน นี่แหละคือสิ่งที่พวกเจ้ าได้ สะสมไว้ เพื่อตัวของพวกเจ้ าเอง ดังนันจง ้ ลิ ้มรสสิ่งที่พวกเจ้ าสะสมไว้ เถิด” (อัต-เตาบะฮฺ 34-35) และมีรายงานโดยอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮฺ อันฮุ กล่าวว่า “ท่านรอซูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า َ ‫جاعا أ ا َماَلْق نا َر ا‬ ‫ع‬ َ ‫ش ا‬ ُ‫م الَيِقا َياا َمَيِة ن‬ َ ‫ل ا َلننُه ا َيلو ا‬ َ ‫ِّث ا‬،‫ِّد ا َزا َكاا َتننُه نُم‬،‫م نُيا َؤ‬ ْ‫ه هللا ا َمال ر اً ا َفا َلن ماَل‬ ُ‫ن آا َتا ن‬ ْ‫»ا َم ماَل‬ ، -‫شماَلْدا َقماَلْينَيِه‬ ِ‫عَيِني َيِب َي‬ ْ‫ا َين ماَل‬- ‫خنُذ َيِبَيِلنماَلْهَيِزا َما َتماَلْينَيِه‬ ُ‫م ا َيماَلْأ ن‬ ّ ‫ نُث‬، ‫م الَيِقا َياا َمَيِة‬ َ ‫ِّلونُقنُه ا َيلو ا‬،‫ط‬ َ ‫ نُي ا‬، ‫ا َلننُه ا َزَيِبيا َبا َتان‬ ‫ أخرجه‬.‫( الية‬...‫م ا َتل )ﯲ ﯳ ﯴ ﯵ‬ ّ ‫ نُث‬، «‫ك‬ َ ‫ أ ا َا َدنا ا َكماَلْننُز ا‬، ‫ك‬ َ ‫ أ ا َا َدنا ا َمانُل ا‬:‫ل‬ ُ‫م ا َيننُقلو ن‬ ّ ‫نُث‬ .‫البخاري‬

ความว่า "ใครที่อลั ลอฮฺได้ ประทานทรัพย์สินแก่เขาแล้ วเขาไม่ทำาการจ่ายซะกาตของ มัน มันจะถูกจำาแลงแก่เขาในวันกิยามะฮฺให้ เป็ นงูหวั ล้ าน มีสองเขี ้ยว มันจะรัดเขาใน วันกิยามะฮฺแล้ วรัดที่ขากรรไกรของเขาทังสองข้ ้ างแล้ วมันจะกล่าวว่า ข้ าคือทรัพย์ ของเจ้ า ข้ าคือสิ่งที่เจ้ าสะสมไว้ " แล้ วท่านก็อา่ นอายะฮฺนี ้ (180 : ‫( )آل عمران‬...‫)ﯲ ﯳ ﯴ ﯵ‬

จนจบอายะฮฺ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ หมายเลข 1403) อบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮฺ อันฮุ ได้ กล่าวว่า ท่านรอซูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า ، ‫م‬ َ ‫جا َهّنن ا‬ َ ‫عا َلماَلْيننَيِه َيِفني ا َدنناَيِر ا‬ َ ‫ي ا‬ َ ‫م ا‬ ِ‫حن َي‬ ْ‫ِّدي ا َزا َكاا َتننُه إل أ نُ ماَل‬،‫ٍز ل نُيا َؤ‬، ‫ب ا َكماَلْن‬ ِ‫ح َي‬ ِ‫صا َي‬ َ ‫ن ا‬ ْ‫»ا َما َيِم ماَل‬ َ ‫م هللا ن ا َبماَلْي ن ا‬ ‫ن‬ َ ‫ك ا‬ ُ‫ح ن‬ ْ‫حّتنن ى ا َين ن ماَل‬ َ ‫ ا‬، ‫جَيِبينُنن ننُه‬ َ ‫ه ا َو ا‬ ُ‫جماَلْنا َبا ن‬ َ ‫كا َلو ى َيِبنا َها ا‬ ْ‫ ا َفنُي ماَل‬، ‫ح‬ َ ‫صا َفاَيِئ ا‬ َ ‫ل ا‬ ُ‫ع ن‬ َ ‫ج ا‬ ْ‫ا َفنُين ماَل‬ ‫ أخرجه مسلم‬.«‫ٍة‬، ‫ف سا َا َن‬ َ ‫ن أماَلْل ا‬ َ ‫سي ا‬ ِ‫م َي‬ ْ‫خن ماَل‬ َ ‫ه ا‬ ُ‫ن َيِمماَلْقا َدانُر ن‬ َ ‫م ا َكا ا‬ ٍ، ‫ َيِفي ا َيماَلْلو‬، ‫ه‬ ِ‫عا َباَيِد َي‬ ِ‫َي‬ 4

ดูเพิ่มเติมใน อัต-ตุวยั ญิรีย์, มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม (อิสมาน จารง แปล). การจ่ ายหรือออกซะกาต. <http://www.islamhouse.com/p/233028> 4


ความว่า “ไม่มีผ้ ใู ดที่เป็ นผู้สะสมทรัพย์แล้ วไม่จา่ ยซะกาตของมันยกเว้ นมันจะถูกเผา ในไฟนรก แล้ วมันถูกทำาให้ แบนแล้ วถูกนำามารี ดกับสีข้างของเขาและหน้ าผากของ เขา จนกว่าอัลลอฮฺจะตัดสินระหว่างบ่าวของพระองค์ ในวันที่หนึง่ วันของมันมีความ ยาวเท่ากับห้ าหมื่นปี ” (บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 987) รายงานจากท่านอบู ซัรฺ เราะฎิยลั ลอฮฺ อันฮุ กล่าวว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า ْ‫ ا َمننا َيِمن ماَل‬-‫ف‬ ‫ن‬ َ ‫حا َلن ا‬ َ ‫مننا ا‬ َ ‫أماَلْو ا َك ا‬- ‫ه‬ ُ‫غماَلْيننُر ن‬ َ ‫ ا َواّلَيِذي ا َل إا َلنا َه ا‬:‫ أماَلْو‬، ‫ه‬ ِ‫سي َيِبا َيَيِد َي‬ ِ‫»ا َواّلَيِذي ا َدنماَلْف َي‬ َ ‫ي َيِبننا َها ا َينماَلْلو ا‬ ‫م‬ َ ‫ إل أ نَُيِت ا‬، ‫حّقا َها‬ َ ‫ِّدي ا‬،‫ ل نُيا َؤ‬، ‫م‬ ٌ، ‫غا َن‬ َ ‫ أماَلْو ا‬، ‫ٌر‬، ‫ أماَلْو ا َبا َق‬، ‫ل‬ ٌ، ‫ن ا َلننُه إَيِب‬ ُ‫كلو ن‬ ُ‫ل ا َتن ن‬ ٍ، ‫ج‬ ُ‫ا َر ن‬ ، ‫حنُه َيِبنُقنُروَيِدننا َها‬ ُ‫ط ن‬ َ ‫ ا َوا َتماَلْن ا‬، ‫ه َيِبأخماَلْا َفاَيِفا َها‬ ُ‫طنُؤ ن‬ َ ‫ ا َت ا‬، ‫ما َنننُه‬ َ ‫س ا‬ ْ‫ن ا َوأ ماَل‬ ُ‫كلو ن‬ ُ‫م ا َما ا َتن ن‬ َ ‫ظ ا‬ َ ‫ع ا‬ ْ‫الَيِقا َياا َمَيِة أ ماَل‬ .«‫س‬ ِ‫ن الّنننا َي‬ َ ‫ض ى ا َبماَلْي ن ا‬ َ ‫حّتنن ى نُين نماَلْق ا‬ َ ‫ ا‬، ‫ها‬ َ ‫عا َلماَلْينَيِه نُأول ا‬ َ ‫ت ا‬ ْ‫ها نُرّد ماَل‬ َ ‫خا َرا ا‬ ْ‫ت أ نُ ماَل‬ ْ‫جاا َز ماَل‬ َ ‫ما ا‬ َ ‫نُكّلن ا‬ ‫متفق عليه‬

ความว่า “ขอสาบานด้ วย(อัลลอฮฺ)ผู้ที่ชีวิตฉันอยู่ในมือพระองค์ หรื อ ขอสาบานด้ วย ผู้ที่ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดนอกจากพระองค์ (หรื อคำาสาบานอื่นตามที่ทา่ นได้ สาบานไว้ ) ว่า ไม่มีผ้ ใู ดที่มีอฐู วัวหรื อแพะแล้ วเขาไม่จา่ ยสิทธิ์ของมัน นอกจากมันจะถูกนำามา ในวันกิยามะฮฺในลักษณะที่ใหญ่มากและอ้ วนมากแล้ วมันจะเยียบเขาด้ วยเท้ า และ ขวิดด้ วยเขาของมัน ทุกครัง้ ที่ตวั สุดท้ ายผ่านไปตัวแรกก็จะหวนกลับคืนมา จนกว่า จะมีการตัดสินระหว่างมนุษย์ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ หมายเลข 1460 สำานวน รายงานนี ้เป็ นของท่าน และมุสลิม หมายเลข 987) ทำาไมต้ องจ่ ายซะกาต? ซะกาตนันถื ้ อเป็ นภาระหน้ าที่สำาหรับผู้มีทรัพย์สินครบตามเงื่อนไข ซึง่ จำาเป็ นต้ องจ่ายให้ กบั ผู้ที่มี สิทธิและมีคณ ุ สมบัติจะได้ รับมัน อัลลอฮฺ สุบหานะฮูวะตะอาลา ได้ ตรัสในอัลกุรอานว่า ٢٥ - ٢٤ :‫ﮋ ﮓ ﮔ ﮕ ﮖ ﮗ ﮘ ﮙ ﮚ ﮛ ﮊ المعارج‬ ความว่า “และบรรดาผู้ที่ในทรัพย์สินของพวกเขามีสว่ นที่ถกู กำาหนดไว้ สำาหรับผู้ที่ เอ่ยขอและผู้ที่ไม่เอ่ยขอ” (อัล-มะอาริ จญ์ 24-25) อายะฮฺนี ้ให้ ความหมายว่า ทรัพย์สินต่างๆ ที่เราครอบครองนันมี ้ สว่ นที่เราต้ องกำาหนดไว้ เพื่อจ่าย ให้ เป็ นสิทธิของผู้คนที่มีความจำาเป็ น และอุละมาอ์หลายท่านก็ได้ อธิบายว่า ส่วนที่กำาหนดไว้ นี ้ก็คือซะกา ตนัน่ เอง5 ซึง่ ตรงกับที่ทา่ นอบู บักรฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ได้ ปรารภไว้ เมื่อครัง้ ที่ประกาศทำาสงครามกับผู้ที่ ปฏิเสธซะกาตว่า

5

ดูตฟั ซีร อัฏ-เฏาะบะรีย์ ในการอธิบายอายะฮฺที่ 24-25 จากสูเราะฮฺ อัล-มะอาริจญ์ 5


ُّ ‫ح‬ ‫ق‬ َ ‫ة ا‬ َ ‫ن الّزا َكا ا‬ ّ ‫ ا َفَيِإ‬، ‫ة‬ ِ‫ة ا َوالّزا َكا َي‬ ِ‫صا َل َي‬ ّ ‫ق ا َبماَلْينا َ ال‬ َ ‫ن ا َفّر ا‬ ْ‫ن ا َم ماَل‬ ّ ‫ ا َل نُا َقاَيِتا َل‬، ‫هللا‬ ِ‫»ا َو َي‬ «‫ل‬ ِ‫ما َي‬ َ ‫اماَلْل ا‬ ความว่า “ขอสาบานด้ วยอัลลอฮฺ แท้ จริ ง ฉันจะทำาสงครามต่อสู้กบั ผู้ที่แบ่งแยก ระหว่างการละหมาดและการจ่ายซะกาต เพราะแท้ จริ งแล้ ว ซะกาตนันก็ ้ คือสิทธิ(อัน พึงจ่าย)ที่เกี่ยวข้ องกับทรัพย์สิน” (บันทึกโดย อัล-บุคอรี ย์ หมายเลข 6924 และ มุสลิม 133) การที่ผ้ คู รอบครองทรัพย์สินครบตามเงื่อนไขแต่ปฏิเสธหรื อละเลยที่จะจ่ายซะกาต ก็ย่อม หมายความว่าเขาได้ ปฏิเสธหน้ าที่ความรับผิดชอบของตนที่ถกู กำาหนดไว้ ชดั เจนในบทบัญญัติอิสลาม ซึง่ จะนำาไปสูม่ ลู เหตุที่ทำาให้ เขาต้ องได้ รับโทษจากอัลลอฮฺ ระหว่ างซะกาตกับภาษี อันที่จริ งแล้ ว ถ้ าหากเราจะเปรี ยบเทียบซะกาตกับภาษีในระบอบเศรษฐกิจสมัยใหม่ เราก็จะพบ ว่าส่วนที่เราจ่ายเป็ นซะกาตนันมี ้ จำานวนเล็กน้ อยมากถ้ าจะเทียบกับเงินภาษี ที่เราต้ องจ่ายอยู่ทกุ วี่วนั ซะกาตนันจะจั ้ ดเก็บเฉพาะกับผู้ที่มีทรัพย์สินหรื อรายได้ ตามพิกดั ที่กำาหนดเท่านัน้ ในขณะที่ ระบอบเศรษฐกิจสมัยใหม่จะโยนภาระการเสียภาษีบางอย่างเช่นภาษี มลู ค่าเพิ่มให้ เป็ นภาระของผู้บริ โภค อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึง่ จะบวกรวมอยู่ในราคาสินค้ าที่เราจับจ่ายใช้ สอยในชีวิตประจำาวันโดยที่ผ้ บู ริ โภค อย่างประชาชนทัว่ ไปอาจจะไม่เคยคิดถึงด้ วยซ้ำ า การเสียภาษีแต่ละครัง้ ก็ใช่วา่ จะเล็กน้ อย เพราะอย่างภาษีมลู ค่าเพิ่มก็จะอยู่ที่ 7% ในขณะที่ ภาษีเงินได้ บคุ คลธรรมดาต่ำาสุดก็อยู่ที่ 10%6 และเมื่อนำามาเปรี ยบเทียบกับการจ่ายซะกาตแล้ วก็จะพบว่า เราต้ องเสียภาษีในอัตราที่สงู กว่ามาก เพราะเกณฑ์ของการจ่ายซะกาตนันจะอยู ้ ่ที่ 2.5% เท่านัน้ ความจำาเป็ นและบทบาทของซะกาตในการพัฒนาสังคมมุสลิม ถ้ าหากการพัฒนาจำาเป็ นต้ องอาศัยปั จจัยด้ านทุนทรัพย์เป็ นหลัก และทุกประเทศในโลกนี ้ก็มีการ จัดการเก็บภาษีเพื่อนำามาใช้ เป็ นงบประมาณในการพัฒนา ในทำานองเดียวกันนี่เองที่อิสลามได้ กำาหนดให้ มีการจ่ายซะกาต เพื่อใช้ เป็ นปั จจัยหลักในการระดมทุนทรัพย์ซงึ่ จะนำามาใช้ ในการบริ หารจัดการและ พัฒนาสังคมมุสลิมต่อไป เมื่อพิจารณาถึงแหล่งรายจ่ายของซะกาตก็จะได้ เห็นถึงบทบาทสำาคัญของมันในการพัฒนา สังคมมุสลิมอย่างชัดเจน ซึง่ ในเรื่ องนี ้อัลลอฮฺได้ มีบญ ั ญัติไว้ ในอัลกุรอานว่า ‫ﮋ ﮡ ﮢ ﮣ ﮤ ﮥ ﮦ ﮧ ﮨ ﮩ ﮪ ﮫ ﮬ ﮭ ﮮ ﮯ ﮰﮱ ﯓ ﯔ ﯕﯖ ﯗ ﯘ ﯙ ﯚ ﮊ‬ ٦٠ :‫التلوبة‬ ความว่า “แท้ จริ ง การทำาทาน(ซะกาต)ทังหลายนั ้ น้ ให้ จา่ ยสำาหรับบรรดาผู้ที่ยากจน และบรรดาผู้ที่ขดั สน และบรรดาเจ้ าหน้ าที่ในการรวบรวมมัน และบรรดาผู้ที่หวั ใจ 6

ศึกษาเพิ่มเติมได้ จากเว็บของกรมสรรพากร <http://www.rd.go.th/publish/286.0.html> 6


ของพวกเขาสนิทสนมโอนอ่อนต่ออิสลาม(มุอลั ลัฟ) และในการไถ่ทาส และบรรดาผู้ ที่หนี ้สินล้ นตัว และในทางของอัลลอฮฺ และผู้ที่หมดตัวในระหว่างเดินทาง ทังนี ้ ้เป็ น บัญญัติอนั จำาเป็ นซึง่ มาจากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺนนเป็ ั ้ นผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงปรี ชา ญาณ” (อัต-เตาบะฮฺ 60) จากอายะฮฺนี ้ทำาให้ เราได้ ข้อสรุปว่า จำาพวกบุคคลที่มีสิทธิได้ รับซะกาตนันมี ้ ทงหมดแปดประเภท ั้ ดังนี ้7 1- ฟุเกาะรออ์ (ผู้ที่ยากจน) คือผู้ไม่มีทรัพย์ใดๆ เลย หรื อมีเล็กน้ อยไม่พอใช้ จา่ ย(ไม่ถึงครึ่งของ รายจ่าย) 2- มะสากีน (ผู้ขดั สน) คือผู้ที่มีรายได้ เกือบพอรายจ่าย หรื อ ครึ่งหนึง่ ของรายจ่าย 3- อามิลนู อะลัยฮา (เจ้ าหน้ าที่ที่รวบรวมมัน) พวกเขาคือผู้จดั เก็บ ผู้ดแู ล ผู้แบ่งสรร คนเหล่านี ้ หากมีเงินเดือนอยู่แล้ วก็ไม่สามารถรับซะกาตได้ อีก 4- บรรดาผู้ที่หวั ใจของเขายังใหม่ต่ออิสลามคือ มุสลิมหรื อกาฟิ ร หัวหน้ าเผ่า ผู้ที่หวังว่าเขาจะ เข้ ารับอิสลาม หรื อ(ผู้ที่เราหวัง)เพื่อให้ พ้นจากความชัว่ ของเขา หรื อหวังว่าการให้ จะเพิ่มอีมานของเขา หรื อหวังการรับอิสลามของคนที่เหมือนกับเขา คนต่างๆ เหล่านี ้จะให้ ซะกาตจำานวนที่ทำาให้ บรรลุเป้า หมายได้ 5- ในการไถ่ทาสคือบรรดาทาสทัว่ ไปหรื อทาสมุกาตับที่ทำาสัญญาต้ องการ(ซื ้อ)ไถ่ตวั เองจากเจ้ า นายเพื่อให้ พ้นจากการเป็ นทาส และเขามีความต้ องการซะกาต และที่เข้ าข่ายนี ้ด้ วยก็คือการไถ่ตวั เชลย ศึกที่เป็ นมุสลิม 6- ผู้ที่หนี ้สินล้ นตัวคือผู้ที่ตดิ หนี ้ซึง่ มีสองประเภท 6.1- ผู้ทตี่ ิดหนี ้เพื่อสมานไกล่เกลี่ยระหว่างผู้ที่ขดั แย้ งกัน จะให้ ซะกาตตามจำานวนที่เขา ติดหนี ้แม้ เขาจะร่ำารวยก็ตาม 6.2- ผู้ทตี่ ิดหนี ้เพื่อตัวเองโดยที่เขาติดหนี ้และไม่มีทรัพย์ที่จะชดใช้ หนี ้ 7- ในหนทางของอัลลอฮฺ คือผู้ที่ส้ รู บในหนทางอัลลอฮฺเพื่อเชิดชูศาสนาของพระองค์ และผู้ที่รวม อยู่ในกรณีเช่นเดียวกับพวกเขา เช่นคนที่เป็ นนักดาอีย์ผ้ ทู ี่เชิญชวนสูศ่ าสนาของอัลลอฮฺ คนเหล่านี ้ สามารถรับซะกาตได้ หากไม่มีเงินเดือนประจำา หรื อมีเงินเดือนแต่ไม่พอใช้ 8- ผู้เดินทาง คือผู้ที่กำาลังเดินทางแล้ วหมดเสบียงระหว่างเดินทางไม่มีทรัพย์ที่จะใช้ เดินทางกลับ บ้ านเมืองได้ คนประเภทนี ้จะให้ ซะกาตจำานวนที่จะเขาจำาเป็ นต้ องใช้ ในการเดินทาง แม้ เขาจะเป็ นคนที่ ร่ำารวย(ณ ภูมิลำาเนาของเขา)ก็ตาม และหากนำามาจัดหมวดใหม่ก็อาจจะได้ ข้อสรุปถึงบทบาทของซะกาตในการพัฒนาสังคมจาก แต่ละด้ านตามตารางข้ างล่างนี ้ 7

ดูเพิ่มเติมที่ อัต-ตุวยั ญิรีย์, มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม (อิสมาน จารง ผู้แปล). แหล่ งแจกจ่ ายซะกาต. เว็บไซต์อิสลามเฮ้ าส์ <http://www.islamhouse.com/p/233054> 7


จำาพวกบุคคลที่มีสิทธิในซะกาต 1) ฟากิรฺ 2) มิสกีน 3) ผู้ติดหนี ้ 4) ทาส

5) มุอลั ลัฟ 6) การญิฮาดในหนทางขอ งอัลลอฮฺ 7) เจ้ าหน้ าที่เก็บซะกาต 8) ผู้เดินทางที่หมดตัว

ผลของการพัฒนาที่ได้ จากซะกาต ขจัดมูลเหตุหลักของความล้ าหลังและช่องว่างอันเป็ น ตัวปั ญหาที่ทำาให้ สงั คมไม่พฒ ั นา (ความยากจน หนี ้ สิน การเป็ นทาส) เพิ่มจำานวนและขยายฐานความมัน่ คงของประชาชาติ ปกป้องอธิปไตยและเสรี ภาพในการนับถืออิสลาม รักษาระบบและกลไกการพัฒนาให้ มีเสถียรภาพถาวร งบประมาณฉุกเฉินสำาหรับเหตุจำาเป็ น

ถ้ าดูจากสัดส่วนตามหมวดหมูข่ ้ างต้ นก็จะเห็นว่า ส่วนที่เกี่ยวข้ องกับการขจัดปั ญหาความ ยากจนอันเป็ นปั ญหาหลักในเรื่ องของการพัฒนาจะมีมากกว่าด้ านอื่นๆ ทังหมด ้ ซึง่ หมวดนี ้มีผ้ ทู ี่รับซะ กาตทังหมดสี ้ ่จำาพวก คือ ฟากิรฺ, มิสกีน, ทาส และผู้ทตี่ ิดหนี ้ รองลงมาก็คือส่วนที่เป็ นด้ านการปกป้อง อธิปไตยและการขยายฐานความมัน่ คงของอิสลาม โดยมีผ้ รู ับซะกาตในหมวดนี ้ก็คือมุอลั ลัฟและผู้ที่ ญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ ซึง่ เห็นได้ ชดั ตามกราฟข้ างล่างนี ้

ความยากจนเป็ นสาเหตุแห่ งความล้ าหลัง ทุกวันนี ้ หนึง่ ในจำานวนปั ญหาหลักที่เหล่าประเทศกำาลังพัฒนาต่างประสบกันอยู่ก็คือ ปั ญหา ความยากจน ซึง่ ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ก่อให้ เกิดปั ญหาสังคมต่างๆ เช่น อาชญากรรม ขาดโอกาสทางการศึกษา โสเภณี หนี ้นอกระบบ คุณภาพชีวิตที่เสื่อมโทรม ฯลฯ กลายเป็ น ตัวชี ้วัดที่สำาคัญตัวหนึง่ ว่าประเทศนันพั ้ ฒนาหรื อไม่ในระดับใด ในอิสลามก็มองว่าความยากจนเป็ นสิ่งที่ต้องได้ รับการเยียวยา ในหลายโองการจากอัลกุรอานที่ อัลลอฮฺได้ เน้ นย้ำ าถึงการให้ ความสำาคัญกับคนที่ยากจนขัดสน และเตือนสำาทับถึงการไม่ดแู ลคนที่ ขาดแคลนปั จจัยอย่างเช่นพวกเขาเหล่านัน้ อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า

‫ﮋ ﯵ ﯶ ﯷﯸ ﯹ ﯺ ﯻ ﯼ ﯽ ﯾ ﯿ ﰀ ﰁ ﰂ ﰃﰄ ﰅ ﰆ‬ ٢١٥ :‫ﰇ ﰈ ﰉ ﰊ ﰋ ﰌ ﰍ ﮊ البقرة‬ 8


ความว่า “พวกเขาจะถามเจ้ า(มุหมั มัด)ว่า พวกเขาจะบริ จาคสิ่งใดบ้ าง? จงกล่าว เถิดว่า ทรัพย์สินใดๆ ก็ตามที่พวกท่านบริ จาคไปก็จงให้ แก่ผ้ บู งั เกิดเกล้ าทังสอง ้ และบรรดาญาติที่ใกล้ ชิด และแก่บรรดาเด็กกำาพร้ า และบรรดาคนยากจน และผู้ที่ อยู่ในการเดินทาง และก็ความดีใด ๆ ที่พวกท่านกระทำาอยู่นนั ้ แท้ จริ งอัลลอฮฺทรงรู้ ดี” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 215)

٨ :‫ﮋ ﭦ ﭧ ﭨ ﭩ ﭪ ﭫ ﭬ ﭭ ﭮ ﭯ ﭰ ﭱ ﭲ ﭳ ﮊ النساء‬ ความว่า “เมื่อบรรดาญาติที่ใกล้ ชิด บรรดาเด็กกำาพร้ า และบรรดาผู้ที่ยากจนขัดสน มาร่วมอยู่ด้วยในการแบ่งมรดก ก็จงปั นส่วนหนึง่ จากสิ่งนัน้ ให้ เป็ นปั จจัยยังชีพแก่ พวกเขา และจงกล่าวแก่พวกเขาอย่างดี” (อัน-นิสาอ์ 8)

‫ﮋ ﮖ ﮗ ﮘ ﮙ ﮚ ﮛ ﮜﮝ ﮞ ﮟ ﮠ ﮡ ﮢ ﮣ ﮤ ﮥ ﮦ ﮧ ﮨ ﮩ ﮪ ﮫ‬ ٣٦ :‫ﮬ ﮭ ﮮ ﮯﮰ ﮱ ﯓ ﯔ ﯕ ﯖ ﯗ ﯘ ﯙ ﯚ ﮊ النساء‬ ความว่า “และจงเคารพสักการะอัลลอฮฺเถิด และอย่าให้ มีสิ่งหนึง่ สิ่งใดเป็ นภาคีกบั พระองค์ และจงทำาดีต่อผู้บงั เกิดเกล้ าทังสองและต่ ้ อผู้เป็ นญาติที่ใกล้ ชิด และเด็ก กำาพร้ าและผู้ขดั สน และเพื่อนบ้ านใกล้ เคียงและเพื่อนที่หา่ งไกล และเพื่อนเคียงข้ าง และผู้เดินทาง และผู้ที่มือขวาของพวกเจ้ าครอบครอง แท้ จริ งอัลลอฮฺ ไม่ทรงชอบผู้ ยะโส ผู้โอ้ อวด” (อัน-นิสาอ์ 36) การไม่สนใจดูแลผู้ยากจนขัดสนที่เป็ นเพื่อนมนุษย์ร่วมสังคมคือสิ่งที่อิสลามยอมรับไม่ได้ และ เรื่ องนี ้ยังมีสว่ นเกี่ยวพันกับการที่คนผู้หนึง่ ต้ องโดนลงโทษในวันกิยามะฮฺด้วย อัลลอฮฺได้ ตรัสถึงชาวนรก ส่วนหนึง่ ว่า

‫ﰍﰎﰏﰐﰑﰒﰓﰔﰕﰖﰗﭑ‬ - ٣٣ :‫ﭚ ﭛ ﭜ ﭝ ﭞ ﭟ ﭠ ﭡ ﮊ الحاقة‬

‫ﮋﰋﰌ‬

‫ﭒﭓ ﭔﭕﭖﭗ ﭘﭙ‬ ٣٧

ความว่า “แท้ จริ ง เขามิได้ ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ผู้ยิ่งใหญ่ และเขามิได้ สง่ เสริ มให้ อาหาร แก่คนขัดสน ดังนัน้ วันนี ้เขาจะไม่มีมิตรสนิท ณ ที่นี ้ และไม่มีอาหารอย่างใด นอกจากน้ำ าหนองที่ไหลมาจากแผลของชาวนรก ไม่มีผ้ ใู ดกินมัน นอกจากบรรดาผู้ กระทำาความผิด” (อัล-ห๊ ากเกาะฮฺ 33-37) ความยากจนถือเป็ นฟิ ตนะฮฺหรื อบททดสอบประการหนึง่ ที่อาจจะส่งผลต่อการปฏิเสธศรัทธา และรุนแรงเท่าๆ กับบททดสอบประเภทอื่นได้ ด้ วยเหตุนี ้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึงได้ ขอดุ 9


อาอ์ต่ออัลลอฮฺให้ พ้นจากฟิ ตนะฮฺของความยากจน เช่นเดียวกันกับที่ทา่ นขอความคุ้มครองให้ พ้นจากบท ทดสอบของความร่ำารวย เช่นในบทดุอาอ์ของท่านที่วา่ ، ‫م‬ ِ‫منماَلْأا َث َي‬ َ ‫ ا َوال ا‬، ‫م‬ ِ‫غنا َر َي‬ ْ‫م ماَل‬ َ ‫ ا َوال ا‬، ‫م‬ ِ‫ل ا َوالا َها َر َي‬ ِ‫س َي‬ َ ‫ك ا‬ َ ‫ن ال ا‬ َ ‫ك َيِم ا‬ َ ‫علو نُذ َيِب ا‬ ُ‫ِّدني أ ا َ ن‬،‫م إ‬ ّ ‫»الّلنُهن‬ ، ‫ ا َوَيِفماَلْتا َننَيِة الا َقماَلْبنَيِر‬، ‫ ا َوَيِفماَلْتا َنَيِة الّننناَيِر‬، ‫ب الّناَيِر‬ ِ‫عا َذا َي‬ َ ‫ن ا‬ ْ‫ك َيِم ماَل‬ َ ‫علو نُذ َيِب ا‬ ُ‫ِّدني أ ا َ ن‬،‫م إ‬ ّ ‫الّلنُهن‬ ‫ِّر‬،‫ش ن‬ َ ‫ن ا‬ ْ‫ ا َوَيِم ن ماَل‬، ‫ِّر َيِفماَلْتا َن نَيِة الا َفماَلْق نَيِر‬،‫ش ن‬ َ ‫ ا َو ا‬، ‫غا َن ى‬ ِ‫ِّر َيِفماَلْتا َنَيِة ال َي‬،‫ش‬ َ ‫ ا َو ا‬، ‫ب الا َقماَلْبَيِر‬ ِ‫عا َذا َي‬ َ ‫ا َو ا‬ «‫ل‬ ِ‫جا َي‬ ّ ‫ح الّد‬ ِ‫سي َي‬ ِ‫م َي‬ َ ‫َيِفماَلْتا َنَيِة ال ا‬ ความว่า "โอ้ พระผู้อภิบาลแห่งข้ า แท้ จริ งข้ าพระองค์ขอความคุ้มครองด้ วยพระองค์ จากความเกียจคร้ าน ความแก่เฒ่า การติดหนี ้สิน การติดบาป โอ้ พระผู้อภิบาลแห่ง ข้ า แท้ จริ งข้ าพระองค์ขอความคุ้มครองด้ วยพระองค์จากการทรมานและการ ทดสอบในนรก จากการทดสอบและการทรมานในหลุมศพ จากความเลวร้ ายในการ ทดสอบของความร่ำารวยและความยากจน ข้ าพระองค์ขอความคุ้มครองด้ วย พระองค์จากความชัว่ ร้ ายในการทดสอบของดัจญาล" (บันทึกโดย อัล-บุคอรี ย์ 6375 สำานวนรายงานนี ้เป็ นของท่าน และ มุสลิม 589 ในบทว่าด้ วยการซิกิร) ทุกเช้ าและเย็น ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะขอความคุ้มครองให้ พ้นจากการเป็ น กุฟรฺ หรื อการปฏิเสธศรัทธา พร้ อมๆ กับการขอให้ พ้นจากความยากจนด้ วย นัน่ คือบทซิกิรฺของท่านที่วา่

ْ‫ِّدنن ماَل‬،ِ‫ اللهننم إ َي‬، ‫كماَلْفنَيِر ا َواماَلْلا َفماَلْقنَيِر‬ ‫ي‬ ُ‫ن اماَلْل ن‬ َ ‫ك َيِمن ا‬ َ ‫عماَلْلو نُذ َيِبن ا‬ ُ‫ي أ ا َ ن‬ ْ‫ِّدن ماَل‬،ِ‫»اللهم إ َي‬ «‫ت‬ َ ‫ ا َل إ َيِ هـٰلنا َه إ َيِّل أ ا َماَلْدن ا‬، ‫ب اماَلْلقا َماَلْبَيِر‬ ِ‫عا َذا َي‬ َ ‫ن ا‬ ْ‫ك َيِم ماَل‬ َ ‫عماَلْلو نُذ َيِب ا‬ ُ‫أ ا َ ن‬

ความว่า “โอ้ อัลลอฮฺ แท้จริงฉันขอความคุม้ ครองต่อพระองค์ให้จากกุฟรฺ(การฝ่ าฝืนหรือปฏิเสธ ศรัทธา)และให้พน้ จากความยากจน และฉันขอความคุม้ ครองต่อพระองค์จากจากการลงโทษ ในหลุมศพ ไม่มพี ระเจ้าอืนใดนอกจากพระองค์ ่ ” (อบู ดาวูด หมายเลข 4426) 8 เช่นเดียวกับที่ทา่ นขอให้ พ้นจากการเป็ นหนี ้ล้ นตัว

، ‫ل‬ ِ‫سن َي‬ َ ‫ك ا‬ َ ‫جنَيِز ا َوال ا‬ ْ‫ع ماَل‬ َ ‫ ا َوال ا‬، ‫ن‬ ِ‫حنا َز َي‬ َ ‫م ا َوال ا‬ ِّ، ‫ك َيِمننا َ الا َهنن‬ َ ‫علو نُذ َيِب ا‬ ُ‫ِّدني أ ا َ ن‬،‫م إ‬ ّ ‫»الّلنُهن‬ ‫ أخرجننه‬.«‫ل‬ ِ‫جننا َي‬ َ ‫ِّر ا‬،‫غلا َا َبننَيِة ال‬ َ ‫ ا َو ا‬، ‫ن‬ ِ‫ع الننّدماَلْي َي‬ ِ‫ضننا َل َي‬ َ ‫ ا َو ا‬، ‫ل‬ ِ‫خ َي‬ ْ‫ن ا َوالنُبننن ماَل‬ ِ‫جماَلْب ن َي‬ ُ‫ا َوال ن‬ .‫البخاري‬ ความว่า "โอ้ พระผู้อภิบาลแห่งข้ า แท้ จริ งข้ าพระองค์ขอความคุ้มครองต่อพระองค์ จากความกังวลใจและความโศกเศร้ า ความอ่อนแอและความเกียจคร้ าน ความ ขยาดและความตระหนี่ การติดหนี ้ที่มากมายจนล้ นตัว และการพ่ายแพ้ ต่อผู้ อื่น" (บันทึกโดย อัล-บุคอรี ย์ 6369) 8

ดูเพิ่มเติมใน อุษมาน อิดรีส, บทซิกริ ฺเช้ าเย็นที่เศาะฮีหจฺ ากท่ านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม. เว็บไซต์อิสลาม เฮ้ าส์ <http://www.islamhouse.com/p/47743> 10


ข้ อเท็จจริ งทางหลักฐานเหล่านี ้ชี ้ชัดว่า อิสลามได้ บญ ั ญัติซะกาตไว้ และกำาหนดให้ เป็ นหนึง่ ในรุ ก่นอิสลามทังห้ ้ าประการ ก็เพื่อต้ องการที่จะพัฒนาให้ สงั คมได้ พ้นจากความยากจน อันเป็ นมูลเหตุหลัก ของความล้ าหลังและความอ่อนแอของประชาชาติ ที่สง่ ผลกระทบในวงกว้ างไม่เพียงแค่ในด้ านเศรษฐกิจ เท่านัน้ แต่อาจจะลามไปถึงด้ านอื่นๆ อีกมากมาย ซะกาตกับการศึกษา หนึง่ ในด้ านหลักที่เป็ นตัวแปรสำาคัญในการพัฒนาก็คือการศึกษา สังคมใดที่มีการศึกษาสูงก็ ย่อมมีศกั ยภาพในการดำารงชีวิตอย่างมีคณ ุ ภาพได้ ดีกว่าสังคมที่ขาดโอกาสที่จะเข้ าถึงการศึกษา โดย เฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาอิสลามอันเป็ นหลักคำาสอนที่จะคอยขัดเกลามนุษย์ให้ เป็ นมุสลิมที่มีคณ ุ ภาพ มี ศีลธรรม จริ ยธรรม และเป็ นสมาชิกที่สร้ างคุณค่าให้ กบั สังคม โอกาสทางการศึกษาอาจจะมีความเกี่ยวข้ องกับประเด็นความยากจนที่ได้ กล่าวมาแล้ วในหัวข้ อ ที่ผ่านมา เพราะส่วนมากแล้ วผู้ที่ไม่ได้ รับการศึกษามักจะเป็ นคนที่ไม่มีทนุ ทรัพย์เป็ นหลัก นอกจากนี ้ การ ศึกษาถือว่าเป็ นสาเหตุหลักที่จะทำาให้ อิสลามมัน่ คงและขยายกว้ างขึ ้นได้ อีกด้ วย ดังนัน้ การจ่ายซะกาต เพื่อการศึกษาจึงเป็ นประเด็นที่นกั วิชาการบางท่านมีทศั นะว่าสามารถจะจ่ายซะกาตเพื่อสนับสนุนการ ศึกษาได้ โดยรวมอยู่ในหมวดของการญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ 9 ทังนี ้ ้จำาเป็ นที่จะต้ องศึกษาเพิ่มเติมใน รายละเอียดปลีกย่อยของประเด็นนี ้จากหนังสือ ตำารา และฟั ตวาของอุละมาอ์ที่เกี่ยวข้ องด้ วย กองทุนซะกาตและการบริหารจัดการ ณ เวลาปั จจุบนั สิง่ หนึง่ ที่นา่ จะช่วยส่งเสริ มให้ ซะกาตได้ แสดงบทบาทในการพัฒนาอย่างเป็ นรูป ธรรมและมีความชัดเจนก็คือกองทุนซะกาต ซึง่ ควรต้ องอยู่ในความจำาเป็ นเร่งด่วนประการหนึง่ ในสังคม มุสลิมที่ต้องช่วยกันผลักดันและเรี ยกร้ องเชิญชวนเพื่อให้ มนั สามารถเกิดขึ ้นได้ จริ ง และต้ องอาศัย บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทุม่ เทเสียสละในการบริ หารจัดการเพื่อให้ มีประสิทธิภาพในการทำางาน มีความซื่อสัตย์และเป็ นที่นา่ เชื่อถือของผู้ที่จะจ่ายซะกาตให้ ทังนี ้ ้ ปั จจัยหลักๆ ที่คาดว่าน่าจะเป็ นอุปสรรคที่ทำาให้ การบริ หารจัดการซะกาตในสังคมมุสลิม บ้ านเรายังขาดประสิทธิภาพก็คือ 1) ความไม่ร้ ูและไม่เข้ าใจ หมายถึง สังคมบางส่วนยังไม่ร้ ูหน้ าที่ของตนเกี่ยวกับการจ่ายซะกาต หรื อรู้แล้ วแต่ก็ยงั ละเลยเนื่องด้ วยความเข้ าใจที่ไม่ถกู ต้ องต่อบทบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับซะกาต 2) ความไม่ไว้ วางใจ คือ การที่ผ้ จู า่ ยซะกาตไม่เชื่อมัน่ ในองค์กร หน่วยงาน หรื อผู้ที่รับหน้ าที่จดั เก็บซะกาต ว่าซะกาตที่ตนจ่ายไปจะถูกนำาไปจ่ายให้ กบั ผู้ที่มีคณ ุ สมบัติควรได้ รับซะกาตอย่างถูกต้ อง 3) ขาดอะมานะฮฺและความซื่อสัตย์ เป็ นปั จจัยที่เกี่ยวข้ องกับองค์กรและหน่วยงานที่ทำาหน้ าที่ รวบรวมซะกาต ซึง่ ส่งผลให้ เกิดปั ญหาในข้ อที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ น

9

ดูฟัตวาของเชค อับดุลลอฮฺ บิน อับดุรเราะห์มาน บิน ญิบรีน <http://ibn-jebreen.com/book.php?cat=6&book= 41& toc=1602 &page=1501&subid=3234>, และดูเพิ่มเติมที่ <http://islamqa.com/ar/ref/34631> 11


4) การจัดการที่ไม่ดีและไม่เป็ นระบบ หมายถึง การบริ หารจัดการที่สะเปะสะปะ ไม่มีการควบคุม อย่างรัดกุมและได้ มาตรฐานในการจัดเก็บ การทำาบัญชี การแจกจ่าย และการประเมินผลการทำางาน รวม ทังความโปร่ ้ งใสในด้ านต่างๆ สรุ ป ซะกาต เป็ นฟั รฎทีู ่จำาเป็ นเหนือมุสลิมทุกคนที่มีความสามารถจะต้ องทำาหน้ าที่แบ่งปั นส่วนเพียง เล็กน้ อยจากทรัพย์สินของตนให้ เป็ นสิทธิของผู้ที่มีคณ ุ สมบัติจะได้ รับมัน การจ่ายซะกาตในมิติของอิสลาม ไม่ใช่แค่การทำาหน้ าที่ในฐานะเป็ นมุสลิมเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมให้ เกิดความ เข้ มแข็ง เป็ นการช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ ยาก เป็ นการผลักดันในสังคมก้ าวไปข้ างหน้ าได้ อย่างถาวรและ มัน่ คง เป็ นการช่วยเหลือสนับสนุนกันในความดีงาม ซึง่ จะสร้ างคุณปุ การมากมายให้ กบั สังคมมุสลิมและ อิสลามสืบไป การที่จะทำาให้ ซะกาตได้ มีบทบาทในการพัฒนาสังคมมุสลิมนัน้ จำาเป็ นต้ องอาศัยกระบวนการ ทำางานที่มีความพร้ อมในด้ านต่างๆ ที่จำาเป็ น อาทิเช่น ความอิคลาศ ความทุม่ เท การจัดการที่ดี และการ ผลักดันให้ ความรู้ความเข้ าใจแก่สงั คมเกี่ยวกับเรื่ องของซะกาตอย่างต่อเนื่อง เมื่อใดที่สำานึกร่วมกันใน สังคมมุสลิมได้ เห็นถึงความสำาคัญของการทำาหน้ าที่จา่ ยซะกาตอันเป็ นรุก่นอิสลามประการหนึง่ และมีผ้ ทู ี่ อาสารับผิดชอบในเรื่ องการบริ หารจัดการ เมื่อนันบทบาทของซะกาตก็ ้ จะปรากฏให้ เห็นเป็ นรูปธรรมขึ ้นได้ และอาจจะส่งผลกระตุ้นให้ เกิดการตื่นตัวในเรื่ องอื่นๆ ที่ความสัมพันธ์กบั ซะกาต เช่น การบริ จาค การวะ กัฟ และอื่นๆ ได้ อีกด้ วย อินชาอัลลอฮฺ

12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.