49
NT
E NT
CO S
หน้า 2 3 4 5 6 8 9 10 11 12 16 20 23 25 32 39 43 47
เนื้อหา สารจากคณบดี วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน ประวัติคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คณะผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน ผังยุทธศาสตร์คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 สรุปวงเงินงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2557 ผลงานการให้บริการวิชาการ ผลงานผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลงานท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลงานวิจัยเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี ผลงานความภาคภูมิใจ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา กิจกรรมประเพณี การประกันคุณภาพ
1
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มีพันธกิจที่ส�ำคัญ ในด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุง ศิลปวัฒนธรรม มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพทางด้านสิ่งทอและแฟชั่น ตามวิสยั ทัศน์ทวี่ า่ “ผูน้ ำ� การจัดการศึกษาด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ สูม่ าตรฐาน สากล” มีการจัดการศึกษาบนพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ การ ผลิตบัณฑิตและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ ที่สามารถบูรณาการกับงาน บริการวิชาการแก่สังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และ สนั บ สนุ น งานการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ปี ง บประมาณ 2557 คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้ดำ� เนินงานกิจการในด้านต่าง ๆ เพือ่ พัฒนาการจัดการศึกษาให้สอดคล้องตามแนวนโยบายของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ส่งผลให้มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 การจัดท�ำรายงานประจ�ำปี 2557 จึงเป็นการรวบรวมข้อมูลผล งานของคณะในรอบปีทผี่ า่ นมา ซึง่ เปรียบเสมือนคูม่ อื ในการประเมินตนเอง อันเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานใน ด้านต่าง ๆ ให้มีความพร้อมก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในปีพุทธศักราช 2558 เป็ น การเริ่ ม ต้ น การเปิ ด ศั ก ราชประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น คณะจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ อย่างจริงจัง ที่ส�ำคัญ คือตระหนักถึงบทบาทในฐานะเป็นหน่วยงานด้านการศึกษา ในการผลิต ก�ำลังคนที่เป็นทรัพยากรที่ส�ำคัญของประเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน รายงานฉบับนีไ้ ด้จดั ท�ำขึน้ เพือ่ รายงานผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปี 2557 เพื่อให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบและผู้สนใจ ทั่วไปได้รับทราบผลการด�ำเนินงานตามภารกิจด้านต่าง ๆ ของคณะ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและออกแบบแฟชั่ น ซึ่ ง ผลการด� ำ เนิ น งานใน ปีงบประมาณ 2557 นั้น เป็นผลงานที่เกิดจากความร่วมมือของ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษาของคณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชั่น จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่าง ยิง่ ว่ารายงานฉบับนีจ้ ะเป็นคูม่ อื ทีส่ ำ� คัญของคณะ ในการพัฒนาศักยภาพใน ด้านต่าง ๆ เพื่อการผลักดันให้คณะเดินไปสู่วิสัยทัศน์ที่วางไว้
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
วิสัยทัศน์
“ผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล”
ปรัชญา
“สร้างคนสู้งานเชี่ยวชาญเทคโนโลยีสร้างคนดีสู่โลกอาชีพ”
ค่านิยมองค์กร
“เชื่อมั่นในทีมงาน บริหารด้วยความโปร่งใส ร่วมใจพัฒนาเห็นคุณค่าของคน”
ปณิธาน
“มุ่งมั่นเป็นผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการ พัฒนาก�ำลังคนให้มีคุณภาพคู่คุณธรรมสู่มาตรฐานสากล”
เอกลักษณ์
“สถาบันผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งทอและแฟชั่น”
อัตลักษณ์
“ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่โลกอาชีพ”
3
คณะก่ อ ตั้ ง ขึ้ น มาจากโรงเรี ย น วิ ช าชี พ ช่ า งตั ด เสื้ อ ซึ่ ง อยู ่ บ ริ เ วณวั ด สุ ทั ศ น์ ใช้ชื่อว่า “โรงเรียนช่างตัดเสื้อวัดสุทัศน์” เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2476 ต่อมาได้ย้ายมา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 517 ถนนนครสวรรค์ แขวง สวนจิ ต รลดา เขตดุ สิ ต กรุ ง เทพมหานคร เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนช่างตัดเสื้อพระนคร สังกัดกรมอาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2520 เปลี่ยน ชื่อเป็นวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ปี พ.ศ.2532 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สังกัด “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” ปี พ.ศ. 2548 มี พ ระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคล จัดแบ่งสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ออกเป็ น 9 มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย
4
เทคโนโลยีราชมงคลพระนครเป็น 1 ใน 9 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร แบ่งส่วนราชการออกเป็น 8 คณะ 5 ส�ำนัก และ 1 สถาบัน วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จึงเปลีย่ นสถานะเป็น คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอ และออกแบบแฟชัน่ ตามประกาศกฎกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร จั ด การเรี ย นการสอนระดั บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปริญ ญาตรี หลั ก สู ต รเทคโนโลยี บัณ ฑิ ต มี 4 สาขาวิ ช า สาขาวิ ช าเทคโนโลยี เ สื้ อ ผ้ า สาขาวิช าเทคโนโลยี เคมี สิ่ง ทอ สาขาวิ ช า ออกแบบแฟชั่ น และสิ่ ง ทอ และสาขาวิชา ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ โดยมุ่งเน้นผลิ ต บั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บั ติ ด ้ า นสิ่ ง ทอและแฟชั่ น ที่ มี ศักยภาพความสามารถในการแข่งขัน มีคณ ุ ธรรม และจริยธรรม
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่น
คณะผู้บริหาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก คณบดี
นางพจนา นูมหันต์
นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
รองคณบดีฝ่ายวางแผน
ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมล พรหมหล้าวรรณ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
นายพิชิตพล เจริญทรัพยานันท์ ผู้ช่วยคณบดีด้านวิชาการและวิจัย
นางเพชราภรณ์ สิงห์ทองชัย หัวหน้าส�ำนักงานคณบดี
5
สาขาวิชาเทคโนโลยีเสื้อผ้า นางวิภาดา กระจ่างโพธิ์ หัวหน้าสาขาวิชา
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ภวู พัสส์ เอกตาแสง 2. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วฒ ั นา วัชรเสรีกลุ 3. นายไชยชาญ อารี 4. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สรุ ยี ์ สุทธิสงั ข์ 5. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์จริ าพร จิตต์ภภู่ กั ดี 6. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อาภาพรรณ ยุเหล็ก 7. นางพจนา นูมหันต์ 8. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อษุ า ตัง้ ธรรม 9. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วาสนา ช้างม่วง 10. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กมล พรหมหล้าวรรณ 11. นางสุจติ รา ชนันทวารี 12. นางสาวเสาวนีย์ เถากิตติกลุ
สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวณีย์ อารีจงเจริญ หัวหน้าสาขาวิชา
1 2 3 4 5 6 7
1. นายพิชติ พล เจริญทรัพยานันท์ 2. นายจ�ำลอง สาริกานนท์ 3. ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ 4. ดร.กาญจนา ลือพงษ์ 5. นางสาวนงนุช ศศิธร 6. ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์ 7. นางสาวจิตราวรรณ ไวสาหลง 6
สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ นายก้องเกียรติ มหาอินทร์ หัวหน้าสาขาวิชา
1 2 3 4 5 6 7 8
1. นายธวัชชัย แสงน�ำ้ เพชร 2. นายสัมภาษณ์ สุวรรณคีรี 3. นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น 4. นางมธุรส เวียงสีมา 5. นางสาวฐิตมิ า พุทธบูชา 6. นายกฤษดา รัตนางกูร 7. นางสาวนิตยา วันโสภา 8. นายนฤพน ไพศาลตันติวงศ์
สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ หัวหน้าสาขาวิชา
1 2 3 4 5 6
1. นางกัญญุมา ญาณวิโรจน์ 2. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย 3. นายทวีศกั ดิ์ สาสงเคราะห์ 4. นายเกษม มานะรุง่ วิทย์ 5. นายศรันย์ จันทร์แก้ว 6. นางชลธิชา สาริกานนท์
7
บุคลากรสายสนับสนุน ข้าราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัย
1 2 3 4 5
1. นางสาวขวัญฤดี แซ่ลมิ้ 2. นางเพชราภรณ์ สิงห์ทองชัย 3. นางอมร ร่มซ้าย 4. นางสาววรนุช หลุบเลา 5. นางยุพนิ ใจตระหนัก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ลูกจ้างประจ�ำ
1. นางสาวสมใจ แซ่ภู่ 2. นางสาวปิยวรรณ สีเชียง 3. นายสันติ ธรรมสุรเิ ชษฐ์ 4. นางสาวอภิษา กล่อมแสง 5. นายคณาวุฒิ มีศริ ภิ ทั ร 6. นายวิโรจน์ ยิม้ ขลิบ 7. นางสาวนันทิยา พริกคง 8. นางสาวสาวิตรี ค�ำยอด 9. นางสาวฉันทนา ธนาพิธานนท์ 10. นางสาวนุชดาว เตะสมุทร 11. นางสาวชุตมิ า นุย้ สุข 1
1.นายสมพงค์ อมรประสิทธิ์
ลูกจ้างชั่วคราว
1 2 3 4 5 6 7 8
1. นางสุภากาญจน์ เทีย่ งพูนวงศ์ 2. นางสาวชนิษฎา เพิม่ การเจริญ 3. นายพุฒพิ ล มงคลบูรณะศิริ 4. นายสาววิภาวดี ชัยสุรสีห์ 5. นางสาวอมราลักษณ์ แสงสุวรรณ 6. นางประเสริฐศรี จุลรัตน์ 7. นางสาวนฤมล แสงถนอม 8. นายนพดล พุม่ ไสว 8
9
งานกิจการนักศึกษา – วิชาทหาร – พัฒนาวินัย คุณธรรม และจริยธรรม – ศิลปวัฒนธรรม – กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา – แนะแนว – สวัสดิการและสุขภาพพลานามัย – กิจกรรมสโมสรและชมรมนักศึกษา – กีฬา
งานบริการวิชาการและวิจัย – วิจัยและพัฒนา – บริการวิชาการแก่สังคม – หลักสูตร – ทะเบียน – วิเทศสัมพันธ์ – เทคโนโลยีทางการศึกษา – สหกิจศึกษา – สารสนเทศ *โครงการฯ EdPEx ** คลินิกเทคโนโลยี
– เทคโนโลยีเสื้อผ้า – เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ – ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ – ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
สาขาวิชา
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
หมายเหตุ * เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งเป็นการภายใน ** ศูนย์คลินิกเทคโนโลยี วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เครือข่ายกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อสวท.)
– แผนยุทธศาสตร์ – แผนงานและงบประมาณ – ติดตามประเมินผล – บริหารความเสี่ยง – บริหารโครงการ – ประกันคุณภาพการศึกษา
งานวางแผนและพัฒนา
งานบริหารทั่วไป
– สารบรรณ – บุคลากร – อาคารสถานที่และยานพาหนะ – ประชาสัมพันธ์ – เอกสารการพิมพ์ – การเงิน – การบัญชี – พัสดุ
รองคณบดีฝ่ายวางแผน
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
ส�ำนักงานคณบดี
คณบดี
แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน
กลวิธี / มาตรการ
1.1.1 พัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความ ต้องการของสังคมและชุมชน (ยกตัวอย่าง - หลักสูตรส�ำหรับผู้สูงอายุ - หลักสูตรอาหารเพื่อสุขภาพ - หลักสูตรการนวดเพื่อผ่อนคลาย) 1.1.2 พัฒนาหลักสูตรต่อยอดให้กับผู้มี งานท�ำและบัณฑิตที่จบการศึกษา 1.1.3 พัฒนาหลักสูตรรองรับบริบทของ สังคม (ตรี+โท,ตรี+ประกาศนียบัตร) 1.1.4 สร้างหลักสูตรนานาชาติเพื่อก้าวไป สากล (ยกตัวอย่าง : อาหาร การ ท่องเที่ยว และการโรงแรม) 1.1.5 พัฒนาหลักสูตรร่วมกับ มหาวิทยาลัยในประเทศ และต่างประเทศ 1.1.6 พัฒนาหลักสูตรร่วมกับองค์กร ภาครัฐและเอกชน (ยกตัวอย่าง : พัฒนาหลักสูตรร่วมกับโรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาและสถาน ประกอบการ 1.1.7 จัดการเรียนการสอน E- Learning 1.1.8 จัดระบบเทียบโอนประสบการณ์ 1.1.9 ประเมินผลหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
1.1 พัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับความ ต้องการของสังคมชุมชน
เป้าประสงค์
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติ
พันธกิจ
วิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์หลัก)
10 2.2 พัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรทางการ ศึกษาทุกระดับ
2.12.1.1 เตรียมความพร้อมนักศึกษาสู่ โลกอาชีพ 2.12.1.2 พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาชีพ 2.12.1.3 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นคนอย่าง สมบูรณ์ 2.12.1.4 สร้างเสริมสุขภาวะที่ดี ให้แก่นักศึกษา 2. 2.1.5 แลกเปลี่ยนนักศึกษา ระดับนานาชาติ 2. 2.1.6 ท�ำความร่วมมือกับสถาน ศึกษา/สถานประกอบการทั้งใน และต่างประเทศ 2.1.7 จัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง และซ่อมเสริมฐานความรู้ ให้แก่นักศึกษา (ยกตัวอย่าง - พัฒนา e - Learning เพื่อการสอนซ่อมเสริม - ค่ายปรับพื้นฐาน) 2.1.8 พัฒนาองค์กรนักศึกษา ให้เข้มแข็ง 2 2.1.9 จัดตั้งสมาคมศิษย์เก่าและชุมชน สัมพันธ์ระดับคณะและระดับ มหาวิทยาลัย
2.1 พัฒนานักศึกษาและบัณฑิต ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2.2.1 ปลูกจิตส�ำนึกการมีส่วนร่วมและ ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.2.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือการ จัดการความรู้ เพิ่อพัฒนา ศักยภาพของบุคลากร 2.2.3 สร้างเสริมสุขภาวะที่ดีให้กับ บุคลากร 2.2.4 จัดท�ำ Training Roadmap ส�ำหรับสายวิชาการ (ยกตัวอย่าง : - พัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพ - ให้อาจารย์ฝึกอบรมในสถาน ประกอบการหริอท�ำงานร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ - ฝึกอบรมสู่การเป็นอาจารย์แห่ง อนาคต) 2.2.5 จัดท�ำ Training Roadmap ส�ำหรับสายสนับสนุน (ยกตัวอย่าง : - พัฒนาความรู้ - พัฒนาประสิทธิภาพในการท�ำงาน) 2.2.6 พัฒนาความก้าวหน้าของบุคลากร
5.1.1 ท�ำวิจัยร่วมกับภาครัฐและเอกชน 5.1.2 สร้างเครือข่ายการวิจัย แบบบูรณาการ 5.1.3 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย 5.1.4 พัฒนานักวิจัยมืออาชีพ 5.1.5 จัดตั้งศูนย์แก้ปัญหาและ พัฒนางานวิจัย 5.1.6 พัฒนาหน่วยบ่มเพาะธุรกิจ 5.1.7 จัดตั้งศูนย์วิจัยสถาบันเพื่อ พัฒนา ระบบงาน 5.1.8 จัดตั้งหน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญา
5.1 พัฒนางานวิจัย/นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ เชิงบูรณาการ เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ที่ได้ มาตรฐานเพือ่ การแข่งขันในระดับชาติและระดับนานาชาติ
5. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ เชิงบูรณาการ เพื่อการแข่งขันใน ระดับชาติและนานาชาติ
4.1.1 บูรณาการการจัดกิจกรรมด้าน อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยและสิ่ง แวดล้อมให้หลากหลายร่วมกับชุมชน อย่างต่อเนื่อง 4.1.2 สร้างระบบส่งเสริมการศึกษาการน�ำ เทคโนโลยีกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมา สร้างอาชีพกับชุมชน 4.1.3 บูรณาการการอนุรักษ์ ส่งเสริม และ ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมในการจัดการศึกษา และ การให้บริการวิชาการ 4.1.4 เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม สู่สากล
4.1 สนับสนุนและสืบสานงาน ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม
4. เป็นแหล่งท�ำนุบ�ำรุงศิลป วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
3.1.1 พัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ที่ได้รับ การพัฒนาเพื่อส่งเสริมอาชีพเดิม และสร้างอาชีพใหม่ให้แก่ชุมชนบน พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง 3.1.2 จัดตั้งหน่วยวิชาการและวิชาชีพ ในต่างประเทศ 3.1.3 ผลิตสื่อเพื่อสร้างและพัฒนา วิชาชีพทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศ 3.1.4 พัฒนาศูนย์สารนิเทศและการ บริการวิชาการ (e – Resource) 3.1.5 พัฒนาศูนย์ภาษาเพื่อ ให้บริการวิชาการ 3.1.6 พัฒนาหน่วย/ศูนย์ซ่อมบ�ำรุง เครื่องจักร 3.1.7 สร้างเครือข่ายความร่วมมือการ บริการวิชาการร่วมกับหน่วยงาน ภายนอก ภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
3.1 ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อสร้าง และพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักของเศรษฐกิจ พอเพียง
3. ให้บริการวิชาการแก่สังคมโดย ยึดหลักของเศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
3. สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่ได้มาตรฐาน
5.2.1 จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ในด้านต่าง ๆ - จัดตั้งศูนย์วิจัยสิ่งทอ - จัดตั้งศูนย์วิจัยออกแบบ แฟชั่น 5.2.2 จัดตั้งศูนย์ประสานงานเพื่อการเผย แพร่ประชาสัมพันธ์และสร้าง เครือข่ายด้านงานวิจัย/สิ่ง ประดิษฐ์/นวัตกรรม ระดับชาติและ ระดับนานาชาติ
5.2 เผยแพร่และถ่าย ทอดองค์ความรู้ สู่ความเป็นเลิศ
ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม
2. พัฒนาสังคมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2. สร้างคนคุณภาพสู่โลกอาชีพ (สร้างคนเก่งและคนดีที่มีทักษะวิชาชีพ)
1.3.1 สร้างเครือข่ายฐานข้อมูล และระบบ สารสนเทศ เพื่อการบริหาร 1.3.2 พัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ ที่พึงประสงค์ 1.3.3 ปรับปรุงพัฒนาระบบงาน สู่การเปลี่ยนแปลง 1.3.4 ประชาสัมพันธ์เชิงรุก (ยกตัวอย่าง - จัดตาม Event - จัดนิทรรศการ - จัด Road Show ต่างๆ) 1.3.5 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT เพื่อการบริหารจัดการและการให้ บริการทางการศึกษา 1.3.6 แนะแนวการศึกษาเชิงรุก (ยกตัวอย่าง - นัดพบสถานประกอบการ - นัดพบโรงเรียนในเขต พื้นที่และ สัญจรไปยัง โรงเรียนนอก เขตพื้นที่) 1.3.7 หารายได้จากสินทรัพย์และองค์ ความรู้ที่บุคลากรมีอยู่ 1.3.8 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ด้วยหลักธรรมภิบาล
1.3 บริหารจัดการ เชิงรุก
1.2.1 พัฒนาห้องปฏิบัติการ 1.2.2 พัฒนาระบบห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) 1.2.3 พัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ ICT เป็นฐาน (ICT – Based Learning) 1.2.4 จัดท�ำหลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพและ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การศึกษา (TQF) 1.2.5 พัฒนาการจัดการความรู้โดยใช้ ICT เป็นฐาน (ICT – Based Knowledge) 1.2.6 จัดตั้งศูนย์นวัตกรรมเพื่อการ เรียนรู้ (ศูนย์โสตทัศนศึกษาที่เน้น นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้) 1.2.7 เร่งส่งเสริมสหกิจศึกษาเต็มรูปแบบ 1.2.8 พัฒนาระบบคุณภาพที่เน้น มาตรฐานสากล
1.2 สร้างความ เข้มแข็งทางวิชาชีพ เฉพาะทาง
1. เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพ และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่เข้มแข็ง และได้มาตรฐานสากล
1. จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม
1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สามารถสร้างบัณฑิตพร้อมเข้าสู่อาชีพ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อถ่ายทอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ภาคการผลิต ภาคบริการ และชุมชน 3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อการสร้างอาชีพอิสระและการพัฒนาอาชีพโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล
เป็นผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น มุ่งสู่มาตรฐานสากลบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผังยุทธศาสตร์คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
ผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
11
งบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2557 รวมทั้งสิ้น 45,550,750 .- บาท โดยแยกเป็นงบประมาณเงินรายจ่าย จ�ำนวนเงิน 36,856,500 .- บาท คิดเป็นร้อยละ 80.91 และงบประมาณ เงินรายได้ จ�ำนวนเงิน 8,694,250 .- บาท คิดเป็นร้อยละ 19.09
งบประมาณเงินรายจ่าย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2557 ที่ได้รับอนุมัติ 23.65% 41.64% งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน
21.42%
งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น
0%
12
13.29%
งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2557 ที่ใช้จ่ายจริง 20.74% 41.09% งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น
22.75% 0%
15.07%
งบรายจ่าย งบประมาณรายจ่าย (แผ่นดิน) ได้รับ % ใช้จริง % 1.งบบุคลากร 15,346,100 41.64 15,147,716.88 41.09 2.งบด�ำเนินงาน 4,900,000 13.29 5,556,980.40 15.07 3.งบลงทุน - - - 4.งบเงินอุดหนุน 7,894,900 21.42 8,387,245.73 22.75 5.งบรายจ่ายอื่น 8,715,500 23.65 7,645,077.65 20.74 รวมเงินที่ได้รับจัดสรร 36,856,500 100 36,737,020.66 99.67 หมายเหตุ : งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน
ได้แก่ เงินเดือน + ค่าจ้างประจ�ำ + ค่าจ้างพนักงานราชการ ได้แก่ ค่าตอบแทน + ค่าใช้สอย + ค่าวัสดุ + ค่าสาธารณูปโภค ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์ + ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
13
งบประมาณเงินรายได้ งบประมาณเงินรายได้ 2557 ที่ได้รับอนุมัติ 7.52% 23.93%
3.11% 1.15%
งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น
14.29%
งบประมาณเงินรายได้ 2557 ที่ได้ใช้จ่ายจริง 5.53% 3.10% 0.98%
19.13% งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น
7.21%
14
งบรายจ่าย งบประมาณเงินรายได้ ได้รับ % ใช้จริง % 1. งบบุคลากร 2,080,680 23.93 1,663,686.45 19.13 2. งบด�ำเนินงาน 1,241,870 14.29 627,097.99 7.21 3. งบลงทุน 100,000 1.15 85,600.00 0.98 4. งบเงินอุดหนุน 270,000 3.11 269,998.00 3.10 5. งบรายจ่ายอื่น 654,000 7.52 481,313.25 5.53 6. งบกลาง 435,000 5.00 7. งบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยฯ 3,912,700 45.00 มหาวิทยาลัยฯ ด�ำเนินการ รวมเงินที่ได้รับจัดสรร 8,694,250 100.00 หมายเหตุ : งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน
ได้แก่ ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน ได้แก่ ค่าตอบแทน + ค่าใช้สอย + ค่าวัสดุ + ค่าสาธารณูปโภค ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์ + ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
15
ผลงานการให้บริการ
วิชาการ
16
คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชั่น มุ่งการพัฒนางานด้านการ บริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คมควบคู ่ ไ ปกั บ การ จัดการเรียนการสอนและการวิจยั โดยการน�ำ ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนการสอนและงาน วิจัยมาบูรณาการร่วมกับการบริการวิชาการ แก่สังคม เพื่อการพัฒนาอาชีพเดิมและการ สร้างอาชีพใหม่ให้กับกลุ่มชุมชนที่เข้ารับการ บริการ ดังนัน้ การด�ำเนินงานในปีงบประมาณ 2557 จึงมุ่งเน้นการน�ำองค์ความรู้ใน 4 สาขา วิชา ได้แก่ สาขาวิชาเทคโนโลยีเสือ้ ผ้า สาขา วิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ สาขาวิชาออกแบบ แฟชั่ น และสิ่ ง ทอ และสาขาวิ ช าออกแบบ ผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ ทีเ่ ป็นผลจากการเรียนรูแ้ ละ การศึกษาวิจยั เพือ่ การต่อยอดองค์ความรูข้ อง ทัง้ 4 สาขาวิชา เน้นการบริการทีม่ มี าตรฐาน โดยการก� ำ หนดรู ป แบบของการบริ ก าร วิชาการที่อยู่ภายใต้ความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น และการประสานความร่วมมือ จากหน่ ว ยงานภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย เพื่อให้การบริหารงานโครงการเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือในการบริหารงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชั่ น ได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจ�ำนวน 5 โครงการ โดยแบ่งเป็นงบ ประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 4 โครงการ วงเงิน งบประมาณ 770,000 บาท และงบประมาณ รายได้จ�ำนวน 1 โครงการ วงเงินงบประมาณ 20,000 บาท นอกจากนี้ยังได้รับงบประมาณ จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการของคลินิกเทคโนโลยี 2 โครงการ วงเงินงบประมาณ 317,600 บาท งานบริการวิชาการแก่สังคม คณะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ มุง่ มัน่ พัฒนางานบริการวิชาการแก่สังคมให้ดียิ่งขึ้น เน้นการบริการทีต่ อบสนองความต้องการของ ชุมชน สร้างความเชื่อมั่นในการถ่ายทอดองค์ ความรู ้ เ ฉพาะทางให้ กับชุ มชน และขยาย ขอบเขตการให้บริการไปสู่ภาครัฐและเอกชน ทัง้ แบบให้เปล่าและการจัดหารายได้ เพือ่ การ ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสิ่งทอและแฟชั่น และที่ ส� ำ คั ญ คื อ เป็ น ที่ พึ่ ง ทางวิ ช าการและ วิชาชีพด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ ให้กบั ชุมชนต่อไป
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาสินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ได้ด�ำเนินโครงการ ณ ชุมชนบ้านนาก่วมใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง มีผู้ร่วมฝึกอบรม จ�ำนวน 60 คน เมื่อวันที่ 20 – 25 เมษายน 2557 เป็นการฝึกอบรมเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เดิมและ สร้างรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กบั ชุมชน โดยมีการบูรณาการร่วมกับงานวิจยั เรือ่ งการพัฒนาผ้าไหมทอมือลายพืน้ เมืองด้วยอุปกรณ์มว้ นเส้นไหม ยืนที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นใหม่
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพคืนคนดีสู่สังคม ได้ด�ำเนินโครงการ ณ ทัณฑสถานหญิงกลาง กรุงเทพมหานคร
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนามาตรฐานสินค้าชุมชน ด�ำเนินโครงการเมือ่ วันที่ 26 - 29 มีนาคม 2557 ณ จังหวัด
เมื่อวันที่ 6 – 8 และ 12 พฤษภาคม 2557 โดยมีการบูรณาการร่วมกับงานวิจัยเรื่องการออกแบบบรรจุภัณฑ์สิ่งทอของกลุ่มทอผ้าเนินขาม จังหวัดชัยนาท ซึ่งเป็นการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพให้ผู้ต้องขัง เมื่อกลับสู่สังคมจะได้มีอาชีพสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
ประจวบคีรีขันธ์ โดยมีการบูรณาการร่วมกับงานวิจัยเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอจากผักตบชวา เป็นการพัฒนาสินค้าที่มีอยู่ ในชุมชนเพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
17
โครงการฝึกอบรมวิชาชีพเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถ ด�ำเนินโครงการ ณ สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2557 โดยมีการ
บูรณาการร่วมกับรายวิชา ออกแบบลวดลายพิมพ์สิ่งทอเพื่องานแฟชั่น เพื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถน�ำความรู้ไปประกอบอาชีพได้
โครงการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าจกพื้นเมือง ณ ต�ำบลคูบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าทอกระเหรี่ยง ปีที่ 2 (ต่อยอด) ณ โรงเรียน
27 – 30 พฤษภาคม 2557 โดยมีการบูรณาการร่วมกับงานวิจยั เรือ่ ง การออกแบบเครือ่ งนุง่ ห่ม เพือ่ การพัฒนารูปแบบสินค้าพืน้ เมืองกรณีศกึ ษา ผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ของผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นการต่อยอดและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กับชุมชน
บ้านยางกลัดใต้ อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ 28-29 มิถุนายน และ วันที่ 5-6,12-13 กรกฎาคม 2557 เพื่อเป็นการส่ง เสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์มาตรฐานตามหลักเกณฑ์สินค้า OTOP
18
โครงการบริการให้ค�ำปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี เป็นโครงการให้บริการค�ำปรึกษาและข้อมูลทางด้านเทคโนโลยี
ทางด้านสิ่งทอ เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มให้แก่ชุมชนแลบุคคลทั่วไปที่ขอบริการมายังคลินิกเทคโนโลยีชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
19
ผลงานผูส้ ำ� เร็จการศึกษา
ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
20
คณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชั่น มุ่งเน้นการพัฒนาด้านการ จั ด การเรี ย นการสอนภายใต้ วิ สั ย ทั ศ น์ “ผู้น�ำการจัดการศึกษาด้านสิ่งทอและแฟชั่น สู่มาตรฐานสากล” โดยจัดการศึกษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาที่ มุ ่ ง เน้ น วิ ช าชี พ บนพื้ น ฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพเน้น การจั ด การศึ ก ษาที่ ส ่ ง ผลไปสู ่ ก ารพั ฒ นา บัณฑิตให้มคี ณ ุ ภาพตรงกับความต้องการของ สถานประกอบการ และมีความเชีย่ วชาญทาง ด้านสิ่งทอและแฟชั่น ควบคู่กับการจัดการ ศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษา การด� ำ เนิ น งานในปี ง บประมาณ 2557 ได้ด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาด้านการ จัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในด้าน การพัฒนานักศึกษา การพัฒนาอาจารย์ และ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ให้ มี ค วามรู ้ แ ละ ความสามารถตรงตามศักยภาพ อีกทัง้ ยังเปิดโอกาส ให้ มี ก ารพั ฒ นาตนเองและการพั ฒ นาองค์ ความรู ้ เ พื่ อ น� ำ ไปปรั บ ใช้ ใ นการพั ฒ นาการ
เรี ย นการสอน ซึ่ ง ในปี ง บประมาณ 2557 นั้นได้รับการสนับสนุนงบประมาณจ�ำนวน 6 โครงการ โดยแบ่งเป็น งบประมาณรายจ่าย จ� ำ นวน 2 โครงการ วงเงิ น งบประมาณ 770,000 บาท งบประมาณรายได้จ�ำนวน 4 โครงการ วงเงินงบประมาณ 654,000 บาท จ า ก ผ ล ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น ใ น ปีงบประมาณ 2557 การพัฒนาด้านการเรียน การสอนภายในคณะฯ นัน้ มุง่ เน้นการพัฒนา แบบองค์รวมเพือ่ ให้นกั ศึกษา คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษา ได้รบั ประโยชน์สงู สุด ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ ที่ส�ำคัญคือการจัดให้ มี ก ารน� ำ เสนอผลงานของนั ก ศึ ก ษาและ คณาจารย์ เผยแพร่สู่สาธารณชนในรูปแบบ งานวิจยั และการจัดแสดงผลงาน อันเป็นการ แสดงถึ ง ศั ก ยภาพที่ เ กิ ด จากการศึ ก ษา การค้นคว้า และการวิจัย ที่เกิดขึ้นจากการ ผลั ก ดั น ของคณะฯ ที่ มุ ่ ง พั ฒ นาและสร้ า ง โอกาสให้นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษาด้านอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ จัดขึ้นวันที่ 8 – 11 เมษายน 2557
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ เพือ่ เตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียน จัดขึน้ วันที่ 31 มีนาคม
โครงการฝึกอบรมและเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา จัดขึน้ วันที่ 20 -22 และ 27 พฤษภาคม
ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการจัดแสดงผลงานของนักศึกษาทั้ง 4 สาขาวิชา เพื่อน�ำผลงานการเรียนรู้ในรูปแบบของ โครงงานมาน�ำเสนอให้ประชาชนทั่วไป ได้เห็นถึงแนวคิดและการพัฒนาการจัดการศึกษาของคณะฯ การจัดงานประกอบไปด้วยการจัดแสดง ผลงานนักศึกษา และการจัดแสดงแฟชั่นโชว์
ถึงวันที่ 4 เมษายน 2557 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา จังหวัดตรัง โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรภายในคณะฯ ให้มคี วามรูค้ วาม สามารถในด้านการปฏิบัติงาน และการเพิ่มพูนความรู้ทางด้านสิ่งทอและแฟชั่นเพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่จะออกสหกิจศึกษา ได้มีการเรียนรู้ ในด้านต่าง ๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อการเข้ารับการปฏิบตั งิ านจริงกับสถานประกอบการ และให้นกั ศึกษามีความพร้อมต่อการออกปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
21
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ จัดขึ้นวันที่ 29 – 30
มิถุนายน และ 1 กรกฎาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และยังเป็นการเปิดโอกาสให้กับบุคลากรของคณะฯ ได้มีโอกาสเรียนรู้การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น เพื่อน�ำแนวทางปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้กับ การพัฒนางานของตนเอง
โครงการน�ำเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ
ด�ำเนินโครงการในวันที่ 15 – 16 ตุลาคม 2557 ณ เมือง Taichung สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ในงาน International Forum on Natural Dyes & WEFT TAIWAN 2014 (ISEND 2014) ซึ่งเป็นงานประชุม วิชาการทางด้านแฟชัน่ และสิง่ ทอ ในการประชุมครัง้ นีม้ นี กั วิชาการจาก ประเทศไทยเข้ า ร่ ว มงานทั้ ง สิ้ น 2 ท่ า น ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ในผลงาน “UV Protection Property of sillk Fabric Dyed with Longan Leaves Extract by Using” และผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ คล้ายจ้อย ในผลงาน “Resist Printing Studies of Silk Fabric with Acacia Catechu Wild and Flour of Wild Taro (Colocassia Esculenta (L.) Schott) by Using Batik Technique”
22
การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมเป็น ภารกิ จ หลั ก ที่ ส� ำ คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ของ สถาบันอุดมศึกษา คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ และออกแบบแฟชัน่ ตระหนักในความส�ำคัญ ของการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและ เชือ่ มัน่ ว่าศิลปะและวัฒนธรรมจะช่วยปลูกฝัง รากฐานอันดีงามของจิตใจ และช่วยเสริม คุณค่าให้บัณฑิตของคณะฯ เป็นทรัพยากร บุคคลที่มีคุณภาพของชาติต่อไป ในปีงบประมาณ 2557 คณะได้มี การด� ำ เนิ น งานด้ า นท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม โดยเน้นการ บูรณาองค์ความรูจ้ าก การศึกษาด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ มาร่วมในการ จัดโครงการและกิจกรรมทีก่ ระตุน้ ให้นกั ศึกษา เห็ น คุ ณ ค่ า ของศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมของ ชาติ พั น ธุ ์ ซึ่ ง ในปี ง บประมาณ 2557 นั้ น ได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณรายจ่ า ย จ� ำ นวน 2 โครงการ วงเงิ น งบประมาณ 300,000 บาท
ผลงาน
ท�ำนุบ�ำรุง ศิลปวัฒนธรรม ผลงานด้ า นการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ป วัฒนธรรมนั้นถือเป็นภารกิจส�ำคัญที่คณะฯ มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดโครงการ และกิจกรรม ซึง่ นอกเหนือจากการส่งเสริมให้ มีกจิ กรรมตามประเพณีแล้ว ยังมุง่ เน้นการจัด โครงการและกิจกรรมที่ให้นักศึกษาตระหนัก ถึงการท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ รวมถึงการให้ความรู้ความเข้าใจในการศึกษา ด้านสิ่งทอพื้นถิ่นของชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทย ผ่ า นการศึ ก ษาดู ง านเพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาและคณาจารย์ ต ระหนั ก ถึ ง การ อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นภารกิจ ที่ส�ำคัญของการจัดการเรียนการสอนด้าน สิ่งทอและแฟชั่น
23
โครงการสู ่ อ าเซี ย นกั บ งานศิ ล ปวั ฒ นธรรมด้ า นสิ่ ง ทอ จั ด ขึ้ น วั น ที่ 3 มี น าคม 2557 โดยเป็ น การจั ด สั ม มนา เรื่อง “สิ่งทอเครื่องนุ่งห่มไทย เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ เกีย่ วกับทิศทางของธุรกิจด้านสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่มกับการปรับตัวสูก่ ารค้าในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการศึกษาดูงานด้านสิง่ ทอพืน้ ถิน่ วั น ที่ 28 พฤษภาคม – 1 มิ ถุ น ายน 2557 เพื่ อ เป็ น แรงบั น ดาลใจในการน� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาด้ า นสิ่ ง ทอและแฟชั่ น ณ จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดมุกดาหาร
โครงการฝึกอบรมและสร้างจิตส�ำนึกในการด�ำรงชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ
จัดขึ้นวันที่ 16 – 18 กรกฎาคม 2557 ณ ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และศิลปาชีพภาคกลาง จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งนักศึกษา ได้เรียนรู้แนวคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวิต รวมถึงเป็นการสร้างจิตส�ำนึกที่ดีในการใช้ชีวิตร่วมกันใน สังคมอย่างมีความสุข และการเสริมสร้างการมีทัศนคติที่ดีต่อสังคมและประเทศชาติ
24
ภารกิจด้านการวิจัยเป็นพันธกิจที่ ส� ำ คั ญ ของคณะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ ออกแบบแฟชัน่ ซึง่ คณะฯ มีการด�ำเนินพันธกิจ ด้านการวิจยั อย่างมีคณ ุ ภาพและมีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย แผนงาน งบประมาณ ของมหาวิทยาลัย มุ่งส่งเสริมและสนับสนุน คณาจารย์ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และ นักศึกษา ให้มกี ารสร้างสรรค์งานวิจยั ส่งเสริม และสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและ ภายนอกสถาบัน เพือ่ การสร้างสรรค์งานวิจยั ทางด้านสิง่ ทอและแฟชัน่ ทีส่ ามารถตอบสนอง ความต้องการของสังคมได้ในวงกว้างและ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณชน
ผลงานวิจัย
เพื่อการถ่ายทอด เทคโนโลยี ปีงบประมาณ 2557 คณะฯ ได้รับ เงินสนับสนุนด้านผลงานวิจยั เพือ่ การถ่ายทอด เทคโนโลยีจ�ำนวน 7 โครงการ โดยแบ่งเป็น งบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 2 โครงการ วงเงิน งบประมาณ 1,167,800 บาท งบประมาณ รายได้ (คณะฯ) จ�ำนวน 2 โครงการวงเงินงบ ประมาณ 250,000 บาท งบประมาณรายได้ (มหาวิทยาลัยฯ) จ�ำนวน 1 โครงการ วงเงิน งบประมาณ 387,700 บาท
25
การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
จากผ้ า ย้ อ มใบล� ำ ไย เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ต�ำบลยุหว่า อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นายก้องเกียรติ มหาอินทร์ และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
การพัฒนาสีย้อมผ้าจากใบล�ำไย” เป็นผลงานจากโครงการวิจัย เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากผ้าย้อมใบล�ำไยเพื่อส่งเสริม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพืน้ ทีต่ ำ� บลยุหว่า อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอจากผ้าสียอ้ มธรรมชาติใบล�ำไย โดยมีการทดลองการย้อม การติดของสีและการป้องกันแสงยูวีก่อนที่จะน�ำมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่เน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน การออกแบบและการผลิต ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะจากใบล�ำไยที่ชาวสวนนิยมเผาทิ้ง และยังเป็นมลภาวะทางอากาศ รวมทั้งเป็นทาง เลือกใหม่นอกจากการน�ำใบล�ำไยมาท�ำปุ๋ยหมัก
การออกแบบและพัฒนาผืนพรม
จากเศษผ้ า เหลื อ ใช้ ด้วยเทคนิคการใช้เครื่องยิงพรม (Hand Tufted) ส�ำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเคียนงาม จังหวัดนครนายก นายทวีศักดิ์ สาสงเคราะห์ และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษผ้าเหลือใช้ เป็นผลงานจากโครงการวิจัย เรื่อง การออกแบบและพัฒนาผืนพรมจากเศษผ้าเหลือใช้ด้วย เทคนิคการใช้เครื่องยิงพรม (Hand Tufted) ส�ำหรับกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนบ้านเคียนงาม จังหวัดนครนายก การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอด้วยเศษผ้าเหลือใช้ด้วยเทคนิคการใช้เครื่องยิงพรม (Hand Tufted) ส�ำหรับกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนบ้านเคียงงาม จังหวัดนครนายก มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เทคนิคการใช้เครื่องยิงพรมผสมผสานกับการใช้วัสดุเศษผ้าเหลือใช้ (ผ้ายืด) มาเป็นวัสดุหลักในการสร้างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์จากผ้าเหลือใช้ เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอในรูปแบบต่างๆ ที่ทางกลุ่มชุมชนบ้านเคียงงาม สามารถผลิตและสร้างสรรค์ขึ้นมาได้เองภายในกลุ่มชุมชน ลักษณะของเทคนิคการใช้เครื่องยิงพรมเป็นการยิงเศษผ้ายืดที่มีขนาดความกว้างขนาด 1 เซนติเมตร (แทนการใช้เส้นไหมพรม) โดยการน�ำมาเย็บปลายติดกันให้เป็นเส้นที่มีลักษณะยาวแล้วน�ำมายิงผ่านเครื่องยิงพรมลงบนผ้าใบ (Canvas) ที่ถูกขึงกับโครงเหล็กในลักษณะ แนวตั้งโดยมีเทคนิคการยิงพรมอยู่ 3 ลักษณะ คือ การยิงพรมตามแนวตั้ง แนวนอน และเส้นโค้งตามอิสระ โดยการใช้เทคนิคการใช้เครื่องยิง พรมยิงเศษผ้าเหลือใช้ (ผ้ายืด) ตามรูปแบบและลวดลายทีไ่ ด้จากแนวคิดประยุกต์จากธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ และพัฒนาสูผ่ ลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น พรมปูพื้น เบาะรองนั่ง หมอนอิง เป็นต้น 26
พัฒนาภูมิปัญญา
เสื้อผ้าชนกลุ่มน้อเพื่อยไทย-จี น สู่ประชาคมอาเซียน กรณีศึกษาชาวไททรงด�ำกับชาวจ้วงกวางสี
ผศ.วาสนา ช้างม่วง และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ภูมิปัญญาเสื้อผ้าชนกลุ่มน้อยไทย-จีน เพื่อพัฒนาและบูรณาการเสื้อผ้าชนกลุ่มน้อยไทย - จีน และถ่ายทอดเทคโนโลยีสกู่ ลุม่ เป้าหมายเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั และพัฒนา เครือ่ งมือ การวิจัยประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 10 รูปแบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นกลุ่มผู้สนใจจ�ำนวน 100 คนจากกลุ่มทอผ้าไทยทรงด�ำ จังหวัดสุพรรณบุรีและกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมจ�ำนวน 2 กลุ่มคือกลุ่มไททรงด�ำ จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มไททรงด�ำ จังหวัดพิษณุโลก สถิติที่ ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
การประเมินผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าต้นแบบจากการผสมผสานผ้าทอของไททรงด�ำ และชาวจ้วงกวางสี จากกลุ่มผู้สนใจส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง มีอายุระหว่าง 31 - 40 ปี อาชีพรับจ้าง การศึกษาระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี และมีรายได้ระหว่าง 5,001 - 10,000 บาท มีความคิดเห็น เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าต้นแบบพบว่าเสื้อผ้ารูปที่ 10 มีความเหมาะสมมากที่สุด ทั้งด้านการออกแบบ ความเหมาะสมในการใช้งานและ ความเหมาะสมโดยภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 4.79 4.78 และ 4.28 ตามล�ำดับ การประเมินการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการฝึกอบรมสรุปผล การประเมินได้ดงั นี้ ทัง้ 2 กลุม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง อายุมากกว่า 40 ปี อาชีพทอผ้า การศึกษาระดับประถมศึกษา และมีรายได้ต�่ำกว่า 5,000 บาท ก่อนฝึกอบรมมีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับด้านการออกแบบ เสื้อผ้า ด้านการตัดเย็บและด้านความสามารถในการตกแต่ง ไททรงด�ำอยู่ในระดับปานกลาง หลังการฝึกอบรมด้านการออกแบบเสื้อผ้า ด้านการตัดเย็บและด้านความสามารถในการตกแต่ง ไททรงด�ำอยู่ในระดับดี
27
การออกแบบ
เครื อ ่ งทอพรมอเนกประสงค์ แบบกึ่งอัตโนมัติเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอ เชิงวัฒนธรรมที่น�ำไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผศ.ดร. กิตติศักดิ์ อริยะเครือ และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับการทอพรมอเนกประสงค์แบบกึง่ อัตโนมัตขิ องชาวบ้านในภาคกลาง รวมทัง้ ศึกษา ปัญหาและความต้องการในการออกแบบเครื่องทอพรมอเนกประสงค์แบบกึ่งอัตโนมัติ ให้มีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของผู้ทอให้ มากทีส่ ดุ และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาศึกษา วิเคราะห์ประกอบเพือ่ สร้างต้นแบบเครือ่ งทอพรมอเนกประสงค์แบบกึง่ อัตโนมัตเิ พือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะ สิ่ ง ทอเชิ ง วั ฒ นธรรมที่ น� ำ ไปสู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น รวมทั้ ง น� ำ องค์ ค วามรู ้ ถ ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ นรู ป แบบอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประเภทพัฒนาทดลอง โดยการส�ำรวจข้อมูลภาคสนามได้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ทอพรมอเนกประสงค์แบบกึ่งอัตโนมัติ จ�ำนวน 25 คน ในภาคกลางตอนบน คือ กลุ่มทอพรมวัดน�้ำเต้า ต�ำบลวัดน�้ำเต้า อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยการสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง และใช้วิธีเลือกแบบเฉพาะเจาะจงกับกลุ่มทอพรม และใช้วิธีเลือกแบบเฉพาะเจาะจงกับกลุ่มทอพรม และการทอพรม อเนกประสงค์แบบกึ่งอัตโนมัติ จากกลุ่มทอพรมหนองงูเห่า ต�ำบลบางพระครู อ�ำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จ�ำนวน 25 คน และกลุ่มทอผ้าที่ใช้เครื่องทอพรมดังกล่าว มีผู้ทอพรม จ�ำนวนทั้งสิ้นรวม 50 คน การวิจัยครั้งนี้มีส่วนที่ต้องเกี่ยวข้องในเชิงกลวิธี เทคนิค กระบวนการ ทอพรม โดยเฉพาะหัวใจส�ำคัญอยู่ที่การม้วนเส้นด้ายยืนและ การติดตัง้ ตะกอ ทีม่ คี วามละเอียดในด้านทางช่างเทคนิคอย่างลึกซึง้ เป็นการส่งเสริมแนวความคิดเพือ่ พัฒนาให้เป็นเครือ่ งทอพรมแบบกึง่ อัตโนมัติ ที่มีระบบไฟฟ้าและมอเตอร์เข้ามาช่วยผ่อนแรง สามารถลดและแก้ปัญหาในเรื่องของระยะเวลาได้มาก ดังนั้นการออกแบบเครื่องทอพรม อเนกประสงค์แบบกึ่งอัตโนมัติ นี้ จะเป็นพื้นฐานองค์ความรู้ “น�ำร่อง” อันที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ รูปแบบ ลวดลายและ ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอเชิงวัฒนธรรมที่น�ำไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในโอกาสต่อไปได้อีกทางหนึ่ง
28
การพัฒนา
การเตรีจากสียมสี ผ ง ย้อมธรรมชาติ ดร.ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ โดยหาสภาวะที่เหมาะสมในการแปรรูปสีย้อมธรรมชาติให้อยู่ใน รูปสีผง และศึกษาเสถียรภาพของสีย้อมธรรมชาติที่ผ่านการแปรรูป เพื่อให้ได้เทคนิคการเตรียมสีผงที่เหมาะกับการใช้งาน งานวิจยั ได้สกัดสียอ้ มจากวัสดุธรรมชาติทนี่ ำ� มาใช้ในการสกัดเป็นสีผง ได้แก่ ครัง่ แก่นมะเกลือ แก่นฝาง และขมิน้ ชัน โดยน�ำน�ำ้ สีทสี่ กัด ได้มาท�ำให้เป็นสีผงด้วยการเปรียบเทียบวิธีการ 3 วิธี คือ การอบแห้ง การใช้เกลือดูดซับสี และการใช้เกลือตกตะกอน การเปรียบเทียบสีผงที่ ได้จะท�ำโดยการย้อมสีลงบนผ้าไหม น�ำไปทดสอบความเข้มสี ความคงทนต่อการซัก และความคงทนของสีต่อแสง
ภาพที่ 1 สีผงที่เตรียมโดยวิธีการใช้เกลือตกตะกอน
ภาพที่ 2 ผลการหาสภาวะที่เหมาะสมในการย้อมน�้ำสีที่สกัดลงบนผ้าไหม
จากผลการทดลองพบว่า การเตรียมสีผงด้วยวิธีการอบแห้งและวิธีการใช้เกลือตกตะกอน จะมีค่าการติดสีที่ดีกว่าสีผงที่เตรียมด้วยวิธี การใช้เกลือดูดซับ สีธรรมชาติทเี่ ตรียมด้วยวิธกี ารอบแห้งทีม่ คี า่ การติดสีดที สี่ ดุ คือ ขมิน้ ชัน และสีธรรมชาติทเี่ ตรียมด้วยวิธกี ารใช้เกลือตกตะกอน ให้ค่าที่ดีที่สุดคือ ครั่ง แก่น มะเกลือ และแก่นฝาง และผลจากการทดสอบความคงทนของสีต่อการซักพบว่า สีผงที่เตรียมได้ทั้ง 3 วิธี ไม่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ในส่วนของความคงทนของสีต่อแสงพบว่า สีที่ได้จาก ครั่ง แก่น มะเกลือ และแก่นฝาง มีความคงทนที่ดี ส่วนสี จากขมิ้นชันมีความคงทนต่อแสงอยู่ในระดับต�่ำ
29
การพัฒนา
ลวดลายผ้ า จกไทยวน เพื่องานออกแบบแฟชั่น นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น และ นางสาวชลธิชา สาริกานนท์
เนื้อหาโดยย่อ
การพัฒนาลวดลายผ้าจกไทยวนเพื่องานออกแบบแฟชั่น มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลวดลายผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบุรี เพื่อใช้ในงาน ออกแบบแฟชั่น และเพื่อสร้างสรรค์รูปลวดลายที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบเสื้อผ้าบุรุษและสตรี มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนารูป แบบลวดลายผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบุรี โดยการน�ำลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของผ้าจกไทยวนมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ และน�ำมาจัด วางลวดลายใหม่โดยอาศัยหลักในการออกแบบลวดลายผ้า เพือ่ ให้รปู แบบลวดลายของผ้ามีความเหมาะสมกับการน�ำไปใช้ในงานออกแบบเสือ้ ผ้า บุรุษและสตรี ผลการศึกษา พบว่า ลวดลายผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบุรี ในปัจจุบัน มีรูปแบบลวดลายที่มีการประยุกต์ลวดลายจากช่างทอ โดยอาศัยจากประสบการณ์ในการทอผ้าจก ลวดลายจึงมีรูปแบบของการผสมผสานระหว่างลวดลายดั้งเดิมกับลวดลายที่ประยุกต์ขึ้นตามยุค สมัย และมีลักษณะของการจัดองค์ประกอบของลวดลายที่มีความแตกต่างกันตามความต้องการของผู้ทอผ้าจก ลักษณะของลวดลายดั้งเดิม และลักษณะเด่นของลวดลายทีม่ กี ารประยุกต์มาเป็นแนวคิดในการพัฒนารูปแบบลวดลายผ้าจกไทยวนเพือ่ งานออกแบบแฟชัน่ เพือ่ การพัฒนา แนวคิดการพัฒนาลวดลายมาประยุกต์ใช้ได้จริงในการส่งเสริมการผลิตผ้าผืนเพื่อใช้ในงานออกแบบแฟชั่น
30
การพัฒนาผ้าฝ้ายทอมือ บนพื้นฐานแนวคิด
ภูมิปัญญาท้องถิแนวคิ่นดการออกแบบเชิ สู่การพังนิเวศเศรษฐกิ ฒนาจ นางสาวจรัสพิมพ์ วังเย็น และคณะ
เนื้อหาโดยย่อ
การพัฒนาผ้าฝ้ายทอมือ บนพื้นฐานแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การพัฒนาแนวคิดการ ออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลวดลายและผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือ โดยน�ำแนวคิดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ บูรณาการร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รปู แบบการออกแบบเชิงนิเวศ เศรษฐกิจ และเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาผ้าฝ้ายทอมือโดยน�ำแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่น บูรณาการร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รปู แบบการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ สูก่ ลุม่ สตรีสหกรณ์ บ้านหนองบัวแดง ต�ำบลหนองบัวแดง อ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ โดยมีจุดมุ่งหมายใน การศึกษา 4 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นที่ 1 การศึกษาพื้นฐานแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่นของต�ำบล หนองบัวแดง อ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ประเด็นที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่นบูรณาการร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบ Eco Design ประเด็นที่ 3 การออกแบบ ลวดลายผ้าเพื่อการผลิตต้นแบบผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเสื้อผ้าจากแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการ ร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบ Eco Design ประเด็นที่ 4 ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนา ลวดลายและผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือที่น�ำแนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบ Eco Design สู่กลุ่มสตรี สหกรณ์บ้านหนองบัวแดง ต�ำบลหนองบัวแดง อ�ำเภอหนองบัวแดงจังหวัดชัยภูมิ ผลการศึกษา พบว่า กลุม่ ชุมชนทอผ้าฝ้ายทอมือมีการพัฒนารูปแบบและลวดลายจากการน�ำประสบการณ์ทไี่ ด้รบั จากการเข้ารับการ พัฒนารูปแบบการทอผ้าจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน บูรณาการร่วมกับการถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาจากท้องถิน่ ซึง่ จุดแข็งของกลุม่ ชนชนได้แก่ การทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติที่สามารถต่อยอดแนวคิดสู่การพัฒนาการออกแบบลวดลายผ้าเพื่อการผลิตต้นแบบผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเสื้อผ้าจาก แนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการร่วมกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์รูปแบบ Eco Design เพื่อการเพิ่มมูลค่า ให้กับผ้าฝ้ายทอมือและยังสามารถต่อยอดไปสู่การผลิตสินค้าในกลุ่มเสื้อผ้าแฟชั่น
31
ผลงาน
ความภาคภูมิใจ
32
คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ ได้รบั รางวัลหน่วยงานวิจยั ดีเด่น ได้แก่ รางวัลนักวิจยั ดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ดร.รั ต นพล มงคลรั ต นสิ ท ธิ์ รางวั ล นั ก วิ จั ย ดี เ ด่ น ด้ า นการตี พิ ม พ์ ผ ลงานวิ จั ย สาขาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารย์ สั ม ภาษณ์ สุ ว รรณคี รี ได้รับรางวัล นักวิจัยดีเด่นด้านน�ำผลงานวิจัยและ/หรือผลงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ครบรอบ 9 ปี วันที่ 28 มกราคม 2557 ณ หอประชุม D - Hall คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมล พรหมหล้าวรรณ ผู้ช่วยคณบดีคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ได้รับรางวัลผู้แต่งกายผ้าไทย ดีเด่น ในงานวันคล้ายวันสถาปนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ครบรอบ 9 ปี ณ หอประชุม D - Hall คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มทร.พระนคร เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2557
33
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ และคณะ ได้รบั รางวัลผลงานประดิษฐ์คดิ ค้นประจ�ำปี พ.ศ. 2557 จากสภาวิจยั แห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในงานประกวดผลงานวิจัยประดิษฐ์คิดค้นประจ�ำปี 2557 เมื่อเดือนมิถุนายน ได้แก่ รางวัลงาน ประดิษฐ์คดิ ค้น ระดับดีเด่น เรือ่ ง การออกแบบเครือ่ งทอแบบยกดอกพิเศษด้วยเครือ่ งแจ๊คการ์ด (JACQUARD) เพือ่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เชิงนิเวศน์เศรษฐกิจ (สาขาปรัชญา) รางวัลงานประดิษฐ์คดิ ค้น ระดับดี เรือ่ งการพัฒนาคุณภาพผ้าไหมไทยทอมือลายพืน้ เมืองด้วยอุปกรณ์มว้ น เส้นไหมยืนที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นใหม่ (สาขาปรัชญา) และรางวัล วิทยานิพนธ์ ระดับดี เรื่องการพัฒนาเส้นใยชนิดใหม่จากเศษรังไหมและ ใยพืช (สาขาปรัชญา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กิตติศักดิ์ อริยะเครือ ได้รับ รางวั ล จากการประกวดสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ โ ลก ณ กรุ ง เจนี ว า สวิสเซอร์แลนด์ โดยได้รับรางวัลเหรียญทอง จากสิ่งประดิษฐ์ การออกแบบเครือ่ งทอผ้าแบบยกดอกพิเศษด้วยเครือ่ งแจ๊คการ์ด (JACQUARD) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงนิเวศเศรษฐกิจ และเหรียญทองแดงจากสิ่งประดิษฐ์การพัฒนาคุณภาพผ้าไหม ไทยลายพื้นทอมือลายพื้นเมือง ด้วยอุปกรณ์ม้วนเส้นไหมยืนที่ ออกแบบและพัฒนาขึ้นใหม่ และรางวันเกียรติยศ Special Award จากประเทศโปแลนด์ โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 – 6 เมษายน 2557 ณ กรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
อาจารย์กอ้ งเกียรติ มหาอินทร์ ได้รบั รางวัลชมเชยในงานเขียนเรือ่ ง “ครูตน้ ล�ำไย” เนือ่ งในโอกาสวันครู ประจ�ำปี 2557 ณ ส�ำนักงาน เลขานุการคุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 34
รางวัลชนะเลิศการประกวด Season Award RMUTP 2014 จัดขึ้นใน “งานของขวัญปีใหม่ 2557 ของรักเคยหวงครั้งที่ 3 การ ประกวด Mr. & Miss RMUTP and Season Award RMUTP 2014 ณ บริเวณลานอิฐแดงและหอประชุม D - HALL คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 25 -26 ธันวาคม 2556 โดยมี นักศึกษาสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ ได้แก่ กันตพัช เจริญ ได้รับรางวัล ชนะเลิศการประกวด ภุชงค์ คุณสงวน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ศุภณัฐ ศุภมงคล และจารวีกร ปิ่นมณีวรรณ ได้รับรางวัลขวัญใจ
นายสืบพงษ์ บุญน�ำมา นักศึกษาสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ได้ส่งผลงานเข้าร่วมการประกวดในโครงการ Singha Life Awards ในสาขาเครื่องประดับ ผลงานที่มีชื่อว่า “Indipendent” ซึ่งได้ผ่านเข้ารอบ 10 คนสุดท้ายจากผลงาน และทางโครงการ Singha Life Awards ได้มอบเงินสนับสนุนในการจัดการศึกษาจ�ำนวน 30,000 บาท ให้กับคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
คุณจิตรา ทองประดับ ได้รบั พระราชทานปริญญาบัตร บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 เนื่องด้วยมีความรู้และความสามารถด้านออกแบบแฟชั่นจนเป็นที่ยอมรับ อีกทั้งยังเป็นศิษย์เก่าวิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ที่ท�ำคุณ ประโยชน์ให้กับคณะฯ อย่างต่อเนื่อง 35
ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ ได้รับเชิญเป็นวิทยากร ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 11 – 12 กุมภาพันธ์ 2557 ในการให้ความรูเ้ กีย่ วกับการตกแต่งผลิตภัณฑ์จากผ้า เพือ่ ให้กลุม่ ชุมชนในเขตพืน้ ทีส่ ามชายแดนภาคใต้ ได้นำ� ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปประกอบ อาชีพต่อไป
อาจารย์กญ ั ญุมา ญาณวิโรจน์ และดร.กาญจนา ลือพงษ์ ได้รบั เชิญให้เป็นวิทยากรในโครงการ “จัดการความรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรม” ซึ่งจัดขึ้นโดย กองศิลปวัฒนธรรม ณ ห้องประชุม D-Hall คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 การจัดกิจกรรมครั้งนี้ เป็นการสอนท�ำกระเป๋าจากผ้าไทยเพื่อการสืบสานภูมิปัญญาการทอผ้า และการต่อยอดในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าไทย
อาจารย์สัมภาษณ์ สุวรรณคีรี ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเสริมสร้างมูลค่าเพิ่ม ตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ณ ชุมชนวัดสะแกราย อ.เมือง จ.นครปฐม เมือ่ วันที่ 3, 7 และ 14 มีนาคม 2557 โดยการฝึกอบรมครัง้ นีม้ งุ่ เน้นการถ่ายทอด แนวคิดในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการต่อยอดในเชิง พาณิชย์ 36
ผศ.ณัฐกร บินอับดุรามัน ผศ.จิราพร จิตต์ภู่ภักดี ผศ.กมล พรหมหล้าวรรณ และอาจารย์พจนา นูมหันต์ รับเชิญเป็นกรรมการ ประชาคมพิเคราะห์ การจัดท�ำมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒวิ ชิ าชีพช่างตัดเย็บเสือ้ ผ้า ณ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.กรุงเทพ เมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2557 ซึ่งในการประชาคมพิเคราะห์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการจัดท�ำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้ประกอบการส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นที่ยอมรับในมาตรฐานทั้งในประเทศและสากล
อาจารย์ธวัชชัย แสงน�ำ้ เพชร ได้รบั เชิญเป็นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารด้านการออกแบบ จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 30 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2557 ณ สันติบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร โดยการฝึกอบรมครั้งนี้ เป็นการมุง่ เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยต้นทุนทางวัฒนธรรม อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ เพือ่ เป็นการต่อยอดให้แก่ผปู้ ระกอบการในภาคกลาง
อาจารย์ธวัชชัย แสงน�้ำเพชร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาออกแบบแฟชั่น ได้รับเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในการออกแบบ ผ้าคลุมผมและการออกแบบชุดปาร์ตี้แวร์มุสลิม ให้กับ SMEs ของ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เมื่อวันที่ 17 – 18 สิงหาคม 2557 ณ ศูนย์พัฒนา ฝีมือแรงงาน จังหวัดสตูล 37
อาจารย์เกษม มานะรุ่งวิทย์ ได้รับเชิญเป็นวิทยากร พัฒนาศักยภาพ OTOP สู่สากล ณ ห้องสุรนารี B โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส จังหวัด นครราชสีมา เมือ่ วันที่ 22 – 23 กรกฎาคม 2557 โดยวัตถุประสงค์ของการจัดงานในครัง้ นีเ้ พือ่ เสริมสร้างโอกาสทางการตลาดให้กบั ผูป้ ระกอบ การ OTOP พัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ OTOP โดยใช้เอกลักษณ์ของท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ บริการ และสร้างจิตส�ำนึก ความเป็นผู้ประกอบการบนพื้นฐานองค์ความรู้และการค�ำนึงถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
คุณศุภชัย บุญภักดี ศิษย์เก่า สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ ได้ส่งตัวแทนเข้ามอบทุนการศึกษาเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของสาขาวิชา เทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2556 ซึ่งคุณศุภชัย บุญภักดี เป็นศิษย์เก่าที่ให้การ สนับสนุนคณะฯ อย่างต่อเนื่องและให้ความส�ำคัญกับการพัฒนานักศึกษา
38
กิจกรรม
การพัฒนานักศึกษา 39
คณะฯ มีการส่งเสริมให้สาขาวิชาฯ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมศักยภาพให้แก่นกั ศึกษาในด้านวิชาการ วิชาชีพ และทางด้านศิลปวัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อม โดยในปีงบประมาณ 2557 ได้สง่ เสริมให้นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
โครงการอนุรกั ษ์ปา่ สร้างแนวกันไฟ และรักษาสิง่ แวดล้อม เพือ่ สนองพระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ วัดมกุฏคีรีวัน ต�ำบลโป่งตาลอง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา วันที่ 21 – 22 ธันวาคม 2556 เป็นกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ โดยกองศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึง่ มีนกั ศึกษาของคณะฯ เข้าร่วม เป็นเรียนรูก้ ารอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อมและวิธีการสร้างแนวกันไฟเพื่อการป้องกันไฟป่า ซึ่งนอกจากแนวทางในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้ว นักศึกษายังได้มีการเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและน�ำมาปรับใช้ในการด�ำรงชีวิต
พิธไี หว้ครู ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วันที่ 4 กันยายน 2557 จัดขึ้นเพื่อ ให้นกั ศึกษาตระหนักถึงคุณค่าทางจิตใจของประเพณีทสี่ ำ� คัญในการเริม่ ต้นของการศึกษาประจ�ำปีการศึกษาโดยสะท้อนถึงความผูกพันระหว่าง ครูกบั ศิษย์ เป็นวันทีน่ กั ศึกษาได้แสดงคุณธรรมในจิตใจ คือ ไหว้ครู เพือ่ ประกอบความรูแ้ ละประดับสติปญ ั ญาตามสมควร ซึง่ ถือเป็นพิธที สี่ ำ� คัญ ของคณะฯ 40
โครงการส่งเสริมคุณธรรมแก่นกั ศึกษาชัน้ ปีที่ 4 วันที่ 16-17 มีนาคม 2557 ณ ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ์ (ลาดหลุมแก้ว) จังหวัดปทุมธานี เป็นการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ก�ำลังจะจบการศึกษาในภาคเรียนที่ 2/2556 โดยมีจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาได้มีการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การท�ำงานจริง
โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ณ ค่ายพรหมพัฒนาแคมป์ จังหวัดสระบุรี 14 – 15 สิงหาคม 2557 จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมในการศึกษาต่อระดับปริญญาตรี และมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการศึกษาภายในคณะฯ อีกทั้ง ยังเป็นการให้นักศึกษาได้มีการท�ำกิจกรรมร่วมกันระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง เพื่อเป็นการละลายพฤติกรรมก่อนเข้าศึกษาจริง
โครงการผูน้ ำ� นักศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบ แฟชัน่ เป็นการจัดกิจกรรมเพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับความส�ำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา เพือ่ ให้นกั ศึกษาตระหนักถึงความส�ำคัญและ การมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของนักศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมในการรับการประกันคุณภาพในปีการศึกษา 2557 41
42
โครงการแข่งขันเชียร์ลดี เดอร์และกองเชียร์ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ณ สนามกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
กิจกรรม
ประเพณี
43
พิธีอัญเชิญพระรูป พลเรื อ เอกพระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอพระองค์ เ จ้ า อาภากรเกี ย รติ ว งศ์ กรมหลวงชุ ม พรเขตรอุ ด มศั ก ดิ์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 ซึ่งเป็นพิธีที่ส�ำคัญของคณะฯ ในการอัญเชิญพระรูป พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ขึน้ ประทับ ณ อาคาร 4 ซึง่ เป็นอาคารทีถ่ กู ปรับปรุงขึน้ ใหม่ เป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อให้พระรูปพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ มีความสง่างามสมพระเกียรติ เพื่อเป็นสิริมงคลให้กับบุคลากรและนักศึกษา
พิธสี กั การะศาลพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ วันที่ 19 ธันวาคม 2556 เป็นพิธีที่ส�ำคัญของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งถือเป็นวันคล้าย วันประสูติของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
44
พิธีสักการะศาลพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 เป็นพิธีที่ส�ำคัญของคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งถือเป็นวันคล้าย วันสิ้นพระชนม์ของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
วันคล้ายสถาปนาคณะอุตสาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟชัน่ วันที่ 11 กันยายน 2557 เป็นพิธีที่ส�ำคัญในการระลึกถึง การก่อตั้งคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น โดยการจัดให้มีการท�ำบุญและการถวายเครื่องสักการะแก่ศาลพลเรือเอกพระเจ้า บรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เพื่อเป็นสิริมงคลต่อการด�ำเนินงานของคณะฯ โดยเปิดโอกาสให้ นักศึกษาทุกสาขาวิชาเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ การออกร้าน เพื่อให้เกิดความสามัคคีและความรักในสถาบัน
การสืบสานประเพณีสงกรานต์ วันที่ 9 เมษายน 2557 ณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น เป็นการจัดงาน
วันสงกรานต์เพือ่ การสืบสานประเพณีทสี่ ำ� คัญของไทย โดยคณะฯ ได้เชิญชุมชนใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรม เพือ่ แสดงออกความเกือ้ กูลผูกพันด้วย สายใยของวัฒนธรรมที่เป็นมรดก เก่าแก่ของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อท�ำให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี ในชุมชนบริเวณโดยรอบ 45
การประกันคุณภาพ
46
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ให้ความส�ำคัญกับการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก
เพื่อสร้างความมั่นใจและความพึงพอใจในคุณภาพการศึกษา รวมถึงการวางแผนและการเตรียมการในด้านต่าง ๆ ให้มีความพร้อมส�ำหรับการ จัดการศึกษาและการให้บริการด้านต่าง ๆ แก่นักศึกษา ศิษย์เก่า และประชาชนทั่วไป ที่ส�ำคัญเพื่อให้คณะฯ เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อ เนื่องเข้าสู่มาตรฐานสากล ซึ่งในปีการศึกษา 2556 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีการขอรับการตรวจประเมินตามตัวบ่งชี้ สกอ. จ�ำนวน 23 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ สมศ. จ�ำนวน 18 ตัวบ่งชี้ ตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้คุณภาพ จ�ำนวน 48 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ สกอ. จ�ำนวน 23 ตัวบ่งชี้, ตัวบ่งชี้ สมศ. จ�ำนวน 19 ตัวบ่งชี้, ตัวบ่งชี้ ก.พ.ร. จ�ำนวน 1 ตัวบ่งชี้, ตัวบ่งชี้ 3D จ�ำนวน 2 ตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ของมทร.พระนคร จ�ำนวน 3 ตัวบ่งชี้ มีผลการประเมินภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57
การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ�ำปีการศึกษา 2556 คณะฯ เข้ารับการตรวจคุณภาพภายใน วันที่ 17 - 18 มิถนุ ายน 2557 โดยมีอาจารย์ด�ำเนิน ไชยเสน เป็นประธาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ประวิชพราหมณ์ และอาจารย์ทินกร จันทร์กระจ่าง เป็นกรรมการ และการรับการตรวจประเมินคุณภาพ จากสกอ. ประจ�ำปีการศึกษา 2556 วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 โดยมีคณะกรรมการจาก สกอ. ได้แก่ รศ.ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณ รศ.นิพันธ์ ศิริศักดิ์ และ ผศ.นพปฏล สุวัจน์นานนท์ และคณะกรรมการภายในได้แก่ ผศ.สุใจ พรเจิมกุล ดร.กาญจนา ลือพงษ์ และ ผศ.เจิมศิริ ศิริวงศ์พากร
47
ตารางสรุปผลการประเมินรายองค์ประกอบของปีการศึกษา 2556 คะแนนตัวบ่งชี้ตามมาตรฐาน สกอ.+สมศ. องค์ประกอบคุณภาพ
I ปัจจัย น�ำเข้า
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุก องค์ประกอบ
P
O
รวม
คะแนนตัวบ่งชี้ตามมาตรฐาน สกอ.+สมศ. +ก.พ.ร.+อัตลักษณ์+3D ผลการประเมิน
กระบวน ผลผลิต/ การ ผลลัพธ์
I ปัจจัย น�ำเข้า
3.69
4.94
4.43
4.59
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
3.26
4.75
3.73
3.97
ระดับดี
-
5.00
-
5.00
5.00
5.00
4.17
5. การบริการทางวิชาการ แก่สังคม
-
5.00
6. การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและ วัฒนธรรม
-
7. การบริหารและการ จัดการ
O
รวม
ผลการประเมิน
ระดับดีมาก
กระบวน ผลผลิต/ การ ผลลัพธ์
3.69
4.95
4.32
4.57
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
3.26
4.75
3.73
3.97
ระดับดี
ระดับดีมาก
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
4.85
ระดับดีมาก
5.00
5.00
4.17
4.58
ระดับดีมาก
5.00
5.00
ระดับดีมาก
-
5.00
5.00
5.00
ระดับดีมาก
5.00
4.50
4.67
ระดับดีมาก
-
5.00
4.50
4.67
ระดับดีมาก
-
5.00
4.27
4.85
ระดับดีมาก
-
5.00
4.27
4.85
ระดับดีมาก
8. การเงินและงบประมาณ
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
9. ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
-
5.00
4.69
4.85
ระดับดีมาก
3.69
4.94
4.23
4.54
ระดับดีมาก
3.69
4.94
4.26
4.55
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก
97. องค์ประกอบอัตลักษณ์ (สมศ.)
-
-
4.92
4.92
-
-
4.92
4.92
ระดับดีมาก
98. องค์ประกอบส�ำนักงาน ก.พ.ร.
-
-
-
-
-
-
1.39
1.39
ปรับปรุงเร่งด่วน
99. สถานศึกษา 3 ดี (3D) ตามนโยบายรัฐบาล
-
-
-
-
-
5.00
5.00
5.00
ระดับดีมาก
100. อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
-
-
-
-
-
5.00
-
5.00
ระดับดีมาก
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุก องค์ประกอบ
3.69
4.94
4.43
4.59
3.69
4.95
4.32
4.57
ระดับดีมาก
ผลการประเมิน 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการ ด�ำเนินงาน 2. การผลิตบัณฑิต 3. กิจกรรมการพัฒนา นักศึกษา 4. การวิจัย
เฉลี่ยรวมองค์ประกอบ 1-9 ผลการประเมิน
ผลการประเมิน
48
ระดับดี
ระดับดีมาก ระดับดี
ระดับดีมาก
ระดับดีมาก
P
ระดับดีมาก
ระดับดีมาก
ระดับดี
ระดับดีมาก ระดับดี
ระดับดีมาก
50