ประวัติศาสตร์สายมรณะ

Page 1

ประวัติศาสตร์สายมรณะ ภาพ : อดิศักดิ์ เจรจาศิลป


สะพานข้ ามแม่น� ้ำแคว (The Bridge of the River Kwai)

สะพานข้ ามแม่ น�ำ้ แคว

สะพานข้ ามแม่น� ้ำแคว (อังกฤษ: The Bridge of the River Kwai) ตังอยู ้ ท่ ี่ต�ำบลท่ามะขาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ห่าง จากตัวเมืองไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ ายประมาณ 400 เมตร มีป้ายบอกทางชัดเจน

ประวัติ

สะพานข้ า มแม่ น� ำ้ แควเป็ นสถานที่ ท างประวัติ ศ าสตร์ ที่ ส�ำคัญยิ่งแห่งหนึง่ เป็ นสะพานที่ส�ำคัญที่สดุ ของเส้ นทางรถไฟสาย มรณะ สร้ างขึ ้นสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยกองทัพญี่ปนได้ ุ่ เกณฑ์ เชลยศึกฝ่ ายสัมพันธมิตร ได้ แก่ ทหารอังกฤษ อเมริ กนั ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดียอีกจ�ำนวนมาก มาก่อสร้ างทาง รถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็ นเส้ นทางผ่านไปสูป่ ระเทศพม่า ซึง่ เส้ น ทางช่วงหนึง่ จะต้ องข้ ามแม่น� ้ำแควใหญ่ จึงต้ องมีการสร้ างสะพานขึ ้น การสร้ างสะพานและทางรถไฟสายนี ้ เต็มไปด้ วยความยากล�ำบาก

ความทารุณของสงครามและโรคภัย ตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ท�ำให้ เชลยศึกหลายหมื่นคนต้ องเสียชีวิตลง ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่สองสะพานข้ ามแม่น� ้ำแควเดิมได้ รับความ เสียหาย และรัฐบาลไทยได้ ซอ่ มแซมใหม่ ภายหลังสงครามสิ ้นสุดลง เมื่อปี พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้ งานได้ ดงั เดิม ปั จจุบนั มีการยกย่อง ให้ สะพานข้ ามแม่น� ้ำแคว เป็ นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ เดิมทีสะพานข้ ามแม่น� ้ำแควไม่เคยมีจริ งในประวัตศิ าสตร์ แต่ เนื่องจากทางอเมริ กาได้ ท�ำเป็ นภาพยนตร์ ดังนันทางจั ้ งหวัดจึงมี ความเห็ น ให้ ตัง้ ชื่ อ สะพานที่ ท่ า มะขามให้ เ ป็ นสะพานข้ า มแม่ น� ำ้ แคว[ต้ องการอ้ างอิง] เพื่อให้ เหมือนภาพยนตร์ และได้ มีกลุม่ นักท่อง เที่ยวมาตามหาจริ งๆ สร้ างรายได้ ให้ แก่ท้องถิ่น สะพานเดิมนันจะเป็ ้ นเหล็กโค้ ง ส่วนที่เป็ น 4 เหลี่ยมเป็ นการซ่อมแซม สะพานเหล่านี ้เดิมทีมีมากมายหลายแห่งในประเทศไทยและลาวพม่า แต่สว่ นใหญ่ท�ำจากไม้ ในไทยมีที่ท�ำจากเหล็กไม่ถงึ 15 สะพาน


สถานีรถไฟถ� ้ำกระแซ

สะพานถ�ำ้ กระแซ

เชื่อว่าหลายๆคนคงเคยได้ ยินชื่อเสียงของการเที่ยวสะพาน ถ� ้ำกระแซ ซึง่ อยูไ่ ม่ไกลจากถ� ้ำกระแซและที่หยุดรถไฟถ� ้ำกระแซ โดย สถานที่ทอ่ งเที่ยวเหล่านี ้ตังอยู ้ ต่ �ำบลลุม่ สุม่ อ�ำเภอไทรโยค จังหวัด กาญจนบุรี ที่หยุดรถไฟถ� ้ำกระแซ เป็ นที่หยุดรถของทางรถไฟสาย มรณะ บริ เวณสะพานถ� ้ำกระแซ ซึง่ เป็ นสะพานไม้ เลียบหน้ าผาที่มี ความยาวกว่า 450 เมตร ถ� ้ำกระแซ เป็ นอีกหนึง่ ถ� ้ำประวัตศิ าสตร์ ที่มีความเกี่ยวเนื่อง กับสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เนื่องจากเป็ นถ� ้ำที่อยูต่ ดิ กับบริ เวณการสร้ าง เส้ นทางรถไฟที่เป็ นช่วงหน้ าผาพอดี ซึง่ เป็ นจุดที่สร้ างยากและยังเชื่อ กันว่าจุดนี ้ เป็ นจุดที่อนั ตรายที่สดุ ของเส้ นทางรถไฟ ในอดีตเชื่อกันว่า เคยเป็ นที่พกั ของเชลยศึกเมื่อครัง้ สร้ างเส้ นทางรถไฟสายมรณะจาก ไทยไปพม่า

ถ�ำ้ กระแซ

ถ� ้ำกระแซ เป็ นถ� ้ำขนาดเล็ก ๆ สามารถเข้ าไปไหว้ ขอพรหลวงพ่อถ� ้ำ กระแซ พระพุทธรุปองค์ใหญ่ที่ชาวบ้ านในเขตพื ้นที่ใกล้ เคียงให้ ความ นับถือ รวมทังนั ้ กท่องเที่ยวที่แวะเวียนมาที่นี่ตา่ งก็ไม่พลาดที่จะขอพร กัน และไฮไลท์อีกจุดคือการเดินบนเส้ นทางรถไฟสายมรณะ ที่มี ความยาว 400 เมตร บนหน้ าผาเป็ นจุดชมวิวที่สวยที่สดุ ในล�ำน� ้ำ แควน้ อย และมีชื่อเสียงไปทัว่ โลก เรี ยกว่าใครมาเที่ยวเส้ นทางรถไฟ สายน� ้ำตกแล้ วไม่ผา่ นมาที่จดุ นี ้ ถือว่ามาไม่ถงึ ก็วา่ ได้ .....พร้ อมกับ เลือกซื ้อสินค้ าท้ องถิ่นหลากหลายประเภท ถ� ้ำกระแซ ตังอยู ้ ห่ า่ งจากตัวเมืองประมาณ 55 กิโลเมตร ไปตาม ทางหลวงหมายเลข 323 กิโลเมตรที่ 29–30 ถ� ้ำนี ้เป็ นถ� ้ำที่ ตัวถ� ้ำ ติดกับเส้ นทางรถไฟสายกาญจนบุรี–น� ้ำตก วึง่ เป็ นทางรถไฟสาย ประวัตศิ าสตร์ สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ปั จจุบนั สิ ้นสุดที่สถานีรถไฟ น� ้ำตก

ทางรถไฟถ� ้ำกระแซ




น� ้ำตกไทรโยคใหญ่

น�ำ้ ตกไทรโยคใหญ่

น� ้ำตกไทรโยคใหญ่ หรื อ น� ้ำตกเขาโจน ตังอยู ้ ใ่ นบริ เวณ ที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติไทรโยค ไหลลงสูแ่ ม่น� ้ำแควน้ อย แยกเป็ น 2 แพร่ง ส่วนที่อยูท่ างตอนเหนือ เรี ยกว่า น� ้ำตกไทรโยคใหญ่ เป็ นน� ้ำตก ขนาดใหญ่ชนเดี ั ้ ยว รองรับด้ วยชันหิ ้ นสลับกันเป็ นชัน้ ๆ มีความสูง ประมาณ 8 เมตร น� ้ำตกไทรโยคใหญ่เป็ นน� ้ำตกที่นา่ ท่องเที่ยวมาก โดยนักท่องเที่ยวทุกท่านจะต้ องเดินข้ ามสะพานแขวนไปอีกฝั่ งหนึ่ง เพื่อชมสาย น� ้ำตกที่ไหลลงมาอย่างสวยงามยิ่งนัก อุทยานแห่งชาติไทรโยค มีเนื ้อที่ 598,750 ไร่ ประกาศเป็ น อุทยานฯ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2523 สภาพพื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นภูเขา หินปูน ประกอบด้ วยพื ้นที่ป่าเบญจพรรณและป่ าดิบแล้ ง ไทรโยค ได้ ชื่อว่าเป็ นพื ้นที่แห่งเดียวในประเทศไทยที่มีค้างคาวที่เล็กที่สดุ ใน โลกคือ ค้ างคาวกิตติ และ ปูราชินี ปูน� ้ำจืดชนิดใหม่ของโลกอาศัยอยู่

ในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ไทรโยคเคยเป็ นค่ายพักแรมของทหาร ญี่ปนุ่ ปั จจุบนั ปรากฎร่องรอยเตาหุงข้ าวและซากเตาไฟอยูใ่ นพื ้นที่ นอกจากนี ้ยังพบร่องรอยมนุษย์ยคุ หินเก่า มีแหล่งท่องเที่ยวที่นา่ สนใจ คือ น� ้ำตกไทรโยคใหญ่ หรื อ เรี ยกอีกชื่อว่า น� ้ำตกเขาโจน ตังอยู ้ ใ่ น อุทยานแห่งชาติไทรโยค เนื่องจากเป็ นน� ้ำตกที่ไหลตกลงจากหน้ าผา ลงสูแ่ ม่น� ้ำแควน้ อยราวกับกระโจนลงมา น� ้ำตกไทรโยคใหญ่จะมีน� ้ำ ตลอดปี และน� ้ำจะแรงมากในฤดูฝน และในอดีตพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) เคยเสด็จประพาส ณ น� ้ำตกแห่ง นี ้ ภายในอุทยานฯ มีเส้ นทางเดินศึกษาธรรมชาติหลายเส้ นทาง และมี จุดชมวิวสะพานแขวนไทรโยคที่จะเห็นน� ้ำตกไทรโยคได้ ชดั เจน อัตรา ค่าเข้ าชมอุทยานฯ ชาวไทย ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ 400 บาท เด็ก 200 บาท บริ เวณอุทยานฯ มีบริ การร้ านอาหาร


สะพานแขวนไทรโยค

ถึงไทรโยค ไม่มีไทร หรื อไทรโศก โยกไปซบ เห็นแต่สกั อักโข ไม่มีไทร สักต้ น เขาเล่าว่า เจ้ าสัก เข้ ารุกไล่ ปลุกปล� ้ำ ไทรวิโยค โศกทรุด ทอดต้ นกลิ ้ง ลงน� ้ำ ตัดใจพราก จากผา ขอฝากไว้ แต่ชื่อ ว่าไทรโยค น� ้ำตกผา งามพอโน้ ม จิตให้

ที่ไหนโยค หลบอยูไ่ หน โตเต็มไพร จนใจจริ ง หลงรักไทร ท�ำสุงสิง สุดประวิง เสียงครามโครม ที่อาศัย บันลือโฉม ซ่าๆ โครม คลายอาวรณ์

น� ้ำตกไทรโยคเล็ก


ช่ องเขาขาด

“ช่องเขาขาด” หรื อ “ช่องไฟนรก” เป็ นส่วนหนึง่ ของเส้ นทาง รถไฟสายไทย-พม่า (เส้ นทางรถไฟสายมรณะ)ตลอดเส้ นทางรถไฟ สายไทย-พม่า (เส้ นทางรถไฟสายมรณะ)มีหลายจุดที่มีเนินหิน ภูเขา หน้ าผา หรื อหุบเหว ขวางอยูจ่ งึ ต้ องขุดให้ เป็ นช่องเพื่อที่รถไฟสามารถ วิ่งผ่านไปได้ ซงึ่ ที่ชอ่ งเขาขาด หรื อ ช่องไฟนรก เป็ นจุดที่ใหญ่ที่สดุ บน เส้ นทางนี ้ การขุดเจาะช่องเขาขาดเริ่ มในเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2486 ปรากฏว่างานล่าช้ ากว่าก� ำหนดจึงมีช่วงที่เร่ งงานซึ่งแรงงานแต่ละ กะต้ องท�ำงานถึง 18 ชัว่ โมงโดยงานส่วนใหญ่ล้วนใช้ แรงคนทังสิ ้ ้น เช่นการสกัดภูเขาด้ วยมือ ซึง่ เป็ นการท�ำงานที่ทารุณยิ่ง เนื่องจาก

ต้ องปี นลงไปสกัดในช่องเขาซึง่ บางช่วงสูงถึง 11 เมตร จนแทบไม่มี อากาศหายใจทังยั ้ งต้ องท�ำงานท่ามกลางอากาศร้ อนอบอ้ าวในช่วง เดือนมีนาคม ในภาวะขาดแคลนน� ้ำและอาหาร เมื่อเจ็บป่ วยแพทย์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ก็ไม่เพียงพอต่อการพยาบาลต้ องดูแลกัน ตามมีตามเกิด เชลยศึกและกรรมกรที่ชอ่ งเขาขาดต้ องท�ำงานตอน กลางคืนด้ วยแสงไฟจากคบเพลิงและกองเพลิงท�ำให้ สะท้ อนเห็นเงา ของเชลยศึกและผู้คมุ วูบวาบบนผนังท�ำให้ ที่นี่ได้ รับการขนานนามว่า “ช่องไฟนรก” หรื อ Hellfire Pass ในภาษาอังกฤษ

ภายในช่องเขาขาด


ทางเดินช่องเขาขาด


สุสานสหประชาชาติ

สุสานดอนรัก ตังอยู ้ บ่ นถนนแสงชูโต เยื ้องสถานีรถไฟ กาญจนบุรี ใช้ ทางหลวงหมายเลข 323 ไปทางอ.ไทรโยค ผ่าน รพ.แสง ชูโต ตรงไปไม่ไกลจะเห็นสุสานดอนรักอยูท่ างซ้ ายมือ “สุสานดอนรัก” หรื อ “สุสานสหประชาชาติ” ที่ชาวบ้ าน ทัว่ ไปเรี ยกว่า “ป่ าช้ าอังกฤษ” เป็ นสุสานขนาดใหญ่บนพื ้นที่ 17 ไร่ บรรจุศพเชลยศึกที่เสียชีวิตระหว่างการสร้ างทางรถไฟสายมรณะถึง 6,982 หลุม โดยเชลยศึก 300 คนเสียชีวิตด้ วยอหิวาตกโรคและฝั งไว้ ที่คา่ ยนิเกะ (ประมาณ 15 กิโลเมตร ก่อนถึงด่านเจดีย์สามองค์)ส่วน ที่เหลือได้ จากหลุมฝั งศพเชลยศึกตามค่ายต่างๆและยังมีสสุ านช่องไก่

ซึง่ รัฐบาลไทยและฝ่ ายสัมพันธมิตรได้ ตกลงกันเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2497 เพื่อสร้ างสุสานสองแห่งนี ้ขึ ้น บรรยากาศในสุสานเงียบ สงบและร่มรื่ น พื ้นที่ภายในได้ รับการตกแต่งไว้ อย่างเป็ นระเบียบ สวยงาม เหนือหลุมฝั งศพทุกหลุมมีแผ่นทองเหลืองจารึก ชื่อ อายุ และ ประเทศของผู้เสียชีวิต บรรทัดสุดท้ ายเป็ นค�ำไว้ อาลัยที่โศกเศร้ า ทุกปี จะมีวนั ที่ร�ำลึกถึงผู้เสียชีวิตเฉพาะของคนชาติตา่ งๆได้ แก่ -วัน Anzac Day 25 เมษายน ของชาวออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ -วัน Armistice Day 5 พฤษภาคม ของชาวเนเธอร์ แลนด์ -วัน Remembrance Day 11 พฤศจิกายน ของชาวอังกฤษ

สุสานทหารสัมพันธมิตรดอนรัก

ประวัติ

หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สงบลงเมื่อ พ.ศ. 2488 ฝ่ ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามได้ ด�ำเนินการจัดสร้ างอนุสรณ์สถานแด่ผ้ เู สียชีวิตขึ ้น หลายแห่งในทวีปเอเชียซึง่ เป็ นสมรภูมิส�ำคัญนันมี ้ อนุสรณ์สถานตังอยู ้ ใ่ นหลายประเทศ คือ ในประเทศไทย 2 แห่ง พม่า 3 แห่ง อินเดีย 6 แห่ง บังกลาเทศ 5 แห่ง ปากีสถานและศรี ลงั กาอย่างละ 2 แห่ง นอกจากนี ้ที่กาญจนบุรียงั มีอนุสรณ์สถานที่สร้ างโดยทหารญี่ปนเพื ุ่ ่อคาระวะแด่ดวง วิญญาณผู้เสียชีวิตในระหว่างสงคราม คือ “อนุสาวรี ย์ไทยานุสรณ์ ส่วนกรรมกรชาวเอเชียอีกจ�ำนวนมากที่เสียชีวิตไปโดยไม่มีผ้ ใู ดจดบันทึก ไว้ นนั ้ มีการสร้ างอนุสาวรี ย์กรรมกรและทหารนิรนามไว้ ที่ป่าช้ าวัดญวน และโครงกระดูกอีกส่วนหนึง่ ของพวกเขาตังแสดงอยู ้ ท่ ี่พิพิทธภัณฑ์ สงครามโลกครัง้ ที่ 2




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.