ก้าวย่างทางสังคม

Page 1

ก้าวย่าง ทางสังคม รวมบทความด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

อิทธิพร ขาประเสริฐ : 2551


คํานํา กาวย างทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสัง คมศาสตร เปนเอกสารรวบรวม บทความของผูเขียนซึ่งปรับปรุงมาจากรายงานวิจัยและรายงานสวนบุคคลที่ไดจัดทําขึ้น เมื่อครั้งสมัยยัง ศึ ก ษาอยู ใ นระดั บ ปริ ญ ญาตรี และระดั บ ปริ ญ ญาโท ที่ ส ถาบั น ราชภั ฏ บ า นสมเด็ จ เจ า พระยา และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยไดนํามาพัฒนาใหมใหอยูในรูปของบทความวิชาการ อันมีเปาหมายที่ สําคัญ 2 ประการ คือ การรวบรวมบทความของผูเขียนที่กระจัดกระจายอยูใหเปนหมวดหมูเพื่อเปน หนังสือแหงความทรงจําสวนตัว และอีกประการหนึ่งคือ เพื่อนําเผยแพรใหกับบุคคลที่มีความสนใจกับ งานศึกษาในลักษณะดังกลาว เนื้อหาใน กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ประกอบดวย บทความจํานวน 10 เรื่อง สามารถแบงออกไดเปน 2 สวน คือ สวนแรกเปนบทความจากรายงานวิจัย จํานวน 3 เรื่อง เรื่องแรก บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550 บทความนี้ ใ ห ข อ สรุ ปว า ภารกิ จ ของศู น ย ก ารค า ในป จ จุ บั น ที่ ดํ า เนิ น กิ จกรรมทาง เศรษฐกิจ ดวยการเปนแหลงอุปโภค บริโภคแตเพียงอยางเดียว คงไมสามารถตอบสนองความตองการ ของสัง คมไดอี กตอ ไป ศู นยการคาจํ าต องก าวเข ามาแสดงบทบาทในเรื่อ ง“การมี สวนรว มรับ ผิด ชอบ ตอสังคม”(Corporate Social Responsibility) ดวยเนื่องจากผูคนในสังคมเมืองหลวงอยางกรุงเทพ มหานครตางมี”ความคาดหวัง”ในระดับ”สูง”ตอบทบาทดังกลาวของศูนยการคาในการเขามามีสวนรวม พัฒนาเมืองใหสมดุลและยั่งยืนในอนาคต บทความตอมาเรื่อง มุมมองของผูคนตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี : กรณีศึกษายาน ทาพระจันทร ทาชาง และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ บทความนี้เสนอมุมมองของผูคนที่มีตอวัตถุมงคล ในปจจุบัน ซึ่งพบวา ผูคนจํานวนหนึ่งมีทัศนคติที่ไมแนใจตอวัตถุมงคลในปจจุบัน โดยเฉพาะประเด็น ดานความเชื่อถือ อันเนื่องมาจากตัววัตถุมงคลมีความเกี่ยวโยงกับธุรกิจหรือที่เรียกวา“พุทธพาณิชย” ปรากฏใหเห็นมากขึ้ น บทความเรื่ อง กระบวนการกลายเปน “เด็ กวั ด” บทความนี้ให ความเขาใจว า “เด็กวัด”หรือ”ศิษยวัด” ที่คนไทยคุนเคยมีอยูดวยกันกี่ลักษณะ ในทรรศนะของบทความนี้”เด็กวัด”คือ กลุมเด็กนักเรียนซึ่งเขามาศึกษาตอในเมืองโดยอาศัย”เครือขาย”ความสัมพันธเชิงญาติมิตรจากคนในวัด เขามาพํานักพักพิง”วัด”ในฐานะ”บานชั่วคราว” และเมื่อกลุมเด็กเหลานี้เขาสู”อัตลักษณ”ดังกลาวแลว พวกเขาจะมีรูปแบบชีวิตและกระบวนการปรับตัวใหเขากับบริบทของวัดอยางลงตัวไดอยางไร สามารถ คนหาคําตอบไดจากบทความ สวนที่สองเปนบทความวิชาการอีกจํานวน 7 เรื่อง เปนทั้งบทความที่ผูเขียนเรียบเรียงขึ้นใหม จากรายงานศึกษาสวนบุคคล บทความที่สรุปสาระสําคัญจากหนังสือ และบทความแปล เรื่องแรก คลองกับชีวิต : คลองดําเนินสะดวก ชุมชนริมสองฝงคลองและความเปลี่ยนแปลง บทความชิ้นนี้ชี้ใหเห็นวา “คลองดําเนินสะดวก” เปนสายน้ําที่มีนัยสําคัญในเชิงประวัติศาสตร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองมาแตอดีต แตเมื่อกาลเวลาผานไปความเจริญในการพัฒนาคมนาคม ทางบกที่ขยายเพิ่มขึ้น ความกาวหนาของเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหมที่แพรหลาย สงผลใหวิถีชีวิต ชุมชน ผูคนริมสองฝงคลองเปลี่ยนแปลงไปทั้งในดาน”ความรุงเรือง” และภาวะ”เสื่อมโทรม” จึงสมควรที่ ผูมีสวนเกี่ยวของทั้งหลายตอง”ตระหนัก”และมีสวนรวมกันในการอนุรักษฟนฟู สิ่งที่มีคุณคาอยูเดิมให ดํารงอยูไ ว พร อมกั บประยุกตใ หสอดคลอ งกั บสภาพยุค สมั ยที่ เปลี่ยนไป อั นจะช วยเสริ มสรางความ เข็มแข็งใหกับชุมชนดวย


บทความที่สอง เรื่อง มรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุรี บทความนี้ กลาวถึง ดินแดนยานฝง ธนบุรีซึ่งเปนศูนยรวมของความหลากหลายเชิงสังคมและวัฒนธรรม เนื่องจากเปนทองถิ่นที่ประกอบดวย ผู ค นมากมายหลายชาติ พั น ธุ ที่ อ พยพเข า มาตั้ ง หลั ก แหล ง ก อ นสมั ย รั ต นโกสิ น ทร มี วิ ถี ชี วิ ต ขนบธรรมเนี ย มวั ฒ นธรรมอั น เป น เอกลั ก ษณ เ ฉพาะ โดยป จ จุ บั น ยั ง ปรากฏร อ งรอยของมรดกทาง วัฒนธรรมใหเห็นเดนชัดอยู เปนยานเกาแกที่มีเสนหของเมือง มีความสําคัญไมนอยไปกวากรุงเทพฝง ตะวันออกในปจจุบัน บทความเรื่อง สถานการณของภาคประชาสังคมในประเทศไทย บทความนี้อธิบายวา ประชา สังคม (Civil Society) มีนิยามความหมายอยางไร จากมุมมองของนักวิชาการ สถานการณของภาค ประชาสังคมในไทยใดบางที่เปนปจจัย”สนับสนุน”หรือ”บั่นทอน” การดํารงอยูหรือการทํางานของภาค ประชาสังคม ซึ่งพบวาประกอบดวยหลายปจจัย ไดแก ตัวบทกฎหมาย บทบาทของภาคธุรกิจ องคกร พัฒนาเอกชน สื่อมวลชน และนักวิชาการ บทความตอมา บทบาทของภาคประชาสังคมและองคกร พัฒนาเอกชน กรณีศึกษาเปรียบเทียบสาธารณรัฐฟลิปปนสและประเทศสิงคโปร บทความนี้แสดงใหเห็น ว า บริ บ ททางประวั ติ ศ าสตร สภาพแวดล อ มทางเศรษฐกิ จ การเมื อ ง สั ง คม รู ปแบบความสั ม พั น ธ ระหวางรัฐกับภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน เปนเงื่อนไขสําคัญที่ชวย”เปด”หรือ”ปด”พื้นที่ การเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชนไดทํางานตามเปาหมายหรืออุดมการณ ขององคกรหรือไม ซึ่งกรณีของสองประเทศที่หยิบยกมาวิเคราะหแสดงใหเห็นไดอยางเปนรูปธรรม บทความเรื่อง ประวัติ ศาสตรยุโรปสมัยใหมโดยสังเขป บทความนี้เป นการสรุ ปประเด็ นจาก เหตุ การณบ านเมื องในภู มิ ภาคยุ โ รปตั้ ง แต ค.ศ.1789-1914 ซึ่ง เป นช วงระยะเวลาที่ ”พลิกพลั น”หรื อ “วิกฤต”เนื่องจากเกิดเหตุการณทั้งในเชิงความรวมมือ ขอขัดแยง การปฏิวัติ สงครามของประเทศตางๆ เหตุการณเหลานี้เปนพื้นฐานสําคัญที่นําไปสูการกอรางสรางความเปนรัฐชาติที่มั่นคงของประเทศตางๆ ในยุโรปปจจุบัน บทความเรื่อง ทําเมืองใหนาอยู วิสัยทัศน ยุทธศาสตร และความหวังสําหรับเมืองที่ ยั่ ง ยื น เป น บทความสรุ ป สาระสํ า คั ญ จากหนั ง สื อ ที่ เ ขี ย นโดย เฮอร เ บิ ต จิ ร าเดต แปลโดย พิ ภ พ อุดมอิทธิพงศ มีเนื้อหาที่นาสนใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ความเปนมา บทบาทสําคัญของ”เมือง”ในมิติ ตางๆ โดยเฉพาะปรากฏการณของการกลายเปนเมือง (Urbanization) ที่นับวันจะเกิดขึ้นในทั่วทุกมุม โลก ซึ่งมีผลกระทบอย างยิ่งตอมวลมนุษยชาติ หนังสือ เลมนี้จึงเป นการกระตุนเตือนให มนุษยคนหา วิธีการที่จะดํารงชีวิตอยูอยางไร เพื่อสรางเมืองที่มีความนาอยูและยั่งยืน บทความสุดทาย เปนบทความแปล เรื่อง Time Trust and Hazard : Hairdressers’ Symbolic Roles โดย Michele A.Eayrs จาก Northeastern University บทความนี้เสนอวา อาชีพชางทําผมเปน อีกอาชีพหนึ่งที่มี”เกียรติ”ไมยิ่งหยอนไปกวาอาชีพอื่นๆ เพราะตองอาศัยประสบการณ ความรู ความ ชํานาญ เปรียบเทียบกับอาชีพที่สังคมใหการยกยองดังเชนแพทย ชางทําผมตองใช”ทักษะ”ในวิชาชีพ เหมือนกัน อาทิ ในทางกายภาพชางทําผมตองปองกัน ปกปองมิใหเกิด”ความเสี่ยง”จากการใชเครื่องมือ อุปกรณที่สามารถสรางอันตรายในการทําผม หรือในเชิงจิตวิทยาชางทําผมตองทําหนาที่ในการเอาใจใส เป นที่ ปรึ กษาให คําแนะนํ าที่ ดี ต อ ลู กค า ซึ่ ง กระบวนการดั ง กล าวจะพั ฒนาไปสู ”ความไว เนื้ อ เชื่ อ ใจ” (Trust) ระหวางชางทําผมและลูกคานั่นเอง ขอขอบพระคุณบรรดาเจาของหนังสือ ตํารา เอกสารทางวิชาการทุกทานที่ผูเขียนนํามาใชอางอิง ประกอบการเรี ยบเรียงบทความ หากมีขอบกพร องประการใดอั นเกิดขึ้ นจากการเรียบเรี ยงบทความ ดังกลาวผูเขียนยินดีนอมรับไวแตเพียงผูเดียว โดยเฉพาะในเรื่องความหลากหลายของรูปแบบการอางอิง ที่ใชในที่นี้ ทายที่สุดขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยคริสเตียนที่สนับสนุนการจัดทําเอกสารฉบับนี้จนสําเร็จ ออกมาได ดั ง ที่ ตั้ ง ใจไว ขอมอบ”คุ ณ ค า ”ของเอกสารฉบั บ นี้ ใ ห กับ ”มหาวิ ทยาลั ย คริ ส เตี ยน”ในฐานะ ”บานหลังที่สอง”ของผูเขียนซึ่งใหความอบอุน ความสุข และความมั่นคงในการทํางานมาโดยตลอด. อิทธิพร ขําประเสริฐ


สารบัญ หนา

รายงานวิจยั บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550 สุพิศวง ธรรมพันทา / อิทธิพร ขําประเสริฐ........................................................................................... 1-12

ทัศนคติของประชาชนตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี : กรณีศึกษาพื้นที่ ยานทาพระจันทร ทาชาง และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 13-20

กระบวนการกลายเปน “เด็กวัด” อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 21-46

บทความวิชาการ คลองกับชีวิต : คลองดําเนินสะดวก ชุมริมสองฝงคลอง และความเปลี่ยนแปลง อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 47-71

มรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุรี อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 72-82

สถานการณของภาคประชาสังคมในประเทศไทย อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 83-86

บทบาทของภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน กรณีศึกษาเปรียบเทียบสาธารณรัฐฟลิปปนสและประเทศสิงคโปร อิทธิพร ขําประเสริฐ................................................................................................................................ 87-93

ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหมโดยสังเขป เสริมศักดิ์ แสงจันทร/อิทธิพร ขําประเสริฐ........................................................................................... 94-113

สรุปสาระสําคัญจากหนังสือทําเมืองใหนาอยู วิสัยทัศน ยุทธศาสตร และความหวังสําหรับเมืองที่ยั่งยืน เขียนโดย เฮอรเบิต จิราเดต แปลโดย พิภพ อุดมอิทธิพงศ อิทธิพร ขําประเสริฐ.............................................................................................................................. 114-126

บทความแปล Time Trust and Hazard : Hairdressers’ Symbolic Roles โดย Michele A.Eayrs อิทธิพร ขําประเสริฐ.............................................................................................................................. 127-133


1

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-25501 สุพิศวง ธรรมพันทา2 อิทธิพร ขําประเสริฐ3

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในปจจุบันหางสรรพสินคาหรือศูนยการคาไดกลายเปนศูนยกลางของชุมชนโดยเฉพาะชุมชนเมือง หลวงอยางกรุงเทพมหานคร อันเปนสถานที่ที่ผูคนนิยมมาใชบริการ ทั้งดานบริโภคและรับบริการอื่นๆ สืบเนื่อง จากห า งสรรพสิน ค า ได เ ริ่ ม เขา มาทดแทนตลาดแบบเดิ ม ทั้ง นี้ เ พราะห า งสรรพสิ น ค า นํ าพาความทั น สมั ย ความสะดวกสบายในการจับจาย รวมทั้งการมีรถประจําทางวิ่งผานหลายสายสรางความสะดวกสบายในการ เดินทาง หนึ่งในหลายสาเหตุที่ทําใหผูคนชอบมาจับจายซื้อของที่หางสรรพสินคา เพราะความมีมาตรฐานของ คุ ณ ภาพสิ น ค า และราคา รวมถึ ง การเป ด โอกาสให ผู ซื้ อ ได มี อิ ส ระในการเลื อ กสิ น ค า ที่ ห ลากหลายที่ หางสรรพสินคารวมมาไวคุณสมบัติดังกลาวนับเปนสวนที่สะทอนระบบของเมือง อันเปนระบบที่มีมาตรฐานหนึ่ง เดียวเพื่อตอบรับความหลากหลายของผูคนตางชนชั้น ตางชาติพันธุ และตางความสนใจ ใหอยูบนฐานของการ ปฏิบัติและขอบังคับที่เทาเทียมกัน ระบบที่เปนกลางอันใชรองรับความหลากหลายของคนที่มารวมอยูในเมือง ซึ่งตั้งอยูบ นตรรกะของความเปนเหตุเปนผล การเปดกวางไมมีรากอยูบนความสัมพันธสวนตัว เครือญาติ หรือ ชาติตระกูล ฉะนั้นจึงเปนสิ่งที่เขาใจไดวาผูคนที่เขาอยูในวังวนของระบบเมืองและมีความคุนเคยแลว ยอมนิยม ในระบบของห า งสรรพสิ น ค า ในขณะที่ ค นส ว นหนึ่ ง เช น ผู สู ง อายุ ช าวบ า นที่ คุ น เคยกั บ การสั ง สรรค และ ความสัมพันธสวนตัวกับรานคาบริเวณชุมชนจะไมนิยมมาเดินหางสรรพสินคา เพราะตองการไปหยิบของเอง บริการตัวเอง จายเงินเอง โดยไมตองพูดคุยกับคนขายเลย อีกทั้งยังตองไปเดินอยูทามกลางสภาวะที่ไมคุนเคย คนแปลกหนาอีกดวย นอกจากนี้สภาพของระบบการจัดการสินคาสิ่งของตางๆในหางสรรพสินคา ก็เปนการถอดแบบมาจาก ระบบของเมือง ดังเชน การแบงแยกสินคาตามเพศ วัย ความสนใจ และลักษณะของกิจกรรม เปนความคุนเคย ของปจเจกในเมืองที่มีสัมพันธภาพแบบแยกสวนอยูแลว การจัดเปลี่ยนมุมของสินคาเพื่อมิใหเกิดความซ้ําซาก จําเจนั้น (หางสรรพสินคามักเปลี่ยนทุกๆ 2 สัปดาห) ตอบสนองตอศักยภาพของคนเมือง ที่จะจัดการกับความ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ระบบของหางสรรพสินคา จะมีลักษณะ Dynamic Interaction ซึ่งแตละสวนมีหนาที่ เฉพาะตัว แต ทั้ง หมดก็ ลวนมี ส วนช วยค้ํา จุ นชุ ม ชนทั้ งหมดไว ภาพที่ออกมาจึง ดูหนาแน นและหลากหลาย เชนเดียวกับระบบของเมือง (กรณีนี้หมายถึงการที่หางสรรพสินคา รวมหนวยคาปลีกยอยๆ เอาไว แตละสวนจะ ทําธุรกิจสวนตัวแตก็จะมีผลตอธุรกิจของหางสรรพสินคา) หางสรรพสินคาจึงจําเปนตองนําเสนอรูปแบบใหชั้น วางของเต็มไปดวยสินคาหลากชนิด จึงกระตุนใหคนเมืองนิยมเขาใชบริการมากขึ้น (สมรักษ ชัยสิงกานานนท 2538:99 – 100) 1

งานชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งที่พัฒนามาจากการศึกษาในรายวิชา ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา) สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 2 ผูชวยศาสตราจารยประจําโปรแกรมวิชาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 3 เจาหนาที่แผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2

ในปจจุบันสถานที่และที่พักผอนหยอนใจอันที่จริงมีหลายสถานที่ เชน ประตูน้ํา ตลาดโบเบ ทาวเวอร สวนจตุจักร สะพานพุทธ แตเปนแหลงเลือกจับจายสินคาที่มีอากาศรอนอบอาว การจัดผังรานคาของสถานที่ คอนขางซับซอน ทําใหคนสวนใหญเดินเที่ยวชมไดไมทั่วถึง ผูคนสวนใหญจึงกลับมองผานและไปใหความสนใจ กับศูนยการคาและหางสรรพสินคาชั้นนําแทน (ธฤติ 2541:69–70) สอดคลองจากผลการวิจัยในหลายเรื่องอาทิ ของวิเชียร โฆษิตอาภานันท ในป พ.ศ.2515 ที่ ”ศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคที่มีตอหางสรรพสินคา” ในระยะ แรกเริ่มของการมีหางสรรพสินคาในประเทศไทย ซึ่งพบวาผูที่มาเดินจับจายใชสอยในหางสรรพสินคาสวนใหญ แล ว จะเป น ผู ป ระกอบอาชี พ รั บ จ า งที่ มี ร ายได ป านกลาง สาเหตุ ที่ บุ ค คลลกลุ ม ดั ง กล า วมาจั บ จ า ยใน หางสรรพสินคา ก็เพราะนิยมแตงกายทั นสมัย และพอใจกับเครื่องประดับตา งๆเพื่อยกฐานะทางสั งคมของ ตนเอง อีกทั้งสินคาก็มีใหเลือกตามที่ตองการทั้งในแงคุณภาพและราคา และยังพบวา นอกจากการจับจายซื้อ สินคาแลว กลุมผูบริโภคก็ถือโอกาสเปนการพักผอนหยอนใจ อันเนื่องมาจากบรรยากาศการตกแตงที่สวยงาม อากาศเย็นสบาย มีเสียงดนตรีไพเราะฟงและมีพนักงานที่มีไมตรีจิตในการตอนรับหรือจากการศึกษาของวัฒนา ณ ระนอง (2534) เรื่อง “ไลฟสไตลของคนรุนใหมในกรุงเทพมหานคร” ที่พบวา คนในวัยอายุระหวาง 20–30 ปที่เปนกลุมตัวอยางนี้ คือ คนทํางานออฟฟศ และนักวิชาชีพอิสระนั้น รอยละ 70 ของกลุมตัวอยางมีรายได ต่ํากวา 15,000 บาท และรอยละ 30 มีรายไดมากกวา15,000 บาท มีกิจกรรมที่นอกเหนือจากการทํางาน คือ การพั ก ผ อ นอยู บ า น ดู ที วี ฟ ง วิ ท ยุ อ า นหนั ง สื อ รองลงมาคื อ การเดิ น เล น หรื อ จั บ จ า ยซื้ อ สิ น ค า ตาม หางสรรพสินคา ดูภาพยนตร รายไดของพวกขากวารอยละ 40 เปนคาอาหารเครื่องดื่ม เสื้อผาและความบันเทิง จากงานศึกษาของวัฒนา จึงสะทอนใหเห็นวาภาพของคนรุนใหมนั้นมีความนิยมในการจับจายใชสอยเปนพิเศษ งานศึกษาของนิตยสารคลังสมอง (อางถึงในสิริพร สมบูรณบูรณะ 2538:97–98) ที่สํารวจคนรุนใหมที่มีรายได 10,000–12,000 บาท จํานวน 200 คน ปรากกฎวาสถานที่ที่พวกเขาสวนใหญใชเปนแหลงแหงความบันเทิงและ พักผอนคือ รานอาหาร ทั้งนี้เพื่อเปนสถานที่พบปะสังสรรคระหวางเพื่อน รองลงมาไดแก ศูนยวดิ ีโอ วิดีโอเกมส และโรงภาพยนตร ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวา สถานที่เหลานี้ถูกรวมไวที่หางสรรพสินคา นอกจากนี้จากสํารวจใน เรื่อง “พฤติกรรมการจับจายใชสอยในหางสรรพสินคาของคนกรุงเทพฯ” ของบริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากัด (2540) ผลการศึกษานี้พบวา ชาวกรุงเทพฯทัง้ ชายและหญิงจะซื้อสินคาในหางสรรพสินคาเฉลี่ยครั้งละประมาณ 1,200 บาท แผนกที่ผูคนสวนใหญนิยมใชบริการมากเปนอันดับหนึ่ง คือ แผนกซูปเปอรมารเก็ต รอยละ 30.1 รองลงมา คือ แผนกเสื้อผา ฟูดเซ็นเตอร โรงภาพยนตร และเครื่องเสียง ในสัดสวนรอยละ 20.8 , 15.8 และ 11. 2 ตามลําดับ และพบปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชบริการหางสรรพสินคาคือ เปนหางสรรพสินคาที่ใกลที่พัก อาศั ยถึง รอยละ 49.5 รองลงมาเป นความต องการในดานการบริ การแบบครบวงจรที่สามารถรองรับความ ตองการของคนภายในครอบครัวไดอยางครบถวน ปจจัยทางดานราคาสินคา ดานระยะทางระหวางที่ทํางาน หรื อ สถานศึ ก ษากั บ ห า งสรรพสิ น ค า ความพอเพี ย งของลานจอดรถ และโปรแกรมลดแลกแจกแถมที่ หางสรรพสินคานําเสนอ ตามลําดับ ซึ่งจากการสํารวจดังกลาวไดพบวาคนกรุงเทพฯนิยมไปหางสรรพสินคากับ ครอบครัวคิดเปนรอยละ 48.2 ในขณะที่เลือกไปกับเพื่อนฝูงรอยละ 40.3 และอีกรอยละ 11.5 เปนการเลือกไป เดินหางสรรพสินคาเพียงคนเดียว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (พ.ศ. 2540-2544) ฉบับที่ 8 กลาววา สังคมไทยเปนสังคมที่มี เอกลักษณ เปนสังคมที่เปดกวางยอมรับวัฒนธรรมจากภายนอกและนํามาปรับใชใหเขากับสภาพแวดลอมและ วิถีชีวิตของตนเองไดอยางเหมาะสม และกลมกลืน คนไทยมีโอกาสในการเลือกรับขาวสารที่หลากหลายตาม รสนิยมของแตล ะคน โดยสามารถรับ รูข า วสารข อมู ลรอบโลกภายในบา นของตนเอง หรื อการทํ า งานผ า น เครือขายคอมพิวเตอร และสื่อสําเร็จรูปตางๆ และในขณะเดียวกันการเติบโตในภาคธุรกิจ และอํานาจขาวสาร ที่เผยแพรเขาถึงบุคคลโดยตรง กระแสวัฒนธรรมและขอมูลขาวสารที่ขาดการกลั่นกรองไหลผานสื่อในรูปแบบ ตางๆ เชน ธุรกิจบันเทิง การโฆษณา หางสรรพสินคาหรือศูนยการคา ฯลฯ กอใหเกิดวัฒนธรรมวัตถุนิยมและ บริโภคนิยม ตลอดจนความฟุงเฟอตางๆในหมูคนรุนใหม รวมทั้งการครอบงําทางวัฒนธรรมอยางที่ผูคนใน สังคมมิรูตัว (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2540:ก) จากขอมูลการเฝา ระวังพฤติ กรรมกลุมนั กเรียนนักศึกษา ของกองสารวั ตรนั กเรียน กรมพลศึ กษา พบว า ป ญหานักเรี ยน นักศึกษาแตงกายโปล อแหลม ไมได มีเ ฉพาะย านท องเที่ยวยามราตรีของกลุมวั ยรุ น เทานั้นแตแฟชั่นและวัฒนธรรมตางชาติ โดยเฉพาะจากประเทศญี่ปุนกําลังระบาดหนักในกลุมวัยรุนไทยอยาง นา ตกใจ ทั้ ง การย อมสี ผ ม การเจาะหู หลายรู เจาะจมูก ลิ้น สะดื อ หรื อแม แตการแต ง กายล อแหลมแบบ


3

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สายเดี่ยว เกาะอก กระโปรงสั้นและกางเกงขาสั้น รวมทั้งการใชอุปกรณสื่อสารและเครื่องใชแบบแปลกๆที่กําลัง นิยมแพรหลายอยูในยานอาซีเอ สยามสแควร หรือที่รูจักกันในชื่อ“เซ็นเตอรพอยท”และตามหางสรรพสินคา หรือศูนยการคาตางๆ ยานดังกลาวเปนแหลงรวมของความบันเทิง แฟชั่นนานาชนิด รานขายอาหารและราน ขายเครื่องดื่ม รานขายเสื้อผา โรงเรียนกวดวิชา และเมื่อมีสิ่งลอใจอยูในยานเดียวกัน ก็ยอมเปนการงายตอการ ดึงกลุมวัยรุนเขาไปปลดปลอยหาความสุขและทําในสิ่งที่ตองการไดเต็มที่เหมือนเปนโลกสวนตัว ที่นาหวงใยก็ คือ เยาวชนบางกลุมไมรูจักยับยั้งชั่งใจ และหยุดเพียงแคผอนคลายความเครียดดวยการสังสรรคในขอบเขตที่ เหมาะที่ควรนั้น แตกลับจับกลุมมั่วสุมกันดื่มแอลกอฮอลและของมื่นเมาตางๆ นั่นคือ จุดกําเนิดของปญหา ลูกโซตามมามากมาย เด็กหลงใหลไดปลื้มกับคานิยมที่ฟุงเฟอ เมื่อไมมีเงินก็เขาสูสังคมดังกลาวดวยการยอม ขายบริการทางเพศ ขายยาเสพยติด เพื่อเพียงนําเงินมาซื้อเสื้อผ าอุปกรณสื่ อสารตามแฟชั่ นและเที่ยวเตร (ทีมการศึกษา ไทยรัฐ 2543:15) เมื่อพิจารณาจากแนวคิดทางสังคมวิทยาแลว หางสรรพสินคาหรือศูนยการคาจึงเปรียบเสมือนสถาบัน ทางสังคมที่สําคัญสถาบันหนึ่งที่มีความคาบเกี่ยวในฐานะสถาบันทางด านเศรษฐกิจและในดานนันทนาการ โดยเฉพาะบทบาทหลักในดา นเศรษฐกิจ ที่ พยายามหายุทธวิ ธีในการที่จะดึ งดู ดความสนใจเพื่อตอบสนอง ผู บ ริ โ ภค โดยที่ ศู น ย ก ารค า แต ล ะแห ง มี ยุทธวิ ธีที่แตกต า งกั น เพื่ อการจํ า หน า ยสิ น ค า และบริ การตรงตาม วัต ถุ ประสงค ที่วางไว อย า งไรก็ ดีบ ทบาทที่ ปรากฏให เ ห็น มากอีกด า นหนึ่ง ของศูน ย การคา ในป จจุ บั น ก็ คื อ บทบาทในเชิงสังคมและวัฒนธรรมกลาวคือ การมีสวนเกื้อหนุนสังคม อาทิ การจัดกิจกรรมตางๆ ซึ่งก็นับเปน สวนหนึ่งในนโยบายของศูนยการคา เชน การใหความบันเทิงจัดกิจกรรมยามวางของครอบครัว การจัดกิจกรรม ตามเทศกาลประเพณีไทยและเทศกาล การเปนแหลงพักผอนหยอนใจ การใหทุนการศึกษา กิจกรรมในดาน สิ่งแวดลอมและอื่ นๆ เมื่อศูน ยการคามีอิทธิพลอยางสําคัญ ในการเปลี่ ยนแปลงวิถีชีวิตบางสวนของผูคนใน ศูนยการคาได โดยเฉพาะกลุมผูค นในสังคมเมืองหลวงอยางกรุงเทพมหานครและกลุมวัยรุนในอันที่จะสามารถ เสริมสรางแนวคิดและพฤติกรรมที่เหมาะสมและดีงามแกพวกเขา ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาบทบาทของ ศูน ยการค าต อการมี ส วนรวมพัฒนาประชาคมกรุง เทพมหานคร พ.ศ. 2546–2550 จากแนวคิ ดของกลุ ม ผูเกี่ยวของกับศูนยการคา ซึ่งจะเปนการยกระดับคุณภาพของศูนยการคา ตลอดจนเปนการสงเสริมการพัฒนา ประเทศดวย. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาของผูเขาศูนยการคา 2. เพื่อศึกษาบทบาทปจจุบัน พ.ศ.2546 และบทบาทใน พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมี สวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเสนอสถานภาพและบทบาทที่ส มควรของศูน ยการคา ในการมี ส วนรวมพั ฒนาประชาคม กรุงเทพมหานคร ขอบเขตการศึกษา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey study) ใชแบบสอบถามในการเก็บและรวบรวม ขอมู ล ซึ่ ง กํ า หนดลุ ม ตั วอยา งจํ า นวน 450 คน โดยการสุ ม ตัวอย า งแบบบั ง เอิ ญ (Accidental sampling) จากศูนยการคาจํานวน 15 แหงในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลแหงละ 30 คน นิยามศัพท บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคม หมายถึง ภารกิจของศูนยการคาทางธุรกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ ในการสงเสริมความเจริญกาวหนาที่ไมสรางปญหาแกประชาคมกรุงเทพมหานคร ประชาคมกรุงเทพมหานคร หมายถึง กลุมประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สถานะของศูนยการคา หมายถึง สถานะของศูนยการคาจากบทบาททางธุรกิจ สังคมและการเมืองที่ เกี่ยวของกับประชาคมกรุงเทพมหานคร


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

4

พฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาของผูเขาศูนยการคา หมายถึง ภาวะนิยมและการกระทําตามสิ่งที่พบ เห็นจากศูนยการคาของผูเขาศูนยการคา บทบาทปจจุบันของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร หมายถึง ภารกิจ ของศูนยการคาและการบริการดานตางๆที่เอื้อตอการพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2546 บทบาทอนาคตของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร หมายถึง ภารกิจ ของศู น ย ก ารค า และการบริ ก ารด า นต า งๆที่ ค าดหวั ง ว า จะกระทํ า เพื่ อ เอื้ อ ต อ การพั ฒ นาประชาคม กรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2547 – 2550 ผูเขาศูนยการคา หมายถึง ผูเขาไปใชบริการตางๆ ภายในศูนยการคา สมมติฐานการวิจัย 1. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีเพศ สถานภาพ อายุ ระดับรายได ระดับการศึกษา ความถี่ในการเขา ศูนยการคาตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาแตกตางกัน 2. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีเพศ สถานภาพ อายุ ระดับรายได ระดับการศึกษา ความถี่ในการเข า ศูน ย การค า ต า งกั น มี ค วามคิ ดเห็ น เกี่ ยวกั บ บทบาทป จจุ บั น และบทบาทอนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของ ศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครแตกตางกัน 3. บทบาทปจจุบันของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกับบทบาท พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมแตกตางกัน เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ซึ่งสรางขึ้นจากกรอบแนวคิดทฤษฎีและการทบทวน วรรณกรรม เนื้อหาแบงออกเปน 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูเขาใชบริการศูนยการคา ซึ่งเปนแบบเลือกตอบใหเติบ ขอความลงในชองวาง โดยประกอบดวยคําถามเรื่อง สถานภาพปจจุบัน เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไดตอ เดือนและความถี่ในการใชบริการศูนยการคา ตอนที่ 2 เป น ข อ คํ า ถามเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมคล อ ยตามศู น ย ก ารค า โดยให ผู ต อบเลื อ กตอบซึ่ ง ประกอบดวย ขอคําถามจํานวน 12 ขอ ตอนที่ 3 เปนขอคําถามเกี่ยวกับบทบาทของศูนยการคาในปจจุบัน พ.ศ.2546 และบทบาทในอนาคต ของศูนยการคา พ.ศ. 2547–2550 ตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร ซึ่งใชขอคําถามรวมกัน โดยใหผูตอบเลือกตอบ ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 23 ขอ ตอนที่ 4 เปนคําถามปลายเปด เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น จํานวน 2 ขอ คุณภาพของเครื่องมือวิจัย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ประกอบดวย 2 สวน คือ 1. การทดสอบความแมนตรงตามเนื้อหา(Content validity) ของมาตรวัดผูวิจัยไดใหคํานิยามเชิง ปฏิบัติการ (Operational definition) ภายใตกรอบแนวคิด (Conceptual definition) และจากงานวิจัยที่ เกี่ยวของ ของแตละประเด็นที่นํามาศึกษา จากนั้นจึงสรางมาตรวัดขึ้น โดยมาตรวัดดังกลาวไดรับการพิจารณา ตรวจแกไข และผานการวิจารณจากผูทรงคุณวุฒิ 2. ความเชื่อถือได (Reliability) ในการวิจัยครั้งนี้ มีมาตรวัดจํานวน 3 ชุด คือ พฤติกรรมคลอยตาม ศูนยการคา และบทบาทของศูนยการคาในปจจุบัน พ.ศ.2546 และบทบาทในอนาคตของศูนยการคา พ.ศ. 2547 – 2550 ต อการมี สวนรวมพั ฒนาประชาคมกรุ งเทพมหานคร ซึ่ งผูวิจัยนํามาสรา งเป นมาตรวัดตาม หลักการของลิเครท โดยผูวิจัยไดนํามาตรวัดดังกลาวไปทําการทดสอบกอนใชจริง (Pre-test) กับประชาชนที่ ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน เพื่อหาขอบกพรองของขอคําถามที่ใชตัวแปรดังกลาว และไดนําโปรแกรม สํา เร็ จรู ป ทางสถิ ติ ม าใชในการคํ า นวณหาค า สั ม ประสิ ทธิ์ อัล ฟ า (Coefficient Alpha) ของครอนบาค


5

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

(Cronbach) ซึ่งภาพรวมไดคา alpha = 0.8967 0.8103 และ 0.7282 ตามลําดับ ซึ่งทั้งหมดมีคาที่สูงพอจึง สามารถนํามาใชในการศึกษาได การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอ มูลประกอบดวย 2 สวน ไดแก 1. การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โดยการใชโปรแกรมสํ าเร็ จรูปทางสถิติ ประมวลผลข อมูล จัดทํ า ตารางสถิ ติเ พื่อนํา เสนอและสรุ ปผลการวิจัย สํ าหรับ สถิ ติที่ใช ในการวิเ คราะหข อมู ลจากแบบสอบถามโดย วิเคราะหขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยางโดยใชคารอยละ (Percent)และวิเคราะหขอมูลทัศนคติของประชาชน โดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชสถิติ T–Test เพื่อทดสอบดู ความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง 2 กลุมที่เปนอิสระตอกัน และใชสถิติ F–Test (One–Way) เปนการทดสอบดูความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของของประชากรตั้งแต 3 กลุมขึ้นไป 2. การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่เปนขอคําถามปลายเปด ใชวิธีสรุปสังเคราะหขอความจากขอ คําถามปลายเปด (Content analysis) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เพื่อทราบและนําไปสูการพัฒนาสถานภาพบทบาทที่สมควรของศูนยการคาในการมีสวนรวมพัฒนา ประชาคมกรุงเทพมหานครในอนาคตตอไป ผลการศึกษา การศึกษาในครั้ง นี้ผูวิจัยไดดําเนิน การเก็ บรวบรวมขอมู ลโดยใชแบบสอบถามซึ่ง สุม จากประชากร ตัวอยา งผูเ ข า ศูน ย การคา จํ านวน 450 คน จากศู น ยการค า จํา นวน 15 แหง ในเขตกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล ผลการวิจัยปรากฏวา ตัวอยางกลุมนี้มีสัดสวนของเพศชายและเพศหญิงเทากัน คือ รอยละ 50.0 เปนผูที่มีสถานภาพผูมีงานทําในสัดสวนที่มากกวาสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา คือ รอยละ 56.7 และรอยละ 43.3 ตามลําดับ ซึ่งมีอายุระหวาง 25 – 40 ป รอยละ 38.9 ไมเกิน 25 ป รอยละ 38.4 และสูงกวา 40 ปขึ้น ไปร อยละ 22.7 โดยมีการศึ กษาอยู ในระดั บสู งกว ามั ธยมศึกษาตอนตน–ปริญ ญาตรี รอยละ 74.7 ไม เกิ น มัธยมศึกษาตอนตน รอยละ 15.8 และสูงกวาปริญญาตรี รอยละ 9.6 ทั้งนี้มีรายไดตอเดือนอยูในระดับต่ํากวา 7,500 บาท รอยละ 49.6 ระหวาง 7,501– 20,000 บาท รอยละ 36.2 และสูงกวา 20,000 บาท รอยละ 14.2 กลุมตัวอยางนี้มีความถี่ในการเขาศูนยการคาสวนใหญในระดับ 2–3 สัปดาหตอครั้ง รอยละ 44.7 สัปดาหละ ครั้ง–หลายครั้ง รอยละ 35.1 และเดือนละครั้ง รอยละ 20.2 สําหรั บพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาของ ตัวอย างกลุมนี้ พบว ามีพ ฤติกรรมคลอยศูน ยการคา ในระดับปานกลาง ( x =3.11 S.D.=1.03 ) และมี ความ คิ ด เห็ น ต อ หน า ที่ บ ทบาทด า นต า งๆในป จ จุ บั น ของศู น ย ก ารค า ต อ การมี ส ว นร ว มพั ฒ นาประชาคม กรุงเทพมหานครโดยรวมแลวอยูในระดับปานกลาง ( x =3.11 S.D.=1.03) และมีความคิดเห็นที่คาดหวังตอการ ทําหนาที่ บทบาทดานตางๆในอนาคตของศูนยการคาในการที่จะมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร โดยมีแนวโนมสูงขึ้นในระดับมาก ( x =3.67 S.D.=0.95)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

6

ตารางแสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แยกตามพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคา การแปล ความหมาย

3.83 3.43

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน ( S.D. ) 1.02 0.99

3.28

0.95

ปานกลาง

3.05 2.94

1.01 1.08

ปานกลาง ปานกลาง

3.60

1.03

มาก

3.67

0.99

มาก

2.56 3.35 2.84 3.07

1.14 1.28 1.05 1.06

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

2.95 3.25

1.01 0.95

ปานกลาง ปานกลาง

3.21

1.04

ปานกลาง

พฤติกรรมของผูเขาศูนยการคา

คาเฉลี่ย x

เลือกเดินเลนในศูนยการคาเพราะเปนสถานที่สะดวกสบาย ติดตามดูความทันสมัยของสินคาและบริการตางๆที่จัดแสดง ภายในศูนยการคา ซื้อสินคาตามที่เคยเห็นในศูนยการคาเพราะวาเปนสินคาที่มี คุณภาพและทันสมัย ตัดสินราคาสินคา จากมาตรฐานราคาสินคาในศูนยการคา รับประทานอาหารตามศูนยการคาเพราะมีอาหารที่นิยมของ ผูคนและมีอาหารหลากหลายชนิด ไดรับความรูและเทคโนโลยีใหมจากเครื่องมือเครื่องใชที่ ซื้อขายอยูในศูนยการคา ไดรับความรูและเทคโนโลยีใหมจากการจัดแสดงเครื่องมือ เครื่องใชในศูนยการคา เขารวมกิจกรรมตามแนวนิยมที่ศูนยการคาจัดขึ้น นัดหมายพบปะกันในศูนยการคา กิจกรรมแปลกใหมพบเห็นจากศูนยการคาดึงดูดใหกระทําตาม กิจกรรมแปลกๆของคนบางกลุมที่พบเห็นในศูนยการคา ดึงดูดใหคนจํานวนหนึ่งกระทําตาม ผูเขาศูนยการคากระทําตามสิ่งที่พบเห็นจากศูนยการคา เลือกใชสินคาและบริการดานตางๆจากศูนยการคามากกวา รานคาใกลบาน รวมเฉลี่ย

มาก ปานกลาง

จากผลการศึกษาในตารางแสดงพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาของกลุมตัวอยางประมวลสรุปไดดังนี้ 1. พฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาที่พบในระดับมาก คือ การเลือกเดินเลนในศูนยการคา เพราะเปน สถานที่สะดวกสบาย ( x =3.83 S.D.=1.02) ไดรับความรูและเทคโนโลยีใหมจากเครื่องมือเครื่องใชที่ซื้อขายอยู ในศูนยการคา ( x =3.60 S.D.=1.03) และไดรับความรูและเทคโนโลยีใหมจากการจัดแสดงเครื่องมือเครื่องใชใน ศูนยการคา ( x =3.67 S.D.=0.99) พฤติกรรมทั้ง 3 ประการดังกลาวสะทอนถึงบทบาทหลักในเชิงเศรษฐกิจของ ศูนยการคาในการที่จะนําเสนอรูปแบบของสินคาหรือบริการตางๆดวยความหลากหลายทั้งในดานคุณภาพและ ปริมาณ เพื่อสรางความสนใจ แปลกใหม ตื่นตาตื่นใจใหแกผูคนที่เขามาในศูนยการคา 2. พฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาที่พบในระดับปานกลาง สามารถที่จะพิจารณาไดในหลายดานของ พฤติกรรม กลาวคือ ดานการเลือกซื้อสินคา คือ การซื้อสินคาตามที่เคยเห็นในศูนยการคาเพราะวาเปนสินคาที่มี คุณภาพและทัน สมั ย ( x =3.28 S.D.=0.95) การตัดสิน ราคาสิ นค าจากมาตรฐานราคาสิน คา ในศูนย การค า ( x =3.05 S.D.= 1.01) ดานการเลือกรับบริการที่ศูนยการคานําเสนอ คือ การติดตามดูความทันสมัยของสินคาและ บริการตางๆที่จัดแสดงในศูนยการคา ( x =3.43 S.D.=0.99) การรับประทานอาหารตามศูนยการคาเพราะมี อาหารที่นิยมของผูคนและมีอาหารหลากหลายชนิด ( x =2.94 S.D.=1.08) และการเขารวมกิจกรรมตามแนว นิยมที่ศูนยการคาจัดขึ้น ( x =2.56 S.D.=1.14)


7

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ดา นพฤติ กรรมการเลี ยนแบบ คื อ กิ จกรรมแปลกใหม ที่พ บเห็ น จากศู นย การค า ดึ งดู ดให กระทําตาม ( x =2.84 S.D.=1.05) กิจกรรมแปลกๆของคนบางกลุมที่พบเห็นในศูนยการคาดึงดูดใหคนจํานวน หนึ่งกระทําตาม ( x =3.07 S.D.=1.06) และผูเขาศูนยการคากระทําตามสิ่งที่พบเห็นจากศูนยการคา ( x =2.95 S.D.=1.01) ดานการเปนพื้นทีท่ างเลือกใหมแกผูคน คือ การนัดหมายพบปะกันในศูนยการคา ( x =3.35 S.D.=1.28) และการนิยมใชบริการศูนยการคามากกวารานคาชุมชนใกลบาน ( x =3.25 S.D.=0.95) การศึกษาดังกลาวขางตนนี้สามารถสรุปถึงบทบาทของศูนยการคาที่มิไดคงไวซึ่งเพียงบทบาทในเชิง เศรษฐกิจเทานั้น หากแตศูนยการคาที่ปรากฏพบเห็น ในปจจุบันไดสรางการหนาที่ใหมใหกับสังคม ผลิตอั ต ลักษณ รสนิยม ตัวตน ของผูคนจากการใชบริการ ตารางแสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แยกตามบทบาทปจจุบัน พ.ศ.2546 และบทบาท ในอนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร บทบาทของศูนยการคา

บทบาทของศูนยการคา ความเปนจริงในปจจุบัน ความคาดหวังในอนาคต การแปล การแปล S.D. S.D. x x

ความหมาย

ความหมาย

บริการขั้นพื้นฐานที่อํานวยความสะดวกสบาย เสนอสิ่งผลิตและกิจกรรมใหมจากตางประเทศ ที่นัดหมายพบปะของชุมชน จําหนายสินคาบริโภคอุปโภคทันสมัยนานาชนิด บริการอาหารไทยนานาชนิด บริการอาหารตางประเทศนานาชนิด บริการความบันเทิงที่ครบครัน รวบรวมหรือแสดงความรู/ เทคโนโลยีกาวหนาทันสมัย บริการหรือสงเสริมดานสุขภาพและพลานามัย ประหยัดพลังงานภายในศูนยการคา กระทํากิจกรรมตามเทศกาลและประเพณีไทย กระทํากิจกรรมตามเทศกาลและประเพณี ตางประเทศ กระทํากิจกรรมทางการเมือง กระทํากิจกรรมรักษาสิ่งแวดลอม กระทํากิจกรรมพัฒนา/บําเพ็ญสาธารณประโยชน ตอสังคม กระทํากิจกรรมเสริมสรางศีลธรรมจรรยา กระทําการสอดสองปองกันภัยมิใหเกิดขึ้นใน ศูนยการคา แสดงออกเสรีของกลุมวัยรุน/กลุมเสรี แหลงซื้อหาสื่อลามกอนาจาร แหลงนัดหมาย แลกเปลี่ยนซื้อขายยาเสพติด สิ่งผิดกฎหมาย แหลงซื้อขายบริการทางเพศ สรางปญหาการจราจรในชุมชน แหลงซื้อขายสินคาละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา รวมเฉลี่ย

3.95 3.82 3.75 4.20 3.16 4.02 4.18 3.86 2.83 2.46 3.16 3.82

0.87 0.93 1.01 0.87 0.98 0.97 0.95 0.99 0.95 1.07 1.01 1.15

มาก มาก มาก มาก ปานกลาง มาก มาก มาก ปานกลาง นอย ปานกลาง มาก

4.60 4.34 4.36 4.63 4.39 3.96 4.43 4.62 4.27 4.14 4.39 3.64

0.64 0.85 0.85 0.69 0.77 1.16 0.91 0.69 0.87 1.04 1.81 1.30

มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด มาก มาก มาก มากที่สุด มาก มาก มาก มาก

2.08 2.60 2.63

1.00 1.01 1.01

นอย ปานกลาง ปานกลาง

2.56 4.20 4.25

1.36 0.99 0.97

ปานกลาง มาก มาก

2.39 2.85

1.05 1.16

นอย ปานกลาง

4.20 4.42

1.08 0.94

มาก มาก

3.97 2.42 2.21

1.05 1.21 1.09

มาก นอย นอย

4.27 1.74 1.48

1.08 1.06 0.86

มาก นอย นอยที่สุด

1.96 3.42 1.95 3.11

1.14 1.30 0.97 1.03

นอย ปานกลาง นอย ปานกลาง

1.36 2.94 1.37 3.67

0.79 1.61 0.75 0.95

นอยที่สุด ปานกลาง นอยที่สุด มาก


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

8

จากตารางแสดงความคิดเห็ นเกี่ยวกั บบทบาทของศู นย การค าต อการมีส วนรวมพั ฒนาประชาคม กรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2546 และในป พ.ศ. 2547-2550 สรุปไดดังนี้ 1.บทบาทในปจจุบันของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 1.1 บทบาทในเชิง เศรษฐกิจของศูนยการคา พบบทบาทที่ปรากฏชัดเจนในระดั บมาก คื อ เปนสถานที่บริการขั้นพื้นฐานที่อํานวยความสะดวกสบาย ( x =3.95 S.D =0.87 ) เสนอสิ่งผลิตและกิจกรรมใหม จากตางประเทศ ( x =3.82 S.D =0.93 ) จําหนายสินคาอุปโภคทันสมัยนานาชนิด ( x =4.20 S.D =0.87) และ บริ ก ารความบั น เทิ ง ที่ ค รบครั น ( x =4.18 S.D=0.95)บทบาทดั ง กล า วนี้ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของ ศูนยการคาในดานเศรษฐกิจซึ่งมีแนวโนมที่จะกลายมาเปนแหลงอุปโภคบริโภคของชุมชนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ 1.2 บทบาทในดานการเสริมสรางความรู ความเขมแข็งตอชุมชนและสังคม พบวา 1) บทบาทที่ปรากฏชัดเจนในระดับ มาก ไดแก การเปนแหลง รวบรวมหรือแสดง ความรู/ เทคโนโลยีที่กา วหนา ( x =3.86 S.D =0.99 ) 2) บทบาทที่ปรากฏในระดับปานกลาง ไดแก การบริการหรือสงเสริมดานสุขภาพ และพลานามัย ( x =2.83 S.D=0.95) การกระทํากิจกรรมรักษาสิ่งแวดลอม ( x =2.60 S.D=1.01) การกระทํา กิจกรรมพัฒนา/บําเพ็ญสาธารณะประโยชน ( x =2.63 S.D=1.01) การกระทําการสอดสองปองกันภัยสังคม/ การประพฤติผิดมิใหเกิดขึ้นในศูนยการคา ( x =2.85 S.D=1.16) 3) บทบาทที่ปรากฏในระดับนอย ไดแก เรื่องการกระทํากิจกรรมเสริมสรางศีลธรรม จรรยา ( x =2.39 S.D=1.05) เมื่อประมวลจากการศึกษานี้แสดงถึงสถานะของศูนยการคาที่ยังที่มีความเขมขนไมเพียงพอ ตอการเสริ มสร า งความดี ง ามให กับสั ง คมซึ่ ง ยั งคงพบในระดั บ ปานกลางเป นส วนใหญ โดยเฉพาะในเรื่ อง จริยธรรมและคุณธรรมอันเปนบทบาทที่สถาบันทางสังคมทุกภาคสวนลวนมุงหวังใหบังเกิดขึ้นในสังคม ดังนั้น จึงเปนภารกิจที่สําคัญซึ่งนอกเหนือไปจากบาทบาทในดานเศรษฐกิจของศูนยการคาในการปลูกจิตสํานึกที่ดี ใหกับสังคม 1.3 บทบาทในฐานะที่เปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรม พบบทบาทที่เดนชัดของศูนยการคาใน ฐานะที่ เป น แหล งเผยแพรวัฒนธรรมต างชาติ ในระดับ มาก คื อ เรื่ องบริการอาหารตา งประเทศนานาชนิ ด ( x =4.02 S.D=0.95) การกระทํากิจกรรมตามเทศกาลและประเพณีตางชาติ ( x =3.82 S.D=1.15) ในขณะที่ บทบาทตอการเผยแพรวัฒนธรรมไทยพบในระดับปานกลาง คือ เรื่องบริการอาหารไทยนานาชนิด ( x =3.16 S.D =0.98) และ การกระทํากิจกรรมตามเทศกาลและประเพณีไทย ( x =3.16 S.D=1.01) 1.4 บทบาทในดานการรักษา/ปองกั นการกระทําที่ล ะเมิดความผิดที่อาจจะเกิดขึ้ นภายใน ศูนยการคา พบบทบาทที่ปรากฏในระดับนอย ไดแก เรื่อง การเปนแหลงซื้อหาสื่อลามกอนาจาร ( x =2.42 S.D=1.21) แหลงแลกเปลี่ยนซื้อหายาเสพยติดสิ่งผิดกฎหมาย ( x =2.21 S.D=1.09) แหลงซื้อขายบริการทางเพศ ( x =1.95 S.D=0.97) ผลการศึกษานี้แสดงภาวะที่นาพอใจตอบทบาทของศูนยการคาในการปองปรามการ กระทําผิดมิใหเกิดขึ้นอันจะสงผลลบตอศูนยการคาและชุมชนในปจจุบันไดระดับหนึ่ง 1.5 บทบาทในทางออมของศูนยการคาที่นอกเหนือไปจากบทบาทดานอื่นๆ พบบทบาทใน ระดับมาก คือ การเปนสถานที่นัดหมายพบปะของชุมชน ( x =3.75 S.D=1.01) การเปนสถานที่แสดงออกเสรี ของกลุมวัยรุน/กลุมเสรี ( x =3.97 S.D=1.05) และพบบทบาทในระดับปานกลาง คือ การสรางปญหาการจราจร ในชุม ชน ( x =3.42 S.D=1.30) และพบบทบาทในระดับ นอย คือ การประหยัดพลั งงานภายในศู นย การค า ( x =2.46 S.D=1.07) การกระทํากิจกรรมทางการเมือง ( x =2.08 S.D=1.00) จากบทบาทดังกลาวจะเห็นไดวา พื้นที่ของศู นยการค านั้นยังมี ผลในทางออมจากการปฏิ สังสรรค ทางสังคมซึ่งมีในระดับมาก ดังเช นการเป น สถานที่นัดหมายพบปะผูคน การเปนพื้นที่แสดงอัตลักษณและตัวตัวของกลุมวัยรุน กลุมเสรีตางๆ อยางไรก็ดี จากการที่ศูนยการคาเปนศูนยกลางที่พบปะผูคนจํานวนมากจึงกอใหเกิดผลกระทบตอการสัญจรไปมาในชุมชน ระแวกนั้ น ๆ ในขณะที่ การประหยั ดพลั ง งานภายในศู น ย ก ารค า ก็ นั บ เป น เรื่ องของสํ า นึ กที่ จะมี ต อการใช ทรัพยากรอยางประหยัด ทั้งยังจะชวยลดตนทุนของศูนยการคาและเปนตนแบบของการพัฒนาในธุรกิจอื่นๆ และสงผลตอการพัฒนาประเทศดวย


9

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2. บทบาทในอนาคตของศู น ย การค า ที่ ค าดหวั ง ว า จะบั ง เกิ ดขึ้ น เพื่ อการมี ส วนร วมในการพั ฒ นา ประชาคมกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2547-2550 2.1 บทบาทในเชิ งเศรษฐกิจของศูน ย การคา มี แนวโน มเปลี่ยนไป กล าวคื อ พบบทบาทที่ คาดหวังวาจะเกิดขึ้นในระดับมากที่สุด ไดแกเรื่อง บริการขั้นพื้นฐานที่อํานวยความสะดวกสบาย ( x =4.60 S.D =0.64) จําหนายสินคาบริโภคอุปโภคทันสมัยนานาชนิด ( x =4.13 S.D=0.87) สวนที่คงเดิมซึ่งอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยสูงขึ้น คือ เสนอสิ่งผลิตและกิจกรรมใหมจากตางประเทศ ( x =4.34 S.D=0.85) และบริการความ บันเทิงที่ครบครัน ( x =4.43 S.D =0.91) ผลการศึกษานี้แสดงวาแนวโนมของศูนยการคาในอนาคตในดา น เศรษฐกิจที่จะทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆ เพราะผูคนคาดหวังวาจะเปนสถานที่ที่อํานวยความสะดวกสบายที่ครบ ครัน และรองรับกับความตองการอันหลากหลายของผูคนทุกเพศทุกวัยกับการชีวิตในสังคมสมัยใหม 2.2 บทบาทในดานการเสริมสรางความรู ความเขมแข็งตอชุมชน สังคม ซึ่งมีแนวโนมสูงขึ้น เปลี่ยนแปลงไปอยางชัดเจน โดยรวมคาดหวังวาศูนยการคาจะสรางสรรคสิ่งที่ดีใหและเกื้อกูลสังคม ไดแก 1) บทบาทที่ค าดหวังวาจะเกิดขึ้นในระดั บมากที่สุด ไดแก เรื่องการรวบรวมหรื อ แสดงความรู/เทคโนโลยีกาวหนา ( x =4.62 S.D =0.69 ) 2) บทบาทที่คาดหวังวาจะเกิดขึ้นในระดับมาก ไดแก การบริการหรือสงเสริมดาน สุขภาพและพลานามัย ( x =4.27 S.D=0.87) การกระทํากิจกรรมรักษาสิ่งแวดลอม ( x =4.20 S.D=0.99) การ กระทํ า กิ จกรรมพั ฒนา/บํ า เพ็ ญ สาธารณะประโยชน ( x =4.25 S.D=0.97) การกระทํ า กิ จกรรมเสริ ม สร า ง ศีลธรรมจรรยา ( x =4.20 S.D=1.08) และการกระทําการสอดสองปองกันภัยสังคม/การประพฤติผิดมิใหเกิดขึ้น ในศูนยการคา ( x =4.42 S.D=0.94) บทบาทของศูนยการคาทั้ง 6 ประการนี้ จึงนับเปนภารกิจหลักของศูนยการคาที่สมควรจะ กระทําใหเกิดขึ้น ในป พ.ศ. 2547-2550 ซึ่งแตกตางจากในป พ.ศ. 2546 โดยบทบาทเหลานี้ยังคงอยูในระดับ ปานกลางเทานั้น 2.3 บทบาทในฐานะที่เปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรม พบแนวโนมความเปลี่ยนแปลงในสวนของ การรณรงคเผยแพรวัฒนธรรมไทย ซึ่งอยูในระดับมาก คือ บริการอาหารไทยนานาชนิด( x =4.39 S.D=0.77) และการกระทํ ากิ จกรรมตามเทศกาลและประเพณี ไทย ( x =4.39 S.D=0.81) ส วนบทบาทในการเผยแพร วั ฒนธรรมต า งชาติ ยัง คงเดิ ม ในระดั บ มากแต มี ค า เฉลี่ ยลดลง คื อ บริ การอาหารต า งประเทศนานาชนิ ด ( x =3.96 S.D=1.16) และการกระทํากิจกรรมตามเทศกาลและประเพณีตางประเทศ ( x =3.64 S.D=1.30) ผล การศึ กษานี้ แสดงวาทั ศนะตอการตระนักถึ งในคุณคา วัฒนธรรมไทยของผู คนในสังคมมีความเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ้น ศูนยการคาจึงควรนําแนวทางดังกลาวมาเปนกลยุทธที่สําคัญในการเสริมย้ํากับการดําเนินธุรกิจ ของตนดวย 2.4 บทบาทในดานการรักษา/ปองกันการกระทําที่ละเมิดความผิดที่อาจจะเกิดขึ้นภายใน ศูนยการคา พบแนวโนมความเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจน โดยภาพรวมเปนบทบาทที่ผูคนคาดหวังวาจะไมบังเกิด ขึ้นในระดับนอยที่สุด ไดแก แหลงแลกเปลี่ยนซื้อหาสารเสพยติดสิ่งผิดกฎหมาย ( x =1.48 S.D=0.86) แหลงซื้อ ขายบริการทางเพศ ( x =1.36 S.D=0.79) แหลงซื้อขายสินคาละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา ( x =1.37 S.D=0.75) สวนบทบาทบาทที่ ยังคงเดิ มแต ก็พบในระดั บ น อย คื อ แหล งซื้ อหาสื่อลามกอนาจาร ( x =1.74 S.D=1.06) บทบาทดังกลาวนี้จึงชวยตอกย้ําหนาที่ที่สําคัญของศูนยการคาในการขจัดผลเสียเหลานี้ใหไกลออกไปจากชีวิต สวนตัวและชีวิตทางสังคมของผูคนอันจะชวยใหสังคมของเราดํารงอยูไดอยางผาสุก 2.5 บทบาทในทางอ อมของศู น ย ก ารค า ที่ น อกเหนื อไปจากบทบาทด า นอื่ น ๆ พบความ คาดหวังที่มีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปในระดับมาก คือ การประหยัดพลังงานภายในศูนยการคา ( x =4.14 S.D = 1.04) และระดับปานกลาง คือ การกระทํากิจกรรมทางการเมือง ( x =2.56 S.D=1.36) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากระดับนอย ในป พ .ศ.2547 ส ว นบทบาทอื่ น ๆที่ มี ค า เฉลี่ ย สู ง ขึ้ น คื อ การเป น สถานที่ นั ด หมายพบปะของชุ ม ชน ( x =4.36,S.D=0.85) การเปนสถานที่แสดงออกอยางเสรีของกลุมวัยรุน/กลุมเสรี( x =4.27 S.D=1.08) และการ สรางปญหาการจราจรใหกับชุมชน ( x =2.94 S.D=1.61) ที่มีคาเฉลี่ยลดลง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

10

เมื่อประมวลสรุปจากผลการศึกษานี้แสดงวามีความแตกตางกันระหวางบทบาทในปจจุบัน พ.ศ. 2546 และบทบาทในอนาคต พ.ศ.2547-2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร ซึ่ง มีแนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงอยูในระดับมากเปนสวนใหญ และคงอยูในระดับเดิมบางในบางบทบาท อยางไรก็ดี จะพบวาโดยภาพรวมบทบาทในดานเศรษฐกิจของศูนยการคานั้นจะทวีความสําคัญขึ้นเรื่อยๆเพราะมีบทบาทที่ คาดหวังอยูในระดับมาก ( บทบาทที่ 1,2,4 และ 7 ) บทบาทในดานการเสริมสรางความรูความเขมแข็งแก สัง คม พบวา ป จจุบั น ยัง คงอยู ในระดั บ ปานกลาง แต ค วามคาดหวัง ในอนาคตอยู ในระดับ มาก (บทบาทที่ 8,9,14,15,16 และ17) สําหรับบทบาทของศูนยการคาในฐานะที่เปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรมพบวาแนวโนมที่ คาดหวังตอการเผยแพรวัฒนธรรมไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต (บทบาทที่ 5,11) ซึ่งอยูในระดับมาก ในขณะที่ บทบาทตอการปองกันการละเมิดความผิดของศูนยการคาทั้งในปจจุบันและอนาคตจัดอยูในระดับนอยมาก ( บทบาทที่ 19,20,21 และ 23 ) และบทบาทในทางออมที่นอกเหนื อจากบทบาทดานอื่ นๆของศูนย การค า พบความคาดหวังในระดับมาก คือ เรื่องการประหยัดพลังงานในศูนยการคา สวนบทบาททางออมอื่นๆยังคง เดิมแตก็จัดอยูในระดับมาก คือ การเปนสถานที่นัดหมายพบปะผูคน และการเปนสถานที่แสดงออกอยางเสรี ของกลุมวัยรุน/กลุมเสรี ดังนั้นหากพิจารณาการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยจะพบความแตกตางโดยภาพรวมไดวาบทบาทในปจจุบัน พ.ศ. 2546 ของศู นย การค าต อการมี ส วนร วมพั ฒนาประชาคมกรุ งเทพมหานครจั ดอยู ในระดั บ ปานกลาง ( x =3.11 S.D=1.03) ในขณะที่บทบาทคาดหวังวาจะเกิดขึ้นจากการทําหนาที่ของศูนยการคาเพื่อเอื้อตอการ พัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครจัดอยูในระดับมาก ( x =3.67 S.D=0.95) ผูคนจึงหวังวาศูนยการคาในฐานะ องคกรธุรกิจจะมีบทบาทหนาที่โอบอุมเกื้อกูลตอสังคมมากขึ้นจากอดีต. สําหรับการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งประกอบดวย 13 สมมติฐาน มีผลสรุปดังนี้ 1. กลุ มผู เ ขา ศู นย การคา ที่ มีเ พศต า งกั น มีพ ฤติกรรมคล อยตามศู น ยการค าไม แตกตา งกัน ที่ ระดั บ นัยสําคัญ 0.05 (0.124 > 0.05) 2. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีสถานภาพตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาแตกตางกันที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05 (0.000 < 0.05) 3. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีอายุตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 (0.000 < 0.05) 4. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีระดับรายไดตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาแตกตางกันที่ระดับ นัยสําคัญ 0.05 (0.000 < 0.05) 5. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคาแตกตางกันที่ ระดับนัยสําคัญ 0.05 (0.001 < 0.05) 6. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีความถี่ในการเขาศูนยการคาตางกันมีพฤติกรรมคลอยตามศูนยการคา แตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 (0.000 < 0.05) 7. บทบาทปจจุบันของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกับบทบาท พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมแตกตางกัน ( x =3.11,S.D.=1.03/ x = 3.67,S.D.=0.95) 8. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีเพศตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทปจจุบันและบทบาทอนาคต พ.ศ. 2547 – 2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครไมแตกตางกัน(0.822> 0.05/0.689>0.05) 9. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีสถานภาพตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทปจจุบันและบทบาท อนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครไมแตกตางกัน (0.435 > 0.05/0.543>0.05) 10. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีอายุตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทปจจุบันและบทบาทอนาคต พ.ศ. 2547 –2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครไมแตกตางกัน(0.237> 0.05/0.239>0.05 )


11 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

11. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีรายไดตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทปจจุบันและบทบาทอนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานครไมแตกตางกัน(0.279 >0.05/0.675>0.05) 12. กลุม ผูเ ขา ศูน ยการคา ที่มี ระดับ การศึ กษาต างกั น มีค วามคิ ดเห็น เกี่ ยวกับ บทบาทป จจุ บัน และ บทบาทอนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของศูนย การคา ตอการมี สวนรวมพัฒนาประชาคมกรุง เทพมหานครไม แตกตางกัน (0.699>0.05/0.520>0.05) 13. กลุมผูเขาศูนยการคาที่มีความถี่ในการเขาศูนยการคาตางกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ป จ จุ บั น และบทบาทอนาคต พ.ศ. 2547–2550 ของศู น ย ก ารค า ต อ การมี ส ว นร ว มพั ฒ นาประชาคม กรุงเทพมหานครแตกตางกัน (0.410>0.05/0.257>0.05) สรุ ป เมื่อพิ จารณาจากสมมติฐ านที่ 2 ,3, 4,5 และ 6 พบว า ปจจั ยในดา นสถานภาพ ระดั บอายุ ระดับรายได ระดับการศึกษา และระดับความถี่ในการเขาศูนยการคา ที่แตกตางกันนั้น จะมีผลตอพฤติกรรม คลอยตามศูน ยการค าที่แตกตางกัน ในขณะที่สมมติ ฐานที่ 8,9,10,11,12 และ 13 ที่ผลการทดสอบไม มี นัยสําคัญ แสดงวา กลุมตัวอยางนี้มีความคิดเห็นตอบทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคม กรุงเทพมหานครไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้กลุมตัวอยางไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณของศูนยการคาที่มีผลตอพฤติกรรม ของวัยรุนโดยสรุปคือ ศูนยการคาในฐานะที่เปนแหลงรวมความทันสมัย ความบันเทิงที่ครบครันนานาชนิด อัน ไดรับ อิทธิพ ลจากกระแสวัฒนธรรมตา งชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรมตะวั นตกและวั ฒนธรรมเอเชียโดยเฉพาะ วัฒนธรรมจากญี่ปุนและเกาหลีใต ไดสงผลกระทบตอพฤติกรรมวั ยรุน ทั้งในดานบวก อาทิ เชน การไดรั บ ความรูจากอุปกรณ เครื่องใชวิทยาศาสตรสมัยใหม การเปนพื้นที่สําหรับพักผอนทํากิจกรรมตางๆ และการ แสดงออกไดอยางอิสรเสรี ปราศจากการควบคุม ในขณะเดียวกับภาพลบที่เกิดขึ้นของวัยรุนในศูนยการคาก็มี มิใชนอยเชนกัน อาทิ การสรางพฤติกรรมการเลี่ยนแบบภาวะนิยมในดานการแตงกายที่ลอแหลม เชน การใส สายเดี่ยว เกาะอก การเจาะอวัยวะ เพื่อดึงดูดความสนใจ การสรางคานิยมที่ฟุงเฟอ การที่มีความคิดผูก ติดกับตราสินคาที่มีชื่อเสี่ยง หรือเปนที่นัดหมายพบปะของกลุมวัยรุนซึ่งอาจจะรวมตัวกันกระทําความผิด การ เป น แหล ง มั่ วสุ มประกอบมิ จฉาชี พ การแสดงออกที่ เ กิ น ขอบเขต และในบางครั้ ง เป น สถานที่ สํ า หรั บ กลุ ม นักเรียน/นักศึกษาที่หนีเรียนมาเที่ยวเตร็ดเตรอันเนื่องมากจากสิ่งดึงดูความสนใจภายในศูนยการคา พฤติกรรม ทั้งหลายนี้สงผลใหวัยรุนตกเปนเหยื่อของการคาเสรีโดยมิรูตัว อีกทั้งยังขาดความคิดเห็นที่เปนของตัวเอง ตัวตน ที่แทจริงถูกเงื่อนไขดังกลาวนําพาไปในทางที่ไมถูกตอง และเพิกเฉยกับวัฒนธรรมความดีงามแบบไทยที่นับวัน ใกลจะสูญหายไป กลุมตัวอยางยังไดเสนอแนะบทบาท แนวทางแกศูนยการคาในการพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร 6 ดาน ดังนี้ 1. ดานคุณธรรมและจริยธรรม ไดแก การเสริมย้ําแนวคิดในการนําหลักศีลธรรมทางพระพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่นๆมาเปนเครื่องกระตุนเตือนใหกลุมผูเขาใชบริการศูนยการคาและวัยรุนผานกิจกรรม/การบริการ หรือสินคาที่ศูนยการคานําเสนอ และเสนอการพัฒนาบุคลากรพนักงานของศูนยการคาทุกระดับดวยแนวทาง ดังกลาวดวย 2. ดานวัฒนธรรม ไดแก การนําขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นของชุมชนมา เสนอเป นกิจกรรมที่สําคั ญของศูน ยการคา เสริม สรางคา นิยมแบบไทยให กับวัยรุน มีการควบคุมสิ นคาบาง ประเภทที่ไมสมควร เชน เครื่องดื่มของมื่นเมา สื่อลามก ตูเกม สถานบันเทิงใหอยูใหความพอดีและเหมาะสม ลดการนําเขาสินคาวัฒนธรรมตะวันตก โดยหันมาพิจารณานําเสนอสินคาแบบไทยซึ่งอาจจะผสมผสานใหเขา กับยุคป จจุบันในลักษณะของสิ่งของรวมสมัยได รวมไปถึงการนําแบบอยา งในเรื่องการแตง กายที่ดีผานผู มี ชื่อเสียง เชนบุคคลสําคัญ ดารา นักแสดง มาเปนตัวแบบของศูนยการคา เปนตน 3. ดานเศรษฐกิจ ไดแก การนําเสนอสาระที่แทจริงของสินคาและบริการที่เปนประโยชนมากกวาการ แสวงหากําไรที่เกินควรตอผูบริโภค และการเพิ่มเติมรูปลักษณของสินคาที่ทันสมัยและมีความหลากหลายเพิ่ม มากขึ้น


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

12

4. ดานวิชาการ ไดแก การใหความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สื่อเพื่อการศึกษาสมัยใหม ผานบริการหรือสินคา การจัดนิทรรศการใหความรู เสนอใหมีการจัดตั้งหองสมุดเพื่อเปนแหลงบริการวิชาการ แกชุมชน ซึ่งรวมทรัพยากรสารสนเทศ และเปนประโยชนตอการแลกเปลี่ยนความรูของผูสนใจ 5. ดานการพัฒนาสังคม ไดแก การจัดโครงการเสริมสรางทักษะทางดานอาชีพตางๆ การจัดกิจกรรม สังคมสงเคราะหแกผูยากไร คนชรา เด็ก การจัดกิจกรรมสําหรับครอบครัว การใหทุนการศึกษา การมีสวนรวม ในการพัฒนาชุมชน พัฒนาสิ่งแวดลอมบริเวณขางเคียงศูนยการคา การจัดระเบียบการจราจรหนาศูนยการคา ใหคลองตัวเพิ่มขึ้น รวมไปถึงการเพิ่มจุดประชาสัมพันธในศูนยการคาเพื่อปองปรามเหตุรายที่อาจจะเกิดขึ้นได 6. ดานการพัฒนาวัยรุน ไดแก การสงเสริมใหวัยรุนไดเขามามีสวนรวมในกิจกรรมของศูนยการคาเพื่อ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน โดยเฉพาะในดานการรณรงควัฒนธรรมไทย ในขณะเดียวกันก็มีนโยบายที่สอดสอง ปองกัน พฤติ กรรมของวั ยรุนที่ไมเหมาะสมดวย และเสนอใหมีการจัดตั้งศูนยสําหรับทําหนาที่ ใหคําปรึกษา แนะนํา ดูแลแกไขปญหา ทักษะในการดําเนินชีวิตแกวัยรุน ขอเสนอแนะการวิจัย 1. หากมีการดําเนินการวิจัยครั้งตอไป ผูวิจัยอาจจะพิจารณาบทบาทของศูนยการคาที่ขยายเพิ่มเติม มากขึ้นจากการวิจัยในครั้งนี้ และอาจชี้ชัดลงไปในแตละดานที่สําคัญโดยมีรายละเอียดยอยๆอยูในดานนั้นๆ ซึ่งอาจนําขอเสนอแนะจากผลการวิจัยใน 6 ดานขางตนนี้มาเปนสวนหนึ่ง ทั้งนี้จะตองศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาศูนยการคาในภาวะปจจุบันประกอบดวย 2. การวิจัยในครั้ง นี้ผู วิจัยตั้ งความคาดหวั งในเก็ บตั วจากกลุ มประชากรที่มิ ได เป นเพียงกลุม ผูเ ข า ศูน ย การค า เท า นั้ น หากแตร วมถึ ง ผู บ ริ หารและผู ประกอบการในศูน ย การค า ด วย แต เ นื่ องจากข อบั ง คั บ ที่ เครงครัดและระเบียบเขมงวดของศูนยการคาในการเขาถึงกลุมตัวอยางดังกลาวเพื่อทําการสัมภาษณและเก็บ ขอมูล ประกอบกับขอจํากัดทางดานเวลาของผูวิจัย จึงทําใหไมสามารถเก็บขอมูลจากกลุมประชากรกลุมนี้ได จึงเปนโอกาสดีในการวิจัยครั้งตอไปในการเก็บขอมูลจากกลุมประชากรดังกลาว บรรณานุกรม กิจฐเชต ไกรวาส. (2537). อิทธิพลของศูนยการคาตอการเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม. วิทยานิพนธการวางแผนภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชุลีวันท ซับสุวรรณ. (2536). การศึกษาทัศนคติของผูบริโภคที่มีตอหางสรรพสินคาในเขตกรุงเทพ มหานคร. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม. ทีมการศึกษา. (2543). ไทยรัฐ. 8 กุมภาพันธ หนา 15. ธฤติ. (2541). บทความเมืองหลวง ในวารสารภาษาและหนังสือ. ปที่ 9 พฤษภาคม หนา 69 – 70. ธีรวุฒิ ชูคํา. (2536). พฤติกรรมผูบริโภคในการใชบริการศูนยการคา ในอําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม .ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ยูอิ นากามูระ. (2539). พลวัตรของวัฒนธรรมการบริโภค และรูปแบบการดําเนินชีวิตของวัยรุน ไทยในเขตมหานคร กรณีศึกษา : นักเรียนระดับชั้นมัธยมในกรุงเทพมหานคร. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สมรักษ ชัยสิงหกานานนท. (2538). แลดูผูคนในหางสรรพสินคา. ในวัฒนธรรมการบริโภค แนวคิดและ การวิเคราะห. กรุงเทพฯ : ศูนยวิจัยและผลิตตํารา มหาวิทยาลัยเกริก. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2540). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544). กรุงเทพฯ : สํานักงาน. ศูนยวิจัยกสิกรไทย. (2544). ผลสํารวจพฤติกรรมการเขาหางสรรพสินคาของคนกรุงเทพฯ. ออนไลน เขาถึงไดจาก http://www.tfrc.co.th. --------------------------------------------


13

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ทัศนคติของประชาชนตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี : กรณีศึกษาพื้นที่ยานทาพระจันทร ทาชาง และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ1์ อิทธิพร ขําประเสริฐ2

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา สังคมไทยเปนสังคมพุทธ ประชาชนสวนใหญรอยละ 95 ของประเทศนับถือศาสนาพุทธ อิทธิพลของ พระพุทธศาสนาจึงปรากฏใหเห็นอยูในทุกแงมุมตลอดชวงชีวิตของคนไทย ตั้งแตการเกิดไปจนกระทั่งถึงตาย ประเพณี พิธีกรรมตางๆ และโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของหลักธรรมคําสอนทางศาสนามีบทบาทอยางสําคัญ ในการที่พุทธศาสนิกชนจะไดนอมนําไปปฏิบัติเพื่อเปนหลักและแนวทางในการดําเนินชีวิต นอกจากสาระสําคัญ ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว พระพุ ท ธศาสนายั ง เป น บ อเกิ ด แห ง ศิ ล ปะในอี ก แง มุ ม หนึ่ ง ด ว ยทั้ ง ในด า นศิ ล ปกรรม สถาปตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม มีการสรางโบราณสถาน โบราณวัตถุนับเนื่องมาตั้งแต อดีตโดยปรากฏใหเห็นอยูมากมายตามศาสนสถานตางๆในเมืองไทย ซึ่งการสรางโบราณวัตถุโดยเฉพาะวัตถุ มงคลก็มีมาแตอดีตดวยเชนกัน เคาความคิดของการสรางวัตถุมงคลประเภทพระพิมพนั้นปรากฏในงานเขียน ของแสง มนวิทูร (2504:69) ใน “ประวัติพระเครื่อง”วา “ พวกที่นั บถื อพุ ทธศาสนานิยมไปนมัส การสั ง เวชนี ยสถาน 4 แหง คื อ สถานที่ประสูติ สถานที่ตรัสรู สถานที่แสดงปฐมเทศนาธรรมจักร และสถานที่ ปรินิพพาน สถานที่ทั้ง 4 แหงนี้อยูในประเทศอินเดียและเนปาล สังเวชนียวัตถุ แปลวา เหตุที่ทําใหเกิดความสังเวช พวกที่ไปนมัสการนั้นเรียกวา ธรรมยาตรา หรือบุญจาริก คือ ผูเที่ยวแสวงหาบุญกุศลในสถานที่ตางๆเมื่อไปถึงที่นั้น แลว ชอบหาสิ่งของจากสถานที่นั้นๆไว เปนเครื่องที่ระลึก ทําใหพวกชาวเมืองเจาของ ถิ่นสังเวชนัยวัตถุสถานเหลานั้น จึงคิดทําพระพิมพขึ้นเพื่อแจกหรือจําหนายพวก ธรรมยาตราก็นิยมยินดี รับไวแลวนํามาคารวะบูชา จึงเกิดชอบสรางพระพิมพกัน มากขึ้น ” จากคํากลาวของศรีศักร วัลลิโภดม ที่กลาววา “สังคมไทยเปนสังคมที่ผสมผสานความคิดความเชื่อใน เรื่องพุทธศาสนาความเชื่อทางพราหมณ และความเชื่อเกี่ยวกับผี ”การจัดสรางวัตถุมงคลก็จะอยูในขอบขาย ความคิดนี้ดวยเชนกัน สําหรับการจัดสรางวัตถุมงคลโดยเฉพาะพระพิมพของไทยในอดีตจากหนังสือ “ปฐมบท แห ง วั ต ถุ ม งคล:ตํ า นานพระพิ ม พ ”(2540:6–7)กล า วว า ผู ส ร า งมี วั ต ถุ ประสงค ในการสร า งเพื่ อสื บ ต ออายุ พระพุทธศาสนาใหมั่นคง มีการสรางครั้งละมากๆ บางครั้งสรางถึง 84,000 องค เพื่อใหเทากับพระธรรมขันธ 1

งานศึกษาชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งในรายวิชาสถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมวิทยา หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

14

เมื่อทําแลวก็จะแจกจายกันไป สวนที่เหลือมักนําไปบรรจุไวในสถูป เจดีย ในองคพระพุทธรูปใหญในพระอุโบสถ ในพระปรางค การทําเชนนี้เพื่อใหพุทธศานสนิกชนไดมีไวกราบไหวบูชา โดยถือวาตอไปในภาคหนาเมื่อสถูป เจดียหรือพระปรางคพังทลาย อนุชนรุนหลังไปขุดพบก็จะไดปราบวาเปนพระพุทธรูป ซึ่งหมายถึงเมื่อครั้งหนึ่ง พระสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาไดเคยมาโปรดมนุษยและสัตวโลก ชวนใหพุทธบริษัทรําลึกถึงพระพุทธศาสนา ตอไปดวย วัตถุมงคล จึงเปนที่ไดรับความนิยมและเปนความเชื่ออยางหนึ่งในสังคมไทย ถือไดวาวัตถุมงคลเปน สัญลักษณแหงความเชื่อและเปนเครื่องรางของขลัง เพื่อใหเกิดกําลังใจและความปลอดภัยในวิถีชีวิต โดยเชื่อวา จะเปนสิ่งคุมครองใหปราศจากภัยอันตรายทั้งมวล รวมทั้งกอใหเกิดความเมตตากรุณาแกผูพบเห็นดวยดวย ดั ง นั้ น วั ต ถุ ม งคลจึ ง เป น ที่ นิ ยมนํ า มาติ ดไว กั บ ตั ว เช น พระเครื่ อ งมาใส ส ร อยคอไว ใ นผู ค นทุ กเพศทุ กวั ย พฤติกรรมดังกลาวของคนไทยไดรับความนิยมมากขึ้น จนในปจจุบันวัตถุมงคลไดกลายเปนสวนหนึ่งของระบบ เศรษฐกิจหรือที่เรียกกันวา“พุทธพาณิชย”โดยปรากฏแหลงหรือยานในการแสดง จัดหนาย เชาวัตถุมงคลใน หลายสถานที่ ไมวาจะเปนในวัด ตลาดพระเครื่อง หรือแมกระทั่งในศูนยการคาเอง เกิดขึ้นเปนจํานวนมากทั้ง ในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ นั้นธุรกิจวัตถุมงคลไดเจริญขึ้นมีการจัดตลาดแสดงพระ เครื่องมากมายตามสถานที่ตางๆมีการประชาสัมพันธชุมนุมของเซียนพระ“นักเลงพระ”และมีกิจกรรมที่จะ กอใหเกิดการโชวพระเครื่องหรือวัตถุมงคลอื่นๆที่มีราคาและเปนการเพิ่มราคาของวัตถุมงคลเหลานั้นดวยการ จัดใหมีการประกวดวัตถุมงคลในรูปแบบที่หลากหลาย (นิติ กสิโกศล,2544: 32) อาจกลาวไดวาในสังคมธุรกิจวัตถุมงคลไดกลายเปนสวนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่มีการซื้อขายและ เกี่ยวโยงกับระบบความเชื่อ ความสัมพันธกับบุคคลทุกระดับนับตั้งแตพระสงฆ นายทหาร ขาราชการทุกระดับ บุคคลทั่วไปทุกอาชีพ ตลอดจนชาวบานตางก็มีความสนใจซื้อขาย แลกเปลี่ยนวัตถุมงคลกันอยางกวางขวาง ซึ่ง นับเปนปรากฏการณที่นาสนใจศึกษาอยางยิ่ง ฉะนั้นผูวิจัยจึงไดทําการศึกษา เรื่อง “ทัศนคติของประชาชนที่มี ตอการจํ า หน า ยวัต ถุ มงคลริม บาทวิ ถี”โดยเลือกพื้ นที่ บ ริ เวณท าพระจั น ทร ท า ชา ง และวัดมหาธาตุ ยุวราช รังสฤษฏิ์อันเปนแหลงยานชุมชนที่เกาแกและมีความสําคัญ ซึ่งมีการจําหนายวัตถุมงคลกันเปนจํานวนมากเรียง รายอยูตามบาทวิถีของถนนซึ่งแตกตางไปจากตลาดพระหรือยานการคาวัตถุมงคลอื่นๆ ที่มีลักษณะรูปแบบ เฉพาะทั้งนี้ก็เพื่อสํารวจความคิดเห็น ทาที ของประชาชนที่มีตอการจําหนายในแหลงดังกลาวอันจะนําไปสูการ ทําความเขาใจการจําหนายวัตถุมงคลในพื้นที่ดังกลาวอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีตอวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน (พ.ศ. 2546) 2. เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางในการจัดการจําหนายวัตถุมงคลรูปแบบที่เหมาะสมในอนาคต ขอบเขตของการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ( Sample sources ) โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางซึ่งผูวิจัยสุมโดย บังเอิญ (Accidental sampling) จากประชาชนโดยทั่วไปที่สัญจรไปมาและอยูในพื้นที่บริเวณทาพระจันทร ทาชาง และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ จํานวน 120 คน นิยามศัพท ทัศ นคติ ข องประชาชน หมายถึ ง ความรู สึ ก ความคิ ดเห็น ของประชาชนแตล ะบุ ค คลที่ มี ต อการ จําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี การจํ า หน า ยวั ต ถุ ม งคลริม บาทวิ ถี หมายถึ ง การจั ดจํ า หน า ยวั ต ถุ ม งคลประเภทต า งๆของผู จัด จําหนาย ณ ริมพื้นที่บาทวิถีในบริเวณทาพระจันทร ทาชาง และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ เครือ่ งมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถาม ซึ่งสรางขึ้นจากกรอบแนวคิดทฤษฎี และการทบทวน วรรณกรรม แบงออกเปน 5 ตอน ดังนี้


15

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ตอนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามหรือคุณลักษณะของกลุมตัวอยาง ประกอบไปด วย เพศ อายุ การศึ กษา รายได ต อเดือน รายจา ยต อเดื อน อาชี พ และข อคํ า ถามเกี่ ยวกั บ พฤติกรรมของผูตอบกับวัตถุมงคล ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอบทบาทของสถาบันศาสนาในปจจุบัน (พ.ศ. 2546) จํานวน 15 ขอ ตอนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน ( พ.ศ. 2546 ) จํานวน 15 ขอ ตอนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกับทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี จํานวน 18 ขอ ตอนที่ 5 เปนคําถามปลายเปด เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น จํานวน 2 ขอ คุณภาพของเครื่องมือวิจัย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ประกอบดวย 2 สวน คือ 1. การทดสอบความแมนตรงตามเนื้อหา (Content validity) ของมาตรวัดผูวิจัยไดใหคํานิยามเชิง ปฏิบัติการ (Operational definition) ภายใตกรอบแนวคิด (Conceptual definition) และจากงานวิจัยที่ เกี่ยวของของแตละประเด็นที่นํามาศึกษา จากนั้นจึงสรางมาตรวัดขึ้น โดยมาตรวัดดังกลาวไดรับการพิจารณา ตรวจแกไข และผานการวิจารณจากผูทรงคุณวุฒิ 2. ความเชื่ อถื อได (Reliability) ในการวิ จัยครั้ งนี้ มี มาตรวั ดจํ านวน 3 ชุ ด คื อ ทั ศ นคติ ข องกลุ ม ตัวอยางทีม่ ีตอบทบาทของสถาบันศาสนาในปจจุบัน ทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน และทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี ซึ่งผูวิจัยนํามาสรางเปนมาตรวัดตาม หลักการของลิเครท โดยผูวิจัยไดนํามาตรวัดดังกลาวไปทําการทดสอบกอนใชจริง (Pre-test) กับประชาชนที่ ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน เพื่อหาขอบกพรองของขอคําถามที่ใชตัวแปรดังกลาว และไดนําโปรแกรม สํ า เร็ จรู ปทางสถิ ติ ม าใช ในการคํ า นวณหาค า สั ม ประสิ ทธิ์ อัล ฟ า (Coefficient Alpha) ของครอนบาค (Cronbach) ซึ่งภาพรวมไดคา alpha = 0.9850 0.9438 และ 0.944 ตามลําดับ ซึ่งทั้งหมดมีคาที่สูงพอจึง สามารถนํามาใชในการศึกษาได การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลประกอบดวย 2 สวน ไดแก 1. การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โดยการใชโปรแกรมสํ าเร็ จรูปทางสถิติ ประมวลผลข อมูล จัดทํ า ตารางสถิ ติ เ พื่ อ นํ า เสนอและสรุ ปผลการวิ จัย สํ า หรั บ สถิ ติ ที่ใ ช ใ นการวิ เ คราะห ข อ มู ล จากแบบสอบถาม โดยวิเ คราะห ขอมูล พื้นฐานของกลุ มตัวอยางโดยใชค ารอยละ (Percent) และวิเคราะหขอมูลทัศนคติของ ประชาชน โดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. การวิเ คราะหข อมูลเชิงคุ ณภาพที่เป นขอคําถามปลายเปดใชวิธีส รุปสังเคราะหขอความจากข อ คําถามปลายเปด (Content analysis) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ผลการศึกษาในครั้งนี้ จะสะทอนภาพใหเห็นถึงทัศนคติของประชาชนที่มีตอวัตถุมงคลในฐานะที่ เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจของคนไทยในสังคมยุคปจจุบัน 2. ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ คาดวาจะสามารถชี้ใหเห็นถึงทัศนคติของประชาชนที่มีตอการจําหนาย วัตถุมงคลริมบาทวิถี 3. ผลการศึ กษาในครั้ง นี้ อาจใช เ ปน ข อมู ล ประกอบเบื้ องต น หรื อเป นแนวทางในการจัดการพื้ น ที่ สาธารณะดังกลาวของหนวยงานที่เกี่ยวของได 4. ผลการศึกษาในครั้งนี้ อาจใชเปนแนวทางในการศึกษาในสวนของพื้นที่อื่นๆ สําหรับผูสนใจไดใน โอกาสตอไป


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

16

ผลการศึกษา ผลการวิจัยปรากฏวา ตัวอยางกลุมนี้เปนเพศชายมีสัดสวนมากกวาเพศหญิงในจํานวนที่ไมแตกตางกัน มาก คือร อยละ 55.8 และ รอยละ 44.2 ตามลํ าดับ โดยสวนใหญ จะเปนผู ที่มีอายุอยูระหวา ง 26–40 ป (รอยละ 37.5 ) มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี (รอยละ 36.7) ซึ่งมีรายไดอยูระหวาง 5,001–15,000 บาท (รอยละ 56.7) และรายจายอยูระหวาง 3,500–6,000 บาท (รอยละ 40.0) สวนใหญประกอบอาชีพรับจางทั่วไป (รอยละ 37.5) สําหรับกิจกรรมของกลุมตัวอยางที่มีตอวัตถุมงคลและการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถีที่สําคัญ ไดแก กลุมตัวอยางที่เคยเลือกซื้อหรือหยุดดูชมวัตถุมงคลริมบาทวิถีมีจํานวน 41 คน (รอยละ 34.2) ในขณะที่ผูไมเคย มีจํานวน 79 คน (รอยละ 65.8) ความสนใจในการชมวัตถุมงคลของกลุมตัวอยางสวนใหญจะมีความสนใจเมื่อ ไดไปในสถานที่จําหนาย คือ 65 คน (รอยละ 54.2) และแหลงขอมูลที่พวกเขาที่ไดรับรูเกี่ยวกับวัตถุมงคลสวน ใหญจะมาจากสื่อสารมวลชน 40 คน (รอยละ 33.3) สวนทัศนคติของผูกลุมตัวอยางที่มีตอประเด็นตางๆใน เรื่องวัตถุมงคล อันไดแก บทบาทของสถาบันศาสนาในปจจุบัน กลุมตัวอยางมีทัศนคติในระดับที่ดี (เห็นดวย) ตอบทบาทของสถาบันศาสนาที่ปรากฏอยูในปจจุบัน ( x =3.83 S.D.=0.76 ) ทัศนคติที่มีตอวัตถุมงคลในภาวะ ปจจุบัน (พ.ศ. 2546) และทัศนคติที่มีตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี มีผลสรุปที่ตรงกันคือ กลุมตัวอยาง มีทัศนคติในระดับที่ไมแนใจตอประเด็นดังกลาว ( x =3.04 S.D.=1.06 และ ( x =3.17 S.D.=0.82 ) ตารางแสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทัศนคติของประชาชนที่มีตอบทบาทของสถาบันศาสนา ทัศนคติที่มีตอบทบาทของ สถาบันศาสนาในปจจุบัน

คาเฉลี่ย x

ศาสนาเปนที่พึ่งพิงทางจิตใจ ของมนุษย คําสอนศาสนามุงใหมนุษยประพฤติปฏิบัตติ นเปนคนดี ศาสนสถานเปนแหลงที่เคารพบูชาของผูนับถือศาสนา ศาสนสถานเปนแหลงรวบรวมศิลปะและโบราณวัตถุ ศาสนสถานเปนแหลงอบรมใหการศึกษาความรู ศาสนสถานเปนศูนยกลางในการทํากิจกรรมของชุมชน ศาสนาเปนสถานที่อนุเคราะหแกผูยากไร ศาสนถานเปนแหลงเผยแพรวัตถุมงคลประเภทตางๆ นักบวชในศาสนาเปนบุคคลที่ประพฤติชอบดีงาม นักบวชในศาสนามีสวนสําคัญตอการพัฒนาชุมชนและสังคม นักบวชในศาสนาเปนที่ปรึกษา และใหคําแนะนําที่ดี ศาสนามุงเผยแพรการปฏิบัติธรรมเขาถึงประชาชนอยางทั่วถึง พิธีกรรมทางศาสนาชวยใหบุคคลมีกําลังใจเปนที่พึ่งยามทุกข กิจกรรมทางศาสนาเปนหนาที่ของผูนับถือจะตองปฏิบัติตาม องคกรศาสนามีบทบาททางการเมืองในสังคม รวมเฉลี่ย

4.80 4.83 4.40 4.17 4.35 4.01 4.02 4.19 3.03 3.63 3.38 3.01 4.44 3.40 1.88 3.83

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน ( S.D. ) 0.50 0.46 0.75 0.78 0.71 0.76 0.76 0.95 0.91 0.82 0.84 0.81 0.68 1.02 0.78 0.76

การแปล ความหมาย เห็นดวยมากที่สุด เห็นดวยมากที่สุด เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก ไมแนใจ เห็นดวยมาก ไมแนใจ ไมแนใจ เห็นดวยมาก ไมแนใจ ไมเห็นดวย เห็นดวย

จากผลการศึกษาในตารางแสดงทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอบทบาทของสถาบันศาสนาในปจจุบัน (พ.ศ.2546) ประมวลสรุปดังนี้ 1. พิจารณาดานบทบาทของศาสนสถานและองคกร พบทัศนคติของกลุมตัวอยางในระดับที่ เห็นดวยอย างยิ่ง คือ ศาสนาเป นที่พึ่งพิงทางจิตใจของมนุษย ( x =4.80 S.D.=0.50)และทัศนคติในระดับ ที่ เห็ น ด วย ซึ่ ง ปรากฏในหลายด า น คื อ ศาสนสถานเป น แหล ง ที่ เ คารพบู ช าของผู นั บ ถื อศาสนา ( x =4.40


17

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

S.D.=0.75) เปนแหลงอบรมใหการศึกษาความรู ( x =4.35 S.D.=0.71)เปนแหลงเผยแพรวัตถุมงคลประเภท ตางๆ ( x =4.19 S.D.=0.95 ) แหลงรวบรวมศิลปและโบราณวัตถุ ( x =4.17 S.D.=0.78) เปนสถานที่อนุเคราะห แกผูยากไร ( x =4.02 S.D.= 0.76) เปนศูนยกลางในการทํากิจกรรมของชุมชน ( x =4.01 S.D.=0.76) และ ทัศนคติในระดับที่ไมเห็นดวย คือ องคกรศาสนามีบทบาททางการเมืองในสังคม ( x =1.88 S.D.=0.78) จึงสรุป ไดวากลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติที่ดี (ในระดับที่เห็นดวย)ตอบทบาทของสถาบันศาสนาในดานศาสนสถาน และองคกรศาสนาที่เปนอยูในปจจุบัน 2. พิ จารณาดานบทบาทของนักบวชในศาสนา พบทัศ นคติ ของกลุ มตัวอย างในระดับ ที่ เห็นดวย คือ นักบวชในศาสนามีสวนสําคัญตอการพัฒนาชุมชนและสังคม ( x =3.63 S.D.=0.82) และทัศนคติ ในระดับที่ไมแนใจ คือ นักบวชเปนที่ปรึกษาและใหคําแนะนําที่ดี ( x =3.38 S.D.=0.84)นักบวชเปนบุคคลที่ ประพฤติชอบดีงาม ( x =3.03 S.D.= 0.91)จากผลการศึกษาจึงสะทอนทัศนคติในระดับที่ไมแนใจตอบทบาท ของนักบวชที่ปรากฏใหเห็นอยูในปจจุบัน 3. พิจารณาดานศาสนธรรมคําสอนทางศาสนา พบทัศนคติในระดับที่เห็นดวยอยางยิ่ง คือ คําสอนทางศาสนามุงใหมนุษยประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี ( x =4.83 S.D.=0.46) อยางไรก็ตามกลุมตัวอยาง สวนใหญก็มีทัศนคติในระดับที่ไมแนใจ ตอการที่ศาสนามุงเผยแพรการปฏิบัติธรรมใหเขาถึงประชาชนไดอยาง ทั่วถึง ( x =3.01 S.D.=0.81) 4. พิจารณาดานศาสนพิธี กลุมตัวอยางสวนใหญ มีทัศนคติในระดับที่เห็นดวย คือ พิธีกรรม ทางศาสนาชวยใหบุคคลมีกําลังใจ และเปนที่พึ่งพิงยามทุกข ( x =4.44 S.D.=0.68)ในขณะที่กลุมตัวอยางมีก็มี ทัศนคติในระดับที่ไมแนใจวา กิจกรรมทางศาสนาเปนหนาที่ของผูนับถือศาสนาจะตองปฏิบัติตาม ( x =3.40 S.D.=1.02) จากผลการศึกษาทั้งหมดจึงสรุปไดวากลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติที่ดี (เห็นดวย)ตอบทบาทของ สถาบันศาสนาในปจจุบัน (พ.ศ.2546) ( x =3.83 S.D.=0.76) ตารางแสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทัศนคติของประชาชนที่มีตอวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน ทัศนคติที่มีตอวัตถุมงคล ในภาวะปจจุบัน มีความเชื่อและศรัทธาวัตถุมงคลที่ปรากฏในประเภทตางๆ เชน พระเครื่อง สายสิญจน ผายันต ฯลฯ วัตถุมงคลเปนสิ่งพึ่งพิงทางจิตใจ เชื่อในเรื่องปาฏิหาริยของวัตถุมงคล วัตถุมงคลชวยปกปองคุมครอง ภัยอันตรายตางๆ นิยมมีวัตถุมงคลติดตัวไวตลอด นิยมวัตถุมงคลที่มีชื่อเสียงจากวัดหรือสํานักตางๆ วัตถุมงคลเปนเครื่องประดับรางกายอยางหนึ่ง สักการะและเคารพวัตถุมงคลเปนประจํา มีความเชื่อในเรื่องการบนบานสานกลาวกับวัตถุมงคล คนที่นิยมบูชาวัตถุมงคล ตองเปนคนดีมีคุณธรรม นิยมวัตถุมงคลสําหรับบูชาทุกชนิดเพราะศรัทธา นิยมวัตถุมงคลสําหรับบูชาเฉพาะที่ใหความเคารพนับถือ นิยมสะสมวัตถุมงคลสําหรับบูชา เมื่อไปยังวัด/สํานักตางๆ จะตองไป ณ จุดเชาวัตถุมงคลเสมอ วัตถุมงคลเปนสิ่งที่จัดสรางขึ้นเพื่อหารายไดใหกับวัด/สํานัก รวมเฉลี่ย

คาเฉลี่ย x 3.08

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน ( S.D. ) 1.07

4.15 2.57 3.00 3.47 3.00 2.76 3.27 2.48 2.81 2.28 3.45 1.81 2.95 4.58 3.04

0.85 1.06 1.01 1.06 1.23 0.89 1.12 1.13 1.44 1.01 1.08 1.09 1.17 0.80 1.06

การแปล ความหมาย ไมแนใจ เห็นดวยมาก ไมแนใจ ไมแนใจ ไมแนใจ ไมแนใจ ไมแนใจ ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวยมากที่สุด ไมแนใจ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

18

จากผลการศึ ก ษาในตารางแสดงทั ศ นคติ ข องกลุ ม ตั ว อย า งที่ มี ต อ วั ต ถุ ม งคลในภาวะป จ จุ บั น (พ.ศ.2546) ประมวลสรุปไดดังนี้ 1. ดานความเชื่อเกี่ยวกับวัตถุมงคล พบทัศนคติของกลุมตัวอยางในระดับที่เห็นดวย คือ วัตถุ มงคลเปนสิ่งที่พึ่งพิงทางจิตใจ ( x =4.15 S.D.=0.85) และทัศนคติในระดับที่ไมแนใจ คือ มีความเชื่อและศรัทธา วัตถุมงคลที่ปรากฏในประเภทตางๆ เชน พระเครื่อง สายสิญจน ผายันต ฯลฯ ( x =3.08 S.D.=1.07) วัตถุ มงคลชวยปกปองคุมครองภัยอันตรายตางๆ ( x =3.00 S.D.=1.01) ความเชื่อในเรื่องปาฏิหาริยของวัตถุมงคล ( x =2.57 S.D.=1.06 ) และทัศนคติในระดับที่ไมเห็นดวย คือ ความเชื่อในเรื่องการบนบานสานกลาวกับวัตถุ มงคล ( x =2.48 S.D.=1.13) จากทัศนคติดังกลาวจึงสะทอนความไมแนใจของกลุมตัวอยางที่มีตอความเชื่อ เกี่ยวกับวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน 2. ดานความนิยมในตัววัตถุมงคล พบทัศนคติของกลุมตัวอยางในระดับที่ไมแนใจในหลาย ประเด็น คือ นิยมมีวัตถุมงคลติดตัวไวตลอด ( x =3.47 S.D.=1.06) นิยมวัตถุมงคลสําหรับบูชาเฉพาะที่ใหความ เคารพนับถือ ( x =3.45 S.D.=1.08) สักการะและเคารพวัตถุมงคลเปนประจํา ( x =3.27 S.D.=1.12) นิยมวัตถุ มงคลที่มีชื่อเสียงจากวัดหรือสํานักตางๆ ( x =3.00 S.D.=1.23) ทัศนคติในระดับที่ไมเห็นดวย คือ เมื่อไปยังวัด หรือสํานักตางๆจะตองไป ณ จุดเชาวัตถุมงคลเสมอ ( x =2.95 S.D.=1.17) นิยมวัตถุมงคลสําหรับการบูชาทุก ชนิดเพราะศรัทธา ( x =2.28 S.D.=1.01) นิยมสะสมวัตถุมงคลสําหรับบูชา ( x =1.81 S.D.=1.09) ทัศนคติ ดังกลาวขางตนจึงแสดงถึงความไมแนใจในดานความนิยมวัตถุมงคลของกลุมตัวอยาง 3. ในประเด็นอื่นๆ พบทัศนะคติในระดับที่เห็นดวยอยางยิ่ง คือ วัตถุมงคลเปนสิ่งที่จัดสราง ขึ้นเพื่อหารายไดใหกับวัดหรือสํานักตางๆ ( x =4.58 S.D.=0.80) ทัศนคติที่พบในระดับที่ไมแนใจ คือ คนที่นิยม บูชาวัตถุมงคลตองเปนคนดีมีคุณธรรม ( x =2.81 S.D.=1.44)และวัตถุมงคลเปนเครื่องประดับรางกายอยางหนึ่ง ( x =2.76 S.D.=0.89) จากความคิดเห็นดั งกลาวของกลุมตัวอยางทั้งหมดที่มีต อวัตถุมงคลในภาวะปจจุบัน (พ.ศ. 2546) จึงจัดอยูในระดับความไมแนใจ ( x =3.04 S.D.=1.06) ตารางแสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทัศนคติของประชาชนที่มีตอ การจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี ทัศนคติที่มีตอการจําหนาย วัตถุมงคลริมบาทวิถี มีความเหมาะสมของสถานที่จําหนาย ไมไดรับความสะดวกในการสัญจรไปมา สงผลบวกและลบตอทัศนียภาพในพื้นที่ เปนเอกลักษณของพื้นที่ วัตถุมงคลในบริเวณที่จําหนายเปนของที่มีคุณภาพ วัตถุมงคลของผูจําหนายอาจเปนของไมแทจริง (ของปลอม) เปนอาชีพของผูจําหนายซึ่งยากแกการปรับเปลี่ยน เปนสถานที่นัดหมายพบปะของบุคคลในแวดวงการวัตถุมงคล เปนสถานที่ที่มีความหลากหลายในการเลือกซื้อ เปนแหลงรวมของผิดกฎหมาย (เชน การลักขโมยจากผูอื่นฯ ) เปนแหลงแสดง/รวบรวม/เผย แพรศิลปะวัตถุอีกแหลงหนึ่ง เปนแหลงทางเลือกในการเลือกซื้อวัตถุมงคลนอกจากวัด/ สํานักตางๆ ไดรับความรูจากการเลือกชมวัตถุมงคลจากผูจําหนาย

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน x ( S.D. ) 1.61 0.84 1.73 0.73 3.83 0.94 3.91 0.92 2.93 0.71 2.73 0.71 2.92 1.07 4.28 0.72 4.13 0.73 2.82 0.65 3.63 0.91 4.09 0.89 3.34

0.89

การแปล ความหมาย ไมเห็นดวย เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก ไมแนใจ ไมแนใจ ไมแนใจ เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก ไมแนใจ เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก ไมแนใจ


19

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ทัศนคติที่มีตอการจําหนาย วัตถุมงคลริมบาทวิถี ราคาของวัตถุมงคลมีราคาสูงจากความเปนจริงที่จําหนายใน วัด/สํานักตางๆ ราคาของวัตถุมงคลมีราคาต่ํากวาความเปนจริงที่จําหนายใน วัด/สํานักตางๆ เปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไดอีกรูปแบบหนึ่ง ผูจําหนายวัตถุมงคลริมเปนบุคคลที่มีความรูในเรื่องของวัตถุ มงคลเปนอยางดีนาเชื่อถือ วัดและแหลงยานชุมชนในบริเวณดังกลาวมีผลตอการเปน สถานที่จําหนายวัตถุมงคล รวมเฉลี่ย คือ

คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การแปล x ( S.D. ) ความหมาย 2.73 0.70 ไมแนใจ 2.84

0.64

ไมแนใจ

3.55 2.90

1.04 0.80

เห็นดวยมาก ไมแนใจ

3.12

1.01

ไมแนใจ

3.17

0.82

ไมแนใจ

จากตารางแสดงทัศนคติของกลุมตัวอยางที่มีตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถีประมวลสรุปไดดังนี้ 1. พิจารณาจากแหลงและสถานที่จําหนาย พบทัศนคติในระดับที่เห็นดวย คือ ไมไดรับความ สะดวกในการสัญจรไปมา ( x =1.73 S.D.=0.73) เปนสถานที่นัดหมายพบปะของบุคคลในวงการ ( x =4.28 S.D.= 0.72) เปนแหลงที่มีความหลากหลายในการเลือกซื้อ ( x =4.13 S.D.=0.73) เปนแหลงทางเลือกในการ เลือกซื้อวัตถุมงคลนอกเหนือจากวัดและสํานักตางๆ ( x =4.09 S.D.=0.89) เปนเอกลักษณของพื้นที่ ( x =3.91 S.D.=0.92) สงผลบวกและลบตอทัศนียภาพในพื้นที่ ( x =3.83 S.D.=0.94) เปนแหลงแสดงรวบรวมและเผยแพร ศิ ล ปะวั ต ถุ ได อีก แหล ง หนึ่ ง ( x =3.63 S.D.=0.91)เป น สถานที่ ท องเที่ ยวเชิ ง วั ฒ นธรรมได อีกรู ป แบบหนึ่ ง ( x =3.55 S.D.=1.04)ทัศนคติในระดับที่ไมแนใจ คือ เปนแหลงรวมของผิดกฎหมาย (เชน การลักขโมยมา) ( x =2.82 S.D.=0.65)วั ดและแหลงยานชุ มชนในบริเวณดั งกลาวมีผลตอการเปนสถานที่จําหนายวั ตถุมงคล ( x =3.12 S.D.=1.01) และพบทัศนคติในระดับที่ไมเห็นดวยคือ มีความเหมาะสมของสถานที่จําหนาย ( x =1.61 S.D.= 0.84) 2. พิจารณากับตัววัตถุมงคลที่วางจําหนาย พบทัศนคติในระดับที่ไมแนใจเกี่ยวกับตัววัตถุ มงคล คือวัตถุมงคลในบริเวณที่จําหนายเปนของมีคุณภาพ ( x =2.93 S.D.=0.71) วัตถุมงคลอาจเปนของไม แทจริง(ของปลอม) ( x =2.73 S.D.=0.71) ราคาของวัตถุมงคลมีราคาสูงจากความเปนจริงที่จําหนายในวัดหรือ สํานักตางๆ ( x =2.73 S.D.=0.70) และราคาของวัตถุมงคลมีราคาต่ํากวาความเปนจริงที่จําหนายในวัดหรือ สํานักตางๆ ( x =2.84 S.D.= 0.64) 3. พิจารณาจากผู จําหนาย เชน เดียวกับ ขออื่นๆ พบทัศนคติ ในระดับ ที่ไมแนใจเกี่ยวกั บ ผูจําหนายในประเด็นตางๆ คือ ไดรับความรูจากการเลือกชมวัตถุมงคลจากผูจําหนาย ( x =3.34 S.D.=0.89) เปนอาชีพของผูจําหนายซื้อยากแกการปรับเปลี่ยน ( x = 2.92 S.D.=1.07) และผูจําหนายมีความรูในเรื่องวัตถุ มงคลเปนอยางดีนาเชื่อถือ ( x =2.90 S.D.=0.80) จากผลการศึกษาขางตนกลุมสรุปไดวากลุมตัวอยางมีทัศนคติในระดับไมแนใจที่มีตอการจําหนายวัตถุ มงคลริมบาทวิถี ( x =3.17 S.D.=0.82) นอกจากนี้กลุมตัวอยางมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถีโดยประมวลโดยสรุป คือ ภาพลั กษณข องการจํา หน ายวัต ถุ มงคลริม บาทวิ ถีที่ปรากฏอยู ในป จจุ บัน มีค วามเกี่ ยวพัน กับ ธุร กิ จ มากขึ้น หรือที่เรียกวา“พุทธพาณิชย”เพราะมีการจําหนายเปนจํานวนมาก เปนการเนนในเชิงวัตถุนิยมมาก เกินไป บุคคลควรหันมาสนใจในคําสอนของศาสนามากกวา นอกจากนี้ยังอาจเปนภาพติดลบในแงการนําของ ศักดิ์สิทธิ์ และเปนที่เคารพบูชามาจําหนายบริเวณริมบาทวิถีซึ่งสวนใหญวางกับพื้น สงผลตอความนาเชื่อถือของ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

20

วัตถุมงคลที่นํามาจําหนายและทายที่สุดสงผลกระทบตอการสัญจรไปมาของผูคนในพื้นที่ซึ่งเปนแหลงชุมชนที่มี ผูคนเปนจํานวนมาก ขอเสนอแนะตอการจําหนายวัตถุมงคลริมบาทวิถี สรุปไดออกเปน 2 แนวทาง คือถาเปนเปนการขาย ริมบาทวิถีอยางเดิม ก็ควรที่จะมีการจัดระเบียบตามแนวจุดขายใหเปนระเบียบเรียบรอยมากกวาเดิม และอีก แนวทางหนึ่งคือเสนอใหมีการจัดตั้งเปนตลาดวัตถุมงคลที่เปนกิจจะลักษณะ นอกจากนี้ผูตอบแบบสอบถามได เสนอใหมีการจัดทําใบอนุญาตในการจําหนายวัตถุมงคล รวมทั้งมีการตรวจสอบความถูกตองที่ไปที่มาของวัตถุ มงคล และความยุติธรรมตอผูซื้อ ซึ่งทางราชการควรเขามามีสวนสําคัญในการดูแลพื้นที่ดังกลาวดวย. บรรณานุกรม กาญจนาคพันธุ (นามแฝง) .(2542). คอคิดขอเขียนชุดใหม เลม 2 ชุดเครื่องรางโหรศาสตร. กรุงเทพฯ : มูลนิธิขุนวิจิตรมาตรา. ฉันทิชย กระแสสินธุ. (2514). พระเครื่อง .กรุงเทพฯ : สัตยการพิมพ. นิติ กสิโกศล. (2544). “พระเครื่อง : ความศรัทธาในสังคมไทย” ใน 30 ป สถาบันไทยคดีศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พุทโธ สุโขทัย. (ม.ป.ป.). เครื่องรางของขลัง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมเจมีน.ี่ วิเทศกรณีย (นามแฝง ) .(2513). พระเครื่องและของขลัง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพบันดาลสาสน. ศรีศักร วัลลิโภดม.(2537). พระเครื่องในเมืองสยาม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน. ----------------------------------------------------------


21

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

กระบวนการกลายเปน “เด็กวัด”1 อิทธิพร ขําประเสริฐ2

ที่มาและประเด็นสําคัญของการวิจัย วั ดนั บ เป น สถาบั น ทางสั ง คมที่ มี บ ทบาทต อสั ง คมไทยในหลายๆ ด า น อาทิ การเป น แหล ง หรื อ ศูนยกลางในการทํากิจกรรมของชุมชน เปนโรงเรียน เปนสถานที่ใหคําปรึกษาแหลงพึ่งพิงทางจิตใจ เปนสถาน สงเคราะหและเปนที่พํานักพักพิงสําหรับผูยากจน คนชรา เด็กกําพรา เปนตน ภายในวัดแหงหนึ่งๆจะประกอบ ไปดวยกลุมบุคคลหลายกลุมที่อาศัยอยูภายในวัด ที่สําคัญ คือ พระภิกษุสงฆ สามเณร ไวยาวัจกร ลูกศิษยวัด หรือเด็กวัด3 สําหรับเด็กวัดหรือลูกศิษยวัดในอดีตนัน้ เกิดขึ้นจากการที่ครอบครัวตางๆมักนิยมสงบุตรหลานของตน ไปเปนศิษยวัด ก็เพราะคาดหวังวาจะไดใหบุตรหลานของตนมีการศึกษาจะไดรับการอบรมจากพระภิกษุสงฆให เปนผูมีความรอบรู ความชํานาญทั้งในทางโลก เชน การฝกฝนวิชาชีพ อาทิ ชางไม ชางศิลป การเยียวยา รักษาโรค และอื่นๆ รวมทั้งในทางธรรมคือ จะไดเปนผูมีความสุขุมรอบคอบ มุงนอมนําหลักธรรมที่ไดศึกษามา เปนเครื่องมือในการกําหนดแนวทางเตือนสติในการดําเนินชีวิตประจําวัน เด็กวัดเหลานั้นอาจเปนญาติของ พระภิกษุสงฆ หรือบางคนอาจเปนเด็กกําพรา หรืออาจมีครอบครัวที่อยูหางไกลจากวัด เด็กวัดหรือศิษยวัดในอดีตมักจะเปนเด็กที่มีอายุระหวาง 10 ถึง 16 ป บิดามารดาจํานวนไมนอยจะถือ กันวาการสงบุตรหลานไปเปนศิษยวัดชั่วระยะเวลาหนึ่งนั้น ยอมจะชวยยกฐานะของเด็กใหดีขึ้น เด็กๆจะไดรับ การอบรมใหถือศีลเทาๆกับคนธรรมดาทั่วไป คือศีล 5 และไดรับการขัดเกลาใหประพฤติตนอยูในศีลธรรมอันดี งาม ในบางกรณีจะตองเขารวมพิธีทางศาสนากับพระภิกษุสามเณรดวย จากการศึกษาของ Howard Keva Kaufman (1960 อางใน ทินพันธุ นาคะตะ 2543 : 12–13) กลาววามูลเหตุที่จูงใจชาวชนบทสงลูกหลานของ ตนไปเปนศิษยวัดก็คือ 1. ครอบครัวไมสามารถใหการดูแลหรือเลี้ยงดูเด็ก 2. ตองการใหไดบุญ 3. ตองการใหอยูในสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม บางครอบครัวใหเหตุผลวา ทําใหเกิดความหวังไดวาบุตรหลานของตนจะไดบวชเมื่อถึงเวลาอันควร แตในปจจุบันการใชวิธีนี้พบเห็นอยูนอยมาก อยางไรก็ดีในสภาพปจจุบันศิษยวัดหรือเด็กวัด ที่กลาวมาขางตนกลับไมพบหลงเหลืออยูแลวทั้งนี้สืบ เนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาของประเทศ ทําใหบทบาทของวัดที่มีตอศิษยวัดหรือเด็กวัด ต องแปรเปลี่ ยนไป โดยวั ดจะมุ ง เน น การจั ดการศึ กษาให แ ก กลุ ม พระภิ กษุ ส งฆ ส ามเณรเป น หลั กมากขึ้ น ตามนโยบายของกรมการศาสนา เด็กวัดจึงตองเขาไปเรียนในระบบโรงเรียนที่เปนทางการทั้งหมด 1

รายงานวิจัยชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน 3 คําวา เด็กวัดหรือลูกศิษยวัดมีความหมายเดียวกัน สําหรับภาษาในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยจะใชคําวา“เด็กวัด”เปนหลัก


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

22

ดวยความเปลี่ยนแปลงนี้เองคําวาเด็กวัดที่มีความหมายตามที่กลาวมาขางตนนั้นจึงไมหลงเหลือใหพบ เห็นอยู หากแตในปจจุบันความหมายหรือลักษณะของเด็กวัดสวนใหญเปนเพียง เด็กที่เขามาใชวัดเปนเพียงที่ พักอาศัย สําหรับการเลาเรียนหนังสือในโรงเรียน หรือประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรุงเทพมหานคร มีกลุ มเด็ กหนุมจากต างจังหวัดเปน จํานวนมากที่พํา นักอยูในวัด ซึ่ง มีทั้งนักเรียนในระดับมั ธยมศึกษา และ อุดมศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ผวู ิจัยจึงสนใจที่จะศึกษานิยามคําวา “เด็กวัด4 ”ในความหมายปจจุบันวามีลักษณะ เปนอยางไร โดยมุงไปที่กลุมเด็กวัดมาจากตางจังหวัดเพื่อใชวัดเปนที่อาศัย ซึ่งจะสํารวจถึงชีวิตและเอกลักษณ ตั ว ตนของพวกเขาผ า นกิ จ กรรมต า งๆในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น ในฐานะที่ ถู กนิ ยามว า เป น เด็ กวั ดใน ความหมายที่แตกตางจากอดีตที่มีมา วัตถุประสงคในการวิจัย เพื่อสะทอนชีวิต และสถานภาพความเปนเด็กวัดในปจจุบันของสังคม โดยมีกลุมเปาหมายคือกลุมเด็ก วัดที่มาจากตางจังหวัดหรือในปริมณฑลซึ่งอาศัยวัดเปนสถานที่พํานักอาศัยในกรุงเทพมหานคร โดยที่งานชิ้นนี้ มุงดูกระบวนการกลายมาเปนเด็กวัด ทั้งนี้ผูวิจัยไดนําแนวคิดของ Howard S.Backer (1993) ในการศึกษา เรื่อง กระบวนการกลายเปนนักเสพกัญชา (Becoming Marihuana) มาดัดแปลงใหใกลเคียงมากที่สุดเพื่อให เขากับการศึกษาในครั้งนี้ ใน 3 ประเด็น คือ 1) เงื่อนไขที่นํามาสูการเปนเด็กวัด 2) การเขาสูการเปนเด็กวัด 3) การธํารงเอกลักษณของการเปนเด็กวัดผานกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1) การศึกษาในครั้งนี้จะชวยใหเกิดความเขาใจในความหมายของคําวา“เด็กวัด”โดยชี้เฉพาะไปที่ กลุม เด็กที่เข ามาพํา นักในวั ดเพื่ อมาศึกษาเลาเรียนหรื อประกอบอาชีพ ภายนอกวัด ในสภาพ ปจจุบันวามีลักษณะอยางไร 2) ทราบถึงกระบวนการกลายเปนเด็กวัด แบบแผนชีวิตของเด็กวัดในปจจุบัน รวมถึงการใหนิยาม ตัวตนของกลุมเด็กวัด 3) อาจเปนแนวทางใหผูที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวไดศึกษาในโอกาสตอไปในประเด็นอื่นๆเกี่ยวกับ เด็กวัดเพื่อสรางความชัดเจนใหมากขึ้นจากการศึกษาในมิติอื่นๆ

4

อยางไรก็ดีความหมายของคําวาเด็กวัดที่เปนที่เขาใจของผูคนทั่วไปในปจจุบันนับมีความหมายคลุมเครือและพบเห็น ไดหลายลักษณะขึ้นอยูกับมุมมองของแตละคนซึ่งสามารถจัดกลุมกวางๆไดดังนี้ 1. เด็กวัด ที่หมายถึง บุคคลทั่วไปที่มีอายุตั้งแตวัยเด็กไปจนถึงวัยชรา โดยเปนผูรับใชวัดในลักษณะตางๆ เชน การชวยทําความสะอาดโบสถ ศาลา กุฎี สถานที่ตางๆ หรืออาจรวมเรียกไดวาเปนเจาหนาที่ของวัด ซึ่งพักอาศัยอยูที่ วัดหรือใกลเคียงวัด 2. เด็กวัด ที่หมายถึง เด็กผูที่มารับใชวัดในดานตางๆ แตไมไดมาอาศัยประจําอยูในวัด โดยที่เด็กเหลานี้อาจ อยูในบริเวณชุมชนใกลเคียงวัด 3. เด็กวัด ที่หมายถึง บรรดาบุคคลทั่วไปที่นิยมมาทําบุญ ฟงเทศน ฟงธรรมบอยครั้ง จนถูกนิยามวาเปนลูก ศิษยวัดหรือเด็กวัดนี้ ความหมายขางตนทั้ง 3 ความหมายผูวิจัยไดมาจากการสอบถามพระสงฆและกลุมเด็กวัดแตละแหง สําหรับ การศึกษาในครั้งนี้ผูวิจัยชี้เฉพาะไปที่เด็กวัดที่อาศัยประจําอยูในวัด เด็กกลุมนี้สวนใหญมาจากตางจังหวัดหรือปริมณฑล โดยมีจุดมุงหมายเพื่อมาศึกษาเลาเรียนหรือประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครซึ่งก็ถือเปนเด็กวัดอีกประเภทหนึ่งที่ผูคน ทั่วไปคุนเคย


23

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง กระบวนการกลายเปน“เด็กวัด” ผูวิจัยใชกรอบทฤษฎีที่เปนแนวทางในการศึกษาคือ กรอบทฤษฎี ปฏิ สั ง สรรค สั ญ ลั กษณ (Symbolic Interaction) โดยอาศั ยแนวคิ ด เรื่ อง อั ต ตะ (Self) และ เอกลั กษณ (Identity) มาพิ จารณาถึ ง การนิ ยามให ค วามหมายตั ว เองของเด็ กวั ด ในฐานะที่ คํ า ว า เด็ กวั ด ถูกจัดเปนตําแหนงหรือสถานภาพหนึ่งในสังคม ในบทนี้จึงนําเสนอแนวคิดพื้นฐานโดยสรุปของทฤษฎีปฏิสัง สรรค สั ญ ลั กษณ และแนวคิ ดเกี่ ยวกั บ อั ต ตะ และเอกลั กษณอัน มี ร ากฐานมากจากแนวทฤษฎี ปฏิ สั ง สรรค สัญลักษณ ดังนี้ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีปฏิสังสรรคสัญลักษณ กรอบแนวคิดการปฏิสังสรรคสัญลักษณ (Symbolic Interactionism) เปนแกนหลักของสังคมวิทยา แนวการตีความ (interpretive sociology) หรือสังคมวิทยาชีวิตประจําวัน (sociology of everyday life) ซึ่ ง เน น ความสํ า คั ญ ของความหมายในเชิ ง อั ต วิ สั ย (subjective meaning) มุ ง ให ค วามสนใจในการรั บ ประสบการณ การสังเกต ทําความเขาใจ พรรณนา วิเคราะหและสื่อสารเกี่ยวกับผูคนที่กําลังมีปฏิสังสรรคใน สถานการณตามธรรมชาติที่เปนอิสระจากการเขาแทรกแซงจากผูศึกษา พยายามทําความเขาใจและวิเคราะห สถานการณทางสังคมจากจุดยืนของสมาชิกทางสังคมวามีความรูสึก ความคิด ความเชื่อ คานิยม อยางไรใน สถานการณ หนึ่ ง ๆหรื อกล า วได วา เป น ความหมายตามสามั ญ สํ า นึ ก (commonsense meanings) หรื อ ความหมายในชีวิตประจําวัน (everyday life meanings) ที่ใชโดยสมาชิกของสังคมนั้นเอง บุ ค คลซึ่ ง มี อิทธิ พ ลอย า งสํ า คั ญ ในการวางรากฐานแนวคิ ดของทฤษฎี ปฏิ สั ง สรรค สั ญ ลั ก ษณ คื อ George Herbert Mead (1863-1931) นักจิตวิทยาสังคมผูที่อธิบายถึงการอุบัติขึ้นของจิตและอัตตะผานการ ปฏิสังสรรคทางสังคมในเชิงสัญลักษณ แนวคิด ผลงานและขอเขียนของ Mead ไดถูกสืบสานขยายความตอ โดยบรรดาศาสยานุศิษยทั้งหลาย โดยมี Herbert Blumer เปนผูมีบทบาทหลักในการสรางความสมบูรณใหกับ แนวทฤษฎีการปฏิสังสรรคสั ญลักษณ Blumer ไดนิ ยามทั ศนภาพการปฏิสั งสรรควา ประกอบด วยความคิ ด พื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. มนุษยกระทําตอสิ่งตางๆบนพื้นฐานความหมายที่สิ่งนั้นมีตอตัวเขา 2. ความหมายของสิ่งตางๆไดมาจากกระบวนการปฏิสังสรรคสัญลักษณที่บุคคลเขารวมดวย (เปนการ ปฏิสังสรรคระหวางบุคคลนั้นๆกับบุคคลอื่น ) 3. ความหมายตางๆสามารถที่จะถูกเลือกสรร ปรับเปลี่ยน ตรวจสอบ ใหความหมายใหมโดยบุคคล (ผูกระทํา) ตามสถานการณที่เขาตองเผชิญหนา จากพื้นฐานของขอเสนอเชิงแนวคิด 3 ประการขางตน Blumer ยังไดอธิบายเกี่ยวกับธรรมชาติของ สังคมมนุษย ,การปฏิสังสรรค วัตถุ และการจัดระเบียบทางสังคมไวดังนี้ (Blumer 1969 : 6–12 อางในจันจีรา จาติเกตุ 2544 : 6–7) ธรรมชาติของสังคมมนุษย (nature of human society) สังคมมนุษยประกอบดวยมนุษยผูเขารวมในการกระทําซึ่งการกระทํานี้ประกอบไปดวยกิจกรรมตางๆ มากมายที่ปจเจกบุคคลกระทําขึ้นมาในขณะที่เผชิญหนากับบุคคลอื่นหรือเผชิญกับสถานการณตางๆ ดังนั้น ชีวิตของสังคมมนุษยจําเปนตองประกอบไปดวยกระบวนการตอเนื่องเกี่ยวกับการประสานกิจกรรมตางๆของ สมาชิกในสังคมเขาดวยกัน กิจกรรมอันตอเนื่องที่สลับซับซอนนี้เองสรางและแสดงโครงสรางขึ้นมา ธรรมชาติของการปฏิสังสรรคทางสังคม (nature of social interaction) การปฏิ สั ง สรรค ในสั ง คมมนุ ษ ย ป ระกอบด วย 2 ลั กษณะ คื อ การปฏิ สั ง สรรค โ ดยใช สั ญ ลั กษณ (symbolic Interaction) และการปฏิสังสรรคที่ไมใชสัญลักษณ (non- symbolic Interaction) การปฏิสังสรรค โดยใชสัญลักษณมีความเกี่ยวของกับการตีความหมายของการกระทํา สวนการปฏิสังสรรคโดยไมใชสัญลักษณ จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลทําการตอบโตโดยตรงตอการกระทําของผูอื่น โดยปราศจากการตีความหมายการกระทํา


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

24

ธรรมชาติของโลกวัตถุ (nature of object) จากจุดยืนทางความคิดแนวปฏิสังสรรคสัญลักษณ โลก (worlds) ที่ปรากฏตอมนุษยประกอบไปดวย “วัตถุ” (object) ที่เปนผลิตผลจากการปฏิสังสรรคสัญลักษณ วัตถุไดแกสิ่งใดก็ตามที่อาจถูกบงชี้ถึงได เชนวัตถุ ทางกายภาพที่มนุษยสามารถมองเห็นมนุษยคนอื่นๆ องคการตางๆ วัตถุที่เปนนามธรรม เชน อุดมคติ ความ ซื่อสัตย ธรรมชาติของวัตถุทุกชนิดประกอบดวยความหมายที่มันมีตอบุคคลที่อางถึงวัตถุนั้น ความหมายของ วัตถุหนึ่งๆ เปนความหมายรวมระหวางบุคคลที่รวมปฏิสังสรรคในชีวิตประจําวันหรือกลุมเดียวกันที่อยูในโลกใบ เดียวกัน ธรรมชาติของการจัดระเบียบทางสังคม (nature of social organization) การจัดระเบียบทางสังคมมีลักษณะไมถาวรและมีการเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาการจัดระเบียบทาง สังคมจึงเปนการประสานพฤติกรรมของบุคคลในการปฏิสังสรรคของบุคคลในกลุม กลา วโดยสรุ ปจากแนวคิดนี้คือ การให ความสํา คัญกั บธรรมชาติข องมนุษย ในฐานะที่เป นผูกระทํ า (actor) ต อสิ่ ง ต า งๆ บนพื้ น ฐานการตี ค วามของสิ่ ง เหล า นั้ น โดยมองว า ธรรมชาติ ข องโลกเชิ ง ประจั ก ษ ซึ่งปรากฏในสังคมมนุษยที่ประกอบไปดวยวัตถุ ที่เปนผลผลิตจากการปฏิสังสรรคสัญลักษณซึ่งนับเปนผลผลิต ทางสังคม ซึ่งมนุษยไดกระทําตามความหมายที่มนุษยไดใหไว ดังนั้นมนุษยจึงใชชีวิตอยูในโลกแหงความหมาย (meaningful world) ซึ่งกระบวนการนิยามความหมายและการตีความสามารถถูกสราง ปรับเปลี่ยน เรียนรู และถายทอดไปทามกลางกระบวนการปฏิสังสรรคทางสังคม แนวคิดอัตตะ (Self) และเอกลักษณ (Identity) ความเปนมนุษยเกิดขึน้ เนื่องมาจากการที่เรามีอัตตะ การมีอัตตะทําใหมนุษยกลับกลายเปนผูกระทํา สามารถที่จะสรางความสัมพันธใหเกิดขึ้นในโลกของเขาได Mead กลาววา มนุษยเปนวัตถุแหงการกระทําของ ตน มนุษยตองรับรูถึงการมีตัวตนของตนเอง ตองมีมโนทัศนเกี่ยวกับตนเอง สื่อสารกับตนเองและสามารถที่จะ กระทําตอตนเองได การอุบัติขึ้นมาของอัตตะมิใชสิ่งที่ติดตัวมนุษยมาแตกําเนิด หากแตเกิดขึ้นจากกระบวนการ ของประสบการณทางสังคมและกิจกรรมทางสังคม จากการที่ปจเจกบุคคลมีความสัมพันธอยูในกระบวนการ ปฏิสังสรรคทางสังคม มโนทัศนของอัตตะพิจารณาไดในสองลักษณะคือ (พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ 2529: 41) ไดแก การมอง อัตตะในฐานะที่เปนภาพลักษณที่เปลี่ยนแปลงไดของบุคคล ในฐานะที่เปนวัตถุในสถานการณหนึ่งๆ กลาวคือ ในระหวางที่บุคคลทั้งหลายมีการปฏิสังสรรคตอกัน แตละคนไดสวมบทบาทซึ่งกันและกัน และไดภาพพจนของ ตนเองในสถานการณนั้นๆ และในลักษณะที่สอง คือ การมองอัตตะในฐานะที่เปนโครงสรางหรือภาพรวมของ การตอบสนองหลักซึ่งบุคคลมีตอตนเองในฐานะที่เปนวัตถุชนิดหนึ่ง โดยสรุปทั้งสองลักษณะขางตนชี้ใหเห็นวา กระบวนการไดมาซึ่ง ภาพลักษณแหงตน (self image) นําไปสูการตกผลึกของทัศ นคติชุดหนึ่งที่ บุคคลมีตอตนเองในฐานะที่เปนวัตถุชนิ ดหนึ่ง ในลักษณะดังกลา ว บุคคลจะเริ่มตีความอยางเลือกสรรตอทาทีของคนอื่นตามทัศนคติที่มีตอตนเอง พฤติกรรมของบุคคลจึงมีความ เสมอตนเสมอปลาย เนื่องจากถาทัศนะตอตนเองในฐานะที่เปนวัตถุชนิดหนึ่งเริ่มมีความมั่นคง และถาเราใช อัตตะในฐานะที่เปนวัตถุ ในฐานะที่เปนตัวเราพฤติกรรมแลว พฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปดเผยจะมีความคง เสนคงวาไมวาสถานการณจะแตกตางกัน อยางไรก็ตามเมื่อพัฒนาการของทัศนคติที่มั่นคงตอตนเองในฐานะที่ เปนวัตถุหรือทีเรียกวา “อัตตะเอกภาพ” (unified self /complete self) ซึ่งก็ไมไดเปนโครงสรางที่ตายตัว จึงไมไดแสดงลักษณะที่เขมงวดตายตัวในการปฏิสังสรรคแบบตางๆ ในบริบททางสังคมที่แตกตางกัน อัตตะ เอกภาพจะแสดงออกใหเห็นในลักษณะของ “อัตตะยอย” (elementary self) แบบตางๆตามลักษณะของ สถานการณหรือกลุมคนที่ไดเขารวมการปฏิสังสรรค (มานิตตา ชาญไชย 2546: 30–31) ในขณะที่อัตตะภาพมีสวนในการสรางเสถียรภาพใหกับพฤติกรรม รวมถึงความสามารถในการคาดเดา หรือทํานายไดของพฤติกรรมแบบเปดเผย แตก็ยังมีองคประกอบในดานการตอบสนองตามธรรมชาติที่ไมอาจ ทํานายไดของการกระทําอยูเสมอ ดังปรากฏในรูปของอัตตะ ซึ่ง Mead เสนอในรูปมโนทัศน “I” และ “me” ( พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ 2529: 43)


25

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

“me” คือ ตัวแทนทัศนคติของคนอื่นๆและของชุมชนในวงกวางซึ่งมีอิทธิพลตอการตีความพฤติกรรม ยอนหลังของบุคคล ภาพลักษณของ “me” ไดมาจากการที่เราอานทาทีของคนอื่นๆในสถานการณหนึ่งๆและ จากการสวมบทบาทหรือการสวมรับทัศนคติของชุมชนในวงกวาง “I” คือ การแสดงออกจริงของพฤติกรรมเมื่อ เรากระทํา สิ่งใดลงไปนั่นคือ “I” ภายหลังจากการกระทํา (I) ปฏิ กิริยาของคนอื่นๆตอการกระทํา ของเราจะ เกิดขึ้น นั่นคือ “me” นั่นเอง ความคิดเกี่ยวกับ “I” และ “me” ทําใหเราสามารถมองอัตตะในฐานะที่เปนกระบวนการซึ่งดําเนินอยู ตลอดเวลา คนเรามีการกระทํา มองตนเองในฐานะที่เปน วัตถุชนิ ดหนึ่ง ตรวจสอบผลแหงการกระทํานั่น ๆ ตีความปฏิกิริยาของคนอื่นๆ ตอการกระทําของเราและตัดสินใจวากระทําอยางไรตอไป โดยสรุป อัตตะ (self) ของบุคคลหนึ่ง จึงหมายถึงองครวมหรือคุณสมบัติตางๆที่บุคคลคิดวาเปนของตนเอง อัตตะของบุคคลเกิดขึ้น ภายใตกระบวนการปฏิสังสรรค ไดมาจากการที่คนอื่นๆแสดงออกใหเราเห็นในระหวางการปฏิสังสรรคที่เราทํา การสวมบทบาทและรับเอาความคิดนั้นมาเปนของตนเอง อยางไรก็ตามแมวาปฏิกิริยา ทัศนคติ ตลอดจนการ กระทําของผูรวมการปฏิสังสรรคจะมีอิทธิพลตอการมองตนเองของบุคคล แตสิ่งเหลานั้นก็มิไดกําหนดอัตตะ ของบุคคลทั้งหมดเนื่องจากธรรมชาติของมนุษยที่มีลักษณะของความกระฉับกระเฉงมากกวาความเฉื่อยชา อีก ทั้งยังมีความสามารถในการใหความหมาย ตีความตนเองในฐานะที่เปนวัตถุอยางหนึ่งในสถานการณ ตลอดจน มีความสามารถในการปฏิสังสรรคกับตนเอง ดังนั้นบุคคลจึงมีอิสระในการที่จะเลือกสรรรับเอาเฉพาะความคิด หรื อ มุ ม มองที่ ส อดคล อ งกั บ ความคิ ด ความรู สึ ก และทั ศ นคติ ข องตั ว เราเองและจากการที่ บุ ค คลมี การ ปฏิสังสรรคกับคนมากมายหลายกลุม บุคคลมีแนวโนมที่จะเลือกรับเอาเฉพาะความคิดเกี่ยวกับตนเอง จาก บุคคลบางคนหรือบางกลุมที่มีนัยสําคัญตอเขา รวมถึงความคิดที่วาสอดคลองและเหมาะสมกับตัวเขามาเปน อัตตะหลักในการดํารงชีวิต เอกลักษณ (identity) คือ คุณสมบัติที่เปนลักษณะเฉพาะของบุคคล เปนการแสดงชนิดหนึ่งหรือมิติ ทางสังคมของอัตตะที่ถูกเสนอในสถานการณตางๆ ภายใตบริบทของความสัมพันธทางสังคม (บงกช เอกเอี่ยม 2532 : 22 อางใน มานิตตา ชาญไชย 2546 : 32) กลาวไดวา เอกลักษณก็คือสวนหนึ่งของอัตตะที่แสดงออกใน สถานการณที่ตางกัน เอกลักษณของบุคคลจึงมีมากมายหลายดาน อยูที่วาในแตละสถานการณบุคคลจะแสดง การกระทําโดยเสนอเอกลักษณในดานใดออกมา อยางไรก็ตามกลาวไดวา อัตตะและเอกลักษณของบุคคลเปน สิ่งที่ทําใหเรารูวา เราเปนใคร มีสถานภาพและบทบาทอะไร นั่นคือ เราสามารถตอบไดวา ฉันคือ ... จากการที่บุคคลสามารถปรับการกระทําใหสอดคลองกับสถานการณที่ตางกันไดเนื่องจากการที่เขามี ความสามารถในการเลือกเสนอเอกลักษณใหสอดคลองกับสถานการณ ทําใหเขามีเอกลักษณไดมากเทาจํานวน กลุมที่เขาเปนสมาชิกอยู ในบางครั้งเมื่อเอกลักษณดังกลาวขัดแยงกัน บุคคลก็มีแนวโนมที่จะเลือกใชเอกลักษณ ที่ไดรั บการสนั บสนุ นจากบุค คลอื่ นที่ร วมอยูในการปฏิสั งสรรค เพื่อที่เขาจะไดรั บการยอมรับ และทําใหการ ปฏิสังสรรคดําเนินตอไปได และจากการที่บุคคลมีอิส ระในการที่จะเลือกสรรรับเอาเฉพาะความคิดหรือมุมมองที่ สอดคลองกั บ ความคิด ความรูสึก และทัศนคติของตนเอง อันเกิดจากการที่บุคคลมีการปฏิสังสรรคกับคนมากมายหลายกลุม บุค คลยอมมี แนวโน ม ที่จะเลือกรั บ เอาเฉพาะความคิ ดเกี่ ยวกั บตนเอง จากบุค คลบางคนหรื อบางกลุ ม ที่ มี นัยสํ า คั ญ ต อเขา รวมถึ ง ความคิ ดที่ เ ขาคิ ดว าสอดคล องและเหมาะสมกั บ ตัวเขามาเป น ตัวตนหลั กในการ ดํารงชีวิต นั่นคือ บุคคลสามารถสื่อสารกับตัวเขาเอง เปนการปฏิสังสรรคกับตัวเองเชนเดียวกับที่ปฏิสังสรรคกับ บุคคลอื่น ความสามารถในการสื่อสารกับตนเองนี้ทําใหบุคคลสามารถมีความรูสึกนึกคิดตางๆที่มีตอตัวเอง (self concept) รวมทั้งการสังเกต ประเมิน ตัดสินเกี่ยวกับตนเองหรือมโนทัศนแหงตน ตลอดจนชี้แนะและ ควบคุมในสถานการณตางๆ ซึ่งมโนทัศนแหงตนนี้จะเชื่อมโยงกับเอกลักษณ จากการที่เราใหชื่อกับมโนทัศน แหงตนของเราเชน เดียวกับการที่เราใหชื่อกับวัต ถุตางๆทางสังคม การใหชื่อแกตนเองดั งกลาวจะทําใหเรา สามารถรวมตนเองเขากับการจัดประเภททางสังคมเชนเดียวกับวัตถุทางสังคมอื่นๆ มโนทัศนแหงตน (self concept) ซึ่งเปนการที่เรากําหนดชื่อตัวเองตางจากวัตถุทางสังคมทั้งหลาย ซึ่งจะชวยให เราสามารถรวมตนเองเขากับการจัดประเภท (classify) หรือการกํา หนดชื่อตางๆของวัตถุทาง สังคม ดัง นั้นเอกลักษณก็คือการแสดงชนิ ด (typified) หรื อการแสดงมิ ติทางสั งคมของตั วตนที่ถูกเสนอใน สถานการณตางๆ ภายใตบริบทของความสัมพันธทางสังคม โดยที่บุคคลจะมีตัวตนที่เปนการแสดงชนิดหรือ ประเภทของตนตามสถานการณโดยผานเอกลักษณที่หลากหลาย เอกลักษณทั้งหลายของบุคคลจะกอตัวเปน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

26

“ตัวตนทางสังคม” หรือตัวตนภายใตบริบทของการกระทําทางสังคม เอกลักษณจึงเปนการแสดงตัวตนซึ่งถูก เสนอตอบุคคลอื่นๆอยางสม่ําเสมอในรูปของการกระทําทางสังคมภายในชีวิตประจําวัน เนื่ องด วยเอกลั กษณ กอ ตั วขึ้ น ผ า นการปฏิ สั ง สรรค ร ะหว า งบุ ค คล บุ ค คลหนึ่ ง ๆจะมี เ อกลั กษณ ที่ หลากหลาย และเมื่อบุคคลยอมรับเอกลักษณใดเอกลักษณหนึ่งขณะนั้นมันจะมีกระบวนการที่แตกตางกันใน การแทนที่ ในขณะที่ บุ ค คลทํ า การกํ า หนดตํ า แหน ง ของตั วเอง และถู กกํ า หนดตํ า แหน ง ในโลกทางสั ง คม เอกลักษณตางๆจะถูกจัดใหที่ดวยโครงสรางตางๆทางสังคมแตในขณะเดียวกันเราก็มีสวนในการกอตัวของ เอกลักษณข องเราเองด วย เอกลั กษณ จึง เปน ความรูสึ กนึกคิ ดเกี่ ยวกั บตั วตนและแสดงออกในรู ปแบบของ พฤติกรรม แมวาเอกลักษณในบุคคลหนึ่งๆจะมีหลากหลาย แตเอกลักษณที่หลากหลายนั้นก็ถูกจัดระเบียบใน รูปของระดับความสําคัญอยางมีลําดับขั้น โดยที่การเลือกบทบาทของบุคคลมีรากฐานมาจาก “ความสําคัญของ เอกลักษณ” ที่เขาครอบครองอยู (พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ 2529: 140–141 อางใน เรืองรอง ชาญวุฒิธรรม 2547 : 13–14) Stryker นั กทฤษฎีปฏิ สั งสรรคสั ญ ลักษณ แนวโครงสร า งได ให ความหมายของ “ความสํ า คัญ ของ เอกลักษณ” (identity salience) วาหมายถึง “โอกาส” (probability) ในการปลุกเราเอกลักษณที่คนอื่นกําหนด ตําแหนงใหกับบุคคลในฐานะที่เปนวัตถุทางสังคมประเภทหนึ่ง ในลักษณะเดียวกับที่บุคคลนั้นกําหนดใหกับ ตนเองและประกาศใหคนอื่นๆรู ความคิดเกี่ยวกับความสําคัญของเอกลักษณยังรวมถึงการจัดลําดับสูงต่ําของ เอกลักษณ (identity hierarchy) เขาไปดวย ซึ่งหมายความวา จากการที่บุคคลหนึ่งมีเอกลักษณจํานวนมาก จึง ได จัดลํ า ดั บ ให กับ เอกลั กษณข องตนในลั กษณะที่ วาเอกลั กษณ บ างเอกลั กษณ จะได รั บ เลือกใช บอยกว า เอกลักษณอื่นๆ ในสถานการณตางๆทางสังคม เชน เอกลักษณของความเปนอาจารย สามี พอ ขาราชการ เปนตน เอกลักษณเหลานี้จะถูกจัดเรียงตามลําดับความสําคัญ และเอกลักษณหนึ่งจะมีแนวโนมที่จะนํามาใชใน สถานการณหนึ่งๆมากกวาเอกลักษณอื่นๆ สิ่งเหลานี้เปน ผลมาจากขอเสนอที่วา “ยิ่งเอกลักษณ นั้นๆอยูใน ระดับความเดนที่สูงเพียงใด ก็ยิ่งจะไดรับการเลือกมาใชในสถานการณนั้นๆมากขึ้นเพียงนั้น ” ความสําคัญของเอกลักษณยังเชื่อมโยงไปสู “ความยึดมั่นผูกพัน” (Commitment) หรือขอบเขตที่ ความสัมพันธระหวางบุคคลกับคนกลุมหนึ่งๆนั้น ขึ้นอยูกับการที่เขาเปนคนประเภทหนึ่งในการยอมรับตําแหนง และกฎเกณฑ ชุ ดหนึ่ ง ๆ นั่ น คื อ ถ า บุ ค คลให คุ ณ ค า แก ค วามสั ม พั น ธ ร ะหว า งเขากั บ บุ ค คลบางคน โดยที่ ความสัมพันธเหลานี้เปนผลมาจากการยอมรับตําแหนงและบทบาทบางรูปแบบ คือ การเปนบุคคลบางประเภท บุคคลนั้นจะถูกยึดมั่นผูกพันไมมากก็นอยในระดับหนึ่ง ความยึดมั่นผูกพันการเปนบุคคลชนิดนั้นๆ ขึ้นอยูกับ ความสําคัญของการธํารงความสัมพันธกับบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่ง ซึ่งหมายถึงวาเปนการเลือกใชเอกลักษณอัน ใดอัน หนึ่ง เพื่ อธํา รงความสั ม พัน ธกับ คนอื่น ที่ มีค วามสํา คัญ ต อเขา ความยึ ดมั่ นผู กพัน มีหลายแง มุ ม ได แก จํานวนบุคคลอื่นๆ ที่บุคคลมีความสั มพันธผานทางการเปนเจาของตํา แหนงหนึ่งๆ ความสําคัญของบุคคล เหลานั้นที่มีตอบุคคล และจํานวนชนิดของกิจกรรมที่เชื่อมโยงเขาเขากับคนอื่นๆ ความสําคัญของเอกลักษณ สามารถที่ จะเชื่ อมโยงถึ ง กั บ เกี ยรติ ภูมิ แห ง ตน (self–esteem) อี กด วย ดั ง ที่ Stryker กล า วไว วา “บุ ค คล ทั้งหลายชอบที่จะมองหรือคิดถึงตัวเองในแงดี ” เมื่อเปนเชนนี้บุคคลจึงมีแนวโนมที่จะเชื่อมโยงเกียรติภูมิแหง ตนเขากับพฤติกรรมที่สอดคลองกับเอกลักษณที่เดนของเขา เอกลักษณจึงเป นสิ่งที่เ กิดขึ้นในกระบวนการปฏิสังสรรคทางสังคม สังคมและปจเจกบุคคลจึงเป น ปรากฏการณที่ไมอาจแยกออกจากกันได สังคมจึงเกิดจากการผสมผสานของตัวตนเชิงจิต (mental selves) ของคนหลายๆคนที่มีการปฏิสังสรรคตอกัน ความรูสึกเกี่ยวกับตัวเราเองก็พัฒนาขึ้นมาจากปฏิกิริยาของเราตอ ความเห็นของผูอื่นเกี่ยวกับเรา ดังที่ ชารลส คูลียเรียกตัวตนที่เกิดจากกระบวนการนี้วา “ตัวตนในกระจกเงา” ที่ประกอบไปดวยภาพลักษณของเราที่เรามีตอตนเองและจินตนาการเกี่ยวกับการตัดสินของผูอื่นตอภาพลักษณ นั้น ตลอดจนปฏิกิริยา ความรูสึกตางๆ การตีความของเราตอจินตนาการดังกลาว (เรืองรอง ชาญวุฒิธรรม 2547: 15)


27

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

กระบวนวิธีศึกษา การศึกษาในครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อตองการเขาถึงความเปนจริง ทางสังคมในโลกเชิงประจักษเพื่ อ สะทอนใหเห็นถึงชีวิตและตัวตนของเด็กวัดจากมุมมองหรือประสบการณของกลุมเด็กวัดเหลานั้น เมื่อเปนเชนนี้ วิธีการที่ ใช ในการศึ กษาถึ งภาวะเงื่อนไขต างๆที่เ อื้ อตอการเขา สู สถานการณ การเปน เด็กวั ดในครั้ ง นี้จึง ใช การศึ กษาเชิง คุณ ภาพตามระเบี ยบวิธีวิจัยแนวปฏิ สัง สรรค สัญ ลักษณ ดัง ที่ Herbert Blumer ได กล าวว า “จงเคารพธรรมชาติของโลกเชิงประจักษและจัดระเบียบจุดยืน ทางระเบียบวิธีที่สะทอนใหเห็นความเคารพ ดังกลาว ” Blumer (1969 )เสนอวิ ธี วิ ท ยาตามแนวทางดั ง กล า วที่ เ รี ย กว า “วิ ธี ก ารศึ ก ษาแบบธรรมชาติ ” (naturalistic inquiry) หรือที่ในชุม ชนวิชาการสังคมวิทยาในปจจุ บันเรียกวา “ประชาวิธีวิทยา” (analytic ethnography) โดยมีสาระสําคัญตามที่พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ ( 2532 ข อางใน โสพิณ หมูแกว 2544: 18– 21) ไดสรุปไววา 1.การวิจัยคือกระบวนการปฏิสังสรรคสัญลักษณรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจากทัศนะของ Blumer การทดลอง ใดๆที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ มนุ ษ ย ก็ คื อ การปฏิ สั ง สรรค ช นิ ดหนึ่ ง แต แตกต า งจากการทดลองแบบอุ ด มคติ ข อง นักวิทยาศาสตรกายภาพที่ผูทดลองไมสามารถควบคุมตัวเราตางๆที่มีผลตอผูถูกศึกษาไดทุกแงมุมเพราะวาโดย ขอเท็จจริงแลวก็คือผูกระทําเขาสูสถานการณของการทดลองพรอมกับการนิยามสถานการณของตนเองและเมื่อ เขามาแลวไดทําการตีความและกําหนดความหมายตางๆในระหวางการปฏิสังสรรคกับคนอื่นๆ โดยผูทดลอง ไมไดเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและการกระทําของเขา 2. ระเบี ย บวิ ธีวิ จัยต องได รั บ การตรวจสอบจากโลกเชิ ง ประจั กษ คื อ การสร า งองค ค วามรู ทาง สังคมศาสตรนักวิจัยจะตองเขาไปคลุกคลีกับโลกเชิงประจักษอยางใกลชิดทุกแงมุมของการวิจัยจะตองไดรับการ ตรวจสอบความถูกตองแมนตรง เพื่อที่จะมั่นใจวาความคิดพื้นฐาน ขอมูล มโนทัศน และการตีความของเรา ถูกตอง นั่นคือโลกเชิงประจักษจะตองนําหนาระเบียบวิธีวิจัยเสมอ การยึดระเบียบวิธีอันใดอันหนึ่งเปนหลักจะ ทําใหนักวิจัยตกอยูใน”กฎแหงเครื่องมือ” (Law of instrument) คือการนิยามปญหาที่สามารถตอบไดดวย ระเบียบวิธีที่เรายึดถือและตองการใชเทานั้นเปนการบีบรัดดัดแปลงโลกเชิงประจักษเขาสูกรอบทฤษฎีมากกวา จะทดสอบทฤษฎีโดยการใชการวิจัยเชิงประจักษอยางเปนระบบ 3. ผูศึกษาตองสวมบทบาทของผูถูกศึกษา (actor’s perspective) กลาวคือ จะตองศึกษาการกระทํา ของมนุษยจากทัศนะของผูที่เปนเจาของการกระทําไมใชจากพื้นฐานการตีความของสิ่งนั้นจากสายตาผูสังเกต ซึ่งเปนคนนอก 4.ตองศึกษาโดยใชมโนทัศนเราความรูสึก (sensitizing concept) อันเปนมโนทัศนกวางๆที่เพียงแต ชี้ แนะทิ ศ ทางต า งๆที่ นั กวิ จั ยจะต องสั ง เกต ซึ่ ง จะมี ค วามยึ ดหยุ น ปรั บ ให เ ชื่ อมโยงกั บ โลกเชิ ง ประจั กษ ไ ด ตลอดเวลามากกวาที่จะใชมโนทัศนเชิงนิยาม ( Definition concept ) ที่จํากัดขอบเขตความหมายของมโน ทัศนซึ่งเปนการบดเบือนความเปนจริงและยังลดลักษณะที่ซับซอนของปรากฏการณไปสูการเมืองในเชิงปริมาณ หรือมองขามลักษณะในเชิงกระบวนการของความเปนจริงทางสังคม 5. ตองใชตัวแบบสมุฎฐานเชิงกระบวนการ (processual models of causation) ซึ่งมีสมมติธรรมวา กระบวนการชนิดหนึ่งจะตองปรากฏขึ้นเสมอจึงจะทําใหปรากฏการณที่สามารถสังเกตไดชนิดหนึ่งเกิดขึ้นได ตัว แบบนี้มีหลักการอยูที่วาปรากฎการณที่สังเกตไดชนิดหนึ่งๆถูกผลิตขึ้นมาโดยกระบวนการพัฒนาการซึ่งขั้นตอน แรกๆมิไดเปนตัวกําหนดขั้นตอนตอๆไป โดยอัตโนมัติ ดังนั้นหนาที่ของนักสังคมศาสตรคือคนหาขั้นตอนตางๆ ที่จําเปนตอการเกิดปรากฏการณนั้นๆและเมื่อปรากฏแลวสามารถคงอยูตอไปไดมากกวาจะใชตัวแบบเชิงกลไก ( Mechanical models of causation ) ซึ่งไมเหมาะสมตอการศึกษากากระทําของมนุษยเพราะมนุษยกระทํา ตอสถานการณทั้งหลายจากพื้นฐานการตีความสถานการณเหลานั้นโดยไมไดถูกกําหนดลวงหนาจากปจจัยที่ เกิดขึ้นกอนหนาเพราะการตีความเปนกระบวนการกอรูปหรือสรางสรรคในตัวของมันเอง 6.จะตองศึกษาการกระทําของมนุษยในสภาพธรรมชาติแทนที่จะเปนสภาพจําลองหรือแปลกปลอม และไมพยายามนําเอากรอบหรือระเบียบที่คาดคะเนลวงหนา ( perceived order ) เขาไปบีบรัด


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

28

Blumer ไดพัฒนาระเบียบวิธีการศึกษาแบบธรรมชาติ ( method of naturalistic inquiry ) ออกเปน 2 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นตอนการคนควา (exploration) นักวิจัยมีภารกิจที่สัมพันธกัน 3 ประการคือ ประการแรก นักวิจัยตองเขาไปคลุกคลีทําความคุนเคยกับ ปรากฏการณที่จะศึกษาอยางใกลชิดมากกวาระยะกอนการศึกษา ประการที่สอง ตองมีการพัฒนาและปรับปรุง ความแจมชัดรัดกุมของการสรางแนวคิด (conceptualization) ในการศึกษา ซึ่งพรอมที่จะมีการปรับเปลี่ยนได ตลอดเวลาเมื่อเผชิ ญ กับ ข อมู ล เชิ ง ประจักษ เพื่ อสร า งความเฉี ยบคมให กับ ความคิดเกี่ยวกับ ป ญหาที่ศึ กษา ซึ่งภารกิจทั้งสองประการนี้นกั วิจัยไมไดเริ่มทําการศึกษาโดย “จิตวางเปลา” (blank mind) แตนักวิจัยสามารถ เข าทํ า การศึ กษาโดย“จิต ที่เ ป ดกวา ง”(open mind) แมวา นักวิจัยเลี่ ยงมาได ที่จะต องมี ความคิ ดที่ ค าดไว ลวงหนา เกี่ยวกั บปรากฏการณ ที่กําลั ง ศึกษาแต การที่นั กวิ จัยจํ าต องเขา ไปคลุกคลี คุน เคยกับ ปรากฏการณ ก็เพื่อที่จะทําใหสามารถขจัดความคิดผิดๆที่มีมากอนหนาเกี่ยวกับปรากฏการณนั้นๆ ภารกิจประการสุดทายคือ นั กวิ จัยจะต องให ก ารพรรณนาอย า งลึ กซึ่ ง เกี่ ยวกั บ ปรากฏการณ ที่เ ขาศึ กษาเนื่ องจากความเป น จริ ง ของ ปรากฏการณ ทางสั ง คมใดๆ เปน สิ่ ง ที่ ไม มี ค วามหมดสิ้ นสมบู ร ณ เราจึ งไม ส ามารถพรรณนาลั กษณะของ ปรากฏการณไดอยางสมบูรณ ดังนั้นนักวิจัยจึงตองใชความคิดพื้นฐานทางทฤษฎีเพื่อนําแนวทางและกําหนด ขอบเขตของการพรรณนาปรากฏการณทางสังคมที่ทําการศึกษาเสมอ 2. ขั้นตอนการพินิจสอบสวน (inspection) เปนการนําเอาขอมูลเชิงพรรณนาที่ไดจากการคนความาวิเคราะหในรายละเอียดโดยมีวัตถุประสงค เพื่อจะพัฒนาความคิดรากฐานทางทฤษฎีและความสัมพันธทั้งหลายที่ผลการคนควาชี้ใหเห็นวามีความสําคัญ ตอประเด็นปญหาที่ศึกษา ขั้นตอนนี้จึงประกอบไปดวยภารกิจที่สัมพันธกัน 2 ประการ คือ การพัฒนามโนทัศน และการสรางขอเสนอทางทฤษฎี การพัฒนามโนทัศนตามหลักการของ Blumer คือการศึกษาตัวอยางเชิงประจักษตางๆที่ไดรับการ ชี้แนะจากความคิ ดพื้ น ฐานจากการแสดงออกที่ มี ลักษณะเฉพาะพิ เ ศษเพื่อที่ จะค นหาลักษณะร วมเชิง การ วิเคราะห โดยเริ่มจากทําการเปรียบเทียบตัวอยางเชิงประจักษตางๆแลวจึงดึงหรือกรองลักษณะรวมเชิงการ วิเคราะหของตัวอยางเหลานั้นออกมา หลังจากที่คนพบลักษณะรวมของความคิดพื้นฐานแลว (ซึ่งก็คือมโนทัศน เรารู สึกที่ คนพบ) นั กวิจัยจะทํ าการเปรียบเทียบตัวอยางเชิงประจักษอื่น ๆ กั บมโนทัศน ดังกลาวเพื่อทํ าการ พัฒนาและปรั บปรุ งความแจ มชั ดรัดกุ มของลักษณะร วมเชิง การวิ เ คราะห ข องมั นต อไป กระบวนการนี้ จะ ดําเนินการตอไปจนกระทั่งการตรวจสอบตัวอยางเชิงประจักษอื่นๆที่อยูภายใตขอบขายความคิดพื้นฐานไมได นําไปสูการเปลี่ยนแปลงมโนทัศนนั้นๆอีกตอไป ผลที่ไดก็คือ มโนทัศนเรารูสึกทีพ่ ัฒนาแลวนั่นเอง ภารกิจตอไปคือ การสรางขอเสนอทางทฤษฎี โดยการเชื่อมโยงมโนทัศนเขาดวยกัน ซึ่งนักวิจัยตอง แยกแยะความสัมพันธชุดตางๆระหวางความคิดพื้นฐานทางทฤษฎี ซึ่งไดรับการชี้แนะหรือปรากฏใหเห็นใน ระหวางขั้นตอนการคนควา ภารกิจนี้คลายคลึงกับกระบวนการที่ใชในการพัฒนามโนทัศนเรารูสึก คือ ขั้นแรก นักวิจัยจะตองตรวจสอบตัวอยางความสัมพันธเชิงประจักษตางๆระหวางตัวอยางเชิงประจักษของความคิดพื้น ฐานะที่เขามีอยู ขั้นตอไป คือ เปนการเปรียบเทียบตัวอยางความสัมพันธระหวางความคิดพื้นฐานที่เกิดขึ้นจริง และจากการที่นักวิจัยจะทําการแยกแยะลักษณะความสัมพันธแบบตางๆ ออกมาใหชัดแจง ขั้นตอนสุดทาย นักวิจัยจะทําการเปรียบเทียบตัวอยางของความสัมพันธดังกลาวที่เกิดขึ้นในกรณีอื่นๆกับแบบความสัมพันธที่ คนพบเพื่อที่จะพัฒนาและปรับปรุงใหมีความแจมชัดรัดกุมมากขึ้น เมื่อการตรวจสอบตัวอยางของความสัมพันธ อื่นๆไมไดนําไปสูการเปลี่ยนแปลงแบบแผนความสัมพันธเหลานั้นแลว ถือไดวานักวิจัยไดแยกแยะความสัมพันธ นั้นๆไดอยางชัดแจง ประชากรและการเลือกตัวอยาง ประชากรเปาหมายของการศึกษาครั้งนี้ คือ กลุมเด็กวัดที่มีอายุไมเกิน 25 ป ซึ่งมาจากสถานที่ตางๆ โดยเฉพาะจากตางจังหวั ด และจั งหวัดใกล เคียงกรุง เทพมหานคร โดยไดเข ามาอาศัยอยูในวัดหรือที่ สังคม กําหนดเรียกพวกเขาวา “เด็กวัด” ซึ่งเขามาศึกษาเลาเรียนหรือประกอบอาชีพ สําหรับการเลือกตัวอยางอาศัย ความสะดวก คือผูวิจัยไดเลือกวัดที่อยูใกลบริเวณที่พัก โดยไดไปติดตอสอบถามกับวัดตางๆไวลวงหนาและได


29

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สังเกตรวบรวมขอมูลพื้นฐานเบื้องตน สาเหตุการเลือกใชเกณฑดังกลาวสืบเนื่องมาจากเงื่อนไขในดานเวลาของ ผูวิจัยซึ่งมีระยะเวลาจํากัด จึงไดตัดสินใจเลือกกลุมตัวอยางดังกลาวจากความคุนเคยที่ไปพบอยูเรื่อยๆ ผูวิจัย จึงไดรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเจาะลึก (depth Interviews) จากเด็กวัดจํานวน 7 คน ซึ่งมาจากวัด จํานวน 5 วัด ในพื้นที่ฝงธนบุรี การเขาสูสนาม การศึ กษาเรื่องกระบวนการกลายเป นเด็ กวั ด ได เริ่ ม ดํา เนิน จากการศึ กษารวบรวมขอมู ลเกี่ ยวกั บ ปรากฏการณดังกลาวจากเอกสาร หนังสือตางๆ ซึ่งปรากฏใหเห็นนอยมาก รวมทั้งจากการศึกษาในภาคทฤษฎี ที่เกี่ยวกับกระบวนการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งจะนําไปเปนเครื่องมือในการปฏิบัติจริง ในสวนของการดําเนินการ ผูวิจัยขอแยกเปนรายละเอียดดังตอไปนี้ ระยะที่ 1 การสํารวจสนาม ผูวิจัยไดทําการสํารวจสยามโดยเริ่มจากการสํารวจวัดในระยะใกลบานพักของผูวิจัยจํานวนหนึ่งวัด กอน เนื่องจากความสะดวกในการติดตอและเดินทางไปมาในระยะใกลประมาณ 1000 เมตร การสํารวจสนาม ในขั้นนี้เมื่อผูวิจัยไดไปถึงวัดแหงนั้นก็สังเกตถึงลักษณะทางกายภาพของวัด ก็พบวามีกุฎี หรือคณะจํานวนหลาย หลังที่ตั้งอยูในบริเวณวัดแลดูกลมกลืนกับชุมชนจนไมสามารถที่จะแยกออกไดวาบริเวณไหนเขาเขตวัดแลวแตก็ พอที่จะพิจารณาไดวา บริเวณเขาเขตวัดแล วก็คือการสังเกตเห็ นกุฎีหรือจีวรผาที่ตากอยูนอกตัวกุฎีหลังนั้น ๆ จากนั้นผูวิจัยก็ไดเดินทางเขาไปยังในตัวโบสถของวัดแหงนี้ที่เปดใหผูคนเขามาสักการะพระ ผูวิจัยก็ไดพบกับ พระสงฆและคนที่ดูแลขายธู ปเที ยน ดอกไมข องวั ด จึ งได เข า ไปสนทนาและสั กถามเป ดเผยตนเองว าเป น นักศึกษาซึ่งสนใจที่จะทําการศึกษาเรื่องชีวิตเด็กวัด และถามตอไปวาในวัดแหงนี้มีเด็กวัดหรือไม พวกเขาอยูที่ ไหนกัน และสอบถามถึงขอมูลทั่วๆไปเกี่ยวกับเด็กวัดในวัดแหงนี้ เพื่อใชเปนขอมูลเบื้องตน สําหรับในวัดแหง อื่นๆที่ผูวิจัยเขาไปเพื่อทําการสํารวจสนามในขั้นนี้บางครั้งก็มิไดเขาไปยังพระอุโบสถเหมือนกันทุกวัด หากแต เปนการพบกันในหลายลักษณะ เชน เมื่อผูวิจัยเขาไปถึงบริเวณวัดมีบังเอิญมีพระสงฆเดินผานก็ถือโอกาสถาม การเขาไปยังตามจุดตางๆเชนจุดขายดอกไมธูปเทียน เครื่องบูชาของวัด การสอบถามจากผูดูแลวัดอื่นๆ หรือ ในบางวัดที่ผูวิจัยเดินเขาไปใกลตัวบริเวณกุฎีซึ่งมีกลุมเด็กกําลังพูดคุยกันอยูก็ถือโอกาสเขาไปถามซึ่งพวกเขาก็ เปนเด็กวัดพอดี จากการสนทนากับพระสงฆในแตละวัดพระสงฆบางรูปก็ไดแสดงความคิดเกี่ยวกับเด็กวัดใหแก ผูวิจัยที่กลาวถึงความเปลี่ยนแปลงของเด็กวัดวา “ โยมเด็กวัดเดี่ยวนี้มันไมเหมือนเมื่อกอน เมื่อกอนเขานอน เรียน กิน อยูกันที่วัดเลย พอเรียนเสร็จ บางคนก็บวชเปนพระ หรือไปทํางานอยางอื่น สวนเด็กวัดตอนนี้สวนใหญมันจะมาอยูก็เพื่อมาเรียน ทํางาน วัด นี้สวนใหญมันจะทํางานกันหมด บางคนสึกจากเปนพระแลวก็ไปทํางาน แตมันก็ยังอยูวัดตอ ” จากความคิดดังกลาวขางตน จึงทําใหผูวิจัยแนใจไดวา “เด็กวัด” ที่ผูวิจัยใหความหมายในการศึกษา ครั้งนี้มีตัวตนอยูจริง สอดคลองกับการศึกษาดังปรากฏในเอกสารงานวิจัยที่คนความา ในระยะการสํารวจสนาม ครั้งนี้ที่จะนําไปสูกลุมตัวอยางที่จะศึกษาผูวิจัยจึงมีอยูหลายชองทางดังที่กลาวมา เชน การเขาไปถามพระสงฆ หรือเจาหนาที่ของวัดทีอ่ ยูในตัวพระอุโบสถ การพบกับพระสงฆโดยบังเอิญแลวถือโอกาสถาม การพบกับกลุม เด็กวัดโดยตรง สําหรับชวงระยะเวลาที่พูดคุยกับผูชี้นํา (Guide) ไปสูกลุมตัวอยางนี้จะเปนการสนทนาระยะ สั้นๆประมาณ 5–15 นาที ในแตละวัด จากการสนทนาพูดคุยแนะนําเบื้องตนในจุดนี้กลุมผูชี้นํานี้ก็ไดนําผูวิจัย ไปยังกลุมตัวอยางโดยการพาไปหาในตัวกุฎีนั้นเลยบาง หรือบอกทางใหไปวาอยูทางไหน สําหรับจํานวนเด็กวัดที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ตอนแรกผูวิจัยยังมิไดตั้งหรือกําหนดอยางแนนอนวาจะใช กลุมตัวอยางกี่คน โดยไดสํารวจวัดไปเรื่อยๆ จํานวน 7 วัด และตองดูสภาพเงื่อนไขในดานเวลาที่เด็กวัดจะมี ใหกับผูวิจัยเปนหลัก อยางไรก็ดีการสํารวจในวัดที่ 2 เมื่อไปถึงพบกับพระสงฆในวัดแหงนั้น ทานก็ไดบอกวา เด็กวัดนี้สวนใหญจะสึกจากเปนพระแลวทํางานแตก็ยังอยูวัด ถาจะมาสัมภาษณพวกเขาใหมาในตอนสายๆ ประมาณ 4–5 โมงเชา เพราะพวกเขาทํางานในชวงกลางคืน ผูวิจัยจึงไดเดินทางกลับมาใหมในวันรุงขึ้นก็ขึ้น ไปยั ง กุฎีก็พ บเห็ น พวกเขากํา ลั ง นอนหลั บอยู ดูทา ทางมี อาหารอ อนเพลี ยมาก และไมอยากรบกวน จึ ง ได ตัดสินใจไมใชเด็กวัดนี้เปนกลุมตัวอยาง และการสํารวจในวัดที่ 5 ซึ่งในวัดนี้ผูวิจัยไดรับการแนะนําอยางดีจาก พระสงฆในวัดใหไปหาพวกเขาซึ่งกําลังชวยงานฉลองสมณศักดิ์เจาอาวาส (ตอนนั้นอยูในชวงการเก็บขาวของ) ผูวิจัยจึงตัดสินใจจะมาใหมในวันรุงขึ้นเพราะพวกเขากําลังยุงอยู พอวันรุงขึ้นมาถึงผูวิจัยไปถึงวัดแหงนี้ในชวง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

30

เชาก็ไดเดินทางไปยังคณะที่ไดรับการแนะนําจากพระสงฆเมื่อวาน เมื่อไปถึงก็พบเห็นชายคนหนึ่งซึ่งมีอายุในวัย กลางคนผูวิจัยจึงไดแนะนําตัวเองวาจะมาทําอะไร อยางไรบาง ชายคนนั้นก็บอกวาเขาก็เปนเด็กวัดสัมภาษณ เขาได แตผูวิจัยสังเกตโดยรวมแลวก็ไมสามารถที่จะทําการสัมภาษณเขาไดเพราะลักษณะการเปนเด็กวัดของ เขามิไดอยูใ นขอบขายการศึกษาในครั้งนี้ (คือเขาอยูในวัดมาทํางานใหกับพระตั้งแตเด็กมาทํางานใหกับวัด) ผูวิจัยจึง ปฎิ เสธ และถามชายคนนี้ ตอไปวา กลุ มเด็กวั ดที่ ผูวิจัยที่ส นใจจะศึกษามีหรือไม ก็ไดรั บคํ าตอบว า พวกเขาไปเรียน บางคนก็กลับบานไปหมดแลว ดังนั้นผูวิจัยจึงตัดสินใจที่จะไมทําการศึกษาเด็กวัดนี้ และทํา การสํารวจวัดตอไปอีกจํานวน 2 แหงซึ่งก็พบเด็กวัดตามที่ตั้งไว โดยสรุปการศึกษาในครั้งนี้จึงใชวัดจํานวน 5 วัดเปนพื้นที่ของการศึกษาจากจํานวนเด็กวัด 7 คน โดยในวัด 2 แหง ทําการศึกษาวั ดละ 2 คน ที่เหลืออี ก วัดละ 1 คน จากการศึกษาในครั้งนี้ในดานหนึ่งทํ าให ผูวิจัยเห็นถึ งระดั บฐานะของวัดแต ละแห งวามี ความ แตกตางกันทั้งในเชิงพื้นที่ ฐานะทางการเงินของวัด และการจัดระเบียบของวัดในดานตางๆ เชน ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของวัด รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางที่มีในวัดแตละแหงดวย ระยะที่ 2 การเขาสูสนาม หลังจากที่ไดสนทนาพูดคุยกับพระสงฆและบุคคลผูชี้นําอื่นๆไดในระยะหนึ่งแลวก็ไดพาผูวิจัยหรือบอก ทางผูวิจัยให ไปยังสถานที่กลุมเด็กวั ดอาศัยอยู ซึ่งแตละวัดก็ จะมีชื่อเรียกแตกตางกั นไป เชน กุฎี หรือคณะ ลักษณะการอยูอาศัยจะมีดวยกันหลายลักษณะ เชน การอยูแยกเปนหองๆใครหองมัน การอยูรวมกันในหอง เดียวกันประมาณ 3 คน หรือการนอนรวมกางมุงคนละหลัง แตที่สําคัญภายในกุฎีหรือคณะแตละแหงนั้นจะมี ผูดูแลกลุมเด็กวัดที่อาศัยอยูในอาคารเดียวกันซึ่งเรียกวา “ เจาคณะ ” ระยะการสํารวจสนามในขั้นที่ 1 และ การเข า สู ส นามในขั้ น ที่ ส องของผู วิจัย นี้ จึง มี ค วามคาบเกี่ ยวต อเนื่ อ งกั น ระยะการเข า สู ส นามนี้ นั บ ว า มี ความสํ าคัญมากเพราะจะเปนการเสนอเอกลั กษณของตัวผูวิจัยตอผูถูกศึกษา เมื่อเปน เชนนี้ ในการกําหนด สถานภาพของผูวิจัยจึงมีความสําคัญมาก ซึ่งเมื่อผูวิจัยไปถึงยังกุฎีหรือคณะนั้นๆแลว ตอนแรกที่เขาไปถึงผูวิจัย สังเกตเห็นเด็กวัดสวนใหญจะมีกิจกรรมที่ตนเองทําอยู เชน กําลังนั่งจับกลุมคุยอานหนังสือ กําลังแกะสังฆทาน บา ง นั่ งคุ ยเล นกั บ พระ เณร หรื อบางแห ง ผู วิจัยก็ ไปเคาะประตู หองเรี ยกบา ง จากนั้ น ผู วิจัยจึ ง ไดเ ป ดเผย สถานภาพใหกับผูถูกศึกษาไดรับรูวาเปนใคร มาจากไหน จะมาทําอะไร ทาทีตอบสนองของเด็กวัดสวนใหญก็ ทําทางุนงงอยูบาง บางคนก็ถามวาพี่จะสัมภาษณนานไหม คุยเรื่องอะไรกันบาง แตพวกเขาก็ยินดีที่จะใหผูวิจัย สัมภาษณทุกคน ตอจากนั้นผูวิจัยจึงไดสอบถามเรื่องทั่วๆไปในเบื้องตน เชน ชื่อ อายุ บานเดิม ระยะเวลาการ มาอยูวัด สมาชิกที่อยูรวมกันเปนอยางไรบาง ในชวงระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 15–20 นาที ในวัดแตละแหง เพื่อเปนการสรางความสนิทคุนเคยกับกลุมตัวอยางซึ่งสังเกตและพูดคุยอยางมีสวนรวม สําหรับความสัมพันธ หรือบทบาทของผูวิจัยที่มีตอกลุมตัวอยางในครั้งนี้จะอยูในฐานะ “พี่” ทุกวัดเพราะอายุของกลุมตัวอยางทั้ง 7 คน อยูในระหวาง 17–23 ป ในครั้งนี้ผูวิจัยยังมิไดทําการจดบันทึกแตอยางใด เนื่องจากการจดบันทึกตอหนา กลุมตัวอยางในครั้งแรกอาจจะมีผลตอการปฏิสังสรรคหรือการแสดงพฤติกรรมของบุคคลผิดธรรมชาติของการ สนทนาได ดังนั้นเมื่อสนทนาเสร็จผูวิจัยจึงเรียบออกมาจดบันทึกนอกวัด เชนบริเวณปายรถเมลบาง ใตตนไมใน วัด (หลังจากการพูดคุยเสร็จแลว) หรือกรณีอยางวัดใกลบานพักก็รีบเดินกลับมาจดที่บาน หลังจากเสร็จสิ้นการ สนทนาผูวิจัยจึงได นัดหมายกับกลุมตัวอยางอีกวาจะมาพูดคุยกันในวันตอมา โดยไดขอเบอรโทรศัพทติดตอ บางจากกลุมตัวอยางในบางวัด จากการสรางความคุนเคยในเบื้องตนระดับหนึ่งแลว เมื่อนัดหมายครั้งตอไป ผูวิจัยจึงไดเตรียมประเด็นคําถามเพื่อการสัมภาษณไวโดยการพูดคุยสนทนากันในครั้งที่สองนี้ผูวิจัยไดใชเทป บันทึกสัมภาษณ อยางไรก็ดีในชวงเวลาการสัมภาษณในบางประเด็นที่ถาม กลุมตัวอยางเมื่อตอบมาก็ไมตรง ประเด็นคําถามบาง และโดยเฉพาะการสนทนาที่เกินขอบเขตประเด็น (นอกเรื่อง) ซึ่งตัวผูวิจัยมักจะถูกถามอยู เสมอจากการไปที่วัดแตละแหง เชน การถามถึงบรรยากาศในการเรียนที่มหาวิทยาลัย ความยากงายของวิชาที่ เรียน การศึกษาตอ ถามเกี่ยวกับวิชาชีพครู (ในฐานะที่ผูวิจัยจบสายครุศาสตรมา) การสอบเอนทรานซ รวมทั้ง แสดงความคิดเห็นในเรื่องตางๆ เชน การเมือง รัฐบาล เปนตนซึ่งนับเปนปญหาแกผูวิจัยมาก ผูวิจัยก็ตองแสดง ความคิดเห็นโตตอบดวยความสมัครใจซึ่งกินเวลาพอสมควร แตก็พยายามที่จะหาทางกลับเขามาพูดในประเด็น ใหได เมื่อหยุดพูดในแตละเรื่อง หรือในวัดบางแหงพระสงฆที่อยูในวัยรุนๆ ก็เขามาขอดู เครื่องบันทึกเทปที่ ผูวิจัยนํามาสัมภาษณ หรือเณรที่อยูในกุฎีเดียวกันกลุมตัวอยางก็เขามาดอมๆมองๆ บางครั้งพวกเขาก็จะแสดง ความคิดคิดเห็นออกมาในวงสนทนาดวย เปนตน โดยการสัมภาษณในครั้งที่สองของการศึกษาครั้งนี้วัดแตละ


31

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

แหงใชเวลาประมาณ 1–1 ชั่วโมงครึ่ง หลังจากนั้นจึงไดกลับมาทอดเทปเรียบเรียงขอมูล อยางไรก็ดีสําหรับ การศึกษาในวัด 2 แหงซึ่งมีการสัมภาษณกลุมตัวอยาง อยางละ 2 คน ผูวิจัยไดศึกษาจากกลุมตัวอยางคนแรก ในแตละวัดนั้นแลว กลุมตัวอยางก็ไดแนะนําผูวิจัยใหไปสัมภาษณกับกลุมตัวอยางอีกคนหนึ่งซึ่งรูจักและสนิท สนมกั น โดยวิธีการดั งกลา วคือ เทคนิคแบบ Snowball Technigue ซึ่ง มีลักษณะ คือ เมื่อสั มภาษณและ สังเกตการณอยางมีสวนรวมกับบุคลกลุมหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามที่ตองการจะศึกษาแลว ก็ขอใหคนกลุมนี้ระบุถึง บุคคลกลุมอื่นๆที่มีลักษณะคลายคลึงหรือเชนเดียวกับตน ซึ่งก็คือศึกษาบุคคลที่ไดรับการระบุจากบุคคลแรก และไดรับการระบุตอไปจนเห็นเปนโครงรางของสิ่งที่ตองการนั่นเอง สํ า หรั บ การศึ ก ษาในครั้ ง นี้ นั บ เป น โอกาสที่ ดี พ อสมควรสํ า หรั บ ผู วิ จัย ในการเข า ถึ ง กลุ ม ตั วอย า ง โดยเฉพาะชวงของเวลาที่กลุมตัวอยางสวนใหญซึ่งกําลังเรียนอยูในระดับมัธยมศึกษา และอุดมศึกษา เพราะอยู ในชวงของการปดเทอมสํา หรับ เด็กมัธยมซึ่ง พวกเขาก็ตองเตรียมตัวสอบเอนทรานซอีกดวย ในขณะที่กลุ ม ตัวอยางที่เรียนในระดับอุดมศึกษากําลังอยูในชวงสอบปลายภาคพอดี กลุมตัวอยางจึงอยูประจําที่วัดเพื่ออาน หนังสือสอบ การเก็บขอมูลจึงกระทําไดสะดวกมากขึ้น การบันทึกขอมูล จากการสรางความคุนเคยไดในระดับหนึ่งโดยการไปพูดคุยสนทนาชวงสั้ นๆ ประมาณไม เกินหนึ่ ง ชั่วโมง ซึ่งผูวิจัยไดจดบันทึกขอมูลพื้นฐานอยางกวางๆแลว ในเวลาตอมาผูวิจัยจึงไดใชเทปบันทึกเสียง บันทึก การพูดคุยกับกลุมตัวอยางโดยใหเลาประสบการณ เริ่มตั้งแตการเขามาเปนเด็กวัด การดําเนินชีวิตประจําวันทั้ง ในวัดและนอกวัด เครือขายรูปแบบความสัมพันธในวัด และทิศทางในอนาคตของกลุมตัวอยาง บางประเด็นที่ ยังไมครบผูวิจัยก็ไดซักถามเพิ่มเติม โดยที่ไดพยายามสรุปเนื้อหาที่กลุมตัวอยางไดพูดตลอดทุกระยะหลังจาก การสนทนาในประเด็นตางๆ การวิเคราะหเนื้อหา การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา (Content analysis) อยางงายเปน หลัก ผลการวิเคราะหขอมูลจึงแสดงใน 2 ลักษณะ คือ การพยายามสะทอนใหเห็นแบบแผนหรือจุดรวมของ ปรากฏการณควบคูไปกับการสะทอนใหเห็นความหลากหลายของกรณีศึกษา อยางไรก็ดี เนื่องจากเงื่อนไขของ เวลาที่มีอยูอยางจํากัดในการศึกษา ผลการศึกษาในครั้งนี้จึงอาจมีความดอยในดานความลึกของเนื้อหาอยูมาก ผลการวิเคราะหในการศึกษาครั้งนี้จงึ ไดเพียงภาพโครงรางของ”ปรากฏการณ”เทานั้น (พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ 2545: 38) ผลการวิจัย จากการศึกษากระบวนการกลายเปนเด็กวัดในครั้งนี้ ไดทําการศึกษาจากกลุมตัวอยางที่เปนเด็กวัด จํานวน 7 คน จาก 5 วัด ในพื้นที่ฝงธนบุรี โดยใชวิธีการศึกษาตามระเบียบวิธวี ิจัยเชิงคุณภาพ ผูวิจัยไดทําการ สังเกตการณและสัมภาษณแบบเจาะลึก ซึ่งมุงประเด็นศึกษาตั้งแต เงื่อนไขของการกลายมาเปนเด็กวัด เมื่อได กลายมาเปนเด็กวัดแลวมีแบบแผนในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางไร รูปแบบความสัมพันธในวัด การตอรอง รวมตลอดถึงแผนการในอนาคตที่เกี่ยวกับชีวิตของการเปนเด็กวัดกับวัด ผูวิจัยขอนําเสนอผลการศึกษาดังมี รายละเอียดตอไปนี้


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

32

ภูมิหลังของกลุมตัวอยาง กลุมเด็กวัดซึ่งเปนเพศชายทั้งหมดที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ จํานวน 7 คน (โดยใชนามสมมติ) มีภูมิหลัง อันประกอบไปดวย อายุ ภูมิลําเนา อาชีพทีบ่ าน สถานะปจจุบัน และระยะเวลามาอยูวัด มีดังนี้ ลําดับวัด ชื่อ อายุ ภูมิลําเนา อาชีพทางบาน สถานะปจจุบัน ระยะเวลามาอยูวัด 1. แปค 23 รอยเอ็ด ทํานา ครูอัตราจาง 3 ป ลี่ 18 กรุงเทพฯ ธุรกิจสวนตัว นักเรียน 1 ป 2. หนึ่ง 17 นครราชสีมา ทําไร นักเรียน 3 ป ตรี 22 นครราชสีมา ทําไร สวนผัก นักศึกษา 2 ป ครึ่ง 3. กร 19 พิษณุโลก ทําสวน นักศึกษา 4 เดือน 4. ชาญชัย 19 สกลนคร ทํานา นักศึกษา 4 ป 5. สําลี 21 สงขลา ทําสวนยาง นักศึกษา 6 ป แป ค เปน เด็ กหนุ ม จากอี ส าน อายุ 23 ป เป น คนจั ง หวัดร อยเอ็ ดบ า นเดิ ม มีอาชี พ ทํา นา ตอนนี้ จบ ปริญญาตรี ( ดานวิทยาศาสตร ) ปจจุบันเปนครูอัตราจางสอนอยูใน โรงเรียนมัธยมแหงหนึ่งในฝงธนบุรี เขา อาศัยอยูวัดนี้มา 3 ปแลว กอนหนานี้เขาเคยเปนเด็กวัดมาแลวตอนอยูรอยเอ็ด สําหรับในกรุงเทพฯ เขาเคยอยู วัดแหงหนึ่งมาแลว 1 ป จากนั้นไดยายออกมาอยูหอไดสักพักหนึ่ง และยายมาอยูในวัดนี้ ลี่ อายุ 18 ป เปนเด็กที่ตางไปจากกลุมตัวอยางคนอื่นๆ คือเขาอาศัยอยูในกรุงเทพฯ แถวเซ็นหลุยส ครอบครัวทําธุรกิจที่ตางจังหวัด ปจจุบันเขาเรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนแหงหนึ่งยานสาทร โดยได อาศัยอยูที่วัดแหงนี้มา 1 ปแลว หนึ่ง อายุ 17 ป มีภูมิลําเนาเดิมอยูที่จังหวัดนครราชสีมา อาชีพที่บานเดิมทําไร ปจจุบันเขาศึกษาอยู ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนแหงหนึ่งในถนนอิสรภาพ โดยไดอาศัยอยูที่วัดแหงนี้มา 3 ปแลว ตรี อายุ 22 ป มีภูมิลําเนาเดิมอยูที่นครราชสีมา ที่บานเดิมประกอบอาชีพทําไร สวนผัก ปจจุบันเขา เปนนักศึกษาชั้นปที่ 4 ในมหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง โดยไดอาศัยอยูที่วัดแหงนี้มา 2 ปครึ่ง กอนหนานี้อาศัยอยู หอพัก กร อายุ 19 ป มี ภูมิ ลํ า เนาเดิ ม อยู ที่พิษ ณุ โ ลก ที่ บ า นเดิ มประกอบอาชี พ ทํ า สวน ป จจุ บั น เขาเป น นักศึกษาชั้นปที่ 1 ในมหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง โดยไดอาศัยอยูวัดนี้ประมาณ 4 เดือนมาแลว ชาญชัย อายุ 19 ป มีภูมิลําเนาเดิมอยูที่จังหวัดรอยเอ็ด ที่บานเดิมประกอบอาชีพทํานา เขายายมาอยู ในวัดแหงนี้เมื่อตอนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ปจจุบันเขาเปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ในมหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง โดยได อาศัยอยูที่วัดแหงนี้มา 4 ปแลว สําลี อายุ 21 ป เปนเด็กใตมีภูมิ ลําเนาเดิมอยูที่จังหวัดสงขลา เขาเคยเปนเด็กวั ดมากอนตอนที่อยู สงขลา บานเดิมประกอบอาชีพทําสวนยาง ปจจุบันเขาศึกษาถึง 2 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยเปดแหงหนึ่งในชั้น ปที่ 4 และมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ดานคอมพิวเตอร) ในชั้นปที่ 4 โดยไดอาศัยอยูที่วัดแหงนี้มา 6 ปแลว ลักษณะที่พักอาศัย จากการสังเกตของผูวิจัยพบวาเด็กวัดจะพํานักอาศัยในที่อยู ซึ่งเรียกวา กุฎีบาง คณะบาง สวนใหญจะ นิยมใชคณะมากกวา โดยทีว่ ัดแหงหนึ่งๆ จะมีประมาณ 1–8 คณะ แตละคณะจะมีพระภิกษุสงฆเปนผูดูแล ควบคุมเด็กวัดที่อาศัยอยูในคณะนั้นๆหรือที่เรียกวา “เจาคณะ” มีหนาที่รับผิดชอบเด็กในสังกัด ทั้งในเรื่อง ความเปนอยู การจัดหนาที่รับผิดชอบภายในวัด รวมทั้งการเปนที่ปรึกษาและตัดสินปญหาตางๆที่อาจเกิดขึ้นใน คณะของตน เด็กที่อยูในคณะหนึ่งๆสวนใหญจะมีภูมิลําเนาเดิมเดียวกันกับเจาคณะนั้นๆ ดังเชน กรณีของกร ที่มี เด็กวัดอยูรวมคณะเดียวกัน 8 คน ซึ่งทั้งหมดมาจากจังหวัดพิษณุโลก โดยมีเจาที่เปนคนบานเดียวกันเปนผูดูแล หรือกรณีข องชาญชัยซึ่งคณะที่อยูมี ทั้งเณรและเด็ กวั ดร วมๆกัน ประมาณ 10 กวา คน สื่อสารกัน ดวยภาษา ทองถิ่นอีสาน รวมทั้งพระภิกษุหรือเจาคณะที่ดูแลดวย


33

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ลักษณะทางกายภาพของแตละคณะแตละวัดก็มีความแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับระดับฐานะของวัด และพื้นที่ใชสอยของวัดนั้นๆ แตละคณะจะอยูติดๆกันคลายกับหมูบาน ไมหางกันมากนัก อยางไรก็ดีบางวัดก็มี ลักษณะคณะที่ตางกันออกไปคือ ลักษณะของตัวอาคารจะทอดตัวเปนแนวยาวขนานกันมองไมเห็นความชัดเจน ที่แยกออกเปนคณะได สําหรับหองพักของเด็กวัดแตละคน ก็มีลักษณะตางกันออกไปบางวัดเด็กวัดจะอยูแยก หองละคน หรือบางวัดก็อยูร วมกันกับเณร หรือบางแหงก็จะนอนรวมกันแตกางมุงคนละหลัง เชน สําลี : “ผมอยูหองเดียวกับศิษยวัดที่เปนเด็กใตดวยกันอีก 3 คน เณรอีกองค แตก็มีคณะอื่นๆอีก เด็กวัดนี้มี รวมๆ 20 คน” กร : “บนกุฎีชั้นบนนอนรวมครับ มุงใครมุงมัน แลวก็มีหลวงนาอยูในหองเปนคนดูแล” สวนกรณีของตรี แปค หนึ่ง และลี่ นั้นจะอยูแยกหองละคนเปนอิสระ นอกจากนี้เด็กวัดแตละแหงจะมี พื้นที่ใชสอยรวมกัน คือ หองน้ํา บริเวณหองครัว ลานวัดสําหรับทํากิจกรรมตางๆรวมกัน กลาวโดยสรุปที่อยู อาศัยของเด็กวัดแตละแหง ขึ้นอยูกับระดับฐานะของวัดนัน้ ๆรวมทั้งพื้นที่ใชสอยในทางกายภาพของวัด ซึ่งแยก ได 2 ลักษณะ คือ การอยูรวมกัน และการอยูแยกกันเปนอิสระ แตทั้งหมดก็มีจุดรวมที่เหมือนกันคือ การมีเจา คณะที่รวมอาศัยอยูในคณะเดียวกันเปนผูดูแล ขั้นที่ 1 เงื่อนไขที่นํามาสูการเปนเด็กวัด ความรูสึกหรือภาพลักษณที่มีตอ “เด็กวัด” ในเบื้องตนนี้ผูวิจัยไดถามถึงมุมมองของกลุมตัวอยางที่มีตอ “เด็กวัด” กอนการเขามาเปนเด็กวัด กลุม ตัวอยางทุกคนตางก็มีมุมมองของพวกเขาเองที่มีตอภาพลักษณ (image) ของเด็กวัดซึ่งมีลักษณะแตกตางกัน ออกไป โดยแบงได 2 ลักษณะที่สําคัญ คือ มุมมองที่มีตอเด็กวัดในแงบวก (โดยเฉพาะชาญชัย แปค และสําลีที่ เคยเปนเด็กวัดมากอนเมื่อตอนครั้งอยูตางจังหวัด) มีเงื่อนไขที่สําคัญที่มีผลตอมุมมองก็คือ ความคุนเคยกับการ เห็น พอแม หรือบุ คคลในครอบครัวที่ใกลชิดกับศาสนาดวยการปฎิ บัติกิจวัต รที่เ กี่ยวเนื่องกับ ศาสนาอยูเป น ประจํ า เช น การทํา บุญ ตักบาตรหนา บา น หรือการมี ญาติบ วชเปน พระภิ กษุส งฆ ดั งเชน กรณี ของชาญชั ย ที่กลาวา “ตอนผมอยูที่บาน ที่สกลฯ บานผมอยูใกลวัด ก็ไปเลนที่วัดบอยๆ เพราะเจาอาวาสเปนลุง เปนเจา คณะตําบล พอที่บานตักบาตรตอนเชาๆที ผมก็ถือชวยปนโตไปวัดกับเด็กวัดคนอื่นๆทุกวัน ผมคิดวา เด็ดวัดมี ระเบียบ ถาคงเขาไปก็คงตองทํางานชวย ” เชนเดียวกับสําลีและแปคที่เคยเปนเด็กวัดมากอน เมื่อตอนอยูที่สงขลาและรอยเอ็ด สําลี : “เคยเปนศิษยวัดมากอน พระบิณฑบาตหนาบานทุกวัน ก็ชวยหลวงตาเดินถือปนโตมาวัด ผม จะมองเด็กวัดวาดี เห็นหลวงพี่หลวงนาซึ่งเปนญาติกัน เราก็เห็นตัวอยาง “ แปค : “เด็กวัดตรงนี้ควรใชคําวาลูกศิษยวัดมากกวานะพี่ เพราะเราก็เขามาชวยรับใชวัด และพระก็ให ขาวเรากิน จะวาเด็กวัดก็ไมใช จริงๆ เราไมไดอยูวัดเลย ผมเปนมานานแลวตั้งแตสมัยมัธยมที่รอยเอ็ด เปนเด็ก วัดก็ตองมีระเบียบ วินัย” ลักษณะที่สอง คือจะเปนการเขา ใจภาพเด็กวัดในลักษณะกวางๆ ตามความรูสึกนึกคิด ซึ่งมีความ คิดเห็นที่หลากหลาย เชน ลี่ : “เด็กวัด ชีวิตเรียบงาย ไมเหมือนอยูตามบาน” หนึ่ง : “เด็กวัดคงเดินตามพระทุกวัน ตองชวยวัดทํางาน” กร : “เด็กผูชายที่อยูใ นวัด กินในวัดเฉยๆ พักอยูวัด” หรืออาจเปนกรณีของ ตรี ที่มีมุมุมองตอเด็กวัดที่แตกตางไปจากคนอื่นๆ คือ “เด็กวัดนาจะเปนเด็กที่ไมมีตังค มาอยูวัด บางครั้งก็ทะเลาะระหวางเด็กวัด ทะเลาะกับคนอื่น”


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

34

อาจกลาวไดวา ภาพลักษณของเด็กวัดในมุมมองของกลุมตัวอยางขึ้นอยูกับประสบการณของแตละคน ที่สัมผัสหรือใกลชิดกับศาสนามากๆหรือใกลชิดกับวัดมากอนอยางกรณีของ สําลี ชาญชัย ก็จะพบวามีทัศนคติ ที่ดีตอภาพเด็กวัด ขณะเดียวกันคนตัวอยางบางสวนที่อาจจะไมไดใกลชิดกับศาสนา กลับมองวาเด็กวัดอาจ เปนเพียง “คนอยูวัด” ที่ตองชวยทํางานในวัดเทานั้น เงื่อนไขของการมาเปนเด็กวัด จากการรับรูภาพลักษณ “เด็กวัด” ของกลุมตัวอยาง ผูวิจัยจึงถามกลุมตัวอยางตอไปวา“เคยคิดวา จะตองมาเปนเด็กวัดหรือไม” (ยกเวน แปค และสําลี ซึ่งเคยเปนเด็กวัดมากอนหนานี้แลว) กลุมตัวอยางคือ หนึ่ง ลี่ ตรี กร ชาญชัย ตางก็ตอบวา “ไมเคยคิด” อยางไรก็ดีเนื่องจากเงื่อนไขบางอยางที่ทําใหพวกเขาตองเขา มาจําเปนที่จะตองมาอยูวัด โดยรวมกันสวนใหญก็คือ การเขามาเรียนหนังสือ ดังกรณีของชาญชัย : “ผมยายมาตอน ม.4 ตั้งใจจะมาเรียน จะไดสอบตํารวจ ทหารกับเขาบาง อีกอยางหนึ่งอยูวัดก็ชวย ประหยัดคาใชจายเยอะเลยครับ มีพระคอยดูแลที่บานก็อุนใจได ตอนนี้เรียนอยูป 1 ที่รามฯ” เชนเดียวกับสําลี : “มาอยูวัด 6 ป ตั้ งแตป 42 คือ ตั้งใจจะมาเรียน ตอนนี้ผมเรียนอยู 2 ที่ ที่ราชภั ฏธนบุรีกับที่รามฯ ตอนนี้ฝกงานอยู” แปค : “คาใชจายอันดับแรก คือ ตั้งใจจะมาเรียนดวยเพราะเรียนจบ ม.ปลายจากรอยเอ็ดแลวไมรูจะไปไหน” หนึ่ง : “ที่บานอยูในไร ทางเขาออกไมสะดวก ไป โรงเรียนก็ไมสะดวก พอดีมีคนมาชวน ก็เลยยายมาตอน ม. 2 ที่บานก็สนับสนุนดวย ตอนนี้ก็อยู ม.6” สวนกรณีที่แตกตางไปจากคนอื่นๆ ก็คือ ลี่ ซึ่งพํานักอาศัยอยูในกรุงเทพฯ โดยสาเหตุที่เขามาอยูวัด คือ “พอแมยายไปทํางานที่ตางจังหวัด พี่สาวก็เรียนอยูที่บุรีรัมยคนหนึ่ง อีกคนเรียนอยูที่หอการคา สวนผม พอแมเลยมาฟากไวกับหลวงนา เขาจะไดไมตองหวงผม และมันก็ประหยัดไปในตัวดวย ” จะเห็ นได วาเงื่ อนไขหลั กที่สํา คัญที่ กลุมตั วอย างเขามาสูการเปน เด็กวัดก็ คือ “การศึ กษาเลาเรียน” นอกจากนี้แลวเหตุผลที่สําคัญไมนอยไปวาดานการศึกษา คือ การชวยลดภาระในเรื่องคาใชจายของแตละคน เงื่อนไขดังกลาวนี้ยังสะทอนถึงนัยของการจัดการศึกษาของประเทศที่กระจุกตัวอยูในกรุงเทพฯ โดยผลักดัน กลุมประชากรวัยรุนหรือวัยเด็กออกจากภูมิลําเนายายถิ่นมาสูการแสวงหา “โอกาสที่ดีกวา” ในฐานะที่เปนเมือง ศูนยรวมความเจริญของประเทศ นอกจากนี้ยังก็มีบางคนอยางกรณีของลี่ ซึ่งพอแมยายไปทํางานที่ตางจังหวัด จึงถูกนํามาฝากไวที่วัดซึ่งก็นับเปนเงื่อนไขอีกอยางหนึ่งนอกจากประเด็น การเขามาศึกษาที่ไมเหมือนกับเด็ก ที่มาจากตางจังหวัด ขั้นที่ 2 การเขาสูการเปน “เด็กวัด” อาจกลาวไดวาความสัมพันธระหวางบุคคลนอกวัดและในวัด เปนสวนเกื้อหนุนที่สําคัญในฝากฝงเขาสู การเปนเด็กวัดไมวาจะเปน การมีญาติบวชเปนพระภิกษุสงฆอยูภายในวัดนั้นๆ พระภิกษุสงฆที่บวชอยูในวัด นั้นๆเปนคนทีม่ ีภูมิลําเนาเดียวกันกับเด็กวัด หรือความสนิทสนมจากการเปนญาติธรรมที่มาทําบุญบอยครั้งที่วัด จนสนิทคุนเคยกับพระสงฆในวัดนั้นๆ จนกลายเปน“ศิษยวัด”ประจําของวัดนั้นไป ดวยเหตุนี้เองการกลายเปน เด็กวัดจึงถูก“คนกลาง” ทั้งหลายซึ่งเปนผูสงตอพลักดันใหกลุมเด็กเหลานี้เขามาอาศัยอยูในวัดแหงหนึ่งๆได ดังเชน ชาญชัย : “รูจักกับหลวงพอที่เปนเจาคณะ เปนคนบานเดียวกัน ก็ไดชักชวนมา เจาอาวาสเปนลุงที่อยูที่บานก็ รูจ ักกับหลวงพอ เขาก็พามาฝากไว”


35

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สําลี : “หลวงอาที่เคยบวชที่วัดนี้เขารูจักกับเจาอาวาสก็เปนคนใตดวยกัน ก็เลยไดมาอยู บางคนถาถูกตอง ตามระเบียบแบบแผน ตองมีหนังสือรับรองจากวัดอื่นใหชวยดูแลเด็กคนนี้ อยางเณร คนนี้ บางทีก็มากับโยม แลวก็มาฝากหลวงพอ” แปค ซึ่งเคยเปนเด็กวัดมากอน เลาวา “ตอนเรียนอยูในตัวจังหวัดรอยเอ็ดรูจักกับเณร เขาก็พามาฟากตอนแรกยังไมไดอยูวัดนี้หรอกอยูวัด นอยมากอน ตอมาก็ยายออกมาอยูหอพักหนึ่ง ก็ยายมาอยูวัดนี้ ไมรูจักกับในนี้เลย ก็อาศัยเณรที่รูจักใหพามา แตคือวาเรามีทุนเดิมคืออยูวัดมากอน เขาก็เลยรับไว” ลี่ : “มีหลวงนาบวชอยู พอแมก็เอามาฟากไว จะไดชวยดูแลให” หนึ่ง : “คือยายพามาฟาก คือ ยายเขามาที่นี่บอยๆ มาหาหลวงพอ เขาก็บอกหลวงพอไวเนินๆวาเราจะฝาก หลานไวคนหนึ่ง พอมาก็พาไปหาหลวงลุง กราบทาน แนะนําตัว” ตรี : “มี ญ าติ รู จักกั บ หลวงพ อที่ บ า นพาเข า มา หลวงพ อแก เ คยไปที่ บ า นเรื่ อยๆที่ บา นนิ ม นต ไ ปบ อยๆ ก็สนิทกัน” โดยภาพรวม การเขาสูการเปนเด็กวัดเขามาอาศัยอยูในวัดไดจําตองอาศัยชองทางซึ่งก็คือ “คนกลาง” คนสนิทที่ยึดโยงกับวัดเปนผูนําพาเขามา ประเด็นที่สําคัญที่อยูเบื้องหลังตรงนี้ก็คือ การรับรองและนําไปสูความ ไวใจไดวาบุคคลที่พาเขามานี้จะไมมีพฤติกรรมที่หลุดจากระเบียบหรืออยูในกรอบที่วัดกําหนดได จากการมีผูค่ํา ประกันใหโดยนัย ในขณะที่บานเดิมก็คาดหวังวา จะไดรับอุปการะจากทางวัด อีกทั้งยังชวยลดคาใชจายทาง บานและยังสรางความอุนใจจากการไดอยูในสิ่งแวดลอมที่ดี ทามกลางแสงเสียงของกรุงเทพมหานคร การปรับตัว จากการเขามาสูการเปนเด็กวัดแลว การปรับตัวในวัดใหเขากับบริบทของวัดเปนสิ่งสําคัญของเด็กวัด มากแตจากการสัมภาษณกลุมตัวอยางก็ไมพบปญหาใดๆในการปรับตัวไมได จนถึงขั้นตองยายออกไปอยูที่อื่น บางคนที่มีพื้นฐานการเปนเด็กวัดมากอนก็ไมพบปญหาใดๆ เชน ชาญชัย : “รูส ึกเฉยๆ ครับไมอึดอัดหรอกครับ ผมก็ไมไดไปไหนตอนอยูที่สกลฯก็ไปเลนที่วัดบอยๆ มาอยูนี้ก็ตอง ฟงคําสั่งจากหลวงพอ สวนใหญมาตอนแรกๆจะไมฉินกับการมาอยูกรุงเทพฯมากกวา ถนนหนทาง รถมันเยอะ ไปไหนมาไหนก็ไมถูก” แปค : “รูสึกปกติไมปรับตัวอะไรมากมาย เหมือนๆกันกับวัดที่เคยอยูมากอน” สวนกรณีของบางคนที่ยังไมเคยอยูวัดมากอนก็จะรูสึกอึดอัดบางเมื่อตอนแรกๆเขามาอยู แตพออยูไป ไดสักระยะก็เคยชิน ดังเชน ตรี : “กอนมาตอนแรกๆก็วาเครงครัด เดี่ยวนี้มันเคยแลว ผมปรับตัวประมาณครึ่งปถึงคงที่ เพราะวาตอน แรกอยูท ี่บานก็ไมไดทําอะไร มาอยูที่นี่ก็ตองทํา ตอนแรกๆก็หงุดหงิด ทําไมตองตื่นเชา บิณฑบาต ไหนเราตอง ไปเรียนอีก” หนึ่ง : “ตอนแรกๆ ที่เขามาก็กลัวพระไมกลาเขาใกล ที่บานจะโทรฯมาหาบอยๆ ชวงแรกที่เขามาอยู พออยู ไปเรื่อยๆก็ด”ี ลี่ “รูสึกแปลกๆ สนุกดีตองชวยตัวเองไมเหมือนกับอยูบาน ซักผาเอง ทําอะไรเอง ตอนแรกๆหลวงนาจะ มาบอกวาตองทําอะไรบาง”


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

36

กร : “ก็แปลกๆกวาอยูที่บาน ตอนอยูที่บานสบายๆ Relax พอมาอยูก ็แปลกๆ คนหมูมากก็มีกฎระเบียบ” ดวยความเปนเด็กวัดมากอนจึงทําใหบางคนไมตองปรับตัวอะไรมากมาย โดยรูวาจะตองปฏิบัติตน อยางไรบาง ในขณะที่เด็กบางคนที่ไมเคยอยูวัดมากอนก็มีความรูสึกรวมๆกันในชวงแรกๆของการใชชีวิตการ เป น เด็ กวั ด แต เ มื่ อ อยู ไ ปได สั กระยะหนึ่ ง แล วก็ ส ามารถที่ จะปรั บ ตนให กลมกลื น เข า กั บ บริ บ ทของวั ดได อยางลงตัว คาใชจาย - อาหารการกิน – ขาวของเครื่องใช หากจะกลาวถึงเรื่องคาใชจายสวนตัวของเด็กวัดนับเปนเงื่อนไขที่เอื้อตอความประหยัดในแตละคนก็จะ พบวา การเปนเด็กวัดนี้จะชวยลดคาใชจายในหลายเรื่องโดยเฉพาะดานอาหารการกินและขาวของเครื่องใช คาใชจายสวนอื่นๆของเด็กวัดแตละคนจะอยูที่การจัดการดูแลตัวเอง อยางไรก็ดีบางวัดก็จะชวยสนับสนุนใน เรื่องทุนการศึกษาใหกับเด็กวัดอยางเชน กรณีของหนึ่งและตรี ที่วัดใหทุนเรียน คาใชจายของเด็กวัด แตละคนก็ มีลักษณะที่แตกตางกันออกไป เชน ลี่ : “ที่บานก็สง หลวงนาก็ใหเงินใชบางก็มี คาใชจายสวนใหญจะอยูในเรื่องเรียน อยางทํารายงาน คารถ ของอื่นๆก็จะซื้อบางอยางเทป ซีดี ก็ใชเงินที่บานสงมาให เดือนๆก็ประมาณ 2 พันกวาบาท” แปค : “เดือนๆ ก็ใชเงินมากเหมือนกัน ยิ่งผมทํางานผมใชมากกวาตอนเรียนอีก พวกเสื้อผา เครื่องแตงตัว คาอื่นๆในโรงเรียนที่สอนบางทีก็ออกเอง เดือนๆก็รวม 3 พัน 4 พัน เงินเก็บก็ไมคอยจะมี อยูวัดยังดีที่ไดขาววัด คาเชาก็ไมตองเสียเหมือนอยูหอ ที่วัดนี้เขาก็จะใหเสียแตคาไฟอยางเดียว แตละหองจะมีมิตเตอรติดอยู” กร : “ประมาณ 4 พันกวาบาท ของผมจะเสียมากในเรื่องคารถ คาชีทหนังสือ บางทีก็ซื้อเสื้อผา หนังสือ เพลงก็มี ที่บานก็สงใหเดือนละ 4 พัน ถาไมพอก็โทรฯไปขอได” สําลี : “ผมก็ประหยัดสุดๆ ตอนแรกๆที่มาอยูใหมๆก็ใชเยอะ ตอนนี้ประหยัดกวาแตกอน กินขาววัด ที่อยูก็ ไมตองเสีย เดือนๆเดี่ยวนี้ก็ 4 พัน ผมรับจางทําคอมฯ พิมพงาน ออกแบบอะไรพวกเนี่ยเราก็มีเงินเก็บอยูบาง นิดหนอยเอาไวซื้อของจําเปน คาเทอมที่บานก็สง ไมไดกูทุนหรอก ผมไมอยากเปนหนี”้ ชาญชัย : “เดือนๆผมก็ใช 3 พันได ก็ไมคอยไดแตตัวอะไร อยูวัดก็ประหยัดเยอะ ที่วัดก็จะใหชวยออกคาน้ําให เดือนละ 100 เด็กวัดทุกคนตองจาย สงสารพี่สาว พี่สาวสงเรียน ผมเองเปนนักกีฬาของมหาวิทยาลัยพอไปแขง ก็ไดเบี้ยเลี้ยงมาบางก็พอถูไถไปได” ตรี : “ก็ไมคอยไดเสียอะไรมาก อยางมากก็แคคาใชจายที่มหาลัย คาหนังสือ ชีท ทํารายงาน บางทีของใช สวนตัว เสื้อผา ขาวของเราก็มีเงินเก็บซื้อเอง อยูวัดมันก็ดี อยางคาใชจายหลักๆก็ไมตองเสียประหยัดไดมาก อยางวัดนี้แตละคณะเขาจะใหคาใชจาย คาน้ํา คาไฟ คณะละ 4 พัน ตอเดือน ถาคณะไหนไมพอก็ตองออกเอง สวนใหญหลวงลุงเขาจะออก แตเราก็ตองชวยวัดประหยัด หลวงลุงเขาก็จะไมคอยใหดูโทรทัศน หรือฟงวิทยุ มากเทาไหร เขาจะใหอานหนังสือมากกวา เดือนๆที่บานก็จะสงใหเดือนละ 4 พัน” โดยภาพรวมเด็กวัดจะมีคา ใชจายรวมๆอยูระหวาง 2,000–4,000 บาท ซึ่งขึ้นอยูกับแตละคนจะบริหาร จัดการตัวเองในเรื่องการใชเงิน คาใชจายสวนใหญจะอยูในเรื่อง การเรียน และการซื้อขาวของเครื่องใชสวนตัว ของแต ละคน ในขณะที่บ างคนก็ หารายไดพิ เศษด วยการรับ จา งทํ างานดัง กรณีของสํ าลี สํ าหรับ บางวั ดก็ มี คาใชจายที่จะตองใหเด็กวัดชวยรับผิดชอบดวย เชนในเรื่องคาน้ํา คาไฟฟา อยางเชนกรณีของชาญชัย สําลี และลี่


37

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สําหรับชีวิตความเปนอยูในเรื่องอาหารการกินแลวนับวามีความสะดวกสบายมาก เพราะอาหารทั้งของ คาวและหวาน สวนใหญจะไดม าจากการรับ บิณฑบาตรในชวงเชา และการทําบุ ญในชวงเพลของญาติโยม อาหารที่เหลือจากการฉัตรของพระภิกษุสงฆเด็กวัดก็จะนํามารับประทานตอ โดยเฉพาะในชวงเชา และชวง กลางวัน สวนตอนเย็นหากกับขาวเหลือยังไมเนาเสีย เด็กวัดก็จะนํามาอุนรับประทานในชวงเย็น ในขณะที่วัด บางแหงไมมี เด็กวัดสวนใหญก็ตองออกไปหาซื้อรับประทานกันบริเวณนอกวัด เชน ชาญชัย : “กับขาวก็มีหลากหลาย ก็สบาย กินขาววัด ทั้งเชา กลางวัน และก็เก็บถึงเย็นก็เก็บไว ชวยประหยัด ตังคไดมากเลยครับ” สําลี : “อาหาร สบายไมอด ทั้งเชา กลางวัน ตอนเย็นก็หากินแถวหนาวัด” แปค : “ตอนเชาไมคอยไดกินที่วัด สวนใหญจะเปนเสาร–อาทิตยมากกวา” หนึ่ง : ”สวนใหญจะกินขาวเชาที่วัด ตอนกลางวันถาเปดเทอมซื้อกินที่โรงเรียน ถาตอนเย็นกับขาวไมมีเหลือ หลวงลุงก็ออกเงินใหไปซื้อขาวขางนอก” ตรี : “ถาไมพอตอนเย็นก็ขอตังคหลวงลุงไปซื้อ ถากับมามีกับขาวก็กินขาว บางทีก็ไปซื้อมากินดวยกัน หรือ ซื้อมาทํากินกันบางชวยกันลางชวยกันเก็บ” ขาววัดนับเปนสิ่งสําคัญสําหรับกลุมเด็กวัดเปนอยางยิ่ง เพราะสามารถที่จะชวยลดคาใชจายสวนตัว ของเด็กวัดแตละคนลงไดมาก จะเห็นไดวาหากไมติดขัดในเงื่อนไขดานเวลาในเรื่องการเรียนและการทํางาน แลว เด็กวัดจะตองกลับมากินขาววัดกัน โดยเฉพาะในชวงเย็นหากกับขาววัดเหลือเด็กวัดก็จะไดรับประทานกัน ในขณะที่กับข าวไมเ พียงพอกับ จํา นวนคนก็อาจจะได รับความช วยเหลื อจากพระสงฆที่ดูแลด วยการให เงิ น ออกไปซื้อสําหรับบางวัดเด็กวัดก็จะหากินในชวงเย็นกันเอง ซึ่งกิจวัตรประจําวันนี้จะเกิดขึ้นอยางตลอดสําหรับ กลุมตัวอยางที่ศึกษาในครั้งนี้ สําหรับในเรื่องขาวของเครื่องใชของเด็กวัดนั้น หากเปนของใชสวนตัว เชน เสื้อผา อุปกรณหลักตางๆ ที่จําเปน เชน โทรทัศน พัดลม ตู ฯ ก็จะเปนหนาที่ของเด็กวัดแตละคนในการดูแลจัดการตัวเอง แตในสวน ของขาวของเครื่องใชอื่นๆ เชน สบู ผงซักฟอก ยาสีฟน แปรงสีฟน และอื่นๆ เด็กวัดก็จะไดรับการแบงปนจาก ทางวัดใหมาใช โดยเฉพาะขาวของที่บรรจุอยูในสังฆทานที่ผูคนนํามาถวายวัด เชน หนึ่ง : “เครื่องใชสวนตัวทุกคนก็จะหามาเอง แตบางอยางเชนสบู ผงซักฟอก ยาสีฟน ถาหมดก็ไปขอหลวงลุง มาใชได หลวงลุงเขาจะคัดแยกออกเปนกองๆ จะเอาไปตางจังหวัด เราก็ไปขอมาใช หรือบางทีหลวงลุงก็เอามา ให อยางพัดลมเนี่ยก็ของวัด เพราะที่วัดมีคนมาบริจาคเยอะก็ไมตองเสียเงินซื้อ” ชาญชัย : “ตอนมาก็เอาแตเ สื้อผามา เครื่องหอม เครื่องสํ าอางก็ไมไดใชไมพิถีพิถัน ก็จะมี สังฆทาน พวกสบู แฟบ ที่หลวงพอก็เอามาให” สําลี : “โทรทัศน คอมพิวเตอร พัดลม อะไรแบบนี้ก็ตองซื้อเอง” ขั้นที่ 3 การธํารงเอกลักษณของการเปนเด็กวัด จากเงื่อนไขที่จําเปนตองมาเปนเด็กวัด ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนคือ การเขามาศึกษาเลาเรียน และ ยังชวยในเรื่องการประหยัดคาใชจายอีกทางหนึ่ง เมื่อเขามาเปนคนในวัด พวกเขาทั้งหลายก็สามารถที่จะปรับ ตนใหเขากับบริบทของวัดได ซึ่งเวลาสวนใหญของพวกเขาทุกคนจะใชชีวิตประจําวันอยูนอกวัดเปนหลักก็ตาม แตก็มีแงมุมที่นาสนใจของการใชชีวิตในวัดซึ่งเสมือนเปนการสวมรับบทบาทเอกลักษณของการเปนเด็กวัดที่ตน ตองดํารงไว เอกลักษณเหลานี้แสดงออกโดยผานการทํากิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวัน โดยมีรายละเอียดดังนี้


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

38

กิจกรรมในวัด ผูวิจัยเคยตั้งคําถามกอนลงสนามไววาเด็กวัดที่ทําการศึกษานี้คงไมไดทําอะไรมากมาย อาจจะเปน เพียงเด็กที่อยูวัดอยางเดียว งานหรือกิจกรรมตางๆที่ตองทําคงจะเปนหนาที่ของเด็กวัดในความหมายของคนที่ อยูประจําเทานั้น หากแตเมื่อลงไปศึกษาดูแลวก็พบวา“ผิดคาด”เพราะถึงแมวาเด็กวัดแตละคนสวนใหญจะใช เวลาอยูนอกวัดเปน โดยเฉพาะการมีเปาหมายในเรื่อง การเรียนหรือการงานเปนหลัก แตพวกเขาก็ยังคงปฏิบัติ หนาที่ชวยเหลือกิจการของวัดอยางสม่ําเสมอ ซึ่งสวนใหญจะกระทํากอนไปเรียนและหลังจากเลิกเรียนแล ว หากเปนวันเสาร–อาทิตยและงานที่วัดจัดขึ้นในโอกาสตางๆ ก็มีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบกันอยางชัดเจน เชน ชาญชัย : “ถาหากตื่นเชาตองกวาดถู ตื่นก็ตี 5 บางวันก็ตี 3 บาง อานหนังสือกอน บางวันกวาดถูศาลาแลวถึง ไปเรียน วันไหนไมไดไปก็บิณฑบาตชวยทุกวัน เสาร อาทิตยก็ชวยครับ หลวงพอเขาจะมีโยมประจําอยู งานที่ ทําทั่วไป กวาดขยะ เก็บขยะ กรอกน้ํา ลางหองน้ํา เฉพาะบริเวณคณะนี้ สวนขางนอกมีคนอื่นทํา” สําลี : “ตื่น 6 โมงเชา หนาที่ของผมคือ ลางปนโตกอนและบิณฑบาตร ตอนเย็นกลับมาก็ลางปนโตตองกวาด คณะทุกวันอาทิตย บางทีผมก็เปนคนจัดเวรใหวาใครทําอะไรกับเด็กรุนนองที่อยูคณะเดียวกัน” แปค : “พระอาจารยจะเปนคนจัดตารางให ของผมก็ลางหองน้ํา กวาดลานวัด วันเสาร อาทิตยถึงจะไดไป ชวยบิณฑบาตร ก็เดินตั้งแตวัดไปจนถึงโพธิ์สามตน รวมๆ 2 กิโล ตอนชวงทํางานก็ไมคอยไดชวย ตอนนี้ปด เทอมก็ชวยไดเต็มที่” ลี่ : “ชวยกวาดลานวัด ล างหองน้ํา ถูโบสถ แลวก็ เดินบิณ ฑบาตของผมไปกับหลวงนาเขา ไปในหมูบา น ศิวาลัย พอวัดมีงานก็ชวยจัดสถานที่ ตอนงานสงกรานต จะมีของเขามาขายในวัดก็ตองชวยจัดสถานที่” กร : “ทิ้งขยะ ขัดหองน้ํา ดูเฉพาะกุฎี 4 ที่เราอยู อยางอื่นก็มีบาง กวดถนน ก็ไมคอยไดชวยมากเทาไหร บางทีถาเขาจะใหเราชวยก็มาเรียกก็ไปครับ” สําหรับ ตรี และ หนึ่ง ซึ่งอยูวัดเดียวกันภายในคณะมีอยูดวยกัน 7 คน ก็แบงหนาที่กันลงตัวในการ ทํางานอาทิตยหนึ่งๆ หนึ่ง : “ผมนอนเที่ยงคืน ตื่นตี 5 ครึ่ง ตื่นเชามาก็บิณฑบาตร ของผมไปทางวังหลัง พอเสร็จก็มาเทกับขาว ลางปนโต แลวคอยไปเรียน นอกนั้นก็ทําความสะอาดทั่วไปในคณะ กวาดลานวัดบาง เก็บขยะบาง วันอาทิตยก็ จะแกะสังฆทาน บางทีกอ็ านหนังสือพิมพใหหลวงลุงฟง” ตรี : “ถือปนโตวันใครวันมัน ตอนเย็นก็กลับมากวาดลานวัด เก็บปนโต ไมทําไมได แหมรูๆกันอยูเราเขามา ก็ตองทํา บางที 7 คนก็จะประชุมแบงหนาที่กัน อยางตอนชวงกินขาวดวยกัน ตอนนี้ก็แบงเปน 2 ฝง ทํากุฎีฝง โนนคนละครึ่ง” จะเห็นไดวาเด็กวัดก็ยัง ทําหนาที่ตางๆที่พึ่งกระทํ าตอวัด ตั้งแตการบิณฑบาตร การเทกับขาว ลา ง ปนโต กวาดลานวัด ลางหองน้ํา ซึ่งงานหรือภารกิจดังกลาวนี้จะกระทําภายใตกรอบพื้นที่ของคณะที่ตนเองอยู บางแหง งานที่ตองทําจะถู กกําหนดโดยพระสงฆที่เป นผูดูแล ในขณะที่ บางแหง กลุมเด็กวัดก็แบง หนาที่สวน รับผิดชอบกันเอง สวนงานวันดานอื่นๆที่อยูภายในบริเวณวัด จะเปนหนาที่ของเด็กวัดหรือลูกศิษยวัดประเภท อื่นๆ เปนผูดูแล ( เจาหนาที่วัด ) โดยที่งานที่กระทํานี้ทั้งหมดตางปฏิบัติดวย “ความเต็มใจ”มากกวาการถูก บังคับ ดังคําพูดที่วา “รูๆกันอยูวาเมื่อเขามาแลวตองทําอะไรปฏิบัติอยางไร”งานที่ทํานี้จึงเปนเสมือนการตอบ แทนบุญคุณของวัดสําหรับพวกเขาอีกหนทางหนึ่งที่จะกระทําได


39

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

กฎเกณของวัด/ความเปนอิสระ/และการตอรอง วัดแตละแหงจะมีระดับความเขมขนในการควบคุมดูแลเด็กวัดที่แตกตางกัน จากการสัมภาษณสวน ใหญ เด็ ก วั ดต า งก็ ต อบในลั กษณะที่ ว า เมื่ อเข า มาอยู แล วก็ ต อ งรู อะไรเป น อะไร อะไรควรทํ า ไม ค วรทํ า นอกจากนี้เนื่องจากวัดยังเปนสถานที่ที่เปดกวางสําหรับผูคนจึงทําใหเปนสิ่งที่ ทาทายตอการออกนอกลูนอกทาง ของเด็กวัดดวย ถึงแมวาทางวัดจะไมมีกฎเกณฑหรือรายละเอียดที่เปนรายลักษณอักษรมากําหนด แตพวกเขาก็ รูสึกวาควรปฏิบัติตนอยางไรเมื่อเขามาอยูในตําแหนงแหงที่ตรงนี้ ดังเชนกรณีที่ผูวิจัยไดสอบถามในการเขาออ กวัดของเด็กวัดในแตละแหง ซึ่งพบวาถึงแมประตูหลักของวัดจะปดลงเมื่อเวลาอันสมควร หากแตก็ยังมีประตู เล็กเปดไวซึ่ง เปนที่รูกันของคนในวัดวาประตูนี้เปนชองทางในการเขาออกวัดไดตลอด ถึงกระนั้นก็ตามจากการ สัมภาษณกลุมเด็กวัดการเขาออกของพวกเขาก็จะอยูในเวลาอันสมควร เชน ไมเกิน 2 ทุม 3 ทุม หรือ 4 ทุม บางในวัดแตล ะแห งที่ กําหนด หากมีเ งื่ อนไขใดที่จะทํา ให ล าช า ก็ จะมี การติดต อบอกแจง กั บเพื่ อนสนิทไว ลวงหนากอนกับเพื่อน หรือผูดูแล ระดับความอิสระของชีวิตเด็กวัดจึงขึ้นอยูกับการควบคุมตนเองมากกวา ดัง จะใหไดจากมุมมองของหลายคน เชน ชาญชัย : “ผมวาความอิสระขางนอกกับขางในมันเทากันนะครับพี่ ถาแบงเวลาเปน อยางเชนวาถาขางนอกมัน อาจจะเลนไดบาง ในวัดก็อาจจะเลนไดแตในชวงบายๆก็มีขอจํากัดอยูบาง เชน การสงเสียงดังรบกวนคนอื่น” สําลี : “แตกต า งมาก อยู ข า งนอกเรามี โ อกาสที่ จะเที่ ยว ทํ า อะไรได ม ากกว า อยู ในวั ด ผมคิ ด ว า วั ด ที่ นี่ กฎระเบียบไมคอยเครงเทาไหร มันขึ้นอยูกับตัวบุคคลที่ดูแล” แปค : “เหมือนกับอิสระของเรา คนคิดวาอยูในวัดกฎระเบียบมีมาก ก็แลวแตคนจะคิด ผมคิดวาไมใชมันอยูที่ ตัวเราเองมากกวา ที่นี่อิสระเพราะอยูหองละคนหองใครหองมัน ไมเหมือนที่ผมอยูรอยเอ็ดอยูหองละ 4–5 คน ที่นี่ทุกวันอาทิตยจะมีประชุม 1 ครั้ง ตรงลานโถงนี้ เจาอาวาสจะเปนคนลงมาเทศนสอน ชวงประมาณ 1–2 ทุม ทานจะพูดเรื่องทั่วๆไป การดําเนินชีวิต การเขามาอยูที่แลวแลวเราชวยอะไรบาง” ลี่ซึ่งอยูวัดเดียวกับแปค : “อยูวัดอิสระมาก ถาควบคุมตัวเองไมได คงลําบาก ผมก็เคยชวยเพื่อนที่เรียนดวยกันมาที่วัด ก็ไมมี ใครวาแตเราก็ตองรูตัววาอะไรควร ไมควรทํา ทุกวันอาทิตยก็จะทําวัตร จะมีคนมาเคาะระฆัง มีคนสวดนํา พอ เสร็จจะมีพระมาเทศน ก็จะมีการวากลาวตักเตือน พวกที่ไมชอบลงมาทําวัตร บางครั้งก็จะมีการเช็คชื่อ” หนึ่ง : “ชอบมันอิสระดี แตมีขอจํากัดบางเรื่อง คือ เราตองทํางานชวยวัด มันก็สบายแตตองไมลุมลาม” ตรี : “คิดแลว มันก็พอๆกันแตในวัดมันมีกฎระเบียบที่ใหเราตองทําตาม” กร : “อิสระก็พอๆกับอยูบาน แตก็มีขอจํากัดในเรื่องการวางตัว การทํางาน” มุมมองที่หลากหลายขางตน อาจขึ้น อยูกับระยะเวลาการใชชีวิตอยูในวั ด เวลาที่อยูในวั ดแตละวั น กฎเกณฑหรือการงานบางอยางซึ่งสงผลตอมุมมองของระดับอิสระที่แตละคนกลาวถึง โดยสรุปอาจกลาวไดวา การใชชีวิตในวัดก็นับวามีความเปนอิสระอยูพอสมควรซึ่งเปนอิสระที่แตกตางจากที่อื่นๆ แตก็มีขอจํากัดบางใน เรื่ องบางเรื่ อง อย า งไรก็ ดีวัดบางแหง ก็ ได วางกฎเกณฑ ไว เพื่ อเป นแนวทางควบคุ มเด็ กวั ดดั ง เช นกรณี ข อง แป คและลี่ ที่ วัดจะมีการประชุ มทุ กอาทิต ยซึ่ ง ในการประชุม แตล ะคนก็จะหยิ บนํ า เอาแนวทางศาสนาหรื อ หลักธรรมมาเทศนาสอน ในการดําเนินชีวิต รวมทั้งการกลาวตักเตือนบางสําหนับผูที่ไมไดปฏิบัติตามกติกาที่ วางไว


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

40

การตอรอง ถึงแมวากฎเกณฑโดยนัยที่เด็กวัดทุกคนตองรูวาควรประพฤติปฏิบัติตนอยางไรเมื่อใชชีวิตอยูในวัด แต ก็ยอมมี “การละเมิด” หรือ “หลบเลี่ยง” อยูบาง ดวยการทํากิจกรรมอันไมพึ่งประสงคของเด็กวัดในบางโอกาส ซึ่งก็นับเปนเรื่องที่ ”เขาใจได” ไมถึงเปนการนําสูปญหาที่เปนที่นาวิตก โดยสามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ ใหญๆ คือ ลักษณะแรกการเปดเผยอยางซึ่งหนา เชน กรณีของหนึ่ง “สวนใหญหลวงลุงเขาจะใหอานแตหนังสือ ไมคอยใหฟงเพลงเทาไหร เพราะมันเปลืองไฟที่วัดดวย แหมมันก็ตองมีบาง ยิ่งตอนนี้ สอบเอ็นอยู อานหนังสือตาลายก็ตองฟงเพลงผอนคลายบางเปนธรรมดา เมื่อวาน ผมไปเชาหนังสือการตูนมาพอหลวงลุงเห็นเขาก็ถามวาหนังสืออะไร ผมก็บอกหนังสือการตูน เขาก็บนวาใสผม วาทําไมไมไปอานหนังสือเรียน เวลาจะทําอะไรบางทีก็ตองแอบหลวงลุงบาง” กรณีของชาญชัย : “บางครั้ง เขาก็จะเรียกใหยกชวย ทํางานหนักๆ แบบ ทุบปูน ฉาบปูน ขนไมอยางนี่ ก็งานหนักๆ ใคร อยากทําชวย แตก็ตองชวยทําทุกครั้ง” และลักษณะที่สอง คือ การหลบหลีกไมใหเห็น ดังเชนกรณีของสําลี : “บางครั้งแอบกินเหลา สูบบุหรี่ ก็ตองมองซาย มองขวา ใหดี เด็กวัดหองเดียวกันจะรูกันเอง ตองแอบ หลวงพอ มีอยูครั้งหนึ่งเคยมีคนกินเหลาเขามากลับมาดึกๆ แลวมาเตะประตูหองน้ํา หลวงพอรู เชารูขึ้นก็ถูก สงกลับเลย ยิ่งพาผูหญิงเขามาดวยไมไดเด็ดขาด” ปฏิสัมพันธกับผูคน การดําเนินชีวิตของเด็กวัดภายในวัดนั้น เด็กวัดยอมมีบุคคลที่จะตองปฏิสัมพันธกับบุคคลหลายฝาย เชน เด็กวัดดวยกันเอง พระสงฆ เจาหนาที่อื่นๆในวัด และคนในชุมชนรอบวัด ซึ่งมีระดับความสนิทสนมที่ แตกตางกันออกไป ไดแก ความสัมพันธระหวางเด็กวัด ความสัมพันธระหวางเด็กวัดดวยกันเองนับมีอิทธิพลสูงมากเพื่อนเด็กวานับเปนบุคคลนัยสําคัญสําคัญที่ อยูใกลชิดรับรูเรื่องราวใกลตัวโดยเฉพาะเพื่อนสนิท นอกจากนี้เงื่อนไขที่สําคัญที่เปนทุนเดิมอยูแลวสําหรับวัด บางแหงก็คือ การเปนคนบานเดียว จังหวัดเดียว ภาคเดียวกัน จึงชวยกอรูปความสัมพันธใหแนบสนิทยิ่งขึ้น ความสัมพันธสวนใหญจึงปรากฏในรูปของความเปนเพื่อน พี่นอง ดังกรณีของกร ที่ในคณะเด็กวัดทั้ง 8 คน มาจากจังหวัดเดียวกันทั้งหมด หรือ กรณีของชาญชัยที่ทั้งเจาคณะผูดูแลสามเณร เด็กวัดที่อยูรวมกันเปนคน อีสาน หรือ กรณีของสําลี “เด็กวัดนี้สวนใหญ เจาคณะเปนคนที่ไหน เด็กวัดก็จะเปนคนจังหวัดนั้น คณะที่ผมอยูเด็กใตทั้งหมด 3 คน เณรอีกองคดวย ก็อยูหองเดียวกัน” จากความสนิทสนมตรงนี้เองก็จะนําไปสูการมีกิจกรรมการดําเนินชีวิตที่กระทํารวมกันและชวยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกันรวมไปถึงสายสัมพันธที่มีกับรุนพี่ซึ่งเปนเด็กวัดที่ออกจากวัดไปทํางานแลว ดังเชน ชาญชัย : “ไม ค อ ย ไ ด ไป ที่ ไ ห น ไ ปเ ที่ ย ว ก็ ฝ ง โน น วั ด พ ร ะ แ ก ว บ า ง บา ง ที ก็ ไ ป วิ่ งกั บ เ พื่ อ น ๆ ที่ สวนสราณรมย อยูในวัดตอนเย็นๆ ก็เตะบอลดันบางเด็กวัดคณะนี้เปนนักกีฬาของมหาวิทยาลัย สวนใหญจะชก มวย ติดทีมชาติไปหลายคน วิชัย ราชานนท เคยอยูคณะนี้มากอน เปนตํารวจ เปนครูก็ม”ี สําลี : “ผมก็เลนกีฬากับเพื่อนเด็กวัดดวยกัน ชวนเพื่อนขางนอกมาบาง แตเวลาเลนตองแอบผูใหญ สวนพระ ใหม เณร ก็ไมวาอะไร บางทีอยางรุนนองบางคนเขาไมมตี ังคไปเรียนผมก็ตองให เขาไปทะเลาะมีปญหาก็ตอง ไปชวย สวนคนที่ออกไปแลว อยางสมาคมชาวปกตใตมักจะมาจากศิษยวัดทั้งนั้น จะมีรุนพี่ที่จบไปก็จะมีงาน สังสรรค จดเบอรโทรติดตอกัน อยูวัดเดียวกันคณะเดียวกัน เขาก็จะแนะนํางานให เยอะครับศิษยวัดนี้มีทั้ง อัยการที่ระนอง วิศวกร ตํารวจ เขาก็มากเมื่อวานก็มีคนมามาเยี่ยมหลวงพอ” หนึ่ง : “7 คนก็สนิทกัน ตกเย็นก็นั่งกินขาวคุยกันทะเลาะกัน โกรธกันบาง 2 วันแตก็จะคุยกัน หลวงลุงไมอยูก็ แอบเตะบอล เลนแปต ปงปอง แตหามเสียงดัง”


41

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ตรี : “มีอะไรก็ชวยกันบางทีใครไมเกงวิชาไหนก็ไปถามกันเพราะแตละคนก็เรียนหลายระดับ นานๆจะไป เที่ยวดวยกันทั้ง 6 คน 7 คน อยางไปสะพานพุทธ ใกลๆ” กร : “วันไหนถาไมไดไปเรียนก็จะอยูในวัด ตอนเย็นๆก็จะไปวิ่งเลน ตีแบตกันแถววงเวียนใหญ ในกุฎีมีของ ใชอยางตูเย็น 3 ใบ มีคอมฯของพี่อีกคนหนึ่งใชดวยกัน ก็เปนคอมฯสาธารณะไปเลย” โดยสรุปถึงแมเด็กวัดสวนใหญจะมีหนาที่หลักในดานการเรียนเสียเปนสวนใหญซึ่งอยูภายนอกวัด แต ภายในวัดพวกเขาก็มีรูปแบบความสัมพันธที่ดําเนินไปไดดวยดี มีกิจกรรมที่กระทํารวมกัน เชน การเลนกีฬา การไปเที่ยว การเปนที่ปรึกษาทางการเรียน การแบงปนสิ่งของ หรือแมกระทั่งการชวยเหลือดานทรัพยสินเงิน ทอง นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความสัมพันธที่เกี่ยวเนื่องกับรุนพี่ซึ่งออกจากวัดไปแลวที่ไดเคยอาศัยอยูกุฎี คณะ เดียวกันมากอนในการสรางเครือขายความสัมพันธแบบหลวมๆในฐานะ“รุนพี่รุนนอง”สําหรับวัดบางแหงอีกดวย ความสัมพันธระหวางพระภิกษุสงฆ และคนอื่นๆในวัด ความสัมพันธของเด็กวัดกับพระภิกษุสงฆในวัด จะมีรูปแบบที่ตางกันหากเปนพระที่อยูในความดูแล หรื อเจ า คณะแล วเด็ กวั ดจะให ค วามสํ า คั ญ เป น พิเ ศษทั้ ง นี้ เ พราะในบางแห ง เป น ผู ชักนํ า ให เ ข ามาอยู ในวั ด เปนผูดูแลใหความชวยเหลือ ดังกรณีของหนึ่ง : “มาเรียนที่นี่ที่บานก็สงดวย หลวงลุงก็สงใหทุนเรียนดวย บางครัง้ ตังคเราไมพอก็ไปขอหลวงลุงได” สําลี : “เวลาใครฉุกเฉิน หรือไมสบาย หลวงพอเจาอาวาสจะออกเงินไปใหหาหมอ” สวนความสัมพันธกับพระภิกษุอื่นๆในวัดเดียวกันเด็กวัดก็ใหความเคารพนับถือเชนกัน หากจะสนิท สนมด วยก็ ต อเมื่ อการถู กเจ า คณะให ไปทํ า การติ ดต อธุ ร ะในบางเรื่ อง ส วนความสั ม พั น ธ กับ คนอื่ น ๆ เช น เจาหนาที่วัด คนนอกชุมชนใกลวัด จะไมคอยมีความใกลชิดสนิทสนมมากหรือในวัดบางแหงอาจไมสนิทเลย ดังเชนกรณีตางๆ หนึ่ง : “พระสวนใหญที่มาอยูคณะนี้จะเปนพระใหม มาอยูเพียงไมกี่วันก็ไมรูจักกันเทาไหรเพราะเขาบวชไมกี่ วัน คนดูแลวัดก็จะรูจักบาง ถาหลวงลุงใชไปเรียกก็รูจัก เขาจะไมอยูเปนคณะ ถาเปนแถบนี้ คณะ 6 คณะ 7 คณะ 8 คณะ 1 ก็จะรูจักกัน แถบโนนก็ไมคอยรูจัก สวนคนขางนอกก็สนิทกันบาง เขาจะรูวาเราเปนศิษยวัดนี้” ชาญชัย : “เด็ กวั ด สวนใหญก็จะคุ นหนา กั น สวนคนรอบๆวั ดที่ ค าขายแถวนี้ ส วนใหญ ก็เ ปน คนพื้ นเพอีส าน ดวยกัน ก็รจู ักกันบางคุยกันได” สําลี : “คนขางนอกก็รูจักแตไมสนิท เขาก็คุนหนาเรา ก็รูวาเราเปนเด็กวัด อยางประธานชุมชน เขาก็บอกวา ใหตงั้ ใจเรียนใหจบ เขาก็ชวยดูแลอยู” ระดับความสัมพันธของเด็กวัดสวนใหญกับกลุมเด็กวัดดวยกันเองมีมากกวากลุมอื่นๆ รองลงมาคือ กลุมพระภิกษุ ที่อยูในวัดโดยเฉพาะบุคคลที่พวกเขาตองใหความสําคัญเปนพิเศษคือเจาคณะที่ดูแล สวนบุคคล อื่นๆ เชน เจาหนาที่วัด คนนอกชุมชน ก็ไดเพียงแตรับรูซึ่งกันและกันวาพวกเขาเปนเด็กวัดนี้ โดยโอกาสที่จะ พบหนาพูดคุยกันจะจํากัดในชวงระยะเวลาสั้นๆ เชน ตอนวัดมีงาน หรือการออกไปซื้อขาวของนอกวัด การ เปนทําธุระใหกับเจาคณะ เปนตน ความสัมพันธกับครอบครัว เด็กวัดซึ่งเปนกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้สวนใหญเปนเด็กที่มาจากตางจังหวัด โดยสวนใหญ จะยึดโยงอยูกับทางบาน คือยังสงเสียคาใชจายในการศึกษา ความสัมพันธระหวางเด็กวัดกับทางบานสวนใหญ มักจะมีการสนทนาพูดคุยติดตอกับเปนระยะๆ ผานทางโทรศัพท หากชวงปดเทอม หรือในชวงวันหยุดเทศกาล จึงจะไดมีโอกาสกลับบาน ดังเชน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

42

ชาญชัย : “กลับบานก็ตองปดเทอมถึงไดกลับ นานๆไดกลับ ก็โทรฯคุยกันกับพอแมบาง เดือน 2 เดือน สวนใหญ จะโทรหาพี่สาวมากกวา นานๆโทรกลับ 2 อาทิตย โทรบอยๆก็เสียดายเงิน” สําลี : “ก็กลับชวงปดเทอม เทศกาล โทรกลับบานทุกอาทิตย เวลามีปญหาเรื่องเงินก็ตองโทรฯ” แปค : “ปละครั้ง ถามีธุระก็กลับ อยางชวงเขาพรรษา บางปก็ 2 – 3 ครั้ง” ลี่ : “สวนใหญจะโทรคุยกับพอแม พี่สาวมากกวา ก็ไมคอยไดเจอกันเทาไหร” หนึ่ง : “มาอยู 2 ป ก็คิดถึงเหมือนกัน ก็กลับชวงตอนปดเทอม กลับอาทิตย 2 อาทิตยและก็ไปบานยายใน ไรตอ” ความสัมพันธของเด็กวัดกับครอบครัวถูกผูกมัดดวยการติดตอผานทางเครื่องอํานวยความสะดวกที่ สําคัญ คือ โทรศัพท เพื่อถามถึงสารทุกขสุกดิบ ปญหาตางๆ หากอยูในชวงปดเทอมพวกเขาก็จะกลับบา น ยกเวนบางคนอยางกรณีของ แปค ซึ่งทํางานแลว และลี่ที่ผูปกครองทํางานอยูตางจังหวัด การเปดเผยตัว ประเด็นนี้ผูวิจัยตั้งคําถามตอการเปดเผยตัวการเปนเด็กวัดตอกลุมบุคคลภายนอกวัดโดยเฉพาะสังคม ที่พ วกเขาใกล ชิดมากที่สุ ดซึ่ง ก็คื อในกลุ ม เพื่ อนที่ โรงเรี ยน โดยแต ละคนก็ มิได ปกปดสถานะของตนเองแต อยางใด ดังเชน ชาญชัย : “พอเพื่อนถามก็บอกวาตัวเองเปนเด็กวัด เขาถามตอวาอยูไหนก็บอกวาอยูแถวฝงธนฯ อยูกับใคร อยู กับหลวงพอ” สําลี : “รูสึกวาเปนปมดอย คือ อายเพื่อน เพื่อนผูหญิงเขาชอบถาม อยูวัดวันนี้ไมกลับกุฎี พอนานไปก็ชิน ครับ” แปค : “ถาไมมีใครถามก็ไมเลา ถามีคนถามก็เลาใหฟง” ลี่ : “ ก็บอกเพื่อน เพื่อนทุกคนก็รูวาอยูวัด บางทีก็เคยชวยเพื่อนมาเที่ยววัดหลายครั้ง ” หนึ่ง : “เพื่อนก็ถามอยูไหนก็บอกอยูวัด เพื่อนๆเคยมาเที่ยวที่นี่” อาจกกลาวไดวาการเปดเผยตัววาเปนเด็กวัดนั้น กระทําไดอยางสนิทใจโดยเฉพาะในสังคมกลุมเพื่อน สําหรับบางคนในตอนแรกๆอาจจะรูสึกเขินอายบาง แตเมื่อระยะเวลาดําเนินไป ก็จะเปนเรื่องปกติธรรมดา ความรูสึกเมื่อไดกลายเปน”เด็กวัด”แลว ตามความรูสึกของเด็กวัดจากจุดยืนเริ่มตนของกอนการเปนเด็กวัดและระยะการกลายมาเปนเด็กวัด อย า งเต็ ม ตั ว ภาพลั กษณ ก อ นหน า นี้ คํ า ว า “เด็ ก วั ด ”ในมุ ม ด า นบวกดู เ หมื อ นว า จะเป น ผลมาจากสภาพ ความคุนเคยใกลชิดกับศาสนาของคนๆนั้น ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากความเปนอยูที่ภูมิลําเนาเดิมของตนมีการ ทําบุญตักบาตร ฟงธรรม บอยครั้ง จนบางคนไดกลายเปนเด็กวัดมากอนหนา ในขณะที่บางคนก็ไมคิดวาจะได กลายมาเปนเด็กวัด จึงมีมุมมองตอเด็กวัดเปนแค “คนอยูวัด” เทานั้น อยางไรก็ดี เมื่อผูวิจัยจึงขอใหนิยามถึง “เด็กวัด” ในฐานะที่ตอนนี้พวกเขาไดกลายมาเปนเด็กวัดอยางเต็มตัวแลว พบวากลุมตัวอยางก็มีทัศนะที่มอง เด็กวัดในมุมมองเชิงบวก ดังเชน


43

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ชาญชัย : “ผมวาเปนระเบียบ เปนตัวของตัวเอง ดีกวาเด็กขางนอก โลกภายนอกมันมากไมดี อยูกับธรรมะ อยู กับวัด ก็ทําใหเราคิด อยูขางนอกก็มีคนชักชวนไปบาง” สําลี : “ผมวา เด็กวัดเนี่ยดีมาก ผมรูสึกวามันไดอะไรเยอะ การที่เราจะนําไปใชในชีวิตประจําวัน ความที่เรา ไดเคยอยูกับพระ ความสงบการที่เราอยูในกรอบ ทําใหเราไมออกนอกลูนอกทาง อยางเชนยาเสพติด เราอยู ขางนอก ปหนาผมจะพานองมาอยูดวย โลกขางในวัดมันดีกวาขางนอก ขึ้นอยูกับบุคคลดวยของแบบนี้ นิสัย ของแตละคนดวย” “พวกเด็กขางหลังวัดมันอางวาเปนเด็กวัด มันจะสรางความลําบากไปทะเลาะกับคนอื่น แอบอางวา เปนเด็กวัดใหม ซึ่งพวกผมไมไดเกี่ยวอะไร นี่คือความแตกตางระหวางเด็กวัดกับศิษยวัด แตสําหรับผมเด็กวัด ศิษยวัดก็เหมือนกัน” ลี่ : “ก็รูสึกดี ภูมิใจที่ไดมาอยูวัด ก็ถือเปนประสบการณชีวิต” หนึ่ง : “คนขางนอกเขาอิจฉากัน วาอยู วัด สวนมากเด็กวั ดเขาจะอายกันวา ไมได อยูบา น แต ก็รูสึกผูกพัน ” หนึ่งยังบอกตอไปอีกวา “เด็กวัดกับลูกศิษยวัดไมเหมือนกันนะพี่ เด็กวัดจะต่ํากวาลูกศิษยวัด เด็กวัดคือเด็กขางนอก จะอยู แถวๆวัดใกลวัดผมเขาใจวาเปนอยางนี้แตถาศิษยวัด คือผม คิดวาอยูในวัดอยางพวกผมมากกวา เด็กขางนอกก็ อยูบาน เขาไมเกี่ยวกัน ศิษยวัดมันสูงกวาดูดีกวา” ตรี : “มันเปนที่ขัดเกลานิสัยเราใหดีขึ้นในสายตาคนอื่นเด็ดวัดอาจจะไมดีแตตองมาอยูเองแลวถึงจะรู” ตรี ยังกลาวอีกวา “เด็กวัด ลูกศิ ษยวัด เด็กวัดผมคิด วาแบบว าเสี ยก็ เสียงายจะอยูนอกวัด เขาจะอา งวา เปน เด็กวัด นี้ ลูกศิษยวัดบางคนที่มาหาพระก็แทนตัววาลูกศิษย เด็กรอบๆนี้ไมคอยดี จะติดยาอะไร เขาไมไดเปนเด็กวัด” กร : “มันก็เหมือนวา แคคนที่อาศัยอยูในวัดเฉยๆ เพียงแตวาเขามีขอจํากัดตางๆที่ตองมาอยูวัดเทานั้นเอง มันก็เหมือนบานปกติ เปรียบที่นี่ก็เหมือนหอ มีแคพระดูแลแคองค เพียงแตเราตองทําหนาที่ ทําตัว ที่ตองรูกัน วาอะไรเปนอะไร มากกวาเมื่อเขามาอยูในนี้แลว” จะเห็นไดวากลุมตัวอยางสวนใหญ ดูเหมือนจะมีความภาคภูมิใจที่เปนเด็กวัดโดยเฉพาะการนําตัวเขา ไปเปรียบเทียบกับคนอื่น วัดในทัศนะของพวกเขาจึงดูเปนสถานที่ใหกรอบแนวทาง ควบคุม การปฏิบัติที่พึ่ง ประสงคในการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะการชักพาเครือญาติใหเขามาอยูตอดังกรณีของสําลี นอกจากนี้พวกเขา ยังนิยามตัวเองที่ดีดูสูงสงดวยการใชคําวา “ศิษยวัด” มากกวา “เด็กวัด” อยางที่คนสวนใหญทั่วไปมักจะใชเรียก พวกเขา ในขณะที่บางคนอยางกรกลับมองวาการเป นเด็กวัดก็เ ปนแคเปน การมาอยูในวัดแหงหนึ่งๆภายใต ขอจํากัดบางอยางภายใตขอบเขตของวัด แผนการในอนาคต จากการสัมภาษณเด็กวัดแตละคนในชวงสุดทาย ซึ่งถามถึงแผนการในอนาคตที่เกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางตนเองกับวัด ปรากฏวาทั้งหมดใหคําตอบเปนไปในทิศทางเดียวกัน คือ พวกเขาจําตองไปจากวัดที่อยูนี้ อยางแนนอน แตก็อาจมีเงื่อนไขบางอยางสําหรับบางคน ดังเชน ชาญชัย : “ผมกะวาจะไปเปนทหารกับครู คงจะไมอยูวัดหรอก ถาหากจบก็ไมอยูวัดคงจะไปๆมาๆหาหลวงพอ บาง คิดวาจะหางานทําในกรุงเทพฯกอน หาหอพักอยู หางานที่คิดวามันดีแลวใหตั้งตัวได” สําลี : “ถาจบแลว คงตองออก รุนนองตองขึ้นมาอีก ถึงไมใชคณะนี้ มันอายแลวจบปริญญาตรีแลวตองตั้ง หลัก ตองพนจากจุดนี้แลว จะอยูวัดตอไปคงไมได คงหางานทํา หาในกรุงเทพฯมันเยอะกวาที่บาน”


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

44

แปค : “ไมไดอยูตลอดไป เรายังไมมีอะไร ชวยเหลือตัวเองไมได กะวาถาชวยเหลือตัวเองได พูดก็พูดมีตังค เก็บ ก็จะใหคนอื่นมาอยูตอ ก็คงออกไปอยูหอ” ลี่ : “ถาจบ ม.6 ก็จะออกจากวัด เพราะหลวงนาจะออกธุดงค ก็ตองเชาหอนอกอยู ผมตั้งใจจะไปเรียน สายอาชีพ วิศวกร เทคนิค” หนึ่ง : “ถาจบก็ทํางานในกรุงเทพฯดีกวา ถาไมมีก็กลับไปทําบาน เพราะที่บานเพิ่งเปดบริษัทไมนานมานี้ ก็คง จะตองออกไปหาที่อยูใหม เพราะเราตองทํางานแลว” ตรี : “หางานทํา แตก็ยังจะอยูวัด รูสึกผูกพัน แตกอนมาอยากกลับบาน เดี่ยวนี้ไมกลับก็อยูวัดได และก็ตอง อยูดูแลหลวงลุงดวยทานแกมากแลว แตทายสุดผมก็คิดวาคงตองไปจากวัดนี”้ กร : “หางานทํา ถาทํางานอยูไกลก็จะยาย แตถาอยูใกลๆก็จะหาทุนกอนแลวคอยยายออกไป” กลาวโดยสรุป เด็กวัดสวนใหญ คงจะไมมีใครอยูวัดไปตลอด เมื่อเรียนจบก็จะหางานทําซึ่งพวกเขา ยังคงใหความสําคัญกับแหลงงานในกรุงเทพฯมากกวาที่จะกลับไปยังภูมิลําเนาเดิม โดยอาจจะพักพิงวัดสะสม ทุนรอนสักระยะหนึ่งพอที่จะตั้งตัวได กอนที่จะไปหาที่พํานักแหงใหม นอกจากนี้เงื่อนไขของการที่จะตองมีเด็ก วัดรุนตอไปเขามาก็เปนเหตุปจจัยหนึ่งที่จะตองยายออกไป โดยเฉพาะผูที่อยูมานานแลว และสิ่งที่สําคัญอีก ประการหนึ่งก็คอื การสําเร็จการศึกษาแลว ยอมเปนเครื่องนําพาที่จะใหพวกเขาแสวงหางาน ตั้งตัวเพื่อเริ่มตน ชีวิตใหมในอนาคต บทสรุป การศึกษาเรื่อง กระบวนการกลายเปน“เด็กวัด”ในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากความคลุมเครืออยูพอสมควรจาก การนิยามคําวา เด็กวัด วามีความหมายวาอยางไร เพราะในความเปนที่เขาใจทั่วไปของผูคนเด็กวัดมีอยูดวยกัน หลายลักษณะ ทั้งกลุมที่อยูในวัยเด็กไปจนถึงวัยผูใหญ ทั้งอาศัยอยูที่วัดหรือบริเวณขางเคียงวัด หรืออาจจะเปน กลุมคนที่เขามาทําบุญ ฟงธรรมที่วัดบอยครั้ง จนถูกนิยามวัดเปนเด็กวัดหรือลูกศิษยวัดนั้นๆ แตทายที่สุดผูวิจัย ไดชี้เฉพาะเจาะจงไปยังกลุมเด็กวัดที่มาจากตางจังหวัดหรือปริมณฑลที่อยูไกลจากวัดนั้นๆ ที่เขามาพํานักอาศัย อยูในวัดเพื่อมาศึกษาเลาเรียน หรื อประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนปรากฏการณที่มีมานานแล ว หลังจากการเปลี่ยนแปลงของการจัดการศึกษาของประเทศ ที่มุงใหวัดจัดการศึกษาเพื่อสงฆเปนหลักอยางเดียว เด็กสวนใหญจึงตองเขาไปเรียนในระบบโรงเรียนทั้งหมด การศึกษาชีวิตเด็กวัดในรูปแบบนี้จึงมิคอยมิผูสนใจ ศึกษาอยางเปนระบบ ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาชีวิตเด็กวัดกลุมนี้ เนื่องจากในดานหนึ่ง การเขาสูการเปนเด็กวัด ทําใหเด็กกลุมนี้ตองปรับตัวใหเขากับบริบทใหมซึ่งแตกตางไปจากบริบทเดิมที่ตนอยู ในอีกดานหนึ่ง คือ ภาพ เด็กวัดยังถูกใหความหมายและคุณ คาจากสังคมทั้งในมุมมองเชิงบวก เช นการเปนเด็กดี สงบสุขุม และใน มุมมองเชิงลบ อาจเปนเด็กที่เกเร กําพรายากไร ถูกทอดทิ้งจึงตองมาอยูวัดจึงเทากับเปนการมองพวกเขาให กลายเปนอื่นในสังคมเพิ่มขึ้นอีก การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดนําแนวคิดของ Howard S.Backer (1993) ในการศึกษาเรื่อง กระบวนการ กลายเปนนักเสพกัญชา (Becoming Marihuana) มาดัดแปลงใหใกลเคียงมากที่สุดเพื่อใหเขากับการศึกษาใน ครั้งนี้ ใน 3 ประเด็น คือ 1) เงื่อนไขที่นํามาสูการเปนเด็กวัด 2) การเขาสูการเปนเด็กวัด 3) การธํารงเอกลักษณของการเปนเด็กวัดซึ่งมองผานกิจกรรมในชีวิตประจําวัน รวมทั้งการใหนิยามความหมายกับตัวเขาเองวา“ฉันเปนใคร”จากการปฏิสังสรรคระหวางบุคคลที่มีการ ตีความตอกัน และแผนการในอนาคตของพวกเขา


45

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผลการศึกษาปรากฏวา ภูมิหลังของกลุมตัวอยางนั้นสวนใหญเปนเด็กที่มาจากตางจังหวัด ซึ่งมีฐานะ ทางบานที่แตกตางกัน การกลายเปนเด็กวัดของพวกเขามีรายละเอียด 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 เงื่อนไขของการเขามาสูการเปนเด็กวัด การเขาสูการเปนเด็กวัดมีเงื่อนไขที่สําคัญซึ่งเกิดจากที่พวกเขาตองการแสวงหาความกาวหนาใหกับ ชีวิตดวยการมาศึกษาเลาเรียนหรือประกอบอาชีพใน“แหลงแหงโอกาส”ซึ่งก็คือกรุงเทพมหานครโดยมีเหตุผล สํา คัญ ที่ อยู เบื้ องหลัง อยู 2 ประการ คื อ การช วยลดค าใชจา ยจากการดํ าเนิน ชี วิต ในกรุง เทพฯ และความ คาดหวัง รวมทั้งการสรางความอุนใจจากทางบานเดิมจากการที่พวกเขาไดเขามาอยูในสิ่งแวดลอมที่ดี ขั้นที่ 2 การเขาสูการเปนเด็กวัด สํ า หรั บ วิ ธีการที่ จ ะเข า มาเป น เด็ ก วั ดในวั ด หนึ่ ง ๆได นั้ น อาจกล า วว า เกิ ด จากความสั ม พั น ธ ข อง ครอบครัวและวงวานที่มีตอ วัดนั้นๆ อันไดแก การที่พระในวัดนั้นๆเปนคนบานเดียวกับเด็กคนนั้น การมีญาติ บวชเปน พระภิกษุสงฆอยูในวัดนั้นๆ และการเปนญาติธรรมที่คุนเคยสนิทกับวัดนั้ นๆจนกลายเป นศิษยวัด ประจํา ซึ่งจากความสัมพันธตรงนี้เองจึงนํามาสูการชักพาใหเขามาอยูในวัดได สวนในดานการปรับตนนั้นกลุม ตัวอยางบางคนที่ เคยเป นเด็กวัดมากอนตอนอยูต างจังหวั ดก็สามารถที่จะปรับตนใหเขากั บบริบทของวัดได ในขณะที่บางคนที่ยังไมคุนเคยกับบรรยายการอยูในวัดพบวาจะรูสึกอึดอัดในตอนแรกๆ กับสิ่งตางๆ เชน การ ตื่นนอน กิจวัตรทีจ่ ะตองทํา การวางตัว เมื่อเวลาผานไปสักระยะพวกเขาก็สามารถที่จะปรับแปงตนใหเขากับ บริบทของวัดไดอยางลงตัว ขั้นที่ 3 การธํารงเอกลักษณการเปนเด็กวัดซึ่งมองผานกิจกรรมในชีวิตประจําวัน ในจุดนี้ผูวิจัยมองการธํารงเอกลักษณของการเปนเด็กวัดผานกิจกรรมในชีวิตประจําวันซึ่งเมื่อไดเขา มาแลวก็มีรูปแบบการดําเนินชีวิตที่คลายคลึงกับเด็กทั่วไปที่เขามาศึกษาในกรุงเทพฯ โดยเวลาสวนใหญถึงแมจะ ใชชีวิตอยูนอกวัดมากกวาในวัดก็ตาม หากแตพวกเขาก็ปฏิบัติ “ภารกิจ” ที่ตองทําใหวัดอยาสม่ําเสมอดวย ความสมัครใจ เชน การจัดการหนาที่ในการบิณฑบาตร การวาด ถู ศาลา ลานวัด ลางหองน้ํา ลางปนโต เขา ทํานองวา “ รูๆกันอยูวาควรทําอยางไร ” ขณะเดียวกันก็มีการตอรองของพวกเขาที่มีตอกฎเกณฑของวัดหลาย รูปแบบภายใตขอจํากัดและระเบียบของวัด รวมถึงพระสงฆที่เปนผูดูแลทั้งเปดเผยและปกปด เชน การแอบทํา บางสิ่งที่ไมควรทํา ซึ่งการกระทําดังกลาวก็เปนที่เขาใจไดไมไดสรางปญหาเดือดรอนจนเปนที่นาวิตก นอกจากนี้พวกเขายังมีรูปแบบเครือขายความสัมพันธในวัดเดียวกันเองดวยความสัมพันธแบบพี่นอง พองเพื่ อนมากกว า การต างคนตา งอยู และความสั มพั น ธที่ดีกับพระสงฆ ที่เ ป นผู ดูแล ซึ่ งนั บ เปน บุ คคลที่ มี นัยสําคัญตอพวกเขา ในขณะที่ความสัมพันธกับคนอื่นๆภายในวัดเดียวกันหรือนอกวัด(บริเวณชุมชนใกลเคียง) ถูกจัดอันดับเปนความสัมพันธที่รองลงมาหรือบางแหงก็แทบจะไมมีเลย สวนการเปดเผยตัวของพวกเขาตอ ประชาคมนอกวัดโดยเฉพาะกลุมเพื่อนรวมชั้นเรียนนั้นก็กระทําโดยเปดเผยอยางสนิทใจ จากจุดนี้เองจึงนําไปสูความรูสึกยึดมั่นผูกพันของพวกเขาที่มีตอวัดนําไปสูการนิยามตัวตนพวกเขาเอง วาเปน “ศิษยวัด” มากกวาที่จะใชคําวา “เด็กวัด” อยางที่ผูคนพูดกันทั่วไป และทายที่สุดสําหรับความสัมพันธ ระหวางวัดกับพวกเขาในอนาคต ทุกคนตางก็ตอบเปนเสียงเดียวกันวาจะตองไปจากวัดนี้เพื่อเริ่มตน“ชีวิตใหม” หลังจากการใชวัดเปนที่พึงพิงมาพอสมควรแลว โดยสรุปอาจกลาวไดวาคําวา “เด็กวัด” ที่ผูวิจัยทําการศึกษาในครั้งนี้เปนเพียง “เอกลักษณชั่วคราว” ส ว นหนึ่ ง ที่ บุ ค คลเข า มาสวมรั บ ไว เมื่ อบุ ค คลเข า มาสวมรั บ แล ว ก็ จํ า ต องแสดงบทบาทให ส อดคล องกั บ สถานการณ ที่ต นดํ า รงอยู กลุ ม เด็ กที่ เ ข า มาจากต า งจัง หวั ดมายั ง วั ดในกรุ ง เทพฯเพื่ อกลายมาเป น เด็ กวั ด จึงอาศัยวัดเปนวิถีทางที่จะนําตนเองไปสูความสําเร็จในชีวิตอีกขั้นหนึ่ง โดยมีปจจัยสวนตัวจากความขาดแคลน ในเรื่องทุนทรัพย และอื่นๆ ซึ่งโดยแทจริงแลวพวกเขาก็ไมไดยึดถือสิ่งนี้วาเปนทางเลือกของชีวิตแตอยางใด แตอยางไรก็ตามก็เชื่อวาพวกเขาทุกคนคงไมลืมอยางแนนอนสําหรับชีวิตการเปน”ศิษยวัด” ในชวงหนึ่งของชีวิต มากอน ปญหาและอุปสรรค การศึกษาในครั้งนี้มีปญหาและขอจํากัดดังนี้ 1. ปญ หาจากความคลุมเครื อจากการนิยามคําว า “เด็กวัด” ในปจจุ บัน ประชาคมในวัดนิ ยามว า หมายถึงอะไร กลาวคือ จากการที่พระสงฆเรียกเด็กที่ผูวิจัยศึกษาในครั้งนี้วา “เด็กวัด” ในขณะที่ตัวพวกเขาเอง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

46

กลับนิยามตัวเองวาเปน “ศิษยวัด” นอกจากนี้ยังมีความหมายของคําวา“เด็กวัด”ในความหมายอื่นๆอีกดังการ สอบถามของผูวิจัยซึ่งปรากฏในเชิงอรรถหนา 2 2. ปญหาการเลือกตัวอยางจากวัดหลายแหลง (setting) ซึ่งวัดหลายแหงยอมมีบริบทที่แตกตางกันใน ดานตางๆ ทั้งในแงฐานะของวัด พื้นที่ การจัดระเบียบทางสังคมภายในวัด จึงสงผลตอการวิเคราะหใหเห็น ภาพรวมของขอมูลที่ชัดเจนของการกลายเปนเด็กวัดได หากจะศึกษาในครั้งตอไปควรที่จะเลือกวัดแหงเดียว เปนแหลงศึกษา โดยทําการศึกษาเจาะลึกในดานตางๆอยางละเอียด เชน การจัดระเบียบทางสังคมภายในวัด การจัดระบบของกลุม เด็กวัด เปนตน 3. จากความเชื่อมโยงในขอที่ 2 ขนคนพบที่ออกมาจึงใหภาพรวมๆ ยังขาดความชัดเจน ความลึกซึ้ง เกี่ยวกับปรากฏ และอาจใชวิธีการทางทฤษฎีที่ตั้งไวจับกับภาพปรากฏการณไดคอนขางยากลําบาก การศึกษา ในครั้ง นี้จึงไมอาจชี้ ใหเห็ นถึงกระบวนการจัดการเขาสูการเปน เด็กวัดได ผลของการศึกษาจึงเปนเพี ยงการ สํารวจทั่วๆไปเทานั้น 4. ขอมูลที่ไดจากการศึกษาในครั้งนี้ อาจยังไมไดขอมูลเชิงลึกที่เพียงพอที่จะสามารถสะทอนภาพชีวิต เด็กวัดไดอยางสมบูรณ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากระยะเวลาที่จํากัดในการศึกษา ซึ่งอาจเปนผลมาจาก “ความยังไม คุนเคยพอ” ที่ผูวิจัยมีตอกลุมตัวอยาง ที่ไดจากการสัมภาษณที่ไดมาจึงอยูในลักษณะการสนทนาที่สั้นๆ จึงอาจ ยังไมใหรายละเอียดที่ดีพอ บรรณานุกรม จันจีรา จาติเกตุ. (2544). เด็กเสริฟ : ชีวิตโสเภณีในสวนอาหาร. วิทยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ทินพันธุ นาคะตะ. (2543). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สหายบล็อกการพิมพ. พงษสวัสดิ์ สวัสดิพงษ. (2529). จิตวิทยาสังคมของจอรจ เฮอรเบิรต มี้ด. โครงการพัฒนาวิชาการ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ----------. (2545). แบบแผนและกระบวนการปรับแปลงเขาสูชีวิตแบบเมืองของผูยายถิ่นชาวอีสาน : กรณีศึกษา ผูคาหาบเรในมหานครกรุงเทพ. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. มานิตตา ชาญไชย. (2546). ความเปนเอกลักษณทางสังคมของ“ดี้” และกลยุทธในการใชชีวิตประจําวัน ของผูหญิงที่มีคนรักเปนทอม. วิทยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. เรืองรอง ชาญวุฒิธรรม. (2547). คนชราในสถานสงเคราะห : ชีวิตและตัวตน. วิทยานิพนธสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. โสพิณ หมูแกว. (2544). อยูกอนแตง : การอยูรวมกันโดยไมแตงงานของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. --------------------------------------------------


47

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คลองกับชีวิต : คลองดําเนินสะดวก ชุมริมสองฝงคลอง และความเปลี่ยนแปลง1 อิทธิพร ขําประเสริฐ2

บทคัดยอ สังคมดําเนินสะดวกเปนสังคมเกษตรกรรม เต็มไปดวยเรือกสวนพืชพักผลไมนานาชนิด ทั้งนี้เปนผลมา จากการมีทรัพยากรแหลงน้ําที่สําคัญ คือ“คลองดําเนินสะดวก”ซึ่งเปนคลองที่ขุดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน และคลองซอยสายตางๆที่เชื่อมโยงกันกวา 200 สาย ประกอบกับชุดดินที่มีคุณภาพ ทําใหการเพาะปลูกไดผลดี อําเภอดําเนินสะดวกจึงกลายเปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญของประเทศแหงหนึ่ง ดวยการมีคลองดําเนินสะดวกเปนสายน้ําหลัก ประชาชนสวนใหญจึงตั้งบานเรือนอยูริมสองฝงคลอง พัฒนากลายเปนชุมชนตามพื้นที่ตางๆ ชีวิตชุมชนมีวิถีที่สัมพันธกับสายน้ําอยางแยกไมออกทั้งการใชน้ําเพื่อการ อุปโภคและบริโภค การคมนาคม กิจกรรมทางประเพณี และที่สําคัญคือกิจกรรมทางการเกษตรกรรม ซึ่งใน อดี ต ที่ ผ า นมาความสั ม พั น ธ ดั ง กล า วนี้ ดูจ ะสอดคล อ งมี ค วามเป น ธรรมชาติ และดํ า เนิ น ไปอย า งราบรื่ น แตอยางไรดีในภาวะปจจุบันดวยกระแสการพัฒนาจากภาครัฐทําใหวิถีดังกลาวไดเปลี่ยนไป อิทธิพลจากการ พั ฒ นาของภาครั ฐ ด วยการสร า งสาธารณู ป โภคและสาธารณู ปการต า งๆ อาทิ โครงข า ยระบบถนน การมีเครื่องจักรกล ประเภท เรือยนต รถยนต เทคโนโลยีทางการเกษตร อาทิ น้ํายา ปุย สารเคมี รวมทั้ง การทองเที่ ยว ไดนํ า พาชุ มชนไปในทิศ ทางที่ ซึ่ง นํ ามาทั้ง ความรุง เรือง เช น การสร างรายไดทางเศรษฐกิ จ ความสะดวกสบายในการติ ดต อไปมา และความเปลี่ ยนแปลงของชุ มชนโดยเฉพาะการเคลื่อนยา ยตัวของ ชุมชนริมฝงคลองมาเปนชุมชนริมถนน คุณภาพชีวิตของเกษตรกรจากผลกระทบของสารเคมี การเปลี่ยนแปลง รูปแบบของตลาดน้ํ า สภาพแวดล อมของชุ ม ชนและสายน้ํ า ส ง ผลต อการเปลี่ ยนแปลงวิ ถีชี วิต ของชุ ม ชน โดยเฉพาะชุมชนที่ตองปรับเปลี่ยนไปจากอดีตที่ประสานสอดคลองกับธรรมชาติที่พึ่งพิงลําคลองเปนหลักมาเปน การสอดคลองกับการพัฒนาที่มาจากภาครัฐ วิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนริมแมน้ําลําคลอง คลอง : นิยาม ประเภท ความเปนมา และความสําคัญ คลอง : นิยาม คลองมีความหมายในหลายทัศนะ เชน ในพจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2523 :126) ใหความหมายวา “คลองเปนลําน้ําที่ขุดขึ้นเพื่อใชในการคมนาคมขนสงเชื่อมการติดตอระหวางนานน้ําให สะดวกขึ้น หรือขุดเพื่อชวยในการชลประทาน หรือลําน้ําที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มักมีขนาดเล็กกวาแมน้ํา” 1

งานศึกษาชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งในรายวิชา การจัดระเบียบทางสังคม หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ มีขอบขายศึกษาความเปลี่ยนแปลงของชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก ในชวงพื้นที่เขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีเทานั้น 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

48

ในพจนานุกรมภาษาไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ยังใหความหมายของคลองวาเปน “ทางน้ําหรือ ลําน้ํ าที่เ กิดขึ้ นเองหรือขุ ดเชื่ อมแมน้ํา หรื อทะเล” ในขณะที่พ จนานุกรมฉบั บภาษาอังกฤษ Webster New International ใหความหมายของคลอง (canal) วา “An artificial Water way designed for navigation or for draining or irrigating land ” ในทัศนะของนักนิเวศวิทยา ยงยุทธ จรรยารักษ (2537: 147) ใหความหมายของคลองวา“แหลงน้ํา หรือทางน้ําที่เชื่อมตอกันระหวางแหลงน้ําสองแหงใหไหลติดตอถึงกันได อาจจะเปนแมน้ํากับแมน้ําหรือบึงและ หนองตางๆกับแหลงน้ําอื่น ซึ่งหมายความรวมถึงทะเลดวย” สําหรับในทางกฎหมายนั้น พนัส ทัศนียานนท (2537: 306–307) ไดกลาวถึงคลองตามนัยยะทางกฎหมายฉบับตางๆ วา ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย มาตรา 1304 (2) กล าววา คลองจัดไดวาเป นสาธารณสมบัติข องแผน ดินประเภททางน้ํ าสําหรั บ พลเมืองใชรวมกัน คําวา“ทางน้ํา” ตามกฎหมายจึงหมายความกวางกวาคลองเพราะหมายความรวมถึงแมน้ํา และทางน้ําสาธารณะประเภทอื่นๆดวย ในประมวลกฎหมายที่ดิน กลาววา คลองถูกรวมอยูในความหมายของ ที่ดิน ตามบทนิยามที่ ใหไวในมาตรา 1 ด วย คลองจึงเขาลั กษณะเปน ที่สาธารณะสมบั ติประเภท“ที่หลวง” ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 ตรี และเปน“ที่หวงหาม”ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งออก ตามความในมาตรา 9 (2) นอกจากนี้ในพระราชบัญญัติ การเดิน เรือในนานน้ําไทย พ.ศ.2456 มาตรา 8 ยังกลาววา คลองเปนสวนหนึ่งของนานน้ําไทยดวย และในพระราชบัญญัติชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 มาตรา 4–5 กลาวถึงคลองในความหมายวาเปน “ทางน้ําชลประทาน” ซึ่งแยกยอยในเชิงพื้นที่ออกไปอีกวา“คันคลอง” หมายถึ ง มูล ดินที่ถมขึ้นเป นคันยาวไปตามแนวคลอง และ “ชานคลอง” ว า พื้น ที่ระหว างขอบตลิ่ง กับเชิ ง คันคลอง ในทางการประมง คลองก็ยังเปนสวนหนึ่งของที่จับสัตวน้ําสาธารณะ ตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 มาตรา 4 และตามพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ.2526 มาตรา 4 ไดกลาวถึงคลองในเชิงการประปา วา คลองที่การประปาใชเก็บน้ําและสงน้ําที่ไดมาจากแหลงน้ําดิบ คลองรับน้ําหรือคลองขังน้ํา เพื่อใชในการ ผลิตน้ําประปาตามที่คณะรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนคลองประปา ตามมาตรา 5 สําหรับ“คลองรับน้ํา“ หมายถึง คลองที่ใชรับน้ําดิบจากแหลงน้ําดิบเขาสูคลองขังน้ําหรือคลองประปา และ “คลองขันน้ํา” หมายถึง คลองหรื อที่ ใ ช เ ก็ บ น้ํ า ดิ บ สํ า หรั บ ส ง เข า คลองประปา เขตของคลองดั ง กล า วนี้ อาจประกาศกํ า หนดเป น “เขตหวงหาม” เพื่อประโยชนในกิจการประปาของประเทศได ตามาตรา 5 จากนิยามดังกลาวขางดังกลาวขางตน จึงสรุปความหมายของคําวา คลองไดวา คลองเปนทางน้ําหรือ ล้ําน้ําที่เกิดเองโดยธรรมชาติหรือเกิดจากการสรางขึ้น (ขุด) ของมนุษย ซึ่งอาจจะเชื่อมตอระหวางแมน้ํากับ แมน้ํา หรือแมน้ํากับทะเล หรือ อางเก็บน้ํา หวย หนอง ตางๆ หรืออาจจะเชื่อมติดกับแมน้ํา ทะเล หวย หนองตางๆ เพียงอยางเดียว เปนพื้นที่สาธารณประโยชน ถือเปนทรัพยสินของแผนดิน ประชาชนทุกคนมีสิทธิที่ จะใชและรักษารวมกัน ประเภทของคลอง จากความหมายของคลองในมุมมองดานตางๆ จึงสามารถแบงประเภทของคลองไดเปน 2 ประเภท คือ 1. คลองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ กลาวคือ เปนเสนทางน้ําหรือลําน้ําที่เกิดจากการพัฒนาการขึ้นของ การกัดเซาะของกระแสน้ําที่สะสมกันมาเปนระยะเวลานาน ในเบื้องตนจะเปนชองทางน้ํา หรือธารน้ําจากขนาด เล็กและเกิดการกัดเซาะของกระแสน้ําเรื่อยๆ มาจนเปนลําคลองเกิดขึ้น ตนกําเนิดของแหลงน้ําอาจมาจาก ภูเขา เขื่อน บึง อางเก็บน้ํา ตาน้ําผุด เปนตน 2. คลองที่เกิดขึ้นจากการขุดขึ้นโดยการกระทําของมนุษย คือ เปนเสนทางน้ําหรือลําน้ําที่เกิดขึ้นจาก การขุดของมนุษยดวยวิธีการตางๆ เชน การใชแรงานคน เครื่องจักร ทั้งนี้เพื่ออาจใชประโยชนตามเปาหมาย ตางๆ เชน การคมนาคม การยุทธศาสตรโดยเฉพาะในอดีต การประมง ซึ่งมักจะเรียกวา คลองขุด คลองขุด นี้ยังสามารถแยกยอยออกไดเปน 3 ประเภท คือ 2.1 คลองรอบเมืองหรือคลองคูเมือง เกี่ยวของกับการวางผังเมืองโดยตรงมักปรากฏใหเห็น ตามเมืองหลวงที่สําคัญในอดีต เชน สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร เปนตน


49

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2.2 คลองลัด เปนคลองที่ขุดขึ้นอันเนื่องมาจากพื้นที่ของเสนทางน้ําหรือล้ําน้ําที่ ใชอยูเปน เส นทางที่ คดเคี้ยว กระแสน้ํ าจึ งไหลแรงมาก ถึง แม จะใชสั ญ จรไปมาได แตก็ทําใหลํ า บากในการเดิ นทาง เปนอันตราย จึงเปนเหตุใหมีการขุดคลองลัดขึ้น 2.3 คลองขุดเชื่อม เปนคลองที่ขุดเชื่อมระหวางแมน้ํากับแมน้ํา หรือแมน้ํากับทะเลหรือแหลง น้ําตางๆ เชน บึง หนอง ทั้งนี้ก็เพื่อชวยยนระยะทางในการเดินทางจากพื้นที่หนึ่งไปสูอีกพื้นที่หนึ่ง จากประเภทของคลองดังกลาวขางต นแลว ในทัศนะของพนัส ทัศนียานนท (2537: 307) ยังได จําแนกประเภทของคลองออกเปน 4 ประเภท คือ คลองโดยทั่วไป คลองหรือทางน้ําชลประทาน คลองประปา และคลองประวัติศาสตร สําหรับคลองประวัติศาสตร3 นั้น ปยนาถ บุนนาค (2537: 27) กลาววา ไมมีการ ปรากฏคํานิยามอยางชัดเจนแนนอน แตกรมศิลปากร ไดประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยรวมเอาคลองหลอด คลองโองอาง คลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร อันเปนคู เมื องมาแต เดิ ม มีค วามสํ าคั ญต อบ านเมื องในสมั ยโบราณทางดา นยุ ทธศาสตรและประวั ติศ าสตร แห งกรุ ง รัตนโกสินทร เปนคลองประวัติศาสตรสมควรแกการอนุรักษ ความเปนมาเกี่ยวกับคลองในประเทศไทย นับเนื่องมาตั้งแตอดีตตั้งแตสมัยกรุงอยุธยา และสืบเนื่องมาจนกระทั่งปจจุบัน การดําเนินชีวิตของชาว ไทยลวนใชชีวิตผูกพันอยูกับแมน้ําลําคลองอยางยิ่งทั้งคลองที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือแมแตคลองที่มีการ ขุดขึ้ น ซึ่งปรากฏอยูม ากมายในแตล ะสมัย โดยเฉพาะในสมั ยอยุธยามี การขุดคลองขึ้ น ซึ่งโดยทั่วไปแลวมี วัตถุประสงคสวนใหญ เพื่อการยุทธศาสตร ในการปองกันบานเมื องจากขา ศึกศัตรู โดยการขุดคลองแลวใช ประสานประโยชน เ ข า กั บ แม น้ํ า ที่ มี อ ยู ต ามธรรมชาติ ต อมาสมั ย รั ต นโกสิ น ทร ต อนต น ในรั ช สมั ยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 คลองสวนใหญที่ขุดขึ้นจะอยูในบริเวณเขตเมือง หลวง ทั้งนี้ก็เพื่อเปนแนวปราการปองกันขาศึกศัตรู และยังเปนตัวกําหนดในการวางผังเมือง รวมถึงการขยาย เมืองในอนาคต ปยนาค บุนนาค (2525) ไดกลาวถึงคลองสายสําคัญที่ขุดขึ้นในสมัยนี้ ไดแก คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) คลองรอบกรุง (คลองบางลําภู–คลองโองอาง) และคลองผดุงกรุงเกษม อันเปนคลองคูเมืองรอบ กรุง นอกจากนี้ยังมีคลองแสนแสบ คลองหลอด (คลองวัดเทพธิดาราม คลองวัดสุทัศน) คลองมหานาค สํ า หรั บ ถนนหนทางในสมั ย นี้ ยั ง เป น เพี ย งเส น ทางเดิ น เท า ซึ่ ง ปู ด ว ยอิ ฐ และกิ น ซึ่ ง ส ว นใหญ มี อ ยู ใ นเขต พระบรมมหาราชวัง ทางสั ญจรนั้ น ก็ยังคงใช ทางน้ํา จึ งสรุ ปไดวา การขุ ดคลองในระยะนี้ ก็เพื่ อการป องกั น ประเทศในยามศึกสงคราม คมนาคม การปกครอง และการอุปโภคบริโภค ตอมาการขุ ดคลองเริ่ มขยายตัวออกจากเมื องหลวงมากขึ้ น อั นเนื่องมาจากการพัฒนา ทํา นุบํ ารุ ง บานเมือง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2 ไดมีการขุดคลองลัดหลังเมือง นครเขื่อนขันธ (พระประแดง) ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 มีการขุดคลอง บางขุน เทียน คลองสุนัขหอน คลองพระโขนง คลองแสนแสบ ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล า เจ า อยู หัว รั ช กาลที่ 4 โปรดฯให ขุ ดคลอง ผดุ ง กรุ ง เกษม คลองถนนตรง คลองสี ล ม คลองมหาสวั ส ดิ์ คลองเจดียบูชา คลองภาษีเจริญ และคลองดําเนินสะดวก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัช กาลที่ 5 ทรงโปรดฯให ขุดคลองที่ สํ าคั ญ และขุดซอมคลองเก าเป นจํ านวนมาก เชน คลองสวัส ดิ์ เปรม ประชากร คลองพระยาบรรฤา คลองพระราชาภิมล คลองทวีวัฒนา คลองพระขโนง คลองนครเนื่องเขต คลอง ประเวศบุรีรัมย คลองนราภิรมย คลองไผสิงต คลองที่ขุดขึ้นชวงนี้ในวิทยานิพนธของกิตติ ตันไทย (2520) เรื่อง “คลองกับ ระบบเศรษฐกิ จไทย (พ.ศ. 2367–2453)” กลาววา วัตถุประสงคสํ าคัญนอกจากจะใชเป น เสนทางทางสัญจรขนสงสินคาแลว ยังเปนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรกรรมแกเกษตร เพื่อรองรับการขายตัวทาง การคา และชวยในการดูแลหัวเมืองใกลเคียงไดอยางทั่วถึงอีกนัยหนึ่งดวย รายชื่อคลองดังกลาวสวนใหญจึงแผ ขยายสาขาอยูในบริเวณภาคกลางใกลเมืองหลวงในฐานะที่เปนศูนยกลางเศรษฐกิจที่สําคัญ ภาพรวมของการขุด คลองในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร ต อนต น จวบจนกระทั่ ง สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว 3

ผูใดสนใจเกี่ยวกับคลองประวัติศาสตร สามารถศึกษาไดจาก ปยนาถ บุนนาค (2537) คลองประวัติศาสตรในอดีต ใน อาศรมความคิดเรื่องคลองในกรุงเทพฯและปริมณฑล. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หรือปยนาถ บุนนาค และ คณะ ( 2525 ) คลองในกรุงเทพฯ : ความเปนมาและผลกระทบตอกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ.2525–2525). รายงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

50

รัชกาลที่ 5 นี้ เปนสมัยที่มีระบบคลองที่มีความสมบูรณ งดงาม เชื่อมตอโยงใยกันอยางทั่วถึงจนชาวโลกไดให สมญานามของไทยวา “เวนิสตะวันออก” และลําคลองสายประวัติศาสตรที่สําคัญมักจะเกิดขึ้นในชวงนี้ดวย อยางไรก็ตาม เนื่องดวยอิทธิพลของชาติตะวันตก ในสมัยนั้นทําใหไทยตองยอมลงนามในสนธิสัญญา เบาริง พ.ศ.2398 ผลจากการทําสนธิสัญญาทําใหไทยตองเปดประตูการคากับตางประเทศ ซึ่งนับเปนจุดหักเหที่ สําคัญของการขุดคลอง เมื่อศัตรูจากภายนอกหมดสิ้นไป คลองคูเมืองจึงไมมีความจําเปนที่จะตองขุดอีกตอไป ผังเมืองเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของเมือง สิ่งที่ตามมา คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสัญจรมาเปน การมีถนนคูกับทางน้ํา มีถนนหลายสายเริ่มปรากฏในระยะนี้ เชน ถนนเยาวราช ถนนราชวงศ ถนนบูรพา ถนนขาวสาร เปนตน อยางไรก็ดีในสมัยนี้บรรดาประชาชนสามัญธรรมดา ก็ยังคงใชเสนทางสัญจรทางน้ํากันอยู (พิมล จงวรานนท,2537: 426) จากสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 เขาสูสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว บทบาทของการคมนาคมทางบกเริ่มมีความสําคัญขึ้น โดยเฉพาะพาหนะที่สําคัญ คือ รถยนต การขุดคลองในสมัยนี้จึงไมปรากฏใหเห็นขึ้นในกรุงเทพมหานครอีก คลองจึงเริ่มลดบทบาทลงและ ในช วงกลางศตวรรษที่ 20 จากนโยบายการนํา ประเทศเข าสู กระบวนการทํา ใหทันสมั ย (Modernization) ไดสรางความเปลี่ยนแปลงเปนอยางมากทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กรุงเทพฯ ขยายตัวอยางรวดเร็ว นําการพัฒนาสูภูมิภาคดวยการสรางสาธารณนูปโภคตางๆ โดยเฉพาะการคมนาคมที่มีโครงขายระบบถนนตัด ผานเขาถึงทั่วพื้นที่ ดวยการเปลี่ยนแปลงจากการใชวถิ ีชีวิตทางน้ํามาเปนวิถีทางบกโดยเฉพาะระบบการสัญจรของไทยโดย ภาพรวมจึงเปลี่ยนไป คู คลอง ตางๆจึงถูกใชประโยชนลดลง และหลงลืมจดหมดความสําคัญ ซึ่งคลองใน ภาวะการณปจจุบัน ยังมีลักษณะที่ตรงกันขามกับอดีตเปนอยางมาก เพราะตองเผชิญกับปญหาตางๆ อาทิ ปญหาคุณภาพน้ํา ปญหาการขาดระเบียบการจัดการพื้นที่ริมคลอง การรุกล้ําอาณาเขตของคลองอันเปนพื้นที่ สาธารณะ ลําคลองตื้นเขิน หรือถูกถมทําเปนถนนไปฯลฯ อันเปนที่นาหวงใย รอคอยตอการอนุรักษจากฝาย ตางๆ บทบาทและความสําคัญของคลอง นอกจากลักษณะทางภูมิศาสตรของคลองจะเปนเสนทางเชื่อมแหลงน้ําแลว คุณสมบัติของน้ําในคลอง ยังมีความแตกตางไปจากเสนทางน้ําชนิดอื่นๆดวย เนื่องจากคลองโดยทั่วไปมักจะอยูตามที่ลุมใกลปากแมน้ําที่ ติดตอกับทะเล ดังนั้นน้ําในคลองจึงมีทั้งคลองน้ําจืด คลองน้ํากรอย และคลองน้ําเค็ม และในบางคลองอาจจะ เปนคลองที่มีทั้งสามน้ําก็เปนได คลองทุกๆคลองนั้นจะมีกระแสน้ําที่ไหลถายเทอยูตลอดเวลา ซึ่งจะทําใหแหลง น้ําที่เรียกวา“คลอง”นี้เปนแหลงน้ําที่มีระบบนิเวศที่มีคุณคาและมีบทบาทอยางสําคัญตอชีวิตความเปนอยูของ มนุษย ระบบนิเวศอันประกอบดวยผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลายที่มีอยูในคลองนั้น เปนระบบนิเวศที่ มี ความสมดุลอยูในตัวเอง เพราะในคลองจะพบวามีสิ่งมีชีวิตตางๆที่อาศัยอยูอยางเกื้อกูลกัน กลุมผูผลิตที่อยูใน คลองตางๆ อันไดแก สาหรายทั้งสีเขียวและน้ําเงินแกมเขียว รวมทั้งชนิดที่ลอยเหนือน้ํา เชน ผักตบ ลําเอียก ลอยอยูบนผิวน้ํา เชน บัวตางๆ และพวกที่อยูใตน้ําอีกหลายชนิด โดยกลุมผูผลิตนี้จะเปนตัวการที่สําคัญที่สุดใน การปรับสมดุลของน้ําในคลองใหอยูในสภาพที่เหมาะสม เมื่อมีสิ่งปฏิกูลหรือน้ําทิ้งลงสูคลองโดยมลสารตางๆที่ ถูกปลอยลงมานี้จะเปนตัวกระตุนทําใหสาหรายและพืชน้ําตางๆ ที่มีอยูในคลองไดเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ทําใหมลสารที่ปลอยลงมาถูกใชไปหมด ซึ่งเปนการควบคุมคุณภาพน้ําใหกลับสูสภาพปกติ เมื่อกลุมผูผลิตมีมาก ขึ้นก็จะทําใหเกิดผลตอเนื่องคือ กลุมผูบริโภคในคลอง เชน กุง หอย ปู และปลานานาชนิด ไดเจริญเติบโตและ เพิ่มจํานวนมากขึ้นดวย ซึ่งจะมาทําหนาที่ควบคุมและลดจํานวนของผูผลิตมิ ใหมีมากจนเกิ นไปในบางครั้ ง จํานวนของผูบริโภคเพิ่มขึ้นไมทัน ผูผลิ ตก็จะเป นผลใหผูผ ลิตมีมากเกินไปจนเกิดผลที่ ปรากฏวา น้ํานั้นจะมี สาหรายขึ้นอยูในน้ําอยางหนาแนนจนน้ําเปนสีเขียวเขมและขุน และเนื่องจากสาหรายมีอายุสั้นเมื่อตายลงก็จะ ทําให น้ํานั้น มีกลิ่ นเนา เหม็ นไดเ ชนกัน เมื่ อผูบริ โภคเพิ่มขึ้ นมาจนได สัดสวนทัน ผูผลิต สภาวะน้ํ าก็จะคอยๆ ลดลงและหายไป ทั้ งผู ผลิต และผูบ ริโภคที่ เพิ่ม จํา นวนขึ้นมาอยางมากมายนี้จะคงอยู ได ไมน าน เพราะเมื่ อ สภาวะของสารแปลกปลอมในลําคลองหมดสิ้นไป จํานวนของสิ่งมีชีวิตทั้งสองกลุมก็จะลดลงโดยจะคอยๆลม ตายไป ก็จะมีซากของอินทรียวัตถุเกิดขึ้นมากจึงเปนหนาที่ของเชื้อราและจุลินทรียที่จะตองเพิ่มจํานวนขึ้นมา เพื่อกําจัดซากเหลานั้นใหกลับคืนสูสภาพที่เปนอนินทรียวัตถุและจมลงสูกนคลองในที่สุด (ยงยุทธ จรรยารักษ,


51

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2537: 347- 350) เพราะฉะนั้น จากความสามารถในการหมุนเวียนและถายเทสสารตางๆของระบบนิเวศ คลอง จึงทําใหคลองเปนที่พึ่งพิงของมนุษยในหลายประการ คือ 1. คลองเปนแหลงน้ําเพื่อใชในการอุปโภคและบริโภค 2. คลองเปนเสนทางคมนาคมในการติดตอกันระหวางมนุษย 3. คลองใหทรัพยากรที่สําคัญ เชน สัตวน้ํา พืชน้ํา ซึ่งมนุษยใชในการบริโภครวมถึงการนําไปสูการ ประกอบอาชีพดวย 4. คลองเปนพื้นที่สาธารณะสามารถใชประโยชนทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกิจกรรมทางการเกษตร ที่ตองพึ่งพิงน้ํา อันจะนําไปสูการตั้งถิ่นฐานของชุมชนริมน้ํา รวมถึงเกิดกิจกรรมที่สําคัญทางเศรษฐกิจ ซึ่งนั่นก็ คือ ตลาดนัดน้ํา 5. คลองใชเปนเขตแดน (Boundary) กําหนดยาน (Zoning) ตามผังเมืองโดยเฉพาะในอดีตจาก คลองในบริเวณราชธานี 6. ในอดีตนั้นคลองมีบทบาทอยางสําคัญตอการยุทธศาสตร ใชเปนคูเมืองเพื่อปองกันภัยจากขาศึก ศัตรู ในยามสงคราม 7. คลองเปนที่รองรับคลองเสียและสิ่งปฏิกูลจากชุมชน และทําการกําจัดของเสียโดยการหมุนเวียน ของกระแสน้ํา และการทํางานของระบบนิเวศ 8. คลองกับกิจกรรมนันทนาการ กลาวคือ การใชประโยชนจากคลองในดานการพักผอนหยอนใจ เพื่ อการท องเที่ ยว ในทั ศ นี ยภาพที่ส วยงาม การออกกํ าลั ง กาย กิ จกรรมการกีฬ าทางน้ํ า เช น การวา ยน้ํ า แข ง เรือ รวมจนถึ งใช เ ป นแหล งในการทํ า กิ จกรรมทางประเพณี ที่สํ า คั ญ ของท องถิ่ น เช น การลอยกระทง การชักพระทางน้ํา ประเพณีอุมพระดําน้ํา ฯลฯ เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไปประโยชนคุณคาความสําคัญของคลองบางประการอาจหายไป เพราะสภาพของคลองที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน ตองเผชิญกับปญหาตางๆ ภูมิศาสตรและระบบนิเวศของ คลองลดลงทั้งขนาดและจํานวนเนื่องจากถูกรบกวนดวยการกระทําของมนุษย ซึ่งพบเห็นในปญหาตางๆของ คลอง เชน ปญหาคุณภาพน้ํา การขาดระเบียบการใชที่ดินริมคลอง การรุกล้ําลําคลองอันเปนพื้นที่สาธารณะ ปญหาการถายเทสิ่งโสโครกลงคูคลอง การขาดการดูแลเอาใจใสไมไดรับการบํารุงรั กษาทําใหคลองตื้นเขิ น ซึ่งในบางพื้นที่ถึงกลับมีการถมคลองเพื่อทําถนนสัญจรดวย บทบาทและความสําคัญของคลองจึงลดลงมากใน ภาวะปจจุบัน ความสัมพันธระหวางวิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนไทยกับแมน้ําลําคลอง ชุมชนของไทยมีสภาพแวดลอมเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดรูปแบบชุมชน และวิถีชีวิตความเปนอยู ของชุมชนในแตละพื้นที่ ในสังคมไทยถูกกําหนดดวยลักษณะทางภูมิศาสตรที่เปนน้ํา น้ําจึงผูกพันแทรกซึมกับ ชีวิตคนไทยมาชานาน ตั้งแตเรื่องของพิธีกรรม วรรณกรรม นาฎศิลป ศิลปพื้นบาน จิตรกรรม ประติมากรรม การวางผัง เมื อง (สุเ มธ ชุ มสาย ณ อยุธยา,2529: 5) สอดคลองกับ กับกลา วของฉั ตรทิพย นาถสุ ภา ใน “วัฒนธรรมไทยกับขบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม” (2534: 42–43) ที่วา สังคมไทยมีความเฉพาะของ ไทยเอง เพราะสังคมไทยเราผานประวัติศาสตรมาแบบหนึ่ง อยูในสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตรแบบหนึ่ง อยูใน ที่ตั้งแบบหนึ่งมีวัฒนธรรมความเปนมาแบบหนึ่ง ศาสนาแบบหนึ่ง จึงมีวัฒนธรรมชุมชนเปนวัฒนธรรมชาวบาน ที่เปนตัวของตัวเอง ใหคุณคากับคน ใหคุณคากับชุมชน ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน และมีความอิสระของ ตัวเองการพัฒนา เอกลักษณของชุมชนไทยที่สําคัญ คือ เปนสังคมเกษตรกรรม (Agrarian Society) อันเนื่องมาจาก ชุมชนไทยได ตั้งถิ่ นฐานลงบนที่ ราบลุมอั นอุดมสมบูร ณ มี แมน้ํ าหลายสายไหลผ านมี ฝนตกชุก ทํา ใหชุ มชน ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมเปนสําคัญ การคงอยูของสังคมไทยนั้นจึงขึ้นอยูกับการเกษตรกรรม รวมทั้งวิถี ชีวิต (Way of Life) การเกษตรกรรมเปนวิถีชีวิตที่สอดแทรกเขาไปในแนวความคิดความอานในกิจกรรมและ ลักษณะประจําวันของสังคมไทยทั่วทุกดาน (ไพฑูรย เครือแกว ณ ลําพูน,2518: 16) และจากการที่สังคมไทย เปนสังคมเกษตรกรรมนั้นจําตองพึ่งพาอาศัยน้ํามาใชในกิจกรรมทางการเกษตรซึ่งสวนใหญมักจะใชจากแมน้ํา ลําคลอง รวมทั้งการตั้งถิ่นฐานบานเรือนของชุมชนไทยก็อยูใกลแหลงน้ําไปดวย ซึ่งถือไดวาเปนชุมชนน้ํา ดังที่ สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา (2529: 83,123) ไดกลาวไวใน “น้ํา : บอเกิดแหงวัฒนธรรม“ วาชุมชนชาวน้ํา คือ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

52

ชุมชนไทยบริเวณชายฝงทะเลและบริเวณที่ราบลุมแมน้ําลําคลอง ซึ่งจัดไดวาเปนชุมชนที่มีแหลงอารยธรรม ชาวน้ํา (Aquatic Civilization) คือ มีวิถีการดําเนินชีวิตอยูในทะเลหรือนานน้ํา และอยูอยางสะเทิ้นน้ําสะเทิ้น บกในที่ราบลุม หรืออยูตามแมน้ําลําคลอง มีพืชน้ําเปนอาหารหลักและมีสภาพเศรษฐกิจสังคมดี เพราะอุดม ดวยธัญญาหาร ชุมชนน้ําหรือชาวน้ํานี้จะใชน้ําเปนสื่อระหวางตนกับผืนแผนดิน โดยอาศัยอยูกับน้ําที่คอยๆไหล ไปมาระหวางแมน้ําลําคลองกับทองทะเล โดยมิตองมีการควบคุม เก็บกักน้ําไวใชประโยชนเหมือนวัฒนธรรม ชาวบก แตอยางไรก็ตามชุมชนที่อยูใกลน้ําก็มีการผสมผสานระหวางวัฒนธรรมชาวน้ํา และชาวบกอยูดวยกัน แมน้ําลําคลองจึงมีบทบาทอยางสําคัญตอชุมชนไทยหากพิจารณาในแงภูมิศาสตรของประเทศไทยแลว บริเวณที่ราบลุมน้ําภาคกลาง เปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณและเปนทําเลที่เหมาะแกการตั้งถิ่นฐาน โดยเฉพาะ การมีแมน้ําสายสําคัญ 4 สายที่มีตนกําเนิดมาจากทางตอนเหนือของประเทศ อันไดแก แมน้ําเจาพระยาไหล ผานกลางที่ราบภาคกลาง แมน้ําทาจีนแยกจากแมน้ําเจาพระยาทางฝงขวา แมน้ําแมกลองและแมน้ําบางปะกง ที่ไหลขนาบทางฝงขวาและฝงซายของแมน้ําเจาพระยาแมน้ําเหลานี้ไดพัดพาเอาโคลนตะกอนมาทับถมกันเปน เวลานานทํ า ใหเ กิ ดที่ ร าบอั น อุ ดมสมบู ร ณ ภาคกลางจึ ง เป น ศู น ยกลางที่ สํา คั ญ ของประเทศทั้ ง ในด า นการ เพาะปลูก การคา เศรษฐกิจ รวมทั้งการเมืองการปกครองที่สําคัญของประเทศดวย มีเมืองที่สําคัญที่ตั้งอยูริม แมน้ําเหลานี้ในอดีตเปนเมืองทาที่สําคัญ เชน บางกอก ธนบุรี อยุธยา ฉะเชิงเทรา อางทอง สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ เปนตน สําหรับในภูมิภาคอื่นๆ เชน ภาคเหนือ ก็มีลุมน้ํา สําคัญ คือ ลุมน้ําปง วัง ยม นาน อันเปนแมน้ําสายหลักที่หลอเลี้ยงชีวิตผูคนในภูมิภาค ในภาคอีสานก็มี แมน้ําชี มูล สงคราม รวมทั้งแมน้ําโขง ที่เปนพรมแดนระหวางไทยกับลาว และในภาคใตความเปนชุมชน ชาวน้ําปรากฏใหเห็นอยางชัดเจนเพราะลักษณะของพื้นที่ขนาบดวยทะเลทั้งสองขาง และยังมีแมน้ําสายสําคัญที่ อยูในภูมิภาคเอง เชน แมน้ําตาป แมน้ําบางนรา แมน้ําโก–ลก แมน้ําระนอง แมน้ําปากพนัง เปนตน นอกจากนี้ บทบาทของคลองโดยเฉพาะคลองขุดซึ่งขุดขึ้นเนื่องจากการใชประโยชนจากแมน้ําลําคลอง ตามธรรมชาติไมสามารถสนองความตองการไดอยางเต็มที่ลักษณะของแมน้ําลําคลองบางสายก็มีลักษณะคด เคี้ยวมากทําใหเสียเวลาในการเดินทาง บางสายมีน้ําไมมากพอที่จะใชไดตลอดป หรือในบางพื้นที่ไมมีคลองไหล ผาน ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองขุดคลองเพิ่มขึ้น คลองในลักษณะเรียกวา คลองขุด วิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุม ชนไทยจึงมีวิถีที่สัมพันธ กับสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะแมน้ําลําคลองเปนหลั ก ทั้งจากการใชประโยชนเพื่อการอุปโภคบริโภค เปนแหลงอาหาร การเกษตรกรรม การคมนาคมขนสง การ พักผอนหยอนใจ รวมทั้งการสรางสรรคประเพณีอันดีงาม ซึ่งยังประโยชนตอการดํารงอยูตลอดชวงการใชชีวิต ของมนุษย คลองดําเนินสะดวก : ประวัติความเปนมา คลองดําเนิน สะดวก เป นคลองที่ขุดขึ้ นจากแนวพระราชดําริข องพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจ า อยูหัว รัชกาลที่ 4 ปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดการขุดคลองดําเนินสะดวก คือ ผลกระทบจากการขยายตัวทาง เศรษฐกิ จและการพั ฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย า งยิ่ง ในชวงสมัยรั ต นโกสิ นทร ต อนต น จนถึ งรั ช สมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งมีปจจัยที่สําคัญ ดังที่ พรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537: 49–50) กลาวไวคือ ประการแรก หลังจากการทํา สนธิสัญญาเบาริ่ง (พ.ศ.2395) การค าขายของไทยขยายตัวขึ้นอยา ง รวดเร็วโดยเฉพาะการคา ขา วและน้ํา ตาล ซึ่ งในระยะแรกน้ํา ตาลถือเป นสิ้ นค าส งออกที่ สํา คัญ ที่เ ปน ผลต อ เนื่องมาจากการทําสนธิสัญญาเบอรนี่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 น้ําตาลเปน สินคาที่ชาวตะวันตกตองการมาก และยังนํากําไรมาสูประเทศไทยไดอยางมากดวย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 จึงทรงโปรดฯ ใหมีการขุดคลองขึ้นเพื่อเปนเสนทางลําเลียงออยและน้ําตาลจาก แหลงผลิตมาสู ตลาดใหสะดวกและรวดเร็ วมากยิ่ งขึ้น ซึ่ งแหลง ปลูกอ อยและแหลงผลิตน้ําตาลที่สํา คัญของ ประเทศส ว นหนึ่ ง อยู ท างหั ว เมื อ งฝ า ยตะวั น ตก อั น ประกอบด ว ยเมื อ งนครไชยศรี เมื อ งราชบุ รี และ เมืองเพชรบุรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงสงเสริมใหมีการขุดคลองเพื่อเปนเสนทางเชื่อมโยง แหลงผลิตน้ําตาลใหักับตลาดสามารถขนสงไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น คลองที่สําคัญ คือ คลองเจดียบูชา คลองภาษี เจริญ และคลองดําเนิ นสะดวก โดยเฉพาะคลองภาษีเจริญ และคลองดําเนิ นสะดวกมีความสัมพัน ธกันมาก โดยคลองภาษี เ จริ ญ เป น คลองที่ เ ชื่ อมระหว า งแม น้ํ า ท า จี น ฝ ง ตะวั น ออกกั บ แม น้ํ า เจ า พระยาฝ ง ตะวั น ตก


53

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

แนวคลองทั้งสองเปนเสนตอเนื่องกัน โดยที่มีแมน้ําทาจีนไหลผานกลาง ซึ่งจะทําการใหเดินทางติดตอกันของ ชุมชนระหวางหัวเมืองแมน้ําเจาพระยา แมน้ําทาจีน และแมน้ําแมกลอง ไดแก เมืองราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครชัยศรี และกรุงเทพฯ เปนไปอยางสะดวกและทั่วถึงกันโดยตลอด เหตุผลประการที่สอง คือ การขุดคลองเชื่อมระหวางกรุงเทพมหานครกับหัวเมืองใกลเคียง สงผลให สามารถปกครองหั วเมืองฝ งตะวั นตกได อย างทั่วถึง หั วเมืองที่ สํา คัญ คือ นนทบุรี นครชัยศรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และราชบุรี การเสด็จประพาสตามหัวเมืองตางๆของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 และพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 จึง ยังผลตอความสัมพันธระหวา ง สถาบันพระมหากษัตริยกับราษฎรไดอยางใกลชิดดวย นอกจากนี้ ในภาวะการณทางเศรษฐกิจอันสืบเนื่องมาจากสนธิสัญญาเบาริ่ง ทําใหการคาขายเปนไป อยา งเสรี จึ งเป นสิ่ง จูงใจใหชาวตะวันตกที่เ ปนพ อค าและหมอสอนศาสนา เข ามาคา ขายและตั้งถิ่ นฐานใน ประเทศไทยเปนจํานวนมาก ซึ่งการที่ชาวตางประเทศจะเขามาอยูในเมืองไทยนั้นตองปฏิบัติตามสนธิสัญญา ที่เกี่ยวกับเขตของที่อยูอาศัย คือ การกําหนดใหชาวตะวันตกอยูอาศัยไดเฉพาะบริ เวณที่อยูหา งจากกําแพง พระนครออกไปราว 200 เสน (8 กิโลเมตร) หรือภายในระยะเวลาเดินทาง 24 ชั่วโมง ซึ่งบริเวณเหลานั้นคือ จากกรุงเทพไปถึงเมืองปากน้ํา บางพุทรา ลพบุรี สระบุรี บางขนาก ศรีราชา เพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี และสุพรรณบุรี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั จึงทรงจัดการคมนาคมสําหรับชาวตะวันตกที่อยูตามหัว เมืองเหล านั้น ใหส ามารถเดิ นทางมายั งเมืองหลวงไดสะดวกรวดเร็ ว เชน คลองมหาสวัสดิ์ตั้งแต นนทบุรีไป ยังนครชัยศรี คลองภาษีเจริญจากคลองบางกอกใหญไปตกแมน้ําเมืองนครชัยศรี และคลองดําเนินสะดวกตั้งแต แมน้ําบางยางเมืองนครชัยศรีฝงตะวันตกออกไปตกคลองบางนกแขวกเมืองราชบุรี (ปยนาถ บุนนาค, 2525: 53 ) คลองดําเนินสะดวกเปนคลองที่ขุดเชื่อมระหว างแมน้ําแมกลองกับ แมน้ํ าทาจี น ครอบคลุมพื้ นที่ 3 จังหวัด คือ ในอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี และอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เปนคลองที่ชวยยนระยะทางการเดินไปยังหัวเมืองตะวันตก โดยแตเดิมนั้นการเดินทาง ตองใชเสนทางกรุงเทพฯผานคลองดานเขาสูคลองสุนัขหอน ซึ่งใชเวลานาน การขุดคลองดําเนินสะดวกมีสมเด็จ เจ าพระยาบรมมหาศรีสุ ริ ยวงศ (ชวง บุ นนาค) ผู สํา เร็จราชการแผ นดิ น ในแผ นดิ นพระบาทสมเด็ จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ครั้งยังดํารงตําแหนงสมุหพระกลาโหมในบรรดาศักดิ์ เจาพระยาศรีสุริยวงศ เปนแมกองขุดคลองดําเนินสะดวก คาจางขุด คาตอไม สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ออกเงินคาขุดคลอง 1,000 ชั่ง (80,000 บาท) และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทานเงิน หลวงสมทบในการขุดอีก 400 ชั่ง (32,000 บาท) รวม 1400 ชั่ง (112,000 บาท) จาก “พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จประพาสมณฑลราชบุรี ร.ศ.128 (พ.ศ. 2452)” ระบุวา “การที่ เจาพระยาศรีสุริยวงศ ออกเงินคาขุดคลองนั้นไมใชเปนของทานเอง แตเปนเงินที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว พระราชทานให สรางวังที่ เพชรบุรี โดยเอาเงิน จากภาษี น้ําตาลที่ เก็บ จากท องถิ่ นไปใชจายในการ สรางวัง ครั้นพอสรางวังเสร็จทานไมสงเงินคืนคลังทานจึงนําเงินสวนนี้มาใชจายในการขุดคลอง โดยอางวาเปน เงินของทานเอง ทานจึงไดรับผลประโยชนอยางมากในการขุดคลองสายนี้ โดยถือสิทธิ์เปนเจาของที่ดินสองฝง คลองแลวน้ําไปแจกจายที่ดินแกภรรยา พี่นอง บุตรหลาน และคนซึ่งมากฝากตัว ถาผูอื่นที่จะมาจับจองที่ดินนี้ ตองจายเงินให แกทาน เปนค าที่ดินตามความมากน อยของที่ดินที่จับจอง” ซึ่งก็สอดคลองกับคํากลาวของ ปยนาถ บุน นาค ใน (2525: 53)“คลองในกรุง เทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ ยนแปลง และผลกระทบต อ กรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ. 2394–2525)”วา“การที่สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศถือเอาที่ดินทั้ง สองฝงคลองมาไวในครอบครอง แลวจําหนายจ ายแจกแก ผูใกลชิดและบริวาร ถือวาท านมีความกลาและมี อํานาจมาก เพราะในชวง 5 ปแรก ของสมัยรัชกาลที่ 5 ทานเปนผูกุมอํานาจทางการเมืองสูงสุดในขณะนั้น โดยปกติแลวพระมหากษัตริยเทานั้นที่จะเปนเจาชีวิตและเจาแผนดิน ซึ่งการยึดถือกรรมสิทธิ์ที่ดินของสามัญชน เพิ่งทํากันอยางเปนหลักฐานตามกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 ” จุดเริ่มตนของคลองดําเนินสะดวก เริ่มจากปากคลองบางยางซึ่งเชื่อมกับแมน้ําทาจีน ที่อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร ไปจนถึงตําบลบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม โดยเริ่มทําการขุดคลอง ในป พ.ศ. 2409 ใชแรงงานคนในการขุด ซึ่งสวนใหญคือกรรมกรชาวจีนที่อพยพเขามาอยูในเมืองไทยใหมๆ เปนผู รับจ างขุด วิธีการขุ ดคลองดํ าเนิน สะดวกนั้น นับ เปนภู มิปญ ญาของคนไทยในระดับท องถิ่น กล าวคื อ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

54

การขุดดินนั้นจะขุดเปนระยะหนึ่ง เวนระยะหนึ่ง เมื่อถึงเวลาน้ําหลาก น้ําก็จะกัดเซาะดินสวนที่ไมไดขุดใหพัง ไปเอง คลองดําเนินสะดวกขุดเสร็จในป พ.ศ.2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทาน นามวา“คลองดําเนินสะดวก”และไดทําพิธีเปดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2411 โดยเจาพระยาศรีสุริยวงศ (ยศในขณะนั้น) ผูสําเร็จราชการแผนดินในสมัยรัชกาลที่ 5 คลองดําเนินสะดวกเปนลําคลองที่ตัดไดตรงไมคดเคี้ยว ระยะยาว 895 เสน หรือ 35.5 กิโลเมตร (หากวัดความยาวจากประตูน้ําบางยางถึงประตูน้ําบางนกแขวกจะมีระยะทางยาว 840 เสน หรือ 32 กิโลเมตร) ขนาดของคลองมีความกวาง 6 วา หรือ 12 เมตร ลึก 6 ศอก หรือ 3 เมตร ซึ่งในปจจุบันคลองบางชวงอาจมี ความกวางกวางเดิม เพราะน้ํากัดเซาะตลิ่งจนพังทําใหพื้นที่ความกวางของคลอง และบางชวงก็มีความแคบ เนื่องจากการรุกล้ํ าพื้นที่จากตั้งบานเรือนของประชาชน นอกจากนี้ทุกๆระยะ 100 เสน หรือ 4 กิโลเมตร ไดมีการปกเขตเปนหลักเสาหินสี่เหลี่ยมขนาดใหญไวรวม 8 หลัก แตละหลักมีหมายเลขไทย โรมัน และจีน เขี ย นกํ า กั บ ไว ซึ่ ง ต อมาได กลายเป น ที่ เ รี ย กขานชุ ม ชนตามหลั ก ต า งๆ อาทิ หลั กห า หลั ก หก หลั ง แปด พระครูสิริวรรณวิวัฒน (2544: 25–27) ใน“ประวัติคลองดําเนินสะดวก”กลาวถึง การเรียกชื่อหลักเขตตางๆ ทั้ง 8 หลักไวดังนี้ หลักศูนย มีจุดเริ่มตนที่ปากคลองบางยางออกสูแมน้ําทาจีน อําเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร หางจากประตูน้ําบางยางประมาณ 1 กิโลเมตร เศษ จนถึงประตูน้ําบางยางไปจนถึงหลักที่หนึ่ง การเรียกชื่อ สถานที่ นี้ ไม เ รี ยกว า หลั กศู น ย แต ผู ค นส วนใหญ นิ ยมเรี ยกกั น ว า ประตู น้ํ า บางยาง หรื อปากคลองบางยาง หลักหนึ่ง ถัดจากหลักศูนย หรือประตูน้ําบางยางเขามาในเขตคลองดําเนินสะดวก หลักหนึ่งนี้อยูในเขตอําเภอ บานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสอง จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 1 ถึงเสาหินเลข 2 ซึ่งอยูในเขตอําเภอบาน แพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสาม จุดเริ่มตนจากเสาหินหลักเลข 2 ถึง เสาหินเลข 3 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักสี่ จุดเริ่มตนจากระหวางเสาหินเลข 3 ถึงเสาหินเลข 4 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร หลักหา จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 4 ถึงเสาหินเลข 5 อยูในเขตอําเภอบานแพว จังหวัด สมุทรสาคร หลักหก จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 5 ถึงเสาหินเลข 6 อยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยชาวบานสวนใหญนิยมเรียกกันวา“หลั กหา“แทนที่จะเรี ยกวาหลักหกจนติดปากมาถึงทุกวันนี้ อยางเช น สถานี ตํา รวจภูธร ตํา บลหลักหา ความจริง แลวอยู ในเขตหลั กหก (ซึ่ งอํ าเภอดํ าเนิน สะดวกไม มี ต.หลั กห า ) หลักหาจึงมี 2 ระยะ คืออยูในพื้นที่หลักหาจริง กับพื้นที่หลักหก หลักเจ็ด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลข 6 ถึง เสา หินเลข 7 อยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ซึ่งการเรียกนั้นจะเปนทํานองเดียวกับหลักหา กลาวคือ เรียกเปนหลักหก โดยจะเรียกในระยะสั้นประมาณ 50 เสน โดยมีวัดหลักหกรัตนารามเปนหลัก สวนการเรียกวา หลักเจ็ดนั้นสวนใหญไมคอยไดเรียกกัน หลักแปด จุดเริ่มตนจากเสาหินเลขที่ 7 ถึง เลขที่ 8 ซึ่งเปนเขตของ อําเภอดําเนินสะดวกติดตอกับเขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม การเรียกชื่อหลักแปดนี้มักจะเรียกกัน ในชวงตอนปลายของหลักแปด ตอนตนหลักไมคอยจะมีใครเรียกกัน เมื่อหมดเขตหลักเสาหินหลักที่แปดไปแลว ก็จะมีทางน้ํายาวอีกประมาณ 40 เสน เขตอําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งบริเวณนี้ก็มีการเรียกชื่อวา หลั ก แปดอยู บ า งจนไปสิ้ น สุ ด ที่ ป ระตู น้ํ า บางนกแขวก ที่ ตํ า บลบางนกแขวก อํ า เภอบางคนที จั ง หวั ด สมุทรสงคราม คลองดําเนินสะดวกนี้โดยทั่วไปชาวบานมักเรียกวา“คลองใหญ”เพราะเปนลําคลองสายหลักที่ยัง มีคลองเล็กคลองนอยเชื่อมติดตอกันอีก 200 กวาคลอง สําหรับประตูน้ําทั้ง 2 แหงที่กลาวถึงนั้น คือ ประตูน้ําบางยางทางดานแมน้ําทาจีนอยูบริเวณปากคลอง ตนในเขตหลักหนึ่ง และประตูน้ําบางนกแขวกซึ่งอยูหางจากแมน้ําแมกลองเขามาประมาณ 1 กิโลเมตร บริเวณ หนาวัดเจริญสุขารามวรวิหาร ประตูน้ําทั้ง 2 นี้เริ่มกอสรางเมื่อ พ.ศ. 2450 (ร.ศ.126) สรางเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2451 (ร.ศ.127) ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากพื้นที่ 3 จังหวัด ประสบปญหาในดานการเกษตรกรรมและการคมนาคม ในชวงฤดูน้ําหลากเกษตรกรประสบกับปญหาน้ําทวมสวน พืชผลเสียหาย พอถึงในชวงฤดูแลงน้ําในคลองลด ระดับลงจนเรือไมสามารถแลนผานได โดยเฉพาะเรือกบรรทุกสินคา ขนาดใหญทําใหเสียเวลาตองรอจนกวาน้ํา จะขึ้น นอกจากนี้ยังเปน การระบายน้ํ าเค็ มออกเปดน้ําจื ดเข ามาเลี้ยงพืชผลแก ชวนสวน รวมทั้งเปนการจั ด ระเบียบเรือเพื่อปองกันความแออั ดในการสัญ จรไปมาดวย กรมชลประทาน กระทรวงเกษตราธิการ จึ งได จัดสรางประตูน้ําทั้ง 2 แหงนี้ขึ้น


55

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

พัฒนาการของชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก หลังจากที่ไดมีการขุดคลองดําเนินสะดวกขึ้นแลว ประชาชนไดทยอยกันหลั่งไหลเขามาตั้งถิ่นฐานใน บริเวณริมสองฝงคลอง พัฒนาการกลายเปนชุมชนในยานตางๆขึ้นมามากมาย ชุมชนดําเนินสะดวกจึงเปนพื้นที่ ที่มีความสําคัญเรื่อยมาทั้งจากอดีตสูปจจุบัน มีพัฒนาการที่ยาวนานถึงวันนี้เปนเวลา 135 ปแลว จากงานศึกษา ของพรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537) ใน “วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก” และพระครูสิริ วรรณวิวัฒน (2544) ใน “ประวัติค ลองดําเนินสะดวก” ฉายภาพความเปนมาและความเปนไปของชุมชน ประมวลโดยสรุปไดดังนี้ สภาพพื้นที่กอนการขุดคลองดําเนินสะดวก กอนป พ.ศ.2409 บริเวณพื้นที่กอนการขุดคลองดําเนินสะดวกเปนปาละเมาะรกรางและทุงหญา อยูสูง จากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 4 เมตร มีลําคลองธรรมชาติไหลผานเพียงไมกี่สาย เชน คลองแพงพวย คลองยายแพง คลองสี่หมื่น คลองโคกวัด เปนลําคลองที่ไมไดมีเสนทางเขามาถึงใจกลางของพื้นที่ สวนใหญจะ ไหลผานพื้นที่ดานขางของแมน้ําแมกลอง พื้นที่ทางตอนบนจึงเต็มไปดวยปารก เชน ปาจาก ปาปรง ปาไผ และ ดงสแก เสือหมอบ ตนไมยืนตนในปา ประกอบดวยตนสะแก สนุน ตะขบ กุม กระทุม ทองหลอง กามปู ฯลฯ นอกจากนี้ยังเปนที่อยูอาศัยของสัตวนานาชนิด อา นก กา เหยี่ยว กระรอก กระแต ไกปา กระตายปา เสือปลา งู ตะกวด เตา นาก ปลา กุง หอย ซึ่งมีอยูชุกชุม ประชาชนที่เขามาตั้งถิ่นฐานสวนใหญจึงกระจายอยูบริเวณ ตามลําคลองธรรมชาติ มีการใชที่ดินบางสวนเพื่อการทํานา โดยมีวัดเปนศูนยกลางของชุมชน สันนิษฐานวา ชุมชนที่สําคัญในสมัยนั้นโดยยึดวัดเปนศูนยกลางในการทํากิจกรรมของชุมชนนาจะไดแก ชุมชนวัดชาวเหนือ อุดรราษฎรศรัทธาราม (สรางวัด พ.ศ. 2324 ตําบลบานไร) ชุมชนวัดสอนประดิษฐวราราม (สรางวัด พ.ศ.2332 ตําบลขุนพิทักษ) ชุมชนวัดปรกเจริญ (สรางวัด พ.ศ.2375 ตําบลตาหลวง) และชุมชนวัดประสาทสิทธิ์ (สรางวัด พ.ศ.2398 ตําบลประสาทสิทธิ์ ) กลาวโดยสรุปแลวบริเวณพื้นที่กอนการขุดคลองดําเนินสะดวกนี้ ยังเปนชุมชน ขนาดเล็กๆ ที่เกิดขึ้นในลักษณะของชุมชนชนบท ซึ่งอยูในแขวงเมืองราชบุรีภายใตการปกครองของมณฑล ราชบุรี สภาพพื้นที่หลังการขุดคลองดําเนินสะดวก การขุดคลองดําเนินสะดวก นับเปนการเปดพื้นที่แหงใหม จากสภาพปาที่รกรางใหผูคนเขามาตั้งถิ่น ฐานบานเรือน ประกอบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการเปดประเทศในสมัยรัตนโกสินทร ตอนตน โดยเฉพาะสมั ยรั ชกาลที่ 4 และรั ชกาลที่ 5 สง ผลให สัง คมเกษตรกรรมของไทยที่ เคยผลิต และ เพาะปลูกเพื่อการยังชีพมาเปนการเพาะปลูกเพื่อการคา บทบาทและความสําคัญของคลองดําเนินสะดวกจึงมี มากขึ้นนอกจากการคมนาคมขนสง มีการขยายพื้นที่การเพาะปลูกจากบริเวณเขาไปทางพื้นที่ตอนในของสอง ฝงคลอง เกิดการขุดคลองเล็กคลองซอยตางๆมากมายประมาณได 500 สาย โดยเฉพาะในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวก มีคลองเล็กหรือคลองซอยประมาณ 200 กวาสาย อาศัยแรงงานกรรมกรชาวจีนในการขุด สําหรับผูที่ เขามาจับจองที่ดินสวนใหญในระยะแรกนั้น ไดแกเจานายผูใหญในพระนคร และราษฎรที่อยูบริเวณใกลเคียง จังหวัด ราชบุรี สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร เชน สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) เจาจอมแพร เจาจอมเอม เจาจอมมารดาโหมด พระยาศรีสุราษฎร พระยาสุนทรบุรี พระรายาโชฎึกราช เศรษฐี พระยาพระกลาโหม พระชลทาน หลวงโยธานิติการ ขุนพิทักษประชาราษฎร เปนตน (นิยม พุทธเภสัช, 2511: 50) โดยเจานายชั้นผูใหญที่เขามาจับจองที่ดินนี้ สวนมากไมไดเขามาประกอบอาชีพทําสวนทํานาเอง แตปลอยใหผู ที่เข ามาหักลางถางพง เปน ผูเ ชาถื อที่ดินทํา การเพาะปลูกแทน ซึ่งต อมาพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงออกกฎหมายกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เพื่อเปดโอกาสใหราษฎรโดยทั่วไปมี สิทธิในที่ดินโดยการจับจองดวย การใชพื้นที่ดินในระยะนี้ จึงเปนแหลงเพื่อการเกษตรกรรมโดยตรง สามารถแบงการใชพื้นที่ออกได เปน 2 สวนคือ พื้นที่นาจะอยูตอนบนของพื้นที่ซึ่งถือเปนอาชีพดั้งเดิมของชุมชน และพื้นที่ตอนลางสําหรับการ ทําสวน โดยปลูกพืชสวนและพืชไรเปนสวนใหญ ไดแก สวนผักพืชลมลุก เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้จะถูกน้ําทวม เสมอในฤดู น้ํ า หลาก พื ช สวนที่ สํ า คั ญ ได แก พริ ก หอม กระเที ยม ผั กกาดขาว คะน า ถั่ วลิ ส ง ถั่ วเหลื อง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

56

ถั่วฟ กยาว กระหล่ํา ป กระหล่ําดอก ผักชี มะเขือตา งๆ แตงกวา แตงโม ฟกทอง ขา วโพด กล วย ฯลฯ โดยเกษตรกรจะทําการเบิกรอง ทําสวนมีคลองเล็กๆ ในสวนเพื่อสะดวกตอการดน้ํา แลวทําคันลอมรอบสวนที่ เบิกนั้น สําหรับการสัญจรไปมาระยะนี้ คลองดําเนินสะดวกมีความสําคัญมากทั้งในดานคมนาคมขนสงสินคา ชวยยนระยะทางจากหัวเมืองตะวันตกมายังพระนครไดสะดวกรวดเร็ว หัวเมืองที่สําคัญ ไดแก ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม เพื่อลําเลียงสินคาไปยังพระนครและบริเวณใกลเคียง ไดแก สมุทรสาคร นนทบุรี ธนบุรี อยุธยา สุพรรณบุรี สมุทรปราการ มีเรือบรรทุกสินคาสัญจรไปมากันอยางคึกคัก โดยเปนทั้งการสัญจรภายในชุมชน และการสงสินคาไปยังตลาดที่หางไกล เรือจึงเปนพาหนะที่สําคัญ ซึ่งมีลักษณะตามขนาดการบรรทุกสินคา เชน เรือบรรทุกพวกพืชผักผลไม ไดแก เรือสําปน เรือมาด เรือบรรทุกขาวเปลือก เชน เรือขางกันแซง เรือกระดาน ใหญ เรือบรรทุกปูน มะพราว ไดแก เรือฉลอมใหญ นอกจากนี้ยังมีเรือสัญจรไปมา ไดแก เรือบด เรือเปดใหญ และเปดเล็ก เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อถึงฤดูน้ําแลง การสัญจรไปมาในคลองดําเนินสะดวกตองประสบปญหา เพราะน้ําใน คลองจะลําลงจนเรือไมสามารถเดินทางตอไปได โดยเฉพาะในบริเวณชวงหลัก 5 ถึงหลัก 6 จะตื้นเขินมาก เนื่องจากกระแสน้ําที่ไหลมาจากแมน้ํา แมกลองแรงไมพอ ประกอบการคลองดําเนิน สะดวกมีระยะทางยาว จึงทําใหตะกอนมาทับถมกันบริเวณในกลางคลอง ดังปรากฏในเอกสารจดหมายเหตุแหงชาติ “เรื่องเจานาย เสนาบดีมีปญหา ใหไปตรวจเรือเขาออกคลองดําเนินสะดวก ร.ศ.126“ ระบุวา “เจาพระยาเทเวศวรวงษวิวัฒน เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ ไดสั่งการใหไปตรวจเรือเขาออกคลองดําเนินสะดวกเปนเวลา 5 วัน (เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2466) จํานวนเรือเขาออกทางตนคลองดําเนินสะดวก ที่ตําบลบางยาง แขวงเมืองนครไชยศรี 1,862 ลํา สวนทางปลายคลองที่ตําบลบางนกแขวก แขวงเมืองราชบุรี มีเรือเขาออก 3,168 ลํา” ซึ่งพบวาเรือมี จํานวนไมคอยมาก อันเนื่องจากปญหาดังกลาวจําตองหลักเลี่ยงไปใชเสนทางอื่นแทน จากปญหาดังกลาวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 จึงทรงโปรดฯให กระทรวง เกษตราธิการจัดซอมคลองขึ้นใหม และประกาศใหใชพระราชบัญญัติรักษาคลอง ร.ศ.121 สําหรับคลองดําเนิน สะดวกในป ร.ศ.123 (พ.ศ.2448) โดยออกกฎขอบังคับสําหรับคลองดําเนินสะดวกเพื่อเปนการรักษาคลอง รวมถึงการเก็บคาธรรมเนียม เรือที่เขามาดวย ภายหลังกฎขอบังคับนี้ถูกยกเลิกไปในป ร.ศ. 125 และในป ร.ศ. 126 (พ.ศ.2450) ก็ไดมีการสรางประตูระบายน้ําขึ้นบริเวณตนคลองคือประตูน้ําบางยางและประตูน้ําบางนก แขวกเพื่อแกไขปญหาาเรื่องระดับน้ําในฤดูแลงดังที่กลาวมาขางตนแลว นอกจากเรือขนสงสินคาแลว ยังมีเรือรับสงผูโดยสารตลอดลําคลองตั้งแตประตูน้ําบางยางถึงประตูน้ํา บางนกแขวก คือ เรือเมลหรือเรือแดง เรือหมอ ใชลําหรับลากจูงเรือบรรทุกตางๆ และมีเรือแท็กซี่ที่วิ่งรับสง ผูโดยสารซึ่งมีความเร็วกวาเรือเมล เรือดังกลาวนี้หยุดใหบริการลงในป พ.ศ.2510 เนื่องจากมีการคมนาคม ทางเลือกอื่นแทน นอกจากนี้การเดินทางไปยังกรุงเทพฯ ในสมัยนี้มีเรือแดงสําหรับรับสงผูโดยสารเที่ยวเดียว ตอวัน โดยออกจากประตูน้ําบางนกแขวก เวลาเที่ยงคืนไปถึงประตูน้ําบางยางประมาณ 4–5 โมงเชา และตอง นั่งเรือขามแมน้ําทาจีนไปตอเรือแดงที่ประตูน้ําอางทองในคลองภาษีเจริญก็จะถึงกรุงเทพฯในชวงเย็น รวมแลว ใชเวลา 3 วันเต็มสําหรับเดินทางไปกลับกรุงเทพฯ–ดําเนินสะดวก ในส วนของการก อตั วของชุ ม ชนหลั ง ขุ ดคลองดํ า เนิ น สะดวกนั้ น 40 ป ให หลั ง ของการขุ ดคลอง ประชาชนเริ่มเขามาตั้งถิ่นฐานมากขึ้นสวนใหญเขามาประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเริ่มหนาแนนในบริเวณที่ เปนจุดเริ่ มตนของคลองทั้งสอง คือ บริเวณแมน้ํ าทาจีน และแมน้ําแมกลองจากนั้นก็ได ขยายตัวเขามาทาง ตอนใน โดยเฉพาะทางปลายคลองฝงแมน้ําแมกลองซึ่งอยูใกลศูนยกลางเมือง แมกลองและราชบุรี ในระยะนั้น มี ชุ ม ชนบางนกแขวกซึ่ ง เป น ชุ ม ชนดั้ ง เดิ ม ตั้ ง อยู ริ ม ปากคลองฝ ง แม น้ํ า แม กลอง ชุ ม ชนได ข ยายใหญ ขึ้ น เปนศูนยกลางของตลาดนัดน้ําที่สําคัญ คือ “ตลาดนัดปากคลอง”(ขณะนั้นยังไมไดสรางประตูน้ําบางนกแขวก) ตอมาเกิ ดการขยายตั วของชุม ชนโดยปรากฏขึ้ นในบริ เวณตอนในของคลองดํา เนิ นสะดวก หา งจากชุม ชน บางนกแขวกประมาณ 4 กิโลเมตร คือ บริเวณชุมชนดําเนินสะดวก อันมีประชากรตั้งถิ่นฐานอยางหนาแนน ตลอดริมคลอง และบางสวนแยกไปตามคลองซอยตางๆ ซึ่งตรงบริเวณคลองคลองซอยที่แยกจากคลองดําเนิน สะดวกเขาไปนั้นจะมีการกระจุกตัวของบานเรือนหนาแนนกวาคลองซอยอื่นๆที่อยูลึกเขาไป คลองซอยที่สําคัญ คือ คลองลัดราชบุรี (ชาวจีนเรียกเพี้ยนไปวา คลอลัดพลี้ หรือ คลองลัดพลี โดยที่ภาษาจีนแตจิ๋วเรียกคําวา “ราชบุร”ี วา“ลัดพลี้”) คลองทองหลาง คลองศรีสุราษฎร และคลองบัวงาม หรือคลองโพหัก นอกจากนี้ยังมี


57

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คลองอื่ นๆ อี ก เช น คลองตน หวา คลองสะเดา คลองวัดหลักหกรัตนาราม คลองราง (คลองสวางเจริญ ) คลองกํานันฮวด คลองกํานัน คลองตนตาล คลองโรงสี คลองไชฮวด คลองเจริญสุข คลองเลียงเฮง คลอง ประเสริฐสุข คลองยงวัฒนา คลองเวฬุนาราม คลองเจริญราษฎร คลองสมบูรณทรัพย คลองวัดอุบล คลอง บันได คลองตนไทร (คลองฮกเกี้ยน) คลองตาโตะ คลองตนเข็ม เปนตน จากพัฒนาการดังกลาว การตั้งถิ่นฐานของประชาชนริมน้ําเริ่มหนาแนนขึ้น ทําใหเกิดศูนยกลางของ ชุมชนในคลองดําเนินสะดวกที่สําคัญ 2 แหง คือ ชุมชนหนาวัดประสาทสิทธิ์ หรือ ชุมชนคลองโพหัก อยูในบริเวณหลัก 5 โดยมีวัดประสาทสิทธิ์เปน แกนกลางของชุมชน วัดนี้สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไดสรางขึ้นในป พ.ศ.2398 กอนการขุดคลองอยูหางจากริมคลองประมาณ 500 เมตร เมื่อคลองตัดผานวัดวัดประสาทสิทธิ์จึงเปนแกนกลาง ที่สําคัญของชุมชนในขณะนั้น ตอมาชุมชนไดขยายใหญขึ้นเมื่อวัดประสาทสิทธิ์ไดถูกสรางขึ้นใหมตรงบริเวณริม คลองดําเนินสะดวก และมีการขุดคลองซอยที่สําคัญ คือ คลองบัวงามมีเสนทางขึ้นไปทางตอนเหนือเชื่อมกับ คลองโพหัก ซึ่งแตเดิมมีชุมชนตั้งอยูแลว ความหนาแนนของประชากรตลอดบริเวณชวงนี้จึงเพิ่มขึ้น เกิดตลาด นัดทางน้ําที่ชาวบานเรียกกันวา “ตลาดนัดคลองโพหัก” และกลายเปนยานการคาที่สําคัญแหงหนึ่งของคลอง ดําเนินสะดวก ชุมชนแหงที่สองที่จะกลาวถึง คือ ชุมชนดําเนินสะดวก อยูบริเวณตั้งแตปากคลองลัดพลีเรื่อยไปจนถึง ปากคลองทองหลาง ซึ่งเปนชุมชนแหงใหมหลังการขุดคลอง โดยจุดสําคัญ คือ การทีคลองลัดพลีเปนคลองที่ เชื่อมตอไปยังเมืองราชบุรี จึงมีผูคนสัญจรไปมาอยางคับคั่ง และตรงบริเวณปากคลองนี้ยังเปนที่ตั้งของศาลาหา หองหรือศาลาแดง (เนื่องจากหลังคามุงกระเบื้องสีแดง) ที่สรางโดยสมเด็จเจ าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ไวสําหรับเปนที่พักของคนงานตอนกอนขุดคลองดําเนินสะดวก ตอมาก็กลายเปนที่พักของผูคน ที่เดินทางไปมา และในภายหลังยังไดใชเปนที่วาการอําเภอดําเนินสะดวกดวย ในสวนของคลองทองหลางก็เปน เสนทางที่สามารถเชื่อมตอกับคลองบางนอยซึ่งเปนเสนทางไปยังบางคนที อัมพวาและเมืองแมกลองไดบริเวณนี้ ยังมีวัดโชติทายการาม เปนวัดเกาแกในบริเวณนี้อันเปนแกนกลางที่สําคัญของชุมชนอีกนัยหนึ่ง นอกจากวัดแลว ยังมีธนาคาร โรงเรียน หางรานตางๆนานา รวมทั้งวิคดําเนินเธียเตอรซึ่งรวมอยูในพื้นที่นี้ดวย จากปจจัยทาง พื้นที่ของบริเวณนี้นับเปนจุดที่สําคัญที่บรรดาเกษตรกรจะนําพืชพักผลไมบรรทุกลงเรือมาคาขายแลกเปลี่ยนกัน เกิดศูนยกลางคือตลาดน้ํา ซึ่งชาวบานเรียกวาตลาดนี้วา“ตลาดนัดศาลาแดงหรือตลาดนัด 5 หอง”นอกจากนี้ บริเวณใกลเคียงนี้หางจากชุมชนดําเนินสะดวกออกไปประมาณ 1 กิโลเมตร ยังมีตลาดนัดศรีสุราษฎรบริเวณ ปากคลองศรีสุราษฎร ซึ่งคลองนี้สามารถลัดไปถึงวัดธรรมาวุธาราม (วัดปงปน) ในเขตจังหวัดสมุทรสงคราม ไดดวย ซึ่งมีตลาดนัดทาคาหรือปงปนอยูดวย ผูคนจึง ไปมาระหวางกันไดสะดวก จะเห็นไดวาบริเวณชุมชน ดําเนินสะดวกนี้จึงมีบทบาทสําคัญในการเปนศูนยกลางทางดานการพาณิชยกรรม การคมนาคม การปกครอง และวิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนที่สําคัญของคลองดําเนินสะดวก ระยะแหงการพัฒนาอําเภอดําเนินสะดวก : ผลกระทบตอชุมชนริมน้ํา ในราวป พ.ศ.2504 ภายใตการนําของรัฐบาลที่จะนําพาประเทศไปสูความทันสมัยนับเปนวาระเริ่มแรก แหงการเปลี่ยนแปลงของชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก โดยเฉพาะการพัฒนาประเทศตามแนวทางอยางชาติ ตะวัน ตก แผนพั ฒนาเศรษฐกิ จและสั ง คมแหง ชาติ สะทอนการพัฒนาที่ มุ งเน นสาระสํ าคั ญ ทางเศรษฐกิ จ โครงการสรางสาธารณูปโภค โครงสรางพื้นฐานตางๆ กระจายเขาสูภูมิภาคของประเทศ การคมนาคมขนสง ดวยระบบโครงขายถนนอันสงผลตอรูปแบบวิถีชีวิตชุมชนริมคลองดําเนินสะดวก ในป พ.ศ.2500 เปนตนมา ถนนสายสํา คัญที่ ปรากฏขึ้นในระยะนี้ได แก ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3237 และ 3336 และทางหลวง แผนดินหมายเลข 325 หรือ ถนนสายบางแพ–ดําเนิ นสะดวก–สมุ ทรสงคราม มีความยาว 42 กิโลเมตร นับเปนถนนสายหลักที่ตัดผานอําเภอดําเนินสะดวกทําใหอําเภอดําเนินสะดวกเปนเมืองเปด สามารถเดินทาง ติดตอกับกรุงเทพฯและจังหวัดใกลเคียงไดอยางสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ภายในตัวอําเภอก็มีการสราง โครงขายถนนที่เชื่อมโยงติดตอไปมากันไดสะดวกขึ้น เชน สายสี่แยกโคกวัด–วัดสีดาราม บานรางนายรอย– ดําเนินสะดวก สายดอนคลัง–โรงฆาสัตว สายดําเนินสะดวก–หลักหา และถนนสายสุขาภิบาล 1 สรางแยก จากถนนสายดําเนิน–สมุทรสงคราม ตัดเลียบคลองดําเนินสะดวกผานที่วาการอําเภอดําเนินสะดวก เปนตน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

58

ถนนเหลานี้ไดรับการพัฒนาปรับปรุงใหเปนถนนราดยาง เรื่อยมาตั้งแต พ.ศ.2526 ทําใหชุมชนหันมาสัญจรทา งบกันมากขึ้น ในแงของการพัฒนาเศรษฐกิจ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดนโยบายการ ผลิตสินคาเกษตรเพื่อการสงออก ซึ่งพื้นที่ของอําเภอดําเนินสะดวกมีความเหมาะสมอยูแลว พื้นที่การเกษตรจึง เพิ่มขึ้นอย างรวดเร็วโดยเฉพาะอย างยิ่งการทําสวนไมผลไมยืนตนอันเปนที่ตองการของตลาดและไดกําไรดี พื้นที่ของสวนจะขยายตัวอยูใ นพื้นที่ของตําบลดําเนินสะดวก ตําบลสี่หมื่น ตําบลทานัด ตําบลขุนพิทักษ ตําบล ศรี สุร าษฎร ตํ า บลดอนไผ และตํา บลประสาทสิ ทธิ์ สํา หรั บ พื้น ที่ การทํา นาในบริ เวณ ตํ าบลบา นไร ตํา บล แพงพวย ตําบลดอนคลัง ตําบลบัวงาม ก็เริ่มลดลง การเกษตรกรรมในระยะนี้จึงเปนการทําเกษตรเพื่อการคา อยางจริงจัง (Commercial Agriculture) ชาวสวนไดทําการปรับปรุงและหาพันธุพืชใหมๆ ที่ใหผลผลิตมาก และมีขนาดใหญกวาเดิมมาปลูกเพิ่มจํานวนขึ้น ผลไมที่โดดเดน ไดแก องุน ฝรั่ง ชมพู มะมวง สวนพืชผักผลไม พัน ธุ ดั้ง เดิ ม เช น พริ ก หอม กระเที ยม ค อยๆลดจํ า นวนลง และด วยการเปลี่ ยนแปลงในระบบการผลิ ต ดังกลาว เทคโนโลยีวิทยาการใหมๆ แทนการพึ่งพาธรรมชาติอยางเดียวจึงเขามามีสวนสําคัญตอสังคมเกษตร ดําเนินสะดวกดวย เชน เครื่องยนต ปุย น้ํายา ยาฆาแมลง เปนตน ซึ่งในระยะตอมาไดมีการสงเสริมผลผลิต ทางการเกษตรเพื่อปอนเขาสูโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อนําผลผลิตตางๆบรรจุกระปองสงไปยังตลาดตางประเทศ พืชผลที่สําคัญไดแก หนอไมฝรั่ง และขาวโพดออน นอกจากนี้ ในป พ.ศ.2525 บทบาทของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยเฉพาะการท องเที่ยวแห ง ประเทศไทย ไดใหการสงเสริ มและประชาสั มพันธต ลาดน้ําในระดับ ชุมชนใหเปนแหลงทองเที่ยวระดับชาติ ตลาดน้ําจึงกลายเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศและเปนที่รูจักของคนทั่วโลก ซึ่งทําใหตลาดน้ําในรูป แบบเดิมกลายสภาพไปทั้งในระดับกายภาพและวิถีชีวิตวัฒนธรรมดั้งเดิม การคมนาคมทางบกและทางน้ํา สําหรับการสัญจรของชุมชนก็ยอมเปลี่ยนแปรไปตามสภาพการณดังกลาวดวย โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่ เขามาเอื้ออํานวยความสะดวกในการสัญใหกับชุมชนทางน้ําคือ“เรือยนต” ไดแก เรือหางยาวนิยมใชกันมาตั้งแต พ.ศ.2502 ใชรบั สงผูโดยสารในคลองดําเนินสะดวก นอกจากนี้ยังมีเรืออีซุซุ มีหลังคากันแดดอันเปนที่นิยมของ ผูโดยสาร เรือ 5 ที่นั่ง เรือ 2 ตอน เปนเรือรับจางเหมาะไปยังจุดหมายที่ตองการ สําหรับเรือแดงและเรือแท็กซี่ นั้นมีผูโดยสารลดจํานวนลงมากจึงตองลมเลิกไป สวนผูที่จะเดินทางไปยังตัวเมืองราชบุรี อัมพวา และแมกลอง จะมีเรือยนตประจําทางบริการดวยเชนกัน พาหนะที่ใชในการสัญจรทางน้ําในคลองดําเนินสะดวก ในสมัยนี้จึง สามารถแบง ประเภทของเรือตามหนา ที่ไดคื อ เรื อส วนตัว ใช เรื อพายหรื อเรือแจวส วนใหญเ ปน เรื อสํ าป น ซึ่งเหมาะกับการบรรทุกพืชผักผลไม จากสวนที่กระจายอยูตามคลองเล็กคลองนอยตางๆมาคาขายยังตลาดน้ํา หรือเดินทางไปมาติดตอกัน เรือโดยสาร ใชเรือหางยาววิ่งรับสงผูโดยสารในคลองดําเนินสะดวก โดยในระยะ หลังนิยมใชเรืออีซุซุกันมาก และเรือโยง ใชบรรทุกขนสงสินคา เชน เรือบรรทุกอิฐ หิน ปูน ทราย จากราชบุรี และเรือบรรทุกพืชผั กผลไมจากสวนในดําเนินสะดวกและพื้ นที่ใกลเคี ยง โดยผานคลองดําเนินสะดวกไปยั ง ตลาดในกรุงเทพฯและจังหวัดอื่นๆ ในราวป พ.ศ.2516 เปนตนมา โครงขายถนนไดถูกปรับปรุงพัฒนาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อ รองรับระบบบริการขนสงซึ่งเกิดขึ้นหลายเสนทาง ไดแก รถ บขส. ดําเนินสะดวก–กรุงเทพฯ ระยะทาง 107 กิโลเมตร รถเมลเหลืองไปยังตัวจังหวัดราชบุรี มีระยะทาง 51 กิโลเมตร รถบรัสไปยังแมกลอง และระบบ บริการขนส งภายในทองถิ่นเอง มี ทารถตลาดเสริ มสุข ซึ่ งบริการไปยังท องที่ในอําเภอตามจุดต างๆ ไดแก สายบัวงามไปตําบลบัวงาม สายแชไหไปตําบลดอนกรวยและดอนไผ สายทาเรือไปตําบลแพงพวย สายหลักหก ไปตํ าบลศรีสุ ราษฎร สายโคกกรวยไปตํ าบลดอนกรวย สายวัดปรกไปตําบลตาหลวง สายหลั กหา ไปตํ าบล ประสาทสิ ทธิ์ และท ารถเสรี ได แก สายไปตัวเมืองราชบุรีซึ่ง เดิน รถตามถนนสายทองถิ่นบ านรางนายรอย และสายสี่ แ ยกโคกวั ด–พิ กุล ทอง เป น ทางลั ดไปเมื องราชบุ รี ผ า นตํ า บลดํ า เนิ น สะดวกและตํ า บลสี่ หมื่ น นอกจากนี้ยังมีรถจักรยานยนตรับจางตามจุดตางๆในยานชุมชนดวย


59

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ในขณะที่ชาวสวนเองก็จะเลือกขนสงผลผลิตทางรถยนตซึ่ง มีความรวดเร็วกวา เพื่อไปสงสิ นคายั ง ตลาดกลาง 2 แหง คือ ในกรุงเทพฯ และในตัวเมืองราชบุรี จะเห็นไดวาความสําคัญของการสัญจรทางน้ําลด ความสําคัญลงแตก็ยังไมสูญหายไปจากชุมชน ยังปรากฏทาเรือที่พบเห็นอยู 2 ทา คือ ทาเรือไปยังวัดเจริญ สุขาราม (บางนกแขวก) และทาเรือหลักหา โดยเฉพาะในเขตสุขาภิบาลศรีดอนไผยังพบการสัญจรทางน้ําที่ยังมี ความจอแจพลุกพลานอยู รูปแบบของชุมชนและการเปลี่ยนแปลง สวนรูปแบบของชุมชนอันไดรับผลจากการพัฒนา ในราวป พ.ศ.2500 ชุมชนจึงปรากฏอยางชัดเจนใน การกําหนดพื้นที่เชิงการปกครอง แบบสุขาภิบาล ประกอบดวย 2 แหง คือ สุขาภิบาลดําเนินสะดวก และ สุขาภิบาลศรีดอนไผ ทั้งสองชุมชนยังคงมีวิถีชีวิต ในรูปแบบเดิมไมคอยเปลี่ยนแปลงมากนักถึงจะมีถนนตัดผาน เพื่อขึ้นเรื่อยๆ ความคุนเคยกับการมีลําคลองเปนทางของประตูหนาบานยังมีอยู บานเรือนรานคายังตั้งอยูริม สองฝงคลอง ในสวนของชุมชนสุขาภิบาลดําเนินสะดวก ยังทําหนาที่เปนศูนยกลางในการปกครอง เศรษฐกิจ การศึกษา และบริการตางๆดวย อยางไรก็ดี ตั้งแต พ.ศ.2500 เปนต นมา ชุม ชนดําเนิ นสะดวกเริ่มมีการขยายตั วมากขึ้น ตลาดน้ํ า ดําเนินสะดวกขยายเขาไปทางตอนในคลองลัดพีและคลองทองหลางจากเดิมที่เคยติดตลาดในคลองดําเนิน ซึ่ง ทําใหยานการคาเติบโตมากขึ้น สําหรับสุขาภิบาลศรีดอนไผ ที่มีศูนยกลางชุมชนอยูบริเวณหนาวัดประสาทสิทธิ์ และตลาดน้ําคลองโพหัก ก็ยังทําหนาที่เปนศูนยกลางใหบริการแกชุมชนและตําบลใกลเคียง รวมทั้งชุมชนใน เขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร (หลักสาม) โดยจุดนีย้ ังเปนจุดเปลี่ยนเรือระหวางจังหวัดที่จะตอไปยัง อําเภอบานแพวอีกดวย บริเวณนี้จึงมีการกระจุกตัวของบานเรือนและรานคาอยูอยางหนาแนน นอกจาก 2 ชุมชนดังกลาวแลว ยังไดเกิดชุมชนแหงใหมขึ้นตรงบริเวณปากคลองตนไทร อันเปนผลมา จากการตัดถนนสายบางแพ–ดําเนินสะดวก ตัดผานเขาถึงคลองดําเนินสะดวกทําใหบริเวณดังกลาวใชเปนทา รถโดยสารและทาขนสงสินคา เกิดรานคา ธนาคารพาณิชยขึ้น ซึ่งมีลักษณะอาคารเปนตึกแถวริมน้ํา ในระยะ หลังป พ.ศ.2516 เปนตนมา ทางหลวงแผนดินหมายเลข 325 ดังที่กลาวมาขางตน สรางเชื่อมตอไปยังจังหวัด สมุทรสงครามเสร็จสมบูรณ ถนนจึงเขามามีความสําคัญตอการตั้งถิ่นฐาน ชุมชนเริ่มหันหนาออกสูถนนโดยมี ตึกแถวและธนาคารหางรานตางๆ เกิดขึ้นริมถนน ผูอาศัยการคาที่เคยอยูริมคลองบางสวนไดทยอยเคลื่อนยาย กันบางแลว ในระยะต อมา เมื่ อมี การตั ดถนนสายบางแพ–ดํา เนิ น สะดวก–สมุทรสงคราม เชื่ อมต อกั น เสร็ จ เรี ยบรอยแล ว จึง ดึง ดู ดใหผู คนเขา มาตั้ง หลักแหลง บริเ วณริม ถนนมากขึ้ น รู ปแบบชุ มชนดํ าเนิ นสะดวกจึ ง ประกอบดวยชุนชนน้ํา และชุมชนบก ธนาคารหา งรานหลายแหงปดกิจการแลวยายมาอยูบริ เวณดั งกลา ว พรอมกับการเกิดยานการคา คือ ตลาดเสรี และตามมาดวยตลาดเสริมสุข ซึ่งประกอบดวยหางราน ธนาคาร โรงแรม โรงภาพยนตร (สําหรับโรงภาพยนตรปจจุบันไดปดกิจการแลว) รวมทั้งตลาดบกอีก 2 แหง คือฝงซาย และฝง ขวาของถนน ความสํ าคัญ ของตลาดดํา เนิ นสะดวกริ มคลองได ลดบทบาทลงจากการเปลี่ยนแปลง ดังกลา ว นอกจากนี้ ยัง มีการเคลื่ อนยา ยตลาดน้ํา ดํา เนิ นสะดวกอี กครั้ง โดยเข าไปติ ดตลาดในคลองตน เข ม ทําใหรานคาริมน้ําคลองลัดพลี คลองดําเนินสะดวก เงียบเหงาลง พื้นที่ดังกลาวก็แปรสภาพเปนเพียงบานของ ผูคนโดยมีรานคายอยใหบริการอยูปะปราย สวนสถานที่ราชการ วัด โรงเรียน ยังตั้งอยูริมน้ําตามเดิม แตเปน การแยกยานพาณิชยกรรมไปอยูริมถนนในตลาดเสรีและตลาดเสริมสุขเทานั้น สวนของชุมชนสุขาภิบาลศรีดอนไผยังมีวัดปราสาทสิทธิ์ทําหนาที่เปนศูนยกลางดังเดิม ริมคลองยังคงมี รานรวงสินคาตางๆ กิจกรรมในชุมชนยังคงคึกคัก ทั้งนี้เปนเพราะชุมชนนี้ตั้งไกลจากตลาดเสรีประมาณ 10 กิโลเมตร ยานนี้จึงมีความสําคัญในการคาบริการแกชุมชน และครอบคลุมไปถึงพื้นที่ในเขตอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาครดวย และนอกจากวัดปราสาทสิทธิ์ซึ่งเปนแกนหลักใหกับชุมชนนี้แลว ถัดจากวัดปราสาทสิทธิ์ ไปประมาณ 800 เมตร จะพบชุ ม ชนของคริ ส ต ศาสนิ กชนซึ่ งมี วัดพระแม ประคํ าศั กดิ์ สิทธิ์ และโรงเรี ยน วัดทามารีอา เปนแกนหลักใหกับชุมชนนี้อีกนัยหนึ่งดวย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

60

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวิถีชีวิตชุมชนริมสองฝงคลองปจจุบัน เนื้อหาในสวนนี้ผูเขียนจะนําเสนอภาพของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวิถีชีวิตชุมชนของผูคนริมสอง ฝงคลองดําเนินสะดวกในประเด็นที่เห็นไดชัดเจน จากหัวขอที่กําหนดซึ่งจะกลาวในลําดับตอไป โดยขอมูลสวน ใหญนั้นไดมาจากการสังเกตในฐานะที่เป นคนในพื้นที่ รวมทั้งการสอบถามสัมภาษณ ผูคนในทองที่และจาก เอกสาร บทความ รายงานวิจัยและวิทยานิพนธตางๆ ที่ไดศึกษากันไวบางแลวอยูพอสมควร การคมนาคม : จากวิถีน้ําเปนวิถีบก ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวาผลจากการตัดถนนสายบางแพ–ดําเนินสะดวก–สมุทรสงครามทําให เกิดการเคลื่อนยายตัวของชุมชนที่อยูริมสองฝงคลองดําเนินสะดวก โดยเฉพาะรานคาพาณิชยยานตลาดน้ําปาก คลองลัดพลีไปจนถึงบริเวณปากคลองศรีสุราษฎร ซึ่งในอดีตเปนยานคาขายที่คึกคัก บานเรือนรานคาที่เคยหัน หนาเขาหาคลอง ปจจุบันหันหนาเขาหาถนนและยายไปยังพื้นที่ในชุมชนที่กระจายตัวออกไป คือบริเวณตลาด เสรี และตลาดเสริมสุข ผูเขียนขอนําเสนอภาพตัวอยางพื้นที่เพื่อเปนกรณีที่จะใหเห็นความเปลี่ยนแปลงไดอยาง ชัดเจน คือ บริเวณหลัก 7 (ในฐานะที่อาศัยอยูบริเวณนี้) จะเสนอภาพตลาด 2 แหง ซึ่งเปนตลาดที่อยูในยาน การคาสําคัญในอดีต คือ ตลาดตาอูหรื อตรงบริเวณปากคลองโรงหมู ซึ่ งเปนตลาดหองแถวไม จากการ สัมภาษณคนแถวนี้เลาใหฟงในอดีตนั้นตลาดนี้จะประกอบไปดวยรานคาที่สําคัญหลายแหง เชน รานถายรูป รานตัดเสื้อผา รานขายของโชวหวย รานขายขนมจันทอับ ซึ่งเปนแหลงคาขายที่พลุกพลานมากในอดีต แตใน ปจจุบั นนี้ไมปรากฏร านค าเหล านี้อยูเลย สวนใหญจะยา ยไปอยูในบริเ วณตลาดท ารถและบางส วนไปอยู ที่ กรุงเทพเพื่อประกอบอาชีพอื่นกันหมด ภาพตัวอยางอีแหงหนึ่งที่จะเสนอคือ ตลาดปากคลองสะเดาอยูตรง บริเวณปากคลองสะเดา ซึ่งยังปรากฏใหเห็นรูปแบบการคาอยูบาง กลาวคือ ตลาดนี้เปนตลาดหองแถวไม ประมาณ 20 หอง ในอดีตมีรานคาที่สําคัญ เชน โรงทอผา รานทําชางไมตูเฟอรนิเจอร รานขายยาแผนโบราณ รานทําทอง (ปจจุบัน คือ อูตอรถ ต.วิจิตรศิลป ซึ่งยายไปอยูริมถนนแลว) รานขายขาว กาแฟโบราณรานขาย อะไหลทางการเกษตร เครื่องจักรทางการเกษตร ซึ่งในปจจุบันยังคงปรากฏใหเห็นเพียง 2 ราน คือ รานชางไม ทําตู โดยนี้รานนี้มิไดเปดอยางเปนทางการเทาไหร กลาวคือ เมื่อมีลูกคาสั่งทําตูจึงจะทําให สวนเฟอรนิเจอรที่ ตั้งอยูในรานนั้น เชน ตูกับขาว ตูโชว ตูกวยเตี๋ยว ซึ่งประกอบขึ้นมานานแลว นานๆครั้งจึงจะมีคนมาซื้อ ซึ่งสวนลูกคาสวนใหญจะเปนผูรูจักมักคุนกัน และอีกรานหนึ่งคือรานขายยาจีนแผนโบราณ (เฮี่ยะเลงฮึ้ง) ซึ่งยัง เปดดําเนินการอยู เจาของรานเลาใหผูเขียนฟงวา “รานเราเปดดําเนินการมาถึงปจจุบันนี้ไดประมาณ 60 กวา ปแลว คุณพอซึ่งเปนชาวจีนจากแผนดินใหญอพยพเขามาพึงพระบรมโพธิสมภารตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 8 รานของ เราในอดีตนั้นมีลูกคาจํานวนมากพอสมควร แตในปจจุบันภาครัฐไดสงเสริมตัวยาสมุนไพรใหแกประชาชนได รูจักการใชและพึ่งตนเองไดลูกคาก็มีลดจํานวนบางลูกคาบางสวนใหญหันมาสนใจการแพทยสมัยใหมมากกวา แตเราก็ยังพออยูได เพราะยังมีลูกคาเกาแกซึ่งชวยแนะนําคนอื่นๆ ใหมาที่นี่ลูกคาที่มาสวนใหญจะมาทาง รถยนตกันเพราะมีถนนตัดผานหลังบาน สวนลูกคาที่มาทางเรือนั้นก็ไดแกชาวสวนที่อยูในคลองสายตางๆ” สําหรับรานอื่นๆในตลาดแหงนี้ปจจุบันไดยายพื้นที่ไปในบริเวณตลาดทารถ บางคนก็ยายไปอยูกรุงเทพฯกันก็มี ซึ่งหองแถวที่เหลือก็กลายสภาพเปนหองเชาในที่สุด การสัญจรไปมาของผูคนริมสองฝงคลองนั้น ผูเขียนขอเลาภาพบรรยากาศที่เคยนั่งสังเกตเห็น คือ ในชวงเชาๆ นั้นจะได เห็นพระเรือ ซึ่งทานจะออกมาบิณฑบาตตั้งแตเวลาประมาณ 05.00–06.00 น.ใน ขณะเดียวกันพวกบรรดาแมคาแมขายทั้งหลายซึ่งบรรทุกผลไมพืชผักตางๆมาเต็มลําเรือตางพากันพายเรือไปยัง ตลาดน้ําคลองตนเข็มเพื่อขายสินคาเมื่อตลาดน้ําวายก็จะพายกลับในชวงเวลาประมาณ 12.00 น. นอกจากนี้ ในชวงเวลา 09.00–11.00 น. เราก็จะไดยินเสียงเรือหางยาวซึ่งมีเสียงดังอยางตอเนื่องที่รับสงนักทองเที่ยว ชาวตางชาติจากทาเรือพิชัยซึ่งอยูทางตอนในมีคลองซอยเล็กเขามาถึงคลองใหญ (คลองดําเนินฯ) มาออกที่ปาก คลองสะเดาไปจนถึงตลาดน้ําคลองตนเขม หรือที่ชาวบานทั่วไปเรียกวา“เรือฝรั่ง”ซึ่งมีประมาณ 30 กวาลํา อยางไรก็ตามในภาวะปจจุบัน เรือนี้ไดลดจํานวนลงไปอยางมาก อันเนื่องมาจากผลกระทบจากโรคซารสที่ ผานมา และภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา รวมทั้งปจจัยจากภัยกอการราย ซึ่งทําใหนักทองเที่ยวลดจํานวนนอยลง พนักงานขายของที่ตลาดน้ําดําเนินสะดวกเลาใหผูเขียนฟงวา“หลังจากเกิดโรคซารสแลวจํานวนนักทองเที่ยว


61

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ตางชาติลดจํานวนลงอยางเห็นไดชัด จากวันๆหนึ่งที่เคยมีรถบรัส รถตู วันละเปนรอยๆคัน แตปจจุบันเหลือ เพียงวันละประมาณ 50 คันเทานั้น” นอกจากนี้ การไปมาหาสูกันระหวางผูคนในชุมชนนั้นการใชเรือพายพบเห็นนอยมาก หรือแมกระทั่ง เรือหางยาวซึ่งสมัยเมื่อ 10 ปมาแลว ผูเขียนเคยยังจําไดวามีเรือโดยสายประจําทางจากบริเวณทารถไปหลักหา และหลักหามาทางรถ ซึ่งมีผูคนนั่งเต็มลํามาโดยตลอด แตในปจจุบันไมมีเหลือปรากฏใหเห็นอยูเลย ยังคงเรือ เพียงเรือ 2 ตอน ที่รับจางไปยังจุดหมายที่ตองการ เพียง 3–4 ลําเทานั้น สําหรับการเดินทางไปยังหลัก 8 จนถึงประตูน้ําบางนกแขวก (วัดเจริญสุขาราม) นั้น ปจจุบันก็เหลือแคเพียงเรือหางยาวโดยสารซึ่งวันหนึ่งมีเพียง 1–2 เที่ยวเทานั้น ผูโดยสารสวนใหญจะเปนเด็กนักเรียนและแมคาซึ่งนําสินคามาขายที่ในตลาดทารถ สาเหตุ สําคัญที่ทําใหการสัญจรของผูคนริมสองฝงคลองไมเปนประดุจดังอดีตก็เพราะระบบโครงขายถนนที่เชื่อมโยงกัน อยางทั่วถึงผานตัดเขาถึงบานของผูคนทําใหเดินทางไดสะดวกมากกวา และ ยังมีรถประจําทางรองรับอีกหลาย สายดวยกัน การไปมาของเกษตรกรชาวสวนเองนอยรายที่จะใชเรือเปนพาหนะในการบรรทุกลําเลี่ยงพืชผลทาง การเกษตร เพราะตองนําไปขึ้นที่ทาอีกทีหนึ่งและบรรทุกใสรถตอไปเพื่อไปสงยังตลาดที่สําคัญ คือ ในตัวเมือง ราชบุรี (ตลาดศรีเมือง) หรือสงไปยังกรุงเทพฯ สวนใหญจะใชรถยนตบรรทุกสินคา มากกวา นอกเหนือจากบรรดาเรือแมคาผักและผลไมแลวยังมีเรือที่ขายของประเภทตางๆที่หลากหลายจากการ สอบถามชาวบานในอดีตนั้นปรากฏวามีเรือขายของนานาชนิด เชน เรือขายปลา เรือขนม เรือกวยเตี๋ยว เรือขาว เรือขนมหวาน เรือขายดอกไม เรือกวยจั๊บ เรือขายขาวโพดขั้ว เรือขนมจีน เรือขายขาวเกรียบปากหมอ ฯลฯ ซึ่งมีเปนจํานวนมากตามยานชุมชนหลักตางๆ แตปจจุบันลดลงเหลือใหเห็นอยูนอยมากเทาที่พบ เชน เรือ กวยเตี๋ยว เรือกวยจั๊บ ผัดไทย หอยทอด ขนมเบื้อง ลูกชิ้น โดยในปจจุบันแลวผูคนสวนใหญมักจะตั้งรานคาอยู บนบก และหันหนาเขาถนนมากกวา ภาพที่ผูเขียนนําเสนอดังกลาวขางตนนั้นสวนใหญจะอยูในพื้นที่บริเวณ หลัก 6 7 และ 8 สําหรับใน พื้นที่ชุมชนหลักหา บรรยากาศของชุมชนสวนใหญจะคึกคัดในชวงเชาๆก็เชนเดียวกันชุมชนดําเนินสะดวกแต จะมีความแตกตางในเรื่องความเบาบางของจํานวนนักทองเที่ยว โดยสวนใหญแลวจะเปนการไปมาของผูคนใน แถบนี้เองรวมถึงผูคนบริเวณในหลัก 4 เขตจังหวัดสมุทรสาคร ที่เขามาจับจายซื้อของตางๆ นอกจากนี้บริเวณ วัดปราสาทสิทธิ์ ในวันเสาร–อาทิตย ยังมีตลาดนัดบก สําหรับเปนสถานที่จับจายใชสอยใหกับชุมชนอีกทาง หนึ่งดวย ในป พ.ศ. 2544 ที่ผานมานี้ ไดมีโครงการขยายเสนทางการจรจาจรถนนสายสมุทรสงคราม–ดําเนิน สะดวก–บางแพ เพื่อรองรับกาคมนาคมในอนาคต จากเสนทาง 2 เลนส เปน 4 เลนส ซึ่งนับเปนการตอกย้ํา บทบาทความสําคัญของถนนที่มีตอชุมชนดําเนินสะดวกมากขึ้น ผลจากการขยายถนนนี้ ผูเขียนสังเกตเห็นการ ขยายตัวของชุมชนเริ่มกระจายตัวออกจากตลาดเสรีและตลาดเสริมสุขมากขึ้น โดยเฉพาะการสรางตึกแถว อาคารพาณิชยริมฝงถนนทั้งสองหลายแหงที่ถัดจากตัวตลาดออกไปตั้งแตบริเวณธนาคารกรุงไทยเปนตนไป จนถึงบริเวณโรงพยาบาลดําเนินสะดวก ซึ่งตึกแถวนี้บางสวนไดมีผูคนเขาไปอาศัยและเปดรานคาตางๆกัน บางแลว การคมนาคมของชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกในปจจุบันจึงพึ่งพิงการสัญจรทางน้ํานอยลงแตก็ ยังพอใหเห็นอยูบาง เชน เรือแมคา เรือรับสงนักเรียน นักทองเที่ยว ซึ่งปรากฏในเฉพาะบางชวงของแตละวัน เทานั้น และในยานหลักหา สวนใหญผูคนมักนิยมใชการสัญจรทางบกซึ่งมีเสนทางเขาถึงพื้นที่ตางๆไดอยาง รวดเร็วมากกวา เกษตรกรรม เกษตรกร : สวนดําเนินสะดวก ปุย สารเคมี และคุณภาพชีวิต เนื่องดวยพื้นที่ทางภูมิศาสตร พื้นที่ของอําเภอดําเนินสะดวกเปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมน้ําภาคกลาง อัน เกิ ดจากดิ น ตะกอนลํ า น้ํา พั ดพามาทั บ ถมกั น ในอดี ต อั น เป น ผลให ทรั พ ยากรดิ น จึ ง เหมาะสมกั บ การ เพาะปลูกไมผลไมยืนตน ซึ่งชุดดินในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกเปน 2 ตอน คือ ตอนลางของพื้นที่เปนชุดดิน ดําเนินสะดวก เปน ดินที่เหมาะสําหรับ การปลูกไมผลไมยืนตนหรือพืชผักตางๆ และทางตอนบนเปนดินชุ ด บางกอกเหมาะสําหรับปลูกขาว ถาทําคันดินกั้นน้ําและยกรองสามารถปลูกพืชไรและไมผลไม สามารถแบงพื้นที่ การทํ า เกษตรกรรมในอํ า เภอดํ า เนิ น สะดวกออกได เ ป น 2 สวน คื อ พื้ น ที่ ทางตอนเหนื อเป น พื้ น ที่ ทํา นา มีพื้นที่ประมาณ 20,870 ไร และทางตอนใตเปนสวน มีพื้นที่ประมาณ 79,325 ไร นอกจากทรัพยากรดินอันเปน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

62

ปจจัยที่สําคัญในการเกษตรแลวพื้นที่ในอําเภอดําเนินสะดวกยังมีลําคลองหลัก (คลองดําเนินสะดวก) และคลอง ซอยอีก 200 กวาสาย จึงทําใหพื้นที่ของอําเภอดําเนินสะดวกโดยเฉพาะพื้นที่ริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกเต็ม ไปดวยสวนผักผลไมนานาชนิด เปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญของปประเทศไทยดวย สวนในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกนี้จัดอยูใน “สวนนอกบางชาง” ดังคํากลาวของสุดารา สุจฉายา (2541: 160) ที่วา“ดวยแตโบราณแหลง ปลูกผลาหารหรือผลหมากรากไมที่คนไทยบริโภคกันมักปลูกกันมากในสวนสองแหลง คือ สวนใน อันไดแก เรือกสวนตามลําแมน้ําเจาพระยาตั้งแตเมืองนนทบุรี เมืองธนบุรีหรือบางกอก ลงไปจนถึงเมืองพระประแดง และ “สวนนอก” อยูในแถบลําน้ําแมกลอง ซึ่งคนทั่วไปแลวมักคิดวาอยูในเขตตําบลบางชาง อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพียงเทานั้น แตเมื่อไดพูดคุยสอบถามกับชาวสวนดําเนินแลวปรากฏวา ผลผลิตที่ในสวน นอกนี้เปนผลผลิตสวนใหญจากชาวดําเนินสะดวกหาใชแตในเขตบางชาง สมุทรสงครามแตอยางเดียว เพราะ คําวา“บางชาง” ในอดีตครอบคลุมไปถึงเขตคลองดําเนินสะดวกดวย เนื่องจากแตเดิม จังหวัดสมุทรสงคราม เปนแขวงหนึ่งที่รวมอยูกับจังหวัดราชบุรี เรียกวา“แขวงบางชาง”ตอมาในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาตนสมัยธนบุรี จึงไดแยกออกจากแขวงจังหวัดราชบุรี เรียกวา“เมืองแมกลอง” สําหรับการทําสวนของชาวดําเนินฯนั้น ในขั้นแรกเกษตรกร จะทําพื้นที่วางใหเปนสวนโดยการยกรอง ซึ่งเรียกวา “การเบิกสวน” แลวทําคันลอมรอบสวนที่เบิกนั้น สวนหนึ่งๆ จะมีพื้นที่โดยทั่วไปประมาณ 10 ไร ซึ่งสามารถแบงเปนรองหรือขนัดสวนไดประมาณ 10–15 รอง ลักษณะทั่วไปของสวนในพื้นที่อําเภอดําเนิน สะดวกแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ สวนเตี้ย และสวนสูง ซึง่ ประเภทของสวนนี้เรียกตามความสูง–ต่ําของ คันสวนที่ลมรอบรองสวน สวนเตี้ย ซึ่งมีมากในสมัยแรกเริ่มของการทําสวนของดําเนินสะดวกลักษณะของสวนจะมีคันดินที่มี ความสูงพอๆกันกับรองสวน สวนประเภทนี้ไมสามารถปลูกพืชในราวเดือน 8 ใกลเทศกาลเขาพรรษา ซึ่งจะเปน ฤดูน้ําหลากได จะถูกน้ําทวม เพราะไมมีคันดินที่สูงพอเพื่อกั้นน้ํา น้ําจะทวมสวนเตี้ยประมาณ 3–4 เดือน พืชที่ปลูกสวนใหญไดแก พืชประเภทลม ลุกประเภทผัก ซึ่งมีทั้ง ผักไทยแลผักจี น ที่นิยมมาก เชน พริก หอม กระเทียม แตงโม ผักกาดขาว คะนา ถั่วลิสง ถั่วแดง ถัวเหลือง ถั่วฝกยาว กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ใชเทา ผักชี บวบ ขึ้นฉาย มะเขือตางๆ แฟง แตงกวา แตงราน แตงไทย ฟกทอง ขาวโพด เปนตน การปลูกพืชตางๆ ในสมัยแรกๆ ที่ยังมีน้ําหลากนั้นสามารถเพาะปลูกไดงายเพราะดินเหมาะแกการเพาะปลูก การดูแลลงทุนมี นอย เนื่องจากไมคอยมีวัชพืชและแมลงรบกวน และพื้นดินก็ดีไมตองเสียเงินซื้อปุยเพราะดินนั้นมีแรธาตุที่ชวง น้ําหลากนํามาสั่งสมไวและกําจัดศัตรูพืชไปในตัว การปลูกพืชในพื้นที่ของสวนเตี้ยในรอบปหนึ่งมีการปลูก 2 ครั้ง อันไดแก ชวงแรก เรียกวา “ปลูกหนาป” คือ การปลูกพืชหลังฤดูน้ําหลาก และ“การปลูกหนาปรัง”ใน เดือน 5–8 คือในชวงฤดูฝน พืชที่ปลูกในการปลูกหนาปรังนี้จะเปนพืชลมลุกตามแตแตจะมีอายุไมเกิน 3 เดือนโดยประมาณ สําหรับสวนเตี้ยในปจจุบันชาวสวนไม นิยมทํากัน แลว โดยไปทําพื้น ที่ใหเปนสวนสูงแทน เพราะงายตอการดูแล และปลูกพืชไดตลอดทั้งป (ราตรี เพงพิพัฒน ,2543:162–163) ในสวนของ สวนสูง คือ สวนที่มีคันดินรอบสวนสูงกวารองหรือขนัดในสวน อันเปนที่ปรากฏมากใน พื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกในปจจุบัน การทําสวนประเภทนี้ ตองใชเงินทุนมากพอสมควร เพราะการถมคันดิน จะตองจางแรงงานหรือรถแม็คโคสําหรับสรางฐานดินใหคันสวนใหญและมั่นคง ซึ่งกวาคันดินนี้จะอยูตัวตองใช เวลานานประมาณ 4 ป นอกจากนี้ยังมีการปลูกตนไมที่มีรากยึดคันไดดีลอมรอบสวนเพื่อเปนการยึดพื้นดินให ติดกันไมพังทลายงายและคันดินไมพังในเวลาหนาน้ํา ตนไมที่ปลูกกันสวนใหญ เชน มะมวง มะพราว มะกอก มะรุม เปนตน สําหรับพืชผลที่ปลูกในรองสวน มีทั้งพืชลมลุกและยืนตน สามารถทําการเพาะปลูกไดตลอด ทั้งป แตอยางไรก็ดีผลเสียของการทําสวนสูงก็ประสบปญหาอยูเชนกัน เพราะสวนสูงเปนที่สั่งสมศัตรูพืชตางๆ เนื่องจากไมไดถูกน้ําท วม ทํ าใหเ กษตรกรตองหันมาใช ยาฆา แมลงกันเป นจํานวนมาก เมื่ อมีการใชม ากขึ้ น ศัตรูพืชทั้งหลายเริ่มดื้อยา ตองหายาฆาแมลงชนิดที่มีความรุนแรงยิ่งขึ้น มาใชปราบอีก เปนเหตุใหคาใชจาย ของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้นอีกนัยหนึ่ง และหากเกษตรกรใชสารเคมีไมถูกตองตามวิธีก็จะเปนอันตรายแกตนเอง ดวย ในทางตรงกันขามสวนเตี้ยกลับไดรับปุยธรรมชาติที่มาในชวงฤดูหนาน้ําอยางอุดมสมบูรณ สวนสวนสูง ทั้งหลายเกษตรกรจึงหันไปซื้อปุย สารเคมีตางๆ มาบํารุงดิน ทําใหเกิดการสะสมของสารพิษในดินอันจะสงผล ตอระบบนิ เวศทั้งผูผ ลิตหรือเกษตรกร ผูบริ โภค และเกิดมลภาวะกั บดิน และน้ํ าในที่สุด ซึ่งนั บวัน เกษตรกร ชาวสวนดําเนินสะดวกนิยมใชกันเพิ่มมากขึ้น


63

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

อยางไรก็ดีในชวงประมาณป พ.ศ. 2510 การปลูกพืชผักเริ่มลดจํานวนลงเพราะแมลงตางๆเริ่มเพิ่ม จํานวนมากขึ้น เกษตรกรชาวสวนดําเนินไดใชยาฆาแมลงใสปุยบํารุงกันมากจนไมคุมกับเงินที่ลงทุนไป พืชผล ตางๆที่เคยเพาะปลูกกันมาในอดีตอยาง หอม กระเทียม พริก รวมทั้งแตงโมบางชนิด ตลอดจนผักอื่นๆ เริ่ม หายและสูญพันธุไปในที่สุด เกษตรกรชาวสวนทั้งหลายจึงหันมาปลูกพืชจําพวกไมยืนตนที่เปนผลไมแทน เชน องุน มะละกอ พุทรา สม ฝรั่ง กลวย นอยหนา มะเฟอง มะขามหวาน มะขามเทศ มะละกอ มะมวง มะพราว น้ําหอม เปนตนซึ่งพืชผลเหลานี้จะปลูกหมุนเวียนกันไปตามความตองการของตลาด เปนทั้งสินคาที่สงขาย ภายในและนอกประเทศ ซึ่งทํารายไดใหกับเกษตรกรชาวสวนดําเนินเปนจํานวนมาก หลังจากป พ.ศ. 2512 เมื่อมีการสรางเขื่อนกักเก็บน้ําเหนือลําน้ําแมกลอง เชน เขื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนศรีนครินทร เขื่อนเขาแหลม ก็เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหไมเกิดน้ําทวมในฤดูหนาน้ําดวย พวกตะกอนดินที่พัด พามากับลําน้ําอันอุดมสมบูรณจึงไมทับถมลงในสวนของเกษตรกรอีกโดยเฉพาะสวนเตี้ย และสําหรับสวนสูงเอง ก็เกษตรกรสวนใหญไดหันมาใชสารเคมีทั้งในการผลจากการใชสารเคมีจํานวนมาก จากสถิติการสํารวจราน จําหนายน้ํายาสารเคมีทางการเกษตรในทองที่อําเภอดําเนินสะดวกพบวามีถึง 27 แหง นับวามีจํานวนมาก พอสมควรเมื่อเที ยบกับสัดสวนของพื้นที่ ซึ่ งก็ดูจะสอดคลองกับคํากล าวของสุ ดารา สุจฉายา (2541: 186) ที่วา “ดําเนินสะดวกไดกลายเปนแหลงทดลองน้ํายาเคมีแหลงใหญที่สุดของประเทศ” จากการใชน้ํายาสารเคมี ตา งๆนี้ นอกจากจะทํ าทํ าใหพื้ น ดิน และแหล ง น้ํา กลายเป นแหลง ที่ส ะสมของสารพิษ ดวย แลวยัง สง ผลต อ คุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนดําเนินสะดวกดังที่ อํานวย แสงโนรี ไดศึกษา เรื่อง “ผลกระทบสิ่งแวดลอม และสุขภาพอนามัยของเกษตรกรจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในการผลิตทางการเกษตร : กรณีศึกษา เกษตรกรชาวสวนดําเนินสะดวก” ระบุวาสารปองกันศัตรูพืชเปนตัวการสําคัญที่ทําใหสิ่งแวดลอมไมเหมาะสม กับการดํารงชีวิตของมนุษย สัตวและพืช นอกจากนี้ยังมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอื่นๆดวย คือ ดิน น้ําและ เศรษฐกิจ ปจจัยที่มีผลตอสุขภาพอนามัยของเกษตรกรสวนใหญมีสาเหตุมาจาความรูความเขาใจในการใช สารพิษ ผลจากการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับการสอบถามผูเกี่ยวของของสุดารา สุจฉายา (2541 :187) สรุป สถานการณการใชยาฆาแมลงและปราบศัตรูพืชไดวา ในระยะแรกมียาฆาแมลงเขามาในประเทศไทยใหมๆ เกษตรกรชาวสวนดําเนินฯ เริ่มใชยาที่มีชื่อวา โพลิดอล อี. ซึ่งเปนสารพาราไธออน ตัวยาชนิดนี้ยังมีการใชอยู จนถึง ป จจุ บัน ไม มีใครทราบถึง สาเหตุ การเพิ่ ม ขึ้น ของจํา นวนแมลง และศัต รู พืช ตา งๆจนทํ า ให เกษตรกร ชาวสวนตองขาดทุน ยาตัวนี้ถึงแมจะฆาแมลงไดอยางดี แตในขณะที่เกษตรกรเองไมไดศึกษาถึงวิธีการใชและ ปองกั นจนทํา ให เกิ ดอัน ตราย อาการที่ปรากฏ เช น อาการแพ ธรรมดา วิ งเวียนศรี ษะ มึน งง พะอืดพะอม ถาเปนมากก็จะคลื่นไสอาเจียน น้ําลายฟูมปาก หัวใจสั่น กลามเนื้อกระดูก อุจจาระปสสาวะไหลและถึงแกชีวิต หากรักษาไมทันถวงที ซึ่งผูเขียนเองก็เคยพบเห็นกับตัวเองโดยลุงของผูเขียนซึ่งเปนเกษตรกรชาวสวนที่ตองมา เสียชีวิตลงจากโรคที่มาจากสารเคมีทางการเกษตรที่สะสมไวในรางกาย อันเนื่องมาจากขาดความเขาใจในวิธี ปฏิบัติที่ถูกตองจากการที่ใชน้ํายาเคมีทางการเกษตร หลังจากฉีดยาฆาแมลงเสร็จแลว และจากการสอบถาม รานขายยาแผนโบราณ ไดระบุวา ในชวง 3–4 ปที่ผานมานี้ลูกคาที่เปนเกษตรกรชาวสวนสวนใหญจะเปนโรคที่ เกิดจากการใชสารเคมีทางการเกษตรโดยขาดความเขาใจเปนจํานวนพอสมควรและมีอาการดังที่กลาวมาแลว ขางตน ซึ่งทางรานไดบอกวามีสมุนไพรไทยชนิดหนึ่งคือ “รางจืด” โดยน้ําไปตมกินตางน้ํา จะชวยขับพิษของ สารเคมีที่อยูในรางกายออกมาได แตตองอยูในอาการเริ่มแรกเทานั้น นอกจากการที่เกษตรกรชาวสวนพากันไปพึ่งพิงสารเคมีเพื่อมาใชในการเกษตรมากขึ้นแลว ไมเพียงแต จะทําใหสุขภาพทรุดโทรม แตยังทําใหชีวิตทางเศรษฐกิจของเกษตรกรชาวสวนเอง โดยเฉพาะเงินที่ลงทุนไปไม คุมทุน และอาจเปนหนี้จากรานน้ํายาสารเคมีทางการเกษตรอยางหลีกเลี่ยงไมไดอีกนัยหนึ่งดวย ทรัพยากรน้ํา : สายน้ํากับการเปลี่ยนแปลง ผูเขียนเคยไดยินคํากลาวของผูใหญบางคนเลาขานกันใหฟงวา“น้ําในคลองดําเนินสะดวกสมัยกอนนั้น สามารถดื่มกินไดเลย” คําพูดดังกลาวคงจะผิดจากความเปนจริงในปจจุบัน แตอยางไรก็ตามมันก็สามารถ สะทอนถึงคุณภาพของน้ําในคลองดําเนินสะดวกในอดีตไดเปนอยางดี กอนที่จะมีการสรางเขื่อนวชิราลงกรณ ที่จังหวัดกาญจนบุรีนั้น พออยางเขาถึงหนาน้ําประมาณเดือน 8 กอนเขาพรรษา พื้นที่สวนดําเนินสะดวกจะถูกน้ําทวมตลาดสี่เดือนทั้งในคลองใหญ (คลองดําเนินฯ) เริ่ ม


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

64

เปลี่ยนเปนสีแดงขุนซึ่งเปนสัญญาณเตือนใหบรรดาชาวสวนทั้งหลายรีบเรงเก็บพืชผักที่ยังคางอยูในรองขึ้นกอนที่ น้ําจะทวมสวน ดังปรากฏในขอความที่พระพุทธเจาหลวงทรงไดอรรถาธิบายไวเมื่อครั้งเสด็จประพาสตนคลอง ดําเนินสะดวกวา “น้ําหลากไหลเชี่ยวมาก มองไมเห็นพื้นดิน เปนน้ําขาวมองดูเวิ้งวางไปหมดทุกทิศทาง ผลไม ในนาในไรสวนถูกน้ําทวมจนหมดสิ้น บางแหงเห็นแตยอดผลไมยืนตน เชน มะมวง พุทรา นอยหนา มะพราว ฯลฯ” (สุดารา สุจฉายา 2541: 170) สําหรับหนาน้ําในสมัยกอนนั้นเปนชวงที่เกษตรกรชาวสวนโดยเฉพาะสวน เตี้ยหยุดผักผอน แตเกษตรกรที่ทําสวนสูงแลว กลับยังตองคอยดูแลปองกันคนดินมิใหคันสวนพัง ตามคันสวน จึงมีการปกธงแดงเตือนใหเรือชะลอความเร็วเพราะลูกคลื่นจากเรือ อาจทําใหคันสวนพังได สําหรับสวนเตี้ยนั้น น้ําที่เขามาทวมถึงยังจะเปนการชวยชะลางสิ่งสกปรกและจากดินและศัตรูพืชไปทําใหดินอุดมสมบูรณขึ้นมากอีก นัยหนึ่งดวย ในชวงหนาน้ํานี้ ชวนสวนไดมีโอกาสพักผอนหลังจากการทํางานหนักมาตลอด 8–9 เดือน และ เนื่องจากเปนชวงเวลาเขาพรรษา จึงมีผูบวชเรียนเปนพระภิกษุและสามเณร กันเปนจํานวนไมนอยในแตละป ในชวงนี้เวลาเชา จะเห็นภาพของพระภิกษุ และสามเณร พายเรือไปตามลําคลองเพื่อรับบิณฑบาตจากพุทธ ศาสนิกชน พระครูสิริวรรณวิวัฒน (อางถึงในราตรี แพงพิพัฒน 2543: 167–168) กลาววา ทานอุปสมบท เมื่อป พ.ศ.2504 เมื่อออกบิณฑบาตไมเคยปรากฏวาครั้งใด ออกบิณฑบาตแลวไมพอฉัน ยิ่งฝนตกมากบรรดา ญาติโยมกลับใสบาตรมากยิ่งขึ้น เพราะเกรงวาพระภิกษุและสามเณรจะไมมีภัตตาหารเพียงพอ ภาพเหลานี้ สะทอนถึงผูคนในสมัยไดเปนอยางดีวาเปนผูมีจิตที่เอื้ออารี และมีน้ําใจตอกัน ทั้งพระและชาวบานตางคุนเคย กัน ชวยเหลือเกื้อกูลกันตลอดจะเห็นไดจากทางวัดก็เสริมสรางความดีงามใหเกิดกับชาวบานซึ่งถือเปนกิจของ สงฆ เชน มีเทศนประจําพรรษา เปนประจําในชวงเขาพรรษา สวนในวันพระ วันโกน บรรดาอุบาสกอุบาสิกา จะไปนอนคางที่วัด เพื่อถือศีล ฟงธรรม นอกจากนี้ในชวงที่ชาวสวนหยุดทําการเกษตร ซึ่งไมสามารถออกไปทํา สวนหรือไปรับจางสวนสูงได ชาวสวนจึงถือโอกาสใชเวลานี้ในการทําเครื่องมือ เครื่องใชไวใชงานในสวนและใน ชีวิตประจําวันดวย งานสวนมากที่ทํามักเปนพวกเครื่องจักรสานที่ทําดวยไมไผ เชน ตะกรา กระบุง นา (ภาชนะสําหรับใสถั่วตางๆ พริก ที่ยังเปนผัก นามีลักษณะคลายหลัว สานดวยไมรวก) ขนาด (ภาชนะตักน้ํา วิดน้ํา โปรยน้ํา) บุงกี๋ และเขง เปนตน ซึง่ ในปจจุบันสวนใหญเครื่องจักรสานบางอยางแทบจะทําไมไดแลว และ วัสดุธรรมชาติก็หายากขึ้นดวย วัสดุจําพวกพลาสติกจึงเขามามีบทบาทแทน อยางไรก็ดีบรรยากาศดีๆ ที่กลาว มาขางตนนั้นปจจุบันแทบจะไมคอยพบเห็นแลว เนื่องจากภาวะบีบขั้นทางเศรษฐกิจของผูคนชาวสวนดําเนิน สะดวก ตางตั้งหนาตั้งตาทํากินหาเงิน สวนใหญจะเปนกลุมพวกผูใหญที่สูงอายุมากกวาที่จะปฏิบัติตนตาม กิจกรรมดังกลาวในอดีต หลังจากที่ไดมีการกอสรางเขื่อนวิชิราลงกรณเสร็จแลว ในป พ.ศ.2513 เปดใชเปนเขื่อนแรกตาม โครงการพัฒนาลุมน้ําแมกลอง ทําหนาที่กักเก็บน้ําไวใชในหนาแลง และตามมาดวยเขื่อนตางๆอีก สงผลให สวนดําเนินสะดวกไมมีน้ําทวมอีก อยางไรก็ดีกอนหนานี้ในป พ.ศ. 2512 ไดเกิดเหตุการณที่สําคัญคือ แมน้ําแมกลองเกิดสภาวะเนาเสีย อยางตอเนื่อง สงกลิ่นเหม็นมีปลาลอยตายเปนจํานวนมาก ประชาชนไมสามารถใชอุปโภคและบริโภคได ตามปกติ และไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้อันเนื่องมาจากโรงงานน้ําตาลในเขตอําเภอบานโปงปลอยน้ํา เหลือออยจํานวน 4,000 ตันไหลลงในแมน้ํา ทําใหน้ําเนาเสียไปจนถึงจังหวัดสมุทรสงคราม รวมทั้งพื้นที่ของ คลองดําเนินสะดวกดวย จากการสอบถามชาวบานรุนผูหลักผูใหญหลายคน เลาถึงสภาพน้ําในคลองตอนนั้นวา น้ําเปนสีกาแฟขุน สงกลิ่นเหม็น ปลาในคลองตายเปนจํานวนมาก ทางราชการตองนําน้ํามาแจกจายใหกับ ชาวบานกันถึงหนาบานหรือไมชาวบานในบางพื้นที่ก็ตองพายเรือไปขอรับน้ําสะอาดมาใช ซึ่งสภาพน้ํากวาจะคืน สูปกตินี้เปนเวลาหลายอาทิตย เกือบเดือน ถึงแมจะมีการสรางเขื่อนไวหลายแหลงทางตอนเหนือของแมน้ําแมกลอง ภาวะน้ําทวมอันเนื่องมาจาก การตัดไมทําลายปารวมทั้งอิทธิพลจากลมมรสุมทําใหมีฝนตกติดตอกันเปนเวลาหลายวัน ไดทําใหเกิดภาวะน้ํา ทวมดําเนินสะดวกหลายครั้ง โดยเฉพาะในป พ.ศ.2539 ชาวบาน ชาวสวนตางพากันเดือดรอนทั้งการที่ บานเรือน สวนเกษตร บอปลา ถูกน้ําทวม พืชผลไดรับความเสียหายเปนอยางมาก ผูเขียนในฐานะอยูในเห็น การณครั้งนี้คือ จําไดวา น้ําในคลองจะมีสีแดงขุนเหมือนน้ําปาไหลหลากอยางรวดเร็ว บรรดาสิ่งปฏิกูลตางๆทั้ง จากธรรมชาติเอง เชน ตนไม กิ่งไม ลูกมะพราว รวมทั้งสิ่งปฏิกูลจากบานเรือน เชน ถุงพลาสติก กระปอง โฟม หรือแมกระทั่งที่นอนลอยไหลปรากฏใหเห็นอยูมากมาย บรรดาสัตวทั้งหลายตางพากันหนีตาย


65

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เชน งู ตัวเงินตัวทอง ชาวบานเองยังตองสังเกตระดับน้ําที่เพิ่มขึ้นอยูตลอดเวลาดวย เพื่อจะไดเตรียมตัวหนีน้ํา ไดอยางทันถวงที ในชวงน้ําทวมนี้ การสัญจรทางน้ําดูเหมือนมักจะไดรับความนิยมเปนพิเศษผูคนตางนําเอาเรือ ที่ตนมีออกมาใชกันเปนจํานวนพอสมควร เนื่องจากถนนสําหรับรถยนตก็ถูกน้ําทวมดวย สําหรับสินในน้ําอยางสายพันธุปลาชนิดตางๆนั้นในอดีตก็มีอยางชุกชุม พวกปลาที่มากับสายน้ําในฤดู น้ํา เชน ปลาอาว ปลาซิว ปลาสรอย ปลากด ปลาเคา หรือปลาที่มีอยูในลําน้ําเดิมอยูแลว เชน ปลาตะเพียน แดง ปลาตะเพียนขาว ปลาตะกรับ ปลากระมัง หรือกุงแมน้ําในอดีตซึ่งมีอยูมากในคลองดําเนินสะดวก การใช ประโยชน จากน้ําในคลองดํ าเนิน สะดวกในอดี ตจึง ครอบวงจร ไม วาจะเป นการใช กิน อาบ สั ญจรไปมา แหลงอาหาร และการเกษตรกรรม สวนในปจจุบันนี้ สินในน้ํานั้นก็ลดจํานวนลงมากเหลือเพียงไมกี่ชนิด ซึ่งสวน ใหญแหลงที่มีปลาชุกชุมจะอยูบริเวณเขตอภัยทานตามหนาวัดตางๆ เชน วัดเจริญสุขาราม วัดโชติทายการาม วัดอุบลวรรณาราม วิหารหลวงพอบานแหลม วัดปราสาทสิทธิ์ เปนตน ผูที่ประกอบอาชีพหาปลาสวนใหญก็จะ ไปหาที่แหลงอื่นแทนโดยเฉพาะบริเวณแถบแมน้ําแมกลองมากกวา ในขณะเดียวกันบานเรือน โรงงาน ชุมชนริมสองฝงคลองตางๆเทาที่ผูเขียนสังเกตเห็นจะปลอยน้ําทิ้ง ลงสูคลองดําเนินสะดวก แทบทุกหลังคาเรือน ขาดการบําบัดน้ํากอนปลอยลงสูคลอง โดยเฉพาะเกษตรกร ชาวสวน ที่จะถายน้ําออกจากสวนของตนซึ่งทําใหใหสารเคมีทางการเกษตรลงสูคลอง นอกจากน้ําทิ้งแลว ขยะมูลฝอยจากบานเรือนยังเปนอีกปญหาหนึ่งที่ประชาชนยังขาดความรวมมือรวม ใจในการรักษาคลอง ถึงแมจะมีถังขยะของเทศบาลดําเนินสะดวกและศรีดอนไผ ตั้งเรียงรายอยู 2 ฝงคลอง และมีเจาหนาที่มาเก็บขยะทุกวัน ปริมาณขยะในคลองดําเนินสะดวกก็ยังปรากฏใหเห็นอยูอยางตอเนื่องและ นับวาจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สายน้ําที่หลอเลี้ยงชีวิตคนดําเนินสะดวกในวันนี้จึงตางจากอดีตโดยสิ้นเชิง ประเพณีชุมชนสองฝงคลองกับการเปลี่ยนแปลง ในที่นี้ผูเขี ยน จะเสนอภาพประเพณีของชุมชนริม สองฝงคลองดําเนิ นสะดวกที่ ปรากฏให เห็นอยูใน ปจจุบัน เพื่อการทําความเขาใจและเห็นภาพของการเปลี่ยนแปลงของประเพณีไดอยางคราวๆพอสังเขป ดังนี้ เนื่องจากชาวดําเนินสวนใหญที่อาศัยอยูริมสองฝงคลอง เปนชาวไทยเชื้อสายจีน กิจกรรม ประเพณีวิถี ปฏิบัติตางๆ จึงเกี่ยวของกับพิธีกรรมทําเนียมจีนอยูมาก โดยเฉพาะชวงเทศกาลตรุษจีน สารทจีน เราจะไดยิน เสียงประทัดดังกันสนั่นหวั่นไหวทั่วทองถิ่นตั้งแตเชามืดริมสองฝงคลอง โดยชาวไทยเชื้อสายจีน จะประกอบพิธี เซนไหวบรรพบุรุษ ดวยเครื่องเซนตางๆ เชน หมู เห็ด เปด ไก ผลไม อาคารคาว หวาน ขนมเทียน ขนมเขง ชาวสวนเองนอกจากจะมีการไหวบรรพบุรุษแลว ก็ยังมีการไหวเจา ที่เจาทางและสัพพะเวสี(ฮอเฮี ยตี๋) ดวย เทศกาลตรุ ษจีน สารจี น ของชาวดําเนินสะดวกนี้ นอกจากจะปฏิบัติ การตามธรรมเนียมจี นเพื่อแสดงความ กตัญูตอบรรพบุรุษที่ลวลับไปแลวยังเปนการบรรดารวมญาติพี่นอง ลูกหลาน ที่ยายไปอยูในสถานที่ตางๆ ได กลับมาพบกัน ถามถึงสารทุกขสุขดิบ อวยพรใหแกแกกันดวย นอกจากนี้ในบรรดาวัดใน ทองที่ดําเนินสะดวก และบริเวณใกลเคียงยังไดถือโอกาสจัดงานประจําปของวัดหรืองานปดทองฝงลูกนิมิตรขึ้นในชวงนี้ดวย เพื่อให ประชาชนไดมาทําบุญทําทานใหแกวัดดวย ซึ่งปจจุบันดูเหมือนจะเปนเทศกาลแหงธุรกิจไปมากขึ้นทุกขณะ นอกจากเทศกาลตรุษจีนแลว เทศกาลกินเจ ก็เปนอีกเทศกาลที่สําคัญของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัย อยู ริม สองฝง คลอง เทศกาลกิน เจนี้ มีร ะยะเวลาถึ ง 10 วัน ก อนการกิ นเจนั้ น ชาวบ า นจะทํ า ความสะอาด บานเรือน ปดกวาดเช็ดถูก ลางครัว ถวยชาม เพื่อเปนการชําระลางสิ่งสกปรกกอนเขาสูการถือศีลกินเจ ในชวง เทศกาลกินเจนี้ชาวบานจะทําอาหารเจกันเองหรือบางบานไปอาศัยกินกับโรงเจหรือศาลเจาที่อยูใกลบานแลว ทําบุญเปนการตอบแทน โรงเจหรือศาลเจานี้จากสถิติการสํารวจพบวามีถึง 25 แหง ในบริเวณพื้นที่ริมคลอง ดํา เนิ น สะดวกและใกลเ คียง ในขณะเดียวกัน ราคาของพื ชผั กในชวงนี้ ก็จะมีร าคาสูง กวา ปกติ เพราะเป น ที่ ตองการของตลาดดวย ตลอดชวงเวลา 10 วันของเทศกาลกินเจนี้ก็จะมีการประกอบพิธีกรรมตางๆตามคติ ธรรมเนียม อาทิ การทําบุญ ทําทาน เดินธูป (เกี่ยเฮีย) การลอยกระทง การสวดมนต พิธีเขาทรงเจา รวมทั้งมีการ “กวยตั้ว” คือการทําบุญตามโรงเจตางๆ ภายใน 1 วัน จะพากันไปเปนหมูคณะ ซึ่งแตกอนนั้น มักจะใชเ รือหางยาวเปนพาหนะในการเดินทางไปยัง โรงเจซึ่ งตั้งอยูต ามริมคลอง แตปจจุบันสวนใหญจะใช รถยนตกันเพราะมีถนนเขาถึงโรงเจไดอยางสะดวก อยางไรก็ดีความเปลี่ยนแปลงที่ เห็นไดอยา งชัดเจนจาก เทศกาลกินเจ คือ ผูที่จะถือศีลกินเจสวนใหญจะอยูในกลุมผูใหญรุนราวคราวเดียวกันมากกวาพวกเด็กๆหรือ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

66

วัยรุน และกระบวนการทําบุ ญ ขั้นตอนตางๆก็ดูจะมีความกระชับมากขึ้น อุปกรณ ประกอบที่ใช ในพิธีการ ตางๆก็ปรับใหเขากับยุคสมัยมากขึ้น นอกจากเทศกาลของชาวไทยเชื้อสายจีนดังที่ไดกลาวมาแลว ชาวไทยเชื้อสายจีนก็ไดรับความคิดที่ ผสมผสานกับธรรมเนียมของไทยเขาไปดวย ดังปรากฏในเทศกาลอื่นๆอีก เชน เทศกาลสงกรานต บรรดา ชาวบานทั้งหลายก็จะมีการทําบุญ ตักบาตร ฟงธรรม สรงน้ําพระ ตามวัดในระแวกบานตามยานชุมชนหลัก ตางๆจะมีการนัดทําบุญกันตามวัดที่อยูใกลเคียง มีการรดน้ําดําหัวผูใหญ เลนสาดน้ําสงกรานตกัน โดยเฉพาะ กลุมวัยรุนจะนําถังหรือโองขนาดใหญบรรจุน้ําขึ้นบนรถกระบะพากันเลนสาดน้ําไปทั่วทองที่ตางๆที่นิยมไปกัน เชน บัวงาม หลักหา วัดโชติฯ โคกวัด และเลยไปถึงในตัวเมืองราชบุรี และเขตจังหวัดสมุทรสงคราม เทศกาลลอยกระทงในชวงเดือน 12 (ประมาณเดือนพฤศจิกายน) เปนอีกเทศกาลหนึ่งที่บรรยากาศ ของคลองดําเนินมีความคึกครื้น ผูเขียนจําไดวาในอดีตเมื่อประมาณ 10 ปที่ผานมา จําไดวาวัสดุสวนใหญที่ ชาวบานใชทํากระทงกันจะเปนวัสดุที่ยอยสลายยากประเภทโฟม พลาสติก แตในระยะหลังที่ผานมาทางภาครัฐ ไดมีการรณรงคใหใชวัส ดุจากธรรมชาติซึ่ งประชาชนก็ปฏิ บัติตามนโยบายดังกลาวกันอยา งทั่วหนา สําหรั บ บรรยากาศในคลองยามค่ําคืนนั้นสมัยกอนจะมีเรือทอดผาปาซึ่งประดับอยางสวยงาม พรอมการรองรําทําเพลง ของคณะปาผาไปตลอดทั้งคลองจนถึงวัดแลวทําการทอด มีการฟงธรรม และรวมกันลอยกระทงกัน ซึ่งปจจุบัน ไมปรากฏใหเห็นอีกแลว และที่นาหวงใยมากที่สุดก็คือบรรดาพวกวัยรุนกลุมตางๆ จะนําเรือเครื่องออกมาพา กันไปเที่ยวงานวัดตามฝงคลอง ซึ่งขับเรือดวยความรวดเร็วสงเสียงดังไปตลอดทั้งคลองและทั้งคืน โดยเฉพาะใน ยานหลักหา ซึ่ง ผูเขียนมีโอกาสพบกับตัวเมื่อเคยลองเรือหางยาวไปกับครอบครัวในวันลอยกระทงเมื่อไปถึ ง บริเวณชุมชนหลักหาลูกคลื่นจะแรงมากเพราะบรรดาเรือวัยรุนที่ขับกันอยางสนุกสนานจนลืมความปลอดภัยไป ความสวยงามของบรรดากระทงที่มีแสงเทียนระยิบระยับทั้งหลาย จึงถูกคลื่นทําใหคว่ําหรือเทียนดับลงไปหมด ประเพณีแหพระทางน้ํา 2 แหง คือ หลวงพอโตวัดหลักสี่ราษฎรสโมสร ซึ่งอยูในเขตอําเภอบานแพว สมุทรสาคร จัดขึ้นประมาณเดือนมีน าคม และหลวงพ อไตรรั ตน วัดประสาทสิทธิ์ บริ เวณหลั ก 5 จั ดขึ้ น ประมาณเดือนกุมภาพันธ โดยการแหงานแหพระทั้ง 2 จะจัดขึ้นในโอกาสงานประจําปของวัด มีนําพระพุทธรูป ทั้ง 2 องคซึ่งเปนที่เคารพสักการะของชาวคลองดําเนินสะดวก แหหนไปตลอดทั่วคลองดําเนินสะดวกตั้งแตหลัก 1 ถึงหลัก 8 ภายในขบวนนอกจากจะประดับประดาอยางสวยงามแลว ยังประกอบดวยเรือธงซึ่งเขียนดวย ภาษาจีน เรือบรรเลงดนตรีแบบไทย และแบบจีน มีคณะเชิดสิงหโตและมังกร นอกจากนี้บรรดาศานุศิษยก็จะ เขารวมในขบวนโดยมีเรือหางยาวและเรือเครื่องของชาวประมาณประมาณ 200 กวาลํารวมในขบวนแหดวย การเดินทางของขบวนแหนี้จะทําใหน้ําในคลองถึงกับขุนไปทั้งคลองเลย สําหรับบรรดาชาวบานที่อยูริมสองฝง คลองก็จะตั้งโตะบูชาที่หนาบานของตน บางบานถึงกับมีการจุดประทับเพื่อรับขบวนแหดวย นอกจากนี้ยังมีเทศกาล ซึ่งจัดโดยอําเภอดําเนินสะดวกรวมกับภาคเอกชน คือ เทศกาลสุดสัปดาหองุน หวาน ซึ่งจะกําหนดจัดขึ้นประมาณปลายเดือนเมษายน ในชวงวันหยุด 2 วัน อันเนื่องมาจากอําเภอดําเนิน สะดวกเปนที่ตั้งของตลาดน้ํา มีผลไมในทองที่ที่ปลูกไดผลดี โดยเฉพาะองุนซึ่งเปนผลไมที่ทํารายไดใหกับอําเภอ ปละหลายสิบลาน ดวยวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมผลิตผลทางการเกษตร ผลิตภัณฑพื้นเมืองและสนับสนุนการ ทองเที่ยว กิจกรรมที่จัดขึ้นในงานไดแกการประกวดผลไมตางๆ เชน องุน สมโอ ละมุด มะละกอ มะมวง ฝรั่ง พืช พรรณตา งๆ เช น พริก ถั่ วฝ กยาว มะระ เป นต น การประกวดธิ ดาองุ น หวาน การแขง เรื อแบบโบราณ รวมทั้งการจัดจําหนายผลิตภัณฑพื้นเมือง นิทรรศการทางการเกษตร จากการนําเสนอดังกลาวขางตนจะเห็นไดวา ประเพณีบางอยางจะดํารงอยูแตก็จะถูกปรับปรุงใหเขา กับยุคสมัยมากขึ้นในเรื่องของขั้นตอน พิธีกรรม ประเพณีบางอยางไดสูญหายไป หรือบางประเพณีก็ถูกประดิษฐ ขึ้นใหมเพื่อสงเสริมกิจกรรมทางการเกษตรและการขยายตัวทางการทองเที่ยว อยางไรก็ดีประเพณีตางๆ เหลานี้ ก็ไดมีสวนเสริมใหชุมชนดํารงอยูไดและสรางสัมพันธภาพอันดีระหวางสมาชิกในชุมชน ตลาดน้ําชุมชนกับการเปลี่ยนแปลง ตลาดน้ําเปนสถานที่ที่พอคาแมขายชาวคลองจะนําสิ่งของตางๆที่ตนมีหรือผลิตมากแลกเปลี่ยนซื้อ ขายกันดวยทางเรือ โดยตกลงนัดหมายวันเวลาทําการคาขาย ณ จุดใดจุดหนึ่งรวมกัน ชีวิตชาวคลองดําเนิน สะดวกก็มีลักษณะเชนเดียวกันนี้ดวย ซึ่งหากพิจารณาจากการตั้งถิ่นฐานของชุมชนชาวคลองดําเนินสะดวกดังที่


67

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ไดกลาวมาแลวตั้งแตตอนตน จะแบงได 2 พื้นที่ คือ ชุมชนดําเนินสะดวกซึ่งมีตลาดน้ําดําเนินสะดวกเปนหลัก และพื้นที่ชุมชนศรีดอนไผ โดยมีตลาดน้ําคลองโพหักเปนยานการคาที่สําคัญ โดยในประเด็นแรกนี้ผูเขียนขอกลาวถึงตลาดน้ําคลองตนเข็มซึ่งแตเดิมเคยอยูบริเวณปากคลองลัดพลี หรือที่คนในสมัยกอนเรียกกันวาตลาดนัดศาลาแดง หรือ ตลาดนัดหาหอง ซึ่งปจจุบันไดยายมาอยู ณ บริเวณ คลองตนเข็ม เนื่องจากมีทําเลที่ตั้งดีกวา กลาวคือ มีเสนทางสัญจรที่เหมาะสมกับการทองเที่ยวทั้งทางบก (ถนนสุขาภิบาล 1) และทางน้ํา ตลาดน้ําคลองตนเขมนี้ยังไดรับการสนับสนุนจากการทองเที่ยวแหงประเทศ ไทยใหเปนสถานที่ทองเที่ยวระดับชาติ ซึ่งตรงจุดนี้นับเปนการเปลี่ยนแปลงบทบาทการหนาที่ของตลาดน้ําจาก เดิมในอดีตเปนอยางมาก รูปลักษณของตลาดน้ําผิดไปจากเดิม กลายเปนตลาดน้ําที่สนองตอกิจการการ ทองเที่ยวแตเพียงอยางเดียว ผลิตผลที่นํามาจําหนายไมใชแตเฉพาะทองถิ่น เทานั้น หากแตมาจากทั่วทุ ก ภูมิภาคของประเทศไทย อีกทั้งยังมีราคาสูง ซึ่งมุงหมายตอนักทองเที่ยวตางชาติ จากการศึกษาของสุดารา สุจฉายา (2541) ในบทความเรื่อง “ตะวันยอแสงที่คลองดําเนินสะดวก” และในวิทยานิพนธของพรรณทิพย เปยมพุทธากุล (2537) ใน “วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก” ใหผลสรุปที่ตรงกันวา ตลาดน้ําลด บทบาทความเปนศูนยกลางการคาใหกับชุมชนลง วิถีการซื้อขายแบบดังเดิมแปรเปลี่ยนไป เปลี่ยนจากเดิมที่นัด เกิดขึ้น ดวยความยิน ยอมพร อมใจของผูซื้ อและผูข ายในท องถิ่น กลายมาเปนนั ดทุ กวั น เพื่อสะดวกแก การ ทองเที่ยว การซื้อขายเปนเพียงปจจัยประกอบเทานั้น สภาพของตลาดน้ําเองเกิดการปรับพื้นที่ใหเปนแหลง ทองเที่ยวตามกระแสวัฒนธรรมการทองเที่ยว ซึ่งมีอิทธิพลอยางสําคัญตอรูปแบบกิจกรรมของตลาดน้ํา วิถีชีวิต ชุมชนดั้งเดิมถูกปรับเปลี่ยนไป สวนหนึ่งยังคงเปนธุรกิจเพื่อชุมชน แตอีกสวนหนึ่งกลายเปนธุรกิจเพื่อการ ทองเที่ยว ในขณะเดียวกัน ความสัมพันธของคนในชุมชนกับนักทองเที่ยวก็มีนอยดวย ดังที่ นวล สารสอน (2533) ในวิทยานิพนธเรื่อง “ผลกระทบของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่มีตอสภาพสังคม เศรษฐกิจที่ตลาดน้ํา ดําเนินสะดวก” ระบุวา กิจกรรมการทองเที่ยวมีผลกระทบตอสภาพชุมชนทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคมนอย มากเนื่องจากกิจกรรมการทองเที่ยวในแหลงดังกลาวมีขอจํากัดอยูมาก เชน ระยะเวลาทองเที่ยวมีเฉพาะที่ ตลาดน้ําตอนเชาของวันเทานั้น นอกจากนี้นักทองเที่ยวยังถูกจํากัดพื้นที่ชมตลาดน้ําจากบริษัททัวรใหอยูในเขต พื้นที่ของรานคาขายของที่ระลึกเทานั้น จึงทําใหความสัมพันธระหวางประชาชนในชุมชนกับนักทองเที่ยวมี นอยลงดวย ซึ่งก็สอดคลองกับธิดา สาระยา (2532) ในบทความ“ตลาดน้ําดําเนินสะดวกกับความเปลี่ยนแปลง” ธิดากลาววา จักรกลสําคัญที่ผันแปรชีวิตพื้นบานตลาดน้ําดําเนินสะดวกใหกลายเปนที่จัดฉาก“ตลาดน้ํา”โชว นักทองเที่ยว คือ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ซึ่งไดประชาสัมพันธผานสื่อสิ่งพิมพอยางตอเนื่องสงผลใหมี นักทองเที่ยวแหมาที่ตลาดน้ํา การทะลักไหลของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวสูตลาดน้ําชนบทแหงนี้ ทําให ภายในระยะเวลาอันสั้น ตลาดน้ําดําเนินสะดวกถูกแปรสภาพไปจากเดิม ทั้งในดานกายภาพและจิตสํานึกรวม ทางสังคมที่ตกทอดกันมา การเปลี่ยนแปลงเริ่มจากในชวงแรกๆ ของการเปนแหลงทองเที่ยว รานโรงตางๆ ที่อยูริมคลองตางพากันเกิดรานขายของที่ระลึกกลายเปนอาชีพใหมแทนการพายเรือคาขาย เมื่อนักทองเที่ยวมี จํานวนเพิ่มมากขึ้น รานโรงบริเวณริมคลองก็ปรับปรุงจากชั้นเดียวเปนสองชั้น และมีรานขายของเปดขายสินคา แกนักทองเที่ยวโดยตรงมากขึ้น มีการสรางถนนเขามาประชิด ทาน้ํา การสรางทารถ สรางหลังคาที่ยื่นออกมา ครึ่งคลองเพื่อใหสะดวกตอนักทองเที่ยวที่จะมาเยี่ยมชมและถายรูป นอกจากนี้จากการที่เทคโนโลยีกาวหนาขึ้น ทําใหมกี ารนําเอาเรือเครื่อง เรืออีซุซุ ซึ่งบรรจุผูโดยสารไดจํานวนมากมาใชบริเวณตลาดน้ําแทนเรือพายที่ใช กําลังคน และการที่มีถนนเขามาก็ทําใหมีการขนสินคาที่ผลิตไดจากแถบนี้ไปขายที่กรุงเทพฯ หรือตางจังหวัด มากขึ้น ความเปนแหลงซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาที่เคยเปนมาในอดีตของตลาดน้ําดําเนินสะดวกจึงเปลี่ยนไป เปนการสูญสิ้นหนาที่ของตลาดน้ําดั้งเดิม กลาวไดวาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตลาดน้ําเปนผลของพลัง ภายนอกซึ่งมาในรูปของการพัฒนาโครงการทองเที่ยวโดยภาครัฐ การสงเสริมการทองเที่ยวที่ไดกระทําตอแมน้ําลําคลองนั้น ไดกอใหเกิดผลเสียหายตอพื้นที่ ณ บริเวณ นั้น ในหลายๆดาน ซึ่งจารุบุณณ ปาณานนท ( 2529 ) ในบทความเรื่อง “แมน้ําลําคลองกับการทองเที่ยว” พบวา การที่ประเทศไทยมีแมน้ําลําคลองมากมายไดทําใหเกิดการทองเที่ยวทางน้ําตามแมน้ําลําคลองหลาย รูปแบบเชน เรือบริการนักทองเที่ยวชมทัศนียภาพสองฝงคลอง เรือภัตตาคาร การลองแพ ภัตตาคารริมน้ํา และ ที่พักอาศัยริมน้ํา รวมทั้งรานขายของที่ระลึก แมวา การทองเที่ยวจะทํ ารายไดจํานวนมาก แตก็กอใหเกิ ด ผลกระทบทางลบหลายประการ เชน ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม ไดแก ปญหาคุณภาพน้ําในแมน้ําลําคลอง ผลกระทบทางสังคม ไดแก วิถีชีวิตของประชาชนที่อยูริมน้ําเปลี่ยนไป ทวาก็ทําใหเกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

68

เปนประโยชนแกชชุมชนที่ตั้งอยูในจุดหมายปลายทางตามเสนทางทองเที่ยวทางน้ําที่จะไดรับประโยชนทาง เศรษฐกิจ ทําใหเกิดอาชีพที่เกี่ยวของมากมาย ไมวาจะเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม สงผลใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ซึ่งตลาดน้ําดําเนินสะดวกก็อยูในขอบขายลักษณะเชนนี้ดวย ในสวนของพื้นที่ชุมชนศรีดอนไผ ที่มีตลาดน้ําคลองโพหักในเขตตําบลประสาทสิทธิ์นั้น โดยที่คลองนี้ แยกจากคลองดําเนินสะดวกตรงบริเวณหลักหา มีความยาวประมาณ 500 เมตร ภายในคลองมีวัดสําคัญ คือ วัดโพหัก วัดบัวงาม และปากคลองก็อยูเยื้องกับวัดประสาทสิทธิ์ นอกจากนี้ยังเปนเขตติดตอกับอําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร จากการศึกษาของราตรี แพงพิพัฒน (2543) ใน “ตลาดน้ํา : วิถีชีวิตของเกษตรกรภาค กลาง” กลาวถึงความเปนมาและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตลาดน้ําคลองโพหัก วา เปนตลาดที่ยังคง สภาพบรรยากาศทองถิ่นอยู คือ ยังคงไวซึ่งการซื้อขาย แลกเปลี่ยนของผูคนในทองถิ่นอยางแทจริง แมปจจุบัน จํานวนเรือจะลดลงไปมาก แตตามสองฟากฝงคลองทั้งคลองเล็ก(คลองโพหัก)และคลองใหญ (คลองดําเนินฯ) ยังมีรานรวงเรียงรายอยูตั้งแตเขตขางวัดประสาทสิทธิ์ ซึ่งมีสะพานสูงขามคลองไปมาหากันได สภาพวิถีการคา ที่ตลาดนี้จะเริ่มตั้งแตประมาณ 05.00–07.00 น. จะวายลงประมาณเวลา 08.00 น. จะเห็นไดวาตลาดน้ําคลองโพหักยังมีรูปแบบการคาขาย ตลอดจนประเภทของสินคาตางกันกับตลาด น้ําดําเนินสะดวกที่คลองตนเข็ ม กลาวคือ ผลผลิตที่นํามาจํา หนายสวนใหญ คือ พืชผลทางการเกษตรของ ชาวบ า นแถบนั้ น ต า งกั บ ตลาดที่ ค ลองต น เข ม ซึ่ ง สิ น ค า ที่ นํ า จํ า หน า ยจะมาจากทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศ โดยเฉพาะของที่ระลึก และของกินนานาชนิด ซึ่งเปนสิ่งที่ดึงดูดใจนักทองเที่ยว แตตลาดคลองโพหักยังมีเรือ ขายอาหารสด อาหารคาว สํ า หรั บ ลู กค า จะนํ า ไปปรุ ง อาหารเอง การซื้ อขายเป น แบบรู จักมั กคุ น ชุ ม ชน ปราศจากความแปลกหนา ถอยทีถอยอาศัยกันระหวางผูซื้อกับผูขาย ชาวสวนกับชาวสวน หรือชาวสวนกับชาว ราน อยางไรก็ดี ตั้งแตป พ.ศ.2536 เปนตนมา มีตลาดนัดบกมาติดตลาดกันในยานนี้ ในวันเสาร–อาทิตย ซึ่งดูแลวจะไดรับความนิยมคอนขางสูง เพราะมีสินคามากมายใหเลือกซื้อ ไมเฉพาะแตเพียงพืชผักผลไมเทานั้น จึงสงผลใหนัดทางน้ําที่คลองโพหักซบเซากวาเกา และวายไปในที่สุด สําหรับตลาดบกนี้ยังปรากฏใหเห็นอีกมากมายตามวันนัดตางๆ ในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวกเทาที่ ผูเขียนพบเห็น ซึ่งในหนึ่งอาทิตยจะมีนัดตามสถานที่ตางๆ เชน วันจันทร ที่วัดอมรญาติสมาคม ซึ่งเปนตลาด นัดที่มีผูคนนําสินคามาขายเปนจํานวนมาก วัดอังคาร ที่นัดอุดมบริเวณพื้นที่โรงงานหีบศพอุดมพานิช วัดพุธ ที่บริเวณศาลใหม (เยื้องกับสหกรณดําเนินสะดวก) วันพฤหัสบดีที่วัดอมรญาติฯ วัดอุบล วัดศุกรที่นัดอุดม วัน เสาร ที่ศาลใหม วัดอุบล วันอาทิตย ที่วัดคริสตฯ (ในพื้นที่ใกลกับประตูน้ํานกแขวก) ตลาดนัดบกที่กลาวมานี้ จะมีขึ้นในตอนบายโมงไปจนถึงชวงประมาณ ทุมครึ่งถึงสองทุม ยกเวนที่ยานชุมชนวัดปราสาทสิทธิ์จะมีใน ชวงเชา คนในอําเภอดําเนินสะดวกจะไปซื้อสินคาตามนัดบกเหลานี้ตามวันตางๆ เปนจํานวนมากเพราะ สินคา ราคาถูก และหลากหลาย มีทั้งพืชผักผลไมสดๆ จากสวน สัตวน้ํา พวกกุง หอย ปู ปลา สินคาเครื่องใชตางๆ เชน เสื้อผา อุปกรณเครื่องครัว ขนมนมเนย ฯลฯ ตลาดนัดบกนี้สงผลกระทบตอการคาขายในตลาดเสรีและ ตลาดเสริมสุขโดยเฉพาะในชวงบายตลาดทั้ง 2 แหงนี้จะเงียบเหงามา ขอเสนอแนะเพื่อการอนุรักษและพัฒนา ในสวนนี้ผูเขียนจะเสนอความคิดเห็นตอการอนุรักษและพัฒนาในดานตางๆของวิถีชีวิตชุมชนริมสอง ฝงคลองดําเนินสะดวก ซึ่งการดําเนินงานดังกลาวที่จะกลาวตอไปนี้ตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคฝาย ทั้งจากภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ตามขอเสนอดังนี้ 1. ดานการเกษตรกรรม 1.1 การสนับสนุนการสรางเครือขายเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อการแลกเปลี่ยนความรูทางการเกษตร ซึง่ กันและกันในดานตางๆ เชน การเพาะปลูกพืชผลใหไดผลดี ปญหาจากการเพาะปลูก การตลาด การจาง แรงงานชาวสวน ฯลฯ ซึ่งจะเปนการสงเสริมสัมพันธภาพอันดีระหวางเกษตรกรอีกนัยหนึ่งดวย 1.2 การสงเสริมใหเกษตรกรทําการเกษตรโดยการอาศัยการเกษตรแบบธรรมชาติเพื่อลดปริมาณ การใชสารเคมี มลภาวะตางๆที่จะทําอันตรายตอเกษตรกรรวมถึงการตกสารของสารเคมีในพืชผักอันจะสงผล ตอผู บ ริ โภคด วย ในส วนนี้หน วยงานที่ สํ า คั ญอย า งเกษตรอํ า เภอควรจะมี บ ทบาทเข า มาดู แลให ความรู กับ


69

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เกษตรกร ใหคําปรึกษาและการสรางแปลงทดลองสาธิตการเกษตรแบบธรรมชาติใหเปนตัวแบบแกเกษตรกร ชวนสวน เพื่อใหนํากลับไปใชกับสวนของตน 1.3 ในด านการตลาด ภาครัฐ โดยเฉพาะอํ าเภอดํา เนิน สะดวก ควรจัดพื้ นที่ต ลาดใหม เพื่ อให เกษตรกรนํา ผลผลิ ตที่หลากหลายในอํ าเภอมาขายแก ผูบ ริโ ภค โดยเปน ตลาดพืช ผักผลไมเ พียงอยา งเดียว พื้นที่ตลาดควรจัดใหเปนระเบียบเปนแผนกของพืชและผลไม มีระบบปรับอากาศถายเทไดสะดวก และการทํา ความสะอาดอยางตอเนื่อง อันจะเปนศูนยกลางตลาดพืชผักผลไมแหงใหมที่สําคัญ ของจังหวัดราชบุรี ซึ่งจะ เปนการดึงดูดลูกคาที่เปนตัวแทนจําหนายและลูกคารายยอยจากบริเวณพื้นที่ใกลเคียงใหมาซื้อสินคา ณ ที่แหง นี้ และยังเปนการชวยลดภาระของเกษตรกรที่จะตองขนสงผลผลิตของตนไปจําหนายยังตัวเมืองราชบุรีหรือใน กรุงเทพฯซื้อตองเสียคาขนสงเปนจํานวนมาก 1.4 เกษตรกรจะตองรักษามาตรฐานสินคาผลผลิตของตน ใหมีคุณภาพมากกวาการคํานึงถึงแต ราคาตลาดซึ่งจะสงผลตอการเปนที่ยอมรับและนาเชื่อถือจากผูบริโภคและยังเปนความภาคภูมิในในผลผลิตของ ตนที่มีคุณภาพดวย 2. ดานการศึกษาใหความรู 2.1 ดานประวัติศาสตรทองถิ่น ควรมีการจัดตั้ง ศูนยศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นคลองดําเนิ น สะดวก ในฐานะพิพิธภัณฑทองถิ่น เพื่อรวบรวมองคความรูตางๆเกี่ยวกับ ประวัติความเปนของชุมชน วิถีชีวิต ความเปนอยู เชื้อชาติ ศาสนา การประกอบอาชีพ ศูนยนี้จะตองเปนหนวยงานที่ศึกษาวิจัยสํารวจสถานภาพ องคความรูของทองถิ่นในอดีตและป จจุบัน มีการจัดตั้ งหองสมุดซึ่งจะเปนที่รวบรวมหนัง สือ เอกสารสําคั ญ งานวิจัยตางๆ ในพื้นที่อําเภอดําเนินสะดวก และเปนแหลงที่ทํากิจกรรมของนักเรียนเยาวชน เชน กิจกรรม ตามเทศกาลประเพณี กิจกรรมกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม กิจกรรมอื่นๆตามความสนใจ เปนตน 2.2 สถาบันการศึกษาในทองถิ่น ควรเนนย้ําในประเด็นสํานึกรักบานเกิดดวยการจัดการเรียนการ สอนโดยเอาทองถิ่นเปนแหลงเรียนรูที่สําคั ญ การสรางหลักสูตรทองถิ่นที่เกี่ยวของกับ ประวัติศาสตรชุมชน การเสริมทักษะพื้นฐานที่จําเปนเพื่อการพัฒนาทองถิน่ อาทิ การบริหารองคกรธุรกิจ สหกรณชุมชน ภูมิปญญา ชาวบาน การเกษตรสีเขียว เศรษฐกิจพอเพียง การปกครองทองถิ่น ประเพณีและการธํารงศิลปะวัฒนธรรม ซึ่งนอกจากการเสริมย้ําในบทเรียนโดยทั่วไปแลว ตองสงเสริมใหนักเรียนเยาวชนมีสวนรวมหรือสรางกิจกรรมที่ ทํารวมกับทองถิ่นบอยๆครั้ง เปนแหลงฝกประสบการณทักษะชีวิต อันจะนําไปสูความภูมิใจและรักในบานเกิด ของตน 3. ดานสภาพแวดลอม 3.1 ภาครัฐโดยเฉพาะอําเภอดําเนินสะดวก ควรจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษและพัฒนาคลอง ดําเนินสะดวก โดยประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันการศึกษา วัด ชุมชน พื้นที่ริมสองฝง คลองและใกลเคียง ใหเขามามีสวนรวมตอการจัดการสภาพแวดลอมใหนาอยูโดยครอบคลุมประเด็นตางๆ อาทิ การจัดระเบี ยบการใช พื้น ที่ เอกลักษณ ของวิถีชีวิตชุ มชน สุขภาพอนามั ยชุม ชน คุ ณภาพการศึกษา ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โอกาสทางเศรษฐกิจ และการมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่นในการปกครอง ตนเอง อันจะนํามาสูคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน สําหรับแผนงานยอยการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอม เชน 1) ทางดานกฎหมาย มีการวางแผนดําเนินงาน เพื่อประกาศควบคุมพื้นที่อนุรักษ การใช ที่ดิน รูปแบบอาคารสถานที่และสิ่งกอสรางตางๆ ริมสองฝงคลอง 2) การใหการศึกษา การสรางคานิยมใหกับประชาชนในทองถิ่นใหตระหนักถึงความสําคัญ ของวิถีชุมชนทางน้ําที่มีคุณคาทางวัฒนธรรม เพื่อใหผูคนเกิดความภาคภูมิใจในแบบอยางเฉพาะของทองถิ่นตน 3) การสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการรักษาสภาพแวดลอมของชุมชน เชน การ รักษาสภาพน้ํา ความสะอาดในคลอง การบําบัดน้ําเสีย การกําจัดสิ่งปฏิกูลตางๆ 4) การอนุรกั ษพื้นที่ชุมชนริมน้ําที่สําคัญ เชน บริเวณชุมชนดําเนินสะดวก ชุมชนประสาท สิทธิ์ ยานหลักหา การอนุรักษสถาปตยกรรมริมคลอง เชน บริเวณศาลาหาหอง วัด ศาลเจา ตางๆ 3.2 การสงเสริมลานบานกิจกรรมเวทีชุมชนโดยจัดพื้นที่สาธารณะเพื่อใหสมาชิกของชุมชนได แสดงความคิดเห็ นในประเด็น ปญ หาที่ สํา คัญ ตอการดํา เนิน ชีวิตของชุ มชน ทั้ งจากสมาชิกกับ สมาชิกดวย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

70

กั น เองหรื อสมาชิ กกั บ เจ า หน า ที่ จากหน วยงานฝ า ยต า งๆทั้ ง จากภาครั ฐ และเอกชน สนั บ สนุ น การสร า ง เครือขา ย (Net work) ต างๆ เพื่อรวมกลุ มกั น แก ไขป ญหา และเพื่ อพั ฒนาทองถิ่น ตามความสนใจของ เครือขาย เชน เครือขายชาวสวน เครือขายหมูบาน เครือขายโรงเรียน เครือขายวัด เครือขายสิ่งแวดลอมเพื่อ การอนุรักษคลองดําเนินสะดวก เครือขายหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบล เปนตน โดยอาจจะขยายความสัมพันธและ ความรวมมือจากภายนอกพื้นที่ เชน องคกรปกครองระดับจังหวัด กระทรวง ทบวง กรมตางๆ 4. ดานศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี และการทองเที่ยว 4.1 ในดานศิลปะวัฒนธรรมทองถิ่น ปจจุบันขอมูลทองถิ่นอําเภอดําเนินสะดวกยังขาดการทํา ใหเปนระบบ ดังนั้นจึงตองมีระบบการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมทองถิ่นที่กระจัดกระจาย โดยการสํารวจ ขอมูลจากพื้นที่ทั้งในแงประวัติศาสตร สังคมวิทยา มานุษยวิทยา การปกครอง การเกษตร ฯลฯ แลว นํามา สรุ ป รวบรวม หรื อ จั ด แสดงไว ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ข องท อ งถิ่ น หรื อ การนํ า เข า สู ห ลั ก สู ต รท อ งถิ่ น ของ สถาบันการศึกษาตางๆ ในพื้นที่ เพื่อเปนแหลงในการศึกษาหาความรูของนักเรียนและเยาวชนรุนตอไป 4.2 ในดานประเพณี ควรเนนการมีสวนรวมของชาวบานในการเปนผูดําเนินการจัดการเปน หลักโดยรวมกับวัด หรือ สถาบันการศึกษา ตามหลัก “บวร” มิใชหนวยราชการเปนผูจัด หนวยราชการควรเปน ผูสนับ สนุนทางดา นงบประมาณในการดํ าเนิน การ รูปแบบควรเนนใหเข ากับยุ คสมัย และเปนประโยชนต อ ความสัมพันธของสมาชิกในชุมชนทองถิ่นอยางแทจริง 4.3 ในดานการทองเที่ยว ควรนําการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ (Eco–Tourism) มาใชกับพื้นที่ เชน การทัศนะศึกษาริมสองฝงคลอง การเยี่ยมชมสวนเกษตร หรือแมกระทั่งสรางโรงแรมที่พักควรเนนให สัมผัสกับวิถีชีวิตของชุมชนมากกวา การนําความทันสมัยมาใช ในสวนของตลาดน้ําดําเนินสะดวกเองจะตองมี การปรับกลยุทธใหม โดยเฉพาะการจัดการดานพื้นที่ริมสองฝงของตลาดน้ํา ภูมิทัศนของพื้นที่ การขายสินคาที่ ระลึก และแมคาที่อยูในเรือ ควรเนนรูปแบบใหเปนไปตามธรรมชาติมากกวาการเสนอขายใหกับนักทองเที่ยว มากจนเกิ นไปอันเป นภาพที่ไมหนามอง และราคาสินคาต องยุติธรรมกับนักทองเที่ยวด วย นอกจากนี้ควรมี มาตรการทางดานการรักษาความสะอาดของตลาดน้ําโดยใหผูประกอบการและนักทองเที่ยวตระหนักในปญหา ดังกลาว 5. ดานการคมนาคม สําหรับทางดานคมนาคมเนนการสัญจรทั้งทางน้ําและทางบกควบคูกันไป อาทิ 5.1 การพัฒนาคลองแยกคลองซอยตางๆเปนเสนทางยอยเชื่อมตอกับเสนทางรถยนต เพื่อใช เสนทางน้ําเหลานี้เปนเสนทางสัญจรในชุมชน มีการบํารุงดูแลรักษาคลองอยางสม่ําเสมอ เชน การขุดลอกคลอง ที่ตื้นเขิน การกําจัดขยะสิ่งปฏิกูลในคลอง ซึ่งจะเปนอุปสรรคตอการสัญจรทางน้ํา 5.2 มีการอํานวยความสะดวกในการจัดระบบการขนสง สินค าทางการเกษตร โดยผา น คลองดําเนินสะดวกไปยังตัวเมืองราชบุรีหรือกรุงเทพดวยการขนสงทางน้ํา เพื่อหลีกเลี่ยงการจราจรที่ติดขัดใน ภาวะปจจุบัน ทั้งยังจะเปนการชวยลดมลพิษ และคาใชจายรวมทั้งความปลอดภัยในการเดินทางดวย 5.3 ระบบการสัญจรทางน้ําภายในชุมชนปจจุบัน โดยเฉพาะบริเวณชุมชนดําเนินสะดวกมี นอยมาก จึงควรปรับปรุงระบบการสัญจรทางน้ํา ใหมีเรือโดยสารประจําทาง เพื่อเปนการสงเสริมการคมนาคม ทางน้ําและใหบริการชุมชนที่อยูลึกเขาไปตามคลองซอยตางๆที่สําคัญ เชน คลองลัดพลี คลองทองหลาง คลอง ตาหลวง คลองขุนพิทักษ คลองศรีสุราษฎร คลองโพหัก เปนตน 5.4 สําหรับ ถนนที่ส รางใหมนั้น ไมควรสรางติ ดลําคลองในแนวขนาน ซึ่ง จะเปน การลด ความสําคัญของเสนทางสัญจรทางน้ําลง รวมถึงไมควรสรางเสนทางถนนเลียบลําคลองใดๆ อันจะเปนการลด ความสําคัญของชุมชนน้ําลง บรรณานุกรม กิตติ ตันไทย. (2520). คลองกับระบบเศรษฐกิจไทย (พ.ศ.2367–2453) .วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จันทนีย เลิศจินดาทรัพย. (2535). การศึกษารูปแบบชุมชน และการใชที่ดินบริเวณที่ราบลุมแมน้ําแมกลอง : กรณีศึกษาอําเภอเมืองสมุทรสงคราม อัมพวา บางคนที และดําเนินสะดวก. วิทยานิพนธการวางแผน ภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


71

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จารุบุณณ ปาณานนท. (2529).“แมน้ําลําคลองกับการทองเที่ยว”ในธุรกิจทองเที่ยว 3 (มกราคม) ชัชพล ทรงสุนทรวงศ. (2539). การศึกษาการตกคางของวัตถุมีพิษกลุมออรกาโนคลอรีนในดินและน้ํา บริเวณสวนผักและผลไม อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุร.ี วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ธิดา สาระยา.(2532). “ตลาดน้ําดําเนินสะดวกกับความเปลี่ยนแปลง” ใน เมืองโบราณ 15 (ตุลาคม–ธันวาคม). นวล สารสอน. (2533). ผลกระทบของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกับตลาดน้ําดําเนินสะดวก. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. นันทนา พิภพลาภอนันต. (2545). วิถีชีวิตชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศลําน้ํา : กรณีศึกษาคลอง ผีหลอก ที่ราบลุมแมกลองตอนลาง. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชนบทศึกษาและ การพัฒนา สํานักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. นิยม พุทธเภสัช. (2511). ที่ระลึกพระกฐินตน ณ วัดโชติทายการาม. ราชบุรี : ดําเนินการพิมพ. ปยนาถ บุนนาค และคณะ. (2525). คลองในกรุงเทพฯ : ความเปนมา การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบตอ กรุงเทพฯ ในรอบ 200 ป (พ.ศ.2325–2525) .รายงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปยนาถ บุนนาค. (2537). “คลองประวัติศาสตรในอดีต” ใน อาศรมความคิดเรื่องคลองในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล .กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พนัส ทัศนียานนท. (2537). “กฎหมายกับการอนุรักษและพัฒนาคลอง ใน อาศรมความคิดเรื่องคลองใน กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล .กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรรณทิพย เปยมพุทธากุล. (2537). วิวัฒนาการชุมชนและตลาดน้ําดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุร.ี วิทยานิพนธการวางแผนภาคและผังเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระครูสิริวรรณวิวัฒน. (2544). ประวัติคลองดําเนินสะดวก. กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสนการพิมพ. พิมล จงวรนนท (บรรณาธิการ) (2537). อาศรมความคิดเรื่องคลองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล . กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ไพฑูรย เครือแกว ณ ลําพูน. (2518). ลักษณะสังคมไทย. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ. ยงยุทธ จรรยารักษ. (2537). “คลองกับระบบนิเวศ” ใน อาศรมความคิดเรื่องคลองในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล .กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ยุคลธร เตชะวนากร.(2545). แมคาตลาดน้ํา : วิถีชีวิตและการธํารงเอกลักษณของชุมชน. วิทยานิพนธ พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2523). พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตรภาษาอังกฤษ – ไทย .กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตสถาน,. ราตรี โตเพงพัฒน. (2543). ตลาดน้ํา : วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. สกุณี ณัฐพูลวัฒน. (2541). คลองและเสนทางเดินเรือในอดีต. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส ที พี มีเดีย จํากัด. สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ). (2541). เพื่อความเขาใจในแผนดิน ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสารคดี. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา. (2539) น้ํา : บอเกิดแหงวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. อํานวย แสงโนรี. (2535). ผลกระทบสิ่งแวดลอม และสุขภาพอนามัยของเกษตรกร จากการใชสารพิษกําจัด ศัตรูพืชในการผลิตทางการเกษตร : กรณีศึกษาเกษตรกรในอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. รายงานการวิจัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง. ----------------------------------------------------------


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

72

มรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุรี อิทธิพร ขําประเสริฐ1 พื้นที่ยานฝงธนบุรีในปจจุบันไดรับความสนใจ และถูกใหความสําคัญเปนพิเศษจากองคกร หนวยงาน สถาบันการศึกษาในการสืบคน ประวัติความเปนมา ตํานาน เรื่องราวตลอดจนเอกลักษณในดานตางๆทั้งนี้ สืบเนื่ องมาจากกระแสการพัฒนาที่ เนนการกลับมาพิจารณาในภู มิปญญา วั ฒนธรรมดั้ งเดิ มของทองถิ่นใน สังคมไทย ซึ่งเชื่อกันวาเปนฐานรากที่สําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศยุคปจจุบัน ธนบุรีเปนเมืองที่มี ความสําคัญมาตั้งแตครั้งสมัยอยุธยา สภาพภูมิศาสตรอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรที่มีคุณภาพ เชน ทรัพยากร ดิน มี แม น้ํา ลํา คลองหลายสายน้ํ า จนได ชื่อวา เป นเมืองแหง สายน้ํ า นอกจากนี้ธนบุ รียังเปน เมื องที่มี ความ หลากหลายทางด านสังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะกลุม ชาติพัน ธุต างๆที่เ ขา มาตั้งถิ่ นฐานในเมืองแหง นี้ นับเนื่องแตอดีตมาไดสรางสรรคขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ที่งดงามเปนเอกลักษณเฉพาะของยานฝงธนบุรี ภูมิหลังความเปนมาของธนบุรี จากหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร แ ละโบราณคดี กล า วว า เมื อ งธนบุ รี มี พั ฒ นาการมาตั้ ง แต ค รั้ ง พุทธศตวรรษที่ 19 เปนตนมา ในฐานะที่เปนเมืองทาติดตอกับภายนอกทางทะเลและกับเมืองอื่นๆจนทําให เติบโตเปนศูนยกลางทางการเมืองและวัฒนธรรมในเวลาตอมา (ศรีศักร วัลลิโภดม 2547 :2) เมืองธนบุรีในสมัย อยุธยาเปนราชธานีมีชื่อวา“ทณบุรีศรีมหาสมุทร“ เปนชุมชนเล็กๆแหงหนึ่งที่ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยา เรียกกัน ทั่วไปวาชุมชนยาน“บางกอก”หรือทีม่ ีผูอธิบายวาอาจจะมาจากคําวา“บางเกาะ”ดวยเปนยานที่มีลําน้ําลอมรอบ สอดคลองกับภูมิลักษณะของลําน้ําสายเดิมและบางก็วายานนี้แตเดิมเต็มไปดวยตนมะกอกน้ํา ในรั ชสมัยของพระชัยราชาธิ ราช คื อในป พ.ศ.2065 ทรงโปรดใหขุดคลองลั ดแมน้ํา เจ าพระยาขึ้ น ระหวางปากคลองบางกอกนอยและแมน้ําเจาพระยาสายเดิมบริเวณหนาวัดอรุณราชวราราม ทําใหเกิดทางน้ํา ตรงสายใหม ขึ้น สะดวกแก เรื อสิ น คา ที่ จะลองไปอยุ ธยา ผลจากการขุดคลองนี้ กอให ส ภาพภู มิ ศ าสตร ใหม กลาวคือ แมน้ําเจาพระยาสายเดิมเล็กลงจนกลายเปนคลอง (ปจจุบันคือคลองบางกอกนอย และคลองบางกอก ใหญ ) ในขณะที่ ค ลองฝ มื อมนุ ษ ย กลั บ กว า งขึ้ น จนกลายเป น แม น้ํ า อั น เป น ที่ ม าของคํ า ว า “เมื อ งอกแตก” (ทิพวรรณ จันทรสถิตย และจิราภรณ มาตังคะ 2547 :1-2) เมืองธนบุรีนอกจากจะทําหนาที่เปนเมืองหนาดาน ทางทะเล ปองกันศัตรูที่จะเขามาทางดานใตของอยุธยาแลว ยังทําหนาที่ในการตรวจตราจัดเก็บสินคาเขาออก โดยเฉพาะเมื่อการคากับประเทศตะวันตกรุงเรืองถึงขีดสุดในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ครั้นตอมาในป พ.ศ.2311 เมื่อสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงเลือกกรุงธนบุรีเปนราชธานีแหงใหม แทนกรุง ศรี อยุ ธยาที่ ถูกเผาผลาญล มร างดวยข าศึ กศั ตรู ยากแกการบูร ณะ ขอบเขตของราชธานี ใหมแหง นี้ ครอบคลุมสองฟากน้ํา โดยมีแมน้ําเจาพระยาตัดผานกลางเมือง มีการขุดคูและสรางกําแพงเมืองทั้งสองฝง พื้นที่ในกําแพงเมืองฟากตะวันตกเริ่มตั้งแตเขตเมืองธนบุรีเดิมริมคลองบางกอกใหญไปจนถึงบริเวณหลังวัดบาง วานอย (อมรินทราราม) ริมคลองบางกอกนอย สวนหากตะวันออกเริ่มตั้งแตศาลเทพารักษหัวโขด (เชิงสะพาน พระปนเกลาฝงพระนคร) เลียบตามแนวคูเมือง (คลองคูเมืองหลังกระทรวงมหาดไทย)ไปจรดแมน้ําเจาพระยา บริเ วณปากคลองตลาด พรอมกัน นั้น ได กัน พื้น ที่ในกํา แพงเมืองธนบุรี เดิ มไวเป นเขตพระราชวั ง (นิ พัทธพ ร เพ็งแกว และสุดารา สุจฉายา 2542:31) ในชวงสมัยนี้สภาพบานและสวนในธนบุรี กลายเปนถิ่นฐานบานเรือน 1

เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


73

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ของบรรดาเจานาย ขุนนาง และกลุมชนที่อพยพเขามาตั้งถิ่นใหม กลุมชาติพันธุตางๆ พอคา ธนบุรีจึงเปน แหลงผลาหาญ ศูนยกลางอํานาจ และเศรษฐกิจที่สําคัญแหงหนึ่งของภูมิภาคนี้ ตอมาในป พ.ศ.2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แหงราชวงศจักรี ไดขึ้นครองราชยสมบัติหลังจากการสถาปนากรุงรัตนโกสินทรและยายเมืองไปอีกฟากหนึ่งของแมน้ําเจาพระยา ซึ่งเปนยานเกาแกที่สุดแหงหนึ่งของฝงธนบุรี คือ พื้นที่ในเขตกําแพงเมืองกรุงธนบุรีเดิม ถูกแปรเปลี่ยนใหเปน ยานวังของเจานายเชื้อสายจักรีวงศถึงหาในเกาแหงที่สรางขึ้นในพระนครแหงใหม กรุงธนบุรีกับกรุงเทพฯจึง แยกกันแทบไมได ดังที่ศรีศักร วัลลิโภดม (2547:1) อธิบายวา “ การเห็นวากรุงเทพฯและธนบุรีเปนคนละเมืองกันที่เปนเชนนี้เพราะไป รับรู และให ค วามสํา คั ญ กั บพื้น ที่ ทางการบริ หารมากกว าพื้ น ที่ ทางวั ฒนธรรม การรับรูการแบงแยกกรุงเทพฯออกจากธนบุรี นาจะมาจากประวัติศาสตรตอน การสร างกรุ งรั ตนโกสิน ทรเ ปน ราชธานี ซึ่ งก็ แน นอนวา เป นการแบ งแยกพื้น ที่ ทางการบริหารออกจากพื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรมเดียวกัน ดังเห็นไดจากการ ยายพระราชวังอันเปนศูนยกลางของอํานาจในการปกครองมาไวทางฝงพระนคร รวมทั้งมีการขุดคูเมืองและสรางกําแพงเมืองลอมรอบเพื่อปองกันขาศึกศัตรูดวย แตหาพิจารณาทางสังคมในเรื่องของชีวิต วัฒนธรรมของผูที่เปนผูคนพลเมืองทั้ง คนชั้ น ปกครองและชั้ น ชั้ น ไพร ฟ า ข า แผ น ดิ น แล ว เป น สิ่ ง ที่ ไม อาจแยกกั น ได กรุงเทพฯนั้นแทจริงคือการเติบโตและขยายตัวของบานเมืองตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ลงมาเปนสําคัญ เพราะผูคนสวนใหญทั้งเจานายขุนนางและประชาชนยังมีถิ่น ฐานบานชองอยูทางฝงธนบุรีอยู ธนบุรี คือบานเมืองในยุคที่การคมนาคมและ การตั้งถิ่นฐานบานเมืองอยูตามแมน้ําลําคลอง สวนกรุงเทพฯ คือการขยายตัว ของบานเมืองในยุคหลังที่มีการสรางถนน ตัดถนนและการขยายตัวทางสถานที่ ราชการและยานการคาธุรกิจที่มีการเชื่อมโยงกับภายนอก ” สําหรับพัฒนาของธนบุรีในชวงรัตนโกสินทรจนถึงปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัดโดยเฉพาะ ในป พ.ศ. 2429 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงจัดการปกครองเเบบคณะกรรมการที่ปรึกษา โดยโปรดเกลาฯ ใหเชื้อพระวงศเเละขุนนางรวมกับเปนคณะกรรมการจัดบริหารนครหลวงทํานองเทศบาล เรียก กันวา “คอมมิตตีนครบาล”(Board of Councillorship) ตอมาทรงเห็นวาการบริหารงานรูปแบบนี้ลาชา จึงทรง ยกเลิกเเละจัดตั้งกระทรวงเมือง ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน“กระทรวงนครบาล”มีเสนาบดีเปนผูปกครองบังคับ บัญชาพื้นที่ในพระนครธนบุรีกบั หัวเมืองใกลเคียง คือ นนทบุรี ปทุมธานี นครเขื่อนขันธ สมุทรปราการ ธัญญบุรี เเละมีนบุรี รวมเรียกวา “มณฑลกรุงเทพพระมหานคร” ปกครองโดยใชพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ทองที่เเละขอบังคับปกครองหัวเมืองโดยอนุโลม ตอในในป พ.ศ.2440 ไดประกาศใชพระราชบัญญัติกําหนด สุขาภิ บาลกรุงเทพฯ เพื่อเปนหนวยงานปกครองทํา หนาที่ ดูเเลสุขภาพอนามัยเเละขจัดเหตุเ ดือดรอนใหเเก ราษฎร (อนุรัตน วัฒนาวงศสวาง 2542:314–316) ปลายรัชกาลที่ 5 ไดมีการเเบงตัวพระนครออกเปนอําเภอชั้นใน 8 อําเภอ อําเภอชั้นนอกอีก 8 อําเภอ ซึ่งพื้นที่ฝงธนบุรีที่เปนอําเภอชั้นใน ไดเเก อําเภอบางกอกนอย บางลําภูลาง เเละบางกอกใหญ สวนอําเภอ ชั้ น นอก ได เ เก อํ า เภอบางขุ น เที ยน ราษฎรบู ร ณะ ตลิ่ ง ชั น ภาษี เ จริ ญ เเละหนองเเขม ครั้ น ถึ ง รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริเห็นวาพื้นที่มณฑลกรุงเทพพระมหานครที่เเบงไว เดิมนั้นกวางใหญเกินไป ไมอาจดูเเลประชากรที่เพิ่มขึ้นไดอยางทั่วถึง ดังนั้นในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2458 จึ ง โปรดเกล า ให ย กเลิ ก มณฑลกรุ ง เทพพระมหานคร เเละให เ มื อ งธั ญ ญบุ รี กั บ ปทุ ม ธานี ไ ปขึ้ น กั บ กระทรวงมหาดไทย สวนที่เหลือใหมีฐานะเปน“กรุงเทพพระมหานคร” ดังปรากฏในมาตรา 3 แหงประกาศ ขยายกรุง เทพพระมหานคร คือ “ใหเเบงเขตกรุงเทพพระมหานคร ออกเปนจั งหวัดดังนี้ คื อ กรุงเทพฝ ง ตะวันออกลําน้ําเจาพระยาเปนจังหวัดพระนคร กรุงเทพฝงตะวันตกลําน้ําเจาพระยาเปนจังหวัดธนบุรี เเบงรอบ นอกเปนจังหวัดนนทบุรี จังหวัดมีนบุรี จังหวัดพระประเเดง จังหวัดสมุทรปราการ ”


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

74

ดวยเหตุนี้กรุงเทพพระมหานครจึงเเยกออกเปนจังหวัดพระนครเเละจังหวัดธนบุรี เมื่อเเรกตั้งจังหวัด ธนบุ รี มี ทอ งที่ ในการดู เ เลถึ ง 11 อํ า เภอ ได เ เก อํ า เภออมริ น ทร (บางกอกน อย) บางพลั ด หงสาราม (บางกอกใหญ) ราชคฤห (ธนบุรี ) บุ ปผาราม (คลองสาน) บุค คโล บางขุนเที ยน ราชฎรบูร ณะ ตลิ่งชั น ภาษีเจริญ เเละหนองเเขม พ.ศ. 2476 หลังเปลี่ยนเเปลงการปกครองไดมีประกาศยกเลิกมณฑลตางๆทั่วประเทศ เเละจัดระเบียบ การบริหารใหมออกเปนจังหวัดเเละอําเภอตอมาในปเดียวกันก็ประกาศใชพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล สงผลให จัง หวัดธนบุ รีมี การปกครองในรูปแบบเทศบาล ซึ่ งไดมีการจัดตั้ งเทศบาลนครธนบุ รีขึ้น เมื่ อวัน ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 โดยมีพระยามไหสวรรย (กอ สมบัติศิริ) ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรีนครธนบุรีคนเเรก เทศบาลนครธนบุรีเปดดําเนินการเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2489 โดยมีสํานักงานตั้งอยูที่บานเจาจอมพิศ ขางวัดประยุรวงศาวาส ริมเเมน้ําเจาพระยา เเละใชรูปพระปรางควัดอรุณราชวราราม เปนตราสัญลักษณของ เทศบาลธนบุรี เพราะเปนปูชนียสถานคูบานคูเมือง ตอมาเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2514 รัฐบาลคณะปฎิวัติ นําโดยจอมพลถนอม กิตติขจรไดมี ประกาศคณะปฎิวัติฉบับที่ 24 ใหรวมจังหวัดพระนครเเละจังหวัดธนบุรีเขาดวยกันเรียกวา“นครหลวงกรุงเทพ ธนบุรี” มีฐานะเปนจังหวัดหนึ่งเเละในวันเดียวกันนั้นก็ไดมี ประกาศคณะปฎิ วัติฉบับที่ 25 ใหรวมเทศบาล กรุ ง เทพเเละธนบุ รี เ ข า ด วยกั น อี ก ด ว ย การบริ ห ารมี ลั กษณะผสมระหว า งการบริ หารราชการส วนกลาง สวนภูมิภาคเเละสวนทองถิ่น โดยกําหนดใหมีผูวาราชการกรุงเทพมหานครเปนขาราชการการเมือง ซึ่งเเตงตั้ง โดยคณะรัฐมนตรี กระทั่งเกิดเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 มีการใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม สงผลใหเกิด รูปแบบการเปลี่ยนเเปลงรูปแบบการบริหารกรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติระเบียบการบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 และ จัดทําปรับปรุงใหมขึ้นในป พ.ศ.2528 ที่ใชกันเปนพระราชบัญญัติฉบับใน ปจจุ บั น แบ ง พื้ น ที่ การปกครองออกเป น เขตเเละเเขวงทั้ ง กํ า หนดให กรุ ง เทพมหานครเป น ทบวงการเมื อง มีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่นนครหลวง ภายใตการดูเเลของกระทรวงมหาดไทย มีผูวาราชการเเละ รองผูวาราชการกรุงเทพมหานครมาจากการเลือกตั้ง ทําหนาที่รับผิดชอบการบริหารโดยตําแหนงคราวละ 4 ป หากพิ จารณาในเชิง กายภาพพื้ นที่ฝ งธนบุ รีมีจํานวนเขต 15 เขต จากการแบง พื้นที่ 50 เขต ของกรุง เทพฯ ทั้งหมด อันไดแก เขตคลองสาน จอมทอง ตลิ่งชั น ทุง ครุ ทวี วัฒนา ธนบุรี บางกอกน อย บางกอกใหญ บางขุนเทียน บางบอน บางพลัด บางแค ภาษีเจริญ ราษฎบูรณะ และหนองแขม สภาพทางภูมิศาสตร ธนบุรีเปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมภาคกลางตอนลางที่เรียกกันวาที่ราบลุมบางกอก (Bangkok Plain) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา (Chao Phraya Delta) ที่เกิดจากการทับถมของ ดินตะกอน เเมน้ําหลายสาย คือ เจาพระยา ทาจีน เเมกลอง เเละบางปะกง จนกลายเปนที่ราบกวางใหญเเละ อุดมสมบูรณที่สุดในประเทศที่ราบลุมปากเเมน้ําเจาพระยามีลักษณะเปนสามเหลี่ยมดานเทา สวนยอดอยูใต จังหวัดนครสวรรค กิน พื้น ที่แผ กว างลงมาจนถึง ฐานสามเหลี่ยมที่ปากเเม น้ํา บริเ วณอาวไทย นั กธรณีวิทยา สันนิษฐานวา พื้นที่นี้เกิดจากการทับถมในปลายยุคไมโอซีนหรือประมาณ 10,000 ปมาเเลว โดยอาจเเบงไดเปน 2 บริเวณ คือ พื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําเกา (Old Delta) สันนิษฐานวาเปนบริเวณปากเเมน้ําของ ชายฝ ง ทะเลเดิ ม เริ่ ม จากจั ง หวั ด ชั ยนาท ต อเนื่ อ งลงมาจนถึ ง อยุ ธยาเเละสุ พ รรณบุ รี เเละพื้ น ที่ ดิ น ดอน สามเหลี่ยมปากแมน้ําใหม ( New Delta ) คือบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมเเมน้ําเจาพระยาปจจุบัน ตั้งอยุธยาลง มาจนถึงอาวไทย (อนุรัตน วัฒนาวงศสวาง 2542 :15) หากพิจารณาที่ตั้งทางภูมิศาสตรของเมืองธนบุรี ตั้งอยูที่ละติจูดที่ 13 องศา 45 ลิปดาเหนือ ลองติจูด ที่ 00 องศา 29 ลิ ป ดาตะวั น ออก ทิ ศ เหนื อติ ดกั บ จั ง หวั ดนนทบุ รี ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ดกั บ แม น้ํ า เจ า พระยา ฝงพระนคร จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต ติดกับจังหวัดสมุทรปราการ และอาวไทย (ในเขตบางขุนเทียน) ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดสมทุรสงคราม และจังหวัดนครปฐม ธนบุรีตั้งอยูในเขตอากาศ รอน มีอุณหภูมิสูงเกือบตลอดป ประมาณ 27 องศาเซลเซียส จะรอนจัดในชวงเดือนเมษายน มีปริมาณน้ําฝน เฉลี่ย 1458.2 มิลลิเมตร ซึ่งสัมพันธกับกับการตั้งอยูในอิทธิพลของลมประจําฤดู คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (สุนันทา โชติกเสถียร 2547:9-13)


75

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จากสภาพภูมิประเทศที่เปนที่ราบน้ําทวมถึง และบริเวณใกลปากแมน้ําที่มีทองน้ําตื่น มีระดับความสูง จากน้ําทะเลปานกลางเฉลี่ย ไมเกิน 1 เมตร มีความตางระดับกันประมาณ 50 เมตร มีคลองธรรมชาติและ คลองที่ขุดขึ้นใหมจํานวนมาก จนไดรับนามวา“เวนิสตะวันออก”คลองที่สําคัญในฝงธนบุรี เชน คลองบางกอก นอย คลองบางกอกใหญ (บางหลวง) คลองชักพระ คลองตนไทร คลองบานขมิ้น คลองมอญ คลองบางระมาด คลองภาษีเจริญ คลองดาน คลองบางไสไก คลองดาวคะนอง เปนตน ในดานทรัพยากรธรรมชาติ ฝงธนบุรีมีทรัพยากรที่สําคัญอยู 2 สิ่ง คือ ทรัพยากรน้ํา ซึ่งจะไดรับจาก แมน้ําเจาพระยาเปนหลัก ระบายเขาสูคลองสายตางๆที่แยกไปปกคลุมพื้นที่ธนบุรี น้ําจากแมน้ําเจาพระยาไหล ผา นภาคกลางด วยมี ปริ ม าณมากกว า 920 ลู กบาศก เมตรต อวิ นาที น้ํ านี้ ถูกนํา ไปใชเ พื่อการเกษตรกรรม มากที่สุด รองลงมาคือนําไปบริโภค อุปโภค การคมนาคมขนสง การควบคุมคุณภาพน้ําและการหนุนของน้ํา ทะเลทั้งในลําน้ําเจาพระยาและแมน้ํา ทาจีน ทรัพยากรดิน ตําแหนงที่ตั้งของธนบุรีนับเปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณแหงหนึ่ง เพราะดินบริเวณนี้ เกิดขึ้นจากการพัดพามาของตะกอนล้ําน้ําจากแมน้ําทางตอนในของประเทศ มาทับถมในแองรูปกรวยตัดครึ่ง โดยที่กรมพัฒนาที่ดินไดสํารวจดินในธนบุรี ซึ่งประกอบไปดวยดินหลายชุด คือ ดินชุดบางกอก ซึ่งมีความอุดม สมบูรณสูง ดินชุดธนบุรีมีความสมบูรณปานกลางเหมาะแกการทําสวนปลูกผักผลไม และดินชุดทาจีน โดยเปน ดินที่อยูบ ริเวณที่ราบลุมชายฝงทะเล อุมน้ําสูง แตก็สามารถเพาะปลูกไดในพืชที่เหมาะสมกับสภาพดิน ดังนั้น ทรัพยากรดินของธนบุรีจึงเปนสิ่งที่มีคุณคายิ่งสําหรับการทําเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทําสวนผักและผลไม ดัง คํากลาวของ ศรีศักร วัลลิโภดม (2542) ที่วา “สังคมธนบุรีคือสังคมชาวเรือกสวน เปนเอกลักษณของธนบุรี พันธไมเกาๆที่เปนพืชผลอยู ณ ที่แหงนี้”การทําสวนผักผลไมจึงเปนอาชีพหลักในอดีตอยางหนึ่งของธนบุรี หรือ ที่เรียกวา สวนในบางกอก และสวนนอกบางชาง สวนในบางกอกยังแบงปน บางบนกับบางลาง ซึ่งมีผลิตภัณฑ พืชผลตางๆที่ขึ้นชื่อตามยานตางๆ ดังปรากฏในหนังสือ “เรื่องสวน” ที่เรียบเรียงโดย เจาพระยาภาสกรวงศ (อางใน อนุรัตน วัฒนาวงศสวาง 2542:20-21) ไดกลาววาสมัยกอนนั้น เเถบบางบนเปนถิ่นที่เหมาะสําหรับ การปลูกทุเรียนมากเเตภายหลังบริเวณนี้ถูกน้ําทวมบอย ตนทุเรียนทนน้ําไมไหวตายกันยกสวน ทุเรียนบางบน จึงตองยายไปปลูกแถบบางลางเเทน ทุเรียนบางบนปลูกแถบ บางผักหนาม บางขุนนนท ในคลองบางกอกนอย ซึ่งผลใหญ พูใหญ เนื้อหยาบ มีรสมันมากกวาหวาน สวนทุเรียนบางลางปลูกมากที่คลองสาน บางลําภูลาง มีเนื้อละเอียด รสหวานมากกวามัน นอกจากทุ เ รี ยนเเล ว “ของสวน” คื อ ผลไม ตา งๆที่ เ ปน ของดี มีชื่ อของสวนในยัง มี อีกมาก เเละ มักเรียกชื่อระบุไปตาม “บาง” หรือคลองที่สวนเหลานั้นตั้งอยู เชน เงาะบางยี่ ขั้น ประกอบดวยพันธุเ หลืองใหญเ เละเหลืองเล็ก เปนเงาะชั้นดี ราคาเเพง เนื้อลอนใน สมัยกอนขายกันถึง 12 ผล 1 บาท เเตปจจุบันไมเหลือพื้นที่ปลูกเเลว เชื่อวายังเหลือพันธุอยูในเเถบจังหวัด จันทบุรี เเละตราด ซึ่งชาวสวนนั้นไดพัฒนาพันธุจนกลายเปนเงาะสีชมพูในปจจุบัน สับปะรดบางบําหรุ เปนสับปะรดไทย ลูกเล็ก ปอม รสหวานกรอบ สวนใหญปลูกตามโคนตนไมในสวน ซึ่งสูญพันธุไปกับเชนเดียวกับมะไฟบางลําเจียก มะไฟทาพระ ที่ปลูกตั้งเเตวัดหงสรัตนารามในคลองบางหลวง ถึงยานทาพระ กอนจะสูญพันธุไป เนื่องจากถนนเพชรเกษมตัดผาน ฝรั่งบางเสาธง ปลูกในคลองมอญมีชื่อมากวารสชาติดี หวานกรอบ นิยมปลูกพันธุผลใหญ นอกจากนี้ ยังมีฝรั่งเทศเเละฝรั่งบางคะเเนะ เนื้อบางเม็ดสีขาว ถาเม็ดสีชมพูเรียก ฝรั่งขี้นก สมบางมด พันธุดีตอง “เขียวหวาน” ลูกกลมแปน ผิวบาง ซังนิ่ม รสหวานอมเปรี้ยววากันวาเปนเพราะ ดินเค็ม ทําใหสมมีรสชาติดีทั้งๆที่กิ่งพันธุซึ่งมาจากเเถบบางกอกนอย ปจจุบันเหลือไมกี่สวนเพาะสูน้ําเค็มไม ไหว จึงยายไปปลูกกันเเถบรังสิต พลูบางไสไก มีทั้งพูลเขียว ซึ่งใบมีลักษณะกลม สีเขียวเขม เเละรสเผ็ด พลูคางทองหลาง ใบเรียวยาว ใหญกวาเเละสีเขียวเขม ทั้งรสก็เผ็ดจัดกวาเเละสีเขียวเขม สวนพูลเหลือใบใหญสีเขียว ออกเหลือสวย เเละรส จืดชวนสวนนิยมรดดวยปุยปลาหมัก จึงออกใบงามเเลวเก็บนํามาขายรวมกันที่ตลาดพลู ดังปรากฏเปนชื่ออยูใน ทุกวันนี้ เเตสวนพลูนั้นเหลืออยูไมกี่ขนัดตามคลองบางขี้เเกง บางเเวก เเละเเถบนอกเมืองออกไป


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

76

หมากบางล าง มี ชื่อเสี ยงในอดี ต เพราะเปน หมากหน าฝาดที่ช าวบา นทั่ วไปนิ ยมกิน กัน ด วยเคี้ ยว กระชั บ จั บ ปากดี กว า หมากในตํ า บลอื่ น ปลู กกั น มากเเถบคลองบางปะเเก ว ราษฎร บู ร ณะ เเละเเจงร อ น สวนหมากหนาหวานเปนที่นิ ยมกินในหมูชนชั้นสูง มีสีออกชมพูถึงเเสด รสไม ฝาดมาก ปลูกมากในจังหวั ด ฉะเชิงเทรา ละมุดสีดา ปลูกที่ราษฎรบูรณะ ผลใหญกวาหัวเเมมือเล็กนอย สีเเดงๆ กินมันๆ เเละยังมีละมุดพันธุ ไขหาน ลูกใหญ เนื้อเหลว พันธุมะฝอ (ลูกเหมือนมะฝอ) ลูกฝาดกินไมอรอย พันธุมะกอก ลูกยาว แกเเลว สีเเดงสด ละมุดเหลานี้ยังพอมีตนพันธุหลงเหลืออยูบาง เเตก็นอยเต็มที ลิ้นจี่ เดิมปลูกกันเเนนตั้งเเตคลองดาวคะนองไปถึงจอมทอง บางขุนเทียน ปจจุบันเหลือสวนลิ้นจี่อยู ไมกี่ขนัด เเถบคุงลิ้นจี่ เขตบางขุนเทียน เเตก็ไมออกผลมาหลายปเเลว เนื่องจากกรุงเทพฯไมมีชวงฤดูหนาว ยาวเพียงพอใหลิ้นจี่ ติดลูก เเมวานําตนพันธุไปปลูกที่อื่นก็ไมไดรสชาติเหมือนที่บางขุนเทียน สันนิษฐานวาอาจ เปนที่เนื้อดิน น้ําเเละการบํารุงเลี้ยงดูที่ตางกัน มังคุด ปลูกทั่วไป เชนที่บางกอกนอย บางพลัด คลองดาวคะนอง เเมกระทั่งยานโรงพยาบาล ศิริราชก็ เคยปรากฏชื่อ “สวนมังคุด” เเละ“สวนลิ้นจี่” มาตั้งเเตสมัยกรุงธนบุรี ชาวสวนเเถบบางพลัดเลาวา มังคุดสวน ผิวไมเเข็ง เปลือกนิ่ม พอจะเขาสุกเปลือกขึ้นเปนเสนๆ สีชมพู เเตมียางมาก ที่นิยมเปลือกตองสีเเดงจนถึงดํา เหมื อนลูกหว า รสจะหวานสนิท ลู กใหญ ไมเ ปรี้ ยว เม็ดนอย ไมเ หมื อนมัง คุดตา งจั งหวั ด ที่หวานไมส นิทมี เปรี้ยวเจือ ชมพู มีทั้งชมพูนาก แกจัดสีเเดง ชมพูเเกมเเหมม สีเเดงจัด เนื้อเปนปุย เเละชมพูสาแหรก ลักษณะ คลายมาเหมี่ยวเเตลูกเล็กกวา มีทั้งสาเเหรกสีเขียวเเละสาเเหรกแดง ยังพอมีใหกินบาง เเตก็สูชมพูเพชรซึ่งนิยม กันมาในปจจุบันไมได สมโอ มีพันธุขาวพวง ขาวทองดี ขาวใหญ ขาวลางสาด ขาวหอม เเละยังมีสมเนื้อลูกใหญมาก เนื้อ หยาบออกสีสม พันธุสมมะขวิด เนื้อเเดงปลอยไวเเกจัดมีรสหวาน สมโอบางพันธุยังพอหากินได เเตอยางสมเนื้อ ขาวพวง หรือขาวหอม เขาใจวาอาจสูญพันธุไปแลว ผลหมากรากไมจากสวนในธนบุรีนั้น มีจํานวนหลายสิบหลายรอยสายพันธุ เเตละพันธุตางมีเอกลักษณ เฉพาะตัวดวยการคัดเลือกพันธุของชาวสวน พื้นที่สวนในบางกอกนี้จึงเปนแหลงรวมพืชพรรณอันหลากหลาย เเมปจจุบั นพันธุพืช ชั้นดีเเทบจะสูญไปจากสวนในเเลว เเตก็มี ผูนําพันธุ พื้นเมืองเหลานี้ไปผสมเเละคัดเลือก จนไดผลไมพันธุใหมๆเกิดขึ้นเปนจํานวนมากสวนพันธุดั้งเดิมบางชนิดก็สูญไป บางชนิดอาจยังหลงเหลืออยูใน สวนเเถบนนทบุรี หรือกระจายไปตามพื้นที่ตางๆทั่วประเทศ ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม เมื่อพิจารณาจากประวัติความเปนมาของธนบุรี อาจกลาวไดวาเปนเมืองที่มีความหลากหลายในเชิง สังคมและวัฒนธรรม ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการเปนแหลงรวมของบรรดากลุมชาวตางชาติหลายเชื้อสายที่เขามา คาขาย แสวงโชค อพยพลี้ภัยสงคราม และไดพํ านักตั้งหลักแหล งเป นจํา นวนมากในธนบุ รี ดั งที่ปรากฏใน การศึกษาของเรืองศิลป หนูแกว (2546) ในวิทยานิพนธเรื่อง “ความเปนสังคมนานาชาติของกรุงธนบุรี ระหวาง พ.ศ.2310– 2325“ ที่ กล า วว า ในกรุ ง ธนบุ รี มี ช าวต า งชาติ จํา นวนมากที่ เ ข า มาตั้ ง ถิ่ น ฐาน เช น ชาวจี น ชาวมุสลิมเชื้อชาติตางๆ ชาวมอญ ชาวลาว ชาวเวียดนาม ชาวกัมพูชา และชาวยุโรปชาวตางชาติเหลานี้มีสวน ทําใหเศรษฐกิจของธนบุรีฟนตัวเพราะทําใหธนบุรีไดแรงงานและการเก็บภาษีจากการคา ทั้งนี้ความเปนสังคม นานาชาติในธนบุรีเกิดจากการพัฒนาอยางตอเนื่องของเมืองที่มีมาแตสมัยอยุธยา จากเมืองทาหนาดาน ซึ่งมี ชุมชนชาวตางชาติตั้งถิ่นฐานอยูกอน เมื่อป พ.ศ.2310 ธนบุรีไดยกฐานะเปนเมืองหลวงของเมืองไทย ทําให ธนบุรีเปลี่ยนแปลงเปนเมืองนานาชาติเปนศูนยรวมแหงการบริหาราชการแผนดิน กรุงธนบุรีจึงมีปรากฏการณ ความเปนสังคมนาชาติเชนเดียวกันกับกรุงศรีอยุธยา เมื่อมาถึงในชวงสมัยรัต นโกสินทรต อนตนลักษณะความเปนสั งคมนานาชาตินี้ก็ยังคงสืบเนื่องมาก ตลอดเพราะผูคนชาวตางชาติบางสวนไดเขามาตั้งถิ่นฐานมากขึ้น มีบทบาทสําคัญในในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประกอบอาชีพระดับตางๆตั้งแตขาราชการไปจนถึงพอคา แมคา ซึ่งยังคงเปนชุมชนที่สําคัญแหงหนึ่งไม นอยไปกวาฝงกรุงเทพฯ ดังขอคนพบในการศึกษาของ วัชรา คลายนาทร (2542) ที่ศึกษาอาณาบริเวณโดยรอบ สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยาและสถาบันราชภัฏธนบุรี โดยกําหนดเรียกพื้นที่นี้วา ชุมชนบานสมเด็จ


77

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เจ า พระยา ผลการวิ จัยพบว า ในสมั ยรั ต นโกสิ น ทร ต อนต น ชุ ม ชนบ า นสมเด็ จเจ า พระยามี ลั กษณะเป น ชุมชนเมือง โดยประกอบไปดวยประชากรตางเชื้อชาติศาสนาและมีวิถีการดํารงชีวิตหลากหลายแตกตางกัน ชุมชนแหงนี้มีความสําคัญตอกระบวนการพัฒนาของสถาบันสังคมไทยไปสูความทันสมัยตามแบบอยางชาติ ตะวันตก เปนศูนยกลางแลกเปลี่ยนทางสังคมและวัฒนธรรมของไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่งมีผลมา จากการปฏิสัมพันธรวมกันระหวางสมาชิกในชุมชน ดังนั้น สังคมและวัฒนธรรมของฝงธนบุรีจึงใหภาพของความหลากหลายจากกลุมชาติพันธุตางๆที่เขา มาตั้งรกรากนับเนื่องในอดีตจวบจนถึงปจจุบัน กลุมชาติพันธเหลานี้ลวนมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาธนบุรี มีหลักแหลงอาศัยกระจัดกระจายอยูตามพื้นที่ตางๆในธนบุรี ซึ่งแตละกลุมลวนมีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ คานิยมที่มีเอกลักษณเปนของตน กลุมชาติพันธุเหลานั้นไดแก 1. กลุมชาวจีน เปนกลุมชาวตางชาติที่มาตั้งถิ่นฐานในธนบุรีมากที่สุด อพยพเขามาตั้งแตสมัยอยุธยา ครั้งเสียกรุง เปนทั้งชาวจีนแตจิ๋วและฮกเกียน มีบทบาททั้งในอดีตและปจจุบันในดานเศรษฐกิจ กระจายตัวอยู ตามยานการคาที่สําคัญ ซึ่งมีอยู 3 แหลงใหญๆ คือ 1.1 ย า นกุ ฎีจี น เป น ชุ ม ชนตั้ ง อยู ริ ม คลองวั ดกั ล ยาณมิ ต รที่ เ ก า แก ส วนใหญ เ ป น ชาวจี น ฮกเกียน เหตุที่เรียกวากุฎีจีน เพราะมีศาลเจาตั้งอยู คือ ศาลเจาเทียนอันเกง ซึ่งสรางขึ้นในสมัยธนบุรี 1.2 ยานตลาดพูล สวนใหญเปนชาวจีนแตจิ๋ว เขามาทําสวนพลู และกิจการขนาดเล็กบริเวณ ริมคลองบางหลวงตั้งแตวัดจันทารามไปถึงยกเขาคลองดาน วันขุนจันทร วัดอัปสรสวรรค มีศาลเจาจี้หนันเมี้ยว สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ.2329 เปนศาลเจาเกาแกของยานนี้ 1.3 ยานคลองสานตั้งแตบริเวณสะพานพุทธฯไปจนถึงเขตราษฎรบูรณะ คนจีนยานนี้มีหลาย กลุ ม เข า มาตั้ ง แต สมั ยอยุ ธยา รั ต นโกสิ น ทร ต อนต น มีส ถานที่ สํ า คั ญ เชน ศาลเจ า กวนอู ศาลเจ า โก วบ อ โรงสีขาว แหลงนี้เปนยานการคาทางน้ําที่สําคัญ และแหลงยานของคหบดีชาวจีนที่เปนพอคาเจาของกิจการ ขนาดใหญดังปรากฏในตระกู ลที่เป นที่รูจักในปจจุ บัน เช น ตระกูลกัล ยาณมิต ร พิศ าลยบุต ร ตัณฑเศรษฐี หวั่งหลี ล้ําซํา โปษยานนท เปนตน (ศิริศักดิ์ รอดรักษา:139-146) กลุมชาวจีนมีเอกลักษณทางชาติพันธุที่สําคัญเชน ลักษณะรูปรางหนาตา บุคลิกนิสัย ความเชื่อใน ขนบแบบจีน ซึ่งปรากฏในประเพณีที่ชาวจีนไดยึดถือปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เชน ประเพณีกินเจ เทศกาลตรุจีน งานทิ้งกระจาด เปนตน โดยมีศาลเจาและสมาคมชาวจีนที่รวมตัวกันเปนศูนยกลางในการทํากิจกรรม 2. กลุ มมุ ส ลิม อพยพมาจากกรุ งศรี อยุ ธยาภายหลัง การสถาปนากรุ ง ธนบุ รีตั้ ง ถิ่น ฐานอยูริ ม แม น้ํ า เจาพระยาตั้งแตบางออ เขตบางพลัดเรื่อยลงไปทางใตจนถึงบริเวณสะพานพระราม 9 และอยูบริเวณริมคลอง สายหลัก คือ คลองบางกอกใหญ บางกอกนอย คลองซอยตางๆ รวมทั้งในบริเวณเขตทุงครุและราษฎรบูรณะ ชาวมุสลิมจะรวมตัวเปนชุมชนโดยมีมัสยิดเปนศูนยกลางของชุมชนใชเปนทั้งศูนยรวมของการประกอบศาสนกิจ ภารกิจตางๆทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่ งการศึกษา ทุกมัสยิ ดจะมีอีหมามทําหนาที่ เปนผูนําทางศาสนกิ จ ผูบริหารชุมชน ฝงธนบุรีมีมัสยิดที่จดทะเบียนแลวจํานวน 20 แหง โดยหลายแหลงเปนชุมชนและมัสยิดที่มีอายุ เกินกวา 100 ป เชน ชุมชนมัสยิดตนสน กุฎีเจริญพาศน กูฎีขาว กุฎีหลวง มัสยิดบานสมเด็จ ตึกแดง สวนพลู บางออ บางกอกนอย ฮารูณ เปนตน หากจะแบงจากแนวความคิดและการปฏิบัติศาสนกิจที่มีความแตกตาง กันบาง จําแนกออกได 2 กลุม คือ กลุมชีอะหและกลุมสายซุนนะห ซึ่งเปนกลุมชาวไทยมุสลิมสวนใหญแตทั้ง 2 กลุมนี้ก็อยูรวมกันอยางไมมีปญหาขัดแยง (เสาวนีย จิตตหมวด 2547:1) หากแตชาวมุสลิมในธนบุรียังคงรักษา ความเปนชุมชนไวไดมีสายสัมพันธที่เหนียวแนนมีการทํากิจกรรมรวมกันในวัตรปฏิบัติที่ยึดโยงกับคติอิสลาม เชน การทํา ละหมาด การถือศีลอด การแตงงาน การตาย เปนตน 3. กลุมแขก ซึ่งประกอบไปดวยชาวสิกข นามธารี และพราหมณฮินดู โดยกลุมเหลานี้อพยพมาจาก รัฐปญจาบ ประเทศอินเดีย อาศัยกันอยูอยางหนาแนนบริเวณสี่แยกบานแขก ซึ่งแตละกลุมมีเอกลักษณดังนี้ 3.1 ชาวสิกข มีลักษณะเดน คือ ผูชายจะโพกหัวเเละมีคําสรอยตอทายชื่อวา“สิงห”แขกสิกข จะปลอยผมยาวไมตัดหรือโกนโดยเด็ดขาด ไมกินเนื้อวัว ไมมีรูปเคารพ เปนกลุมชนที่เดินทางจากรัฐปญจาบ เขามาในเมืองไทยตั้งเเตสมัยรัชกาลที่ 5 สวนใหญเขามากันสองทาง คือ นั่งเรือเขามาทางมาเลเซียเเลวผานมา ทางภาคใต กับทางบกผานพมาเขามาทางภาคเหนือ เมื่อเเรกเขามาชาวสิกขบางคนเขารับราชการเปนพล ตระเวน (ตํารวจ) เเตสวนใหญเเลวนิยมทําการคาขายมากกวาโดยเฉพาะอาชีพขายผา จนคนไทยเรียกกันติด ปากวา“เเขกขายผา”ชาวสิกขครอบครัวเเรกที่เขามาเปดรานขายผาอยางเปนล่ําเปนสันนั้นอยูเเถวบานหมอ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

78

คนสมัยนั้ น เรี ยกกัน ว า ร า นเเขก เมื่ อการคา เจริญ ขึ้ น พวกเขามากัน ชั กชวนญาติ พี่ นองเขา มามากขึ้ นเเละ รวมกลุมกันตั้งเเหลงทํากินเเหงใหญอยูที่พาหุรัด จนเมื่อราว 30 ปที่เเลวพาหุรัดขยายตัว เเออัดไปดวยหางราน ขนาดใหญที่เขามาซื้อที่ดิน ชาวสิกขจึงเริ่มขยับขยายหาที่อยูใหม มาเชาบานคนไทยเเละมุสลิมบริเวณสี่เเยก บานเเขกอยูอาศัย โดยเฉพาะในซอยสารภี 2 นั้นถือเปนชุมชนสิกขขนาดใหญ สวนชาวสิกขที่มีฐานะก็ยายไปซื้อ บานอยูในทําเลอื่น เชน ทาพระ บางเเค สุขุมวิท หรือคลองตัน นอกจากขายผาเเลวชาวสิกขยังนิยมทําอาชีพ ปลอยเงินกู หรือขายของเงินผอนดวย 3.2 นามธารี หรือนัมดารี (Namdhari) เปนนิกายที่เเยกมาจากศาสนาสิกข ถือกําเนิดขึ้นใน รัฐปญจาบ โดยคุรุรามสิงหเมื่อ พ.ศ. 2400 เเละเเพรเขามาในเมืองไทยกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะอุบัติขึ้นไม นานนัก นามธารีเปนนิกายที่เครงครัดมากผูน ับถือนอกจากจะตองปฎิบัติตามหลักสําคัญของศาสนาสิกขเเลว ยังตองถือบัญญัติของคุรุรามสิงหอีกดวย เชน หามรับประทานเนื้อสัตวเเละไขทุกชนิด ตองสวดมนตบทนาม ซิมราน (Nam Simran) ทุกวันอยางนอยวันละ 1 ชั่วโมง ชายตองโพกศรีษะดวยผาขาวเทานั้น สตรีหามใช เครื่องประดับหรือ เเตงหนาทาปากเนนชีวิตที่เรียบงาย ไมฟุมเฟอย เหลานี้ เปนตน ถิ่นเเรกที่ชาวปญจาบ นิกายนามธารี เขามาอาศัยอยูเเละคาขาย คือ บริเวณตลาดพาหุรัด ดวยเปนยานชาวสิกขอยูกอนเเลว กอน จะยายเขามาอยูบริเวณสี่เเยกบานเเขกดวยเหตุผลเดียวกัน 3.3 พราหมณฮินดู คือ เเขกอีกกลุมหนึ่งที่อาศัยอยูมากเเถบสี่เเยกบานเเขก คนกลุมนี้นับถือ ศาสนาเดียวกับพราหมณผูประกอบพิธีหลวงประจําราชสํานัก สวนใหญเปนชาวปญจาบเเละอุตตรประเทศจาก อินเดีย ที่เขามาพึงพระบรมโพธิสมภารในแผนดินรัชกาลที่ 5 โดยชาวฮินดูจากรัฐปญจาบสวนใหญประกอบ กิจการคาผาที่พาหุรัด สวนที่มาจากอุตตรประเทศเกือบทั้งหมดไปเปนเเขกยามอยางที่เราเห็นจนชินตา กอนจะ ถูกลดจํานวนลงเมื่อทางการประกาศหามชาวตางดาวทําอาชีพนี้ พวกที่มาจากรัฐปญจาบตั้งชุมชนใหญอยู บริ เวณสี่เ เยกบา นเเขก พาหุรั ด เเละถนนสุ ขุ มวิ ท ส วนพวกที่ม าจากอุ ต ตรประเทศตั้ ง ถิ่น ฐานอยู มากเเถบ หัวลําโพง สําหรับที่บริเวณที่เเยกบานเเขกจะอยูกันอยางหนาเเนนนับรอยครัวเรือนที่ซอยสารภี 2 เเละยังกระจัด กระจายอยูตามซอยตางๆ บนถนนอิสรภาพ ไดเเก ซอยอิสรภาพ 3 ,6 ,8 ,12 เเละ ศาสนาสถานของพราหมณ ฮินดูหรือโบสถพราหมณมีเพียงเเหงเดียวคือ โบสถทุรคา อยูที่ถนนสมเด็จเจาพระยา ซอย 5 ตั้งมานานกวา 40 ปเเลว ทุกเชาวันจันทรซึ่งเปนวันเกิดของพระศิวะ เราจะเห็นชาวพราหมณฮินดูมาบูชาเทพของพวกเขาเนือง เเนนกวาทุกวัน 4. กลุมชาวมอญ อพยพเขามาในประเทศไทยหลายครั้งเนื่องจากปญหาความขัดแยงทางการเมืองกับ พม า โดยเฉพาะในสมั ยรั ชกาลที่ 4 สํ าหรั บในพื้ นที่ ฝ งธนบุ รีช าวมอญกระจายตั วอยู ใน 3 พื้ น ที่ใหญ ๆ คื อ (ศิริศักดิ์ รอดรักษา :157-162) 4.1 มอญบางกระดี่ อยูกันอยาหนาแนนใน หมูที่ 2 หมู 8 เเละหมู 9 ของบานบางกระดี่ นับเปนชุมชนมอญขนาดใหญเเละเครงครัดในวัฒนธรรมมอญมากที่สุดในฝงธนบุรี ทั้งสามหมูตั้งขนาบคลอง สนามชั ย โดยมี วัดบางกระดี่ เป น ศูน ย กลางของชุ ม ชน หน า วั ดมี เ สาหงส สั ญ ลั กษณ สํ า คั ญ ของวั ดมอญ ตั้งเดนอยู ชาวมอญบางกระดี่รักษาวัฒนธรรมประเพณีของตนไวไดมาก ไมวาจะเรื่องถือผีหรือประเพณีใน รอบป เเละที่ ส ร า งความภาคภู มิ ใ จให กั บ พวกเข า มาที่ สุ ด เห็ น จะเป น เรื่ อ งภาษาพู ด ที่ ยัง คงใช กั น อย า ง คอนขางมาก อยางไรก็ตามตั้งเเตมีการตัดถนนพระรามที่ 2 ในป พ.ศ. 2515 เปนตนมาโรงงานอุตสาหกรรม ความเจริญรวมทั้งคนตางถิ่นก็พากัน ทยอยเขามาในพื้นที่ ปจจุบันเเทบไมมีใครตัดฟนทําจาก หรือปลูกขา ว ดังเชนอดีต หนุมสาวหันหนาเขาโรงงาน ชาวบานกวาครึ่งเลิกใชภาษามอญในชีวิตประจําวัน เเตประเพณีเเละ พิธีกรรมอื่นก็ยังคงปฏิบัติอยูคอนขางเครงครัด 4.2 ชุมชนมอญเเขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน มีจํานวนมาก ในหมูที่ 1 หมู 4 เเละหมูที่ 5 เเขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน ปจจุบันเเขวงทาขามเปนที่ตั้งของยานอุตสาหกรรม ทั้งโรงงานเเละบานจัดสรร ดึงดูดผูคนตางถิ่นใหอพยพเขาไปอยูอยางหนาเเนน ปะปนผสมผสานกับชาวบานพื้นถิ่นเดิม ทําใหความเปน มอญของชาวบานที่นี่จืดจางลงไปมาก 4.3 ชุ มชนมอญวัดประดิ ษฐาราม ชาวมอญกลุม นี้ อยู ในซอยสถาบั น ราชภัฏบ านสมเด็ จ เจาพระยาหรือที่เรียกกันวามอญบางไสไก ตามชื่อลําคลองสําคัญที่ไหลผานหมูบานในอดีต คาที่อยูในยานเมือง ใหญทําใหความเปนมอญลดนอยลง ชาวมอญกลุมนี้เคยอยูเมืองทวายเเละมะริด อพยพหนีเขามาในประเทศ ไทยสมัยพระเจา ปดุง ของพมา เนื่องจากถู กหาว าเปน กบฏ ฝายไทยใหไปตั้ งบานอยูเ เถวสะพานพระราม 6


79

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เเถววัดบางละมุดบน โดยรับราชการเปนพวกฝพายเรือหลวง เมื่อมีการยายโรงเรือหลวงจากสะพานพระราม 6 มาที่คลองบางหลวง บริเวณบางไสไกพวกฝพายมอญเหลานี้ก็พากันยายมาตั้งบานเรือนอยูใกลๆ โรงเรือหลวง ดวย ในสมัยรัชกาลที่ 4 กองเรือหลวงนี้อยูในบังคับบัญชาของสมเด็จเจา พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) บางครั้งจึงเรียกวา ทหารเรือบานสมเด็จ หัวหนามอญมี 3 คน คือ นายพุม ตนตระกูล ลักษณะสุต นายพั้ง ตนสกุลสายวิบูลย และนายสง ตนตระกูลพลาสินธุ ทั้งสามคนไมมีบรรดาศักดิ์ ทานเจาพระยาใหไป เป น เสมี ยนทํ า งานอยู ใ นบ า นท า น ส วนพวกลู ก บ า นก็ ตั้ ง บ า นเรื อนอยู บ ริ เ วณนี้ ชาวมอญกลุ ม นี้ ได ส ร า ง วัดประดิษฐารามแตเดิมเรียกวาวัดมอญรามัญ คนมอญบางไสไกปจจุบันเหลือนอยมาก สวนมากมักขายที่แลว ยายไปอยูที่อื่น ที่เหลือสวนใหญเปนคนไทยหมดแลว 5. ชาวลาว อยูที่ชุมชนบางไสไก ใกลกับกลุมคนมอญเเถววัดประดิษฐารามยึดอาชีพทําขลุยมาเเต โบราณ ปจจุบันก็ยังคงทําอยู บรรพบุรุษของตนอพยพมาจากเมืองเวียงจันทนตั้งเเตรุนปู เเตจะมาในรัชกาลใด ไมทราบได แตก็พอปรากฏหลักฐานวาถูกกวาดตอนเขามาสองครั้งใหญ คือ ในสมัยพระเจากรุงธนบุรี ครั้งหนึ่ง เเละอีกครั้งในคราวปราบกบฎเจาอนุวงศ ปจจุบันคนลาวกลุมตางๆในฝงธนบุรีสูญหายไปหมดเเลว ดวยมี จํานวนนอย เเละประเพณีวัฒนธรรมก็ใกลเคียงกับคนไทย จึงผสมกลมกลืนไปจนหมด คนลาวสวนใหญใน ปจจุบันจะหมายถึงคนอีสานที่ยายถิ่นเขามากกวา . 6. ชาวโปรตุเกสและชาวญวน อพยพมาจากกรุงศรีอยุธยา โดยตามพระเจาตากสินเขามา ซึ่งพระองค ไดโปรดเกลาฯใหตั้งบานเรือนอยูรมแมน้ําเจาพระยาใตกุฎีจีน หรือที่เรียกกันวาฝรั่งกุฎีจีน ใกลปอมบางกอก มีศูนยกลางที่สําคัญคือวัดซางตาครูส นับถือศาสนาคริสต นิกายคาทอลิก ลูกหลานของชาวโปรตุเกสกุฎีจีนนี้ได ไดแก ตระกูลทรรทรานนท จันทรดะ ดากรูส สิงหทัต และจาคอป เปนตน ตระกูลเชื้อสายญวน เชน ตระกูล พาณิ ชยเ กษม โกลิลานนท ชาวโปรตุ เกสบริเ วณกุ ฎีจีน ในป จจุบั นสวนใหญไดกลายเปนคนไทยไปหมดแล ว วัฒนธรรมชาวโปรตุเกสที่ยังหลงเหลืออยู คือ ขนมกุฎีจีน (ทิพวรรณ จันทรสถิตย 2547:44) เอกลักษณทางศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นฝงธนบุรี จากปจจั ยในเชิ งประวัติ ศาสตร ภูมิ ศาสตร สภาพพื้ นที่ ความหลากหลายของกลุมชาติพั นธุ และ วัฒนธรรมทองถิ่น ทําใหฝงธนบุรีมีเอกลักษณที่โดดเดนในเชิงศิลปวัฒนธรรมแหงหนึ่งในพื้นที่โดยของกรุงเทพฯ ดังปรากฏในภูมิปญญาทองถิ่นซึ่งนับเปนมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนยานฝงธนบุรีโดยยังคงมีการสืบทอด สิ่งเหลานี้จากบรรพบุรุษในอดีตมาจนถึงปจจุบันมากพอสมควร เอกลักษณที่สําคัญเหลานี้ ไดแก 1. การประกอบอาชีพ แตเดิมสวนใหญจะประกอบอาชีพเพาะปลูกพืชผักผลไม เพราะอยูใกลแมน้ําจะ มีลําคลองผานเขาไปในหมูบาน พืชผลไมในธนบุรีมีรสชาติอรอยซึ่งมีอยูดวยกันหลายพื้นที่ ดังที่ไดกลาวมาแลว ขางตน ปจจุบันการทําสวนผักผลไม ลดจํานวนลงไปมากสวนใหญจะมีอยูบริเวณแถบชานเมือง เชนในเขต บางมด หนองแขม ตลิ่ ง ชั น ส วนอาชี พ อื่ น ๆจะปรากฏในลั กษณะงานหั ต ถกรรมช า งฝ มื อ เช น การหล อ พระพุทธรูปที่บานชางหลอ บริเวณถนนพรานนกขามคลองบานขมิ้น ,การทําขันลงหินบานบุ ในบริเวณริมคลอง บางกอกนอย,การทําฆองวงที่บานเนิน หลังสถานีรถไฟธนบุรี,การทําขมิ้นที่บานขมิ้น การทําปูนที่บานปูนโดย ตั้งอยูระหวาง วัดคฤหสถกับโรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่งผลผลิตของทั้งบานขมิ้นและบานปูนจะเปนสวนผสมอยาง หนึ่งในการทําหมากพลู ปจจุบันไดสูญหายไปหมดแลว นอกจากนี้ยังมีการทําขลุยคือบริเวณบานลาว ชุมชน บางไส ไกในปจจุ บัน ยั ง คงผลิต อยู ,การทํ าที่ น อนของชาวชุ มชนมุ สลิ ม รอบมัส ยิ ดอั น ซอริ ซ ซุน นะห บริ เ วณ ปากคลองบางกอกน อ ย ซึ่ ง ทํ า ด ว ยนุ น เย็ บ มื อ,การประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ งดนตรี ไทยของสมชั ย ชํ า พาลี ที่ ซ อย วัดยางสุทธาราม ถนนพรานนก,งานทองเหลืองและเขาควายที่หมูบานเศรษฐกิจ ในเขตบางแค และบานศิลปะ ไทยหั ว โขนของลุ ง สุ ข ณ บริ เ วณหลั ง มหาวิ ท ยาลั ยราชภั ฏ บ า นสมเด็ จ เจ า พระยา เป น ต น (จารุ ป ภา จองมู 2542:182-198) 2. วัฒนธรรมอาหารการกิน เนื่องดวยความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดินในพื้นที่ธนบุรีจึงเปนเมือง เกษตรกรรมที่มีทั้งพืชผักผลไม แมปจจุบันการทําเกษตรกรรมจะลดจํานวนลงไปอยางมาก หากแตเมื่อเขาไป ตามคลองซอยเล็กๆแถบตลิ่งชัน บางระมาด บางมดก็ยังคงพบเรือกสวนวางตัวอยูเปนหยอมๆเล็ก ใหญบาง ทั้งสวนผักและผลไม การที่ธนบุรีมีผลหมากรากไมจากสวนประเภทตางๆ ผันแปรไปตามฤดูกาลทําใหชาวสวน นําของสวนเหลานั้นมาแปรเปนอาหารในชีวิตประจําวันของตน (อนุรัตน วัฒนาวงศสวาง 2542:167-170) เชน แกงคั่วกระทอน แกงคั่วขาหมูใสตะลิงปลิงแทนผัก แกงปลาชอน แกงเลียง ซึ่งมีทั้งแกงน้ําใสน้ําขน บางสวนที่


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

80

กระรอกหรื อค างคาวชุม ก็จะนํา มาผักเผ็ดหรื อทดกระเทียมพริ กไทย หรื อนิ ยมนํ ามาทํ าเป นแกงคั่ว อาหาร ชาวสวนประเภทยําก็มี เชน ยําสมโอ ยํากระทอน ยําหัวปลี ยํากระทอนกับกุง ยําปูเค็มกับมะดันหรือมะขาม ออนต่ํา โดยเครื่องยํานั้นจะใชน้ําพริกเผาเปนหลัก นอกจากอาหารชาวสวนแลว กลุมชาติพันธุตางๆที่อาศัยใน ธนบุรีก็มีวัฒนธรรมการทําอาหารที่แตกตางกันดวย ไดแก ชาวมุสลิม เชน แกงมัสมัน ขาวหมกไก แกงเปรี้ยว หรือแกงนันจา แกงกรูหมาหรือแกงเนย ซุปหางวัว ขนมปงยาสุม โรตี และขาวบุหรี่ ซึ่งมักนําแตในงานบุญซึ่งมี กรรมวิธีมากในการทํา ,บริเวณชุมชนกุฎีจีนชาวคริสต เชน แกงเหงาหงอดซึ่งคลายกับแกงสมแตมีรสชาติตาง ออกไป ตมมะฝาดซึ่งคลายกับตมจับฉายของจีน เนื้อแซนโม อาหารเหลานี้มักทําในชวงเทศกาลที่สําคัญของ ชุมชน เชน คริสตมาส ฉลองวัด ในสวนของอาหารหวานหรือขนมนั้นที่สําคัญ เชน การทํามะตูมเชื่อมบริเวณ ตรอกมะตูม การทําขาวเมา ขาวเหนียวแดง กะละแมกวนบริเวณตรอกขาวเมา (อิสรภาพ 49) ที่ชุมชนกุฎีจีนยัง มีขนมฝรั่งกุฎีจีน ขนมกวยตั๊ด ขนมกุดสลัง ขนมหนานวล ซึ่งทําในชวงคริสตมาส ยานอาหารฝงธนบุรียังมีที่ นาสนใจอีกหลายแหง เชน ยานวังหลัง พรานนก วงเวียนใหญ ตลาดพลู มีทั้งของคาวหวานมากมาย 3. ศิลปกรรมของทองถิ่น มรดกทางศิลปกรรมของธนบุรีเปนศิลปะที่สืบเนื่องตอมาในระยะเวลาตั้งแต สมัยอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร จวบจนถึงปจจุบันดังปรากฏตามศาสนวัตถุ ศาสนสถานในทางศาสนาตางๆ อาทิ ศิลปกรรมสมัยอยุธยาตอนกลางถึงอยุธยาตอนปลาย พบเห็นจากวัดสําคัญหลายแหง เชน วัดสุวรรณาราม วัดราชโอรสาราม วัดอินทาราม วัดอรุณราชวราราม วัดนางนอง วัดระฆัง วัดโมลีโลกยาราม วัดบุปผาราม ศิลปกรรมสมัยธนบุรี เชน พระราชวังเดิม สมัยรัตนโกสินทรตอนตน เชน วัดกัลยาณมิตร วัดประยูรวงศาวาส วัดพิชยญาติการาม วัดอนงคาราม วัดเวฬุราชิน เปนตน นอกจากนี้ยังมีศาสนสถานที่เปนเอกลักษณของกลุม ชาติพั นธุ ที่มี รู ปลั กษณเ กี่ ยวเนื่ องกับ คติทางอิส ลาม เชน มั ส ยิดตน สน มัส ยิดบางหลวง มั สยิ ดบา นสมเด็ จ กุฎีเจริญพาศน มัสยิดผดุงธรรม เปนตน กลุมชาวคริสต เชน โบสถซางตาครูส ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบอิตาลี กลุ ม ชาวจี น กั บ ศาลเจ า ต า งๆ ฝ ง ธนบุ รี ยัง มี โ บราณสถานที่ น า สนใจอี กหลายแห ง เช น ป อมวิ ชั ยประสิ ทธิ์ นิวาสสถานเดิมของเจาสัวตระกูลตางๆ อาคารเกาแกยานชุมชนดั้งเดิม เปนตน (กุศล เอี่ยมอรุณ 2542 :268– 277,สุวรรณี เครือปาน 2547 :63 –64) 4. มหรสพการแสดง ในสมัยพระเจาตากสินมหาราช การมหรสพในธนบุรีหยุดชะงักไปในชวงตน รัชกาล แตเมื่อบานเมืองเริ่มมั่นคงขึ้น พระองคไดทรงโปรดฯรื้อฟนศิลปะทุกแขนงโดยระดมศิลปนจากเมืองนคร ศรีธรรมาราชมาฝ กหั ด การแสดงละครและมหรสพอื่น ๆแกช าวธนบุรี นอกจากนี้ ยัง ทรงกํ าหนดการแสดง การละเลนหลากหลายชนิดในงานมหรสพสมโภชทั้งงาน พระศพของเจานาย ขุนนาง ตลอดจนสมโภชพระ แกวมรกต การแสดงในขณะนั้นมีทั้งโขน ละครไทย งิ้วจีน งิ้วญวน หุนไทย มอญ จีน ทวาย มโหรีแขก ฝรั่ง ญวน การละเลนพื้นเมืองอื่นๆ โดยใหชนทุกเชื้อชาติที่อาศัยอยูในกรุงธนบุรีไดมีสวนรวม ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการ สรางความสามัคคี ฟนฟูจิตใจและผอนคลายความทุกขของประชาชน (เกื้อกูล ยืนยงอนันต 2546:194) สําหรับ มหรสพในฝงธนบุรีปจจุบันปรากฏใหเห็นอยูนอยมากใน อาทิ วงดนตรีปพาทย ตระกูลพาทยโกศลหรือหลวง ประดิษฐไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง )ที่ตั้งอยูหลังวัดกัลยาณ ,หุนกระบอกของยานชื่น สกุลแกว (ซอยอิสรภาพ 31) คณะสิงหโต มังกร กระตั้วแทงเสือ ซึ่งมีมากในเขตชุมชนชาวจีน และมหรสพรูปแบบใหมที่ภัทราวดีเธีย เตอรชุมชนละครเวทีสมัยใหมที่ชุมชนวัดระฆัง เปนตน (ศิริศักดิ์ คุมรักษา 2542:210–211) 5. ความเชื่อ คนฝงธนบุรีมีความเชื่อที่หลากหลาย แตก็มีลักษณะความเชื่อโดยรวมเชนเดียวกันคน ภาคกลาง เชน ความเชื่อคติทางพระพุทธศาสนาเรื่องกรรม ความเชื่อเรื่องจิต วิ ญาณผีวีร บุรุษ บรรพบุรุ ษ ความเชื่อที่ยึดโยงกับคติแบบพราหมณที่ไดรับอิทธิพลมากในราชสํานัก ความเชื่อของกลุมชาติพันธุที่อาศัยอยู ในธนบุรีไดแก 5.1 ชาวจีน มีความเชื่อที่ผสมผสานกับคติพื้นฐานสําคัญ 3 ประการ คือ ขงจื้อ เตา และพุทธ ศาสนานิ กายมหายาน ในทางปฏิ บั ติข งจื อเน น ความสํ า คั ญ ของการเซ นบู ช า โดยเฉพาะการบูช าเทพเจ า บรรพบุรุษ ลัทธิเตาเนนหลักธรรมชาติเปนสําคัญ รวมทั้งเชื่อวาคนดีถาตายไปจะไดรับการยกยองใหเปนเจา จึงมีเทพเจาใหนับถือเปนจํานวนมาก (สุชาดา ตันตสุรฤกษ 2532:36–40) สวนพุทธศาสนานิกายมหายานให ความสําคัญกับพระพุทธเจา พระโพธิสัตว ตลอดจนพระอรหันตตางๆที่ผูคนเคารพนับถือ ชาวจีนยังนับถือเทพ เจาองคตางๆอีก เชน เทพมังกรเขียว เจาแมจุยโปเนี้ยว โจซือกง เจาพอเสือ เจาพอกวนอู เปนตน (พรพรรณ จันทโรนานนท 2532 :81) นอกจากนี้ยังมีความเชื่อถือในประเพณีปฏิบัติที่สําคัญ เชน ประเพณีกินเจ ตรุษจีน สารทจีน ไหวพระจันทร ทิ้งกระจาด เปนตน


81

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

5.2 ชาวมุสลิม มีคตินิยมที่ยึดมั่นในหลักการของอิสลาม ความเชื่อสวนใหญจึงปรากฏในวัตร ปฏิ บั ติ ต า งๆในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น เช น หลั กศรั ทธา อั น ได แก ความเชื่ อมั่ น ต อ อั ล ลอฮ ต อ ท า น นบีมูหัมมัด และบริวาร อีกทั้งเชื่อมั่นตอคัมภีรอัลกรุอาน ซึ่งเปนธรรมนูญสูงสุด พิธีกรรมของชาวมสุลิมที่สําคัญ เช น การทํ า ละหมาด การถื อ ศี ล อด การบริ จ าคหรื อ การจ า ยซะกาต พิ ธี สุ นั ด การกระรกอบพิ ธี อั จ ญ พิธีอีดิลอัฏฮาหรือพิธีตรุษใหญ (บรรจง บินกาซัน 2542:117–126) ขามหามในศาสนาอิสลาม เชน หามดื่ม น้ําเมาทุกชนิด หามเลนการพนัน กามรับประทานสัตวที่ตายเอง หามออกเงินกูเพื่อคิดดอกเบี้ย หามมีภรรยา เกิน 4 คน เปนตน (ประเสริฐ หลอมทอง 2542:115) 5.3 ชาวคริสต ในธนบุรีซึ่งนับถือนิกายคาทอลิกก็มีหลักความเชื่อทั่วๆไปเกี่ยวกับความคิด หลักๆของศาสนา เชน ความเชื่อวาจุดหมายปลายทางของชีวิตคือสวรรคอันเปนอาณาจักรของพระเจาถาจะ เขาถึงไดตองปฏิบัติตามพระบัญญัติ 10 ประการ เชื่อในหลักตรีเอกภาพ (The Holytrinity) ซึ่งนับถือพระเจา องคเดียวคือพระยะโฮวาหแตแยกออกเปน 3 ภาวะ คือ พระบิดา พระบุตร พระจิต มีศาสนพิธีที่ตองปฏิบัติ เชน พิธีลางบาป พิธีเจิมน้ํามัน พิธีสารภาพบาป พิธีวิญญาณสถิต พิธีแตงงาน พิธีบวช และพิธีลางบาปเมื่อ จวนสิ้นชีวิต เปนตน (ประเสริฐ หลอมทอง 2542:91–97) 5.4 ชาวมอญ นอกเหนือจากความเชื่อในพุทธศาสนาที่ชาวมอญยึดถือแลว ชาวมอญยังมี ความเชื่อในเรื่องผีและการนับถือผี ซึ่งผีมีอยู 4 ประเภท คือ ผีเรือนหรือผีบรรพบุรุษเจาพอ,ผีที่อาศัยอยูตาม ธรรมชาติ เชน ผีตนไม ผีภูเขา แมน้ํา และผีรายซึ่งเชื่อวาสวนใหญมาจากผูตายที่ไมดี นอกจากนี้ชาวมอญ ยังมีความเชื่อเกี่ยวกับการใชชีวิตประจําวัน เชน การเกิด เชื่อในขณะที่ครรภเจริญวัยตองทําพิธีเสียกระบาล เปนรายเดือนไปจนกวาจะครบทศมาส เพื่อปองกันผีไมใหมาทําอันตราย ความเชื่อในเรื่องความฝน เชน ฝนวา ได ดื่ม น้ํา ผึ้ง นํ ามั นงา จะได รับ ความสํา เร็ จความสุ ข ฝ นว าไดดื่มสุ รา เหล า จะตองไดรั บความเดือดร อน เปนตน 5.5 กลุมแขก อาทิเชน ชาวสิกข ที่เนนย้ําในความเชื่อเรื่องการจงรักภักดีตอพระเจา เชื่อใน เรื่องการเวียนวายตายเกิดเชนเดียวกับศาสนาอื่นๆ สวนในศาสนาพราหมณ มีความเชื่อในเรื่องของวิญาณหรือ การเป นอมตะ และเชื่อถือในเรื่องเทพเจาที่หลากหลาย ความเชื่อในเรื่องเหนือธรรมชาติ เวทมนตร คาถา มายาและไสยศาสตรตางๆ มีพิธีกรรมเซนสรวง สังเวยดวยวิธีตางๆ บุคคลจึงประสบความสุขในชีวิตได ความเชื่อเหลานี้ลวนเปนบอเกิดและที่มาของวัฒนธรรมประเพณีตางๆของกลุมชาติพันธุ ซึ่งนับเปน เอกลักษณที่สําคัญของประเพณีทองถิ่นในยานธนบุรี 6.ประเพณีทองถิ่น เนื่องจากความหลากหลายทางดานชาติพันธุจึงทําใหลักษณะของประเพณีประจํา ทองถิ่นในฝงธนบุรีมีความหลากหลายตามไปดวย เชน ประเพณีทองถิน่ ที่เปนเอกลักษณไดแก ประเพณีชักพระ วัดนางชี ประเพณีพิธีแขกเจาเซ็นที่เจริญพาศน ประเพณีทิ้งกระจาดของชาวจีนที่วัดกัลยาณมิตร ประเพณี ถอดพระวัดซางตาครูส ประเพณีสงกรานตบานมอญที่วัดประดิษฐารามและยานบางกระดี่ และยังมีประเพณี อื่น ๆ ได แก ประเพณีแห พระอิศ วรทรงโค ประเพณี แห หลวงพอเกสร วัดท าพระ ประเพณี ทําบุ ญ ที่ศ าลา โรงธรรม บานปูน บานบุ ประเพณีเทศนมหาชาติ วัดมะพราวเตี้ย ประเพณีไหวบูชาพระเจาตาก ประเพณี ถือศีลอดของชุมชนชาวมุสลิม เทศกาลวัดอรุณ เปนตน บทสรุป ธนบุ รี มี ร ากลึ กทางประวั ติ ศ าสตร ค วามเป น มาที่ ยาวนาน มี พื้ น ที่ ทางภู มิ ศ าสตร อัน อุ ดมสมบู ร ณ เหมาะสมแหการตั้งถิ่นฐาน เปนเมืองที่เต็มไปดวยความหลากหลายในเชิงสังคมและวัฒนธรรม กลาวคือ การที่ ประกอบไปดวยผูคนหลากหลายชาติพันธุ อาทิ ชาวจีน ชาวมุสลิม แขก ลาว โปรตุเกส ญวน และชาวไทย เป น ต น เมื่ อ กลุ ม คนเหล า นี้ ไ ด ม าพํ า นั ก ตั้ ง หลั ก แหล ง อย า งมั่ น คงในธนบุ รี แ ล ว ได รั ง สรรค ภู มิ ป ญ ญา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ คานิ ยมอันดีงาม ดังปรากฏในวิถีการดําเนินชีวิตดานตางๆ อาทิ การ ประกอบอาชีพ ศิลปะ หัตถกรรม อาหารการกิน มรหรสพ และอื่นๆ อีกทั้งยังสมารถปรับแปงตนใหเขากับ สภาพความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของสังคมเมืองที่เกิดขึ้นไดอยางสอดคลอง มีชีวิตความเปนอยู อยางผาสุก ดังนั้นหากพิจาณาจากบริบทดังกลาวของยานฝงธนบุรีที่ไดนําเสนอมาขางตนแลวนั้น จึงใหภาพ สะทอนของความเปนตัวตนและเอกลักษณในกลุมชนชาติพันธตางๆที่เต็มไปดวยความหลากหลายฉายภาพ เมืองธนบุรีในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของเมืองหลวงไดเปนอยางดี


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

82

บรรณานุกรม เกื้อกูล ยืนยงอนันต. (2546) .”ภาพสะทอนจากงานมหรสพสมัยธนบุรี” ใน อัควิทย เรืองรอง ( บรรณาธิการ ) สิปปศาสตรรังสรรค รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ บานสมเด็จเจาพระยา. จารุปภา รองมู. (2542). “หัตถกรรมธนบุร”ี ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในใน แผนดินธนบุรี. กรุงเทพฯ : สารคดี. ทิพวรรณ จันทรสถิตย และจิราภรณ มาตังคะ. (2547). “ประวัติศาสตรเมืองธนบุรีโดยสังเขป” ใน ธนบุรีจากอดีตสูปจจุบัน. กรุงเทพฯ : สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุร.ี นิพัทธพร เพ็งแกว และสุดารา สุจฉายา. (2542). “ธนบุรี ภาพเกาของบางกอก”.ใน เพื่อความเขาใน แผนดินธนบุรี. กรุงเทพฯ : สารคดี. พรพรรณ จันทโรธนานนท. (2532). “เทพและความเชื่อของจีน” ในวินัย พงศศรีเพียร (บรรณาธิการ) ศิลปวัฒนธรรมไทย-จีนศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. บรรจง บินกาซัน. (2542). สารานุกรมอิสลามฉบับเยาวชนและผูเริ่มสนใจ. กรุงเทพฯ : อัลอะมีน. ประเสริฐ หลอมทอง. (2542). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา. สุชาดา ตันตสุรฤกษ. (2532). โพยกวน :การสงเงินกลับประเทศโดยชาวจีนโพนทะเลในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุนันทา โชติกเสถียร. (2547). “ธนบุรี : ลักษณะทางภูมิศาสตร”. ใน ธนบุรี จากอดีตสูปจจุบัน. กรุงเทพฯ : สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุร.ี สุวรรณี เครือปาน. (2547). “ศิลปกรรมในธนบุร”ี . ใน ธนบุรี จากอดีตสูปจจุบัน. กรุงเทพฯ : สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุร.ี เสาวนีย จิตตหมวด. (2547). “มุสลิมในธนบุร”ี ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการนานาชาติ ไทยศึกษา ธนบุรี : เมืองหลวงของไทยในอดีต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. (2547). “ธนบุรี : นครสองฝงน้ํา”. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการนานาชาติ ไทยศึกษา ธนบุรี : เมืองหลวงของไทยในอดีต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุร.ี ศิริศักดิ์ คุมรักษา. (2542). “คนฝงธน” ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในในแผนดิน ธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. ----------. (2542). “มหรสพยานฝงธน” ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในในแผนดิน ธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. ----------. (2542). “ประเพณียานฝงธน” ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในในแผนดิน ธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. อนุรัตน วัฒนาวงศสวาง. (2542). “เรือกสวน คูคลอง และดินตอนบนตะกอนปากแมน้ํา”. ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในในแผนดินธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. -----------. (2542). “ กับขาวสวนและขนมโบราณในธนบุร”ี . ใน สุดารา สุจฉายา ( บรรณาธิการ ) เพื่อความเขาในในแผนดินธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. -----------. (2542). “ที่ตั้ง อาณาเขต และการปกครอง” ใน สุดารา สุจฉายา (บรรณาธิการ) เพื่อความเขาในในแผนดินธนบุร.ี กรุงเทพฯ : สารคดี. อิทธิพร ขําประเสริฐและคณะ. (2544). โครงการสํารวจมรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุร.ี โปรแกรม วิชาสังคมศึกษา กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา. (เอกสารอัดสําเนา). ----------------------------------------------------


83

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สถานการณของภาคประชาสังคมในประเทศไทย1 อิทธิพร ขําประเสริฐ2

ผลจากกระบวนการโลกาภิ วัตน ที่ส รา งการเคลื่ อนย า ยทุน ผูค น เศรษฐกิ จ และวั ฒนธรรมที่ ข า ม พรมแดนรั ฐ ชาติ นั้น ในดา นหนึ่ ง สิ่ง เหล านี้ ไดส ร างป ญหาให กับ ท องถิ่ น สัง คม เศรษฐกิ จ สิ่ งแวดล อมและ การเมืองเปนอยางมาก รัฐและตลาดไมสามารถที่จะเขามาคลี่คลายและแกไขปญหาได หรือแมกระทั่งองคการ ระหวางประเทศ เชน ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) สหประชาชาติ ที่สนับสนุนในแนวคิด เสรีนิยมใหม การสงเสริมประชาธิปไตยเพื่อเอื้อตอการแกไขปญหาดังกลาวก็ไมสามารถแกไขได ผลจากสิ่ง เหลานี้ จึงทํา ใหเกิ ดการคิดทบทวนย อนกลั บ ตั้ง คําถาม ตอเรื่องการพั ฒนาที่ ผานมา โดยการหันกลั บมาให ความสําคัญกับผูกระทํา (Actor) ที่ไมใชรัฐ ซึ่งก็คือ บทบาทของขบวนการภาคประชาชน โดยเฉพาะการเปด พื้นที่ทางสังคม การเมืองและเศรษฐกิจใหกับภาคประชาสังคมและองคการพัฒนาเอกชนไดเขามามีบทบาทมาก ขึ้นในการพัฒนา เชน เดี ยวกั บประเทศไทยที่ ไดรั บอานิ สงฆ จากกระแสโลกาภิวัตน นี้ดวย ปญ หาจากการพัฒนาของ ภาครัฐ และตลาด ผานอภิมหาโครงการตางๆ โดยเฉพาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตั้งแตฉบับที่ 1–7 ไมสามารถสนองความตองการของประชาชนได มิหนําซ้ํายังสรางปญหาใหกับภาคประชาชนในหลายดาน เชน การแบงปนทรัพยากรที่ไมเทาเทียม การกระจายรายไดที่ไมเปนธรรม การจัดสวัสดิการไมทั่วถึงมีการ เลือกปฏิบัติ ,การจัดระบบเศรษฐกิจที่ไมดีเกิดความขาดแคลนสินคาและการผลิตที่ไรประสิทธิภาพ มาตรฐาน การดําเนินชีวิตที่ต่ํา รวมไปถึงการตองประสบกับปญหาสิ่งแวดลอมทางสังคมและกายภาพตางๆ ปญหาเหลานี้ คือ “วิกฤตของรัฐ” (crisis of state) เปนเหตุใหภาคประชาชนจึงตั้งกลุมของตนขึ้นมาเพื่อเรียกรอง ตอสู ปะทะ การชวงชิงการนํา ตอสิ่งที่เกิดขึ้นกับการพัฒนา สิ่งนี้จึงเปนที่มาของภาคประชาสังคมนั่นเอง นิยามประชาสังคม สําหรับแนวคิดเรื่อง ภาคประชาสังคมในประเทศไทยที่ปรากฏขึ้นนับวามีอยูหลากหลาย โดยมีการ นิยาม ตามมุมมองของนักวิชาการหลายทาน อาทิ อเนก เหลาธรรมทัศน (2542:35) กลาววา ประชาสังคม หมายถึง เครือขาย กลุม ชมรม สมาคม มูลนิธิและชุมชนที่มีกิจกรรมหรือมีการเคลื่อนไหวอยูระหวางรัฐ (State) กับปจเจกชน (individuals) โดยจุดเนน ของประชาสังคมคือ 1)ไมชอบและไมยอมใหรัฐครอบงําหรือบงการ แมวาจะยอมรับความชวยเหลือจากรัฐและมี ความรวมมือกับรัฐได แตก็สามารถชี้นํากํากับ คัดคานรัฐได 2)ไมชอบลัทธิปจเจกนิยมสุดขั้ว ซึ่งสงเสริมใหคน เห็นแกตัว ตางคนตางอยูแกงแยงแขงขันกันจนไมเห็นแกผลประโยชนสวนรวม หากแตสนับสนุนใหปจเจกชน รวมกลุมรวมหมูและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม โดยไมปฏิเสธการแสวงหาหรือปกปองผลประโยชนเฉพาะ สวนเฉพาะกลุม 1

บทความชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา สังคมวิทยาประเทศกําลังพัฒนา หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

84

อนุชาติ พวงสําลีและคณะ (2542:287-288) อธิบายวา ประชาสังคม (the voluntary หรือ civil society) ทํ า หน า ที่ ถวงดุ ล กํ า กั บ หรื อตรวจสอบการดํ า เนิ น งานของทั้ ง ภาครั ฐ และภาคธุ ร กิ จให เ กิ ดความ ชอบธรรม รวมทั้งสงเสริมใหพลเมืองมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมเพื่อชีวิตสาธารณะที่มีคุณภาพดี ซึ่งหากจะ ทําใหเปนรูปธรรมมากขึ้น อาจพิจารณาไดจากประเภทของกลุม องคกรหรือสถาบันตางๆในภาคประชาสังคม ที่แบงคราวๆเปน 5 สวน คือ 1)องคกรประชาสังคม (Civil Society Organization : CSO) 2)สถาบันตุลาการ (The Judiciary) 3)สถาบันสื่อมวลชน (The Press) 4)รัฐสภาและองคการบริหารสวนทองถิ่น (Parliament & Local Council) และ 5) องคกรตรวจสอบอิสระ (Independent Accountability Organization) ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร (2542:80-81) ใหความเห็นวา ประชาสังคมเปนผลขบวนการเคลื่อนไหวของ ภาคประชาชน (Social Movement) เพื่อนําไปสูการปกครองในรูปแบบของประชาธิปไตยแบบเขมขนและมีที่ วางใหกับความแตกตางหลากหลาย (the radical and plural democracy) มากกวาระบอบประชาธิปไตย แบบตั ว แทน/ระบอบประชาธิ ปไตยแบบเสรี นิ ยม ด ว ยการหั น กลั บ มาเน น ในเรื่ อ ง“ความเป น พลเมื อ ง” (citizenship)“ความเป น การเมือง” (the political) และ“สิ ทธิ ในการไม เชื่ อฟง รัฐ ของประชาชน” (civil disobedience) มุงการสรางขีดจํากัดใหรัฐ มากกวามุงสลายรัฐ เปนการเปดพื้นที่ทางการเมือง/พื้นที่สาธารณะ (political space/public space) อีกแบบหนึ่งขึ้นมา ที่ไมใชรัฐ ไมใชระบบเศรษฐกิจและไมใชเรื่องสวนตัว เปนพลังที่อยูนอกสถาบันการเมืองที่ดํารงอยู จากนิยามดังกลาวขางตนทําใหเห็นถึงมิติความสัมพันธของภาคประชาสังคมตอภาคอื่นๆโดยเฉพาะ มิติความสัมพันธกับรัฐ ในหลายลักษณะ กลาวคือ 1) เปน ขั้ วตรงข า มกั บ รัฐ ที่ต อตา น/คั ดคา น/ปฏิ เสธการเกี่ ยวโยงกั บ รัฐ เนื่ องจากไม ไว วางใจการ แทรกแซงจากรัฐ หรือขาดความมั่นใจในศักยภาพของรัฐที่จะเขามาชวยเหลือ 2) ใหความรวมมือกับรัฐ เพราะมองวาจะเปนประโยชนตอการดําเนินงานหากรวมมือกัน ซึ่งสามารถ แบงได 2 ลักษณะ คือ ก) รวมมือกับรัฐอยางเต็มที่ โดยมองวารัฐมีสถานะเปนสวนหนึ่งของสังคมภาพรวมที่มี เปาหมายเดียวกันตอการพั ฒนาประเทศ ข) รวมมือกั บรัฐในสถานการณที่จําเปน เทานั้น เนื่องจากตองการ รักษาความเปนอิสระของกลุม องคกร ในการดูแลปญหาตนเองอยางเต็มความสามารถ หากรวมมือกับรัฐแลว จะทําใหการดําเนินการดีขึ้นก็รวมได 3) เปนความสัมพันธทั้งใหความรวมมือ หรือตอตาน ตามแตสถานการณที่เกิดขึ้น กลาวคือหากเห็นวา รัฐดําเนินการถูกตอง ก็สามารถใหการสนับสนุน แตหากเห็นวาแนวการดําเนินการของรัฐขาดความชอบธรรม และจะสงผลกระทบตอองคกร ชุมชน สังคม ก็จะลุกขึ้นคัดคานอยางเต็มที่ อยางไรก็ตามนิยามภาคประชาสังคมขางตนเปนเพียงสวนหนึ่งเทานั้นที่ผูเขียนนําเสนอ เพราะยังมี นักคิด/นักวิชาการอีกหลายทานที่ไดนิยามภาคประชาสังคมไว โดยเฉพาะในงานของ เชษฐา ทรัพยเย็น ไดสรุป ไวในบทความของเขาเรื่อง “ประชาสังคมไทย : บทสังเคราะหแนวคิด,การกอรางสํานักคิดแบบไทย และนัยเชิง นิติ-พฤตินัยตอการเมืองไทย ”ที่สรุปไวไดอยางนาสนใจ สถานการณในประเทศไทยที่สงเสริมและทําลายภาคประชาสังคมไทย สถานการณ ในประเทศไทยในความคิดของผู เ ขียนมี ทั้ง ที่ส นั บ สนุ นและทํ า ลายภาคประชาสั ง คม ซึ่งสามารถแบงไดดังนี้ ดานการสงเสริมมีหลายสถานการณที่สงเสริม เชน 1) ชองทางจากรัฐธรรมนูญ 2540 ไดมีการระบุมาตราที่สําคัญเพื่อเปดโอกาสใหประชาสังคมไดแสดง ตนตอสาธารณะ เชน มาตรา 45 ที่รับรองเสรีภาพในการรวมตัวกันของประชาสังคมตางๆ ซึ่งในอดีตที่ผานมา รัฐธรรมนูญฉบับกอนๆ ยังไมมีความชัดเจนโดยเฉพาะอยางยิ่งการตีความคําวา“หมูคณะอื่น”แตรัฐธรรมนูญ ฉบับปจจุบันไดใหความหมายรวมถึงประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชนดวยดวย มาตรา 46 ที่รับรองสิทธิของ ประชาสั ง คมที่ ร วมกั น เป น ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ในเรื่ อ งการดู แ ลจั ด การจารี ต ประเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม มาตรา 199 ที่ เ ป ด โอกาสให ผู แ ทนองค ก รเอกชน เข า ไปอยู ใ น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มาตรา 170 ที่เปดโอกาสใหผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวา 5 หมื่น คน สามารถเสนอพระราชบัญญัติและถอนถอนนักเมืองได ก็เปนการสนับสนุนใหประชาสังคมรูปแบบตางๆไดมี สวนรวมในทางการเมืองมากขึ้น (สมคิด เลิศไพฑูรย 2542:228-229)


85

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2) ภาครัฐเริ่มเห็นศักยภาพของภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน เปดโอกาสใหเขามาแกไข ปญหาเชิงนโยบายมากขึ้น ตัวอยางเชน การระดมความคิดเห็นจากทุกภาคสวนเพื่อรางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 และ 9 ที่เนนการทํางานแบบลางขึ้นบน มีการสงเสริมกิจกรรมประชาสังคมทุก จั ง หวั ด ผลั ก ดั น โครงการประชาคมตํ า บล อํ า เภอ โดยร วมมื อกั บ สถาบั น การศึ กษา สถาบั น วิ จั ยพั ฒนา นอกจากนี้หนวยงานของรัฐบางหนวยงานที่เปดรับแนวคิดการพัฒนาใหมๆ ที่สรางประสานการทํางานรวมกัน เชน กระทรวงสาธารณสุขที่ใหโครงการตางๆที่องคกรพัฒนาเอกชนและประชาสังคมขอเสนอมา โดยเฉพาะใน เรื่องของการปองกันและควบคุมโรคเอดส 3) ภาคธุรกิจ ที่อาจเปนทั้งฝายสนับสนุนการเกิดองคกรประชาสังคมและทั้งเปนผูดําเนินกิจกรรมใน ลักษณะประชาสังคมเอง เชน การสนับสนุนดานเงินทุนผานโครงการหรือกลุมตางๆ หรือจัดตั้งองคกรหรือ สถาบันที่ดําเนิ นกิจกรรมลักษณะประชาสัง คม เชน โครงการ Think –Earth โครงการตาวิ เศษของมูลนิ ธิ สรางสรรคไทย โครงการรักเรารักษของบริษัทสิทธิผลมอเตอร มูลนิธิพัฒนาชีวิตชนบทของบริษัทในเครือเจริญ โภคภัณฑมูลนิธิสื่อสรางสรรคของบริษัทบางจาก เปนตน (กาญจนา ตั้งชลทิพย 2542:255) 4) ภาคประชาสังคมยังไดรับการสงเสริมจากองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) หลายดานจากการตอสูเพื่อ แกไขปญหาตางๆของภาคประชาสังคม ทั้งการแกไขปญหาเชิงเทคนิค เชิงวิชาการ ที่ภาคประชาสังคมยังขาด เครื่องมือตอการทําความเขาใจสถานการณที่เกิดขึ้น ทํางานในฐานะเปนผูที่ประสานงานระหวางภาคประชา สังคมกับรัฐ หรือการสนับสนุนในดานเงินทุนชวยเหลือภาคประชาสังคม 5) บทบาทของสื่อที่เขามาในการพัฒนากระบวนการประชาสังคมในไทย ดวยการเปนกระบอกเสียง ใหกับกลุมผูดอยโอกาสในสังคม ใหมีโอกาสเรียกรองสิทธิของตนเองในหลายเรื่อง อาทิ สิทธิในที่ดินทํากิน ดาน แรงงาน การไดรับ ดูแลด านสาธารณสุ ขจากรัฐ ตั วอยางเชน ในหนั งสือพิม พมติช น สยามรัฐ ที่เปดพื้นที่ให บุคคลในภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชนเผยแพรแนวคิดในรูปของบทความ หรือสื่อพิมพบางฉบับ อาทิ ผูจัดการรายวันที่มีสวนและหนาของประชาสังคมเพื่อรองรับความเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมและ องค กรพั ฒนาเอกชน ,มติช นที่ มีหน าของชุ มชนเมื องขึ้ นมาโดยเฉพาะ หรือสื่ ออื่ นๆ เช น วิ ทยุไทย ที่มี การ ปรากฏตัวขึ้นของ จส.100 รวมดวยชวยกัน เปนตน (ชวรงค ลิมปปทมปาณี 2542:173-174) 6) บทบาทของกลุมนักวิชาการ มีกลุมนักวิชาการหลายกลุมที่สนับสนุนการดําเนินงานของภาคประชา สังคม ทั้งนักวิชาการในมหาวิทยาลัย นักวิชาการอิสระ เชน กรณีปญหาน้ําเสียในลุมน้ําทาจีน ที่มีนักวิชาการทั้ง จากมหาวิทยาลัยมหิดล เกษตรศาสตรที่เขามาชวยเหลือชวยบาน หรือแมแตการที่นักวิชาการผันตัวเองเขาสู การเมืองในระบบ เพื่อเขาไปนําป ญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาอันมีผลกระทบตอชาวบานไปใหรัฐรับรู รับ รู ขอมู ล ที่ ถูกป ดบั ง จากรั ฐ การสนั บสนุ น เงิ น ทุ น แก ประชาสั ง คมเพื่ อไปศึ กษาดู ง าน และแก ไขป ญ หาอื่ น ๆ ตัวอยางเชน ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เจิมศักดิ์ ปนทอง เปนตน สถานการณที่ทําลายภาคประชาสังคมไทย เชน 1) การทําลายภาคประชาสังคมจากรัฐ ถึงแมวารัฐจะเกื้อหนุนภาคประชาสังคมในประเด็นบางอยาง เช น การสนั บ สนุน การก อตั้ ง ภาคประชาสั ง คมในชุ มชนตามจั ง หวั ดตา งๆ แต ในทางกลั บ กั น รู ปแบบของ เคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมก็ไดรับการตอบสนองจากรัฐที่แตกตางกันดวย กลาวคือ หากเปนการผลักดัน หรือเคลื่อนไหวที่ไมกระทบตอความมั่นคงหรืออํานาจรัฐ ภาครัฐจะยอมเปดทางให แตหากเปนการเคลื่อนไหว ในประเด็นหรือกรณีที่พัวพันกับผลประโยชนของรัฐและกลุมทุน รัฐก็จะใชอํานาจจํากัดการตอรองของภาค ประชาสังคม ดังจะเห็นไดจากที่มีการสรางกลุมเพื่อตอตานการเรียกรองของชาวบานซึ่งรัฐและกลุมทุนเปนผูที่ อยูเบื้องหลัง (สรางม็อบชนม็อบ) ไมวาในกรณีสมัชชาคนจน เขื่อนแกงเสือเตน และบางครั้งมีการปราบปราม อยางรุนแรง ซึ่งไมคอยไดรับความสนใจจากสาธารณชน การปราบปรามปรากฏในรูปของการลอบสังหารผูนํา ชาวบาน การยุแยงใหชาวบานแตกความสามัคคี ผานกลุมผูนําชุมชนซึ่งกลุมคนเหลานี้ไมเคยเปนตัวแทนที่ดี ของชาวบานเลย เชน กํานัน ผูใหญบาน ครู พระสงฆ นอกจากนี้ ตัวแทนที่สําคัญของการเมืองในระบบทั้งใน ระดับชาติ อยาง สส.และระดับ ทองถิ่ น เช น สมาชิกอบจ. อบต. กลับเพิ กเฉยต อผลกระทบที่ จะเกิ ดขึ้นต อ ชาวบาน มิหนําซ้ํายังเปนฝายตรงขามกับชาวบานดวย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

86

2) การทําลายภาคประชาสังคมจากองคกรพัฒนาเอกชน ในบางครั้งการทํางานขององคกรพัฒนา เอกชนที่เขาไปทํางานกลับภาคประชาสังคมกลับเขาไปจัดการแบบเบ็ดเสร็จพูดแทนชาวบาน ซึ่งในความเปน จริงองคกรพัฒนาเอกชนควรเปดพื้นที่ใหชาวบานพูดดวยตัวเองมากกวา หรือบางครั้งลักษณะการทํางานของ องคกรพัฒนาเอกชนที่ มีลักษณะประนีประนอมกับรัฐตอประเด็น ที่เกิดขึ้นกับชาวบาน หากแตชาวบานกลั บ มุง มั่ นต อสูเ พื่ อประโยชนข องพวกเขาอย า งจริ ง จัง จึ ง นํา ไปสูคํ า ถามที่วา องค กรพั ฒนาเอกชนจะรูดีกว า ชาวบานไดอยางไร? นอกจากนี้ การทํางานรวมกันขององคกรพัฒนาเอกชนนักวิชาการกับชาวบานอาจนําไปสู การเปลี่ยนแปลงประเด็นการเรียกรองของชาวบานก็เปนไปได บรรณานุกรม กาญจนา ตั้งชลทิพย. (2542).“กลุมและองคกรสาธารณะประโยชนในสังคมไทย”. หนา 255 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ชวรงค ลิมปปทมปาณี. (2542). “บทบาทสื่อมวลชนกับการพัฒนาความเปนประชาสังคม”. หนา 173–174 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการประชาสังคมไทย : ความ เคลื่อนไหวภาคพลเมือง .กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. (2542). “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหมและนัยยะเชิงทฤษฎีตอการ พัฒนาประชาธิปไตย”.หนา 80-81 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง .กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนา ประชาสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล. สมคิด เลิศไพฑูรย. (2542). “ขบวนการประชาสังคม : นัยเชิงกฎหมายและนโยบาย”. หนา 228–229 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการประชาสังคมไทย : ความ เคลื่อนไหวภาคพลเมือง .กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. อเนก เหลาธรรมทัศน.(2542). “สวนรวมที่มิใชรัฐ : ความหมายของประชาสังคม” หนา 35 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. อนุชาติ พวงสําลี และคณะ.(2542). ”บทสังเคราะหความเคลื่อนไหวของภาคีอันหลากหลายในขบวนการประชา สังคมไทย”.หนา 287 -288 ใน อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล (บรรณาธิการ) ขบวนการ ประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง .กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ----------------------------------------------------


87

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เปรียบเทียบบทบาทของภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน กรณีสาธารณรัฐฟลิปปนสและประเทศสิงคโปร1 อิทธิพร ขําประเสริฐ2

สภาพทั่วไป สาธารณรัฐฟลิปปนสมีพื้นที่ 119,268 ตารางไมล ลักษณะทางกายภาพเปนหมูเกาะจํานวนมากถึ ง 7,100 เกาะ มีกลุ ม หมู เ กาะใหญ 3 กลุ ม คื อ ลู ซ อน วิ ส ายาส และมิ น ดาเนา นครหลวงคื อ เมื องมะนิ ล า มีประชากรจํานวน 73 ลานคน (ป 2000) ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิก รอยละ 82.9 โปรเตสแตนส รอยละ 9 มุสลิมรอยละ 5 อื่นๆ รอยละ 3 นอกจากนี้ยังมีชนลุมนอยเผาตางๆ และกลุม ชาวมุสลิม จีน มีภาษาฟลิปโน (รากฐานมากจากภาษาตากาล็อก) ใชเปนภาษาพูด และใชภาษาอังกฤษเปน ภาษาราชการ ในวงการธุรกิจ การเรียนและการสอน มีการปกครองดวยระบบประธานาธิบดี มีการแบงเขตการ ปกครองออกเปน 78 จังหวัด โดยมี 13 ภูมิภาค กับเขตภูมิภาคเมืองหลวง เขตการปกครองตนเองในมินดาเนา และเขตการปกครองชาวเขา ในระดั บ ทองถิ่ นมี เ ทศบาลนคร 83 แห ง เทศบาล 1,524 แหง และ 43,939 บางรังไกในทางเศรษฐกิจมีภาคเกษตรกรรมเปนหลัก แตก็มีการสงเสริมทางดานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินคาที่ เปนที่ตองการของตลาดภายในประเทศ สินคาสงออกที่สําคัญ คือ อิเล็กทรอนิสและเครื่องมือ เสื้อผาสําเร็จรูป ผลผลิตจากมะพร าว แร ธาตุ เฟอรนิ เจอร เคมีภัณฑ อุตสาหกรรมการเกษตร สินค านํา เขา คือ พลั งงาน เชื้อเพลิง อุปกรณโทรคมนาคม เปนตน สิงคโปรเปนประเทศที่มีสภาพเปนเกาะ มี พื้นที่ทั้ง หมด 254 ตารางไมล กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ตกอยู ภายใต การปกครองของอั ง กฤษ เมื่ อหลั งสงครามสิ้ น สุ ดลงอัง กฤษไดแยกสิ ง คโปร ออกจากสหพั น ธ มาเลเซีย และไดรับเอกราชในป 1965 มีประชากรประมาณ 7 % เปนคนเชื้อสายจีน และมีกลุมชาวมาเลย 14 % อินเดีย 8 % ซึ่งเปนคนสวนนอย ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ เตา และศาสนาอิสลาม คริสต ฮินดู เปนสวนนอย สิงคโปรใชภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลางเปนภาษาราชการ มีระบบการปกครองแบบ ประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเปนประมุข และนายกรัฐมนตรีเปนฝายบริหาร สิงคโปรเปนประเทศที่ไมมี ทรัพยากรธรรมชาติ แตประสบความสําเร็จในทางเศรษฐกิจอยางสูงเพราะสิงคโปรเปนประเทศที่มีความถนัดใน การเจรจาการคา เป นผู แทนจํา หน า ยสิ นค า ระหว างประเทศคู ค า สิน ค าทั้ งนํ าเข าและส งออกจึง เปน ไปใน ลักษณะเดียวกัน อาทิ ผลิตภัณฑจากปโตเลียม สวนประกอบเครื่องใชไฟฟา เครื่องยนต เหล็กกลา สารเคมี สิ่งทอ อาหารและเครื่องดื่ม เปนตน (สีดา สอนศรี 2545,2544)

1

บทความชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา สังคมวิทยาประเทศกําลังพัฒนา หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

88

ระดับของเสรีภาพทางการเมือง “ฟลิปปนสมีระดับเสรีภาพทางการเมืองมากกวาสิงคโปร” เมื่อพิจารณาจากประวัติศาสตรการเมืองของฟลิปปนสนับวารัฐและสภาพการณในแตละชวงเวลาได เปดพื้นที่ทางการเมืองใหกับภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชนมาก ตั้งแตแรกเริ่มซึ่งการปกครองของ ฟลิปปนสที่ตกภายใตอาณานิคมของสเปน (คศ.1521–1898) และสหรัฐอเมริกา (คศ.1899–1946) ที่สงเสริม การมีสวนรวมของประชาชน โดยเฉพาะในรูปแบบการปกครองที่มลี ักษณะเปดกวางคลายกับสหรัฐ ที่ขั้วอํานาจ ทางการเมืองสามารถที่จะใหตัวแทนของตนเอนเขาไปทําหนาที่บริหารงานที่สําคัญในรัฐบาลได ในสมัยเด็ จการมาร กอสป 1972–1986 ถึ งแม จะมี การประกาศกฎอั ยการศึก รั ฐกล าวหาองค กร ประชาชนและองค กรพั ฒนาเอกชนว า เป น ผู ที่ฝ กใฝในอุ ดมการณ ค อมมิ วนิ ส ต และมี การตั ดงบประมาณ ปราบปรามดวยวิธีการตางๆก็ตาม หากแตสิ่งนี้กลับทําใหองคกรประชาชนและองคกรพัฒนาเอกชนเกิดขึ้นมาก โดยเฉพาะการทํางานในประเด็นประชาธิปไตย ในกลุมของนักศึกษา แรงงาน ชาวนา กระทั่งในสมัยคอรา ซอน อากีโน (1986 -1992) ที่เปนชวงเฟองฟูของเสรีภาพทางการเมือง เธอดําเนินการแกไขรัฐธรรมนูญเพื่ออุด ชองวางในการแสวงหาผลประโยชนของนักการเมืองและใหองคกรพัฒนาเอกชนมีบทบาทในการรางรัฐธรรมนูญ และแผนพัฒนาประเทศ หรือในระดับ ทองถิ่ น องคกรประชาชนก็ส ามารถเขา มามีส วนรวมในการกํา หนด นโยบายของทองถิ่ นตนเอง หรือแมกระทั่ง การกอตั้ง พรรคการเมื องขององคกรพัฒนาเอกชนและองค กร ประชาชนเพื่อลงชิงตํ าแหนงประธานาธิบดี ซึ่งสามารถทําใหเข าไปทํางานในรัฐสภาได ตอมาในสมัยฟเดล รามอส (1992–1998) ได เ นน การพั ฒนาประชาธิ ปไตย สร า งนโยบาย “Vision 2000”เน น การให อํานาจ ประชาชนในการคิด วิเคราะหปญหา และรวมตัวกันพัฒนาชุมชนของตัวเอง (Takeshi Kawanaka 2002:111124) ขณะที่ประเทศสิงคโปรมรี ะดับเสรีภาพทางการเมืองนอยมาก ดังจะเห็นไดจากกอนการไดรับเอกราช จากอังกฤษ องคกรประชาชนเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก สวนใหญจะเปนกลุมชวยเหลือกันเองตามกลุมเชื้อสาย ตางๆทั้งชาวจีน อินเดีย มาเลย โดยเฉพาะกลุมสมาคมสายตระกูลของชาวจีน ที่มีจํานวนมาก แตพอหลังจาก ไดรับเอกราชจากอังกฤษในป 1965 ถึงตนทศวรรษ 1980 ระดับเสรีภาพทางการเมืองของประชาชนลดลงอยาง เห็นไดชัดเจนทั้งนี้เปนผลมาจากการขึ้นครองอํานาจทางการเมืองของพรรคกิจประชา /PAP ( People ‘s Action Party ) ภายใตการนํ าของนายลี กวน ยู เปน เวลานานถึง 25 ป นโยบายของเขาเนนการพัฒนา เศรษฐกิจ และการสรางสวั สดิการทางสัง คมครอบคลุม ควบคุม องคกร สมาคม ชมรม การแสดงออกของ ประชาชนกลุมตางๆ ดวยระเบียบวินัยที่เครงครัด ใชกฎเหล็ก อํานาจเผด็จการ ชี้นําประชาชน ควบคุมพรรค ฝายคานและสื่อมวลชนในและนอกประเทศอยางจริงจัง จนกระทั่งมีการวิจารณรัฐบาลสิงคโปรจากนานาชาติวา เปนรัฐบาลที่ปกครองเยี่ยงบิดา ( Paternalistic style of government ) ที่คิดวารัฐบาลแตเพียงผูเดียวที่รูวา อะไรดีสําหรับชาวสิงคโปร ไมเปดโอกาสใหประชาชนคิดเอง เลือกเอง รัฐบาลสงเคราะหประชาชนมากจนทําให เปนคนออนแอตองพึ่งพิงแตรัฐ นอกจากนั้นยังสงเสริมประชาธิปไตยแบบเอเชีย (Asian Democracy) ซึ่งให ความสําคัญแกสังคมโดยรวม มากกวาสิทธิ เสรีภาพและหลักปจเจกชนนิยม (โคริน เฟองเกษม. 2546) อยางไรก็หลังจากการลงจากอํานาจของลี กวน ยู โดยมี นายโก ะ จก ตง ในป 1990 เขาก็มีทา ที ประนี ประนอมและยอมรับฟงความคิดเห็นของทุกฝายมากขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการและความคาดหวัง ของชาวสิงคโปรที่มีการศึกษาสูงขึ้น มีฐานะดีขึ้น มีชนชั้นกลางมากขึ้นและกระแสการเรียกรองประชาธิปไตยที่ เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะนโยบายระดับชาติ “Singapore 21” ที่เนนถึงบทบาทของภาคประชาสังคมซึ่งกําหนดให อยูใน 1 จาก 5 หลักการของการพัฒนาสิงคโปร (Yayoi Tanaka 2002:200-221) ระดับของเสรีภาพทางเศรษฐกิจ “ ฟลิปปนสมีระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจมากกวาสิงคโปร แตสิงคโปรมีสภาพทางเศรษฐกิจที่ดีกวาฟลิปปนส ”


89

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จากระดับของเสรีภาพทางการเมืองในฟลิปปนสที่เปดกวางสําหรับภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนา เอกชนจึงมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการเปดเสรีภาพทางเศรษฐกิจจากรัฐ ภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนา เอกชนหลายหนวยงานไดเขาไปมีบทบาทในภาครัฐ เปนผูนําสําคัญในทางการเมือง ในพรรคการเมืองเขาไป ชวยสรางนโยบายแกไขปญหาทางการเมือง และเศรษฐกิจ ดังปรากฏเห็นในชวงป 1986 เปนตนมา รัฐบาลจะ ใหความสํ าคัญมากต อภาคประชาสั งคมและองคกรพัฒนาเอกชน ทุกกระทรวงจะมีโ ตะขององคกรพัฒนา เอกชนปรากฏอยู โดยเฉพาะกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงการปฏิรูปที่ดิน ดังนั้ น การนําสงบริการทางเศรษฐกิจและสังคมในฟลิปปนสจึงถูกดําเนินการโดยภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนา เอกชน สาเหตุสําคัญที่ทําใหภาคประชาสังคมไดเขาไปมีบทบาทมากในทางเศรษฐกิจก็เปนเพราะ 1)การที่ระบบ กลไกของพรรคการเมืองไมเขมแข็งและมีนโนบายที่หละหลวม มีการติดตอเกี่ยวพันระหวางสถาบันกับผูนํา ทางการเมืองและผูสนับสนุนไมดีพอ อุดมการณภายในไมชัดเจน ณ จุดนี้ ภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนา เอกชนจึงเขาไปมีบาทบาทชวยเหลือพรรคการเมืองในดานตางๆ 2)รัฐขาดเครื่องมือ เทคนิคในการทํางานกับ ประเด็นปญหาตางๆกับชาวบาน อีกทั้งยังขาดเงินทุนที่ในการที่จะมาพัฒนาประเทศ ซึ่งภาคประชาสังคมและ องค ก รพั ฒ นาเอกชนได รั บ เงิ น ทุ น ช ว ยเหลื อ จากองค ก รทั้ ง ในและต า งประเทศหลายหน ว ยงาน เช น USAID,CIDA,DIPA ,PBSP,EPE เปนตน จึงเปนเหตุใหรัฐเปดกวางใหภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชน เขามามีบทบาทในการพัฒนามาก (สีดา สอนศรี 2543) เมื่ อหั น กลั บ มาพิ จารณาถึง ประเทศสิง คโปร ระดับ ของเสรี ภาพทางเศรษฐกิจกลับ ตรงกัน ข ามกั บ ฟลิปปนส เพราะรัฐบาลสิงคโปรโดยเฉพาะภายใตการดําเนินการทางการเมืองเมืองของพรรคกิจประชา /PAP ซึ่งมีลี กวน ยู เปนผูนํานั้น ไดบริหารจัดการเศรษฐกิจของประเทศแบบเบ็ดเสร็จ ไมเปดโอกาสใหภาคประชา สังคมและองคกรพัฒนาเอกชนเขาไปมีสวนรวมในการพัฒนา ดังจะเห็นไดจากการนํารายไดจากการพัฒนา เศรษฐกิ จมาสรา งนโยบายที่สรา งความอยูดีมีสุขใหกับชาวสิงคโปรผานสวั สดิการทางสังคมตางๆ ในชวงป 1965–1990 เชน การที่รัฐนํา GDP 4–5 % มาสนับสนุนการศึกษาของชาวสิงคโปร มีการคัดนักเรียนชั้นเยี่ยม 10 % เพื่ อเข าศึ กษาต อในมหาวิทยาลั ยโดยรั ฐออกค า ใช จายให ดา นสุข ภาพมี การรักษาพยาบาลให กับ ประชาชนอยางเปนระบบ ในดานที่อยูอาศัยมีการพัฒนาที่อยูอาศัยถึง 700,000 หนวยแกประชาชนสามารถ ชวยเหลือประชาชน 86 % ใหมีที่อยูอาศัย และทุกวันนี้ 9 ใน 10 ของชาวสิงคโปรมีที่พักอาศัยเปนของตนเอง นอกจากนี้ รั ฐบาลยัง ตั้ ง กระทรวงพั ฒนาชุ ม ชนขึ้ น มาซึ่ ง ทํ างานเชื่ อมโยงกั บสภาชุ มชนทั้ ง 81 เขต ในการ ปรึกษาหารือในปญหาตางๆที่เกิดขึ้นกับชุมชน การพัฒนาชุมชนทั้งในดานการวางแผน ความปลอดภัย กีฬา กิจกรรมสรางสรรคของอาสาสมัครและการไกลเกลี่ยความขัดแยง สิ่งเหลานี้ลวนลดบทบาทการทํางานของ ภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชนในการทํางานหลายๆดานไมวาจะเปนทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง (Yayoi Tanaka 2002:200-221) ผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่กาวหนาของสิงคโปรในลักษณะของการมี โครงสรางเศรษฐกิจที่ใชความรู (Knowledge Base) เปนพื้นฐานมากกวาการใชแรงงาน และภาคการผลิต เหมื อนกั บประเทศอื่น ๆ อี กทั้ง ความสามารถความชํานาญในการเป นตั วแทน หรือเปนนายหนาขายสิ นค า ระหวางประเทศคูคา สิ่งนี้จึงทําใหเศรษฐกิจของสิงคโปรดีเปนอันดับ 2 รองจากญี่ปุนในเอเชีย ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาชน “ บรรยากาศการเคลื่อนไหวภาคประชาชนในฟลิปปนสคึกคักกวาสิงคโปร ” ในฟลิ ปป นส เ มื่อพื้น ที่ทางการเมื องและเศรษฐกิจเป ด จึ งทํ าใหการเคลื่ อนไหวของภาคประชาชน ดําเนินการไดอยางสะดวก โดยเริ่มตั้งแตหลังการไดรับเอกราชจากสหรัฐในป 1946 เปนตนมา มีการเกิดขึ้นของ ขบวนการภาคประชาชนจํานวนมาก เชน ในป 1950 มีการเกิดขึ้นของสหพันธชาวนา และคนงานขึ้นหลาย องค กร อาทิ สหภาพชาวนาเสรี (FFF) สหพัน ธ คนงานเสรี (FFW) มี การก อตั้ ง ขบวนการบูร ณะชนบทแห ง ฟลิปปนส (PRRM) ป 1970 มี การจัดตั้งองคกรธุรกิจฟลิปปนสเพื่อความกาวหนาทางสังคม (PBSP) แมแตในช วงของเผด็จการมาร กอส (1972–1986) ที่มี การปราบปรามภาคประชาชนและองคกร พัฒนาเอกชนอยางรุนแรง แตก็ปรากฏวามีการเกิดขึ้นของขบวนการภาคประชาชนมากขึ้น โดยเฉพาะหลังการ การลอบสังหารผูนําฝา ยคานคนสําคัญ คือ เบนนิก อากีโน ทํ าใหสภาวะสัง คม และเศรษฐกิจของประเทศ เสื่อมโทรม ทําใหเกิดการรวมกลุมพลังประชาชนเคลื่อนไหวทางการเมืองมากที่สุด ในชวงเวลาตอมาในสมัย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

90

ของอากีโน ที่เปนยุครุงเรืองของขบวนการภาคประชาชนและองคกรพัฒนาเอกชนมากเพราะพวกเขาเปนฐาน สนับสนุนการขึ้นดํารงตําแหนงประธานาธิบดีของอาคีโน อีกทั้งในชวงนี้ยังมีการจัดตั้งพรรคการเมืองขององคกร ประชาชนและองคการพัฒนาเอกชนเพื่อเขาไปในทํางานรัฐสภาดวย ในสมัยนี้มีการประมาณวามี องคกรพัฒนา เอกชนเพิ่มขึ้นจาก 27,100 องคกรในป 1986 เปน 70,200 ในป 1995 ลักษณะขององคกรภาคประชาชนในฟลิปปนส เปนองคกรอาสาสมัครทํางานรวมงานองคกรประชาชน ในทองถิ่น กลุมองคกรเหลานี้มีทั้งฝายซาย ฝายขวา และฝายเปนกลาง คือ 1)กลุมองคกรประชาชน ซึ่งไดแก สหภาพ สหกรณ สมาคม และองคกรประชาชนอื่ นๆในชุมชนตา งๆที่ มีจุดประสงค เปน องค กรอาสมั ครไม แสวงหากําไร 2)กลุมองคกรพัฒนาเอกชนที่มาจากสาขาอาชีพตางๆ ซึ่งไมมีจุดประสงคที่จะมีสมาชิกเปนชน ชั้นระดับลาง แตองคกรเหลานี้ชวยเหลือองคกรประชาชนในทองถิ่น ตัวอยางขององคกรประชาชนที่การเคลื่อนไหวทางสังคมในฟลิปปนสมีอยูมาก เชน นัมเฟรล (Nation Citizens,Movement for Free Elections) ที่ ทํางานในดา นการเลื อกตั้ งทั้ง การสังเกตการณ การรณรงค ฝกอบรมแกประชาชน นอกจากนี้ยังมีองคการอื่นๆอีก เชน องคกรสังเกตการณเลือกตั้งจากฝายประชาชนหรือ MCQC องคกรสังเกตการณเลือกตั้งจากฝายศาสนจักรโรมันคาทอลิก (PPCRV) เปนตน (สีดา สอนศรี 2543) ในขณะที่ประเทศสิงคโปรที่พื้นที่ทางการเมืองและพื้นที่ทางเศรษฐกิจปด ทําใหการเคลื่อนไหวของ ขบวนการประชาชนไมสามารถแสดงออกได หากพิจารณาจากในยุคป 1918–1965 ที่ปรากฏองคกรอยางไม เป น ทางการขึ้ น เพื่อช วยเหลื อตนเองโดยเฉพาะสมาคมสายตระกู ลของชาวจี น เช น กลุ ม Bang ซึ่ ง เป น สมาคมลับชวยเหลื อชาวจีนในดานที่ อยูอาศัย การหางานใหทํา สมาคมมีการสรา งกิจกรรมพื้ นฐานทํางาน กระจายไปทั่วกลายเปนปริมณฑลทางการเมืองแบบหนึ่งและมีอิทธิพลตอรัฐมาก ภายในองคกรประกอบดวย กลุมแรงงาน กลุมการคา และนักศึกษา ตอมาในชวง 1965–1990 องคกรประชาชนมีเคลื่อนไหวนอยมาก เนื่องจากการที่รัฐมีนโยบายควบคุมอยางเครงครัดตอกลุม สมาคม ชมรม ตางๆ อีกทั้งการสรางสวัสดิการที่ ครอบคลุมใหกับประชาชนจึงเปนเหตุใหประชาชนไมสนใจในการทํางานของขบวนการประชาชนหรือองคกร พัฒนาเอกชน ในชวงนี้สมาคมสายตระกูลของชาวจีนบางแหงหยุดดําเนินการ มีการลดลงของสมาชิก คนหนุม สาวในยุคนี้มีความภูมิใจกับการเปนชนชั้นพิเศษที่ไดรับการเอาใจใสจากรัฐ ในชวงป 1990 เปนตนมา ผูนํา อยางโกะ จก ตง ก็มีทาทีที่ดีขึ้นที่จะเพิ่มบทบาทของภาคประชาสังคมมากขึ้น เชน ในป 1998 มีการกอตั้ง สถาบันนโยบายศึกษาการดําเนินการวิจัยของภาคประชาสังคม เขายังประกาศสนับสนุน ภาคประชาสังคมให เปนวาระแหงชาติในนโยบาย “Singapore 21” โดยใหภาคประชาสังคมอยูใน 1 ของ 5หลักการในการพัฒนา สิงคโปร อย า งไรก็ดี การถูกจํ ากั ดการเคลื่ อนไหวของประชาชนในสิ งคโปร ที่มีอยู มาก แต ก็ปรากฏองค กร ประชาชนและองคกรพัฒนาเอกชนอยูจํานวนไมใชนอยที่สามารถทํางานไดโดยเฉพาะในชวงยุคของการสราง ชาติ เกิดองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานในหลายประเด็น อาทิ 1)Nature Society of Singapore (NSS) ทํางาน ดานสิ่งแวดลอม มีบทบาทมากในการประชุม Earth Summit ที่ Rio พวกเขาสามารถคัดคานการสรางสนาม กอลฟในพื้นที่อนุรักษตอรัฐ มีความชํานาญในการทํางานดานสิ่งแวดลอมทั้งในการตรวจสอบ การประเมินผล และการขยายการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวารัฐ 2)Association of Woman for Action and Research (AWARE) ทํางานในประเด็นความเทาเทียมทางเพศ การมีสวนรวมของผู หญิง ความรุนแรงใน ครอบครัว ผูหญิงในโรงงาน 3)Roundtable มีบทบาทในการทํางานเชิงการเมือง โดยเฉพาะการเลือกตั้ง กลุมนี้ โจมตี PAP อยางนักกรณี Straits Times และวิพากษนโยบายรัฐบาล 4)Singapore Institute of International Affairs (SIIA) ทํางานดานการวิจัยในเศรษฐกิจระหวางประเทศและปญหาการเมือง ชี้แนะนโยบายแกรัฐ ทํางาน กับภาคประชาสังคม และองคกรพัฒนาเอกชนตางชาติ ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและปญหาในระดับสากล (Yayoi Tanaka 2002:200-221) รูปแบบความสัมพันธระหวางรัฐและองคกรพัฒนาเอกชน “ในฟลิปปนสองคกรพัฒนาเอกชนดําเนินงานควบคูไปกับรัฐ แตในสิงคโปรองคกรพัฒนาเอกชนถูกรัฐควบคุม จํากัดการแสดงออก ”


91

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ในฟลิปปนสมีปจจัย 4 ประการที่จะอธิบายความสัมพันธระหวางรัฐและองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งมี ดําเนินการเปนไปอยางรวมมือ คือ 1) สิ่ง แวดลอมทางการเมือง โดยเฉพาะในยุคของอากีโ น ที่ พลัง ขององค กรพั ฒนาเอกชนเปนตั ว สนับสนุนรัฐ ขณะเดียวกันรัฐก็สงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมจากภาคสวนตางๆ องคกรพัฒนาเอกชนสามารถ มองหาผูนําที่มีความสามารถ และเสนอปญหาตางๆตอรัฐบาล และสาธารณะ บางครั้งเขาไปรวมสรางนโยบาย ใหขอมูลตางๆแกพรรคการเมือง รัฐใหความสําคัญมากกับองคกรพัฒนาเอกชน ทุกกระทรวงจะมีโตะของ องคกรพัฒนาเอกชน เชนกระทรวงสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงการปฏิรูปที่ดิน อีกทั้งผูนํา องคกรพัฒนาเอกชนที่สําคัญก็ไดเขามีอยูในคณะรัฐบาลหลายคน มีการใหองคกรพัฒนาเอกชนชวยในการให ความรูเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ตั้งศูนยนับคะแนน สรางเครือขายกับพรรคการเมือง 2) คุณลักษณะของสถาบันการเมือง จากการที่ระบบการเมืองการปกครองของฟลิปปนสที่มีรูปแบบ คลายคลึงกับระบบของสหรัฐ ขั้วอํานาจทางการเมืองจึงสามารถที่จะใหตัวแทนของตนเขาไปทําหนาที่บริหารที่ สําคัญในรัฐสภาได องคกรพัฒนาเอกชนจึงสามารถใชประโยชนจากตรงนี้เพื่อลดทอน ตอสู ตอรองกับอํานาจ ของระบบราชการ ระบบราชการจึงเสมือนเปนสิ่งกีดขวางของ องคกรพัฒนาเอกชนในการทํางาน ดวยเหตุนี้ องคกรพัฒนาเอกชนจึงพยายามมีบทบาทในเรื่องการเลือกตั้ง ตรวจสอบการแตงตั้งบุคคลในองคกรของรัฐ และ พยายามเขารวมทํางานดานการเมือง 3) ประสิทธิภาพการบริหารของรัฐ ศักยภาพในการบริหารเปนเหตุใหรัฐตองพึ่งพิงองคกรพัฒนาเอกชน เนื่องจากการขาดความชํานาญ เทคนิค ในการทํางานพัฒนาของภาครัฐ และปจจัยดานเงินทุนของรัฐ 4) ความรวมมือจากนักการเมื องท องถิ่น ในฐานะผูต รวจสอบ องค กรพั ฒนาเอกชนตองเผชิญ กั บ นักการเมืองทองถิ่นจํานวนมากในการทํางานรวมกับชาวบาน นักการเมืองทองถิ่นมองวา องคกรพัฒนาเอกชน เขามาแทรกแซงกาวกายกับการทํางานภายใน โดยเฉพาะปญหาเรื่องทรัพยากรในทองถิ่น นักการเมืองตางก็มี ผลประโยชนสวนตัวอยูเบื้อหลัง พวกเขามีพลังมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับองคกรพัฒนาเอกชนโดยสามารถใช ประโยชนจากชาวบานเปนพลังขับไลองคกรพัฒนาเอกชนออกไปได (Takeshi Kawanaka 2002:111-124) สีดา สอนศรี (2543) กลาวสรุปถึงปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ในฟลิปปนสที่สามารถทําให องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรประชาชนทํางานไดอยางคลองตัว เปนเพราะ 1)การไดรับพื้นฐานความคิด เรื่องประชาธิปไตยจากสหรัฐในชวงการตกเปนอาณานิคม 2)เกิดจากจิตสํานึกและความตองการของชุมชนเพื่อ แกไขปญหา 3)มีแหลงทุนสนับสนุนที่ดี 4)มีการจัดระบบงานที่มีประสิทธิภาพ คือมีองคกรกลางเปนแมขายตั้ง ในเมืองหลวง และมีองคกรสาขาทุกจังหวัด 5)กฎหมายรัฐธรรมนูญสนับสนุน ในมาตรา 10 ตอนที่ 14 มาตราที่ 13 ตอนที่ 15–16 ที่กลาววา รัฐพึงสงเสริมองคกรพัฒนาเอกชน องคกรชุมชน หรือองคกรภาคตางๆ 6)การมี ประสบการณในการสรางพลังประชาชนมานาน 7) ความสัมพันธในระดับหมูบาน (Barangry) ทั้งในเมืองและ ชนบทที่มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดอยูเสมอ ในขณะที่ความสัมพันธระหวางรัฐและ องคกรพัฒนาเอกชนในสิงคโปร องคกรพัฒนาเอกชนจะตกอยู ภายใตการควบคุมของรัฐดวยกลยุทธที่หลากหลายทั้งในแงของการปดโอกาสการมีสวนรวม การตรวจสอบ สวนการเปดโอกาสใหเขารวมก็ดูเหมือนจะไมมีพลัง หรือผลดีตอองคกรพัฒนาเอกชน กลาวคือ 1) รัฐมีเปาหมายดูแลองคกรพัฒนาเอกชน เชน การใชกฎหมายควบคุมเรื่องการตอตั้งองคกร ควบคุม ออกกฎเกณฑในการทํากิจกรรม รัฐเพิกเฉยกับการบริการทางสังคมขององคกรที่ทํางานในดานสวัสดิการสังคม ชุมชน NCSS ปดกั้ นการจํา กัดเงินทุ นสนับสนุ น การบริจาคของกองทุน รัฐที่จะแจกจายถึ งกลุมอาสาสมัค ร การไมลดหยอนภาษีใหกับองคกร 2) รัฐเองสนับสนุนการกอตั้งองคกรพัฒนาเอกชน เพื่อชวยเหลือตนเองในระดับทองถิ่นในกลุมชาว มาเลย อินเดีย จีน มีการสงเสริมการศึกษา เด็กที่ไมไดรับการดูแลอยางทั่วถึง เชน YAYASAM MENDAKI ของ ชาวมาเลย CDAD,SINDA และ EAS เปนตน ภายใตการชวยเหลือในเงินทุนที่เทาเทียม นอกจากนี้รัฐยังกอตั้ง สถาบันกฎหมายเพื่อตอบโตการวิพากษวจิ ารณกฎหมายขององคกรพัฒนาเอกชน ที่กลาววากฎหมายจํากัดสิทธิ เสรีภาพในทางสื่อสารมวลชน 3) ดานสื่อ กฎหมายสิงคโปรใหอํานาจรัฐเปนเจาของกรรมสิทธิ์ใน นสพ. สํานักพิมพ โดยสมบูรณ รัฐ สามารถควบคุม ตรวจสอบสื่ อจากตา งประเทศ และยกเลิกการขาย นสพ. วารสารตางประเทศ ที่ รายงาน กลา วหารั ฐ ตั วอยา งเช น กรณีของ นักเขียนผู หนึ่ งที่ เขียนวิ จารณน โยบายของรั ฐ รัฐตอบสนองด วยการหา


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

92

หลักฐานมาโตแยง และใชอํานาจควบคุมเขา จนกระทั่งนักเขียนคนนั้นไมสามารถเขียนบทความในประเด็น การเมืองได โดยหันมาเขียนนวนิยายแทน 4) ดานสังคม รัฐมีความพยายามสราง “คานิยมรวมของชาติ” การสรางความเปนหนึ่งเดียวมาให สังคมเห็นดวยกับนโยบายรัฐ ทั้งนี้เพื่อเปนการหลีกเลี่ยงการเผชิญหนากับภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนา เอกชน 5) ดานการเมืองป 1990 รัฐสามารถเสนอตัวแทนจํานวน 9 คนเขาไปมีสิทธิมีเสียงในรัฐสภาได โดย รัฐแตงตัง้ บุคคล 3 คนจากกลุมนักธุรกิจ สมาคมการคา และนักวิชาการ และอีก 6 คนเลือกจากที่ตางๆ สิ่งที่ นาสนใจคือ สมาชิกของ NSS,AWARE,Roundtable ถูกเลือกเขาไปเปนตัวแทน แตโอกาสของการทํางานและ วิพากษวิจารณมีผลนอยมากเพราะสมาชิกของ 93 คน ในรัฐสภามีเพียงตัวแทนองคกรพัฒนาเอกชนเพียง 4 คน เทานั้นดังนั้นพลังของพวกเขาจึงไมเพียงพอ นอกจากนี้ในดานการควบคุมองคกรพัฒนาเอกชน องคกรจะตองจดทะเบียนในฐานะใดฐานะหนึ่ง เชน องคกรทางสังคม บริษัท และองคกรการกุศล ซึ่งการจดทะเบียนดังกลาวจะมีผลตอการดําเนินงานของ องคกรดวย เชน องคการการกุศลจะไดรับการลดภาษีจากรัฐ ในฐานะบริษัทองคกรจะตองแถลงการณใชเงิน และกิจกรรม การถือครองทรัพยสิน แตก็จะมีประสิทธิภาพทํางานไดดีกวาการจดทะเบียนในฐานะองคกรทาง สังคม ที่ตองทํางานอยางระวังและการไดรับการยอมรับจากรัฐ อีกทั้งยังสามารถถูกยกเลิก ระงับการดําเนินการ ไดโดยงาย สรุป จากการเปรียบเทียบบทบาทของภาคประชาสังคมและองคกรพัฒนาเอกชนของทั้งสองประเทศจะ พบวา ทั้งพื้นที่ทางการเมืองและพื้นที่ทางเศรษฐกิจในฟลิปปนสไดเปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชน ทํางานได อยางเต็มที่ เพราะในทางพื้นที่การเมือง รัฐขาดทั้งเครื่องมือ เทคนิคการทํางานที่ดีพอในการพัฒนา อีกทั้งยัง ขาดปจจัยดานเงินทุน ในพื้นที่ทางเศรษฐกิจรัฐไมมีระบบการจัดสรรที่ทั่วถึงและเปนระบบเหมือนอยางองคกร พัฒนาเอกชน จึงเปดโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชนเขามาทํางานได และรัฐเองก็เปนผูสนับสนุนดวย ขณะที่ สิงคโปรจะพบวา สิ่งแวดลอมในพื้นที่ทางการเมืองและพื้นที่ทางเศรษฐกิจ ปดกั้นโอกาสใหองคกรพัฒนาเอกชน ทํางานในทุกดาน กลาวคือ ในพื้นที่ทางการเมือง รัฐควบคุมองคกรพัฒนาเอกชน ผานกฎหมาย สื่อ การสราง สวัสดิการทางสังคมที่ครอบคลุมประชาชน รัฐรวมอํานาจในการจัดการ ในพื้นที่ทางเศรษฐกิจรัฐสรางรายได และจัดสรรทรัพยากรใหทั่วถึงแกประชาชน สิ่งเหลานี้จึงเปนตัวปดพื้นที่การทํางานขององคกรพัฒนาเอกชน อยางไรก็ดีในกรณีของฟลิปปนสที่องคกรพัฒนาเอกชนมีบทบาทมาก ก็กลับพบปญหาที่เกิดขึ้นกับตัว องคกรพัฒนาเอกชนในดานการทํางาน ถึงแมวาองคกรพัฒนาเอกชน และ องคกรประชาชนในฟลิปปนสจะมี กลไกปฏิบัติที่กวางขวางและมิไดหยุดนิ่ง แตผลงานที่ออกมายังไมไดผลเทาที่ควรเปน เพราะ (สีดา สอนศรี 2543) 1) เครือขา ยขององคกรพั ฒนาเอกชน อยู ในองค กรประชาชน (PO) และในขณะเดี ยวกัน องค กร ประชาชนก็เปนเครือขายขององคกรพัฒนาเอกชนดวย ทําใหเครือขายมากเกินไปเปนอุปสรรคในการสั่งสอน การปฏิบัติงานในบางกรณี 2) การนําสงบริการในฟลิปปนสดําเนินการโดยองคกรพัฒนาเอกชนและองคกรประชาชน ในขณะที่ ประเทศอื่นๆสวนใหญจะดําเนินการโดยรัฐ ดวยเหตุนี้จึงเปนภาระหนักขององคกรมาก ทําใหโครงการไมไดผล เทาที่ควร 3) ปญหาการพัฒนาในปจจุบันมีความเกี่ยวพันกันในหลายเรื่อง องคกรพัฒนาเอกชนตองมีภาระใน การชวยรัฐพัฒนา ทําใหเปาหมายขององคกรพัฒนาเอกชนกวางเกินไปจนไมสามารถครอบคลุมการพัฒนาได ทุกเรื่อง 4) วัฒนธรรมทางการเมืองของฟลิปปนสแตกแยกกันทางความคิด มีคนกลุมขวา ซาย กลาง กลุม เหลานี้สรางเครือขายในองคกรพัฒนาเอกชน ในบางครั้งจึงทําใหการปฏิบัติงานขององคกรพัฒนาเอกชน เสีย ไป


93

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

5) เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชนถึงแมจะเปนอาสาสมัครอาชีพ มีเงินเดือนประจํา มีคุณภาพ เพราะ ผานการสอบแขงขันเพื่อดํารงอาชีพนี้ แตก็มีเงินเดือนต่ํา เจาหนาที่บางสวนจึงมีงานอาสาสมัครมากกวาหนึ่ง แหง ทําใหการปฏิบัติงานลาชา ในขณะที่ประเทศสิงคโปรที่องคกรพัฒนาเอกชนมีบทบาทนอย รัฐมีบทบาทมาก ณ ปจจุบัน รัฐจึงตอง รับภาระค าใชจายอย างสูง ที่จะนํ ามาสรา งสวัส ดิการแก ชาวสิ งคโปร และท าที ของรั ฐบาลปจจุบั นก็ มีค วาม พยายามที่สงเสริมภาคประชาสังคม ภายใตนโยบาย “Singapore 21” ที่เนนถึงการแกไขการทํางานที่มาก เกินไปของภาครัฐ บรรณานุกรม โคริน เฟองเกษม. (2546).“การเมืองการปกครองของสิงคโปร”.ใน สีดา สอนศรี (บรรณาธิการ ). เอเชียตะวันออกเฉียงใต การเมืองการปกครองหลังสิ้นสุดสงครามเย็น. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2546. สีดา สอนศรี. (2545). คูมือประเทศฟลิปปนส.เอกสารวิชาการชุด โครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค ลําดับที่ 15. กรุงเทพฯ : กรีน พริ้นท. ---------------. (2544)..ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต บูรไน ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ---------------. (2543). บทบาทของภาคประชาสังคมในฟลิปปนส.กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. Takeshi Kawanaka. (2002). “ The Philippines : From Agents to Political Actors ” P.111-124. in Shigetomi ,Shinichi (ed.)in The State and NGOs : Perspective From Asia, Institute of Southeast Asian Studies-Singapore. Yayoi Tanaka.(2002). “ Singapore : Subtle NGO Control by a Developmentalist Welfare State ”P.200 –221. in Shigetomi ,Shinichi (ed.)in The State and NGOs : Perspective From Asia, Institute of Southeast Asian Studies-Singapore. --------------------------------------------------------


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

94

ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหมโดยสังเขป1 เสริมศักดิ์ แสงจันทร2 อิทธิพร ขําประเสริฐ3

บทความชิ้นนี้นําเสนอประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหมโดยสังเขป ประกอบดวยเนื้อหา 4 สวน คือ สวนที่ 1 คองเกรสแหงเวียนนา : เสรีนิยามและชาตินิยม สวนที่ 2 ปญหาตะวันออก : สงครามไครเมีย สวนที่ 3 การรวมอิต าลี การรวมเยอรมั น และสวนที่ 4 สงครามโลกครั้ง ที่ 1 และ 2 ซึ่งผู เขี ยนไดสื บค นขอมูล จาก อินเทอรเน็ตและงานเขียนทางประวัติศาสตร สรุปไดดังนี้ สวนที่ 1 คองเกรสแหงเวียนนา : เสรีนิยมและชาตินิยม การประชุมคองเกรสแหงเวียนนาเปนความพยายามที่จะดํารงไวซึ่งสันติภาพในภูมิภาคยุโรป หลังจาก ตองประสบกับความวุนวาย เนื่องจากสงครามนโปเลียน สวนเสรีนิยมและชาตินิยมเกิดขึ้นภายหลัง การจัด ระเบียบในภาคพื้นยุโรปขึ้นใหมของคองเกรสแหงเวียนนา ซึ่งจะไดเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของยุโรปในเวลา ตอมา คองเกรสแหงเวียนนา หลัง จากปราบปรามพระเจ านโปเลียนได แล ว ฝา ยพัน ธมิ ตรอันประกอบดวยอั งกฤษ ออสเตรี ย ปรัสเซีย และรุสเซีย ไดจัดประชุมขึ้นที่กรุงเวียนนา ในระหวางเดือนกันยายน ค.ศ. 1814 ถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ.1815 บุคคลที่เขารวมประชุมประกอบดวย เคลเมนต เมตเตอรนิต อัครมหาเสนาบดีแหงออสเตรีย ลอรต คาสเซิลเรห ดุกแหงเวลลิงตัน เจาชายฮารเดนเบิรก และวิลาเฮลม ฟอน ฮัมโบลท แหงปรัสเซีย ราชูมอฟสกี้ และเนสเซลโรคแหงรุสเซีย ตาลเลยรองคแหงฝรั่งเศส รวมทั้งพระเจาซารอเล็กซานเดอรที่ 1 และ พระเจาเฟรดเดอริกวิลเลียมที่ 3 โดยมีหลักการสําคัญในการประชุม 3 ประการ คือ การคืนสิทธิอันชอบธรรม ในราชบังลังกของกษัตริยเดิม การปองกันมิใหฝรั่งเศสกอปญหาไดอีก และการชดเชยดินแดนในรัฐตางๆ (www.push.chico.k12.ca.us)

พระเจานโปเลียนมหาราช

1

งานชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งที่พัฒนามาจากการศึกษาในรายวิชา ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา) สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 2 อาจารยระดับ 4 โรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา กรุงเทพมหานคร 3 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา สํานักอธิการบดี มหาวิทยาลัยคริสเตียน


95

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

การประชุมที่เวียนนาตองหยุดชะงักลงชั่วคราวในระหวางวันที่ 20 มีนาคม - 29 มิถุนายน ค.ศ.1815 เนื่องจากนโปเลียนหนีออกจากที่คุมขังพระเจาหลุยที่ 18 ไดสงทหารไปจับกุมแตทหารกลับไปเปนพวกของ นโปเลียนและกลับเขามายึดปารีสแทนจนทําใหพระเจาหลุยที่ 18 ตองลี้ภัยไปที่เบลเยี่ยม นโปเลียนอางวา พระเจาหลุยที่ 18 สนับสนุนขุนนางยอมเสียดินแดนใหแกประเทศตางๆทําใหชาวนาไมพอใจ ฝรั่งเศสตกอยูใน สภาพจักรวรรดินิยมอีกครั้ง ฝายสัมพันธมิตรจึงไดเตรียมปราบนโปเลียนอีกครั้ง นโปเลียนพายแพกองทัพ ของดยุกแหงเวลลิงตันกับนายพล บลูเซอรแหงปรัสเซีย ที่ตําบลวอเตอรลู ตอนใตกรุงบรัสเซลลในเบลเยี่ยม หลังจากนั้นพระเจาหลุยที่ 18 ถูกอัญเชิญกลับมายังปารีส สวนนโปเลียนถูกจับตัวไปคุมขังที่เกาะเซ็นตเฮเลนา จึงเปนการจบสิ้นของสมัยรอยวันของนโปเลียน (www.napoleon.org.htm)

การประชุมคองเกรส ที่เวียนนา ออสเตรีย ระบบการประชุม เนื่องจากขอตกลงที่กรุงเวียนนา เปนเพียงขอตกลงในทางปฏิบัติ แตไมมีบทบังคับหรือลงโทษผูลวง ละเมิดได จึงไมเปนที่ มั่นใจว าจะมีสั นติภาพอันถาวรเกิดขึ้น ในยุโรป ประเทศมหาอํานาจจึงสร างสัญญา สันติภาพขึ้น 2 ฉบับ คือ พันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ และพันมิตรสี่เสา หลังจากพันมิตร สี่เสาแลวประเทศสมาชิก ภาคีของสัญญาไดมาประชุมรวมกันอีก 5 ครั้ง ระหวาง ค.ศ. 1818 - 1825 เพราะประชาชนในดินแดนตางๆ ไดมีปฏิกิริยาตอตานระบบคองเกรสแหงเวียนนา และเรียกรองใหมีการปกครองแบบรัฐธรรมนูญ เนื่องจากไม พอใจการใชอํานาจเด็ดขาดของกษัตริยสมาชิกมหาอํานาจพันธมิตรจึงเคลื่อนไหวตอตานปฏิกิริยาดังกลาว โดยมี เ มตเตอร นิ ค ให การสนั บ สนุ น และดํ า เนิ น การให มี การประชุ ม ขึ้ น การประชุ ม ได เ กิ ดขึ้ น หลายครั้ ง จนกลายเปนระบบการประชุม และมีชื่อเรียกตางๆกันไปวาระบบการประชุม หรือการปกครองโดยการประชุม หรือการจัดตั้งวงคอนเสิรตของยุโรป (www.puhs.Chico.kiz.ca.us.) ยุโรปหลังคองเกรสแหงเวียนนา ยุโ รปหลัง คองเกรสแห งเวียนนาตกอยู ใต การควบคุม ของกลุ ม พัน ธมิต รอั น ศักดิ์ สิทธิ์หรื อประเทศ มหาอํานาจราชาธิปไตย โดยเฉพาะออสเตรียและรุสเซีย พระเจาซารอเล็กซานเดอรซึ่งดูเหมือนเปนผูมีคติทาง เสรีนิยมแตแทจริงแลวก็เปนผูเลื่อมใสในระบบอัตตาธิปไตยเชนเดียวกับเมตเตอรนิคแหงออสเตรีย สวนปรัสเซีย นั้นไมมีบทบาทมากนักในระยะแรกๆ เปนเพราะปรัสเซียอยูหางไกลที่เกิดเหตุการณซึ่งสวนใหญเกิดขึ้นทาง ยุโรปภาคใตและกษัตริยปรัสเซียก็มุงปรับปรุงในประเทศมากกวาเพื่อยกฐานะใหทัดเทียมออสเตรียและรุสเซีย แ ต ป รั ส เ ซี ย ก็ ใ ห ค ว า ม ร ว ม มื อ กั บ อ อ ส เ ต รี ย แ ล ะ รุ ส เ ซี ย ใ น ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ม า โ ด ย ต ล อ ด (www.Sandafayre.com)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

96

ผูนําสําคัญของกลุมมหาอํานาจตะวันออกหรือกลุมพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ในระยะหลังๆ คือ ออสเตรีย ซึ่งมีเมตเตอรนิคเปนผูแสดงบทบาทที่สําคัญ เขาไดแสดงบทบาททางการเมืองระหวางประเทศตั้งแตสมั ย คองเกรสแหงเวียนนาไปจนถึงสมัยปฏิวัติ ค.ศ.1848 จึงไดหมดอํานาจไปยุโรประหวาง ค.ศ.1815 ถึง ค.ศ. 1848 จึงเรียกกันวา "ยุคเมตเตอรนิค" (เพราะเมตเตอรนิคสามารถบังคับใชนโยบายการปกครองของเขาใน ยุโรปอยางไดผล โดยเฉพาะยุโรปภาคกลางและภาคใต นโยบายการปกครองของเมตเตอรนิคนี้เรียกวา "ระบบ เมตเตอรนิค" หรือ ลัทธิเมตเตอรนิค (http://www.victorian.fortunecity.com) การปฏิวัติในกรีช ในตอนตนคริสตศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิตุรกียังคงกวางใหญไพศาลมาก ดินแดนของตุรกีในยุโรป มีถึงประมาณ 238,000 ตารางไมล ประชาชนประมาณ 8 ลานคน ซึ่งสวนใหญเปนคริสเตียน ทั้งที่เปนพวก สลาฟเผาตางๆ และชาวกรีกทางตอนใตของคาบสมุทรบอลขาน การกดขี่ของสุลตานตุรกีทําใหชาวเซิรบลุกขึ้น ตอตานจนสําเร็จโดยการนําของการาจอรจ และไดชัยชนะเมื่อ มิโลส โอเบรโนวิตช เปนหัวหนาพวกกรีกจึงเอา อยางบาง ผูนําการปฏิวัติคือ เจาชายอเล็กซานเดอร ฮิบซิลันติ แตไมสําเร็จเพราะรุสเซียไมใหการสนับสนุน แตชาวนาในมอเรียไดลุกขึ้นตอสูตุรกีจึงประหารชีวิตสังฆราชและนักโทษกรีกอีกกวา 90,000 คน มหาอํานาจ ตะวันตกจึงไดเขาไปชวยเหลือกรีชทั้งเสบียงและอาวุธ กองทัพเรือผสมอังกฤษ ฝรั่งเศสและรุสเซีย ไดขอใหตุรกี ใหเอกราชแกกรีชโดยดี แตตุรกีไมยอมจนรุสเซียสงกองทัพบุกมาถึงกรุงคอนสแตนติโนเบิล ตุรกีจึงยุติสงคราม สัญญาระหวางกรีชกับตุรกีทํากันที่ลอนดอนในเดือนมีนาคม ค.ศ.1829 ตุรกีไดใหอํานาจการปกครอง แกกรีชโดยสมบูรณ แตเรื่องพรมแดนกรีชยังไมยอมรับตองประชุมเจรจาตอมาจนถึง ค.ศ. 1832 กรีชจึงยอมรับ และขณะเดียวกันก็ไดรับเจาชายออตโตแหงบาวาเรียมาเปนกษัตริยของตนดวยและคณะรัฐบาลที่ติดตามมา สวนใหญก็เปนชาวเยอรมัน และใน ค.ศ. 1843 ก็ไดประกาศใชรัฐธรรมนูญที่เปดโอกาสใหประชาชนสวนใหญมี สวนรวมในการปกครอง การไดเอกราชของกรีชนับวาเปนการเปลี่ยนแปลงแผนที่ยุโรปที่สําคัญ หลังคองเกรสแหงเวียนนาเปน การเผชิญหนาตอนโยบายกลับคืนสูสถานภาพเดิมของเมตเตอรนิค และเปนชัยชนะตอพวกปฏิกิริยาฝายขวา และผลที่ตามมาจากเหตุการณครั้งนี้ คือ ทําใหรุสเซียมีความเขมแข็งขึ้นในยุโรปตะวันออก เพราะไดเขามามี อิทธิพลในบอลขานเพิ่มมากขึ้น (www.lib.msu.edu) การปฏิวัติฝรั่งเศสป 1830 พระเจาหลุยที่ 18 ซึ่งครองราชยหลังสมัยนโปเลียนสวรรคต ป ค.ศ.1824 แลวพระอนุชา คือ พระเจา ชารลสที่ 10 ขึ้นครองสืบตอมา พระเจาชารลสที่ 10 ทรงมีลักษณะแตกตางจากพระเจาหลุยสที่ 18 ตรงที่ทรง นิยมหลักเทวสิทธิ์ ทรงใชพระราชอํานาจเด็ดขาดของกษัตริยปราบปรามพวกชาตินิยมและเสรีนิยมอยางรุนแรง โดยใชศาลเปนเครื่องมือสั่งประหารและกําจัดศัตรู นอกจากนั้น พระองคปรับปรุงการปกครองใหกาวเขาสู ระบบเกา ดวยการทรงใหมีพิธีราชาภิเษกแบบระบบเกา สนับสนุนพวกคาทอลิก คือ คณะเยซูอิตใหกลับคืน อํานาจใหม พวกเยซูอิตเปนพวกที่จะดึงอํานาจทางศาสนาของฝรั่งเศส ใหไปขึ้นอยูกับกรุงโรม เปนการขัดกับ ความรูสึกชาตินิยม ควบคุมการศึกษาและจับกุมคุมขังผูแสดงความคิดเห็นเปนปฏิปกษกับรัฐบาล ซึ่งเปนการ ขัดกับเสรีนิยม (http://wwwXs4all.lu)

ประตูชัย ในฝรั่งเศส


97

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

รัฐบาลของพระเจาชารลสที่ 10 ไดประกาศพระราชกฤษฎีกาแหง แซงตคลูต ซึ่งมีสาระสําคัญวา 1. ยุบสภาที่เลือกใหมกอนที่จะมีการประชุมสภา 2. ลดจํานวนผูเลือกตั้งจาก 90,000 กวาคน เหลือเพียง 25,000 คน 3. ใหมีการเลือกตั้งใหม 4. หามการพิมพทุกชนิดที่มิไดรับอนุญาตจากรัฐบาลซึ่งเปนการทําลายรัฐธรรมนูญ เหตุการณครั้งนี้ทําใหประชาชนสวนใหญในปารีสไมพอใจ พวกเสรีนิยมซึ่งนําโดย ธิแอร และกีโซตได ทํา การตอตา นเขี ยนบทความประทวงและประกาศว า เมื่อรัฐ บาลไมเ คารพกฎหมาย ชาวฝรั่ งเศสก็ ไม จําเป นตองเชื่อฟงรั ฐบาลตอไป จึ งได เกิดขบวนการปฏิวัติ ขึ้น พวกปฏิวัติ เขา ยึดถนนหนทางในวัน ที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.1830 ประชาชนและพรรครีพับลิก รวมกําลังกันเขายึดรัฐสภา บังคับใหพระเจาชารลสที่ 10 สละราชสมบัติ และเสด็จหนีไปประทับที่อังกฤษ รัฐบาลปฏิวัติไดอัญเชิญพระเจาหลุย ฟลิปส แหงราชวงศ ออลีนส ซึ่งเปนพระราชนัดดาสายยอยของราชวงศบูรบอง มากเปนกษัตริยแทน (www.britamica.com) การปฏิวัติฝรั่งเศส ป 1848 ปฏิกิริยาของพวกเสรีนิยมและชาตินิยม ซึ่งถูกปราบปรามในชวงป ค.ศ. 1830 ไดมาแสดงออกในรูป ของการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งในชวงป ค.ศ. 1848 ซึ่งเปนการปฏิวัติที่กวางขวางและรุนแรงกวาป 1830 เปนการ ปฏิวัติที่ทําการใหการปกครองตามระบบเกาสัน่ คลอนมาก และระบบของเมตเตอรนิคตองสิ้นสุดลง เพราะการ ปฏิวัติในครั้งนี้ดวย จุดเริ่มตนของการปฏิวัติ เกิดขึ้นในฝรั่งเศส เชนเดียวกับป ค.ศ.1830 พระเจาหลุยส ฟลิปส ทรงขึ้นครองฝรั่งเศส โดยทรงพยายามสรางความเชื่อมั่นใหแกชนชั้นกลางที่ มั่งคั่ง ทรงเปนพระราชาภายใตระบอบรัฐธรรมนูญในขณะที่ชนชั้นกลางมีอํานาจและไดสิทธิเขามาสรางระบบ การปกครองของตน พระเจาหลุยส ฟลิปส ตองเขาไปมีบทบาทในการบริหารประเทศ ทรงเลือกวิธีการที่ พระองคทรงรับผิดชอบตอการวางแผนนโยบาย และบริหารประเทศดวยพระองคเอง ดวยเหตุดังกลาว จึงทํา ใหขบวนการตางๆ ไมพ อใจการปกครองของพระเจาหลุยส ฟลิปสมาก ประกอบกับมีการอัญเชิญอัฐิของพระเจานโปเลียนมหาราช กลับมาปารีส และพระราชนัดดาของพระองคคือ หลุยส นโปเลียน ตอมาคือพระเจานโปเลียนที่ 3 ไดพยายามกาวขึ้นสูอํานาจในฝรั่งเศสอีก จึงเกิดมีกลุมพวก นิยมนโปเลียน ซึ่งต องการใหราชวงศโบนาปารตกลับคืนอํา นาจเดิม การรวมตัวปฏิวัติจึงเกิดขึ้นในเดือน กุมภาพันธ ป 1848 พระเจาหลุ ยส ฟลิปสไมสามารถควบคุมสถานการณไดจึงประกาศสละราชบังลัง ก เสด็จหนีไปประทับที่อังกฤษ ไดมีการจัดตั้งรัฐบาล ชั่วคราวขึ้นปกครองแบบสาธารณรัฐ รัฐบาลชั่วคราวไดออก รัฐธรรมนูญฉบับใหม กําหนดใหมีสภานิติบัญญัติสภาเดียวและประธานาธิบดีอยูในตําแหนงคาวละ 4 ป หลังจากนั้นมีการเลือกตั้งผลปรากฏวา หลุยส นโปเลียน โบนาปารต ไดรับเลือกตั้งเปนประธานาธิบดี (http://www.pages.tca.net) การปฏิวัติในฮังการี หลังจากเกิดการปฏิวัติในฝรั่งเศสแลว ไดมีการเคลื่อนไหวในดินแดนเยอรมนี ในออสเตรีย และฮังการี ลัทธิชาตินิยมในฮังการีเรียกรองขอปกครองตนเองแบบมีรัฐธรรมนูญ เพื่อปองกันเหตุการณรุนแรง จักรพรรดิ ออสเตรีย ตองยอมใหฮังการีปกครองตนเองตามขอเรียกรอง ทําใหเกิดการปฏิวัติขึ้นในเวียนนาอีก (www.lib.msu.edu) การปฏิวัติในออสเตรีย ในปรัสเซีย พระเจาเฟรดเดอริค วิลเลี่ยมที่ 4 พระราชทานรัฐธรรมนูญแกประชาชนในเดือน ธันวาคม 1847 ตอมาในเดือนมีนาคม 1848 ไดมีการพยายามรวมเยอรมันใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ในที่สุดที่ประชุม แคว น ต า งๆของเยอรมั น พร อมใจกั น ใหพ ระเจ า เฟรดเดอริค วิ ล เลี่ ยมที่ 4 เป น ผูนํ า การรวมเยอรมั น แตสถานการณของการปฏิวัติในออสเตรียไดเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีตอระบบกษัตริย คือในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1848 จักรพรรดิเฟอรดินานดแหงออสเตรีย ไดชัยชนะตอพวกปฏิวัติในกรุงเวียนนา พระเจาเฟรดเดอริค จึงกลับคําสัญญาที่ใหกับประชาชน เพราะไมกลาเสี่ยงทําสงครามกับออสเตรีย ทรงปราบพวกเสรีนิยมใน เบอรลินและประกาศยกเลิกการปฏิรูปตางๆ ทรงปราบปรามพวกปฏิวัติในปรัสเซียได และประกาศปฏิเสธ ตําแหนงจักรพรรดิเยอรมัน และรวมมือกับออสเตรีย ปราบปรามสมัชชาแหงชาติเยอรมัน รัฐธรรมนูญของ เยอรมันจึงสิ้นสุดลง (www.sandafayre.com.)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

98

การปฏิวัติในอิตาลี ลัทธิเสรีนิยมมีบทบาทในอิตาลีมาตั้งแตป 1846 เมื่อสันตะปาปาไพอัสที่ 9 ใหเสรีภาพแกหนังสือพิมพ ประกาศนิรโทษกรรมทางการเมืองผูครองแควนตางๆในอิตาลีไดปฏิบัติตามนับไดวาเปนสมัยที่ชาวอิตาเลียน มีเสรีภาพมากกวาสมัยใดๆ ในเดือนมกราคม การปฏิวัติไดเกิดขึ้นในเกาะซิซิลี พระเจาเฟอรดินานที่ 2 แหง ราชวงศบูรบอง ผูปกครองซิซิลี ตองพระราชทานรัฐธรรมนูญใหแกประชาชน และการปฏิวัติไดขยายไปสู เนปลส โรม ฟลอเรนส เวนิส มิลาน และปเอดมอนต ประกาศสงครามกับออสเตรีย ออสเตรียปราบปราม ขบวนการปฏิวัติไดหมด ยกเวนโรมซึ่งมีมาสซินีและการิบัลดีแมทัพคนสําคัญของขบวนการปฏิวัติไดบุกยึดเขา ยึดโรม จัดตั้งสาธารณรัฐโรมขึ้น สันตะปาปาตองเสด็จหนีออกจากโรมจนถึงป ค.ศ. 1850 ฝรั่งเศสตองเขามา ชวยออสเตรียจึงยึดโรมคืนได สวนซิซิลีและอิตาลีภาคใตก็ถูกปราบปรามจนราบคาบและตกอยูในสภาพเดิม ตามขอตกลงที่กรุงเวียนนา ป 1815 (www.push.chico.k12.ca.us) บทสรุป หลังจากขอตกลงคองเกรสแหงเวียนนา ทําใหชนชาติตางๆในยุโรป มีความรูสึกในความตองการมี เสรีภาพ ซึ่งจะดําเนินไปสูขบวนการแหงชาตินิยมในดินแดนตางๆ เชน กรีช ออสเตรีย-ฮังการี อิตาลี เปนตน ถึงแมจะไมประสบความสําเร็จ แตตอมาชนชาติเหลานี้ก็สามารถแยกตนเปนอิสระได ซึ่งการกระทําเหลานี้ตอง ประกอบไปดวยความสามัคคี และความสามารถของผูนํา ประกอบกันจึงสามารถกระทําการสําเร็จได. สวนที่ 2 ปญหาตะวันออก : สงครามไครเมีย ดินแดนตะวันออกเปนดินแดนแหความขัดแยงที่กอใหเกิดปญหาและความไมสงบในยุโรปตั้งแตปลาย คริสตวรรษที่ 18 และรุนแรงขึ้นในคริสตวรรษที่ 19 ซึ่งกลายเปนชนวนความขัดแยงจนเกิดสงครามไครเมีย และเปนสาเหตุหนึ่งที่นําไปสูสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งมาจากการรักษาผลประโยชนและความหลากหลายของ เชื้อชาติ ปญหาตะวันออก ดินแดนตะวันออกเปนดินแดนที่อยูทางดานตะวันออกของทะเลเมดิเตอรเรเนียนนับตั้งแต อียิปตฝงใต มาจนถึงคาบสมุทรบอนขาน หรือตั้งแตลุมน้ําดานูบจนถึงลุมน้ําไนล (www.Vinland.org) จักรวรรดิตุรกีประกอบไปดวยคนหลายชนชาติ จึงมีความแตกตา งกันในดานภาษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ในคาบสมุทรบอนขาน สวนใหญเปนชาวสลาฟซึ่งนับถือศาสนาคริสตและชาวกรีกซึ่งถือวาตนเองมี ความเจริญมากกวาพวกเติรก นอกจากนี้ดินแดนบริเวณนี้ยังมีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจและยุทธศาสตร มหาอํานาจตางๆ จึงหวังจะมีผลประโยชนในดินแดนแถบนี้ (www.uea.ac.uk) ปญหาตะวันออกนั้นตั้งอยูบนพื้นฐานของสาเหตุ 3 ประการ ประการแรกคือ ความออนแอของการ ปกครองและทางการทหารของตุรกี ประการที่สอง คือ ความรูสึกทางดานชาตินิยมของพวกคริสเตียนใน คาบสมุทรบอลขาน และประการที่สาม คือ การแทรกแซงของประเทศมหาอํานาจเพื่อหวังผลประโยชนทั้งทาง เศรษฐกิจและอิทธิพลทางการเมือง สาเหตุประการที่สามนี้เกิดจากสาเหตุสองประการแรก (www.Ukans.edu) ยุทธนาวีทางทะเล ในสงครามไครเมีย


99

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทบาทของประเทศมหาอํานาจในปญหาตะวันออก รุสเซีย วิธีการแทรกแซงของรุสเซียในปญหาตะวันออก คือ การสนับสนุนใหพวกสลาฟในบอลขานเรียกรอง อิสระภาพจากตุรกีโดยอางวาเพราะรุสเซียเปนเผาสลาฟ และนับถือศาสนาคริสตนิกายกรีกออรธอดอกซที่ใหญ ที่สุด แตที่จริงแลวรุเสซียตองการขยายอิทธิพลของตนในขาบสมุทรบอลขาน เพื่อหาทางออกสูทะเลเมดิเตอร เรเนียน (www.lib.mus.edu) ออสเตรีย เนื่ องจากอิทธิ พลของออสเตรียในเยอรมั น กํา ลัง อ อนลง จึง พยายามขยายอิทธิ พลไปในดิ นแดน ตะวันออก และเคยรวมกับรุสเซียเพื่อแบงดินแดนตุรกี รุสเซียซึ่งดําเนินการสนับสนุนใหชนเผาสลาฟใน บอลขานแยกตัวเปนอิสระ ออสเตรียไมพอใจรุสเซียและขัดขวางไมใหพวกสลาฟในบอลขานแยกตัวเปนอิสระ เนื่องจากกลัวชนเผาสลาฟในออสเตรียเรียกรองเอกราชบาง (www.thecorner.org) อังกฤษ อังกฤษตองการคงอํา นาจในยุโรปเพื่อผลประโยชนทางการคา และพยายามปดลอมไมให รุสเซี ย ออกมาสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนไดเพราะอาจกระทบกับเสนทางการคาจากเมดิเตอรเรเนียนไปสูอินเดีย ทําให รุสเซียมีบทบาทอยางมากในยุโรปตอนกลางประชาชนและรัฐบาลอังกฤษเริ่มหวาดกลัวและแสดงความเปน ปรปกษจนทําใหเกิดสงครามไครเมีย (www.thecorner.org) ฝรั่งเศส ฝรั่งเศสนั้นตองการขยายอิทธิพลในดินแดนแถบนี้อยูแลว ตั้งแตสมัยสาธารณรัฐครั้งที่หนึ่งพอถึงสมัย พระเจานโปเลียนที่ 3 ทรงพยายามแขงขันกับอังกฤษในแอฟริกาเหนือ และเขาแทรกแซงในคาบสมุทรบอลขาน ทําใหพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์ตองแตกแยก และฝรั่งเศสเขาสูสงครามไครเมีย เพื่อใหฝรั่งเศสมีอํานาจทัดเทียมกับ อังกฤษ รุสเซีย ปรัสเซีย และออสเตรีย (www.napolean.com) ชนวนหรือจุดระเบิดของปญหาตะวันออกมีตนเหตุมาจากชาตินิยม คือ ความตองการที่จะแยกตัว ออกเปนอิสระจากตุรกีของชนชาติตางๆ ซึ่งอยูภายใตการปกครองของตุรกี และพวกที่เคลื่อนไหวแยกตัวพวก แรกคือ พวกเซิรบ (www.encyclopedia.com) ชาวกรีกไดทําการปฏิวัติใน ค.ศ. 1821 แตไมสําเร็จ ตุรกีจึงขอใหเมเฮเมต อาลี ปาซา แหงอียิปตมา ชวยปราบ การปราบกบฎชาวกรีกอยางโหดราย อังกฤษ รุสเซีย และฝรั่งเศสทําสนธิสัญญาลอนดอนเพื่อใหตุรกี ยุติสงคราม เมื่อตุรกีปฏิเสธจึงมีการรบขึ้นที่นาวาริโน ตอมาอังกฤษกับฝรั่งเศสไดถอนตัวออกไปรวมถึงอียิปต ดวย แตในที่สุดตุรกีก็ยอมสงบศึกและไดทําพิธีสารแหงลอนดอนเพื่อใหเอกราชกับกรีก ใน ค.ศ. 1832 (www.Vinland.org) เรือรบของออสเตรีย ในสงครามไครเมีย

เมเฮเมต อาลี ปาชา แหงอียิปตไมพอใจที่ตุรกีไมยอมยกซีเรียใหหลังจากชวยปราบกรีกจึงใหอิบราฮิม นํากองทัพไปตีกรุงคอนสแตนติโนเบิล ตุรกีพายแพและรุสเซียเขาแทรกแซงไดเต็มที่ในและตุรกีตองนําสัญญา อนาเคียร-สเกเลสกี้ ใหรุสเซียผานชองแคบคารดะแนลสสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนได ฝรั่งเศสและอังกฤษได ใหอิยปตและตุรกีทําพิธีสารแหงลอนดอน ใหอียิปตคืนดินแดนที่ไดจากตุรกี แตเมเฮเมตไมยอมจึงถูกโจมตีที่ ซีเรีย ในปค.ศ. 1841 ไดทําพิธีสารชองแคบไมใหเปดชองแคบคารดะแนลสและบอสฟอรัสใหแกเรือของประเทศ ใดผานออกทั้งสิ้น ทําใหรุสเซียไมสามารถออกสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนไดอีก (www.Ukans.edu)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 100

สงครามไครเมีย -สาเหตุสําคัญของการเกิดสงคราม 1. ความรูสึกในดานชาตินิยมในคาบสมุทรบอลขาน เชน กรีก โรมาเนีย บัลกาเรีย 2. การแขงขันระหวางมหาอํานาจ รุสเซีย อังกฤษ ฝรั่งเศส ทั้งทางดานการเมืองและผลประโยชนทาง เศรษฐกิจ 3. ความพยายามของตุรกีในการรักษาอาณาจักรของตนไวใหได -สาเหตุรอง เนื่องมาจากปญหาสิทธิเหนือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในดินแดนปาเลสไตนที่สําคัญ ซึ่งมีอยู 2 แหง คือ นครเยรูซาเล็ม และเบธเลเฮม (www.crimeanwar.org)

สนามรบสงครามไครเมีย พระเจาซารนิโคลัสที่ 1 ไดสงเมนซิกอฟ ไปกรุงคอนสแตนติโนเบิล เพื่อทวงสัญญาในสิทธิคุมครอง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ แตตองกลับไปดวยความผิดหวัง รุสเซียบุกยึดมอลเดเวียและวัลลาเซีย อังกฤษและฝรั่งเศสจึง รวมประกาศสงครามกับรุสเซียในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1854 (http://www.gnv.fdt.net)

พระเจาซารนิโคลัสที่ 1 พระเจาซารนิโคลัสที่ 1 เคยเสนอแบงครึ่งตุรกีกับอังกฤษ แตอังกฤษเห็นวาถาตุรกียังอยูตนจะได ประโยชนมากกวา เชนเดียวกับออสเตรีย สวนพระเจานโปเลียนที่ 3 ก็อยากจะสรางเกียรติภูมิ และตองการแก แคนรุเสซีย ทั้งสามประเทศจึงรวมตัวกัน ประกาศสงครามกับรุสเซีย (www.suite101.com) ในป ค.ศ. 1853 อังกฤษ ฝรั่งเศส ออเสตรียและปรัสเซียไดประชุมที่เวียนนามีมติใหรุสเซียมีสิทธิ คุมครองคริสตศ าสนานิ กายกรี กออธอดอกรในอาณาจักรตุร กี แตให รุสเซียถอนทหารออกไป ซึ่ง เรียกว า สารจากกรุงเวียนนา แตทั้งตุรกีและรุสเซียไมยอม ตุรกีประกาศสงครามกับรุสเซีย เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1853 (www.btinternet.com)


101

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

การยกพลขึน้ บกที่แควนไครเมีย

ฟลอเรซ ไนติงเกล

ป ค.ศ. 1854 กองทั พเรืออัง กฤษและฝรั่ งเศสเล นเขา ทะเลดํ าและให ทหารรุส เซี ยถอนออกไป เมื่อรุสเซียไมยอม ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับรุสเซีย รุสเซียจึงยอมถอนทหารรออกจาก มอลเดเวียและวัลลาเซีย ตามคําขอของออเสเตรีย อังกฤษและฝรั่งเศสไดบุกแควนไครเมีย การรบครั้งนี้ทําให เกิดหนวยพยาบาลฟลอเรซ ไนติงเกล เปนหัวหนามาพยาบาลผูบาดเจ็บ (www.xrefer.com) ในวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ.1854 ออสเตรียไดพยายามยุติสงครามโดยเสนอ "แถลงการณ 4 ขอแหง เวียนนา" กลาวคือ 1. ไมยอมใหรุสเซียเขามาอารักขาแควนตางๆในลุมน้ําดานูบ 2. ใหปรับปรุงการเดินเรือในลุมแมน้ําดานูบ 3. ทบทวนขอตกลงเรื่องการเดินเรือในชองแคบคารดะแนลสและบอสฟอรัส ป ค.ศ.1841ใหม 4. เลิกใหรุสเซียเปนผูพิทักษชาวคริสเตียนในบอลขาน รัสซียไมอาจรับแถลงการณ 4 ขอ ใน 3 ขอได ทั้งสองฝายจึงรบกันตอไป ป ค.ศ. 1855 กองทัพกองทัพเรือของซารเนีย-ปเอดมองค ไดเขารวมสงครามเพื่อหวังผลประโยชนใน การรวมอิตาลี และออสเตรียก็หันเขากับฝายสัมพันธมิตร พระเจาซารนิโคลัสที่ 1 สวรรคต พระเจาอเล็ก ซานเดอรที่ 2 ขึ้นครองราชยแทน รุสเซียจึงยอมรับขอเสนอของออสเตรียในการยุติสงคราม (www.royalsighals.army.org.uk)

ทหารที่รวมรบในสงครามไครเมีย

คือ

สนธิสัญญาแหงกรุงปารีส ค.ศ.1856 รุสเซียและสัมพันธมิตรทําสัญญาสงบศึกในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ 1856 ที่กรุงปารีส ซึ่งมีสาระสําคัญ 1. รุสเซียตองคืนมอลเดเวียและวัลลาเซีย รวมทั้งเมืองคารสแกตุรกี สวนสัมพันธมิตรตองคืนปอม ตางๆในแหลมไครเมียแกรุสเซีย 2. ไมยอมใหรุสเซียเปนผูอารักขาชาวคริสเตียนในตุรกี 3. ใหการค้ําประกันความปลอดภัยของเรือที่ผานทะเลดําและหามเรือรบผาน (http://www.victorian.fortunecity.com)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 102

บทสรุป ปญหาตะวันออกและสงครามไครเมียทําใหชาติตางๆ เสียหายอยางมาก ทั้งทางเศรษฐกิจ และชีวิต ของทหารและพลเรือน ทั้งยังทําใหเกิดความไมสงบในภูมิภาคและเปนปญหาสืบเนื่องไปสูสงครามโลกครั้งที่ 1 แตสงครามครั้งนี้ทําใหเกิดวีรสตรี 2 คน คือ ฟลอเรนซ ไนติงเกล และดารยา เชวาสโตปอล กายา ที่ทําหนาที่ เปนพยาบาลในสนามรบ. สวนที่ 3 การรวมอิตาลี และการรวมเยอรมัน หลังจากการลมสลายของอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ คาบสมุทรอิตาลีไดแตกแยกออกเปนรัฐ ๆ การรวมชาติของชาวอิตาเลียนจึงยังไมประสบความสําเร็จ ทั้งนี้หลายรัฐยังอยูในความอารักขาของออสเตรีย สวนดินแดนเยอรมันเปนดินแดนที่เต็มไปดวยจิตวิญญาณแหงชาตินิยมและเสรีนิยม โดยมีจุดมุงหมายเพื่อการ รวมชาติ และมีการปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีปรัสเซียเปนแกนกลางในการรวมเยอรมัน โดยมีออสเตรีย เปน ตัวขัดขวางการรวมชาติทั้ง ของอิ ตาลี และเยอรมัน ดั งนั้ นหากคิ ดจะรวมเยอรมั นตองกํ าจั ดออสเตรี ย ใหไดกอน การรวมอิตาลี ขบวนการรวมชาติอิตาลีไดเคยแสดงออกมาหลายครั้ง ครั้งหลังสุดเมื่อป ค.ศ. 1848 โดยพระเจา ชารลส อัลเบิรต แหงราชอาณาจักรซารดิเนีย - ปเอดมอนต แตไมสําเร็จ ตอมาพระเจาวิกเตอร เอมมานูเอล โอรสของพระเจาชารลส อัลเบิรต ไดครองราชยและดําเนินนโยบายการรวมชาติตอไป โดยไดคาวัวร มาเปน นายกรัฐมนตรี ในป ค.ศ.1852 ซึ่งเขานับเปนตัวจักรสําคัญในการรวมชาติ (www.sjci.com) นโยบายรวมชาติของคาวัวร คือ ตองปรับปรุงกองทัพใหเขมแข็ง โดยตองมีเศรษฐกิจที่มั่นคงเสียกอน จึงไดปรับปรุงการอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม จนมีงบประมาณเพียงพอในการปรับปรุงกองทัพใหมีความ เขมแข็ง ในป ค.ศ. 1854 กองทัพซารดิเนีย-ปดเอดมอนต ไดเขารวมสงครามไครเมีย กับสัมพันธมิตรและมี ฐานะเปนผูชนะสงครามเทาเทียมกับอังกฤษ ฝรั่งเศส และออสเตรีย (http://www.history.hanover.edu)

คาวัวร รัฐบุรุษผูรวมอิตาลี การแสวงหาพันธมิตรของคาวัวร คาวัวร คิดวาการจะขับไลออสเตรียออกไปจากอิตาลีควรมีพันธมิตรรวมดวย ประเทศนั้นคืออังกฤษ แต ไม แน ใจว า อั ง กฤษจะร วมมื อ ด ว ยจึ ง หั น ไปหาพระเจ า นโปเลี ย นที่ 3 ให ส นั บ สนุ น การรวมอิ ต าลี (www.lib.byu.edu) จึงมีการเปดเจรจาโดย ซารดิเนีย - ปเอดมอนต จะใหแควนซาวอยและนิชแกฝรั่งเศส เปนการตอบแทน โดยเรียกสัญญานี้วา " ขอตกลงเมืองเปลองปแอร " (www.mi.cnr.it)


103

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

รัฐบุรุษในการรวมอิตาลีมีความคิดในเรื่องนี้ตางกันไป * กุสเชพพ มาซซินี เลื่อมใสการปกครองแบบสาธารณรัฐ * วินเซนโซ จิโอแบรติ อยากใหรวมอิตาลีแบบสมาพันธรัฐภายใตการนําของสันตะปาปา * การิบัลดี ตองการรวมประเทศโดยใชกําลังและรวมอิตาลีทั้งหมด * คาวัวร อยากเปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไป มีการปกครองแบบกษัตริยมีอํานาจตามขอกําหนด ในรัฐธรรมนูญ (www.italy1.com) สงครามรวมชาติอิตาลี ซารดิเนีย - ปเอดมอนต เรงสรางอาวุธและกองทัพ รุสเซียขอใหมีการประชุมลดอาวุธ แตทั้ง 2 ฝายยืนยันไมยอมลดอาวุธ ออสเตรียจึงสงกองทัพเขาตี ซารดิเนีย - ปเอดมอนต แตฝรั่งเศสเขาชวยไดทันทํา ใหออสเตรียแพถึง 2 ครั้ง แตฝรั่งเศสยุติสงครามเสียกอนจะไดชัยชนะอยางเด็ดขาด (www.fordham.edu) การรวมอิตาลีภาคเหนือ ประชาชนในรัฐตางๆ เชน ทัสคานี โมเดนา โรมัญญา ปารมา ไดขับไลเจาผูครองรัฐออกไป และ รวมเขากับซารดิเนีย - ปเอดมอนตเปนกองทัพเดียวกัน คาวัวรไดลับมาเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง และยกซา วอยและนี ช ให ฝ รั่ ง เศสตามการตกลง ทํ า ให ก ารรวมอิ ต าลี ท างตอนเหนื อ สํ า เร็ จ ยกเว น เวเนเซี ย (www.llmc.com)

รัฐตางๆของอิตาลีกอนรวมชาติ การรวมอิตาลีภาคใต การิบัลดีนําพลอาสาสมัครจํานวน 1,136 คน เรียกวา"กองทหารพันคน" ไปตีเกาะซิซิลี ตอมาเขายึด นครเนเปลสได พระเจาวิกเตอร เอ็มมานูเอลไดยกทัพมายึดมารชสและอัมเบเรียและผนวกเขากับซารดีเนีย ตามประชามติ สวนการรวมซิซิลีและเนเปลสยุงยากเล็กนอยเพราะการิบัลดีไมพอใจคาวัวรที่ยกนีสใหฝรั่งเศส แตมีมติประชาชนใหซิซิลีและเนเปลสรวมกับซารดิเนีย - ปเอดมอนต ทําใหอิตาลีรวมชาติไดสําเร็จในป ค.ศ. 1861 (www.roangelo.net) ตอมาการิบัลดีไดยกกองทัพมาตีโรมถึง 2 ครั้งทําใหฝรั่งเศสไมพอใจอยางมาก อิตาลีขายึดกรุงโรม และยายเมืองหลวงมาที่นี่ดวย ตอมาไดผนวกเขากับอิตาลีตามประชามติ ทําใหพระสันตะปาปาไมพอพระทัย อยางมาก สําหรับเวเนเซียนั้นอิตาลีไดมาเพราะรวมเปนพันธมิตรกับปรัสเซียทําสงคราม 7 สัปดาหกับออสเตรีย (http://idcs100.tib.iup.edu)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 104

เสนทางการเดินทัพของการิบัลดี

การรวมเยอรมัน อุปสรรคในการรวมเยอรมัน 1. เจาผูครองนครไมรวมมือ เพราะกลัวหมดอํานาจ 2. การไมตองการรวมพวกสลาฟในออสเตรีย อาจทําใหเกิดปญหาของออสเตรีย 3. มหาอํานาจอาจขัดขวาง เพราะไมตองการใหเยอรมันเขมแข็งขึ้นมา 4. รัฐผูนําการรวมชาติตองมีกําลังเขมแข็งเปนอยางมาก (www.fatemi.com) การเตรียมรวมเยอรมันของปรัสเซีย พระเจาเฟรดเดอริก วิลเลี่ยมที่ 3 มีความพยายามรวมเยอรมัน ถึง 2 ครั้งแตก็ลมเหลวและขัดแยงกับ ออสเตรียจนตองทําสัญญาที่เมืองโอลมุตซ จนทรงทอแทพระทัยและสติวิปลาสไปในที่สุด (www.homeworkhelp.com) พระเจาไกรเซอร วิลเลียมที่ 1 ขึ้นครองราชยและพยายามรวมประเทศอีกครั้ง โดยมีความเห็นตรงกับ นายพลอัลเบิรต ฟอนจูน วาการรวมเยอรมันตองมีกองทัพที่แข็งแกรง จึงเสนอรางงบประมาณมาปรับปรุง กองทัพแกรัฐสภาถึง 2 ครั้ง แตไมผานจนพระองคเกือบจะสละราชบังลังก แตฟอนจูน แนะนําใหเรียก บิสมารค มาแกปญหานี้ (http://www.library.byu.edu)

พระเจาไกเซอร วิลเลียมที่ 1

ออตโตวอน ฟอน บิสมารก

ออตโตวอน ฟอน บิสมารค เปนนักการฑูตที่มีความสามารถของปรัสเซียเนื่องจากไดไปอยูในหลาย ประเทศ เขาถูกเรียกตัวกลับเบอรลิน เพื่อสนับสนุนแผนการปรับปรุงกองทัพและเปนนายกรัฐมนตรี ในป ค.ศ. 1862 (http://www.webL.trenton.edu)


105

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บิสมารค เชื่อวา การรวมประเทศเยอรมันไมสามารถทําโดบวิธีทางการฑูตได แตตองใชกําลังและ แสนยานุภาพาของกองทัพ หรือวิธี " เลือดและเหล็ก " บิส มารคทําใหทั้งสภาลางและสภาสูงยอมผา น งบประมาณปรับปรุงกองทัพ นอกจากนี้บิสมารคยังผูกมิตรกับเพื่อนบานเพื่อการไมแทรกแซงในการรวม เยอรมัน ยิ่งไปกวานั้นปรัสเซียยังชวยรุสเซียในการปราบกบฎชาวโปลทําใหรุสเซียเปนมิตรที่ดีตอปรัสเซีย (http://www.mars.acnet.wnec.edu) สงครามในการรวมเยอรมัน สงครามกับเดนมารก เนื่องจากในป ค.ศ. 1863 เดนมารกคิดรวมรัฐชเลสวิก ทําใหรัฐชเลสและโฮลสไตนไมพอใจจึงมีการ ขอความชวยเหลือไปยังสภาแหงฟรังคเฟรต ตอมาปรัสเซียไดชวนออสเตรียทําสงครามกับเดนมารกจนได ชัยชนะ ทําใหปรัสเซียและชเลสวิก สวนออสเตรียไดโฮลสไตนตามอนุสัญญาแกสไตน ค.ศ. 1865 ทําให ปรัสเซียไดแสดงถึงความเขมแข็งของกองทัพที่สามารถปกปองรัฐอื่นได (www.2.h-net.mus.edu) สงครามเจ็ดสัปดาห บิส มาร ค ได ทํา สัญ ญาเป น พัน ธมิต รกับ อิ ต าลี โ ดยแลกกั บ แคว น เวเนเซี ยของออสเตรี ยปรั ส เซี ยกั บ ออสเตรี ยมี ปญ หาเรื่ อยมาเกี่ยวกั บรั ฐชาเลสวิกและโฮลสไตน จนในที่สุ ดปรัส เซียได ประกาศสงครามต อ ออสเตรีย ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1866 เมื่อสงครามเริ่มอิตาลีเขาโจมตีเวนาเซียแตตองพายแพ สวนป รัสเซียก็พายแพในระยะแรกเชนกัน แตตอนหลังดวยการขนสงทางทหารที่รวดเร็วกวา ทําใหปรัสเซียสามารถ ชนะออสเตรียได จึงตกลงสัญญาสงบศึกที่กรุงปราก เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1866 ทําใหออสเตรียตอง ยอมรับวา ปรัสเซียเปนผูนําในการรวมชาติ และสมาพันธรัฐเยอรมันสิ้นสุดลงแลวรวมทั้งเสียเวนาเซียใหอิตาลี และโฮลสไตนใหแกปรัสเซีย (http://www.raven.cc.ukans.edu) สงครามกับฝรั่งเศส สงครามครั้งนี้ทําเพื่อรวมรัฐทางใตแมน้ําเมนเขากับปรัสเซีย และใหฝรั่งเศสยอมรับการรวมเยอรมัน โดยทําใหฝรั่งเศสอยูโดดเดี่ยว สวนสาเหตุของสงครามเนื่องมาจากบังลังกกษัตริยของสเปนวางลง และไดเลือก เจาชายลิโอโปลค เปนกษัตริยองคตอไปโดยการสนับสนุนของบิสมารค ทําใหฝรั่งเศสไมพอใจฑูตไปพบพระเจา ไกเกอร วิลเลียม แตก็ไมไดทําอะไรเปนลายลักษณอักษร ฝรั่งเศสจึงกลาวหาวาปรัสเซียไมเคารพฑูต และ ประกาศสงครามกับปรัสเซียในวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1870 แตฝรั่งเศสตองพายแพแกปรัสเซียในทุก สนามรบ เกิ ดความตึงเครียดในปารีส ในที่สุดพระเจานโปเลียนก็ถูกปลดโดยคณะปฏิวัติ และตั้งรัฐบาล สาธารณรัฐขึ้น มีการสงบศึกในวันที่ 28 มกราคมค.ศ.1871 การรวมเยอรมันจึงสําเร็จ ใน ค.ศ. 1871 (www.fordham.edu) การรวมจักรวรรดิเยอรมันและสถาปนาพระเจาไกเซอร วิลเลี่ยมที่ 1 เปนจักรพรรดิ์


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 106

อิตาลีภายหลังการรวมประเทศ การเมืองของอิตาลีภายหลังการรวมประเทศมีปญหามากมายรัฐบาลพยายามสรางระบบตางๆใหเปน หนึ่งเดียว คือ ระบบการเงิน กองทัพ และประกาศใชรัฐธรรมนูญปกครองราชอาณาจักรป ค.ศ. 1871 (www.allofltaty.com) การเมืองของอิตาลีมักใชความรุนแรงและปราศจากความรับผิดชอบ เหตุการณวุนวายเกิดขึ้นหลาย ครั้ง ในปค.ศ. 1900 พระเจาฮัมเบิรก ถูกขวางระเบิดจนสิ้นพระชนม เนื่องจากปลอยใหมีการบริหารที่คดโกง เมื่ อความปลอดภั ยมี น อยลงทุ กที ในป ค.ศ. 1905 ประชาชนอพยพออกจากอิ ต าลี เ ป น จํ า นวนมาก ( www.historyplace.com ) พระเจาวิคเตอรที่ 3 ขึ้นครองราชย ป 1900 ทรงปรับปรุงแกไขปญหาตางๆดวยความอะลุมอลวย ประเทศมีเ ศรษฐกิจดีขึ้ นแตข บวนการสัง คมนิ ยมยัง กอความวุน วาย แต ถูกปราบปรามดวยกํ าลั งกองทั พ (www.itaty1.com) ความสัมพันธกับสันตะปาปา เปนอีกปญหาหนึ่ง พระสันตะปาปาไพอัสที่ 4 ไมยอมรับอํานาจของ อาณาจักร ทรงประกาศเรียกรองใหชาวคาทอริกไมรวมมือกับรัฐบาล จนกระทั่งในป ค.ศ. 1929 รัฐบาลอิตาลี โดยมุสโสลินี ทําสัญญา Lateran Treaty กับพระสันตะปาปาไพอัสที่ 11 โดยใหเขตวังวาติกันไมขึ้นกับอิตาลี และยอมจายคาชดเชยใหสํานักวาติกัน(www.heraldica.org/topcslnation/itaty.htm) เหนือเศรษฐกิจของอิตาลีภายหลังรวมประเทศมีปญหามาก รัฐบาลพยายามพัฒนาดานการขนสง ตั้งธนาคารประชาชน ความลัมเหลวของการปกครอบแบบรัฐสภาทําใหเกิดการปฏิวัติสังคมนิยม อิตาลีจึงเขาสู ระบบจักรวรรดินิยมโดยยึดครองเอธิโอเปย และนําประเทศเขาสูสงครามโลก (www.italianpride.com) จักรวรรดินิยมเยอรมันภายหลังการรวมประเทศ สมัยบิสมารคเรืองอํานาจ บิสมารคแกปญหาความแตกแยกของชนเชื้อชาติอื่นในเยอรมันดวยความเขาใจทางดานการปกครอง เศรษฐกิจที่มั่นคง เยอรมันตองประสบปญหาจากพวกดําสากล คือ พวกคาทอริกพยายามตอตานเยอรมัน ตอมาบิสมารคใหพระเขาดํารงตําแหนงในจักรวรรดิเยอรมัน องคกรคริสตจักรฝายคาทอริก จึงใหความรวมมือ ในการต อต า นสั ง คมนิ ยม บิส มาร ค ใช วิธีทํา ให จักรวรรดิ เ ยอรมัน เปน รั ฐสั ง คมนิ ยมตั้ งแต ค.ศ. 1883( www.fordhan.com ) นโยบายตางประเทศของบิสมารคคือ พยายามรักษาสันติภาพในยุโรปไวใหนานที่สุด และรักษาความ ปลอดภัยของเยอรมัน โดยใหฝรั่งเศสอยูโดดเดี่ยว และพยายามทําใหมหาอํานาจเกิดความหวาดระแวงตอกัน (www.geocities.com) พระเจาวิลเลี่ยมที่ 2 พระเจาไกเซอรวิลเลี่ยมที่ 2 ก็ครองราชย เมื่อพระชนม 29 พรรษา ทรงมีนิสัยชอบทหาร ไมชอบบิ สมารค พระองคจึงปกครองแบบอัตตาธิปไตย ยกเลิกพระราชบัญญัติตอตานสังคมนิยมของ บิสมารคทรงปลด บิสมารคและอัครมหาเสนาบดีอีก 4 คน (http://www.yermanculture.about.com)

พระเจาไกเซอร วิลเลี่ยมที่ 2


107

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

พระองคทรงเสริมสรางกองทัพเรือ และแสวงหาอาณานิคม ทรงยกเลิกระบบสัญญาลับของบิสมารค และเลิกทําใหฝรั่งเศสอยูโดดเดี่ยว ฝรั่งเศสจึงหันไปจับมือเปนพันธมิตรกับอังกฤษ และรุสเซีย ทั้งสามประเทศ จึงทําสัญญา ฉันทะไมตรี เพื่อตอตานพันธมิตรสามเสาไดแก เยอรมัน ตุรกี และออสเตรีย - ฮังการี (http://www.europanhistory.about.com) บทสรุป การรวมอิตาลีและเยอรมันสําเร็จลงไดเนื่องจากมีปจจัยหลายอยาง เชน ผูนําที่มีความรูความสามารถ ทั้งทางดานการทูตและการทหาร สามารถรวมจิตใจประชาชนเขาดวยกัน กลุมพันธมิตร อันศักดิ์สิทธิ์ได แตกแยกโดยเฉพาะออสเตรียกับรุสเซีย และเปนการพิสูจนวาสิ่งใดก็ตามเปนความตองการของประชนสวน ใหญ ยอมทําสําเร็จไดเสมอ. สวนที่ 4 สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 สงครามโลกเป นสงครามใหญที่สุดเท าที่โ ลกเคยมี มาเป นสงครามที่กอใหเ กิดความเสียหายอยา ง รายแรงที่สุดเพราะอาวุธที่คูสงครามนําออกมาใชลวนมีประสิทธิภาพมาก หาใชอาวุธประเภทหอกดาบ ธนูหรือ ปนไฟ เหมือนสงครามใหญๆในอดีต โดยเฉพาะสงครามโลกครั้งที่ 2 สนามรบไดขยายจากยุโรปและแอฟริกา ไปสูอเมริกา เอเชีย และหมูเกาะในมหาสมุทรแบบซิฟกอาวุธยุโธปกรณก็รายแรงพอจะทําลายโลกไดทั่วโลก โดยเฉพาะโลกตองตะลึงกับระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกาที่มีอานุภาพเหนือาวุธของชาติใดในเวลานั้น

แผนที่ทวีปยุโรปป ค.ศ. 1914 สงครามโลกครั้งที่ 1 สาเหตุของสงคราม สาเหตุเดิมมาจากชาตินิยมของชนชาติตางๆที่อยูในยุโรป โดยเฉพาะพวกสลาฟในบอลขานตองการ เปนเอกราชจากตุรกี และออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งมีเซอรเบียคอยปลุกกระแสชาตินิยมของชาวสลาฟซึ่งเปน ฉนวนใหเกิดจุดระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 (www.lib.byu.edu) ชนวนเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นเมื่ออารชดยุกฟรานซิส เฟอรดินานด รัชทายาทแหง ราชอาณาจักรออสเตรีย - ฮังการี และพระชายา ถูกลอบปลงพระชนมที่เมืองซาราเจโว โดยผูกอการราย ชาวเซอรเบีย รัฐบาลเซอรเบียปฏิเสธการยื่นคําขาดของรัฐบาลออสเตรีย - ฮังการีที่จะเขามามีสวนในการ พิจารณาคดี รัฐบาลออสเตรีย - ฮังการีจึงไดประกาศสงครามกับเซอรเบียในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 (www.fordham.edu)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 108

แผนที่คาบสมุทรบอลขานป ค.ศ. 1914 เยอรมันไดประกาศสงครามกับรุสเซียในวันที่ 1 สิงหาคม และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคม สวนอังกฤษซึ่งไมอยากเขารวมสงคราม แตเมื่อเยอรมันบุกเบลเยี่ยม อังกฤษจึงประกาศสงครามกับ เยอรมันในวันที่ 4 สิงหาคม (www.spartacus.schoolnet.co.uk) การรบในสงครามโลก ครั้งที่ 1 การรบดานตะวันตก เยอรมันตองการชนะฝรั่งเศสใหเร็วที่สุดเพราะมีกําลังนอยกวาสัมพันธมิตร จึงบกเบลเยี่ยม อยางรวดเร็วและเดินหนาไปยังปารีสแตดวยการประสานงานที่ไมดี จึงทําใหเยอรมันพายแพ ทําใหเยอรมันตอง ถอยทัพในวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1914 เยอรมันพยายามเขาตีเมืองอีฟสเพื่อตัดเสนทางขนสงถึง 2 ครั้ง ในครั้งที่ 2 เยอรมันนําแกสพิษมาใช แตไมไดผล ทั้ง 2 ฝายจึงตั้งมั่นตั้งแตชายทะเลของเบลเยี่ยมไปจนถึง ชายแดนสวิสเซอรแลนดในตลอด 3 ปของสงคราม (www.ww-1.propagonda-cards.com) การรบดานตะวันออก กองทัพเยอรมันตองเสียปรัสเซียตะวันออก แตกองทัพรุสเซียก็ถูกกองทัพเยอรมันปดลอมไว ในปรัสเซียตะวันออก มีทหารถูกจับเปนเชลยนับแสนคน ในขณะที่กองทัพรุสเซีย 4 กอง ยึดกาลิเซียได ในเดือนธันวาคม ค.ศ.1914 ออสเตรียหยาศึกกับเซอรเบียเนื่องจากมีกําลังไมพอ และสูญเสียกําลังพลไปมาก ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1915 อิตาลีเขารวมกับสัมพันธมิตร (www.mi.cnr.it)

แผนที่ประเทศในสงครามโลกครั้งที่ 1


109

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ในการทํ า สงครามทั้ ง สองพยายามหาพั น ธมิ ต รเพิ่ ม ญี่ ปุน ได เ ข า ร วมสงครามกั บ ฝ า ย สัมพั นธมิ ตรในเดือนสิง หาคม ค.ศ.1914 และอิต าลี เขา รวมกับ พัน ธมิต รในเดื อนพฤษภาคม ค.ศ.1915 กองทัพเรือผสมอังกฤษ ฝรั่งเศสเขายึดตุรกีแตไมไดผล จึงหันมายกพลขึ้นบก แตก็ไมสามารถบุกตุรกีได เนื่องจากถูกมุสตาฟา เคมาลนํากองทัพตุรกียิ่งถลมอยางหนักในเดือนธันวาคมค.ศ. 1915 จนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1916 (www.thecorner.org) โรมาเนียเข ารวมกั บพันธมิตรในค.ศ.1916เพื่ อแลกกั บบูโกวินาและทรานซิลเวเนีย ทําให เยอรมันตองแบงทหารไปรับศึกกับโรมาเนีย จึงไมสามารถเอาชนะที่แวรดังได และสูญเสียทหารไปหลายแสน คน ตอมากรีชก็ไดเขารวมกับสัมพันธมิตรเพราะตองการดินแดนของตุรกีและบังกาเรียที่เขากับฝายเยอรมัน อังกฤษพยายามบุกเขาตุรกีทางแบกแดด แตไมสามารถทําไดและสลายตัวไปในเดือน เมษายน ค.ศ.1916 (www.cfanet.com) การรบทางทะเล เยอรมันไมอาจสูอังกฤษไดในทะเลเหนือ จากการปะทะกันทั้ง 2 ครั้ง เยอรมันตองเปนฝาย ถอยทัพ 2 ครั้ง ใน ค.ศ.1915 และ ค.ศ.1916 แตเยอรมันประกาศวานานน้ําอังกฤษและ ฝรั่งเศสเปนเขต สงครามและใชเรือดําน้ําปฏิบัติการแทน เดือนพฤษภาคม ค.ศ.1916 เยอรมันเตรียมการรบขั้นเด็ดขาดกับ อังกฤษบนคาบสมุทรจัตแลนด ผลปรากฏวาถึงแมอังกฤษจะเสียหามากกวาแต เยอรมันก็ไมสามารถเอาชนะ อังกฤษไดอยางเด็ดขาด (www.navy.ru/history) สหรัฐอเมริกาเขารวมสงคราม กอนสงครามนั้นสหรัฐอเมริกาวางตัวเปนกลาง แตตอมาเพื่อการรักษาสิทธิการคาในนานน้ํา อังกฤษและฝรั่งเศส ตอมาเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1915 เรือโดยสารลูซิตาเนียถูกเรือ ดําน้ํายิงจม สหรัฐ อเมริ กาไม พอใจอย างมากแตฑูตเยอรมั นแจง วา จะไม ให เกิ ดขึ้ นอี ก ซึ่ งต อมามี หลั กฐานวา เยอรมั น พยายามใหเม็กซิโกเขารวมสงครามแลวจะคืนรัฐเท็กซัส นิวเม็กซิโก และอริโซนาคืนใหเม็กซิโก รวมทั้งเรือของ สหรัฐอเมริกา 5 ลําถูกเยอรมันยิงจมลง สหรัฐอเมริกาจึงประกาศสงครามกับเยอรมันในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917 (http://www.victorian.fortunecity.com) ประธานาธิปดี วูดโรว วิลสัน แหงสหรัฐฯ ประกาศสงครามกับเยอรมัน

การรบใน ค.ศ. 1917 และ ค.ศ. 1918 ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1917 เกิดการปฏิวัติในรุสเซีย รัฐบาลรุสเซียโดยเลนินเจรจาสงบศึกกับ เยอรมัน ทําใหเยอรมันทุมกําลังในสานามรบอื่นไดเต็มที่ ขณะที่ฝายสัมพันธมิตรตองตกเปนรอง ประกอบกับ สหรัฐอเมริกายังไมพรอมที่จะสงกําลังมาชวย ฝรั่งเศสสูญเสียทหารไปมากจนทหารเริ่มเรียกรองใหยุติสงคราม สวนอังกฤษก็สูญเสียกําลังพลในการรบ ที่ฟลาวแลนดไปเกือบหาแสนคน แตเมื่ออังกฤษนํารถถังมาใชจึง สามารถชนะที่คอมเบร สวนอิตาลีตองเสียทั้งกําลังพลและดินแดนไปมากโดยอังกฤษและฝรั่งเศสไมสามารถ ชวยได (http://www.info.ox.ac.uk)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 110

พระเจาซารนิโคลัสที่ 2 ใน ค.ศ.1918 เยอรมันพยายามทําสงครามขั้นแตกหักกับอังกฤษ และฝรั่งเศส เยอรมัน สามารถเคลื่อนพลมาอยูหางจากปารีสเพียง 40 ไมล แตไมสามารถบุกเขาไปไดเนื่องจากขาดกําลังบํารุง เชื้อเพลิงและเสบียงอาหาร ในกลางป ค.ศ. 1918 สหรัฐอเมริกาไดสงกําลังพลมาชวยอังกฤษและฝรั่งเศส เยอรมันเริ่มพายแพอยางตอเนื่อง บังกาเรียยอมแพในวันที่ 29 กันยายน ค.ศ.1918 ตามดวยตุรกีในเดือน ตุลาคม สวนออสเตรีย-ฮังการี เริ่มปนปวนเนื่องดวย เชกและสโลวักขอแยกตัวเปนอิสระ ความออนแอทั้ง ภายนอกและภายในทําใหออสเตรีย-ฮังการี ยอมสงบศึกในวันที่ 4 พฤศจิกายน สภาพความตึงเครียดกดดันใหเกิ ดการปฏิวัติ ในเยอรมั น พระเจา ไกเซอรวิล เลี่ยม ที่ 2 หนีออกนอกประเทศและลี้ภัยไปอยูเนเธอรแลนด สาธารณรัฐเยอรมันถูกตั้งขึ้นในวันที่ 9 พฤศจิกายน และ รัฐบาลเยอรมันยอมทําสัญญาสงบศึกในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 สงครามอันยาวนานยุติลง และมีการ ลงนามในสนธิสัญญาแวรซายส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (www.geocity.com) สงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 สรุปไดดังนี้ 1. ความรูสึกไมเปนธรรมในสนธิสัญญาแวรซายสของเยอรมัน 2. การกอตั้งครั้งใหมของมหาอาณาจักรเยอรมัน โดยการนําของฮิตเลอร 3. ความแตกต างของลัทธิ การปกครองของกลุ มอั กษะ คื อ เยอรมั นและอิ ตาลี เป น เผด็ จการ สวนญี่ปุนเปนแบบจักรพรรรดิ สวนฝายสัมพันธมิตรเปนประชาธิปไตย 4. การแขงขันทางเศรษฐกิจของผูมีอาณานิคมมาก กับผูไมมีอาณานิคม 5. การไมรวมมือกันยับยั้งสงครามตั้งแตเริ่มแรกของพันธมิตร 6. ความออนแอของสันนิบาตชาติที่ไมสามารถยับยั้งขอพิพาทตางๆไดจนทําใหเกิดสงครามโลกครั้ง ที่ 2 (www.wwIImemorial.com) วิกฤตการณตางๆอันนําไปสูสงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรป รัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จอยางเยอรมันและอิตาลีไดดําเนินนโยบายรุกรานประเทศเพื่อนบาน ในขณะที่ มหาอํานาจไมสามารถยับยั้งได นอกจากนี้ยังไดตั้งแกนเบอรลิน - โรม - โตเกียว หรืออักษะขึ้น เยอรมันเขา รุกรานเชกโกสโลวาเกีย ลิธัวเนีย เยอรมันยังไดทําสนธิสัญญาไมรุกรานกันกับรุสเซีย เรียกวา Nazi Soviel Pact 1939 ทําใหไมตอหวาดระแวงรุสเซียเมื่อทําการรบ ตอมาเยอรมันไดบุกเขาโปแลนด จนทําใหอังกฤษและ ฝรั่งเศสตองเปลี่ยนนโยบายจากรอมชอมเปนตอบโต


111

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ในเอเชีย ญี่ปุนไดบุกเขาแมนจูเรีย ในป ค.ศ.1931 และบุกเขาเพื่อตองการยึดจีนและเขายึดปกกิ่งได พรอม ประกาศใชนโยบาย " สรางวงคไพบูลยแหงเอเชียบูรพา " และรวมจีน ญี่ปุน แมนจูเรียเขาดวยกันเพื่อฐานทาง เศรษฐกิจ (www.ww2.vet.org) ชนวนสงคราม สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดเพราะเยอรมันบุกโปแลนด ในวันที่ 2 กันยายน ค.ศ.1939 อังกฤษและ ฝรั่งเศสยื่นคําขาดใหเยอรมันถอนทหาร แตไมไดรับการปฏิบัติตาม จึงประกาศสงครามกับเยอรมันในวันที่ 3 กันยายน ค.ศ.1939 ( www.historyplace.com ) เหตุการณสําคัญในสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 ระหวาง ค.ศ. 1939 - 1941 ฝายอักษะซึ่งมีเยอรมัน อิตาลี และญี่ปุนเปนแกนนํา มีชัยชนะมาตลอดเพราะมีอาวุธที่ทันสมัยรวมทั้ง แผนการบุกแบบสายฟาแลบ โดยวันที่ 1 กันยายน บุกโปแลนด เดือนเมษายน - พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ไดบุก ยึดสแกนดิเนเวีย คือ นอรเวย เดนมารก และเขาสูเนเธอรแลนด เบลเยี่ยมและลักเซมเบิรก นายกรัฐมนตรี แซมเบอรแลนด ลาออก ทําใหวินสตัน เชอรชิลล เปนนายกรัฐมนตรีแหงอังกฤษแทน

แผนที่แสดงการบุกฝรั่งเศสของเยอรมัน เยอรมันบุกเขาฝรั่งเศสในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ.1940 แมจะตองสูเต็มกําลังแตไมสามารถสูได เยอรมันบุกเขาปารีสไดในวันที่ 14 มิถุนายน และยอมทําสัญญาสงบศึกในวันที่ 22 มิถุนายน ยอมใหเยอรมัน ปกครองดินแดนกวาครึ่งประเทศ (www.areaini.com) สงครามเหนือเกาะอังกฤษ วินสตัน เชอรชิล นําอังกฤษสูกับเยอรมัน โดยมีนโยบายสูจนกวาจะชนะ เยอรมันสงเครื่องบินโจมตีอังกฤษทุกวัน ตั้งแตสิงหาคม - ตุลาคม ค.ศ.1940 แตอังกฤษยิงตอบโตอยูทําให เยอรมันไมสามารถเอาชนะได จึงหันไปบุกรุสเซียกอน (http://www.members.tripod.com) ระหวาง ค.ศ.1941 - 1942 สงครามระหวางเยอรมันกันรุสเซีย เดือนมิถุนายน ค.ศ.1941 เยอรมั นบุ กรุส เซี ยเนื่ องจากไม พอใจที่ รุสเซียเขา ยึดฟนแลนดตอนใต จนมาถึงประเทศแถบทะเลดํา เยอรมันโจมตีรุสเซียวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.1941 โดยโจมตีเลนินกราด มอสโก และยูเครน สามารถยึดเคียฟ และลอมเลนินกราด กับมอสโกไว แตไมสามรถยึดได และตองหยุดทัพเมื่อ ฤดูหนาวมาถึง (www.tankbook.com)


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 112

แผนที่แสดงการตอตานเยอรมันของฝรั่งเศสและรุสเซีย

ญี่ปุนบุกเอเชียและแปซิฟก ในเดือนกันยายน ค.ศ.1940 ญี่ปุนเขารวมสัญญารวมรบกับเยอรมันและอิตาลี ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และทหาร ญี่ปุนขยายอํานาจทางเอเชียเขาสูเอเชียอาคเนย และจากที่สหรัฐอเมริกาเคยขัดขวาง ญี่ปุน เปนเหตุใหญี่ปุนโจมีตอาวเพิรล ฮารเบอร เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ.1941 ซึ่งไดทําลายกําลังของกองทัพ สหรัฐอเมริกาในแปซิฟกลงโดยสิ้นเชิง และสามารถยึดอาณานิคมของอังกฤษ และเนเธอรแลนดไดทั้งหมด และ พยายามไปสูออสเตรเลีย ในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ.1941 สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับญี่ปุน และอีกสาม วันตอมาก็ประกาศสงครามตอเยอรมันและอิตาลี ในป ค.ศ.1942 ญี่ปุนพยายามโจมตีเกาะมิดเว แตถูก สหรัฐอเมริกาตอบโตอยางหนักเปนความเสียหายหนักที่สุดเทาที่ญี่ปุนประสบมาก ญี่ปุนพยายามบุกออสเตรีย อีกครั้ง แตถูกนายพลแม็คอารเธอร ขัดขวาง และยึดฟลิปปนสกลับคืน (www.navicom.net) การรบในยุโรปตะวันตกและแอฟริกาเหนือ ฝายสัมพันธมิตรไดทิ้งระเบิดตอตานเยอรมันในนอรเวย อังกฤษพยายามจมเรือเทอรพิคของเยอรมัน ใหได สวนในแอฟริกาเหนือนายพลรอมเมล แหงเยอรมันพยายามตัดทางลําเลียงสัมภาระของสหรัฐอเมริกา และสามารถเคลื่อนกําลังไปอียิปต แตเชื้อเพลิงหมดเสียกอนจึงถูกอังกฤษไลตอนจนยอมวางอาวุธ ในเดือน ตุลาคม ค.ศ.1942 (www.fordham.com) กองทัพอิตาลียอมแพ สัมพันธมิตรขึ้นบกที่ซิซิลี และสามารถขับไลเยอรมันไดภายใน 33 วัน พรอมกันนั้นก็โจมตีทางอากาศ ตออิตาลี ในที่สุดมุสโสลินีก็สละตําแหนง รัฐบาลใหมยอมเจรจาสงบศึก และลงนามในวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ.1943 (www.italy1.com) การบุกโซเวียต รุสเซียครั้งที่ 2 เยอรมันไดบุกโซเวียต รุสเซียอีกครั้งในเดือนสิงหาคม ป ค.ศ.1942 และบุกไปถึงฝงตะวันตกของ แมน้ําวอลกา เยอรมันระดมทิ้งระเบิดขานใหญ ฮิตเลอรตองการยึดสตาลินกราดใหไดแตตองผิดหวัง กองทัพที่ 6 ของเยอรมันถูกลอมไวจนถึงกุมภาพันธ ค.ศ.1943 จึงพายแพ รุสเซียยึดดินแดนคืนไดจํานวนมาก เยอรมัน พยายามจะยึ ด คื น แต ไ ม สํ า เร็ จ สิ้ น ป ค.ศ.1943 รุ ส เซี ย ได ดิ น แดนคื น จนถึ ง พรมแดนโปแลนด (www.joinhistorybook.club.com) ชัยชนะของฝายสัมพันธมิตร เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ.1943 และสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และรัสเซีย ตัดสินใจจะใหมีองคการโลก ใหประเทศตางๆมีความสัมพันธฉันมิตร และมีความพยายามอยางจริงจังที่จะทําใหเกิดสหประชาชาติในการ ประชุมที่มลรัฐเวอรจิเนีย ฝายสัมพันธมิตรเริ่มปลดปลอยอิตาลีจากฟาสซิสตและเยอรมัน พันธมิตรสามารถ ปลดปลอยอิตาลีไดสําเร็จในป ค.ศ. 1944 ตอมาในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 ฝายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบก


113

กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ที่หาดนอรมังดี ในฝรั่งเศสหรือเรียกวา วันดีเดยทหารเยอรมันถูกโจมตี และยึดสะพานขามแมน้ําไรนไดในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ.1945 หลังจากโบโลญญาถูกฝายสัมพันธมิตรยึด มุสโสลินีก็หนีออกจาอิตาลีแตถูกฆาตาย ในวันที่ 28 เมษายน ค.ศ.1945 ฮิตเลอรฆาตัวตาย ฝายสัมพันธมิตรเขาเบอรลินไดในวันที่ 7 พฤษภาคม ฝายญี่ปุนถูกสัมพันธมิตรยึดเกาะโอกินาวา ในเดือนเมษายน ค.ศ.1945 สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิด ปรมาณูที่ฮิโรชิมา ในวันที่ 6 สิงหาคม และนางาซากิ ในวันที่ 9 สิงหาคม ทําใหมีคนตายเปนจํานวนมาก ญี่ปุนประกาศยอมแพและทําสัญญาสงบศึกในวันที่ 2 กันยายน ค.ศ.1945 (www.wwII.mernorial.com)

ความรวมมือของสตาลิน เชอรชิลและรุสเวลส

ฝายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดนอรมังดี "วันดีเดย"

บทสรุป ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 สรางความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสินแกมนุษยชาติอยางมากมาย สาเหตุของสงครามทั้งสองครั้งมาจากความขัดแยงในผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจและยุทธศาสตร สงคราม ในครั้ งที่สองนั้นมี สนามรบอยูในที่ ทุกที่ข องโลกและมีการพัฒนายุทโธปกรณตา งๆขึ้น อยา งมากโดยเฉพาะ ระเบิดปรมาณู ภายหลังสงครามโลกทั้งสองครั้ง ทําใหภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ประชาชนตองมีความ ลําบากในการดําเนินชีวิต จึงเปนอุทาหรณในสงครามครั้งตอไป ซึ่งวิธีการทางการฑูตจะเปนวิธีเดียวในการ หลีกเลี่ยงหายนะแหงสงคราม.

สหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณูที่นางาซากิ ในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1945


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

114

สรุปสาระสําคัญจากหนังสือ

ทําเมืองใหนาอยู วิสัยทัศน ยุทธศาสตร และความหวังสําหรับเมืองที่ยั่งยืน1 เขียนโดย เฮอรเบิต จิราเดต แปลโดย พิภพ อุดมอิทธิพงศ หนังสือเลมนี้เปนความพยายามที่จะอธิบายถึงบทบาทของ”เมือง” ที่มีผลกระทบทั้งในเชิงบวกและลบ จากมิติตางๆ อันมีตอมนุษยชาติ ซึ่งนับวันการอุบัติขึ้นของการกลายเปนเมืองไดขยายตัวออกมากในสังคมโลก ทุกขณะ บทนํา เมืองทําใหสมดุลของมนุษยเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญ จากเผาพันธุที่อาศัยอยูในชนบทเปนสวน ใหญมาเปนเผาพันธุของคนเมือง จากประวัติศาสตรเมืองชี้ใหเห็นวา เมืองเปนตัวการที่ดูดซับทรัพยากรและ ความอุดมสมบูรณไปโดยไมไดมีการทดแทนคืน ตัวอยางเชน ที่โมโสโปเตเมียในปจจุบันกลับกลายเปนพื้นที่ ไรประโยชน ความหิวกระหายตอทรัพยากรในโลกของเมืองกําลังมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งนี้ทาทายถึง ความอยูรอด ของโลก ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามพยายามที่ จ ะใช ค วามรู ท างวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม เพื่อประคับประคองใหที่ดินมีความอุดมสมบูรณพอสําหรับผลิตอาหารใหแกเมืองไดซึ่งหมายถึงการอิงอยูกับการ แกไขปญหาในเชิงเทคนิคทามกลางภาวะธรรมชาติที่เริ่มสออาการแปรปรวนมากขึ้น วิธีการแกไขป ญหาความขาดแคลนดั งกลาว คือ การบริ โภคอย างระมั ดระวัง การทํ าหนาที่ อยางมี ประสิทธิภาพมากขึ้นของเมืองจะชวยใหเกิดกากของเสียนอยลง นอกจากนี้กระบวนการโลกาภิวัตน การสื่อสาร ที่ถึงกันทั่วโลกยังทําใหผูคนไดรับรูถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นในระดับโลกได เมืองในฐานะที่เปนศูนยรวมของความ เจริญ มันจึงควรที่จะมีหนาที่ทําใหผูคนรับรูวาเราอาจกําลังตกอยูในความเสี่ยง ซึ่งจะชวยใหผูคนสามารถปฏิบัติ ตัวไดอยางถูกตองโดยเฉพาะความใสใจและการมีสวนรวมของประชาชนที่จะชวยลดความเสียหายที่เมืองได กระทําหยุดการพัฒนาเพื่อประโยชนเฉพาะมนุษย เมืองจะตองมีความรับผิดชอบที่จะเกิดขึ้นกับโลก และเรียนรู ที่จะอยูรวมกันกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆอยางเทาเทียม ภาคหนึ่ง : นิเวศวิทยาวาดวยการตั้งถิ่นฐาน ส ว นนี้ เ ป น การมองหน า ที่ ข องเมื อ งทั้ ง ในด า นของการสร า งพลั ง ชุ ม ชนและบรรยากาศและ สภาพแวดลอม แหลงสะสมทุนของโลกและพัฒนาการของเมืองที่ผานมาในประวัติศาสตร บทที่ 1 พลวัตแหงเมือง เมืองมีบทบาทสําคัญ ที่เกี่ยวกับ การบริโภค วัตถุดิบ เพราะเมืองเปน ตัวเปลี่ยนวัตถุดิบให กลายเป น วัตถุเทียม เมืองทุกแหงจะเปนเสมือนจุดผานของทรัพยากรจํานวนมากในแนวคิดเกี่ยวกับการสันดาปพลังงาน ของเมื อ งทํ า ให เ ห็ น ถึ ง ความต อ งการอาหาร น้ํ า วั ต ถุ ดิ บ และเชื้ อ เพลิ ง รวมทั้ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กระบวนการดังกลาวยังขาดประสิทธิ ภาพและมีแนวโนมที่ จะส งผลตอองคาพยพทั้ง หมด มีค วามสําคั ญใน หลายดาน อาทิ 1

เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชาสัมมนา : สังคมวิทยาเมือง หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร


115 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

1) เมืองในฐานะศูนยกลางอํานาจทางเศรษฐกิจและการเงิน เมืองสมัยใหมยังเปน แหลง สะสมของเงิ นและอํา นาจ คือ เมืองพยายามที่จะมี สถานภาพอยูเ หนื อ ธรรมชาติดวยการใหเงินอุดหนุนการเปลี่ยนแปลงและการเปลี่ยนวัตถุดิบใหกลายเปนสินคาตางๆ ขณะเดียวกัน การขยายตัวของเมืองยังทําใหเกิดการแบงแยกดานแรงงานอยางซับซอน การขยายเครือขายไปสูทั่วโลก ซึ่งชวย ใหผูคนที่อยูหางไกลสามารถติดตอกันได อันเปนสิ่งผลักดันใหเกิด”นครแหงโลก” เกิดขึ้น เมืองบางแหงยังเปน ศูนยรวมของสํานักงานใหญของสถาบันการเงินนานาชาติ ศูนยควบคุมเศรษฐกิจโลก การตัดสินใจลงทุนของ พวกเขาดังกลาวสามารถที่จะทําใหระบบเศรษฐกิจของประเทศตางๆเติบโตหรือประสบกับปญหา เมื่อเปนเชนนี้ เมืองทั่วโลกจึงพยายามแขงขันกันเพื่ออํานาจทางการเงิน ขณะเดียวกันมันก็เปนเพียงจุดผานชั่วคราวสําหรับเงิน จรระหวางประเทศผานระบบโทรคมนาคมเครือขายที่โยงใยกันทั่วโลก 2) เมืองในฐานะแหลงดึงดูดพลังงาน นอกจากนี้ทรัพยากรหลากหลายชนิดทั้งในพื้นที่เกษตรกรรมรอบนอกและโดยเฉพาะในดานเชื้อเพลิง พลังงานตางๆถูกปอนใหกับเมืองซึ่งถูกใชไปอยางไมจําเปนอันเนื่องมาจากการถูกกระตุนจากความกาวหนาทาง เทคโนโลยี สิ่ ง เหล า นี้ ได กลายเป น คุ ณ ลั ก ษณะหนึ่ ง ของเมื องยุ ค ใหม ดวย เช น เดี ยวกั บ เมื องหลายแห ง ใน ประวัติศาสตรไดเบียดบังเอาทรัพยากรไปใชโดยไมมีการตอบแทนคืนจนลมสลายไปในที่สุด ขณะที่เมืองบาง แหงในอดีตใสใจกับการคืนสิ่งที่ผืนดินใหมาทั้งในดิน อาหารและไม เชน จีนที่นํากากปฏิกูลจากมนุษยและสัตว กลับคืนสูดินทั้งนี้ก็เพื่อการสรางสมดุลใหกับธรรมชาติ แตในปจจุบันจันกลับกลายเปนประเทศที่เผาถานหินมาก ที่สุดซึ่งสรางปญหามลภาวะแกประเทศเพิ่มขึ้น หากพิจารณาถึงกระบวนการสันดาปพลังงานแบบเสนตรง คือ การมุงแสวงหาทรัพยากรจากพลาย พื้น ที่ โดยไม คํ า นึง ถึ งผลที่ จะตามมาได ส รา งขยะใหกับ เมื องอย า งที่ ธรรมชาติ ไมส ามารถดูดซึ ม มาใชได อีก อุตสาหกรรมในเขตเมืองในปจจุบันจึงเปนตัวเรงใหเกิดการทําลายสิ่งแวดลอมเร็วขึ้น จึงจําเปนตองหันกลับมา ในสนใจในกระบวนการสันดาปแบบหมุนเวียนคือ สิ่งที่ไดจากกระบวนการผลิตในเมืองที่ถูกนํากลับมาใชเปน วัตถุดิบไดอีก กระบวนการผลิตที่ไมสรางสารพิษ การนําขยะจากโรงงาน บานเรือนกลับมาใชใหม ในแงของพลั งงานนั้น พลังงานถู กปอนเข าเมื องอยา งมหาศาล ซึ่ งพลั งงานดั งกล าวล วนก อให เกิ ด อันตรายตอสิ่งแวดลอมทั้งไม ฟน ถ านหินและน้ํามัน สรางมลพิษ ภาวะโลกรอน การเพิ่มขึ้นระดับน้ําทะเล ดั ง นั้ น เพื่ อความอยู ร อดของเมื องและโลกจํ า เป น ต อ งนํ า เทคโนโลยี ที่มี อยู ม าปรั บ ปรุ ง การใช พ ลั ง งานให มี ประสิทธิภาพ เชน การพัฒนาพลังงานแสดงอาทิตย ปรับปรุงระบบขนสง โดยการทําใหผูคนหันมาพึงพารถ สวนรวมในเมือง การจัดวางผังเมืองใหม การเพิ่มพื้นทีส่ ีเขียวใหกับโลกมากขึ้น ในดานการประเมินผลกระทบของเมือง สวนใหญในอดีตไมมีการประเมิน แตในปจจุบันมีเมืองไมกี่ แหงที่ มีการประเมิน เชนการศึกษาการสันดาปพลัง งานของฮ องกงในป 2521 ที่สะทอนถึ งความเปน สังคม บริโภค ซึ่งไดปลอยของเสียออกมาในหลายเทา สะทอนลักษณะทางชีวภาพของเมืองที่เกินขีดความสามารถที่ จะรองรับความตองการของมนุษยได เมืองยังเปนแหลงผลิตความรอนซึ่งมีสาเหตุหลัก 3 ประการ คือ 1) เมืองไดดูดซับและเก็บเอาความ รอนจากดวงอาทิตยไวตามสิ่งปลูกสรางตางๆ หลังจากนั้นจึงปลอยมันออกมาสูอากาศภายนอก 2) จากการ เปนศูนยกลางพลังงานทั้งกลางวันและกลางคืน รถรา เครื่องใชไฟฟา หลอดไฟหรือเครื่องปรับอากาศ ที่ทําให อากาศภายในอาคารเย็นขึ้นโดยคายความรอนออกมาภายนอก 3) เมืองไดปลอยของเสียและฝุนละอองมาจาก การขนสง และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในเมือง อีกทั้งการจัดการพื้นที่สีเขียวในเมืองที่ถูกจัดการดวยพื้นที่ถนน คอนกรีต ก็เปนสาเหตุหนึ่งดวย อยางไรก็ดีเราก็พบการแทรกตัวของธรรมชาติที่เขามาทวงสิทธิในการสราง เมืองดวยดังเชน ตนพืชที่แทรกตัวขึ้นตามรอยราวของผิวคอนกรีต เมืองบางแหงในยุโรป รอยละ 50 ของพื้นที่ ถูกจัดใหเปนพื้นที่สีเขียวซึ่งยังเปนที่อยูของนก แมลง ผีเสื้อ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนมเล็ก หรือบางเมืองที่มีการ ปลอยทิ้งอาหารจํานวนมาก เชน ตามเมืองหลวงในอเมริกาเหนือ ก็เปนการเชื้อเชิญใหนก อีกา สุนัขจิ้งจอก เขามาหากินตามกองขยะดวย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

116

3) เมืองในฐานะที่เปนแหลงดูดซับสวนเกิน การกลายเปน เมืองส วนใหญ เกิดจากการเปนแหลงที่มีการคาและมีการผลิตทางการเกษตรที่เหลื อ บริโภค ซึ่งไดพัฒนาไปจนเกินพื้นฐานของการพึ่งตนเอง และไดพัฒนาวิถีชีวิตแบบเมือง อันเกินขอจํากัดใน ทองถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ ชุมชนเมืองจึงมักกลายเปนแหลงการคาไป นอกจากนี้แลวจากความสามารถในการ ควบคุมทรัพยากรของเมืองไดทําใหเมืองกลายเปนศูนยกลางการผลิตขึ้นมาใหมโดยเฉพาะธุรกิจการคาและ อุตสาหกรรม การแบกแยกดานแรงงานมากขึ้นสรางนวัตกรรมใหมๆเพื่อสนองความตองการของลูกคาที่ มี มากขึ้ น สิ่ ง นี้ ได นํ า ไปสู การแข ง ขั น เพื่ อแย ง ชิ ง ตลาดในที่ สุ ดระหว า งเมื อ งต า งๆ ซึ่ ง การพั ฒนาดั ง กล า วมี ผลกระทบตอทองถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพิงพลังงานนี่เองจึงสะทอนความไมมั่นคงของเมืองใน ระยะยาว การดํารงอยูรอดของเมืองยังเปนการปกปดถึงตนทุนธรรมชาติ ดังเชนการตัดสินใจลงทุนที่เปนไปเพื่อ ผลประโยชนของผูบริโ ภคในเมืองเพื่อรักษาอุปสงคไว เหตุนี้เองจึงมีการพยายามกดราคาสินคาใหต่ําเอาไว ขาดการคํ านึ่ ง ถึ ง ต น ทุน ธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อมที่ สู ญเสี ยไป มุง แสวงหาเพี ยงแต กํา ไรสํ า หรับ เมื องและ ชาวเมืองเปนสําคัญ เมื่อเมืองพึ่งพิงวัตถุมาจากพื้นที่ตางๆ อยางมหาศาลจึงควรที่จะมีการคนหาวาผลกระทบที่มีตอพื้นที่ นั้น เป นอย า งไรบ า ง กระทํ า นี้ อาจผ า นเครื อข า ยคอมพิ วเตอร ที่เ ชื่ อมโยงไปทั่ วโลกให กลุ ม ให รับ รู หรื อการ เชื่อมโยงกลุมสิ่งแวดลอมตางๆเขาดวยกัน อีกทั้งยังมีสวนชวยในการวางแผนปฏิบัติการรวมกันในประเด็นระดับ โลก เชน การทําลายปาฝนเขตรอน มลพิษทางอากาศหรือการขนถายของเสีย การออกอากาศสารคดีเรื่อง สิ่งแวดล อม เพื่ อกระตุ นถึงผลกระทบของการบริโภคใหมีความระมัดระวังมากขึ้น การทํางานดังกลาวตอง เปนไปทั้งในระดับโลกและระดับทองถิ่นที่ทํางานอยางสอดคลองกัน บทที่ 2 สรางบานแปงเมือง เมืองระยะแรกเริ่ม เมื่อ 10,000 ปกอนคริสตกาล มนุษยยังอยูอาศัยในที่พักแบบชั่วคราว ดํารงชีวิตดวยการลาสัตว รูจัก การเพาะปลูก แตยังไมรูจักการไถพรวน เมื่อเขาสูยุคใหมซึ่งเกิ ดขึ้นเมื่อประมาณ 8,000 ปที่แลว มนุษยได เปลี่ยนตนเองจากพวกเรรอนมาตั้งถิ่นฐานถาวร ชุมชนแหงแรกๆ เชน คาธาล ฮายุก เจริโก เปนตน แตปจจุบัน เมืองเหล านี้ล มสลายไปแล วด วยการเบี ยดบัง ผลประโยชนจากที่ดินมาเลี้ ยงตนเองจนหมดหรือไมก็ผลจาก สงคราม เมื่อ 1,000 ป หลังคริสตกาล โรมนับเปนเมืองใหญที่สุดในโลก ซึ่งดํารงอยูดวยการดึงดูดทรัพยากร จากที่ตางๆ จากการที่กองเรือ กองทัพแผอนุภาพไปถึง แตก็ลมสลายลงดวยการลดลงของพื้นที่ปา พื้นที่เกษตร รวมทั้งความลมเหลวของกองทัพ หลังจากโรมเสื่อมลง ก็เริ่มปรากฏอาณาจักรศูนยรวมอํานาจที่กระจายใน ยุโรปขึ้นมาตามชุมชนบท เมืองเหลานี้เปนเมืองเอกราชซึ่งปกครองกันเองในหมูคน ตอมาในยุค Renaissance พวกอนาธิปปตยเริ่มเรืองอํานาจอีกครั้ง โดยมีเทคโนโลยีทางทหารใหมๆ จึงเปนชวงที่มีการฟนฟูมหานครขึ้นมา อีกครั้ง ในคริ สต วรรษที่ 18 ในยุ โรปอเมริ กาเหนือมี การขยายตัวของเมื องอย างมาก เนื่องจากการปฏิ วัติ อุตสาหกรรมและการคาระหวางประเทศ ในระยะนี้ไดมีความพยามที่จะจัดการกับการเติบโตของเมืองอยางขาด การวางแผนเพื่อสรางความเปน ระเบียบใหเกิ ดขึ้น แต เมืองเกือบทั่วโลกกลับ มีสภาพที่ส วนทางกั บหลั กการ ดังกลาว เมืองแหงแรกๆมีปจจัยทางการเกษตรและการคาเปนสวนสําคัญที่สรางเมืองขึ้น เมื่อ 6,000 ปกอน ชุม ชนหลายแห ง ปรากฏขึ้น ในสามเหลี่ยมปากแม น้ํา เมโสโปเตเมี ย เพราะเป นพื้ น ที่ ที่มี ค วามอุ ดมสมบู ร ณ ทําการเกษตรไดดี สวนเกินของการผลิต จึงทําใหเกิดธุรกิจการคามากขึ้น มีการแบงแยกรงงานในการผลิต การแบงชวงชั้นทางสังคม เมืองสมัยนี้ถูกปกครองดวยนักบวชในฐานะผูเชื่อมโยงกับพระเจาไดเพราะผูคนใน อดีตมีความผูกพันธกับคติความเชื่อในเรื่องเทพเจาเปนหลักในสังคม นอกจากเมโสโปเตเมียแลวยังมีเมื่อโบราณ ที่สําคัญในลุมน้ําอื่นๆอีก เชน แมน้ําไนล สินธุ ฮวงโก เนเกฟ เปนตน ความเสื่อมของเมืองแตละแหงเกิดจาก


117 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ความริษยาในระหวางนครรัฐตางๆ เกิดสงครามที่มุงแขงขันในแงของความมั่นคง กินพื้นที่เกษตรกรรมของ ตนเองจนหมด อีกทั้งยังมีกลุมกองโจรจากเทือกเขาเพื่อปลนสะดมของเมือง เมืองจึงลมสลายในที่สุด เทคโนโลยีทางการเกษตรใหมๆ ที่ชวยใหเกิดแรงงานสวนเกินในไรนา เปนเหตุใหคนสวนใหญจึง เดินทางมายัง “เมืองอิสระ”หลายแหงในยุโรป ซึ่งปกครองกันเอง ในคศ.1200 มีการแผขยายตัวของเมืองที่ เกิดขึ้นในทุกแหงของยุโรป เมืองเหลานี้ถือกําเนิดขึ้นมาในยุคกลาง โดยเฉพาะการรเรียกรองจากกลุมพอคาที่ สามารถตอรองกับผูปกครองเมืองได พอคาจึงเปนชนชั้นใหมที่สําคัญ เมืองในชวงเวลานี้จึงเปนยานการคาที่ สําคัญโดยเฉพาะการคาทางไกลหลายแหง เชน คอนสแตนติโนเบิลซึ่งคาขายกับอินเดีย อัฟริกา ประเทศแถบ เมดิเ ตอร เรเนี ยนด วยการสง ออกผลิต ภัณฑข นแกะ เหล็ก หรือที่เวนิ ช ที่ แลกเปลี่ยนมีสิ นคา พวกเครื่องเทศ ผาไหม งาชาง เพชรกับประเทศที่ไกลออกไป เชน เปอรเซีย อินเดีย อัฟริกาเหนือ เมืองยุคอุตสาหกรรม เมืองในชวงอุตสาหกรรมอยางที่ลอนดอนก็เชนเดียวกับเมืองในยุคกลางที่ตองพึ่งพิงอยูกับแหลงอาหาร และหลังงานจากพื้นที่เกษตรกรรมของเมือง การสรรหาทรัพยากรจากที่ไกล เพื่อสนองความตองการที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตั้งแต คศ.16 เปนตนมาแหลงพลังงานในรูปของถานกิน และในตน คศ.18 ธัญพืชตางๆก็ถูกนําเขา จากต างประเทศมากขึ้น และก อนในป คศ.1700 อํา นาจและจํ านวนคนของลอนดิ นมี อยู ม าก การพัฒนา เครื่องจักรไอน้ํา วิทยาการและแสนยานุภาพทางกองทัพเรือ การคากับประเทศอาณานิคม ไดมีสวนสงเสริม เศรษฐกิจและการขยายตัวของความเปนเมืองของลอนดอนในในยุโรปอีกหลายแหง การคาทางไกลและการทําเหมืองถานหินจึงเปนปจจัย 2 ประการที่เปลี่ยนแปลงโลกใน คศ.18 จาก สังคมชนบทใหกลายเปนเมือง ดังเชน เมืองอุตสาหกรรมอยางนิวคาเซล เบอรมิงแฮม ลีดส แมนเชสเตอรได กลายเป น เมื อ งคู ค า กั บ ศู น ย ก ลางในประเทศอาณานิ ค ม เช น กั ล กั ล ตา ซี ดนั บ ลาออส มอมป ส ซา และ มอนทรีออล เปนตน เมืองในยุคใหมนี้มีโรงงานใหญๆเกิดขึ้นเพื่อรองรับเครื่องยนตและเครื่องจักรประจําการขนาดใหญโดย มีชนชั้นกลางที่เขามารับผิดชอบในหนาที่ดังกลาว ในระยะนี้พื้นที่ที่ถูกกีดกันจึงยังคงตองยากจนอยูตอไปอยาง ใน ลิเวอรพูล ชวง คศ.1880 มีความหนาแนนของคนถึง 3 พันตอเฮคตาร นอกจากนี้เมืองยังถูกปกคลุมดวย กรดและกลายเปนแหลงแพรเชื้อโรคตางๆ แตอยางไรก็ตามผูคนก็ยังหลั่งไหลเขามาเรื่อยๆ ผลของการพัฒนา เครื่องจักรน้ําทั้งในระบบรถไฟและเรือยังเปนแรงผลักดันใหระบบทุนนิยม จักรวรรดินิยมของเมืองแผขยายออก ชวงเวลานี้ชาวเมืองมีการเผชิญหนา ปะทะกับผูปกครอง เชนที่ปารีสซึ่งไดตอตานกับกฎหมายและการเก็บภาษี ที่ไมเปนธรรม การลุกฮือของประชาชนเพื่อตอตานกับสถาบันกษัตริย อันเปนผลมาจากความตื่นตัวในลัทธิเสริ นิยมของภาคประชาชน แนวคิดเพื่อการพัฒนาเมือง แนวคิดในการพัฒนาเมืองในยุคหลังการปฏิวัติอุสาหกรรม เกิดแนวคิดอยูดวยกันหลายแนว เชน แนวคิดของฮุลหมน ที่ใหความสนใจจากการวางผังเมืองมาก อยางเชนในเวียนนาที่มีการรื้อกําแพง เมืองลอมรอบออก และสรางถนนสายหลักรอบเมืองชั้นในแทน พรอมกับการสรางพิ พิธภัณฑ และที่ทําการ รัฐบาล เชนเดียวกับที่เบอรลินใน คศ.19 ที่พยายามรักษาใหมีพื้นที่วางตรงใจกลางเมือง มีการสรางถนนขนาด ใหญหลายสาย เพื่อํานวยความสะดวกแกผูคน แนวคิดของโฮวารด โดยการสรางเมืองแหงสวน เพื่อทําใหเกิดที่วางสําหรับการปรับปรุงยานในกลาง เมือง เมืองนี้จะมีการสรางงานขึ้นใหกับคนและจะถูกลอมรอบดวยเขตเกษตรกรรมเพื่อเปนอาหารสําหรับเมือง สิ่งมีอํานวยความสะดวก เพือ่ การสังสรรคทางสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดขิงเขายังชวยจํากัดการขยายตัวของ เมืองดวย เขาเสนอใหมีการซื้อขายที่ดินในราคาต่ําและประเมินราคาตามคุณคาพื้นที่ นอกจากนี้ ใ นหลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ยั ง ได มี ก ารจั ด ตั้ ง โรงเรี ยนผั ง เมื อ งและสถาป ต ยกรรม โดย เลอ คอร บู ซิ เ ออร กั บ ไมส แวน เอดโรท และวอลเตอร โกรป อส ในฝรั่ ง เศสและเยอรมัน ที่ เสนอถึ ง ความคิ ดในการจัดผัง เมื องเพื่อให คนหลายรอยคนอยูภายใตช ายคาเดี ยวกัน โดยมี เทคโนโลยี การก อสรา ง สมัยใหมทั้งการใชคอนกรีต เหล็กเสนแผนกระจกมากกวาการใชอิฐ ไม ซึ่งหลักการเหลานี้นํามาจากทฤษฎีทาง เรขาคณิต ขณะเดียวกันพื้นที่ของสวนจะถูกสรางในพื้นที่โลงๆมีตนไมแซมอยูเปนหยอมๆ คนที่อยูสามารถ


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

118

มองเห็นเพียงยอดไมจากทิวทัศนเบื้องลางเทานั้น โดยสรุปแนวคิดการพัฒนาเมืองเหลานี้เปนไปเพื่อการรองรับ กับการขยายตัวของอุสาหกรรมเทานั้น ในชวงศศ. 1930 แฟรงค ไรท ลอยด เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการวางผังเมืองขึ้นใน สหรัฐเขาเสนอภาพ ถึง ศู น ย กลางของเมื องที่ จะเป น พื้ น ที่ บ านพั กอาศั ยของแต ล ะครอบครั ว ย า น ชุม ชน ที่ มี ม ากแต เ ดิ ม เช น โรงเรียน พิพิธภัณฑ หองสวม สระวายน้ํา สวนสัตว สวนพฤษศาสตร ทั้งหมดนี้จะถูกแทนที่ดวยศูนยกิจกรรมที่ แพรกระจายไปทั่วเมือง รถยนตจะเปนกลไกที่สําคัญ เขาเสนอความคิดใหมวา บานแตละแหงควรตั้งอยูบน พื้นที่ประมาณ 10 เอเคอร เพื่อวาแตละครอบครัวจะสามารถปลูกพืชผักได ความคิดนี้ตรงกับความคิดแบบบาน ไรปลายนาซึ่งเปนวัฒนธรรมพื้นบานของอเมริกัน แตความคิดของเขาก็ถูกทาทายดวยความเจริญทางเทคโนโลยี ทั้งทางคมนาคมที่ทําใหธรรมชาติและสังคมพื้นบานเสื่อมความสําคัญไป ภาคสอง : เมืองปวย โลกปวย สวนนี้เสนอถึงปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการที่เมืองเผาผลาญพลังงานและทรัพยากรอยางเปนเสนตรง โดยละเลยทางเลือกแบบอื่นๆในพัฒนา บทที่ 3 เมืองขยายตัว กาขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในเมืองประเทศกําลังพัฒนา ไดเพิ่มโอกาสทางการคาสําหรับคนใน ชนบทที่ประสบกับความขาดแคลนที่ดิน สิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรม การขยายตัวของเมืองจึงเปนปจจัยผลักดัน การเคลื่อนยายของผูคน ระหวางป คศ.1950–1990 ผูคนที่อยูในเมืองเพิ่มจาก 200 ลานคน เปน 2,000 ลาน คน ตามมหานครใหญทั่วโลก มีคนอยูมากกวา 10 ลานคน ซึ่ง 19เมือง ใน 25 เมืองใหญของโลกอยูในประเทศ กํา ลั งพั ฒนา แนวโน มนี้ เ ริ่ม จากในยุโ รปและอเมริ กาเหนื อและป จจุ บั น กํา ลั งขยายไปทั่วโลก เชน โตเกี ยว โอโกฮามา ฮ อ งกง โซล เม็ ก ซิ ก โกซิ ตี เซาเปาโล และเมื อ งใหญ อื่ น ๆ พร อ มๆกั บ การขยายตั ว ของ ภาคอุตสาหกรรม ยานใจกลางเมืองพื้นที่แหงโอกาสและพื้นที่แหงความทุกข ชีวิตของผูคนที่อพยพมายังเมืองใหมๆ ทําเลยานใจกลางเมืองเปนทําเลที่นิยมมากที่สุด สําหรับการตั้ง ถิ่นฐานแบบไมเปนทางการ ซึ่งกําลังแพรระบาดไปทุกเมืองในประเทศกําลังพัฒนา กลุมคนเหลานี้จะสรางแบบ แผนการช วยเหลื อซึ่ ง กั น และกั น อย า งไม เ ป น ทางการขึ้ น มา พั ฒนาพื้ น ที่ ดัง กล า วให กลายเป น ย า นชุ ม ชน แตพวกเขาก็จะไดรับการขัดขวางจากรัฐซึ่งไมชอบแหลงเสื่อมโทรม ซึ่งการกระจัดกระจายเหลานี้ไดขยายตัว ออกดานขางรอบนอกตามแรงงานกดดันจากผูคนที่อยูเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏตึกแถว หรือกะทอมนิซเซนบน ฟากฟาในเมืองหลายแหลง ซึ่งไมแตกตางไปจากสลัมบนที่สูงเทาไหร โดยเฉพาะหากตึกเหลานั้นตั้งอยูหางจาก ย า นกลางเมื อ งก็ จะถู กออกแบบโดยไม คํ า นึ ง ถึ ง ความจํ า เป น ที่ จะต อ งอยู ใกล ชิ ดกั บ ภาวะแวดล อ มต า งๆ ความเครียดในเมืองจึงเปนผลมาจากการออกแบบอาคารไมดี สภาพแวดลอมในเมือง ความกังวลตอความอยู รอดและการขาดแคลนเงินทองในเมือง หากยิ่งเมืองในประเทศเหลานี้ไดรับผลจากการลดลงของอุตสาหกรรม การวางงาน ปญหาตางๆ เชน ความทุกขยาก การลักขโมย อาชญากรรม ก็จะเกิดขึ้นตามมา อาจกลาวไดวาเมืองเปนทั้งปจจัยผลักที่ทําใหผูคนอพยพเขามาจากหลายสาเหตุ เชน ความเสื่อมโทรม ของที่ทํากิน การขาดแคลนพื้นที่เกษตรกรรม ภัยจากธรรมชาติ เศรษฐกิจทองถิ่นตกต่ํา ความขัดแยงทาง ศาสนา เปนตน ขณะเดียวกันเมืองก็เปนปจจัยดึงเพื่อการมาแสวงหาโชคในเมืองดวย ซึ่งมีสาเหตุหลายประการ เชน โอกาสในการจางงาน รายไดที่ดี อิสรภาพในชีวิต สาธารณสุข การศึกษารวมทั้งการคาดหวังถึงคุณภาพ ชีวิตที่ดีกวาชนบท เปนตน ลักษณะของสภาพชีวิตในเมือง โดยทั่วไปภายนอกแลว ชีวิตในเมืองดูเหมือนจะใหภาพแหงความสุขสันต แตทวาในความจริงแลวหา ไดเปนเชนนั้น เมืองกลับเปนตัวสรางปญหาในหลายดานใหกับผูคน ไดแก


119 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

1) ความหนาแนของผูคนโดยเฉพาะในเขตเมืองชั้นใน เชน คนยากจนที่ตองดิ้นรนหาที่อยูอาศัยใน เมืองใกลกับแหลงรายได ศูนยกลางของเมืองจึงสรางแรงกดดันเพิ่มขึ้นกับปญหาที่พักอาศัย เชนตึกแถวใหเชา และบานเดี่ยวตางๆที่ถูกแบงแลวแบงอีก สําหรับผูคนที่อพยพไมไดพักอาศัยก็จําตองนอนตามขางถนนหรือ แหล งพั กพิ งชั่วคราว ในขณะที่ แหล งอาศั ยในชานเมืองรอบนอกซึ่ งไกลจากแหลง งานซึ่ง มักเปน ที่ที่มีค วาม ยากจนคนอาศัยอยูแออัดก็กลับไมไดรับการพัฒนาแตอยางใด แตพื้นที่แหงนี้กลับมีเครือขายความสัมพันธของ ผูคนกันอยางเกื้อกูล 2) ปญหาการแยงชิงพื้นที่ เชน เมืองในประเทศกําลังพัฒนา เกิดปญหาการเขาไปถือครองที่ดินเพื่อยึด เปนเพิงพักอาศัยอยางผิดกฎหมาย หรือการพักอาศัยอยูชั่วคราว ซึ่งคนทั่วไปหรือรัฐมักมีความเขาในตอที่อยู อาศัยประเภทนี้อยางคลุมเคลือ เชนในอารเจนตินาที่เรียกวา “เมืองแหงความทุกขระทม” (Villa miserias) ในเปรู ที่เรียกวา”ชุมชนใหม” (pieblos jovenos) ในอินโดนีเซีย ที่เรียกวา หมูบาน (Kampung) 3) แหลงปลูกสรางที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะในแหลงชุมชนแออัด ที่ปลูกสรางดวยวัสดุที่บอบบางงาย ตอการพังทลายและตานทานสภาพลม ฟา อากาศไมได อีกทั้งการขาดสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน สิ่งปลูกสราง เหลานี้มักถูกมองในลักษณะ “อุจจาดตา” และเปนปญหาจากรัฐ จะตองถูกกําจัดไปอยางถอนรากถอนโคน 4) การพัฒนาที่อยูอาศัยที่เนนแตเปลือยนอกภายใตผลประโยชนของผูมีอํานาจ ดังเชน รัฐในประเทศ กําลังพัฒนาจัดโครงการที่อยูใหกับคนจนในเมือง อันเปนเหตุตึกแถวคอนกรีตจํานวนพันๆแหงผุดขึ้นมา อีกทั้ง วัสดุที่ใชในการกอสรางมักมีราคาแพงและนําเขาจากตางประเทศ เปนเหตุใหตนทุนในการกอสรางสูงกวาราคา ที่ประมาณ โดยแทจริงทางออกของปญหาชุมชนแออัด ถามองอีกดานหนึ่งคนเรรอนเหลานี้ไดแสดงใหเห็นถึง ศักยภาพอั น หลากหลายของพวกเขาในการสร า งที่ พั กให กับ ตั วเองไดเ ป นการสร างบา นทางเลื อกราคาถู ก ซึ่งหากชวยพัฒนาชุมชนชั่วคราวเหลานี้อาจเปนวิถีทางที่ดีกวา 5) ปญหาตอชนบท อันเกิดขึ้นจากการที่แรงงานในภาคชนบททั้งผูชายและผูหญิงเขามาแสวงหางาน ทํางานเมืองเปนเหตุใหตองทิ้งบุตร คนแก ญาติในครอบครัวมา นอกจากนี้ภาวะการวางงานในเมือง หรือการ ขาดทั กษะของพวกเขาก็ เ ปน เหตุ ให ต องยากจนลงไปอี ก บางคนหัน ไปทํ า งานเป น คนรั บ ใช แม ค า หาบเร จนกระทั่งการคาประเวณี 6) ปญหาเด็กที่ถูกทอดทิ้งในเมือง จากสถิติประมาณวา มีเด็กเหลานี้ประมาณ 100 ลานคนทั่วโลก ตามเมืองใหญๆในประเทศกําลังพัฒนา เชนใน กทม. ไนโรบี ซึ่งสงผลตอการสรางปญหาอาชญากรรม ซึ่งก็ยัง ไมมีความพยายามใดๆที่จะมีการแกไขปญหานี้ดวยกฎหมายหรือทางออกอื่นๆ เด็กเหลานี้เปนผลมาจากการที่ พอแมไมมีศักยภาพที่จะเลี้ยงดูพวกเขาได เนื่องจากความเสื่อมโทรมของที่ทํากินในชนบท พวกเขาจะถูกสง มายังเมือง เพื่อมาตายเอาดาบหนา เชน การเขามาขายบริการทางเพศ พนักงานในโรงงานที่ถูกกดขี่เอาเปรียบ เปนตน 7) การทําลายวัฒนธรรมชุมชนดั้งเดิมของเมืองดวยอภิมหาโครงการทั้งจากภาครัฐ เอกชน ที่สรางที่ พักหรือโรงงาน หรือการทําเปนสถานที่ตางๆเพื่อประโยชนในเชิงธุรกิจโดยมองขามชุมชนที่ดํารงอยูมาชานาน อีกทั้งยัง ปราศจากการถามถึงความตองการและการใหเข ามามีสวนรวมรั บรูในโครงการเหลานี้ของผูคนใน ชุมชนดวย 8) โครงการพัฒนาที่ใหผลเชิงลบ เชนตึกสูงบางแหงกลายเปนบอขยะสําหรับคนที่โชครายในสังคม เชน เปนแหลงมั่วสุมยาเสพติด การสรางอาชญากรรม พฤติกรรมกวนเมืองที่สรางปญหาทางสังคมที่ สิ่งเหลานี้ เปนผลมาจากการพัฒนาโดยเฉพาะการยายความสําคัญในศูนยกลางการผลิตไปแหงใหม เชนในสหรัฐ และ อังกฤษที่ลดกิจการดานอุตสาหกรรมลงเนื่องจากการพายแพตอการแขงขันกับญี่ปุนและเยอรมัน เปนเหตุให เมืองตางๆตองลําตําแหนงงานลง นําไปสูภาวการณวางงาน ความกังวล ความเครียดในชีวิตคนเมืองมากขึ้น บทที่ 4 เมืองปรสิต เมืองตองพึ่งพิงทรัพยากรจากภาคสวนตางๆทั้งจากพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ธรรมชาติหรือระบบ นิเวศเทียมที่สรางโดยอาศัยวิธีการผลิตแบบอุตสาหกรรม เชนการเพิ่มผลิตผลดานอาหารและไมใชสอย แตสิ่งที่ เกิดขึ้นจากการผลิต นี้ไดปล อยของเสียทํา ใหเ กิดมลพิ ษตามมากมาก เมื องยั งเปนศู นย กลางของการดึ งดู ด พลังงานที่มีอยูตามธรรมชาติ เชนแหลงเชื้อเพลิงซากพืชซากสัตวซึ่งนํามาใชสําหรับผลิตไฟฟาเพื่อตอบสนอง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

120

ความต อ งการ เช น การเผาไหม ข องเครื่ อ งยนต ใ นเมื อ งที่ เ ป น อั น ตรายต อ สภาพอากาศ มลพิ ษ จาก ภาคอุตสาหกรรม เปนตน เมืองกับปา หากพิจารณาถึงความตองการของเมืองแลว เมืองเปนผูบริโภคผลิตภัณฑที่มาจาธรรมชาติเปนอันดับ หนึ่งทั้งปาถานหิน ไมใชสอย รวมทั้งผลิตภัณฑจากปาซึ่งอยูในพื้นที่หางไกลออกไป เชน เมืองในประเทศกําลัง พัฒนา ยังตองพึ่งพิงอยูกับไมฟน แตบริโภคกระดาษเพียงจํานวนนอย ขณะที่เมืองพัฒนามากกวาจะบริโภค กระดาษมากแตใชไมฟนนอย ดังนั้นเมืองที่มีลักษณะตางกันจึงมีความตองการรูปแบบการบริโภคตางกัน ผลกระทบจากการลดลงของปาไมสรางปญหากับสิ่งแวดลอม เชน การสูญเสียตนไมปกคลุมดินทําให เกิดการพังทลายของดิน อุณหภูมิในดินที่เพิ่มขึ้น น้ําในระดับผิวดินเค็มเนื่องจากเหลือในดิน การปนเปอนของ สารตางๆ การลดลงของระดับความชื้นในดินจะสรางความเปลี่ยนแปลงตอสภาพอากาศ ซึ่งสาเหตุเหลานี้ผูคน มักจะคิดกันวาตนตออยูที่ชนบท แตโดยแทจริงแลวชาวเมืองทั้งหลายไดมีสวนทําลายปาโดยไมรูตัว ซึ่งสามารถ เห็นไดชัดเจนจากการเคลื่อนที่ของความตองการแหลงไม เชน แตเดิมนั้นไมเนื้อแข็งมาจากปาดงดิบในประเทศ กานา ไอโวรี่ ฟลิ ปปน ส ไทย เป น สวนใหญ แต ปจจุ บัน ปา เหล า นี้เ หลือไมน อยมากจึ งเป นเหตุให มาเลเซี ย อินโดนีเซีย ปาปวนิวกินี บราซิลถูกดูดทรัพยากรปาเปนลําดับตอไป ญี่ปุนนับเปนประเทศที่นําเขาไมจากปาดงดิบมากที่สุดในโลก ทั้งจากมาเลเซีย อินโดนีเซีย รวมทั้งปา อเมซอน ไมสวนมากถูกใชในงานกอสรางเนื่องจากบานของชาวญี่ปนตามแบบดั้งเดิมมีอายุการใชงานเฉลี่ย เพียง 5 ปเศษ นอกจากนี้เมืองใหม ๆ เชน ไนโรบี คารทูม เดลี อูกัวดู กัว ดาการ และเนียมี ก็กําลังมีความ ตองการบริโภคไมเปนอยางมากขึ้น ซึ่งเปนเหตุใหเกิดการตัดไมเปนวงกวางโดยเฉพาะในประเทศโลกที่ 3 เชน ในอัฟริกา ที่ผลจากการตัดไมสรางความเดือดรอนตอชาวนาชาวไรที่ไมมีไมฟนเพียงพอสําหรับการบริโภค เมืองกับน้ํา เมืองในสมัยกอนจะใชน้ําที่มาจากแมน้ําหรือทะเลสาบที่อยูบริเวณใกลเคียง แตเมืองในสมัยใหมซึ่ง ตั้งอยูในแหลงที่ไมเหมาะสม จําเปนตองอาศัยน้ําที่สะสมอยูใตดิน น้ําจากเขื่อนและทอซึ่งเปนแหลงที่สําคัญกวา เมื องในประเทศที่ พั ฒนาแล ว อย า งสหรั ฐ มี ค วามต องการใช น้ํ า มากที่ สุ ด ทั้ ง ในครั ว เรื อ น ชลประทาน ภาคอุตสาหกรรม ที่แคลิฟอรเนีย ซานดิเอโก ซานโดเซ ที่มีประชากรถึง 30 ลานคนมีภาคอุตสาหกรรม เกษตร จํานวนมากไมสามารถอยูรอดไดหากปราศจากระบบทอสงน้ํา หรือที่ลอสแองเจลิสตองสูบน้ํามาจากแมน้ําที่อยู ไกลออกไป 400 กม.มาใช ซึ่งขณะเดียวกันรัฐนี้ก็มีเขื่อนมากสุดถึง 1,300 แหง ซึ่งสวนมากจะใหทั้งน้ําและผลิต กระแสไฟฟา เมืองกับอาหาร เมืองในปจจุบันในฐานะผูบริโภคอาหารรายใหญแสวงหาอาหารราคาถูกจากเมืองทั่วโลกทั้งในแงของ การบริโภคที่ถูกสุขลักษณะและรูปลักษณของผลิตภัณฑที่ไดมาตรฐาน หรือการโฆษณาแสดงใหเห็นถึงความ สวยงามของอาหาร หาใชการมีคุณคาทางโภชนาการ สิ่งนี้ไดทําใหผูผลิตรับแรงกดดันที่จะตองผลิตอาหารเพียง ไมกี่ชนิดที่นิยมกันเพื่อขายเฉพาะรูปรางที่สวยงามภายนอกและความทนทานตอการเก็บไวเปนเวลานาน ดวย การทําใหเปนมาตรฐานของพืชชนิดเดี่ยวนี่เอง จึงสงผลตอการสงเสริมใหมีการใชยาฆาแมลงเพื่อปองกันโรคพืช อยางหลีกเลี่ยงไมไดไปดวย ขณะเดียวกันการคาขายอาหารสําหรับมนุษยและอาหารสัตวในปจจุบันในระดับ โลกระบบการขนสงยังเปนตัวเอื้อใหการเกิดการแลกเปลี่ยนที่ดําเนินไปอยางรวดเร็วขึ้นดวย เมืองกับภาคอุตสาหกรรมและผลกระทบ การขยายตัวของเมืองทําใหมนุษยแยกผืนดินที่เปนแหลงผลิตอาหาร ทําใหขาดการนําสารอาหารที่ บริโภคกลับไปยังผืนดินเหมือนกับพื้นที่เกษตรกรรมในอดีตที่ไดรับกากปฏิกูลจากทั้งมนุษยและสัตว ดินจึงเริ่ม เสื่อมลง ขณะที่กากปฏิกูลในเมืองนับเปนของเสียที่ถูกละเลย นักวิศวกรรมพยายามที่จะหาทางทิ้งมันมากกวา การนํากลับมาใชใหมในป คศ.19 ไดมีการเกิดขึ้นของระบบแยกน้ําเสียและนํามาใชอยางกวางขวาง แตระบบนี้ ก็ยังไมเพียงพอในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีการผสมปนเปกากปฏิกูลจากบานเรือน โรงงานจํานวนมาก จึงมีความ


121 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

พยามหาทางทิ้งกากปฏิกูลเหลานี้ดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน การถมลงในทะเล บอ เผาทิ้ง การใชสารเคมี ทําลายหรือมาตรการดานของกฎหมายควบคุมกากของเสียซึ่งสามารถทําไดดีในประเทศที่พัฒนาแลว แตเมือง ในประเทศกําลังพัฒนาซึ่งขาดกฎหมายเหลานี้ ไดทําใหสภาพแวดลอมแยลง โดยเฉพาะบริษัทใหญๆจํานวน มากที่ยายอุตสาหกรรมมาที่เมืองในประเทศกําลังพัฒนา โรงงานจํานวนมากแวดลอมไปดวยชุมชนแหลงอาศัย ของคนยาจนที่หลั่งไหลเขามาหางานทํา ซึ่งพวกเขาไดรับผลกระทบมากที่สุด หนวยงานที่เก็บกากของเสียซึ่งไมแยกประเภทของเสียออกจากกัน ก็นับเปนปญหาที่สืบเนื่องไปยังคน รุนตอไป สิ่งนี้ไดนําไปสูการปนเปอน ของสารพิษที่กระจุกรวมตัวกัน สรางมลพิษใหกับดิน กาซมีเทนจากขยะ ที่สะสมอาจระเบิดออกได การสรางภาวะเรือนกระจก ขยะเหลานี้บางประเภทจําเปนตองใชพลังงานมหาศาล จากการผลิต เชน อะลูมิเนียม ในดานของเศษอาหารก็มีความพยายามนอยมากในการนํามันกลับไปยังพื้นที่ เกษตรหรือเปนอาหารเลี้ยงสัตวหรือทําใหเปนปุยบํารุงพืช นอกจากนี้ นวัตกรรมอยาง “รถยนต” ก็นับเปนผลกระทบจากภาคอุตสาหกรรมที่ทําใหพื้นที่เมืองตอง ถูกสรางขึ้นมาเพื่อใชประโยชนโดยตรงของรถมากกวาคน การครอบครองรถยนตจึงกลายเปนเรื่องธรรมดา สําหรับประเทศที่พัฒนาแลวเพราะมันเปนเสรีภาพนําไปไหนก็ไดทุกเวลา ผลกระทบจากพาหนะเหลานี้ก็นับเปน ตัวสรางปญหามลพิษ ปญหาดานพลังงาน ตัวอยางเชน ที่ลอสแองเจลิสที่มีประชากรถึง 11 ลานคน เมืองแหงนี้ หลั งสงครามโลกครั้ งที่ 2 เปน ตน มามี การสรา งเครื อข ายถนนสายหลั กมีค วามยาวรวมกั นถึ ง 21,000 กม. คนจํานวนนอยที่อาศัยบริการของขนสงมวลชน ดังนั้นรถที่วิ่งโดยอาศัยน้ํามันราคาถูกจึงเปนตัวที่ควบคุมการ ออกแบบเมือง ทําใหมีการขยายของเมืองออกไปอีกมาก ยิ่งไปกวานั้นในยามค่ําคืนเมืองในยุคใหมยังดูดซับ พลังงานจํานวนมาก ดังปรากฏในแสงไฟนับลานดวง ตามปายโฆษณา ทองถนน และไฟตามบานเรือน ผลการขยายตัวของเมือง การขยายตัวอยางรวดเร็วของเมืองในประเทศกําลังพัฒนา อันเปนผลมาจากการครอบครองทรัพยากร แหลงเชื้อเพลิง สรางผลกระทบทั้งในระดับโลกและประเทศ ตัวอยางปญหาเหลานี้ปรากฏในหลายลักษณะ เชน ควันไอเสียทั้งจากการเผาถานหินตามบานเรือน หรือโรงงานในจีนที่ทําใหมานควันเหนือเมืองตางๆของจีนมี ความหนาแนมากไมสามารถมองตั วเมืองจากภาพถ ายดาวเที ยมได เพราะจีน เผาถ านหิน 90 ลานตั นตอป มลพิษทางอากาศในจีนจึงมีความเปนกรดสูง ซึ่งก็ยงั ไมมีมาตรการใดมาแกไข หรือในเขตเมืองอุสาหกรรมใน ยุโรปตะวันตก ที่สรางกลุมควันลอยไปไกลถึงทวีปอารกติก หรือความเสียหายตอปาไมที่กลุมกาซพิษทําใหการ สะสมของโอโซนในบรรยายลดต่ําลง ทําใหเกิดความผิดปกติในการเจริญเติบโตและทําใหภูมิตานทานโรคของ ตนไมลดลง ซึ่งปรากฏใน สหรัฐ แคนาดา อินเดีย บราซิล เม็กซิโก และในยุโรป ผลของกาซพิษยังสรางสภาพ ของฝนกรดตามมาดวย ภาคสาม : เยียวยาเมือง สวนนี้เ สนอถึง กลยุทธที่เ ปน แผนการเพื่อทําใหวงจรการทํ างานทําหนา ของเมื องครบสมบูร ณ เป น วัฎจักร เพื่อเปนการเยียวยารักษาเมืองไปในตัว บทที่ 5 เมืองที่แท มนุษยที่แท เมืองที่แทจริงจึงตองเกิดจากการสรางสรรคดวยน้ํามือของผูที่อาศัยอยูในเมือง ตัวอยางเชน การฟนฟู ยานใจกลางเมืองและชุมชนขางเคียง ซึ่งเปนแกนกลางทางวัฒนธรรมและสังคมที่มักถูกปลอยใหเสื่อมสลาย นับเปนรูปแบบที่ดีที่สุดของชีวิตชาวเมืองสะทอนถึงพลังแหงความคิดของมนุษยที่จะสงเสริมใหเกิดความคิด สรางสรรค ความพึงพอใจกับชีวิตในเมือง เมืองในประเทศกําลังพัฒนาเปนตัวอยางที่ชี้ใหเห็นวา ผูคนสามารถ ที่จะพัฒนาสิ่งแวดลอมของเขาขึ้นมาเองไดโดยเฉพาะในเรื่องการจัดการที่อยูอาศัยตัวตนเอง แตทั้งนี้ระบบการ ปกครองในสังคมนั้นจะตองเอื้อตอการสงเสริมใหพวกเขาสามารถตัดสินใจไดดวยตนเองดวย


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

122

พื้นที่ใจกลางเมืองกับความเปลี่ยนแปลง ยานใจกลางเมืองนับเปนแหลงรวมของอาคาร ซึ่งเปนจุดเริ่มของการแผขยายตัวออกไปครอบคลุม พื้นที่ชนบทรอบขาง ระยะเวลาที่ลวงเลยไปทําใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของสถาปตยกรรมอาคารบานเรือนแบบ ตางๆ ผัง ถนน อาคารสาธารณะที่อยู ในความทรงจําของผู คนด วย แตกระนั้น ก็ยัง คงมี สถานที่สํ าคัญ อยา ง อาสนวิหาร สุเหรา วัด ยานตลาด ที่ยังทําหนาที่ดึงดูดคนเอาไว ชวยสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองใน อดีตมาถึงปจจุบันซึ่งมหานครสวนใหญก็ยังคงศูนยกลางของสรรพวิทยาการที่ไดรับการถายทอกมาหลายชั่วคน แตอยางไรก็ตาม พื้นที่เขตชั้นในของเมืองแตเดิมที่เปนที่อยูอาศัยทํากินของผูคน ปจจุบันกลับเต็มไปดวยยาน ธุรกิจและมีผลทําใหที่ดินราคาแพงขึ้น บานเรือนสถาปตยกรรมเกาๆจึงตองหลีกทางใหกับการพัฒนา บริเวณนี้ จึงกลายเปนที่ตั้งของศูนยการคา สํานักงาน และถนนใหญหลายชองทางสําหรับรถยนตที่ผุดขึ้น ยานใจกลาง เมืองจึงเริ่มกลายเปนที่ไมเหมาะสมสําหรับการอยูอาศัยอีกตอไป สถานที่ที่ไดรับการพัฒนาขึ้นใหมจึงกลายเปน ที่วางเปลาภายหลังเวลาเลิกใชมันในแตละวัน ถึงแมวายานใจกลางเมืองในปจจุบันอาจไมเปนที่อยูอาศัยของชาวบานอีกตอไป แตผูคนก็สามารถที่จะ พัฒนามันใหกลายเปนศูนยรวมของโรงงานยอย ตลาด รานกาแฟ สถานลีลาศ ซึ่งจะใหบริการกิจกรรมตางๆ สงเสริมการปฏิสังสรรคอยางเสรีระหวางผูคน รวมทั้งเปนศูนยกลางแลกเปลี่ยนระหวางวัฒนธรรมได ซึ่งโลกใน ปจจุบันกลับไมใหความสนใจกับประเด็นดังกลาว ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเมืองอาจจะสรางความ ตึงเครียดหรือการปะทะกันไดในดานหนึ่ง แตอีกดานหนึ่งมันก็สรางความเปนพหุนิยมและความในกวางมากขึ้น ดวย เมืองในประเทศพัฒนาแลวมักผลั กดัน ให ผูค นออกนอกจากเขตชั้ นในไปยัง เขตรอบนอกของเมือง ยานใจกลางเมืองจึงกลายเปนแหลงเพาะปญหาทางสังคม ตึกใหเชาโทรมๆ จึงถูกครอบครองโดยผูที่ดอยโอกาส ทางสังคมแทน มีการเผชิญหนากันมากขึ้นระหวางคนกลุมนอยกับเจาหนาที่ ความแปลกแยกระหวางมนุษย ความแปลกแยกในทางวัฒนธรรม เชน ใน วอชิงตัน นิวยอรด ลอสแองเจลิส ลอนดิน เบอรมิงแฮม เปนตน สิ่ง เหล า นี้นํ า ไปสู การประทวงต อต านเมื องที่ไม เ หมาะสมของผู ค น และนํ า ไปสูการคิ ดริเ ริ่ ม ในการพั ฒนา นวัต กรรมทางความคิดเกี่ ยวกับที่ พักอาศัยในเขตเมื องชั้น ในใหดีขึ้น จากการมีส วนรวมในการวางแผนจั ด การเมืองและออกแบบเมืองใหมรวมกันระหวางเจาหนาที่และชาวเมือง ผลจากเศรษฐกิจในเมือง ในเชิ งเศรษฐกิ จ เมื องเป น ศู น ยร วมสิน ค า และบริ การจํ านวนมากที่ ถูกขนมาเพื่ อตอบสนองความ ตองการ หากแตมิไดมีการคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจทองถิ่น สวนมากเงินจะไหลเวียนกลับไป ยังบริษัทตนทางที่เปนผูผลิตสินคา เงินแทบจะไมมีความสัมพันธเกี่ยวของกับความมั่นคงกับชุมชนในเมืองเลย ดังนั้น เงินรายไดจากชุมชนจึงมีนอย รวมทั้งยังทําใหเงินของทองถิ่นรั่วไหลไปนอกระบบอยางตอเนื่อง พื้นที่ ยากจนของโลกซึ่งเปนแหลงสงออกวัสดุและอาหารไปยังประเทศร่ํารวยจึงสะทอนความแตกตางระหวางคนจน คนรวยของโลกที่หางขึ้นทุกขณะ เมื่อเปนเชนนี้ เพื่อที่จะสงวนประโยชนที่เกิดจากศักยภาพในการใชจายเอาไว ภายในชุมชนจึงจําเปนที่จะตองพัฒนาสื่อกลางขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนอยางใหมขึ้นมา ดังเชน การใชเงินตรา ประจําทองถิ่นของแคนาดา ซึ่งเรียกวา ระบบการคาแบบหมุนเวียนในทองถิ่น ระบบนี้เอื้อตอการชวยใหคนมี เงินทุนนอยสามารถขยับขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของตนเองได ในประเทศที่พัฒนาแลวจะมีคนกลุมนอยที่มีความเห็นวา ชีวิตแบบเมืองในยุคอุตสาหกรรมที่ดําเนินไป อยางพลวัตรทั้งจากการใชพลังงาน การอิงอยูกับคุณคาระบบวัต ถุนิยม เปนสิ่งที่ไมพึ่งปรารถนาที่ จะมีชีวิต เชนเดียวกับคนทั่วๆไป ดวยความแปลกแยกดังกลาวคนจํานวนมากจึงไดพยายามแสวงหาวิถีชีวิตแบบชุมชน และไดรวมกันสรางสรรคชุมชนใหมขึ้นมา โดยเปนการรวมตัวกันของคนที่มีเปาหมายรวมกัน ดังเชนที่ ใจกลาง นครโคเปนฮาเกน ณ สวนสาธารณะริมทะเลสาบ ภายใตชื่อ “เมืองเสรีแหงคริสตเตียน” ในป 1971 เปนศูนย รวมของผูคนที่รูสึกผิดหวังตอสังคม ในเวลาไมนานชุมชนแหงนี้ไดขยายตัวเปนเมืองเสรีตามรูปแบบกฎเกณฑ ของตนเองตามลักษณะของเมืองเสรีในยุคกลางของยุโรป หลังจากนั้น เมืองนี้ก็มีผูคนจํานวนมากเขามาใชชีวิต และกลายเปนที่รูจักของภายนอก ถึงแมวาชุมชนนี้จะมีปญหาก็ตาม แตมันก็ยังสามารถดํารงอยูเปนชุมชนเอื้อ อาทรตอกันอยางมั่นคง


123 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

เทศกาลกับสายสัมพันธทางสังคม เทศกาลเฉลิมฉลองนับเปนสิ่งที่เสริมสรางความเขมแข็งทางสังคมของเมือง แสดงถึงความภาคภูมิใจ ตอสถานที่ งานรื่นเริงนี้จึงเปนโอกาสแหงการปฏิสังสรรคของผูคน เปนหนทางที่ชวยคลายความขัดแยง รวมทั้ง ยังอาจจะพัฒนาไปสูการรวมตัวกันทํากิจกรรมของละแวกบานอันจะนํามาซึ่งความเปนปกแผนแกสวนรวม เชน เทศกาลคารนิวัลของเมืองในยุโรป ในเยอรมัน สเปนในหมูชาวคาทอลิก ,คารนิวัลที่นอตติงฮิล ลอนดอนใน ฤดูรอน ที่หลอมรวมผูคนหลายชาติพันธุเขาดวยกัน ผูมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาเมือง เมื องในประเทศกํ า ลั ง พั ฒนายั ง สร า งการอยู อย า งผิ ดกฎหมาย ทั้ ง นี้ เ ป น ผลมาจากการที่ มี ค วาม หนาแนนของประชากรสูง ครอบครัวที่มีรายไดนอยจึงตองอาศัยอยูตามแหลงที่อยูที่ปราศจากกรรมสิทธิ์ การบุก รุกพื้ น ที่ อยู อาศั ยอย า งผิดกฎหมายจึ ง เป น เรื่ องที่ สุ ดจะหลี กเลี่ยง อยา งไรก็ดี แหลง พั กพิ งที่ ปราศจากการ ครอบครองเหลานี้ไมจําเปนตองเปนแหลงเสื่อมโทรมเสมอไป หากแตไดรับโอกาสในการพัฒนาเพียงเล็กนอย จากผูเกี่ยวของ บุคคลเหลานี้ก็พรอมที่จัฒนาบานที่ไมถูกลักษณะใหกลายเปนที่มีมาตรฐานขึ้นได ดวยลักษณะ นี้เองผูตั้งถิ่นฐานที่ปราศจากกรรมสิทธิ์จะพัฒนาความสัมพันธกันจนเปนชุมชนละแวกบานในอีกทางหนึ่งดวย เมื่อหันกลับมามองในดานเจาหนาที่บานเมือง จะพบวา ในอดีตพวกเขาไดตอตานกับการพัฒนาของ เมืองตามธรรมชาติ เพราะพวกเขาไมไดใหทางเลือกพอที่จะสามารถปฏิบัติตามไดเลย การไลรื้อจึงเปนทางออก ในการแกปญหา แตทางออกที่เปนจริงก็คือ การสนับสนุนใหผูบุกรุกสามารถสรางบานดวยตนเองไดและไดรับ การสนับสนุนจากภายนอก อยางไรก็ดีในชวงหลายปที่ผานมาก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทัศนไปในทางทีสงเสริม ชุมชนที่ตองชวยเหลือตนเองมากขึ้น เชน ชุมชนปกครองตนเองแหงวิลลา เอลซัลวาดอรในลิมา เปรู ที่รัฐเขามา สนับสนุนดานการวางผังเมืองการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน หรือที่คลองเตยใน กรุงเทพฯ จากแหลงเสื่อมโทรมที่ ปราศจากกรรมสิทธิ์ หลังจากการตอสูเปนเวลาหลายป ก็ไดมีขอตกลงกับรัฐวาดวยการใชที่ดิน ขณะเดียวกัน การเคหะแหงชาติไดเขามาชวยเหลือองคกรชาวบานในการสรางและปรับปรุงบานนับพันๆหลัง บทที่ 6 การทํางานจากภายใน การทําใหเมืองนาอยูและทําหนาที่ไดอยางดียิ่งนั้นสามารถทําไดโดยการจัดสภาพแวดลอมที่ทําใหผูคน ในเมืองมีสุขภาพดีโดยเฉพาะการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการตางๆ เชน การสรางพื้นที่ สีเขียวเพื่อชวยรักษาปริมาณฝนตกและปองกันน้ําทวม ลดความดังของเสียงลงใหนอยที่สุดและทําหนาที่เปนตัว กรองอากาศ การสรางที่พักอาศัยรวมในสภาพแวดลอมที่มีความมั่นคง การจัดสรรระบบการขนสงสาธารณะ ใหมที่ทําใหผูคนหันมาใชมากกวาการใชรถสวนตัว ซึ่งยังมีผลตอการชวยลดลงของการใชพลังงานเชื้อเพลิง รวมทั้งการหมุนเวียนของเสียเพื่อการนํากลับมาใชใหม การสงเสริมดานสุขภาพ ในดานการสงเสริมสุขภาพ บริบทของชีวินในเมืองทําใหผูคนหายใจเอาอากาศเสียเขามามาก ทําให บุคคลมีการเคลื่อนไหวนอยลง เชน การจํากัดชีวิตใหอยูในทานั่งตลอดเวลา การแยกตัวอยูโดดเดี่ยว รวมทั้งใน การกินอาหารที่ผานกระบวนการผลิตเปนสวนใหญ สภาพแวดลอมในเมืองที่มีแตของเทียม ดวยวิถีชีวิตแบบ ซ้ํา ซากจํ าเจนี้ จึ งเปน เหตุแหง ความเครี ยดและไดส รา งโรคภัยไข เจ็ บ สรา งป ญหาสุ ขภาพอย างกว างขวาง นับตั้งแตโรคหลอดลมอักเสบ โรคหอบหืด ปวดหลัง โรคอวน การแพรระบาดของเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรง ปญหา เหลานี้มักจะเกิดขึ้นในเมืองประเทศกําลังพัฒนาเพราะยังขาดระบบการสาธารณสุขที่ดี เมืองในประเทศพัฒนา แลวมีการดําเนินนโยบายสงเสริมแกไขปญหาสุขภาพในแงของการปองกันมากขึ้น เชน ที่เทศบาลเมืองโตรอนโต ในแคนาดามีการดํ าเนิ นนโยบายเมืองแหงสุ ขภาพ โดยมีหนวยงานต างๆที่จัดขึ้น เพื่ อสง เสริมสุ ขภาพ อาทิ การสํารวจขอมูลดานสุขภาพในชุมชน การจัดบริการทางการแพทยที่พอเพียง การกระตุนใหผูคนเกิดทักษะใน การรักษาสุขภาพของตนเอง การมีหนวยงานใหคําปรึกษาทางเลือกในการปองกันโรค เปนตน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

124

สุขภาพของเมืองในประเทศกําลังพัฒนาที่กําลังประสบปญหานี้ จึงจําเปนที่จะตองการสารฆาเชื้อและ เวชภัณฑสมัยใหมแกการดูแล ความอยูรอดของผูคนซึ่งบางแหงเวชภัณฑเหลานี้มีราคาแพงเกินไปสําหรับคน ยากจน เชน แหลงเสื่อมโทรมในนครบอมเบย ที่อินเดียซึ่งมีฐานะยากจนและไมมีบริการสาธารณสุข จึงไดมี กลุ ม องค กรอาสาสมั ครตั้ ง โครงการดูแลรักษาสุข ภาพชุ ม ชนโดยเริ่ มจากการฝ กเด็ กในชุ มชนให กลายเป น เจ า หน า ที่ ดา นสาธารณสุ ข เพื่ อให พ วกเขาสามารถช วยดู แลสุ ข ภาพของเด็ กคนอื่ น ๆได แ ละสามารถที่ จ ะ วินิจฉัยโรคและใหคําแนะนําพื้นฐานเชนเดียวกับแพทยได การสรางสวนสาธารณะในเมืองนับเปนอีกแนวทางหนึ่งเพื่อที่จะสรางสุขภาพทางสังคมในเมือง สวน แหงแรกปรากฏที่อังกฤษ ในป คศ.1840 ซึ่งพยายามที่จะทําใหนครลอนดอนกลายเปนสวน แนวคิดนี้จึงเริ่ม ขยายตัวไปมากขึ้นในสวนของเมือง เพื่อการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนของเมืองเสียใหม มีการเริ่มเปลี่ยนพื้นที่รกราง ใหกลายเปนสวน การเชาพื้นที่สาธารณะเพื่อทําเปนแปลงผัก การทําสวนขนาดยอมหลังบาน การปลูกตนไม เกาะตามผนังของอาคาร เริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น คุณูปการดังกลาวจะชวยลดมลพิษ การกักเก็บน้ําฝน การสราง พื้นที่พักผอน ลดความตึงเครียดในเมืองได อีกทั้งพื้นที่สีเขียวยังชวยเพิ่มผลผลิตอาหารของเมืองจากการเชา พื้นที่ทําสวนในเมือง และแปลงเกษตรยังชวยดูดซับความอุดมสมบูรณจากเศษใบพืชที่รวงหลนเกิดกระบวนการ ยอยสลายและบํารุงไป ในตัว ตนไมจึงทําหนาที่เปนเครื่องปรับอากาศที่สําคัญชวยลดกาซพิษตามเสนทางจราจร ลดความแรงของ ลมที่พัดผานเมือง เมืองหลายแหงทั้งในเขตอบอุนและเขตรอนชื้นยังมีไมผลที่เปนสวนประกอบของภูมิทัศนเมือง เชน บังกะลอรในอินเดีย รอยละ 25ของตนไมเปนไมผล ในนครสต็อคโฮลม และนครปรากมีตนแอปเบิ้ล พลัม แพร จํานวนมาก การทําสวนและแปลงผักในเมืองมีมากในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากเมืองตองการผลผลิตของ ตัวเองจํานวนมาก ประกอบกับการเดินทางติดตอกับชนบทที่เปนอันตราย แตในชวงหลังสงคราม ราคาพลังงาน ทํา ใหการขนส ง อาหารจากที่ไกลๆมาสูเ มื องอี กครั้ง จึ งเป น ที่ม าของการล ม สลายของการทํ า สวนในเมื อง โดยเฉพาะความกังวลในเมืองที่มีการปนเปอนของสารตะกั่วในดินที่เพิ่มขึ้น แตผลพลอยไดอีกประการหนึ่งของ สิ่งนี้คือทําใหเกิดการปฏิสังสรรคของผูคนมากในเมืองขึ้นดวยเพราะในพื้นที่นี้กลุมคนมีความแตกตางมากทั้งใน เรื่องอายุ เชื้อชาติ การสงเสริมดานพลังงาน ในดานการใชพลังงานของเมืองที่มีการบริโภคอยางมหาศาล สามารถที่จะมีวิธีการแกไขได 2 วิธีคือ การปรับปรุงระบบการจายพลังงานและการลดการบริโภคพลังงาน เมืองหลายแหงมีการตั้งสถานีผลิตพลังงาน และความรอนรวม ( CHP )ที่เหมาะกับพื้นที่ขาดเล็กที่เคยมีผูคนหนาแน สถานีสามารถผลิตพลังงานและใหน้ํา รอน น้ําเหลานี้จะทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นและจะถูกปลอยเขาไปลดความเย็นของกังหันและจะถูกจายไปตามทอ ไปยังบานเรือน โรงงาน อาคาราชการ สระวายน้ํา โดยเฉพาะพื้นที่ชั้นในของเมืองที่เหมาะกับระบบนี้มาก แต อยางไรก็ตามการผลิตนี้ก็ไดทําใหเกิดกาซมลพิษ เชน ซัลเฟอรไดออกไซด ไนโตรเจน แตก็มีจํานวนนอยเพราะ ระบบการเผาไหมเปนลักษณะแบบหลอดวยของเหลวที่มีประสิทธิภาพ ในขณะที่การปลอยควันก็มีการติดตั้งขน แปรงหรือเครื่องกรองอากาศเพื่อทําใหอากาศสะอาดขึน้ หากพิจารณาถึงครัวเรือนกับการบริโภคพลังงานแลวรับวาสูงมาก มีการบริโภคถึงรอยละ 30 – 50 ของพลั ง งานทั้ ง ประเทศ สาเหตุ สํ า คั ญ เช น การบุ ฉ นวนตามบ า นที่ ทํ า ให อ ากาศร อ นจึ ง จํ า เป น ต อ งมี เครื่องปรับอากาศจึงทําใหเกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน แตอยางไรก็ดีก็มีวิธีการบุฉนวนที่ทันสมัยแบบใหมที่จะ ชวยลดการบริโภคคําลังงานของอาคารลงไปได เชน ที่สหรัฐ สามารถลดการใชพลังงานไดถึงรอยละ 90 คือ การบุฉนวนของหองที่เพดานจะมีความหนามากในที่ที่มีอากาศหนาว สําหรับที่อากาศรอน การปรับปรุงระบบ ไหลเวียนของอากาศตามธรรมชาติในชวงเวลากลางวันจะลดความตองการเครื่องปรับอากาศไดหรือในประเทศ อากาศหนาวก็มีความพยายามหลายอยางที่จะหาแหลงสรางพลังงานรูปแบบใหมที่ไมกระทบตอสภาวะอากาศ เชน พลังงานจากลม แสงอาทิตย เชนที่แคลิฟอรเนียที่นําพลังงานแสงอาทิตยจากการติดตั้งแพงในทะเลทราย โมจาเวมาใช หรือการติดตั้งกังกันลมมากกวา 10,000 ตัวเพื่อเปนแหลงทดลองขนาดใหญผลิตไฟฟา พลังงาน เหลานี้ชวยลดตนทุนลงเมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตแบบเผาไหมถานหินและพลังงานจากนิวเคลียร


125 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ดวยการประหยัดพลั งงานที่เ มืองนํ ามาใชจึงอาจจํ าเปน ที่จะต องมีการวางผั งเมืองเพื่อสร างความ ใกลชิดกันใหมมากขึ้น เชน การยกเลิกแบงโซนในเมืองที่จะชวยลดระยะการเดินทางประจําวัน การทําใหเกิด ความใกลชิดกันระหวางบาน โรงเรียน รานคาและสถานบันเทิง การสรางเมืองที่มีความหนาแนเพิ่มขึ้นเพื่อชวย ลดการเดินทางและลดกิจกรรมการขนสง การลดการสรางถนนและการพึ่งพิงรถสวนตัว การหันกลับมาให ความสําคัญกับการใชยานพาหนะที่ใชพลังงานสะอาด การนําระบบการหมุนเวียนกับมาใชใหม และมาตรการ ปกปองสิ่งแวดลอมกับภาคอุตสาหกรรมซึ่งแนวทางดังกลาวจะชวยลดตนทุนการผลิต มลพิษและตนตอการ กําจัดของเสียลงไดดวย บทที่ 7 เมืองที่มีความรับผิดชอบ เมืองจะตองพยายามเรียนรูถึงความสามารถที่จะใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่นของตน และสามารถที่ จะใชอยา งมีความรับผิดชอบ อันเกิ ดจากกระบวนการเรียนรูที่เกิดขึ้นโดยสงเสริ มใหเมืองตางๆแลกเปลี่ยน ขอมูลเพื่อหาทางจัดการแกปญหารวมกันทั้งในระดับโลกและภายในเมืองเองในเรื่องตางๆ เชน 1) การพิจารณาถึงลักษณะความหนาแนนของการตั้งถิ่นฐาน โดยมีนโยบายที่มีการวางแผนที่จะให คําตอบแกปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น 2) การจัดการกับโครงสรางพื้นฐาน และการจัดการองคกรที่เหมาะสมเพื่อรองรับการพัฒนาภายใต ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ 3) เนน การกระตุน ใหชุ มชนมีสวนรวมและมี บทบาทอยางแข งขัน ในกระบวนการตัดสิ นใจเพื่อเป น หลักประกันของการวางแผนอยางมีประสิทธิภาพ 4) การแลกเปลี่ยนประสบการณระหวางเมือง รวมทั้งการสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับ การปรับปรุงในระดับโครงสราง เชน ระบบขนสงสาธารณะ ระบบกําจัดของเสีย นโยบายการวางแผน อาทิ กลุมคนในโครงการเมืองใหญๆทั่วโลกจะมาพบปะสนทนาหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการถายทอดนวัตกรรม จากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ทั้งในระดับโครงการ สถาบัน ประเด็นที่แลกเปลี่ยนกัน เชน การฟนฟู สภาพแวดลอม การแกปญ  หาความยากจน การสรางรายได ไปจนถึงการกระจายอํานาจและการสรางระบอบ ประชาธิปไตย เปนตน 5) โครงการเมืองใหญทั้งหลายที่ทําหนาที่เสมือนกับเปนเครือขายขอมูลระหวางรัฐ เทศบาล ภาคธุรกิจ และผู นํ า ชุ ม ชนจะต อ งเผยแพร ข อมู ล เพื่ อ การแก ไ ขป ญ หาให กั บ ชุ ม ชนที่ ยากจน เช น ป ญ หาที่ อ ยู อ าศั ย การกระจายอาหาร การอนุรักษสภาพแวดลอม เพื่อที่ชุมชนจะสามารถตอบสนองความตองการของตนเองได ซึ่งก็เปนเพราะไดรับความชวยเหลือจากลุมตางๆและเทศบาล 6) การใช ป ระโยชน จ ากผื น ดิ น ให ไ ด ป ระโยชน สู ง สุ ด โดยอาจหั น กลั บ ไปดู ตั ว อย า งจากชุ ม ชน เกษตรกรรมสมัยกอน ที่มีวิธีการอยางไรในการใชผืนดินตอการดํารงชีวิต 7) การใหความสําคัญกับความคิดเรื่องการพึ่งพาผลผลิตในทองถิ่นของตนเอง ถึงแมวาความคิดเรื่อง ชีวมณฑล ( bioregionalism ) จะเติบโตมากขึ้นก็ตาม โดยเฉพาะการพยายามแสวงหาอาหารจากจากพื้นที่ อื่นๆรอบขางโดยมองขามการพึ่งพิงตนเอง 8) การรักษาความอุดมสมบูรณใหกับพื้นที่ในเมืองดวยการนํากากปฏิกูลจากมนุษยมาหมุนเวียนใช ประโยชนใหม เชน ที่จีนมีการใชกากปฎิกูลจากมนุษยมากในชนบท ในออสเตเรียมีการพัฒนาระบบหมุนเวียน กากของเสียดวยระบบเมมเทค ซึ่งมีศักยภาพในการกรองของเสียที่เปนพิษชนิดตางๆ แตเมืองสวนใหญมักจะ มองขามสิ่งเหลานี้ไป 9) การรื้ อปรั บ กระบวนการสั น ดาปพลั ง งานของเมื องใหม ทั้ง หมด และให ค วามสํ า คั ญ กั บ ระบบ หมุนเวียนแบบครอบวงจร การเรงสรางพื้นที่สีเขียว ทั้งในเมืองและคุมครองพื้นที่สีเขียวนอกเมืองในระดับโลก ดวย 10) การสรางพันธมิตร เครือขายระดับโลกทํางานดานสิ่งแวดลอม เชน การทํางานปฏิบัติการดาน ทองถิ่น การใชทรัพยากรอยามีประสิทธิภาพ เปนตน 11) การตอตา นการขยายตัวออกของเมืองและการฟ นฟูค วามสัม พันธ อัน อบอุ นใกลชิ ดในเมืองให กลับคืนมาใหเมืองเต็มไปดวยความมีชีวิตชีวาซึ่งสัมพันธกับการวางผังเมือง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

126

12) ทางเลือกใหมโดยการปฏิวัติทางเทคโนโลยีขนาดจิ๋ว ซึ่ง มีอิทธิพลต อรูปแบบการดํารงชีวิตของ ชาวเมืองและชาวชนบท ทําใหผูคนสามารถใชประโยชนจากสิ่งนี้มาลดการเดินทางในชีวิตประจําวันทําใหคน สามารถทํางานไดหลายชนิดที่บาน เชนทํางานในสวน ในชนบท โดยไมตองเดินทางมายังเมือง 13) สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงกฎหมายเกี่ยวกับการวางผังเมืองเพื่อใหสิทธิ เพื่อการพัฒนาชุมชนใน ชนบท เชน การใสใจตอระบบนิเวศในชนบท ปญหาการขยายตัวของชานเมือง เชน การทําพื้นที่เกษตรกรรม ชานเมืองโดยการพัฒนาใหเปนหมูบา นใหมที่กระทัดรัด การหลีกเลี่ยงบุกรุกถากถางพื้นที่ การทําพื้นที่ใหเปน แปลงผักสวนไมผล ทดลองทําเกษตรแบบถาวร การปลูกพืชเชิงเศรษฐกิจ เปนตน 14) การปรับพื้นที่รกรางวางเปลาในเมืองที่ถูกทิ้งรางจนเสื่อมลงมาเปนที่อยูอาศัยของมนุษย 15) การกระตุนความสัมพันธระบบการพัฒนาของชนบทกับเมืองใหเกื้อกูลกัน เชน การสรางแปลง เกษตรในเขตเมือง การทําสวนไมผลและแปลงผักในแตละชุมชนละแวกบาน การปลอยใหสภาพชนบทกลับเขา สูเมืองบาง กระบวนการทั้งหมดที่ กลา วมานี้ จํ าเป นตองอาศัยผูคนที่อยู ในเมือง เข ามามีสวนรวมเพื่ อกํา หนด รูปแบบชีวิตของชุมชน ภายใตลักษณะที่สงเสริมความยั่งยืนในระยะยาวทั้งในทางเศรษฐกิจ นิเวศวิทยา และ สังคม -------------------------------------------------------


127 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Time Trust and Hazard : Hairdressers’ Symbolic Roles1 By Michele A.Eayrs Northeastern University อิทธิพร ขําประเสริฐ2 (แปล) ในสายงานของชา งตัดผม 5 คน ณ รานเล็กๆแหง หนึ่ง มักจะพบเห็ นอันตรายที่เกิ ดขึ้น จากความ ผิดพลาดในการปฏิบัติงานเปนประจําอันมีสาเหตุจากการตัดสินใจที่ขาดทักษะซึ่งปจจัยดังกลาวเปนสิ่งจําเปน ตอกระบวนการผลักดันใหเกิดการสนับสนุนดานความไวเนื้อเชื่อใจทั้งตัวชางตัดผมและลูกคา ในการศึกษา วิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณและสังเกตการณในสัปดาห ซึ่งมีเนื้อหาและรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบของ ชางตัดผมและลูกคา เชน ในสวนของชางตัดผมนั้นจะแสดงใหเห็นถึงบทบาทของพวกเขา ในเรื่องการดูแล ลูกคา มนุษยสัมพันธ ความเสี่ยง หรือการใหความสําคัญกับตารางนัดลูกคา อันเปนสิ่งจําเปนตอการแสดง ความเปนมืออาชีพของชางซึ่งไดมาจากลูกคา และสิ่งที่มีอิทธิผลตอความเชื่อถือในตัวชางตัดผมที่นาสนใจ คือ เรื่องการใชสารเคมี อุปกรณ ซึ่งตองมีการตรวจสอบชนิดและความเสี่ยงของสารเคมีที่ใช ผลกระทบที่มีตอลูกคา อุปกรณ ความสามารถของชางและคุณธรรมในดานความรับผิดชอบ อันเปนสิ่งที่แสดงถึงบทบาทความเปนมือ อาชีพซึ่งมีเกียรติอีกหนึ่งอาชีพไดเปนอยางดี การสํารวจงานศึกษาเกี่ยวกับชางทําผม Henslin (1968) ไดตรวจสอบอาชีพของบุคคลทางดานการบริการและศึกษาในเรื่องความไววางใจของ แท็กซี่ที่จะรับผูโดยสารขึ้นมายังบนรถ ซึ่งพบวา มีการเลือกสรรและครุนคิดดวยความรอบคอบ Hass (1972) ไดศึกษาความตรึงเครียด ความไววางใจ และความเสี่ยงที่ไมสามารถจัดการไดซึ่งอาจมีอันตรายถึงแกชีวิตจาก การทํางานในโรงงานถลุงเหล็กกลา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในเรื่องงานอันตรายไปจนถึงงานที่ไมมีอันตราย เลยอยางคนทําผม ชาง และลูกคา ซึ่งปจจุบันมีการพัฒนา และยกระดับการทํางาน มีการฝกฝนตลอดจนการ สรางความสัมพันธในการทํางาน โดยพบวา ชางทําผมจะมีความตื่นตัวในการทํางาน และทํางานอยางมีความ ชํานาญ มีประสิทธิผลอยูตลอด เพราะขอจํากัดทางธรรมชาติในเรื่องตางๆที่จะมีผลตอการทําหนาที่ของเขา Freeman (1986) ไดกลา วถึง ผูหญิงจํ านวนหนึ่งในสามของสหรั ฐ จะไปร านเสริ มสวยทุ กอาทิต ย ครึ่ ง หนึ่ ง ในค า ใช จา ย เงิ น จํ า นวนหนึ่ ง จะหมดไปกั บ การทํ า ผม แต กว า การวิ จัยเกี่ ยวกั บ การทํ า ผมก็ ยัง มี จํานวนนอย Hoew (1977) เสนอการอธิบายในเรื่อง “pink collar ghettos” ซึ่งยังจํากัดการทําผมเปนเพียงแค กระบวนการอันหนึ่งเทานั้น Wiesenfeld and Weis (1979) ไดทําการศึกษาบทบาทของชางทําผมที่ไมเปน ทางการที่มีตอชุมชนนั้นในฐานกึ่งผูเชี่ยวชาญทางดานสุขภาพจิต มีการเสนอการประเมินคุณคาของกลุมชาง ทําผม ในคุณสมบัติที่เกี่ยวกับการกํากับใหคําแนะนําของพวกเขา ซึ่งคําแนะนําเหลานั้นมิไดฝกฝนมากอน และ ก็ถูกสรางขึ้นโดยที่ชางเองก็ไมรูตัวดวย และยังมีกรณีศึกษาเกี่ยวกับความเสี่ยงในเรื่องสารเคมีที่อยูในสถานที่ ทํางาน ซึ่งสงผลใหชางทําผมเปนโรคปอด โยที่โรคนี้เกิดจากการประกอบอาชีพดังกลาว 1

บทความนี้มีที่มาจาก วารสาร Symbolic Interaction 1993 (Vol.16 No1,Pages 19-37) เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ในรายวิชา จิตวิทยาสังคมพิสดาร หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2 เจาหนาที่แผนและพัฒนา กลุมงานแผนและพัฒนา ฝายบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยคริสเตียน


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 128

มีการศึกษาทางการแพทย ซึ่ง แสดงใหเ ห็นถึงความเจ็บปวยของชางทํ าผม ตั้งแตเรื่องเล็ บ ผิวหนั ง การแพสารเคมีที่เปนกรในการดัดผม ผลิตภัณฑที่มีสารพิษที่ใชในการดูแลผม โดยจะสงผมทําใหเกิดโรคและ อาการต างๆ เชน เสน โลหิตบวม เหนื่ อย ออนแรง การเปน ตะคิ ว โรคเสน เลื อดคอด ซึ่งจะพบเป นประจํ า สําหรับอาชีพชางทําผม Notkin (1972) ศึกษาการฝกฝนการเปน ชางทําผมในโรงเรียนสอนเสริมสวยโดยผ านกระบวนการ ขัดเกลา (Socialization) จากสถานที่ดังกล าว Dickinson and Erben (1984) ไดอภิปรายและแสดงถึ ง นัยยะเกี่ยวกับจุดยืนทางจรรยาบรรณของชางทําผมกอนที่จะเขามาทําการฝกอบรม ซึ่งการฝกฝนนี้จะเนนถึง ความประพฤติที่ตองมีจริยธรรม มองความสําคัญทางดานเศรษฐกิจหรือตัวเงินใหนอยลง Schsoder (1978) ไดสรางทฤษฎีทางแฟชั่นและการบริการเรื่องขอผูกมัดของการประกอบอาชีพ โดยการติดตามการทํางานของ ชางทําผมที่อยูในเมือง แตวิธีที่คนพบก็เปนเพียงแตการเคลื่อนไหวของอาชีพและวิธีในการที่จะหลุดพนจาก อาชีพนี้ ระเบียบวิธี งานศึกษาชิ้นนี้เปนการคนหาตรวจสอบความเชื่อใจของกิจกรรมในรานทําผม ทั้งในดานการบริหาร เวลาการจัดการดานตางๆ โดยผูวิจัยไมไดเขาไปมีสวนรวมจากการทําผมแตไดเก็บขอมูลจากการสังเกตชาง ตั ด ผม จํ า นวน 5 คน ภายในร า นที่ มี การปฺ ฏิสั ม พั น ธ ต อ กั น ณ เมื อ งขนาดกลางของรั ฐ Northeastern นอกจากนี้ยังมีการสัมภาษณชางทําผมตามแผนคําถามที่วางไว ซึ่งไดมีการจดบันทึกสนามทุกๆสัปดาห โดย ปกปดชื่อผูถูกสัมภาษณทุกอยางเปนความลับ เปาหมายที่สําคัญของการศึกษา คือ การดูกระบวนการทํางาน บริการจั ดการกับ เหตุการณเฉพาะหนาของชางทํา ผม เพื่อสรางความนาเชื่อถือ ขณะที่ผูวิจัยเองก็ไดเขาไป สังเกตจากพวกผูคนที่ทํางานและผูใชบริการจากรานเพื่อใหไดขาวสารขอมูลจากชางทําผมทั้ง 5 คนนี้ อยางไร ก็ดีไมมีการยืนยันตอการนําเอาขอมูลจากการวิจัยชิ้นนี้ไปใชเปนตัวแทนในการสรุป และนําไปพัฒนาเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมความสวยความงาม การประกอบการในเรื่องอื่นๆแตอยางใด เพราะวามันจะติดอยูกับอคติใน ขอมูลจากการสังเกตของผูวิจัย บรรยากาศและลักษณะของรานทําผม รา นทํ า ผมที่ ใช ในการศึกษาครั้ ง นี้ คื อ ร า น Dee’s ซึ่ ง เป น ร า นเล็ กๆที่ ตั้ง อยู ในห า งสรรพสิ น ค า แหงหนึ่ง รานนี้ดา นหลั งของรา นตกต างด วยประตู กกระจกรูปแบบต างๆ ชางทําผมจะทํางานอยูทีแทนรู ป หาเหลี่ ยม ภายในหองขนาดใหญ มี กระจกขนาดสู งซึ่ งทํา ให เกิดเป นรูปหา เหลี่ ยม โดยมี เคานเ ตอร อยู รอบ กระจกและเกาอี้ซึ่ง ณ บริเวณนี้ใชเปนที่ยืนของชางเวลาทําผม ภายในรานยังมีบริเวณที่ลูกคาหรือบุคคลที่ไมใช ลูกคามานั่งรอซึ่งเปนเกาอี้นวม และมีนิตยสารวางไวสําหรับใหอาน พื้นของรานปูดวยกระเบื้องสีขาว ผนังของ หองทาดวยสีฟาออนสวนดานหลังของรานจะมีโตะนอนสําหรับสระผม จํานวน 3 ตัว และมีตูเก็บของวางอยู มีหองน้ํา หองเก็บอุปกรณและที่สําหรับเปาผมใหแหง ตามปกติรานจะเปดวิทยุ เปดเพลงประเภท Solf Rock ซึ่ง จะชวยให ชา งทํ า ผมรูสึ กมี ชี วิต ชีวาขึ้ น ดวย ชา งทํา ผมบางคนอาจรองเพลงไปดวยในระหว างการทํา ผม ภายในรานจึงเต็มไปดวยเสียงหัวเราะ นอกจากนี้ยังมีโตะสําหรับติดตอซึ่งจะเปนสวนที่สําคัญในการติดตอนัด หมายลูกคาและชําระเงิน โดยตั้งอยูบริเวณหนาประตูราน Jo ในฐานะที่เปนผูจัดการรานมีหองทํางานซึ่งแยก ออกมาตางหากอยูทางดานหลัง ซึ่งเปนหองที่งายตอการหยิบของและการติดตอมีทัศนวิสัยที่จะเห็นประตูได ชัดเจน และกระจกในรานยังสะทอนใหเห็นภาพภายในรานได เห็นการทํางานของชางทําผมคนอื่นๆ ที่เปน เชนนี้มิไดจงใจแตประการใด หากแตเขาอยากที่จะเห็นภาพบรรยากาศภายในรานมากกวา รานนี้จะมีลูกคา เต็มรานทั้งชางทําผมและลูกคาที่มาใชบริการเยี่ยมชมถึงแมวารานนี้จะตั้งอยูในมุมอับของหางสรรพสินคาก็ตาม


129 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ประเภทของคนที่อยูในราน ภายในรานประกอบดวยคนที่เขาๆออกๆไปมา อันไดแก ชางทําผม ลูกคา และคนที่มิไดเปนลูกคาแต ติดตามมากับลูกคาดวย เชน พวกเด็กๆ ในรานมีชางทําผม ซึ่งทํางาน 5 วัน คือ Jo Linda Kay Any และ Angela พวกเขาเหลา นี้เปน พนักงานยืนพื้ นของราน แต สําหรับ Angela นั้ นเป นคนซึ่งมาใหม ไดไมนาน พวกเขาทั้ง 5 คน ทํางานรวมกันเปนระยะเวลานานถึง 10 ป สําหรับ Jo เปนคนเฝาประตูรานถือกุญแจและ ดูแลเปนเสมือนประชาสัมพันธของราน ซึ่งเขาเองก็เปนชางมาเปนเวลาถึง 18 ปแลว ภูมิหลังของเขาทั้ง 5 คนนี้ เป นชนชั้ นกลางที่ จบกระศึกษาระดับ High School และได เ ขา ศึกษาตอในโรงเรี ยนสอนเรื่องความสวย ความงาม ซึ่งอยูในในทองถิ่นเดิมของพวกเขา อายุของพวกเขาอยูระหวาง 22–42 ป ถึงแมวาพิสัยอายุของ พวกเขาจะหางกัน แตพวกเขาก็สนิทสนมกันเหมือนเพื่อนพอมาอยูดวยกันก็เกิดความรูสึกคุนเคยใกลชิดจาก การแลกเปลี่ยนความรู สึกรวมกัน จึงเปรี ยบเสมื อนครอบครั วหนึ่ง และถึง แม จะมี การแลกเปลี่ยนความรูสึ ก คุนเคยกันภายในกลุม แตก็มีความขัดแยงอยูบาง สําหรับในแงของการทํางานแลวพวกเขาเหลานี้มองตนเองวา เปนเหมือนคนรับใชซึ่งทําหนาที่ใหกับสังคม บทบาทของชางทําผม กวาจะไดทรงผมของลูกคาแตละคนชางทําผมเหลานี้จะทําหนาที่ 3 อยางที่สําคัญ คือ หนาที่ในการ ดูแลเอาใจใส หนา ที่ในฐานะเพื่อน และผูที่ไมสร างความเสี่ยงใหเ กิดขึ้น ตอลู กคา ประการแรกที่ ชางทําผม ตองทํา คือ การนําเสนอความสามารถ เทคนิคของตนเองที่ผสมผสานออกมาในการแสดงออกทางการทําผม ประการที่สอง ตองใหความสําคัญวาลูกคาเปนลูกคาไมใชมองเพียงแคศีรษะที่จะตัดแตงผมใหอยางรวกๆมิได และสุดทาย คือ เขาจะตองรับผิดชอบตอความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งเขาถือความเสี่ยงอยูในมือจากการทําผม เพื่อที่จะสรางความเชื่อมั่นใหกับลูกคา อยางไรก็ดี การทํางานบริการตอลูกคาจะตองอยูบนพื้นฐานของความถูกตองไมอยูบนมาตรฐานทาง เศรษฐกิจที่มีอิทธิพลในการกําหนด ซึ่งเอาอํานาจทางการเงินเขามาเกี่ยวของ แตเขาจะตองผูกมัดกระบวนการ ดังกลาวดวยวิธีการที่ดีที่สุดเพื่อสรางความตอเนื่องในการเปนลูกคาของรานตอไป ชางตัดผมจะเสริมสรางความไววางใจ เริ่มจากการจัดแบงเวลา เขาจะตองเตรียมเวลานัดหมายและมี เวลาใหกับลูกคาเพื่อสรางความไววางใจ และจะเก็บลูกคาคนนั้นใหเปนลูกคาประจําของเขา การนัดหมายเวลา ของลูกค า จึง เป นนั ยยะเชิ งสั ญ ลั กษณ ที่สํ า คั ญว า เมื่อลู กค า มาถึ ง ก็ จะไดทํา ผมอั น เปน เสมื อนขอผู กมัดทาง จริยธรรมและสั งคม ซึ่งจะพัฒนาสูการไว วางใจซึ่ง กันและกัน และเมื่อเวลาเนินนานขึ้ น กระบวนการทําผม ก็จะมีการมาใชบริการตอไปเรื่อยๆ ประเภทของลูกคา ประเภทของลูกคามีหลายประเภท ซึ่งสะทอนความแตกตางในการทํางานแงมุมตางๆซึ่งประกอบดวย ประเภทที่หนึ่ง ลูกคาประจํา ลูกคาประเภทนี้จะมาตรงเวลาโดยการนัดวัน ชั่วโมงตามกําหนดซึ่งเปน เวลาเดิม ชั่วโมงเดิมทุกครั้ง การนัดหมายในลักษณะนี้ สามารถทําใหชางผมสามารถทํานายในสวนของรายไดที่ ตนจะไดวา มีเ ทา ไร ลูกคา ประเภทนี้ ใหค วามมั่ นกับ ชา งทํา ผม ถ าปราศจากลูกคา ประเภทนี้ แล วชา งทํ าผม ทั้งหลายก็ไมสามารถแขงขันในอุตสาหกรรมการทําผมไดเลย ดังเชน Jo ที่เขามาในรานก็จะมีบรรดาพวกลูกคา ตามเขามาดวย ผมของลูกคาที่เขาทําใหก็มีหลายสไตล กลาวคือ การเกิดความมั่นใจในฝมือของJo ซึ่งJo เอง ก็มีความคุนเคยในทรงผมที่หลากหลาย จึงทํ าใหเกิ ดความรู สึกวาเปนความมีคุณค ามากกวาคนแปลกหน า ก็ยอมจะสงผลตอชื่อเสียงและดึงดูดใหลูกคาใหมๆ เขามาใชบริการ ถึงกระนั้นลูกคาประจํายอมมีอภิสิทธิ์ที่จะ รับบริการกอนอยูดี ประเภทที่สอง ลูกคาที่นัดแบบไมตอเนื่อง แตก็จะมาประจําซึ่งเลือกชางทําผมคนเดิม ลูกคาประเภทนี้ ทําใหรายไดไมสม่ําเสมอ เพราะไมไดสรางหลักประกันทางการเงินใหกับราน พวกเขาจึงเรียกลูกคาประเภทนี้วา


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 130

แบบประจําขาจร ทั้งนี้ไมไดมีตารางเวลาที่แนนนอน อยางไรก็ดีชางทําผมก็ยังคิดวาลูกคาประเภทนี้เปนลูกคา ประจําอยู ประเภทที่สาม คือ ลูกคาแบบขาจร ลูกคาประเภทนี้จะเสี่ยงเอาวาชางทําผมคนไหนวางก็จะใหทําผม ใหโดยสวนใหญเขาตั้งใจวาจะทําแคเล็บ ตัดเล็กๆนอยๆ เทานั้น ชางทําผมจะมองลูกคาประเภทนี้วามารบกวน ถึงแมวาพวกเขาจะมีรายไดประจําอยูแลวก็ตาม ในบางครั้งลูกคาขาจรตองการทําอยางอื่นเพิ่มเติม พวกชางที่ วางจากตารางนัดก็จะมาทํ าให แตก็ไมค อยเต็มใจนัก ดัง คํากลาวของ Jo ที่พู ดวา “เขาไม คอยชอบลูกค า ประเภทนี้รานไมมีนโยบายแบบนี้ เวลาของเขามีคามากกวาที่จะทําใหพวกขาจรเหลานี้” ความโกรธของ Jo จึงสะทอนใหเห็นถึงการประเมินคาทางสัญลักษณในการกาวเขามาในรานวา การเขามาแบบไมไดนัดไวไมสู จะดีนั ก เพราะถือวา เป น การมองข ามกฎเกณฑ ในเรื่องของการนัดหมาย ที่สํ าคั ญ คือการไมส ามารถสร า ง ความสัมพันธที่ลึกซึ้งสนิทกันระหวางลูกคากับชางทําผมได อีกทั้งยังเปนการลวงละเมิดเวลานัดของผูอื่น สงผล ในการสรางปญหาตอระบบตารางนัดของราน รวมไปถึงการที่วิชาชีพของชางทําผมเหลานี้ซึ่งไดถูกทําลายลง ดวยพฤติกรรมของลูกคาประเภทนี้ อย า งไรก็ ดีในบางครั้ ง ก็ มีผู ที่เ ข ามาในร า นแตมิ ได ทํา ผม เช น แฟน สามี ลู กของผู มาทํ า ผมที่ เ ข า มาดวย ซึ่งพวกเขาอาจมานั่งดูการทําผมหรือพูดคุยรอเปนเพื่อน บางครั้งก็อาจจะถือโอกาสทําผมดวย โดยที่ พวกเขามิไดเปนลูกคาจริงๆ จึงอาจจัดไดวาเปนลูกคาประเภทที่สี่ก็ได ความเสี่ยงของชางทําผม ความเสี่ ยงที่ จะเกิดขึ้ นจากการประกอบอาชีพของชางทําผมนั้น ได แก ตัวสารเคมีช นิดต างๆและ เครื่องมือ สาเหตุสําคัญอาจเกิดจากความประมาทในการใชเครื่องมือ หรือชางทําผมบางคนอาจขาดทักษะ ไมมคี วามรูอยางเพียงพอในการใชสารเคมีหรืออุปกรณนั้นๆ โดยชางทําผมจะไดรับอันตรายจากการปฏิบัติงาน แตพวกเขาก็มิไดสนใจตอมัน เพราะพวกเขามีความคิดเห็นวาถาขาดอุปกรณดังกลาวก็ไมสามารถที่จะทําผมได โดยเฉพาะในราน Dee’s อยางนอยที่สุดในการตัดผม จะตองใชเวลานานถึง 90 นาที และมีการมัดผมดวยโรล มีการนําสารเคมีมาใส รวมถึงกิจกรรมอื่นๆดวย เชน ในการตัดผม การกัดสีผม เปนตน สารเคมีเหลานี้จะสงผลตอฮอรโมนทําใหเกิดโรคตางๆอยางเชน โรคผิวหนัง Jo ซึ่งมีอาการของโรค ผิวหนังตามมือและแขน ถึงแมวาเขาจะไปหาหมอรักษาดวยการใชครีมทาซึ่งจะชวยบรรเทาอาการลงก็ตามแต ทวาก็ยังคงมีรองรอยของการเปนโรคนี้อยู ซึ่งหมอไมสามารถที่จะใชยารักษาใหหายขาดได วิธีการที่ดีที่สุดก็คือ การหยุดอาชีพนี้ไปเลย “Jo” กลาวถึงลูกคาที่เปนโรคผิวหนังวา “เขารูสึกเศราใจที่พบเห็นสิ่งดังกลาว เมื่อเวลาที่มีการพูดเรื่อง นี้ขึ้น เขาก็จะเปลี่ยนไปพูดเรื่องอื่น” สําหรับอาการที่มารบกวนลูกคาจาการเปนโรคผิวหนังจะทําใหเกิดอาการ นอนไม หลั บ โดยที่ อาการของโรคผิ วหนั ง นี้ จะลามไปถึ ง บริ เ วณท องและแผ น หลั ง ลู กคา ประมาณ 30-40 เปอรเซ็นตที่มาใชบริการจากรานจะเกิดอาการในลักษณะดังกลาว นอกจากนี้ การใชสารเคมียอ มสีผม ซึ่งจะตอใชเปนจํานวนมากจะมีผลกระทบโดยตรงที่จะเกิดขึ้นกับ ตัวชางทําผมเองแลว ลูกคายังตองสูดดมเอาแก็สหรือสารเคมีเขาไปดวย ในสวนของการใชสารเคมีนั้นทางราน จะมีการจัดเตรียมไวใหกับลูกคา หรือชางทําผมบางคนก็อาจซื้อสเปรยหรือสารเคมีที่ใชในการแตงผมมาเปน ของตัวเองเพื่อใหบริการลูกคาโดยตรง สําหรับอาการของการแพสารเคมีที่ใชประกอบการทําผมสารเคมีดังกลาวจะใชระยะเวลาเพาะเชื้อ กวาปซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่แอบแฝงอันจะนําไปสูอันตรายโดยที่ชางผมและลูกคาไมรูตัว นอกจากนี้อันตรายจาก การใชเครื่องมือประกอบการทําผม เชน การใชเหล็กรอน กรรไกรตัด มีดโกน ไดเปาผม ก็จะทําใหเกิดรองรอย แผลตางๆตามมือ แขน ซึ่งเกิดจากการใชอยางไมระวังหรืออาจเปนเพราะอุบัติเหตุ ถึงแมวาบรรดาชางทําผมที่ไดรับการฝกอบรมจากโรงเรียนที่ผานการเรียนรูมาถึงวิธีการใชเครื่องมือ หรือสารเคมีประเภทตางๆ แตกลุมชางเหลานี้ก็อาจไมปฏิบัติตามวิธีการที่ตนไดรับการอบรมหรือฝกสอนมา มากนักโดยที่ “Jo” ไดมองวางานของเขาเปนศิลปะ และมองตัวเองวาเปนศิลปน จึงขึ้นอยูก ับความตองการของ ตนเองมากกวาที่จะมีวิธีการอยางไร โดยเฉพาะการที่มิไดเพียงแคทําใหลูกคาพึงพอใจเทานั้น แตการกระทํา หรือการแสดงบทบาทของเขาเปนเสมือนการแสดงออกทางศิลปะ ซึ่งเปนแกนหลักสําคัญของอาชีพ ชางทําผม


131 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จึงมองตัวเองเชิงประเมินในดานศิลปะมากกวาการทําหนาที่ในทางเทคนิคแตเพียงอยางเดียว เมื่อเปนเชนนี้ สิ่งที่ไดจากการทําผมตัดผม การบริการตางหากจึงเปนสิ่งที่สําคัญกวา ในความเห็นของผูวิจัย กลาววาถาละประเด็นเกี่ยวกับความสวยความงามออกไป ก็จะประเมินคาของ การประกอบอาชีพในเชิงความสามารถที่เฉพาะเจาะจง การแสดงออกถึงความสวยความงาม การทําผมจึง ไมไดสะทอนถึงศิลปะของชางวาใครดีไมดีถึงแมวาจะพบกับอุบัติเหตุ อันตรายจากสารเคมี ซึ่งพวกเขา/เธอก็คิด วามันมิไดเปนสิ่งสําคัญ ความเสี่ยงของลูกคา อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับลูกคาที่เขาทําผมมีอยูดวยกันหลายลักษณะ เชน ลักษณะแรก การดัดผมซึ่งถือเปนสิ่งอันตรายสุด เพราะตองใชสารเคมีและเครื่องทําความรอนในการ ทําใหผมเปนรูปทรงตามที่ลูกคาตองการ เชน ผมหยิก ผมตรง ซึ่งจะมีสารเคมีหลายชนิดที่ใหลูกคาไดเลือก โดยที่ชางทําผมจะเปนผูแนะนําใหกับลูกคาวาจะเลือกใชชนิดไหน ชางทําผมจึงตองแสดงบทบาทเปนผูดูแล ทําใหลูกคาลดความวิตกกังวล และสรางความเชื่อใจตอลูกคาในการใชผลิตภัณฑดังกลาว ลักษณะที่สอง การเปลี่ยนสีผม จําเปนตองใชสารเคมีเปนจํานวนมากเชนกัน โดยที่สารเคมีเหลานี้ อาจจะกระเด็นเขาตา ตกคางบนผิวหนัง ทําใหเกิดอาการแพระคายเคือง อยางเชนในราน Dee’s ลูกคาสวน ใหญจะเปลี่ยนสีผมจากสีน้ําตาลเขมเปนสีบรอน ซึ่งตองใชสารเคมีเปนจํานวนมาก ชางทําผมก็จะแสดงบทบาท วาเขาไดเคยทํามาแลว และรูวาสารเคมีตัวไหนดีไมดี ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการใหขอมูล และเอาใจใสลูกคาไปในตัว ลักษณะที่สาม การชําระลางสารเคมีออกไมหมด ทั้งจากการดัดผม ยอมสีผม ก็จะกอใหเกิดอันตราย ตอผิวหนังไดนอกจากนี้การทําผมที่มีผากันเบื้อนคลุมรางกายไดหมดนั้นก็สะทอนถึงการสรางความไววางใจใน สวัสดิภาพใหแกลูกคา และยังเปนการปองกันมิใหรางกายของลูกคาออกมาเกะกะในระหวางการทํางานของ ชางดวย ลักษณะที่สี่ การใหอํานาจแกช างทํา ผม ลูกคา สวนใหญจะยกยองช างทํ าผมในความสามารถที่จะ เปลี่ยนแปลงรูปแบบของทรงผมของตน โดยสวนใหญก็จะยกอํานาจใหกับชางทําผมวา จะทําผมในรูปทรงไหนดี เหมือนกับการที่ลูกคาจะตองอาศัยที่ พึงเปนสวนชวยเติมเต็ม ความสวยงามให อยา งไรก็ตามบางครั้งลูกค า ก็อยากที่จะมีสิทธิที่จะพูดวาตองการไดทรงผมรูปแบบไหน หรือแมแตวิธีการที่ไมปลอดภัยในการทําผม ก็มีสิทธิ ที่จะพูดได รวมถึงการวิจารณผลงานของชางทําผมดวย ลักษณะที่หา ความเสี่ยงที่ไมไดคาดการณไวลวงหนา เชน อุบัติเหตุ ซึ่งชางทําผมจะตองควบคุมลูกคา ทั้งจากการนั่งทําผมหรือการเคลื่อนไหวอื่นๆ เชน การเดินไปมา การจัดอุปกรณในราน หรือแมแตในขั้นตอน ของการยอมผม ถาทิ้งสารเคมีไวนานเกินไปก็จะทําใหผมและผิวหนังเสียหาย ชางทําผมจึงอาจจะตองคลี่ผม ออกมาดูวาใชไดหรือยังซึง่ ก็อาจจะทําใหเกิดอุบัติเหตุขึ้นได โดยสรุปแล วชางทําผมตางก็มีวิธีการที่จัดการกับความเสี่ยงในการทํางานด วยรูปแบบวิ ธีการตางๆ มากมายกับลูกคา ซึ่งมันมิใชเปนการควบคุมลูกคาแต อยางใด หากแต มันเปนการแสดงถึงอัธยาศัยที่ดีและ ความมีน้ําใจตอลูกคามากกวา บทสรุป นักสังคมวิทยาไมไดมองชางทําผมเปนมืออาชีพในดานชางทั้งๆที่เขาจะไดรับการฝกสอนอบรมมาหรือ เขาจะยึดถืออาชีพนี้มาตั้งแตแรก และไมวาเขาจะไดรับการฝกมาอยางมากแลวก็ยังไมถือวาเขาเปนมืออาชีพ ถึงแมวาจะไดรับอนุญาตจากการสอบ หรือจะมีจรรยาบรรณ จริยธรรมตางๆเกี่ยวกับการทําผมก็ตาม ตามปกติ แต เ ดิ ม หลั กเกณฑ คั ดเลือกการเป นมื ออาชี พ มั กจะเกี่ ยวโยงกั บ สถานภาพอาชี พ ที่ สูง เช น อาชี พ ทางด า น การแพทย เภสัชกร จะตองมีกฎเกณฑที่มีมาตรฐานและสอบใหผาน ซึ่งเกณฑเหลานี้สะทอนใหเห็นถึงบทบาท ของอํานาจที่คนเหลานั้นมีในสังคมมากกวาชุดของทักษะที่ใชในการปฏิบัติงาน ซึ่งคําวา“มืออาชีพ” เปนสิ่งที่ สัง คมสร า งขึ้น เหมือนกั บสิ่ ง อื่ นๆที่ ใชในการป ดบัง อํ า พรางบางสิ่ งบางอย า งหรื อเทา ๆกั บการที่จะทํ าอะไร บางอยางใหชัดเจน ดังเชน Rustad and Koeing (1990) ไดพูดถึงความเปนมืออาชีพโดยจริงๆกลับเปนเพียง


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 132

แค ภาพลั ก ษณ ท างสถานภาพ ซึ่ ง มั น แบ ง ออกเป น 2 แบบ คื อ อํ า นาจ ชนชั้ น และสถานภาพทางสั ง คม ลวนแลวแตมีบทบาทในการกําหนดวาใครบางที่จะไดรับการยอมรับวาเปนมืออาชีพ เกณฑอะไรที่จะใชในการ ตัดสินคุณลักษณะของปจเจก บางคนอาจโตแยงวาอาชีพที่มิไดเปนมืออาชีพ เชน พวกชางทําผมก็อาจจะรูสึก ไมดีกับการที่มาตีตราเขาอยูในดานลบ ทําใหพวกเขาขาเกียรติ สถานภาพทางสังคมที่สูง เพราะถูกมองวาเปน สถานภาพที่ต่ํา งานวิเคราะหกอนๆหนาที่ศึกษาเกี่ยวกับองคการของอาชีพ เชน ทางดานกฎหมาย การแพทย เป น อาชี พ ที่ ส อให เ ห็ น ว า เป น การใช ค วามรู ความชํ า นาญแบบไม ส มดุ ล ให ฝ า ยเดี ย ว ซึ่ ง เขาต องการการ ตอบสนองจากเพื่อนรวมงาน ตองการความไววางใจที่พวกลูกคา/ผูใชบริการมีความไววางใจตอพวกเขา รวมทั้ง การตอบสนองและมีความนับถือระหวางเพื่อนรวมงาน นอกจากนี้องคการเหลานี้ก็มีลักษณะความสัมพันธเชิง โครงสรางมีอํานาจในการครอบครองและอํานาจในการผูกขาดทางเศรษฐกิจทุกอยางจะขึ้นอยูกับพวกมืออาชีพ นักวิชาการไมไดมองถึงสวนประกอบเรื่องความเปนมืออาชีพ ในเรื่องชางทําผมหรืองานประจําอื่นๆ เขามักจะมองขามปจจัยสําคัญที่ทุกๆงานจะตองมีอยางหลายปจจัย เขามักจะมองในพวกมืออาชีพมากกวาซึ่ง จริงแลวสวนประกอบนี้ก็มีในพวกชางทําผมอื่นๆเหมือนกัน การมองขามสิ่งเหลานี้ไป จะทําใหเกิดการไปเหยียด หยามแงมุมที่สําคัญของงาน การแบงประเภทกลุมอาชีพวาอาชีพไหนเปนมืออาชีพหรือไม เปนการเลือกกระทํา เปนสิ่งที่กําหนด ขึ้นมาเอง ชางทําผมนั้นมีการทํางานแบบซับซอนวุนวานมาก เพราะมีเทคนิคที่ซับซอนไมวาจะดูเรื่องสวนตางๆ ของรางกาย คุณลักษณะทางกายภาพของเสนผม การที่จะตองตอบโตและรับมือกับสิ่งที่ไมสามารถทํานายไดวา ลูกคาจะตองการอะไรบาง ซึ่งเขาจะเขาไปยุงเกี่ยวกับเหตุการณที่ซับซอนของลูกคา ทั้งในเรื่องรางกายและ จิต ใจ พวกช า งทํ า ผมจะต องสร า งความรู รู สึ กต อลู กคา ว า เขาไว ใจได ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ที่กล า วมานี้ ล วนเป น ความสามารถทางเทคนิค ความรับผิดชอบซึ่งก็เปนคุณภาพเดียวกันกับพวกมืออาชีพอื่นๆ ดังนั้น เขาจึงตองมี การทดสอบเพื่อขอรับใบอนุญาต หลักจรรยาบรรณ ซึ่งเหมือนกับพวกมืออาชีพอื่นๆ เมื่อเปนเชนนี้พวกชางทํา ผมทําไมจึงถูกปฏิเสธวาเปนอาชีพที่มีสถานภาพชั้นสูงไดอยางไร จริง ๆแล วยัง มีนั กวิช าการอื่น ๆที่ ชอบใหคํ านิยามตางๆเขาได จัดประเภทของอาชีพในระดับต างๆ นักวิชาการใหเหตุผลวาทําไมชางทําผมจึงถูกปฏิเสธจัดใหอยูในสถานภาพอาชีพชั้นสูง เพราะถูกคาดเดาวาเปน อาชีพที่ธรรมดา ไมไดใชทักษะอะไรมากมายใครๆก็สามารถทําได มีผูคนอีกจํานวนมากที่เขาสามารถถูกสอน ใหเขากับงานแบบนี้ไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นพวกเทคนิค วิธีการตางๆที่ใชจึงมิตองมีอะไรเปนมาตรฐาน ผูคนแบบ ตางๆสามารถจะเขาไปอยูในอาชีพโรงเรียนเสริมสวยไดพอๆกับการทําอาหาร ซึ่งเปนอีกอาชีพหนึ่งซึ่งผูคนมอง วาไมจําเปนตองอาศัยทักษะใดๆ สังคมจึงมองขามความสําคัญของประเภทอาชีพแบบนี้ไป เพราะถูกมองวา เปนอาชีพที่ไมมีคา ซึ่งแทจริงแลวงานของชางทําผมจะตองการความรูที่ไดจากประสบการณ ความเขาใจที่ เกิดขึ้นเองจากการกระทํา การมีความรูในดานตางๆทั้งดานสังคม จิตวิทยา และชีววิทยาเทาๆกับความรูแบบ พวกมืออาชีพมีเชนกัน Weber (1978) เสนอแนะความคิดเกี่ ยวกับอาชีพที่มีเกียรติ อันเปนเกียรติ แหงสถานภาพ (status honor) ที่ไมเกีย่ วของกับเรื่องจุดยืนทางชนชั้น (Class Situation) ในทางตรงกันขามก็กลับมีบางกลุมอาชีพที่ตั้ง ตนเองเปนมืออาชีพขึ้นมา Becker (1962,1982) รับเอาแนวคิดนี้มาแบงประเภทของความเปนมืออาชีพเพื่อ เสริมการอภิปรายของ Weber และยั งไดนํา เอาแนวคิดเรื่องคุณคาทางสังคมมาสอดแทรกในความคิดเรื่อง อาชีพการบริการที่มีเกียรติ (honorific) คําวา Honorific สามารถประยุกตใชกับการเตรียมรับมือตางๆการให ความหมายกั บ การตั ด สิ น ใจอย า งมี คุ ณ ภาพและจริ ย ธรรม สถานภาพที่ มี เ กี ย รติ (Honorific Status) จึงสามารถใชกับคนที่สุมเสี่ยงภัยในงานและผูทํางานของเขาอยางมุงมั่นเพื่อชุมชน ผลการศึกษาของผูวิจัยแสดงใหเห็นวา อายุการทํางานของชางทําผมที่มีตอการอางถึงความเปนมือ ชํา นาญซึ่ งยั ง คงติ ดอยู กับ ความไว ใจที่ส ร างขึ้ นต อกัน และกั นผ า นกาลเวลา ซึ่ งความไวใจนี้มี ที่มาจากการ ปฏิสัมพันธระหวางชางทําผมกับลูกคา เชน การที่พวกเขาตัด จัดการกับสิ่งแปลกๆในงานประจําวันของเขา ความไวใจจึงตองมีเสมอเหมือนกับที่คนไขกับแพทยมีตอกัน นอกจากนี้สิ่งที่สําคัญกับผล (Outcome) ที่ออกมานั้นไมใชแคการปฏิสัมพันธที่ใชความไววางใจตอกัน เทานั้น แตยังขึ้นอยูกับบริบทในการปฏิสัมพันธกันดวย ทั้ง Klutgen (1988) และ Sokolowski (1991) กลาว ตรงกันวา ไมวาจะอาชีพใด ความเปนมืออาชีพสามารถทําใหสําเร็จไดเพราะเปนวิธีการของการเปน และวิธีของ การกระทําซึ่งความคิดที่ใหเครดิตกับบริการที่มีความเชี่ยวชาญ อาชีพบางอยางก็ไมตองการความเปนมืออาชีพ


133 กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

แตมันตองการจัดโครงสรางใหมใหมีการเพิ่มขึ้นของการกระทําใหมีความเปนมืออาชีพ โดยสรุปแลว Klutgen กระตุน ให เราพิจารณาความเปนมื ออาชี พวา ควรเปน อยา งไรมากกวา การไปจัดประเภทสิ่ งที่ พวกเขาทํ าอยู ซึ่งชางทําผมในราน Dee’s มองตัวเองวาเปนศิลปนเทา ๆกับการเปนมืออาชีพ เขาเลือกที่จะฝกปรือทักษะ เพื่อใหเปนสุนทรียแกสังคมในรูปของทรงผม จากงานศึกษาของ Fine (1987) ไดศึกษาพอครัวมืออาชีพในแบบ ที่เขาศึกษาอุดมการณ และความมี เหตุ ผลของชางเสริมสวย พวกเขาตองจั ดการกับ ความกดดัน เรื่ องเวลา รสชาติ และราคา ในขณะที่เขาตองควบคุมกระบวนการและสภาพแวดลอมของการทํางานในภัตตาคาร แมวา จะเปนอาชีพในแนวอุตสาหกรรมแบบเดียวกับชางทําผม แตมันก็เปนอาชีพที่ผูกอยูกับ การประเมินคาทางความ เปนสุนทรีย เพราะพอครัวไมใชเพียงผูใชแรงงานแตเปนศิลปนดวย พวกเขาทํางานในทุกประสาทสัมผัสยกเวน เสียง แมจะไมเหมือนศิลปะบริสุทธิ์ แตก็เหมือนชางทําผมมากๆที่พอครัวจะตองควบคุมเวลา สิ่งแวดลอมนอก ตัวไมได รวมทั้งผลงาน/ผลผลิตของเขา ประหนึ่งวาดานหนึ่งก็ไมสามารถคิดเองได คือตองทําตามทรงผมที่ ลูกคาตองการ แตอีกดานก็ตองอาศัยฝมือที่มีศิลปะดวย ผลงานของพวกพอครัวและชางทําผมก็เหมือนกันที่วา ผลงาน/ผลิตของเขาไมสามารถจะเปนตัวบงบอกถึงการมีมาตรฐานและ ชี้วัดวานี้คือ ผลผลิตที่มวลชนจะยึดถือ ตาม เพราะผลผลิตนี้ มีอายุเพียงสั้นๆและถู กสรางขึ้นมาเพื่อการบริโภค ถูกสรางขึ้นมาเพื่อความประทับใจ ดังในคําบอกเลาของบรรดาพอครัวที่กลาววา “เขาภูมิใจอาหารที่ไดนําออกไปสูประชาชนมากมายและพวกเขาก็ มีความสุขกับอาหารนั้น” ---------------------------------------------------------


กาวยางทางสังคม : รวมบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 134

เกี่ยวกับผูเขียน นายอิทธิพร ขําประเสริฐ การศึกษา

ปจจุบันเปน

ระดับปริญญาโท หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สาขาวิชาสังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกสังคมศึกษา) จากคณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกสารสนเทศศาสตร) สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เจาหนาที่ประจํา สังกัดงานวางแผนและพัฒนา ฝายบริหาร มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ผลงานทางวิชาการ ดานความสนใจทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรมทองถิ่น v คลองกับชีวิต : คลองดําเนินสะดวก ชุมชนริมสองฝงคลองดําเนินสะดวกกับความเปลี่ยนแปลง v ประวัติศาสตรชุมชนในเขตเมืองเกา ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร v บทบาทของศูนยการคาตอการมีสวนรวมพัฒนาประชาคมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2546-2550 v แนวความคิดและทฤษฎีการศึกษาทางสังคมวิทยาเมืองเบื้องตน v บทความวิชาการ เรื่อง “How Middle Class Move to Defend Their Space : A Case Study of an Area in Chinatown” v โครงการสํารวจมรดกทางวัฒนธรรมยานฝงธนบุรี v บรรณนิทัศนงานเขียน งานวิจัยดานธนบุรีคดีศึกษา ดานการพัฒนางานประจํา ¦ ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยคริสเตียนที่มีตอการใหบริการการศึกษา ¦ การศึกษาการมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธประจําปการศึกษาของบุคลากร มหาวิทยาลัยคริสเตียน ¦ การพัฒนาคูมือวิธีปฏิบัติในการใหบริการที่เปนเลิศของสวนงานสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยคริสเตียน ¦ ปจจัยการเพิ่มประสิทธิภาพในการนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติของมหาวิทยาลัยคริสเตียน ¦ การกําหนดทิศทางของมหาวิทยาลัยคริสเตียนในการจัดการอุดมศึกษาในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดานการบริการสังคม ° โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบและศักยภาพในการบริการที่เปนเลิศของอําเภอ ในสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ° โครงการวิจัยชุดความมั่นคงในชีวิต เรื่อง ความคาดหวังตอความมั่นคงในชีวิตของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปสุดทายสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ° โครงการวิเคราะหองคประกอบการบริการตามรูปแบบและศักยภาพการใหบริการที่เปนเลิศของบุคลากร ในสังกัดอําเภอ กรมการปกครอง ° โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการของเทศบาลตําบลดอนยายหอม อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ° โครงการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอประสิทธิภาพการใหบริการขององคการบริหารสวนตําบล ดอนยายหอม อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม รางวัลที่ไดรับ

บุคลากรดีเดนสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยคริสเตียน ประจําปพุทธศักราช 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.